ชนชน้ั ใต้ปกครอง 1. ไพร่ หมายถงึ สามัญชนทว่ั ไป นับวา่ เป็นประชากรสว่ นใหญข่ อง ประเทศ แบง่ เป็น 3 ประเภท คือ 1.ไพร่หลวง หมายถงึ ไพร่ท่ีขึน้ ทะเบียนสงั กดั ตอ่ รฐั คือ องคพ์ ระมหากษตั รยิ ์ ต้องมาเขา้ เวรเพอ่ื รบั ใช้ราชการปลี ะ 6 เดอื น 2.ไพรส่ ม หมายถึง ไพร่ทีข่ นึ้ ทะเบียนต่อเจ้านายและขนุ นาง 3.ไพร่สว่ ย หมายถงึ ไพรท่ สี่ ง่ ผลติ ผลมาแทนการเข้าเวร เพื่อใชแ้ รงงาน
ชนชัน้ ใต้ปกครอง 2. ทาส เป็นชนชัน้ ท่ีตา้่ ทสี่ ดุ ในสงั คม แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ 1. ทาสท่ไี ถถ่ อนตวั ได้ เรียกวา่ ทาสสนิ ไถ่ 2. ทาสที่ไถถ่ อนตัวไม่ได้ เช่น ทาสเชลย ลูกทาสเชลย ฯลฯ
ชนช้นั พเิ ศษ 1. พระสงฆ์ พระสงฆ์ไม่จ้ากัดชนชัน้ ใดชนชัน้ หนึ่ง แต่เปน็ ท่เี คารพ ของคนทุกชนชัน้ บทบาทและความส้าคัญของพระสงฆ์
หลกั ฐานชนิ้ ท่ี 1 “ราชสานกั พระเจา้ แผน่ ดนิ นนั้ กว้างใหญไ่ พศาลดูสง่างามย่ิง...เวลาเสดจ็ ออกขนุ นาง...ขุนนางขา้ ราชการและตารวจทค่ี มุ อาวธุ ตา่ งคกุ เข่าหมอบอยู่ด้วยความ เคารพเบือ้ งพระบาท...ชาวต่างประเทศที่เข้าเฝ้าจะตอ้ งคุกเข่าประสานมอื ทงั้ สองน้อมศีรษะและหมอบลงด้วยอาการทีเ่ คารพอยา่ งยงิ่ เม่ือจะกราบทลู ข้อความใด ๆ จะต้องกล่าวคานาพระนามและสรรเสรญิ พระบารมเี สียกอ่ น กระแสพระราชโองการของพระองคเ์ ฉยี บขาด เปรยี บประดุจโองการแหง่ พระผู้ เปน็ เจา้ ซึง่ ข้าราชบริพารจะต้องปฏิบัติและดาเนินตาม...ในขณะเสด็จพระราช ดาเนนิ น้ี บรรดาราษฎรท่เี ฝา้ อยตู่ ามระยะทางตา่ งก็พนมมือหมอบกราบอยบู่ น พ้ืนดิน ราวกบั กระทาความเคารพบชู าพระผเู้ ป็นเจ้าฉะนน้ั ...”
หลักฐานชิน้ ท่ี 2 ระบบการจัดลา้ ดับยศขุนนาง (ความเกี่ยวพนั ระหวา่ งยศและศักดินา) สมเด็จเจ้าพระยา 30,000 เจ้าพระยา 10,000 พระยา 1,000-10,000 พระ 1,000-1,500 หลวง 800-3,000 ขุน 200-800 พัน 100-400
หลกั ฐานช้นิ ท่ี 3 “...ชาวสยามทกุ คนต้องทา้ งานรบั ใชพ้ ระเจ้าแผน่ ดินปลี ะหกเดอื น และในขณะทีถ่ กู ใชง้ านอย่างทุกข์ลา้ บากน้ัน เขากย็ ังต้องเล้ียงชวี ิต ด้วยทนุ รอนของตนเอง ทาสยังมภี าษดี กี วา่ คนที่เป็นอิสระเสียอีก เพราะทาสท้างานให้นาย แต่นายให้กนิ พลเมอื งคนใด ถ้าอยาก ไดร้ บั การยกเว้นจากงานรบั ใช้นี้ กต็ ้องเสยี เงินจา้ นวนหน่งึ ...” ท่ีมา: ฟรงั ซวั ส์ อังรี ตรุ แปง. ประวตั ศิ าสตร์แห่งพระราชอาณาจักรสยาม. แปลโดย นาย ปอล ซาเวียร.์ (กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร,2530), หน้า19-20
สรุปกจิ กรรมเรื่องสภาพเศรษฐกจิ และสงั คมสมยั อยธุ ยา เศรษฐกิจสมยั อยธุ ยา การคา้ แบบผกู ขาดส่งผลให้ราชสา้ นักได้รบั ผลประโยชน์มหาศาล จากการค้าขายทั้งการคา้ ภายในดนิ แดนและการคา้ ระหวา่ งประเทศ สามารถผูกขาดอา้ นาจ ความม่งั ค่งั ไว้ที่กลุ่มผูป้ กครอง แต่กม็ ีกลมุ่ ผอู้ ยู่ ภายใตก้ ารปกครองบางส่วนทไ่ี ด้รบั ประโยชนจ์ ากระบบน้ดี ว้ ย
สรปุ กิจกรรมเรอ่ื งสภาพเศรษฐกจิ และสงั คมสมัยอยธุ ยา สงั คมสมัยอยธุ ยา ระบบศักดินา เปน็ ระบบที่ก้าหนดสทิ ธิและหนา้ ทข่ี องบคุ คลในสงั คมสมยั อยธุ ยา ท้าใหบ้ ุคคลต่าง ๆ ในสงั คมสมยั อยธุ ยามสี ถานภาพและบทบาท แตกต่างกันไป เมือ่ แต่ละคนรสู้ ถานภาพและบทบาทของตนเองแล้ว ก็ยอ่ มท้าหน้าท่ีของตนเองอย่างดที ่สี ุด สง่ ผลให้บา้ นเมือง จะมีความมน่ั คงและ ความเจรญิ กา้ วหนา้
รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ เร่อื ง ภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรม สมยั อยธุ ยา รหัสวิชา ส 22102ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ผู้สอน ครนู ิตยา จวบรมั ย์
ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกจิ กบั สังคม ในสมยั อยุธยา เศรษฐกิจ ภายในอาณาจักร ภายนอกอาณาจักร สงั คม ศักดนิ า ชนช้ันการปกครอง
ภาพสงั คมสมยั อยุธยา โดย travel.kapook จากเวบ็ https://travel.kapook.com/view189137.htmlสบื ค้นจาก สืบคน้ เมื่อ 8 กรกฏาคม 2562
ส่ือวิดที ศั น์นใี้ ช้เพอ่ื การศึกษาเทา่ นัน้ ขอบคุณสอื่ วดิ ที ศั น์ : “เครอ่ื งทองวดั ราชบูรณะ” แพร่ภาพโดย : จดหมายเหตกุ รุงศรี (Jod Mai Hed Krungsri) ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=wTSCv0Aa-zc ใชส้ าหรับส่อื การเรยี นการสอน วิชาประวตั ิศาสตร์ ม.2
ภูมิปัญญา คอื ความรู้ ทักษะ ความเช่ือ และพฤตกิ รรมของคนไทย วฒั นธรรม คือ วีถกี ารดารงชวี ิตทีด่ ีงาม ไดร้ บั การสบื ทอดจากอดตี สปู่ จั จบุ ันเป็นผลผลติ ของมนุษยท์ ีแ่ สดงถงึ ความเจรญิ งอกงาม ทง้ั ดา้ นวตั ถุ แนวคิดจติ ใจ
ปัจจัยที่มีอิทธพิ ลต่อการสร้างสรรคภ์ ูมิปัญญา และวัฒนธรรมสมัยอยธุ ยา 1. สภาพแวดลอ้ มทางภมู ศิ าสตร์ 2. ลักษณะทางสงั คมและวัฒนธรรม 3. การรบั อทิ ธพิ ลจากภายนอก
1.สภาพแวดล้อมทางภมู ิศาสตรแ์ ละสง่ิ แวดล้อม กรุงศรอี ยธุ ยาต้ังอยูบ่ ริเวณทรี่ าบลุ่ม มนี า้ ไหลผา่ น 3 สาย คอื แม่นา้ เจ้าพระยา แม่นา้ ป่าสกั และแม่น้าลพบุรี มีฝนตกเสมอทาใหเ้ หมาะแก่ การเพาะปลูก การคา้ ขาย และการดาเนนิ ชีวติ ของชาวอยธุ ยา จึงสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารคดิ คน้ ภมู ปิ ัญญาต่าง ๆ ขน้ึ มา เช่น บา้ นเรือนทม่ี ีใตถ้ นุ สูง หลงั คาทรงแหลม บรโิ ภคอาหารด้วยมือ ผลติ ภณั ฑ์จากป่าไม้ พระราชพิธีจรดพระนงั คัลแรกนาขวญั เป็นตน้
2. ลกั ษณะทางสังคมและวัฒนธรรม • อยธุ ยาปกครองแบบสงั คมศกั ดนิ า ประกอบด้วยชนชั้นมลู นาย และชนช้ันไพร่ • มีการนบั ถือพระพุทธศาสนารวมทง้ั ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู มีการ สร้างสรรคภ์ มู ปิ ัญญาเกยี่ วกับการควบคมุ กาลงั คนให้เป็นระเบยี บเพ่อื ควบคมุ พฤตกิ รรมของคนในสงั คมให้อย่รู ่วมกนั อย่างสงบสขุ โดยใช้กศุ โลบายทางศาสนาเปน็ เครื่องมืออบรมสัง่ สอนผ้คู น
3. การรับอิทธพิ ลจากภายนอก • การทอ่ี ยุธยาติดต่อคา้ ขายกบั ชาวต่างชาติ จึงมโี อกาสได้เรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาของชนชาติเหล่านนั้ และนามาปรบั ใช้ใหเ้ กิดประโยชนก์ ับคน ในสมัยนัน้ เช่นการปกครองแบบเทวราชา ท่เี ช่ือว่าพระมหากษัตรยิ ์คือ เทพเจ้าจตุ ลิ งมาปกครองประชาชน โดยอยธุ ยารับมาจากเขมร เป็นต้น
ตวั อย่าง ภมู ปิ ัญญาในสมัยอยธุ ยา
1. บา้ นเรอื นของชาวอยธุ ยา เปน็ เรอื นของชาวบา้ นโดยทวั่ ไปสรา้ งดว้ ยไมไ้ ผห่ รือใบจากซง่ึ เปน็ วัสดุทีห่ าไดง้ ่ายในทอ้ งถน่ิ และสามารถรวบรวมกาลังคน ในครอบครัวหรือเพือ่ นบ้านปลูกเรือนได้ไม่ยาก
ภาพเรือนเคร่อื งผูก. แหลง่ ที่มาhttps://sites.google.com. เรอื นเคร่อื งผกู สืบคน้ เม่อื 4 ก.ค.62
ภาพเรือนเคร่อื งผูก. แหลง่ ที่มาhttps://sites.google.com. เรอื นเคร่อื งผกู สืบคน้ เม่อื 4 ก.ค.62
เรือนถาวรหรอื เรือนเคร่อื งสบั เป็นเรอื นของผู้มฐี านะ เช่น ขุนนางหรอื เจา้ นาย ซ่งึ เปน็ เรือนที่ สร้างอย่างประณีตด้วยไมเ้ นื้อแขง็ หนาแนน่ และทนทานไมเ้ หลา่ น้ี ได้จากป่าในหวั เมืองเหนือท่ีใช้วธิ ีลอ่ งลงมาตามลาน้าเจ้าพระยา
ภาพเรอื นถาวร.แหลง่ ท่มี าhttps://sites.google.com. เรอื นถาวร สบื คน้ เมื่อ 4 ก.ค.62
ภาพเรอื นถาวร.แหลง่ ท่มี าhttps://sites.google.com. เรอื นถาวร สบื คน้ เมื่อ 4 ก.ค.62
2. ภมู ิปญั ญาดา้ นการประกอบอาชพี การปลกู ขา้ ว ภาพการปลกู ขา้ ว.แหลง่ ท่ีมา. https://sites.google.com/site/historym2/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-4/4-1-paccay-thi-sng-serim-phathnakar-thang-dan- sersthkic-laea-sangkhm-khxng-xanacakr-xyuthya .สบื คน้ เมอื่ 4 ก.ค.62
3. ภมู ิปัญญาดา้ นศาสนาและความเชือ่ ความเชื่อทาใหช้ าวอยธุ ยาสามารถ เผชิญกับปัญหาความทกุ ข์ยาก ตา่ งๆในชีวติ ได้ด้วยความอดทน พระพทุ ธศาสนาและศาสนาฮนิ ดูมี บทบาทตอ่ การวางรากฐานระบบการเมอื ง บ้านเมืองเปน็ ปึกแผน่ คติ ความเชือ่ น้แี ละไดห้ ล่อหลอมสงั คมอยุธยาให้เป็น อันหนง่ึ อนั เดยี วกนั
สถาปัตยกรรมสมยั อยธุ ยา
วดั พทุ ไธสวรรย์ ภาพวดั พทุ ไธสวรรย์.แหล่งที่มา.http://ning1906.blogspot.com/สบื ค้นเมอ่ื 4 ก.ค.62
วดั พระศรสี รรเพชญ์ วดั พระศรสี รรเพชญ์ HTTP://NING1906.BLOGS POT.COM/ ภาพวัดพระศรีสรรเพชญ.์ แหลง่ ทีม่ า. http://www.qrcode.finearts.go.th/index.php/th/historicalpark/phranakhonsriayutthaya/ayutthaya- 02/ayutthaya-02-002/item/321-ayutthaya02-043 /สบื คน้ เมือ่ 4 ก.ค.62
วฒั นธรรมและประเพณสี มยั กรงุ ศรีอยธุ ยา วัฒนธรรมสมยั อยุธยาเปน็ การผสมผสานระหว่างวฒั นธรรม ไทยแท้ และวฒั นธรรมทีร่ บั จากตา่ งชาติ แลว้ นามาดัดแปลง ให้เหมาะสม วัฒนธรรมตา่ งชาตทิ ีร่ บั เข้ามามากท่ีสุด
1. วฒั นธรรมการแต่งกาย สมัยอยธุ ยา (สมยั ที่ 1 พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2031) ภาพการแต่งกายสมยั อยธุ ยาแหลง่ ทีม่ า. https://writer.dekd.com/freya1412/story/viewlongc.php?id=1092321&chapter=1&fbclid=IwAR3D4eCOOTQ2ykyLvWsP6eEymLX0lFNQXWaj235A5sgMqlUWwnYtNsQpvTY /สืบค้นเมือ่ 4 ก.ค.62
สมัยอยธุ ยา สมัยที่ 2 พ.ศ. 2034-2171 ภาพการแตง่ กายสมยั อยธุ ยา แหล่งทีม่ า.https://writer.dekd.com/freya1412/story/viewlongc.php?id=1092321&chapter=1&fbclid=IwAR3D4eCOOTQ2 ykyLvWsP6eEymLX0lFNQXWaj235A5sgMqlUWwnYtNsQpvTY /สืบคน้ เม่อื 4 ก.ค.62
สมัยอยุธยา (สมัยท่ี 3 พ.ศ. 2173 – พ.ศ. 2275) ภาพการแตง่ กายสมัยอยุธยาแหลง่ ทมี่ า. https://writer.dekd.com/freya1412/story/viewlongc.php?id=1092321&chapter=1&fbclid=IwAR3D4eCOOTQ2ykyLvWsP6eEymLX0lFNQXWaj23 5A5sgMqlUWwnYtNsQpvTY /สืบค้นเม่ือ 4 ก.ค.62
สมัยอยธุ ยา (สมัยท่ี 4 พ.ศ. 2275 ถึง พ.ศ. 2310) ภาพการแตง่ กายสมยั อยุธยาแหล่งทม่ี า. https://writer.dekd.com/freya1412/story/viewlongc.php?id=1092321&chapter=1&fbclid=IwAR3D4eCOOTQ2ykyLvWsP6eEymLX0lFNQXWaj23 5A5sgMqlUWwnYtNsQpvTY /สืบคน้ เมื่อ 4 ก.ค.62
2. วฒั นธรรมทางวรรณกรรม วรรณกรรมสมยั เก่ามักจะขนึ้ ต้นเรอื่ งด้วยคา ยกย่องพระเกียรตยิ ศของพระมหากษัตริยไ์ ทย และสรรเสริญความงามความเจรญิ ของ เมืองไทย เชน่ ลิลติ พระลอ ซง่ึ ได้รบั การยกยอ่ ง ว่าเปน็ วรรณคดีชน้ิ เอก ภาพลิลติ พระลอ. http://su-usedbook.com/product.detail_15676_th_4219104. สืบค้นเมอื่ 4 ก.ค.62
หนังสอื จินดามณี ภาพ. วรรณกรรม จินดามณี ในสมดุ ไทยดาคน้ พบทวี่ ัดท่าพูด อาเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม แหล่งทีม่ า:. https://www.matichon.co.th/entertainment/thai-entertainment/news_861558 สบื ค้นเมือ่ 4 ก.ค.62
หนงั สอื จินดามณที จ่ี ัดพมิ พ์ เผยแพรใ่ นสมัยปัจจุบัน ภาพ. หนงั สือจนิ ดามณที ี่จดั พิมพเ์ ผยแพรใ่ นสมัยปจั จุบนั แหลง่ ที่มา:https://www.sanook.com/campus/1389541.สืบคน้ เมอ่ื 4 ก.ค.62
ภมู ิปญั ญาดา้ นงานประณตี ศิลปส์ มยั อยธุ ยา
เครื่องทองกรุวดั ราชบรู ณะ ด้านงานประณีตศลิ ป์ แสดงให้เห็นว่า ในสมัยอยุธยามีชา่ งฝอื มอื ที่สรา้ งสรรค์ ผลงานประณตี ศิลป์ เช่น เครือ่ งเงิน เครื่องทอง เคร่อื งประดบั เคร่ืองถว้ ย ชาม ที่มีฝีมอื ละเอียดออ่ นและงดงาม เป็นอยา่ งมาก ภาพเคร่อื งทองกรวุ ัดราชบูรณะ . แหลง่ ที่มา:https://mgronline.com/onlinesection/photo-gallery9610000031637. สืบคน้ เมือ่ 4 ก.ค.62
รบั มาจากเขมร คลอง พระพทุ ธเจ้าหลวง คลอง ภาพแผนภาพภมู ปิ ัญญาอยธุ ยา. https://coggle.it/diagram/Wj5onDJpbwABHiVv/t/ภมู ิปัญญาไทยในสมยั อยุธยา. สืบคน้ เมื่อ 4 ก.ค.62
กจิ กรรมชว่ ยกนั วิเคราะห์หลกั ฐาน
หลักฐานชิน้ ท่ี 1 “...ท่อี ยอู่ าศัยของชาวสยามนนั้ เป็นเรือนหลงั ยอ่ ม ๆ แตม่ อี าณา บริเวณกว้างขวางพอใช้ พ้ืนเรอื นนัน้ ก็ใชไ้ ม้ไผม่ าสบั เปน็ ฟากและ เรยี งไว้ไม่ค่อยถน่ี กั แลว้ ยงั จกั ตอกขัดแตะเป็นฝาและใชเ้ ป็นเคร่อื ง บนหลงั คาเสร็จไปดว้ ยในตวั เสาตอม่อทย่ี กพืน้ ขึน้ สูงใหพ้ น้ นา้ ท่วม กใ็ ช้ไม้ไผล่ าใหญก่ ว่าขาและสูงจากพื้นดินราว 13 ฟุต
หลักฐานชน้ิ ที่ 1 เพราะลางครัง้ นา้ กท็ ว่ มขน้ึ มาสูงถึงเทา่ น้ัน ตอมอ่ แถวหน่ึงมีไมม่ ากกว่า 4 หรือ 5 ต้น แล้วก็เอาลาไมไ้ ผผ่ กู ขวางเป็น รอดบนั ได (escalier) ก็ เปน็ กระได (echelle) ไมไ้ ผ่ซึง่ ทอดอยขู่ ้างนอกตวั เรอื น...” ทมี่ า: ซมิ อน เดอ ลาลูแบร.์ จดหมายเหตลุ าลแู บร์ ราชอาณาจักรสยาม. หน้า 101.
หลกั ฐานชิ้นท่ี 2 ภาพบา้ นเรอื นสมยั อยธุ ยาจากจดหมายเหตุ ลาลแู บร์. แหลง่ ที่มา: https://www.matichon.co.th/columnists/news_204587 สบื คน้ เมื่อ 4 ก.ค.62
ใบงานเรื่อง ภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมสมยั อยธุ ยา คาช้ีแจง: ให้นักเรียนสืบคน้ ภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมสมยั อยุธยาที่นักเรยี นรสู้ ึก ประทบั ใจจานวน 1 ภมู ิปญั ญาพรอ้ มวาดภาพ พร้อมตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ชื่อภูมิปญั ญาและวัฒนธรรมสมัยอยธุ ยาท่รี สู้ กึ ประทบั ใจ 2. ปัจจยั ที่สง่ ผลทาใหเ้ กดิ การสรา้ งสรรค์ภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมสมัย อยธุ ยานี้ 3. อธิบายลักษณะสาคญั ของภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมสมยั อยธุ ยาน้ี 4. ความสาคญั ของภูมิปญั ญาและวัฒนธรรมสมยั อยุธยาทมี่ ีต่อสมัยปัจจบุ นั
สรุปกิจกรรมการเรยี นรู้เร่อื งภมู ิปัญญาและวฒั นธรรม สมยั อยุธยา ภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรมสมัยอยธุ ยา เปน็ ส่ิงทส่ี ะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงทักษะ ในการแก้ไขปัญหาการดารงชีวิตของชาวอยุธยาโดยภมู ิปญั ญามีคุณค่า และความสาคญั ตอ่ สังคมสมยั อยุธยาและสมยั ปจั จบุ ันหลายดา้ น เช่น ภูมปิ ัญญาช่วยสร้างชาติใหม้ ีความม่ันคง เปน็ บอ่ เกิดความรัก ความสามคั คขี องคนในชาติ สรา้ งความภูมิใจ และศกั ด์ศิ รีเกยี รตภิ มู ใิ หแ้ ก่ คนไทย
รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ เรอื่ ง บคุ คลสาคญั ในสมยั อยธุ ยา รหสั วิชา ส 22102ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ผ้สู อน ครนู ติ ยา จวบรัมย์
ทบทวนภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมสมยั อยุธยา ปัจจัยทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการสรา้ งสรรค์ภูมปิ ญั ญา และวฒั นธรรมสมยั อยธุ ยา 1. สภาพแวดล้อมทางภมู ศิ าสตรแ์ ละสง่ิ แวดล้อม 2. ลกั ษณะทางสังคมและวัฒนธรรม 3. การรับอทิ ธพิ ลจากภายนอก
ทบทวนภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมสมัยอยธุ ยา 1. บา้ นเรือนของชาวอยุธยา 2. ภมู ปิ ัญญาดา้ นการประกอบอาชพี 3. ภมู ิปญั ญาดา้ นศาสนาและความเชอ่ื
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268