ชอื่ หนงั สือ ค่มู ือการประเมินความปลอดภัยหอ้ งปฏิบตั ิการ ฉบบั แก้ไขเพมิ่ เติม คร้ังที่ 2 ผเู้ ขยี น Lab Safety Inspection Manual, Second Edition โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภยั หอ้ งปฏิบัติการวิจยั ในประเทศไทย บรรณาธิการ Enhancement of Safety Practice of Research Laboratory in Thailand “ESPReL” รองศาสตราจารย์ ดร. เอมอร เบญจวงศก์ ุลชัย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เสาวรัตน์ จนั ทะโร รองศาสตราจารย์ ฉัตรชยั วริ ยิ ะไกรกลุ พมิ พ์ครั้งแรก สงิ หาคม 2558 สงวนลิขสทิ ธิ์ ISBN: 978-616-551-954-0 จัดทาโดย กองมาตรฐานการวจิ ยั สานกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ สถาบันวจิ ัยสภาวะแวดลอ้ ม จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ศูนย์ความเป็นเลิศดา้ นการจดั การสารและของเสยี อนั ตราย สานกั พฒั นาบณั ฑติ ศึกษาและวิจัยด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สนับสนนุ โดย สานักงานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของสานกั หอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภยั ห้องปฏบิ ตั ิการวจิ ัยในประเทศไทย. ค่มู อื การประเมนิ ความปลอดภัยหอ้ งปฏบิ ัติการ ฉบบั แก้ไขเพิม่ เตมิ ครัง้ ที่ 2.-- กรงุ เทพมหานคร : สถาบนั วจิ ัยสภาวะแวดลอ้ ม จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, 2558. 172 . 1. . 0. ชือ่ เร่อื ง. ISBN 978-616-551-954-0
คมู่ ือการประเมนิ ความปลอดภัยหอ้ งปฏบิ ตั ิการ เปน็ ส่วนหน่ึงของ โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภยั หอ้ งปฏบิ ัติการวจิ ัยในประเทศไทย จัดทาขน้ึ สาหรบั ใช้ในการพฒั นาให้เกิด วฒั นธรรมความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั กิ ารอย่างยงั่ ยนื ไม่สามารถใช้อา้ งอิงเพื่อแสดงความรับผดิ ชอบตามข้อบงั คบั ของกฎหมาย
โครงการยกระดบั มาตรฐานความปลอดภยั ห้องปฏิบัติการวจิ ยั ในประเทศไทย (Enhancement of Safety Practice of Research Laboratory in Thailand, ESPReL) คู่มือการประเมนิ ความปลอดภยั หอ้ งปฏิบตั ิการ พิมพ์ครงั้ แรก พฤษภาคม 2555 จานวน 300 เล่ม ISBN 978-94-326-612-6 คณะทีป่ รึกษา ทีป่ รกึ ษาโครงการฯ รศ. สชุ าตา ชนิ ะจติ ร คณบดีบัณฑติ วิทยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั รศ. ดร. พรพจน์ เปยี่ มสมบรู ณ์ และทีป่ รกึ ษาโครงการฯ รศ. ดร. สกุ ญั ญา สนุ ทรส ผทู้ รงคณุ วุฒิโครงการฯ รศ. ดร. วราพรรณ ด่านอตุ รา หัวหน้าหน่วยขอ้ สนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศนู ย์ความเปน็ เลิศดา้ นการจัดการส่งิ แวดล้อมและของเสียอันตราย ผศ. ดร. สมพร กมลศิริพิชัยพร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั และทปี่ รึกษาโครงการฯ ผอู้ านวยการ นายวนิ ติ ณ ระนอง ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ดา้ นการจดั การสิ่งแวดลอ้ มและของเสยี อันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ้ทู รงคณุ วุฒิโครงการฯ คณะผจู้ ดั ทา ผทู้ รงคณุ วุฒโิ ครงการฯ นางสาวรดาวรรณ ศลิ ปโภชากลุ ภาควิชาชวี เคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ผศ. ดร. เสาวรัตน์ จันทะโร ศนู ยค์ วามเปน็ เลิศด้านการจดั การสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย นางสาวขวัญนภสั สรโชติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผศ. ฉัตรชัย วริ ิยะไกรกลุ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาสถาปตั ยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผศ. ดร. วรภทั ร์ อิงคโรจน์ฤทธ์ิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควชิ าชวี เคมี คณะทันตแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย รศ. ดร. เอมอร เบญจวงศ์กลุ ชยั รศ.ดร. ธรี ยทุ ธ วไิ ลวลั ย์ ภาควชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย รศ. ดร. เกจ็ วลี พฤกษาทร นางสาวสทุ ธริ ตั น์ ลศิ นนั ท์ ภาควิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ศูนย์ความเป็นเลิศดา้ นการจัดการส่ิงแวดลอ้ มและของเสยี อันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏบิ ตั กิ ารวิจัยในประเทศไทย (Enhancement of Safety Practice of Research Laboratory in Thailand, ESPReL) คมู่ อื การประเมนิ ความปลอดภยั ห้องปฏิบัตกิ าร ฉบบั แก้ไขเพม่ิ เติม ครงั้ ที่ 1 พิมพค์ รงั้ แรก มิถนุ ายน2557 จานวน 400 เลม่ ISBN 978-616-202-903-5 คณะที่ปรกึ ษา ทปี่ รกึ ษาโครงการฯ รศ. สชุ าตา ชนิ ะจติ ร ผอู้ านวยการ ผศ. ดร. สมพร กมลศริ พิ ชิ ัยพร ศนู ย์ความเป็นเลศิ ด้านการจัดการสารและของเสยี อนั ตราย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย และท่ีปรกึ ษาโครงการฯ รศ. ดร. วราพรรณ ด่านอตุ รา ผอู้ านวยการโครงการฯ นางสาวรดาวรรณ ศิลปโภชากุล รศ. ดร. สุกัญญา สนุ ทรส ผู้ทรงคุณวุฒโิ ครงการฯ นายวินิต ณ ระนอง ผ้ทู รงคณุ วฒุ โิ ครงการฯ ผทู้ รงคุณวฒุ ิโครงการฯ บรรณาธิการ รศ. ดร. เอมอร เบญจวงศ์กลุ ชยั ภาควชิ าชวี เคมี คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย คณะผ้จู ัดทา ภาควิชาชวี เคมี คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย รศ. ดร. เอมอร เบญจวงศ์กุลชัย ภาควิชาเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ศ.ดร. ธีรยทุ ธ วิไลวลั ย์ ผศ. ดร. เสาวรัตน์ จนั ทะโร ภาควิชาชวี เคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ผศ. ฉัตรชัย วิริยะไกรกุล ภาควชิ าสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผศ. ดร. วรภทั ร์ องิ คโรจนฤ์ ทธ์ิ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ภาควชิ าสถาปตั ยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ นางสาววรรณี พฤฒถิ าวร จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั นางสาวขวญั นภสั สรโชติ สถาบันวจิ ัยสภาวะแวดลอ้ ม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั นางสาวคุณชนก ปรีชาสถิตย์ ศนู ย์ความเป็นเลศิ ดา้ นการจัดการสารและของเสยี อันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั นางสาวอิศรา อามิน ศนู ย์ความเป็นเลศิ ด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย นางสาวพวงผกา หล้าเตจา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ศูนย์ความเป็นเลิศดา้ นการจัดการสารและของเสียอันตราย จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ดา้ นการจดั การสารและของเสียอนั ตราย จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั ในประเทศไทย (Enhancement of Safety Practice of Research Laboratory in Thailand, ESPReL) คมู่ ือการประเมินความปลอดภยั หอ้ งปฏบิ ตั ิการ ฉบบั แก้ไขเพม่ิ เติม ครัง้ ที่ 2 พิมพค์ รงั้ แรก สิงหาคม 2558 ISBN 987-616-551-954-0 คณะที่ปรึกษา/ผ้ทู รงคณุ วุฒิ รศ. ดร. วราพรรณ ด่านอุตรา รศ. สชุ าตา ชินะจิตร ผศ. ดร. สมพร กมลศิรพิ ชิ ยั พร นางสาวรดาวรรณ ศิลปโภชากุล รศ. ดร. สกุ ัญญา สนุ ทรส คณะบรรณาธกิ าร คณะทนั ตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควชิ าชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รศ. ดร. เอมอร เบญจวงศ์กลุ ชยั ภาควชิ าสถาปตั ยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผศ. ดร. เสาวรตั น์ จันทะโร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ. ฉตั รชัย วิริยะไกรกุล คณะผจู้ ัดทา คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ภาควชิ าชีวเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ. ดร. เอมอร เบญจวงศ์กลุ ชัย ผศ. ดร. เสาวรัตน์ จันทะโร ภาควชิ าสถาปัตยกรรม คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ รศ. ฉตั รชยั วริ ิยะไกรกลุ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ศ.ดร. ธีรยทุ ธ วิไลวลั ย์ ภาควิชาสถาปตั ยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผศ. ดร. วรภัทร์ องิ คโรจน์ฤทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวชิ าการอิสระ นางสาวขวัญนภสั สรโชติ นางสาววรรณี พฤฒถิ าวร สถาบนั วิจัยสภาวะแวดล้อม จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย นางสาวจฑุ ามาศ ทรพั ยป์ ระดิษฐ์ สถาบันวจิ ัยสภาวะแวดล้อม จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย นางสาวคณุ ชนก ปรีชาสถิตย์ กองมาตรฐานการวจิ ัย สานกั งานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ นางสาวอิศรา อามิน กองมาตรฐานการวจิ ัย สานกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ นางสาวศวิ พร ปรีชา กองมาตรฐานการวจิ ัย สานกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ
คำนำ กรอบคิดของห้องปฏิบัติการปลอดภัย ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบที่เช่ือมโยงกันอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย 1) การบริหารระบบการจัดการด้านความปลอดภัย 2) ระบบการจัดการสารเคมี 3) ระบบการ จัดการของเสีย 4) ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเคร่ืองมือ 5) ระบบการป้องกันและ แก้ไขภัยอันตราย 6) การให้ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ และ 7) การจัดการ ข้อมลู และเอกสาร กำรบริหำรระบบ กำรจัดกำรด้ำน ควำมปลอดภัย กำรจดั กำรข้อมูล ระบบกำรจดั กำร และเอกสำร สำรเคมี กำรให้ควำมรู้ ควำมปลอดภัยของ ระบบกำรจดั กำร พนื้ ฐำนเกยี่ วกบั ห้องปฏบิ ตั กิ ำร ของเสยี ด้ำนควำมปลอดภยั ระบบกำรป้องกัน ลักษณะทำง และแกไ้ ขภยั กำยภำพของ อันตรำย ห้องปฏิบตั กิ ำร อปุ กรณแ์ ละ เคร่อื งมอื องค์ประกอบของหอ้ งปฏิบตั ิกำรปลอดภยั การจัดการด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ จะกระทาได้ก็ต่อเม่ือผู้เก่ียวข้องได้ประจักษ์ในสภาพ ความเสี่ยงในการทางาน โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย จึงได้ ออกแบบ “เครื่องมือ” ในการสารวจสภาพความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการตามองค์ประกอบความปลอดภัย ท้ัง 7 ด้านดังกล่าว ซึ่งได้จัดทาเป็นเอกสาร 2 เล่มใช้ประกอบกัน และสามารถสืบค้นการใช้เอกสารบนระบบ เว็บไซต์ท่ี http://esprel.labsafety.nrct.go.th/book.asp ก
เอกสำรเล่มท่ี 1 แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ให้ภาพรวมขององค์ประกอบท่ีทาให้เกิด ความปลอดภยั ในห้องปฎิบัติการ และแบ่งสาระเนอ้ื หาเปน็ 2 ส่วน คอื - เนื้อหาโดยสรุปของกระบวนการและวิธีดาเนินงานด้านต่างๆ ของการพัฒนาความปลอดภัยใน ห้องปฏิบตั ิการ - เอกสารความรู้ เป็นรายละเอียดของวิธีดาเนินการของขั้นตอนต่างๆ จัดแบ่งเป็นเร่ืองๆ เช่น ระบบ การจาแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมี ความรู้เกี่ยวกับเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) เปน็ ตน้ เอกสำรเล่มที่ 2 คู่มือการประเมินความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ประกอบด้วยการสารวจสถานภาพใน ลกั ษณะของ - รายการสารวจ (checklist) รวม 162 รายการท่คี รอบคลุม 7 องคป์ ระกอบของความปลอดภัย - คาอธิบายประกอบการกรอก checklist ที่สอดคล้องกับรายการสารวจ ซ่ึงเป็นคาอธิบายเพิ่มเติมสาหรับ ผู้ดาเนินการในห้องปฏิบัติการ และสาหรับผู้ตรวจสอบใช้ในการกาหนดเป็น “เกณฑ์การประเมิน” เพ่ือ วเิ คราะห์ระดบั ความปลอดภัยของหอ้ งปฏิบัตกิ ารดว้ ย - ภาคผนวก คอื ความรแู้ ละตวั อย่างเพิ่มเติมทเ่ี ก่ยี วข้องของแต่ละองคป์ ระกอบ เอกสารทั้ง 2 ฉบับ ได้ผ่านการทดลองใช้แล้วโดยภาคีสมาชิกห้องปฏิบัติการ จัดพิมพ์เป็นคร้ังแรกในปี พ.ศ. 2555 โดยการสนับสนุนของสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และ มีการปรับปรุงคู่มือการประเมิน ความปลอดภยั ในห้องปฏิบัติการอกี 2 ครงั้ คือ ฉบับแก้ไขเพม่ิ เติม คร้ังท่ี 1 และครง้ั ท่ี 2 คมู่ ือการประเมนิ ความปลอดภยั ในห้องปฏบิ ัติการ ฉบับแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ครั้งที่ 2 มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ 1. ลดความซา้ ซอ้ นของรายการสารวจ 2. เพิม่ ความชดั เจนของรายการสารวจและคาอธิบายประกอบฯ ให้มากขึ้น 3. ปรับคาให้สอดคล้องกับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของ ห้องปฏบิ ัตกิ ารที่เกี่ยวกบั สารเคมี 4. ให้ผู้ตอบสามารถตอบได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยกาหนดให้มีการแสดงหลักฐานเบ้ืองต้น ท้ังน้ีเพ่ือเป็น การยนื ยนั และทวนสอบตนเองด้วย ผู้อ่านท่ีสนใจใช้แบบประเมินในเอกสารเล่มน้ี เพื่อพัฒนาความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ ควรเริ่มทา ความเข้าใจสาระในเอกสาร “แนวปฏิบัติเพ่ือควำมปลอดภัยในห้องปฏิบัติกำร” ก่อน เพ่ือให้เห็นภาพรวมของ ระบบการบริหารจัดการความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการและความเช่ือมโยงของทุกองค์ประกอบ จึงจะช่วยให้ สามารถใช้ข้อมูลการประเมินความปลอดภัยฉบับน้ีดว้ ยความเขา้ ใจ และเกิดปัญญาพัฒนาห้องปฏิบตั ิการไดอ้ ยา่ ง แท้จริง การใช้ “คู่มือกำรประเมินควำมปลอดภัยในห้องปฏิบัติกำร” เพียงอย่างเดียวอาจยากที่จะเข้าใจและ เห็นประโยชนข์ องแบบประเมิน ทาให้ไม่สามารถนาผลการประเมนิ ไปพฒั นาความปลอดภัยได้ดังใจ คณะผจู้ ดั ทำ สิงหำคม 2558 ข
คำแนะนำกำรสำรวจสถำนภำพควำมปลอดภัยของหอ้ งปฏิบัติกำร 1. ผลการสารวจสภาพความปลอดภยั จะไดป้ ระโยชนส์ ูงสดุ สมาชกิ ในห้องปฏิบตั ิการทุกคนทุกระดับต้องร่วมกันทา ความเข้าใจและลงความเหน็ รว่ มกนั ในการตอบคาถามแตล่ ะข้อโดยตอบคาถามในกระดาษเป็นชดุ เดียวกันแลว้ จงึ บนั ทกึ ข้อมูลลงเว็บไซต์ (http://esprel.labsafety.nrct.go.th) ภายหลัง การบนั ทกึ ข้อมูลลงเว็บไซต์อาจ ทาพร้อมกันหลายคนได้ โดยแตล่ ะคนทาแตล่ ะองค์ประกอบ 2. อา่ นคาอธิบายประกอบการกรอก checklist เพื่อให้ทราบ ขอบเขต วัตถุประสงค์ และความหมายของแต่ละ ข้อท่ีจะใช้ในการสารวจสภาพให้ชัดเจนเพ่ือให้ได้คาตอบท่ีตรงกับความจริงมากที่สุด สาหรับความรู้และ ตัวอย่างเพ่ิมเตมิ ได้นาไปแสดงไวใ้ นภาคผนวก 3. เลือกคาตอบในรายการสารวจ (checklist) โดยทาเคร่อื งหมาย “” ในช่องว่างดา้ นขวามือ คาตอบในรายการสารวจ มี 3 แบบ คือ “ใช่ /ไม่ใช่” “ใช่” หมายถึง ทาไดค้ รบถว้ นตามรายการข้อนั้น “ไม่ใช่”หมายถงึ ทาได้ไม่ครบถ้วนตามรายการข้อน้นั “ไม่เกี่ยวข้อง”หมายถึง รายการข้อน้ันไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการน้ี เช่น รายการ เกีย่ วกับการเกบ็ ถังแก๊สออกซเิ จน ถา้ ห้องปฏบิ ตั ิการไม่มีการใช้แกส๊ ออกซิเจน สามารถเลอื กคาตอบ “ไม่ เกี่ยวขอ้ ง” ได้ “ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล” หมายถึง ไม่แน่ใจว่าใช่หรือไม่ใช่ หรือทราบว่า ใช่แต่ไม่มีข้อมูล เช่น การไม่มี ข้อมลู เพื่อตอบคาถามเกี่ยวกับพนื้ ผวิ ทางเดิน เปน็ ตน้ 4. กรณีตอบว่า “ไม่เกี่ยวข้อง” ต้องระบุเหตุผลด้วย มิฉะน้ันจะถือว่าคาตอบคือ “ไม่ใช่” เช่น รายการเก่ียวกับ ถงั ออกซิเจนในขอ้ 3 ต้องระบุเหตผุ ลดว้ ยว่า ไมม่ กี ารใช้แก๊สออกซิเจนในห้องปฏิบัติการ เปน็ ตน้ 5. ในกรณีที่รายการสารวจมีการแบ่งเป็นหัวข้อย่อยหากมีรายการนั้น ให้ทาเครื่องหมาย ในแต่ละข้อย่อย และสามารถตอบไดม้ ากกว่า 1 ช่อง 6. ในกรณีที่ตอบว่า “ใช่” หรือ “มี” ต้องระบุหลักฐานยืนยัน เช่น ช่ือเอกสาร ช่ือผู้รับผิดชอบ และวิธีการ ดาเนนิ การ เปน็ ต้น หากไม่ระบุหลักฐาน จะถือว่าคาตอบในข้อนี้ คือ “ไมใ่ ช่” หรอื “ไม่มี” 7. กรอกข้อมูลท่ีได้ในข้อ 3-5 ลงใน http://esprel.labsafety.nrct.go.th เพ่ือทาการประมวลผลสถานภาพ ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ โดยพิจารณาความถ่ีที่ได้จากการสารวจในแต่ละหัวข้อ เพ่ือดูว่า ห้องปฏิบตั ิการของตนเองมสี ภาพอยา่ งไรในแตล่ ะองค์ประกอบ (7 องคป์ ระกอบ) 8. ข้อท่ีมเี ครื่องหมาย กากับอยู่ หมายถึง เปน็ ข้อท่ีมคี วามสาคัญและต้องทากอ่ น การประมวลผลใหน้ ้าหนกั กบั คาตอบทีม่ ีเหตผุ ลประกอบ ดงั น้นั การตอบว่า “ใช”่ โดยไม่มเี หตผุ ล หรือเหตผุ ลไม่ เหมาะสม จะเทยี บเท่ากับคาตอบวา่ “ไมใ่ ช่” ดังน้นั ผลการสารวจความปลอดภยั ทใี่ กล้สภาพความเป็นจรงิ มาก ทส่ี ดุ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อการแกไ้ ขปรบั ปรุงที่จดุ อ่อน สว่ นผลสารวจทีอ่ าจดูดีแต่หา่ งไกลจากความเป็นจริงจะไม่ เป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขการจัดการความปลอดภัยของห้องปฏบิ ัติการเลย ค
สารบัญ หัวข้อ หนา้ ก คานา ค ง คาแนะนาการสารวจสถานภาพความปลอดภัยของห้องปฏบิ ตั ิการ 2 สารบญั 4 10 ESPReL Checklists………………………………………………………………………………………………………………………………………. 13 1. การบริหารระบบการจดั การด้านความปลอดภัย ……………………………………………………………………………………. 17 2. ระบบการจดั การสารเคมี …………………………………………………………………………………………………………………….. 23 3. ระบบการจัดการของเสีย………………………………………………………………………………………………………………………. 26 4. ลักษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร อุปกรณ์และเครอ่ื งมอื ……………………………………………………….……... 5. ระบบการป้องกันและแก้ไขภยั อันตราย ………………………………………………………………………………………………… 28 6. การใหค้ วามร้พู ืน้ ฐานเกย่ี วกบั ดา้ นความปลอดภัยในห้องปฏบิ ัตกิ าร………………………………………………………….. 30 7. การจดั การข้อมลู และเอกสาร ………………………………………………………………………………………………………………. 42 46 คาอธิบายประกอบการกรอก checklist ………………………………………………………………………………………………………….. 60 1. การบริหารระบบการจดั การด้านความปลอดภัย ……………………………………………………………………………………. 69 2. ระบบการจัดการสารเคมี …………………………………………………………………………………………………………………….. 71 3. ระบบการจดั การของเสยี ………………………………………………………………………………………………………………………. 4. ลกั ษณะทางกายภาพของห้องปฏบิ ัตกิ าร อุปกรณ์และเครอ่ื งมอื ……………………………………………………….……... 74 5. ระบบการปอ้ งกนั และแก้ไขภัยอันตราย ………………………………………………………………………………………………… 6. การให้ความรพู้ น้ื ฐานเกี่ยวกบั ดา้ นความปลอดภยั ในห้องปฏิบัตกิ าร.………………………………………………………….. 7. การจัดการขอ้ มลู และเอกสาร ………………………………………………………………………………………………………………. เอกสารอา้ งองิ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ภาคผนวก ภ1-1– ภ1-4 1. การบริหารระบบการจดั การดา้ นความปลอดภยั ………………………………………………….......................... ภ2-1– ภ2-23 2. ระบบการจัดการสารเคม…ี …………………………….................................................................................. ภ3-1– ภ3-13 3. ระบบการจัดการของเสีย………………………………………………………………………………………………………. ภ4-1– ภ4-26 4. ลักษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏิบตั ิการ อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ……………………………………………….. ภ5-1– ภ5-12 5. ระบบการปอ้ งกันและแกไ้ ขภยั อันตราย………………………………………………………………………………….. ภ6-1– ภ6-2 6. การให้ความรพู้ ืน้ ฐานเก่ียวกับดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร…………………………………………….. ภ7-1– ภ7-14 7. การจดั การข้อมูลและเอกสาร………………………………………………………………………………………………… ง
ESPReL ESPReL Checklist 1
ESPReL Checklist 1. การบรหิ ารระบบการจัดการด้านความปลอดภัย วัตถุประสงค์เพื่อประเมินความจริงจัง ตั้งแต่ระดับนโยบายที่เห็นค วามสาคัญของงา นด้านความปลอดภั ย ขอ ง ห้องปฏิบัติการ จึงควรมีข้อมูลระดับนโยบาย/แผนงานท้ังเชิงโครงสรา้ งและการกาหนดผู้รับผิดชอบ รูปธรรมของผลผลติ ในดา้ นนี้ อาจมไี ด้ตงั้ แต่คาส่ัง ประกาศแต่งตัง้ ผ้รู ับผดิ ชอบ และ/หรือ แผนปฏิบัตทิ ไี่ ด้มาจากกระบวนการพิจารณารว่ มกนั หวั ข้อ ใช่ ไม่ใช่ ไม่ ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบฯ เก่ียวข้อง ไมม่ ีข้อมลู 1. มนี โยบายดา้ นความปลอดภยั ครอบคลมุ ในระดับตอ่ ไปนี้ ข้อ 1 มนี โยบายด้านความ มหาวทิ ยาลยั หรือ กรม ปลอดภยั ระบุ ช่ือเอกสารนโยบาย......(พรอ้ มแนบไฟลต์ ัวอย่าง) คณะ หรอื กอง ระบุ ชอ่ื เอกสารนโยบาย......(พรอ้ มแนบไฟลต์ ัวอย่าง) ภาควชิ า หรอื หน่วยงาน ระบุ ชอ่ื เอกสารนโยบาย......(พร้อมแนบไฟลต์ วั อยา่ ง) หอ้ งปฏิบัตกิ าร ระบุ ชื่อเอกสารนโยบาย......(พร้อมแนบไฟลต์ ัวอย่าง) อื่นๆ (ระบชุ ื่อของระดบั หน่วยงาน.....) ระบุ ชอ่ื เอกสารนโยบาย......(พร้อมแนบไฟลต์ วั อยา่ ง) 2. มแี ผนงานดา้ นความปลอดภยั ครอบคลมุ ในระดบั ต่อไปน้ี ข้อ 2 มีแผนงานดา้ นความ มหาวิทยาลยั หรือ กรม ปลอดภยั ระบุ ชื่อเอกสารแผนงาน.....(พร้อมแนบไฟล์) คณะ หรอื กอง ระบุ ชอ่ื เอกสารแผนงาน.....(พรอ้ มแนบไฟล)์ ภาควชิ า หรือ หนว่ ยงาน ระบุ ชื่อเอกสารแผนงาน.....(พรอ้ มแนบไฟล)์ หอ้ งปฏบิ ัติการ ระบุ ชื่อเอกสารแผนงาน......(พรอ้ มแนบไฟล)์ อนื่ ๆ (ระบุช่ือของระดบั หนว่ ยงาน......) ระบุ ชอ่ื เอกสารแผนงาน......(พรอ้ มแนบไฟล์) 3. มีโครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การดา้ นความปลอดภยั ในระดับ ขอ้ 3 มีโครงสร้างการบรหิ าร ต่อไปน้ี จัดการดา้ นความปลอดภยั มหาวทิ ยาลยั หรอื กรม ระบุ ช่อื ลักษณะโครงสรา้ ง.....(พรอ้ มแนบไฟล์) คณะ หรือ กอง ระบุ ช่อื ลกั ษณะโครงสร้าง.....(พรอ้ มแนบไฟล)์ ภาควิชา หรอื หนว่ ยงาน ระบุ ชอ่ื ลกั ษณะโครงสร้าง.....(พรอ้ มแนบไฟล์) ห้องปฏิบตั กิ าร ระบุ ช่อื ลักษณะโครงสรา้ ง.....(พรอ้ มแนบไฟล์) 2
หัวขอ้ ใช่ ไม่ใช่ ไม่ ไม่ทราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ เกี่ยวข้อง ไม่มีขอ้ มลู อ่นื ๆ (ระบุชอื่ ของระดบั หนว่ ยงาน......) ข้อ 3 มโี ครงสรา้ งการบรหิ าร ระบุ ชือ่ ของระดับหนว่ ยงาน ลกั ษณะโครงสร้าง..... จดั การดา้ นความปลอดภยั (พร้อมแนบไฟล)์ 4. ห้องปฏบิ ตั ิการได้กาหนดผรู้ บั ผดิ ชอบดูแลดา้ นความ ข้อ 4 ห้องปฏิบัตกิ ารได้กาหนด ปลอดภยั ในเรื่องตอ่ ไปน้ี ผู้รับผิดชอบดแู ลดา้ นความ การจัดการสารเคมี ปลอดภัย ระบุ ช่อื และตาแหน่ง ของผ้รู ับผดิ ชอบ...... การจัดการของเสยี ระบุ ชื่อและตาแหน่ง ของผรู้ บั ผดิ ชอบ..... ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบตั กิ าร อปุ กรณ์และ เครอ่ื งมอื ระบุ ชอ่ื และตาแหนง่ ของผ้รู บั ผดิ ชอบ...... การปอ้ งกนั และแกไ้ ขภัยอนั ตราย ระบุ ชอื่ และตาแหน่ง ของผู้รบั ผดิ ชอบ...... การให้ความรพู้ ้นื ฐานเก่ียวกบั ด้านความปลอดภยั ใน ห้องปฏบิ ัติการ ระบุ ชื่อและตาแหนง่ ของผูร้ บั ผดิ ชอบ...... การจดั การข้อมูลและเอกสาร ระบุ ชอ่ื และตาแหน่ง ของผู้รับผดิ ชอบ...... อนื่ ๆ ระบ…ุ … ระบุ ช่อื และตาแหน่ง ของผ้รู บั ผดิ ชอบ...... 3
ESPReL Checklist 2. ระบบการจดั การสารเคมี เพื่อประเมินสถานภาพการจัดการสารเคมีในห้องปฏิบัติการ มองถึงการมีระบบการจัดการสารเคมีท่ีดีภายใน ห้องปฏิบัติการ ทั้งระบบข้อมูล การจัดเก็บ การเคลื่อนย้ายสารเคมี และการจัดการสารท่ีไม่ใช้แล้ว ท่ีสามารถติดตามความ เคลอ่ื นไหวของข้อมลู สารเคมี และควบคุมความเสย่ี งจากอันตรายของสารเคมี หวั ใจสาคญั ของการจัดการสารเคมีในอนั ดบั แรก คอื “สารบบสารเคมี” หากปราศจากสารบบสารเคมีซึ่งเป็นจุดเร่ิมต้นแล้ว การบริหารจัดการเพื่อการทางานและการรับมือสารเคมี อย่างถูกตอ้ งจะเกดิ ไมไ่ ด้ ข้อมูลสารเคมีเมื่อประมวลจัดทารายงานเป็นระยะๆ ก็สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการจัดการความเสี่ยง การแบง่ ปันสารเคมี รวมทงั้ การใชป้ ระโยชน์ในการบริหารจดั การ และจดั สรรงบประมาณดว้ ย 2.1 การจัดการข้อมลู สารเคมี ใช่ ไม่ใช่ ไม่เก่ยี วขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบ 2.1.1 ระบบบันทึกขอ้ มลู ไม่มีขอ้ มลู หัวขอ้ ข้อ 2.1.1 ระบบบันทกึ ข้อมลู 1. มีการบันทกึ ข้อมลู สารเคมีในรปู แบบ เอกสาร อิเล็กทรอนกิ ส์ 2. โครงสรา้ งของขอ้ มูลสารเคมีทีบ่ นั ทกึ ประกอบด้วย รหสั ภาชนะบรรจุ (bottle ID) ชื่อสารเคมี (chemical name) CAS no. ประเภทความเป็นอนั ตราย (ระบุ ระบบทใี่ ช…้ …) ขนาดบรรจุของขวด ปรมิ าณสารเคมีคงเหลอื ในขวด (chemical volume/weight) Grade ราคา (price) ท่จี ัดเกบ็ สารเคมี (location) วันที่รับเขา้ มา (received date) วันท่เี ปดิ ใช้ขวด ผขู้ าย/ผจู้ าหน่าย (supplier) ผูผ้ ลติ (manufacturer) วันหมดอายุ (expiry date) อนื่ ๆ ระบุ...... 4
2.1.2 สารบบสารเคมี (Chemical inventory) ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กย่ี วขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไม่มขี ้อมลู หวั ข้อ ข้อ 2.1.2 สารบบสารเคมี 1. มกี ารบนั ทึกข้อมลู การนาเขา้ สารเคมี 2. มกี ารบันทกึ ขอ้ มลู การจ่ายออกสารเคมี 3. มีการปรับขอ้ มลู ให้เปน็ ปจั จบุ ันอยา่ งสมา่ เสมอ ระบุ ความถีข่ องการตรวจสอบและปรับฐานขอ้ มลู ...... 4. มรี ายงานท่แี สดงความเคลื่อนไหวของสารเคมีใน หอ้ งปฏิบัติการ โดยอย่างนอ้ ยต้องประกอบดว้ ยทกุ หัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ ชอ่ื สารเคมี CAS no. ประเภทความเปน็ อนั ตรายของสารเคมี ปริมาณคงเหลือ สถานที่เก็บ ระบุ ตัวอยา่ งรายงานของสารเคมี......(พรอ้ มแนบไฟล์) 2.1.3 การจดั การสารที่ไมใ่ ช้แลว้ (Clearance) ใช่ ไม่ใช่ ไม่เกยี่ วขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไมม่ ขี ้อมลู หัวขอ้ ข้อ 2.1.3 การจดั การสารท่ีไม่ใช้ 1. มแี นวปฏบิ ตั ิในการจัดการสารท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ ดังนี้ สารทไ่ี ม่ตอ้ งการใช้ แล้ว ระบุ ขั้นตอน วธิ ี หรอื ความถี่..... สารทหี่ มดอายตุ ามฉลาก ระบุ ขนั้ ตอน วธิ ี หรอื ความถ่ี..... สารที่หมดอายตุ ามสภาพ ระบุ ขั้นตอน วธิ ี หรอื ความถ่ี..... 2.1.4 การใชป้ ระโยชน์จากข้อมลู เพอื่ การบรหิ ารจัดการ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ ก่ียวข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ีข้อมลู หวั ข้อ ข้อ 2.1.4 การใชป้ ระโยชน์จาก 1. มกี ารใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู สารเคมเี พ่อื การประเมินความเสยี่ ง ข้อมลู เพื่อการบริหารจดั การ ระบุ วิธีใช้ประโยชน์...... (หรือแนบไฟล์ตัวอยา่ ง) การจัดสรรงบประมาณ ระบุ วิธใี ชป้ ระโยชน์...... (หรือแนบไฟล์ตวั อยา่ ง) การแบ่งปันสารเคมี ระบุ วิธีใช้ประโยชน์...... (หรอื แนบไฟลต์ ัวอยา่ ง) 5
2.2 การจัดเกบ็ สารเคมี ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กย่ี วขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ 2.2.1 ข้อกาหนดท่วั ไปในการจดั เก็บสารเคมี ไมม่ ขี ้อมลู หวั ขอ้ ขอ้ 2.2.1 ข้อกาหนดทวั่ ไปในการ 1. มีการแยกเกบ็ สารเคมตี ามสมบัติการเขา้ กนั ไมไ่ ดข้ อง จัดเก็บสารเคมี สารเคมี (chemical incompatibility) ระบุ ช่อื ระบบทใี่ ช้และตัวอย่างสารเคมีทใ่ี ช้…… 2. เก็บสารเคมีของแขง็ แยกออกจากของเหลวทั้งในคลงั สารเคมแี ละห้องปฏบิ ตั กิ าร 3. หนา้ ตเู้ กบ็ สารเคมีในพ้ืนทส่ี ว่ นกลางมีการระบุ รายชื่อสารเคมแี ละเจ้าของ ชือ่ ผู้รับผดิ ชอบดแู ลตู้ สญั ลักษณ์ตามความเป็นอันตราย 4. จดั เกบ็ สารเคมที ุกชนดิ อย่างปลอดภยั ตามตาแหนง่ ที่ แนน่ อน และไม่วางสารเคมีบริเวณทางเดนิ 5. มีป้ายบอกบรเิ วณที่เก็บสารเคมที ีเ่ ปน็ อนั ตราย 6. มีระบบการควบคมุ สารเคมีท่ตี ้องควบคมุ เปน็ พิเศษ ระบุ ตัวอย่างสารและวธิ กี ารควบคุม...... 7. ไม่ใช้ตู้ดดู ควันเป็นทเี่ กบ็ สารเคมหี รือของเสยี 8. ไมว่ างขวดสารเคมบี นโตะ๊ และช้นั วางของโต๊ะปฏิบตั ิการ อยา่ งถาวร 2.2.2 ขอ้ กาหนดสาหรบั การจัดเกบ็ สารไวไฟ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ ก่ยี วขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไมม่ ขี ้อมลู หัวขอ้ ข้อ 2.2.2 ขอ้ กาหนดสาหรบั การ 1. เกบ็ สารไวไฟใหห้ า่ งจากแหล่งความรอ้ น แหลง่ กาเนดิ ไฟ เปลวไฟ ประกายไฟ และแสงแดด จัดเกบ็ สารไวไฟ 2. เกบ็ สารไวไฟในห้องปฏิบตั ิการในภาชนะทีม่ ีความจไุ มเ่ กิน 20 ลติ ร 3. เก็บสารไวไฟในห้องปฏบิ ตั ิการไมเ่ กิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ถ้ามเี กิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ตอ้ งจัดเกบ็ ไว้ในตู้ สาหรบั เกบ็ สารไวไฟโดยเฉพาะ 4. เกบ็ สารไวไฟสูงในตู้ที่เหมาะสม ระบุ ตัวอย่างสารไวไฟสูงทมี่ .ี ..... 6
2.2.3 ขอ้ กาหนดสาหรับการจัดเกบ็ สารกัดกร่อน หวั ข้อ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมเ่ ก่ียวขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มีขอ้ มลู 1. เกบ็ ขวดสารกัดกร่อน (ทั้งกรดและเบส) ไว้ในระดบั ตา่ ข้อ 2.2.3 ขอ้ กาหนดสาหรบั การ จัดเก็บสารกดั กรอ่ น 2. เกบ็ ขวดกรดในตเู้ ก็บกรดโดยเฉพาะ และมภี าชนะรองรบั ท่ี เหมาะสม ระบุ ชนดิ ของตู้ และภาชนะรองรบั ท่ใี ช้...... 2.2.4 ขอ้ กาหนดสาหรบั การจดั เก็บแก๊ส หัวข้อ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมเ่ ก่ียวข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไมม่ ีขอ้ มลู 1. เกบ็ ถังแก๊สโดยมีอุปกรณย์ ึดทีแ่ ขง็ แรง ข้อ 2.2.4 ข้อกาหนดสาหรับการ 2. ถงั แก๊สท่ีไมไ่ ด้ใช้งานทุกถังตอ้ งมีฝาครอบหัวถงั หรอื มี จัดเกบ็ แกส๊ guard ป้องกนั หัวถัง 3. มีพน้ื ทเ่ี ก็บถังแก๊สเปลา่ กับถังแกส๊ ท่ียังไม่ไดใ้ ชง้ าน และติด ป้ายระบไุ ว้อยา่ งชัดเจน 4. ถงั แกส๊ มที ่ีวางปลอดภยั หา่ งจากความรอ้ น แหล่งกาเนดิ ไฟ และเสน้ ทางสัญจรหลกั 5. เก็บถงั แกส๊ ออกซเิ จนห่างจากถงั แกส๊ เชอื้ เพลิง แก๊สไวไฟ และวัสดุไหมไ้ ฟได้ อย่างน้อย 6 เมตร หรอื มฉี าก/ผนงั กน้ั ท่ี ไมต่ ดิ ไฟ ระบุ ระยะห่าง หรอื วสั ดขุ องผนงั ก้นั ...... 2.2.5 ข้อกาหนดสาหรบั การจดั เก็บสารออกซไิ ดซ์ (Oxidizers) และสารกอ่ ให้เกดิ เพอรอ์ อกไซด์ หัวขอ้ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมเ่ ก่ียวขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มขี ้อมลู ข้อ 2.2.5 ขอ้ กาหนดสาหรบั การ 1. เกบ็ สารออกซไิ ดซ์และสารทกี่ ่อใหเ้ กิดเพอร์ออกไซด์หา่ งจาก จดั เก็บสารออกซไิ ดซ์ และสาร กอ่ ให้เกดิ เพอรอ์ อกไซด์ ความรอ้ น แสง และแหล่งกาเนดิ ประกายไฟ ระบุ ตัวอย่างสารออกซิไดซ์และสารท่กี ่อให้เกดิ เพอร์ ออกไซดท์ ม่ี ีในห้องปฏิบัตกิ ารและสถานทเ่ี กบ็ ...... 2. เกบ็ สารทม่ี สี มบัตอิ อกซไิ ดซ์ไว้ในภาชนะแกว้ หรือภาชนะทม่ี ี สมบตั เิ ฉอ่ื ย 3. ใชฝ้ าปดิ ท่เี หมาะสม สาหรับขวดทใ่ี ชเ้ กบ็ สารออกซไิ ดซ์ 4. ภาชนะบรรจสุ ารทก่ี ่อให้เกดิ เพอรอ์ อกไซดต์ ้องมฝี าปิดที่ แนน่ หนา 5. มกี ารตรวจสอบการเกิดเพอรอ์ อกไซด์อยา่ งสมา่ เสมอ ระบุ ความถข่ี องการตรวจสอบ...... 7
2.2.6 ขอ้ กาหนดสาหรบั การจดั เก็บสารทีไ่ วตอ่ ปฏิกิรยิ า หวั ขอ้ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมเ่ กีย่ วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มีขอ้ มลู 1. มปี ้ายคาเตือนท่ชี ดั เจนบรเิ วณหนา้ ตู้หรือพื้นท่ีทเี่ กบ็ สารท่ีไว ขอ้ 2.2.6 ข้อกาหนดสาหรับการ ตอ่ ปฏิกิรยิ า (เช่น ป้าย “สารไวต่อปฏิกิริยา – ห้ามใชน้ ้า”) เกบ็ สารทไ่ี วต่อปฏกิ ริ ิยา 2. เก็บสารไวปฏิกริ ิยาต่อน้าออกหา่ งจากแหล่งน้าที่อยใู่ น หอ้ งปฏิบัติการ ระบุ ตัวอยา่ งสารไวปฏิกิรยิ าตอ่ นา้ ทมี่ ีในห้องปฏิบัตกิ ารและ สถานทีเ่ กบ็ ...... 3. มกี ารตรวจสอบสภาพการเกบ็ ที่เหมาะสมของสารทไี่ วตอ่ ปฏิกริ ิยาอย่างสม่าเสมอ ระบุ ความถ่ีของการตรวจสอบ...... 2.2.7 ภาชนะบรรจุภณั ฑ์และฉลากสารเคมี หวั ข้อ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมเ่ กี่ยวขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ีขอ้ มลู 1. เก็บสารเคมีในภาชนะทเ่ี หมาะสมตามประเภทของสารเคมี ข้อ 2.2.7 ภาชนะบรรจภุ ณั ฑ์และ 2. ภาชนะท่บี รรจสุ ารเคมที ุกชนดิ ต้องมีการติดฉลากที่ ฉลากสารเคมี เหมาะสม 3. ตรวจสอบความบกพร่องของภาชนะบรรจสุ ารเคมีและ ฉลากอย่างสมา่ เสมอ ระบุ ขัน้ ตอนการตรวจสอบ หรือความถ่ีหรือวันเดอื นปที ี่ ตรวจสอบล่าสุด...... 2.2.8 เอกสารขอ้ มูลความปลอดภยั (Safety Data Sheet, SDS) ไมเ่ ก่ียวข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ขี ้อมลู หัวข้อ ใช่ ไมใ่ ช่ ข้อ 2.2.8 เอกสารข้อมลู ความ ปลอดภยั (Safety Data Sheet, 1. เก็บ SDS ในรปู แบบ SDS) เอกสาร อิเล็กทรอนกิ ส์ 2. เกบ็ SDS อยใู่ นท่ที ี่ทุกคนในหอ้ งปฏิบตั กิ ารเข้าดไู ด้ทนั ที เม่ือต้องการใช้ หรอื เม่ือเกดิ ภาวะฉกุ เฉนิ ระบุ สถานทีเ่ กบ็ ...... 3. SDS มขี ้อมูลครบทง้ั 16 หัวข้อ ตามระบบสากล 4. มี SDS ของสารเคมีอนั ตรายทุกตัวทอ่ี ยู่ในหอ้ งปฏิบตั ิการ ระบุ จานวนสารเคมอี นั ตรายทม่ี ใี นหอ้ งปฏิบตั กิ าร...... 5. มี SDS ท่ีทันสมัย ระบุ ความถใี่ นการปรบั ปรงุ หรอื วนั เดือนปีทีป่ รับปรุงลา่ สดุ ...... 8
2.3 การเคลื่อนย้ายสารเคมี (Chemical transportation) 2.3.1 การเคลื่อนย้ายสารเคมภี ายในห้องปฏิบตั ิการ หวั ขอ้ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมเ่ ก่ยี วขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ีขอ้ มลู 1. ผูท้ ่ที าการเคลื่อนย้ายสารเคมใี ช้อปุ กรณป์ อ้ งกนั สว่ นบุคคลท่ี ข้อ 2.3.1 การเคล่อื นยา้ ยสารเคมี เหมาะสม ภายในหอ้ งปฏิบตั กิ าร ระบุ ตัวอยา่ งอปุ กรณป์ ้องกนั ส่วนบุคคลทใ่ี ช้...... 2. ปดิ ฝาภาชนะทบ่ี รรจุสารเคมีทจ่ี ะเคลอื่ นยา้ ยใหส้ นิท 3. ใชร้ ถเข็นท่มี แี นวก้ันเม่ือมีการเคลอ่ื นย้ายสารเคมพี รอ้ มกัน หลายๆ ขวด 4. ใช้ตะกรา้ หรอื ภาชนะรองรับในการเคลอื่ นยา้ ยสารเคมี 5. เคล่อื นย้ายสารเคมีทเี่ ป็นของเหลวไวไฟในภาชนะรองรบั ทม่ี ี วสั ดุกนั กระแทก 6. ใชถ้ งั ยางในการเคลอ่ื นยา้ ยสารกัดกร่อนท่เี ป็นกรดและตัวทา ละลาย 7. เคลอ่ื นยา้ ยสารทเี่ ขา้ กันไม่ไดใ้ นภาชนะรองรับทแ่ี ยกกัน 2.3.2 การเคลื่อนยา้ ยสารเคมีภายนอกห้องปฏบิ ัตกิ าร หัวข้อ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กย่ี วขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ีขอ้ มลู 1. ใชภ้ าชนะรองรับและอปุ กรณเ์ คลอื่ นยา้ ยท่ีม่ันคงปลอดภัย ขอ้ 2.3.2 การเคลอ่ื นยา้ ยสารเคมี ไม่แตกหักงา่ ย และมที ่กี ันขวดสารเคมลี ม้ ภายนอกหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 2. ใชร้ ถเข็นมแี นวกนั้ กันขวดสารเคมลี ม้ 3. เคล่ือนยา้ ยสารท่ีเข้ากนั ไม่ได้ ในภาชนะรองรบั ทแี่ ยกกนั 4. ใช้ลฟิ ท์ขนของในการเคลอ่ื นยา้ ยสารเคมีและ วตั ถอุ ันตรายระหว่างชัน้ 5. ใช้วสั ดุดูดซับสารเคมีหรือวสั ดุกันกระแทกขณะเคล่ือนยา้ ย ระบุ วัสดดุ ูดซบั หรือวัสดกุ นั กระแทกทีใ่ ช้...... 9
ESPReL Checklist 3. ระบบการจดั การของเสยี เป็นการประเมนิ สถานภาพการจัดการของเสียภายในห้องปฏบิ ัตกิ าร ท้ังระบบขอ้ มูล การจาแนกและการเกบ็ เพ่ือรอการ กาจัด/บาบัด ซ่ึงสามารถติดตามความเคล่ือนไหวของของเสีย ข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการ การประเมินความ เสีย่ งจากอันตรายของของเสยี ตลอดจนการจดั เตรยี มงบประมาณในการกาจดั 3.1 การจัดการขอ้ มลู ของเสยี ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่เก่ยี วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ 3.1.1 ระบบบันทกึ ขอ้ มลู ไม่มีขอ้ มลู หวั ข้อ ข้อ 3.1.1 ระบบบนั ทึกข้อมูล 1. มกี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู ของเสียในรูปแบบ เอกสาร อเิ ล็กทรอนิกส์ 2. โครงสร้างของข้อมลู ของเสียท่ีบันทึก ประกอบดว้ ย ผ้รู บั ผิดชอบ รหสั ของภาชนะบรรจุ (bottle ID) ประเภทของเสยี ปรมิ าณของเสีย (waste volume/weight) วนั ทบี่ ันทึกขอ้ มลู (input date) ห้องทเี่ ก็บของเสีย (storage room) อาคารทีเ่ กบ็ ของเสีย (storage building) อนื่ ๆ ระบ…ุ ……. 3.1.2 การรายงานข้อมลู หวั ขอ้ ใช่ ไม่ใช่ ไม่เกี่ยวข้อง ไม่ทราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไมม่ ขี อ้ มลู 1. มกี ารรายงานข้อมูลของเสยี ทีเ่ กิดขน้ึ ข้อ 3.1.2 การรายงานขอ้ มลู ระบุ ตัวอย่างรายงาน......(พรอ้ มแนบไฟล์) 2. มรี ปู แบบการรายงานทชี่ ดั เจน เพื่อรายงานความเคลื่อนไหว ข้อมูลในรายงานอย่างน้อยประกอบดว้ ยทุกหัวข้อต่อไปน้ี ประเภทของเสยี ปรมิ าณของเสยี 3. มีการรายงานข้อมลู ของเสยี ทก่ี าจดั ทิ้ง ระบุ ตวั อยา่ งรายงาน......(พร้อมแนบไฟลต์ ัวอยา่ ง) 4. มกี ารปรับขอ้ มลู เปน็ ปจั จุบนั สมา่ เสมอ ระบุ ความถห่ี รอื หรือวันเดอื นปที ่ีปรบั ข้อมลู ลา่ สดุ ...... 10
3.1.3 การใช้ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู เพ่ือการบริหารจัดการ ใช่ ไม่ใช่ ไม่เกยี่ วขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มีข้อมลู หัวข้อ ขอ้ 3.1.3 การใชป้ ระโยชนจ์ าก 1. มีการใช้ประโยชน์จากข้อมลู ของเสยี เพื่อ การประเมนิ ความเสีย่ ง ขอ้ มูลเพอื่ การบรหิ ารจัดการ ระบุ วธิ ใี ชป้ ระโยชน์......(หรอื แนบไฟล์ตวั อย่าง) การจดั เตรยี มงบประมาณในการกาจัด ระบุ วิธใี ช้ประโยชน์......(หรอื แนบไฟลต์ วั อย่าง) 3.2 การเก็บของเสยี ใช่ ไม่ใช่ ไม่เกี่ยวขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มีขอ้ มลู หัวข้อ ข้อ 3.2 การเกบ็ ของเสยี 1. มีการแยกของเสยี อนั ตรายออกจากของเสยี ท่วั ไป ระบุ ตัวอยา่ งของเสียทแ่ี ยก...... 2. มเี กณฑใ์ นการจาแนกประเภทของเสียทเี่ หมาะสม ระบุ ช่อื เกณฑ์ทใ่ี ช้...... (พร้อมแนบไฟลต์ ัวอยา่ ง) 3. แยกของเสยี ตามเกณฑ์ ทรี่ ะบใุ นข้อ 2 4. ใชภ้ าชนะบรรจขุ องเสยี ทีเ่ หมาะสมตามประเภท ระบุ ตัวอยา่ งของเสียที่แยก และภาชนะทใี่ ช้...... 5. ตดิ ฉลากภาชนะบรรจขุ องเสยี ทุกชนดิ อย่างถกู ต้องและ เหมาะสม 6. ตรวจสอบความบกพร่องของภาชนะและฉลากของเสยี อย่างสมา่ เสมอ ระบุ ความถี่หรอื วันเดอื นปที ่ีตรวจสอบลา่ สุด...... 7. บรรจขุ องเสยี ในปริมาณไม่เกนิ 80% ของความจุ ของภาชนะ 8. มพี ้นื ท/่ี บริเวณท่เี ก็บของเสยี ทแี่ น่นอน 9. มภี าชนะรองรบั ขวดของเสียท่ีเหมาะสม ระบุ ตัวอยา่ งภาชนะทใี่ ช.้ .... 10. แยกภาชนะรองรับขวดของเสียทเี่ ข้ากนั ไม่ได้ 11. วางภาชนะบรรจขุ องเสยี หา่ งจากบรเิ วณอปุ กรณ์ฉกุ เฉนิ 12. วางภาชนะบรรจุของเสยี หา่ งจากความร้อน แหล่งกาเนดิ ไฟ และเปลวไฟ 13. เกบ็ ของเสียประเภทไวไฟในห้องปฏิบตั กิ าร ไม่เกิน 10 แกลลอน (38 ลติ ร) ถา้ มเี กนิ 10 แกลลอน (38 ลติ ร) ตอ้ ง จดั เกบ็ ไวใ้ นตสู้ าหรบั เกบ็ สารไวไฟโดยเฉพาะ 14. กาหนดปริมาณรวมสงู สดุ ของของเสียทอ่ี นญุ าตใหเ้ กบ็ ไดใ้ น หอ้ งปฏิบัติการ ระบุ ปริมาณสงู สดุ ของของเสียทเี่ ก็บ...... 11
หวั ขอ้ ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่เก่ียวขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไมม่ ขี ้อมลู 15. กาหนดระยะเวลาเกบ็ ของเสยี ในหอ้ งปฏิบัตกิ าร ระบุ ระยะเวลาเก็บของเสยี ที่กาหนด... ข้อ 3.2 การเกบ็ ของเสีย 3.3 การลดการเกิดของเสีย ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ ก่ียวขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ขี ้อมลู หวั ข้อ ข้อ 3.3 การลดการเกดิ ของเสยี 1. มีแนวปฏบิ ตั หิ รือมาตรการในการลดการเกิดของเสยี ใน หอ้ งปฏิบตั ิการ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กย่ี วขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ระบุ เอกสาร......(พร้อมแนบไฟล์ตวั อยา่ ง) ไมม่ ีขอ้ มลู 2. ลดการใช้สารต้ังตน้ (Reduce) ข้อ 3.4 การบาบัดและกาจดั ของ ระบุ ตวั อย่างการลดการใชส้ ารตั้งต้น...... เสีย 3. ใช้สารทดแทน (Replace) ระบุ ตัวอย่างการใช้สารทดแทน...... 4. ลดการเกดิ ของเสยี ดว้ ยการ Reuse ระบุ วธิ กี ารและตวั อย่างของเสยี ......(หรอื แนบไฟล์ วิธกี าร) Recovery/ Recycle ระบุ วธิ กี ารและตัวอย่างของเสยี ......(หรือแนบไฟล์ วิธกี าร) 3.4 การบาบัดและกาจดั ของเสยี หัวข้อ 1. บาบดั ของเสยี ก่อนท้งิ ระบุ ตัวอย่างวธิ ีการบาบัด......(หรอื แนบไฟลว์ ิธีการ) 2. บาบัดของเสยี ก่อนส่งกาจดั ระบุ ตวั อย่างวธิ ีการบาบดั ......(หรือแนบไฟลว์ ธิ กี าร) 3. ส่งของเสียไปกาจัดโดยบรษิ ทั ท่ีไดร้ บั ใบอนุญาต ระบุ บรษิ ัทรบั กาจัด...... 12
ESPReL Checklist 4. ลกั ษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏิบตั กิ าร อุปกรณแ์ ละเคร่ืองมอื เป็นการประเมินถึงความสมบูรณ์เหมาะสมของโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ อุปกรณ์และเครื่องมือภายใน ห้องปฏิบัติการ ท่ีจะเอ้ือต่อความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ และเป็นปัจจัยที่จัดให้สมบูรณ์เต็มท่ีได้ยาก เน่ืองจากอาจเป็น โครงสรา้ งเดมิ หรอื การออกแบบที่ไมไ่ ด้คานึงถึงการใชง้ านในลกั ษณะหอ้ งปฏิบตั กิ ารโดยเฉพาะ ขอ้ มูลที่ใหส้ ารวจในรายการสารวจ ประกอบด้วยข้อมลู เชิงสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ดูพืน้ ทก่ี ารใชง้ านจริง วสั ดุที่ใช้ ระบบสัญจร ระบบไฟฟ้า ระบบระบายอากาศ ระบบสาธารณปู โภค และระบบฉกุ เฉนิ 4.1 งานสถาปตั ยกรรม ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กี่ยวขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ หัวขอ้ ไม่มีข้อมลู 1. สภาพภายในและภายนอกทไ่ี ม่ก่อใหเ้ กดิ อันตราย ขอ้ 4.1.1 2. แยกสว่ นท่เี ป็นพนื้ ที่หอ้ งปฏิบตั กิ าร (laboratory space) ข้อ 4.1.2 ออกจากพ้นื ที่อนื่ ๆ (non–laboratory space) ขอ้ 4.1.3 ขอ้ 4.1.4 3. ขนาดพ้ืนทแี่ ละความสงู ของห้องปฏบิ ัติการและพื้นที่ ข้อ 4.1.5 เกีย่ วเน่ือง มีความเหมาะสมและเพยี งพอกับการใชง้ าน ขอ้ 4.1.6 จานวนผู้ปฏิบัติการ ชนิดและปริมาณเคร่ืองมือและอุปกรณ์ * 4. วัสดุท่ีใชเ้ ปน็ พืน้ ผวิ ของพืน้ ผนัง เพดาน อยใู่ นสภาพท่ีดี มี ความเหมาะสมตอ่ การใช้งานและไดร้ ับการดแู ลและ บารุงรกั ษาอย่างสม่าเสมอ * 5. ช่องเปดิ (ประต–ู หนา้ ต่าง) มีขนาดและจานวนท่เี หมาะสม โดยสามารถควบคมุ การเขา้ ออกและเปดิ ออกได้งา่ ยในกรณี ฉกุ เฉนิ 6. ประตมู ชี ่องสาหรบั มองจากภายนอก (vision panel) 7. มหี นา้ ต่างท่ีสามารถเปิดออกเพอื่ ระบายอากาศได้ สามารถ ขอ้ 4.1.7 ปิดล็อคไดแ้ ละสามารถเปดิ ออกไดใ้ นกรณีฉกุ เฉนิ ขอ้ 4.1.8 8. ขนาดทางเดนิ ภายในหอ้ ง (clearance) กวา้ งไมน่ อ้ ยกว่า ขอ้ 4.1.9 0.60 เมตร สาหรับทางเดินทั่วไป และกว้างไม่น้อยกว่า ขอ้ 4.1.10 1.50 เมตร สาหรบั ช่องทางเดนิ ในอาคาร ขอ้ 4.1.11 9. บรเิ วณทางเดินและบริเวณพืน้ ทต่ี ดิ กบั โถงทางเข้า–ออก ข้อ 4.1.12 ปราศจากสิง่ กีดขวาง 10. บรเิ วณเสน้ ทางเดินสทู่ างออก ไมผ่ า่ นสว่ นอันตราย หรือผา่ น ครุภณั ฑ์ตา่ งๆ ท่มี คี วามเสย่ี งอันตราย เชน่ ตู้เกบ็ สารเคม,ี ตู้ ดูดควัน เปน็ ต้น * 11. ทางสัญจรสู่หอ้ งปฏิบัตกิ ารแยกออกจากทางสาธารณะหลัก ของอาคาร * 12. มกี ารแสดงข้อมูลที่ตัง้ และสถาปัตยกรรมทส่ี ือ่ สารถงึ การ เคล่ือนที่และลักษณะทางเดิน ไดแ้ ก่ ผงั พนื้ แสดงตาแหนง่ และเสน้ ทางหนีไฟและตาแหนง่ ท่ีตั้งอุปกรณ์ฉกุ เฉนิ * หากมขี อ้ สงสยั ใหป้ รึกษาผู้เชยี่ วชาญ 13
4.2 งานสถาปัตยกรรมภายใน: ครภุ ณั ฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ หัวขอ้ ใช่ ไม่ใช่ ไม่เกย่ี วขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มขี ้อมลู ข้อ 4.2.1 ข้อ 4.2.2 1. มกี ารควบคมุ การเข้าถึงหรือมอี ปุ กรณ์ควบคมุ การปดิ –เปดิ ข้อ 4.2.3 ครภุ ณั ฑ์ เฟอรน์ ิเจอร์ เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ ขอ้ 4.2.4 ข้อ 4.2.5 2. ครุภณั ฑ์ เฟอรน์ ิเจอร์ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณท์ ี่สูงกว่า 1.20 เมตร มตี ัวยึดหรอื มีฐานรองรับท่ีแขง็ แรง สว่ นช้ันเก็บของ หรือตู้ลอย มีการยดึ เขา้ กับโครงสรา้ งหรอื ผนังอย่างแนน่ หนาและมัน่ คง 3. ครภุ ัณฑ์ เฟอรน์ ิเจอร์ เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ ควรมคี วาม เหมาะสมกบั ขนาดและสัดสว่ นรา่ งกายของผปู้ ฏิบัติงาน * 4. กาหนดระยะห่างระหว่างโตะ๊ ปฏิบตั กิ ารและตาแหน่งโต๊ะ ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งเหมาะสม * 5. มอี า่ งนา้ ต้งั อยูใ่ นหอ้ งปฏบิ ตั ิการอยา่ งน้อย 1 ตาแหนง่ 6. ครุภณั ฑ์ตา่ งๆ เช่น ตดู้ ดู ควนั ตลู้ ามนิ าโฟลว์ อยใู่ นสภาพที่ ขอ้ 4.2.6 สามารถใชง้ านไดด้ ีและมีการดแู ลและบารงุ รักษาอยา่ งสมา่ เสมอ 4.3 งานวศิ วกรรมโครงสรา้ ง หัวขอ้ ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่เกย่ี วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มขี อ้ มลู 1. ไม่มีการชารุดเสยี หายบรเิ วณโครงสร้าง ไม่มีรอยแตกรา้ ว ข้อ 4.3.1 ตามเสา – คาน มสี ภาพภายนอกและภายในหอ้ งปฏิบตั ิการ ทไี่ มก่ อ่ ใหเ้ กิดอันตราย (สภาพภายนอก ได้แก่ สภาพบริเวณ โดยรอบหรอื อาคารข้างเคยี ง สภาพภายในตัวอาคารทต่ี ิดอยู่ กับห้องปฏิบัตกิ าร) * 2. โครงสร้างอาคารสามารถรองรบั นา้ หนกั บรรทกุ ของอาคาร ข้อ 4.3.2 (นา้ หนักของผู้ใชอ้ าคาร อปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมือ) ได้ * 3. โครงสร้างอาคารมคี วามสามารถในการกันไฟและทนไฟ ข้อ 4.3.3 รวมถึงรองรับเหตฉุ กุ เฉินได้ (มีความสามารถในการตา้ นทาน ความเสยี หายของอาคารเมือ่ เกิดเหตฉุ กุ เฉนิ ในชว่ งเวลาหน่ึง ทส่ี ามารถอพยพคนออกจากอาคารได)้ * 4. มกี ารตรวจสอบสภาพของโครงสรา้ งอาคารอยู่เป็นประจา ขอ้ 4.3.4 มีการดูแลและบารุงรักษาอยา่ งนอ้ ยปีละครงั้ ระบุ ความถ่ี หรือวนั เดือนปที ตี่ รวจสอบลา่ สุด...... * หากมีข้อสงสยั ใหป้ รึกษาผเู้ ชยี่ วชาญ 14
4.4 งานวิศวกรรมไฟฟ้า หวั ข้อ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กยี่ วขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มขี ้อมลู 1. มปี ริมาณแสงสว่างพอเพียงมีคณุ ภาพเหมาะสมกับการ ข้อ 4.4.1 ทางาน * 2. ออกแบบระบบไฟฟา้ กาลงั ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารให้มปี ริมาณ ขอ้ 4.4.2 กาลังไฟพอเพียงตอ่ การใชง้ าน * 3. ใช้อุปกรณส์ ายไฟฟา้ เต้ารบั เต้าเสยี บ ทไ่ี ดม้ าตรฐานและมี ขอ้ 4.4.3 การตดิ ตั้งแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าในบริเวณทเ่ี หมาะสม * 4. ต่อสายดิน * ขอ้ 4.4.4 5. ไม่มีการตอ่ สายไฟพว่ ง ข้อ 4.4.5 6. มีระบบควบคมุ ไฟฟ้าของห้องปฏบิ ตั ิการแตล่ ะห้อง ข้อ 4.4.6 7. มีอปุ กรณต์ ัดตอนไฟฟา้ ข้นั ตน้ เชน่ ฟิวส์ (fuse) เครอื่ งตดั ขอ้ 4.4.7 วงจร (circuit breaker) ทีส่ ามารถใชง้ านได้ ข้อ 4.4.8 ขอ้ 4.4.9 8. ตดิ ตั้งระบบแสงสว่างฉุกเฉนิ ในปรมิ าณและบรเิ วณท่ี ข้อ 4.4.10 เหมาะสม 9. มรี ะบบไฟฟา้ สารองดว้ ยเครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ ในกรณีเกดิ ภาวะ ฉุกเฉิน * 10. ตรวจสอบระบบไฟฟา้ กาลงั และไฟฟา้ แสงสว่าง และดูแล และบารงุ รกั ษาอยา่ งสมา่ เสมอ ระบุ ความถ่ี หรอื วันเดอื นปีที่ตรวจสอบล่าสดุ ...... 4.5 งานวิศวกรรมสขุ าภบิ าลและสิ่งแวดล้อม หัวข้อ ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่เกี่ยวข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มีขอ้ มลู 1. มีระบบน้าดี น้าประปา ทีใ่ ชง้ านไดด้ ี มกี ารเดนิ ทอ่ และวาง ข้อ 4.5.1 แผนผังการเดนิ ทอ่ น้าประปาอยา่ งเปน็ ระบบ และไมร่ ว่ั ซมึ * 2. แยกระบบนา้ ทงิ้ ท่ัวไปกบั ระบบน้าทง้ิ ปนเปื้อนสารเคมอี อก ข้อ 4.5.2 จากกัน และมรี ะบบบาบดั ทเี่ หมาะสมก่อนออกสรู่ างระบาย นา้ สาธารณะ * 3. ตรวจสอบระบบสขุ าภิบาล และมกี ารดแู ลและบารงุ รักษา ข้อ 4.5.3 อยา่ งสม่าเสมอ ระบุ ความถี่ หรอื วันเดือนปีทตี่ รวจสอบล่าสุด...... * หากมขี อ้ สงสัยใหป้ รึกษาผเู้ ชยี่ วชาญ 15
4.6 งานวศิ วกรรมระบบระบายอากาศและปรับอากาศ หัวข้อ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กย่ี วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไม่มขี ้อมลู 1. มรี ะบบระบายอากาศทเี่ หมาะสมกบั การทางานและ ขอ้ 4.6.1 สภาพแวดล้อมของหอ้ งปฏิบตั กิ าร * 2. ติดต้ังระบบปรบั อากาศในตาแหนง่ และปรมิ าณท่เี หมาะสม ขอ้ 4.6.2 กบั การทางานและสภาพแวดลอ้ มของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ * 3. ในกรณหี ้องปฏบิ ัตกิ ารไมม่ กี ารติดตั้งระบบปรบั อากาศและ ขอ้ 4.6.3 ระบบระบายอากาศ (ระบบธรรมชาติ) ใหต้ ดิ ตง้ั ระบบ เคร่อื งกลเพอื่ ชว่ ยในการระบายอากาศในบริเวณทลี่ ักษณะ งานกอ่ ใหเ้ กดิ สารพิษหรือกลิน่ ไมพ่ งึ ประสงค์ 4. ตรวจสอบระบบระบายอากาศและระบบปรบั อากาศ และมี ข้อ 4.6.4 การดูแลและบารงุ รักษาอย่างสม่าเสมอ ระบุ ความถ่ี หรือวนั เดือนปีที่ตรวจสอบลา่ สุด...... 4.7 งานระบบฉุกเฉนิ และระบบติดต่อสอ่ื สาร ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ ก่ียวขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไม่มีข้อมลู หวั ขอ้ ข้อ 4.7.1 1. มรี ะบบแจง้ เหตเุ พลิงไหมด้ ว้ ยมือ (manual fire alarm system) ข้อ 4.7.2 2. มอี ุปกรณต์ รวจจับเพลิงไหม้ เชน่ อปุ กรณต์ รวจจบั เพลงิ ไหม้ ขอ้ 4.7.3 ดว้ ยอุณหภมู คิ วามร้อน (heat detector) หรืออุปกรณ์ ตรวจจับเพลิงไหมด้ ้วยควนั ไฟ (smoke detector) 3. มที างหนไี ฟและปา้ ยบอกทางหนไี ฟตามมาตรฐาน * 4. มีเคร่อื งดับเพลิงแบบเคลื่อนท่ี ข้อ 4.7.4 5. มีระบบดบั เพลงิ ดว้ ยนา้ ชนิดมตี สู้ ายฉดี นา้ ดับเพลิง ข้อ 4.7.5 6. มีระบบดับเพลิงดว้ ยน้าชนดิ ระบบหัวกระจายนา้ ดบั เพลิง (ตาม ข้อ 4.7.6 กฎหมายควบคมุ อาคาร) หรือเทยี บเท่า * ข้อ 4.7.7 ระบุ ช่ือระบบเทียบเท่าท่ใี ช.้ ..... ข้อ 4.7.8 ข้อ 4.7.9 7. มีระบบติดตอ่ ส่ือสารของหอ้ งปฏิบตั กิ ารในกรณฉี กุ เฉนิ เช่น โทรศพั ทส์ านักงาน โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี หรือระบบอินเตอรเ์ นต็ 16 และระบบไรส้ ายอนื่ ๆ 8. ตรวจสอบระบบฉุกเฉนิ และระบบตดิ ตอ่ สอื่ สาร และมีการดแู ล และบารงุ รกั ษาอยา่ งสมา่ เสมอ ระบุ ความถี่ หรือวนั เดือนปีที่ตรวจสอบล่าสุด...... 9. แสดงป้ายขอ้ มลู ทเ่ี ป็นตัวอกั ษร เชน่ ชอ่ื หอ้ งปฏิบัตกิ าร ผู้ดูแล ห้องปฏิบัติการ และขอ้ มลู จาเพาะอ่ืนๆ ของห้องปฏบิ ตั กิ าร รวมถึงสัญลักษณห์ รอื เคร่อื งหมายสากลแสดงถึงอนั ตราย หรือ เครื่องหมายท่ีเกยี่ วข้องตามทกี่ ฎหมายกาหนด * หากมขี อ้ สงสยั ใหป้ รึกษาผู้เชย่ี วชาญ
ESPReL Checklist 5. ระบบการป้องกันและแกไ้ ขภัยอันตราย การจัดการด้านความปลอดภยั เปน็ หวั ใจของการสรา้ งวัฒนธรรมความปลอดภัย ท่ีมีลาดบั ความคิดตงั้ ตน้ จากการกาหนด ได้ว่าอะไรคือปัจจัยเส่ียง ผู้ปฏิบัติงานต้องรู้ว่าใช้สารใด คนอื่นในท่ีเดียวกันกาลังทาอะไรที่เสี่ยงอยู่หรือไม่ ปัจจัยเสี่ยงด้าน กายภาพคืออะไร มีการประเมินความเส่ียงหรือไม่ จากน้ันจึงมีการบริหารความเสี่ยงด้วยการป้องกัน หรือการลดความเสี่ยง รวมทั้งการสื่อสารความเสี่ยงที่เหมาะสม คาถามในรายการสารวจ จะช่วยกระต้นุ ความคิดไดอ้ ย่างละเอียด สร้างความตระหนกั รู้ ไปในตัว รายงานความเส่ียงจะเป็นประโยชน์ในการบริหารงบประมาณ เพราะสามารถจัดการได้บนฐานของข้อมูลจริง ความ พรอ้ มและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน อย่ภู ายใตห้ วั ข้อการจดั การด้านความปลอดภยั เพอ่ื เป็นมาตรการปอ้ งกัน เช่น การมีผงั พืน้ ท่ีใช้ สอย ทางออก อุปกรณ์เครื่องมือสาหรับเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งการมีแผนป้องกันและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ซ่ึงหมายถึงการจัดการ เบอ้ื งต้นและการแจ้งเหตุ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ พือ่ ความปลอดภยั โดยท่วั ไปเป็นการกาหนดความปลอดภยั ส่วนบุคคล และระเบยี บปฏบิ ตั ขิ ้ัน ต่าของแตล่ ะหอ้ งปฏบิ ัติการ 5.1 การบริหารความเสี่ยง (Risk management) ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กย่ี วข้อง ไม่ทราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ 5.1.1 การระบุอันตราย (Hazard identification) ไม่มีขอ้ มลู หวั ข้อ ข้อ 5.1.1 การระบุอันตราย 1. สารวจความเป็นอนั ตรายจากปจั จยั ต่อไปน้ี อย่างเป็น รปู ธรรม สารเคม/ี วสั ดทุ ี่ใช้ ระบุ วันทส่ี ารวจลา่ สดุ ...... เครอื่ งมอื หรืออุปกรณ์ ระบุ วนั ทส่ี ารวจล่าสดุ ...... ลักษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ระบุ วนั ทีส่ ารวจลา่ สุด...... อ่นื ๆ ระบ.ุ ................................ 5.1.2 การประเมินความเสย่ี ง (Risk assessment) ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ ก่ียวขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ีข้อมลู หัวข้อ ขอ้ 5.1.2 การประเมนิ ความเส่ยี ง 1. มีการประเมนิ ความเสย่ี งในระดับ บุคคล ระบุ ตวั อย่างขน้ั ตอน วธิ ีการ หรือ เอกสารทใ่ี ช้..... (พร้อมแนบไฟล์) โครงการ ระบุ ตวั อย่างข้นั ตอน วิธกี าร หรือ เอกสารที่ใช้..... (พร้อมแนบไฟล์) ห้องปฏบิ ัติการ ระบุ ตัวอย่างขัน้ ตอน วธิ กี าร หรือ เอกสารที่ใช้..... (พร้อมแนบไฟล)์ 17
หวั ขอ้ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กี่ยวขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไมม่ ขี ้อมลู 2. การประเมนิ ความเสย่ี งครอบคลมุ หัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ สารเคมที ใี่ ช,้ เก็บ และทงิ้ ข้อ 5.1.2 การประเมินความเส่ยี ง ผลกระทบดา้ นสขุ ภาพจากการทางานกับสารเคมี เส้นทางในการได้รบั สมั ผสั (exposure route) พ้นื ทีใ่ นการทางาน/กายภาพ เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการทางาน ส่งิ แวดล้อมในสถานท่ที างาน ระบบไฟฟา้ ในทท่ี างาน กจิ กรรมทีท่ าในห้องปฏิบตั กิ าร กจิ กรรมทไี่ มส่ ามารถทารว่ มกนั ไดใ้ นห้องปฏบิ ตั ิการ 5.1.3 การจดั การความเสย่ี ง (Risk treatment) ใช่ ไมใ่ ช่ ไมเ่ กยี่ วข้อง ไม่ทราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไมม่ ีข้อมลู หัวขอ้ ขอ้ 5.1.3.1 การป้องกันความ 1. การป้องกันความเส่ียง ในหวั ข้อต่อไปนี้ มีพ้นื ที่เฉพาะ สาหรบั กจิ กรรมทม่ี คี วามเสย่ี งสูง เสี่ยง ระบุ พ้ืนทเี่ ฉพาะ........ มกี ารขจดั สง่ิ ปนเปอื้ น (decontamination) บรเิ วณพ้นื ท่ี ข้อ 5.1.3.2 การลดความเสี่ยง ทปี่ ฏิบัติงานภายหลงั เสร็จปฏิบตั กิ าร ข้อ 5.1.3.3 การสอื่ สารความเสี่ยง 2. การลดความเส่ียง (risk reduction) ในหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี เปลยี่ นแปลงวธิ ีการปฏิบตั งิ านเพอื่ ลดการสมั ผสั สาร ระบุ วิธใี ช้......................... ประสานงานกับหนว่ ยงานขององคก์ รทร่ี บั ผดิ ชอบเร่ือง การจดั การความเสีย่ ง ระบุ หนว่ ยงานขององค์การ................... บงั คบั ใชข้ อ้ กาหนด และ/หรอื แนวปฏบิ ัติดา้ นความ ปลอดภัยในหอ้ งปฏบิ ัติการ ระบุ ประกาศ หรอื เอกสาร.................. ประเมนิ /ตรวจสอบการบรหิ ารจดั การความเสี่ยงอยา่ ง สมา่ เสมอ ระบุ ความถ่ี.................... 3. มีการสอื่ สารความเสย่ี งด้วย การบรรยาย การแนะนา การพูดคยุ ระบุ วนั ท่ี หรือเอกสารที่เก่ียวข้อง................................ ป้าย, สัญลกั ษณ์ ระบุ ตวั อยา่ งป้าย/สญั ลักษณ.์ ........ เอกสารแนะนา, คมู่ ือ ระบุ ชือ่ เอกสาร, คมู่ ือ.............. 18
หัวข้อ ใช่ ไม่ใช่ ไม่เกย่ี วขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ีข้อมลู 4. การตรวจสุขภาพ ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการจะได้รับการ ขอ้ 5.1.3.4 การตรวจสขุ ภาพ ตรวจสขุ ภาพเมือ่ ถงึ กาหนดการตรวจสุขภาพทวั่ ไปประจาปี ถงึ กาหนดการตรวจสขุ ภาพตามปจั จัยเสย่ี งของ ผ้ปู ฏิบัตงิ าน ระบุ 1. ตัวอยา่ งปจั จัยเสยี่ งทีต่ อ้ งไดร้ บั การตรวจสุขภาพ....... ระบุ 2. ความถ่ีในการตรวจสุขภาพ..... มอี าการเตอื น – เม่ือพบวา่ ผู้ทาปฏบิ ตั กิ ารมีอาการ ผดิ ปกตทิ ีเ่ กดิ ขึ้นจากการทางานกบั สารเคมี วสั ดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือในห้องปฏบิ ตั กิ าร ระบุ อาการตัวอย่างท่ตี อ้ งได้รบั การตรวจสขุ ภาพ.. เผชิญกับเหตกุ ารณส์ ารเคมหี ก รั่วไหล ระเบดิ หรอื เกดิ เหตุการณ์ทท่ี าให้ตอ้ งสมั ผสั สารอนั ตราย ระบุ ตัวอย่างเหตกุ ารณท์ ี่ต้องไดร้ บั การตรวจสขุ ภาพ....... 5.1.4 การรายงานการบรหิ ารความเสีย่ ง หัวขอ้ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ ก่ยี วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ีข้อมลู 1. มรี ายงานการบริหารความเสี่ยงในระดบั ต่อไปนี้ ข้อ 5.1.4 การรายงานการบริหาร บคุ คล ความเสย่ี ง ระบุ รายงานที่ใช้ประเมินความเสยี่ ง เน้นทเี่ ก่ียวข้อง กับผู้ปฏิบัติงาน...... (พรอ้ มแนบไฟล์) โครงการ ระบุ รายงานที่ใช้ประเมนิ ความเสย่ี ง เนน้ ทเ่ี กี่ยวข้อง กับผูป้ ฏบิ ัติงาน...... (พร้อมแนบไฟล์) ห้องปฏิบัตกิ าร ระบุ รายงานทใ่ี ช้ประเมนิ ความเสย่ี ง เน้นทเี่ กย่ี วข้อง กับผปู้ ฏิบัติงาน...... (พรอ้ มแนบไฟล์) 5.1.5 การใช้ประโยชน์จากรายงานการบริหารความเสีย่ ง หัวขอ้ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ ก่ียวขอ้ ง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไมม่ ขี ้อมลู 1. มีการใชข้ ้อมลู จากรายงานการบรหิ ารความเสย่ี ง เพื่อ - ข้อ 5.1.5 การใช้ประโยชน์จาก การสอน แนะนา อบรม แกผ่ ู้ปฏบิ ตั ิงาน รายงานการบริหารความเสย่ี ง ระบุ กระบวนการนาความร้มู าถ่ายทอดใหผ้ ู้เกี่ยวขอ้ งทราบ ...... การประเมินผล ทบทวน และวางแผนการปรบั ปรุงการ บรหิ ารความเสี่ยง ระบุ วิธีการนาขอ้ มลู มาใช้........ การจดั สรรงบประมาณในการบรหิ ารความเสย่ี ง ระบุ วธิ กี ารนาขอ้ มลู มาใช้........ 19
5.2 การเตรยี มความพรอ้ ม/ตอบโต้ภาวะฉกุ เฉิน หวั ข้อ ใช่ ไม่ใช่ ไม่เกี่ยวขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธิบายประกอบ ไม่มีขอ้ มลู 1. มีอุปกรณต์ ่อไปน้ี สาหรบั ตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ อยู่ในบริเวณ ขอ้ 5.2 การเตรยี มความพรอ้ ม/ ท่สี ามารถเข้าถงึ ไดโ้ ดยสะดวก ตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ ที่ล้างตา ชดุ ฝกั บวั ฉกุ เฉนิ เวชภณั ฑ์ ชดุ อปุ กรณส์ าหรบั สารเคมหี กร่ัวไหล อุปกรณ์ทาความสะอาด 2. มแี ผนปอ้ งกนั ภาวะฉุกเฉินท่ีเปน็ รูปธรรม ระบุ เอกสารแผน...... 3. ซอ้ มตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ ทเ่ี หมาะสมกับหนว่ ยงาน ระบุ ความถี่ หรอื ชว่ งเวลาของการซ้อม หรือวนั เดือนปที ี่ ซ้อมลา่ สุด...... 4. ตรวจสอบพื้นทีแ่ ละสถานที่เพอื่ พร้อมตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ ระบุ ความถห่ี รือวนั เดือนปที ีต่ รวจสอบลา่ สดุ ...... 5. ตรวจสอบเคร่อื งมือ/อปุ กรณ์พร้อมตอบโตภ้ าวะฉุกเฉนิ ตอ่ ไปนี้ อย่างสมา่ เสมอ ทดสอบที่ล้างตา ระบุ ความถห่ี รอื วันเดือนปีท่ตี รวจสอบลา่ สุด.... ทดสอบฝกั บัวฉุกเฉิน ระบุ ความถห่ี รอื วนั เดือนปีท่ตี รวจสอบล่าสดุ ..... ตรวจสอบและทดแทนเวชภณั ฑส์ าหรบั ตอบโตภ้ าวะ ฉุกเฉิน ระบุ ความถหี่ รอื วนั เดือนปที ต่ี รวจสอบล่าสุด.... ตรวจสอบชดุ อุปกรณ์สาหรับสารเคมีหกร่วั ไหล ระบุ ความถหี่ รือวนั เดอื นปที ี่ตรวจสอบล่าสดุ .... ตรวจสอบอุปกรณท์ าความสะอาด 6. มขี น้ั ตอนการจดั การเบื้องต้นเพอื่ ตอบโต้ภาวะฉกุ เฉิน ท่ีเป็น รูปธรรมในหวั ข้อต่อไปน้ี การแจ้งเหตภุ ายในหนว่ ยงาน ระบุ ขนั้ ตอนการแจ้งเหตุ..... การแจ้งเหตภุ ายนอกหนว่ ยงาน ระบุ ข้นั ตอนการแจ้งเหตุ …… การแจ้งเตอื น ระบุ ขั้นตอนการแจ้งเตือน.... การอพยพคน ระบุ ข้ันตอนการอพยพ…… 20
5.3 ขอ้ ปฏบิ ัตเิ พอื่ ความปลอดภัยโดยทวั่ ไป ใช่ ไม่ใช่ ไม่เก่ยี วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ 5.3.1 ความปลอดภัยสว่ นบุคคล (Personal safety) ไม่มขี ้อมลู หัวขอ้ ขอ้ 5.3.1 ความปลอดภยั ส่วน 1. มอี ปุ กรณ์ป้องกันส่วนบคุ คล (Personal Protective บคุ คล Equipments, PPE) ทเี่ หมาะสมกบั กจิ กรรมใน หอ้ งปฏบิ ัติการ ไดแ้ ก่ อุปกรณป์ ้องกนั หน้า (face protection) อปุ กรณป์ อ้ งกันตา (eye protection) อุปกรณ์ปอ้ งกนั มอื (hand protection) อุปกรณ์ปอ้ งกันเทา้ (foot protection) อปุ กรณ์ปอ้ งกันร่างกาย (body protection) อุปกรณ์ป้องกันการได้ยิน (hearing protection) อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ (respiratory protection) 5.3.2 ระเบยี บปฏบิ ัติของแตล่ ะหอ้ งปฏิบตั กิ าร ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กย่ี วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มขี ้อมลู หัวขอ้ ขอ้ 5.3.2 ระเบยี บปฏบิ ัติของแต่ 1. มกี ารกาหนดระเบยี บ/ขอ้ ปฏิบตั ิเพอ่ื ความปลอดภยั ใน ห้องปฏิบตั ิการ ละหอ้ งปฏิบตั ิการ ระบุ ช่ือเอกสาร.....(พรอ้ มแนบไฟล์) 2. ผู้ปฏบิ ตั งิ านปฏบิ ตั ติ ามระเบียบ/ขอ้ ปฏบิ ตั ิทก่ี าหนดไว้ ใน หัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี จัดวางเครอื่ งมอื และอปุ กรณ์บนโตะ๊ ปฏิบัตกิ ารเปน็ ระเบยี บและสะอาด สวมเส้อื คลมุ ปฏิบตั กิ ารที่เหมาะสม รวบผมใหเ้ รียบรอ้ ยขณะทาปฏิบตั กิ าร สวมรองเท้าทป่ี ิดหนา้ เท้าและส้นเทา้ ตลอดเวลาใน หอ้ งปฏิบตั ิการ มีปา้ ยแจง้ กิจกรรมทก่ี าลังทาปฏิบตั ิการทเี่ คร่อื งมือ พรอ้ มชอ่ื และหมายเลขโทรศัพทข์ องผูท้ าปฏิบัตกิ าร ลา้ งมือทุกครั้งก่อนออกจากห้องปฏบิ ตั กิ าร ไม่เก็บอาหารและเครอ่ื งดม่ื ในห้องปฏิบตั กิ าร ไม่รบั ประทานอาหารและเครอื่ งดืม่ ในห้องปฏบิ ตั ิการ ไมส่ บู บหุ ร่ีในห้องปฏิบตั ิการ ไม่สวมเส้ือคลมุ ปฏิบตั ิการและถุงมอื ไปยงั พืน้ ท่ีซ่ึงไม่ เกย่ี วข้องกับการทาปฏบิ ัติการ ไมท่ างานตามลาพงั ในห้องปฏิบตั กิ าร 21
หวั ขอ้ ใช่ ไม่ใช่ ไม่เก่ยี วขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไม่มีข้อมลู ไม่พาเด็กและสัตวเ์ ลยี้ งเข้ามาในห้องปฏิบตั ิการ ข้อ 5.3.2 ระเบยี บปฏิบัตขิ องแต่ ไมใ่ ช้เคร่ืองมอื ผดิ ประเภท ละหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ไมท่ ากิจกรรมอนื่ ๆ ทไ่ี ม่เก่ียวขอ้ งกับการปฏบิ ตั กิ าร ไมว่ างของรกรุงรงั และสิง่ ของทไ่ี มจ่ าเปน็ ภายใน หอ้ งปฏิบตั ิการ 3. มกี ารกาหนดระเบยี บ/ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นกรณีท่หี นว่ ยงานอนุญาต ใหม้ ผี ู้เยย่ี มชม ในข้อต่อไปนี้ มผี ูร้ ับผดิ ชอบนาเข้าไปในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ มีการอธบิ าย แจ้งเตือนหรืออบรมเบื้องต้นก่อนเข้ามาใน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ผเู้ ย่ยี มชมสวมใสอ่ ปุ กรณ์ปอ้ งกันสว่ นบุคคลท่ีเหมาะสม กอ่ นเขา้ มาในหอ้ งปฏิบตั ิการ 22
ESPReL Checklist 6. การใหค้ วามรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกบั ด้านความปลอดภยั ในห้องปฏิบัตกิ าร การสร้างความปลอดภัยต้องมีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับท่ีเกี่ยวข้อง โดยให้ความรู้พื้นฐานท่ีเหมาะสม จาเป็น และ อยา่ งตอ่ เนอื่ งต่อกล่มุ เปา้ หมายทม่ี ีบทบาทตา่ งกัน ถึงแมอ้ งค์กร/หนว่ ยงานมีระบบการบรหิ ารจัดการอย่างดี หากบุคคลในองค์กร/ หน่วยงานขาดความรู้และทักษะ ขาดความตระหนัก และเพิกเฉยแล้ว จะก่อให้เกิดอันตรายและความเสียหายต่างๆ ได้ การให้ ความรู้ดว้ ยการฝกึ อบรมจะช่วยให้ทุกคนเข้าใจ และสามารถปฏบิ ตั งิ านในหอ้ งปฏิบัติการ หรือทางานเก่ียวข้องกับสารเคมีได้อยา่ ง ปลอดภยั และลดความเสีย่ งในการเกดิ อบุ ตั ภิ ัยได้ หวั ขอ้ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กย่ี วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไมม่ ขี อ้ มลู 1. มีการให้ความรู้พ้ืนฐานแกผ่ บู้ ริหารในเรื่องระบบการบริหาร ข้อ 6 การใหค้ วามร้พู ืน้ ฐาน จดั การดา้ นความปลอดภยั เก่ียวกบั ด้านความปลอดภยั ใน ระบุ 1. ชอื่ หรือตาแหน่งผบู้ ริหารท่ไี ด้รบั ความรู้.... หอ้ งปฏบิ ตั ิการ ระบุ 2. หลักสตู ร/หัวขอ้ ความรู้ และวันเดือนปี (ถ้าม)ี ที่ ได้รับความรู้..... 2. มีการให้ความรูพ้ ้นื ฐานแก่ผู้บรหิ ารในเรื่องกฎหมายท่ี เกีย่ วขอ้ ง ระบุ 1. ชื่อหรอื ตาแหนง่ ผูบ้ รหิ ารทีไ่ ด้รับความรู้...... ระบุ 2. หลักสูตร/หัวข้อความรู้ และวนั เดือนปี (ถ้ามี) ท่ี ได้รับความรู้........ 3. มกี ารให้ความรูพ้ ืน้ ฐานแกห่ ัวหนา้ ห้องปฏิบตั กิ ารในเรื่อง กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ระบุ หลักสูตร/หัวขอ้ ความรู้ วธิ ีการ หรือวนั เดือนปีที่ ได้รบั ความรู้........ ระบบการบริหารจดั การดา้ นความปลอดภัย ระบุ หลักสตู ร/หัวขอ้ ความรู้ วิธกี าร หรอื วันเดอื นปที ่ี ได้รบั ความรู้........ ระบบการจัดการสารเคมี ระบุ หลักสูตร/หวั ข้อความรู้ วธิ ีการ หรอื วันเดือนปที ่ี ไดร้ ับความรู้....... ระบบการจัดการของเสีย ระบุ หลกั สตู ร/หวั ขอ้ ความรู้ วธิ ีการ หรอื วนั เดอื นปที ี่ ไดร้ ับความรู้...... สารบบขอ้ มลู สารเคมีและของเสยี ระบุ หลักสตู ร/หวั ข้อความรู้ วธิ กี าร หรอื วนั เดือนปีท่ี ไดร้ ับความรู้....... การประเมนิ ความเสยี่ ง ระบุ หลกั สูตร/หัวขอ้ ความรู้ วธิ กี าร หรอื วันเดือนปที ่ี ไดร้ บั ความรู้......... 23
หัวขอ้ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ ก่ยี วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มขี ้อมลู ลักษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏิบตั ิการกบั ข้อ 6 การใหค้ วามรพู้ น้ื ฐาน ความปลอดภัย เกีย่ วกบั ดา้ นความปลอดภยั ใน ระบุ หลกั สูตร/หวั ขอ้ ความรู้ วธิ กี าร หรอื วนั เดือนปีที่ หอ้ งปฏิบตั ิการ ได้รับความรู้....... การป้องกันและตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ ระบุ หลักสตู ร/หวั ข้อความรู้ วธิ ีการ หรือวนั เดือนปีท่ี ไดร้ ับความรู้........ อปุ กรณ์ปอ้ งกนั สว่ นบุคคล ระบุ หลกั สตู ร/หัวขอ้ ความรู้ วิธกี าร หรอื วนั เดือนปที ี่ ได้รบั ความรู้... SDS ระบุ หลักสูตร/หวั ขอ้ ความรู้ วธิ กี าร หรอื วนั เดือนปีท่ี ได้รบั ความรู้... ป้ายสัญลกั ษณด์ า้ นความปลอดภัย ระบุ หลักสูตร/หัวข้อความรู้ วธิ กี าร หรอื วนั เดือนปีท่ี ไดร้ ับความรู้... 4. มีการใหค้ วามร้พู ้ืนฐานแกผ่ ู้ปฏบิ ัตงิ านอย่างสม่าเสมอในเรอ่ื ง กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง ระบุ หลักสตู ร/หวั ขอ้ ความรู้ วิธีการ หรอื วนั เดอื นปีที่ ไดร้ ับความรู้... ระบบการบรหิ ารจัดการด้านความปลอดภยั ระบุ หลกั สูตร/หวั ข้อความรู้ วิธีการ หรอื วันเดือนปที ี่ ไดร้ ับความรู้... ระบบการจดั การสารเคมี ระบุ หลกั สตู ร/หัวข้อความรู้ วธิ ีการ หรือวนั เดอื นปที ี่ ไดร้ บั ความรู้... ระบบการจดั การของเสีย ระบุ หลักสตู ร/หวั ข้อความรู้ วิธกี าร หรือวันเดอื นปที ่ี ได้รบั ความรู้... สารบบขอ้ มลู สารเคมีและของเสีย ระบุ หลักสูตร/หัวข้อความรู้ วิธกี าร หรอื วันเดือนปที ี่ ได้รับความรู้... การประเมนิ ความเสย่ี ง ระบุ หลกั สูตร/หวั ขอ้ ความรู้ วธิ ีการ หรือวนั เดอื นปที ่ี ไดร้ ับความรู้... ลกั ษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏบิ ตั ิการกบั ความปลอดภัย ระบุ หลักสูตร/หัวขอ้ ความรู้ วธิ ีการ หรือวันเดอื นปที ี่ ไดร้ ับความรู้... 24
หัวขอ้ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมเ่ กยี่ วข้อง ไมท่ ราบ/ คาอธบิ ายประกอบฯ ไม่มขี อ้ มลู การป้องกันและตอบโต้ภาวะฉกุ เฉนิ ระบุ หลกั สูตร/หวั ข้อความรู้ วิธีการ หรือวนั เดอื นปีท่ี ข้อ 6 การใหค้ วามรพู้ น้ื ฐาน ได้รบั ความรู้... เกีย่ วกับดา้ นความปลอดภัยใน อุปกรณ์ปอ้ งกนั สว่ นบคุ คล ระบุ หลกั สูตร/หัวขอ้ ความรู้ วธิ กี าร หรือวนั เดือนปที ่ี หอ้ งปฏิบัติการ ไดร้ บั ความรู้... SDS ระบุ หลักสูตร/หวั ขอ้ ความรู้ วิธกี าร หรอื วนั เดือนปที ี่ ได้รบั ความรู้... ปา้ ยสัญลักษณด์ า้ นความปลอดภัย ระบุ หลักสตู ร/หวั ขอ้ ความรู้ วิธกี าร หรือวันเดอื นปที ี่ ได้รับความรู้... 5. มีการให้ความรพู้ ื้นฐานแก่พนักงานทาความสะอาดในเร่ือง การป้องกนั และตอบโต้ภาวะฉกุ เฉิน ระบุ หลกั สตู ร/หัวขอ้ ความรู้ วธิ ีการ หรือวนั เดอื นปที ่ี ไดร้ บั ความรู้... อุปกรณป์ อ้ งกันสว่ นบคุ คล ระบุ หลกั สูตร/หัวขอ้ ความรู้ วิธีการ หรอื วนั เดือนปที ี่ ไดร้ ับความรู้... ป้ายสญั ลกั ษณด์ า้ นความปลอดภัย ระบุ หลกั สูตร/หัวขอ้ ความรู้ วิธีการ หรอื วนั เดือนปีท่ี ได้รับความรู้... 25
ESPReL Checklist 7. การจัดการขอ้ มลู และเอกสาร การเก็บข้อมูลและการจัดการทั้งหลายหากขาดซึ่งระบบการบันทึกและคู่มือการปฏิบัติงาน ย่อมทาให้การปฏิบัติขาด ประสิทธภิ าพ เอกสารท่ีจดั ทาข้ึนในรูปแบบรายงานต่างๆ ควรใชเ้ ป็นบทเรยี นและขยายผลได้ ระบบเอกสารจะเปน็ หลักฐานบนั ทกึ ท่จี ะส่งตอ่ กันไดห้ ากมีการเปล่ียนผู้รับผดิ ชอบ และเปน็ การต่อยอดของความรู้ในทางปฏบิ ัติ ให้การพัฒนาความปลอดภยั เป็นไปได้ อยา่ งต่อเนอื่ ง หัวข้อ ใช่ ไม่ใช่ ไมเ่ กี่ยวขอ้ ง ไม่ทราบ/ คาอธิบายประกอบฯ ไมม่ ขี ้อมลู 1. มกี ารจัดการขอ้ มูลและเอกสารอย่างเปน็ ระบบ ดังนี้ ข้อ 7 การจัดการข้อมลู และ ระบบการจัดกล่มุ เอกสาร ระบุ ตวั อยา่ ง ชือ่ กล่มุ เอกสาร.... ระบบการจัดเก็บ ระบุ ขน้ั ตอนและวิธีทใ่ี ช.้ .... ระบบการนาเขา้ -ออก และติดตาม ระบุ ขนั้ ตอนและวธิ ที ีใ่ ช.้ .... ระบบการทบทวนและปรบั ปรุงใหท้ ันสมัย (update) ระบุ ตัวอยา่ งชอื่ เอกสาร และชือ่ ผู้ทบทวนหรอื ความถี่ใน การทบทวน.... 2. มีเอกสารและบันทึก ต่อไปน้ี อยู่ในห้องปฏิบัติการ หรือ บริเวณทีผ่ ปู้ ฏบิ ตั กิ ารทุกคนสามารถเข้าถงึ ได้ เอกสารนโยบาย แผน และโครงสร้างบริหารด้านความ ปลอดภยั ระเบียบและข้อกาหนดความปลอดภัยของหอ้ งปฏิบตั กิ าร เอกสารข้อมลู ความปลอดภัย (SDS) คู่มือการปฏิบตั ิงาน (SOP) รายงานอบุ ตั ิเหตุในห้องปฏิบตั ิการ รายงานเชิงวเิ คราะห์/ถอดบทเรียน ข้อมลู ของเสียอนั ตราย และการสง่ กาจัด ประวตั ิการศึกษาและคณุ วฒุ ิ ประวตั กิ ารได้รับการอบรมดา้ นความปลอดภยั ประวัติเกยี่ วกบั สขุ ภาพ เอกสารตรวจประเมินด้านความปลอดภัยของ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ขอ้ มูลการบารงุ รักษาองค์ประกอบทางกายภาพ อปุ กรณ์ และเครื่องมือ เอกสารความรเู้ ก่ยี วกับความปลอดภัย คมู่ อื การใช้เคร่ืองมือ 26
ESPReL คาํ อธิบายประกอบการกรอก Checklist
คําอธบิ ายประกอบการกรอก checklist 1. การบรหิ ารระบบการจดั การดา้ นความปลอดภยั วัตถุประสงค์เพ่ือประเมินความจริงจังตั้งแต่ระดับนโยบายท่ีเห็นความสําคัญของงานด้านความปลอดภัยของ ห้องปฏิบัติการ จึงควรมีข้อมูลระดับนโยบาย/แผนงานทั้งเชิงโครงสร้างและการกาํ หนดผู้รับผิดชอบ รูปธรรมของผลผลิตในดา้ นน้ี อาจมีได้ตง้ั แตค่ าํ ส่ัง ประกาศแตง่ ตงั้ ผ้รู ับผิดชอบ และ/หรอื แผนปฏิบตั ิท่ไี ดม้ าจากกระบวนการพิจารณารว่ มกนั 1. มนี โยบายดา้ นความปลอดภัย องค์กร/หน่วยงานควรมีนโยบายในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยท่ีครอบคลุมท้ังองค์กร รวมท้ังห้องปฏิบัติการ เช่น ในมหาวิทยาลัย นโยบายควรครอบคลุมทั้งมหาวิทยาลัย คณะ ภาควิชา และห้องปฏิบัติการ หากเป็นหน่วยงานภาครัฐ รฐั วิสาหกจิ และเอกชน นโยบายควรครอบคลมุ ทง้ั หน่วยงาน กรม กอง ศูนย์ เปน็ ต้น โดยสนบั สนนุ ให้มโี ครงสร้างพื้นฐานที่จําเปน็ ในระดับองค์กร/หน่วยงาน เพ่ือการดําเนนิ การและกํากับดูแลความปลอดภัย การบริหารระบบการจัดการดา้ นความปลอดภยั ของ หอ้ งปฏิบัตกิ ารจะมคี วามชดั เจนเมื่อมี เอกสารนโยบายด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม เช่น ประกาศของหน่วยงานเรื่อง นโยบายดา้ นความปลอดภัย มติจากรายงานการประชุมภาควิชา เป็นตน้ 2. มีแผนงานดา้ นความปลอดภัย องค์กร/หน่วยงานควรกําหนดแผนงานด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ เช่น แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ เป็นต้น เป็นแผนงานที่แสดงความจริงจังของนโยบายและควรมีการขยายผล โดยครอบคลุมในระดับอ่ืนด้วย เช่น ใน สถาบันการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัย คณะ ภาควิชา หากเป็นหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ได้แก่ กรม กอง ศูนย์ เป็นตน้ ทั้งนีล้ กั ษณะของแผนงานควรมีการปฏบิ ัติไปในทางเดยี วกนั อยา่ งจรงิ จัง ในเรือ่ งของ กลยทุ ธใ์ นการจดั การ/บริหาร ทร่ี วมถงึ ระบบการบรหิ ารจัดการ ระบบการรายงานและระบบการตรวจติดตาม แผนปฏิบตั ิการ ทป่ี ระกอบดว้ ยกิจกรรมต่าง ๆ ดา้ นความปลอดภยั ระบบการกํากับดแู ลที่เปน็ รูปธรรม และต่อเนื่อง การสื่อสารใหบ้ ุคคลที่เก่ียวขอ้ งรับทราบ การเพ่มิ พูนความรู้ และฝกึ ทักษะด้วยการฝกึ อบรมสมํา่ เสมอ 3. มีโครงสร้างการบริหารจดั การดา้ นความปลอดภัย ลักษณะโครงสร้างการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยห้องปฏิบัติการต้องมีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ ส่วนอํานวยการ สว่ นบริหารจดั การ และส่วนปฏิบัติการ ซง่ึ มีภาระหนา้ ทด่ี ังแสดงในตารางท่ี 1.1 ภาคผนวก 1 แต่ละองค์กร/หนว่ ยงานอาจปรบั ใช้ ตามความเหมาะสมได้ตามขนาดและจํานวนบุคลากร หากหน่วยงานมีขนาดเล็ก อาจรวมภาระหน้าท่ีของส่วนอํานวยการและ ส่วนบริหารจัดการเข้าด้วยกัน เช่น หน่วยงานระดับห้องปฏิบัติการ อาจมีหัวหน้าห้องปฏิบัติการและหัวหน้าโครงการย่อยเป็นท้ัง ส่วนอํานวยการและส่วนบริหารจัดการที่รวมเข้าด้วยกัน และมีนักวิจัย เจ้าหน้าท่ี และนิสิต/นักศึกษาเป็นส่วนปฏิบัติการ หรือ หน่วยงานระดับภาควชิ า อาจมีหัวหน้าภาควชิ าและหัวหนา้ หอ้ งปฏิบัตกิ ารเปน็ ท้ังสว่ นอํานวยการและส่วนบริหารจดั การท่รี วมเข้า ด้วยกัน และมีนักวิจัย เจ้าหน้าท่ี นิสิตและนักศึกษาเป็นส่วนปฏิบัติการ เป็นต้น การแสดงโครงสร้างการบริหาร อาจแสดงเป็น รปู แบบเอกสารแตง่ ตั้ง หรอื แผนผังของโครงสร้างการบรหิ ารที่ยอมรบั รว่ มกันในหนว่ ยงาน โครงสร้างการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย ควรมีในระดับองค์กร และระดับอื่นๆ จนถึงระดับห้องปฏิบัติการ เช่น ในสถาบนั การศึกษา ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั คณะ ภาควชิ า หากเปน็ หน่วยงานภาครฐั รฐั วิสาหกิจ และเอกชน ได้แก่ กรม กอง ศูนย์ เป็นต้น ตัวอยา่ งโครงสร้างการบรหิ ารจดั การด้านความปลอดภยั ของห้องปฏิบัติการ แสดงในแผนภาพที่ 1.1 ภาคผนวก 1 28
4. หอ้ งปฏิบัตกิ ารไดก้ าํ หนดผู้รบั ผดิ ชอบดูแลดา้ นความปลอดภัย องค์กร/หน่วยงาน ควรกําหนดผู้รับผิดชอบท่ีดูแลด้านความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ทั้งโดยภาพรวม และในแต่ละ องค์ประกอบ รวมท้ังกําหนดผู้ประสานงานความปลอดภัยกับหน่วยงานภายในและภายนอก และผู้ตรวจประเมินจากภายในและ ภายนอกหน่วยงาน ทง้ั น้ี การกาํ หนดผู้รบั ผดิ ชอบน้นั ควรครอบคลมุ องค์ประกอบต่อไปนี้ การจดั การสารเคมี การจดั การของเสีย ลกั ษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัตกิ าร อุปกรณ์และเครือ่ งมอื การปอ้ งกนั และแก้ไขภยั อนั ตราย การให้ความรู้พน้ื ฐานเก่ยี วกับดา้ นความปลอดภยั ในหอ้ งปฏิบตั กิ าร การจัดการข้อมลู และเอกสาร องค์กร/หนว่ ยงาน ควรระบบุ ทบาท หนา้ ที่ และความรับผิดชอบใหช้ ดั เจนและสามารถปฏิบตั ิได้ดังตวั อย่างในตารางท่ี 1.2 ภาคผนวก 1 และ ต้องมรี ายงานการปฏบิ ัตกิ าร เพือ่ การปรับปรงุ พฒั นาการดาํ เนนิ งานได้อย่างตอ่ เนอื่ ง 29
คําอธิบายประกอบการกรอก checklist 2. ระบบการจดั การสารเคมี เพื่อประเมินสถานภาพการจัดการสารเคมีในห้องปฏิบัติการ มองถึงการมีระบบการจัดการสารเคมีท่ีดีภายใน ห้องปฏิบัติการ ท้ังระบบข้อมูล การจัดเก็บ การเคลื่อนย้ายสารเคมี และการจัดการสารท่ีไม่ใช้แล้ว ท่ีสามารถติดตามความ เคลื่อนไหวของข้อมูลสารเคมี และควบคุมความเส่ียงจากอันตรายของสารเคมี หัวใจสําคัญของการจัดการสารเคมีในอันดับแรก คือ “สารบบสารเคมี” หากปราศจากสารบบสารเคมีซึ่งเป็นจุดเร่ิมต้นแล้ว การบริหารจัดการเพื่อการทํางานและการรับมือ สารเคมีอย่างถูกต้องจะเกิดไม่ได้ ข้อมูลสารเคมีเมื่อประมวลจัดทํารายงานเป็นระยะๆ ก็สามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการจัดการ ความเส่ยี ง การแบ่งปนั สารเคมี รวมทง้ั การใชป้ ระโยชนใ์ นการบรหิ ารจัดการ และจัดสรรงบประมาณดว้ ย 2.1 การจดั การขอ้ มูลสารเคมี 2.1.1 ระบบบันทกึ ขอ้ มลู หมายถึง ระบบบนั ทึกข้อมูลสารเคมที ี่ใช้ในห้องปฏบิ ัติการ/หนว่ ยงาน/องค์กร เพ่ือใช้ในการบนั ทึกและ ตดิ ตามสารเคมี โดย 1. มกี ารบนั ทึกขอ้ มูลสารเคมี ในรูปแบบ เอกสาร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2. โครงสร้างของข้อมูลสารเคมีทบี่ ันทกึ ไมว่ ่าจะใช้รูปแบบใดก็ตาม ควรประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี รหสั ของภาชนะบรรจุ (bottle ID) ราคา (price) ชือ่ สารเคมี (chemical name) ทจี่ ดั เก็บสารเคมี CAS no.1 (location) ประเภทความเป็นอันตราย (hazard วันทรี่ ับเขา้ มา (received date) classification) วนั ทเ่ี ปดิ ใช้ขวด (open date) ขนาดบรรจขุ องขวด (bottle volume) ผู้ขาย/ผูจ้ ําหน่าย (supplier) ปริมาณสารเคมคี งเหลือในขวด ผผู้ ลติ (manufacturer) (chemical volume/weight) วันหมดอายุ (expiry date) Grade 2.1.2 สารบบสารเคมี (Chemical inventory) หมายถึง การจัดทําสารบบสารเคมีในห้องปฏิบัติการ/หน่วยงาน/องค์กร ให้มี ความเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ พร้อมท้ังสามารถแสดงรายงานการติดตามสารเคมีในห้องปฏิบัติการ/หน่วยงาน/องค์กร ซ่ึงสารบบ สารเคมที ม่ี ปี ระสิทธิภาพ ตอ้ งครอบคลุมกจิ กรรมต่อไปน้ี 1. มกี ารบนั ทกึ ข้อมูลการนําเขา้ สารเคมสี ูห่ ้องปฏิบตั ิการ 2. มีการบันทึกข้อมูลการจ่ายออกสารเคมีจากหอ้ งปฏิบตั ิการ 3. มีการปรบั ขอ้ มูลให้เปน็ ปัจจุบันอยา่ งสม่ําเสมอ 4. มีรายงานท่แี สดงความเคล่ือนไหวของสารเคมใี นห้องปฏิบัตกิ าร โดยอยา่ งนอ้ ย ต้องประกอบดว้ ยทุกหัวขอ้ ต่อไปนี้ ชือ่ สารเคมี CAS no. ประเภทความเป็นอนั ตรายของสารเคมี ปริมาณคงเหลอื สถานท่เี ก็บ 1 CAS-Number หรือ CAS Registry Number เป็นชุดตัวเลขที่กําหนดโดย Chemical Abstracts Service ประกอบด้วยชุดตัวเลข 3 ส่วน (xxxxxx-xx-x) ส่วนแรก ประกอบด้วยตัวเลขตั้งแต่ 2 หลักข้ึนไป ส่วนท่ีสองประกอบด้วยตัวเลข 2 หลัก ส่วนสุดท้ายเป็นตัวเลข 1 หลัก ซ่ึงใช้สําหรับตรวจสอบความถูกต้องของตัวเลขท้ังชุดด้วย คอมพิวเตอร์ เช่น CAS no. ของ m-Xylene คือ 108-38-3 CAS no. ของ o-Xylene 95-47-6 เป็นต้น สารเคมีในห้องปฏิบัติการบางชนิดอาจไม่มี CAS no. เช่น แกส๊ ผสม, สารเคมที ส่ี ังเคราะห์ขนึ้ ใหม่, สารผสม (mixture) เป็นตน้ 30
ตัวอย่างรูปแบบสารบบสารเคมีแสดงในตารางที่ 2.1 รายงานความเคล่ือนไหวสารเคมี แสดงในตารางที่ 2.2 และสถานภาพ สดั ส่วนเชิงปริมาณของสารเคมีจาํ แนกตามประเภทความเปน็ อันตราย แสดงในแผนภาพที่ 2.1 ภาคผนวก 2 2.1.3 การจัดการสารท่ีไม่ใช้แล้ว (Clearance) หมายถึง การตรวจสอบสารที่ไม่ใช้แล้วออกจากสารบบสารเคมีเพ่ือนําไปกําจัด ต่อไป โดยหอ้ งปฏิบตั กิ ารอาจทาํ การกําหนดระยะเวลาในการตรวจสอบ เชน่ ทุกๆ 3 เดอื น 6 เดอื น หรอื 1 ปี เป็นต้น สารเคมที ีไ่ ม่ใชแ้ ล้ว มีนยิ ามครอบคลมุ สง่ิ ต่อไปนี้คอื สารทไี่ มต่ ้องการใช้ หมายถงึ สารท่ีหมดความตอ้ งการแลว้ แต่เป็นสารท่ยี ังไม่หมดอายแุ ละยังสามารถใชง้ านได้ สารทหี่ มดอายตุ ามฉลาก หมายถึง สารทห่ี มดอายุตามทผ่ี ู้ผลิตกําหนดซึ่งแสดงอยูบ่ นฉลากขวดสารเคมี สารท่ีหมดอายุตามสภาพ หมายถึง สารที่ไม่สามารถนํามาใช้งานได้แล้ว โดยพิจารณาจากสมบัติทางเคมีและ กายภาพของสาร เช่น สารเคมเี ปลี่ยนสไี ปจากเดมิ หรือเปล่ียนสถานะไปจากเดิม เป็นตน้ 2.1.4 การใช้ประโยชน์จากข้อมลู เพอื่ การบรหิ ารจัดการ หมายถงึ การนาํ ข้อมลู สารเคมไี ปใชป้ ระโยชนเ์ พ่อื การบรหิ ารจดั การ เช่น การประเมินความเส่ียง ข้อมูลจากสารบบสารเคมี สามารถนําไปใช้ในการประเมินความเป็นอันตรายและความ เสี่ยงของห้องปฏิบัติการ ทําให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมองเห็นภาพรวมของอันตรายและความเส่ียงของ ห้องปฏิบัตกิ ารในหนว่ ยงาน และนาํ ไปสร้าง/พฒั นาระบบบริหารจดั การเพ่ือลดความเสย่ี งได้ การจัดสรรงบประมาณ อาทิเช่น การจัดซ้ือสารเคมีของหน่วยงาน/โครงการ หรือการจัดสรรงบประมาณเพ่ือ ซ้ืออปุ กรณร์ บั เหตุฉกุ เฉินทเี่ หมาะสมกบั สารเคมที ี่ใชใ้ นแต่ละหน่วยงาน เป็นตน้ การแบ่งปันสารเคมี สารบบสารเคมีและการจัดการสารท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นรูปธรรม สามารถเอื้อให้เกิดการ แบ่งปันสารเคมรี ะหว่างหอ้ งปฏบิ ัติการซง่ึ ชว่ ยลดการซื้อสารเคมซี ้ําซ้อนได้ 2.2 การจัดเกบ็ สารเคมี การจัดเก็บสารเคมีท่ีไม่ถูกต้องเป็นสาเหตุหน่ึงของการเกิดอันตรายต่างๆ ดังนั้นข้อกําหนดเกี่ยวกับการจัดเก็บสารเคมีจึง เป็นอกี หวั ข้อหนง่ึ ที่มีความสําคญั โดยควรพจิ ารณาการจัดเก็บทั้งในระดับห้องปฏิบตั กิ ารและระดบั คลังหรือพื้นทีเ่ กบ็ สารเคมี 2.2.1 ข้อกําหนดทั่วไปในการจดั เก็บสารเคมี คือ ขอ้ กําหนดเพอ่ื ความปลอดภยั เบื้องตน้ สาํ หรับการจัดเก็บสารเคมีทุกกลมุ่ 1. การแยกเก็บสารเคมีตามสมบัติการเข้ากันไม่ได้ของสารเคมี (Chemical incompatibility) หมายถึง การจัดเก็บ สารเคมีในห้องปฏิบัติการ ควรมีการแยกตามกลุ่มสารเคมี โดยคํานึงถึงสมบัติของสารเคมีท่ีเข้ากันได้และไม่ได้ เช่น สารกัดกร่อน ประเภทกรดและด่างไม่ควรจัดเกบ็ ไวด้ ้วยกัน หากจําเป็นตอ้ งจดั เกบ็ ไวใ้ นตู้เดียวกนั ต้องมีภาชนะรองรับ (secondary container) แยกจากกัน ไม่ควรเก็บกรดอินทรีย์ (organic acid) ร่วมกับกรดอนินทรีย์ท่ีมีฤทธิ์ออกซิไดซ์ (oxidizing inorganic acids) เช่น กรดไนตริก กรดซัลฟูริก เป็นต้น การจัดเก็บสารเคมีเรียงตามตัวอักษร ต้องพิจารณาถึงความเข้ากันไม่ได้ของสารเคมีก่อน ตัวอยา่ งเกณฑก์ ารแยกประเภทสารเคมีเพื่อการจัดเกบ็ แสดงในหวั ข้อ 2.3 ภาคผนวก 2 2. เกบ็ สารเคมขี องแข็งแยกออกจากของเหลวทั้งในคลงั สารเคมแี ละหอ้ งปฏิบตั กิ าร อยา่ งเปน็ สดั ส่วน 3. หน้าต้เู ก็บสารเคมีในพืน้ ทสี่ ่วนกลางมีการระบุ รายชื่อสารเคมีและเจ้าของ ชอื่ ผรู้ บั ผดิ ชอบดแู ลตู้ สญั ลกั ษณต์ ามความเป็นอนั ตราย 4. จัดเก็บสารเคมที กุ ชนดิ อยา่ งปลอดภยั ตามตาํ แหน่งที่แนน่ อน และไมว่ างสารเคมีบรเิ วณทางเดิน เช่น ชั้นวางสารเคมมี ี ความแข็งแรง มที ี่กน้ั ห่างจากแหล่งนาํ้ มีภาชนะรองรับขวดสารเคมีเพ่อื ปอ้ งกันสารเคมีรว่ั ไหลสสู่ ง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ ต้น 5. มปี ้ายบอกบรเิ วณทเ่ี ก็บสารเคมที ่ีเปน็ อนั ตราย อย่างชดั เจน 6. มีระบบการควบคุมสารเคมีที่ต้องควบคุมเป็นพิเศษ สารเคมีท่ีต้องควบคุมเป็นพิเศษ หมายถึง สารท่ีมีความเป็น อันตรายสูงต่อสุขภาพ เช่น สารที่มีฤทธ์ิเป็นพิษเฉียบพลันสูง สารที่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัดว่าเป็นสารก่อมะเร็ง สารก่อการกลาย พันธ์ุ สารที่เป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ เป็นต้น ซ่ึงจะระบุในเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) ในหัวข้อ 2 ข้อมูลความเป็นอันตราย (hazards identification) และหัวข้อ 11 ข้อมูลด้านพิษวิทยา (toxicological information) สาร 31
เหล่าน้ีต้องมีระบบการควบคุมเป็นพิเศษ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้ เช่น เก็บอยู่ในตู้ท่ีมีกุญแจล็อค และผู้ปฏิบัติงานต้อง ไดร้ ับอนุญาตจากหัวหนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรอื ผูด้ ูแลรับผดิ ชอบก่อนจงึ จะสามารถนาํ มาใชไ้ ด้ เปน็ ต้น ตารางท่ี 2.1 ตัวอย่างสารที่มีฤทธ์ิเป็นพิษเฉียบพลันสูง สารท่ีมีหลักฐานยืนยันแน่ชัดว่าเป็นสารก่อมะเร็ง สารก่อการกลายพันธ์ุ และสารทเี่ ป็นพษิ ตอ่ ระบบสืบพนั ธ์ุ ประเภทความเป็นอันตราย ตัวอย่างสารเคมี สารที่มีฤทธ์ิเป็นพษิ เฉยี บพลันสูง cyanide, sodium fluoroacetate, ethyleneimine aziridine, organic compounds of mercury, nicotine and salts of nicotine สารกอ่ มะเรง็ nickel oxide, arsenic trioxide, benzidine and salts of benzidine, asbestos, benzene สารก่อการกลายพันธุ์ acrylamide, colchicines, carbendazim, benomyl, 2-nitrotoluene สารท่เี ป็นพิษตอ่ ระบบสบื พนั ธ์ุ mercury, lead hexafluorosilicate, lead acetate, lead nickel silicate, warfarin ท่ี ม า C&L Inventory database, harmonized classification, Annex VI of Regualation (EC) No. 1272/2008 (CLP Regulation), http://echa.europa.eu/information-on-chemicals/cl-inventory-database สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558 7. ไมใ่ ช้ตดู้ ูดควันเป็นที่เก็บสารเคมีหรือของเสีย แตห่ ากมกี ารจดั เก็บอปุ กรณ์ใดๆ ทไี่ ม่ใช่สารเคมีและของเสียใต้ตูด้ ูดควัน ต้องจัดวางให้เปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย ไม่กอ่ ให้เกิดอันตรายต่อผู้ใชง้ านได้ 8. ไม่วางขวดสารเคมีบนโต๊ะและช้ันวางของโต๊ะปฏิบัติการอย่างถาวร ยกเว้นขวดสารเคมีท่ีอยู่ระหว่างการใช้งานในแต่ ละวัน ขอ้ กาํ หนดการจดั เกบ็ สารเคมตี ามกลุ่มสาร เปน็ ข้อกําหนดเพิ่มเตมิ จากข้อกาํ หนดท่ัวไป เนือ่ งจากสารเคมบี างกล่มุ จาํ เปน็ ต้องมีวิธีการและข้อกาํ หนดในการจัดเก็บท่ีมี ความเฉพาะเจาะจง มฉิ ะนน้ั อาจเกดิ อันตรายขนึ้ ได้ ขอ้ กําหนดการจัดเก็บสารเคมีตามกลมุ่ สารอาจแบง่ ไดด้ งั น้ี 2.2.2 ข้อกาํ หนดสําหรบั การจัดเก็บสารไวไฟ ควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1. เก็บสารไวไฟให้ห่างจากแหล่งความรอ้ น แหล่งกําเนิดไฟ เปลวไฟ ประกายไฟ และแสงแดด อย่างน้อย 25 ฟุต2 (7.6 เมตร) ทั้งน้ีควรพิจารณาจากปริมาณสารไวไฟ และขนาดของแหล่งความร้อน/แหล่งกําเนิดประกายไฟในห้องปฏิบัติการประกอบ กันด้วย ตัวอย่างเช่น หากมีแหล่งที่ให้ความร้อนสูงอยู่ในห้องปฏิบัติการ ควรจัดเก็บสารไวไฟห่างจากแหล่งความร้อนมากกว่า 25 ฟตุ (7.6 เมตร) 2. เกบ็ สารไวไฟในหอ้ งปฏิบตั กิ ารในภาชนะทีม่ คี วามจไุ ม่เกิน 20 ลติ ร (carboy) 3. เก็บสารไวไฟในห้องปฏิบัติการไม่เกิน 10 แกลลอน (38 ลิตร )3 ถ้ามีเกิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ต้องจัดเก็บไว้ในตู้ สําหรับเกบ็ สารไวไฟโดยเฉพาะ ตามมาตรฐานกาํ หนด เช่น ANSI/UL 1275, NFPA 30, BS EN 14470-1:2004, AS 1940-2004 เป็นตน้ 2 Flammable and Combustible Liquid Safety Guide, Environmental Health and Safety Office, George Mason University. (http://ehs.gmu.edu/guides/FlammableandCombustibleLiquidSafetyGuide.pdf สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558) 3 Table 9.6.2.1, NFPA 30: Flammable and combustible liquids code, 2015. (http://www.nfpa.org/codes-and- standards/document-information-pages?mode=code&code=30 สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ 2 กมุ ภาพันธ์ 2558) 32
a b cd รูปที่ 2.1 ตัวอยา่ งต้เู กบ็ สารไวไฟ (ที่มา เข้าถงึ ได้จาก a. https://www.safetyequipmentsolutions.com/safety-products/hazmat-containment/eagle-safety-storage- cabinets/flammable-liquid-storage-cabinets b. https://www.wisconsin.edu/ehs/osh/lab-flam/ c. http://www.herbertwilliams.com/products/product/61/ d. http://www.utexas.edu/safety/ehs/lab/manual/3_fundamentals.html สบื ค้นเมอ่ื 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558) 4. เก็บสารไวไฟสูงในตทู้ ีเ่ หมาะสม สารไวไฟที่ต้องเก็บในตู้เย็น ไม่ควรเก็บในตู้เย็นแบบธรรมดาที่ใช้ในบ้าน เนื่องจากภายในตู้เย็นที่ใช้ในบ้านไม่มี ระบบป้องกันการติดไฟ และยังมีวัสดุหลายอย่างท่ีเป็นสาเหตุให้เกิดการติดไฟได้ เช่น หลอดไฟภายในตู้เย็น เป็นต้น ใน ห้องปฏิบัติการและคลัง/พื้นท่ีเก็บสารเคมี ควรมีตเู้ ย็นที่ปลอดภัย เช่น explosion–proof refrigerator สําหรับใช้เก็บสารไวไฟที่ ต้องเก็บไว้ในที่เย็น เช่น 1,1-dichloroethylene, 2-Methylbutane, acetaldehyde, trichlorosilane เปน็ ต้น ซ่ึงเป็นตู้เย็นท่ี ออกแบบให้มรี ะบบปอ้ งกนั การเกิดประกายไฟหรือปจั จัยอน่ื ๆ ทีอ่ าจทําให้เกิดการตดิ ไฟหรือระเบิดได้ เกณฑ์การจําแนกประเภทสารไวไฟตามระบบ NFPA หรือ ระบบ GHS4 แสดงในข้อ 2.4 ภาคผนวก 2 นอกจากน้ี ข้อมลู เกีย่ วกบั การจดั เกบ็ มีระบใุ นเอกสารขอ้ มลู ความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) หัวขอ้ 7 การใชแ้ ละการ จดั เก็บ (handling and storage) 2.2.3 ขอ้ กาํ หนดสาํ หรับการจดั เก็บสารกัดกร่อน ตัวอย่างเชน่ 1. เกบ็ ขวดสารกดั กรอ่ น (ท้งั กรดและเบส) ไว้ในระดับตํ่า และเกบ็ ขวดขนาดใหญ่ (ปริมาณมากกว่า 1 ลิตร หรอื 1.5 กโิ ลกรัม) ไวใ้ นระดบั ทส่ี ูงจากพ้นื ไม่เกนิ 60 เซนติเมตร (2 ฟตุ ) 2. เกบ็ ขวดกรดในตู้เกบ็ กรดโดยเฉพาะ และมภี าชนะรองรับท่เี หมาะสม ตสู้ ําหรับเกบ็ กรดควรทําจากวสั ดุปอ้ งกนั การกัด กร่อน เชน่ ไม้ พลาสตกิ หรือวสั ดุอน่ื ๆ ทีเ่ คลอื บด้วยอีพ๊อกซ่ี (epoxy enamel) ภาชนะรองรบั เช่น ถาดพลาสตกิ หรือ มวี ัสดหุ ่อหมุ้ ขวดเพอ่ื ปอ้ งกนั การร่ัวไหล สําหรบั การเกบ็ ขวดกรดขนาดเลก็ (ปริมาณน้อยกวา่ 1 ลติ ร หรือ 1.5 กโิ ลกรัม) บนชัน้ วางตอ้ งมภี าชนะรองรับ หรือมีวัสดุห่อหมุ้ ป้องกันการร่วั ไหลดว้ ย 2.2.4 ขอ้ กาํ หนดสําหรับการจัดเก็บแก๊ส ตัวอย่างเช่น 1. เกบ็ ถังแก๊สโดยมีอปุ กรณ์ยดึ ทแ่ี ข็งแรง ถงั แกส๊ ทกุ ถังต้องมีสายคาด 2 ระดับ หรอื โซ่ยึดกับผนัง โตะ๊ ปฏบิ ัตกิ าร หรือท่ี รองรบั อนื่ ๆ ท่สี ามารถป้องกนั อันตรายให้กบั ผู้ปฏบิ ตั งิ านในบรเิ วณใกลเ้ คยี งจากน้ําหนกั ของถังแกส๊ ทอี่ าจลม้ มาทบั ได้ ดงั ตวั อย่างในรูปท่ี 2.2 4 Globally Harmonised System for Classification and Labeling of Chemicals (GHS) คือ ระบบการจําแนกประเภท การติดฉลาก และการ สอ่ื สารข้อมูลสารเคมแี ละเคมีภัณฑ์ ท่อี งค์การสหประชาชาตพิ ัฒนาขึน้ เพ่ือให้เกิดการส่ือสารและเข้าใจเก่ียวกับอนั ตรายท่ีเกดิ จากสารเคมนี ั้นๆ ไดใ้ น ทิศทางเดียวกัน 33
รูปท่ี 2.2 ตวั อย่างการวางถงั แก๊สท่ีเหมาะสมในห้องปฏบิ ัตกิ าร (ท่ีมา เขา้ ถึงไดจ้ าก http://blink.ucsd.edu/safety/research-lab/chemical/gas/storage.html#Basic-storage-guidelines-for-al สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ 2 สงิ หาคม 2556) 2. ถังแก๊สที่ไม่ได้ใช้งานทุกถังต้องมีฝาปิดครอบหัวถัง หรือมี guard ป้องกันหัวถัง ดังตัวอย่างในรูปที่ 2.3 ทั้งน้ีเพ่ือ ปอ้ งกันอนั ตรายจากแกส๊ ภายในถงั พุ่งออกมาอยา่ งรนุ แรงหากวาล์วควบคมุ ทค่ี อถงั เกดิ ความเสียหาย guard ป้องกนั หัวถัง รปู ท่ี 2.3 ตวั อยา่ งถงั แก๊สท่มี ี guard ปอ้ งกนั หวั ถัง ขณะใช้งาน (ทมี่ า เข้าถงึ ได้จาก http://proactivegassafety.com/gas-safety-training-workshops/laboratory-gas- users-workshop สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 27 กรกฎาคม 2556) 3. มีพน้ื ที่เก็บถังแก๊สเปล่ากับถังแกส๊ ท่ยี ังไมไ่ ดใ้ ชง้ าน และตดิ ปา้ ยระบไุ ว้อยา่ งชัดเจน 4. ถังแก๊สมีท่ีวางปลอดภัย ห่างจากความร้อน แหล่งกําเนิดไฟ และเส้นทางสัญจรหลัก โดยบริเวณท่ีเก็บถังแก๊สควรเป็น ที่แห้งและอากาศถ่ายเทได้ดี มีอุณหภมู ไิ ม่เกิน 52 องศาเซลเซียส5 5. เก็บถังแก๊สออกซิเจนห่างจากถังแก๊สเชื้อเพลิง (เช่น acetylene) แก๊สไวไฟ และวัสดุไหม้ไฟได้ (combustible materials) อย่างน้อย 6 m หรอื มฉี าก/ผนังกนั้ ที่ไมต่ ดิ ไฟ มคี วามสูงอยา่ งน้อย 1.5 เมตร (5 ฟตุ ) และสามารถหนว่ ง ไฟไดอ้ ย่างน้อยครึง่ ชวั่ โมง สําหรับถังแก๊สที่บรรจุสารอันตรายหรือสารพิษ (ตามรายการต่อไปนี้) ต้องเก็บในตู้เก็บถังแก๊สโดยเฉพาะที่มีระบบ ระบายอากาศ ดังตวั อยา่ งในรูปท่ี 2.4 5 How Do I Work Safely with Compressed Gases?, Prevention & Control of Hazards, Canadian Centre for Occupational Health and Safety. (http://www.ccohs.ca/oshanswers/prevention/comp_gas.html สืบคน้ เมอื่ วันท่ี 2 กมุ ภาพันธ์ 2558) 34
รายการแกส๊ อนั ตราย Dimethylamine Methylamine Dichlorosilane Methyl bromide Ammonia Diborane ethylamine Methyl chloride Arsenic pentafluoride Ethylene oxide Methyl mercaptan Arsine Boron trifluoride Fluorine Nitrogen oxides Formaldehyde Phosgene 1,3–Butadiene Germane Phosphine Carbon monoxide Hydrogen chloride, anhydrous Silane Carbon oxysulfide Hydrogen cyanide Silicon tetrafluoride Chlorine Hydrogen fluoride Stibine Chlorine monoxide Hydrogen selenide Trimethylamine Chlorine trifluoride Hydrogen sulfide Vinyl chloride Chloroethane Cyanogen Dichloroborane รปู ที่ 2.4 ตัวอย่างต้เู กบ็ แกส๊ อันตราย (ที่มา เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://web.princeton.edu/sites/ehs/labsafetymanual/sec7e.htm สบื ค้นเม่อื วันที่ 12 มนี าคม 2555) 35
2.2.5 ข้อกําหนดสําหรับการจดั เกบ็ สารออกซิไดซ์ (Oxidizers) และสารท่กี ่อให้เกดิ เพอรอ์ อกไซด์ สารออกซไิ ดซ์ สามารถทาํ ให้เกดิ เพลงิ ไหมแ้ ละการระเบดิ ได้เม่ือสมั ผสั กับสารไวไฟและสารท่ไี หม้ไฟได้ เมื่อสารทไ่ี หม้ไฟได้ สัมผัสกบั สารออกซไิ ดซจ์ ะทําให้อัตราในการลุกไหม้เพมิ่ ข้ึน ทาํ ใหส้ ารไหมไ้ ฟได้เกิดการลุกติดไฟข้ึนทนั ที หรอื ทําให้เกดิ การระเบิด เมื่อได้รับความร้อน การส่ันสะเทือน (shock) หรือแรงเสียดทาน (ตัวอย่างกลุ่มสารออกซิไดซ์แสดงดังตารางด้านล่าง) การจัดเกบ็ สารออกซไิ ดซม์ ีขอ้ กาํ หนดดงั น้ี 1. เก็บสารออกซิไดซ์ห่างจากความร้อน แสง แหล่งกําเนิดประกายไฟ อย่างน้อย 25 ฟุต (7.6 เมตร) ท้ังน้ีควรพิจารณา จากปริมาณสารออกซิไดซ์ และขนาดของแหล่งความร้อน/แหล่งกําเนิดประกายไฟในห้องปฏบิ ัติการประกอบกันด้วย ตัวอย่างเช่น หากมแี หล่งทใี่ ห้ความร้อนสูงมากอยู่ในห้องปฏบิ ัติการ ควรจัดเก็บสารออกซิไดซ์ห่างจากแหล่งความร้อน มากกว่า 25 ฟุต (7.6 เมตร) 2. เก็บสารท่มี สี มบตั อิ อกซิไดซ์ ไวใ้ นภาชนะแก้วหรอื ภาชนะท่มี ีสมบัตเิ ฉ่อื ย 3. ใช้ฝาปิดท่ีเหมาะสม สําหรับขวดท่ีใช้เก็บสารออกซิไดซ์ ไม่ควรใช้จุกคอร์ก หรือจุกยาง เนื่องจากจุกคอร์ก หรือจุกยาง สามารถทาํ ปฏิกริ ิยากบั สารออกซไิ ดซ์ได้ ตวั อยา่ งกลุ่มสารออกซิไดซ์ Chlorates (ClO3-) Peroxides (O22-) Chlorites (ClO2-) Nitrates (NO3-) Hypochlorites (ClO-) Nitrites (NO2-) Dichromates (Cr2O72-) Perchlorates (ClO4-) Persulfates (S2O82-) Permanganates (MnO4-) Chromates (CrO42-) สารทก่ี ่อให้เกดิ เพอรอ์ อกไซด์ (Peroxide–forming materials) หมายถึง สารที่เมอื่ ทําปฏิกริ ยิ ากับอากาศ ความชืน้ หรอื สิ่ง ปนเป้ือนต่างๆ แล้วทําให้เกิดสารเพอร์ออกไซด์ เช่น ether, dioxane, sodium amide, tetrahydrofuran (THF) เป็นต้น สาร เพอร์ออกไซด์เป็นสารท่ีไม่เสถียรสามารถทําให้เกิดการระเบิดได้เม่ือมีการส่ันสะเทือน แรงเสียดทาน การกระแทก ความร้อน ประกายไฟ หรือ แสงแดด ตวั อย่างสารท่กี อ่ ใหเ้ กิดเพอรอ์ อกไซด์ ดงั ตารางท่ี 2.2 การจัดเก็บสารที่ก่อให้เกดิ เพอรอ์ อกไซดม์ ขี ้อกาํ หนดดงั นี้ 1. เกบ็ สารทีก่ ่อใหเ้ กดิ เพอร์ออกไซด์หา่ งจากความร้อน แสง และแหลง่ กาํ เนิดประกายไฟ อย่างน้อย 25 ฟุต (7.6 เมตร) ทั้งน้ีควรพิจารณาจากปริมาณสารที่ก่อให้เกิดเพอร์ออกไซด์ และขนาดของแหล่งความร้อน/แหล่งกําเนิดประกายไฟใน ห้องปฏิบัติการประกอบกันด้วย ตัวอย่างเช่น หากมีแหล่งที่ให้ความร้อนสูงมากอยู่ในห้องปฏิบัติการ ควรจัดเก็บสารที่ก่อให้เกิด เพอร์ออกไซดห์ ่างจากแหลง่ ความรอ้ นมากกวา่ 25 ฟตุ (7.6 เมตร) 2. ภาชนะบรรจุสารที่ก่อให้เกิดเพอร์ออกไซด์ต้องมีฝาปิดที่แน่นหนา และไม่ใช้จุกแก้ว เพ่ือหลีกเลี่ยงการสัมผัสอากาศ เนอ่ื งจากแรงเสียดทานขณะเปดิ อาจทําให้เกิดการระเบดิ ได้ 3. มีการตรวจสอบการเกิดเพอร์ออกไซด์อย่างสม่ําเสมอ รายละเอียดเพ่ิมเติมเก่ียวกับการตรวจสอบการเกิดเพอร์ ออกไซด์สามารถดไู ดท้ ่ี 6.G.3.2 Peroxide Detection Tests, Prudent Practices in the Laboratory, the National Academy of Sciences, US, 2011 Peroxide Forming Solvents (http://www.sigmaaldrich.com/chemistry/solvents/learning- center/peroxide-formation.html) EH&S Guidelines for Peroxide Forming Chemicals, Environmental Health & Safety, University of Washington (http://www.ehs.washington.edu/forms/epo/peroxideguidelines.pdf) 36
ตารางที่ 2.2 ประเภทของสารท่ีกอ่ ให้เกิดเพอร์ออกไซด์ Class A : Chemicals that form explosive levels of peroxides without concentration Isopropyl ether Sodium amide (Sodamide) Butadiene Tetrafluoroethylene Chlorobutadiene (Chloroprene) Divinyl acetylene Potassium amide Vinylidene Chloride Potassium metal Class B : These chemicals are peroxide hazard on concentration (distillation/evaporation). A test for peroxide should be performed if concentration is intended or suspected. Acetal Dioxane (p-dioxane) Cumene Ethylene glycol dimethyl ether (glyme) Cyclohexane Furan Cyclooctene Methyl acetylene Cyclopentene Methyl cyclopentane Diacetylene Methyl-Isobutyl ketone Dicyclopentadiene Tetrahydrofuran Diethylene glycol dimethyl ether (diglyme) Tetrahydronaphthalene Diethyl ether Vinyl ethers Class C : Unsaturated monomers that may autopolymerize as a result of peroxide accumulation if inhibitors have been removed or are depleted. Acrylic acid Styrene Butadiene Vinyl acetate Chlorotrifluoroethylene Vinyl chloride Ethyl acrylate Vinyl pyridine Methyl methaacrylate ที่ ม า Table 4.8 Classes of chemicals that can form peroxides, Prudent Practices in the Laboratory, the National Academy of Sciences, US, 2011 ตารางที่ 2.3 ตัวอย่างเกณฑก์ ารพิจารณาในการทิ้งสารทีก่ อ่ ให้เกิดเพอร์ออกไซด์ เพอร์ออกไซด์ท่ีเกดิ อนั ตรายไดจ้ ากการเกบ็ : ทง้ิ หลงั จากเกบ็ เกนิ 3 เดือน Divinyl acetylene Potassium metal Divinyl ether Sodium amide Isopropyl ether Vinylidene chloride เพอรอ์ อกไซด์ทีเ่ กิดอนั ตรายไดจ้ ากความเข้มขน้ : ทงิ้ หลังจากเก็บเกนิ 1 ปี Acetal Dioxane Cumene Ethylene glycol dimethyl ether Cyclohexene Furan Cyclooxyene Methyl acetylene Cyclopentene Methyl cyclopentane Diacetylene Methyl isobutyl ketone Dicyclopentadiene Tetrahydronaphtalene (Tetralin) Diethyl ether Tetrahydrofuran Diethylene glycol dimethyl ether Vinyl ethers 37
อันตรายเนื่องจากเพอรอ์ อกไซดเ์ กิดพอลิเมอไรเซชัน*: ท้งิ หลงั จากเกบ็ เกนิ 1 ปี Acrylic acid Styrene Acrylonitrile Tetrafluoroethylene* Butadiene* Vinyl acetylene Chloroprene* Vinyl acetate Chlorotrifluoroethylene Vinyl chloride Methyl methacrylate Vinyl pyridine * หากเก็บในสภาวะของเหลว จะมีโอกาสเกิดเพอร์ออกไซด์เพิ่มข้ึน และมอนอเมอร์บางชนิด (โดยเฉพาะอย่างย่ิง butadiene, chloroprene, และtetrafluoroethylene) ควรทิ้งหลงั จากเก็บเกิน 3 เดอื น ท่มี า Princeton University [ออนไลน์] เขา้ ถึงไดจ้ าก http://web.princeton.edu/sites/ehs/labsafetymanual/sec7c.htm#removal สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 12 มีนาคม 2555 2.2.6 ขอ้ กําหนดสําหรับการจัดเก็บสารทไี่ วตอ่ ปฏิกริ ยิ า สารที่ไวต่อปฏิกิริยาสามารถแบง่ เปน็ กล่มุ ได้ ดังน้ี 1) สารที่ไวต่อปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน (Polymerization reactions) เช่น styrene สารกลุ่มนี้เมื่อเกิดปฏิกิริยา พอลิเมอไรเซชนั จะทําใหเ้ กดิ ความร้อนสงู หรอื ไม่สามารถควบคมุ การปลดปลอ่ ยความร้อนออกมาได้ 2) สารที่ไวต่อปฏิกิริยาเม่ือสัมผัสนํ้า (Water reactive materials) เช่น alkali metals (lithium, sodium, potassium) silanes, magnesium, zinc, aluminum รวมทั้งสารประกอบอินทรีย์โลหะ (organometallics) เช่น alkylaluminiums, alkyllithiums เป็นต้น สารกลุ่มนี้เม่ือสัมผัสกับน้ําจะปลดปล่อยความร้อนออกมาทํา ให้เกิดการลุกติดไฟข้ึนในกรณีที่ตัวสารเป็นสารไวไฟ หรือทําให้สารไวไฟที่อยู่ใกล้เคียงลุกติดไฟ นอกจากน้ี อาจจะทําให้เกิดการปลดปล่อยสารไวไฟ สารพิษ ไอของออกไซด์ของโลหะ กรด และแก๊สท่ีทําให้เกิดการ ออกซไิ ดซไ์ ดด้ ี 3) สาร Pyrophoric ส่วนใหญ่เป็น tert–butyllithium, diethylzinc, triethylaluminum, สารประกอบอินทรีย์ โลหะ สารกลมุ่ นี้เมือ่ สัมผัสกับอากาศจะทําใหเ้ กิดการลุกตดิ ไฟ 4) สารที่ไวต่อปฏิกิรยิ าเมือ่ เกดิ การเสียดสีหรือกระทบกระแทก (Shock–sensitive materials) เช่น สารท่มี หี มไู่ น โตร (nitro), เกลือ azides, fulminates, perchlorates เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือมีส่วนประกอบของ สารอินทรียอ์ ย่ดู ว้ ย เมอ่ื สารกลุม่ น้ถี ูกเสียดสหี รอื กระทบกระแทกจะทาํ ใหเ้ กิดการระเบิดได้ การจดั เกบ็ สารทไี่ วต่อปฏิกิริยามีขอ้ กาํ หนดดงั น้ี 1. มีป้ายคําเตือนที่ชัดเจนบริเวณหน้าตู้หรือพื้นที่ที่เก็บสารท่ีไวต่อปฏิกิริยา เช่น ป้าย “สารไวต่อปฏิกิริยา–ห้ามใช้น้ํา” และ “สารไวตอ่ ปฏิกริ ยิ า-หา้ มสัมผัสอากาศ” เป็นตน้ 2. เก็บสารไวปฏกิ ิริยาตอ่ น้ําออกห่างจากแหลง่ นํา้ ที่อยใู่ นหอ้ งปฏิบัติการ เช่น อ่างนาํ้ ฝักบวั ฉุกเฉนิ หัวสปรงิ เกลอร์ เปน็ ตน้ เพอ่ื หลกี เลี่ยงสภาวะทีท่ าํ ให้สารเกดิ ปฏกิ ิรยิ า 3. มกี ารตรวจสอบสภาพการเกบ็ ทเ่ี หมาะสมของสารทีไ่ วต่อปฏกิ ิรยิ าอยา่ งสม่ําเสมอ 2.2.7 ภาชนะบรรจภุ ณั ฑแ์ ละฉลากสารเคมี 1. เก็บสารเคมีในภาชนะที่เหมาะสมตามประเภทของสารเคมี โดย - ใชภ้ าชนะเดมิ (original container) - ห้ามเกบ็ กรดไฮโดรฟลอู อริกในภาชนะแก้ว เพราะสามารถกดั กร่อนแก้วได้ ควรเก็บในภาชนะพลาสตกิ - หา้ มเกบ็ สารทกี่ อ่ ให้เกิดเพอรอ์ อกไซดใ์ นภาชนะแก้วทม่ี ีฝาเกลียวหรือฝาแก้ว เพราะหากมีการเสียดสี จะ ทําให้เกิดการระเบิดได้ - ห้ามเกบ็ สารละลายดา่ งทม่ี ี pH สูงกวา่ 11 ในภาชนะแกว้ เพราะสามารถกัดกรอ่ นแกว้ ได้ 2. ภาชนะที่บรรจสุ ารเคมีทกุ ชนดิ ต้องมกี ารตดิ ฉลากทีเ่ หมาะสม - ภาชนะทุกชนิดท่บี รรจสุ ารเคมตี ้องระบชุ ่ือสารแม้ไมใ่ ชส่ ารอนั ตราย เชน่ นาํ้ 38
- หากเปน็ ภาชนะเดิม (original container) ของสารเคมีตอ้ งมฉี ลากสมบูรณ์และชดั เจน - ใชช้ อื่ เตม็ ของสารเคมีบนฉลาก และมีคาํ เตือนเกี่ยวกับอันตราย - ระบุวันที่ไดร้ บั สารเคมี วนั ท่ีเปิดใช้สารเคมเี ปน็ ครัง้ แรก - หากเป็น stock solution หรือ working solution ทเ่ี ตรียมข้นึ เองให้ระบุ ชอ่ื สารละลาย สว่ นผสม (ถา้ เปน็ ไปได้) ช่ือผเู้ ตรียม และวันท่ีเตรยี ม 3. ตรวจสอบความบกพรอ่ งของภาชนะบรรจสุ ารเคมีและฉลากสารเคมีอยา่ งสมา่ํ เสมอ เชน่ - ความสมบรู ณข์ องฝาปดิ การแตกร้าวรว่ั ซมึ ของภาชนะ - ฉลากสมบูรณ์ มีข้อมลู ครบถ้วน - ขอ้ ความบนฉลากมคี วามชัดเจน ไม่จาง ไม่เลอื น 2.2.8 เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) Safety Data Sheet (SDS) หรือในบางครั้งเรียกว่า Material Safety Data Sheet (MSDS) น้ัน หมายถึงเอกสารข้อมูล ความปลอดภัยสารเคมี ซ่ึงเป็นเอกสารที่แสดงข้อมูลของสารเคมีหรือเคมีภัณฑ์เก่ียวกับลักษณะความเป็นอันตราย พิษ วิธีใช้ การ เก็บรกั ษา การขนส่ง การกําจัดและการจัดการอ่นื ๆ เพอ่ื ให้การดาํ เนนิ การเก่ยี วกับสารเคมีนั้นเป็นไปอย่างถกู ต้องและปลอดภยั ข้อกําหนดเกี่ยวกบั การจดั การ SDS มดี ังน้ี 1. เก็บ SDS ในรูปแบบที่เปน็ เอกสารและอิเล็กทรอนิกส์ 2. เกบ็ SDS อยใู่ นท่ีทีท่ ุกคนในห้องปฏบิ ตั กิ ารเข้าดูไดท้ นั ที เมื่อต้องการใช้ หรอื เมอื่ เกิดภาวะฉุกเฉิน 3. SDS มีขอ้ มลู ครบทั้ง 16 หัวข้อ 6ตามระบบสากล 1) ขอ้ มลู เก่ยี วกับสารเคมี และบริษัทผผู้ ลิตและหรือจาํ หนา่ ย (Identification) 2) ขอ้ มูลความเปน็ อนั ตราย (Hazards identification) 3) ส่วนประกอบและขอ้ มลู เกี่ยวกบั ส่วนผสม (Composition/Information on ingredients) 4) มาตรการปฐมพยาบาล (First aid measures) 5) มาตรการผจญเพลงิ (Fire fighting measures) 6) มาตรการจัดการเมอื่ มีการหกรวั่ ไหล (Accidental release measures) 7) การใชแ้ ละการจดั เก็บ (Handling and storage) 8) การควบคุมการได้รับสมั ผัสและการปอ้ งกันส่วนบคุ คล (Exposure controls/Personal protection) 9) สมบตั ทิ างกายภาพและเคมี (Physical and chemical properties) 10) ความเสถยี รและการเกดิ ปฏกิ ิรยิ า (Stability and reactivity) 11) ข้อมูลดา้ นพิษวิทยา (Toxicological information) 12) ขอ้ มลู ด้านระบบนเิ วศ (Ecological information) 13) ขอ้ พจิ ารณาในการกาํ จัด (Disposal considerations) 14) ขอ้ มูลสําหรับการขนส่ง (Transport information) 15) ขอ้ มูลเกี่ยวกับกฎข้อบงั คับ (Regulatory information) 16) ข้อมลู อื่น ๆ (Other information) 4. มี SDS ของสารเคมีอนั ตรายทุกตัวทีอ่ ยู่ในห้องปฏบิ ัติการ 5. มี SDS ที่ทันสมัย โดยตรวจสอบจากข้อมูล SDS ของบริษัทผู้ผลิตในช่วงเวลาที่ซ้ือจากบริษัทผู้ขายสารเคมีนั้นๆ ไม่ควรใช้ SDS ของบริษัทผู้ผลิตอื่นเน่ืองจากอาจมีความคลาดเคล่ือนของข้อมูลสารเคมีได้ และไม่ควรใช้ SDS ท่ี เกา่ กว่า 5 ปี ผู้ซอ้ื สารเคมีควรถอื เป็นหลกั ปฏิบตั ิในการขอข้อมูล SDS ของผผู้ ลติ จากบริษัทผขู้ าย ส่วนการปรบั ปรุงใหท้ นั สมัย ควรทาํ ตามเหมาะสม 6 รายละเอยี ดแสดงในข้อ 2.5 ภาคผนวก 2 39
2.3 การเคลื่อนย้ายสารเคมี (Chemical transportation) รูปท่ี 2.5 การใช้แผน่ พาราฟิลม์ ปิดฝาภาชนะ 2.3.1 การเคล่ือนยา้ ยสารเคมีภายในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ควรมีขอ้ ปฏิบัติ ดังน้ี 1. ผู้ท่ีทําการเคล่ือนย้ายสารเคมีใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลท่ี เหมาะสม 2. ปิดฝาภาชนะท่ีบรรจุสารเคมีท่ีจะเคล่ือนย้ายให้สนิท หาก จําเป็นอาจผนกึ ด้วยแผ่นพาราฟลิ ์ม (รปู ที่ 2.5) 3. ใช้รถเข็นท่ีมีแนวกั้น เมื่อมีการเคลื่อนย้ายสารเคมี พร้อมกัน หลายๆ ขวด (รูปที่ 2.6) รูปท่ี 2.6 รถเข็นสาํ หรบั เคล่ือนย้ายสารเคมี 4. ใช้ตะกรา้ หรือภาชนะรองรับ (secondary container) ในการเคล่ือนย้ายสารเคมี โดยตอ้ งเป็นภาชนะท่ไี ม่แตกหัก ง่าย ทาํ มาจากยาง เหลก็ หรอื พลาสตกิ ที่สามารถบรรจุขวดสารเคมี (รปู ที่ 2.7) 5. เคล่ือนยา้ ยสารเคมที เ่ี ป็นของเหลวไวไฟในภาชนะรองรับท่มี ีวสั ดกุ ันกระแทก 6. ใช้ถงั ยางในการเคลื่อนยา้ ยสารกดั กรอ่ นท่เี ป็นกรดและตัวทาํ ละลาย (รปู ที่ 2.8) 7. เคลื่อนยา้ ยสารที่เขา้ กันไม่ได้ในภาชนะรองรบั ทแ่ี ยกกนั ตวั อย่างกลมุ่ สารทเี่ ขา้ กนั ไม่ไดแ้ สดงใน ขอ้ 2.3 ภาคผนวก 2 รูปท่ี 2.7 ภาชนะรองรับทเ่ี ป็นพลาสตกิ รูปท่ี 2.8 ถงั ยางทท่ี นกรดและตัวทาํ ละลาย (ทีม่ า เข้าถงึ ไดจ้ าก http://web.princeton. edu/sites/ehs/labpage/spills.htm สบื คน้ เมือ่ วนั ที่ 12 มีนาคม 2555) 2.3.2 การเคลื่อนยา้ ยสารเคมีภายนอกห้องปฏบิ ัติการ ควรมีขอ้ ปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ใชภ้ าชนะรองรบั และอุปกรณ์เคลอื่ นย้ายที่มนั่ คงปลอดภยั ไม่แตกหักงา่ ย และมที ่กี นั ขวดสารเคมีลม้ 2. ใช้รถเขน็ มีแนวกนั้ กนั ขวดสารเคมลี ม้ 3. เคล่อื นยา้ ยสารทเี่ ขา้ กันไม่ได้ ในภาชนะรองรับที่แยกกัน ตัวอย่างกล่มุ สารทเ่ี ขา้ กนั ไม่ไดแ้ สดงใน ข้อ 2.3 ภาคผนวก 2 4. ใชล้ ิฟทข์ นของในการเคลือ่ นย้ายสารเคมีและวตั ถุอนั ตรายระหวา่ งชัน้ 5. ใชว้ ัสดุดดู ซับสารเคมีหรือวสั ดกุ นั กระแทกขณะเคล่อื นย้าย เช่น vermiculite โฟมกนั กระแทก เป็นตน้ (รูปท่ี 2.9) 40
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187