Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Checklist รู้ทันซื้อขายออนไลน์ ผู้แต่ง : สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

Checklist รู้ทันซื้อขายออนไลน์ ผู้แต่ง : สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

Published by 000bookchonlibrary, 2021-01-26 03:48:31

Description: Checklist-รทนซอขายออนไลน

Search

Read the Text Version

ชอ่ื เรอ่ื ง Checklist รูท้ นั ซือ้ ขายออนไลน์ ISBN 978-616-7956-30-5 พมิ พ์คร้งั ท่ี 1 มกราคม 2561 พมิ พ์จ�ำ นวน 2,000 เล่ม สงวนลิขสิทธติ์ ามพระราชบญั ญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 จดั พิมพแ์ ละเผยแพร่โดย ส�ำ นกั พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) กระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม อาคารเดอะ ไนน์ ทาวเวอร์ แกรนด์ พระรามเก้า (อาคารบี) ชัน้ 20 เลขที่ 33/4 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์: 0 2123 1234 โทรสาร : 0 2123 1200



ค�ำน�ำ ยุคน้ี การท�ำธุรกรรมออนไลน์อย่างการซ้ือของออนไลน์หรือการ จา่ ยเงนิ ผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ กลายเปน็ เรอื่ งปกตใิ นชวี ติ ประจ�ำวนั ของเราไปแลว้ เน่ืองจากความสะดวกในการใช้งานโทรศัพท์มือถือและสัญญาณอินเทอร์เน็ต ท่ีแรงและเร็วข้ึน อีกท้ังรัฐบาลก็มีนโยบายเร่งผลักดันให้คนไทยในทุกพื้นที่ได้ ใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างท่ัวถึง ท�ำให้ใคร ๆ หันมานิยมซื้อของและจ่ายเงิน ออนไลนม์ ากขนึ้ เรอื่ ย ๆ เพราะงา่ ย ประหยดั เวลา ไมต่ อ้ งเดนิ ทาง อกี ทง้ั สามารถ สง่ั ซอื้ ได้ตลอด 24 ชั่วโมง อย่างไรก็ตาม ผลส�ำรวจของส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็ก- ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) (สพธอ.) หรอื ETDA (เอต็ ดา้ ) กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม กพ็ บวา่ คนบางสว่ นยงั ไมก่ ลา้ หรอื ไมม่ ่นั ใจกบั การ ซอื้ ของทางออนไลน์ เพราะกลวั โดนหลอก หรือเคยได้ยินข่าวท่ีไมด่ ีเก่ยี วกบั ชอปปิงทางออนไลน์ ขณะที่บางส่วนคือกลุ่มท่ีเคยซื้อสินค้าทางออนไลน์แล้ว ประสบปัญหา และไม่รู้จะไปร้องเรียนหรือพึ่งพาหน่วยงานใดในการให้ความ ช่วยเหลอื “Checklist รทู้ ันซ้ือขายออนไลน”์ ฉบบั นี้ ETDA จงึ ได้จัดท�ำขึน้ เพ่ือเป็นตัวช่วยหนึ่งท่ีท�ำให้ผู้บริโภคยุคใหม่ สามารถซ้ือขายสินค้าผ่าน ช่องทางออนไลน์ได้อย่างม่ันใจและปลอดภัย ในฐานะที่ ETDA เป็น หน่วยงานหลกั ทผ่ี ลักดนั ธุรกรรมออนไลน์รวมท้ังพาณิชย์อิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื อคี อมเมิรซ์ ของประเทศโดยตรง โดยมีเน้อื หาครอบคลมุ ท้งั สาเหตแุ ละปญั หา จากการซื้อสินค้าทางออนไลน์ สิทธิหน้าท่ีและกฎหมายที่ผู้บริโภคควรรู้ ขอ้ ควรระวงั ในการซอื้ สนิ คา้ ทางออนไลน์ ทงั้ กอ่ นซอ้ื และขณะซอื้ และเมอ่ื เกดิ

ปัญหาแลว้ จะดูแลตวั เองอยา่ งไร รวมทัง้ ยังไดย้ กตวั อย่างกรณศี กึ ษาตา่ ง ๆ ท่ี เคยเกิดขน้ึ จริง ซง่ึ ผู้อ่านสามารถน�ำไปปรับใชเ้ ป็นแนวทางในการป้องกนั และ แก้ไขปญั หาทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ กบั ตวั เองและผูอ้ ืน่ ได้อยา่ งม่นั ใจ เมื่อทุกคนรู้เท่าทัน ย่อมเกิดความเช่ือมั่น และร่วมกันผลักดันให้ ธรุ กจิ อีคอมเมริ ์ซของไทย เตบิ โตขน้ึ ได้ท้งั ปรมิ าณและมลู ค่า (สรุ างคณา วายภุ าพ) ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) กระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม กนั ยายน 2560

กำ� กับตลาดดิจทิ ัลให้เป็นธรรม สองปีซอ้ นทส่ี หพันธ์ผู้บรโิ ภคสากล (Consumers International) ร่วมกับองค์กรผู้บริโภคทั่วโลก ก�ำหนดให้วันสิทธิผู้บริโภคสากล (World Consumer Rights’ Day) ซงึ่ ตรงกบั วนั ท่ี 15 มนี าคมของทกุ ปี เปน็ ประเดน็ การคุ้มครองผู้บริโภคจากธุรกิจออนไลน์ เพื่อสร้างความมั่นใจและความ ยุติธรรมให้แก่ผู้บริโภค(Building a Digital World Consumers Can Trust) ในปี พ.ศ. 2560 สู่ “การก�ำกับตลาดดิจิทลั ใหเ้ ป็นธรรม” (Making digital marketplaces fairer) ในปี 2561 อีคอมเมิร์ซได้เปลี่ยนวิถีชีวิตทุกคน ผ่านโทรศัพท์มือถือหรืออุปกรณ์ท่ี เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต สามารถช�ำระเงินซ้ือข้าวของเครื่องใช้บริการได้ท่ัวโลก แมแ้ ต่ เครอื่ งใชส้ ว่ นตวั เครอื่ งใชใ้ นบา้ น อปุ กรณด์ นตรเี พอื่ น�ำไปใช้ จองบรกิ าร ขนส่งและทพ่ี กั ; หรือซอ้ื ต๋วั เขา้ รว่ มกิจกรรม ส�ำหรับในประเทศไทย มูลคา่ e-Commerce ในปี 2559 รวมทัง้ สิ้น 2,560,103.36 ล้านบาท ขณะทง่ี บโฆษณาดิจิทัลในปี 2559 มมี ลู คา่ 9,477 ลา้ นบาท คาดวา่ ปี 2560 จะทะลุหมื่นล้านขนึ้ ไป อยา่ งไรกต็ าม ผลประโยชน์ทีเ่ กิดขึ้นของการซ้ือขายออนไลน์ ไดท้ �ำให้ เกดิ ปัญหาส�ำคญั กบั ผู้บรโิ ภค เชน่ การหลอกลวง ซื้อของแลว้ ไม่ได้ของ ไม่ได้ เงินคืนหรือถึงแม้ได้เงินคืนก็แสนยากเย็น เม่ือเกิดเหตุการณ์ผิดพลาดข้ึน ถกู หลอกลวง ฉอ้ โกง หรือโฆษณาเกนิ จริง เป็นเทจ็ โออ้ วดสรรพคณุ จะได้รบั การชดเชยเยียวยาเป็นอย่างดี หรือถูกจัดการจากหน่วยงานอย่างทันท่วงที ด้วยเหตุนี้เช่ือว่า การเคลื่อนไหวของขบวนการผู้บริโภคท่ัวโลก จะสามารถ ท�ำให้เกดิ การก�ำกับตลาดดิจิทัลที่เปน็ ธรรมส�ำหรับผบู้ รโิ ภคเพ่มิ ข้ึน

หนงั สอื Checklist รทู้ นั ซอ้ื ขายออนไลน์ เลม่ นี้ จะชว่ ยใหผ้ บู้ รโิ ภคเขา้ ใจ เท่าทนั และมแี นวทางส�ำหรับการตรวจสอบก่อนการซื้อขายออนไลน์มากขน้ึ รวมทั้งมน่ั ใจ ว่าจะปลอดภยั ได้รบั ความเปน็ ธรรมและความยุตธิ รรมเมือ่ เกดิ ปัญหา มลู นธิ เิ พอ่ื ผบู้ รโิ ภค ตอ้ งขอขอบคณุ คณุ สรุ างคณา วายภุ าพ ผอู้ �ำนวยการ ส�ำนกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) (สพธอ/ETDA) และทีมทุกคนที่ท�ำให้คู่มือผู้บริโภคเล่มนี้เป็นจริง ขอบคุณหัวหน้าทีมวิจัย คุณโสภิดา วีรกุลเทวัญ และคณะ อาจารย์อัจฉรา ชินนิยมพาณิชย์และ คณุ แพรว เรอื งสวรรค์ ท่ชี ่วยจดั ท�ำเนอื้ หาหนงั สือให้นา่ อา่ นส�ำหรับผู้บรโิ ภค ( สารี ออ๋ งสมหวงั ) เลขาธกิ ารมูลนธิ ิเพือ่ ผบู้ รโิ ภค กนั ยายน 2560

Content บทน�ำ ผบู้ รโิ ภคในโลกออนไลน์ ซือ้ งา่ ยจา่ ยเร็ว 11 ซื้อสินคา้ ออนไลน์หรือการซื้อของทางอ-ี คอมเมิรซ์ คืออะไร บทที่ 1 กอ่ นซอ้ื ของออนไลน์ อาจพลาดง่าย ๆ ถา้ ไมร่ ะวัง 22 รู้หนา้ ที่ ร้สู ทิ ธิของผ้บู รโิ ภคในโลกออนไลน์ รู้กฎหมายคมุ้ ครองผ้บู ริโภคท่ีเกย่ี วข้อง สนิ ค้าออนไลน์ ซ้ือได้แค่ปลายนว้ิ เขา้ ใจรายละเอียดสนิ ค้า ดรู าคามาตรฐาน ระบบติดตามตรวจสอบสถานะการจดั สง่ สนิ ค้า สินคา้ สขุ ภาพแบบใด ตอ้ งใส่ใจเชค็ กบั อย. ตรวจสอบประวัตริ า้ นคา้ เสียเวลาไม่เสียเงนิ ฟรี บทที่ 2 ซอ้ื สินคา้ ออนไลน์ อะไรบ้างท่ีต้อง “เอ๊ะ!” 60 ขณะช่องทางซอื้ -ขายออนไลนอ์ ะไรบา้ ง กอ่ นสง่ ค�ำ สัง่ ซ้อื ให้ตรวจดู URL ช่องทางการส่งั ซื้อหรือตดิ ตอ่ กบั ผขู้ าย รา้ นคา้ มคี วามเคลื่อนไหวตลอดเวลา รปู แบบในการช�ำ ระเงิน วิธสี บื ค้นรายชอื่ ของผู้ประกอบธุรกจิ บรกิ ารการช�ำ ระเงินทาง อี-เพยเ์ มน้ ท์ สรปุ ยอดรวม ระยะเวลาส่งของ ต้องด!ู ขอ้ ควรระวังขณะซอ้ื สินคา้

บทที่ 3 หลังซอื้ สนิ คา้ ออนไลน์ อะไรบ้างท่ตี ้องตรวจสอบ 82 การติดตามสถานะการจัดส่งสินคา้ และการรับสินคา้ การบอกเลกิ สัญญาเพื่อขอเงินคืน การสง่ คืนสนิ ค้า วธิ ีการร้องเรยี น กรณสี ินค้าชำ�รดุ บกพรอ่ ง หรอื ไมไ่ ด้ รบั สินค้าเม่ือส่ังซอ้ื แลว้ หนว่ ยงานรับเรอื่ งรอ้ งเรยี น บทที่ 4 เร่ืองน่ารู้ ของนักชอ้ ปออนไลน์ 96 Checklist รู้ทนั ซือ้ ขายออนไลน์ “ต้งั สติก่อนโพสตเ์ กย่ี วกบั สินค้า กรณตี วั อย่างและแนวทางแก้ไขปญั หาของนักช้อปออนไลน์ เกมแบบทดสอบ : คณุ เปน็ ผูบ้ รโิ ภคในโลกออนไลน์ 4.0 หรอื ไม่ 132

บทน�ำ ผูบ้ รโิ ภคในโลกออนไลน์ ซ้อื ง่ายจ่ายเร็ว

ผบู้ ริโภคในโลกออนไลน์ ซ้ือง่ายจ่ายเร็ว เพราะดิจิทัล (Digital) ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผู้คนทั่วโลก ท�ำให้การซื้อขายสินค้าไม่จ�ำเป็นต้องอยู่ในรูปแบบเดิม ๆ อีกต่อไป แค่เรามี อุปกรณ์ที่สามารถเช่ือมต่อกับอินเทอร์เน็ต ก็สามารถซ้ือของได้จากท่ัวทุกมุม โลก ส่งผลให้มูลค่าของการซื้อขายของออนไลน์เจริญเติบโตข้ึนเร่ือย ๆ ซึ่ง นอกจากความสะดวกสบายทท่ี �ำใหต้ ลาดออนไลนไ์ ดร้ บั ความนยิ มจากผบู้ รโิ ภค แลว้ ปจั จยั ดา้ นราคากเ็ ปน็ สงิ่ ดงึ ดดู ทสี่ �ำคญั เพราะผบู้ รโิ ภคสว่ นใหญเ่ หน็ วา่ การ ซอื้ ของออนไลน์ สามารถคน้ หา และเปรยี บเทยี บราคาจากผคู้ า้ ออนไลนห์ ลาย แหลง่ จงึ ท�ำใหไ้ ดส้ นิ คา้ ทม่ี รี าคาคมุ้ คา่ มากขน้ึ ดงั นน้ั การตกลงซอื้ จงึ มกั เกดิ ขน้ึ อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ในกระบวนการช�ำระค่าสินค้าหรือบริการออนไลน์ก็ ยังง่ายดายไม่ซับซ้อน เช่น โอนเงินผ่านอินเทอร์เน็ตแบงก์ก้ิงหรือโมบาย แอปพลิเคชันของธนาคารออนไลน์ หรือเพียงกรอกข้อมูลของบัตรเครดิต / บตั รเดบติ กท็ �ำใหเ้ ราสามารถซอื้ ของออนไลนผ์ า่ นหนา้ จอคอมพวิ เตอรไ์ ดแ้ ลว้ และยังเปิดโอกาสให้เราสามารถท�ำธุรกรรมออนไลน์ได้ตลอด 24 ช่ัวโมง อีกดว้ ย

12 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) สะดวกแค่ไหนก็ได้ แตอ่ ยา่ ลืมเรื่องความปลอดภัยนะ! ด้วยความแพร่หลายของบริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งแทบจะครอบคลุมทุก พืน้ ท่ีในแหล่งชมุ ชน เชน่ บรกิ ารอนิ เทอร์เน็ต 3G/4G ของเครอื ข่ายของผใู้ ห้ บรกิ ารโทรศัพท์เคลอ่ื นที่ หรอื บริการ WIFI ต่าง ๆ ท�ำให้ทกุ คนเขา้ ถึงการซอ้ื ขายสนิ คา้ และบรกิ ารได้ ไมว่ า่ จะอยมู่ มุ ไหนของโลกอนั กวา้ งใหญใ่ บนี้ จงึ ท�ำให้ การซื้อของออนไลน์สามารถท�ำไดง้ า่ ย สะดวก รวดเรว็ แค่คลกิ คลิก คลกิ เรา ก็สามารถส่ังซ้ือสินค้าตามที่เราต้องการได้ง่ายดายและแสนสะดวกสบาย เท่าน้ันยังไม่พอ ยังมีการจัดส่งสินค้าให้ถึงหน้าประตูบ้าน สะดวก รวดเร็ว

13 เหมาะกับยุค ประเทศไทย 4.0 จริง ๆ แต่ด้วยความง่ายในการเปิดร้านค้า ออนไลน์ ซึ่งใคร ๆ ก็สามารถท�ำได้ ท�ำให้ผ้บู ริโภคอยา่ งเรา ๆ อาจไม่รอบคอบ ในการซื้อสินค้าและบริการ ไม่ระมัดระวังพิจารณาความน่าเชื่อถือของผู้ค้า หรือลืมศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ของสินค้าให้ดี ท�ำให้มีโอกาสพล้ังพลาด ตกเปน็ เหยอ่ื ของพอ่ คา้ แมค่ า้ หวั หมอทตี่ งั้ ใจหลอกลวงผบู้ รโิ ภคทไ่ี มท่ นั ระวงั ตวั ได้งา่ ย ๆ ซ่ึงถงึ แม้การท�ำซือ้ ของออนไลน์ จะอ�ำนวยความสะดวกสบายใหแ้ ก่ ผบู้ รโิ ภค แตผ่ บู้ รโิ ภคกต็ อ้ งพงึ ระวงั วา่ การซอ้ื ขายทรี่ วดเรว็ เหล่านี้ อาจจะมภี ยั จากมจิ ฉาชพี แฝงอยู่ด้วยเช่นกนั ท�ำใหผ้ บู้ ริโภคสามารถถกู หลอกลวงได้งา่ ย ๆ โดยไมร่ ู้ตวั ซง่ึ ปจั จยั หลกั กม็ าจากเหล่ามิจฉาชีพทแ่ี ฝงตัวมาในรปู แบบต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ จากผคู้ า้ ออนไลน์ หรอื เวบ็ ไซตป์ ลอมทส่ี รา้ งขนึ้ เพอ่ื หลอกลวง ชวน เชื่อหรือชักจูงใจใหผ้ บู้ ริโภคโอนเงินไปใหฟ้ รี ๆ โดยไม่จดั สง่ สนิ คา้ หรือบรกิ าร ให้ ซ่ึงส�ำหรับกลุ่มผู้บริโภคบางส่วนท่ีอาจจะไม่คุ้นเคยกับการท�ำธุรกรรม ออนไลน์ ก็เปน็ เรอื่ งยากทผ่ี ู้บรโิ ภคจะสามารถตามทนั กลโกงเหล่านีไ้ ดท้ ั้งหมด แต่ใช่ว่าเราจะไม่สามารถป้องกันตัวเองได้ เพราะหากเรามีหลักหรือข้อมูล เบ้ืองต้นเพ่ือใช้ในการตัดสินใจก่อนซ้ือสินค้าหรือท�ำธุรกรรมทางการเงิน ออนไลน์ใด ๆ ก็ถือว่าเราก็รู้จักในภัยแฝงทางออนไลน์และมีภูมิคุ้มกันท่ีจะ ปอ้ งกนั ตัวเองในระดับทเี่ หมาะสมแลว้ เช่นกัน ก่อนอื่น มาท�ำความรู้จักกับรูปแบบ ลักษณะของการซ้ือขายออนไลน์ หรอื ธรุ กรรมพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (อ-ี คอมเมิร์ซ/e-Commerce) และข้อดี ข้อเสยี ของอ-ี คอมเมิร์ซแตล่ ะแบบ เพื่อทผ่ี ้บู ริโภคจะน�ำมาเป็นขอ้ มูลประกอบ การพิจารณากอ่ นตดั สนิ ใจซอื้ เพ่ิมความระมัดระวงั ในการตดิ ต่อซื้อขาย และ แกป้ ญั หาเมอ่ื ไม่ได้รับสนิ คา้ หรอื ได้รบั สนิ คา้ แล้วแต่ไม่พึงพอใจ

14 ส�ำ นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ซื้อสินค้าออนไลนห์ รือการซื้อของทางอี-คอมเมิร์ซ คืออะไร การซอ้ื ของออนไลนห์ รอื การซอื้ ของทางอ-ี คอมเมริ ซ์ สามารถท�ำการซอื้ ขายไดท้ กุ ทท่ี ุกเวลาเขา้ ถงึ ผ้บู รโิ ภคไดท้ ว่ั โลก และเปดิ โอกาสใหผ้ ขู้ ายและผู้ซอ้ื ท่ีไม่เคยรู้จักหรือพบกันสามารถมีการปฏิสัมพันธ์และส่ือสารผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตได้ บางร้านค้าออนไลน์หรือผู้ขายทางออนไลน์สามารถให้ข้อมูล รายละเอยี ดของตวั สนิ คา้ หรอื บรกิ ารอยา่ งเพยี งพอและมขี อ้ มลู ทช่ี ดั เจน พรอ้ ม กับตอบสนองตามความชอบส่วนบุคคลและสามารถปรับแต่งการแสดงสินค้า และบรกิ ารใหเ้ หมาะสมกบั ผใู้ ชบ้ รกิ ารซง่ึ มคี วามแตกตา่ งกนั ใน เพศ อายุ แหลง่

15 ที่อยู่ หรือความชอบส่วนบุคคล ซ่ึงความส�ำคัญดังกล่าวน้ีเองท�ำให้ธุรกรรม ออนไลนใ์ นดา้ นอ-ี คอมเมริ ซ์ แพรห่ ลายและมผี ใู้ ชบ้ รกิ ารเพม่ิ ขนึ้ เปน็ จ�ำนวนมาก ดว้ ยเช่นกนั ดา้ นความหมายและนยิ ามของ พาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื “อ-ี คอมเมริ ซ์ ” มีผใู้ หค้ �ำนยิ ามไว้หลายหน่วยงาน อยา่ งไรกต็ าม ยังไม่พบวา่ มีค�ำจ�ำกดั ความใด ท่ีสามารถใชเ้ ปน็ ค�ำอธิบายไดอ้ ย่างสมบูรณ์ เรามาดูกนั วา่ หนว่ ยงานเหลา่ นน้ั ไดใ้ ห้ค�ำนิยามกนั ว่าอยา่ งไร ในตา่ งประเทศ เรม่ิ ต้นกันท่อี งคก์ ารระหวา่ งประเทศ เช่น องค์การการ ค้าโลก (WTO) ได้ให้ค�ำนิยามไว้ว่า “การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์และ บริการโดยใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์” และคณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ไดใ้ หค้ �ำนยิ ามวา่ “การพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Commerce) หมายถึง การประกอบธุรกรรมเชิงพาณิชย์ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ท่ีอาศัย การประมวลผล การส่งผ่านข้อมลู ทงั้ ตวั อักษร เสียง ภาพเคล่อื นไหว ผ่านทาง อปุ กรณส์ อื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซงึ่ การประกอบกจิ กรรมดงั กลา่ วหมายความรวมทง้ั การคา้ ขายสนิ คา้ หรอื บรกิ ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การจดั สง่ ขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การโอนเงินทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การซ้อื ขายหุ้นทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ การบริการ หลังการขายผ่านทางเครอื ขา่ ยอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เป็นตน้ ” เม่ือมาดหู น่วยงานต่าง ๆ ในประเทศไทยพบวา่ มีนยิ ามความหมายของ อี-คอมเมริ ์ซ แตกตา่ งกนั ตามตัวอยา่ ง ดังต่อไปนี้

16 สำ�นกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) “คอื การด�ำเนนิ ธุรกิจทกุ รูปแบบท่ีเกีย่ วข้องกบั การซอ้ื ขายสนิ ค้าผ่าน ระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือส่ืออิเล็กทรอนิกส์” (กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย)์ “คอื การทำ� การคา้ ขายและธรุ กรรมซอื้ ขายผา่ นทางระบบออนไลนห์ รอื ทางอนิ เทอรเ์ น็ต” (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า)1 ส่วนนกั วชิ าการต่าง ๆ กไ็ ดใ้ หค้ �ำนิยามไวแ้ ตกตา่ งกัน เชน่ “คือ การซื้อขายสินค้าหรือบริการโดยการส่งข้อมูลผ่านส่ืออิเล็ก- ทรอนกิ สผ์ ่านทางเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต” (ไพจติ ร สวัสดิสาร) “คอื กระบวนการทำ� ธรุ กรรมทกุ ชนดิ ซอื้ ขาย ประมลู แลกเปลยี่ น หรอื ถา่ ยโอนสนิ คา้ และบรกิ าร ตลอดจนเนอื้ หาทเ่ี ปน็ ดจิ ทิ ลั ระหวา่ งผปู้ ระกอบธรุ กจิ ด้วยกัน หรือผู้ประกอบธุรกิจกับผู้บริโภคผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ โดยธุรกรรม ทางการค้าน้ันเป็นการแลกเปล่ียนที่ก่อให้เกิดมูลค่ากับคู่ค้าทั้งสองฝ่าย” (จีราภรณ์ สธุ มั มสภา) เป็นต้น แตไ่ ม่ว่าจะมกี ารให้นยิ ามความหมายท่ีแคบ กวา้ ง ต่างกันอยา่ งไร โดย พ้นื ฐานนนั้ สามารถสรุปไดว้ า่ อี-คอมเมริ ซ์ คอื 1. เปน็ สว่ นหนึ่งของการท�ำธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ 2. เป็นการตดิ ต่อเชงิ การคา้ การพาณชิ ย์ การซื้อขายสินคา้ ในรูปแบบ ตา่ ง ๆ 3. เป็นการติดตอ่ ผ่านระบบส่ือสารโทรคมนาคมหรือส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ 1 เป็นหน่วยงานที่รับขึ้นทะเบียนการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และได้เผยแพร่ข้อมูลความรู้ ทางสอื่ ภาพวดี ิทศั น์ หวั ขอ้ 1.พาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์คอื อะไร

17 ประเภทของอ-ี คอมเมริ ซ์ การจัดแบ่งประเภทของอี-คอมเมิร์ซ เราจะพิจารณาจากเกณฑ์ความ สัมพันธ์ในการซื้อขายสินค้าและบริการ โดยแบ่งตามลักษณะของผู้ขายและ ผูซ้ ือ้ ซึ่งสามารถแบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ผ้ปู ระกอบธรุ กจิ กบั ผู้ประกอบธุรกจิ (Business to Business หรือ B2B) 2. ผู้ประกอบธรุ กจิ กบั ผู้บรโิ ภค (Business to Consumer หรือ B2C) 3. ผบู้ ริโภคกบั ผบู้ ริโภค (Consumer to Consumer หรือ C2C) 4. ผปู้ ระกอบธุรกจิ กับภาครฐั (Business to Government หรือ B2G) 5. ภาครฐั กบั ประชาชน (Government to Citizen/Consumer หรือ G2C) ส�ำหรับการซ้ือของออนไลน์ที่เก่ียวข้องกับผู้บริโภคโดยตรง ส่วนใหญ่ จะมเี พียง 2 ประเภทเทา่ นัน้ ได้แก่ ผู้ประกอบธรุ กิจกับผู้บริโภค (B2C) และ ผู้บริโภคกบั ผู้บริโภค (C2C) 1. ผูป้ ระกอบธุรกจิ กบั ผ้บู รโิ ภค (B2C) เป็นรูปแบบที่ผู้ประกอบธุรกิจ จะจัดช่องทางการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางเว็บไซต์ (Website) ของบริษัทเอง เพ่ือให้ผู้บริโภคท่ัวไปได้เข้ามาซ้ือสินค้าที่เป็นช่องทางการจัดจ�ำหน่ายเพ่ิมเติม เพื่อเป็นการอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้บริโภค เช่น thaiairways.com, doikham.co.th, gponature.com, abhaiherb.net ซง่ึ เปน็ การขายโดยตรง ระหวา่ งผปู้ ระกอบธรุ กจิ กบั ผบู้ รโิ ภค

18 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ถา้ ให้เปรยี บเหมอื นการค้าขายในรูปแบบทั่วไป กจ็ ะคล้ายคลงึ กบั การ ซ้ือขายระหว่างร้านค้าของบริษัทหรือผู้ประกอบธุรกิจที่น่าเชื่อถือกับลูกค้าที่ เปน็ ผู้บรโิ ภคแบบซ้ือปลีก การซื้อขายแบบนมี้ กั ไมม่ ีปญั หาเรอื่ งการหลอกลวง เพราะผขู้ ายมกั จะเปน็ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทมี่ ตี วั ตนจรงิ มสี นิ คา้ จรงิ ไมไ่ ดม้ เี จตนา หลอกลวง มีข้อก�ำหนดเงื่อนไขและรายละเอียดการสั่งซ้ือสินค้าท่ีชัดเจน แต่ ผู้บริโภคท่ีจะท�ำการซ้ือขายออนไลน์ในรูปแบบนี้ควรอ่านรายละเอียดและ เง่ือนไขของการสั่งซื้อสินค้าซ่ึงจะเป็นข้อมูลท่ีทางบริษัทผู้ขายก�ำหนดเอาไว้ ตายตวั และมกั จะไมส่ ามารถเจรจาหรือต่อรองเปลยี่ นแปลงได้ นอกจากนจ้ี ะ ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ เงอื่ นไขในการเปลยี่ นคนื สนิ คา้ กรณไี มพ่ งึ พอใจสนิ คา้ สนิ คา้ ไมเ่ ปน็ ไปตามรปู ภาพ-ค�ำบรรยาย สนิ คา้ ช�ำรดุ บกพร่อง 2. ผู้บริโภค กับ ผู้บริโภค (C2C) เป็นรูปแบบท่ีเปิดพื้นที่ให้ผู้บริโภค สามารถซอ้ื ขายแลกเปลย่ี นสนิ คา้ กบั ผบู้ รโิ ภคอน่ื ไดโ้ ดยอสิ ระ ซงึ่ ผใู้ หบ้ รกิ ารจะ เข้าไปมีส่วนร่วมในการเก็บค่าใช้บริการบางส่วน ตัวอย่างเว็บไซต์ ในต่าง ประเทศ เชน่ eBay.com และในประเทศไทย เชน่ kaidee.com, tarad.com

19 เป็นต้น โดยผู้บริโภคและผู้บริโภคติดต่อกันเองเพ่ือแลกเปลี่ยนสินค้า ขาย สินค้ามือหนึ่งและมือสองผ่านเว็บไซต์ของตลาดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Marketplace) และยังรวมถึงการขายสินค้าและบริการผ่านทางช่องทาง เว็บบอร์ด (Webboard) เช่น เว็บไซต์ pantip.com หรือเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Social Media) เช่น บริการ Facebook หรอื Instagram อกี ดว้ ย อ-ี มารเ์ กต็ เพลส (e-Marketplace) จะคลา้ ยคลงึ กบั การซอื้ ขายของตาม ตลาด ตลาดนัด หรือตลาดเปดิ ท้ายขายของทางออนไลน์ ในหลายกรณีท่ีผู้ให้ บริการอี-มาร์เก็ตเพลส เปิดโอกาสให้ผู้ซ้ือ-ผู้ขายสามารถติดต่อกันโดยตรง ตอ่ รองราคากนั ได้ จงึ ท�ำให้เง่ือนไขบริการหลังการขายตา่ ง ๆ เช่น การเปลย่ี น คืนสินค้าจะมกี ฎเกณฑ์หรือเงือ่ นไข ขึ้นกบั การตกลงกบั ผู้ขาย เปรียบเทยี บได้ กับการประกาศขายของตามในหนังสือพิมพ์ นิตยสารต่าง ๆ ท่ีผู้ให้บริการ เวบ็ ไซตอ์ -ี มารเ์ กต็ เพลสเปน็ เพยี งเจา้ ของหนงั สอื พมิ พ์ เจา้ ของนติ ยสาร ซงึ่ เปดิ พื้นที่ว่างให้บุคคลท่ัวไปเข้ามาประกาศขายสินค้าและเก็บค่าบริการที่ให้

20 สำ�นักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ประกาศขาย หรือผู้ให้บริการเว็บไซต์อี-มาร์เก็ตเพลสเป็นเจ้าของตลาด เปิด พ้ืนท่ีให้บุคคลท่ัวไปมาเช่าท่ีขายสินค้า ในปัจจุบันเพื่อดูแลความพอใจให้กับ ผซู้ อ้ื ออนไลน์ ผใู้ หบ้ รกิ ารเวบ็ ไซตอ์ -ี มารเ์ กต็ เพลสหลายรายเรม่ิ ก�ำหนดเงอ่ื นไข ตา่ ง ๆ ของคณุ ภาพสนิ ค้าและระยะเวลาในการตอบกลบั ค�ำส่งั ซอ้ื ทผี่ ขู้ ายตอ้ ง ยอมรับและปฏบิ ัตติ ามเมอ่ื ขายของผา่ นช่องทางอี-มารเ์ กต็ เพลสของตน นอกจากนี้ยังมีการใช้ช่องทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook) อนิ สตาแกรม (Instragram) ไลน์ (Line) เพอื่ เปน็ ชอ่ งทางในการ ติดต่อซื้อขาย หรือท่ีเรียกว่าการพาณิชย์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ หรือ โซเชียลคอมเมิร์ซ (Social Commerce) ซ่ึงเป็นอีกรูปแบบของการท�ำ อ-ี คอมเมริ ซ์ ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มมากในปจั จบุ นั โดยเรมิ่ จากผบู้ รโิ ภคกบั ผบู้ รโิ ภค ติดต่อระหว่างกันเอง ผ่านช่องทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ และใช้ข้อมูลที่มี การเผยแพรไ่ วเ้ ครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ เชน่ ความคดิ เหน็ ทไ่ี ดจ้ ากลกู คา้ รายอนื่ เพอ่ื สนับสนนุ การตดั สินใจเลือกซือ้ สนิ ค้าและบริการ

21

บทที่ 1 ก่อนซื้อของออนไลน์ อาจพลาดงา่ ย ๆ ถา้ ไม่ระวัง

กอ่ นซอื้ ของออนไลน์ อาจพลาดง่าย ๆ ถ้าไม่ระวงั 1.1 รู้หน้าท่ี รู้สทิ ธิของผู้บริโภคในโลกออนไลน์ ผู้บรโิ ภคจะรกั ษาผลประโยชน์ของตนเองไดอ้ ย่างไร? นอกจากผู้บริโภคจะมีหน้าท่ีในการเก็บหลักฐานการซ้ือขาย เงื่อนไขท่ี ตกลงกนั และหลกั ฐานการช�ำระเงนิ เรามาศกึ ษาดกู นั วา่ ผบู้ รโิ ภคมหี นา้ ทอ่ี ะไร อกี บ้างเพอ่ื ที่จะรักษาผลประโยชน์ของตนเองและสว่ นรวม องค์กรผู้บริโภคสากล (Consumers International) ไดก้ �ำหนดหนา้ ที่ รบั ผิดชอบของผบู้ รโิ ภค ไว้ 5 ประการ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การตระหนักรู้อย่างมีวิจารณญาณ (Critical Awareness) โดย ผู้บริโภคต้องมีความตื่นรู้ในการต้ังค�ำถามเกี่ยวกับเง่ือนไขข้อก�ำหนดของ คณุ ภาพสินค้าและบรกิ าร 2. มีส่วนร่วมหรือด�ำเนินการ (Involvement or Action) หมายถึง ผูบ้ ริโภคตอ้ งยืนยันสิทธิและด�ำเนนิ การต่าง ๆ เพอื่ ท่จี ะสร้างความมน่ั ใจให้กับ ตนเองว่าได้มกี ารตกลงต่าง ๆ ทเี่ ปน็ ธรรม 3. ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม (Social Responsibility) ผบู้ ริโภคต้อง ด�ำเนินการด้วยความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ดว้ ยความห่วงใยและความค�ำนงึ ถึง

24 ส�ำ นักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ผลกระทบของการด�ำเนนิ การต่าง ๆ ต่อประชาชนอ่ืน ๆ โดยเฉพาะในเรอื่ งที่ เกย่ี วกบั กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส และในเรอื่ งความเปน็ ธรรมดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม 4. ความรับผิดชอบต่อระบบนิเวศ (Ecological Responsibility) ผู้บริโภคต้องมีความค�ำนึงถึงอย่างสูงสุดต่อผลกระทบของการตัดสินใจของ ตนเองต่อส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ และต้องมีการพัฒนาไปอย่างผสมผสาน และกลมกลนื ในการสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษร์ ะบบนเิ วศเพอ่ื เปน็ การพฒั นาคณุ ภาพ ชีวติ ทัง้ ในปจั จบุ นั และในอนาคต 5. ความเป็นนำ�้ หน่ึงใจเดยี ว (Solidarity) การด�ำเนนิ การทด่ี ที ่สี ุดและ มีประสิทธิภาพมากที่สุดคือความพยายามร่วมมือร่วมใจกันในการก่อต้ังกลุ่ม องคก์ รผบู้ รโิ ภค กลมุ่ องคก์ รภาคประชาชน ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ทมี่ คี วามแขง็ แกรง่ และ มีอ�ำนาจในการเสริมสร้างการเอาใจใส่ต่อผู้บริโภคเพ่ือประโยชน์ของผู้บริโภค เม่ือเกิดปัญหาขึ้นการรวมตัวกันจะก่อให้เกิดพลัง ไม่อย่างน้ันผู้บริโภคเพียง ล�ำพังด�ำเนินการเอง อาจจะไปเขา้ ท�ำนอง “ไม้ซีกงดั ไมซ้ ุง” ได้ เม่ือเรารู้หน้าที่ที่เราพึงกระท�ำแล้ว คราวน้ีหากเกิดปัญหาก็ถึงคราวท่ี ผบู้ ริโภคต้องรกั ษาสทิ ธิของตนเอง เรามาศึกษาสิทธขิ องผูบ้ รโิ ภคทง้ั ของสากล และของไทยกันดีกว่า เพื่อที่จะได้ใช้สิทธิปกป้องผลประโยชน์ของตนเอง ผบู้ ริโภคตวั เลก็ ๆ ในโลกออนไลนอ์ ย่างเรา ตอ้ งแสดงพลังให้เห็น จะได้ขนึ้ ช่อื ว่า “เล็กพริกข้ีหน”ู สว่ นในตา่ งประเทศ สทิ ธิของผูบ้ รโิ ภคสากล ประกอบด้วย สทิ ธติ า่ ง ๆ 8 ข้อ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. สิทธิในการตอบสนองความต้องการข้ันพ้ืนฐาน (Right to satis- faction of basic needs)คือ สทิ ธิของผบู้ รโิ ภคที่จะสามารถเข้าถึงสินคา้ และ

25 บริการขน้ั พนื้ ฐานที่จ�ำเปน็ เช่น อาหาร เคร่ืองนุ่งหม่ ทีพ่ ักอาศัย เวชภัณฑ์ การศึกษา สาธารณูปโภค นำ้� และสขุ าภิบาล 2. สทิ ธิในความปลอดภัย (Right to Safety) คอื สทิ ธิของผบู้ รโิ ภคท่ี จะได้รับความคุ้มครองจากสินค้า กระบวนการผลิตสินค้า และบริการที่เป็น อนั ตรายต่อสุขภาพและชวี ติ 3. สทิ ธใิ นการไดร้ ับทราบข้อมูล (Right to be Informed) คือ สิทธิ ของผบู้ รโิ ภคทจี่ ะไดร้ บั ขอ้ มลู ทจ่ี �ำเปน็ ในการเลอื กซอ้ื ผลติ ภณั ฑ์ และไดร้ บั ความ คุ้มครองจากฉลากและโฆษณาท่หี ลอกลวง 4. สทิ ธิในการเลอื ก (Right to Choose) คือ สิทธขิ องผู้บริโภคที่จะ สามารถเลือกสินค้าและบริการที่หลากหลาย ได้รับการเสนอราคาที่ได้มีการ แขง่ ขันด้วยการรับประกันความพงึ พอใจในคุณภาพ 5. สทิ ธิในการมตี ัวแทนเพ่อื ผู้บรโิ ภค (Right to be Heard) คอื สิทธิ ของผบู้ รโิ ภคทจี่ ะมสี ว่ นในการน�ำเสนอผลประโยชนข์ องผบู้ รโิ ภคตอ่ การก�ำหนด นโยบายและการบงั คับใชข้ องรฐั และในการพัฒนาสนิ คา้ และบรกิ าร 6. สทิ ธใิ นการเยียวยาความเสียหาย (Right to Redress) คือ สิทธิของ ผบู้ รโิ ภคในการไดร้ บั การเยยี วยาความเสยี หายทเี่ ปน็ ธรรม รวมถงึ การเยยี วยา ความเสียหายจากสินค้าที่หลอกลวง คุณภาพต�่ำ หรือบริการท่ีไม่ได้รับความ พึงพอใจ 7. สิทธใิ นการศึกษาด้านผู้บรโิ ภค (Right to Consumer Education) คือ สิทธิของผู้บริโภคท่ีจะได้รับความรู้และทักษะท่ีจ�ำเป็นในการได้รับข้อมูล ขา่ วสารและการตัดสินใจเลอื กได้อยา่ งม่นั ใจตอ่ สินค้าและบรกิ าร โดยมีความ ตระหนกั รสู้ ทิ ธิขั้นพนื้ ฐานและความรับผดิ ชอบของผ้บู ริโภคในการด�ำเนนิ การ ตา่ ง ๆ

26 สำ�นกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 8. สทิ ธใิ นสงิ่ แวดลอ้ มทด่ี ี (Right to Healthy Environment) คอื สทิ ธิ ของผู้บริโภคท่ีจะอยู่และท�ำงานในส่ิงแวดล้อมที่ไม่เป็นภัยต่อความเป็นอยู่ท่ีดี ของคนในปัจจุบันและในอนาคต เหน็ กนั หรอื ไม่วา่ สิทธติ า่ ง ๆ ของผูบ้ ริโภคสากลลว้ นเปน็ หลักพน้ื ฐาน ท่ผี บู้ ริโภคควรรับร้ไู ว้ก่อนซอ้ื ของไมว่ ่าจะแบบออฟไลน์ หรอื ออนไลน์ อย่างไร ก็ดีหากมองกลับมาท่ีไทย การมีสิทธิท่ีกล่าวถึงข้างต้นน้ันอาจยังไม่เพียงพอ ประเทศไทยยังออกกฎหมาย พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 พระราชบญั ญตั นิ รี้ บั รองสทิ ธขิ องผบู้ รโิ ภคของไทยไว้ 5 ประการ ประกอบดว้ ย 1. สิทธิในการได้รับข่าวสารรวมทั้งค�ำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและ เพยี งพอเกีย่ วกบั สินคา้ และบรกิ าร 2. สทิ ธทิ ่จี ะมอี สิ ระในการเลอื กหาสนิ คา้ หรือบริการ 3. สทิ ธทิ ่จี ะไดร้ ับความปลอดภยั จากการใช้สนิ คา้ และบรกิ าร 4. สทิ ธิท่ีจะได้รบั ความเปน็ ธรรมในการท�ำสญั ญา 5. สิทธิท่ีจะได้รับความคุ้มครองและชดใช้ค่าเสียหายเมื่อมีการละเมิด สทิ ธขิ องผบู้ รโิ ภค จะเห็นว่าสิทธิของผู้บริโภคไทยหลายข้อเป็นไปตามหลักสากลเลยที เดยี ว นอกจากน้ียงั มสี ิทธิทปี่ ระเทศไทยรบั รองเป็นเฉพาะนอกเหนือจากหลัก สากล สทิ ธนิ นั้ กค็ อื สทิ ธขิ อ้ 4 “สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ความเปน็ ธรรมในการท�ำสญั ญา” ซ่ึงจะพูดถงึ ในรายละเอียดในขอ้ ถัดไป

27 1.2 รู้กฎหมายคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภคทเี่ กย่ี วข้อง นอกจากเรามีกฎหมายเพ่อื คุ้มครองผูบ้ ริโภคแลว้ ยังมกี ฎหมายเฉพาะ อื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับกับการซ้ือสินค้าออนไลน์ โดยกฎหมายแต่ละฉบับมี หลักการในการคุม้ ครองผบู้ ริโภคจากการซือ้ สนิ คา้ ออนไลน์ ดงั นี้ รูจัก พรบ. คมุ ครองผูบริโภค รจู ัก ผบู รโิ ภค “ผูบ ริโภค” คอื ใคร ? (มาตรา 3) “ผูบรโิ ภค” มีสทิ ธอิ ะไรบา ง ? (มาตรา 4) • ผซู ือ้ หรอื ผูไดรบั บริการจากผปู ระกอบธุรกิจ • ไดรบั ขา วสารรวม ทั้งคำพรรณาคุณภาพทถ่ี กู ตอ ง • ผูไดรบั การเสนอ หรอื การชักชวนจากผูประกอบธุรกิจ และเพียงพอ เพอ� ใหซ ้อื สนิ คาหรอื รับบรกิ าร • เลอื กหาสนิ คา หรือบรกิ ารไดโดยอิสระ • ผูใชส นิ คา หรือผูไดร ับบริการ จากผูประกอบธรุ กิจ • ไดร บั ความปลอดภัยจากการใชสนิ คา หรอื บรกิ าร โดยชอบ แมม ิไดเ ปนผูเสยี คาตอบแทน • ไดรับความเปน ธรรมในการทำสัญญา • ไดร บั การพิจารณาและชดเชยความเสยี หาย รจู กั คณะกรรมการคมุ ครองผบู ริโภค องคประกอบ คณะกรรมการคุมครองผูบรโิ ภค (มาตรา 9) • นายกรัฐมนตรี เปน ประธานกรรมการ เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี • ปลัดสำนกั นายกรฐั มนตรี • ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ • เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา และ • ปลัดกระทรวงพาณชิ ย • ผูทรงคุณวุฒิ ไมเ กนิ แปดคน • ซ่ึงคณะรัฐมนตรแี ตง ต้งั เปนกรรมการ • ปลดั กระทรวงมหาดไทย และเลขาธกิ ารคณะกรรมการคมุ ครองผบู ริโภค • ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม • ปลัดกระทรวงคมนาคม เปน กรรมการและเลขานุการ อำนาจ คณะกรรมการคุมครองผบู รโิ ภค (มาตรา 10) • พจิ ารณาเร�องรองเรยี นจากผูบริโภค • จัดการสนิ คาหรอื บรกิ ารท่ีอาจเปนอนั ตรายแกผูบริโภค • แจง โฆษณาขา วทีล่ ะเมิดสิทธิผูบริโภค • ดำเนินคดีเกยี่ วกบั การละเมิดสิทธิของผูบริโภค • รับรองสมาคมและมลู นิธิ • เสนอความเห็นตอ คณะรฐั มนตรี เก่ียวกับนโยบายและมาตรการคุมครองผบู รโิ ภค

28 ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค พ.ศ. 2522 เป็นกฎหมายกลางที่คุ้มครองผู้บริโภคเกี่ยวข้องกับการซ้ือสินค้า ออนไลน์ของผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจ แต่ไม่ครอบคลุมถึงการซ้ือสินค้า ออนไลน์ระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค เน่ืองจากการซื้อสินค้าออนไลน์เพ่ิงมี ความนิยม 4-5 ปีหลังน้ี จึงยังเป็นเรื่องใหม่ส�ำหรับประเทศไทย ที่บังคับใช้ กฎหมายฉบับนี้ เฉพาะผ้ปู ระกอบธรุ กจิ กบั ผู้บรโิ ภค โดยมาตรา 4 ก�ำหนดให้ ผู้บริโภคมีสทิ ธิ 5 ประการ คือ 1) สทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั ขา่ วสารรวมทง้ั ค�ำพรรณนาคณุ ภาพทถี่ กู ตอ้ งและเพยี ง พอเกย่ี วกบั สนิ คา้ หรอื บรกิ าร 2) สิทธิทจี่ ะมีอิสระในการเลือกหาสนิ คา้ หรอื บรกิ าร 3) สทิ ธทิ จ่ี ะได้รบั ความปลอดภัยจากการใชส้ นิ คา้ หรือบริการ 4) สทิ ธิทีจ่ ะได้รับความเปน็ ธรรมในการท�ำสัญญา 5) สทิ ธิทจี่ ะไดร้ บั การพจิ ารณาและชดเชยความเสยี หาย ผบู้ รโิ ภค หมายถงึ ผซู้ อื้ หรอื ผไู้ ดร้ บั บรกิ ารจากผปู้ ระกอบธรุ กจิ หรอื ผซู้ งึ่ ได้รับการเสนอหรือจากการชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจเพื่อให้ซ้ือสินค้าหรือ รับบริการและหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบ ธุรกิจโดยชอบ แม้มไิ ดเ้ ป็นผ้เู สยี ค่าตอบแทน ผ้ปู ระกอบธรุ กจิ หมายความว่า ผ้ขู าย ผผู้ ลิตเพอ่ื ขาย ผสู้ ัง่ หรอื น�ำเขา้ มาในราชอาณาจกั รเพอื่ ขายหรอื ผซู้ อื้ เพอ่ื ขายตอ่ ซงึ่ สนิ คา้ หรอื ผใู้ หบ้ รกิ าร และ หมายความรวมถึงผู้ประกอบกจิ การโฆษณาดว้ ย

29 การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคตาม พ.ร.บ. น้ี ถา้ เรอื่ งใดมกี ฎหมายเฉพาะอยแู่ ลว้ ให้ใช้ตามกฎหมายเฉพาะแต่ถ้าเรื่องใดยังไม่มีกฎหมายเฉพาะให้ใช้กฎหมาย ตาม พ.ร.บ. น้ี ซึ่งสามารถแบ่งการคุ้มครองได้ 3 ด้าน ได้แก่ การคุ้มครอง ผบู้ รโิ ภคในดา้ นโฆษณา การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคในดา้ นฉลากของสนิ คา้ และการ ค้มุ ครองผู้บริโภคในด้านสญั ญา การคมุ้ ครองผูบ้ ริโภคในดา้ นโฆษณา 1. การโฆษณาต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภคหรือเป็น ข้อความทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี ต่อสงั คมเป็นสว่ นรวม เช่น ข้อความทเ่ี ป็นเท็จ หรอื เกนิ ความจรงิ ขอ้ ความทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผดิ ในสาระส�ำคญั ของสนิ คา้ หรือบริการ ข้อความท่ีสนับสนุนให้มีการกระท�ำผิดกฎหมายหรือศีลธรรม ขอ้ ความทีก่ อ่ ให้เกิดความแตกแยกในหม่ปู ระชาชน เป็นต้น 2. การโฆษณาต้องไม่ใชว้ ธิ กี ารท่อี าจเป็นอนั ตรายหรือก่อให้เกิดความ ร�ำคาญแก่ผ้บู รโิ ภค การคมุ้ ครองผ้บู ริโภคในดา้ นฉลากของสนิ ค้า 1. สนิ ค้าทค่ี วบคมุ ฉลากต้องใชข้ ้อความที่ตรงตอ่ ความเปน็ จริง ระบุชื่อ เคร่ืองหมายการค้า สถานที่ผลิตหรือสถานท่ีประกอบธุรกิจ ระบุความสินค้า น้ันเป็นอะไร ถ้าเป็นสินค้าน�ำเข้าต้องระบุประเทศที่ผลิตด้วย และข้อความที่ จ�ำเป็น เชน่ ราคา ปรมิ าณ วิธใี ชค้ �ำแนะน�ำ ค�ำเตอื น วนั เดอื น ปีท่หี มดอายุ เป็นตน้ 2. ฉลากสินค้าต้องระบุส่ิงที่จ�ำเป็นเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความ ปลอดภยั ของผบู้ ริโภค แต่ไมต่ อ้ งถึงขนาดเปิดเผยความลบั ทางการคา้

30 สำ�นกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) การคุ้มครองผบู้ ริโภคในดา้ นสญั ญา ถ้าสัญญาซื้อขายหรือให้บริการ ถ้ามีกฎหมายก�ำหนดให้ต้องท�ำเป็น หนงั สอื หรอื ปกตปิ ระเพณีท�ำเป็นหนังสือ ตอ้ งใช้ข้อสญั ญาที่จ�ำเปน็ ถ้าไมไ่ ด้ใช้ ขอ้ สญั ญานแ้ี ลว้ จะท�ำใหผ้ บู้ รโิ ภคเสยี เปรยี บผปู้ ระกอบธรุ กจิ เกนิ ควร และหา้ ม ใชข้ ้อสัญญาทไี่ ม่เป็นธรรมต่อผู้บรโิ ภค การคมุ้ ครองสนิ คา้ อันตราย เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าสินค้าใดอาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค คณะ กรรมการมอี �ำนาจออกค�ำสง่ั ให้ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ด�ำเนนิ การทดสอบหรอื พสิ จู น์ สนิ คา้ นนั้ ถา้ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ไมด่ �ำเนนิ การทดสอบหรอื พสิ จู นส์ นิ คา้ หรอื ด�ำเนนิ การล่าช้าโดยไมม่ ีเหตผุ ลอนั สมควร คณะกรรมการจะจดั ใหม้ กี ารทดสอบหรอื พสิ จู นโ์ ดย ผปู้ ระกอบธรุ กจิ เปน็ ผเู้ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยกไ็ ด้ ในกรณจี �ำเปน็ และเรง่ ดว่ น คณะกรรมการอาจออกค�ำส่ังห้ามขายสินค้านั้นเป็นการช่ัวคราวจนกว่าจะ ทราบผลการทดสอบหรือพสิ ูจนส์ นิ คา้ น้นั พระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยขอ้ สัญญาทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรม พ.ศ. 2540 กฎหมายฉบบั น้ีมบี ทบัญญตั ิคมุ้ ครองสิทธิผบู้ ริโภคของไทย คือ สทิ ธทิ ่ี จะได้รับความเป็นธรรมในการท�ำสัญญา ซึ่งได้บัญญัติรับรองไว้ในพระราช บัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 โดยมุ่งคุ้มครองผู้ซ้ือท่ีมีอ�ำนาจต่อรอง น้อยกว่าผู้ขาย ดังนั้นจึงมีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ด้านสัญญาเพ่ือคุ้มครอง ผู้บริโภค โดยเฉพาะมีการก�ำหนดให้สัญญาสําเร็จรูป ซ่ึงเป็นสัญญาที่ทําเป็น ลายลักษณ์อักษรโดยมีการกําหนดข้อสัญญาท่ีเป็นสาระสําคัญไว้ล่วงหน้า ไม่ ว่าจะทําในรูปแบบใด ซ่ึงคู่สัญญาฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดนํามาใช้ในการประกอบ กจิ การของตน จะตอ้ งไม่มีข้อก�ำหนดในสญั ญาที่เป็นขอ้ สญั ญาท่ีไมเ่ ป็นธรรม

31 ข้อก�ำหนดในสัญญาท่ีเป็นขอ้ สัญญาทไ่ี ม่เปน็ ธรรมมีลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ขอ้ ตกลงในสญั ญาระหวา่ งผบู้ รโิ ภคกบั ผปู้ ระกอบธรุ กจิ การคา้ หรอื ใน สัญญาส�ำเรจ็ รปู ที่ไดเ้ ปรียบคูส่ ัญญาอกี ฝ่ายหนง่ึ เกินควร 2. ข้อตกลงที่มีลักษณะหรือมีผลให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติหรือรับ ภาระเกินควร เช่น ข้อตกลงยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดที่เกิดจากการผิด สญั ญา ขอ้ ตกลงใหต้ อ้ งรบั ผดิ หรอื รบั ภาระมากกวา่ ทกี่ ฎหมายกาํ หนด ขอ้ ตกลง ใหส้ ญั ญาสน้ิ สดุ ลงโดยไมม่ เี หตผุ ลอนั สมควร หรอื ใหส้ ทิ ธบิ อกเลกิ สญั ญาไดโ้ ดย อกี ฝา่ ยหนงึ่ มไิ ดผ้ ดิ สญั ญาในขอ้ สาระสาํ คญั ไมร่ วมถงึ สทิ ธกิ ารใหผ้ บู้ รโิ ภคบอก เลกิ สัญญาไดฝ้ ่ายเดียวโดยไมต่ ้องอ้างเหตุใด ๆ ขอ้ ตกลงใหส้ ิทธทิ ี่จะไมป่ ฏิบตั ิ ตามสญั ญาขอ้ หนงึ่ ขอ้ ใด หรอื ปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาในระยะเวลาทล่ี า่ ชา้ ไดโ้ ดยไมม่ ี เหตผุ ลอนั สมควร ขอ้ ตกลงใหส้ ทิ ธคิ สู่ ญั ญาฝา่ ยหนงึ่ เรยี กรอ้ งหรอื กาํ หนดใหอ้ กี ฝา่ ยหนึ่งต้องรบั ภาระเพิ่มข้นึ มากกวา่ ภาระท่ีเปน็ อยใู่ นเวลาทําสัญญา เป็นตน้ 3. ข้อตกลงยกเว้นหรือจ�ำกัดความรับผิดในความช�ำรุดบกพร่องหรือ ความรบั ผิดเพื่อการรอนสทิ ธใิ นสนิ ค้าหรือบริการ เวน้ แตผ่ ูบ้ รโิ ภคได้รู้ถึงความ ชํารดุ บกพร่องหรอื เหตุแห่งการรอนสทิ ธิอยูแ่ ลว้ ในขณะทําสญั ญา 4. ข้อตกลงยกเว้นหรือจ�ำกัดความรับผิดเพ่ือละเมิดหรือผิดสัญญาใน ความเสียหายต่อชีวติ ร่างกาย หรืออนามัยของผู้บริโภค 5. ข้อตกลงหรือความยินยอมของผู้เสียหายสําหรับการกระทําที่ต้อง หา้ มชดั แจง้ โดยกฎหมาย หรอื ขดั ตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี อง ประชาชน 6. ข้อตกลงท่ีไม่ให้น�ำพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรมมา ใชบ้ ังคบั

32 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) หากสญั ญาซอ้ื ขายมขี อ้ ตกลงทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรม มาตรา 4 แหง่ กฎหมายฉบบั น้ีได้ก�ำหนดให้ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมดังกล่าวมีผลบังคับได้เพียงเท่าท่ีเป็น ธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น ดังน้ันในการซ้ือสินค้าออนไลน์ ท่ีผู้ขาย ก�ำหนดเงอื่ นไขไว้ฝา่ ยเดยี วบนเว็บไซต์ หรือชอ่ งทางอนื่ ๆ นั้น หากมขี ้อสัญญา ท่ีจ�ำกดั ความรับผิดของตน ขอ้ สญั ญาดงั กลา่ วกไ็ ม่มีผลใชบ้ ังคับได้ พระราชบัญญตั ิขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2560 กฎหมายฉบับน้รี ะบุค�ำนยิ ามของ “ขายตรง” หมายถึง “การท�ำตลาด สนิ ค้าหรอื บริการในลกั ษณะของการน�ำเสนอขายต่อผู้บรโิ ภคโดยตรง ณ ทีอ่ ยู่ อาศยั หรอื สถานท่ีท�ำงานของผ้บู รโิ ภคหรือของผู้อนื่ “ตลาดแบบตรง” หมายถึงการทําตลาดสินค้าหรือบริการในลักษณะ ของการสื่อสารข้อมูล เพ่ือเสนอขายสินค้าหรือบริการโดยตรงต่อผู้บริโภคซ่ึง อยู่ห่างโดยระยะทางและมุ่งหวังให้ผบู้ ริโภคแต่ละราย ตอบกลับเพอ่ื ซอื้ สนิ ค้า หรือบรกิ ารจากผปู้ ระกอบธรุ กจิ ตลาดแบบตรงน้ัน กฎหมายดงั กลา่ วไดม้ กี ารกลา่ วถงึ การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคในหมวด 3 ของ พระราชบญั ญตั เิ รอื่ งหนา้ ทข่ี องผปู้ ระกอบธรุ กจิ รายละเอยี ดเอกสารการเสนอ ขายสนิ ค้า สิทธิการยกเลิกการซอ้ื สนิ คา้ หรอื บริการ การคนื สนิ คา้ และหมวด 7 บทก�ำหนดโทษ ยังได้ก�ำหนดโทษไว้หากผู้ประกอบธุรกิจไม่ปฏิบัติตาม กฎหมาย โดยรายละเอียดก�ำหนดไว้ให้สอดคล้องกับสิทธิของผู้บริโภคตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซ่ึงบทก�ำหนดโทษน้ันมีทั้ง มาตรการตามกฎหมายและมาตรการทางอาญาดว้ ย

33 สิทธติ า่ ง ๆ ของผบู้ ริโภคตามกฎหมายนีม้ ีดงั น้ี 1. ผู้บริโภคมีสิทธิขอตรวจบัตรฯ ก่อน และผู้จ�ำหน่ายอิสระจะเข้าไป เสนอขายสนิ คา้ ในทอี่ ยอู่ าศยั /ทท่ี �ำงานของผบู้ รโิ ภคไดต้ อ่ เมอ่ื ไดร้ บั อนญุ าตกอ่ น และตอ้ งไม่รบกวนหรอื ไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ความร�ำคาญแกผ่ บู้ ริโภค 2. ผบู้ รโิ ภคมสี ทิ ธไิ ดร้ บั เอกสารการซอ้ื ขายสนิ คา้ และบรกิ าร ซงึ่ ถา้ ไมม่ ี เอกสารนห้ี รอื มขี ้อมลู ไม่ครบถ้วน เอกสารการซื้อขายดังกล่าวต้องมีข้อความภาษาไทยที่อ่านเข้าใจง่าย  และต้องมีขอ้ มูลดงั นี้ • ช่ือผ้ซู ้ือและผ้ขู าย • วนั ทซ่ี อ้ื ขาย และวนั ทสี่ ง่ มอบสินคา้ หรอื บริการ • สิทธิของผู้บริโภคในการเลิกสัญญา (ก�ำหนดด้วยตัวอักษรท่ีเห็น เดน่ ชัดกวา่ ข้อความทัว่ ไป) • ก�ำหนดเวลา สถานท่ี และวธิ กี ารในการช�ำระหน้ี • สถานท่ี และวิธกี ารในการส่งมอบสินค้าหรอื บริการ • วิธกี ารเลิกสญั ญา • วิธีการคนื สินค้า • การรบั ประกันสนิ คา้ • การเปล่ียนสินคา้ ในกรณีมคี วามช�ำรุดบกพรอ่ ง ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับเอกสารการซ้ือขายสินค้าและบริการ ซึ่งถ้าไม่มี เอกสารน้ีหรือมีข้อมูลไม่ครบถ้วน การซื้อขายสินค้าหรือบริการน้ันไม่มีผล ผูกพันผู้บรโิ ภค

34 ส�ำ นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 3. ผ้บู รโิ ภคมสี ิทธิเลิกสัญญา ผบู้ รโิ ภคสามารถเลกิ สัญญาไดโ้ ดยการส่งหนังสือแสดงเจตนาทจี่ ะบอก เลกิ สญั ญาภายในเวลา 7 วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั สนิ คา้ หรอื บรกิ าร ไปยงั ผขู้ ายหรอื ตัวแทนเก่ียวข้องก็ได้ ยกเว้นสินค้าบางรายการท่ีก�ำหนดในพระราชกฤษฎีกา โดยผูบ้ ริโภคสามารถเลือกด�ำเนนิ การอย่างใดอย่างหน่ึง คือ • ส่งคนื สินคา้ ไปยงั ผขู้ าย • เก็บรักษาสนิ คา้ ไว้ตามสมควรภายในระยะเวลา 21 วนั นบั แต่วนั ที่ใช้ สิทธเิ ลกิ สัญญา เวน้ แต่สินคา้ นนั้ เป็นของเสียง่ายโดยสภาพไม่อาจเก็บรักษาได้ ภายในระยะเวลาดังกล่าว ให้เก็บรักษาตามเวลาและวิธีการอันควรแก่สภาพ เม่ือพ้นก�ำหนดนั้นแล้ว ผู้บริโภคจะเก็บรักษาสินค้าน้ันไว้หรือไม่ก็ได้ และให้ ผขู้ ายหรอื ตวั แทนมารบั คนื สนิ คา้ ทภี่ มู ลิ �ำเนาของผบู้ รโิ ภค หรอื สง่ คนื สนิ คา้ ทาง ไปรษณยี โ์ ดยเรียกเกบ็ เงินปลายทางให้แก่ผขู้ ายตามค�ำขอของผ้ขู าย แต่อย่างไรก็ดี ผู้บริโภคมีสิทธิท่ีจะยึดหน่วงสินค้าไว้ได้จนกว่าจะได้รับ คนื เงินท่ผี บู้ รโิ ภคจ่ายไปในการซ้ือสินค้านน้ั 4. ผู้บริโภคมสี ิทธิไดร้ ับเงนิ คืนเตม็ จ�ำนวน และเบยี้ ปรบั เมื่อผู้บริโภคใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาแล้ว ผู้ขายต้องคืนเงินเต็มจ�ำนวน ภายใน 15 วันนบั แต่วนั ที่ไดร้ บั หนังสอื แสดงเจตนาเลกิ สญั ญา (ผู้บริโภคควร บอกเลิกสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรทางอีเมล (E-mail) โทรสาร ไปรษณีย์ ลงทะเบียน หรือไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับเพ่ือให้มีหลักฐานว่าผู้ขายได้รับ หนังสอื เมอ่ื ใด) หากผู้ขายไม่คืนเงินเต็มจ�ำนวนหรือใช้เวลาคืนเงินเกินก�ำหนด 15 วัน แล้ว ผขู้ ายจะต้องเสยี เบีย้ ปรบั ตามอัตราท่กี ฎหมายก�ำหนด

35 1. ผบู้ ริโภคมสี ทิ ธไิ ด้รบั ประกนั สินคา้ หรอื บริการ ผู้ขายต้องจัดท�ำค�ำรับประกันสินค้าหรือบริการเป็นภาษาไทยและระบุ ถงึ สทิ ธขิ องผบู้ รโิ ภคในการเรยี กรอ้ งสทิ ธติ ามค�ำรบั ประกนั ทชี่ ดั เจนและสามารถ เข้าใจได้ถึงเงื่อนไขท่ีระบุไว้ ซ่ึงรายละเอียดเก่ียวกับค�ำรับประกันสินค้าหรือ บริการตามวรรคหนงึ่ ใหเ้ ป็นไปตามทค่ี ณะกรรมการประกาศก�ำหนด 2. ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามมาตรการกฎหมายอ่ืนท่ี เกยี่ วข้อง ส�ำหรบั สิทธิในการยกเลกิ การซอื้ สนิ ค้า การคืนสนิ ค้าทซ่ี อื้ ทางออนไลน์ น้ัน สอดคล้องกับหลักสากลทั้งน้ันเพราะการสั่งซ้ือของออนไลน์เป็นการ เปลยี่ นแปลงรปู แบบการซอ้ื ขายแบบดง้ั เดมิ นกั กฎหมายมกั จะเตอื นวา่ ในการ ท�ำสญั ญาซอื้ ขายแบบดง้ั เดมิ “ผซู้ อ้ื ตอ้ งระวงั !!” ระวงั อยา่ งไร ระวงั ในการเลอื ก ดูสนิ ค้า ใช้เวลาพนิ จิ พิเคราะห์ พจิ ารณา ดงั นนั้ ผู้ซื้อมหี น้าทที่ ต่ี ้องระวงั ก่อนท่ี จะท�ำการตกลงซ้ือสินค้า แล้วการซ้ือสินค้าออนไลน์ท่ีผู้ซ้ือไม่สามารถพินิจ พิเคราะห์ ตรวจสอบสนิ ค้าได้ในขณะซอ้ื ผูซ้ อื้ จะใชค้ วามระมัดระวงั ไดอ้ ยา่ งไร สิทธิของผู้บริโภคท่ีซ้ือสินค้าออนไลน์จะลดน้อยลงไปหรือไม่ ค�ำตอบคือสิทธิ ของผู้บริโภคจะไม่ลดน้อยลงเลย หลักกฎหมายในระดับสากลยอมรับ “สิทธิ ในการเลกิ สญั ญา” ทง้ั ในกรณที ว่ั ไปและในกรณีพเิ ศษ (Withdrawal Right) เปน็ สทิ ธใิ นการเลกิ สัญญาเม่ือไมพ่ งึ พอใจในสนิ คา้ หรือบริการ ซึง่ การใชส้ ิทธินี้ บางทีในตา่ งประเทศจะเรียกว่า “Cooling-off Period” ในสหภาพยโุ รป (European Union: EU) สทิ ธิในการเลิกสัญญาเม่อื ไมพ่ งึ พอใจในสนิ คา้ หรอื บรกิ ารเปน็ สทิ ธฝิ า่ ยเดยี วของผบู้ รโิ ภคทจี่ ะถอนตวั ออก จากสัญญาโดยไม่ต้องมีสาเหตุในการเลิกสัญญาและไม่มีความรับผิดใด ๆ

36 ส�ำ นักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ภายในระยะเวลา 14 วนั ท�ำใหผ้ ูบ้ รโิ ภคหลดุ พน้ จากสญั ญาซือ้ ขายและสัญญา ทางการเงนิ ทง้ั นเี้ พราะเปน็ การท�ำการซอ้ื ขายทค่ี สู่ ญั ญาตา่ งอยหู่ า่ งไกลกนั โดย ระยะทาง ผบู้ ริโภคไม่มีโอกาสไดพ้ ินจิ พิจารณาสนิ คา้ ก่อนท�ำการตกลงซอ้ื ขาย เป็นสิทธิท่ีเพิ่มความเช่ือม่ันและอ�ำนาจให้แก่ผู้บริโภคในการสั่งซ้ือสินค้าทาง อี-คอมเมิร์ซ หากผู้ประกอบธุรกิจไม่แจ้งสิทธิการยกเลิกสัญญาให้ผู้บริโภค ทราบก่อนการสั่งซ้ือสินค้าหรือแจ้งโดยไม่ถูกต้อง สิทธิในการเลิกสัญญาน้ีจะ ขยายจากก�ำหนดเวลา 14 วันหลงั จากผ้บู รโิ ภคได้รับสินคา้ เปน็ ระยะเวลา 12 เดือน และเมื่อผู้บริโภคแจ้งสิทธิการเลิกสัญญาแล้ว ผู้ประกอบธุรกิจมีหน้าท่ี จะตอ้ งคนื เงนิ ทผ่ี บู้ รโิ ภคช�ำระไปแลว้ ภายใน 14 วนั นบั แตว่ นั ทผี่ ปู้ ระกอบธรุ กจิ ได้รับการแจ้งสิทธิดังกล่าวด้วยวิธีการในรูปแบบเดียวกันท่ีผู้ประกอบธุรกิจได้ รบั ช�ำระเงินจากผู้บริโภค นอกจากนผี้ บู้ รโิ ภคยงั ไดร้ บั ความคมุ้ ครองในสทิ ธใิ นการรบั ประกนั สนิ คา้ ที่จะได้รับทราบข้อมูลท่ีเข้าใจง่าย สะดวก รวมถึงผู้ประกอบธุรกิจจะเป็น ผู้ก�ำหนดวิธีการจัดส่งสินค้าและมีหน้าที่จัดส่งสินค้าเพื่อส่งมอบสินค้าตามที่ ระบุไว้ในสัญญาซื้อขายภายในก�ำหนดเวลา 30 วันนับแต่วันท่ีผู้บริโภคส่ังซ้ือ สนิ คา้ หากเกนิ ก�ำหนดเวลานน้ั ผบู้ รโิ ภคมสี ทิ ธบิ อกเลกิ สญั ญาไดแ้ ละผปู้ ระกอบ ธุรกิจจะต้องคืนเงินค่าสินค้ารวมทั้งค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และยังไม่ตัดสิทธิของ ผู้บริโภคที่จะเรียกร้องค่าเสียหาย (ถ้ามี) ได้ ผู้ประกอบธุรกิจเป็นผู้รับภาระ ความเส่ียงภัยในการจัดส่งสินค้าจนกว่าผู้บริโภคจะได้รับสินค้าจากผู้ส่งสินค้า แล้ว ดังน้ันหากสินค้าเสียหายระหว่างขนส่งผู้ประกอบธุรกิจต้องรับผิดชดใช้ คนื ราคาสว่ นทเ่ี สยี หายใหแ้ กผ่ บู้ รโิ ภค แตห่ ากผบู้ รโิ ภคเปน็ ผเู้ ลอื กวธิ กี ารจดั สง่ สินค้าด้วยตนเองซ่ึงอยู่นอกเหนือจากวิธีการตามปกติของผู้ประกอบธุรกิจ ผู้บริโภคจะเป็นผู้รับภาระความเส่ียงภัยในการจัดส่งสินค้าเองต้ังแต่วันท่ี ผ้ปู ระกอบธรุ กจิ สง่ มอบสินค้าให้แก่ผ้จู ัดสง่ ส�ำหรบั การจดั ส่งสินคา้ น้ัน

37

38 ส�ำ นกั งานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ตอ่ ความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ จากสนิ คา้ ทไ่ี ม่ ปลอดภยั พ.ศ. 2551 สินค้าไม่ปลอดภัย หมายความว่า สินค้าท่ีก่อหรืออาจก่อให้เกิดความ เสียหายข้ึนได้ไม่ว่าจะเป็นเพราะเหตุจากความบกพร่องในการผลิตหรือการ ออกแบบ หรือไม่ได้ก�ำหนดวิธีเก็บรักษา ค�ำเตือน หรือข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า หรือก�ำหนดไวแ้ ตไ่ มถ่ ูกตอ้ งหรอื ไมช่ ัดเจนตามสมควร ทั้งน้ี โดยค�ำนึงถึงสภาพ ของสนิ ค้า รวมทัง้ ลกั ษณะการใช้งานและการเกบ็ รักษาตามปกตธิ รรมดาของ สนิ คา้ อันพึงคาดหมายได้ กฎหมายได้วางหลักเพ่ือคุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มเติมขึ้นจาก พ.ร.บ. คุ้มครองผู้บริโภค ว่าถ้ามีข้อความใดระบุเรื่องความรับผิดต่อความเสียหายที่ เกิดข้ึนจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยไว้มากกว่าที่ก�ำหนดไว้ใน พ.ร.บ. น้ีให้ใช้ตาม กฎหมายน้ัน โดย พ.ร.บ. น้ไี ด้ก�ำหนดสทิ ธขิ องผู้บริโภคไว้หลายประการดังนี้ 1. ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทกุ คนตอ้ งรว่ มกนั รบั ผดิ ชอบตอ่ ความเสยี หายทเี่ กดิ ข้ึนจากสินค้าท่ีไม่ปลอดภัย โดยไม่ค�ำนึงว่า ความเสียหายน้ันเกิดจากการ กระท�ำจงใจหรอื ประมาทเลนิ เลอ่ ของผปู้ ระกอบธรุ กจิ หรือไม่ 2. ผเู้ สยี หายเพยี งพสิ จู นว์ า่ ไดร้ บั ความเสยี หายจากการใชแ้ ละเกบ็ สนิ คา้ ตามปกตธิ รรมดาเทา่ นั้น ไมต่ ้องพิสูจนถ์ ึงความจงใจหรือประมาทเลนิ เล่อของ ผู้ประกอบธุรกิจหรอื พิสจู น์วา่ ความเสียหายเกดิ จากผู้ประกอบธุรกิจรายใด 3. ภาระการพสิ จู นถ์ งึ ความไมป่ ลอดภยั ของสนิ คา้ ใหต้ กเปน็ ของผปู้ ระกอบ ธุรกจิ

39 4. ผู้ประกอบธุรกิจไม่สามารถน�ำข้อตกลงที่ยกเว้นมาใช้ได้ หรือจ�ำกัด ความรบั ผดิ ชอบของผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทไี่ ดท้ �ำไวล้ ว่ งหนา้ กอ่ นเกดิ ความเสยี หาย หรือค�ำประกาศหรือค�ำแจ้งของผู้ประกอบธุรกิจเพ่ือยกเว้นหรือจ�ำกัดความ รบั ผิดชอบตอ่ ความเสยี หายอันเกิดจากสินคา้ ที่ไมป่ ลอดภัยมาใช้ได้ 5. อายคุ วามสะดดุ หยดุ ลง ถา้ ยงั มกี ารเจรจาเกยี่ วกบั คา่ เสยี หาย จนกวา่ ฝา่ ยใดฝา่ ยหน่งึ จะบอกเลิกการเจรจา 6. นอกจากค่าสนิ ไหมทดแทนความเสียหายที่เกิดข้ึนจริงแล้ว ศาลยงั มี อ�ำนาจก�ำหนดค่าเสียหายส�ำหรับความเสียหายต่อจิตใจอันเน่ืองมาจากความ เสียหายต่อรา่ งกาย สุขภาพ หรอื อนามัยของผ้เู สยี หาย และหากผูเ้ สยี หายถงึ แก่ความตาย สามี ภรรยา บุพการี หรือบุตรของผู้น้ันมีสิทธิท่ีจะได้รับค่า เสยี หายส�ำหรบั ความเสียหายตอ่ จิตใจดว้ ย

40 สำ�นักงานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) พระราชบัญญตั วิ ธิ พี ิจารณาคดีผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2551 เราเรียกกฎหมายฉบบั นี้ว่า กฎหมายชว่ ยฟอ้ งรอ้ งด�ำเนนิ คดี เรยี กร้อง ค่าเสียหายและการชดเชยเยียวยาเพราะรับรองสิทธิผู้บริโภคท่ีส�ำคัญไว้หลาย ประการ ดงั น้ี 1. ไม่ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมศาลในกรณีเรียกค่าเสียหาย หากเป็นคดี ผูบ้ รโิ ภค ยกเวน้ เรียกค่าเสียหายเกนิ ควร ซึ่งคดีแพง่ ทว่ั ไปผ้ฟู ้องคดจี ะตอ้ งเสีย คา่ ฤชาธรรมเนยี มในอตั รารอ้ ยละ 2.5 ของคา่ เสยี หายแตไ่ มเ่ กนิ 200,000 บาท 2. ไมต่ อ้ งมที นาย ไมต่ อ้ งเขยี นค�ำฟอ้ ง ฟ้องด้วยวาจาได้ เพราะศาลมี เจ้าพนกั งานคดีให้การช่วยเหลอื ผูบ้ ริโภค 3. สะดวก รวดเร็วเพราะเมอ่ื ศาลสัง่ รบั ค�ำฟอ้ งแล้ว ศาลจะก�ำหนดวัน นดั พจิ ารณาโดยเรว็ และการสบื พยานจะตดิ ตอ่ กนั ไปโดยไมม่ กี ารเลอื่ น (เวน้ แต่ มีเหตจุ �ำเปน็ ซึ่งศาลจะเลอื่ นได้ครง้ั ละไมเ่ กนิ 15 วัน) และภายในระยะเวลา 30 วนั จะต้องมีการเรียกคกู่ รณีมาเจรจาไกล่เกลย่ี โดยไดม้ ีการจดั ตงั้ แผนกคดี ผบู้ รโิ ภคในศาลอทุ ธรณ์ เพอื่ ใหก้ ารด�ำเนนิ คดเี พอ่ื คมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคเปน็ ไปอยา่ ง รวดเรว็ และศาลอาจส่ังใหส้ ่งค�ำคูค่ วามหรือเอกสาร แจ้งวันนดั ค�ำสั่งของศาล หรือข้อความอย่างอ่ืนไปยังคู่ความ หรือบุคคลอื่นใดโดยทางไปรษณีย์ลง ทะเบยี นตอบรบั โทรศพั ท์ โทรสาร ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื สอื่ เทคโนโลยี สารสนเทศอ่ืนใดก็ได้ โดยค�ำนึงถึงความจ�ำเป็นเร่งด่วน ความสะดวกรวดเร็ว ความเหมาะสมตามสภาพแหง่ เนอ้ื หาของเรอื่ งทท่ี �ำการตดิ ตอ่ (ตามหลกั เกณฑ์ และวิธกี ารทก่ี �ำหนดไวใ้ นขอ้ ก�ำหนดของประธานศาลฎกี า) 4. ลดเงอ่ื นไขในการท�ำนติ กิ รรมทตี่ อ้ งมหี ลกั ฐานเปน็ หนงั สอื หากยงั ไม่ ได้มีการท�ำสญั ญาแต่ผบู้ รโิ ภคได้วางมดั จ�ำหรือช�ำระหนี้บางส่วนแล้ว ผู้บรโิ ภค มีอ�ำนาจบงั คบั ผ้ปู ระกอบธุรกจิ ให้จดั ท�ำสัญญาหรอื ช�ำระหนตี้ ามสัญญาได้

41 5. ผปู้ ระกอบธรุ กจิ จะตอ้ งด�ำเนินการโดยใชห้ ลกั สุจรติ 6. หากมปี ระเดน็ ขอ้ พพิ าททต่ี อ้ งพสิ จู นถ์ งึ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทเ่ี กยี่ วกบั การผลติ การประกอบ การออกแบบ หรอื สว่ นผสมของสินค้า การให้บริการ หรอื การ ด�ำเนินการใด ๆ ท่ีศาลเห็นว่าเป็นข้อเท็จจริงที่ผู้ประกอบธุรกิจมีนั้น ศาลจะ ก�ำหนดใหภ้ าระการพสิ จู นใ์ นประเดน็ ดงั กลา่ วเปน็ ของผปู้ ระกอบธรุ กจิ ซงึ่ ท�ำให้ ลดความยากล�ำบากในการพสิ ูจนข์ ้อมูลหลกั ฐานของผบู้ รโิ ภค 7. ประกาศโฆษณาค�ำรับรอง หรือการกระท�ำใด ๆ ท่ีผู้บริโภคเข้าใจ ว่าเป็นสัญญาให้ถือเป็นส่วนหน่ึงของสัญญาและสามารถน�ำมาใช้ในการ สบื พยานได้ 8. ภาระการพิสูจน์ข้อเท็จจริงในคดีผู้บริโภคเป็นหน้าท่ีของผู้ประกอบ ธุรกิจ เนื่องจากโดยทั่วไปฝ่ายที่มีภาระหน้าท่ีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงคือฝ่ายที่ ฟอ้ งคดี แตเ่ นอ่ื งจากการทจี่ ะใหผ้ บู้ รโิ ภคเปน็ ผมู้ ภี าระการพสิ จู นย์ อ่ มเปน็ ไปได้ โดยยาก เน่ืองจากผู้บริโภคไม่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการอันเป็น หลักฐานท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการผลิตของผู้ประกอบธุรกิจ ดังน้ัน คดี ผู้บริโภคจึงก�ำหนดให้ภาระการพิสูจน์ตกเป็นของผู้ประกอบธุรกิจชดใช้ คา่ เสยี หายแกผ่ บู้ รโิ ภค อนั เนอื่ งมาจากการกระท�ำทม่ี เี จตนาเอาเปรยี บผบู้ รโิ ภค หรือจงใจให้ผู้บริโภคได้รับความเสียหาย นอกจากผู้บริโภคจะได้รับชดใช้ คา่ เสียหายทเ่ี กดิ ข้นึ แล้ว 9. พิพากษาเชิงลงโทษ ศาลมีอ�ำนาจสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจจ่ายค่าเสีย หายเพือ่ การลงโทษเพิม่ ขึ้นจากจ�ำนวนคา่ เสยี หายทีแ่ ท้จริงตามที่ศาลเหน็ ควร เม่ือศาลพิพากษาให้ผู้ประกอบธุรกิจชดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้บริโภค อันเน่ือง มาจากการกระท�ำที่มีเจตนาเอาเปรียบผู้บริโภค หรือจงใจให้ผู้บริโภคได้รับ ความเสียหายนอกจากผบู้ ริโภคจะไดร้ บั ชดใช้คา่ เสียหายท่เี กดิ ขน้ึ แล้ว

42 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 10. ผลของค�ำพิพากษาผูกพันบุคคลภายนอก ในคดีผู้บริโภคหาก ผู้ประกอบธุรกิจแพ้คดีและมีการฟ้องผู้ประกอบธุรกิจเดียวกันในคดีอ่ืนที่มี ข้อเทจ็ จรงิ เดียวกัน ผูป้ ระกอบธุรกิจอาจจะเป็นผู้แพ้คดี เช่นเดียวกับค�ำตดั สิน ในคดกี อ่ น 1.3 สนิ ค้าออนไลน์ ซอ้ื ได้แคป่ ลายนิว้ เพราะความตอ้ งการสนิ ค้าหรอื บริการของผู้บรโิ ภคมคี วามหลากหลาย แตกต่างกันไปตามความสนใจ เพศ หรืออายุ ท�ำให้สนิ คา้ ท่ีน�ำมาขายออนไลน์ น้ันมีตั้งแต่ผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูปที่ผู้บริโภครู้จักดีอยู่แล้ว หรือเป็นสินค้าที่ก�ำลัง ได้รบั ความนิยม เช่น เสื้อผา้ กระเป๋า รองเท้า เคร่อื งประดับ เครอื่ งส�ำอาง สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ หรอื แม้แต่อาหารเสริมต่าง ๆ ไปจนถึงสนิ ค้าเฉพาะกลุ่ม หรอื สนิ ค้าหายาก เช่น ห่นุ โมเดลการต์ นู รถยนต/์ มอเตอร์ไซค์เกา่ ซึ่งบางครง้ั สนิ คา้ ตา่ ง ๆ เหลา่ น้กี ็เปน็ สินค้าที่มีอยแู่ ล้วพร้อมส่งได้ทนั ที ในขณะท่บี างครงั้ ก็อาจเป็นสินค้าท่ีต้องสั่งจอง แต่ผู้บริโภคออนไลน์ บางส่วนอาจไม่ได้อ่าน

43 รายละเอียดให้ครบถว้ นกอ่ นตกลงซื้อ หรือผขู้ ายไม่ได้แจ้งรายละเอียดสถานะ สินคา้ ให้ทราบก่อน ท�ำใหผ้ ูซ้ ื้อเกิดความเข้าใจผิดวา่ ได้รับสนิ คา้ ล่าช้าได้ ดงั น้นั เราจะมาดรู ปู แบบหรือสถานะของสินคา้ ออนไลน์ประเภทตา่ ง ๆ เพ่ือป้องกนั ปญั หาทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ รวมทง้ั การสง่ คนื สนิ คา้ กรณพี บวา่ เกดิ ความช�ำรดุ บกพรอ่ ง หรอื ไมต่ รงตามท่สี ่งั ซอ้ื ไว้ ดงั น้ี ร้านค้าแบบมีสตอ็ คสนิ คา้ พร้อมสง่ สินค้าประเภทนี้จะมีสถานะพร้อมจัดส่งทันทีท่ีมีการสั่งซ้ือจากลูกค้า โดยส่วนใหญ่ผู้ขายมักลงทุนซ้ือสินค้ามาเก็บไว้ก่อน ซึ่งหากสินค้าขายออก ไมห่ มดกอ็ าจท�ำใหข้ าดทนุ ได้ ท�ำใหผ้ ขู้ ายบางรายท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ เพยี งนายหนา้ ท่ี คอยประสานงานระหว่างร้านค้ากับผู้ซ้ือเท่านั้น และเมื่อได้รับค�ำสั่งซ้ือจาก ลกู คา้ กจ็ ะแจง้ ไปยงั รา้ นคา้ ตวั จรงิ เพอื่ ใหจ้ ดั สง่ สนิ คา้ ตามรายการ อยา่ งไรกต็ าม ส�ำหรับสินค้าออนไลน์ประเภทนี้ ผู้ซ้ือจะสามารถตัดสินใจซื้อได้อย่างรวดเร็ว เพราะแม่ค้าสามารถให้รายละเอียดรูปภาพสินค้าจริง หรือสภาพโดยรวมได้ ทนั ที

44 สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) สินคา้ สั่งจองลว่ งหน้าหรอื พรอี อเดอร์ ส�ำหรบั สนิ คา้ ประเภทนเี้ ปน็ สนิ คา้ ทผี่ ขู้ ายจะไมม่ สี นิ คา้ อยกู่ บั ตวั เอง โดย จะประกาศขายกอ่ นและรอใหม้ ลี กู คา้ มาสงั่ ซอื้ สนิ คา้ ซงึ่ หากเปน็ สนิ คา้ ทม่ี รี าคา แพง ผู้ขายส่วนใหญ่มักให้ผู้ซ้ือโอนเงินส่วนหนึ่งเพ่ือเป็นค่ามัดจ�ำไว้ก่อน เพ่ือ ป้องกันการส่ังจองแล้วยกเลิก อย่างไรก็ตามส�ำหรับสินค้าประเภทนี้ผู้ขาย บางรายอาจท�ำหน้าที่เป็นนายหน้าท่ีคอยประสานงานระหว่างร้านค้ากับผู้ซ้ือ โดยเมอ่ื ไดร้ บั ค�ำสงั่ ซอื้ จากลกู คา้ กจ็ ะแจง้ ไปยงั รา้ นคา้ ตวั จรงิ เพอื่ ใหจ้ ดั สง่ สนิ คา้ ตามรายการคล้ายคลึงกับสินค้าพร้อมส่ง แต่จะมีความแตกต่างตรงท่ีสินค้า พรีออเดอร์จะใช้เวลาจัดส่งนานกว่าปกติ ยิ่งในกรณีท่ีเป็นสินค้าจากต่าง ประเทศกใ็ ช้เวลานานมากข้นึ ไปอกี ท�ำใหส้ ินค้าประเภทนอี้ าจไม่สามารถระบุ วันที่สินค้ามาถึงได้แน่นอน หรือสภาพสินค้าท่ีส่งมาอาจไม่เหมือนกับท่ีลง ประกาศขายไว้ นอกจากน้ีในกรณีที่ผู้บริโภคสั่งซ้ือสินค้าต่างประเทศเองจาก เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจตอ้ งระวงั เรื่องค่าขนส่งหรอื ภาษีด้วย เชน่ กัน ซ่งึ หลายคน พบว่าอัตราภาษีศุลกากรยังไม่มีความชัดเจนเท่าท่ีควร รวมท้ังอาจมีความ ยุง่ ยากในเรื่องของการคนื สนิ คา้ กรณสี ินค้าช�ำรดุ หรอื มปี ญั หาอีกดว้ ย

45 สินค้ามือสอง ส�ำหรบั สนิ คา้ ประเภท น้ี ผซู้ อ้ื จะบอกรายละเอยี ดไว้ ชัดเจนว่าเป็นสินค้าท่ีผ่าน การใช้แล้วหรือไม่เคยใช้แต่ เป็นของเก่า รวมทั้งอาจเป็น สินค้าท่ีมีลักษณะเฉพาะท่ี หาไม่ได้อีกแล้ว โดยอาจเป็นของท่ีผู้ขายใช้เองหรือรับมาขายจากใน/ต่าง ประเทศ และมีสภาพโดยรวมเป็นอย่างไร ซ่ึงบางอย่างก็จะมีราคาถูกมาก ขนึ้ อยกู่ บั ความตอ้ งการของตลาดหรอื ยหี่ อ้ อยา่ งไรกต็ ามผซู้ อ้ื ควรท�ำใจไวก้ อ่ น วา่ แมจ้ ะมรี าคาถกู แตส่ นิ คา้ ในหมวดนผ้ี า่ นการใชง้ านมาแลว้ ดงั นนั้ อาจมตี �ำหนิ หลายอย่างท่สี ามารถเกิดขน้ึ ได้

46 สำ�นักงานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) สินคา้ ประมลู สนิ คา้ ในหมวดนเ้ี ปน็ สนิ คา้ ทผี่ ซู้ อื้ ตอ้ งมคี วามรวดเรว็ เพราะสว่ นใหญม่ กั เป็นสินค้าท่ีเป็นท่ีได้รับความสนใจจากหลายคน ท�ำให้บางอย่างเม่ือประมูล แล้วจะได้ราคาที่สูงกว่าราคาตลาด โดยการประมูลสินค้าออนไลน์ หรือ อี-ออคช่ัน (e-Auction) นั้นเป็นการขายสินค้าให้แก่ผู้ซื้อท่ีเสนอราคาสูงสุด ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ การแข่งขันเสนอราคาในช่วงเวลาที่ จ�ำกัด หรือการเสนอราคาเพียงครั้งเดียว ใครให้ราคาสูงสุดก็ได้สินค้าไปเลย ท้ังนี้ในขั้นตอนการเสนอราคาออนไลน์ (Online Bidding) ผู้ที่สนใจเข้าร่วม ประมูลจ�ำเป็นต้องมีสิทธิ ลงทะเบียนเป็นสมาชิกก่อนเข้าร่วมการประมูล บางแหลง่ ก�ำหนดใหใ้ ช้เงินสกุลดจิ ทิ ลั เช่น บิทคอยน์ (Bitcoin)ในการประมูล สินค้า โดยทุกคร้ังที่เรากดเสนอราคา ราคาก็เพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ จนกว่าจะหมด เวลา ซงึ่ หากใครเสนอราคาสูงที่สุดกจ็ ะชนะการประมลู ไดส้ ินค้านั้นไป

47 1.4 เข้าใจรายละเอยี ดสนิ ค้า ดรู าคามาตรฐาน สงิ่ แรกทท่ี �ำใหเ้ ราตดั สนิ ใจซอ้ื สนิ คา้ กค็ อื โฆษณา ปจั จบุ นั มรี า้ นคา้ จ�ำนวน มาก พ่อค้าแม่ค้าก็มีวิธีการดึงดูดลูกค้าต่างกันไป บางรายอวดอ้างสรรพคุณ ของสินค้าเกนิ จริง บางรายมีโปรโมชนั ซ้อื สองช้นิ แถมหน่ึงชน้ิ จับคสู่ นิ คา้ ซอ้ื สองอยา่ งลดไปเลยรอ้ ยละ 40 ซงึ่ ผบู้ รโิ ภคไมค่ วรถกู ชกั จงู ดว้ ยโปรโมชนั ทางการ ตลาด ของแถม ของลดราคา ของฟรี อยา่ หลงกลการโฆษณา ตอ้ งศึกษาราย ละเอยี ดราคาสนิ คา้ จากเวบ็ ไซตอ์ น่ื ๆ หรอื บรษิ ทั ทขี่ ายเปรยี บเทยี บ เพอ่ื ทราบ ถึงราคากลางหรอื ราคามาตรฐานของสินค้า สอบถามลกั ษณะสินค้า ขนาด สี จ�ำนวน การประกันความเสียหาย ขอดูรูปตัวอย่างสินค้าสินค้าบางอย่างก็ โฆษณาเกินความเป็นจริง ถ้าเป็นสินค้าจ�ำพวกผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ยา เคร่ืองส�ำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพอื่น ๆ สินค้าจ�ำพวกนี้มีผลกระทบกับ ร่างกายของเราโดยตรง ควรศกึ ษาข้อมลู ให้ดีก่อนการสั่งซ้ือ อาจจะศึกษาจาก คุณสมบัติของส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ก่อนตัดสินใจซื้อ เพราะตอนซ้ืออาจจะ ซอื้ ในราคาถกู กจ็ รงิ แตถ่ า้ ทานหรอื ใชไ้ ปแลว้ เกดิ ไมเ่ ปน็ ไปตามโฆษณา การรกั ษา ใหก้ ลบั มาเปน็ เหมือนเดมิ ก็ยาก แถมยังตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ ่ายจ�ำนวนมากอีกดว้ ย 1.5 ระบบติดตามตรวจสอบสถานะการจัดสง่ สนิ ค้า กอ่ นซอ้ื สนิ คา้ ตรวจสอบกนั เสยี กอ่ นวา่ ผขู้ ายมรี ะบบการตดิ ตามตรวจสอบ สถานะการจัดสง่ สินค้าแบบไหน อย่างไรและผ้สู ่งจะใหข้ ้อมลู รายละเอียดของ เลขทพ่ี สั ดแุ กเ่ ราไดห้ รอื ไมแ่ ละจะไดเ้ มอ่ื ใด ผซู้ อ้ื ตอ้ งสอบถามผขู้ ายเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู รายละเอียด ระยะเวลาจัดส่งสินค้า และข้อก�ำหนดท่ีชัดเจนว่าผู้ขายจะเป็น ผู้รับผิดชอบหากสินค้าช�ำรุดหรือสูญหายในระหว่างการจัดส่งสินค้ามาถึงมือ

48 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) ผซู้ อื้ และเพอ่ื ใหท้ ราบขอ้ มลู รายละเอยี ด สถานะการจดั สง่ สนิ คา้ ผขู้ ายจะตอ้ ง มขี อ้ มลู รายละเอยี ดของการจดั สง่ พสั ดใุ หผ้ ซู้ อื้ สามารถตรวจสอบไดด้ ว้ ยตนเอง 1.6 สินคา้ สขุ ภาพแบบใด ต้องใส่ใจเชค็ กับ อย. อา้ งองิ ขอ้ มูล: http://porta.fda.moph.go.th/FDA_SEARCH_ALL/MAIN/SEARCH_ CENTER_MAIN.aspx ผลติ ภณั ฑ์ใดตอ้ งแสดงเคร่ืองหมาย อย. บนฉลากผลติ ภัณฑส์ ุขภาพ 1. ผลิตภัณฑ์สุขภาพท่ตี ้องมเี คร่ืองหมาย อย. 1.1 ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร แสดงเลขสารบบอาหาร โดยมตี วั เลข 13 หลกั ในกรอบเครื่องหมาย อย. ตามรูป อยา่ ลมื สงั เกตผลติ ภณั ฑผ์ ดิ กฎหมาย

49 - หากพบวา่ เลขสารบบอาหาร 13 หลกั ในกรอบเครอื่ งหมาย อย. มีการปะปนอยใู่ นผลิตภัณฑ์อื่น ทไ่ี มใ่ ชอ่ าหารอาจสันนิษฐานได้วา่ ผลิตภณั ฑ์ ดงั กลา่ วเป็นผลิตภัณฑ์ปลอม - นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีการโฆษณาเกินจริง แสดง สรรพคุณในการรักษาโรค ลดนำ�้ หนกั หรือแสดงสรรพคุณทางเครื่องส�ำอางก็ ถอื ว่าผดิ กฎหมาย เช่นกัน เช่น ปลอดภยั ท่ีสุด เพิ่มพลังสมอง พฒั นาระบบ ประสาท ปอ้ งกนั / บรรเทาโรคต่าง ๆ เสริมสร้างภมู ิคุ้มกนั ของรา่ งกาย เพมิ่ สมรรถภาพทางเพศ ท�ำให้ผวิ ขาวเนยี น ลดรอยเหย่ี วยน่ กระชบั รูขมุ ขน ช่วย ลดการดูดซึมไขมนั หรือช่วยเผาผลาญพลงั งานในรา่ งกาย เป็นต้น 1.2 ผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งมอื แพทยท์ ตี่ อ้ งมใี บอนญุ าต มี อกั ษร ผ. หมายถงึ ผลติ ตามด้วยตัวเลข /ปี พ.ศ. ส่หี ลัก ในกรอบเคร่ืองหมาย อย. หรือ มอี ักษร น. หมายถึงน�ำเข้า ตามด้วยตัวเลข /ปี พ.ศ. สี่หลัก ในเคร่ืองหมาย อย. ผลติ ภณั ฑท์ ตี่ อ้ งแสดง เชน่ ถงุ ยางอนามยั ถงุ มอื ยางส�ำหรบั ศลั ยกรรม ชดุ ตรวจ เชื้อเอชไอวี (HIV) เลนสส์ มั ผสั (Contact Lens) เปน็ ตน้ 1.3 ผลติ ภณั ฑว์ ตั ถอุ นั ตรายทางสาธารณสขุ (ใชใ้ นบา้ นเรอื น) มอี กั ษร วอส. ตามด้วยตัวเลข /ปี พ.ศ. ส่ีหลัก ในกรอบเครื่องหมาย อย. ตัวอย่าง ผลิตภณั ฑ์ เชน่ ผลติ ภัณฑก์ �ำจัดแมลง ผลิตภณั ฑฆ์ า่ เชอื้ ในครวั เรอื น ผลติ ภณั ฑ์ ท�ำความสะอาดผิว เป็นตน้

50 ส�ำ นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (องคก์ ารมหาชน) Electronic Transactions Development Agency (Public Organization) 2. ผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพทีไ่ ม่มเี ครอื่ งหมาย อย. แต่ตอ้ งขน้ึ ทะเบยี น 2.1 ผลิตภณั ฑ์ยา เป็นวตั ถทุ ใ่ี ช้ในการวนิ จิ ฉัย บ�ำบดั บรรเทา รักษา ป้องกันโรค ความเจ็บป่วยหรือมุ่งหมายให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างของ มนุษยแ์ ละสัตว์ ซึ่งตอ้ งขออนญุ าตขึ้นทะเบียนกอ่ นการผลติ และน�ำเขา้ ยา โดย การแสดงเลขทะเบียนต�ำรับยา ไมต่ อ้ งแสดงในกรอบเคร่อื งหมาย อย. แต่ต้อง แสดงเลขท่ีรหัสใบส�ำคัญการขน้ึ ทะเบยี นต�ำรับยา ส�ำหรบั มนุษย์ ดังนี้ 1. ยาแผนโบราณ: ยาแผนโบราณส�ำหรบั มนษุ ย์ผลติ ในประเทศ จะมีเลขทะเบียน G และตามด้วยเลขท่ีทะเบียนยาในรูปแบบ ล�ำดับที่ลง ทะเบยี นและตามดว้ ยปที ่ีลงทะเบยี นหลังเคร่ืองหมาย / เช่น G 198/28 2. ยาแผนปจั จบุ นั : ยาแผนปจั จบุ นั ส�ำหรบั มนษุ ยผ์ ลติ ในประเทศ จะมเี ลขทะเบยี น (Reg.No.) และตามดว้ ยเลขท่ที ะเบยี นยาในรปู แบบ ล�ำดับ ทลี่ งทะเบยี นและตามดว้ ยปที ล่ี งทะเบยี นหลงั เครอื่ งหมาย / เชน่ Reg No. 1A 512/56 อย่าลมื สังเกตผลิตภัณฑผ์ ดิ กฎหมาย - ยาที่ไดร้ ับอนุญาตใหโ้ ฆษณาตอ่ ประชาชน จะต้องมีเลขทอ่ี นุญาต โฆษณาระบุ ฆท.และตามด้วยเลขท่ที ะเบยี นยาในรูปแบบ ล�ำดับที่ลงทะเบียน และตามดว้ ยปีทีล่ งทะเบยี นหลงั เครอื่ งหมาย / เช่น ฆท. 142/2554 เพื่อปอ้ ง การโฆษณาท่ีผิดกฎหมาย เช่น ไม่มีผลข้างเคียงหรือไม่ท�ำให้เกิดอาการแพ้ เป็นต้น 2.2 ผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งส�ำอาง เปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ พอื่ ความสวยงาม สะอาด หรือสุขอนามัยที่ดี ซ่ึงไม่มีผลต่อโครงสร้างหรือการกระท�ำหน้าที่ใด ๆ ของ รา่ งกาย