Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการเรียนรู้เต็มรูป ภาษาไทย ม.2 วรรณภรณ์ เทอม 1 2562

แผนการเรียนรู้เต็มรูป ภาษาไทย ม.2 วรรณภรณ์ เทอม 1 2562

Published by tataporn.kum, 2019-09-02 21:59:43

Description: แผนการเรียนรู้เต็มรูป ภาษาไทย ม.2 วรรณภรณ์ เทอม 1 2562

Search

Read the Text Version

การออกแบบการจัดการเรียนรกู ลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท 22101 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 จัดทําโดย นางสาววรรณภรณ ทพิ ยส อน ตาํ แหนง ครชู ํานาญการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 31 ตําบลชางเคิ่ง อาํ เภอแมแ จม จงั หวัดเชยี งใหม สาํ นกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สาํ นกั งานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คาํ อธบิ ายรายวิชา คําอธิบายรายวิชา รายวิชาภรหสั วิชาภาษาไทย ชั้น. ม.2 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2562 เวลา 60 ช่ัวโมง จํานวน 1.5 หนวยกิต ศึกษาหลักการอานออกเสียงรอยแกว และรอ ยกรองไดถูกตองตามหลักการอาน และสามารถจับใจความสําคญั สรุปความ อธิบาย รายละเอยี ดจากเรอื่ งที่อา น พรอมทงั้ มีมารยาทในการอา น คัดลายมือไดถ ูกตอ งตามหลกั การเขยี น รู เขาใจหลกั การเขยี นเรยี งความ ยอ ความ เขียนจดหมายกจิ ธรุ ะไดถกู ตองตามรูปแบบ และมมี ารยาทในการเขยี น เลือกฟง ดู พูด ในสง่ิ ทเี่ ปน ประโยชน สรปุ ใจความสาํ คัญจาก เรอ่ื งที่ไดฟ ง ดู พดู พรอมทงั้ พดู ในโอกาสตางๆไดต รงตามวตั ถุประสงค และมมี ารยาทในการฟง ดู พูด การสรา งคาํ ในภาษาไทยสามารถ วเิ คราะห โครงสรา งของประโยคสามัญ ประโยคความรวม และประโยคความซอ น พรอมทั้งอธิบายความหมายของคําทมี่ าจาก ภาษาตา งประเทศไดถ กู ตอ งตามหลักเกณฑของการใชภ าษา ศึกษาวเิ คราะห และวจิ ารณวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทอ งถน่ิ ได พรอ มอธิบายและใหขอ คิดจากเร่อื งทีอ่ านไดแ ละสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชใ นชวี ติ จรงิ โดยใชท ักษะกระบวนการอาน การเขยี น การพูด การคิดวเิ คราะห การปฏิบตั ิและกระบวนการกลมุ อานออกเสียง และอานใน ใจบทรอยกรอง ทักษะการอา นจบั ใจความ สรุปความ อธบิ าย วิเคราะหความ แตงกาพยยานี ๑๑ เขยี นรายงานจากการศกึ ษาคน ควา เหน็ คุณคา ของการนําความรูไ ปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจาํ วัน มีคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค มาตรฐานและตัวชี้วดั มาตรฐาน ท 1.1 ใชก ระบวนการอานสรา งความรูและความคิด เพือ่ นาํ ไปใชต ัดสนิ ใจ แกป ญหาในการดําเนินชีวติ และมีนิสัยรกั การอา น ท 1.1 ม. ๒/1อา นออกเสียงบทรอ ยแกวและบทรอ ยกรองไดถูกตอง ท 1.1 ม. ๒/2 จับใจความสําคัญ สรุปความและอธิบายรายละเอียดจากเร่อื งทอ่ี าน ท 1.1 ม. ๒/8 อานหนงั สอื ตามความสนใจและอธิบายคุณคาทไ่ี ดรบั ท 1.1 ม. ๒/9 มีมารยาทในการอาน มาตรฐาน ท 2.1 ใชก ระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ ความ และเขียนเร่ืองราวในรปู แบบตางๆ เขยี น รายงานขอ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน ควาอยางมีประสทิ ธิภาพ ท 2.1 ม. ๒/1 คดั ลายมือตวั บรรจงครง่ึ บรรทัด ท 2.1 ม. ๒/3 เขยี นเรียงความ ท 2.1 ม. ๒/4 เขยี นยอ ความ ท 2.1 ม. ๒/6 เขยี นจดหมายธรุ กิจ ท 2.1 ม. ๒/8 มมี ารยาทในการเขียน

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟงและดูอยา งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรสู ึกในโอกาสตางๆ อยา งมวี ิจารณญาณและสรางสรรค ท 3.1 ม. ๒/1 พดู สรุปใจความสําคญั ของเร่ืองทฟี่ ง และดู ท 3.1 ม. ๒/4 พดู ในโอกาสตางๆ ไดต รงตามวตั ถุประสงค ท 3.1 ม. ๒/5 พดู รายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ท่ีศกึ ษาคนควา ท 3.1 ม. ๒/6 มีมารยาทในการฟง การดแู ละการพดู มาตรฐาน ท 4.1 เขา ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญ ญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปน สมบตั ขิ องชาติ ท 4.1 ม. ๒/1 สรา งคําในภาษาไทย ท 4.1 ม. ๒/2วเิ คราะหโ ครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซอน ท 4.1 ม. ๒/4ใชค ําราชาศัพท มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา งเหน็ คุณคา และนาํ มาประยกุ ตใช ในชีวิตจริง ท 5.1 ม. ๒/1 สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ านในระดับทย่ี ากข้ึน ท 5.1 ม. ๒/2 วเิ คราะหและวจิ ารณว รรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมทองถน่ิ ทอี่ าน พรอมยกเหตผุ ลประกอบ ท 5.1 ม. ๒/3 อธบิ ายคุณคาของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อาน ท 5.1 ม. ๒/4 สรปุ ความรแู ละขอคดิ จากการอาน ไปประยุกตใ ชในชีวติ จรงิ ท 5.1 ม. ๒/๕ ทอ งจําบทอาขยานตามทก่ี ําหนด และบทรอยกรอทง่มี ีคณุ คา ตามความสนใจ รวมท้ังหมด ๒๑ ตวั ช้ีวดั

ผังมโนทัศน รายวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปก ารศกึ ษา 256๒ การอา นออกเสยี ง จํานวน ๙ ช่วั โมง 1๕ คะแนน การเขียนเพือ่ การสอื่ สาร การอา นในชีวิตประจําวนั จํานวน 8 ชั่วโมง ๑๕ คะแนน จาํ นวน 6 ช่ัวโมง 1๐ คะแนน ภาษาไทยพ้นื ฐาน ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒ จํานวน 60 ชั่วโมง ฟงดพู ดู สรางสรรคชวี ติ เรียนรูหลกั ภาษา จํานวน 6 ชว่ั โมง ๑๐ คะแนน จาํ นวน 15 ชัว่ โมง ๒๐ คะแนน วรรณกรรมมีคณุ คา หรรษาวรรณคดีไทย จํานวน 6 ชั่วโมง ๑๐ คะแนน จาํ นวน 10 ช่วั โมง ๒๐ คะแนน

ผังมโนทศั น รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท 22101 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 เรอ่ื ง การอา นออกเสียง จํานวน ๙ ชว่ั โมง : ๑๕ คะแนน ความรูพน้ื ฐานในการอาน จาํ นวน ๓ ชัว่ โมง ๕ คะแนน การอา นออกเสียง จาํ นวน ๙ ชั่วโมง การอานออกเสียงรอ ยแกว การอา นออกเสยี งรอ ยกรอง จํานวน ๓ ชัว่ โมง ๕ คะแนน จาํ นวน ๓ ชว่ั โมง ๕ คะแนน

แผนการจัดการเรยี นรู หนวยการเรียนรูท ่ี ๑ เรอื่ งการอานออกเสยี ง แผนการเรียนรูที่ ๑ เร่อื ง ความรพู นื้ ฐานในการอา น รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ช้ัน มธั ยมศึกษาปที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา ๒๕๖๒ นา้ํ หนกั เวลาเรียน ๖๐ ชว่ั โมง เวลาเรยี น ๓ ชัว่ โมง / สัปดาห เวลาทใ่ี ชใ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู ๓ ชั่วโมง ๑. สาระสาํ คัญ (ความเขาใจที่คงทน) ความรูพืน้ ฐานในการอานชว ยใหอ านออกเสยี งบทรอ ยแกว และบทรอ ยกรองไดถกู ตอ ง และมีมารยาท ในการอา น ๒. มาตรฐานการเรียนรู / ตวั ช้ีวัดชนั้ ป / ผลการเรียนรู / (เปาหมายการเรยี นรู) มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานท ๑.๑ ใชกระบวนการอา นสรา งความรูแ ละความคดิ เพอื่ นาํ ไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการ ดาํ เนนิ ชวี ติ และมีนิสยั รักการอา น ตวั ชีว้ ดั ม.๒/๑ อานออกเสยี งบทรอยแกว และบทรอ ยกรองไดถกู ตอ ง ม.๒/๘ มีมารยาทในการอาน ๓. สาระการเรยี นรู ๓.๑เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge (ผเู รยี นตองรอู ะไร) - ความรพู ืน้ ฐานในการอา นออกเสียงบทรอ ยแกวบทรอ ยกรอง ๓.๒ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผูเรยี นสามารถปฏิบตั อิ ะไรได) - อา นบทรอ ยแกว และบทรอยกรอง ๓.๓ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค : Attitude (ผเู รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบาง) - กระตือรือรนในการรวมกิจกรรม ๔. สมรรถนะสาํ คัญ ๑ . ความสามารถในการสอื่ สาร ๕. คุณลกั ษณะของวิชา ๑ . ความตัง้ ใจ ๖. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ๑. ใฝเรียนรู ๗. ภาระงาน / ช้นิ งาน ตามตัวชวี้ ดั ๑. อธิบายหลักความรพู นื้ ฐานในการอา นบทรอยแกว และบทรอยกรอง

๘. ภาระงาน / ช้ินงานรวบยอด ๑. อธบิ ายหลักความรูพ ้นื ฐานในการอา น ๙. กจิ กรรมการเรยี นรู ๙.๑ ข้นั ตงั้ คาํ ถาม ๑.ครสู นทนากบั นักเรียนเรื่องความสําคัญของการอาน ๒.ครูใหน กั เรยี นรวมกนั แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับการอา นของคนในสมยั ปจ จุบนั วา คนไทยเปน นกั อานหรือไม เพราะเหตใุ ด ๓.นกั เรียนตอบคําถามกระตุน ความคิด ๙.๒ขัน้ การเตรียมการคน หาคําตอบ ๑.ครูแบงนกั เรียนเปน กลมุ กลุมละ 4 คน คละกันตามความ สามารถ คอื เกง ปานกลางคอนขางเกง ปาน กลางคอ นขา งออ น และออ น ๒.นักเรียนแตล ะกลมุ รวมกนั ศึกษาความรเู รอื่ ง ความรพู ้ืนฐานในการอา น จากหนงั สอื เรียน ๙ .๓ข้นั การดาํ เนินการคน หาคาํ ตอบและตรวจสอบคําถาม ๑.นักเรียนแตล ะกลุม รวมกันทาํ ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความรูพ้ืนฐานในการอาน โดยใหสมาชกิ แตล ะคนในกลมุ หาคาํ ตอบดว ยตนเองจนครบทกุ ขอ จากน้ันจบั คูกับเพื่อนในกลมุ ผลัดกนั อธบิ ายคําตอบใหคูของตนเองฟง (สมาชิก กลมุ อีกคูห นึ่งก็ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเชนเดยี วกนั ) ๒.นกั เรียนรวมกลมุ 4 คน ใหแ ตละคผู ลดั กันอธิบายคาํ ตอบใหเพ่ือนอีกคหู นงึ่ ในกลมุ ฟง เพอ่ื ชว ยกันตรวจสอบ ความถูกตอ ง ๓.ครสู มุ ตวั แทนนกั เรยี น 1-2 กลุม ออกมานําเสนอคาํ ตอบใน ใบงานท่ี 1.1 หนาช้นั เรียน ครูและเพอ่ื น นักเรยี นกลมุ อื่นรว มกนั ตรวจสอบความถกู ตอง ๔. นกั เรยี นตอบคําถามกระตุนความคดิ ๙.๔ ขนั้ การสรปุ และนาํ เสนอผลการคน หาคําตอบ นกั เรยี นแตละกลมุ รวมกนั สรปุ องคค วามรพู นื้ ฐานในการอาน ๑๐. สือ่ อุปกรณและแหลงเรยี นรู รายการส่ือ จํานวน สภาพการใชส่ือ ใหนักเรียนศึกษาความรูพ้ืนฐานในการอาน ๑) หนงั สอื เรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใชภ าษา ม.๒ ๒) ใบงานท่ี ๑.๑เร่อื ง ความรูพ้นื ฐานในการอาน ใหนักเรียนตอบคาํ ถามในใบงาน

๑๑. การวดั ผลและประเมนิ ผล เปาหมาย หลักฐานการเรียนรู วธิ ีวดั เครอื่ งมือวดั ฯ ประเด็น/ การเรียนรู ชิ้นงาน/ภาระงาน ตรวจใบงานที่ ๑.๑ ใบงานท่ี ๑.๑ เกณฑการให ความรูพ้ืนฐานในการ อธบิ ายหลกั ความรู คะแนน อานชวยใหอ านออก พ้ืนฐานในการอา น รอยละ ๖๐ ผาน เสียงบทรอ ยแกว และ บทรอ ยกรองได เกณฑ ถูกตอ ง และมี มารยาท ในการ อาน ๑๒. การบรู ณาการตามจดุ เนน ของโรงเรียน ครู ผูเรียน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. พอประมาณ ใหนกั เรียนอา นหลักความรพู นื้ ฐาน นักเรยี นอา นหลกั ความรพู ื้นฐานใน ในการอาน การอาน 2. ความมเี หตผุ ล ใหนักเรยี นอธิบายหลกั ความรู นกั เรียนอธบิ ายหลกั ความรูพื้นฐานใน พืน้ ฐานในการอานท่ีถูกตอ ง การอานท่ีถกู ตอง 3. มภี ูมคิ มุ กนั ท่ดี ีในตวั ใหนกั เรยี นอธิบายหลักความรู นักเรียนอธบิ ายหลกั ความรูพ ื้นฐานใน พ้นื ฐานในการอา นทีถ่ กู ตอ งได การอา นทีถ่ ูกตองได 4. เง่อื นไขความรู ความรูพ้นื ฐานในการอานชว ยให ความรูพ้ืนฐานในการอานชว ยใหอ า น อา นออกเสยี งบทรอ ยแกว และบท ออกเสยี งบทรอยแกว และบทรอย รอยกรองไดถกู ตอง และมมี ารยาท กรองไดถูกตอ ง และมีมารยาท ในการอา น ในการอา น 5. เงอื่ นไขคณุ ธรรม - - สวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น ครู ผูเ รยี น นักเรยี นอานช่ือพรรณไม ใหนกั เรยี นอา นชื่อพรรณไมใน นกั เรียนอา นชอ่ื พรรณไมในโรงเรยี น โรงเรยี น สง่ิ แวดลอม ครู ผเู รียน อา นออกเสยี ง ใหน กั เรียนอา นขา วจาก นกั เรียนอานขา วใหเพ่อื นฟง หนา หนังสือพมิ พใ นหองสมุด หอ งเรียน ลงชือ่ ..................................................ผูสอน (นางสาววรรณภรณ ทพิ ยส อน)

ใบงานท่ี 1 ความรพู ้ืนฐานในการอา น คาํ ชี้แจง ใหนักเรยี นตอบคําถามตอไปนี้ 1. การอา นในใจแตกตางจากการอานออกเสยี งอยา งไร 2. การอานมคี วามสําคญั อยา งไร 3. การอา นหนงั สอื ในหอ งสมดุ ตองปฏบิ ัติอยางไร จงึ จะถูกตอ งตามมารยาทในการอาน 4. การอานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีปจ จัยพื้นฐานอยา งไร

เกณฑการใหค ะแนน วธิ ีการ เคร่อื งมอื เกณฑ ตรวจแบบทดสอบกอ นเรียน หนวยการเรียนรทู ี่ 1 แบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรยี นรูท่ี 1 (ประเมินตามสภาพจริง) ตรวจใบงานท่ี 1.1 ใบงานท่ี 1.1 รอยละ 60 ผา นเกณฑ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผานเกณฑ สงั เกตพฤตกิ รรมการทาํ งานกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝเรียนรู และมงุ มั่นในการทํางาน แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทาํ งานรายบุคคล ชอื่ ชน้ั คําชแ้ี จง : ให ผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด  ลงในชอง ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน ๓๒๑ ๑ การแสดงความคดิ เห็น ๒ การยอมรับฟงความคิดเหน็ ของผูอ่ืน รวม ๓ การทํางานตามหนาท่ที ่ไี ดรับมอบหมาย ๔ ความมีน้าํ ใจ ๕ การตรงตอเวลา ............../.................../................ ลงชือ่ ...................................................ผูประเมนิ เกณฑการใหคะแนน อยา งสมา่ํ เสมอ ให ๓ คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรม บอยครง้ั ให ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรม บางครงั้ ให ๑ คะแนน ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรม ๑๒ - ๑๕ ดี ๘ - ๑๑ พอใช ต่ํากวา ๘ ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค คาํ ชี้แจง : ให ผูสอน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงในชอง ท่ตี รง กับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อนั พงึ ประสงคด าน ๓๒๑ 1.รกั ชาติ ศาสน ๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรองเพลงชาติได กษตั ริย ๑.๒ เขา รว มกิจกรรมที่สรางความสามคั คี ปรองดอง และเปน ประโยชน ตอ ๒. ซ่อื สตั ย สจุ รติ โรงเรียน ๓. มวี ินยั รบั ผดิ ชอบ ๑.๓ เขา รว มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา ๔. ใฝเรียนรู ๑.๔ เขารว มกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วกับสถาบนั พระมหากษตั ริยต ามทโ่ี รงเรยี นจัดข้ึน ๒.๑ ใหขอมูลทถี่ ูกตอง และเปนจริง ๕. อยอู ยางพอเพยี ง ๒.๒ ปฏบิ ตั ใิ นสิง่ ทีถ่ ูกตอ ง ๓.๑ ปฏิบตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอ บังคับของครอบครัว 1. มุงม่ันในการ มคี วามตรงตอ เวลาในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตางๆ ในชวี ิตประจําวัน ทาํ งาน ๔.๑ รูจ กั ใชเวลาวา งใหเ ปนประโยชน และนําไปปฏบิ ัตไิ ด ๗. รกั ความเปนไทย ๔.๒ รจู กั จัดสรรเวลาใหเหมาะสม ๘. มจี ิตสาธารณะ ๔.๓ เชือ่ ฟง คาํ สง่ั สอนของบิดา-มารดา โดยไมโตแ ยง ๔.๔ ตง้ั ใจเรียน ๕.๑ ใชท รพั ยสนิ และสิง่ ของของโรงเรยี นอยางประหยดั ๕.๒ ใชอ ุปกรณก ารเรยี นอยางประหยัดและรคู ุณคา ๕.๓ ใชจา ยอยางประหยดั และมกี ารเก็บออมเงิน ๖.๑ มคี วามตั้งใจและพยายามในการทํางานทไ่ี ดรบั มอบหมาย ๖.๒ มคี วามอดทนและไมท อแทต ออปุ สรรคเพอื่ ใหงานสําเรจ็ ๗.๑ มจี ิตสาํ นกึ ในการอนรุ ักษว ัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณคาและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘.๑ รจู กั ชวยพอ แม ผูปกครอง และครูทํางาน ๘.๒ รจู กั การดแู ล รักษาทรพั ยสมบัติและส่งิ แวดลอ มของหองเรยี น โรงเรยี น ............../.................../................ ลงชอ่ื ...................................................ผูประเมนิ เกณฑก ารใหค ะแนน เกณฑการตัดสินคณุ ภาพ ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยางสมาํ่ เสมอ ให ๓ คะแนน ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรม บอยครั้ง ให ๒ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรม บางครัง้ ให ๑คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ๓๐ - ๔๕ พอใช ตาํ่ กวา ๓๐ ปรับปรงุ

แผนการจดั การเรียนรู หนว ยการเรียนรูท ่ี ๑ เรอ่ื งการอา นออกเสียง แผนการเรียนรทู ่ี ๒ เรือ่ ง หลักการอานออกเสียงรอยแกว รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปท ่ี ๒ ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒ น้ําหนักเวลาเรียน ๖๐ ช่ัวโมง เวลาเรยี น ๓ ช่วั โมง / สปั ดาห เวลาท่ีใชในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู ๓ ชัว่ โมง ๑. สาระสําคญั (ความเขาใจทค่ี งทน) การมคี วามรูเรอ่ื ง หลกั การอา นออกเสียงบทรอ ยแกวชวยใหอานไดถ ูกตอง ๒. มาตรฐานการเรยี นรู / ตัวช้ีวดั ช้ันป / ผลการเรียนรู / (เปา หมายการเรียนรู) มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐานท ๑.๑ ใชก ระบวนการอานสรางความรูและความคดิ เพ่อื นาํ ไปใชต ัดสินใจ แกปญ หาในการ ดําเนินชีวติ และมีนิสยั รกั การอา น ตวั ช้ีวดั ม.2/1 อานออกเสยี งบทรอ ยแกว และบทรอ ยกรองไดถูกตอง ๓. สาระการเรียนรู ๓.๑เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผูเ รียนตองรูอะไร) - การอา นออกเสยี งบทรอยแกว ๓ .๒ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผูเรยี นสามารถปฏบิ ัตอิ ะไรได) - อานออกเสยี งบทรอ ยแกว ๓.๓ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค : Attitude (ผเู รียนควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบาง) - กระตอื รือรน ในการอานออกเสยี ง ๔. สมรรถนะสาํ คัญ ๑ . ความสามารถในการสื่อสาร ๕. คุณลกั ษณะของวชิ า ๑ . ความต้งั ใจ ๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ๑. ใฝเรยี นรู ๗. ภาระงาน / ช้ินงาน ตามตัวช้วี ัด ๑. การอานออกเสยี งบทรอ ยแกว

๘. ภาระงาน / ชน้ิ งานรวบยอด ๑. อานออกเสยี งบทรอยแกว ไดถ กู ตอ ง ๙. กิจกรรมการเรียนรู ๙.๑ ขั้นตง้ั คําถาม 1.ครใู หนกั เรยี นฟง ซดี กี ารอา นออกเสียงบทรอ ยแกวท่ีอา นไดไ พเราะ ถูกตองตามหลกั การอา น หรือครู อานใหนกั เรยี นฟง 2.นกั เรยี นรว มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั การอานออกเสียงบทรอ ยแกวจากสอื่ ท่ีฟง 3.นักเรียนตอบคาํ ถามกระตุนความคิด ๙.๒ขั้นการเตรยี มการคนหาคําตอบ จากหนังสือเรียน ครใู หนักเรียนแตล ะกลมุ รวมกนั ศกึ ษาความรเู ร่อื ง หลกั การอา นออกเสียง บทรอ ยแกว ๙ .๓ขั้นการดําเนนิ การคน หาคาํ ตอบและตรวจสอบคาํ ถาม 1.นกั เรียนแตล ะกลุมรว มกันทาํ ใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง หลักการอานออกเสยี งบทรอยแกว โดยใหสมาชกิ จับคูกับเพอื่ นในกลุม แลวใหนักเรียนคนหนงึ่ ยกตวั อยางวิธีอา นท่ี 1 ในขอท่ี 1 และนกั เรยี นอกี คนหนึ่งเปน ฝา ย สังเกต (สมาชิกอีกคูหนึ่งทอี่ ยใู นกลุมเดยี วกนั ก็ปฏิบัตกิ ิจกรรมในทํานองเดียวกัน) 2.นักเรียนทท่ี าํ หนา ท่ีเปนฝา ยสงั เกต จะทาํ หนาทต่ี รวจสอบ และแสดงความคิดเห็นดว ย เม่อื ตรวจสอบ วาเปนตัวอยางท่ีถกู ตองพรอมแสดงความยินดี 3.นกั เรียนแตละคูเปล่ียนบทบาทกนั ในวธิ ีอานเดียวกันในขอ 2 และวธิ ีอา นตอ ไปจนครบทกุ วธิ ี โดยสลับ หนาทีจ่ ากผทู ยี่ กตัวอยางวิธีอานเปน ผูส งั เกต และจากผสู งั เกตเปน ผูย กตัวอยา งวธิ อี าน 4.เมอ่ื จบการยกตวั อยางวธิ อี า นทุกวิธีแลว ใหน ักเรียนแตล ะครู วมกลมุ กนั ตามเดิม แลวนําตัวอยางวธิ ีอาน มาเปรยี บเทียบกัน และชวยกนั อธบิ ายแสดงความคิดเห็นเพม่ิ เตมิ เพอื่ ความกระจา งชดั เจนสรปุ เปนตวั อยางของกลุม ๙ .๔ ข้ันการสรุปและนาํ เสนอผลการคน หาคาํ ตอบ นกั เรยี นและครูรว มกันสรปุ หลกั การอา นออกเสียงบทรอ ยแกว ๑๐. สอื่ อปุ กรณแ ละแหลงเรียนรู รายการสื่อ จาํ นวน สภาพการใชส่อื ใหน กั เรยี นฝกอานออกเสยี งบทรอ ยแกว 1)หนงั สือเรียน ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภาษา ม.2 1 แผน 2)ซีดีการอา นออกเสียงบทรอยแกว 3)ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง หลักการอา นออกเสียงบทรอ ยแกว

๑๑. การวดั ผลและประเมินผล เปา หมาย หลักฐานการเรียนรู วิธีวดั เครอื่ งมอื วัดฯ ประเด็น/ การเรยี นรู ช้นิ งาน/ภาระงาน ตรวจใบงานที่ ใบงานที่ 1.2 เกณฑการให 1.2 การมคี วามรูเรอ่ื ง อา นออกเสยี งบทรอ ย คะแนน หลกั การอานออก แกว ชว ยใหอ านได รอยละ ๖๐ ผาน เสียงบทรอ ยแกวชวย ถกู ตอง ใหอ านไดถ ูกตอง เกณฑ ๑๒. การบูรณาการตามจุดเนนของโรงเรยี น ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ผเู รยี น 1. พอประมาณ ใหน กั เรียนอานหลักการอา นออก นักเรยี นอานหลักการอา นออกเสยี ง เสียงบทรอยแกว บทรอยแกว 2. ความมเี หตผุ ล ใหนกั เรยี นอธิบายหลักการอา น นกั เรียนอธิบายหลักการอานออก ออกเสยี งบทรอ ยแกว ทีถ่ ูกตอง เสยี งบทรอยแกวท่ีถกู ตอ ง 3. มีภูมิคมุ กันทีด่ ใี นตัว ใหนักเรยี นอธิบายหลกั การอา น นกั เรียนอธบิ ายหลกั การอานออก ออกเสยี งบทรอ ยแกว ทถ่ี ูกตองได เสียงบทรอ ยแกว ท่ถี กู ตอ งได 4. เง่อื นไขความรู การมคี วามรูเรอ่ื ง หลักการอา น การมคี วามรเู รื่อง หลักการอานออก ออกเสยี งบทรอยแกว ชวยใหอ าน เสยี งบทรอ ยแกวชว ยใหอา นได ไดถูกตอ ง ถูกตอง 5. เง่อื นไขคณุ ธรรม - - สวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น ครู ผูเ รียน นกั เรยี นอานชอ่ื พรรณไม ใหน ักเรียนอา นช่ือพรรณไมใ น นกั เรยี นอานชอื่ พรรณไมใ นโรงเรยี น ส่งิ แวดลอ ม โรงเรยี น ผูเ รยี น นักเรียนอา นบทความ ครู นักเรยี นอานบทความจากวารสาร ใหน กั เรยี นอา นบทความจาก วารสารในหอ งสมดุ ลงช่ือ..................................................ผสู อน (นางสาววรรณภรณ ทพิ ยสอน)

ใบงานที่ 2 หลักการอานออกเสยี งบทรอยแกว คําชี้แจง ใหนักเรียนยกตวั อยางการอานออกเสียงบทรอ ยแกว ตามวิธอี านท่ีกาํ หนด ขอ วธิ อี าน ตวั อยา ง ตวั อยาง อานตามอักขรวธิ ี สวัสดี อา นวา สะ-หวัด-ดี (อา นออกเสียงอักษรนํา) 1 อานตามอกั ขรวิธี 1. 2. 2 อานตามความนยิ ม 1. 2. 3 อานตัวยอ 1. 2. 4 อา นตัวเลขและ 1. เครื่องหมายตา งๆ 2. 5 อา นนามเฉพาะ 1. 2.

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทาํ งานรายบุคคล ชอื่ ชน้ั คําชแ้ี จง : ให ผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด  ลงในชอง ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน ๓๒๑ ๑ การแสดงความคดิ เห็น ๒ การยอมรับฟงความคิดเหน็ ของผูอ่ืน รวม ๓ การทํางานตามหนาท่ที ่ไี ดรับมอบหมาย ๔ ความมีน้าํ ใจ ๕ การตรงตอเวลา ............../.................../................ ลงชือ่ ...................................................ผูประเมนิ เกณฑการใหคะแนน อยา งสมา่ํ เสมอ ให ๓ คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรม บอยครง้ั ให ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรม บางครงั้ ให ๑ คะแนน ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรม ๑๒ - ๑๕ ดี ๘ - ๑๑ พอใช ต่ํากวา ๘ ปรบั ปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรม การทาํ งานกลมุ ชื่อกลุม ชน้ั คาํ ช้ีแจง : ให ผูสอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด  ลงในชอ ง ทต่ี รงกับระดับคะแนน ลาํ ดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 การแบงหนาท่กี ันอยางเหมาะสม 2 ความรวมมอื กันทํางาน 3 การแสดงความคดิ เหน็ 4 การรับฟง ความคดิ เห็น 5 ความมีน้าํ ใจชวยเหลือกัน รวม ลงช่อื ................................................. ... ผูประเมิน ................ /................ /................ เกณฑการใหคะแนน อยางสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรม บอยครงั้ ให 3 คะแนน ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรม บางครั้ง ให 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรม นอยคร้ัง ให 1 คะแนน 18 - 20 ดีมาก ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรม 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ต่าํ กวา 10 ปรับปรุง

แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค คาํ ชแ้ี จง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขีด  ลงในชอ ง ท่ีตรง กบั ระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคดา น ๓๒๑ 1. รกั ชาติ ศาสน ๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรองเพลงชาติได กษัตรยิ  ๑.๒ เขา รวมกิจกรรมที่สรา งความสามัคคี ปรองดอง และเปน ประโยชน ตอ โรงเรียน ๑.๓ เขารว มกิจกรรมทางศาสนาท่ตี นนับถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา ๑.๔ เขารวมกจิ กรรมท่เี ก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ตามท่ีโรงเรยี นจดั ขึ้น ๒. ซ่ือสตั ย สจุ รติ ๒.๑ ใหข อมูลท่ถี ูกตอ ง และเปนจรงิ ๒.๒ ปฏิบัตใิ นสิง่ ท่ีถกู ตอง ๓. มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับของครอบครัว มีความตรงตอ เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตางๆ ในชวี ติ ประจําวนั ๔. ใฝเรียนรู ๔.๑ รูจกั ใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน และนําไปปฏิบตั ิได ๔.๒ รจู กั จดั สรรเวลาใหเหมาะสม ๔.๓ เชอื่ ฟงคําส่ังสอนของบดิ า-มารดา โดยไมโตแ ยง ๔.๔ ตงั้ ใจเรยี น ๕. อยูอ ยางพอเพยี ง ๕.๑ ใชท รพั ยส นิ และสิง่ ของของโรงเรียนอยา งประหยัด ๕.๒ ใชอุปกรณก ารเรยี นอยา งประหยดั และรคู ณุ คา ๕.๓ ใชจา ยอยางประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. มงุ ม่ันในการทํางาน ทํ ๖.๑ มคี วามตง้ั ใจและพยายามในการทํางานทไ่ี ดร บั มอบหมาย ๖.๒ มีความอดทนและไมท อ แทตออุปสรรคเพอื่ ใหง านสาํ เร็จ ๗. รกั ความเปน ไทย ๗.๑ มจี ติ สํานกึ ในการอนุรกั ษวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณคา และปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๘.๑ รูจ ักชว ยพอ แม ผูปกครอง และครทู าํ งาน ๘.๒ รจู กั การดแู ล รกั ษาทรพั ยส มบตั แิ ละส่ิงแวดลอ มของหอ งเรียน โรงเรยี น ............../.................../................ ลงช่ือ...................................................ผูประเมิน เกณฑการใหคะแนน เกณฑการตดั สินคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให ๓ คะแนน ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรม บอ ยครั้ง ให ๒ คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรม บางคร้งั ให ๑คะแนน ๓๐ - ๔๕ พอใช ตาํ่ กวา ๓๐ ปรับปรงุ

แผนการจดั การเรยี นรูแ บบองิ มาตรฐาน หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๑ เรอื่ งการอานออกเสียง แผนการเรียนรทู ่ี ๓ เรือ่ ง หลกั การอานออกเสียงรอ ยกรอง รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๕๖ นาํ้ หนักเวลาเรียน ๖๐ ชว่ั โมง เวลาเรยี น ๓ ชัว่ โมง / สปั ดาห เวลาที่ใชใ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู ๑ ชว่ั โมง ๑. สาระสาํ คัญ (ความเขาใจทีค่ งทน) การอานออกเสยี งบทรอ ยกรองท่ีถกู ตองนั้นตอ งมคี วามรูเรือ่ งหลกั การอา นออกเสยี ง ๒. มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชวี้ ดั ชัน้ ป / ผลการเรยี นรู / (เปา หมายการเรยี นรู) มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานท ๑.๑ ใชก ระบวนการอานสรางความรูแ ละความคดิ เพื่อนาํ ไปใชต ดั สนิ ใจ แกปญหาในการ ดาํ เนินชีวติ และมีนิสยั รกั การอา น ตัวชีว้ ดั มฐ.ท ๑.๑ ม.2/1 อา นออกเสยี งบทรอ ยแกวและบทรอ ยกรองไดถกู ตอง ๓. สาระการเรยี นรู ๓.๑เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge (ผูเรียนตอ งรอู ะไร) - บอกหลักการอา นออกเสยี งบทรอ ยกรอง ๓ .๒ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผูเรียนสามารถปฏบิ ัตอิ ะไรได) - อา นออกเสียงบทรอยกรอง ๓.๓ คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค : Attitude (ผูเรียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบา ง) - เห็นความสาํ คญั ของการอา นออกเสียงคาํ อยา งถกู ตอ ง ๔. สมรรถนะสาํ คัญ ๑ . ความสามารถในการสอื่ สาร ๕. คณุ ลักษณะของวิชา ๑ . ความตัง้ ใจ ๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ๑. ใฝเรยี นรู ๗. ภาระงาน / ช้นิ งาน ตามตัวชีว้ ดั ๑. การอานคําทม่ี ีตวั การันต

๘. ภาระงาน / ชิน้ งานรวบยอด อา นออกเสยี งบทรอ ยกรอง ๙. กิจกรรมการเรียนรู ๙.๑ ขัน้ ตง้ั คําถาม 1.ครูใหน ักเรยี นสบื คนขอ มลู ตวั อยา งการอานออกเสยี งบทรอ ยกรอง จากแหลง ขอมูลสารสนเทศ 2.ครสู มุ เลขที่นกั เรียน 1-2 คน นําเสนอตัวอยา งการอานออกเสยี งบทรอยกรอง 3.นกั เรียนรว มกนั แสดงความคิดเห็นการอา นออกเสียงบทรอยกรองของเพื่อน 4.นักเรียนตอบคําถามกระตนุ ความคิด ๙.๒ขนั้ การเตรยี มการคนหาคาํ ตอบ นกั เรียนแตล ะ รวมกนั ศึกษาความรูเรือ่ ง หลกั การอา นออกเสียงบทรอ ยกรอง จากหนังสอื เรยี น ๙ .๓ข้นั การดําเนินการคนหาคําตอบและตรวจสอบคําถาม 1.ครูและนกั เรียนรว มกนั อภปิ รายเร่อื ง หลักการฝกอา นออกเสยี งบทรอยกรอง จนมีความเขาใจกระจา ง ชัด 2.นักเรียนแตล ะกลุมรวมกนั ทาํ ใบงานที่ 1.3 เร่อื ง หลักการอา นออกเสยี งบทรอยกรอง โดยใหสมาชกิ แตล ะคนปฏิบัตกิ ิจกรรม ดงั นี้ 1)สมาชกิ คนที่ 1 เขียนคําตอบในขอ 1 แลวสง ใหสมาชกิ คนท่ี 2 2)สมาชิกคนท่ี 2 ตรวจสอบคําตอบในขอ 1 แลวเขียนคําตอบในขอ 2 จากน้ันสง ใหสมาชิกคนท่ี 3 3)สมาชกิ คนที่ 3 ตรวจสอบคําตอบในขอ 2 แลว เขยี นคาํ ตอบในขอ 3 จากน้ันสง ใหสมาชิกคนที่ 4 4)สมาชกิ คนท่ี 4 ตรวจสอบคาํ ตอบในขอ 3 แลว เขียนคําตอบในขอ 4 สมาชกิ แตล ะคนทีต่ รวจสอบ คาํ ตอบ ถา เห็นวา คาํ ตอบยังไมถ ูกตอ งสมบรู ณก ใ็ หเขยี นคําตอบเพ่ิมเตมิ 3.สมาชิกในแตละกลมุ จะไดมีโอกาสอานและเขยี นคําตอบหมุนเวียนกันไปเรือ่ ยๆ จนเสรจ็ กลา วคือ สามารถตอบคําถามไดชดั เจนครบถวนทุกคําถาม 4.ตัวแทนนักเรียนแตละกลมุ ออกมานาํ เสนอคําตอบในใบงาน ที่ 1.3 หนา ชัน้ เรยี น ครูตรวจสอบความ ถูกตอ ง จากน้ันกลา วชมเชยตัวแทนกลุมที่นาํ เสนอคาํ ตอบไดถกู ตอ งทกุ ขอ เพอ่ื เสรมิ สรางกาํ ลังใจ ๙.๔ ข้นั การสรุปและนําเสนอผลการคน หาคําตอบ นกั เรยี นรว มกนั อภิปรายสรปุ องคความรูเรอื่ ง หลักการอา นออกเสียงบทรอ ยกรอง และแนวทางในการนํา ความรไู ปใช ๑๐. ส่ือ อุปกรณแ ละแหลงเรยี นรู จาํ นวน สภาพการใชส ือ่ รายการส่อื 1)ใหนกั เรียนศึกษาหลกั การอา นออกเสยี งรอ ย กรอง หลักภาษาและการใชภ าษา ม.2 1)หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภ าษา ม.2 2)ใหนกั เรยี นทําใบงานท่ี 1.3 เรื่อง หลกั การ 2)ใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง หลักการอานออกเสียงบทรอ ยกรอง อา นออกเสียงบทรอ ยกรอง

๑๑. การวัดผลและประเมนิ ผล เกณฑการให คะแนน เปา หมาย ภาระงาน/ช้ินงาน วิธีวัด เคร่อื งมือวัด คะแนน แบบประเมิน - ความถกู ตอ ง 5 การอานออกเสยี งบทรอ ย อานออกเสียงบท ประเมินการอา น การอานออก ตามหลักการ กรองทถ่ี กู ตอ งนน้ั ตองมี รอ ยกรอง บทรอ ยกรอง เสยี งรอ ยกรอง ความรูเรอ่ื งหลกั การอา น ออกเสยี ง ๑๒. การบูรณาการตามจดุ เนนของโรงเรียน ผเู รียน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู นกั เรียนอานหลกั การอา นออกเสียง 1. พอประมาณ ใหนกั เรียนอา นหลักการอานออก บทรอ ยกรอง เสยี งบทรอยกรอง นักเรียนอธบิ ายหลักการอานออก 2. ความมีเหตผุ ล ใหน ักเรยี นอธิบายหลักการอา น เสียงบทรอยกรองทถี่ กู ตอง ออกเสยี งบทรอ ยกรองทีถ่ กู ตอง นักเรยี นอธบิ ายหลกั การอานออก 3. มีภูมิคมุ กันทีด่ ีในตัว ใหนักเรียนอธบิ ายหลกั การอา น เสียงบทรอ ยกรองทถ่ี ูกตองได ออกเสยี งบทรอ ยกรองทีถ่ ูกตองได การอานออกเสียงบทรอ ยกรองที่ 4. เงือ่ นไขความรู การอานออกเสียงบทรอ ยกรองที่ ถกู ตองนน้ั ตองมคี วามรเู ร่ืองหลกั การ ถกู ตองนั้นตองมคี วามรูเ รือ่ ง อานออกเสยี ง หลกั การอา นออกเสียง - 5. เงือ่ นไขคณุ ธรรม - ผูเรยี น สวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ครู นักเรียนอา นบทรอยกรอง ใหนกั เรียนอา นบทรอ ยกรอง นกั เรยี นอานบทรอ ยกรอง ส่ิงแวดลอ ม ครู ผเู รยี น นักเรียนอา นบทรอ ยกรอง ใหน ักเรียนอา นบทรอ ยกรองได นกั เรียนอานบทรอ ยกรอง ถกู ตอง ลงชอื่ ..................................................ผสู อน (นางสาววรรณภรณ ทิพยส อน)

เกณฑก ารประเมนิ การอา นออกเสียงบทรอ ยแกว และบทรอ ยกรอง รายการประเมิน ดมี าก (4) คําอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดับคะแนน ปรบั ปรงุ (1) ดี (3) พอใช (2) 1. การอานออกเสียงบท อานออกเสียงบท รอ ย อานออกเสยี งบท อา นออกเสียงบท อานออกเสยี งบท รอ ยแกว แกว ประเภทบทบรรยาย รอ ยแกว ประเภทบท รอ ยแกวประเภทบท รอ ยแกวประเภทบท ไดถ กู ตอ งตามอกั ขรวิธี บรรยายไดถูกตองตาม บรรยายไดถ ูกตองตาม บรรยายไดถ กู ตอ งตาม การเวน วรรคตอน อกั ขรวธิ ี การเวน อักขรวิธี การเวน อกั ขรวธิ ี การเวน การสอดแทรกอารมณ วรรคตอน การสอดแทรก วรรคตอน การสอดแทรก วรรคตอน แตไม ความรสู กึ อารมณความรูสกึ เปนสว น อารมณค วามรูสกึ เปน สอดแทรกอารมณ ใหญ บางสวน ความรสู กึ 2. การอานออกเสยี งบท อา นออกเสียงบท อา นออกเสยี งบท อานออกเสยี งบท อานออกเสยี งบท รอยกรองประเภท รอยกรองประเภทกลอน รอยกรองประเภทกลอน รอ ยกรองประเภทกลอน รอ ยกรองประเภทกลอน กลอน ไดถูกตองตามอกั ขรวิธี ไดถ กู ตอ งตามอกั ขรวธิ ี ไดถ ูกตอ งตามอกั ขรวธิ ี ไดถกู ตอ งตามอักขรวธิ ี การเวนจังหวะ การเวนจงั หวะ การเวน จงั หวะ การเวนจังหวะ ทว งทํานองการอาน และ ทว งทํานองการอา น และ ทว งทํานองการอา น และ ทวงทาํ นองการอาน การทอดเสยี ง การทอดเสียง เปน การทอดเสยี ง เปน แตไมทอดเสยี ง สว นใหญ บางสว น เกณฑการตัดสินคุณภาพ 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ตํ่ากวา 8 ดมี าก ดี พอใช ปรับปรุง ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

ใบงานท่ี 3 หลักการอา นออกเสยี งบทรอยกรอง คาํ ช้แี จง ใหน ักเรียนอธิบายหลกั การอานตอไปนม้ี าส้นั ๆ พอเขา ใจ 1. หลกั การอา นกลอนบทละคร 2. หลักการอานกลอนเพลงยาว 3. หลกั การอานกลอนนิทาน 4. หลกั การอานกาพยห อ โคลง

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทาํ งานรายบุคคล ชอื่ ชน้ั คําชแ้ี จง : ให ผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด  ลงในชอง ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน ๓๒๑ ๑ การแสดงความคดิ เห็น ๒ การยอมรับฟงความคิดเหน็ ของผูอ่ืน รวม ๓ การทํางานตามหนาท่ที ่ไี ดรับมอบหมาย ๔ ความมีน้าํ ใจ ๕ การตรงตอเวลา ............../.................../................ ลงชือ่ ...................................................ผูประเมนิ เกณฑการใหคะแนน อยา งสมา่ํ เสมอ ให ๓ คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรม บอยครง้ั ให ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรม บางครงั้ ให ๑ คะแนน ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรม ๑๒ - ๑๕ ดี ๘ - ๑๑ พอใช ต่ํากวา ๘ ปรบั ปรุง

แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค คาํ ชแ้ี จง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขีด  ลงในชอ ง ท่ีตรง กบั ระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคดา น ๓๒๑ 1. รกั ชาติ ศาสน ๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรองเพลงชาติได กษัตรยิ  ๑.๒ เขา รวมกิจกรรมที่สรา งความสามัคคี ปรองดอง และเปน ประโยชน ตอ โรงเรียน ๑.๓ เขารว มกิจกรรมทางศาสนาท่ตี นนับถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา ๑.๔ เขารวมกจิ กรรมท่เี ก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ตามท่ีโรงเรยี นจดั ขึ้น ๒. ซ่ือสตั ย สจุ รติ ๒.๑ ใหข อมูลท่ถี ูกตอ ง และเปนจรงิ ๒.๒ ปฏิบัตใิ นสิง่ ท่ีถกู ตอง ๓. มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับของครอบครัว มีความตรงตอ เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตางๆ ในชวี ติ ประจําวนั ๔. ใฝเรียนรู ๔.๑ รูจกั ใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน และนําไปปฏิบตั ิได ๔.๒ รจู กั จดั สรรเวลาใหเหมาะสม ๔.๓ เชอื่ ฟงคําส่ังสอนของบดิ า-มารดา โดยไมโตแ ยง ๔.๔ ตงั้ ใจเรยี น ๕. อยูอ ยางพอเพยี ง ๕.๑ ใชท รพั ยส นิ และสิง่ ของของโรงเรียนอยา งประหยัด ๕.๒ ใชอุปกรณก ารเรยี นอยา งประหยดั และรคู ณุ คา ๕.๓ ใชจา ยอยางประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. มงุ ม่ันในการทํางาน ทํ ๖.๑ มคี วามตง้ั ใจและพยายามในการทํางานทไ่ี ดร บั มอบหมาย ๖.๒ มีความอดทนและไมท อ แทตออุปสรรคเพอื่ ใหง านสาํ เร็จ ๗. รกั ความเปน ไทย ๗.๑ มจี ติ สํานกึ ในการอนุรกั ษวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณคา และปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๘.๑ รูจ ักชว ยพอ แม ผูปกครอง และครทู าํ งาน ๘.๒ รจู กั การดแู ล รกั ษาทรพั ยส มบตั แิ ละส่ิงแวดลอ มของหอ งเรียน โรงเรยี น ............../.................../................ ลงช่ือ...................................................ผูประเมิน เกณฑการใหคะแนน เกณฑการตดั สินคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให ๓ คะแนน ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรม บอ ยครั้ง ให ๒ คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรม บางคร้งั ให ๑คะแนน ๓๐ - ๔๕ พอใช ตาํ่ กวา ๓๐ ปรับปรงุ

ผังมโนทัศน รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท 22101 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๒ เรือ่ ง การอา นในชีวิตประจําวนั จํานวน ๙ ช่ัวโมง : ๑๕ คะแนน การอานเพื่อจับใจความสาํ คัญ จํานวน ๓ ชว่ั โมง การอานในชีวติ ประจําวัน จํานวน ๙ ชว่ั โมง การอา นเพือ่ วเิ คราะห การเขยี นผังความคิดจากเรื่องท่อี า น จํานวน ๓ ชวั่ โมง จํานวน ๓ ชั่วโมง

แผนการจดั การเรียนรู หนว ยการเรียนรูที่ ๒ เรอ่ื งการอานในชีวติ ประจําวัน แผนการเรียนรทู ี่ ๑ เรื่อง การอานเพ่อื จับใจความสาํ คัญ รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒ น้าํ หนกั เวลาเรยี น ๖๐ ชว่ั โมง เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง / สปั ดาห เวลาท่ใี ชใ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู ๓ ชว่ั โมง ๑. สาระสาํ คญั (ความเขาใจท่คี งทน) การอานจับใจความสาํ คญั จากสอ่ื ตา งๆ ตองมคี วามรคู วามเขาใจในเรือ่ งหลักการอา นจับใจความสาํ คญั ๒. มาตรฐานการเรยี นรู / ตัวชว้ี ดั ชนั้ ป / ผลการเรียนรู / (เปาหมายการเรียนรู) มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานท ๑.๑ ใชก ระบวนการอา นสรา งความรูแ ละความคดิ เพือ่ นาํ ไปใชต ดั สนิ ใจ แกปญ หาในการ ดาํ เนนิ ชวี ิต และมนี สิ ยั รักการอา น ตัวชี้วัด ม.2/2 จบั ใจความสําคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องทอ่ี าน ๓. สาระการเรยี นรู ๓.๑เนอื้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผเู รียนตอ งรูอะไร) - หลักการอา นเพื่อจับใจความสาํ คญั ๓.๒ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผูเ รยี นสามารถปฏบิ ตั อิ ะไรได) 1)บอกหลกั การอานเพ่อื จับใจความสาํ คัญ 2)จับใจความสําคญั จากบทความ ๓.๓ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค : Attitude (ผเู รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบา ง) - กระตอื รือรน ในการรว มกิจกรรม ๔. สมรรถนะสําคัญ ๑ . ความสามารถในการส่อื สาร ๕. คุณลกั ษณะของวชิ า ๑ . ความต้งั ใจ ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ๑. ใฝเ รียนรู ๗. ภาระงาน / ชิน้ งาน ตามตัวชวี้ ดั 1) บอกหลกั การอานเพื่อจับใจความสาํ คัญได 2) จบั ใจความสําคัญจากบทความได

๘. ภาระงาน / ชน้ิ งานรวบยอด 1) บอกหลกั การอา นเพอื่ จบั ใจความสําคัญได 2) จับใจความสําคัญจากบทความได ๙. กิจกรรมการเรยี นรู ๙.๑ ขน้ั ตั้งคําถาม ๑. ครสู นทนากับนกั เรยี นเรอ่ื งการจบั ใจความสําคญั เพ่อื ทบทวนความรูท่นี กั เรยี นเคยเรียนมาแลว ๒.ครูใหนกั เรยี นเลา ประสบการณเ กย่ี วกับขอ ผดิ พลาดในการอานเพ่ือจบั ใจความสาํ คญั ๙.๒ข้นั การเตรียมการคน หาคาํ ตอบ ครูใหน กั เรียนแบงกลมุ กลุมละ 4 คน โดยเรียงตามลาํ ดับเลขท่ี แลว ใหนักเรยี นแตล ะกลุมรว มกนั ศึกษาความรูเร่อื ง การ อา นเพ่อื จบั ใจความสาํ คัญ จากหนังสือเรยี น และแหลงขอมลู สารสนเทศ ๙.๓ขั้นการดาํ เนนิ การคนหาคาํ ตอบและตรวจสอบคาํ ถาม 1.สมาชกิ แตล ะกลุม รว มกนั อธบิ ายความรูท ไ่ี ดศึกษามาเพื่อทําความเขาใจเปน อันหนง่ึ อนั เดยี วกัน 2.นักเรยี นแตล ะกลุมรวมกนั ทาํ ใบงานที่ 2.1 เร่ือง การอา นเพอื่ จับใจความสําคญั เมอ่ื ทาํ เสร็จแลว ให นําสงครูตรวจ 3.ครใู หน กั เรยี นคน ควา บทความท่นี ักเรยี นสนใจ คนละ 1 เรือ่ ง แลว มานําเสนอใหเพ่ือนในกลมุ ฟง โดยให เจาของบทความช้แี นะถงึ คุณประโยชนแ ละความนา สนใจของบทความที่เลือกมา 4.นักเรียนแตละกลุมคดั เลอื กบทความทีส่ มาชิกนําเสนอเพ่ือนํามาประกอบการทําใบงานท่ี 2.2 5.นกั เรียนแตล ะกลุม รว มกนั ทําใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง การอา น จับใจความสําคญั จากบทความ ๙.๔ ข้ันการสรปุ และนาํ เสนอผลการคนหาคาํ ตอบ 1.ครสู มุ ตวั แทนนักเรียนแตล ะกลุมออกมานาํ เสนอการจับใจความสาํ คัญจากบทความในใบงานท่ี 2.2 หนาชนั้ เรียน 2.ครูตรวจสอบความถกู ตอ ง รวมถงึ การใหค ําแนะนาํ ในการพฒั นางาน ๑๐. สื่อ อุปกรณแ ละแหลงเรยี นรู จํานวน สภาพการใชส ่ือ รายการสอ่ื ใหนกั เรียนศึกษาความรหู ลักการจับใจความ ใหน กั เรียนตอบคาํ ถามในใบงาน 1) หนงั สือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช ภาษา ม.2 2) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การอา นเพอ่ื จบั ใจความสําคญั 3) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การอา นจบั ใจความสําคญั จาก บทความ

๑๑. การวัดผลและประเมินผล เปา หมาย หลักฐานการเรียนรู วธิ วี ัด เครือ่ งมอื วดั ฯ ประเดน็ / การเรยี นรู ช้ินงาน/ภาระงาน เกณฑก ารให สาระสําคัญ/ 1)บอกหลักการอาน ตรวจใบงานท่ี 2.1 ใบงานที่ 2.1 ความคดิ รวบยอด เพื่อจับใจความสําคัญ ตรวจใบงานที่ 2.2 ใบงานท่ี 2.2 คะแนน การอานจบั ใจความ ได สําคญั จากสอ่ื ตางๆ 2)จบั ใจความสําคญั รอยละ 60 ผา นเกณฑ ตอ งมคี วามรคู วาม จากบทความได เขา ใจในเรือ่ ง หลกั การอานจับ ใจความสําคัญ ๑๒. การบรู ณาการตามจุดเนนของโรงเรยี น ครู ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผเู รยี น 1. พอประมาณ ใหนกั เรยี นอา นหลกั การอา นจับ นักเรียนอานหลกั การอานจบั ใจความ ใจความสําคัญ สําคญั 2. ความมีเหตผุ ล ใหนักเรยี นอธิบายหลกั การอา นจบั นักเรียนอธิบายหลักการอา นจับ ใจความสําคญั ท่ถี ูกตอ ง ใจความสาํ คญั ทถ่ี ูกตอ ง 3. มภี มู ิคุมกันทีด่ ีในตวั ใหนักเรยี นจบั ใจความสําคญั จาก ใหนกั เรียนจับใจความสําคัญจาก บทความ บทความ 4. เงื่อนไขความรู การอา นจบั ใจความสําคัญจากส่อื การอานจับใจความสําคญั จากส่ือ ตา งๆ ตอ งมคี วามรูความเขา ใจใน ตางๆ ตอ งมีความรคู วามเขาใจใน เรอื่ งหลักการอา นจบั ใจความ เร่อื งหลกั การอา นจับใจความสําคญั สาํ คญั 5. เงื่อนไขคณุ ธรรม - - สวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น ครู ผูเ รยี น นกั เรียนอานชือ่ พรรณไม ใหนกั เรยี นอานชอื่ พรรณไมใ น นกั เรียนอานช่ือพรรณไมในโรงเรียน โรงเรยี น สงิ่ แวดลอ ม ครู ผเู รียน อา นออกเสยี ง ใหน กั เรียนอา นขาวจาก นกั เรียนอานขา วใหเ พ่ือนฟงหนา หนงั สือพิมพในหอ งสมุด หอ งเรียน ลงชอ่ื ..................................................ผสู อน (นางสาววรรณภรณ ทพิ ยสอน

ใบงานที่ 2.1 การอา นเพอื่ จับใจความสาํ คัญ คาํ ชี้แจง ใหน กั เรียนตอบคําถามตอไปน้ี 1. การอา นเพื่อจับใจความสาํ คัญ มลี กั ษณะอยา งไร 2. การอา นจบั ใจความสําคญั มคี วามสําคัญอยา งไร 3. นกั เรียนสามารถนําเร่อื งการอานจบั ใจความสําคญั ไปใชป ระโยชนในการศกึ ษาวิชาตา งๆ ไดอ ยา งไร 4. การอา นเพ่อื จบั ใจความสาํ คญั มีหลักการอยางไร 5. นกั เรียนคิดวา หลกั การอา นจบั ใจความสาํ คญั มีความสัมพนั ธก บั การอาน คิดวิเคราะหและเขียนอยา งไร

ใบงานท่ี 2.2 การอา นจับใจความสาํ คัญจากบทความ คําช้ีแจง ใหนักเรียนแตละกลุมคดั เลือกบทความ 1 เรอื่ ง นํามาตดิ ลงในกรอบ แลว จับใจความสาํ คญั สาํ คัญทใ่ี จ เม่ือทานยิ้มกับโลก โลกกย็ ้มิ กับทา น (When you smile at the world,the world smiles back.) เคลด็ ลบั ของชีวิตขึน้ อยกู ับใจ ใจเปน สิง่ สําคญั ทีส่ ดุ ในตัวเรา ขนาดของคนขึ้นอยกู ับขนาดของใจ ใจเปนสมบัตลิ ํา้ คา กวา สมบัตใิ ดๆ ในโลก สงิ่ อนื่ ๆ จะสําคญั กวาใจไมมี ใจเปน ใหญใจเปนผูน าํ ในทุกสิง่ ทกุ ส่ิงจะสําเรจ็ ไดด ว ยใจ ชีวิตมนษุ ย มใี จกบั กาย ใจเปนนายกายเปนบาวใจเปนคนคดิ เปน คนตอ งการมนุษยมใี จเปน จอมบงการจติ ใจเปน บอ เกิดแหง ความดี และความชว่ั ทั้งมวล สวรรคอ ยูในอก นรกอยูในใจ หากจะดับไฟนรกก็ตองดบั ทีใ่ จ คดิ ดี ทําดี พดู ดี ชีวิตมีความสขุ ใจ คิด ชัว่ พดู ชัว่ ทําชัว่ ชวี ติ ก็มีความทุกขใ จเปน บอเกิดแหงความทกุ ขท งั้ มวล (Joy live in the heart) สุขทกุ ขเกิดจากใจ หาก พอใจเปนสขุ กเ็ ปน ตัวเราเปนตนเหตแุ หง ความสุขและความทกุ ขของเราเอง (Being happy or sad depends on how you think.) จงมคี วามสขุ กบั ชวี ิตทกุ วัน (Enjoy your life everday.) ชวี ติ เกิดมาตอ งหาความสุข จงสนกุ กับชีวิต (enjoy good life.) เราคดื ผูส รางความสขุ (Happiness Maker) ความสขุ จากการเลน กีฬา ความสุขจากการปลูกตน ไม ความสขุ จากการพบปะเพ่อื นฝูง เปนตน ชวี ติ สน้ั นกั อยา มวั แบกโลก อยา ยึดม่นั ถือมน่ั ตอ งรูจักปลอ ยวาง \"สขุ กนั เถอะเรา\"

จากบทความเร่อื ง สรุปใจความสาํ คญั ไดดังนี้ 1. จับใจความสําคญั ในแตล ะยอ หนา ยอหนาท่ี 1 ยอหนาที่ 2 ยอหนา ที่ 3 ยอหนาที่ 4 2. เขียนเรยี บเรียงใหม

เกณฑการใหคะแนน วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ ตรวจแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรียนรูท่ี 2 แบบทดสอบกอนเรียน หนว ยการเรียนรูท่ี 2 (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) ตรวจใบงานที่ 2.1,2.2 ใบงานท่ี 2.1,2.2 รอ ยละ 60 ผานเกณฑ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา น สงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทาํ งานกลมุ เกณฑ ระดับคุณภาพ 2 ผาน สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝเ รยี นรู และมงุ มน่ั ในการ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค เกณฑ ทํางาน

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทาํ งานรายบุคคล ชอื่ ชน้ั คําชแ้ี จง : ให ผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด  ลงในชอง ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน ๓๒๑ ๑ การแสดงความคดิ เห็น ๒ การยอมรับฟงความคิดเหน็ ของผูอ่ืน รวม ๓ การทํางานตามหนาท่ที ่ไี ดรับมอบหมาย ๔ ความมีน้าํ ใจ ๕ การตรงตอเวลา ............../.................../................ ลงชือ่ ...................................................ผูประเมนิ เกณฑการใหคะแนน อยา งสมา่ํ เสมอ ให ๓ คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรม บอยครง้ั ให ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรม บางครงั้ ให ๑ คะแนน ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรม ๑๒ - ๑๕ ดี ๘ - ๑๑ พอใช ต่ํากวา ๘ ปรบั ปรุง

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทํางานกลมุ คาํ ชแ้ี จง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลวขดี  ลงในชอง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลําดับ ช่ือ-สกุล ความ การแสดง การรบั ฟง ความต้งั ใจ การแกไข รวม ท่ี ของผรู ับการประเมิน รว มมือกัน ความคิดเหน็ ความคิดเห็น ทํางาน ปญ หา/หรือ 20 ทาํ กิจกรรม ปรบั ปรงุ คะแนน ผลงานกลมุ 4321 4321 432 14321 4321 ลงชอื่ ................................................. ... ผปู ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑก ารใหค ะแนน อยา งสมา่ํ เสมอ ให 4 คะแนน เกณฑก ารตดั สนิ คุณภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรม บอ ยครงั้ ให 3 คะแนน ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรม บางครัง้ ให 2 คะแนน 18 - 20 ดีมาก ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรม นอ ยคร้ัง ให 1 คะแนน 14 - 17 ดี ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรม 10 - 13 พอใช ต่าํ กวา 10 ปรับปรุง

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค คาํ ชี้แจง : ให ผูสอน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงในชอง ท่ตี รง กับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อนั พงึ ประสงคด าน ๓๒๑ 1.รกั ชาติ ศาสน ๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรองเพลงชาติได กษตั ริย ๑.๒ เขา รว มกิจกรรมที่สรางความสามคั คี ปรองดอง และเปน ประโยชน ตอ ๒. ซ่อื สตั ย สจุ รติ โรงเรียน ๓. มวี ินยั รบั ผดิ ชอบ ๑.๓ เขา รว มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา ๔. ใฝเรียนรู ๑.๔ เขารว มกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วกับสถาบนั พระมหากษตั ริยต ามทโ่ี รงเรยี นจัดข้ึน ๒.๑ ใหขอมูลทถี่ ูกตอง และเปนจริง ๕. อยอู ยางพอเพยี ง ๒.๒ ปฏบิ ตั ใิ นสิง่ ทีถ่ ูกตอ ง ๓.๑ ปฏิบตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอ บังคับของครอบครัว 1. มุงม่ันในการ มคี วามตรงตอ เวลาในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตางๆ ในชวี ิตประจําวัน ทาํ งาน ๔.๑ รูจ กั ใชเวลาวา งใหเ ปนประโยชน และนําไปปฏบิ ัตไิ ด ๗. รกั ความเปนไทย ๔.๒ รจู กั จัดสรรเวลาใหเหมาะสม ๘. มจี ิตสาธารณะ ๔.๓ เชือ่ ฟง คาํ สง่ั สอนของบิดา-มารดา โดยไมโตแ ยง ๔.๔ ตง้ั ใจเรียน ๕.๑ ใชท รพั ยสนิ และสิง่ ของของโรงเรยี นอยางประหยดั ๕.๒ ใชอ ุปกรณก ารเรยี นอยางประหยัดและรคู ุณคา ๕.๓ ใชจา ยอยางประหยดั และมกี ารเก็บออมเงิน ๖.๑ มคี วามตั้งใจและพยายามในการทํางานทไ่ี ดรบั มอบหมาย ๖.๒ มคี วามอดทนและไมท อแทต ออปุ สรรคเพอื่ ใหงานสําเรจ็ ๗.๑ มจี ิตสาํ นกึ ในการอนรุ ักษว ัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณคาและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘.๑ รจู กั ชวยพอ แม ผูปกครอง และครูทํางาน ๘.๒ รจู กั การดแู ล รักษาทรพั ยสมบัติและส่งิ แวดลอ มของหองเรยี น โรงเรยี น ............../.................../................ ลงชอ่ื ...................................................ผูประเมนิ เกณฑก ารใหค ะแนน เกณฑการตัดสินคณุ ภาพ ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยางสมาํ่ เสมอ ให ๓ คะแนน ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรม บอยครั้ง ให ๒ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรม บางครัง้ ให ๑คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ๓๐ - ๔๕ พอใช ตาํ่ กวา ๓๐ ปรับปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรยี นรทู ี่ ๒ เร่อื งการอานในชีวติ ประจําวนั แผนการเรยี นรทู ี่ ๒ เรื่อง การเขียนผังความคดิ จากเรือ่ งทอี่ า น รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา ๒๕๖๒ น้าํ หนักเวลาเรียน ๖๐ ชว่ั โมง เวลาเรียน ๓ ชวั่ โมง / สัปดาห เวลาที่ใชในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู ๓ ช่วั โมง ๑. สาระสําคัญ (ความเขาใจทค่ี งทน) การเขียนผังความคิดตองจับใจความสาํ คัญ สรปุ ความ และอธบิ ายรายละเอียดจากเร่ืองท่ีอานไดตอง ๒. มาตรฐานการเรยี นรู / ตัวช้ีวัดชัน้ ป / ผลการเรียนรู / (เปาหมายการเรียนรู) มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐานท ๑.๑ ใชกระบวนการอา นสรา งความรแู ละความคิดเพือ่ นาํ ไปใชตัดสนิ ใจ แกป ญ หาในการ ดาํ เนินชวี ิต และมีนสิ ัยรักการอา น ตัวช้ีวัด ม.2/2 จับใจความสาํ คญั สรปุ ความ และอธบิ ายรายละเอยี ดจากเรือ่ งทอี่ า น ม.2/3 เขยี นผังความคิดเพอื่ แสดงความเขา ใจในบทเรยี นตา งๆ ทอ่ี า น ๓. สาระการเรยี นรู ๓.๑เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผเู รยี นตองรูอะไร) - การเขยี นผังความคิดเพื่อแสดงความเขา ใจในเรือ่ งทอี่ า น ๓.๒ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผูเรยี นสามารถปฏบิ ัติอะไรได) - เขียนผังความคดิ เพอื่ แสดงความเขาใจในเรื่องท่ีอาน ๓.๓ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค : Attitude (ผูเ รยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบาง) - กระตือรอื รนในการอา นออกเสยี ง ๔. สมรรถนะสําคญั ๑ . ความสามารถในการส่อื สาร ๕. คณุ ลกั ษณะของวชิ า ๑ . ความตั้งใจ ๖. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ๑. ใฝเรยี นรู ๗. ภาระงาน / ชิ้นงาน ตามตวั ช้ีวดั ๑. เขยี นผงั ความคิดเพ่ือแสดงความเขาใจในเร่อื งท่ีอาน ๘. ภาระงาน / ชิน้ งานรวบยอด

๑. เขียนผังความคิดเพือ่ แสดงความเขาใจในเร่ืองทีอ่ าน ๙. กิจกรรมการเรยี นรู ๙.๑ ข้นั ตั้งคําถาม 1.ครูนําตวั อยา งผังความคดิ ที่นกั เรยี นรุน กอ นเคยทาํ มาใหนกั เรียนดู แลวใหน ักเรยี นรวมกันแสดงความ คิดเห็น 2.ครสู นทนากับนกั เรยี นถงึ ประสบการณในการทําผังความคดิ จากทเี่ คยเรียนมาแลว 3.นกั เรยี นแตล ะกลุม (กลมุ เดิมจากแผนการจดั การเรียนรูท่ี 1) รว มกนั ศกึ ษาความรเู ร่อื ง การเขยี นผัง ความคิดจากหนังสอื เรยี น ๙.๒ข้ันการเตรยี มการคน หาคําตอบ นกั เรียนแตละกลุมตั้งคําถามเกย่ี วกบั เรอื่ งที่อาน และถามตวั เองดวู า ใจความสาํ คญั ทผี่ ูเ ขียนกาํ ลังพดู ถึงอยู นั้นคืออะไร เพราะเหตุใดจึงสาํ คญั สําคัญอยางไร และเก่ียวของกับอะไรหรือใครบา ง ตอนไหนและเมือ่ ไร ๙.๓ขัน้ การดาํ เนนิ การคนหาคาํ ตอบและตรวจสอบคาํ ถาม 1.นักเรียนแตละกลมุ อานบทเรียนท่ีเลือกมาซํา้ อยา งละเอยี ดและในขณะเดียวกัน กค็ นหาคําตอบ สําหรบั คําถามทไ่ี ดต้งั ไว เปน การอานเพือ่ จับใจความและจบั ประเด็นสําคญั 2.นกั เรียนแตล ะกลมุ จดบันทึกขอ มูลตางๆ ท่ีไดอานจากข้นั ตอนท่ี 3 บนั ทึกในสวนทสี่ ําคญั และ จาํ เปน โดยใชขอ ความอยางรัดกุม หรอื ยอ ๆ ตามความเขา ใจของนกั เรียน 3.นกั เรยี นแตล ะกลมุ เขียนสรุปใจความสําคัญ โดยพยายามใชภ าษาของตนเอง ถา ยังไมแ นใจในบทใด หรอื ตอนใดใหกลบั ไปอานซํา้ ใหม ๙ .๔ ขนั้ การสรปุ และนําเสนอผลการคนหาคาํ ตอบ นักเรียนและครูรว มกันสรปุ สรปุ เรื่องทอี่ านแลว จัดทําผงั ความคิด ๑๐. สื่อ อปุ กรณแ ละแหลง เรียนรู สภาพการใชส อื่ รายการส่ือ จาํ นวน ใหน กั เรยี นศึกษาวธิ ีการเขยี นแผนผังความคิด 1)หนงั สอื เรยี นภาษาไทย:หลักภาษาและการใชภาษา ม.2 จากเรอ่ื งท่ีอา น 2)แบบวดั และบันทกึ ผลการเรยี นรู ภาษาไทย ม.2 3)ตวั อยา งผงั ความคิด

๑๑. การวัดผลและประเมนิ ผล เปาหมาย หลกั ฐานการเรียนรู วธิ ีวัด เครือ่ งมือวดั ฯ ประเดน็ / การเรยี นรู ชนิ้ งาน/ภาระงาน ประเมินการเขยี น แบบประเมินแผนภาพ เกณฑก ารให สาระสาํ คญั / การเขียนผงั ความคดิ แผนผงั ความคดิ ความคิด ความคดิ รวบยอด เรื่องท่อี า น จากเร่อื งที่อาน คะแนน ดีมาก 3 การเขียนผงั ความคดิ ดี ๒ ตอ งจับใจความ พอใช ๑ สาํ คญั สรุปความ ปรับปรุง ๐ และอธิบาย รายละเอียดจากเรอ่ื ง ที่อา นไดต อง ๑๒. การบูรณาการตามจดุ เนน ของโรงเรยี น ครู ผเู รยี น ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. พอประมาณ ใหนกั เรยี นเขียนผังความคิดเพ่ือ นักเรยี นเขยี นผังความคิดเพอ่ื แสดง แสดงความเขา ใจในเร่ืองท่ีอาน ความเขาใจในเร่อื งทีอ่ า น 2. ความมเี หตผุ ล ใหน ักเรียนเขยี นผงั ความคดิ เพ่ือ ใหน ักเรียนเขียนผงั ความคดิ เพอื่ แสดง แสดงความเขาใจในเรอ่ื งทอี่ า น ความเขาใจในเรอ่ื งทอ่ี าน 3. มภี ูมิคมุ กนั ท่ดี ีในตัว ใหนักเรียนอธบิ ายวธิ ีการเขียนผงั นกั เรยี นอธิบายวธิ ีการเขียนผงั ความคดิ เพ่ือแสดงความเขา ใจใน ความคิดเพอ่ื แสดงความเขา ใจในเร่ือง เรือ่ งทอ่ี า น ทอ่ี า น 4. เงื่อนไขความรู การเขยี นผงั ความคดิ ตองจับ การเขียนผงั ความคิดตองจบั ใจความ ใจความสาํ คัญ สรปุ ความ และ สาํ คัญ สรุปความ และอธบิ าย อธิบายรายละเอียดจากเรอื่ งทีอ่ าน รายละเอียดจากเรื่องทอี่ า นไดตอง ไดต อง 5. เง่อื นไขคณุ ธรรม - - สวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ครู ผูเ รยี น นกั เรียนอา นช่อื พรรณไม ใหน กั เรยี นอานชื่อพรรณไมใ น นักเรียนอานชอ่ื พรรณไมใ นโรงเรียน โรงเรียน สงิ่ แวดลอม ครู ผูเรียน อานออกเสียง ใหนกั เรยี นอานขา วจาก นักเรยี นอานขา วใหเพ่อื นฟง หนา หนงั สอื พิมพใ นหองสมดุ หองเรยี น ลงชอ่ื ..................................................ผสู อน (นางสาววรรณภรณ ทพิ ยส อน)

แบบสงั เกตพฤตกิ รรม การทาํ งานรายบุคคล ชอื่ ชน้ั คําชแ้ี จง : ให ผสู อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว ขีด  ลงในชอง ที่ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน ๓๒๑ ๑ การแสดงความคดิ เห็น ๒ การยอมรับฟงความคิดเหน็ ของผูอ่ืน รวม ๓ การทํางานตามหนาท่ที ่ไี ดรับมอบหมาย ๔ ความมีน้าํ ใจ ๕ การตรงตอเวลา ............../.................../................ ลงชือ่ ...................................................ผูประเมนิ เกณฑการใหคะแนน อยา งสมา่ํ เสมอ ให ๓ คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรม บอยครง้ั ให ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรม บางครงั้ ให ๑ คะแนน ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรม ๑๒ - ๑๕ ดี ๘ - ๑๑ พอใช ต่ํากวา ๘ ปรบั ปรุง

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทาํ งานกลมุ ชื่อกลุม ชน้ั คาํ ช้ีแจง : ให ผูสอน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวางเรียนและนอกเวลาเรียน แลว ขดี  ลงในชอง ทต่ี รงกับระดับคะแนน ลาํ ดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 การแบงหนาท่กี ันอยางเหมาะสม 2 ความรวมมอื กันทํางาน 3 การแสดงความคดิ เหน็ 4 การรับฟง ความคดิ เห็น 5 ความมีน้าํ ใจชวยเหลือกัน รวม ลงช่อื ................................................. ... ผูประเมิน ................ /................ /................ เกณฑการใหคะแนน อยางสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรม บอยครงั้ ให 3 คะแนน ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรม บางครั้ง ให 2 คะแนน 18 - 20 ดีมาก ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรม นอยคร้ัง ให 1 คะแนน 14 - 17 ดี ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรม 10 - 13 พอใช ตํา่ กวา 10 ปรับปรุง

แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค คาํ ชี้แจง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขีด  ลงในชอ ง ท่ีตรง กบั ระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อนั พึงประสงคด า น ๓๒๑ 1. รกั ชาติ ศาสน ๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรองเพลงชาติได กษัตรยิ  ๑.๒ เขา รวมกิจกรรมที่สรา งความสามัคคี ปรองดอง และเปน ประโยชน ตอ โรงเรียน ๑.๓ เขารว มกิจกรรมทางศาสนาท่ตี นนับถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา ๑.๔ เขารวมกจิ กรรมท่เี ก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ตามท่ีโรงเรยี นจดั ขึ้น ๒. ซ่ือสัตย สจุ ริต ๒.๑ ใหข อมูลท่ถี ูกตอ ง และเปนจรงิ ๒.๒ ปฏิบัตใิ นสิง่ ท่ีถกู ตอง ๓. มวี ินยั รบั ผดิ ชอบ ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับของครอบครัว มีความตรงตอ เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตางๆ ในชวี ติ ประจําวนั ๔. ใฝเ รียนรู ๔.๑ รูจกั ใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน และนําไปปฏิบตั ิได ๔.๒ รจู กั จดั สรรเวลาใหเหมาะสม ๔.๓ เชอื่ ฟงคําส่ังสอนของบดิ า-มารดา โดยไมโตแ ยง ๔.๔ ตงั้ ใจเรยี น ๕. อยูอยางพอเพยี ง ๕.๑ ใชท รพั ยส นิ และสิง่ ของของโรงเรียนอยา งประหยัด ๕.๒ ใชอุปกรณก ารเรยี นอยา งประหยดั และรคู ณุ คา ๕.๓ ใชจา ยอยางประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. มุงมน่ั ในการทํางาน ทํ ๖.๑ มคี วามตง้ั ใจและพยายามในการทํางานทไ่ี ดร บั มอบหมาย ๖.๒ มีความอดทนและไมท อ แทตออุปสรรคเพอื่ ใหง านสาํ เร็จ ๗. รักความเปน ไทย ๗.๑ มจี ติ สํานกึ ในการอนุรกั ษวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณคา และปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๘.๑ รูจ ักชว ยพอ แม ผูปกครอง และครทู าํ งาน ๘.๒ รจู กั การดแู ล รกั ษาทรพั ยส มบตั แิ ละส่ิงแวดลอ มของหอ งเรียน โรงเรยี น ............../.................../................ ลงช่ือ...................................................ผูประเมิน เกณฑก ารใหค ะแนน เกณฑการตดั สินคุณภาพ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให ๓ คะแนน ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรม บอ ยครั้ง ให ๒ คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรม บางคร้งั ให ๑คะแนน ๓๐ - ๔๕ พอใช ตาํ่ กวา ๓๐ ปรับปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรยี นรูท่ี ๒ เร่ืองการอา นในชีวิตประจาํ วนั แผนการเรยี นรูที่ ๓ เรื่อง การอานเพือ่ การวเิ คราะห รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา ๒๕๖๒ นํ้าหนักเวลาเรยี น ๖๐ ชว่ั โมง เวลาเรยี น ๓ ช่วั โมง / สปั ดาห เวลาทใ่ี ชในการจดั กิจกรรมการเรียนรู ๓ ชว่ั โมง ๑. สาระสาํ คญั (ความเขา ใจทีค่ งทน) การอา นจบั ใจความจากสอ่ื ตา งๆ ใหอ ภปิ รายแสดงความคิดเห็นและขอ โตแยง วเิ คราะหแ ละจําแนกขอเทจ็ จริง ขอ มูลสนบั สนุน และขอ คิดเห็น ระบุขอ สังเกตการชวนเชอ่ื การโนมนาว หรอื ความสมเหตุสมผลของงานเขียน ๒. มาตรฐานการเรียนรู / ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป / ผลการเรียนรู / (เปา หมายการเรยี นรู) มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐานท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรแู ละความคิดเพื่อนาํ ไปใชตดั สนิ ใจ แกปญ หาในการ ดาํ เนินชีวติ และมีนิสยั รกั การอาน ตวั ชว้ี ดั ม.2/4 อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และขอ โตแ ยงเกีย่ วกับเรอื่ งที่อา น ม.2/5 วเิ คราะหแ ละจาํ แนกขอ เท็จจรงิ ขอมูลสนับสนุน และขอ คิดเหน็ จากบทความท่อี า น ม.2/6 ระบขุ อสังเกตการชวนเชือ่ การโนม นาว หรอื ความสมเหตุสมผลของงานเขยี น ๓. สาระการเรยี นรู ๓.๑เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผูเ รยี นตอ งรูอะไร) - การวเิ คราะหแ ละจําแนกขอเท็จจรงิ ขอมลู สนบั สนนุ และขอ คดิ เหน็ จากบทความท่อี าน ๓.๒ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู รยี นสามารถปฏบิ ตั อิ ะไรได) - วิเคราะหและจําแนกขอ เท็จจรงิ ขอมลู สนบั สนนุ และขอ คิดเหน็ จากบทความทอ่ี านได ๓.๓ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค : Attitude (ผูเรยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบาง) - กระตอื รือรนในการอา นออกเสียง ๔. สมรรถนะสําคญั ๑ . ความสามารถในการสือ่ สาร ๕. คณุ ลักษณะของวิชา ๑ . ความต้ังใจ ๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ๑. ใฝเรยี นรู ๗. ภาระงาน / ชิน้ งาน ตามตัวชี้วัด วิเคราะหแ ละจาํ แนกขอเท็จจรงิ ขอมูลสนับสนนุ และขอคดิ เห็นจากบทความท่อี านได

๘. ภาระงาน / ชน้ิ งานรวบยอด ๑. วิเคราะหแ ละจําแนกขอเท็จจรงิ ขอมูลสนับสนุน และขอคดิ เหน็ จากบทความทีอ่ า นได ๙. กิจกรรมการเรียนรู สนทนากบั นักเรียนเรื่อง การอา นเพอ่ื จบั ใจความสาํ คัญ เพ่อื ทบทวนความรเู ดมิ 2.ครูแจง ใหน ักเรยี นทราบวา นักเรยี นจะตอ งศกึ ษาเรอื่ ง การอา นเพ่อื การวเิ คราะห เพื่อนํา ความรูไปวเิ คราะหส่อื ตา งๆ ๙.๒ขน้ั การเตรยี มการคนหาคําตอบ 1.นักเรียนแตล ะกลุม (กลุมเดิมจากแผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 1) รวมกันศึกษาความรเู รอ่ื ง การอานเพื่อ การวิเคราะห จากหนังสือเรียน 2.ครแู ละนกั เรียนรว มกันอภิปรายสรปุ หลกั การอา นเพื่อการวเิ คราะห เพอ่ื ใหน กั เรียนไดเลอื กใชใ นการ วิเคราะหส อ่ื ตางๆ ๙.๓ข้ันการดําเนนิ การคนหาคาํ ตอบและตรวจสอบคําถาม 1.นกั เรยี นแตละกลมุ สรุปหลักการท่จี ะนํามาใชวิเคราะหบ ทความแสดงขอเทจ็ จริง 2.นกั เรยี นแตละกลุมรวมกันทําใบงานท่ี 2.3 เรื่อง การวเิ คราะหบทความแสดงขอเท็จจริง เม่อื ทาํ เสรจ็ แลวใหร ว มกนั ตรวจสอบความเรยี บรอย 3.ครขู ออาสาสมคั รตัวแทนนกั เรียน 1-2 กลุม ออกมานาํ เสนอการวิเคราะหบ ทความแสดงขอ เทจ็ จรงิ ใน ใบงานท่ี 2.3หนาชัน้ เรียน ๙ .๔ ขนั้ การสรปุ และนําเสนอผลการคน หาคาํ ตอบ ครแู ละนักเรยี นรวมกันตรวจสอบความถกู ตอง และแสดงความคดิ เหน็ เพิม่ เตมิ นกั เรยี นและครรู ว มกัน สรุปหลักการวเิ คราะหบทความแสดงขอคิดเหน็ ๙ .๔ ขัน้ การสรุปและนาํ เสนอผลการคนหาคาํ ตอบ นักเรยี นและครูรวมกันสรปุ สรปุ เรื่องท่ีอา นแลว จัดทาํ ผงั ความคิด ๑๐. สื่อ อุปกรณแ ละแหลงเรียนรู จาํ นวน สภาพการใชส่ือ รายการสื่อ ใหน กั เรยี นศึกษาวิธีการวิเคราะหเ ร่ืองจากการ อาน 1)หนงั สือเรยี นภาษาไท :หลกั ภาษาและการใชภาษา ม.2 2)บทความแสดงขอ เทจ็ จรงิ 3)ใบงานที่ 2.3 เร่อื ง การวิเคราะหบ ทความแสดง ขอเทจ็ จริง

๑๑. การวัดผลและประเมินผล เปาหมาย หลักฐานการเรียนรู วธิ วี ดั เครื่องมอื วัดฯ ประเดน็ / การเรยี นรู ช้ินงาน/ภาระงาน ใบงานที่ 2.3 เกณฑการให การอา นจบั ใจความ วิเคราะหแ ละจําแนก ตรวจใบงานท่ี คะแนน จากสื่อตา งๆ ให ขอเทจ็ จริง ขอ มลู 2.3 รอ ยละ 60 ผา น อภิปรายแสดงความ สนับสนุน และ เกณฑ คิดเหน็ และขอ โตแ ยง ขอ คิดเห็นจากบทความ วิเคราะหแ ละจําแนก ทอี่ า นได ขอ เท็จจริง ขอมูล สนบั สนนุ และ ขอคิดเห็น ระบุ ขอ สังเกตการชวน เชื่อ การโนมนาว หรือความ สมเหตุสมผลของ งานเขียน ๑๒. การบรู ณาการตามจดุ เนนของโรงเรยี น ครู ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผเู รยี น 1. พอประมาณ ใหน ักเรียนวเิ คราะหและจําแนก นักเรยี นวเิ คราะหแ ละจําแนก ขอเท็จจริง ขอ มูลสนับสนุน และ ขอเทจ็ จริง ขอ มูลสนับสนุน และ ขอคดิ เห็นจากบทความที่อา น ขอ คิดเห็นจากบทความที่อาน 2. ความมเี หตุผล ใหน ักเรียนอธิบายหลกั การการ นักเรยี นอธิบายหลกั การวเิ คราะห วิเคราะหและจาํ แนกขอเท็จจริง และจาํ แนกขอเทจ็ จริง ขอ มลู ขอมลู สนับสนุน และขอ คิดเหน็ สนบั สนุน และขอคิดเห็นจาก จากบทความท่ีอา นท่ถี กู ตอง บทความทีอ่ านได ทีถ่ ูกตอ ง 3. มีภูมิคุมกันท่ดี ใี นตัว ใหนักเรียนวิเคราะหแ ละจําแนก นกั เรียนวเิ คราะหแ ละจาํ แนก ขอเทจ็ จริง ขอมูลสนบั สนุน และ ขอเทจ็ จริง ขอ มูลสนับสนุน และ ขอ คดิ เหน็ จากบทความที่อานได ขอคดิ เหน็ จากบทความที่อา นได 4. เงือ่ นไขความรู การอานจับใจความจากสอื่ ตางๆ การอา นจบั ใจความจากสอ่ื ตางๆ ให ใหอ ภปิ รายแสดงความคิดเห็นและ อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และขอ ขอ โตแ ยง วิเคราะหแ ละจําแนก โตแยง วิเคราะหแ ละจาํ แนก ขอ เท็จจรงิ ขอ มูลสนบั สนุน และ ขอเท็จจริง ขอ มลู สนบั สนนุ และ ขอคดิ เหน็ ระบุขอสังเกตการชวน ขอคิดเหน็ ระบุขอ สังเกตการชวนเชอื่

เช่ือ การโนมนาว หรือความ การโนมนาว หรอื ความสมเหตุสมผล สมเหตสุ มผลของงานเขียน ของงานเขียน 5. เงื่อนไขคุณธรรม - - สวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น ครู ผเู รยี น นกั เรยี นอานชอื่ พรรณไม ใหนกั เรียนอา นชือ่ พรรณไมใ น นักเรียนอา นชือ่ พรรณไมในโรงเรยี น โรงเรยี น ส่งิ แวดลอ ม ครู ผเู รยี น อานออกเสียง ใหนกั เรยี นอา นขา วจาก นกั เรียนอา นขา วใหเ พอื่ นฟง หนา หนังสือพิมพใ นหอ งสมุด หองเรยี น ลงชือ่ ..................................................ผสู อน (นางสาววรรณภรณ ทพิ ยส อน)

ใบงานท่ี 2.3 การวิเคราะหบ ทความแสดงขอเท็จจรงิ คําช้ีแจง ใหน ักเรยี นเลอื กบทความแสดงขอเทจ็ จริง 1 เร่ือง ตดิ ลงในกรอบ แลว วเิ คราะหเ รอื่ งตามหลกั การวเิ คราะห หัวเราะบาํ บัดโรค ฮา ฮา ฮา .. หัวเราะวันละนดิ จติ แจมใส ไมใชค าํ โม หรอื โออวดเกนิ จรงิ แตอ ยางใด เสียงหวั เราะยงั มปี ระโยชนส ารพดั จน หลายๆ คนตองประหลาดใจ!! หัวเราะเปนยาวิเศษ การไดห ัวเราะแตล ะครัง้ นอกจากสรางสีสนั ใหบ ุคลิก และสรา งมนษุ ยสัมพนั ธท่ดี ีแลว ยงั เปนประโยชนตอ จิตใจ และรางกายควบคกู ันไปดวย เพราะในขณะทเี่ ราหวั เราะ กลา มเนือ้ บนใบหนา และตามรางกาย จะหดยดื และคลายตัว สง ผลชว ยคลายความตึงเครียดไดเปน อยา งดี ยง่ิ ไปกวา น้ัน จากการคนควาของ ARISE (Associates for Research Into the Science of Enjoyment) หรือองคก ารวจิ ัยเพื่อศาสตรแหงความสุข ซง่ึ เปนสถาบันกลาง ที่รวมผลงานการคน ควา โดยผูเ ช่ยี วชาญท่ัวโลก ยงั ไดพบ คุณคา ของการหัวเราะที่มผี ลตอสุขภาพของคนเราอยา งมากมาย นั่นคือ \"การหวั เราะ จะชวยลดระดับฮอรโ มน ทก่ี อใหเกิดความเครียดลง และยงั กระตนุ ใหร า งกายหลง่ั สารสําคัญ ท่จี ะชวยลดความเจบ็ ปวด และทาํ ใหเรารูสึกดีข้นึ เม่อื ใดท่หี วั เราะรางกายยัง จะผลติ เซลล ทที่ ําหนาทีต่ อสูกับ เซลลม ะเรง็ และเซลลท ี่ติดเชอื้ ไวรัสไดมากขนึ้ ดวย ซึ่งเซลลที่วานี้ จะคงอยูนานถึงวันรงุ ขน้ึ เลยทเี ดยี ว\"

การวเิ คราะหเรอื่ ง 1. รูปแบบของเรอื่ ง 2. ใจความสําคญั ของเร่อื ง 3. ขอ เท็จจรงิ 4. ความคดิ ของผูเ ขียน 5. การเรียงลาํ ดับเหตกุ ารณ 6. การใชสาํ นวนภาษา

แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค คาํ ชแ้ี จง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลวขีด  ลงในชอ ง ท่ีตรง กบั ระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคดา น ๓๒๑ 1. รกั ชาติ ศาสน ๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรองเพลงชาติได กษัตรยิ  ๑.๒ เขา รวมกิจกรรมที่สรา งความสามัคคี ปรองดอง และเปน ประโยชน ตอ โรงเรียน ๑.๓ เขารว มกิจกรรมทางศาสนาท่ตี นนับถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา ๑.๔ เขารวมกจิ กรรมท่เี ก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ตามท่ีโรงเรยี นจดั ขึ้น ๒. ซ่ือสตั ย สจุ รติ ๒.๑ ใหข อมูลท่ถี ูกตอ ง และเปนจรงิ ๒.๒ ปฏิบัตใิ นสิง่ ท่ีถกู ตอง ๓. มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับของครอบครัว มีความตรงตอ เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมตางๆ ในชวี ติ ประจําวนั ๔. ใฝเรียนรู ๔.๑ รูจกั ใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน และนําไปปฏิบตั ิได ๔.๒ รจู กั จดั สรรเวลาใหเหมาะสม ๔.๓ เชอื่ ฟงคําส่ังสอนของบดิ า-มารดา โดยไมโตแ ยง ๔.๔ ตงั้ ใจเรยี น ๕. อยูอ ยางพอเพยี ง ๕.๑ ใชท รพั ยส นิ และสิง่ ของของโรงเรียนอยา งประหยัด ๕.๒ ใชอุปกรณก ารเรยี นอยา งประหยดั และรคู ณุ คา ๕.๓ ใชจา ยอยางประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. มงุ ม่ันในการทํางาน ทํ ๖.๑ มคี วามตง้ั ใจและพยายามในการทํางานทไ่ี ดร บั มอบหมาย ๖.๒ มีความอดทนและไมท อ แทตออุปสรรคเพอื่ ใหง านสาํ เร็จ ๗. รกั ความเปน ไทย ๗.๑ มจี ติ สํานกึ ในการอนุรกั ษวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณคา และปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๘.๑ รูจ ักชว ยพอ แม ผูปกครอง และครทู าํ งาน ๘.๒ รจู กั การดแู ล รกั ษาทรพั ยส มบตั แิ ละส่ิงแวดลอ มของหอ งเรียน โรงเรยี น ............../.................../................ ลงช่ือ...................................................ผูประเมิน เกณฑการใหคะแนน เกณฑการตดั สินคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ให ๓ คะแนน ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรม บอ ยครั้ง ให ๒ คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรม บางคร้งั ให ๑คะแนน ๓๐ - ๔๕ พอใช ตาํ่ กวา ๓๐ ปรับปรงุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook