Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พรรณไม้เขาหินปูน

พรรณไม้เขาหินปูน

Published by akarapon pongjunta, 2020-01-12 01:53:45

Description: พรรณไม้เขาหินปูน

Search

Read the Text Version

หญ้าแพรกหนิ Asparagaceae Ophiopogon marmoratus Pierre ex L. Rodr. ชอื่ อนื่ - ไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีเหง้า มีไหล รากขนาดเล็ก ล�ำต้นตั้งตรง สูง 15-30 ซม. ใบเด่ียวเรียงเป็น กระจุกที่โคนต้น รูปขอบขนานแคบหรือรูปแถบ กว้าง 1.8-2.5 ซม. ยาว 13-18 ซม. โคนรูปล่ิมแคบ ขอบ เรียบ ปลายแหลมถึงเรียวแหลมสั้น ก้านใบยาว 8-12 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงส้ัน ๆ ยาว 10-13 ซม. ดอกเรียงหลวม ๆ จ�ำนวน 15-20 ดอก ดอกเด่ียวหรือออกเป็นกระจุก 2-3 ดอก สมบูรณ์เพศ ใบประดับรูป ไข่ถึงไข่กว้าง บาง ยาวประมาณ 1 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 8 มม. กลีบรวม 6 กลีบ สีขาว รูปใบหอกแกม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 มม. ยาวประมาณ 8 มม. ปลายแหลม เกสรเพศผู้ 6 เกสร ก้านชูอับเรณูส้ันมาก อับเรณูยาวประมาณ 4 มม. รังไข่รูปทรงกระบอก ก้านยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 8 มม. ยอดเกสรเพศ เมียกลม ขนาดเล็ก ผลคล้ายผลสดมีเนื้อ แตกไม่สมมาตรตั้งแต่ยังไม่แก่ เมล็ดเม่ือแก่สีฟ้า ประเทศไทย พบทั่วทุกภาคของประเทศไทย การกระจายพนั ธ ์ุ พบต้ังแต่ตะวันตกเฉียงใต้ของกวางสี ตะวันออกเฉียงใต้ของยูนนาน กัมพูชา ลาว และเวียดนาม นเิ วศวทิ ยา พบตามพื้นที่ชายขอบของเขาหินปูน พ้ืนท่ีราบริมน�้ำ ที่ความสูงจากระดับทะเล ได้ถึง 1,000 ม. ออกดอกในช่วงเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม ​ พรรณไมเ้ ขาหินปนู ในกลุม่ ป่าภเู ขียว-น้ำ� หนาว 1 41

commelinaceae

Spatholirion calcicola K. Larsen & S. S. Larsen

44 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

ผกั ปลาบใบหวั ใจ Commelinaceae Aetheolirion stenolobium Forman ชอ่ื อน่ื - ไม้เลื้อยล้มลุก อวบน้�ำ ล�ำต้นยาวได้ถึง 5 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-3 มม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือรูปหัวใจ กว้าง 2-8 ซม. ยาว 3.5-12 ซม. โคนรูปหัวใจ ขอบเรียบ ปลายแหลมหรือเรียวแหลม ก้านใบลักษณะคล้ายกาบ ยาว 1.5-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกตรงข้ามกับใบ ยาว 7-21 ซม. ช่อกระจุกบนมีใบประดับรองรับ ดอกตอนล่างของช่อสมบูรณ์เพศ ก้านดอกส้ันมาก ดอกตอนบนของช่อ เ ป็นดอกเพศผู้ กลีบเล้ียง 3 กลีบ สีแดงแกมเขียว รูปรี กว้างประมาณ 2 มม. ยาว 4-5 มม. กลีบดอก 3 กลีบ สีเขียว รูปขอบขนาน กว้าง 0.5-1 มม. ยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้ 5 เกสร ส้ัน 3 ยาว 2 ก้านช ู อับเรณูอันสั้น มีขนยาว ก้านชูอับเรณูอันยาว เกลี้ยง อับเรณูรูปทรงรี ยาวประมาณ 1.5 มม. รังไข่รูปทรงรี ยาวประมาณ 2 มม. ก้านยอดเกสรเพศเมียโค้ง ปกคลุมด้วยขนสั้นนุ่ม ผลแบบฝัก รูปแถบ กว้าง 0.2-0.3 ซม. ยาว 8-16 ซม. ปลายเรียวแหลม แก่แล้วแตกเป็น 3 ช่อง สีแดงอมเขียว เมล็ดเรียงสองชั้น รูปขอบ ขนาน มีปีก ประเทศไทย ภาคเหนือ: ล�ำปาง; ภาคกลาง: สระบุรี อยุธยา; ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: เลย หนองบวั ลำ� ภ ู การกระจายพนั ธ ์ุ เป็นพชื ถนิ่ เดียวของไทย นเิ วศวทิ ยา พบเลื้อยพันตามพุ่มไม้ ในป่าผลัดใบ หรือตามโขดหินบนเขาหินปูน พ้ืนท่ีร่มเงา ทีค่ วามสงู จากระดับทะเล 300-600 ม. ออกดอกและเป็นผลในเดือนสงิ หาคมถึงตลุ าคม พรรณไมเ้ ขาหินปนู ในกลุม่ ป่าภเู ขียว-นำ้� หนาว 1 45

46 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

ว่านนำ�้ คา้ งดอย Commelinaceae Spatholirion calcicola K. Larsen & S. S. Larsen ชอื่ อน่ื - ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 60 ซม. ล�ำต้นใต้ดินทรงกลมหรือรูปกระสวย รากหนา ล�ำต้นใหม่งอกจาก โคนต้น ใบเดี่ยว ก้านใบยาวไม่เกิน 25 ซม. โคนก้านเป็นร่อง มีขนส้ันนุ่ม แผ่นใบสีเขียว ผิวใบด้านบนมีขนสั้น นุ่มกระจายห่าง ๆ ผิวใบด้านล่างพบกระจายตามเส้นใบ ใบรูปรี โคนรูปลิ่ม ตัด หรือรูปหัวใจ ปลายแหลมถึง เรียวแหลม ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 5-6 ซม. มีใบประดับ 1 ใบ อยู่ท่ีโคนช่อ หุ้มดอกสมบูรณ์เพศไว้ ท่ี เหลือทั้งหมดในช่อเป็นดอกเพศผู้ ก้านช่อดอกยาว มีขนส้ันหนานุ่มปกคลุม ใบประดับรองรับช่อดอก รูปคล้าย กาบ เมื่อแผ่แบนเป็นรูปเกือบกลมหรือรูปใบหอก กว้าง 15-20 ซม. ปลายเป็นติ่ง ขอบมีขนหนานุ่มผิวด้านบนมี ขนสั้นนุ่มกระจายอยู่ แกนช่อดอกมีขนส้ันนุ่มปกคลุม ดอกตูมมีขนสั้นนุ่มสีเหลืองปกคลุมหนาแน่น ดอกสมบูรณ์ เพศ สีครีม 1-2 ดอก กลีบรวมมีขนาดไม่เท่ากัน วงนอกกลีบกว้างสุด กว้าง 2-4 มม. ยาว 7-10 มม. เกสร เพศผู้ มีก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 5 มม. อับเรณูยาวประมาณ 1 มม. ยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ดอกเพศผู้ สีม่วง รูปร่างคล้ายดอกสมบูรณ์เพศแต่มีขนาดเล็กกว่าในทุก ๆ ส่วน กลีบรวมยาว 3-4 มม. เกสร เพศผู้ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ขนาดเล็กมากไม่พัฒนา ผลเป็นสัน ปกคลุมด้วยขนสั้นนุ่ม มี 3 ช่องเปิด กว้าง 7-8 มม. ยาวประมาณ 20 มม. เมล็ดรูปไต สีน�้ำตาล กว้างประมาณ 3 มม. ยาวประมาณ 5 มม. เย่ือหุ้มเมล็ด สีส้ม ประเทศไทย ภาคเหนือ: เชียงใหม่ น่าน ล�ำปาง; ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื : เลย การกระจายพนั ธ ์ุ เป็นพชื ถน่ิ เดยี วของไทย นิเวศวทิ ยา พบตามหนา้ ผาและซอกหินบนเขาหินปูน พ้นื ท่รี ่มเงาดินชุ่มชน้ื ในป่าดบิ แลง้ หรอื ปา่ ผลัดใบผสมตามชายเขาหินปูน ท่ีความสูงจากระดับทะเล 350-500 ม. ออกดอกและเปน็ ผลในเดือนสงิ หาคมถึง ตลุ าคม พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มป่าภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1 47

Habenaria rhodocheila Hance

orchidaceae

50 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

เอือ้ งขา้ วเหนียวลงิ Orchidaceae Calanthe rosea (Lindl.) Benth. ชอ่ื อน่ื เอือ้ งชมพูไพร (ภาคกลาง) อวั้ ชมพไู พร (ทวั่ ไป) กล้วยไมด้ นิ สูง 22-66 ซม. ล�ำตน้ ใต้ดนิ ชัดเจน รูปไข่ถงึ รปู ขอบขนาน กวา้ ง 1-3.5 ซม. ยาว 2.4-14 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ดอกเรยี งหลวม ๆ หรอื ค่อนข้างแนน่ มขี นสน้ั นุม่ ตอนปลายช่อบางครงั้ เป็นขอ้ กา้ นช่อดอก ยาวได้ถึง 46 ซม. ใบประดบั รองรบั ช่อดอก 4-8 ใบ รปู ขอบขนานแกมรูปใบหอก ยาว 1-6 ซม. ปลายแหลมถึง เรยี วแหลม แกนดอกยาว 10-20 ซม. ดอก 5 ดอกถึงจ�ำนวนมาก ใบประดบั รูปใบหอกแกมรปู ไข่ ปลายเรียวแหลม ตดิ ทน กวา้ ง 3-8 มม. ยาว 12-33 มม. ดอกสีชมพูแกมขาว กลบี เลย้ี งรปู ใบหอกแกมรูปไข่ ปลายแหลม ดา้ นนอก มขี นส้ันนมุ่ ปกคลมุ กลบี เลย้ี งบน กวา้ ง 6-8 มม. ยาว 16-30 มม. กลบี เลย้ี งข้าง กวา้ ง 4.5-7 มม. ยาว 17-30 มม. กลบี ปากรูปสเ่ี หลีย่ มผืนผา้ แกมรูปกลม กว้าง 11-16 มม. ยาว 18-35 มม. โคนสีขาว ไมเ่ ช่ือมกับเสา้ เกสรแต่ม้วน โอบ ขอบเป็นคลืน่ ปลายสชี มพูเปน็ ตง่ิ แหลมออ่ นหรือเวา้ ตืน้ เดอื ยรปู ทรงกระบอก ยาว 11-16 มม. มีขนสัน้ นมุ่ ปกคลุม เสา้ เกสรยาว 4-6 มม. มขี นส้นั น่มุ ปกคลุม ก้านดอกรวมรังไข่ยาว 20-29 มม. มีขนส้ันน่มุ ปกคลุม ประเทศไทย ภาคเหนอื : น่าน ลำ� ปาง ตาก; ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื : เพชรบรู ณ;์ ภาคตะวันตก เฉยี งใต:้ อุทยั ธานี กาญจนบรุ ี เพชรบุร:ี ภาคตะวนั ออกเฉียงใต:้ ปราจนี บุรี การกระจายพนั ธ ์ุ เมียนมา นเิ วศวิทยา พบในปา่ ดิบแลง้ ทข่ี นึ้ ผสมกบั ป่าผลดั ใบตามเขาหินปนู ตามซอกหนิ ปูน บางคร้ังพบ เป็นพชื องิ อาศัย ทีค่ วามสงู จากระดับทะเล 200-900 ม. ออกดอก (พฤศจิกายน) ธนั วาคมถงึ มกราคม (กุมภาพันธ์) ​ พรรณไม้เขาหินปนู ในกลมุ่ ป่าภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1 51

52 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

อ้วั Orchidaceae Calanthe triplicata (Willemet) Ames ชอื่ อน่ื ข้าวตอกฤาษี (เชียงใหม่) พุ่มข้าวตอก (ท่ัวไป) อ้ัวดอกขาว (ท่ัวไป) กล้วยไม้ดินสูง 40–100 ซม. เหง้าสั้นไม่ชัดเจน หัวเทียมรูปทรงกระบอกแกมรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 –2 ซม. ยาว 1–3 ซม. มีกาบ 2–3 อัน ใบเด่ียว 3–4 ใบ เรียงเป็นกระจุกท่ีโคน รูปรีหรือรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 5–12 ซม. ยาว 20–60 ซม. โคนรูปล่ิม ขอบเรียบหรือเป็นคล่ืนเล็กน้อย ปลายแหลม ผิวใบด้านล่าง เกลี้ยงหรือมีขนประปราย ก้านใบยาว 10–18 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะออกที่ซอกใบ ต้ังตรง ยาว 30–70 ซม. ดอกจ�ำนวนมาก หนาแน่น แกนดอกยาว 5–20 ซม. ใบประดับติดทน รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 10–20 ซม. ปลายแหลม มีขนประปรายถึงเกือบเกลี้ยง ดอกสีขาว บางครั้งพบเป็นสีม่วงแดง เม่ือแก่เปล่ียนเป็นสีส้ม กลีบเลี้ยงบนโค้งลง รูปเกือบรี กว้าง 4.5–5.5 มม. ยาว 10–12 มม. ผิวด้านล่างมีขนประปราย เส้นตามยาว 5 เส้น ปลายแหลมหรือเป็นต่ิงเล็กเรียวแหลม กลีบเล้ียงข้างโค้ง รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ ค่อนข้างเบี้ยว กว้าง 5–6 มม. ยาว 10–13 มม. ผิวด้านล่างมีขนประปราย เส้นตามยาว 5 เส้น กลีบดอกโค้ง รูปใบหอกแกมรูปไข่ กลับ กว้าง 3–4.5 มม. ยาว 8–10 มม. ผิวด้านล่างมีขนประปราย เส้นตามยาว 3 เส้น โคนกลีบคอดเป็นก้าน กลีบ กลีบปากติดตลอดความยาวของเส้าเกสร กว้างประมาณ 14 มม. ยาว 12–18 มม. ปลายกลีบแยกเป็น 3 พูลึก พูข้างรูปขอบขนานถึงรูปลิ่มแกมรูปไข่กลับ กว้างประมาณ 3 มม. ยาวประมาณ 7 มม. ปลายมน พูกลาง แบ่งเป็น 2 แฉกลึก มีติ่งเล็กเรียวแหลมตรงแฉกเว้าลึก แต่ละแฉกรูปขอบขนานแกมรูปแถบ กว้างประมาณ 3 มม. โคนกลีบมีต่อมนูนสีทองหรือสีแดงอมส้ม เรียงเป็นแถว 3-4 แถว เดือยสีขาว รูปทรงกระบอกตรง เรียว ยาว (6–)12–15 มม. ปลายมน ด้านนอกมีขนประปราย เส้าเกสรขยายตอนปลาย ยาวประมาณ 5 มม. มีขน ประปราย จะงอยมี 2 พูลึก แต่ละพูรูปเกือบขอบขนาน ยาวประมาณ 2 มม. ปลายพูเกือบตัด อับเรณูอวบ รูปหัวใจ ยาวประมาณ 4 มม. กลุ่มเรณูรูปกระบอง ขนาดไม่เท่ากัน มีก้านกลุ่มเรณูชัดเจน มีแป้นเหนียวขนาด เล็ก รูปเกือบรี ก้านดอกรวมรังไข่ ยาว 30–40 มม. มีขนประปราย ฝักรูปทรงไข่กลับถึงรูปทรงกระบอก ยาว ประมาณ 4 ซม. ประเทศไทย พบเกือบทั่วทกุ ภาคของประเทศไทย ยกเว้นภาคกลาง การกระจายพนั ธ ์ุ พบกระจายตง้ั แต่ ภฏู าน อนิ เดยี ศรีลังกา ญี่ปนุ่ กัมพูชา เวยี ดนาม ลาว มาเลเซีย ฟลิ ปิ ปนิ ส์ อนิ โดนีเซยี ออสเตรเลีย มาดากัสการ์ และดา้ นตะวันตกเฉยี งใตข้ องหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซฟิ กิ นเิ วศวทิ ยา พบขน้ึ ตามพนื้ ปา่ ดบิ ทค่ี วามสงู จากระดบั ทะเล 400–2,000 ม. ออกดอกในชว่ งเดอื น เมษายนถงึ พฤษภาคม ช่วงออกดอกจะไม่ท้งิ ใบ พรรณไม้เขาหนิ ปนู ในกลุ่มป่าภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1 53

54 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

เออ้ื งดินปากพดั เมืองกาญจน์ Orchidaceae Cheirostylis montana Blume ชอ่ื อนื่ - กลว้ ยไมด้ นิ สูง 12-22 ซม. ใบเด่ียว เรียงเปน็ กระจุกบรเิ วณสว่ นโคนของล�ำต้น จำ� นวน 3-5 ใบ รูปใบ หอกถงึ รปู ไข่ กวา้ ง 0.3-1.4 ซม. ยาว 1-3.5 ซม. โคนมน ขอบเรียบ ปลายแหลมถงึ เรยี วแหลมหรือเปน็ ติ่งแหลม ช่อดอกแบบช่อกระจะ ปกคลุมด้วยขนต่อม ดอก 3-10 ดอก แกนช่อยาว 1.2-2.8 ซม. ใบประดับรองรับดอก ยอ่ ยรูปไข่กว้าง ปลายเรียวแหลม กวา้ ง 1.8-3.2 มม. ยาว 1.8-4.6 มม. ผิวดา้ นหลงั ปกคลุมดว้ ยขนตอ่ มสน้ั นมุ่ ด อกสีขาว ก้านดอกยาว กลีบเลี้ยงเช่ือมกันเป็นหลอด ยาว 3.5-3.9 มม. ปกคลุมด้วยขนต่อมสั้นนุ่ม กลีบดอก ต รงหรือโค้งขึ้น รูปใบหอกกลับ เบี้ยว กว้าง 1.1-1.3 มม. ยาว 3.2-4 มม. ปลายแหลมถึงมน ติดกับหลอด กลบี เล้ียง กลบี ปาก ยาว 3.5-4 มม. โคนกลบี ด้านในมแี ถบตมุ่ คลา้ ยรยางคเ์ รียงกัน 4-5 ตุ่ม 2 แถบ ตอนปลาย กลีบแผ่เป็นรูปขอบขนาน กว้าง 3-4 มม. ปลายเว้าลึกประมาณคร่งึ หนงึ่ ของความยาวกลบี แบ่งเปน็ สองพู ขอบ เ กือบเรียบหรือหยักมนถี่ไม่เป็นระเบียบ แต่ละพูกว้าง 2-2.2 มม. ยาว 2.8-3 มม. เส้าเกสรยาว 1.7-1.9 มม. อับเรณู ยาว 1.5-1.7 มม. ปลายเรียวแหลม ก้านดอกรวมรังไข่ ยาว 4.7-7.8 มม. มตี อ่ มขนต่อมกระจายอยู่ ฝกั ไม่พบ ประเทศไทย ภาคเหนือ: เชียงใหม;่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ: เลย; ภาคตะวันตก: กาญจนบุรี การกระจายพนั ธ ์ุ พบตั้งแต่เมยี นมา คาบสมุทรมาเลเซีย บอรเ์ นียว ชวา และซมั บาวา นเิ วศวิทยา พบตามพื้นป่าผลัดใบผสม ป่าดิบแล้งชายขอบเขาหินปูน หรือตามซอกหินปูน ทคี่ วามสูงจากระดับทะเลประมาณ 400-500 ม. ออกดอกและเป็นผลในช่วงเดือนกนั ยายนถึงธนั วาคม​ พรรณไม้เขาหินปนู ในกล่มุ ปา่ ภเู ขียว-น้ำ� หนาว 1 55

56 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

กะเรกะร่อนด้ามข้าว Orchidaceae Cymbidium bicolor Lindl. ชอื่ อน่ื กะเรกะร่อนสองสี กล้วยไม้อิงอาศัย หัวเทียมรูปไข่แกมขอบขนาน ค่อนข้างแบน กว้างประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 5 ซม. ใบ 5-7 ใบ รปู ลนิ้ แคบ กวา้ ง 1.2-2.9 ซม. ยาว 30-68 ซม. ปลายเบ้ียว ทู่ เป็นติง่ หนามออ่ น โค้ง ไมม่ ีกา้ นใบ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ยาว 10-50 ซม. โค้งถึงห้อยลง มี 5-26 ดอก แกนช่อยาว 8-33 ซม. ใบประดบั ยาว 1.5-4.5 มม. ดอกมกี ลน่ิ หอมอ่อน ๆ คลา้ ยผลไม้ เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 2.5-4.5 ซม. กลีบเล้ียงและกลบี ดอกสเี หลอื งอ่อนถงึ สี ครมี มแี ถบสนี ำ้� ตาลแดงตามยาว กลบี ปากสคี รมี พขู า้ งมจี ดุ ประเลก็ ๆ สนี ำ้� ตาลแดง สว่ นโคนของพกู ลางสขี าวถงึ สี เหลอื ง มจี ดุ ประนอ้ ยใหญส่ นี ำ�้ ตาลแดง ขอบสคี รมี ถงึ สเี หลอื ง ถดั เขา้ ไปเปน็ แถบของจดุ ประขนาดเลก็ สนี ำ�้ ตาลแดง กลบี เลี้ยงบนตงั้ ตรง รปู ขอบขนานแคบถงึ รปู ลน้ิ แกมรูปไขก่ ลับแคบ กว้าง 4-6.5 มม. ยาว 16.5-28 มม. ปลายทู่ ถึงเกือบแหลม มักเปน็ ติ่งหนาม กลีบเลยี้ งข้างคลา้ ยกลีบเล้ยี งบน เบ้ยี ว แผอ่ อก กลบี ดอกตงั้ ตรง แผ่แบน รูปขอบ ขนานแคบถึงรูปรแี คบ กวา้ ง 4-6.2 มม. ยาว 15-21.5 มม. ปลายทูห่ รือแหลม กลบี ปากกว้าง 9.5-15.5 มม. ยาว 12.5-18 มม. โคนกลีบเป็นถงุ มขี นส้ันน่มุ ปกคลมุ พูขา้ งสัน้ กว่าหรอื ยาวพอ ๆ กบั เส้าเกสร ปลายมน พูกลางรปู ไข่ กวา้ ง กว้าง 6-9.6 มม. ยาว 5.2-8.7 มม. ขอบเรียบหรอื เป็นคลื่น มีสันตามยาวขนานกัน 2 สนั ปลายกลม โค้งขึน้ ปกคลุมด้วยขนส้ันน่มุ หรือขนต่อม เสา้ เกสรยาว 9-12 มม. มคี างดอก กลุม่ เรณู 2 กลุ่ม ฝักรปู รีแกมรปู ขอบขนาน กวา้ ง 2-3 ซม. ยาว 4-6 ซม. ประเทศไทย ภาคเหนือ: เชยี งใหม่ พะเยา น่าน อตุ รดติ ถ์ ตาก พิษณุโลก; ภาคตะวนั ออกเฉียง เหนอื : เพชรบูรณ์ เลย สกลนคร; ภาคตะวันออก: ชัยภูมิ นครราชสีมา; ภาคตะวนั ตกเฉียงใต้: กาญจนบุร;ี ภาค กลาง: นครนายก; ภาคตะวนั ออกเฉยี งใต:้ จนั ทบรุ ี; ภาคใต้: ระนอง นครศรธี รรมราช ตรงั การกระจายพนั ธ ์ุ พบตงั้ แตเ่ นปาล อินเดยี (สิขขิม อสั สมั ) จนี เมยี นมา และแถบอินโดจนี ​ นิเวศวทิ ยา พบองิ อาศยั บนกง่ิ กา้ นหรอื ลำ� ตน้ ของตน้ ไมใ้ นปา่ ผลดั ใบ หรอื ขนึ้ บนหนิ ในระบบนเิ วศ เขาหนิ ปนู ท่คี วามสูงจากระดับทะเล 0–1,200 ม. ออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพนั ธถ์ งึ มถิ ุนายน พรรณไม้เขาหนิ ปนู ในกลมุ่ ป่าภเู ขียว-น้ำ� หนาว 1 57

58 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

หมกู ล้ิง Orchidaceae Eulophia andamanensis Rchb. f. ชอ่ื อนื่ - กล้วยไม้ดิน หัวเทียมเจริญบนผิวดิน ทรงกลมแกมรูปกรวยหรือรูปหยดน�้ำ กว้าง 1.3-2.9 ซม. ยาว 2.5-8 ซม. ใบเดี่ยว จ�ำนวน 3-7 ใบ เรียงเป็นกระจุกที่โคนต้น รูปแถบถึงรูปใบหอกกลับแคบ ๆ กว้าง 0.5-1.9 ซม. ยาว 3-44.5 ซม. โคนเป็นกาบหุ้มล�ำต้น ขอบเรียบ ปลายแหลมถึงเรียวแหลม ช่อดอกแบบช่อ ก ระจะ ยาว 15-74 ซม. ดอกเรียงหลวม ๆ 5 ดอกถึงจ�ำนวนมาก ก้านช่อดอกสีเขียว ยาว 7.5-24.5 ซม. ใบประดับส้ันกว่าความยาวของรังไข่ ดอกค่อนข้างตรงหรือแผ่กางออก บานกว้าง สีเขียวถึงสีเขียวแกมน�้ำตาล กลีบปากสีขาว ขอบสีเขียว เส้นตามยาวสีน้�ำตาลแดง กลีบเลี้ยงเกลี้ยง ปลายแหลม เรียวแหลม หรือเป็นต่ิง แหลม กลีบเลี้ยงบนรูปแถบถึงรูปใบหอกแคบ กว้าง 1.2-3.7 มม. ยาว 11-16.2 มม. กลีบเลี้ยงข้างรูปแถบ เ บ้ียวถึงรูปแถบแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 1.5-3.8 มม. ยาว 12.2-18.6 มม. กลีบดอกเกลี้ยง รูปใบหอก เบ้ียว ปลายแหลม เรียวแหลม หรือเป็นติ่งแหลม กว้าง 1.8-3.7 มม. ยาว 9-13.8 มม. กลีบปากเป็น 3 พู เม่ือแผ่แบน กว้าง 5-11.6 มม. ยาว 8-12.2 มม. ที่โคนกลีบมีรยางค์ ด้านในกลีบเกลี้ยง พูกลางรูปไข่กลับถึง รูปรี หรือรูปเกือบกลม ขอบเป็นคล่ืน มีสัน 3 สัน เรียบหรือมีลักษณะคล้ายหูด ทอดยาวจากโคนไปจนถึง กลางกลีบ รยางค์คล้ายกระบอง ตรงหรือโค้งไปด้านใน ยาว 3-4 มม. เส้าเกสรยาว 3-4.8 มม. ไม่มีคางดอก ก้านดอกรวมรังไข่ ยาว 10-24 มม. ฝักรปู กระสวย ห้อยลง เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางยาว 1-1.4 ซม. ยาว 2.5-2.9 ซม. ประเทศไทย ภาคเหนือ: เชยี งใหม่ พิษณโุ ลก นครสวรรค์; ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื : เลย; ภาค ตะวนั ตกเฉียงใต้: กาญจนบรุ ี เพชรบรุ ี ประจวบครี ีขันธ;์ ภาคกลาง: สระบรุ ;ี ภาคตะวันออกเฉียงใต้: ชลบุรี; ภาค ใต:้ ชมุ พร สรุ าษฏร์ธานี พงั งา ภูเก็ต สตูล สงขลา การกระจายพนั ธ ์ุ พบตง้ั แตห่ มเู่ กาะนโิ คบาร์ หมเู่ กาะในทะเลอนั ดามนั เมยี นมา ลาว เวยี ดนาม กมั พชู า แหลมมลายู และสุมาตรา นเิ วศวทิ ยา พบขึ้นบริเวณสันทรายตามชายหาด ป่าดิบระดับต่�ำ ป่าผลัดใบ ป่าทุ่ง ป่าไผ่ โดย เ ฉพาะอย่างยิ่งตามร่องหินปูนในระบบนิเวศเขาหินปูน ที่ความสูงจากระดับทะเล 0–400(–1,200) ม. โดยปกติ ออกดอกในชว่ งเดอื นมนี าคมถึงมถิ นุ ายน แตม่ บี ันทกึ วา่ เคยพบในชว่ งเดอื นมกราคมถึงพฤศจกิ ายน ​ พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลมุ่ ป่าภเู ขยี ว-นำ้� หนาว 1 59

60 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

วา่ นจูงนางหลวง Orchidaceae Geodorum terrestre (L.) Garay ชอื่ อน่ื ว่านจูงนาง (ทั่วไป) กล้วยไม้ดิน หัวใต้ดินรูปไข่แกมรูปสามเหล่ียม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.7 ซม. ยาวประมาณ 3.8 ซม. ใบและดอกออกในช่วงเวลาเดยี วกนั ใบเด่ยี ว รูปขอบขนานแกมรูปรถี ึงรปู ขอบขนานแกมรูปไข่กลบั กวา้ ง (2.8-)7-10 ซม. ยาว (8-)21.9-31 ซม. ช่อดอกแบบชอ่ กระจะ ยาว 12-33(-41) ซม. ปกตจิ ะสน้ั กว่าความยาว ทั้งต้น มี 7-9 ดอกในช่อ กา้ นช่อดอกเส้นผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 4 มม. ใบประดบั กว้าง 1-5.5 มม. ยาว 6-36 มม. ปลายเรยี วแหลม ดอกสีครีมถึงสเี หลืองอมเขียว กลีบเลีย้ งมเี สน้ ตามยาว 5-7 เสน้ กลบี เล้ียงบนรูปขอบขนาน แกมรปู ใบหอกกลับ กว้าง 4-7 มม. ยาว 16.5-33.8 มม. ปลายเรียวแหลม กลีบเลย้ี งขา้ งรูปขอบขนานค่อนข้าง เบ้ยี ว กว้าง 3.4-7.2 มม. ยาว 17.8-35 มม. ปลายเรยี วแหลม กลบี ดอกรปู ขอบขนานแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 5.5-11.2 มม. ยาว 16.5-31.6 มม. ปลายแหลม มีเสน้ ตามยาว 5-9 เสน้ กลีบปากกว้าง 7-12 มม. ยาว 15.5-24.8 ม ม. โคนกลีบมีต่อมเนื้อรูปตัววีเรียงเป็น 2 สัน เกือบจรดปลายกลีบ ขอบม้วนเข้าเล็กน้อย ปลายทู่ถึงกลมหรือ เวา้ บุ๋ม เส้าเกสรยาว 5.5-9.5 มม. ฝกั รปู ขอบขนาน กว้างไม่เกนิ 2 ซม. ยาวไมเ่ กิน 5 ซม. ประเทศไทย ภาคเหนอื : เชยี งใหม่ ลำ� พนู ตาก; ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื : เพชรบรู ณ์ หนองบวั ลำ� ภ;ู ภาคตะวันตกเฉียงใต้: กาญจนบรุ ี ราชบรุ ี เพชรบรุ ี ประจวบคีรีขนั ธ์; ภาคกลาง: สระบรุ ;ี ภาคตะวันออกเฉียงใต้: ปราจีนบุรี ชลบรุ ี; ภาคใต:้ สุราษฏร์ธานี กระบี่ สตลู สงขลา ยะลา การกระจายพนั ธ ์ุ พบต้งั แตบ่ งั คลาเทศ เมียนมา กมั พูชา เวียดนาม ไปจนถงึ แหลมมลายู นเิ วศวิทยา พบขึน้ ตามพนื้ ดินในป่าดิบ ปา่ ผลดั ใบ หรอื ตามท่รี าบชายเขาหินปนู ที่ความสูงจาก ระดับทะเล 0–1,000 ม. ออกดอกในช่วงเดอื นพฤษภาคมถึงสิงหาคม ​ พรรณไม้เขาหนิ ปนู ในกลุม่ ป่าภเู ขยี ว-นำ้� หนาว 1 61

62 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

นางอว้ั ปากสอ้ ม Orchidaceae Habenaria furcifera Lindl. ชอ่ื อนื่ นางอั้วไพล (ทั่วไป) กล้วยไม้ดินสูง 25-68 ซม. ใบเดี่ยว เรียงเป็นกระจุกบริเวณส่วนโคนของล�ำต้น 2-6 ใบ รูปรีแกมรูป ไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง (1.9-)2.5-5.7 ซม. ยาว (9-)15-24 ซม. ปลายแหลมหรือเป็นติ่งแหลม ใบ ประดับรองรบั ช่อดอก เกือบตง้ั ตรง รปู ใบหอก ยาว 0.8-3.1(-6) ขอบมีขนส้ัน ๆ ปลายเรยี วแหลม ช่อดอกแบบ ช่อกระจะ ออกหลวม ๆ ดอกจ�ำนวนมาก แกนชอ่ ยาว (3-)9-23 ซม. ใบประดับรปู ใบหอกแคบ กวา้ ง 2-3.9 มม. ยาว 6.5-11(-15) มม. ขอบมีขนสัน้ ๆ ปลายเรียวแหลม ดอกสีเขียวซดี เส้นผา่ นศนู ย์กลาง 7-13 มม. กลบี เลี้ยง บนตง้ั ตรง รปู รีกว้างถึงรูปใบหอกแกมรปู ไข่ กวา้ ง 2.2-3(-4.2) มม. ยาว (2.8-)4.3-5 มม. กลบี เลีย้ งขา้ งโคง้ กลบั รูปไขเ่ บี้ยว กว้าง 1.6-2 มม. ยาว (3-)3.5-5 มม. กลีบดอกเชอื่ มกบั กลีบเลย้ี งบนมลี ักษณะเป็นรปู คมุ่ รูปรแี กมรปู ขอบขนาน กวา้ ง 1-2.3 มม. ยาว 3-5 มม. ปลายมน กลีบปากกวา้ งประมาณ 4 มม. ยาว 4-11 มม. แบ่งเป็น 3 พ ู พูกลางรปู แถบกวา้ งถงึ รปู ขอบขนาน กว้าง 1-1.5 มม. ยาว 3-5(-6.5) มม. พูขา้ งรูปแถบ โคง้ พับลง กว้าง 0.3-0.9 มม. ยาว 4-10.5 มม. เดือยรูปทรงกระบอก ยาว (15-)17-25 มม. เสา้ เกสรยาว 2-3 มม. ร่องอับเรณสู ัน้ ยอดเกสร เพศเมียยาวประมาณ 1 มม. จะงอยมีต่อมหูดรูปกรวย 1 ตอ่ ม กา้ นดอกรวมรงั ไข่ ยาว 12-21 มม. ฝกั แบบแคปซูล รปู กระสวยแกมรูปรี เส้นผ่านศูนยก์ ลาง 3-4.6 มม. ยาว 13.5-17 มม. ปลายมีจะงอยสนั้ ๆ ประเทศไทย ภาคเหนอื : เชียงใหม่ ก�ำแพงเพชร; ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื : ชัยภมู ;ิ ภาคตะวัน ตกเฉียงใต้: ราชบรุ ี การกระจายพนั ธ ์ุ พบตัง้ แต่อนิ เดยี ปากีสถาน เนปาล บังคลาเทศ จนี (ยูนนาน) เมยี นมา และลาว นเิ วศวทิ ยา พบในปา่ ดบิ ปา่ ผลดั ใบผสม ปา่ ไผบ่ นเขาหนิ แกรนติ และหนิ ดนิ ดาน และปา่ พมุ่ แคระ ท่คี วามสูงจากระดับทะเล 100-1,050 ม. ออกดอกในชว่ งเดอื นกนั ยายนถึงธนั วาคม ​ พรรณไม้เขาหนิ ปนู ในกล่มุ ป่าภเู ขียว-นำ้� หนาว 1 63

64 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

ปดั แดง Orchidaceae Habenaria rhodocheila Hance ชอื่ อนื่ เฟิน (นครศรีธรรมราช) ล้ินมังกร (ท่ัวไป) สังหิน (เลย) กล้วยไม้ดินสูง 15–25 (อาจสูงถงึ 42) ซม. ลำ� ต้นเปน็ หัวอยู่ใต้ดนิ เกลยี้ ง ใบเดย่ี ว จ�ำนวน 4–5 ใบ เรียง เวียนอยู่ตอนโคนของล�ำต้น สีเขียว บางครั้งมีจุดสีเขียวอมเทากระจายอยู่ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน กว้าง (0.6–)1–1.9(–3.8) ซม. ยาว 4–17(–24) ซม. โคนแผเ่ ปน็ กาบ ขอบเรยี บหรือเปน็ คล่ืน ปลายแหลมหรอื เปน็ ติ่ง หนามส้ัน แผน่ ใบบาง กา้ นใบไมช่ ดั เจน ใบประดับจำ� นวน 2–8(–10) ค่อนข้างตง้ั ตรง รูปใบหอก ยาว 1.8–4(–8) ซม. ปลายเรียวแหลม ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะออกทปี่ ลายยอด ตัง้ ตรง ยาว 7–18 ซม. ดอกออกห่าง ๆ จำ� นวน 2–20 ดอก แกนช่อดอก ยาว 1–6 ซม. ใบประดบั รูปใบหอกถงึ รปู ไข่ กว้าง 4–6 มม. ยาว 15–22 มม. ดอกบาน มีเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 2–3.5 ซม. สีแดง สีเหลือง สีชมพู หรือสีขาว (พบได้ยาก) กลีบเล้ยี งสเี ขยี วออ่ น รปู รี ปลายเกอื บแหลม กลีบเล้ียงบนตรง กวา้ ง 6–7(–10) มม. ยาว 6–9(–15) มม. กลีบเลยี้ งข้างโคง้ พบั ลง กวา้ ง 3.5–6 มม. ยาว (5.5–)8–13 มม. โคนกลีบเชอ่ื มติดกับกลีบปาก กลีบดอกรูปรา่ งคลา้ ยถงุ ติดกบั กลบี เล้ยี งบน รูป แถบกวา้ งแกมรูปรี กวา้ ง 1.5–3 มม. ยาว 6–7.8(–13) มม. ปลายคอ่ นข้างแหลม เสน้ ตามยาว 1 เสน้ กลบี ปาก 3 พู กวา้ ง 12–23 มม. ยาว 16–27 มม. ก้านกลีบยาว 2–5(–8) มม. โคนกลีบมรี อยต่ออย่ดู ้านหนา้ คาง พูกลาง รูปช้อน กว้าง (7.5–)9–13(–19) มม. ยาว 9–14(–19) มม. ปลายแยกเปน็ 2 แฉกลึก พขู ้างแผอ่ อกคล้ายพัด รูป ขอบขนานแกมรปู ไข่ กว้าง 4–6.3(–12) มม. ยาว 9–13(–21) มม. คางรูปทรงกระบอก ยาว 30–45(–50) มม. ปลายเปน็ รปู กระบอง เส้าเกสร ยาว 3–5 มม. อับเรณูเปน็ ร่อง ยาว 4–8 มม. ตรงกลางมีจะงอยย่ืนออกมา รยางค์ ไมเ่ ดน่ ชดั กา้ นดอกรวมรงั ไข่ ยาว 19–32 มม. ฝกั รปู กระสวยแกมรปู รี เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 4–5.2 มม. ยาว 28.1–38 มม. มีรยางคท์ ่ีปลายฝัก ประเทศไทย ภาคเหนือ: แมฮ่ อ่ งสอน เชยี งใหม่ น่าน ล�ำพูน ล�ำปาง พิษณุโลก; ภาคตะวันออก เฉยี งเหนอื : เพชรบรู ณ์ เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม มกุ ดาหาร; ภาคตะวันออก: ชยั ภมู ิ นครราชสมี า; ภาค ตะวนั ตกเฉียงใต้: กาญจนบุรี ราชบุรี; ภาคกลาง: นครนายก; ภาคตะวันออกเฉียงใต้: ปราจนี บุรี ระยอง จนั ทบุรี ตราด; ภาคใต้: ระนอง พังงา นครศรีธรรมราช พัทลงุ ตรัง การกระจายพนั ธ ์ุ พบตงั้ แต่ จนี เมยี นมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม คาบสมุทรมาเลเซยี และฟิลิปปนิ ส์ นเิ วศวทิ ยา พบขน้ึ ในปา่ เบญจพรรณ ทงุ่ หญา้ ตามปา่ สน ปา่ ไผ่ แมก้ ระทงั่ บนเขาหนิ ปนู หนิ ทราย หินเชล และหินแกรนิต ริมน้�ำ และบริเวณน้�ำตก พบท้ังบริเวณชื้นแฉะและลานหิน ที่ความสูงจากระดับทะเล 200–900(–1,300) ม. ออกดอกในช่วงเดอื นกรกฎาคมถึงมกราคม ​ พรรณไม้เขาหนิ ปนู ในกลุม่ ปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1 65

66 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

หญ้าเปราะนกน้อย Orchidaceae Liparis stenoglossa C. S. P. Parish & Rchb. f. ชอ่ื อนื่ - กลว้ ยไมด้ นิ หรือกล้วยไมข้ ึน้ บนหิน สงู ประมาณ 20 ซม. ลำ� ตน้ ใตด้ นิ รปู รี เส้นผา่ นศนู ย์กลางประมาณ 1 ซม. ยาว 2-2.5 ซม. มเี ย่ือบาง ๆ หุม้ ใบเดี่ยว 2-3 ใบ เรยี งสลับ รูปรีหรอื รปู ไข่แกมรปู รี กว้าง 2-3.5 ซม. ยาว 3.5-8.5 ซม. โคนแผ่เปน็ กาบ ขอบเรียบ ปลายเรยี วแหลม เนื้อใบบาง เสน้ ใบ 5 เสน้ กา้ นใบเปน็ ร่อง ยาว 1.5-4.5 ซม. ช่อดอกแบบชอ่ กระจะ ต้งั ตรง ยาว 8-17.5 ซม. ดอกออกหลวม ๆ ไมเ่ กนิ 20 ดอก กา้ นชอ่ ดอกเรยี ว กลม หรือเปน็ สันเลก็ น้อย ยาว 3-7.5 ซม. แกนชอ่ ดอกคอ่ นข้างเป็นสนั ยาว 4.5-9.5 ซม. ใบประดับรปู ใบหอก ยาว 2-3 มม. ดอกสเี ขียวอมมว่ ง กลีบเล้ียงเกลยี้ งทัง้ สองด้าน เส้นตามยาว 3 เสน้ กลีบเล้ยี งบนรูปใบหอกแกมรูปแถบ กวา้ งประมาณ 1.2 มม. ยาว 5.3-6.5 มม. ปลายแหลม กลีบเลยี้ งข้างรูปรแี กมรูปขอบขนาน คล้ายรูปเคียว กว้าง 1.5-1.8 มม. ยาว 4-5 มม. ปลายมน กลบี ดอกรูปแถบ กวา้ ง 0.5-0.6 มม. ยาว 5-6.2 มม. ขอบกลบี ทัง้ 2 ด้าน มว้ นไปด้านหลัง ปลายมน เส้นตามยาว 1 เสน้ กลีบปากรูปขอบขนานแกมรปู ไข่กลบั กว้าง 2-2.5 มม. ยาว 4-4.5 ม ม. โคนกลีบมีต่ิงเนื้อขนาดเล็กลักษณะคล้ายเข้ียว 1 คู่ ขอบด้านข้างเรียบ ปลายกลีบเว้าบุ๋ม ขอบหยักไม่เป็น ระเบยี บ เสา้ เกสรสขี าวแกมเขยี ว รปู กง่ึ ทรงกระบอก ยาว 3-3.2 มม. โคง้ ออกจากแกนดอก อบั เรณสู มี ว่ งแกมเหลอื ง รปู หวั ใจแกมรปู ไข่ ปลายเรียวแหลม กา้ นดอกรวมรังไขเ่ กล้ียง บดิ เวียน สีมว่ งแดง มสี ันตามยาว 6 สัน สีม่วงแดง แกมเหลอื ง ยาว 7.5-10 มม. ฝักรูปทรงกระบอก สีมว่ งแดง มี 6 สัน ประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื : ชัยภมู ิ เลย (คาดว่าน่าจะพบตามเขาหนิ ปูนในภาคอ่นื ๆ แต่ยังขาดข้อมลู ) การกระจายพนั ธ ์ุ เมียนมา นิเวศวทิ ยา ข้ึนตามซอกหินปูนในที่มีร่มเงา หรือเปิดโล่งเล็กน้อย ท่ีความสูงจากระดับทะเล 400–600 ม. ออกดอกในชว่ งเดือนพฤษภาคมถงึ มิถนุ ายน เป็นผลในชว่ งเดอื นกรกฎาคมถงึ กนั ยายน ​ พรรณไม้เขาหินปนู ในกล่มุ ปา่ ภเู ขียว-นำ้� หนาว 1 67

68 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

เอ้ืองแพนใบกลม Orchidaceae Oberonia cavaleriei Finet ชอ่ื อน่ื - กล้วยไม้อิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน ท้ังต้นมีขนาดเล็กมาก ใบเด่ียว 4-6 ใบ โคนใบมีข้อต่อชัดเจน กลม ปลายแหลม ใบท่ียาวท่ีสุด กว้าง 0.5-0.6 ซม. ยาว 7.5-13 ซม. ช่อดอกห้อยลง ดอกออกหนาแน่น ยาว 6-11 ซม. ก้านช่อดอกกลม สีเขียวแกมส้ม ยาวประมาณ 0.8 ซม. มีขนส้ันนุ่ม มีเกล็ดคล้ายใบประดับจ�ำนวนมาก แกนช่อดอกสีเขียวแกมส้ม ยาว 5-10 ซม. ไม่อวบน�้ำ เรียบ มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับสีส้มซีดหรือสีขาว รูปใบ หอก กว้างประมาณ 0.9 มม. ยาว 3.3-3.5 มม. ปลายเรียวแหลม ผิวด้านบนมีขนส้ันนุ่ม ผิวด้านล่างเกลี้ยง ด อกสีส้มสว่าง เรียงสลับรอบข้อ ย่ืนออกจากแกนดอก ก้านดอกค่อนข้างส้ัน กว้างประมาณ 1 มม. ยาว 2 -3 มม. กลีบเล้ียงโค้งกลับไปด้านหลัง ขอบเรียบ ผิวด้านบนมีขนส้ันนุ่ม ผิวด้านล่างเกลี้ยง กลีบเล้ียงบน รูปไข่ กว้างประมาณ 0.8 มม. ยาวประมาณ 1.3 มม. ปลายแหลมหรือมน กลีบเลี้ยงข้างรูปไข่ กว้างประมาณ 0.9 มม. ยาวประมาณ 1.3 มม. ปลายเกือบแหลม กลีบดอกโค้งกลับไปด้านหลังเล็กน้อย รูปขอบขนานแกม รูปแถบ กว้างประมาณ 0.35 มม. ยาวประมาณ 1.35 มม. ขอบเรียบ ปลายมน เกล้ียง กลีบปากตั้งฉากกับ เส้าเกสร เว้าตรงโคนกลีบ มี 3 พู กว้างประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 3 มม. ปกคลุมด้วยปุ่มเล็ก ๆ หนาแน่น พูข้างกว้าง 1-1.2 มม. ยาว 0.5-0.58 มม. ขอบจักเป็นครุย ไม่เท่ากัน 4-5 แฉก พูกลางโค้งเข้าด้านใน รูปเกือบกลมถึงรูปไข่แคบ ๆ ขอบจักเป็นครุยลึก ไม่เท่ากัน 6-8 แฉก กว้างประมาณ 2 มม. ยาว 2.2-2.7 มม. ปลายพูแหลม เส้าเกสร (รวมรังไข่) รูปกระบอง ยาวประมาณ 0.48 มม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.45 มม. ขอบด้านหน้าพัฒนาคล้ายปีก อับเรณูกว้างประมาณ 0.3 มม. ยาวประมาณ 0.33 มม. กลุ่มเรณูยาวประมาณ 0.17 มม. จะงอยปลายแหลม ยอดเกสรเพศเมียมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.3 มม. ก้านดอกรวมรังไข่ รูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 1.15 มม. มีขนประปรายถึงเกลี้ยง ฝักรูปทรงรี สีเหลืองแกมเขียว ยาวประมาณ 4 มม. เกล้ียง ประเทศไทย ภาคเหนือ: ตาก; ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื : เลย การกระจายพนั ธ ์ุ พบตั้งแตจ่ นี เนปาล หมิ าลัยดา้ นตะวนั ตก เมยี นมา และเวียดนาม นิเวศวทิ ยา พบข้ึนอิงอาศัยบนต้นไม้หรือขึ้นบนหิน ในระบบนิเวศเขาหินปูน หรือริมน้�ำตกเขา หนิ ปนู ที่ความสงู จากระดับทะเล 400–600 ม. ออกดอกในชว่ งเดือนมิถนุ ายนถึงกนั ยายน ​ พรรณไม้เขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1 69

70 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

เอ้อื งแพนใบใหญ่ Orchidaceae Oberonia ensiformis (Sm.) Lindl. ชอ่ื อนื่ - กล้วยไม้อิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน ทั้งต้นมีขนาดเล็กมาก ใบเด่ียว 4-6 ใบ โคนใบมีข้อต่อชัดเจน แบนด้านข้าง รูปร่างใบเกือบเป็นรูปเคียว เบ้ียว ปลายแหลม ใบท่ียาวที่สุด กว้าง 1.3-2 ซม. ยาว 15-30 ซม. ช่อดอกห้อยลง สีขาวอมเหลือง ยาว 6-16.5 ซม. ดอกจ�ำนวนมากเรียงหนาแน่น ก้านช่อดอกทรงกระบอก ยาว 1.8-7.2 ซม. เกลี้ยง มีเกล็ดที่มีลักษณะคล้ายใบประดับกระจายอยู่เป็นจ�ำนวนมาก แกนช่อดอกยาว 5.6-12 ซม. ไม่อวบน้�ำ มีร่องตามยาว ค่อนข้างเรียบ เกลี้ยง ใบประดับสีเหลืองอ่อนถึงสีเหลืองอมน�้ำตาล รูปไข่กว้าง กว้างประมาณ 1.5 มม. ยาวประมาณ 2.3 มม. ปลายมน ขอบหยักซี่ฟัน ด้านใกล้แกนมีปุ่มเล็ก ๆ กระจายอยู่ ด้านไกลแกนเกลี้ยง ดอกสีเหลือง สีเหลืองอมเขียว หรือสีเหลืองอมน้�ำตาล มีก้านดอก ออกตั้งฉากกับแกนช่อ ดอก เรียงสลับ กลีบเลี้ยงโค้งกลับไปด้านหลัง ด้านใกล้แกนปกคลุมด้วยปุ่มเล็ก ๆ กระจายอยู่ห่าง ๆ ด้านไกล แกนเกลี้ยง ขอบเรียบ กลีบเล้ียงบนรูปไข่แกมรูปรี รูปกลม กว้างประมาณ 0.93 มม. ยาวประมาณ 1.4 มม. กลีบเล้ียงข้างรูปไข่กว้าง กว้าง 1-1.1 มม. ยาวประมาณ 1.25 มม. ปลายแหลม กลีบดอกโค้งกลับไปด้านหลัง รูปไข่แคบถึงรูปไข่แกมรูปใบหอก กว้างประมาณ 0.8 มม. ยาวประมาณ 1.3 มม. ขอบหยักไม่เป็นระเบียบ ปลายมน ผิวทั้ง 2 ด้านปกคลุมหนาแน่นด้วยปุ่มเล็ก ๆ กลีบปากต้ังฉากกับเส้าเกสร มี 3 พู กว้างประมาณ 1.8 มม. ยาวประมาณ 2 มม. โคนกลีบนูน บริเวณส่วนโคนของพูกลางมีตุ่มเน้ือ 2 อัน พูข้างแผ่แบนรูปเกือบกลม กว้างประมาณ 0.63 มม. ยาวประมาณ 0.68 มม. ขอบหยักไม่เป็นระเบียบ พูกลางแผ่แบนรูปคล้ายรูปหัวใจ กว้างประมาณ 0.6 มม. ยาวประมาณ 0.9 มม. ขอบหยักไม่เป็นระเบียบ ปลายเว้าลึก เส้าเกสร (รวมรังไข่) รูปคล้ายรูปกระบอง ยาวประมาณ 0.39 มม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.49 มม. อับเรณูกว้างประมาณ 0.37 มม. ยาวประมาณ 0.29 มม. กลุ่มเรณูยาวประมาณ 0.25 มม. จะงอยเล็กปลายแหลม ยอดเกสรเพศ เมียเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.2 มม. ก้านดอกรวมรังไข่ รูปทรงกระบอก เกลี้ยง ยาวประมาณ 1.75 มม. ฝักรูปทรงกระบอก ประเทศไทย ภาคเหนือ: แมฮ่ อ่ งสอน เชยี งใหม่ ลำ� ปาง ; ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื : เลย; ภาค ตะวนั ตกเฉยี งใต้: กาญจนบรุ ี การกระจายพนั ธ ์ุ พบตงั้ แตจ่ นี หิมาลัยดา้ นตะวันออก อินเดีย (อัสสัม) เนปาล ลาว เมยี นมา และ เวียดนาม นเิ วศวทิ ยา พบข้ึนอิงอาศัยบนต้นไม้หรือข้ึนบนหิน ในระบบนิเวศเขาหินปูน ท่ีความสูงจาก ระดับทะเล 360–1,000 ม. ออกดอกในช่วงเดือนกันยายนถงึ มีนาคม ​ พรรณไม้เขาหินปนู ในกลุ่มป่าภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1 71

72 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

รองเท้านารีเหลืองปราจนี Orchidaceae Paphiopedilum concolor (Lindl. ex Bateman) Pfitzer ชอื่ อนื่ - กล้วยไม้ดิน เจริญเติบโตเป็นกลุ่ม ใบเดี่ยว 4-6 ใบ รูปขอบขนานถึงรูปขอบขนานแกมรูปรี กว้าง ประมาณ 4 มม. ยาวไม่เกิน 14 ซม. ปลายมน มีติ่งเล็กน้อย ผิวใบด้านบนสีเขียวซีด เส้นใบเป็นตารางส่ีเหล่ียม ผิวใบด้านล่างมีจุดสีม่วงกระจายทั่วไป ช่อดอกแบบช่อกระจะ 1-2 ดอก พบน้อยที่มี 3 ดอก ก้านช่อดอกยาว ไม่เกิน 8 ซม. มีขนนุ่มละเอียดสีขาว สีม่วง หรือสีเขียว มีจุดขนาดใหญ่สีม่วง ใบประดับรูปไข่ กว้าง 1-1.6 ซม. ยาว 1-1.5 ซม. มีขนส้ันนุ่ม สีเขียว มีจุดสีม่วง ดอกขนาดใหญ่ มีขนส้ันนุ่ม สีม่วงเข้มหรือสีเขียว มีจุดสีม่วง กลีบ เล้ียงบนรูปไข่กลับกว้าง กว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 2.5-3.7 ซม. ปลายเว้าบุ๋มหรือเว้าต้ืน กลีบเล้ียงข้างเช่ือมกัน เว้า รูปรีถึงรูปไข่ กว้าง 2.1-3.1 ซม. ยาว 2.1-3.5 ซม. ปลายเว้าต้ืนหรือเว้าบุ๋ม กลีบดอกรูปรี กว้าง 2.3-2.7 ซม. ยาว 3.5-4.5 ซม. ปลายมน กลีบปากคล้ายรูปทรงรี อวบ กว้าง 1.3-1.8 ซม. ยาว 3-3.8 ซม. ขอบม้วน เข้าด้านใน เกสรเพศผู้ท่ีเป็นหมันรูปใบหอกสั้น ๆ หรือรูปเกือบสามเหล่ียม กว้าง 10-12 มม. ยาว 10-13 มม. ปลายหยักซ่ีฟันหรือเกือบแหลม มีขนครุย ประเทศไทย ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ: สกลนคร; ภาคตะวันออก: นครราชสมี า; ภาคตะวันตก เฉยี งใต:้ กาญจนบุรี ประจวบคีรขี นั ธ;์ ภาคกลาง: สระบรุ ี ลพบรุ ;ี ภาคตะวนั ออกเฉียงใต:้ สระแกว้ ตราด; ภาคใต้: ชุมพร กระบี่ การกระจายพนั ธ ์ุ พบตัง้ แต่ภาคตะวันออกเฉียงใตข้ องเมียนมา ภาคตะวนั ตกเฉียงใต้ของจีน (ยูนนาน กยุ้ โจว และกวางส)ี ลาว กมั พูชา และเวียดนาม นเิ วศวทิ ยา พบอิงอาศัยบนต้นไม้ ข้ึนบนซอกหินหรือหน้าผาหินในระบบนิเวศเขาหินปูน ทีค่ วามสูงจากระดบั ทะเล 90–1,000 ม. ออกดอกในชว่ งเดอื นมีนาคมถึงกรกฎาคม เปน็ ผลในชว่ งเดอื นกันยายน ถึงพฤศจกิ ายน ​ พรรณไม้เขาหนิ ปนู ในกลมุ่ ป่าภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1 73

74 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

เอือ้ งโมกกุหลาบ Orchidaceae Papilionanthe teres (Roxb.) Schltr. ชอื่ อนื่ ดอกผ้ึง (ระนอง) พญาไร้ใบ (ภาคใต้) พึง (นครพนม) เอื้องกวาว (ภาคใต้) เอื้องเทียน (ภาคเหนือ) เอื้องโมก (กรุงเทพฯ) กล้วยไมอ้ ิงอาศัย ลำ� ต้นทอดเลอื้ ยรปู ทรงกระบอก เส้นผ่านศนู ย์กลาง 0.8-1 ซม. แตกก่ิงกา้ น สูงไดถ้ งึ 3 ม. ใบเดี่ยว รูปทรงกระบอกยาว เส้นผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 0.5 ซม. ยาว 10-20 ซม. คอ่ นข้างเปราะ ปลายมน ช่อดอกแบบช่อกระจะออกตามข้อ ยาวกว่าความยาวของใบเล็กน้อย จ�ำนวน 2-5 ดอก ออกห่าง ๆ ดอกบานเต็ม ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-10 ซม. ก้านช่อดอกหนา มีกาบบาง ๆ 3-4 กาบ ใบประดับค่อนข้างเปราะ รูปไข่ ยาว 4-6 มม. ปลายทู่ กลีบเล้ียงและกลีบดอกสีชมพูแกมม่วง รูปรีถึงรูปรีกว้าง โคนกลีบบิดกลับ ปลายมน กลีบปาก สีชมพูเข้ม โคนกลีบสีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยงบนรูปรีกว้าง กว้างประมาณ 2 ซม. ยาวประมาณ 2.5 ซม. ปลายทู่ แกมมน กลีบเลี้ยงข้างรูปขอบขนานแกมรูปไข่ เบ้ียว กว้างประมาณ 2 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม. โคนกลีบเชื่อม กับโคนเส้าเกสร ปลายทู่ กลีบดอกรูปเกือบกลม กว้างประมาณ 2.7 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม. ปลายทู่ กลีบปาก ปลายแยกเป็น 3 พู พูข้างเชื่อมกับเส้าเกสร รูปไข่กลับ กว้างประมาณ 1.5 ซม. ปลายกลม พูกลางแผ่แบนออก รูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข่กลับ กว้างประมาณ 2 ซม. ด้านบนปกคลุมด้วยขนสั้นนุ่ม ปลายแยกเป็น 2 แฉกลึก มี เดือยรูปทรงกระบอก สีน้�ำตาลแกมเหลือง ยาวประมาณ 2 ซม. เส้าเกสรรวมความยาวโคน ยาวประมาณ 10 มม. ก้านดอกรวมรังไข่สีขาว ยาว 2-3 ซม. ฝักไม่พบ ประเทศไทย พบเกือบทัว่ ทกุ ภาคของประเทศไทย ยกเวน้ ภาคตะวนั ออก การกระจายพนั ธ ์ุ พบต้งั แตต่ อนเหนือของอนิ เดีย บงั คลาเทศ เนปาล ภูฎาน จนี เมยี นมา ลาว และ เวยี ดนาม นเิ วศวิทยา พบอิงอาศัยบนต้นไม้หรือขึ้นบนโขดหินในระบบนิเวศเขาหินปูน ป่าเต็งรัง ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ แลง้ และปา่ ดบิ เขา ตามทโี่ ลง่ แจง้ แสงแดดจดั หรอื ทร่ี ม่ แสงแดดรำ� ไร ทคี่ วามสงู จากระดบั ทะเล 200-800 ม. ออกดอกเกือบตลอดทงั้ ปี โดยเฉพาะในช่วงเดอื นตลุ าคมถึงธนั วาคม ​ พรรณไม้เขาหนิ ปนู ในกลุม่ ปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1 75

76 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

เอ้ืองหนวดพราหมณ์ Orchidaceae Seidenfadenia mitrata (Rchb. f.) Garay ชอื่ อนื่ เอื้องกุหลาบสระบุรี เอื้องผมเงือก เอื้องผมผีพราย (กรุงเทพฯ) กล้วยไม้อิงอาศัย ล�ำต้นค่อนข้างส้ัน ยาว 3-7 ซม. ใบเด่ียว 5-7 ใบ โค้งลง สีเขียวเข้ม รูปทรงกระบอก แคบเรียวยาว เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. ยาว 20-70 ซม. ปลายเรียวแหลม ด้านใกล้แกนมีร่อง แคบตามยาว ช่อดอกแบบช่อกระจะ ต้ัง ออกตามซอกใบ ก้านช่อดอกเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. ยาว 10-20 ซม. ใบประดับ 4-5 ใบ เป็นปลอกหุ้มปลายด้านหนึ่งแยกแหลม ดอกเรียงรอบแกน ค่อนข้างแน่น มี ก ล่ินหอม ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 1.5 ซม. กลีบเล้ียงสีขาว ปลายกลีบสีม่วง รูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายมนหรือมีต่ิงแหลม กลีบเลี้ยงบน กว้าง 5-6 มม. ยาวประมาณ 7.5 มม. กลีบเล้ียงข้าง กว้าง 4.5-5.5 มม. ยาว 8.5-10 มม. กลีบดอกสีขาว ขอบกลีบสีม่วงอ่อน รูปรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง 5-6 มม. ยาวประมาณ 6.5 มม. ปลายมน กลีบปากสีม่วงอมแดง กลางกลีบสีม่วงซีด รูปรีแกมรูปไข่ กว้างประมาณ 6 มม. ยาว 8-9 ม ม. โคนกลีบเป็นเดือยรูปไข่เบี้ยว แบน ปลายเว้าต้ืน เส้าเกสรยาวประมาณ 4 มม. กลุ่มเรณู 2 อัน สีส้ม ฝาปิดกลุ่มเรณูสีม่วงเข้ม ก้านดอกรวมรังไข่ ยาว 1.8- 2 ซม. ฝักไม่พบ ประเทศไทย พบเกอื บทัว่ ทุกภาคของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ การกระจายพนั ธ ์ุ เมียนมา นิเวศวทิ ยา พบองิ อาศยั บนตน้ ไมห้ รอื ขน้ึ บนหิน ในปา่ ดิบเขา ปา่ ดิบแลง้ ป่าเบญจพรรณ หรือ ในระบบนเิ วศเขาหนิ ปูน ที่ความสูงจากระดับทะเล 350–1,500 ม. ออกดอกในช่วงเดือนมนี าคมถึงพฤษภาคม ​ พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลมุ่ ปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1 77

78 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

ขาวดงอสั สมั Orchidaceae Tropidia angulosa (Lindl.) Blume ชอื่ อนื่ - กล้วยไม้ดนิ สูงไมเ่ กิน 20 ซม. เหง้าทอดเล้อื ย ลำ� ต้นไม่แตกกิ่งกา้ นหรือแตกเพียง 1-2 กิ่ง มกี าบจ�ำนวน มาก ยาวไมเ่ กนิ 2 ซม. ใบเด่ียว 1-2 ใบ ออกคอ่ นไปทางปลายยอด รปู ไข่ถงึ รูปหวั ใจ กวา้ ง 6-6.5 ซม. ยาว 11-12 ซม. โคนมน ขอบเรยี บ ปลายแหลม เสน้ ใบ 7-13 เส้น แผน่ ใบพับจบี ช่อดอกแบบช่อกระจะออกทป่ี ลายยอด ยาว 4-8 ซม. มีไดถ้ ึง 30 ดอก ใบประดบั รูปใบหอก ยาว 5-6 มม. ดอกสขี าว บานกว้างประมาณ 6 มม. กลีบเลย้ี งบน ไม่เชือ่ มตดิ กนั รูปใบหอกแคบ กว้างประมาณ 3 มม. ยาว 9-10 มม. กลบี เลย้ี งขา้ งเช่อื มตดิ กัน ยาว 10-11 มม. ปลายแยกเปน็ 2 แฉก กลบี ดอกรูปไข่แคบ ลกั ษณะคลา้ ยท้องเรอื กวา้ ง 3-3.5 มม. ยาว 8-9 มม. กลบี ปากรูปใบ หอกแคบ กว้างประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 9 มม. สว่ นโคนเป็นเดือย ปอ่ งคลา้ ยถุง ปลายกลบี มีแต้มสีนำ้� ตาล เสา้ เกสรตรง ยาว 5-6 มม. อับเรณูรปู ใบหอก ยาว 3-3.3 มม. ปลายเรยี วแหลม กลมุ่ เรณูรปู กระบอง ก้านกล่มุ เรณู เรยี ว จะงอยรปู ใบหอก ก้านดอกรวมรงั ไข่ ยาว 5-6 มม. ฝกั ไมพ่ บ ประเทศไทย ภาคเหนือ: นา่ น อุตรดิตถ์ พิษณโุ ลก; ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ: เพชรบูรณ์ เลย; ภาคตะวนั ออก: นครราชสมี า; ภาคตะวนั ออกเฉยี งใต:้ จันทบุร;ี ภาคใต้: พงั งา การกระจายพนั ธ ์ุ พบตงั้ แตจ่ นี (ไต้หวนั ) ตอนใตข้ องญ่ีปุ่น นเิ วศวิทยา พบขึ้นตามพ้ืนป่าท่ีมีแสงแดดร�ำไร ในระบบนิเวศเขาหินปูน ป่าเบญจพรรณ ป่าดบิ เขา และปา่ ดบิ แล้ง ท่คี วามสูงจากระดบั ทะเล 350– 1,700 ม. ออกดอกในชว่ งเดอื นพฤษภาคมถงึ กนั ยายน ​ พรรณไมเ้ ขาหินปนู ในกลมุ่ ป่าภเู ขียว-น้ำ� หนาว 1 79

stemonaceae

Stemona aphylla Craib

82 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

เครือปุง Stemonaceae Stemona aphylla Craib ชอ่ื อน่ื หนอนตายหยาก (ภาคตะวันออก) ไม้เถาเล้ือยพัน ล�ำต้นเกล้ียง ยาว 2-4 ม. บางคร้ังพบว่าเป็นดอกก่อนใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ ถึงรูปไข่กว้าง กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 6-8 ซม. โคนรูปหัวใจตื้นหรือตัด ขอบเรียบ ปลายแหลมหรือเรียวแหลม แผ่นใบเกลี้ยงท้ัง 2 ด้าน เส้นใบ 9-11 เส้น ก้านใบยาว 4-6.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะออกตามซอกใบ ไม่มีก้านช่อดอก จ�ำนวน 1-2(-3) ดอก ใบประดับคล้ายเกล็ด ยาว 8-10 มม. ดอกสีม่วง สีม่วงอมเหลือง หรือ สีม่วงอมเขียว ก้านดอกยาว 5-20 มม. กลีบรวม 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ กว้าง 4-6 มม. ยาว 20-25 มม. เกสรเพศผู้ 4 เกสร สีม่วงหรือสีชมพู กว้างประมาณ 2 มม. ยาว 15-27 มม. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 2 มม. อับเรณูยาว 8-13 มม. ผลรูปไข่หรือรูปรี กว้าง 13-16 มม. ยาว 20-30 มม. ประเทศไทย ภาคเหนือ: เชยี งใหม่ ลำ� ปาง แพร่ สุโขทยั นครสวรรค์; ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ: เพชรบรู ณ์ เลย อุดรธานี ขอนแก่น; ภาคตะวนั ออก: ชยั ภมู ิ อุบลราชธานี การกระจายพนั ธ ์ุ พชื ถนิ่ เดยี วของไทย นิเวศวทิ ยา พบข้ึนในปา่ ดิบแลง้ ปา่ เบญจพรรณ ทร่ี าบในแอง่ เขาหนิ ปูนหรือชายขอบเขาหนิ ปูน ท่ีความสงู จากระดับทะเล 240-700 ม. ออกดอกและเปน็ ผลในช่วงเดอื นกมุ ภาพันธ์ถึงพฤษภาคม พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลมุ่ ป่าภเู ขียว-น้ำ� หนาว 1 83

84 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

หนอนตายหยากดอกสั้น Stemonaceae Stemona collinsiae Craib ชอ่ื อนื่ ปงช้าง (ภาคเหนือ) ไม้เถารอเลื้อย ล�ำต้นเกล้ียง ยาวได้ถึง 60 ซม. พบน้อยท่ีแตกก่ิงก้าน ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้างถึง รูปไข่แคบ กว้าง 5-11 ซม. ยาว 11-15 ซม. โคนรูปหัวใจ ขอบเรียบ ปลายแหลมหรือเรียวแหลม แผ่นใบเกล้ียงท้ัง 2 ด้าน เส้นใบ 11-15(-17) เส้น ก้านใบยาว 5-15 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะออกตามซอกใบ ไม่มีก้านช่อดอก จ�ำนวน 1-8 ดอก ใบประดับยาวประมาณ 1 มม. ดอกสีเขียวอมขาว หรือสีขาวอมชมพู มีเส้นตามยาวสีเขียว ก้าน ดอกยาว 5-30 มม. กลีบรวม 4 กลีบ รูปไข่แคบ กว้าง 5-8 มม. ยาว 13-20 มม. กลีบในสุด 1 กลีบ กว้างได้ถึง 10 มม. เกสรเพศผู้ 4 เกสร สีเขียวอมเหลือง กว้างประมาณ 2 มม. ยาว 11-17 มม. ก้านชูอับเรณู ยาวประมาณ 1 มม. อับเรณูยาว 5-7 มม. ผลรูปกระสวย กว้าง 10-12 มม. ยาว 20-25 มม. ประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื : เลย ; ภาคตะวันออก: นครราชสมี า; ภาคกลาง: สระบุรี; ภาค ตะวันออกเฉยี งใต้: สระแก้ว ชลบุรี จนั ทบรุ ี ตราด การกระจายพนั ธ ์ุ ลาว นิเวศวิทยา พบข้ึนในปา่ ดบิ ชื้น ปา่ ดิบแลง้ ปา่ เบญจพรรณ ป่าละเมาะ ทร่ี าบในแอง่ เขาหนิ ปูนหรอื ชายขอบเขาหนิ ปูน ท่คี วามสงู จากระดบั ทะเล 25-450 ม. ออกดอกและเปน็ ผลในช่วงเดือนมกราคมถงึ พฤษภาคม พรรณไม้เขาหินปนู ในกลุ่มป่าภเู ขียว-นำ้� หนาว 1 85

Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.

zingiberaceae

88 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1

ว่านเปรี้ยวคอลลินซ์ Zingiberaceae Boesenbergia collinsii Mood & L. M. Prince ช่ืออื่น - ไมล้ ม้ ลกุ อายหุ ลายปี สูง 50-80 ซม. มีล�ำต้นสนั้ อยใู่ ตด้ ิน ยาวประมาณ 5 ซม. และมีรากสะสมอาหาร เรยี วยาว ขนาดประมาณ 1 x 10 ซม. จำ� นวน 15-20 อนั ลำ� ตน้ เหนอื ดนิ สงู ถึง 20 ซม. สีเขียวหรอื สมี ว่ งอมแดง ผิวเกลีย้ ง ใบเดี่ยว เรียงสลับระนาบเดยี ว มี 2-6 ใบต่อตน้ รปู รีหรอื รูปไข่กวา้ ง กวา้ ง 12-19 ซม. ยาว 28-44 ซม. ปลายแหลมหรือเรียวแหลม โคนกลมหรือเว้ารูปหัวใจ บางคร้ังเบี้ยว ด้านบนเกล้ียง ด้านล่างมีขนสั้นประปราย เฉพาะตามเส้นกลางใบ แผน่ ใบพับจบี ตามแนวเสน้ แขนงใบชดั เจน กา้ นใบยาว 12-16 ซม. เกลีย้ ง ช่อดอกแบบชอ่ เชงิ ลด ออกจากล�ำต้นใต้ดิน มใี บประดับ 4 อนั สเี ขยี วหรอื สมี ่วงอมแดง หอ่ ตวั แน่นเป็นรปู เรยี วยาวคล้ายเขาสตั ว์ ยาว 5-8.5 ซม. โผล่พ้นผวิ ดนิ ขน้ึ มา 1-3 ซม. ผวิ เกลย้ี ง ติดดอกย่อย 1 ดอก/ใบประดบั ดอกยาวไดถ้ งึ 15 ซม. วง กลีบเลย้ี งสีขาว โคนเชอื่ มตดิ กันเปน็ หลอด ยาวประมาณ 2 ซม. ปลายแยกเป็นแฉกลึกด้านเดียว วงกลบี ดอกสขี าว โคนเชอ่ื มตดิ กนั เปน็ หลอด ยาวประมาณ 14 ซม. เกลยี้ ง ปลายแยก 3 แฉก สเี หลอื งออ่ น รปู ใบหอกถงึ รูปใบหอกแกม รปู ไข่ ยาว 3-4 ซม. ปลายแหลม กลบี ปากสเี หลอื งออ่ น มแี ถบสแี ดงตรงกลางตงั้ แตโ่ คนกลบี และแผก่ วา้ งออกทปี่ ลาย กลบี พร้อมกับมจี ุดและรวิ้ สีเหลืองอ่อนแซมบนแถบดว้ ย กลบี ปากรูปค่อนข้างกลม ห่อตวั เปน็ ถุง กว้างประมาณ 3 ซม. ยาวประมาณ 4 ซม. ปลายกลีบเปน็ คล่นื และมว้ นกลบั ผวิ ดา้ นนอกมขี นตอ่ มเลก็ นอ้ ย กลบี คู่ขา้ งสีเหลอื ง ออ่ น รูปไข่กลบั ยาวประมาณ 1.6 ซม. ปลายกลีบกลมและม้วนเล็กน้อย เกสรเพศผู้สีเหลืองอ่อน ทีกา (theca) สแี ดง ยาวประมาณ 11 มม. รังไข่สขี าว ยาวประมาณ 8 มม. เกลี้ยง ผลแบบแคปซูล รปู รี กว้างประมาณ 1 ซม. ยาวประมาณ 2 ซม. มี 3 พู สขี าว ผิวเกลีย้ ง ประเทศไทย ภาคเหนอื ในจังหวดั ล�ำปาง และล�ำพนู และด้านตะวันตกของภาคตะวนั ออกเฉยี ง เหนือ และภาคตะวันออก ในพนื้ ทีก่ ลุ่มป่าภูเขียว-น�้ำหนาว พบท่จี ังหวัดเลย หนองบวั ลำ� ภู ขอนแกน่ เพชรบูรณ์ และชัยภูม ิ การกระจายพนั ธ ์ุ พืชถ่ินเดียวของประเทศไทย นเิ วศวทิ ยา ขน้ึ ในปา่ ดบิ ตามทรี่ ำ� ไร มกั พบในพน้ื ทห่ี นิ ปนู ทม่ี ชี นั้ ดนิ ลกึ ทค่ี วามสงู จากระดบั ทะเล 100-1,500 ม. ออกดอกช่วงเดอื นมถิ ุนายนถึงกลางเดอื นตุลาคม ดอกบานแล้วจะมอี ายุประมาณ 2 วนั ​ พรรณไม้เขาหนิ ปนู ในกล่มุ ปา่ ภเู ขียว-น้ำ� หนาว 1 89

90 พรรณไมเ้ ขาหนิ ปนู ในกลุ่มปา่ ภเู ขยี ว-น้ำ� หนาว 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook