Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มุศเฏาะละหฺอัลหะดีษ โดย ผศ. ดร. อับดุลเลาะ การีนา

มุศเฏาะละหฺอัลหะดีษ โดย ผศ. ดร. อับดุลเลาะ การีนา

Published by Ismail Rao, 2021-01-22 16:17:09

Description: มุศเฏาะละหฺอัลหะดีษ
โดย ผศ. ดร. อับดุลเลาะ การีนา

https://drive.google.com/file/d/1d2cezUFpkyssBWiJx43KgylE1IwQSjdk/view?usp=sharing

Search

Read the Text Version

141บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  ได กลาววา “สําหรับบาวนั้นตองมีอาหารและเคร่ืองนุงหมใช เหมือนกับคนอ่ืน และไมควรมอบงานแกเขา เวนแตงานท่ี เขาสามารถทําได(1) ในสะนัดหะดีษบทนี้มีผูรายงานตกหลนสองคนติดตอกันระหวางอิมามมา ลิกกับอะบูฮุรอยเราะฮฺ คือ มุฮํามัด เบ็ญ อิจญลานและบิดาของเขา การรูวา เปนการตกหลนใน สะนัดสองคน เนื่องจากสายรายงานอื่นที่ไดระบุอยางชัดเจน ถงึ ผรู ายงานที่ตกหลน 3. ฐานะของหะดีษมอุ ฺฎอ ล อุละมาอฺหะดีษมีความเห็นพองกันวา หะดีษมุอฺฎอลเปนสวนหนึ่งของหะ ดีษเฎาะอฟี เน่ืองจากมคี วามบกพรองในสะนัดจากการตกหลนผูรายงานหลายคน ติดตอกนั (2) 4. การนาํ มาใชเปน หลกั ฐาน หะดีษมุอฺฎอลไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐาน เวนแตเม่ือมีสะนัดอื่น หน่งึ สะนัดระบุผูร ายงานที่ตกหลน อยา งชดั เจน(3) (1) บนั ทกึ โดยอัลหากมิ ทา นกลา ววา “หะดีษบทนเ้ี ปน หะดีษมอุ ฺฎอ ลจากมาลกิ (อา งในหนังสืออลุ ูม อัลหะดีษ ของอิบนุ อศั เศาะลาหฺ หนา 46) (2) การตกหลน ติดตอกันหลายคนน้ันในชวงตน หรอื ชวงกลางของสะนดั เทานั้น แตห ากตกหลนทั้งชวงตนและชวง กลางไมเ รยี กวา หะดีษมุอฺฎอ ล อาจจะเปนหะดีษมรุ ซลั เศาะหาบีย หรอื หะดษี มรุ ซัลเคาะฟย หรือหะดษี มอุ ลั ลกั้ (3) สะนดั อื่นนัน้ ตอ งเปนสะนัดท่ีตดิ ตอ กนั หนึ่งสะนัดหรือมากกวา ซ่ึงมฐี านะเดยี วกันหรอื เหนือกวา

142บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 5. ตาํ ราทเี่ กยี่ วของ ‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺳﻨﻦ ﺳﻌﻴﺪ ﺑﻦ ﻣﻨﺼﻮﺭ‬.1 ‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﺍﻟﺪﻧﻴﺎ‬.2 ชนดิ ที่ 5 หะดีษมนุ เกาะฏิอฺ หะดีษเฎาะอีฟท่ีมีสาเหตุมาจากความบกพรอง อันเน่ืองมาจากการตก หลนในสะนดั หนง่ึ คนหรือสองคนไมต ิดตอ กันเรียกวา หะดีษมนุ เกาะฏอิ ฺ 1. นิยาม ตามหลกั ภาษาศาสตร คาํ วา “‫ ”ﻣﻨﻘﻄﻊ‬มาจากรากศัพทข องคาํ “‫ ”ﺍﻧﻘﻄﻊ ﻳﻨﻘﻄﻊ ﺍﻧﻘﻄﺎﻋﹰﺎ‬แปลวา ทํา ใหข าดตอน หรอื ไมต ิดตอกนั ตามหลกั วิชาการ หะดีษมุนเกาะฏิอฺ คือ หะดีษท่ีมีผูรายงานตกหลนในสะนัดหน่ึงคน หรือ มากกวาแตไมติดตอ กนั (1) จากนิยามขางตนพอสรุปไดวา หากมีการตกหลนผูรายงานในหลายที่ของ สะนดั เรียกวา หะดษี มุนเกาะฏอิ ฺเหมือนกนั (1) อัสสยุ ูฏีย : 2/349

143บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 2. ตัวอยา งหะดษี มนุ เกาะฏิอฺ ‫ ﻋﻦ ﺯﻳﺪ ﺑﻦ‬،‫ ﻋﻦ ﺇﺳﺤﺎﻕ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻟﺜﻮﺭ ّﻱ‬،‫ﻣﺎ ﺭﻭﺍﻩ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﺯﺍﻕ‬ (( ‫ )) ﺇﻥ ﻭﻟﻴﺘﻤﻮﻫﺎ ﺃﺑﺎ ﺑﻜﺮ ﻓﻘﻮ ّﻱ ﺃﻣﲔ‬: ‫ ﻋﻦ ﺣﺬﻳﻔﺔ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬،‫ﻳﺸﻴﻊ‬ ความวา : จากหุซัยฟะฮฺ -มัรฟูอฺ เลาวา “หากพวกเจามอบสิ่งน้ันแกอะ บบู ักร แนน อนทา นเปน คนที่แข็งเเกรงและปลอดภยั ”(2) หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุนเกาะฏิอฺ เนื่องจากมีผูรายงานหนึ่งคนตกหลนใน สะนัดระหวางอัษเษารียกับอะบูอิสหาก ผูรายงานคนนั่น คือ ชะรีก เพราะอัษเษา รียไมไดยินหะดีษโดยตรงจากอะบูอิสหาก แตเขาไดยินมาจากชะรีก จากอะบู อิสหาก 3. ฐานะของหะดีษมนุ เกาะฏอิ ฺ อุละมาอฺหะดีษมีความเห็นตรงกันวา หะดีษมุนเกาะฏิอฺเปนสวนหนึ่ง ของหะดีษ เฎาะอีฟ เนื่องจากการตกหลนของผูรายงานในสะนัดนั้นไมทราบวา เปน ใคร 4. การนาํ มาใชเปน หลกั ฐาน หะดีษมุนเกาะฏิอฺไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตาม เวน แตเมอื่ มี สะนัดอนื่ ท่ีตดิ ตอ กันมายนื ยันผูรายงานท่ีตกหลน สะนัดอ่ืนนั้นมีหน่ึง สะนัดหรือมากกวา (2) บนั ทึกโดยอะหมฺ ดั อัลบัซซารและอตั ฏอบะรอนีย (อลั ฮยั ตะมีย : 5/176)

144บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 5. ตําราทีเ่ กีย่ วของ ‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺴﻨﻦ ﻭﻏﲑﻫﺎ‬.1 ชนดิ ที่ 6 หะดษี มุดัลลสั้ หะดีษเฎาะอีฟท่ีมีสาเหตมุ าจากการตกหลน ผรู ายงานในสะนดั เนอ่ื งจาก การปกปดท่ีซอ นเรนเรยี กวา หะดษี มดุ ัลลั้ส 1. นิยาม ตามหลกั ภาษาศาสตร คาํ วา “‫ ”ﻣﺪﻟﺲ‬มาจากคาํ วา “‫ ”ﺩﹼﻟﺲ ﻳﺪﻟﺲ ﺗﺪﻟﻴﺴﹰﺎ‬แปลวา ปกปด ซอ นเรน หมายถึง การปกปด ผรู ายงาน ตามหลกั วชิ าการ หะดษี มดุ ลั ลสั้ คือ หะดษี ท่มี กี ารรายงานในลักษณะปกปดผูรายงานโดย เจตนาเพื่อใหเ หน็ ภายนอกวา เปนหะดษี ทไ่ี มมคี วามบกพรอ งแตอ ยา งใด(1) 2. ประเภทของหะดีษมุดลั ลสั หะดีษมดุ ลั ลส้ั แบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ตัดลีสอสิ นาดและ ตัดลิสสยุ คู แตละประเภทมีรายละเอียดดังนี้ ประเภทท่ี 1 ตดั ลสิ อิสนาด (‫)ﺗﺪﻟﻴﺲ ﺍﻹﺳﻨﺎﺩ‬ 1. ความหมาย (1) อสั สุยฏู ยี  : 2/234

145บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน หะดีษตัดลีสอิสนาด หมายถึง หะดีษที่ผูรายงานไดรายงานหะดีษท่ีเขา ไมไ ดย นิ จากบคุ คล (อาจารย) ท่เี ขาเคยไดยินหะดีษโดยไดระบวุ ารบั หะดีษมาจาก อาจารยทา นนน้ั (1) 2. ตวั อยา ง ‫ ﻗﺎﻝ ﻟﻨﺎ ﺍﺑﻦ‬: ‫ﻣﺎ ﺃﺧﺮﺟﻪ ﺍﳊﺎﻛﻢ ﺑﺴﻨﺪﻩ ﺇﱃ ﻋﻠ ّﻲ ﺑﻦ ﺧﺸﺮﻡ ﻗﺎﻝ‬ ‫ ﻭﻻ‬،‫ﻻ‬: ‫ ﲰﻌَﺘﻪ ﻣﻦ ﺍﻟﺰﻫﺮ ّﻱ؟ ﻓﻘﺎﻝ‬: ‫ ﻗﻴﻞ ﻟﻪ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻟﺰﻫﺮ ّﻱ‬: ‫ﻋﻴﻴﻨﺔ‬ .‫ ﺣﺪﺛﲏ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﺯﺍﻕ ﻋﻦ ﻣﻌﻤﺮ ﻋﻦ ﺍﻟﺰﻫﺮ ّﻱ‬.‫ﳑﻦ ﲰﻌﻪ ﻣﻦ ﺍﻟﺰﻫﺮ ّﻱ‬ แปลวา : หะดีษรายงานโดยอัลหากิมดวยสะนัดถึงอะลี เบ็ญ คอชรอมเลา วา อิบนุอุยัยนะฮฺไดเลาใหแกพวกเราวารับหะดีษจากอัซซุฮฺรีย บางคนถามทานวา คุณไดยินหะดีษจากอัซซุฮฺรียจริงหรือ? ทาน ตอบวาไมแ ละไมไ ดยนิ จากคนทไ่ี ดฟ งหะดษี จากอซั ซุฮรฺ ียเ หมือนกัน แตฉ ันรบั หะดีษจากอับดลุ รอซาค จากมะอมฺ ัร จากอัซ ซฮุ รฺ ยี (2) หะดีษบทน้ี คือ หะดีษตัดลีสอิสนาด เน่ืองจากอิบนุอุยัยนะฮฺไดทําการ ปกปด ผูรายงานสองคนระหวางเขากับอัซซุฮฺรีย ทั้งสองทานนั้น คือ อับดุลรอ- ซาคและมะอมฺ รั 3. หกุ มการตัดลสี อิสนาด อุละมาอฺสวนใหญไดตําหนิการกระทําตัดลีสอิสนาด และอิมามชุอฺบะฮฺผู หน่ึงที่เปนผูที่ตําหนิอยางหนักตอการกระทําตัดลีสอิสนาด ทานกลาววา “ตัดลีสน้นั เสมือนเปน เพอื่ นของการโกหก”(3) (1) อตั ตะฮานะวีย หนา 41 (2) อัลหากมิ หนา 130 (3) อัศศอนอานีย หนา 131

146บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 4. เปาหมายของตัดลีสอสิ นาด การทําตัดลีสอสิ นาดมเี ปา หมายหลายประการดว ยกนั ทส่ี าํ คัญ คือ 1. เพอื่ ตองการใหเห็นวา หะดษี นนั้ ๆ มอี ิสนาดอาลีย (อิสนาดท่ีสูง) 2. เพอื่ ตอ งการลดการรบั หะดษี จากอาจารยบอ ยคร้ัง 3. เพือ่ ลบภาพพจนข องอาจารยท ี่เปนคนเฎาะอีฟหรอื ไมษิเกาะฮฺ 4. เพือ่ ปกปดคนอ่นื ท่ีไดยนิ หะดีษรวมกบั เขาจากอาจารยคนเดยี วกนั 5. เพอื่ ปกปดอาจารยท ่มี อี ายุนอยกวาเขา ประเภทท่ี 2 ตดั ลีสสยุ คู (‫)ﺗﺪﻟﻴﺲ ﺍﻟﺸﻴﻮﺥ‬ 1. ความหมาย หะดีษตัดลีสสุยูค หมายถึง ผูรายงานไดรายงานหะดีษโดยตรงจาก อาจารยที่เขาเคยไดยิน โดยท่ีเขาไมไดระบุชื่ออาจารยอยางชัดเจน แตกลาวเปน ช่อื อ่ืนทีไ่ มเปน ทร่ี ูจกั กันมากอน(1) หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือ ผูรายงานไดรายงานหะดีษท่ีเขารับโดยตรงจาก อาจารยทานหน่ึง ซึ่งเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายในสังคม เมื่อกลาวรายงาน หะดีษ ผูรายงานไมไดเอยชื่อของอาจารยทานน้ันอยางชัดเจน แตกลับใชชื่ออ่ืน หรือใชสรอย หรือบอกลักษณะที่เปนท่ีรูจักกัน การกระทําเชนน้ีเพ่ือปกปด อาจารยน้ันเอง 2. ตวั อยาง ‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﻋﺒﺪ ﺍﷲ ﺑﻦ‬: ‫ﻗﻮﻝ ﺃﰊ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﳎﺎﻫﺪ ﺃﺣﺪ ﺃﺋﻤﺔ ﺍﻟﻘ ّﺮﺍﺀ‬ .‫ ﻳﺮﻳﺪ ﺃﺑﺎ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺃﰊ ﺩﺍﻭﺩ ﺍﻟﺴﺠﺴﺘﺎ ﹼﱐ‬،‫ﺃﰊ ﻋﺒﺪ ﺍﷲ‬ (1) อิบนอุ ัศเศาะลาหฺ หนา66

147บทที่ 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน แปลวา : คาํ พดู ของอะบบู กั ร เบ็ญ มุญาฮดิ (หนงึ่ ในบรรดานักอา น) กลาว วา อบั ดลุ เลาะ เบ็ญ อะบีอับดลุ เลาะไดรายงานแกพวกเรา หมายถึง อะบบู ักร เบ็ญ อะบดู าวูด อซั ซญิ สิ ตานยี ( 1) 3. หุกมของการตัดลีสสุยูค การตัดลสี สยุ ูคนน้ั เปนท่นี า รังเกียจของบรรดาอลุ ะมาอฺ 4. เปา หมายของการตัดลสี สุยคู การตัดลสิ สยุ ูคมีเปา หมายท่ีสาํ คัญดงั นี้ 1. เพือ่ ปกปดอาจารยท มี่ สี ถานภาพเฎาะอีฟ 2. เพื่อปกปดผูรายงานคนอ่ืนที่รวมรับหะดีษกับเขาอันเนื่องมาจาก อาจารยมีอายุยืน 3. เพอ่ื ปกปดตวั เองทีม่ ีอายมุ ากกวาอาจารย 4. เพ่อื ปกปดการรายงานของเขาจากอาจารยบอ ยคร้ัง 3. รายช่ือผรู ายงานท่ีมสี ถานภาพเปนตดั ลสี ผูรายงานท่ีมีสถานภาพเปนนักตัดลีสอิสนาดตอหะดีษนะบะวียน้ันแบง ออกเปน 5 รนุ ดวยกนั (1) กลุมท่ี 1 ผูท่ีไดทําการตัดลีสเปนบางครั้งบางคราวเทานั้น เชน ยะหฺยา เบ็ญ สะอีด อัลอนั ศอรีย กลุมที่ 2 ผูท่ีอุลามาอฺนับเปนนักตัดลีสแตมีการรายงานในหนังสือเศาะหีหฺ เนื่อจากความเปนอิมามของเขาและการทําตัดลีสนอยมากเม่ือมีการรายงาน (2) อัสสุยูฏยี  : 2/234 (1) อัลอัสเกาะลานยี  หนา 23-24

148บทที่ 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน หะดีษหรือการทําตัดลีสของเขานั้นมาจากผูรายงานที่มีสถานภาพษิเกาะฮฺ เชน สุฟยาน เบ็ญ อุยัยนะฮฺ กลุมท่ี 3 ผูท่ีบรรดาอุลามาอฺมีความเห็นท่ีแตกตางกันในความเปนนักตัด ลีสของเขา ซ่ึงอุละมาอฺบางทานใหการยอมรับการรายงานของเขาและอุละมาอฺ อีกกลุมหนึ่งไมยอมรับการรายงานของเขาในการนํามาใชเปนหลักฐาน เวนแตใน กรณีที่เขารายงานหะดีษโดยใชส ํานวนที่ชดั เจน เชน อะบอู ัซซบุ ยั ร อลั มกั กีย กลุมท่ี 4 ผูที่อุละมาอฺมีความเห็นตรงกันวาไมสามารถนําหะดีษจากการ รายงานของเขามาเปนหลักฐาน เวนแตในกรณีที่เขารายงานหะดีษโดยใชสํานวน ที่ชัดเจน เน่ืองจากการตัดลีสของเขาจากผูรายงานที่มีสถานภาพเฎาะอีฟ บอยคร้ัง หรือผูที่ไมรูจักกันอยางแพรหลายในสังคมวาเปนนักหะดีษ เชน บะกิยะฮฺ เบ็ญ อลั วะลดี กลุมที่ 5 ผูรายงานที่เฎาะอีฟเน่ืองมาจากสาเหตุอื่นท่ีไมไดมาจากการ ตัดลีส การรายงานหะดีษของเขาตองปฏิเสธ แมนวาการรายงานของเขาน้ันโดย ใชส าํ นวนชดั เจนก็ตาม เวน แตไดรบั การยอมรับจากผูท่ีษิเกาะฮฺวาเปนคนเฎาะอีฟ เล็กนอย เชน อับดุลเลาะ เบ็ญ ละฮีอะฮฺ แตหากการรายงานของเขาใชสํานวน คลุมเครอื หะดีษนัน้ ยอ มเปน หะดษี เฏาะอีฟท่ีใชไ มไ ด 4. ฐานะของหะดษี มุดลั ลั้ส หะดีษมุดัลล้ัสเปนสวนหน่ึงของหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากขาดคุณสมบัติของ หะดีษมักบลู คือ ความบกพรอ งในการรายงาน(2) (2) การตดั ลีสเปนการปกปดผูรายงานโดยเจตนา ซง่ึ ถอื วา เปนการกระทําที่ไมเหมาะสม นักหะดีษถือวา เปนความ บกพรอ งชนดิ หน่ึงในบรรดาความบกพรองท้ังหลาย

149บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน 5. การนาํ มาใชเปน หลักฐาน การนําหะดีษมุดัลลั้สมาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตามในเรื่องบทบัญญัติ ตางๆ ที่เก่ียวของกับเรื่องศาสนามีการขัดแยงในกลุมอุละมาอฺออกเปนหลาย ทัศนะ แตท่แี พรห ลายมากท่ีสุดมี 2 ทัศนะเทาน้นั คือ ทัศนะท่ี 1 ไมอนุญาตนําหะดีษมุดัลล้ัสมาใชเปนหลักฐานไมวาในกรณี ใดๆ ก็ตาม เนอ่ื งจากการตดั ลสี เปนเสมือนกบั การโกหกตอ ทานนบี  ทัศนะท่ี 2 พจิ ารณาจากลักษณะการรายงานของนักตดั ลีส คอื 1. หากการรายงานน้ันใชสํานวนชัดเจน เชน กลาววา “ُ‫ ” َﺳ ِﻤ ْﻌﺖ‬หรือ อ่นื ๆ สามารถนําหะดีษมาใชเ ปน หลักฐานได 2. ถาการรายงานนั้นใชสํานวนคลุมเครือ เชน กลาววา “‫ ”ﻋﻦ‬หรือที่ เรียกวา “‫ ”ﻫﻮ ﻣﺪﻟﺲ ﻭﻗﺪ ﻋﻨﻌﻨﺔ‬แปลวา เขาเปนนักตัดลีสโดยใชสํานวน “‫”ﻋﻦ‬ ไมสามารถนาํ หะดษี มาเปนหลกั ฐานได จากสองทัศนะที่ไดกลาวขางตน ทัศนะท่ีถูกตอง คือ ทัศนะที่สอง เน่ืองจากการรายงานนั้นโดยใชสํานวนท่ีชัดเจนซึ่งแสดงถึงการมีผูรายงานไดยิน หะดษี จรงิ จากอาจารยไมใชเ ปน การตดั ลสี แตอยางใด 6. ตาํ ราทเ่ี กีย่ วขอ ง ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﳋﻄﻴﺐ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩ ّﻱ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺘﺒﻴﲔ ﻷﲰﺎﺀ ﺍﳌﺪﻟﺴﲔ‬.1 ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺑﺮﻫﺎﻥ ﺍﻟﺪﻳﻦ ﺑﻦ ﺍﳊﻠ ّﱯ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺘﺒﻴﲔ ﻷﲰﺎﺀ ﺍﳌﺪﻟﺴﲔ‬.2 ،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺗﻌﺮﻳﻒ ﺃﻫﻞ ﺍﻟﺘﻘﺪﻳﺲ ﲟﺮﺍﺗﺐ ﺍﳌﻮﺻﻮﻓﲔ ﺑﺎﻟﺘﺪﻟﻴﺲ‬.3 ‫ﺍﳊﺎﻓﻆ ﺍﺑﻦ ﺣﺠﺮ ﺍﻟﻌﺴﻘﻼﱐ‬

150บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน หะดษี เฎาะอฟี อันเนอ่ื งมาจากความบกพรองในแงความจําของผรู ายงาน ชนิดท่ี 1 หะดีษมุอัลลั้ล หะดีษที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองของผูรายงานในแงความจํา เน่ืองมาจากการสบั สนในการรายงาน หะดีษในลกั ษณะนเ้ี รียกวา หะดษี มอุ ัลล้ลั 1. นยิ าม ตามหลกั ภาษาศาสตร คําวา “‫(”ﻣﻌﻠﻞ‬1) มาจากรากศัพทของคํา “‫ ” َﻋ ٌﹶﻞ ﹶﻝ ُﻳٌَﻌِﻠﻞﹸ ُﺗﻌﻠﻴ ﹰﻼ‬แปลวา มี ความบกพรอ ง หรือขอ เสยี และคําวา “มุอัลลลั้ ” สง่ิ ท่ีมคี วามบกพรองทซี่ อ นเรน ตามหลกั วชิ าการ หะดีษมุอัลลั้ล คือ หะดีษที่ผูเช่ียวชาญพิจารณาแลวพบวามีความบกพรอง ตอการเปน หะดีษเศาะหีหฺ ซ่ึงดูภายนอกมสี ถานภาพเปนหะดษี เศาะหหี ฺ(2) จากนยิ ามขางตนจะเห็นไดชัดวา การท่ีจะเรียกหะดีษเปนหะดีษมุอัลล้ัลนั้น ตองประกอบดว ยเง่ือนไข 2 ประการ หนึ่ง เปน การรายงานทีค่ ลุมเครอื และซอนเรน สอง มผี ลเสยี ตอ การเปนหะดษี เศาะหหี ฺ หากขาดเงื่อนไขหนึ่งเงื่อนไขใดแลวไมเรียกวาหะดีษมุอัลลั้ลตาม ความหมายของหะดีษมอุ ัลลล้ั ทแ่ี ทจริง(3) (1) อุละมาอฺหะดีษมุตะกอดดิมูน เรียกวา หะดีษมะอฺลูล และอุละมาอฺหะดีษมุตะอัคคิรูน เรียกวา หะดีษมุอัล สวนอุ ละมาอภฺ าษาศาสตรส วนใหญเรียกวา มุอลั ลั้ล (2) อัสสุยฏู ีย : 2/245 (3) ดู มะหฺมูด อัตเฏาะหหฺ าน หนา 98-99

151บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 2. ชนดิ และตัวอยางหะดษี มุอลั ลัล้ หะดษี มอุ ลั ล้ัลแบงออกเปน 2 ชนดิ คอื มอุ ัลลัล้ อิสนาดและมอุ ัลล้ัลมะตนั ชนิดที่ 1 มอุ ลั ลั้ลอสิ นาด ตัวอยา ง ،‫ ﻋﻦ ﻋﻤﺮﻭ ﺑﻦ ﺩﻳﻨﺎﺭ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻟﺜﻮﺭ ّﻱ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻦ ﻳﻌﻠﻰ ﺑﻦ ﻋﺒﻴﺪ‬ .(( ‫ )) ﺍﻟﺒﻴﻌﺎﻥ ﺑﺎﳋﻴﺎﺭ‬: ‫ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﻤﺮ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬ ความวา : จากอิบนุอุมัร -มัรฟูอฺ- ทานนบี  กลาววา “การซ้ือขายน้ัน ทัง้ ผซู อ้ื และผูขาย- โดยมกี ารเลอื ก”(4) หะดีษบทน้ีเปนหะดีษมุอัลลั้ล เน่ืองจากผูรายงานท่ีชื่ออัษเษารียสับสนใน การรายงานหะดษี ที่กลา ววา จากอมั รฺ เบ็ญ ดนี าร แตผูรายงานหะดีษที่ถูกตองก็ คอื มาจาก อับดุลเลาะ เบญ็ ดนี าร ชนิดท่ี 2 มุอลั ลล้ั มะตนั ตวั อยาง ‫ ﺻﻠﻴ ُﺖ ﺧﻠﻒ ﺍﻟﻨ ّﱯ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻦ ﺃﻧﺲ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ‬ ‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻭﺃﰊ ﺑﻜﺮ ﻭﻋﻤﺮ ﻓﻜﺎﻧﻮﺍ ﻳﺴﺘﻔﺘﺤﻮﻥ‬ .‫ﺑﺎﳊﻤﺪ ﷲ ﻻ ﻳﻘﺮﺃ ﺑﺴﻢ ﺍﷲ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺍﻟﺮﺣﻴﻢ‬ (4) บนั ทึกโดยอัลบุคอรยี  : 7/125

152บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ความวา : จากอะนัส เบ็ญ มาลิก  เลาวา ฉันเคยละหมาดอยู ดานหลัง (เปนมะมูม) ของ นบี  และหลัง อะบูบักร และหลัง อุมัร เขาเหลา นน้ั เริ่มการละหมาดดวยการอาน ‫ ﺍﳊﻤﺪﷲ‬โดยมิได อา น บสิ มลิ ลาฮฮฺ ริ เราะฮฺมานริ ริหีม(1) หะดีษบทน้ีดวยสายรายงานของอัลวะลีด คือ หะดีษมุอัลล้ัล เน่ืองจาก การรายงานที่ขัดแยงกับการรายงานที่มีฐานะเศาะหีหฺท้ังในดานสถานภาพของ ผูรายงานและมะตัน(2)เชน หะดีษจากอะนัสเลาวา (( ‫ﻛﺎﻥ ﺭﺳـﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ‬ ‫ )) ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻳﺴ ﱡﺮ ﺍﻟﺒﺴﻤﻠﺔ‬ความวา “รสูลุลลอฮฺ  ไดอานบิสมิลาฮฺดวยเสียง เบา” และหะดีษอื่น ๆ อีกหลายบทที่กลาวในเร่ืองเดียวกัน การกลาวถึงการอาน บิสมิลลาฮฺน้ัน หากพิจารณาตัวบทหะดีษหรือความเขาใจจากเจตนารมณของ หะดีษซึ่งแสดงใหเห็นวาเปนการอานเสียงเบามากกวาปฏิเสธ ทั้งหะดีษที่ได บันทึกโดยอลั บคุ อรีย มสุ ลิม หรืออิมามทา นอ่นื ๆ 3. ฐานะของหะดีษมอุ ัลล้ลั หะดีษมุอลั ลั้ลเปน หะดษี เฎาะอีฟ เนอื่ งจากขาดคุณสมบัติของหะดีษมักบูล คือ บกพรองในแงความจําของผูรายงานท่ีมาจากสาเหตุความสับสนในการ รายงานหะดษี (3) (1) อิบนุ อศั เศาะลาหฺ หนา 83 (2) การรายงานที่เศาะหีหฺหมายถึง หะดีษจากอะบูฮรุ ยั เราะฮฺ อะนสั เบ็ญ มาลิก อับดุลเลาะ อิบนุ อับบาส อุษมาน เบญ็ อฟั ฟาน อะลี เบ็ญ อะบีฏอลบิ อมั มาร เบ็ญ ยาซริ และอันนุมาน (3) ลกั ษณะของหะดีษ เชน ผูรายงานกลาวรายงานหะดษี ดวยความสับสนของเขา กลาวคอื รายงานหะดีษที่มี ลักษณะมรุ ซัลเปนหะดษี เมาศลู หรอื มีการรายงานหะดีษหนึ่งเปนหะดษี อ่นื หะดษี เศาะหีหฺเปน หะดษี เฎาะอฟี หรือไมก ลา ตดั สินหะดษี (ดู อุมัร ฟลุ ลาตะฮฺ : 2/79)

153บทที่ 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน 4. การนํามาใชเ ปน หลักฐาน หะดษี มอุ ลั ล้ลั ไมอ นุญาตใหน ํามาใชเ ปน หลักฐานและนํามาปฏิบัติตาม เวน แตเมื่อมีการรายงานจากสะนัดอื่นหน่ึงสะนัดหรือหลายสะนัด ซ่ึงมีฐานะเดียวกัน หรือเหนอื กวา มาสนับสนุนสายรายงานดังกลา ว(1) 5. ตําราที่เกีย่ วขอ ง ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﺑﻦ ﺍﳌﺪﻳ ّﲏ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻌﻠﻞ‬.1 ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﺣﺎﰎ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﻋﻠﻞ ﺍﳊﺪﻳﺚ‬.2 ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﺟﻨﺒﻞ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻌﻠﻞ ﻭﻣﻌﺮﻓﺔ ﺍﻟﺮﺟﺎﻝ‬.3 ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ ّﻱ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻌﻠﻞ ﺍﻟﻜﺒﲑ ﻭﺍﻟﻌﻠﻞ ﺍﻟﺼﻐﲑ‬.4 ชนดิ ที่ 2 หะดษี มุดรอ จญ หะดษี เฎาะอีฟท่ีมีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน เน่ืองจากการขัดแยงของผูรายงานจนทําใหมีสํานวนหะดีษเพ้ียนไปเรียกวา หะดีษมุดรอจญ 1. นิยาม ตามหลักภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﻣﺪﺭﺝ‬มาจากรากศัพทของคําวา “‫ ”ﺃﺩﺭﺝ ﻳﺪﺭﺝ ﺇﺩﺭﺍﺟﹰﺎ‬แปลวา มี การแทรกเขา ไป หรือมีการเพ่มิ เตมิ (1) สะนดั อื่นนั้นตอ งเปน สะนัดที่ติดตอ กันและไมใชเ ปนการบกพรองในแงค ุณธรรมของผรู ายงาน

154บทท่ี 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน ตามหลักวชิ าการ หะดีษมุดรอจญ คือ หะดีษที่มีการเปล่ียนแปลงสะนัด หรือมีการแทรกใน มะตัน ท่ไี มใชตวั บทหะดีษ(2) จากนยิ ามขา งตน การอดิ รอจญเกดิ ขนึ้ ทัง้ ในสะนดั และในมะตนั 1. การอิดรอจญในสะนัด หมายถึง เปล่ียนผูรายงานจากคนเดิมกลายเปน คนอื่น 2. การอิดรอจญในมะตัน หมายถึง ผูรายงานนําคําพูดของตนเองหรือ สํานวนคนอนื่ แทรกในตวั บทหะดษี 2. ชนดิ และตวั อยางหะดษี มุดรอ จญ ชนิดที่ 1 การอิดรอจญในสะนดั ตัวอยาง ‫ \" ﻣﻦ ﻛﺜﺮ ْﺕ ﺻﻼﺗﻪ‬: ‫ﻗﺼﺔ ﺛﺎﺑﺖ ﺑﻦ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻟﺰﺍﻫﺪ ﰲ ﺭﻭﺍﻳﺘﻪ‬ .\" ‫ﺑﺎﻟﻠﻴﻞ ﺣﺴﻦ ﻭﺟﻬﻪ ﺑﺎﻟﻨﻬﺎﺭ‬ แปลวา : เร่ืองราวของษาบิต เบ็ญ มูซา อัลซาฮิดในบางรายงานของทาน เลาวา “ผูใดขยันละหมาดในเวลากลางคืน (ละหมาดตะฮัจุด) ใบหนาของเขาจะแจม ใสในเวลากลางวนั ”(1) (2) อัสสุยูฏยี  : 2/245 (1) บนั ทกึ โดยอิบนุมาญะฮฺ : 1/422

155บทที่ 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุดรอจญ ผูทําการอิดรอจญ คือ ษาบิต เบ็ญ มูซา ซึง่ เขาใจวา สํานวนนีเ้ ปนหะดีษของสายรายงานดังกลาว(2) ชนิดท่ี 2 การอิดรอ จญในมะตัน การอิดรอจญในมะตนั มี 3 ลกั ษณะดวยกัน ลักษณะท่ี 1 การอิดรอ จญในชวงตน ของมะตัน ตัวอยาง ‫ ﻋﻦ‬،‫ﻣﺎ ﺭﻭﺍﻩ ﺍﳋﻄﻴﺐ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩ ّﻱ ﻣﻦ ﺭﻭﺍﻳﺔ ﺃﰊ ﻗﻄﻦ ﻭﺷﺒﺎﺑﺔ‬ ‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ‬: ‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﻗﺎﻝ‬،‫ ﻋﻦ ﳏﻤﺪ ﺍﺑﻦ ﺯﻳﺎﺩ‬،‫ﺷﻌﺒﺔ‬ ‫ﻭﻳﻞ ﻟﻸﻋﻘﺎﺏ‬،‫ )) ﺃﺳﺒﻐﻮﺍ ﺍﻟﻮﺿﻮﺀ‬: ‫ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬ .(( ‫ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬ ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺเลาวา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “พวกเจาจง อาบน้ําละหมาดใหสมบูรณ นรกเวลสําหรับผูท่ีลางเทา (เวลา อาบนา้ํ ละหมาด) ไมครอบคลุม (ตาตมุ )”(1) (2) ทีม่ าของเรอ่ื งราวขางตน คือ แทจ ริงษาบิต เบ็ญ มูซา เขา มาในมจั ญลสิ ของชะริก เบญ็ อบั ดลุ เลาะ อัลกอฎีย ในขณะทก่ี ําลังกลาวหะดีษ ทา นกลา ววา “อลั อะอฺมชั ไดร ายงานแกพ วกเรา จากอะบสี ะอีด จากญาบริ ซงึ่ ทา น กลาววา รสลู ุลลอฮฺ  ไดกลาววา “.......” ทานก็หยดุ พักครูหน่ึงเพอื่ ใหผูฟงทําการบันทึกหะดษี ในขณะนั้นทาน (อะลี บนิ อบั ดุลเลาะ) ก็เห็นษาบิต (ซง่ึ เปน คนขยันละหมาดตะฮัจดุ ) เขา มา ทาน (อะลี) กลาววา (( ‫ﻣﻦ ﻛﺜﺮﺕ‬ ‫ ))ﺻﻼﺗﻪ ﺑﺎﻟﻠﻴﻞ ﺣﺴﻦ ﻭﺟﻬﻪ ﺑﺎﻟﻨﻬﺎﺭ‬เมอื่ ษาบิตไดยนิ ประโยคน้ันเขาใจวาเปนตัวบทหะดีษของ สะนดั ดังกลาว ทาน (ษาบิต) ก็รายงานตามท่ีไดฟงจากอะลีจนกลายเปน ตวั บทหะดษี ไป ดว ยเหตุดงั กลาว อลุ ะมาอฺหะดีษมี ความเหน็ วา หะดีษนเ้ี ปน หะดีษเมาฎอฺ (1) อัสสุยฏู ยี  : 1/270

156บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ประโยคที่นํามาแทรกในหะดีษ คือ (( ‫ )) ﺃﺳﺒﻐﻮﺍ ﺍﻟﻮﺿﻮﺀ‬ซ่ึงเปนคําพูด ของอะบฮู ุรอยเราะฮทฺ ่ีถูกนาํ มาแทรกในชวงตน ของหะดีษ อัลเคาะฏีบ อัลบัฆดาดีย กลาววา อะบูกุฏนฺและชะบาบะฮฺเขาใจผิดวาเปนคําพูดของทานนบี  ซ่ึงสังเกต ไดจากการรายงานของอัลบุคอรีย จากอาดัม จากชุอฺบะฮฺ จากมุฮัมมัด เบ็ญ ซิยาด จากอะบฮู ุรอยเราะฮกฺ ลาววา ‫ )) ﻭﻳﻞ‬: ‫ ﻓﺈﻥ ﺃﺑﺎ ﺍﻟﻘﺎﺳﻢ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬،‫ﺃﺳﺒﻐﻮﺍ ﺍﻟﻮﺿﻮﺀ‬ (( ‫ﻟﻸﻋﻘﺎﺏ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬ ความวา : จงอาบน้ําละหมาดใหสมบูรณ เนื่องจากอะบูอัลกอซิม  ได กลา ววา “นรกเวลนนั้ สาํ หรับผทู ล่ี า งเทาไมครอบคลมุ (ตาตมุ )”(2) ลกั ษณะที่ 2 การอดิ รอจญใ นชวงกลางของมะตัน ตวั อยาง ‫ )) ﺃﻭﻝ ﻣﺎ ﺑﺪﺉ ﺑﻪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﺎﺋﺸﺔ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ‬ ،‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻣﻦ ﺍﻟﻮﺣﻲ ﺍﻟﺮﺅﻳﺎ ﺍﻟﺼﺎﳊﺔ ﰲ ﺍﳌﻨﺎﻡ‬ ‫ ﰒ ﺣُﱢﺒ َﺐ ﺇﻟﻴﻪ‬،‫ﻓﻜﺎﻥ ﻻ ﻳﺮﻯ ﺭﺅﻳﺎ ﺇ ﹼﻻ ﺟﺎﺀﺕ ﻣﺜﻞ ﻓﻠﻖ ﺍﻟﺼﺒﺢ‬ – ‫ ﻭﻛﺎﻥ ﳜﻠﻮ ﺑﻐﺎﺭ ﺣﺮﺍﺀ ﻓﻴﺘﺤﻨﺚ ﻓﻴﻪ – ﻭﻫﻮ ﺍﻟﺘﻌﺒﺪ‬،‫ﺍﳋﻼﺀ‬ .(( ‫ﺍﻟﻠﻴﺎﱄ ﺫﻭﺍﺕ ﺍﻟﻌﺪﺩ‬ ความวา : จากอาอิชะฮฺ  กลาววา ส่ิงแรกที่รสูลุลลอฮฺ  เริ่มรับวะหฺ ยู คือ การฝนที่เปนจริงในขณะนอนหลับ ซึ่งทาน(นบี) ไมเคยฝน นอกจากมันมาเสมือนแสงกระพริบในรุงอรุณ หลังจากนั้น ทาน (2) บันทึกโดยอัลบุคอรยี  : 1/267

157บทท่ี 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน (นบี) ชอบน่ังเงียบ ๆ โดยท่ีทาน (นบี) ออกไปยังถ้ําฮิรออฺ ทําการ สกั การะ – ทําอบิ าดะฮฺ- เปน เวลาหลายคนื (3) คําวา “ ‫ ” ﻭﻫﻮ ﺍﻟﺘﻌﺒﺪ‬แปลวา ทําการสักการะ เปนคําพูดของอัซซุฮฺรียซ่ึง ถูกนํามาแทรกในชวงกลางของหะดีษ เพื่ออธิบายความหมายของคําวา “‫ ”ﻓﻴﺘﺤﻨﺚ‬คือ ทําอิบาดะฮฺ มิใชเปนคําพูดของทานหญิงอาอิชะฮฺ  คําอธิบาย น้ีมาจากการรายงานของยูนุส เบ็ญยะซีด จากอิบนุชิฮาบ จากอุรวะฮฺ เบ็ญ อัซซุบัยร จากทานหญิงอาอิชะฮฺ ‫ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ‬ไมเหมือนกับตัวบทหะดีษท่ีมา จากการรายงานตอไปนี้ ‫ )) ﻛﺎﻥ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﺎﺋﺸﺔ ﰲ ﺑﺪﺀ ﺍﻟﻮﺣﻲ‬ .(( ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻳﺘﺤﻨﺚ ﰲ ﻏﺎﺭ ﺣﺮﺍﺀ ﻭﻫﻮ ﺍﻟﺘﻌﺒﺪ ﺍﻟﻠﻴﺎﱄ ﺫﻭﺍﺕ ﺍﻟﻌﺪﺩ‬ ความวา : ทานนบี  ทําการสักการะในถ้ําหิรออฺ ทานทําอิบาดะฮฺเปน เวลาหลายคืน(1) ลกั ษณะท่ี 3 การอิดรอ จญในชวงทา ยของมะตัน ตวั อยา ง ،‫ )) ﻟﻠﻌﺒﺪ ﺍﳌﻤﻠﻮﻙ ﺍﻟﺼﺎﱀ ﺃﺟﺮﺍﻥ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬ ‫ﻭﺍﻟﺬﻱ ﻧﻔﺴﻲ ﺑﻴﺪﻩ ﻟﻮ ﻻ ﺍﳉﻬﺎﺩ ﰲ ﺳﺒﻴﻞ ﺍﷲ ﻭﺍﳊﺞ ﻭﺑﺮ ﺃﻡ‬ (( ‫ﻷﺣﺒﺒ ُﺖ ﺃﻥ ﺃﻣﻮﺕ ﻭﺃﻧﺎ ﳑﻠﻮﻙ‬ (3) บันทกึ โดยอัลบคุ อรีย : 1/23 (1) บันทึกโดยอัลบคุ อรยี  : 10/ 715

158บทที่ 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺกลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “สําหรับผูเปนทาสที่ดีไดรับผลบุญสองเทา ฉันขอสาบานตอผูท่ี ชีวิตของฉันอยูในพระหัตถของพระองค หากไมมีการญิฮาดใน หนทางของอัลลอฮฺ การทําฮัจญ และการทําความดีตอมารดาแลว ไซร แนนอนฉันพรอ มที่จะตายในขณะที่ฉันเปน ทาส”(2) ประโยค “‫ ”ﻭﺍﻟﺬﻱ ﻧﻔﺴﻲ ﺑﻴﺪﻩ‬คือ คํามุดรอจญเปนคําพูดของอะบูฮุรอย- เราะฮฺที่ถูกนํามาแทรกในชวงทายของหะดีษ ซ่ึงสังเกตไดจากการรายงานของ อสิ มะอลี ีย จากอิบนุ อลั มุบารอ ก จากอะบูฮุรอยเราะฮฺกลาววา ‫)) ﻭﺍﻟﺬﻱ ﻧﻔﺲ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺑﻴﺪﻩ ﻟﻮ ﻻ ﺍﳉﻬﺎﺩ ﰲ ﺳﺒﻴﻞ ﺍﷲ‬ ... ‫ﻭﺍﳊﺞ‬ ความวา “แทจริงชีวิตของอะบูฮุรอยเราะฮฺอยูในพระหัตถของพระองค หากไมมกี ารญิฮาด การทําฮจั ญ และการทาํ ความดีตอมารดาแลว ไซร แนนอนฉนั พรอมท่ีจะตายในขณะที่ฉันเปน ทาส(3) จากตวั อยา งขางตน เปน ทีน่ าสังเกตเกีย่ วกบั หะดีษมดุ รอจญ 2 ประการ ประการท่ี 1 สาเหตุทีท่ ําใหเ กิดการอิดรอ จญในหะดีษ พอสรุปดังน้ี 1. เพอื่ การอธิบายบทบัญญัตขิ องศาสนา 2. เพอ่ื การอธิบายหุกมจากหะดีษในขณะรายงานหะดีษ (2) บันทกึ โดยอัลบคุ อรีย : 5/175 (3) บันทกึ โดยอัลบุคอรยี  : 5/176

159บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 3. เพ่อื ขยายความศัพทท ่มี กี ารกลาวในหะดษี ประการที่ 2 วิธีการรูจักหะดีษมุดรอจญ ซ่ึงสามารถทราบไดจากหลาย ประการ 1. มีการรายงานจากกระแสรายงานอ่ืนระบุอยางชัดเจนของการ อิดรอจญ 2. อุละมาอฺผูเชี่ยวชาญบางทานระบุวา เปนคําพูดของผูรายงานท่ี ถูกนํามาแทรกในมะตัน หรือแทรกผูรายงานคนอ่ืนในสะนัด หะดีษ 3. ผรู ายงานกลาวยอมรับวา เขาเองไดแทรกในสะนัดหรอื ในมะตนั 4. สํานวนหรือประโยคเหลานน้ั เปนไปไมไ ดว า มาจากทานนบี  จรงิ 3. ฐานะของหะดษี มดุ รอ จญ หะดษี มดุ รอจญเปนสวนหน่ึงของหะดีษเฎาะอีฟเน่ืองจากขาดคุณสมบัติของ หะดษี มักบลู คอื การขดั แยง กับการรายงานของคนอ่ืนทีม่ ฐี านะเปนคนษิเกาะฮฺ(1) 4. การนาํ มาใชเ ปนหลักฐาน หะดษี มุดรอจญน ํามาใชเปนหลกั ฐานไมไ ดหากมใิ ชมาจากสาเหตุทไ่ี ดก ลาว มาขางตน เชน เพิ่มสํานวน แตถาการอิดรอจญน้ันมีการแยกสํานวนระหวางตัว บทหะดีษกับคําพูดของผูรายงานและมีฐานะเปนหะดีษเศาะหีหฺหรือไดรับการ สนับสนุนจากสายรายงานอ่ืนที่มีฐานะเดียวกันหรือเหนือกวาก็สามารถนํามาใช เปนหลกั ฐานได (1) การแทรกจะเปนในสะนัดโดยนาํ ผรู ายงานทีไ่ มใชผ รู ายงานคนเดิมหรอื แทรกในมะตันหะดีษไมไ ดแ ยกใหอยาง ชัดเจนระหวางสํานวนตัวบทกบั ประโยคที่นาํ มาแทรกนนั้ อาจจะมาจากสาเหตุตาง ๆ เชน ผูรายงานท่ีมีความจาํ ไมด ี หลงลมื หรือสบั สนในขณะที่รายงานหะดีษ

160บทที่ 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน 5. ตาํ ราท่เี กยี่ วขอ ง ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﳋﻄﻴﺐ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩﻱ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻔﺼﻞ ﻟﻠﻮﺻﻞ ﺍﳌﺪﺭﺝ ﰲ ﺍﻟﻨﻘﻞ‬.1 ‫ ﺍﳊﺎﻓﻆ ﺍﺑﻦ ﺣﺠﺮ ﺍﻟﻌﺴﻘﻼ ﹼﱐ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺗﻘﺮﻳﺐ ﺍﻟﻨﻬﺞ ﺑﺘﺮﺗﻴﺐ ﺍﳌﺪﺭﺝ‬.2 ชนดิ ที่ 3 หะดษี มกั ลูบ หะดีษเฎาะอีฟท่ีมีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน คือ การขัดแยงโดยการสับเปลี่ยนจากกอนเปนหลังหรือสลับกัน หะดีษลักษณะนี้ เรียกวา หะดษี มกั ลูบ 1. นยิ าม ตามหลักภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﻣﻘﻠﻮﺏ‬มาจากรากศัพทของคํา “‫ ”ﻗﻠﺐ ﻳﻘﻠﺐ ﻗﻠﺒﹰﺎ‬แปลวา สับเปลยี่ น หมายถงึ การสับเปล่ียนจากกอนเปนหลงั หรอื จากหลังเปน กอน ตามหลกั วิชาการ หะดีษมักลูบ คือ หะดีษที่มีการสับเปล่ียนในสะนัดหรือในมะตันจากกอน เปน หลงั หรอื จากหลงั เปนกอ น(1) จากนิยามพบวา การสับเปล่ียนน้ันสามารถเกิดข้ึนทั้งในสะนัดและในมะ ตันของหะดษี ไมว าในชวงตน ชว งกลาง และชวงทา ยของทัง้ สอง (1) อสั สุยฏู ยี  : 2/234

161บทท่ี 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน มักลูบในสะนัดหมายถึง การสับเปล่ียนชื่อของผูรายงานเปนชื่อพอ เชน ผูรายงานชื่อวา กะอฺบ เบ็ญ มุรเราะฮฺ เปนมุรเราะฮฺ เบ็ญ กะอฺบ การสับเปลี่ยน ในประเภทนี้อุละมาอฺหะดีษเรยี กวา “การโจรกรรมหะดีษ”(2) มักลูบในมะตันหมายถึง การสับเปล่ียนคําบางคําจากกอนเปนหลังหรือ สับเปลย่ี น ตวั บทของสะนดั หนงึ่ เปน ตวั บทของอีกสะนดั หนึง่ ที่มิใชตวั บทหะดษี นัน้ ๆ(3) 2. ชนิดและตัวอยา งหะดีษมักลูบ หะดษี มักลูบแบง ออกเปน 2 ชนิด ชนิดที่ 1 มักลบู ในสะนดั การสับเปลี่ยนชนิดนีม้ ี 2 รปู แบบ รูปแบบท่ีหน่ึง การสับเปลี่ยนชื่อของผูรายงานเปนชื่อพอดังตัวอยางที่ได กลาวมาแลว รูปแบบทส่ี อง การสบั เปลย่ี นตัวผูรายงานที่รูจักกันวาเปนผูรายงานหะดีษ นน้ั ๆ เปนอกี คนหนง่ึ ที่ไมเปน ที่รูจกั ซ่งึ ท้งั สองรว มสมยั เดยี วกนั ตวั อยาง ‫ ﻋﻦ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺻﺎﱀ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻷﻋﻤﺶ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﺭﻭﺍﻩ ﲪﺎﺩ ﺍﻟﻨﺼﻴ ّﱯ‬ ‫ )) ﺇﺫﺍ ﻟﻘﻴﺘﻢ ﺍﳌﺸﺮﻛﲔ ﰲ‬: ‫ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬ (( ‫ﻃﺮﻳﻖ ﻓﻼ ﺗﺒﺪﺅﻫﻢ ﺑﺎﻟﺴﻼﻡ‬ ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ -มัรฟูอฺ- กลาววา “เมื่อพวกเจาเจอกับ คนมชุ รกิ นี พวกเจา อยา เรม่ิ กลาวสะลามตอพวกเขา”(1) (2) อุมัร หะสัน ฟลุ ลาตะฮฺ : 2/234 (3) หนงั สือเดมิ (1) อบิ นุ อศั เศาะลาหฺ หนา 134

162บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน สะนัดหะดีษน้ีมีการสับเปล่ียนกันโดยหัมมาด อันนะศีบีย ซึ่งไดรายงาน กลาววาไดยินมาจากอัลอะอฺมัช แตท่ีถูกตองจากสุฮัยลฺ ดังการรายงานของอิ มามมสุ ลิม คอื ‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺻﺎﱀ‬،‫ ﻋﻦ ﺳﻬﻴﻞ‬،‫ﻋﻦ ﲪﺎﺩ ﺍﻟﻨﺼﻴﱯ‬ ‫ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬ ชนิดท่ี 2 มกั ลูบในมะตนั การสับเปลยี่ นชนิดนมี้ ี 2 รปู แบบ รูปแบบท่หี น่งึ การสับเปลย่ี นตวั บทหะดษี จากกอนเปน หลัง ตัวอยาง ‫ )) ﻭﺭﺟﻞ ﺗﺼﺪﻕ ﺑﺼﺪﻗﺔ‬: ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬ (( ‫ﻓﺄﺧﻔﺎﻫﺎ ﺣﱴ ﻻ ﺗﻌﻠﻢ ﳝﻴﻨﻪ ﻣﺎ ﺗﻨﻔﻖ ﴰﺎﻟﻪ‬ ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ  “และผูที่ใหบริจาคส่ิงหนึ่ง เขาก็ได ปกปดมันไวจนมือขวาของเขาไมทราบในสิ่งที่มือซายของเขาได บริจาคไว”(2) หะดีษบทนี้ คือ หะดีษมักลูบเนื่องจากผูรายงานไดสับเปลี่ยนคําบางคําที่ เปน ตัวบทหะดีษจากหลังเปน กอ น แตต วั บทท่ถี กู ตองดงั นี้ (2) ดู อัสสยุ ฏู ีย : 2/345

163บทที่ 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน ‫)) ﻭﺭﺟﻞ ﺗﺼﺪﻕ ﺑﺼﺪﻗﺔ ﻓﺄﺧﻔﺎﻫﺎ ﺣﱴ ﻻ ﺗﻌﻠﻢ ﴰﺎﻟﻪ ﻣﺎ ﺗﻨﻔﻖ‬ (( ‫ﳝﻴﻨﻪ‬ ความวา “และผูท่ีใหบริจาคสิ่งหน่ึง เขาก็ปกปดมันไวจนมือซายของเขาไม ทราบในส่งิ ทีม่ อื ขวาของเขาไดบ ริจาคไว” รูปแบบท่ีสอง การสับเปล่ียนท้ังตัวบทและสะนัด การสับเปลี่ยนในแบบที่ สองนี้เพื่อทดสอบความจําของผูรายงานหะดีษดังเชน การทดสอบความจําของอิ มามอัลบคุ อรยี  การทดสอบความจําของอิมามอัลบุคอรียมีท้ังหมด 3 ครั้ง คือ คร้ังท่ี 1 ที่ เมืองบัฆดาด ผูทดสอบมีประมาณ 100 ทาน ครั้งที่ 2 ท่ีเมืองซะมัรกอน ผทู ดสอบมีท้ังหมดประมาณ 400 ทา น และคร้ังท่ี 3 ที่เมืองบัศเราะฮฺ ผูทดสอบมี ท้ังหมดประมาณ 1,000 ทาน ผูทําหนาท่ีทดสอบมาจากหลายสาขาวิชามีทั้งอุ ละมาอฺหะดีษ อุละมาอฺฟกฮฺ และนักวิชาการแขนงอื่น ๆ วิธีการทดสอบ คือ ทํา การสับเปลี่ยนระหวางตัวบทกับสะนัดอ่ืน ท้ังหมดไดรับการยืนยันจากอิมาม- อัลบุคอรียโดยไดทําการแกไขระหวางตัวบทกับสะนัด ที่ถูกสับเปลี่ยนให เหมือนเดิมของมันอยางถูกตองไมมีการผิดพลาดแมแตนิดเดียว(1) ตัวอยาง บางสวนเชน อิมามอัลบุคอรียตอบวา สะนัดหะดีษน้ีไมใชทานมันศูรเปน ผูรายงาน แตเปนการรายงานของยูซุฟ เบ็ญ มูซา พรอมกับอานสะนัดของ มะตันหะดีษทถ่ี ูกตอง จากรูปตาง ๆ ของการสับเปลี่ยนขางตนพอสรุปไดวา หุกมของการ สับเปล่ียนน้ันมีท้งั ทเ่ี ปนหุกม หะรอมและหุกมญาอิซ (อนญุ าต) ดังน้ี (1) ดู อลั อัสเกาะลานีย หนา 486-487

164บทที่ 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน 1. ถาการสับเปลี่ยนนั้น (การอิกลาบ) เพ่ือดึงดูดความสนใจผูอื่นใหการ ยอมรับการรายงานและยอมรับหะดีษของเขา การสับเปลี่ยนในลักษณะน้ีเปน หกุ มุ หะรอม 2. ถาการสับเปลี่ยนน้ัน (การอิกลาบ) เพ่ือทดสอบความจําของผูรายงาน ดังที่ไดเกิดขึ้นกับอิมามอัลบุคอรีย การสับเปล่ียนในลักษณะเชนน้ีเปน หกุ ม ญาอซิ (ฮารุส) 3. ถาการสับเปล่ียนนั้นมาจากความผิดพลาดของผูรายงานเองโดยไมได ตงั้ ใจ การสบั เปลย่ี นในลกั ษณะน้เี ปนหุกมญาอิซ (ฮารุส)(2) 4. ถาการสับเปล่ียนน้ันเนื่องมาจากความต้ังใจของผูรายงานเปน หุกมหะรอม(3) 3. ฐานะของหะดีษมักลูบ หะดีษมักลูบเปนหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากผูรายงานขาดความอะมานะฮฺ และไมมีความรับผิดชอบในการรายงานหะดีษโดยตั้งใจทําการสับเปลี่ยนเพื่อ ดึงดูดความสนใจหรือทําใหระดับของหะดีษจากหะดีษเศาะหีหฺหรือหะดีษหะซัน เปนหะดีษเฎาะอฟี 4. การนํามาใชเ ปนหลกั ฐาน ตามทัศนะของอุละมาอฺหะดีษ การนําหะดีษมักลูบมาใชเปนหลักฐานมี ความเหน็ ดัง ตอ ไปน้ี (2) มะหฺมดู อัลเฏาะหฺหาน หนา 89 (3) อุมรั หะสนั ฟลุ ลาตะฮฺ : 1/83

165บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน 1. หะดีษมักลูบอันเนื่องมาจากจุดประสงคเพ่ือดึงดูดความสนใจผูอ่ืน นํามาใชเปนหลักฐานไมได การกระทําในลักษณะเชนน้ีเปนการกระทําของ ผูอ ปุ โลกนหะดีษ 2. หะดีษมักลูบอันเน่ืองมาจากเพื่อการทดสอบความจําของนักรายงาน นํามาใชเปนหลักฐานไดแตมีเง่ือนไขวา(1) จะตองบอกใหชัดเจนถึงตัวบทหะดีษที่ ถูกตองกอนท่ีจะเสร็จสิ้นจากการทดสอบ ถาไมเชนน้ันแลวไมอนุญาตใหนํามา ปฏิบตั โิ ดยเด็ดขาด 3. หะดีษมักลูบอันเน่ืองมาจากความผิดพลาด(2) ของนักรายงานหะดีษ หรือไม ระมัดระวังในการรายงานหะดีษ กรณีเชนน้ีไมอนุญาตใหนํามาเปน หลักฐานเวนแตมีกระแสรายงานอื่นที่มีฐานะเดียวกันหรือเหนือกวาระบุ สถานภาพของหะดีษที่ถูกตอ งมาสนบั สนนุ 5. ตําราท่ีเก่ียวของ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺭﺍﻓﻊ ﺍﻹﺭﺗﻴﺎﺏ ﰲ ﺍﳌﻘﻠﻮﺏ ﻣﻦ ﺍﻷﲰﺎﺀ ﻭﺍﻷﻟﻘﺎﺏ‬.1 ‫ﺍﳋﻄﻴﺐ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩﻱ‬ ชนดิ ที่ 4 หะดีษมุตเฏาะร็อบ หะดีษเฎาะอีฟท่ีมีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน เนื่องมาจากการขัดแยงกับสายรายงานอื่นท่ีมีจํานวนมากกวา หะดีษในลักษณะน้ี เรยี กวา หะดษี มตุ เฏาะรอ็ บ (1) การวางเงือ่ นไขเชน น้ีเพ่ือปองกนั ไมใหเกิดการเขาใจผดิ ตอหะดษี (2) ความผิดพลาดในท่ีนี้ คือ ความผดิ พลาดบางคร้งั บางคราวเทานน้ั ไมใชบอยครงั้

166บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน 1. นิยาม ตามหลักภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﻣﻀﻄﺮﺏ‬มาจากรากศัพท “‫ ”ﺍﺿﻄﺮﺏ ﻳﻀﻄﺮﺏ ﺍﺿﻄﺮﺍﺑﹰﺎ‬แปลวา เพ้ียน หรอื ซบั ซอนกนั ตามหลักวชิ าการ หะดีษมุตเฏาะร็อบ คือ หะดีษท่ีมีการรายงานที่หลากหลาย ซึ่งทุกสาย รายงาน มสี ถานภาพเทา เทียมกัน(3) จากนิยาม การท่ีจะเรียกหะดีษเปนหะดีษมุตเฏาะร็อบไดนั้นตอง ประกอบดวยเงอื่ นไข 2 ประการ 1. กระแสรายงานท่ขี ดั แยงกนั ไมอ าจประสานเขากันได 2. กระแสรายงานมีสถานภาพเทาเทียมกันไมสามารถตัดสินเปนอยางอ่ืน ไดเชน กระแสรายงานใดเปน เศาะหีหฺและกระแสรายงานใดเปนเฎาะอีฟ หากสามารถตัดสินหรือประสานเขากันไดระหวางกระแสรายงานของหะ ดีษ ไมเ รยี กวา หะดีษมุตเฏาะรอบ แตเรียกกระแสรายงานที่ถูกตองเปนหะดีษ มักบลู และ กระแสรายงานที่ผิดเปน หะดีษมัรดดู (1) 2. ชนิดและตวั อยางหะดษี มุตเฏาะร็อบ หะดีษมุตเฏาะรอบสามารถเกิดข้ึนไดท้ังในสะนัดและในมะตันหะดีษ และ บาง ครง้ั อาจเกิดข้นึ ท้ังสองดานทม่ี าจากผูร ายงานคนเดยี วกนั หรอื หลาย ๆ คน(2) (3) อัตเฏาะหานะวีย หนา 44 (1) หะดีษมตุ เฏาะร็อบอาจจะเปนหะดีษมักบลู และหะดีษมรั ดูด หากขาดเงื่อนไขดังกลาว (2) ดู อิบนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 84-85

167บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน ชนิดท่ี 1 หะดีษมุตเฏาะร็อบในสะนัด หมายถึง หะดีษที่รายงานจาก บุคคลคนเดียวกันท่ีมีฐานะเทากันหรือมากกวา แตเกิดการขัดแยงกัน หะดีษชนิด นี้เกิดข้นึ เปนสวนใหญ ตัวอยาง ‫ ﻳﺎ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺃﺭﺍﻙ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﺃﰊ ﺑﻜﺮ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﺃﻧﻪ ﻗﺎﻝ‬ (( ‫ ﺷﻴﺒﺘﲏ ﻫﻮﺩ ﻭﺃﺧﻮﺍﺗﻬﺎ‬: ‫ ﻗﺎﻝ‬،‫ﺷْﺒ َﺖ‬ ความวา : หะดีษอะบูบักร อัศศิดดีก  กลาววา โอรสูลุลลอฮฺ ฉันเห็น ทานผมขาว ทานกลาววา“ส่ิงที่ทําใหผมของฉันเปนสีขาว คือ ซู เราะฮฺฮดู และซูเราะฮทฺ เ่ี หมือนกนั ”(3) อิมามอัดดารอกุฏนีย กลาววา หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุตเฏาะร็อบ เน่ืองจากไมมีการรายงานนอกจากอะบูอิสหากคนเดียวซ่ึงไดรายงานขัดแยงกับ คนอื่นถึง 10 สาย บางกระแสเปน สะนัดมุรซัล บางสะนัดเปนสะนัดเมาศูล บางกระแสเปนมุสนัด เชน มุสนัด อะบูบักรฺ มุสนัดสะอฺดและมุสนัดอาอิชะฮฺ ผูรายงานต้ังแตคนแรกจนถึงอะบูอิสหากมีสถานภาพษิเกาะฮฺไมมีใครเหนือกวา กนั และไมสามารถประสานกันไดด ว ย(4) ชนิดท่ี 2 หะดีษมุตเฏาะรอบในมะตัน หมายถึงหะดีษท่ีมีการรายงานดวย กระแสรายงานเดียวกันแตสํานวนตัวบทขัดแยงกัน หะดีษชนิดน้ีมีนอยกวาชนิดท่ี หนง่ึ ตวั อยาง (3) บนั ทกึ โดยอตั ตริ มิซยี  : 5/402 คําวา “ซูเราะฮฺท่ีเหมือนกัน” ในหะดีษนหี้ มายความถึง ซเู ราะฮอฺ ัลวากอิ ะฮฺ และ ซู เราะฮอฺ ัลมรุ ซะลาต (4) อสั สยุ ูฏีย : 1/266

168บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ‫ ﻋﻦ ﻓﺎﻃﻤﺔ ﺑﻨﺖ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻟﺸﻌ ّﱯ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﲪﺰﺓ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻦ ﺷﺮﻳﻚ‬ ‫ ﺳﺌﻞ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬: ‫ﻗﻴﺲ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ ﻗﺎﻟﺖ‬ (( ‫ )) ﺇﻥ ﰲ ﺍﳌﺎﻝ ﳊﻘﺎ ﺳﻮﻯ ﺍﻟﺰﻛﺎﺓ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻋﻦ ﺍﻟﺰﻛﺎﺓ ﻓﻘﺎﻝ‬ ความวา : จากฟาตมิ ะฮฺ เบ็ญตุ กอยสฺ  กลาววา รสลู ุลลอฮฺ  ถูก ถามเก่ียวกับซะกาต ทานตอบวา “แทจริงยอมถือเปนสิทธิ์ใน ทรพั ยส นิ นอกจากซะกาต”(1) ในเรือ่ งเดียวกันมีการรายงานอีกสะนัดหนึ่งที่แตกตางในดานตัวบทของหะ ดีษ คือ (( ‫)) ﻟﻴﺲ ﰲ ﺍﳌﺎﻝ ﺣﻖ ﺳﻮﻯ ﺍﻟﺰﻛﺎﺓ‬ ความวา : จากฟาติมะฮฺ เบ็ญตุกอยสฺซึ่งนางไดยินจากทานนบี  กลาววา “ไมถ อื เปน สทิ ธิใ์ นทรัพยสินนอกจากซะกาต”(2) อิมามอัลอิรอกีย กลาววา หะดีษบทน้ีเปนหะดีษมุตเฏาะร็อบโดยไมตอง สงสยั และไมจ ําเปน ตองตคี วามเปนอยางอน่ื แตอ ยางใด(3) 3. ฐานะของหะดษี มตุ เฏาะร็อบ หะดีษมุตเฏาะร็อบเปนหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากผูรายงานหะดีษได รายงานขดั แยงกบั ผูรายงานมสี ถานภาพเดยี วกัน(4) (1) บันทกึ โดยอัตตัรมซิ ยี  : 3/39 (2) บันทกึ โดยอิบนุมาญะฮฺ : 1/582 (3) อลั อิรอกยี  : 1/244

169บทที่ 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 4. การนาํ มาใชเปนหลักฐาน ไมอนุญาตใหนําหะดีษมุตเฏาะรอบมาใชเปนหลักฐานดวยสายรายงาน ของมันเอง เวนแตมีกระแสรายงานอ่ืนท่ีไมใชหะดีษมุตเฏาะรอบซ่ึงมีฐานะ เดียวกนั หรือเหนอื กวามาสนับสนุน ไมวา จะเปน ประเภทหะดีษมัรฟูอฺหรือประเภท หะดีษเมากูฟ หากไมมีสายรายงานอ่ืนมาสนับสนุน หรือสายรายงานอื่นมีฐานะตํ่ากวา ฐานะของหะดีษมุตเฏาะร็อบ เชน หะดีษเฎาะอีฟญิดดันและหะดีษเมาฎอฺ สาย รายงานลักษณะเชนนี้ไมสามารถใหการสนับสนุนได และหะดีษมุตเฏาะร็อบไม สามารถนาํ มาใชเ ปนหลกั ฐานไดแมว า สะนัดนั้นมกี ารรายงานหลายกระแสกต็ าม 5. ตําราที่เกี่ยวขอ ง ‫ ﺍﳊﺎﻓﻆ ﺍﺑﻦ ﺣﺠﺮ ﺍﻟﻌﺴﻘﻼ ﹼﱐ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﻘﺘﺮﺏ ﰲ ﺑﻴﺎﻥ ﺍﳌﻀﻄﺮﺏ‬.1 ชนิดท่ี 5 หะดษี ชา ซ หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําเนื่องจากการ ขัดแยงกันกับคนอน่ื ที่เหนือกวา หะดษี ในลักษณะนเี้ รียกวา หะดษี ชาซ 1. นิยาม ตามหลกั ภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﺷﺎﺫ‬มาจากรากคํา “‫ ”ﺷﺬ ﻳﺸﺬ ﺷﺬﻭﺫﺍ ﻭﺷﺎﺫﹰﺍ‬แปลวา แปลกกวา สิ่งอ่นื หมายถงึ การรายงานทขี่ ัดแยง กบั การรายงานของคนอน่ื (4) เน่อื งจาก การผิดพลาดโดยไมไ ดต ้ังใจ หากตั้งใจทาํ การอิดติร็อบหะดษี ๆ ชนดิ นี้เรียกวา หะดษี มนุ กรั หรอื หะ ดีษเมาฎอฺ (ดู รายละเอยี ดในเรื่องหะดีษเมาฎอ ฺ)

170บทท่ี 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ตามหลักวชิ าการ หะดีษชาซ คือ หะดีษท่ีรายงานโดยผูรายงานษิเกาะฮฺขัดแยงกับการ รายงานของผูท ม่ี ีสถานะษิเกาะฮฺกวา (1) การขัดแยงในที่นี้หมายถึง การขัดแยงระหวางผูรายงานท่ีษิเกาะฮฺกับการ รายงานของผูรายงานที่ษิเกาะฮฺกวา(2) โดยการสังเกตจากสํานวนท่ีบอก สถานภาพของผูรายงานจะใชสํานวนระหวางอิสิมมัศดัร (อาการนาม) กับ อิสมิ ตฟั ฎลี (นามตฟั ฎีล) ตวั อยาง นามมศั ดรั นามตฟั ฎีล ษิเกาะ เอาษัก เศาะดกู อัศดัก ษับตนุ อษั บัต การขัดแยงหรอื ชา ซเกดิ ข้นึ ไดทง้ั ในสะนดั และในมะตนั หะดษี การขัดแยงในสะนัด หมายถึง การขัดแยงในตัวบุคคลของนักรายงานหะ ดษี ทีม่ ฐี านะเหนือกวา การขัดแยงในมะตัน หมายถึง การขัดแยงในตัวบทอันเน่ืองมาจากการ รายงานของนักรายงานทมี่ ีฐานะตํา่ กวา 2. ชนดิ และตวั อยางหะดีษชา ซ หะดษี ชาซแบง ออกเปน 2 ชนิด คือ ชา ซในสะนดั และชา ซในมะตัน (1) อลั อัสเกาะลานีย หนา 37 (2) อลั ตะฮานะวีย หนา 42

171บทท่ี 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ชนิดที่ 1 ชา ซในสะนัด ตัวอยาง ‫ ﻋﻦ‬،‫ ﻋﻦ ﻋﻮﺳﺠﺔ‬،‫ ﻋﻦ ﻋﻤﺮﻭ ﺑﻦ ﺩﻳﻨﺎﺭ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﻴﻴﻨﺔ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ ﺃﻥ ﺭﺟ ﹰﻼ ﺗﻮﰲ ﻋﻠﻰ ﻋﻬﺪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬ .‫ﻭﺳﻠﻢ ﻭﱂ ﻳﺪﻉ ﻭﺍﺭﺛﹰﺎ ﺇ ﹼﻻ ﻣﻮﱃ ﻫﻮ ﺃﻋﺘﻘﻪ‬ ความวา : จากอิบนุอับบาส เลาวา แทจริงมีผูชายคนหนึ่งเสียชีวิตในสมัย ของทานนบี  ไมมีใครเลยที่เปนทายาทของเขา เวนแตบาวคน หน่งึ ที่เขาไดป ลอ ยใหเ ปนไท(1) หะดษี บทน้ีเปนหะดษี ชา ซ เนื่องจากอิบนอุ ยุ ัยนะฮฺไดร ายงานจากอัมรฺ เบ็ญ ดนิ าร (ษิเกาะฮฺ) จากเอาซะญะฮฺ จากอิบนุอับบาส ซ่ึงขัดแยงกับการรายงานของ ผูรายงานท่ีมฐี านะเหนือกวา (ษิเกาะฮฺกวา) คือ หัมมาด เบ็ญ ซัยดฺ จากอัมรฺ เบ็ญ ดินาร จากเอาซะญะฮฺ จากอิบนอุ บั บาส ดวยสาํ นวนดงั นี้ ‫ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ ﺃﻥ ﺭﺟ ﹰﻼ ﺗﻮﰲ ﻋﻠﻰ ﻋﻬﺪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬ ‫ ﻫﻞ ﻏﲑﻩ ﻣﻦ‬: ‫ ﻗﺎﻝ‬.‫ﻭﺳﻠﻢ ﻭﱂ ﻳﺪﻉ ﻭﺍﺭﺛﹰﺎ ﺇ ﹼﻻ ﻣﻮﱃ ﻫﻮ ﺃﻋﺘﻘﻪ‬ ‫ ﻓﺄﻋﻄﺎﻩ ﺇﻳﺎﻩ ﺃﻭ ﻛﻤﺎ ﻗﺎﻝ‬،‫ ﺇ ﹼﻻ ﻣﻮﱃ ﻫﻮ ﺃﻋﺘﻘﻪ‬،‫ ﻻ‬: ‫ﻭﺭﺛﺘﻪ؟ ﻗﺎﻟﻮﺍ‬ ความวา : จากอิบนุอับบาส  แทจริงมีผูชายคนหนึ่งเสียชีวิตในสมัย รสูลุลลอฮฺ และเขาไมมีญาติ เวนแตคนรับใชที่เขาไดไถใหเปน อิสระ ทานนบีถามบรรดาเศาะหาบะฮฺวา “นอกจากคนรับใชแลว ยังมีใครอีกบาง? เศาะหาบะฮตอบวา ไมมีใครเลย นอกจากคน (1) บนั ทึกโดยอัลตรั มิซยี  : 4/423 และอิบนมุ าญะฮฺ : 2/915

172บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน รับใชคนนี้ที่เขาไดใหความเปนอิสระแกเขา (ทานนบี  ) ก็ยก มรดกใหเ ขา (คนรับใชคนนั้น)”(1) หรอื เสมือนกับคาํ กลาวคาํ นนั้ ชนิดที่ 2 ชา ซในมะตนั ตวั อยาง ،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺻﺎﱀ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻷﻋﻤﺶ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﺒﺪﺍﻟﻮﺍﺣﺪ ﺑﻦ ﺯﻳﺎﺩ‬ ‫ )) ﺇﺫﺍ ﺻﻠﻰ ﺃﺣﺪﻛﻢ ﺍﻟﻔﺠﺮ ﻓﻠﻴﻀﻄﺠﻊ‬: ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬ (( ‫ﻋﻦ ﳝﻴﻨﻪ‬ ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ -มัรฟูอฺ- ทานนบีกลาววา “เมื่อคนหนึ่ง คนใดในหมูพวกเจาละหมาดซุบฮฺ (ละหมาดสุนัตกอนซุบฮฺ) ก็จง นอนตะแคงดานขวามือ”(2) หะดีษบทนี้คือ หะดีษชาซ เนื่องจากอับดุลวะฮีด เบ็ญ ซิยาฎ (ษิเกาะฮฺ) ได รายงานในลักษณะหะดีษเกาลีย (หะดีษท่ีเปนคําพูดของทานนบี) ขัดแยงกับการ รายงานของสะอีด เบ็ญ อะบีอัยยูบ(3) และการรายงานของอิบนุอัลวาริษ(4) ซ่ึงทั้ง สองมีฐานะษิเกาะฮฺกวาไดรายงานในลักษณะหะดีษฟอฺลีย (หะดีษท่ีเปนการ ปฏบิ ตั ิของทานนบี) มสี าํ นวนดงั นี้ (1) บันทึกโดยอะบดู าวดู : 3/324 (2) บันทกึ โดยอัลติรมซิ ยี  : 2/281 อะบูอีซา กลาววา หะดษี น้ีเปนหะดีษหะซนั เศาะหีหเฺ ฆาะรีบ หมายถึง กระแส รายงานของอัตติรมซิ ยี  (3) บนั ทึกโดยอัลบุคอรยี  : 3/43 (4) บนั ทึกโดยมุสลิม : 6/16 และอบิ นมุ าญะฮฺ : 1/378

173บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน ‫ ﻛﺎﻥ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ‬: ‫ﻋﻦ ﻋﺎﺋﺸﺔ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ ﻗﺎﻟﺖ‬ .‫ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﺇﺫﺍ ﺻﻠﻰ ﺭﻛﻌﱵ ﺍﻟﺼﺒﺢ ﺍﺿﻄﺠﻊ ﻋﻠﻰ ﳝﻴﻨﻪ‬ ความวา : จากทานหญิงอาอิชะฮฺ  ไดกลาววา เมื่อรสูลุลลอฮฺ  ละหมาดสองรอกะอัตซุบฮฺ (ละหมาดสุนัตกอนซุบฮฺ) ทานก็นอน ตะแคงดานขวามือ(5) จากการอธิบายขางตนจะเห็นไดวา หะดีษชาซท่ีมีเพียงสะนัดเดียวของมัน เอง จะเปนหะดีษเศาะหีหฺเพราะผูรายงานแตละคนมีสถานะเปนคนษิเกาะฮฺ แตหากหะดีษน้ันมีหลายสะนัดก็ตองพิจารณาวา การรายงานนั้นขัดแยงหรือไม ในกรณีไมข ัดแยงกต็ องใชห ลักการการประสานระหวางหะดีษ(1) แตเมื่อขัดแยงกัน สะนัดที่เหนือกวาจะเปนสะนัด ที่เศาะหีหฺและอีกสะนัดหนึ่งจะเปนหะดีษชาซ ดังนั้น การที่จะตัดสินวาเปนหะดีษชาซน้ันก็ตอเม่ือมีการขัดแยงกันกับสะนัดอ่ืน ที่มาจากการรายงานของผูรายงานที่มีสถานภาพ ท่ีษิเกาะฮฺกวา และหะดีษท้ัง สองบทไมสามารถจะประสานกนั ได (5) บันทึกโดยมุสลิม : 6/16 และอบิ นมุ าญะฮฺ : 1/378 (1) หลักการ “ประสานระหวา งหะดีษ” หรือท่เี รยี กวา “‫ ”ﺍﳉﻤﻊ ﺑﲔ ﺍﳊﺪﻳﺜﲔ ﺍﻟﺼﺤﻴﺤﲔ‬เปนหลักการที่ใชในกรณีที่มี การขัดแยง กันระหวางหะดีษเศาะหหี ดฺ ว ยกนั ตามหลกั มศุ เฏาะละหฺ อลั หะดษี เมอ่ื หะดษี เศาะหีหฺดวยกันขัดแยง ในดานตัวบทหะดษี จะตอ งพิจารณาหลกั การประสานกัน หากสามารถประสานกันได แตในกรณกี ารขัดแยง ท่ี ไมสามารถจะประสานเขา กันไดแลว ตามหลกั วิชาการหะดีษจะตองพจิ ารณาสถาน ภาพของสายรายงานของแต ละหะดษี สายรายงานที่เหนือกวาเนอ่ื งจากสถานภาพของผรู ายงานดกี วา หะดษี นเี้ รียกวา หะดีษเศาะหีหฺและ อีกหะดีษหนึ่งเรียกวา หะดษี ชาซ แตห ากการขดั แยง กันระหวางหะดษี เศาะหีหกฺ บั หะดีษเฎาะอฟี จะไมเ ขาขาย เรอื่ งหะดษี ชาซเลยแมแตนิดเดียว

174บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน 3. ฐานะของหะดีษชา ซ หะดีษชาซเปนสวนหน่ึงของหะดีษเฎาะอีฟ เน่ืองจากขาดคุณสมบัติของ หะดษี มักบูล คอื ขัดแยงกบั การรายงานของคนอน่ื ท่มี ฐี านะเหนอื กวา 4. การนํามาใชเปน หลักฐาน หะดีษชาซดวยสะนัดที่ขัดแยงกันไมสามารถนํามาใชเปนหลักฐานได เวนแตเมื่อไดรับการสนับสนุนจากกระแสรายงานอื่นที่ติดตอกันซึ่งมีฐานะ เดยี วกนั หรือเหนือกวา (2) 5. ตําราทเี่ ก่ยี วของ ยงั ไมม หี นงั สือเฉพาะท่ีเขียนเกีย่ วกับหะดษี ชาซ ชนดิ ที่ 6 หะดษี มุเศาะหฺหฟั หะดษี เฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน หะดีษ คือ การผิดพลาดท่ีทําใหเปลี่ยนแปลงตัวอักษร หะดีษในลักษณะนี้ เรยี กวา หะดีษมุเศาะหฺหฟั 1. นยิ าม ตามหลกั ภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﻣﺼﺤﻒ‬มาจากรากศัพทของ “‫ ”ﺻ ّﺤﻒ ﻳﺼ ّﺤﻒ ﺗﺼﺤﻴﻔﹰﺎ‬แปลวา เปล่ียนไป หรอื แทนที่ (2) สะนัดอ่ืนน้ันมหี น่งึ สะนัดหรือมากกวา

175บทที่ 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ตามหลักวชิ าการ หะดีษมุเศาะหฺหัฟ คือ หะดีษท่ีมีการเปล่ียนตัวอักษรในสะนัดหรือใน มะตัน ซ่งึ เปน การรายงานทีไ่ มเหมือนกับการรายงานของผษู ิเกาะฮฺ(1) หะดีษในลักษณะน้ีมิใชเปนการขัดแยงกันเหมือนกับหะดีษชาซซ่ึงมี ผูรายงานสองคนไดรายงานขัดแยงกัน แตเปนการเปล่ียนตัวอักษรเพียงหนึ่งตัว เทา น้นั สวนคําของมนั ยงั เหมอื นเดมิ ไมเ ปลีย่ นเปน คําอ่ืน การตัศหฟี สามารถเกดิ ขึ้นไดท้งั ในสะนดั และในมะตนั การตัศหีฟในสะนัด หมายถึง การเปลี่ยนตัวอักษรของชื่อผูรายงาน หะดีษ สวนการตัศหีฟในมะตันก็ หมายถงึ การเปล่ยี นตวั อกั ษรของตัวบทหะดษี (2) 2. ชนดิ และตัวอยางหะดษี มเุ ศาะหฺหฟั หะดีษมุเศาะหฺหัฟมี 2 ชนิด คือ มุเศาะหฺหัฟในสะนัดและมุเศาะหฺหัฟใน มะตัน ชนิดที่ 1 มุเศาะหฺหฟั ในสะนดั ตวั อยา ง ‫ ﻋﻦ ﺃﰊ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻟﻌ ّﻮﺍﻡ ﺑﻦ ﻣﺮﺍﺟﻢ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﺭﻭﺍﻩ ﻋﻦ ﺷﻌﺒﺔ‬ .‫ ﻋﻦ ﻋﺜﻤﺎﻥ ﺍﺑﻦ ﻋﻔﺎﻥ‬،‫ﻋﺜﻤﺎﻥ‬ แปลวา : หะดีษจากชุอฺบะฮฺ จากอัลอัววาม เบ็ญ มุรอญิม จากอะบู อุษมาน จากอษุ มาน เบ็ญ อัฟฟาน(1) (1) อลั เฏาะหานะวีย หนา 40 (2) การพิจารณาถงึ การตศั หีฟหะดีษน้นั ตอ งพิจารณาจากการรายงานของผรู ายงานมใิ ชมาจากการตีพิมพ

176บทท่ี 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน สวนยะหฺยา เบ็ญ มะอีนคราวรายงานหะดีษขางตนกลาววา “หะดีษจาก ชุอฺบะฮฺ จากอัลอัววาม เบ็ญ มุซาญิม จากอะบูอุษมาน จากอุษมาน เบ็ญ อฟั ฟาน” ชนดิ ที่ 2 มุเศาะหฺหัฟในมะตันหะดีษ ตัวอยา ง อะบูบกั ร อัศศูลียค ราวรายงานหะดษี ขางตนกลาววา (( ... ‫)) ﻣﻦ ﺻﺎﻡ ﺭﻣﻀﺎﻥ ﻭﺃﺗﺒﻌﻪ ﺷﻴﺌﹰﺎ ﻣﻦ ﺷﻮﺍﻝ‬ ความวา “ผูใดถือศีลอดในเดือนรอมะฎอนและถือศีลอดอีกบางวันของ เดอื นเชาวลั ” ตวั บทหะดีษที่ถกู ตอ งคอื (( .... ‫ﺘﺎ ﻣﻦ ﺷﻮﺍﻝ‬‫ )) ﻣﻦ ﺻﺎﻡ ﺭﻣﻀﺎﻥ ﻭﺃﺗﺒﻌﻪ ﺳ‬: ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﺃﻳﻮﺏ‬ ความวา : จากอะบูอัยยูบ เลาวา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “ผูใดถือศีลอด ในเดือน เราะมะฎอนและไดถือศีลอดอีกหกวันของเดือนเชาวัล …”(2) สวนสาเหตุที่ทําใหเกิดการตัศฮีฟนั้น คือ มาจากการคัดลอกหะดีษจาก ตําราและการบันทึกโดยไมไดฟง (‫ )ﺗﹶﻠﱢﻘﻲ‬โดยตรงจากอาจารยดวยวิธีการอาน เพราะเหตุนี้ บรรดา อุละมาอฺ หะดีษไดมีการเตือนใหระมัดระวังการปฏิบัติ (1) บนั ทึกโดยมุสลิม : 8/18 (2) บนั ทกึ โดยมุสลมิ : 3/196

177บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน เชนน้ัน โดยกลาววา หามรับหะดีษโดยยึดจากการบันทึก หรือรับหะดีษจาก บุคคลอื่นทรี่ บั หะดษี ดว ยวธิ กี ารคัดลอกจากหนงั สือ 3. ฐานะของหะดษี มุเศาะหฺหัฟ หะดษี มเุ ศาะหหฺ ฟั เปนสวนหนึ่งของหะดษี เฎาะอีฟ เน่ืองจากขาดคุณสมบัติ ของหะดีษมักบูล คอื ความจาํ ไมด ี 4. การนํามาใชเปน หลักฐาน การตัศหีฟท่ีเกิดจากการรายงานท่ีผิดพลาดเปนบางครั้งบางคราวไมมีผล ตอการนําหะดีษมาใชเปนหลักฐานแตอยางใด แตหากการตัศหีฟน้ันเกิดจาก การผิดพลาดบอยคร้ังไมอนุญาตนํามาใชเปนหลักฐาน เวนแตมีหะดีษอื่นระบุ อยางชัดเจนของการตัศหีฟไมวาในสะนัดหรือในมะตัน หะดีษอ่ืนนั้นมีฐานะ เดียวกนั หรอื เหนอื กวา หนงึ่ สะนัดหรือมากกวา 5. ตาํ ราทเ่ี ก่ียวของ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺪﺍﺭﻗﻄ ّﲏ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺘﺼﺤﻴﻒ‬.1 ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﳋ ﹼﻄﺎ ّﰊ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺇﺻﻼﺡ ﺧﻄﺄ ﺍﶈﺪﺛﲔ‬.2 ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﰊ ﺃﲪﺪ ﺍﻟﻌﺴﻜﺮ ّﻱ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺗﺼﺤﻴﻔﺎﺕ ﺍﶈﺪﺛﲔ‬.3 ชนิดที่ 7 หะดษี มุหรั รอฟ หะดีษเฎาะอีฟท่ีมีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําเนื่องจาก ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด ใ น ก า ร ร า ย ง า น ห ะ ดี ษ ทํ า ใ ห เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ส ร ะ เ รี ย ก ว า หะดีษมุหรั รอ ฟ

178บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 1. นิยาม ตามหลกั ภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﳏﺮﻑ‬มาจากรากคํา “‫ ”ﺣ ﱠﺮﻑ ﱢﳛﺮﻑ ﲢﺮﻳﻔﹰﺎ‬แปลวา เปล่ียนแปลง หมายถึง เปลีย่ นแปลงสระ ตามหลักวชิ าการ หะดีษมหุ ัรรอ ฟ คอื หะดีษที่มีการเปลยี่ นแปลงสระไมเปลยี่ นตวั อกั ษร(1) การตะหรฺ ีฟมที ง้ั ในสะนัดและในมะตัน 1. การตะหรฺ ฟี ในสะนดั หมายถึง เปลีย่ นสระของชอื่ ผูรายงานหะดษี 2. การตะหรฺ ีฟในมะตัน หมายถงึ เปล่ียนสระของตัวบทหะดษี (2) 2. ชนิดและตัวอยา งหะดีษมุหัรรอฟ หะดษี มุหัรรอฟมี 2 ชนดิ ชนิดที่ 1 การตะหฺรีฟในสะนัด เชน ผูรายงานชื่อ ‫ َﻋِﻘْﻴﻞ‬เปลี่ยนเปน ‫ُﻋﹶﻘْﻴﻞ‬ จาก‫ َﺣ ْﻤٌﺮ‬เปลยี่ นเปน ‫ َﺣ ْﻤ ٌﺪ‬เปนตน ชนดิ ที่ 2 การตะหรฺ ีฟในมะตนั ตัวอยา ง (( ‫ )) ﺭﻣﻲ ﹸﺃَﺑﻲّ ﻳﻮﻡ ﺍﻷﺣﺰﺍﺏ‬: ‫ﻋﻦ ﺟﺎﺑﺮ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬ แปลวา : จากญาบิร กลาววา “อุบยั ยิงธนูในสงครามอัลอะฮฺซาบ”(1) (1) ดู อัตตะหานะวีย หนา 41 (2) เปล่ยี นในท่ีน่ีหมายถงึ เปลี่ยนจากสระขา งบนเปน สระขางลาง หรือจากสระขางลางเปนสระขางหนา (1) บนั ทึกโดยมุสลิม : 7/22

179บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน หะดษี ท่ถี กู ตองไดร ายงานตวั บทหะดษี กลาววา (( ‫)) ﺭﻣﻲ ﺃ ْﰊ ﻳﻮﻡ ﺍﻷﺣﺰﺍﺏ‬ ความวา : “พอของญาบริ ยิงธนใู นสงครามอลั อะฮฺซาบ” การเปล่ียนแปลงในลกั ษณะเชน น้เี ปน การเปล่ยี นเฉพาะสระเทานั้น สวนคํา ยังเขียนในรูปเดิมของมันครบทุกตัวอักษร ไมขาดตกบกพรองแมแตตัวอักษร เดยี ว 3. ฐานะของหะดษี มุหรั รอ ฟ หะดีษมุหัรรอฟเปนสวนหน่ึงของหะดีษเฎาะอีฟ เน่ืองจากขาดคุณสมบัติ ของหะดษี เศาะหีหฺ คือ ความสบั สน 4. การนาํ มาใชเปนหลักฐาน หะดีษมหุ ัรรอ ฟเหมอื นกับหะดีษมเุ ศาะหฺหัฟทุกประการ 5. ตําราทเ่ี กี่ยวขอ ง ไมม หี นงั สอื ท่ีแตงข้ึนเฉพาะหะดีษมุหรั รอ ฟ ระดบั ท่สี ่ี หะดษี เฎาะอฟี ญดิ ดัน หะดีษระดับน้ีมีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงคุณธรรมของนักรายงาน ซ่ึงมีลักษณะเปนคนฟาสิก ถูกกลาวหาวาเปนคนโกหก มัตรูก มุนกัร เฎาะอีฟญิดดนั

180บทที่ 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 1. นิยาม หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน คือ หะดีษท่ีรายงานโดยผูรายงานที่มีลักษณะตาง ๆ ดังที่กลาวมาขางตน เชน มัตรูก มุนกัร ถูกกลาวหาวาเปนคนโกหก ฟาสิก และเฎาะอีฟญิดดัน 2. ตวั อยางหะดษี เฎาะอฟี ญดิ ดนั หะดีษเฎาะอีฟญิดดันมีมากมาย แตท่ีจะยกตัวอยางเพียงบางหะดีษ เทานั้น เชน ‫ﻋﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﷲ ﺑﻦ ﻋﻤﺮ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻤﺎ ﻋﻦ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬ ‫ )) ﻣﺎ ﳝﻨﻊ ﺃﺣﺪﻛﻢ ﺇﺫﺍ ﻋﺴﺮ ﻋﻠﻴﻪ ﺃﻣﺮ ﻣﻌﻴﺸﺘﻪ ﺃﻥ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬ ،‫ ﺑﺴﻢ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﻧﻔﺴﻲ ﻭﻣﺎﱄ ﻭﺩﻳﲏ‬: ‫ﻳﻘﻮﻝ ﺇﺫﺍ ﺧﺮﺝ ﻣﻦ ﺑﻴﺘﻪ‬ ‫ ﻭﺑﺎﺭﻙ ﱄ ﻓﻴﻤﺎ ﻗﺪﺭ ﱄ ﺣﱴ ﻻ ﺃﺣﺐ‬،‫ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺭﺿﲏ ﺑﻘﻀﺎﺋﻚ‬ (( ‫ﺗﻌﺠﻴﻞ ﻣﺎ ﺃﺧﺮ ُﺕ ﻭﻻ ﺗﺄﺧﲑ ﻣﺎ ﻋﺠﻠ ُﺖ‬ ความวา : จากอับดุลเลาะ เบ็ญอุมัร  เลาจากทานนบี  ซ่ึงทานกลาว วา “ไมมีสิ่งใดกีดกั้นคนใดในหมูพวกเจา เมื่อรูสึกยุงยากตอการ งานใหเขาอานดุอาอฺในขณะท่ีจะกาวเทาออกจากบาน “ ‫ﺑﺴﻢ ﺍﷲ‬ ‫ ﻭﺑﺎﺭﻙ ﱄ ﻓﻴﻤﺎ‬،‫ ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺭﺿﲏ ﺑﻘﻀﺎﺋﻚ‬،‫ﻋﻠﻰ ﻧﻔﺴﻲ ﻭﻣﺎﱄ ﻭﺩﻳﲏ‬ ‫(” ﻗﺪﺭ ﱄ ﺣﱴ ﻻ ﺃﺣﺐ ﺗﻌﺠﻴﻞ ﻣﺎ ﺃﺧﺮﺕ ﻭﻻ ﺗﺄﺧﲑ ﻣﺎ ﻋﺠﻠﺖ‬1) (1) บันทึกโดยอิบนุอซั ซนุ นีย หนา 321 หมายเลขหะดีษ 352

181บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย กลาววา หะดีษน้ีเปนหะดีษเฆาะรีบ บันทึก โดย อิบนุ อัสสุนนีย ซึ่งในสะนัดของหะดีษมีผูรายงานทานหน่ึงช่ือวา อีซา เบ็ญ มยั มนู มีสถานะเปนคนเฎาะอีฟญดิ ดัน (ออนมาก) 3. ฐานะของหะดษี เฎาะอีฟญดิ ดัน หะดษี เฎาะอีฟญดิ ดันมีฐานะสงู กวาหะดีษเมาฎอฺและตํ่ากวาหะดีษเฎาะอีฟ (หะดษี เฎาะอฟี ธรรมดา) เนือ่ งจากผูรายงานในสะนัดมสี ถานภาพทตี่ ่ํากวา 4. สถานะของหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน หะดีษเฎาะอีฟญิดดันไมสามารถใหการสนับสนุนหะดีษเฎาะอีฟท่ีมาจาก สาเหตุความบกพรองในกระบวนการรายงานและความบกพรองในแงความจํา ของผูรายงาน และยังไมสามารถรับการสนับสนุนจากสายรายงานอ่ืนอีกดวย แมวามีกระแสรายงานมากมายก็ตาม เนื่องจากความบกพรองของผูรายงาน หะดษี นี้เก่ยี วของกบั คณุ ธรรม(1) 5. การรายงานหะดษี เฎาะอีฟญดิ ดนั ตามทศั นะของอลุ ะมาอหฺ ะดีษไมอ นุญาตใหรายงานหะดีษเฎาะอีฟญิดดันที่ เก่ียวของกับเร่ืองศาสนา เวนแตจะระบุระดับของหะดีษอยางชัดเจนหลังจาก กลาวหะดีษ 6. การนาํ มาใชเปนหลักฐาน ตามทัศนะของบรรดาอุละมาอฺไมอนุญาต (หะรอม) นําหะดีษเฎาะอีฟญิด ดันมาใชเปนหลักฐานและนํามาปฏิบัติตามในเรื่องตาง ๆ ของศาสนาอิสลาม (1) คุณธรรมเปนเงอ่ื นไขทสี่ ําคญั มากสําหรับวิชาการอิสลามในทกุ ๆ สาขาวิชา โดยเฉพาะอยางย่ิงวิชาการหะดษี และตฟั ซรี ซ่ึงมีความเก่ยี วขอ งกับคาํ ดาํ รสั ของอัลลอฮฺและคํากลาวของรสลู ลุ ลอฮฺ 

182บทที่ 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน เชน เรื่องอะกีดะฮฺ เรื่องอิบาดะฮฺ เร่ืองอะฮฺกาม เร่ืองอีมาน เร่ืองคุณคาของ อะมา ล เรือ่ งการสนบั สนนุ ใหท ําความดแี ละหามปรามการทําความช่ัว เปน ตน อยางไรก็ตาม เม่ือมีการขัดแยงกันระหวางหะดีษเฎาะอีฟญิดดันกับหะดีษ เศาะหีหฺหรือหะดีษหะซัน จะตองปฏิบัติตามหะดีษศอหีหฺและหะดีษหะซัน เชน หะดีษของอิบนอุ ุมัร และหะดษี อืน่ ๆ ท่มี ีฐานะเดียวกัน ตัวอยา ง ‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬: ‫ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﻤﺮ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻤﺎ ﻗﺎﻝ‬ (( ‫ )) ﺍﺫﻛﺮﻭﺍ ﳏﺎﺳﻦ ﻣﻮﺗﺎﻛﻢ ﻭﻛﻔﻮﺍ ﻋﻦ ﻣﺴﺎﻭﻳﻬﻢ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ‬ ความวา : จากอิบนุอุมัร ‫ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻢﺍ‬เลาวา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “พวกเจาจงกลาวสิ่งท่ีดี ๆ ตอคนตายในหมูพวกเจา และ จงปกปด สิ่งช่วั รายทพี่ วกเขาไดกระทําไว”(1) หะดีษบทนี้เปนหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน เนื่องจากมีผูรายงานคนหนึ่งช่ือ อิ มรอน เบ็ญ อัลหุศ็อยนฺ อัลมักกีย อิมามอัลบุคอรียกลาววา “มีสถานภาพเปน คนมุนกัรหะดีษ” และหะดีษบทน้ีขัดแยงกับหะดีษจากอาอิชะฮฺ ‫ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ‬ และจากอานสั เบญ็ มาลกิ  1) หะดษี จากอาอชิ ะฮฺ ‫ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ‬กลา ววา รสูลลุ ลอฮฺ  กลาววา (( ‫)) ﻻ ﺗﺴﺒﻮﺍ ﺍﻷﻣﻮﺍﺕ ﻓﺈﻧﻬﻢ ﻗﺪ ﺃﻓﻀﻮﺍ ﺇﱃ ﻣﺎ ﻗﺪﻣﻮﺍ‬ (1) บันทึกโดยอัตตริ มซิ ีย : 3/330

183บทที่ 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ความวา : “พวกเจาอยาสาปแชงคนที่เสียชีวิตไปแลว เพราะพวกเขาได จากในสง่ิ ท่ีพวกเขาไดก อไว”(2) 2) หะดีษจากอะนัส เบญ็ มาลกิ  กลา ววา ‫ ﻓﻘﺎﻝ ﺍﻟﻨﱯ ﺻـﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬،‫ﻣﺮﻭﺍ ﲜﻨـﺎﺯﺓ ﻓﺄﺛﻨﻮﺍ ﻋﻠﻴﻬﺎ ﺧﲑﹰﺍ‬ ‫ ﻓﻘﺎﻝ‬،‫ ﰒ ﻣﺮﻭﺍ ﺑﺄﺧﺮﻯ ﻓﺄﺛﻨﻮﺍ ﻋﻠﻴﻬﺎ ﺷﺮﹰﺍ‬.‫ )) ﻭﺟﺒ ْﺖ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ‬ ‫ ﻭﺟﺒ ْﺖ ﻓﻘﺎﻝ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﺍﳋﻄﺎﺏ‬: ‫ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬ ‫ ﻫﺬﺍ ﺃﺛﻨﻴﺘﻢ ﻋﻠﻴﻪ ﺧﲑﹰﺍ‬: ‫ ﻣﺎ ﻭﺟﺒﺖ؟ ﻗﺎﻝ‬: ‫ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬ ‫ ﺃﻧﺘﻢ‬،‫ ﻭﻫﺬﺍ ﺃﺛﻨﻴﺘﻢ ﻋﻠﻴﻪ ﺷﺮﹰﺍ ﻓﻮﺟﺒ ْﺖ ﻟﻪ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬،‫ﻓﻮﺟﺒ ْﺖ ﻟﻪ ﺍﳉﻨﺔ‬ .(( ‫ﺷﻬﺪﺍﺀ ﺍﷲ ﰲ ﺍﻷﺭﺽ‬ ความวา : พวกเขา (บรรดาเศาะหาบะฮฺ) ไดเดินผานมายัต มีบางทานได กลาวสรรเสริญตอมายัต ดังน้ัน รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “แนแท เปนเชนนั้นจริง” และพวกเขาเดินผานมายัตอื่นอีก มี (เศาะ หาบะฮฺ)บางทาน กลาวตําหนิตอมายัตท่ีอยูในสุสานนั้น ทานนบี  กลาววา “แนแทเปนเชนนั้นจริง” อุมัร เบ็ญ อัลคอฏฏอบถาม วา ท่ีเปนเชนนั้นจริงคืออะไร? ทานนบีตอบวา “คนที่พวกเจากลาว สรรเสริญ เขามีสิทธิ์ท่ีจะเขาสวรรค และคนท่ีพวกเจากลาวตําหนิ พวกเขานั้นก็มีสิทธตกนรก พวกเจาก็เปนพยานของอัลลอฮฺใน พ้ืน แผนดนิ นี้”(3) (2) บนั ทึกโดยอัลบคุ อรีย : 3/258, อนั นะสาอีย : 4/53 และอลั บยั ฮะกีย : 4/126 (3) บนั ทึกโดยอัลบคุ อรีย : 3/228, มุสลิม : 2/655 และอลั บัยฮะกยี  : 4/126

184บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 7. ชนดิ ของหะดษี เฎาะอีฟญดิ ดัน หะดษี เฎาะอฟี ญิดดันแบง ออกเปน 2 ชนดิ ชนดิ ท่ี 1 หะดษี มนุ กัร ชนิดที่ 2 หะดษี มตั รูก ชนดิ ท่ี 1 หะดีษมนุ กัร หะดีษท่ีมีสาเหตุมาจากความบกพรองของผูรายงานในแงคุณธรรมที่มี ลักษณะคือเฎาะอีฟญิดดัน มุนกัรหะดีษ ฟสกฺ ฟุฮฺชู เฆาะลัฏ กัษเราะฮฺฆอฟ ละฮฺ และกัษเราะฮฺเอาฮามเรยี กวา หะดษี มนุ กัร 1. นิยาม หะดีษมุนกัร คือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานที่เฎาะอีฟขัดแยงกับการ รายงานของผูรายงานที่ษิเกาะฮฺ(1) หรือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานเปนคนฟา สกิ และอ่นื ๆ 2. ตวั อยางหะดีษมุนกัร 1) หะดษี จากอะบสู ะอดี อัลคุดรยี   กลาววา รสูลลุ ลอฮฺ  กลา ววา ‫ ﻓﺈﻥ ﺫﻟﻚ ﻻ ﻳﺮ ّﺩ‬،‫)) ﺇﺫﺍ ﺩﺧﻠﺘﻢ ﻋﻠﻰ ﻣﺮﻳﺾ ﻓﻨﻔﺴﻮﺍ ﻟﻪ ﰲ ﺃﺟﻠﻪ‬ .(( ‫ﺷﻴﺌﹰﺎ ﻭﻳﻄﻴﺐ ﻧﻔﺴﻪ‬ (1) อัลเฏาะหานะวยี  หนา 42

185บทท่ี 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน ความวา : “เม่ือพวกเจาเขาเย่ียมผูปวย ก็จงทําใหเขามีความสบายใจ ในอะญัลของเขา เน่อื งจากส่งิ น้ันไมสามารถปฏเิ สธไดแมแตนิด เดียว และจงปะน้าํ หอมบนตวั ของเขา”(2) หะดษี บทน้ีเปนหะดีษมุนกัร เนื่องจากมีผูรายงานทานหนึ่งชื่อวา มูซา เบ็ญ มุฮมั มัด เบ็ญ อิบรอฮมี อตั ตยั มีย มีสถานภาพเปน คนมุนกรั หะดีษ 2) จากอิบนอุ ุมรั  กลา ววา รสูลลุ ลอฮฺ  กลา ววา (( ‫))ﺍﺫﻛﺮﻭﺍ ﳏﺎﺳﻦ ﻣﻮﺗﺎﻛﻢ ﻭﻛﻔﻮﺍ ﻋﻦ ﻣﺴﺎﻭﻳﻬﻢ‬ ความวา : “พวกเจาจงพูดถึงส่ิงดี ๆ ในตัวผูตาย และจงปกปดสิ่งชั่วรายที่ เขาไดกอ ไว”(1) หะดีษบทน้ีเปนหะดีษมุนกัร (เฎาะอีฟญิดดัน) เนื่องจากในสะนัดมี ผูรายงานทานหนึ่งชื่อ อิมรอน เบ็ญ หุศัยนฺ อัลมักกีย ซ่ึงอัลบุคอรีย กลาววา : มุนกัรหะดีษ 3. ฐานะของหะดีษมุนกรั หะดีษมุนกัรเปนสวนหน่ึงของหะดีษเฎาะอีฟยิดดัน(2) และหะดีษชนิดนี้มี ฐานะ ตํา่ กวา หะดีษมัตรกู (2) บนั ทึกโดยอัตตรั มซิ ยี  : 4/412 อะบอู ีซากลาววา หะดษี นี้เปนหะดีษเฆาะรบี (1) บนั ทึกโดยอัตตริ มซิ ีย : 3/330 (2) อลุ ะมาอฺบางทา นมคี วามเหน็ วา หะดษี มุนกรั เปนสว นหนึ่งของหะดษี เฎาะอีฟโดยไมไดแยกระหวางหะดษี เฎาะ อฟี ธรรมดากับหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน ซ่งึ เปนการพิจารณาทร่ี ะดับของหะดีษเทาน้นั โดยไมไดพจิ ารณาท่ี สถานภาพของผูรายงานหะดีษแตอ ยางใด

186บทท่ี 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน 4. การนํามาใชเปนหลักฐาน อุละมาอฺหะดีษมีความเห็นวา ไมอนุญาตใหรายงานหะดีษมุนกัรใหสังคม ฟงนอกจากจะระบุสถานภาพของหะดีษอยางชัดเจน และไมอนุญาตใหนํามาใช เปน หลกั ฐานในเรอื่ งตา ง ๆ ทเ่ี กี่ยวของกบั ศาสนา มีการเขาใจผิดเก่ียวกับระดับของหะดีษมุนกัรวา เปนหะดีษเฎาะอีฟที่ สามารถนํามาใชเปนหลักฐานในสวนที่เปนหุกมสุนัต เชน การละหมาดสุนัต การถือศีลอดสุนัต การทําความดี และการหามปรามทําความชั่ว เปนตน จาก นิยามขางตนพอสรุปไดวา หากพิจารณาลักษณะเดิมของสายรายงานท่ีเปน เฎาะอีฟ หรือการรายงานของคนเฎาะอีฟท่ีไมขัดแยงกับการรายงานของคน ษิเกาะฮฺ หะดีษในลักษณะนี้จะถือเปนหะดีษเฎาะอีฟ แตการพิจารณาของการ เปนหะดีษมุนกัรน้ันก็ตองพิจารณาระหวางการรายงานของคนเฎาะอีฟท่ีขัดแยง กับการรายงานของคนษิเกาะฮฺ ดังน้ัน การตัดสินหะดีษเปนหะดีษมุนกัรจะตอง พิจารณาจํานวนสายรายงานที่มีมากกวาหน่ึงสายหรือสายรายงานท่ีมาจากการ รายงานของคนฟาสกิ เปนตน ชนิดท่ี 2 หะดีษมตั รูก หะดีษที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองของผูรายงานในแงคุณธรรมคือ ถูก กลาวหาวาเปนคนโกหก มัตรูกหะดีษ และซาฮิบหะดีษ หะดีษในลักษณะน้ี เรยี กวา หะดษี มตั รูก 1. นยิ าม หะดีษมัตรูก คือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานที่มีสถานภาพเปนคนถูก กลาววา เปน คนโกหก หรือซาฮบิ หะดีษ หรอื มตั รกู หะดีษ(1) (1) อัลศอนอานีย หนา 252

187บทท่ี 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน จากนยิ ามขางตน พอสรุปสาระสาํ คญั เกย่ี วกับหะดีษมัตรูก 2 ประการ หนึ่ง ลกั ษณะของผูร ายงานหะดีษมตั รกู 1. ผูที่ทราบกันอยางแพรหลายวาเปนคนที่ชอบพูดโกหก(2) แตไมเคย ปรากฏการโกหกตอหะดษี นะบะวยี แ มแ ตนดิ เดียว 2. ผทู ี่ถกู กลา ววาเปน คนโกหกตอหะดีษนะบะวยี  สอง การเรยี กชอื่ หะดษี เปน หะดษี มัตรกู การเรยี กหะดีษมตั รกู น้ันตอ งประกอบดวยเงื่อนไข 2 ประการคอื 1. มีการรายงานหะดษี จากผรู ายงานเพยี งคนเดียวเทาน้นั 2. หะดีษที่ถูกรายงานน้ันมีเน้ือหาที่ขัดแยงกับหลักการท่ัวไปของ บทบญั ญัติ(3) อลุ ะมาอบฺ างทา นเรยี กหะดีษมตั รกู วา “หะดษี มตั รหู ฺ”(4) 2. ตัวอยา งหะดษี มัตรกู 1. หะดีษจากอัมรฺ เบ็ญ ชัมมัร อัลุอฺฟย อัลกูฟย อัลชีอีย จากญาบิร จาก อะบอู ัลฏฟ ย ลฺ จากอะลีและอมั รฺ ทง้ั สองทา นน้กี ลา ววา ‫ ﻋﻦ‬،‫ ﻋﻦ ﺟﺎﺑﺮ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻤﺮﻭ ﺑﻦ ﴰﺮ ﺍﳉﻌﻔﻲ ﺍﻟﻜﻮﰲ ﺍﻟﺸﻴﻌﻲ‬ ‫ ﻛﺎﻥ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬: ‫ ﻋﻦ ﻋﻠﻲ ﻭﻋﻤﺮﻭ ﻗﺎﻻ‬،‫ﺃﰊ ﺍﻟﻄﻔﻴﻞ‬ ،‫ﻭﺳﻠﻢ ﻳﻘﻨﺖ ﰲ ﺍﻟﻔﺠﺮ ﻭﻳﻜﱪ ﻳﻮﻡ ﻋﺮﻓﺔ ﻣﻦ ﺻﻼﺓ ﺍﻟﻐﺪﺍﺓ‬ .‫ﻭﻳﻘﻄﻊ ﺻﻼﺓ ﺍﻟﻌﺼﺮ ﺃﺧﺮ ﺃﻳﺎﻡ ﺍﻟﺘﺸﺮﻳﻖ‬ (2) เปน ท่ีรกู นั ในสงั คมวา เขาเปน ทช่ี อบพดู โกหก (3) อิบนุ อลั เศาะลาหฺ หนา 43 (4) อัลศอนอานีย หนา 253

188บทท่ี 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน ความวา : “ทานนบี  อานกุนูตในละหมาดซุบฮฺ และทานกลาวตักบีรใน วันอะรอฟาตต้ังแตละหมาดซุฮรฺและสิ้นสุดเวลาละหมาดอัศรฺ วนั สดุ ทายของวันตัชรกี ”(1) อิมามอันนะสาอียและอิมามอัดดารอกุฏนียกลาววา จากอัมรฺ เบ็ญ ชัมมัร ทานเปนผรู ายงานมัตรกู (2) 2. จากอับดุลเลาะ เบ็ญ มสั อูด  เลาจากทานนบี  กลาววา ‫ﻋﻦ ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺑﻦ ﻣﺴﻌﻮﺩ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻋﻦ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬ .((‫ ))ﻣﻦ ﻋﺰﻯ ﻣﺼﺎﺑﺎ ﻓﻠﻪ ﻣﺜﻞ ﺃﺟﺮﻩ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬ ความวา : “ผูใดท่ียกยองในความถูกตองแลว เขาจะไดรับผลบุญเทากับ ผลบญุ ของเขา”(3) หะดีษบทน้ีเปนหะดีษมัตรูก เน่ืองจากในสายรายงานของหะดีษมี ผูรายงานทานหนึ่งมีสถานภาพเปนคนที่ถูกกลาวหาวาเปนโกหกคือ อะลี เบ็ญ อาเศม็ (4) (1) อซั ซะฮะบยี  : 2/268 (2) หนังสอื เดิม (3) บันทกึ โดยอัลตริ มิซยี  : 3/376 และอัลบยั ฮะกีย : 4/49 (4) ดู มุฮัมมดั เบ็ญ อลั ลาน : 4/137

189บทที่ 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 3. ฐานะของหะดีษมัตรกู หะดีษมัตรูกเปนสวนหนึ่งของหะดีษเฎาะอีฟญิดดันมีฐานะต่ํากวาหะดีษ มุนกรั และสงู กวา หะดษี เมาฎอ ฺ 4. การนาํ มาใชเ ปนหลกั ฐาน การนําหะดีษมัตรูกมาใชเปนหลักฐานเหมือนกับการนําหะดีษมุนกัรเปน หลักฐาน ระดบั ทหี่ า หะดีษเมาฎอ ฺ หะดีษท่ีมีสาเหตุมาจากความบกพรองของผูรายงานในแงคุณธรรม คือ กลาวเท็จตอทานนบีและหะดีษของทาน หะดีษในลักษณะนี้เรียกวา หะดษี เมาฎอ ฺ 1. นยิ าม ตามหลักภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﻣﻮﺿﻮﻉ‬เปนคํานามในรูปมัฟอูล มาจากรากศัพทของคํา ‫ﻭﺿﻊ‬ ‫ ﻳﻀﻊ ﻭﺿﻌﹰﺎ‬แปลวา กุ หรือประดิษฐ หรือแตงข้ึนมา ดังน้ัน คําวา “เมาฎอฺ” หมายถึง สิ่งทีถ่ ูกกขุ น้ึ มา ตามหลกั วิชาการ หะดีษเมาฎอฺ คือ หะดีษทีอุปโลกนขึ้นมาแลวพาดพิงไปยังทานนบี  ไม วา ดวยความต้งั ใจหรือเกิดจากการผิดพลาด(1) อุลามาอฺบางทาน กลาววา ควรแยกระหวางการโกหกโดยต้ังใจกับการ ผิดพลาด กลาวคือ ส่ิงที่กุข้ึนมาโดยเจตนาโกหกแลวพาดพิงไปยังทานนบี  (1) อสั สุยฏู ยี  : 1/273

190บทท่ี 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน เรียกวา หะดีษเมาฎอฺสวนส่ิงพาดพิงไปยังทานนบี  เน่ืองจากไมไดตั้งใจหรือ เกิดจากการผิดพลาดเรียกวา หะดีษบาติล(2) และสิ่งท่ีพาดพิงไปยังทานนบี  จากคําพูดหรือการกระทําของใครคนหน่ึงคนใดนั้นนาจะเรียกวา ลาอัศลาละฮฺ (ไมร ูทมี่ าท่ไี ป) อุละมาอฺบางทานไดอธิบายเพ่ิมเติมกลาววา ทุกอยางท่ีพาดพิงไปยัง เศาะหาบะฮฺและตาบิอีน แตมีขอสังเกตวา เม่ือมีการพูดน้ันถูกกลาวไวในลักษณะ อิสระแลวความหมายของมันจะเจาะจงเฉพาะการโกหกตอทานนบี  เทานั้น สวนคําพูดที่ถูกกลาวในลักษณะเงื่อนไข คํานี้มักจะใชกับเศาะหาบะฮฺเทานั้น เชน เมาฎอ ฺตอ อบิ นอุ ับบาสและตอ ตาบิอีน เชน เมาฎอ ตฺ อ มญุ าฮดิ (3) เปนตน โดยทัว่ ไปแลวหะดีษในระดับนี้จะมีชือ่ เรยี กทห่ี ลากหลาย เชน หนงึ่ หะดษี เมาฎอฺ (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﻮﺿﻮﻉ‬ สอง หะดษี บาติล (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﻟﺒﺎﻃﻞ‬ สาม หะดีษลาอัศลาละฮฺ (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻻ ﺃﺻﻞ ﻟﻪ‬ 2. ทม่ี าของหะดีษเมาฎอฺ จากนิยามขา งตนสามารถทราบไดวา ทมี่ าของหะดษี เมาฎอฺมี 2 แหลง หนงึ่ ผูกุหะดีษไดแตงสํานวนข้ึนมาจากตัวเขาเอง แลวพาดพิงไปยัง ทานนบี  หรือพาดพิงไปยงั เศาะหาบะฮฺ หรอื พาดพงิ ไปยงั ตาบอิ ีน (2) อุมรั หะสัน ฟุลลาตะฮฺ : 1/100 (3) อะบชู ุฮบฺ ะฮฺ หนา 14


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook