Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มุศเฏาะละหฺอัลหะดีษ โดย ผศ. ดร. อับดุลเลาะ การีนา

มุศเฏาะละหฺอัลหะดีษ โดย ผศ. ดร. อับดุลเลาะ การีนา

Published by Ismail Rao, 2021-01-22 16:17:09

Description: มุศเฏาะละหฺอัลหะดีษ
โดย ผศ. ดร. อับดุลเลาะ การีนา

https://drive.google.com/file/d/1d2cezUFpkyssBWiJx43KgylE1IwQSjdk/view?usp=sharing

Search

Read the Text Version

41บทที่ 5 สะนัดและมะตนั 3. ชัยคฺซะกะริยา กลาววา สะนัดหรืออิสนาดมักจะถูกใชในความหมาย เดียวกัน ในกลุมของนักหะดีษ(5) ท้ังสองคํานี้จะใชเปนคําตัดสินช้ีขาดตอระดับ ของหะดีษ เพอื่ แยกระหวางหะดษี ทถี่ ูกตองและหะดษี ท่ีไมถ ูกตอง จากทัศนะของอุละมาอฺขางตนพอสรุปไดวา สะนัดหรืออิสนาด หมายถึง สายรายงานเพ่อื นําสตู ัวบทหะดษี ที่สามารถจะพิสจู นเ ปนหะดีษทแ่ี ทจ รงิ หรือไม 2. ความประเสรฐิ ของสะนดั สะนัดหรืออิสนาดมีความประเสริฐท่ีเดนชัด เน่ืองจากดวยสะนัดสามารถ ปกปองบทบัญญัติจากการปะปน เบี่ยงเบน อุตริกรรม และการโกหกของผูหนึ่ง ผูใดที่ไมประสงคดีตออัลอิสลาม การพูดถึงเร่ืองสะนัดไมเคยปรากฏมากอนใน ศาสนาอ่ืนๆ เวนแตในอิสลามเทาน้ัน บรรดาอุละมาอฺไดสาธยายถึงความ ประเสริฐของสะนัดไวมากมายและ ยังไดใหความสําคัญตอสะนัดมาก ซึ่งจะขอ กลาวในทนี่ ้ีเพยี งบางสว นเทานัน้ 1. อิมามอับดุลเลาะ เบ็ญ อัลมุบารอก กลาววา “อิสนาดเปนสวนหน่ึง ของศาสนา หากไมมีอิสนาดแลว ผูใดกส็ ามารถจะกลา วถึงเรื่องศาสนาตามความ ตองการของตนเอง”(1) แมการกลาวเท็จตอรสูลุลลอฮฺ  ดวยวิธีการพาดพิง หะดีษถงึ ทานก็ตาม 2. อิมามอัลฮากิมไดอธิบายวา “หากไมมีกลุมหน่ึงในจํานวนอุละมาอฺหะ ดีษท่ีปกปองอิสนาด แนนอนความเขมแข็งของอิสลามจะไมย่ังยืนจนถึงทุกวันนี้ ทั้งยังเปนการเปดชองทางใหแกกลุมมุลฮิด (พวกปฏิเสธศรัทธา) และ (5) ดู หนงั สอื เดิม (1) อกั รอม ฎยิ าอฺ อลั อุมะรยี  หนา 27

42บทท่ี 5 สะนดั และมะตนั นักอุปโลกนในเรื่องศาสนาไดทําการกุหะดีษขึ้นมาอยางสะดวกสบาย และ สับเปลย่ี นอสิ นาดหะดษี ไดสะดวกขน้ึ ”(2) 3. อมิ ามอชั ชาฟอีย กลา ววา “เปรียบเทียบผูเรียนหะดีษโดยไมมีสะนัดนั้น เสมอื นกบั ผูท่ีตัดไมใ นเวลากลางคนื บางทีเขาจะตดั แคยอดไมอยา งเดียวกไ็ ด”(3) 4. อิมามอะฮฺมัด เบ็ญฮันบัลกลาววา “อิสนาดเปนแนวทางของบรรดา อุละมาอฺสะลัฟ”(4) เพราะพวกเขายอมรับหะดีษดวยวิธีการพิจารณาสะนัดและ องคประกอบของ สะนัดเปนหลัก หากไมสามารถยืนยันในความถูกตองของ สะนดั กจ็ ะไมม กี ารรับฟงหะดีษตลอดจนใหก ารยอมรบั หะดษี โดยเดด็ ขาด ดังน้ัน อิสนาดท่ีมาจากการรายงานของคนซีเกาะห (เช่ือถือได) จนถึง ทานนบีน้ันเปนจุดเดนของประชาชาติอิสลามและความแตกตางจากบรรดา ประชาชาติทั้งหมดอีกดวย การรายงานดวยวิธีการสะนัดและการรับคําบอกเลา ของคนในแตละชวงโดยการถายทอดจากคนแรกจนถึงคนสุดทายยังไมมีใน ประชาชาติกอน ๆ แตเน่ืองดวยวิธีการอยางนี้ทําใหการรับขาวหรือเร่ืองเลาขาน ถกู ตอ งและชัดเจนยิ่งขึ้นอีกดวย 3. รนุ ของผรู ายงาน สะนดั หรืออิสนาดของหะดีษประกอบดวยผรู ายงานจากหลายรุนในทุกยุค ทุกสมัยต้ังแตสมัยเศาะหาบะฮฺจนถึงสมัยของการบันทึกหะดีษ แตท่ีมีชื่อเสียง มากที่สุดและเปนท่ีรูจักกันอยางแพรหลายมีส่ีรุน(1) ดวยกัน คือ รุนเศาะหาบะฮฺ รุนตาบอิ ีน รุนตาบิอฺ ตาบอิ นี และรนุ อัตบาอฺ ตาบอิ ฺ ตาบิอีน (2) อสั สุยูฏีย : 1/101 (3) อลั ดบุ วะฮาบ อบั ดุลละตฟี หนา 18 (4) ดู หนังสือเดิม (1) อัลอสั กอลานียไดแบง รุนของศอหาบะฮฺออกเปน 12 รุน (ดู : 1/22)

43บทที่ 5 สะนัดและมะตนั รุนที่หนงึ่ รุน เศาะหาบะฮฺ (เร่มิ ตัง้ แตป 10 ถึงป 110 แหง ฮจิ เราะฮศฺ ักราช) 1. ความหมายของเศาะหาบะฮฺ เศาะหาบะฮฺตามหลักภาษาศาสตร เปนอาการนามมาจากคําวา “ ‫َﺻ ِﺤ َﺐ‬ ” เหมือนกับคําวา “ ‫ ” َﺳ ِﻤ َﻊ‬อาจเปนคําพหูพจนและคําเอกพจนก็ได ซึ่งแปลวา เพอ่ื น สหาย อคั รสาวก ผูติดตามหรอื ผูที่เขาใจคนอน่ื ความหมายตามหลักภาษาศาสตรสามารถใชท้ังในลักษณะทั่วไป เชน ใชกับคนท่ีไมใชเปนนบี  และยังสามารถใชในลักษณะเฉพาะเจาะจง เชน ใชกับคนที่เปน ทานนบี  สวนความหมายตามหลักวิชาการนั้นอัลอัสเกาะลานียใหความหมายวา “ผูที่พบเห็นทานนบีมุฮัมมัด  ศรัทธาตอทาน และเสียชีวิตในขณะที่เปน มุสลิม”(2) ในทางตรงกันขามผูใดที่ไมไดพบเห็นและไมไดศรัทธาตอทานนบี ไมเรียกวา เศาะหาบะฮฺ เชนเดียวกันกับบุคคลที่เห็นทานนบีหลังจากทาน เสยี ชวี ติ ไปแลว 2. คณุ ลกั ษณะของเศาะหาบะฮฺ บรรดาเศาะหาบะฮฺเปนคนที่มีคุณธรรม ไมวาพวกเขาไดสัมผัสกับฟตนะฮฺ หรือไมก็ตาม(3) เปนทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญ มีหลักฐานชัดเจนมากมาย สามารถยนื ยัน ในความอะดาละฮฺของบรรดาเศาะหาบะฮฺ ก. อลั ลอฮทฺ รงตรสั ไวว า ‫ ﻭﺍﻟﺴـﺎﺑﻘﻮﻥ ﺍﻷﻭﻟﻮﻥ ﻣﻦ ﺍﳌﻬـﺎﺟﺮﻳﻦ ﻭﺍﻷﻧﺼـﺎﺭ‬ ‫ﻭﺍﻟﺬﻳﻦ ﺍﺑﺘﻌﻮﻫﻢ‬ (2) อัลอัสกอลานีย : 1/4 (3) ดู อัลคอฏีบ อลั บัฆดาดีย หนา 38-39

44บทที่ 5 สะนัดและมะตัน ‫ﺑﺈﺣﺴﺎﻥ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻢ ﻭﺭﺿﻮﺍ ﻋﻨﻪ ﻭﺃﻋﺪ ﳍﻢ ﺟﻨﺎﺕ ﲡﺮﻱ‬  ‫ﻣﻦ ﲢﺘﻬﺎ ﺍﻷﻧﻬﺎﺭ ﺧﺎﻟﺪﻳﻦ ﻓﻴﻬﺎ ﺃﺑﺪﹰﺍ ﺫﻟﻚ ﺍﻟﻔﻮﺯ ﺍﻟﻌﻈﻴﻢ‬ ความวา : “และบรรดาชนรุนแรกจากกลุมมุฮาญิรีนและกลุมอันศอร และผูที่ติดตามพวกเขาดวยความออนโยน ไดรับความชอบ ธรรมจากอัลลอฮฺและพวกเขานอมรับดังกลาว และพระองคทรง เตรียมสวรรคสําหรับพวกเขา ซึ่งใตมันมีลําธารไหลเช่ียว พวกเขาจะอยูในสวรรคอยางถาวร นั่นคือความสําเร็จท่ีย่ิงใหญ ของพวกเขา”(1) การบงบอกของอายะฮฺถึงคุณธรรมของบรรดาเศาะหาบะฮฺ คือ การที่ บรรพชน รุนกอนไดปฏิบัติในศีลธรรมและจริยธรรมในทุกๆ อิริยาบถทั้งการ กลา วและการปฏบิ ตั ิตามคําส่ังของอัลลอฮฺและรสูลุลลอฮฺ  จนในที่สุดพวกเขา ไดร ับความชอบธรรมจากอัลลอฮฺ ข. อะบูสะอีด อัลคุดรียไดรายงานวา ทานนบี  ไดกลาวในลักษณะ หา มปฏิบัติหรือกลาวสิง่ ไมสมควรทุกประการตอ บรรดาเศาะหาบะฮฺ ‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﺳﻌﻴﺪ ﺍﳋﺪﺭ ّﻱ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ‬ ‫ ﻓﺈﻥ‬،‫ )) ﻻ ﺗﺴﺒﻮﺍ ﺃﺣﺪﹰﺍ ﻣﻦ ﺃﺻﺤﺎﰊ‬: ‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬ ‫ﺃﺣﺪﻛﻢ ﻟﻮ ﺃﻧﻔﻖ ﻣﺜﻞ ﺃﹸﺣُ ٍﺪ ﺫﻫﺒﹰﺎ ﻣﺎ ﺃﺩﺭﻙ ﻣﺪ ﺃﺣﺪﻫﻢ ﻭﻻ‬ (( ‫ﻧﺼﻴﻔﻪ‬ (1) ซูเราะฮอฺ ลั เตาบะฮฺ อายะฮทฺ ี่ 100, อายะฮทฺ ี่เกย่ี วของมีกลาวไวในซูเราะฮฺตาง ๆ ตอ ไปน้ี คอื อลั ฟตฮฺ อายะฮฺท่ี 18 และ29, ซูเราะฮฺอลั อันฟาล อายะฮฺท่ี 73 และซุเราะฮฺอัลหัชรฺ อายะฮฺที่ 8-10

45บทที่ 5 สะนดั และมะตัน ความวา : จากอะบูสะอีด อัลคุดรีย  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “พวกเจาอยาสาปแชงเศาะหาบะฮฺของฉันแมแตคนเดียว เน่ืองจากคนหน่ึงคนใดในหมูพวกเจาหากบริจาคทองหนักเทา ภูเขาอุฮูด แนนอนพวกเจาไมสามารถเทียบเทากับพวกเขาได หรอกและแมแตบ างสวนเทานัน้ ก็ตาม”(2) ค. บรรดาอุละมาอฺมีความเห็นพองกันวา บรรดาเศาะหาบะฮฺน้ันเปนผูที่มี คุณธรรมและซือ่ สตั ยโดยไดรับการรับรองจากอัลลอฮฺและทานนบีเอง เวนแตคน บางกลุมเทานั้น ที่ไมย อมรบั ในความอะดาละฮฺของเศาะหาบะฮฺ เชน กลุมชีอะฮฺ และกลุม รอฟเฏาะฮฺ 3. รุนตาง ๆ ของเศาะหาบะฮฺ โดยทั่วไปแลว บรรดาเศาะหาบะฮฺนั้นแบงออกเปนสองรุนดวยกันคือ เศาะหาบะฮรฺ ุนอาวุโสและเศาะหาบะฮรฺ ุน เล็ก เศาะหาบะฮฺรุนอาวุโสประกอบดวย เศาะหาบะฮฺสิบทาน ที่ทานนบีให การรับรองจะไดเ ขาสวรรคอยา งแนน อน ผศู รัทธาในสมยั มักกะฮฺ ผูที่อพยพไป ยังเมืองหาบะชะฮฺ ผูที่เขารวมในคราวทําสนธิสัญญาอัลอะเกาะเบาะฮฺครั้งแรก และครั้งที่สอง ผูที่อพยพระหวางสงครามบัดรฺและสงครามฮุดัยบิยะฮฺ บรรดา ผูเขารว มในสงครามทุกประเภท และอื่น ๆ เศาะหาบะฮฺรุนเลก็ คอื บรรดาเศาะหาบะฮทฺ ไ่ี ดเ ห็นทานนบีในวันสงคราม ฟตหฺและวันทําฮัจญวะดาอฺ เชน อัสสาอิบ เบ็ญยะซีด อัลกัลบีย อัลหะซัน และอัลฮุซัยน เบ็ญอาลี เบ็ญอะบีฏอลิบ อัลดุลเลาะ เบ็ญอัซซุบัยรฺ อับดุลเลาะ เบ็ญอบั บาส เปน ตน (2) บันทกึ โดยอัลบคุ อรยี  : 11/256 และมุสลมิ : 10/123

46บทท่ี 5 สะนดั และมะตัน 4. เศาะหาบะฮฺผทู ี่รายงานหะดษี เปนจาํ นวนมาก บรรดาเศาะหาบะฮฺเปนผูรายงานหะดีษรุนแรก แตก็มีความแตกตางอยู บางข้ึนอยูกับความจําและความสามารถของแตละทาน เศาะหาบะฮฺบางทานได รายงานหะดีษเปนจํานวนมากและบางทานรายงานหะดีษไดนอยกวา แตท่ีจะ กลาวในท่ีน้ีเฉพาะบรรดา เศาะหาบะฮฺท่ีรายงานหะดีษเปนจํานวนมากเทานั้น มีรายนามดังน้ี 1. อะบูฮุรอยเราะฮฺ (59 ฮ.ศ.) รายงานหะดษี 5,735 หะดีษ 2. อบั ดุลเลาะ เบ็ญ อุมัร (73 ฮ.ศ.)รายงานหะดีษ 2,630 หะดีษ 3. อะนสั เบญ็ มาลกิ (93 ฮ.ศ.) รายงานหะดษี 2,286 หะดษี 4. อาอชิ ะฮฺ อุมมุลมุมนิ นี (58 ฮ.ศ.) รายงานหะดษี 2,210 หะดีษ 5. อบั ดลุ เลาะ เบ็ญอับบาส (68ฮ.ศ.) รายงานหะดีษ 1,660 หะดษี 6. ญาบริ เบ็ญอบั ดุลเลาะ (78 ฮ.ศ.) รายงานหะดีษ 1,540 หะดษี 7. อะบูสะอดี อลั คดุ รีย (74 ฮ.ศ.) รายงานหะดีษ 1,170 หะดีษ และอ่นื ๆ ตามลาํ ดับ พึงรูไววา ในบรรดาศอหาบะฮฺที่เปนนักรายงานหะดีษที่ช่ือ อับดุลเลาะ มี ประมาณ 300 ทาน แตท่ีมีช่ือเสียงมากที่สุดเพียง 4 ทานเทานั้น ซึ่งทั้งสี่ทานน้ีมี ฉายานามวา ‫( ﺍﻟُﻌَﺒـﺎ ِﺩﹶﻟﺔ‬อัลอุบาดลิ ะฮ)ฺ คอื 1. อับดุลเลาะ เบ็ญ อับบาส (68 ฮ.ศ.) 2. อบั ดุลเลาะ เบ็ญ อุมรั เบ็ญ อัลคอฏฏอบ (73 ฮ.ศ.) 3. อบั ดลุ เลาะ เบญ็ อซั ซุบัยรฺ (73ฮ.ศ.) 4. อบั ดลุ เลาะ เบ็ญ อัมรฺ เบ็ญ อัลเอาศฺ (65ฮ.ศ.) อุละมาอฺบางทานมีความเห็นวา อับดุลเลาะ เบ็ญ มัสอูด นับเปน อบุ าดิละฮฺแทน อบั ดุลเลาะ เบญ็ อัมรฺ เบญ็ เอาศฺ

47บทท่ี 5 สะนัดและมะตนั บรรดาเศาะหาบะฮทฺ ่เี ปน นกั รายงานท่ถี ายทอดหะดษี ดว ยความบริสุทธ์ิใจ ซื่อสัตย และดวยความอะมานะฮฺ โดยการถายทอดตัวบทที่เปนคําพูด การ ปฏิบัติ การยอมรับคํากลาวทั้งซิกรฺและดุอาอฺในทุกอิริยาบถของทานนบี  ตามความรูข องพวกเขา รุน ท่ีสอง รุนตาบอิ นี (ตั้งแตป  93 จนถึงป 124 แหงฮิจเราะฮฺศักราช)(1) 1. ความหมายของตาบอิ ีน ตามหลักภาษาศาสตรคือ ผทู ่เี ดินตามหลัง หรือผูท่เี จริญรอยตามคนอ่ืน ตามหลักวิชาการ คือ ผูทพี่ บเห็นเศาะหาบะฮฺ ศรทั ธาตอทานนบี  และ เสียชีวิตในขณะที่นับถือศาสนาอิสลาม(2) เปนทัศนะของอุละมาอฺบางทาน ตาม ทศั นะของอลุ ะมาอฺสวนใหญมีความเห็นวา ตาบิอีน คือ ผูท่ีพบเห็นเศาะหาบะฮฺ หน่งึ คนหรือมากกวา ศรัทธาตอ ทานนบี  และเสยี ชีวติ ในอิสลาม(3) ทั้งสองทัศนะน้ีไมมีความขัดแยงระหวางกัน แตเปนการอธิบายซึ่งกันและ กัน จะเห็นไดวา ทัศนะท่ีสองพูดในลักษณะของการพบเห็นของตาบิอีนกับ เศาะหาบะฮฺ ในขณะที่ทัศนะท่ีหน่ึงนั้นกลาวถึงการรับหะดีษระหวางตาบิอีน กับเศาะหาบะฮฺ 2. ผรู ายงานหะดษี ผูรายงานหะดีษในรนุ ตาบอิ นี ทม่ี ชี อื่ เสียงมากท่สี ดุ คือ 1. อิบรอเฮม็ เบญ็ ยะซดี อนั นะคออยี  (96 ฮ.ศ.) 2. อามิร เบ็ญ ชะระฮบลิ อชั ชุอบฺ ยี  (103 ฮ.ศ.) 3. สาลิม เบ็ญ อับดลุ เลาะ เบญ็ อุมัร (106 ฮ.ศ.) 4. มฮุ มั มัด เบ็ญ สรี นี (110 ฮ.ศ.) (1) อับดลุ วะฮาบ อบั ดุลละตีฟ หนา 46 (2) หนงั สือเดิม (3) อัสสุยูฏยี  : 2/69

48บทที่ 5 สะนัดและมะตนั 5. นาฟอ ฺ เมาลาอบิ นอุ ุมรั (117ฮ.ศ.) 6. มุฮัมมัด เบ็ญ ชิฮาบ อซั ซุฮรีย (124 ฮ.ศ.) 7. อลั กอมะฮฺ เบ็ญ กอั ยสฺ อนั นะคออยี  (162 ฮ.ศ.) 3. นักฟกฮทฺ ้งั เจด็ ทาน จากรุนตาบิอีนพบวามีกลุมหน่ึงที่เปนชาวมะดีนะฮฺที่มีชื่อเสียงมากเปนคน อาลิมท้ังในดานหะดีษและฟกฮฺอิสลามีย ซ่ึงเปนท่ีรูจักกันในนาม อัลฟุเกาะฮาอฺ อัซซบั อะฮฺ(4) 1. สะอดี เบ็ญ อัลมุสัยยบิ (94 ฮ.ศ.) 2. อรุ วะฮฺ เบ็ญ อซั ซุบัยร (94 ฮ.ศ.) 3. อะบูสะละมะฮฺ เบญ็ อับดุลเราะหม าน (94 ฮ.ศ.) 4. อุบัยดลุ เลาะ เบ็ญ อบั ดุลเลาะ เบ็ญอุตบะฮฺ (98 ฮ.ศ.) 5. คอริญะฮฺ เบญ็ ซยั ด (100 ฮ.ศ.) 6. อัลกอซมิ เบ็ญ มุฮมั มัด (106 ฮ.ศ.) 7. สุลัยมาน เบญ็ ยะซาร (110 ฮ.ศ.) 4. ชาวมคุ อ ดรอมนู (1) คําวา “‫( ”ﳐﻀﺮﻣﻮﻥ‬มุคอดรอมูน) เปนคําพหูพจนของคําวา ‫ ﳐﻀﺮﻡ‬ซึ่งเปน เผาหนง่ึ ทีอ่ าศัยอยใู นประเทศเยเมน หรอื เรยี กอีกชื่อหนง่ึ วา หดั รอเมาตฺ อลั มคุ อดรอมนู หมายถึง ผทู มี่ ชี วี ติ อยูในสมยั ญะฮิลยิ ะฮฺและสมัยของทานน บี แตพวกเขาเหลานี้ไมไดพบเห็นทานนบี  เขารับนันถือศาสนาอิสลาม อิมามมุสลิมระบุวา “ชาวมุคอดรอมูนมจี าํ นวนไมม ากประมาณ 20 ทา น”(2) (4) อลั อิรอกยี  หนา 231 (1) มุคอดรอม คอื ชนเผากลมุ หนึง่ ของชาวเยเมน (2) มะหมฺ ูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 231

49บทท่ี 5 สะนดั และมะตัน 5. จํานวนรนุ ของตาบอิ ีน อลุ ะมาอฺตาบิอีนโดยรวมแลว แบงออกเปน 3 รนุ ดวยกนั คอื รุนท่ี 1 ตาบิอีนรุนอาวโุ ส ตาบิอีนรุนอาวุโส คือ ผูที่พบเห็นเศาะหาบะฮฺ ไดเรียนรูเรื่องตางๆ ของ ศาสนาและ รับหะดีษโดยตรงจากเศาะหาบะฮฺ เชน สะอีด เบ็ญ อัลมุสัยยิบ- กอยสฺ เบ็ญซัยดฺ เปน ตน รนุ ที่ 2 ตาบอิ นี รนุ กลาง ตาบิอีนรุนกลางคือ ผูท่ีพบเห็นเศาะหาบะฮฺบางทานเทานั้นโดยเฉพาะ เศาะหาบะฮฺรุนเล็กและรวมสมัยกับตาบิอีนรุนอาวุโส เชน อัลหะซันอัลบัศรีย มุฮัมมัด เบ็ญสีรีน อิมาม อัซซุฮฺรีย และเกาะตาดะฮฺ เปนตน ตาบิอีนรุนนี้ เปนอลุ ะมาอทฺ ่มี ีชื่อเสียงในการรายงานและบนั ทกึ หะดษี รนุ ท่ี 3 ตาบิอีนรุนเลก็ ตาบิอีนรุนเล็ก คือ ผูที่พบเห็นตาบิอีนรุนกลางและรวมสมัยกับเศาะ- ฮาบะฮฺรุนเล็กบางทาน พวกเขาไมไดพบเห็นเศาะหาบะฮฺรุนอาวุโส เชน อัลอะอฺ มัช อบิ นุ ุรัอยจญ อมิ าม อะบูหะนฟี ะฮฺ เปนตน ผูรายงานหะดีษในรุนตาบิอีนท้ังหมดเปนผูรายงานซ่ึงอยูในชวงกลางของ สะนัด บางสะนัดจะพบวาในรุนน้ีจะมีผูรายงานหะดีษติดตอกันถึงสองหรือสาม ทาน คุณลักษณะของตาบิอีนผูเปนนักรายงานหะดีษมีท้ังท่ีเปนษิเกาะฮฺ เศาะดกู ฺ เฎาะอฟี มัจฮลู ฟาสกิ และโกหก เปนตน รุน ท่สี าม รนุ ตาบิอฺ ตาบิอีน (ตงั้ แตป 124 ฮ.ศ. ถึงป 224 ฮ.ศ.)(1) 1. ความหมายของตาบิอฺ ตาบอิ ีน ตามหลกั ภาษาศาสตร คือ ผูท่เี ดินตามหลังชนรนุ กอน (1) อบั ดลุ วะฮาบ อัลดลุ ละตีฟ หนา 21

50บทที่ 5 สะนดั และมะตัน ตามหลักวิชาการ คือ ผูที่พบเห็นตาบิอีน ศรัทธาตอทานนบี และเสียชีวิต ในอิสลาม พวกเขาไมไ ดพบเหน็ ทา นนบี  และไมไ ดพบเหน็ เศาะหาบะฮฺ(2) 2. ผรู ายงานหะดีษ(3) ผูรายงานหะดีษจากรุนตาบิอฺตาบิอีนท่ีมีช่ือเสียง และเปนที่รูจักกันในหมู นกั วิชาการและสังคมมสุ ลมิ ก็คอื 1. ซฟุ ยาน เบญ็ สะอีด อัสเษารีย (161ฮ.ศ.) 2. อิมามมาลกิ เบญ็ อะนสั (179 ฮ.ศ.) 3. วะกอี ฺ เบญ็ อลั ญรั รอหฺ (190 ฮ.ศ.) 4. ซฟุ ยาน เบ็ญ อุยัยนะฮฺ (198 ฮ.ศ.) 5. ฎอมเิ ราะฮฺ เบญ็ เราะบีอะฮฺ (202 ฮ.ศ.) 6. อมิ ามมฮุ ัมมัด เบญ็ อดิ ริส อชั ชาฟอีย (204 ฮ.ศ.) 7. อลั ฟฎ ลฺ เบ็ญ ดกุ ัอยนฺ (218 ฮ.ศ.) 8. มุสดั ดัด เบญ็ มุซรั ฮัด (220 ฮ.ศ.) และทา นอน่ื ๆ อลุ ะมาอฺตาบิอฺ ตาบิอีน สวนมากเปนผูรายงานท่ีมีความจําในระดับดีหรือ ดีเยี่ยมและเปนผูรายงานที่มีความรูแมนยําทั้งในดานการรายงานและการ ทองจําหะดีษตลอดจนมีความสามารถในการวิเคราะหดานคุณธรรมและความ บกพรอ งของผรู ายงานหะดีษทกุ คนต้ังแตชว งตน จนถงึ ชว งสดุ ทา ยของสะนัด(4) 3. รนุ ตา ง ๆ ของตาบิอฺ ตาบอิ ีน (2) มะหมฺ ูด อัตเฏาะหหฺ าน หนา 231 (3) บางคนเปน ท้ังนักรายงานหะดีษและนักฟกฮฺ บางคนเปนผเู ช่ยี วชาญเฉพาะหะดษี อยางเดียว (4) รายงละเอียดตา งๆ ท่เี ก่ียวของกบั สถานภาพดานคณุ ธรรมและความบกพรอ งจะมีการอธิบายในบทตอ ไป

51บทท่ี 5 สะนัดและมะตนั อุลามาอฺตาบิอฺ ตาบิอีน ที่เปนผูรายงานหะดีษ ตั้งแตบุคคลแรกจนถึง บุคคลสุดทายทีเ่ สียชีวติ แบง ออกเปน 3 รนุ คือ รนุ ที่ 1 ตาบอิ ฺ ตาบอิ ีนรนุ อาวุโส ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนอาวุโส คือ ผูที่พบเห็นตาบิอีน ไดเรียนรูเร่ืองตางๆ ของศาสนาและรับ หะดีษโดยตรงจากตาบิอีน เชน อิมามมาลิก เบ็ญอะนัส ซฟุ ยาน อัซเษารยี  เปน ตน รนุ ท่ี 2 ตาบอิ ฺ ตาบอิ นี รนุ กลาง ตาบอิ ฺ ตาบอิ ีนรุนกลาง คอื ผูท่ีพบเห็นรุนตาบิอีนบางทานเทานั้นและรวม สมยั กับตาบอิ ีนรนุ อาวโุ ส เชน ซุฟยาน เบ็ญอุยยั นะฮฺ อิบนุ อุลัยยะฮฺ เปน ตน รุน ที่ 3 ตาบิอฺ ตาบอิ นี รนุ เลก็ ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนเล็ก คือ ผูท่ีไดพบเห็นและรวมสมัยเดียวกันกับตาบิอฺ ตาบิอีน รุนกลาง แตพวกเขาไมไดพบเห็นเศาะหาบะฮฺ เชน อิมามอัชชาฟอีย อะบดู าวดู อตั ตอยาลิซีย เปนตน 4. สถานภาพของนักรายงาน สถานภาพโดยทั่วไปของรุนตาบิอฺ ตาบิอีน มีทั้งผูรายงานท่ีเชื่อถือไดใน การรายงานหะดีษและมีผูที่เชื่อถือไมได เนื่องจากหลายสาเหตุดวยกันเชน ความจําไมดี ปกปดอาจารย ไมเปนที่รูจักกันวาเปนผูรายงานหะดีษ เปนคน โกหก เปน ตน รนุ ทส่ี ่ี รุนอตั บาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน (ต้ังแตป224 จนถึงป 303 แหงฮิจเราะฮฺ ศักราช)(1) 1. ความหมายของอัตบาอฺ ตาบอิ ฺ ตาบิอีน ตามหลักภาษา คือ ผูท เ่ี ดนิ ตามหลังชนรุน กอนพวกเขา (1) อลั ดุลวะฮาบ อัลดุลละตีฟ หนา 48

52บทที่ 5 สะนัดและมะตนั ตามหลักวิชาการ คือ ผูท่ีไดพบเห็นรุนตาบิอฺ ตาบิอีน ศรัทธาตอทาน นบี  และเสยี ชวี ิตในขณะท่นี บั ถอื ศาสนาอิสลาม 2. ผรู ายงานหะดษี ผูที่มีชื่อเสียงในการรายงานหะดีษของอุละมาอฺรุนนี้มีมากมายแตท่ีจะ กลาวในที่นี้เปนตัวอยางเพียงบางทานเทานั้น ในจํานวนน้ีมีคณาจารยของอิมาม ทัง้ หกดว ย(2)เชน 1. หฟั ศ เบ็ญ อุมรั (225 ฮ.ศ.) 2. อับดุลเลาะ เบ็ญ มฮุ ัมมัด อันนฟุ ยลยี  (234 ฮ.ศ.) 3. อะบบู ักร เบ็ญ อะบีชยั บะฮฺ (239 ฮ.ศ.) 4. มุฮมั มัด เบ็ญ อัลอะลาอฺ (247 ฮ.ศ.) 4. มุฮัมมัด เบญ็ ยะหยฺ า เบญ็ ฟาริส (255 ฮ.ศ.) 5. มฮุ มั มัด เบ็ญ บะซาร (250 ฮ.ศ.) และทานอนื่ ๆ อุละมาอฺรุนนี้สวนมากแลวจะอยูในชวงทายของสะนัดหะดีษ (สาย รายงาน) ในบรรดานักรายงานทัง้ สามชวงของสะนัด 3. รนุ ตาง ๆ ของอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอนี ผรู ายงานหะดีษในรนุ อัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบอิ ีนแบง ออกเปน 3 รนุ ดงั นี้ รุนที่ 1 อัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนอาวุโส คือ ผูที่พบเห็นตาบิอฺ ตาบิอีน เชน อิมาม อะหฺมัด เบ็ญ หันบลั อะบูบกั ร อบิ นุ อะบชี ัยบะฮฺ เปนตน (2) อมิ ามทัง้ หกหรืออัศหาบ อัลกุตุบ อซั ซิตตะฮคอื อัลบุคอรีย (‫ )ﺍﻟﺒﺨﺎﺭﻱ‬มุสลิม (‫ )ﻣﺴﻠﻢ‬อะบดู าวูด (‫)ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬ อัตตัรมิซีย (‫ )ﺍﻟﺘﺮﻣﺬﻱ‬อันนะสาอีย (‫ )ﺍﻟﻨﺴﺎﺋﻲ‬และอบิ นุมาญะฮฺ (‫ )ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬และอีกกลุมหน่ึงเรยี กวาอิมามท้ังเกา หรือทรี่ ูจ กั กนั ในนาม อัศหาบ อัลกุตบุ อัตตสิ อะฮ คอื อมิ ามอีก3ทาน อะหฺมัด เบ็ญฮนั บัล (‫ )ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﺟﻨﺒﻞ‬อิ มามมาลิก (‫ )ﻣﺎﻟﻚ‬และอัดดาริมยี  (‫)ﺍﻟﺪﺍﺭﻣﻲ‬

53บทท่ี 5 สะนัดและมะตัน รุนท่ี 2 อัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนกลาง คือ ผูท่ีพบเห็นตาบิอฺ ตาบิอีน และรว มสมัยกับตาบอิ ฺ ตาบิอนี รุนกลาง รุนท่ี 3 อัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนเล็ก คือ ผูท่ีพบเห็นและรวมสมัยกับ ตาบิอฺตาบอิ นี รุนเล็ก แตพ วกเขาไมไดพ บเหน็ ตาบิอฺ ตาบิอนี รนุ อาวุโส 4. สถานภาพของนกั รายงานหะดีษ ผูรายงานหะดีษท้ังสามรุนหรือส่ีรุนดังที่กลาวขางตน คือ สุดยอดของนัก รายงานหะดีษโดยที่พวกเขาเหลานั้นไดทุมเทความพยายามอยางสูงในการ รวบรวมหะดีษ วิธีการที่ใชเปนวิธีการท่ียอดเยี่ยม ไดวางรากฐานท่ีเกี่ยวกับ หลักการและระเบียบตางๆ ในการรายงานหะดีษ ในชวงระยะดังกลาวบรรดา อุละมาอฺเหลาน้ีก็ไดสะสมผลงานที่นายกยองเปนอยางมากโดยเฉพาะใน สาขาวชิ าหะดษี ดงั นี้ หน่งึ ตดิ ตามสายรายงานหะดษี (1) สอง ใหก ารยอมรับตวั บทหะดีษ(2) สาม วิเคราะหสถานภาพของผูรายงานแตละคนจนสามารถแยกระหวาง ผรู ายงานท่มี คี ณุ ธรรมกับผรู ายงานทฟี่ าสิก(3) ถึงอยางไรก็ตามเรื่องสะนัดหรือสายรายงานหะดีษเปนเร่ืองท่ีสําคัญใน บรรดาเรือ่ งตา ง ๆ ทีเ่ ก่ียวของกับสาขาวิชาหะดีษ จากการศกึ ษาเรอื่ งสะนัดอยาง จริงจงั ทาํ ใหทราบวา บรรดาอุลามาอฺหะดีษสามารถจําแนกหะดีษออกเปนหลาย ระดับ เชน หะดีษเศาะหีหฺ หะดีษเฎาะอีฟ และหะดีษเมาฎอฺ หะดีษที่แข็งแรง และหะดีษออน หะดีษท่ีใชไดและหะดีษท่ีใชไมได ยะหฺยา เบ็ญ สะอีด อัลคอตฏอน กลาวตอบคําถามที่วา “คุณไมกลัวหรือที่คุณไดตําหนิและไม (1) มสุ ลมิ : 1/11 (2) อกั รอม ฎิยาอฺ อัลอุมะรีย หนา 24 (3) หนังสือเดมิ

54บทที่ 5 สะนัดและมะตนั ยอมรับหะดีษจากการรายงานของพวกเขา (ผูรายงานที่มีความบกพรอง) ซึ่งจะ เปนผูที่โตแยงทาน ณ อัลลอฮฺในวันกิยามะฮฺ? ทานยะหฺยาตอบวา ฉันคิดวาการ โตตอบของพวกเขาในเรื่องดังกลาวดีกวาที่ทานนบีจะตําหนิฉันดวยคํากลาวของ ทา นนบี  ที่วา “ทําไมทานเปนผูโกหกตอ หะดีษของฉัน”(1) 4. ประเภทของสะนัด หะดีษทุกบทเม่ือพิจารณาสายรายงานต้ังแตตนสะนัดจนถึงปลายสะนัด อาจจะแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ประเภทท่หี นง่ึ สะนดั อาลยี  (‫)ﺍﻟﺴﻨﺪ ﺍﻟﻌﺎﱄ‬ สะนัดอาลีย หมายถึง สายรายงานท่ีมีผูรายงานเปนจํานวนนอย หาก เปรียบเทียบกับสะนัดอื่น ซ่ึงบรรดาอุละมาอฺมีความเห็นที่แตกตางกันในเรื่อง จํานวนท่ีแนนอนของจํานวนนอย บางทัศนะกลาววา อยางนอยมีสามคนและ บางทศั นะระบุวาหาคน เชน สะนัดของหะดีษท่ีบันทกึ โดยอมิ ามมาลิก เบ็ญอะนัส ในหนังสือ อัลมวุ ตั เฏาะอฺ ประเภททส่ี อง สะนดั นาซิล (‫)ﺍﻟﺴﻨﺪ ﺍﻟﻨﺎﺯﻝ‬ สะนัดนาซิล หมายถึง สายรายงานท่ีมีผูรายงานเปนจํานวนมาก หาก เปรียบเทียบกับสะนัดอื่นท่ีมีผูรายงานนอย(2) หมายความถึง ผูรายงานท่ีมี จํานวนระหวางสามทานหรือหาทานขึ้นไป เชน สะนัดของหนังสือหะดีษทั้งหก และหนังสืออน่ื ๆ(3) ระหวางสองประเภทสะนัดน้ี สะนัดอาลียจะมีฐานะสูงกวาสะนัดนาซิล เพราะการท่ีหะดีษบทใดมีผูรายงานจํานวนนอยก็แสดงใหเห็นวา หะดีษน้ัน (1) มศุ ฏอฟา อสั สบิ าอยี  หนา 98 (2) มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 180 (3) หนงั สอื อืน่ ๆ เชน หนังสืออัลมะสานีด หนังสืออัลมะอาญิม และหนงั สอื อซั ซนุ นั

55บทท่ี 5 สะนดั และมะตัน ภายในตัวมีความแข็งแรงกวาและมีนํ้าหนักมากกวาสายรายงานท่ีมีผูรายงาน เปนจาํ นวนมาก ตวั อยางลกั ษณะของสะนัด สะนดั สะนัดอาลยี  สะนัดนาซิล ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻋﻤﺮ‬ ‫ﻃﺎﻭﺱ‬ ‫ﻧﺎﻓﻊ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺍﻟﺰﺑﲑ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﲪﻦ ﺑﻦ ﲪﻴﺪ‬ ‫ﻣﺎﻟﻚ‬ ‫ﳛﻲ ﺑﻦ ﺁﺩﻡ‬ (1/82) ‫ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ‬ ‫ﺍﻟﻨﺴﺎﺋﻲ‬ (3/35

56บทท่ี 5 สะนดั และมะตนั สว นท่ี 2 มะตนั หะดีษ ตามท่ีไดกลาวมาแลววา หะดีษแตละบทท่ีมาจากทานนบีโดยผาน กระบวนการรายงานนั้นมีสวนประกอบ 2 สวน คือ สะนัดหะดีษและมะตันหะดีษ สวนท่ีหน่ึงก็ไดอธิบายไปแลวกอนหนาน้ีและสวนท่ีสอง คือ มะตันหะดีษ ซ่ึง ประกอบดว ยรายละเอยี ด ดงั ตอไปนี้ 1. นิยาม ตามหลกั ภาษาศาสตร คาํ วา ‫ ﻣﱳ‬แปลวา สง่ิ ที่ยกมาจากพืน้ ดนิ ตามหลักวิชาการ แปลวา สิ่งที่สิ้นสุดของสะนัดจากคําพูดหรือการ กระทาํ มะตันหะดีษโดยสังเกตจากความหมายแลวสามารถพาดพิงถึงใครก็ได เชน มะตันหะดีษ กุดสีย มะตันหะดีษมัรฟูอฺ มะตันหะดีษเมากูฟ และมะตัน หะดีษมักฏอ ฺ 2. ลักษณะของมะตันหะดีษ เม่ือพิจารณามะตันหะดีษหรือตัวบทหะดีษโดยรวม จะเห็นไดวามะตัน หะดษี นน้ั ประกอบ ดว ยคาํ พดู หลายลักษณะหรือหลายทาํ นองพอสรปุ ไดด งั นี้ 1. คําพดู ทีม่ าจากอัลลอฮฺ  และทานนบี  2. คาํ พูดท่มี าจากทา นนบีเพยี งคําเดยี ว 3. คาํ พดู ของทานนบีผสมผสานกบั คําพดู ของเศาะหาบะฮฺ 4. คําพูดของทานนบีผสมผสานกบั คาํ พูดของตาบิอีน 5. คาํ พดู ของคนหนงึ่ คนใดแลวพาดพงิ ไปยงั ทา นนบี  6. คําพูดของชาวยะฮดู ียแ ละนะศอรอ หรือทเ่ี รียกวา อสิ รออลี ิยะฮฺ

57บทที่ 5 สะนดั และมะตนั ท้ังน้ี คําพูดเหลาน้ีจําเปนตองทําการศึกษาอยางถี่ถวนและทําการ วิเคราะหอยางละเอียดโดยยึดหลักทางวิชาการ เพื่อแยกแยะระหวางคําพูดของ ทา นนบี  กับคาํ พูดของคนอนื่ ๆ การจาํ แนกหะดษี การจําแนกประเภทของหะดีษจะพจิ ารณาจาก 2 ดา น พิจารณาผทู ี่ถูกพาดพงิ มี 4 ประเภท ประเภทท่ี 1 หะดีษกุดสีย ประเภทที่ 2 หะดีษมัรฟอู ฺ ประเภทที่ 3 หะดษี เมากูฟ ประเภทที่ 4 หะดีษมกั ฏอ ฺ พจิ ารณาทม่ี าถงึ มือพวกเรา มี 2 ประเภท ประเภทที่ 1 หะดีษมุตะวาติร ประเภทท่ี 2 หะดษี อาหา ด

58บทที่ 6 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาผทู ่ถี ูกพาดพงิ บทท่ี 6 การจําแนกหะดีษ โดยพิจารณาผูทถ่ี ูกพาดพงิ ประเภทที่ 1 หะดษี กดุ สยี  1. นยิ าม ตามหลักภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﻗﺪﺳ ّﻲ‬แปลวา สะอาด บริสุทธ์ิ เชน น้ําท่ีสะอาดหรือน้ําท่ีบริสุทธ์ิ ดังนั้น หะดีษ กดุ สีย คอื หะดีษท่บี รสิ ทุ ธิ์ ตามหลักวชิ าการ หะดษี กดุ สยี  หมายถงึ หะดษี ท่รี ายงานโดยทานนบี  ดวยสายรายงาน ของทา นเองพาดพิงถึงอัลลอฮฺ  (1) สาเหตุท่ีเรียกหะดีษเปนหะดีษกุดสียเพราะคําพูดนั้นพาดพิงไปยัง อลั ลอฮฺ  ซ่งึ เปน คําพูดท่สี ะอาดบรสิ ทุ ธ์ิ 2. การรายงานหะดีษกดุ สีย สําหรับการรายงานหะดีษกุดสียนั้นสามารถรายงานโดยใชสํานวนหน่ึง สาํ นวนใดจาก 2 สาํ นวนดวยกนั (1) มะหฺมดู อัตเฏาะหฺหาน หนา 120

59บทที่ 6 การจาํ แนกหะดีษโดยพจิ ารณาผูท่ถี ูกพาดพิง สํานวนท่ี 1 ผูรายงานกลาววา จากทานนบี  ตามท่ีทานไดรายงาน จากอลั ลอฮฺ  หรือ พระเจา พระองคทรงตรัสวา “…………….” ตวั อยา งเชน ‫ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻤﺎ ﻋﻦ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬ ‫ )) ﺇﻥ ﺍﷲ ﻛﺘﺐ ﺍﳊﺴﻨﺎﺕ‬: ‫ﻓﻴﻤﺎ ﻳﺮﻭﻱ ﻋﻦ ﺭﺑﻪ ﻋﺰﻭﺟ ﹼﻞ ﻗﺎﻝ‬ ‫ ﻓﻤﻦ ﻫ ّﻢ ﲝﺴﻨﺔ ﻓﻠﻢ ﻳﻌﻤﻠﻬﺎ ﻛﺘﺒﻬﺎ ﺍﷲ ﻟﻪ‬،‫ ﰒ ﺑّﻴﻦ ﺫﻟﻚ‬،‫ﻭﺍﻟﺴﻴﺌﺎﺕ‬ ‫ ﻛﺘﺒﻬﺎ ﺍﷲ ﻟﻪ ﻋﻨﺪﻩ ﻋﺸﺮ‬،‫ ﻓﺈﻥ ﻫ ّﻢ ﻓﻌﻤﻠﻬﺎ‬،‫ﻋﻨﺪﻩ ﺣﺴﻨﺔ ﻛﺎﻣﻠﺔ‬ ‫ ﻭﻣﻦ ﻫ ّﻢ ﺑﺴﻴﺌﺔ‬.‫ﺣﺴﻨﺎﺕ ﺇﱃ ﺳﺒﻌﻤﺎﺋﺔ ﺿﻌﻒ ﺇﱃ ﺃﺿﻌﺎﻑ ﻛﺜﲑﺓ‬ ‫ ﻓﺈﻥ ﻫﻮ ﻫ ّﻢ ﺑﻬﺎ‬،‫ ﻛﺘﺒﻬﺎ ﺍﷲ ﻋﻨﺪﻩ ﺣﺴـﻨﺔ ﻛﺎﻣﻠﺔ‬،‫ﻓﻠﻢ ﻳﻌﻤﻠﻬﺎ‬ (( ‫ ﻛﺘﺒﻬﺎ ﺍﷲ ﺳﻴﺌﺔ ﻭﺍﺣﺪﺓ‬،‫ﻓﻌﻤﻠﻬﺎ‬ ความวา : จากอิบนุอับบาส  เลาจาก รสูลุลลอฮฺ  ตามที่ทานได กลาวรายงานจากพระเจาของทานทรงดํารัสวา “แทจริงอัลลอฮฺไดบันทึก ไวซ่ึงความดีและความช่ัว และพระองคไดอธิบายเรื่องดังกลาว ดังนั้น ผูใดมีความประสงคจะทําในสิ่งที่ดีแตเขาไมไดทํา อัลลอฮฺจะบันทึกไว สาํ หรับเขาหนง่ึ ความดี เมื่อเขาไดปฏิบัติความดีน้ันอัลลอฮฺจะบันทึกใหแก เขาสิบเทาตัวจนถึงเจ็ดรอยเทาหรือมากกวา และผูใดต้ังใจจะทําในส่ิงชั่ว แตเขาไมไดทํา อัลลอฮฺจะบันทึกใหเขาหน่ึงความดี แตเม่ือเขาลงมือทํา ส่งิ ชั่วนั้น อลั ลอฮจฺ ะบันทกึ แกเขาหนึ่งเทาเทา นัน้ ”(1) (1) บนั ทกึ โดยอัลบคุ อรยี  เลมท่ี8 หนา 103

60บทท่ี 6 การจําแนกหะดษี โดยพจิ ารณาผูทถ่ี ูกพาดพงิ สํานวนท่ี 2 ผูรายงานกลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา อัลลอฮฺ  ทรงตรัสวา “………….” ตวั อยา งเชน ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬ (( ‫ﻴﺎ ﻓﻘﺪ ﺁﺫﻧُﺘﻪ ﺑﺎﳊﺮﺏ‬‫ )) ﻣﻦ ﻋﺎﺩﻯ ﱄ ﻭﻟ‬: ‫ ﺇﻥ ﺍﷲ ﻋﺰﻭﺟ ﹼﻞ ﻗﺎﻝ‬: ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ  กลาววารสูลุลลอฮฺ  ไดกลาววา “แทจริง อัลลอฮฺทรงตรัสวา “ผูใ ดทําเปนศัตรูกับผูนําของฉัน ฉัน อนุญาตใหท ําสงครามกบั เขา”(2) จากสองสํานวนท่ีไดกลาวขางตน การรายงานหะดีษกุดสียจะใชสํานวน เฉพาะ เจาะจง คือ สํานวนหน่ึงสํานวนใดเทาน้ัน ไมสามารถท่ีจะเปล่ียนเปน สํานวนอื่นได ฉะนั้นการท่ีจะรูจักหะดีษกุดสียน้ันจะตองสังเกตสํานวนการ รายงาน เพราะทั้งสองสาํ นวนนนั้ จะใชสําหรบั รายงานหะดษี ประเภทอื่น ๆ มไิ ด 3. ขอ แตกตา งระหวา งหะดีษกุดสียก ับอัลกรุ อานและหะดษี นะบะวีย ระหวางหะดีษกุดสียกับอัลกุรอานและหะดีษนะบะวียมีความแตกตางท้ัง ทางดา นตวั บทและความหมาย คือ ก. อัลกรุ อาน 1. อลั กรุ อานเปน คําตรัสทเ่ี ตม็ ไปดว ยมอุ ฺญิซะฮฺ 2. อัลกุรอานมาจากอลั ลอฮฺ  ทง้ั ตวั บทและความหมาย (2) บันทึกโดยอัลบคุ อรีย เลมที่ 11 หนา 340-341

61บทที่ 6 การจําแนกหะดษี โดยพจิ ารณาผูที่ถูกพาดพิง 3. อลั กุรอานใชประกอบอบิ าดะฮฺได 4. อลั กรุ อานถูกประทานลงมาโดยผา นมลาอกิ ะฮญฺ บิ รลี 5. อลั กุรอานไมอ นญุ าตใหจับหรือแตะตอ งถา ไมม ีวุฎอ ฺ (น้ําละหมาด) 6. อัลกุรอานตอ งมาจากการรายงานอยา งมุตะวาตริ (1) ข. หะดษี กุดสีย 1. หะดีษกุดสียไ มใ ชคําพูดท่ีเปน มอุ ญฺ ซิ ะฮฺ 2. หะดีษกุดสียมาจากอัลลอฮฺในแงความหมาย สวนถอยคําเปน ของทานนบี  3. หะดีษกดุ สียใ ชป ระกอบอิบาดะหไมไ ด 4. หะดีษกุดสยี ไมจาํ เปน ตอ งผานมลาอกิ ะฮญฺ บิ รีล 5. หะดษี กุดสียอนุญาตใหจ บั หรอื แตะตอ งโดยไมมีวฎุ อ ฺ 6. หะดษี กุดสียไ มจําเปนตอ งมาจากการรายงานอยา งมตุ ะวาตริ ค. หะดษี นะบะวีย 1. หะดษี นบไี มใชคาํ พดู ที่เปนมอุ ญิซะฮฺ 2. หะดีษนบีทัง้ ตวั บทและความหมายมาจากทานนบี  3. หะดษี นบใี ชป ระกอบอบิ าดะฮไฺ มไ ด 4. หะดษี นบไี มจําเปนตอ งผา นมลาอิกะฮญฺ บิ รลี 5. หะดษี นบีอนุญาตจับหรอื สมั ผัสโดยไมม วี ุฎอ ฺ 6. หะดษี นบี  มที งั้ หะดีษมตุ ะวาตริ และหะดษี อาหาด ที่จริงแลวขอแตกตางระหวางหะดีษกุดสียกับอัลกุรอานและหะดีษนะบะ วีย(2)มีอีกมากมายที่ยังไมไดระบุไวในหนังสือเลมนี้ ไมวาจะพิจารณาดานใดก็ (1) มตุ ะวาติร หมายถงึ การรายงานของผคู นเปนจํานวนมาก (ดูรายละเอียดหนา 59-64 หนังสอื เลมน)้ี

62บทที่ 6 การจาํ แนกหะดษี โดยพจิ ารณาผทู ีถ่ ูกพาดพงิ ตาม เชน สํานวนโวหาร การนํามาใชเปนหลักฐาน การประกอบอิบาดะฮฺ หกุ ม หะกมั ความเปนมุอฺญซิ ะฮฺ ลักษณะคําพูด เปนตน 4. จํานวนหะดษี กุดสีย หะดีษกุดสียมีจํานวนไมมากเม่ือเทียบกับหะดีษนะบะวียโดยประมาณมี จํานวน 200 กวา หะดีษเทานน้ั 5. ระดับของหะดษี กดุ สีย หะดีษกุดสียมีหลายระดับดวยกันท้ังท่ีเปนหะดีษกุดสียเศาะหีหฺ หะดีษ กุดสียหะซัน หะดีษกุดสียฎออีฟ และหะดีษกุดสียเมาฎอฺ ซ่ึงข้ึนอยูกับ สถานภาพของผรู ายงานแตล ะทา นท้งั ทางดานคุณธรรมและความบกพรอง ท้ังน้ี เพราะหะดีษกุดสียมีสายรายงานเหมือนกับหะดีษนะบะวียที่ประกอบดวย ผรู ายงานทม่ี ีสถานภาพหลากหลาย 6. การนาํ มาใชเปน หลกั ฐาน หะดีษกุดสียท่ีอยูในระดับเศาะหีหฺหรือหะซันจําเปนจะตองนํามาใชเปน หลักฐาน สว น หะดีษกุดสยี ท ีม่ ีระดบั เฎาะอฟี หรือเมาฎอฺไมอนุญาตใหนํามาใช เปน หลักฐาน 7. ตําราที่เก่ยี วของ ‫ ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﺅﻭﻑ ﺍﳌﻨﺎﻭﻱ‬،‫ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻻﲢﺎﻓﺎﺕ ﺍﻟﺴﻨﻴﺔ ﺑﺎﻷﺣﺎﺩﻳﺚ ﺍﻟﻘﺪﺳﻴﺔ‬ หนงั สอื เลมนี้ไดร วบรวมหะดีษกุดสยี เ ปน การเฉพาะมจี ํานวน 272 หะดษี (2) อลั กุรอาน, ความหมายและตัวบทมาจากอัลลอฮฺ  หะดษี กุดสยี , ความหมายมาจากอัลลอฮฺ  สว นตัวบทมา จากรสูลุลลอฮฺ  และหะดษี นะบะวีย, ความหมายและตัวบทมาจากรสูลุลลอฮฺ 

63บทที่ 6 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาผทู ่ีถูกพาดพิง ประเภทท่ี 2 หะดษี มรั ฟูอฺ 1. นิยาม ตามหลักภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﻣﺮﻓﻮﻉ‬แปลวา ยกขึ้นไปยัง หรือพาดพิงถึง เชน ยกส่ิงของไปยัง คนหนึ่งคนใด หรือพาดพิงถึงคน ๆ หน่ึง ในดานภาษาคําวา “‫ ”ﻣﺮﻓﻮﻉ‬จะใชได กบั ทานนบี บุคคลทั่วไปหรือแมแ ตส ิ่งของก็ตาม ตามหลักวิชาการ หะดีษมัรฟูอฺ คือ ส่ิงที่ผูรายงานพาดพิงถงึ ทานนบี  โดยระบุเปนคําพูด การกระทํา การยอมรบั หรอื คณุ ลักษณะตลอดจนชวี ประวัติของทา นนบี(1) ในทางปฏบิ ัตจิ รงิ หะดษี มรั ฟูอมฺ ักจะใชใ นลักษณะเฉพาะเจาะจงกับทานนบี  เทานั้น การใชใ นลักษณะเชนนี้เปนที่รูกันอยางแพรหลายในหมูนักวิชาการทุก สาขา 2. ชนดิ และตวั อยา งของหะดีษมรั ฟอู ฺ จากนิยามขางตนพอสรุปไดวา หะดีษมัรฟูอฺมี 4 ชนิดดวยกัน คือ มัรฟูอฺ- เกาลีย (ที่เปนคําพูด) มัรฟูอฺฟอฺลีย (การกระทํา) มัรฟูอฺตักรีรีย (การยอมรับ) และมัรฟูอฺวศั ฟย  (คุณลักษณะ) ชนดิ ท่ี 1 หะดีษมรั ฟูอฺเกาลยี  (‫)ﺍﳌﺮﻓﻮﻉ ﺍﻟﻘﻮ ﹼﱄ‬ หมายถึง คําพูดของทานนบี  ท่ีไดกลาวในสถานการณตาง ๆ จะ เกี่ยวกับเร่ืองศาสนาหรือเร่ืองทางโลก เชน การดุอาอฺ การใหคําตักเตือน การ อาน เปนตน (1) ดู ความหมายของหะดีษ หนา 9

64บทท่ี 6 การจาํ แนกหะดีษโดยพจิ ารณาผทู ถ่ี ูกพาดพิง หะดีษมัรฟูอฺชนิดนี้ เรียกอีกชื่อวา หะดีษเกาลีย ตัวอยาง มีเศาะ หาบะฮฺทานหน่ึงไดรายงานวา ทานนบี  ไดกลาวเกี่ยวกับเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงใน สถานการณ สถานที่ และเวลา เปนตน เชน กลาวถึงเร่ืองหะลาลและหะรอม การหา ม คาํ ตักเตอื น และอ่ืน ๆ หะดีษมัรฟูอฺเกาลียจะใหหุกมทั้งท่ีเปนวาญิบ สุนัต หะรอม และมักรูฮฺ ซึ่ง ขน้ึ อยกู ับสํานวนคาํ พดู ทก่ี ลา วออกมาหรือกรณแี วดลอมอืน่ ๆ ชนดิ ที่ 2 หะดีษมรั ฟูอฺฟอ ฺลีย (‫)ﺍﳌﺮﻓﻮﻉ ﺍﻟﻔﻌﻠ ّﻲ‬ หมายถึง การกระทําของทานนบี  ตอหนาศอหาบะฮฺหรือตอหนาทาน หญิงในกลุมภริยาของทาน การกระทําในทกุ ๆ อริ ยิ าบถของทานนบีไมวาจะเปน เรื่องสว นตัว อิบาดะฮฺ มอุ ามะลาต มุนากะฮาต เปนตน หะดีษมัรฟูอฺฟอฺลีย เรียกอีกชื่อหนึ่งวา หะดีษฟอฺลีย(2) ตัวอยางเชน เศาะหาบะฮฺ กลาววา การกระทําของทานนบี  อยางน้ีหรือทานนบีไดปฏิบัติ ในลกั ษณะนี้ หะดีษมัรฟูอฺฟอฺลียจะใหหุกมทั้งท่ีเปนวาญิบ สุนัต หะรอม และมักรูฮฺ เหมือนกบั หกุ มของหะดีษมัรฟูอเฺ กาลีย ชนิดท่ี 3 หะดษี มัรฟูอฺตกั รีรีย (‫)ﺍﳌﺮﻓﻮﻉ ﺍﻟﺘﻘﺮﻳﺮ ّﻱ‬ หมายถงึ การยอมรบั ของทานนบี  ตอการกระทําของเศาะหาบะฮฺบาง คนที่ไดปฏิบัติตอหนาทานนบี  หรือใหการยอมรับตอคําอานของเศาะหาบะฮฺ บางคนทไ่ี ดอา นตอ ทาน หะดีษมัรฟูอฺชนิดน้ีเรียกอีกช่ือหนึ่งวา หะดีษตักรีรีย ตัวอยางเชน เศาะหาบะฮฺทานหน่ึงกลาววา ไดมีการปฏิบัติตอหนาทานนบี  อยางนี้ และ (2) มัรฟูอฺฟอฺลียไมวาการกระทํานั้นเปนเรื่องสวนตัวของทานนบี  หรือไมก็ตาม หุกมของการกระทําสําหรับ ทา นนบี  เพยี งผูเ ดยี วหรอื รวมถึงประชาชาตดิ วย

65บทท่ี 6 การจําแนกหะดีษโดยพจิ ารณาผูท่ถี ูกพาดพิง ไมมีการปฏิบัติจากทานในเร่ืองดังกลาว การใหการยอมรับของทานนบี  มกั จะใชส ํานวนทหี่ ลากหลาย เชน 1. สํานวนท่ีชัดเจนตอขอซักถามของเศาะหาบะฮฺ เชน ทานนบี  กลาว วา “คณุ ปฏบิ ัตถิ ูกตอ งแลว ” (‫)ﹶﺃ َﺻْﺒ َﺖ‬ 2. สํานวนที่พูดในเชิงใหกําลังใจตอการกระทําของเศาะหาบะฮฺ หรือตอ คําพูดของพวกเขา เชน ทานนบี  กลาววา “แทจริงอัลลอฮฺ  ทรงรักเขา” (‫ )ﺇﻥ ﺍﷲ ﳛﺒﻪ‬เปนตน 3. การเงียบตอการกระทําของเศาะหาบะฮฺบางคน กลาวคือ ทานนบี  ไมไ ดปฏเิ สธ หรือไมไ ดใหการยอมรับ เชน ไมไ ดสัง่ และไมไดห า มเศาะหาบะฮฺ หะดีษมัรฟูอฺตักรีรียจะมีเพียงหุกมเดียวเทานั้น คือ หุกมมุบาหฺ (ฮารุส) อนุญาตใหปฏิบัติได กลาวคือ ผูใดตองการปฏิบัติก็สามารถทําไดและผูใดไม ประสงคจะปฏิบัติก็ไมผิดกับบทบัญญัติอิสลามแตอยางใด หะดีษมัรฟูอฺชนิดน้ี เปน การเปด โอกาสแกประชาชาติในเร่อื งตางๆ โดยเฉพาะเรื่องท่ีสามารถอํานวย ประโยชนใ นการดาํ รงชวี ติ ชนิดที่ 4 หะดีษมรั ฟอู วฺ ัศฟฺ ย (‫)ﺍﳌﺮﻓﻮﻉ ﺍﻟﻮﺻﻔ ّﻲ‬ หมายถึง คุณลักษณะท่ีทานนบีไดปฏิบัติในทุกอิริยาบถและในทุก สถานการณ ตลอดชีวิต เชน เศาะหาบะฮฺกลาววา ทานนบี  ปฏิบัติตัวอยาง นี้ หรือทานกลา วเชน น้ี เปนตน หะดษี มัรฟอู ฺตามลักษณะเชน นี้เรียกอีกช่ือวา หะดษี วศั ฺฟย  หะดษี มรั ฟอู ฺวศั ฟยจ ะมีหกุ มทั้งท่ีเปนหุกมวาญิบ สุนัต และมุบาหฺ ซ่ึงเปน สง่ิ ทด่ี ีหากมีการปฏบิ ตั ติ ามดงั เชน การปฏิบัตขิ องทานนบี 

66บทท่ี 6 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาผทู ่ถี ูกพาดพิง 3. ระดบั ของหะดีษมัรฟูอฺ หะดีษมัรฟูอฺมีหลายระดับทั้งที่เปนหะดีษเศาะหีหฺ หะดีษหะซัน หะดีษ เฎาะอีฟ หะดีษฎออีฟญิดดัน และเมาฎอฺ หะดีษท้ังหาระดับน้ีก็ข้ึนอยูกับ สถานภาพของผูรายงานหะดีษแตละคนต้ังแตชวงตน ชวงกลางหรือชวงสุดทาย ของสะนดั (รายละเอียดมีการอธบิ ายในบทท่ี 5 และบทท่ี 6) 4. การนํามาใชเปนหลักฐานและปฏิบตั ติ าม หะดษี มรั ฟูอฺนนั้ ใชว า สามารถใชเปน หลกั ฐานไดท ้ังหมด หากแตบางหะดีษ ใชเ ปน หลักฐานไดและบางหะดีษก็ใชเปนหลักฐานไมได ตามทัศนะของอุละมาอฺ หะดีษ หากหะดีษมัรฟูอฺสามารถพาดพิงไปยังทานนบี  ดวยกระบวนการ รายงานท่ถี กู ตอ งแลว วาญิบ จะตองปฏบิ ัติตามและนํามาใชเ ปนหลกั ฐานได พึงทราบเปนการเบ้ืองตนวา หะดีษมัรฟูอฺบางครั้งจะขัดแยงกับหะดีษเมา กฟู และบางครั้งจะขัดแยงกับหะดีษมัรฟูอฺดวยกัน ในกรณีเชนน้ีจะตองยึดปฏิบัติ ตามหะดษี มัรฟูอทฺ ี่มีฐานะเหนือกวา ประเภทท่ี 3 หะดษี เมากูฟ 1. นิยาม ตามหลักภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﻣﻮﻗﻮﻑ‬เปนอาการนามในรูปของมัฟอูล (กรรม) มาจากคําวา “‫ ”ﺍﻟﻮﹾﻗﻒ‬ซง่ึ แปลวา หยดุ หรือสุดท่ี

67บทท่ี 6 การจาํ แนกหะดษี โดยพจิ ารณาผูทถ่ี ูกพาดพิง ตามหลักวชิ าการ หมายถึง สิ่งที่พาดพิงถึงบรรดาศอหาบะฮฺจะเปนคําพูด การกระทํา และการยอมรับ ทไ่ี มใชพาดพงิ ถึงทา นนบี  (1) การท่ีเรียกวา หะดีษเมากูฟน้ันก็เน่ืองจากสิ้นสุดคําพูด การกระทํา และ การยอมรับเพียงแคเ ศาะหาบะฮเฺ ทาน้นั 2. ชนิดและตวั อยา งของหะดษี เมากูฟ จากนยิ ามขางตน หะดีษเมากฟู สามารถจาํ แนกออกเปน 3 ชนดิ ดังนี้ ชนิดท่ี 1 หะดีษเมากฟู เกาลยี  (‫)ﺍﳌﻮﻗﻮﻑ ﺍﻟﻘﻮ ﹼﱄ‬ หมายถึง คําพูดของศอหาบะฮฺท่ีไดกลาวในเวลาและสถานท่ีตาง ๆ ที่ ไมม ีสว นเก่ยี วขอ งใด ๆ กับทานนบี  คําพูดหรือคํากลาวของเศาะหาบะฮฺที่ผูรายงานแอบอางไดยินหรือเห็น โดยตรงจากเศาะหาบะฮฺซ่ึงไมมีกรณีแวดลอม(1) บงช้ีถึงการอางมาจากทานนบี  แมแตคําเดียว แตหากมีกรณีแวดลอมแสดงถึงการพาดพิงถึงทานนบีจะไม เรียกวา หะดีษเมากูฟ เชน ผูรายงานกลาววา มีเศาะหาบะฮฺทานหนึ่งกลาววา “…………….” ตัวอยาง ‫ \" ﺣﺪﺛﻮﺍ ﺍﻟﻨﺎﺱ ﲟﺎ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﻋﻠ ّﻲ ﺑﻦ ﺃﰊ ﻃﺎﻟﺐ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬ \" ‫ ﺃﺗﺮﻳﺪﻭﻥ ﺃﻥ ﻳﻜﺬﺏ ﺍﷲ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ‬،‫ﻳﻌﺮﻓﻮﻥ‬ (1) อัลอริ อกีย หนา 51 (1) กรณแี วดลอ มเปน ทร่ี ูกนั ในหมอู ุละมาอฺวา “‫ ”ﻗﺮﻳﻨﺔ‬หรือหลักฐานจากอัลกุรอานและอัสสุนนะฮฺ

68บทที่ 6 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาผทู ี่ถูกพาดพิง แปลวา : อาลี เบ็ญอะบีฏอเล็บ  กลาววา “จงอธิบายใหคนอ่ืนฟงดวย ภาษาท่ีพวกเขาเขาใจ หรือวาพวกเจาตองการจะกลาวโกหก ตออัลลอฮแฺ ละรสลู ของพระองค”(2) ชนดิ ที่ 2 หะดีษเมากูฟฟอฺลยี  (‫)ﺍﳌﻮﻗﻮﻑ ﺍﻟﻔﻌﻠ ّﻲ‬ หมายถึง การกระทําของเศาะหาบะฮฺที่เกิดข้ึนในทุก ๆ สถานการณ ทุก ๆ อิริยาบถและลกั ษณะตา งๆ การกระทําของเศาะหาบะฮฺท่ีเปนเมากูฟนั้นตองมาจากการรายงานท่ีอาง ถึงพวกเขาโดยตรงและไมเกี่ยวของกับทานนบี  แตอยางใด ตัวอยางเชน ผูรายงานกลาววา เปนการกระทําของเศาะหาบะฮฺทานน้ี หรือมีเศาะหาบะฮฺ ทานหนึ่งไดกระทําสง่ิ นี้ เปน ตน \" ‫ \" ﻭﺃّﻡ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ ﻭﻫﻮ ﻣﺘﻴﻤﻢ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ ّﻱ _ ﺭﲪﻪ ﺍﷲ‬ แปลวา : อิมามอัลบุคอรียกลาววา อิบนุอับบาสเปนอิมามนําละหมาดทั้ง ๆ ทท่ี า นตะยาํ มุม(3) ชนิดท่ี 3 หะดีษเมากฟู ตักรีรีย (‫)ﺍﳌﻮﻗﻮﻑ ﺍﻟﺘﻘﺮﻳﺮ ّﻱ‬ หมายถึง เศาะหาบะฮฺใหการยอมรับตอคําพูดหรือการกระทําของคนหน่ึง คนใดทีป่ รากฏตอหนาพวกเขาหรอื จากการบอกเลา ใหแ กพวกเขา(4) (2) บันทกึ โดยอัลบคุ อรยี  เลม ท่ี1 หนา 56 (3) บันทึกโดยอัลบคุ อรยี  เลมท่ี1 หนา 82

69บทท่ี 6 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาผูท ถี่ ูกพาดพงิ ตัวอยางหะดีษเมากูฟตักรีรีย เชน ตาบิอีนทานหนึ่งไดรายงานวา เขาไดปฏิบัติอยางหน่ึงอยางใดตอหนาเศาะหาบะฮฺทานหน่ึง แตไมไดรับการ ปฏิเสธจากพวกเขาแมแตคนเดียว หรือตาบิอีนกลาววา เขาไดกระทําสิ่งหนึ่งตอ หนาเศาะหาบะฮฺทานหน่ึง เศาะหาบะฮฺทานนั้นใหการยอมรับตอการกระทํา หรือพวกเขาไมป ฏเิ สธ ดงั ท่ีปรากฏในคอบรั ตอไปน้ี ‫ﺃﻥ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﺍﳋﻄﺎﺏ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻧﻬﻰ ﻋﻦ ﺍﳌﻐﺎﻻﺕ ﰲ‬ ‫ ﺃﻥ ﺍﷲ‬،‫ ﻟﻴﺲ ﺫﻟﻚ ﺇﻟﻴﻚ ﻳﺎ ﻋﻤﺮ‬: ‫ ﻓﻘﺎﻟﺖ ﺍﻣﺮﺃﺓ‬،‫ﺍﳌﻬﻮﺭ‬ . ‫ ﻭﺁﺗﻴﺘﻢ ﺇﺣﺪﺍﻫ ّﻦ ﻗﻨﻄﺎﺭﹰﺍ ﻣﻦ ﺫﻫﺐ‬ : ‫ﻋﺰﻭﺟ ﹼﻞ ﻳﻘﻮﻝ‬ .‫ ﻛﻠﻜﻢ ﺃﻓﻘﻪ ﻣﻦ ﻋﻤﺮ‬: ‫ﻭﻗﺎﻝ‬ แปลวา : “แทจริงอุมัร เบ็ญ อัลคอฏฏอบไดหามเรียกคามะฮัรแพง (เกิน กวาเหตุ) มีผูหญิงทานหน่ึงกลาววา เรื่องน้ีไมใชสําหรับตัวทาน แตอยางใด นางก็อานอายะฮฺ  ‫ﻭﺁﺗﻴﺘﻢ ﺇﺣﺪﺍﻫ ّﻦ ﻗﻨﻄـﺎﺭﹰﺍ ﻣﻦ‬ ‫ ﺫﻫﺐ‬(1) ความวา “และเจาจงมอบแกพวกนางสิ่งมีคาจากทอง” และอุมรั กลา ววา ทุกคนในกลุม พวกเจาเขา ใจ (เรอ่ื งมะฮัร) ดีกวา อุมัรเสียอีก”(2) (4) คอื เศาะหาบะฮฺใหการยอมรบั ตอ คําพูดหรอื การกระทําของเศาะหาบะฮดฺ วยกัน หรอื ใหการยอมรับตอ คํา พูด หรือการกระทําของตาบิอีน และไมไดร บั การคัดคานจากเศาะหาบะฮฺทานอื่น (1) ซเู ราะฮอฺ ันนิสาอฺ อายะฮฺที่ 20 (2) บนั ทกึ โดยอับดุรรอซาคฺ (อางใน อศั ศอนอานยี  เลมท่ี3 หนา 321)

70บทท่ี 6 การจาํ แนกหะดษี โดยพจิ ารณาผทู ถี่ ูกพาดพงิ สิ่งที่นาสังเกตประการหน่ึงคือ การท่ีผูรายงานกลาวพาดพิงถึง เศาะหาบะฮฺและเศาะหาบะฮฺกลาวพาดพิงไปยังทานนบี  ในลักษณะใดก็ ตามที่สามารถเขาใจวามาจากทานนบี  กรณีเชนน้ีไมใชเปนหะดีษเมากูฟ แต เปนหะดีษมรั ฟูอฺ(3) 3. ระดบั ของหะดษี เมากูฟ หะดีษเมากูฟไมไดอยูในระดับเดียวกัน แตบางหะดีษอยูในระดับหะดีษ ศอหีฮฺ บางหะดษี อยูใ นระดับหะซัน และบางหะดีษอยูในหะดษี ฎออฟี (4) 4. การนํามาใชเปนหลักฐานและปฏบิ ตั ติ าม การนําหะดีษเมากูฟมาเปน หลักฐานน้ันใหพิจารณาจาก 2 ประการ คือ ประการแรก หะดีษเมากูฟที่ไมใชหุกมมัรฟูอฺ หากอยูในระดับหะดีษเมากูฟที่ เศาะหีหฺหรือหะซันก็สามารถนํามาใชเปนหลักฐานได และยังสามารถใหการ สนับสนุนหะดีษมัรฟูอฺเฎาะอีฟอีกดวย เนื่องจากบรรดาเศาะหาบะฮฺจะปฏิบัติ ตามสุนนะห และประการที่สองคือ หะดีษเมากูฟท่ีมีหุกมเปนมัรฟูอฺก็มีฐานะ เหมอื นกับหะดษี มรั ฟูอฺทุกประการ ที่กลาวมาขางตนนั้น คือ ในกรณีที่หะดีษเมากูฟไมขัดแยงกับหะดีษมัรฟูอฺ ท่ีใชเ ปนหลักฐานได(1) สวนหะดษี เมากูฟที่ขัดแยงกับหะดีษมัรฟูอฺที่มีฐานะฎออีฟ อุละมาอฺมีความเห็นที่แตกตาง ซึ่งบางทัศนะระบุวา ใหนําหะดีษเมากูฟใชเปน หลักฐาน และบางทัศนะกลาววา ใหนําหะดีษมัรฟูอฺเฎาะอีฟเปนหลักฐานได แต (3) รายละเอียดจะอธิบายในเร่อื งหะดีษเมากฟู หุกมมัรฟอู ฺ (4) รายละเอียดมีการอธบิ ายในบทที่ 6 (1) หะดีษเมากูฟและหะดีษมรั ฟูอฺท่มี รี ะดับเศาะหหี ฺ หะซัน แมแ ตเ ฎาะอีฟ

71บทท่ี 6 การจาํ แนกหะดษี โดยพจิ ารณาผูท่ีถูกพาดพิง ในกรณีหะดีษเมากูฟขัดแยงกับหะดีษเมาฎอฺ จะตองใชหะดีษเมากูฟเปน หลกั ฐาน ถงึ แมว าจะอยูในระดบั หะดษี ฎออีฟก็ตาม แตในทางปฏิบัติจริง การนําหะดีษเมากูฟมาเปนหลักฐานน้ันมีอุลามาอฺ 2 กลุมดว ยกัน คอื กลุมที่หน่ึง เปนการปฏิบัติของอิมามอัชชาฟอีย อิมามอะหฺมัด เบ็ญ หัน บัล อิมาม อัลบัยฮะกียและอ่ืน ๆ ใชหะดีษเมากูฟเปนหลักฐาน ตามทัศนะของ อุละมาอฺบางกลุม หะดีษเมากูฟตองมากอนกิยาสเสมอ(2) ตัวอยาง การยกมือ ทัง้ สองขางในการละหมาด ญะนาซะฮฺ ซงึ่ อุละมาอกฺ ลมุ น้ใี หฟตวาวา สุนัตใหยก สองมือทุกคร้ังเมื่อกลาวตักบีร ท้ัง 4 ครั้งโดยยึดหะดีษเมากูฟของอิบนุ อุมัรที่มี ฐานะเปนหะดษี หะซนั (3) กลุมทีส่ อง เปนการปฏบิ ัติของอมิ ามอะบูหะนีฟะฮฺ ซึ่งมีความเห็นวาหะดีษ เมากูฟใชเปนหลักฐานไมได เน่ืองจากเปนเพียงคําพูดของคนบางคนเทาน้ัน คําพูดนั้นอาจจะถูกหรือผิดก็ได(4) ดวยเหตุดังกลาว อิมามอะบูหะนีฟะฮฺกลาววา ไมสุนัตในการยกมือทั้งสองขางขณะกลาวตักบีรในละหมาดญะนาซะฮฺทั้งสี่คร้ัง ทานใชหะดษี มรั ฟูอเฺ ฎาะอฟี ถือเปนหลกั ฐานเพ่ือยนื ยนั ตอ ฟตวาดงั กลา ว(5) หะดีษเมากูฟทม่ี ีหุกม เปน หะดีษมรั ฟูอฺ นอกจากหะดีษเมากูฟท่ีไดอธิบายไปแลวนั้น จะมีหะดีษเมากูฟอีกชนิด หน่ึง ซึ่งเปนท่ีรูจักกันอยางแพรหลายในนาม หะดีษเมากูฟท่ีมีฐานะเปนหุกมมัร ฟูอฺ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา หะดีษเมากูฟหุกมีย ท่ีเรียกหะดีษเชนน้ีก็เพราะเปน (2) ดู มดั กรู หนา 81 (3) บันทึกโดยอัลบยั ฮะกีย : 3/258 (4) ดู มัดกูร หนา 81 (5) บนั ทกึ โดยอะบดู าวูด : 2/169

72บทท่ี 6 การจําแนกหะดษี โดยพจิ ารณาผทู ี่ถูกพาดพงิ คาํ กลาวหรือการกระทําของเศาะหาบะฮฺแตมีการเก่ียวพันกันกับทานนบี  ในเร่ืองน้ัน ๆ ในดานของหุกม กลาวคือ ตัวบทหะดีษเปนเมากูฟแตหุกมของหะ ดีษเปน มัรฟูอฺ โดยทว่ั ไปแลว หะดีษในลักษณะนีม้ ี 3 ลกั ษณะดว ยกนั คอื ลักษณะที่ 1 คําพูดของเศาะหาบะฮฺที่ไมอยูในกรอบของการอิจญติฮาด และไมไ ดอ ยูในฐานะของการอธิบายศัพทหรอื ขยายความเอง ตัวอยา งเชน 1. คําอธิบายเก่ียวกับเร่ืองราวตาง ๆ ที่ผานมาในอดีตเก่ียวกับการสราง มคั ลกู 2. คําพูดท่ีกลาวถึงเรื่องราวตาง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตเชน มีการพูดถึง การฆา ฟนกัน ฟต นะฮฺตา ง ๆ และวนั กยิ ามะฮฺ เปนตน 3. คาํ พดู ที่กลาวถงึ ผลตอบแทนทีม่ ตี อ มนษุ ย ลักษณะท่ี 2 ผูรายงานกลาวรายงานหะดีษแตพาดพิงถึงเศาะหาบะฮฺโดย ใชคําหนึ่งคําใดตอไปน้ี “‫ ”ﻳﺮﻓﻌﻪ‬หรือ “‫ ”ﻳﻨﻤﻴﻪ‬หรือ “‫ ”ﻳﺒﻠﻎ ﺑﻪ‬หรือ “‫”ﺭﻭﺍﻳﺔ ﻋﻨﻪ‬ ตวั อยางเชน หะดษี จากการรายงานของอัลอะอรฺ อจญ กลาววา ‫ ﺗﻘﺎﺗﻠﻮﻥ ﻗﻮﻣﹰﺎ ﺻﻐﺎﺭ ﺍﻷﻋﲔ‬: ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﺭﻭﺍﻳﺔ‬ ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺในบางสายรายงานกลาววา พวกเขาจะตอ สกู บั กลมุ หนง่ึ ทมี่ อี ายุนอ ย(1) (1) บันทึกโดยอัลบุคอรยี  : 4/56

73บทท่ี 6 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาผูทีถ่ ูกพาดพงิ ลักษณะที่ 3 ผูรายงานกลา ววา มเี ศาะหาบะฮฺทานหน่ึงกลาวรายงาน หะดีษโดยสํานวนการรายงานตอไปนี้ “‫ ”ﺃﻣﺮﻧﺎ ﺑﻜﺬﺍ‬หรือ “‫ ”ﻧﻬﻴﻨﺎ ﻋﻦ ﻛﺬﺍ‬หรือ “‫ ”ﻣﻦ ﺍﻟﺴﻨﺔ ﻛﺬﺍ‬และใชสํานวนอ่นื ๆ ในลักษณะเดยี วกัน(2) ตัวอยา งเชน 1. คาํ พูดของเศาะหาบะฮบฺ างทา นกลาววา ‫ ﻭﺃﻥ ﻳﻮﺗﺮ ﺍﻹﻗﺎﻣﺔ‬،‫ﺃﻣﺮﻧﺎ ﺑﻼﻝ ﺃﻥ ﻳﺸﻔﻊ ﺍﻷﺫﺍﻥ‬ ความวา : “บิลาลไดส่ังพวกเราใหกลาวอะซานในสํานวนเปนคูและกลาว อกิ อมัตเปน คี่”(3) 2. คาํ พดู ของอุมมุอะฏยิ ะฮกฺ ลา ววา ‫ ﻭﱂ ﻳﻌﺰﻡ ﻋﻠﻴﻨﺎ‬،‫ﻧﻬﻴﻨﺎ ﻋﻦ ﺍﺗﺒﺎﻉ ﺍﳉﻨﺎﺋﺰ‬ ความวา : “พวกเราเปนท่หี ามตดิ ตามญะนาซะฮฺ (ศพ) แตไ มใชเ ปนการสั่ง หามเดด็ ขาด”(4) 3. คาํ รายงานของอะบูกิลาบะฮจฺ ากญาบิร  กลาววา ‫ﻣﻦ ﺍﻟﺴﻨﺔ ﺇﺫﺍ ﺗﺰﻭ ّﺝ ﺍﻟﺒﻜﺮ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﺜﻴﺐ ﺃﻗﺎﻡ ﻋﻨﺪﻫﺎ ﺳﺒﻌﹰﺎ‬ (2) สํานวนขางตนเปน สาํ นวนทีแ่ สดงถึงการพาดพงิ ถงึ ทานนบี  (3) บนั ทึกโดยอัลบุคอรีย : 2/189 (4) บันทกึ โดยอัลบุคอรยี  : 3/56

74บทท่ี 6 การจําแนกหะดษี โดยพจิ ารณาผูทถี่ ูกพาดพงิ ความวา : “บางสวนที่เปนสุนนะฮฺ คือ เมื่อมีการแตงงานกับหญิงสาวใน บรรดาหญงิ มา ยใหอ ยูก บั นางเปนเวลาเจด็ วัน”(1) นอกจากสํานวนท่ีกลาวมาแลวขางตน ยังมีอีกหลายสํานวนท่ีกลาวใน ทํานอง และมคี วามหมายเดียวกันซ่ึงไมจําเปนตอ งอธิบายซํ้าอกี อยางไรก็ตาม หะดีษเมากูฟท่ีมีหุกมเปนมัรฟูอฺก็สามารถใชเปนหลักฐาน ไดหากการรายงานของหะดีษนั้น ๆ มีฐานะเปนหะดีษเศาะหีหฺหรือหะดีษหะซัน แตหากการรายงานไมไดอยูในระดับเศาะหีหฺหรือหะซันไมอนุญาตนํามาใชเปน หลักฐานได โดยเฉพาะอยางย่ิงในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับ อะกีดะฮฺ อิบาดะฮฺ การนิกาฮฺ เปนตน แตบางทัศนะมีความเห็นวา หะดีษเมากูฟหุกม มัรฟูอฺใช เปนหลักฐานไดโดยไมตองวิเคราะหสถานภาพของหะดีษแตอยางใด เนื่องจาก บรรดาเศาะหาบะฮฺไดป ฏิบัตติ ามทานนบีในทุกส่ิงทุกอยา งโดยไมตอ งสงสัยใด ๆ ท้งั สนิ้ ประเภทท่ี 4 หะดีษมักฏอฺ 1. นยิ าม ตามหลักภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﻣﻘﻄﻮﻉ‬เปนอาการนามในรูปของกรรม (อิสมฺ มัฟอูล) จากคําวา “‫ ”ﹶﻗ ﹶﻄ َﻊ‬แปลวา ขาด ตรงกันขามกับคําวา “‫ ”ﺍﻟﻮ ْﺻ ﹸﻞ‬แปลวา ถึงหรือติอตอ ดังน้ัน (1) บนั ทกึ โดยอัลบุคอรยี  : 8/68

75บทท่ี 6 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาผูท่ีถูกพาดพิง หะดีษมักฏอฺ หมายถึง หะดีษที่มีการรายงานไมถึงตนสาย คือ รสูลุลลอฮฺ และเศาะหาบะฮฺ ` ตามหลักวิชาการ หะดีษมักฏอฺ คือ ส่ิงที่พาดพิงไปยังตาบิอีนเทาน้ันทั้งที่เปนคําพูดและการ กระทํา(2) หะดีษประเภทนี้สามารถใชกับคําพูดหรือการกระทําของตาบิอฺ ตาบิอีน เชน คําพูดของอิมามมาลิก เบ็ญ อะนัส อิมามอัชชาฟอีย อิมามอัษเษารีย เปน ตน และยังสามารถใชกับคําพูดหรือการกระทําของอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน เชนกัน เชน คําพูดหรือการกระทําของอิบนุอุยัยนะฮฺ อิบนุอุลัยยะฮฺ และทาน อ่นื ๆ 2. ชนดิ และตวั อยางของหะดษี มกั ฏอ ฺ จากนิยามขา งตน หะดีษมกั ฏอ ฺแบงออกเปน 2 ชนิด ชนิดที่ 1 หะดีษมกั ฏอฺเกาลยี  (‫)ﺍﳌﻘﻄﻮﻉ ﺍﻟﻘﻮ ﹼﱄ‬ หมายถึง คําพูดของตาบิอีน ตาบิอฺตาบิอีน และอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน (1)ท่ีไดกลาวในเวลาและสถานการณตาง ๆ เชน คําพูดของอัลหะซัน อัลบัศรีย เกี่ยวกับละหมาดตาม หลังอิมามมุบตะดิอฺ (อุตริ) กลาววา “จงละหมาดเถิด ถงึ แมวา เขาจะทาํ ในเรอื่ งอุตรกิ ็ตาม”(2) ชนิดที่ 2 หะดษี มกั ฏอ ฺฟอ ลฺ ีย (‫)ﺍﳌﻘﻄﻮﻉ ﺍﻟﻔﻌﻠ ّﻲ‬ (2) อัสสุยูฏีย : 2/ 96 (1) อุละมาอฺท้ังสามรุนนี้เปนทั้งนักรายงาน นักบันทึกและนกั ทองจาํ หะดีษ (2) บันทึกโดยอัลบคุ อรยี  : 1/158

76บทที่ 6 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาผทู ถ่ี ูกพาดพิง หมายถึง การกระทําของตาบิอีน ตาบิอฺตาบิอีน หรืออัตบาอฺ ตา บิอฺ- ตาบิอีน เชน คํารายงานของอิบรอเฮ็ม เบ็ญ มุฮัมมัด เบ็ญ อัลมุนตะศิรท่ี กลาววา “อิมามมัสรูคไดก้ันมานระหวางเขากับครอบครัวของเขา ทานก็หันหนา ทางกิบลัตในเวลาละหมาด ประกอบ อิบาดะฮฺ และใชสําหรับพูดคุยเร่ืองดุนยา ณ สถานที่นั้น”(3) 3. ระดับของหะดีษมกั ฏอ ฺ หะดีษมักฏอฺมีท้ังที่เปนหะดีษมักฏอฺเศาะหีหฺ หะดีษมักฏอฺหะซัน และ หะดีษมกั ฏอฺ เฎาะอฟี และหะดษี มกั ฏอฺเมาฎอ ฺ 4. การนํามาใชเ ปนหลกั ฐาน หะดีษมักฏอฺไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐานไดในเร่ืองเกี่ยวกับ บทบัญญตั ิอสิ ลามและเร่ืองอื่น ๆ เนื่องจากเปนคําพูดหรือการกระทําของบุคคล หนึง่ เทา นน้ั แตห ากมีกรณีแวดลอมบงชีอ้ ยางชัดเจนวามาจากเศาะหาบะฮฺโดยใช สํานวนรายงานท่ีชัดเจน เชน“‫ ”ﻗﺎﻝ‬หะดีษมักฏอฺในลักษณะนี้ จะมีหุกมเปน หุกมมรั ฟูอมฺ ุรซลั (4) อีกประการหน่ึงที่สําคัญเก่ียวกับคําพูดของบรรดาอุละมาอฺตาบิอีน ตาบิอฺ ตาบอิ นี และอตั บาอฺ ตาบอิ ฺตาบิอนี ดงั น้ี เม่ือพวกเขากลาววา “‫ ”ﻛﺎﻧﻮﺍ ﻳﻔﻌﻠﻮﻥ ﻛﺬﺍ‬แปลวา พวกเขาไดปฏิบัติอยาง นี้ หรือกลาววา “‫ ”ﻛﺎﻧﻮﺍ ﻳﻘﻮﻟﻮﻥ ﻛﺬﺍ‬แปลวา พวกเขาไดกลาวเชนน้ี หรือกลาว วา “‫ ”ﻻ ﻳﺮﻭﻥ ﺑﺬﻟﻚ ﺑﺄﺳﹰﺎ‬แปลวา พวกเขามีความเห็นวาน้ันไมเปนไร สํานวน (3) บนั ทกึ โดยอัดดยั ละมีย : 2/96 (4) รายละเอียดจะมีการอธบิ ายในเร่ืองหะดีษมุรซัล

77บทที่ 6 การจาํ แนกหะดษี โดยพจิ ารณาผทู ่ถี ูกพาดพิง เหลานี้มีความหมายแสดงการพาดพิงถึงเศาะหาบะฮฺท้ังที่เปนคําพูด การ กระทําหรือแมแตการยอมรับ เวนแตมีหลักฐานบงช้ีอยางชัดเจนวามาจากคน อื่น ในทํานองเดียวกัน เมื่อพวกเขากลาววา “‫ ”ﻛﺎﻥ ﺍﻟﺴﻠﻒ ﻳﻔﻌﻠﻮﻥ ﻛﺬﺍ‬แปลวา ชาวสะลัฟไดปฏิบัติอยางนี้ หรือกลาววา “‫ ”ﻳﻘﻮﻟﻮﻥ ﻛﺬﺍ‬แปลวา ชาวสะลัฟได กลาวเชน น้ี สํานวนตาง ๆ เหลานี้มีความหมายเจาะจงใชกับเศาะหาบะฮฺเทาน้ัน เพราะคําวา “สะลัฟ” ที่มาจากคําพูดของตาบิอีน คือ เศาะหาบะฮฺ แตหากเปน คํากลาวของคนอื่นจะมีความหมายดงั น้ี ตาบิอตฺ าบอิ นี กลาววา ชาวสะลัฟ หมายถงึ เศาะหาบะฮฺและตาบอิ ีน อัตบาอฺ ตาบิอฺตาบิอีน กลาววา ชาวสะลัฟ หมายความถึง เศาะหาบะฮฺ ตาบิอนี และตาบอิ ฺตาบิอีน หากกลา ววา ชาวสะลฟั ทมี่ าจากคําพูดของคนในสมัยตอ ๆ มาหรือคนใน สมัย มุตะอัคคิรูน หมายถึง เศาะหาบะฮฺ ตาบิอีน ตาบิอฺตาบิอีน และอัตบาอฺ ตาบิอตฺ าบอิ ีน หรือผูทมี่ ชี วี ิตอยใู นชวง 300 ปแรกแหงฮิจเราะฮฺศักราช

78บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน บทที่ 7 การจําแนกหะดีษ โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน การจําแนกหะดีษทีจ่ ะกลาวถึงในบทน้ี คือ การจําแนกหะดีษมัรฟูอฺ ไมใช หะดษี กดุ สีย หะดษี เมากฟู และหะดษี มกั ฏอ แฺ ตอยา งใด การจําแนกหะดีษมัรฟูอฺเปนการพิจารณาจากสายรายงานของแตละหะดีษ ท่ีมาถึงเราจากผูรายงานทั้งหลายตั้งแตชวงตนจนถึงทานนบี  การรายงานนั้น ถูกตองหรือไมก็ตาม การจําแนก หะดีษในลักษณะนี้แบงออกเปน 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 หะดษี มุตะวาติร ประเภทท่ี 2 หะดษี อาหา ด แตล ะประเภทจะมกี ารอธบิ ายรายละเอียดตามลําดบั แผนภมู ิการจําแนกหะดีษ…

79บทท่ี 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน แผนภมู กิ ารจําแนกหะดษี หะดีษ หะดษี กดุ สีย หะดษี นบี หะดีษมุตะวาตริ หะดีษอาหาด หะดีษมกั บลู หะดีษมรั ดดู หะดีษเศาะหีฮฺ หะดษี เฎาะอีฟ หะดีษหะซนั หะดีษเฎาะอีฟญดิ ดัน หะดษี เมาฎอ ฺ ประเภทท่ี 1 หะดีษมุตะวาติร…

80บทท่ี 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน ประเภทท่ี 1 หะดีษมุตะวาติร 1. นยิ าม ตามหลกั ภาษาศาสตร คําวา “‫ ”َﺗ َﻮﺍُﺗٌﺮ‬มาจากรากศัพทของคําวา “‫”ﺗﻮﺍﺗﺮ ﻳﺘﻮﺍﺗﺮ ﺗﻮﺍﺗﺮﹰﺍ‬แปลวา ติดๆ กัน หรือไมขาดสาย เชน ฝนตกอยางติดตอกัน หมายถึงฝนตกลงมาติดตอกันไม ขาดสาย สวนคําวา “‫ ”ﻣﺘﻮﺍﺗﺮ‬เปนนามในรูปของประธานซ่ึงเปนช่ือเฉพาะของหะ ดษี มตุ ะวาตริ ตามหลกั วิชาการ หะดีษมุตะวาติร คือ หะดีษที่มีการรายงานโดยบุคคลเปนจํานวนมาก ซ่ึง เปน ไปไมไดท่ีบุคคลเหลานั้นจะสมรูรวมคิดโกหกตอทานนบี  และหะดีษของ ทาน(1) 2. เงือ่ นไขของหะดีษมตุ ะวาตริ การทจ่ี ะเรียกหะดีษมุตะวาตริ ไดน ้นั จะตอ งประกอบดวยเงือ่ นไข 4 ประการ ประการท่ี 1 มีการรายงานโดยผูรายงานเปน จํานวนมาก(2) ประการท่ี 2 ผูรายงานจาํ นวนมากนัน้ ตองมใี นทกุ สายสะนดั (3) (1) ดู อตั ตะฮานะวยี  หนา 31 (2) บรรดาอุละมาอมฺ คี วามเหน็ ที่ตางกันเกยี่ วกบั จํานวนผรู ายงานขัน้ ตํา่ ของจาํ นวนมาก บางทศั นะกลาววาต้ัง แต 8 คนขนึ้ ไปบางทัศนะกลาววาต้ังแต 9 คนขนึ้ ไป และมบี างทศั นะกลาววาต้ังแต 10 คนขนึ้ ไป แตท ศั นะที่ถูกตอง คอื ทัศนะสดุ ทาย (ดู อสั สุยฏู ยี  : 2/188) (3) หมายความวา ในทกุ ๆ ชว งของสะนดั นัน้ ตอ งมผี ูรายงานอยางนอย 10 คนขึน้ ไป

81บทที่ 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน ประการที่ 3 ผูรายงานจํานวนมากนั้นเปนไปไมไดที่จะสมรูรวมคิดโกหก ตอหะดีษ(4) ประการท่ี 4 การรายงานของพวกเขามีการสมั ผสั ดว ยตนเอง(5) หากขาดเงอื่ นไขใดเงื่อนไขหนึ่งในจํานวนส่ีประการนี้ ไมเรียกวาหะดีษมุตะ วาตริ แตจ ะเปน หะดีษอาหา ด 3. ชนิดและตวั อยา งหะดีษมตุ ะวาตริ หะดีษมตุ ะวาติรแบงออกเปน 2 ชนิด ชนิดที่หน่งึ หะดีษมุตะวาตริ ลฟั ซีย (‫)ﺍﳌﺘﻮﺍﺗﺮ ﺍﻟﻠﻔﻈ ّﻲ‬ หมายถึง หะดีษที่เปนมุตะวาติรทั้งตัวบทและความหมายของหะดีษ ตวั อยา ง ،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﻋﻮﺍﻧﺔ‬،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﻣﻮﺳﻰ ﺑﻦ ﺇﲰﺎﻋﻴﻞ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ ّﻱ‬ ‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺻﺎﱀ‬،‫ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﺣﻔﺺ‬ ‫ )) ﻣﻦ ﻛﺬﺏ ﻋﻠ ّﻲ‬: ‫ﻋﻨﻪ ﻋﻦ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬ (( ‫ﻣﺘﻌﻤﺪﹰﺍ ﻓﻠﻴﺘﺒﻮﺃ ﻣﻘﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬ ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ  จากทานนบี  กลาววา “และผูใด เจตนาโกหกตอฉนั ก็จงเตรยี มทน่ี ่งั สําหรบั เขาไวใ นไฟนรก”(1) (4) คอื ผรู ายงานเปน จํานวนมากน้ันจะมาหลายเมอื ง หลายรุนและหลายมัซฮับ (5) คาํ วาสัมผสั ดวยเองคือการรบั หรอื ไดย ินหะดีษโดยตรงจากอาจารยตลอดทั้งสายรายงานโดยใชส าํ นวนการ รายงานหะดีษคําวา “‫ ”ﲰﻌﻨﺎ“ ” َﺳﻤ ْﻌ ُﺖ‬หรือ “‫ ”ﹶﳌ ْﺴﻨﺎ“ ”ﳌ ْﺴ ُﺖ‬เปน ตน

82บทที่ 7 การจาํ แนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุตะวาติรท้ังตัวบทหะดีษและความหมาย อัลอัส เกาะลานียกลาววา “สายรายงานของหะดีษในรุนเศาะหาบะฮฺมีมากกวา 70 คน”(2) ดังนั้น สายรายงานของหะดีษมีท้ังหมด 70 สาย สวนตัวบทของหะดีษมี การรายงานดวยสํานวนท่ีหลากหลาย บางตอนของตัวบทหรือบางคําไมมีการ รายงานของสะนัดอ่ืน แตตัวบทหะดีษจะกลาวในเร่ืองเดียวกัน (ดูแผนภูมิสะนัด หนา 61) นอกจากสะนัดตาง ๆ ที่ไดยกมาจะมีสะนัดอ่ืนอีกหลายสะนัดที่รายงานหะ ดีษดังกลาวท้ังหมดอยูในระดับหะดีษเศาะหีหฺหรือหะดีษหะซัน บางสะนัดมี ลักษณะเปนสะนัดอาลยี และบางสะนดั มลี ักษณะเปนสะนัดนาซิล แผนภูมสิ ะนัดหะดษี มตุ ะวาตริ ลัฟซยี . .. (1) บนั ทึกโดยอัลบคุ อรียด วยสองสะนดั คือ 1/577 จากอะบฮู ุรัยเราะฮฺ และ จากอลั มุฆีเราะฮฺ : 3/160, มุสลมิ จากอะบสู ะอีด : 18/129, อะบูดาวูด : 4/63 และอัตตัรมิซีย จากอบั ดุลเลาะ : 4/524, อิบนุมาญะฮฺไดร ายงาน ดว ยสามสะนัด คือ จากอะนัส เบ็ญ มาลิกและ ญาบิร เบญ็ อับดุลเลาะ : 1/13 และจากอะบูสะอีด อลั คดุ รยี  : 1/14 อะหฺมดั เบ็ญ หันบลั ไดรายงานดวยสองสะนดั คือ จากอะบสู ะอดี อัลคดุ รีย : 3/39 และจากอะนสั เบ็ญ มาลิก : 3/44, อดั ดาริมยี ไดรายงานดว ยสองสะนดั คือ จากอบิ นอุ ับบาสและจาก ยะอฺลา เบ็ญ มรุ เราะฮฺ : 1/88 (2) อลั อสั เกาะลานยี  : 1/129

‫‪83บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน‬‬ ‫‪แผนภมู สิ ะนัดหะดษี มตุ ะวาติรลัฟซยี ‬‬ ‫)) ﻣﻦ ﻛﺬﺏ ﻋﻠ ّﻲ ﻣﺘﻌﻤﺪﹰﺍ ﻓﻠﻴﺘﺒﻮﺃ ﻣﻘﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ ((‬ ‫)‪(6‬‬ ‫)‪(5) (4‬‬ ‫)‪(3‬‬ ‫)‪(2‬‬ ‫)‪(1‬‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺃﻧﺲ ﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‬ ‫ﺃﺑﻴﻪ‬ ‫ﺃﺑﻴﻪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺳﻌﻴﺪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺍﳌﻐﲑﺓ‬ ‫ﺍﳋﺪﺭ ّﻱ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﺷﻬﺎﺏ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺑﻦ‬ ‫ﻋﺎﻣﺮ ﺑﻦ ﻋﺒﺪﺍﷲ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺻﺎﱀ ﻋﻠ ّﻲ ﺑﻦ ﺭﺑﻴﻌﺔ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﷲ‬ ‫ﺍﻟﻠﻴﺚ ﺑﻦ‬ ‫ﻭﺑﺮﺓ ﺑﻦ‬ ‫ﻋﻄﺎﺀ ﺑﻦ ﻳﺴﺎﺭ‬ ‫ﺳـﻌﺪ‬ ‫ﲰﺎﻙ ﺑﻦ ﺣﺮﺏ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺣﺼﲔ ﺳﻌﻴﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﻋﺒﻴﺪ ﺯﻳﺪ ﺑﻦ ﺃﺳﻠﻢ ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﲪﻦ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻋﻮﺍﻧﺔ‬ ‫ﺷـﻌﺒﺔ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺭﻣﺢ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻧﻌﻴﻢ ﹼﳘﺎﻡ ﺑﻴﺎﻥ ﺑﻦ ﺑﺸﺮ‬ ‫ﻣﻮﺳﻰ ﺑﻦ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬ ‫ﺧﺎﻟﺪ‬ ‫ﻫ ّﺪﺍﺏ ﺑﻦ ﺧﺎﻟﺪ‬ ‫ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ ّﻱ‬ ‫ﺇﲰﺎﻋﻴﻞ‬ ‫)‪(1/13‬‬ ‫ﳏﻤﻮﺩ ﺑﻦ ﻏﻴﻼﻥ‬ ‫ﻣﺴﺪﺩ‬ ‫)‪(3/160‬‬ ‫ﻋﻤﺮﻭ ﺑﻦ ﻋﻮﻥ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ‫ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ ّﻱ‬ ‫)‪(18/129‬‬ ‫)‪(10/577‬‬ ‫ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ ّﻱ‬ ‫)‪(4/524‬‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬ ‫)‪(4/63‬‬

‫‪84บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน‬‬ ‫) ‪แผนภมู ิสะนัดหะดีษมุตะวาติรลฟั ซยี  (ตอ‬‬ ‫)) ﻣﻦ ﻛﺬﺏ ﻋﻠ ّﻲ ﻣﺘﻌﻤﺪﹰﺍ ﻓﻠﻴﺘﺒﻮﺃ ﻣﻘﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ ((‬ ‫)‪(12‬‬ ‫)‪(11) (10‬‬ ‫)‪(9‬‬ ‫)‪(8‬‬ ‫)‪(7‬‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺟﺪﻩ )ﻳﻌﻠىﱭ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ‬ ‫ﺃﻧﺲ ﺑﻦ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺳﻌﻴﺪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺳﻌﻴﺪ‬ ‫ﺟﺎﺑﺮ‬ ‫ﻣﺮﺓ(‬ ‫ﻣﺎﻟﻚ‬ ‫ﺍﳋﺪﺭ ّﻱ‬ ‫ﺍﳋﺪﺭ ّﻱ‬ ‫ﺳﻌﻴﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺍﻟﺰﺑﲑ‬ ‫ﺃﺑﻴﻪ )ﻋﺒﺪﺍﷲ(‬ ‫ﺟﺒﲑ‬ ‫ﻋﻄﻴﺔ ﻋﻄﺎﺀ ﺑﻦ ﻳﺴﺎﺭ ﻋﺒﺪﺍﻟﻌﺰﻳﺰ‬ ‫ﻫﺸﻴﻢ‬ ‫ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﻋﺒﺪﺍﷲ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻷﻋﻠﻰ‬ ‫ﻣﻄﺮﻑ ﺯﻳﺪ ﺑﻦ ﺃﺳﻠﻢ ﺇﲰﺎﻋﻴﻞ‬ ‫ﺯﻫﲑ ﺑﻦ‬ ‫ﺍﻟﺼﺎﱀ ﺑﻦ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻋﻮﺍﻧﺔ‬ ‫ﻋﻠ ّﻲ ﻳﻦ ﻣﺴﻬﺮ ﳘﺎﻡ ﺑﻦ ﳛﻲ ﺑﻴﺎﻥ ﺑﻦ ﺑﺸﺮ‬ ‫ﺣﺮﺏ‬ ‫ﳏﺎﺭﺏ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﺳﻮﻳﺪ ﺑﻦ ﺳﻌﻴﺪ ﺃﺑﻮ ﻋﺒﻴﺪﺓ ﻫﺸﻴﻢ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﲪﻴﺪ‬ ‫ﻋﻴﺴﻰ‬ ‫)‪(1/13‬‬ ‫ﺍﻟﺪﺍﺭﻣ ّﻲ‬ ‫ﺍﻟﺪﺍﺭﻣ ّﻲ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﺃﲪﺪ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫)‪(1/88‬‬ ‫)‪(1/88‬‬ ‫ﺟﻌﻔﺮ‬ ‫)‪(3/39‬‬ ‫)‪(1/14‬‬ ‫ﺃﲪﺪ‬ ‫)‪(3/44‬‬ ‫)ﺍﳌﺘﻮﺍﺗﺮ ﺍﳌﻌﻨﻮ ّﻱ( ‪ชนดิ ทสี่ อง หะดษี มุตะวาติรมะอฺนะวีย‬‬ ‫‪หมายถงึ หะดีษมตุ ะวาติรในดา นของความหมายเทาน้นั ไมรวมถงึ ตวั บท‬‬ ‫‪หะดีษ‬‬

85บทท่ี 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ‫ ﻛﺎﻥ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﻋﻦ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﺍﳋﻄﺎﺏ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ‬ ‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﺇﺫﺍ ﺭﻓﻊ ﻳﺪﻳﻪ ﰲ ﺍﻟﺪﻋﺎﺀ ﱂ ﳛﻄﻬﻤﺎ ﺣﱴ‬ ‫ﳝﺴﺢ ﺑﻬﻤﺎ ﻭﺟﻬﻪ‬ ความวา : จากอมุ รั เบ็ญ อัลคอฏฏอบ  กลา ววา “รสลู ุลลอฮฺ  เมอ่ื ทา นยกสองมือในการดอุ าอฺ ทานไมไดเ อาสองมอื ลงจนกวาทา น ลูบใบหนาเสียกอน”(1) จากหะดษี บทนี้และหะดษี อื่น ๆ ไดพ ดู ถงึ เร่ืองการยกสองมอื ขณะขอดุอาอฺ ได การยกสองมือในเหตกุ ารณทแี่ ตกตางกนั ไมถ งึ ข้ันหะดษี มุตะวาติร อิมามอสั สุ ยฏู ยี กลาววา “เมือ่ รวบรวมสายรายงานของหะดีษทพ่ี ูดถงึ เฉพาะการยกสองมอื เทา น้ัน โดยมิไดพ ิจารณาเหตกุ ารณห ะดีษบทน้ีอยูในระดบั หะดษี มุตะวาติร”(2) (1) บันทึกโดยอะบูดาวูด : 5/234, อัตติรมิซีย : 5/45 จากอิบนุอับบาส สํานวนหะดีษเปนของอัตติรมิซีย หะดีษนี้ บันทึกโดยอิบนุมาญะฮฺจากสองกระแสรายงาน คือ จากอิบนุอับบาส : 1/1234 และจากอัสสาอิบ เบ็ญ ยะซีด : 2/1234 อัลอัสเกาะลานีย กลาววา สําหรับหะดีษบทนี้มีชะวาฮิดบันทึกโดยอะบูดาวูดและทาน อื่น ๆ เม่ือ รวบรวมกระแสรายงานของหะดษี ทั้งหมดสามารถสนับสนุนจึงเล่ือนฐานะเปนหะดีษหะซัน (ดูอิบนุ อัลลาน : 2/254) หมายถงึ หะดษี หะซนั ลฆิ ัยรฮิ ฺ (2) อัสสุยฏู ีย : 2/180

86บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 4. หกุ มของหะดีษมุตะวาติร อุละมาอฺสวนใหญม ีความเห็นวา หะดีษมุตะวาติรจะมีหกุ ม อิลมฎุ อรูรยี  – ‫( ﺍﻟﻌﻠﻢ ﺍﻟﻀﺮﻭﺭ ّﻱ‬ความรูท ีแ่ นนอน) หรอื บอกหุกม อยา งเดด็ ขาดท่ีวาญิบตอง ปฏิบตั แิ ละจาํ เปน ในการศรัทธาเสมือนเขาไดเ ห็นดวยตนเองในสง่ิ นัน้ ๆ 5. หุกมของการนาํ มาใชเปนหลักฐาน หะดีษมุตะวาติรวาญิบใหนํามาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตาม(3)ในทุกๆ เร่ืองที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนา หะลาลและหะรอม อิบาดะฮฺ การแตงงาน และ อ่นื ๆ เปนตน 6. จํานวนหะดษี มุตะวาติร หะดีษมุตะวาติรมีจํานวนไมมากหากเทียบกับหะดีษอาหาด เพราะสาย รายงานท่ีมีลักษณะมากกวา 10 คนในทุกชวงและทุกรุนของสายรายงานไมใช เร่ืองท่ีงาย และการรายงานเพ่ือจะไดมาซ่ึงจํานวนดังกลาวเปนเร่ืองที่เหนือขีด ความสามารถของแตละคนโดยคนอะวาม เวนแตบุคคลท่ีมีความเชี่ยวชาญและ ทุมเทเพอื่ หะดีษของทา นนบี  เทานน้ั ทสี่ ามารถทําได 7. ตาํ ราทเ่ี กย่ี วของ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺴﻴﻮﻃ ّﻲ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻷﺯﻫﺎﺭ ﺍﳌﺘﻨﺎﺛﺮﺓ ﰲ ﺍﻷﺧﺒﺎﺭ ﺍﳌﺘﻮﺍﺗﺮﺓ‬.1 ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺴﻴﻮﻃ ّﻲ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﻗﻄﻒ ﺍﻷﺯﻫﺎﺭ‬.2 ‫ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﻌﻔﺮ ﺍﻟﻜﺘﺎ ﹼﱐ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﻧﻈﻢ ﺍﳌﺘﻨﺎﺛﺮﺓ ﻣﻦ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﺘﻮﺍﺗﺮ‬.3 (3) วาญิบในท่ีนี้หมายถึงวาญิบอัยนีย (สําหรับบุคคล) คือ ผูใดปฏิเสธหะดีษหรือไมยอมปฏิบัติตามเน้ือหาสาระของ หะดีษมุตะวาติรทั้ง ๆ ที่เขามีความรูในเรื่องน้ัน เปนหุกมหะรอม สวนผูที่ไมมีความรูหรือปฏิเสธเน่ืองจาก ความญาฮลิ ของเขา อลุ ะมาอฺมคี วามเหน็ วา เปน ที่อนโุ ลมกนั

87บทท่ี 7 การจําแนกหะดษี โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน ประเภทท่ี 2 หะดีษอาหาด 1. นยิ าม ตามหลกั ภาษาศาสตร คําวา “‫ ”ﺁﺣﺎﺩ‬เปนคําพหูพจนของ ‫ ﺃﺣ ٌﺪ‬แปลวา หนงึ่ เดยี ว หมายถงึ หะดษี ทีม่ ผี รู ายงานหนง่ึ เดยี วหรือสายรายงานเดียว จุดประสงคของการใชคาํ พหูพจน “‫ ”ﺁﺣﺎﺩ‬เพอื่ แสดงถงึ สายรายงานนน้ั ไม ถงึ ขน้ั หะดษี มุตะวาติร คือ สะนดั แตละสะนดั ของหะดีษแตละบทไมถ ึง 10 สะนัดน่นั เอง ตามหลกั วชิ าการ หะดีษอาหา ด คือ หะดษี ทีม่ ีการรายงานที่ไมครบเง่ือนไขของหะดีษ มตุ ะ วาติร(1) 2. หกุ มของหะดษี อาหาด ตามทัศนะของอุละมาอสฺ ว นใหญระบวุ า หะดีษอาหาดใหห กุ ม อลิ มุศอนนยี  –‫( ﺍﻟﻌﻠﻢ ﺍﻟﻈّﻨﻲ‬คาดคะเน) ไมใชหกุ มทแี่ นนอน อบิ นุ ฮซั มฺ กลาววา “หะ ดษี อาหา ดท่รี ายงานโดยผทู ี่มคี ุณธรรมจากคนทม่ี ีลกั ษณะเดยี วกันจนถงึ ทา นนบี  วาญบิ ปฏบิ ัตติ ามและตองมกี ารศรัทธาในหะดษี อกี ดวย”(2) 3. ชนิดของหะดษี อาหาด การจาํ แนกหะดีษอาหาดออกเปน ชนดิ ตา ง ๆ นน้ั มีวธิ ีการพจิ ารณา 2 ดาน (1) อลั อัสเกาะลานีย หนา 26 (2) อิบนฮุ ซั มฺ เลมที1่ หนา 165

88บทท่ี 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน 1. พิจารณาจํานวนผูรายงานในแตล ะสะนัดของแตละรุน ชนิดท่ี 1 หะดีษมัชฮูร (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﺸﻬﻮﺭ‬ ชนิดท่ี 2 หะดีษอะซีซ (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﻟﻌﺰﻳﺰ‬ ชนิดที่ 3 หะดีษเฆาะรีบ (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﻟﻐﺮﻳﺐ‬ 2. พจิ ารณาสถานภาพของผูร ายงานทั้งดานสถานภาพของแตละคน ชนดิ ท่ี 1 หะดีษมกั บลู (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﻘﺒﻮﻝ‬ ชนดิ ท่ี 2 หะดีษมัรดดู (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﺮﺩﻭﺩ‬ แตละชนิดของหะดีษอาหาดจะมกี ารอธบิ ายตามลาํ ดับหวั ขอ ดังน้ี การจําแนกหะดีษอาหาดโดยพิจารณาจาํ นวนผูรายงาน ชนิดท่ี 1 หะดีษมัชฮรู 1. นิยาม ตามหลกั ภาษาศาสตร หะดีษมัชฮูร “‫ ”ﻣﺸﻬﻮﺭ‬คอื หะดีษทรี่ กู นั อยางแพรห ลายจากการบอกเลา หรือหะดีษทใ่ี ชกันอยางแพรห ลาย ตามหลกั วชิ าการ หมายถึง หะดีษท่ีรายงานโดยผูรายงานตั้งแตสามคนข้ึนไป แตไมถึงข้ัน หะดีษมุตะวาตริ (1) (1) ดู อลั ญะซาอิรีย หนา 35

89บทที่ 7 การจาํ แนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน อุละมาอฺสวนใหญไดกําหนดจํานวนผูรายงานหะดีษมัชฮูรในข้ันต่ําคือ 3 คน ขึ้นไป(2) ทัศนะน้ีไมไดแยกระหวางหะดีษมัชฮูรกับหะดีษอิสติฟาเฎาะฮ(3) ดงั นั้น หะดีษมชั ฮรู มชี ่อื เรยี กอกี อยา งหนง่ึ คอื หะดีษมุสตะฟฎ 2. ตัวอยา งหะดษี มชั ฮูร ‫ ﻋﻦ‬،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﻣﻌﺎﻭﻳﺔ‬،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﻛﺮﻳﺐ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﻣﺴﻠﻢ‬ ،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻣﺴﻌﻮﺩ ﺍﻟﺒﺪﺭﻱ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬،‫ﺃﰊ ﻋﻤﺮﻭ ﺍﻟﺸﻴﺒﺎ ﹼﱐ‬ ‫ )) ﻣﻦ ﺩ ﹼﻝ ﻋﻠﻰ ﺧﲑ ﻓﻠﻪ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬ (( ‫ﻣﺜﻞ ﺃﺟﺮ ﻓﺎﻋﻠﻪ‬ ความวา : จากอะบูมสั อูด อลั บดั รีย  กลาววา รสลู ุลลอฮฺ  กลาวา “ผูใ ดชน้ี าํ (คนอ่ืน) ในทางที่ดี เขาจะไดรบั ผลบุญเหมือนกบั ผล บุญของผูปฏิบตั ิ”(1) วิธกี ารรูจกั หะดษี มัชฮรู ใหพ ิจารณาจาํ นวนสายรายงานของหะดีษทมี่ ีสาม สะนดั ขึ้นไปหรอื ไม (ดูสะนัดหะดษี ขา งลา งน)ี้ (2) หนงั สอื เดิม (3) มีบางทัศนะเหน็ วาระหวางหะดษี มัชฮรู กับหะดีษมสุ ตะฟฎ มีขอ แตกตาง คอื หะดษี มุสตะฟฎมีผรู ายงานสามคน สวนหะดษี มัชฮูรมีผรู ายงานตั้งแตส่ีคนถงึ เกาคน ทศั นะท่ีถูกตอง คือ ทศั นะของอุละมาอสฺ ว นใหญ (ดู อัลญะซาอิ รีย หนา 35) (1) บนั ทกึ โดยมุสลมิ : 13/ 38

‫‪90บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจาํ นวนของผูรายงาน‬‬ ‫‪แผนภมู สิ ะนดั หะดษี มชั ฮูร‬‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻣﺴﻌﻮﺩ ﺍﻟﺒﺪﺭ ّﻱ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻋﻤﺮﻭ ﺍﻟﺸﻴﺒﺎ ﹼﱐ‬ ‫ﺍﻷﻋﻤﺶ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﺯﺍﻕ ﲪﺪ ﺑﻦ ﻋﺒﻴﺪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻣﻌﺎﻭﻳﺔ‬ ‫ﺷﻌﺒﺔ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺭﺍﻓﻊ ﺍﺑﻦ ﳕﲑ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻛﺮﻳﺐ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﻌﻔﺮ ﺃﲪﺪ‬ ‫ﳏﻤﻮﺩ ﺑﻦ ﻏﻴﻼﻥ ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺃﰊ ﺷﻴﺒﺔ‬ ‫)‪(4/120‬‬ ‫ﺑﺸﺮ ﺑﻦ ﺧﺎﻟﺪ‬ ‫ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ ّﻱ ﻣﺴﻠﻢ‬ ‫)‪(13/38) (5/41‬‬ ‫ﻋﻴﺴﻰ ﺑﻦ ﻳﻮﻧﺲ‬ ‫ﺇﺳﺤﺎﻕ ﺑﻦ ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ‫)‪(13/39‬‬


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook