Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วัยใสวัยเก๋าฉลาดรู้เน็ต2 ผู้แต่ง : สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

วัยใสวัยเก๋าฉลาดรู้เน็ต2 ผู้แต่ง : สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ จัดทำ E-BOOK : ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี

Published by 000bookchonlibrary, 2021-01-21 07:50:25

Description: Ifbl_book2

Search

Read the Text Version

117

1

หนังสือเผยแพร่เพื่อใช้ในการส่งเสรมิ การใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ชอื่ เรือ่ ง วัยใส วัยเกา๋ ฉลาดรูเ้ น็ต 2 ISBN 978-616-7956-48-0 พิมพ์คร้ังท่ี 1 กันยายน 2562 © 2019 Electronic Transactions Development Agency All right reserved จดั พิมพ์และเผยแพร่โดย ส�ำนกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) กระทรวงดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม อาคารเดอะ ไนน์ ทาวเวอร์ แกรนด์ พระรามเก้า (อาคารบ)ี ช้นั 21 เลขท่ี 33/4 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตหว้ ยขวาง กรงุ เทพมหานคร 10310 โทรศัพท:์ 0 2123 1234 เว็บไซต์ สพธอ. www.etda.or.th เว็บไซต์ กระทรวงดจิ ทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม www.mdes.go.th 2

3

4

ค�ำน�ำ ประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้าสู่ยุคท่ีมีเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่าง ๆ มาช่วยอ�ำนวยความสะดวกและมีคุณภาพชีวิตดีข้ึนเพ่ือร่วมกันสร้างสังคม การใชอ้ นิ เทอร์เนต็ อย่างสรา้ งสรรคแ์ ละมนั่ คงปลอดภยั หนังสือเล่มน้ีจัดท�ำข้ึนภายใตโ้ ครงการสร้างความตระหนักในการ ใช้อินเทอร์เน็ตให้เสริมสร้างรายได้และรู้เท่าทันภัยคุกคามไซเบอร์ หรือ Internet for Better Life (IFBL) เพื่อสื่อสารกับคนทุกกลุ่ม ทุกวัยอย่างเข้าใจง่าย โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน และผู้สูงอายุท่ีถือว่าเป็น กลุ่มท่ีมีความเส่ียงในล�ำดับต้น ๆ โดยน�ำเอาหลักความฉลาดทางดิจิทัล ที่ส่งเสริมทักษะการเข้าสังคมที่จ�ำเป็นต่อการใช้ชีวิตในโลกออนไลน์มาเป็น แกนหลักในการอธบิ ายเนอ้ื หา พรอ้ มยกระดบั ความคดิ สรา้ งสรรคท์ างดจิ ทิ ลั เพมิ่ ความรู้และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือดิจิทัลต่าง ๆ เกิดความตระหนักรู้เก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตอย่าง ม่ันคงปลอดภยั เพื่อสามารถเปน็ แบบอย่างตอ่ สังคมได้ ซ่งึ จะชว่ ยลดปัญหา ความเสีย่ งจากการใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ และการตกเป็นเหย่อื ในโลกออนไลน์ ผอู้ ำ� นวยการส�ำนักสงุราานงพคัฒณนาาวธารุ กยรุภรามพทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 5

สารบญั บทน�ำ รู้จักกบั IFBL 10 ฉลาดรูเ้ นต็ ฉลาดรู้เน็ตตวั จรงิ ต้องรู้ 16 พลเมอื งดิจทิ ัลทีด่ ี เป็นยังไง 17 เทรนด์ส�ำคัญยคุ ดิจิทัล 22 วยั เกา๋ ฉลาดร้เู นต็ 30 31 ฉลาดใช้สมาร์ตโฟน 31 33 รจู้ กั กับแอปพลิเคชนั แอปพลเิ คชนั ดาวน์โหลดยังไง แอปพลิเคชนั พ้ืนฐาน ทำ� ให้ชวี ิตเรางา่ ยขึน้ เชอ่ื มต่อโลกออนไลน์ 35 36 LINE มีประโยชน์ยงั ไงบา้ ง 38 ต้ังค่า LINE ยังไงให้ปลอดภัย 44 Facebook แอปพลเิ คชนั ยอดฮิต 6

ศัพท์นา่ รู้จาก Facebook 45 ใช้ Facebook ยงั ไงใหป้ ลอดภัย 46 Facebook Messenger 51 52 ใชส้ ังคมออนไลน์ยังไงให้มีความสขุ 54 \"ขา่ วออนไลน\"์ สังเกตยงั ไงวา่ \"ไม่ปลอม\" 58 วัยใสฉลาดรูเ้ น็ต 58 62 อาชพี ท่ใี ช่ กับความถนัดท่ชี อบในยคุ ดจิ ทิ ัล 64 68 อาชพี ออนไลน์ เรียนอยูก่ ็ทำ� งานได้ 69 สรา้ งสรรคค์ อนเทนตด์ ว้ ยเคลด็ ลบั งา่ ย ๆ 70 73 ยุคแห่งการ Streaming Cyberbullying ไม่ใช่เรอื่ งตลก 76 ขอ้ แนะนำ� ในการปอ้ งกนั และการรบั มอื Cyberbullying 77 Code สำ� คญั ลด Cyberbullying รวมค�ำทับศพั ทไ์ อที #หาเงินตอ่ ไม่รอแล้วนะ “อีคอมเมิร์ซ” ต่างจาก “ธุรกรรมออนไลน์” ยังไงนะ การทำ� อีคอมเมิรซ์ ดยี ังไง 7

รู้จักกับระบบนิเวศอีคอมเมริ ์ซ 77 78 ระบบนิเวศอคี อมเมิร์ซมีอะไรบา้ ง 79 80 อยากขายของออนไลนเ์ ร่มิ ยังไงดี 82 ตวั อยา่ งสนิ คา้ ยอดนยิ มในการขายออนไลน์ 87 รจู้ กั ลกู คา้ จากผลสำ� รวจพฤติกรรม 92 ผใู้ ช้อนิ เทอร์เน็ต 93 96 ซอื้ ของออนไลนย์ งั ไง ไม่ใหโ้ ดนโกง 98 ธุรกรรมออนไลน์ งา่ ยดายกว่าท่คี ิด สะดวกด้วย PromptPay Digital Wallet คอื อะไร วิธกี ารป้องกนั ปัญหา การท�ำธรุ กรรมออนไลน์ผ่านมอื ถือ ฉลาดรกู้ ฎหมาย ใช้อนิ เทอร์เนต็ ยงั ไงไม่ให้ผิดกฎหมาย 102 กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั Cyberbullying 108 มีปัญหาออนไลน์ OCC ช่วยไดน้ ะ ศูนยร์ ับเร่ืองร้องเรียนปัญหาออนไลน์ 114 1212 OCC 8

ใครยงั ไมม่ ี ดาวน์โหลด ฟรี ! วยั ใส วัยเก๋า เลม่ 1 9

บทน�ำ ร้จู ักกับ IFBL สำ� นกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื ETDA (เอต็ ดา้ ) กระทรวง ดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คม (ดอี )ี ไดจ้ ดั ทำ� โครงการ Internet for Better Life (IFBL) ที่มุ่งให้คนในทุกกลุ่มทุกวัย ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์ และรู้เท่าทัน ภยั รา้ ยท่ีแฝงมาทางออนไลน์ ด้วยเนื้อหาทไี่ ม่วา่ จะเป็นเด็ก ๆ หรือคณุ ตา คุณยาย ก็เข้าใจได้ง่าย เพราะ ETDA เช่ือเสมอว่าการร่วมแบ่งปันความรู้จะเป็นการสร้าง สงั คมที่เขม้ แข็ง และชว่ ยสร้างสงั คมออนไลนอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ และมน่ั คงปลอดภัย ไปพรอ้ ม ๆ กัน โครงการ IFBL ไดเ้ รมิ่ โครงการตงั้ แตป่ ี 2561 โดยจดั กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรกู้ บั กลมุ่ เป้าหมาย 4 ภูมภิ าค ทั้งกลมุ่ เด็กและเยาวชน (ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ ) กว่า 2,000 คน และกลุ่มผู้สูงอายุ (อายุ 50 ปีขนึ้ ไป) กวา่ 1,500 คนในทุกภาคของ ประเทศไทย ถอื เปน็ ก้าวแรกของโครงการ IFBL ท่ีไดส้ ร้างความตระหนกั รู้ ความ เขา้ ใจ เกีย่ วกับการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและอนิ เทอร์เน็ตอย่างมัน่ คงปลอดภัย เพอื่ สามารถเปน็ แบบอย่างตอ่ สงั คม 10

ในปี 2562 โครงการ IFBL ยังคงเดินหน้าลงพ้ืนที่สร้างกิจกรรมให้กับ กลุม่ เปา้ หมายทั้ง 4 ภูมภิ าค พรอ้ มกับเพิ่มความเขม้ ขน้ ของเนอ้ื ใหผ้ เู้ รยี นสามารถ ใช้งานได้จริง และสร้างรายได้จากการซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตอย่างม่ันใจโดยน�ำ ผลสำ� รวจของ Thailand Internet User Profile หรอื IUP ทสี่ ำ� รวจการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ของคนไทยในปี 2561 และกฎหมายธรุ กรรมออนไลน์ มาเปน็ ฐานขอ้ มลู ในการสรา้ ง หลักสูตร IFBL ซง่ึ จะช่วยลดความเหล่อื มลำ้� บรรเทาปัญหาความเสย่ี งจากการใช้ อินเทอร์เน็ตและการตกเป็นเหยื่อในโลกออนไลนใ์ ห้มากทสี่ ดุ 11

ในก้าวที่ 2 ของปี 2562 ETDA ยังคงสานต่อและขยายผลกิจกรรมโครงการ IFBL อย่างต่อเนื่องโดย การเพ่ิมความหลากหลายของเน้ือหาให้เข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นและบุคคลทั่วไปที่ใช้งาน อินเทอรเ์ น็ตเป็นจำ� นวนมาก ETDA ได้เดินหน้าลงพ้ืนที่ 4 ภูมิภาคผ่านเครือข่ายชุมชนท้ังของภาครัฐและ เอกชนทั่วประเทศ และยังได้น�ำบทเรียน IFBL ท่ีไปอบรมตลอดท้ังปี มาบรรจุไว้ เป็นบทเรียนออนไลน์ในรปู แบบ e-Learning ทท่ี ุกคนสามารถเรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง ผ่านทางเว็บไซต์ https://ifbl.etda.or.th โดยผู้เรียนรู้จะต้องท�ำแบบทดสอบ วัดพลังความรู้ความเข้าใจ \"อนิ เทอร์เน็ตฉลาดใช้ ไดป้ ระโยชน์\" กอ่ นศึกษาบทเรยี น และท�ำแบบทดสอบอกี ครง้ั หลงั เรยี นรู้แล้ว E-LEARNING เดก็ เรียนได้ ผูใ้ หญเ่ รยี นเรว็ สะดวกตอนไหนก็เรียนได้ ทำ� แบบวดั ผลร้คู ะแนนทนั ที https://ifbl.etda.or.th/ 12

ขา่ วสาร IFBL 13

ฉลาดร้เู น็ต ตัวจริงตอ้ งรู้ 16 พลเมืองดิจิทัลทด่ี ี เป็นยังไง 17 เทรนด์สำ� คัญยคุ ดจิ ิทัล 22 14

ฉลาดรู้เนต็ 15

ฉลาดรู้เนต็ ตวั จรงิ ต้องรู้ เมื่อพู ดถึงความฉลาด หลายคนคงจะต้องนึกถึง การวดั IQ และ EQ ทเี่ ป็นความฉลาดดา้ นเชาวป์ ัญญา และด้านอารมณ์ แตม่ าถึงยคุ น้ที ี่ความเจริญก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยแี ละอินเทอร์เนต็ ไมห่ ยดุ น่งิ เราเลือกจะ สื่อสารกนั ผ่านอนิ เทอรเ์ น็ตมากข้ึน จนเกิดสังคมใหม่ บนสื่อออนไลน์ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ) DQ เปน็ ผลจากศกึ ษาและพฒั นาของหน่วยงานทมี่ ชี อ่ื เรยี กว่า DQ Institute เกิดจากความรว่ มมือกันของภาครัฐและเอกชนทวั่ โลกประสานงานรว่ มกับ World Economic Forum ทีส่ ่งเสรมิ ให้เดก็ ๆ ท่วั โลกมีความรูแ้ ละทกั ษะในการใชช้ วี ติ บนโลกออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั แตไ่ มใ่ ชแ่ คเ่ ดก็ ๆ เทา่ นน้ั ทค่ี วรเปน็ “ผฉู้ ลาดรเู้ นต็ ” แตร่ วมไปถงึ คุณปู่ คุณยา่ และทกุ คนท่ใี ช้งานอินเทอร์เน็ต 16

พลเมืองดิจทิ ัล ทด่ี ี เป็นยังไง? พลเมืองดิจิทัล ต้องเข้าใจและวางตัวให้เหมาะสมในการเป็นสมาชิกสังคม ออนไลน์ ซ่งึ มีทกั ษะงา่ ย ๆ 8 ข้อทคี่ วรทำ� ตาม ดังนี้ 17

พลเมอื งดจิ ิทัลทีด่ ี เป็นยงั ไง? 1 ทกั ษะในการเป็นตวั เองท่ีดี (Digital Citizen Identity) • ใช้ส่ือดิจิทัลสร้างภาพลักษณ์ในโลกออนไลน์ของตนเองในแง่บวก ทงั้ ความคดิ ความรู้สึก • มวี ิจารณญาณในการรับส่งขา่ วสารและแสดงความคิดเหน็ มคี วาม เหน็ อกเหน็ ใจผรู้ ว่ มใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรับผิดชอบ • รู้กฎหมายและจริยธรรมในโลกออนไลน์ เช่น การละเมิดลิขสิทธ์ิ การระราน หรอื การใชค้ ำ� ทสี่ รา้ งความเกลยี ดชงั ผอู้ นื่ ทางสอื่ ออนไลน์ 2 ทกั ษะในการรกั ษาความมัน่ คงปลอดภยั ไซเบอร์ (Cybersecurity Management) • ปอ้ งกนั การขโมยข้อมูล ไปสวมรอยทำ� ธรุ กรรมออนไลน์ • รกั ษา ป้องกันความเสยี หายของขอ้ มลู ระบบ และอปุ กรณ์ 18

3 ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ มีวิจารณญาณท่ดี ี (Critical Thinking) • สามารถวเิ คราะห์แยกแยะระหว่างข้อมลู ทีถ่ กู ต้องและขอ้ มูลท่ผี ิด • รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีดิจิทัล สามารถวิเคราะห์และประเมิน ขอ้ มูลจากแหลง่ ข้อมูลท่หี ลากหลายได้ • เขา้ ใจรูปแบบการหลอกลวงต่าง ๆ ในโลกไซเบอร์ เชน่ ขา่ วปลอม เว็บปลอม ภาพตัดต่อ 4 ทกั ษะในการรักษาข้อมูลส่วนตวั (Privacy Management) • รูจ้ ักปกปอ้ งขอ้ มลู ความเป็นส่วนตัวในโลกออนไลน์ • รเู้ ทา่ ทนั ภยั คกุ คามทางอนิ เทอรเ์ นต็ เชน่ มลั แวร์ ไวรสั คอมพวิ เตอร์ และกลลวงทางไซเบอรท์ ข่ี โมยขอ้ มลู ไปใชใ้ นทางท่เี สยี หาย 19

5 ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) • บรหิ ารเวลาท่ใี ช้อุปกรณ์ยุคดจิ ทิ ลั • ควบคมุ เพ่อื ให้เกิดสมดุลระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกภายนอก • ตระหนกั ถงึ อนั ตรายจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกนิ ไป การทำ� งาน หลายอย่างในเวลาเดียวกนั และผลเสยี ของการเสพตดิ สื่อดิจทิ ัล 6 ทกั ษะในการบริหารจดั การขอ้ มลู ทผ่ี ูใ้ ช้งาน มีการท้ิงไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) • สามารถเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการใชช้ วี ติ ในโลกดจิ ทิ ลั วา่ จะหลงเหลอื ร่องรอยขอ้ มลู ทง้ิ ไว้เสมอ • เข้าใจผลลพั ธ์ท่อี าจเกิดข้นึ เพอ่ื การดูแลส่งิ เหลา่ น้ีอย่างรับผิดชอบ 20

7 ทักษะในการรับมอื กบั การระรานทางไซเบอร์ (Cyberbullying Management) • ปิดกั้นผูท้ ี่ระรานและไมต่ อบโต้ดว้ ยวธิ ีเดียวกนั • ขอความช่วยเหลือผู้ปกครอง ครู หรือผู้เช่ียวชาญ รวมทั้งแจ้งต่อ ผู้ดูแลระบบ • เข้มแขง็ และกลา้ เผชิญกับสง่ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ไปแลว้ 8 ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจรยิ ธรรม (Digital Empathy) • มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจ และสรา้ งความสมั พนั ธท์ ดี่ กี บั ผอู้ นื่ บนโลกออนไลน์ 21

เทรนด์ส�ำคญั ยคุ ดจิ ิทัล เทคโนโลยี Cloud ทำ� ใหธ้ รุ กจิ คลอ่ งตวั Cloud หรือ Cloud Computing คืออะไร ให้ลองนึกภาพถึงโปรแกรม คอมพวิ เตอร์ตา่ ง ๆ ทเี่ ราใช้กันอย่ทู กุ วัน แต่แทนที่จะทำ� งานผา่ นระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows ก็เพยี งย้ายไปท�ำงานผา่ น Web Browser บนโลกอนิ เทอร์เน็ตแทน 22

ยกตัวอย่างเชน่ ถา้ เราจะสร้างเอกสารสักฉบับ ก็ตอ้ งใชโ้ ปรแกรม Microsoft Word, Excel หรือ Power Point สง่ิ ที่ตอ้ งเตรยี มคือ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ระบบ ปฏิบตั กิ าร Windows และโปรแกรม Microsoft Office เมื่อจะทำ� งานก็ตอ้ งติดต้งั โปรแกรมเหลา่ นลี้ งบนคอมพวิ เตอร์ หลงั จากสรา้ งเอกสารเรยี บรอ้ ยแลว้ กต็ อ้ งบนั ทกึ ไฟลเ์ กบ็ ไวบ้ นเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ และหากตอ้ งการสง่ ไปหาเพอ่ื นรว่ มงานหรอื ลกู คา้ กใ็ ชว้ ธิ แี นบเป็นไฟลเ์ อกสารสง่ ไปทางอีเมล เปน็ ต้น หากเปน็ เทคโนโลยี Cloud ขอเพียงแคเ่ ราเปิดใช้งานอนิ เทอร์เน็ต และเลือก ทำ� งานผา่ นโปรแกรมทผ่ี ใู้ หบ้ รกิ าร Cloud จดั เตรยี มไว้ กส็ ามารถแบง่ ปนั ใหก้ บั เพอ่ื น รว่ มงานหรอื ลกู คา้ โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งสง่ ไฟลข์ นาดใหญไ่ ปทางอเี มลอกี ตอ่ ไป ขอเพยี ง ผู้รบั ปลายทางสามารถใชง้ านอินเทอรเ์ นต็ ได้เทา่ น้นั เอง ตัวอยา่ งเช่น • Google ซงึ่ เปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารเสริ ช์ เอนจนิ ทใี่ หญท่ สี่ ดุ ของโลกกพ็ ฒั นาแอปพลเิ คชนั ที่ชื่อว่า Google Doc ส�ำหรับใช้สร้างเอกสารต่าง ๆ โดยไม่ต้องพึ่งพา Microsoft Word, Excel หรือ Power Point • Microsoft พฒั นา Microsoft Office 365 โดยเอกสารทส่ี รา้ งขนึ้ นไี้ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเกบ็ ไวบ้ นเคร่อื งคอมพิวเตอร์ของเรา แตผ่ ู้บรกิ าร Cloud จะเกบ็ ข้อมลู เหล่านแี้ ทน 23

ระบบ Mobile Banking กุญแจส�ำคญั สู่สังคมไรเ้ งนิ สด Mobile Banking คือ บริการธนาคารอิเล็กทรอนกิ ส์ทท่ี ำ� ผ่านทางโทรศัพท์ มอื ถอื ซง่ึ เปน็ บรกิ ารทธี่ นาคารเปดิ ชอ่ งทางใหล้ กู คา้ ทำ� บรกิ ารทางการเงนิ ผา่ นระบบ ของธนาคารนั้น ๆ ผา่ นทางโทรศัพท์มือถอื Mobile Banking คอื ตวั ชว่ ยส�ำคัญแหง่ ยคุ ดจิ ทิ ลั ทเี่ ข้ามาอำ� นวยความสะดวก ใหก้ ารทำ� ธรุ กรรมทางการเงนิ เกดิ ขนึ้ ไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลา และนำ� มาซง่ึ ความเปลย่ี นแปลง ทางสงั คม พฤตกิ รรมผบู้ ริโภค และเศรษฐกิจโลก จากผลสำ� รวจธรุ กรรมการชำ� ระเงนิ ผา่ นบรกิ าร Mobile Banking ของธนาคาร แห่งประเทศไทย พบว่า ปี 2561 ประเทศไทยมีจ�ำนวนบัญชีลูกค้าท่ีใช้บริการ Mobile Banking กว่า 41 ล้านบัญชี เพิ่มข้ึนจากช่วงเวลาเดียวกันในปีท่ีแล้ว เกอื บ 10 ลา้ นบญั ชี สะทอ้ นใหเ้ หน็ ความนยิ มของคนไทยทเ่ี พมิ่ มากขนึ้ ตอ่ บรกิ าร น้ี อนั เป็นสัญญาณดที ีแ่ สดงใหเ้ ห็นถงึ การก้าวสูค่ วามเป็น 4.0 และสังคมไร้เงนิ สด (Cashless Society) ของประเทศไทย 24

IoT เชอื่ มครบทกุ อปุ กรณ์ สั่งการได้จากเครอ่ื งเดยี ว IoT (Internet of Things) เปน็ การควบรวม \"โลกกายภาพและโลกแหง่ จินตภาพ เพ่ือสร้างสิ่งแวดล้อมท่ีฉลาด\" หน่ึงในตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคืออุปกรณ์ ในบ้านของเราทส่ี ามารถควบคุมไดจ้ ากโทรศพั ท์ ขณะทศ่ี นู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ สำ� นกั งานพฒั นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ให้ค�ำนิยามว่า IoT หรือ อินเทอร์เน็ตของ สรรพสง่ิ หมายถงึ วตั ถุ อปุ กรณ์ พาหนะ สงิ่ ของเครอ่ื งใช้ และสง่ิ อำ� นวยความสะดวก ในชีวิตอื่น ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยมีการฝังตัวของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์ และการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ซึ่งวัตถุสิ่งของเหล่าน้ีสามารถเก็บบันทึก และแลกเปลยี่ นขอ้ มลู กนั ได้ ทงั้ ยงั สามารถรบั รสู้ ภาพแวดลอ้ มและไดร้ บั การควบคมุ จากระยะไกลผา่ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานการเชอื่ มตอ่ เขา้ กบั สมารต์ โฟนเทา่ นนั้ โดย IoT สามารถประยกุ ตใ์ ชก้ บั อปุ กรณท์ กุ อยา่ งทอี่ อกแบบมาใหเ้ ชอื่ มโยงกนั ไดบ้ นเครอื ขา่ ย อนิ เทอร์เนต็ เพอ่ื ที่จะสามารถส่ือสารกนั ได้ 25

AI ช่วยให้ทุกอยา่ งง่ายดายด้วยปัญญาประดิษฐ์ หากพูดถึงเทคโนโลยีแห่งอนาคตที่มาแรงที่สุดในตอนนี้ คงต้องยอมรับว่า เทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์ หรอื Artificial Intelligence (AI) เปน็ เทคโนโลยี ที่มีบทบาทสำ� คัญมากขนึ้ ในธุรกจิ หลาย ๆ ด้าน ซึง่ จริง ๆ แลว้ น้นั AI ไดแ้ ทรกซมึ เข้ามาอยู่ในชีวิตประจ�ำวันของเรามานานแล้ว โดยคาดการณ์ว่าภายในปี 2020 กวา่ 85% ของผู้บริโภคจะซ้ือสินค้าผ่าน AI มากกวา่ ผา่ นมนุษยด์ ว้ ยกนั เอง ปจั จบุ นั มหี ลายธรุ กจิ ไดน้ ำ� ระบบปฏบิ ตั กิ าร AI เพอ่ื ใชใ้ นการพฒั นาอตุ สาหกรรม เชน่ ระบบจดจำ� ใบหนา้ และแทก็ รปู อัตโนมัติของ Facebook หรอื จะเป็น Siri ใน iPhone และอกี หนงึ่ คา่ ยทนี่ ำ� ระบบ AI มาพฒั นาคอื Huawei ทม่ี ชี ปิ AI แยกเฉพาะ และใช้ชว่ ยปรบั ค่าตอนถา่ ยรปู ได้ แนน่ อนวา่ AI มีประโยชนม์ ากพอท่ีจะทำ� ใหห้ ลายบรษิ ัทยกั ษใ์ หญใ่ นโลกอย่าง Google, Microsoft, Facebook ต่างทมุ่ งบวจิ ัยและพัฒนา AI กันอย่างมหาศาล ซงึ่ ได้มีการเผยถงึ แนวโนม้ พฒั นา AI ขึ้นอีกมากมาย ทุกวันน้ีในการท�ำอีคอมเมิร์ชหรือการค้าขายออนไลน์สะดวกสบายมากยิ่งข้ึน ในการพูดคุยกับลูกค้าด้วยแช็ตบอต ที่เข้ามาช่วยยกระดับการบริการลูกค้าและ ตอบสนองไดแ้ บบทันที โดยทผ่ี ้ขู ายไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งเฝ้าอยู่ทีห่ น้าจอ แถมยงั สามารถ แนะนำ� สินคา้ สว่ นลดต่าง ๆ ได้เองในทันที 26

Big Data ประโยชน์จากข้อมลู มหาศาล Big Data เปน็ การรวบรวมขอ้ มลู จำ� นวนมหาศาลทม่ี อี ยใู่ นทกุ รปู แบบ ทง้ั แบบ ขอ้ มลู ทเี่ กบ็ ในโครงสรา้ งตารางขอ้ มลู และแบบขอ้ มลู ประเภททเ่ี ปน็ ขอ้ ความ รปู ภาพ และวดิ ีโอต่าง ๆ ท่ีสามารถน�ำมาประมวล วิเคราะห์ และนำ� ไปใช้ประโยชน์สำ� หรับ รา้ นคา้ ออนไลน์โดยการเกบ็ ข้อมูลชื่อ ที่อยู่ เพศ เชอื้ ชาติ อายุ ประวตั กิ ารซือ้ สินค้า ชนดิ สนิ ค้า เวลาทซ่ี อ้ื มลู คา่ สนิ ค้า หรอื พฤตกิ รรมการซ้อื สนิ คา้ ออนไลน์ของลูกคา้ ไปใช้โดยใช้เพ่ือวิเคราะห์และคาดเดาว่าลูกค้าจะอยากได้สินค้าแบบไหน แล้ว น�ำเสนอข้ึนมาใหโ้ ดยอตั โนมัตบิ นหนา้ เว็บไซตเ์ พื่อเปน็ การสรา้ งยอดขาย VR & AR เทคโนโลยีโลกเสมือน Virtual Reality (VR) & Augmented Reality (AR) เป็นเทรนดท์ ี่ ไดร้ บั การพดู ถงึ อยา่ งมาก ดว้ ยศกั ยภาพในการรวมสภาพแวดลอ้ มจรงิ กบั วตั ถเุ สมอื น เขา้ ดว้ ยกนั ในเวลาเดยี วกัน โดยวัตถุเสมือนท่วี า่ นน้ั อาจจะเป็น ภาพ, วิดโี อ, เสียง, ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีประมวลผลมาจากคอมพิวเตอร์, มือถือ, แท็บเล็ต, หรืออุปกรณ์ สวมใส่ขนาดเล็กต่าง ๆ และท�ำให้เราสามารถตอบสนองกับสิ่งที่จ�ำลองน้ันได้ ซึ่ง มีการน�ำมาใช้ในเกม ความบันเทิง หรือท�ำการตลาดเหมือนเราสัมผัสสินค้า หรือ บรกิ ารต่าง ๆ ได้จริง 27

ฉลาดใชส้ มาร์ตโฟน 30 เชื่อมต่อโลกออนไลน์ 35 ใชส้ งั คมออนไลน์ยงั ไงใหม้ คี วามสุข 52 \"ขา่ วออนไลน\"์ สงั เกตยงั ไงวา่ \"ไมป่ ลอม\" 54 28

วยั เกา๋ ฉลาดรู้เน็ต 29

ฉลาดใช้สมาร์ตโฟน เรียกได้ว่ายุคน้ีใคร ๆ ก็ต้องมีสมาร์ตโฟน หรือโทรศัพท์มือถือ มีกล้อง ท่องอินเทอรเ์ นต็ ไดอ้ ยา่ งน้อยคนละหนึ่งเคร่ือง ไม่วา่ จะเป็นคุณลุง คุณปา้ คุณตา คณุ ยาย ยคุ ดจิ ทิ ัลแบบนห้ี ันไปทางไหนใคร ๆ ก็ใช้ พร้อมกบั พกติดตวั ตลอดเวลา เสมอื นกับเปน็ อีกอวัยวะในร่างกาย แตจ่ ะร้จู กั ความสามารถมนั ดีแคไ่ หน มาเรียน รู้พรอ้ ม ๆ กันเพอื่ ใชป้ ระโยชน์ได้อย่างเตม็ ท่ี คุ้มคา่ กบั ราคาทซ่ี ื้อมา 30

รจู้ กั กับแอปพลเิ คชนั แอปพลเิ คชนั (Application) หรอื เรยี กยอ่ ๆ วา่ แอป (App) คอื โปรแกรม ท่ีออกแบบมาส�ำหรับสมาร์ตโฟนและแท็บเล็ต ซ่ึงจะมีให้ดาวน์โหลดท้ังฟรีและ จ่ายเงิน มีให้เลือกท้ังในด้านการสื่อสาร การศึกษา ความบันเทิงต่าง ๆ ซึ่งเรา เรียกกนั งา่ ย ๆ ว่าโมบายแอป (Mobile App) หรือ แอปมอื ถอื แอปพลิเคชนั ดาวนโ์ หลดยงั ไง? มาถงึ ขนั้ ตอนทส่ี ำ� คญั ในการดาวนโ์ หลดแอปพลเิ คชนั อยา่ งแรกคอื เชก็ ดใู หแ้ นใ่ จ วา่ อปุ กรณห์ รอื โทรศพั ทม์ อื ถอื ของเรานนั้ เชอ่ื มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ แลว้ หรอื ยงั ขน้ั ตอน นส้ี ำ� คญั มาก ๆ เมอื่ ตรวจเชก็ เรยี บรอ้ ยแลว้ เรากเ็ รม่ิ ตดิ ตง้ั แอปพลเิ คชนั ของเราไดเ้ ลย 31

วธิ ีการตดิ ตง้ั แอปพลเิ คชนั 1 เขา้ ไปท่ี App Store (ระบบ iOS ) หรอื Play Store (ระบบ Android) 2 พิมพ์ช่อื ของ แอปพลเิ คชนั (เช่น Facebook / LINE ) ที่ช่องค้นหา 3 กด \"ติดตง้ั \" เพ่ือดาวนโ์ หลดแอปพลเิ คชนั ท่ตี ้องการ กลบั ไปทหี่ น้าจอของโทรศพั ท์ และมองหาไอคอน หรอื สญั ลกั ษณ์ ของแอปพลเิ คชนั แลว้ เปดิ ขนึ้ มา เพยี งแคน่ ้ี กส็ ามารถเรมิ่ ตน้ ใชง้ านไดเ้ ลย 32

แอปพลิเคชนั พื้นฐาน ทำ� ให้ชวี ติ เราง่ายขึ้น โดยปกติเมื่อเราซอ้ื สมารต์ โฟน เราจะเห็นวา่ มแี อปพลเิ คชนั ตา่ ง ๆ ติดมาดว้ ย และหลาย ๆ คนก็ได้แค่มองผ่านไปเท่านั้น แต่รู้ไหมว่า ในแต่ละแอปนั้น ถ้าเรา เปิดใช้จะมีประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวันของเรายังไงบ้าง วันน้ีเรามีค�ำตอบมาให้ เมอ่ื ทราบแลว้ อย่าลืมไปลองใชด้ ู นาฬิกา ไมไ่ ดบ้ อกแคเ่ วลา แตย่ ังตงั้ ปลกุ ต้ังเตือนให้เราไดล้ ว่ งหน้า อกี ดว้ ย ไมต่ ้องกลัวสายละคราวน้ี กลอ้ งถ่ายรูป เปน็ มากกวา่ กลอ้ งถา่ ยภาพนง่ิ สามารถปรบั เปน็ กลอ้ งวดิ โี อ แถมยังมีฟังก์ชันแต่งภาพ ปรับสี เพ่ิมแสง ให้รูปภาพของเรา สดใสในพริบตา ปฏทิ นิ คราวนี้ไม่ลืมนัดส�ำคัญแน่นอน ไม่ได้ดูแค่วันท่ี แต่ยังเป็น ตารางนดั หมาย และแจง้ เตือนลว่ งหนา้ ได้อีก เครอื่ งคดิ เลข ไม่ต้องเสียเวลาไปหาเคร่ืองคิดเลขให้ไกลมือ จะบวก ลบ คูณ หาร กง็ ่ายนิดเดียว 33

พยากรณอ์ ากาศ เมื่อเช่ือมต่อกับอินเทอร์เน็ต และระบุต�ำแหน่งด้วย GPS จะพยากรณ์อากาศได้อย่างแม่นย�ำ นอกจากน้ันยังท�ำนาย สภาพอากาศลว่ งหนา้ ได้อีกหลายวนั ด้วย ไฟฉาย สามารถเปดิ ใชแ้ ฟลชหรอื หนา้ จอของสมารต์ โฟนแทนไฟฉาย ไดอ้ ย่างสบาย ๆ บันทึกช่วยจ�ำ ส�ำหรบั บนั ทกึ อะไรเล็ก ๆ น้อย ๆ ไว้กนั ลืม แต่อย่าเผลอไป บันทกึ รหัสผา่ นทส่ี ำ� คัญนะ การแชร์อนิ เทอร์เนต็ รู้หรือไม่เราสามารถแชร์อินเทอร์เน็ตจากโทรศัพท์ของเรา ใหก้ บั อปุ กรณอ์ นื่ ๆ ผา่ นทางระบบ Wi-Fi อาทิ แทบ็ เลต็ /iPad/ โนต้ บกุ๊ หรอื อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ใหเ้ ขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ ไปพรอ้ ม ๆ กนั แผนท่ี แผนทใ่ี นสมารต์ โฟนจะมกี ารอา้ งองิ ตำ� แหนง่ ของเราดว้ ย GPS และ A-GPS ทำ� ใหเ้ วลาเราเปดิ แผนทจ่ี ะร้ไู ดท้ ันทีวา่ อยูจ่ ดุ ไหน ของแผนที่ และยงั รดู้ ว้ ยวา่ ตอนนเ้ี รากำ� ลงั มงุ่ หนา้ ไปทศิ ทางไหน 34

เชอ่ื มต่อโลกออนไลน์ คุณสมบัติที่ส�ำคัญอีกอย่างของสมาร์ตโฟน คือการช่วยอ�ำนวยความสะดวก ในการใช้เครือข่ายไร้สายอย่างอินเทอร์เน็ตที่จะย่อโลกการส่ือสารไว้แค่ปลายน้ิว ตวั อยา่ งแอปพลิเคชันยอดนิยมทต่ี ้องมไี วใ้ นยุคนี้ แอปพลิเคชันสื่อสารยอดนิยม มแี อปพลเิ คชนั มากมายทใี่ ชต้ ดิ ตอ่ พดู คยุ กนั บนโลกออนไลน์ แตล่ ะแอปพลเิ คชนั มีฟังกช์ นั การใชง้ านเด่น ๆ แตกต่างกนั ใหเ้ ราได้เลือกใช้ตามความเหมาะสม \"LINE\" กเ็ ปน็ แอปพลเิ คชนั ทค่ี นไทยยอดนยิ มใชก้ นั มากทสี่ ดุ แลว้ เราใช้ LINE ทำ� อะไรไดบ้ า้ ง 35

LINE มปี ระโยชน์ยงั ไงบ้าง โทร.แบบเสียงและวิดโี อคอลได้ฟรี ทกุ ทที่ ุกเวลา ใช้ฟังก์ชันการโทร.คุณภาพสูงโดยไม่มีค่าใช้จ่าย ไม่ว่าจะอยู่ ที่ไหนก็ตาม แล้วยังใช้เอฟเฟกต์และฟิลเตอร์เพื่อเพิ่มความสนุก ระหว่างการโทร.แบบวดิ โี อคอลได้ด้วย วดิ โี อคอลแบบกลุ่ม คณุ สามารถแชต็ กบั เพอื่ นแบบเหน็ หนา้ เหน็ ตาผา่ นวดิ โี อในกลมุ่ ไดพ้ ร้อมกันถึงหลายรอ้ ยคนในครงั้ เดียว ห้องแช็ตหรือห้องสนทนา สามารถแชร์ข้อความ รูป วิดีโอ สติกเกอร์ ข้อความเสียง ตำ� แหน่งทตี่ งั้ และไฟลต์ า่ ง ๆ กับเพื่อน ๆ ไดอ้ ย่างง่ายดาย 36

ร้านสตกิ เกอร์ แหลง่ รว่ มสตกิ เกอรส์ ดุ นา่ รกั จากตวั คาแรก็ เตอรย์ อดนยิ มนบั รอ้ ย มีให้เลอื กทั้งแบบฟรี และเสียเงนิ เพื่อสรา้ งสสี นั ในการพดู คยุ Keep: พ้ืนทส่ี �ำหรบั เกบ็ ข้อมลู ส่วนตัว พน้ื ทีส่ �ำหรบั เกบ็ ข้อความ รปู วดิ ีโอ และอืน่ ๆ เหมอื นมีเมม็ โมรี สว่ นตวั ซ่งึ คุณสามารถแชรส์ ิ่งเหลา่ นกี้ ับเพอื่ น ๆ ไดอ้ ย่างงา่ ยดาย โทรทางไกลระหวา่ งประเทศดว้ ย LINE Out โทร.ทางไกลระหว่างประเทศเข้ามือถือหรือโทรศัพท์บ้าน ได้ด้วยอัตราค่าโทรท่ถี ูกมาก ไทม์ไลน์ พื้นทที่ ่สี ามารถโพสตข์ ้อความ สติกเกอร์ รูปภาพ วดิ ีโอ และ ตำ� แหนง่ ทตี่ ้ังแบ่งปนั ช่วงเวลาของคุณกับเพอ่ื น ๆ ได้เหมือน แอป โซเชยี ลยอดนิยมอยา่ ง Facebook นอกจากแอปพลิเคชัน LINE แลว้ ยงั มีแอปพลิเคชนั อนื่ ๆ ท่ีพฒั นาข้นึ เพื่อ อ�ำนวยความสะดวกในการสือ่ สาร รู้แบบนแ้ี ล้ว โหลดมาใชก้ นั ไดเ้ ลย 37

ตั้งคา่ LINE ยงั ไง ให้ปลอดภยั 5 เคลด็ ลับการตง้ั ค่า LINE ใหป้ ลอดภัย หลังจากที่เราทราบว่า แอปพลิเคชัน LINE ท�ำอะไรได้บ้างแล้ว คราวนีเ้ รามาเรยี นรวู้ ิธีการต้ังคา่ ความมนั่ คงปลอดภยั ของแอปพลเิ คชัน LINE กันดีกวา่ มอี ะไรบา้ ง 38

1 เปิดใชง้ าน Letter Sealing เพื่อเข้ารหสั ข้อความ Letter Sealing อีกหน่ึงฟีเจอร์ที่มีประโยชน์และควรเปิดใช้งาน เพราะ เป็นระบบการเข้ารหัสข้อความที่ส่งในห้องแช็ตแบบ End-to-end encryption (E2EE) คือ รปู แบบการสง่ ข้อมลู โดยการแปลงขอ้ ความบนเซิรฟ์ เวอรใ์ หก้ ลายเปน็ รหสั ลบั เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ อู้ นื่ นอกจากผสู้ ง่ และผรู้ บั สามารถอา่ นเนอ้ื หาของขอ้ ความ ได้ หากผู้ส่งและผู้รับข้อความเปิดการใช้งาน Letter Sealing เอาไว้ทั้งสองฝ่าย ขอ้ ความทร่ี บั สง่ หากนั จะมคี วามเปน็ สว่ นตวั มากยงิ่ ขน้ึ โดยระบบจะแสดงสญั ลกั ษณ์ \"รูปกญุ แจ\" ทีห่ ้องแช็ตเมื่อมกี ารใชฟ้ ีเจอร์ Letter Sealing วธิ ีการต้งั ค่า Letter Sealing ไปท่ี Settings (ต้งั ค่า) ไอคอนรปู เกียร์ Privacy (ความเป็นส่วนตวั ) ไอคอนรปู แมก่ ญุ แจ เลอื กท่ี Letter Sealing 39

2 ปิดการค้นหาดว้ ย LINE ID LINE ID คือ อีกหน่ึงช่องทางท่ีช่วยให้เพ่ิมเพื่อนกันง่ายข้ึน หรือเรียกสั้น ๆ วา่ \"แอด\" (add) แต่ในบางครั้งเราไม่อยากให้ใครแอดผ่าน LINE ID เราก็สามารถ ตั้งคา่ ปิดได้ง่าย ๆ ไปท่ี Settings (ต้งั คา่ ) Privacy (ความเป็นส่วนตัว) ปิด Allow others to add me by ID (อนญุ าตให้เพิ่มด้วยไอด)ี เพียงเทา่ น้คี นอ่ืน ๆ ก็จะไม่สามารถแอดผา่ น LINE ID ของเราไดแ้ ล้ว 40

3 ปิดการต้งั ค่าเพิ่มเพ่ือนจากเบอรโ์ ทรศัพทอ์ ตั โนมตั ิ และป้องกนั ไม่ให้คนอ่นื แอดจากรายชือ่ เชอื่ ว่าหลายคนเคยเจอเร่อื งแบบนี้ เม่อื มี LINE ID แปลก ๆ แอดเข้ามาและ ไม่ร้วู า่ เปน็ ใคร ปญั หาเหลา่ นีจ้ ะเกิดข้นึ หากไม่ไดป้ ดิ ในสว่ นของเพ่ิมเพื่อนจากเบอร์ โทรศพั ท์ หรอื จากรายช่ือ หากไม่ตอ้ งการให้คนอน่ื ๆ แอดผา่ นเบอร์โทรศพั ท์หรือ รายชือ่ สามารถต้ังค่าได้ง่าย ๆ ดงั น้ี ไปท่ี Settings (ตง้ั ค่า) เพ่ือน (Friends) จากนั้นเลอื กปดิ Auto-add friends (เพิ่มเพ่ือนอัตโนมัต)ิ และปดิ Allow others to add me (อนญุ าตให้เพิ่มเป็นเพ่ือน) เมอื่ ปิดทงั้ 2 สว่ นนี้ก็จะไมม่ ใี ครสามารถแอดผ่านเบอรโ์ ทรศพั ทแ์ ละรายชอ่ื ได้ อกี ตอ่ ไป 41

4 วิธีป้องกนั แช็ตจากบคุ คลทส่ี าม อีกหน่ึงปัญหาท่ีคนใช้ LINE ต้องเคยเจอกับข้อความจากบุคคลอื่น ๆ ท่ี ไม่ใช่เพ่ือน ส่งข้อความมาหาไม่ว่าจะเป็นข้อความส่งต่อ หรือส่งค�ำชวนเล่นเกม ซึ่งบางครั้งอาจท�ำให้เกิดความร�ำคาญได้ มาดูวิธีการป้องกันแช็ตจากบุคคลอ่ืน ๆ สามารถตง้ั ค่าไดง้ า่ ย ๆ ไปท่ี Settings (ต้งั คา่ ) Privacy (ความเป็นส่วนตัว) เปิด Filter messages (ปฏเิ สธการรบั ขอ้ ความ) 42

5 ตั้งค่าล็อกรหัสผ่าน (Passcode lock) วิธีสุดท้ายเพื่อป้องกันคนอื่น ๆ แอบมาเปิดดูข้อความใน LINE ด้วยการ ต้ังค่าล็อกรหัสผ่าน (Passcode lock) ก่อนท่ีจะเข้าไปแช็ตหรือดูข้อความ จะตอ้ งใส่รหสั ผา่ นทุกคร้งั ไปท่ี Settings (ตั้งค่า) Privacy (ความเป็นส่วนตัว) Passcode lock (ล็อกรหสั ผา่ น) ใส่รหัสผา่ นเป็นตัวเลข 4 หลกั 2 ครัง้ จากนน้ั ออกจาก LINE แลว้ ลองเปิดเขา้ ไปใหม่ ก็จะพบกบั หน้าให้ใส่ รหัสผ่าน 43

Facebook แอปพลิเคชนั ยอดฮติ เครือข่ายสังคมออนไลน์ท่ีคนไทยนิยมใช้งานเป็นอันดับหน่ึง ท�ำให้เรารู้ข่าว ของเพอื่ น ๆ ได้ไวข้นึ ด้วยการเขียนขอ้ ความ เล่าเร่อื ง แสดงความรสู้ ึก แสดงความ คดิ เหน็ เร่ืองท่สี นใจ โพสต์รูปภาพ คลปิ วิดีโอได้ รวมไปถึงทำ� กิจกรรมอ่นื ๆ ผ่าน แอปพลเิ คชนั เสรมิ ทม่ี หี ลากหลาย ทงั้ ในดา้ นการทำ� ธรุ กจิ เปน็ ชอ่ งทางในการคา้ ขาย สินค้าออนไลน์ Facebook Marketplace หรือจะเป็นด้านความบันเทิง ก็มีเกม ให้ไดฝ้ ึกสมองและสามารถชวนเพื่อน ๆ มาเลน่ ดว้ ย 44

ศัพท์นา่ ร้จู าก Facebook โพสต์ (Post) คอื การลงข้อความ หรือรูปภาพบนกระดานขา่ ว ไลก์ (Like) ปมุ่ กดไลก์ (Like) หรอื การกดถกู ใจใชเ้ พอ่ื แสดงความชนื่ ชอบหวั ขอ้ , รูปภาพ, วิดโี อ, หรือโพสตต์ า่ ง ๆ ของเพือ่ น ๆ คอมเมนต์ (Comment) ใชเ้ รยี กขอ้ ความ, รปู ภาพ, สตกิ เกอร์ เพอ่ื แสดงความคดิ เหน็ ในหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ ของโพสต์ เพือ่ การสนทนาตดิ ต่อ และการสง่ รูปภาพ หรอื ให้ ขา่ วสารที่เป็นประโยชน์ แชร์ (Share) คอื การสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ท้ัง บทความ รปู ภาพ และวิดีโอ ที่มีการโพสต์ บนเครือข่ายสงั คมออนไลน์ไปยังเพ่ือน ๆ สเตตัส (Status) คือการตั้งสถานะ หรือข้อความท่ีจะมีการกระจายออกไปให้ เครอื ข่ายของผู้ใช้งาน Facebook ไดพ้ บเห็น แอดเฟรนด์ (Add friend) หรอื ที่วัยรุ่นเรยี กสัน้ ๆ วา่ “แอด” น้ันคือการเพิม่ เพื่อนเขา้ มาอยู่ใน Facebook ของเรา แต่อย่าเผลอกดรับหรือเพ่ิมเพื่อนคนท่ีไม่รู้จัก ตัวตนจรงิ ๆ ของเขา ซ่งึ อาจเป็นมจิ ฉาชีพแฝงตัวมาก็เป็นได้ 45

ใช้ Facebook ยงั ไงให้มน่ั คงปลอดภัย เมอ่ื เรามบี ญั ชี Facebook เปน็ ของตวั เองไวต้ ดิ ตอ่ กบั เพอ่ื น ๆ แลว้ นอกจาก ประโยชนใ์ นการใชต้ ดิ ตอ่ สอ่ื สารแลว้ สง่ิ สำ� คญั ทตี่ อ้ งคำ� นงึ ถงึ เสมอ คอื “ความมนั่ คง ปลอดภยั ” ของขอ้ มลู สว่ นตวั ทอี่ าจทำ� ใหเ้ ราตกเปน็ เหยอ่ื ของมจิ ฉาชพี ออนไลนไ์ ด้ หากระมดั ระวงั ไมม่ ากพอ แตส่ ามารถปอ้ งกนั ภยั รา้ ยเหลา่ นไี้ ดห้ ากทำ� ตามขอ้ แนะนำ� นี้ อยา่ งเครง่ ครดั 1 รหัสผา่ น ต้ังใหป้ ลอดภยั ไมค่ วรใช้ วนั เดอื นปเี กดิ หมายเลขโทรศพั ท์ หรอื ขอ้ มลู สว่ นตวั ของเรา ทง่ี า่ ยตอ่ การคาดเดามาตง้ั เปน็ รหสั ลบั ควรจะตง้ั รหสั ทม่ี กี ารผสมระหวา่ ง ตัวอกั ษร และตัวเลข 8 ตัวอักษรข้นึ ไป เปลยี่ นรหสั ผา่ นอยเู่ ป็นประจำ� เก็บเป็นความลับ และไม่บอกใคร 46

2 ตงั้ ให้แจง้ เตอื นเมอื่ มีเหตนุ า่ สงสัย เมอื่ มกี ารใชง้ านบญั ชี Facebook ของเรา กรณที ม่ี กี ารเขา้ ถงึ จากทอี่ นื่ หรอื จากอปุ กรณอ์ น่ื ซงึ่ อาจจะเปน็ ไปไดว้ า่ มผี อู้ นื่ แอบใชง้ าน Facebook ของเรา Facebook กจ็ ะมีการแจง้ เตือนมายังผใู้ ชง้ าน หากเราไม่ได้เปน็ ผ้ใู ชง้ าน ณ เวลาดังกล่าว ตอ้ งรีบแจง้ Facebook หรือ ท�ำการเปลี่ยน รหสั ผา่ นทนั ที การเข้าไปต้ังคา่ ทำ� ได้โดย เลือก ตัง้ ค่าความปลอดภัย เตอื นการเข้าสู่ และยังสามารถตรวจสอบได้ว่า Facebook ของเราน้ัน ขณะน้ีมีการ ใช้งานทีส่ ถานท่ไี หนบา้ ง หากไม่ไดเ้ ลน่ ณ พนื้ ทด่ี งั กลา่ ว ตรวจสอบการเข้า Facebook ผา่ นทางอปุ กรณ์เหล่านี้ หากไมใ่ ชอ่ ปุ กรณข์ องเราทไี่ ดท้ ำ� การเขา้ สรู่ ะบบ ใหก้ ด ลบออก จะท�ำให้อุปกรณอ์ ่ืนนั้นไม่สามารถเขา้ ใช้งาน Facebook ของเราไดอ้ กี 47

3 จัดการกับขอ้ มลู ส่วนตัว ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ สว่ นตวั ไมค่ วรเปดิ เปน็ “สาธารณะ” ควรแบง่ ปนั เฉพาะคนทเ่ี ป็นเพอ่ื นของเราเทา่ นัน้ ทส่ี ามารถเห็นข้อมูลส่วนตวั ของเราได้ ในส่วนนี้จะมีให้เลือกการต้ังค่าความเป็นส่วนตัวก่อน โพสต์ อยู่ 3 แบบ คอื สาธารณะ หากเลอื กสถานะน้ี แม้วา่ ไมใ่ ช่เพอ่ื นของเราบน Facebook จะสามารถเหน็ โพสตข์ องเราได้ (ไม่แนะน�ำใหเ้ ลอื ก) เพ่ือน หากเลอื กสถานะนี้ เฉพาะเพอ่ื นใน Facebook ของเราเทา่ นน้ั ที่สามารถมองเหน็ โพสต์ของเราได้ (แนะน�ำใหเ้ ลือก) เฉพาะฉนั เฉพาะท่านเท่าน้ันที่เห็นโพสต์ดังกล่าว บุคคลอื่นไม่สามารถ มองเห็นไดท้ ัง้ สิ้น 48

3.1 ใครบ้างท่เี พิ่มเราเป็นเพ่ือนได?้ การตั้งค่าส�ำหรับจ�ำกัดการส่งค�ำร้องขอเป็นเพ่ือนในส่วนนี้ จะมีให้เลอื กการตั้งค่าความเปน็ สว่ นตัวอยู่ 2 แบบ คอื ทกุ คน ทกุ คนทเ่ี ลน่ Facebook สามารถสง่ คำ� รอ้ งขอเปน็ เพอ่ื นกบั เราได้ เพ่ือนของเพ่ือน บคุ คลอน่ื ทมี่ เี พอ่ื นรว่ มกบั เรา จะสามารถสง่ คำ� รอ้ งขอเปน็ เพอ่ื น กบั เราได้ (แนะนำ� ใหเ้ ลือก) 3.2 ใครจะเหน็ เราบา้ งบน Facebook? การตัง้ คา่ ให้บคุ คลอ่ืนทีส่ ามารถคน้ หาโปรไฟลข์ องเรา สามารถคน้ หาได้ดว้ ย • ชอ่ื ทเี่ ราตั้งเปน็ ชอ่ื โปรไฟล์ • ชอื่ E-mail • เบอร์โทรศัพท์ 49