Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสังคมศึกษาฯ_2565

หลักสูตรสังคมศึกษาฯ_2565

Published by นายบุญส่ง ขนานแข็ง, 2022-04-10 14:36:34

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา ที่จัดการเรียนการสอนนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด พุทธศักราช ๒๕๖๕
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา ทจ่ี ดั การเรียนการสอนนักเรยี นทม่ี คี วามบกพร่องทางการไดย้ นิ โรงเรียนโสตศกึ ษาจังหวดั รอ้ ยเอด็ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา ท่จี ัดการเรยี นการสอนนักเรียนท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดร้อยเอด็ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

คำนำ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ฉบับน้ี เปน็ เอกสาร ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด พุทธศักราช ๒๕๖๕ จัดทำเพื่อเป็น กรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ใหต้ รงตามมาตรฐาน ตวั ชวี้ ัด และสาระการเรยี นรู้ของกล่มุ สาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยพิจารณาตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มอี งค์ประกอบ ดังตอ่ ไปน้ี - วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ และเป้าประสงค์ - สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ - คุณภาพผูเ้ รียน - ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง - โครงสรา้ งหลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - คำอธบิ ายรายวิชา - โครงสรา้ งรายวชิ า - สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ - แผนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเฉพาะความพิการทางการ ได้ยิน กล่มุ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา ตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งโรงเรียนโสตศกึ ษาจงั หวัดร้อยเอ็ด ได้ดำเนินการแตง่ ตั้ง คณะกรรมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเฉพาะความพกิ ารทางการได้ยิน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โดยร่วมกันนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) มาทำการศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ เพื่อปรับสาระการเรียนรู้แกนกลาง ให้เกิด ความเหมาะสมกับสภาพความพิการทางการได้ยิน และให้นักเรียนได้สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็ม ศกั ยภาพ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม คณะผจู้ ัดทำ

สารบญั หนา้ คำนำ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม .................................................. ๑ ทำไมต้องเรยี นสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม .......................................................... ๑ เรยี นรอู้ ะไรในสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม .......................................................... ๒ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ........................................................................................... ๓ คณุ ภาพผเู้ รยี น ................................................................................................................... ๕ ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางสถานศกึ ษาทีจ่ ดั การเรียนการสอนนกั เรียนที่มคี วาม บกพรอ่ งทางการได้ยนิ ......................................................................................................... ๙๓ โครงสรา้ งรายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๑๒ ๑๓๘ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษา ................................................................................... ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ......................................................................... ๑๕๐ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย .................................................................... ๑๖๕ คำอธบิ ายรายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๘๑ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา ................................................................................... ๑๘๙ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ......................................................................... ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ..................................................................... ภาคผนวก คณะผูจ้ ดั ทำ

๑ กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทำไมตอ้ งเรียนสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ช่วยใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ วา่ มนษุ ย์ดำรงชีวติ อยา่ งไร ทั้งในฐานะปัจเจกบคุ คล และการอยู่ ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มอี ยูอ่ ย่างจำกัด นอกจากน้ี ยังช่วยให้ ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทำให้เกิดความเข้าใจใน ตนเอง และผูอ้ ืน่ มีความอดทน อดกลัน้ ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใชใ้ น การดำเนินชีวติ เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสงั คมโลก เรียนรอู้ ะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเช่อื ม สัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมอื งดี มีความรบั ผดิ ชอบ มีความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม โดยได้กำหนดสาระต่างๆ ไว้ ดังน้ี • ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัตใิ นการพัฒนาตนเอง และการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบำเพ็ญประโยชน์ตอ่ สังคมและสว่ นรวม • หน้าท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชวี ติ ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั การ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสำคัญ การเป็นพลเมอื ง ดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านยิ ม ความเชอ่ื ปลกู ฝงั ค่านยิ มด้านประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข สิทธิ หนา้ ท่ี เสรภี าพการดำเนนิ ชีวติ อย่างสันติสุขในสังคมไทยและสงั คมโลก • เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจ พอเพยี งไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน • ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจาก เหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมทสี่ ำคัญของโลก • ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศ ของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใชแ้ ผนที่และเครือ่ งมือทางภูมิศาสตร์ ความสมั พนั ธ์กันของส่ิง

๒ ตา่ งๆ ในระบบธรรมชาติ ความสมั พนั ธ์ของมนษุ ย์กบั สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และส่ิงท่ีมนษุ ย์สรา้ งข้นึ การ นำเสนอขอ้ มลู ภูมสิ ารสนเทศ การอนรุ กั ษส์ ิง่ แวดล้อมเพ่ือการพัฒนาทยี่ ่ังยืน สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ี ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ รว่ มกนั อย่างสนั ติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนับถือ สาระที่ ๒ หน้าท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนินชวี ิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏบิ ตั ติ นตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มคี า่ นยิ มทดี่ งี าม และ ธำรงรกั ษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคม โลกอยา่ งสนั ตสิ ขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปัจจบุ ัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลติ และการบรโิ ภคการใช้ ทรัพยากรทมี่ อี ย่จู ำกดั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพและค้มุ ค่า รวมทง้ั เขา้ ใจ หลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อการดำรงชีวติ อย่างมีดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส.๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็นของการรว่ มมอื กนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณ์ตา่ งๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วเิ คราะหผ์ ลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ๓ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อกัน มาตรฐาน ส ๕.๒ และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมลู ภมู ิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ เข้าใจปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทก่ี ่อให้เกิด การสร้างสรรคว์ ฒั นธรรม มีจติ สำนึก และมีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์ ทรพั ยากรและ สิ่งแวดล้อม เพื่อการพฒั นาท่ยี ่ังยืน คณุ ภาพผเู้ รียน จบชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ • ได้เรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยู่อาศัย และเชือ่ งโยงประสบการณ์ไปส่โู ลกกวา้ ง • ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาให้เป็น ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็นพลเมืองดี มี ความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทำงานกับผู้อื่น มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน และได้ฝึกหดั ใน การตัดสนิ ใจ • ได้ศกึ ษาเรอ่ื งราวเก่ียวกบั ตนเอง ครอบครวั โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบรู ณาการ ผู้เรยี น ได้เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปัจจบุ ันและอดีต มีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเกี่ยวกับรายรบั -รายจา่ ยของ ครอบครัว เข้าใจถึงการเป็นผู้ผลติ ผบู้ ริโภค รจู้ กั การออมขนั้ ต้นและวิธกี ารเศรษฐกจิ พอเพียง • ได้รับการพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และภมู ิปัญญา เพ่อื เปน็ พืน้ ฐานในการทำความเข้าใจในขัน้ ท่สี ูงต่อไป จบชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ • ได้เรียนร้เู รอ่ื งของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ท้ังเชิงประวตั ศิ าสตร์ ลกั ษณะทางกายภาพ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม รวมท้ังการเมอื งการปกครอง สภาพเศรษฐกิจโดยเนน้ ความเปน็ ประเทศไทย • ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเรื่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลกั คำ สอนของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทงั้ มีสว่ นรว่ มศาสนพธิ ี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิ่งขึน้ • ได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ของท้องถิ่นตนเอง มากยิง่ ข้ึน • ได้ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์

๔ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่การทำความเข้าใจ ในภูมิภาค ซีกโลกตะวันออก และตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การ ดำเนินชีวิต การจดั ระเบียบทางสงั คม และการเปลีย่ นแปลงทางสังคมจากอดตี สู่ปจั จุบนั จบชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ • ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กับประเทศในภูมภิ าคตา่ งๆในโลก เพ่ือพฒั นาแนวคิด เร่อื งการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข • ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะที่จำเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนา แนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความ เชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้วยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ • ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ ในการดำเนินชีวติ และวางแผนการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม จบชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ • ไดเ้ รยี นรูแ้ ละศึกษาความเปน็ ไปของโลกอยา่ งกวา้ งขวางและลกึ ซึ้งยง่ิ ข้นึ • ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตาม หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีค่านิยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคมได้ อย่างมคี วามสุข รวมทง้ั มีศักยภาพเพือ่ การศึกษาตอ่ ในช้ันสูงตามความประสงค์ได้ • ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย ยดึ มั่นในวิถชี ีวิต และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข • ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยท่ีดใี นการบรโิ ภค เลือกและตัดสินใจบรโิ ภคได้อยา่ งเหมาะสม มี จิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและ ประเทศชาติ มงุ่ ทำประโยชน์ และสรา้ งสงิ่ ท่ดี งี ามใหก้ ับสงั คม • เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นำตนเองได้ และสามารถแสวงหา ความรู้จากแหลง่ การเรียนรตู้ า่ งๆในสงั คมได้ตลอดชีวิต

๕ ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา ทต่ี นนับถือและศาสนาอน่ื มีศรัทธาทถ่ี กู ต้อง ยึดมน่ั และปฏิบตั ติ ามหลักธรรม เพือ่ อยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ติสุข ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพิการ ป.๑ ๑. บอกพุทธประวตั ิ หรอื ประวัตขิ อง ➢ พทุ ธประวัติ ศาสดาท่ีตนนบั ถือโดยสงั เขป  ประสตู ิ  ตรัสรู้  ปรินพิ พาน ๒. ชน่ื ชมและบอกแบบอย่างการดำเนนิ  สามเณรบัณฑติ ชวี ิตและขอ้ คดิ จากประวตั ิสาวก ชาดก/  วัณณปุ ถชาดก เร่อื งเลา่ และศาสนิกชนตวั อยา่ งตามท่ี  สวุ ัณณสามชาดก กำหนด  พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หัว ภมู พิ ลอดลุ ยเดช  เจา้ พระยาสุธรรมมนตรี (หนูพรอ้ ม) ๓. บอกความหมาย ความสำคัญ และ ➢ พระรตั นตรัย เคารพพระรตั นตรัย ปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรม  ศรทั ธา พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ โอวาท ๓ในพระพทุ ธศาสนา หรือ ➢ โอวาท ๓ หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถือตามท่ี  ไม่ทำชว่ั กำหนด o เบญจศลี  ทำความดี ° เบญจธรรม ° สงั คหวตั ถุ ๔ ° กตญั ญกู ตเวทตี ่อพ่อแม่ และ ครอบครวั ° มงคล ๓๘ - ทำตัวดี - วา่ ง่าย - รับใชพ้ ่อแม่

๖ ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพกิ าร  ทำจติ ใหบ้ ริสุทธิ์ (บรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญา) ➢ พุทธศาสนสภุ าษติ  อตตฺ า หิ อตตฺ โน นาโถ ตนแลเป็นทพี่ ง่ึ ของตน  มาตา มติ ฺตํ สเก ฆเร มารดาเปน็ มติ รในเรือนของตน ๔. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา ➢ ฝกึ สวดมนต์และแผเ่ มตตา มสี ติที่เป็นพืน้ ฐานของสมาธิใน  รคู้ วามหมายและประโยชน์ของสติ พระพทุ ธศาสนา หรอื การพัฒนาจติ ตาม  ฟงั เพลงและรอ้ งเพลงอยา่ งมสี ติ แนวทางของศาสนาทต่ี นนับถือ  เลน่ และทำงานอยา่ งมสี ติ ตามทีก่ ำหนด  ฝกึ ใหม้ ีสติในการฟัง การอา่ น การคดิ การถามและการเขยี น ป.๒ ๑. บอกความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา  พระพทุ ธศาสนาเป็นเอกลกั ษณข์ อง หรือศาสนาทต่ี นนบั ถอื ชาติไทย ๒. สรปุ พุทธประวตั ิตัง้ แต่ประสตู จิ นถึงการ ➢ สรุปพุทธประวตั ิ ออกผนวชหรอื ประวตั ศิ าสดาทตี่ นนบั ถือ  ประสูติ ตามทกี่ ำหนด o เหตกุ ารณห์ ลงั ประสตู ิ o แรกนาขวัญ o การศกึ ษา o การอภเิ ษกสมรส o เทวทูต ๔ o การออกผนวช ๓. ชื่นชมและบอกแบบอยา่ งการดำเนิน  สามเณรราหลุ ชวี ติ และขอ้ คิดจากประวตั สิ าวก ชาดก/  วรุณชาดก เรื่องเลา่ และศาสนิกชนตวั อย่างตามที่  วานรนิ ทชาดก กำหนด  สมเด็จพระญาณสงั วร (ศุข ไก่ เถ่ือน)  สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจรญิ สวุ ฑฒฺ โน) ๔. บอกความหมาย ความสำคญั และ ➢ พระรตั นตรยั เคารพพระรตั นตรยั ปฏบิ ตั ิตามหลักธรรม  ศรัทธา

๗ ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ โอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนา หรอื ➢ โอวาท ๓ หลักธรรมของศาสนาท่ตี น  ไมท่ ำชวั่ นับถือตามทก่ี ำหนด °เบญจศีล  ทำความดี ° เบญจธรรม ° หริ ิ-โอตตปั ปะ ° สงั คหวัตถุ ๔ ° ฆราวาสธรรม ๔ ° กตญั ญกู ตเวทตี ่อครู อาจารย์ และ โรงเรยี น ° มงคล ๓๘ - กตัญญู - สงเคราะหญ์ าตพิ ่ีน้อง  ทำจติ ให้บรสิ ุทธิ์ (บริหารจติ และเจรญิ ปัญญา) ➢ พทุ ธศาสนสุภาษิต  นมิ ิตฺตํ สาธรุ ูปานํ กตญฺญ กตเวทติ า ความกตญั ญ กตเวทเี ปน็ เครือ่ งหมาย ของคนดี  พรฺ หมฺ าติ มาตาปิตโร มารดาบิดาเป็นพรหมของบุตร ๕. ชนื่ ชมการทำความดขี องตนเอง บุคคล ◆ ตวั อยา่ งการกระทำความดขี องตนเอง ในครอบครัวและในโรงเรยี น ตามหลกั และบคุ คลในครอบครัว และในโรงเรียน ศาสนา (ตามสาระในขอ้ ๔) ๖. เห็นคณุ ค่าและสวดมนต์ แผเ่ มตตา ◆ ฝึกสวดมนตไ์ หวพ้ ระและแผ่เมตตา มีสตทิ ี่เป็นพน้ื ฐานของสมาธิในพระพุทธ-  รู้ความหมายและประโยชนข์ องสตแิ ละ ศาสนา หรอื การพัฒนาจติ ตามแนวทาง ของศาสนาท่ีตนนบั ถอื ตามทีก่ ำหนด สมาธิ  ฝกึ สมาธิเบอ้ื งตน้  ฝกึ สตเิ บือ้ งตน้ ด้วยกจิ กรรมการ เคลอ่ื นไหวอย่างมีสติ  ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอา่ น การคดิ การถาม และการเขียน

๘ ชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ๗. บอกชือ่ ศาสนา ศาสดา และ ➢ ชอ่ื ศาสนา ศาสดา และคมั ภีร์ของ ความสำคญั ของคมั ภีรข์ องศาสนาทตี่ นนบั ศาสนาต่าง ๆ ถอื และศาสนาอื่นๆ ◆ พระพุทธศาสนา o ศาสดา : พระพุทธเจา้ o คมั ภีร์ : พระไตรปฎิ ก  ศาสนาอสิ ลาม o ศาสดา : มฮุ ัมมดั o คัมภีร์ : อัลกุรอาน  ครสิ ต์ศาสนา o ศาสดา : พระเยซู o คัมภรี ์ : ไบเบิล  ศาสนาฮนิ ดู o ศาสดา : ไม่มศี าสดา o คมั ภรี ์ : พระเวท พราหมณะ อปุ นิษัท อารัณยกะ ป.๓ ๑. อธิบายความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา  ความสมั พนั ธข์ องพระพทุ ธศาสนากับการ หรือศาสนาทตี่ นนับถือ ในฐานะท่ีเปน็ ดำเนินชวี ติ ประจำวนั เชน่ รากฐานสำคัญของวฒั นธรรมไทย การสวดมนต์ การทำบญุ ใส่บาตร การแสดงความเคารพ การใชภ้ าษา  พระพุทธศาสนามีอทิ ธพิ ลตอ่ การ สรา้ งสรรคผ์ ลงานทางวฒั นธรรมไทยอนั เกดิ จากความศรทั ธา เชน่ วดั ภาพวาด พระพทุ ธรูป วรรณคดี สถาปัตยกรรมไทย ๒. สรุปพุทธประวตั ติ ั้งแต่การบำเพ็ญเพยี ร  สรุปพุทธประวตั ิ (ทบทวน) จนถงึ ปรนิ พิ พาน หรือประวัตขิ องศาสดาที่  การบำเพ็ญเพียร ตนนับถือตามที่กำหนด  ผจญมาร  ตรสั รู้  ปฐมเทศนา  ปรินพิ พาน

๙ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ๓. ชนื่ ชมและบอกแบบอย่างการดำเนิน  สามเณรสงั กิจจะ ชวี ิตและขอ้ คิดจากประวตั ิสาวก ชาดก/  อารามทูสกชาดก เร่อื งเลา่ และศาสนิกชนตวั อยา่ ง ตามท่ี  มหาวาณชิ ชาดก กำหนด  สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรฺ หมฺ รํส)ี  สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช ๔. บอกความหมาย ความสำคัญของ  ความสำคัญของพระไตรปฎิ ก เช่น เป็น พระไตรปฎิ ก หรอื คมั ภรี ข์ องศาสนาทีต่ น แหลง่ อ้างองิ ของหลกั ธรรมคำสอน นบั ถอื ๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และ ➢ พระรตั นตรยั ปฏิบัติตามหลกั ธรรมโอวาท ๓ ใน  ศรัทธา พระพทุ ธศาสนา หรือหลกั ธรรมของศาสนา ➢ โอวาท ๓ ทต่ี นนับถอื ตามทีก่ ำหนด  ไมท่ ำช่วั ° เบญจศลี  ทำความดี °เบญจธรรม °สติ-สัมปชัญญะ °สังคหวัตถุ ๔ °ฆราวาสธรรม ๔ ° อัตถะ ๓ (อตั ตตั ถะ, ปรัตถะ, อภุ ยตั ถะ) ° กตัญญกู ตเวทตี อ่ ชุมชน, ส่งิ แวดล้อม °มงคล ๓๘ - รจู้ กั ให้ - พดู ไพเราะ - อยใู่ นส่ิงแวดลอ้ มที่ดี  ทำจิตใหบ้ ริสทุ ธ์ิ (บรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญา) ➢ พุทธศาสนสุภาษิต  ททมาโน ปิโย โหติ ผูใ้ ห้ย่อมเป็นท่ีรัก  โมกฺโข กลฺยาณยิ า สาธุ เปล่งวาจาไพเราะใหส้ ำเรจ็ ประโยชน์

๑๐ ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ๖. เหน็ คุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา ◆ ฝึกสวดมนต์ ไหวพ้ ระ สรรเสริญคุณ มสี ติท่ีเปน็ พื้นฐานของสมาธใิ น พระรตั นตรยั และแผเ่ มตตา พระพทุ ธศาสนา หรอื การพฒั นาจติ  รูค้ วามหมายและประโยชนข์ องสตแิ ละ ตามแนวทางของศาสนาท่ตี นนบั ถือ สมาธิ ตามทกี่ ำหนด  รปู้ ระโยชน์ของการฝกึ สติ  ฝึกสมาธิเบอื้ งต้นดว้ ยการนับลมหายใจ  ฝึกการยืน การเดนิ การน่ัง และ การนอน อย่างมสี ติ ◆ ฝกึ ให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคดิ การถาม และการเขียน ๗. บอกช่ือ ความสำคัญและปฏบิ ตั ติ น ◆ ช่ือและความสำคญั ของศาสนวัตถุ ไดอ้ ย่างเหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถานและ ศาสนบคุ คล ศาสนสถาน และศาสนบุคคลของศาสนา ในพระพทุ ธศาสนา ศาสนาอิสลาม อน่ื ๆ ครสิ ตศ์ าสนา ศาสนาฮนิ ดู ◆ การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถานและศาสนบุคคลในศาสนา อ่นื ๆ ป.๔ ๑. อธบิ ายความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา  พระพทุ ธศาสนา ในฐานะทเี่ ปน็ หรือศาสนาทต่ี นนับถอื ในฐานะเป็นศนู ย์ เครอื่ งยึดเหนย่ี วจติ ใจ รวมจติ ใจของศาสนกิ ชน  เปน็ ศูนยร์ วมการทำความดี และพฒั นา จิตใจ เชน่ ฝึกสมาธิ สวดมนต์ ศกึ ษาหลักธรรม  เปน็ ท่ีประกอบศาสนพธิ ี (การทอดกฐิน การทอดผา้ ปา่ การเวยี นเทยี น การทำบุญ)  เปน็ แหลง่ ทำกจิ กรรมทางสังคม เชน่ การจดั ประเพณที อ้ งถนิ่ การเผยแพร่ ขอ้ มูลขา่ วสารชุมชน และ การสง่ เสริมพฒั นาชุมชน ๒. สรุปพทุ ธประวตั ิตัง้ แตบ่ รรลุธรรมจนถงึ  สรุปพุทธประวตั ิ (ทบทวน) ประกาศธรรม หรือประวตั ศิ าสดาท่ีตนนบั  ตรัสรู้ ถือตามที่กำหนด  ประกาศธรรม ไดแ้ ก่ ° โปรดชฎลิ

๑๑ ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ° โปรดพระเจา้ พิมพิสาร ° พระอัครสาวก ° แสดงโอวาทปาฏโิ มกข์ ๓. เห็นคุณคา่ และปฏิบตั ติ นตาม  พระอรุ เุ วลกัสสปะ แบบอยา่ งการดำเนินชวี ติ และขอ้ คิดจาก  กุฏทิ ูสกชาดก ประวัตสิ าวก ชาดก/เรอ่ื งเลา่ และ  มหาอุกกสุ ชาดก ศาสนกิ ชนตวั อย่าง ตามทก่ี ำหนด  สมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดช ๔. แสดงความเคารพ พระรตั นตรัย วกิ รม พระบรมราชชนก ปฏบิ ตั ิตามไตรสกิ ขาและหลักธรรมโอวาท  สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ๓ ในพระพทุ ธศาสนา หรอื หลักธรรมของ ➢ พระรตั นตรัย o ศรทั ธา ๔  พระพทุ ธ ศาสนาทตี่ นนับถือตามทก่ี ำหนด ° พุทธคณุ ๓  พระธรรม ° หลักกรรม  พระสงฆ์ ➢ ไตรสกิ ขา  ศีล สมาธิ ปญั ญา ➢ โอวาท ๓  ไม่ทำชั่ว o เบญจศีล o ทุจรติ ๓  ทำความดี o เบญจธรรม o สุจริต ๓ o พรหมวหิ าร ๔ o กตญั ญกู ตเวทตี ่อประเทศชาติ o มงคล ๓๘ - เคารพ - ถอ่ มคน - ทำความดใี ห้พร้อมไวก้ ่อน  ทำจติ ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ (บรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา) ➢ พทุ ธศาสนสุภาษิต  สขุ า สงฺฆสสฺ สามคฺคี

๑๒ ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ความพร้อมเพรยี งของหม่ใู หเ้ กิดสุข  โลโกปตฺถมภฺ ิกา เมตฺตา เมตตาธรรม คำ้ จนุ โลก ๕. ช่นื ชมการทำความดีของตนเอง บคุ คล ◆ ตวั อยา่ งการกระทำความดีของตนเองและ ในครอบครัว โรงเรียนและชุมชนตามหลัก บคุ คลในครอบครวั ในโรงเรยี น และใน ศาสนา พร้อมทัง้ บอกแนวปฏบิ ัตใิ นการ ชมุ ชน ดำเนนิ ชีวิต ๖. เหน็ คุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา ◆ สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ มีสตทิ เ่ี ปน็ พ้ืนฐานของสมาธิใน คุณพระรตั นตรยั และแผ่เมตตา พระพทุ ธศาสนา หรือการพฒั นาจติ  รู้ความหมายของสตสิ ัมปชญั ญะ สมาธิ ตามแนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถอื และปญั ญา ตามที่กำหนด  รวู้ ิธีปฏิบตั ิของการบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญา  ฝึกการยนื การเดนิ การนงั่ และการนอน อยา่ งมีสติ  ฝึกการกำหนดรคู้ วามรสู้ ึก เมื่อตาเหน็ รปู หฟู ังเสยี ง จมูกดมกลิ่น ล้ินล้มิ รส กายสัมผสั สง่ิ ทม่ี ากระทบ ใจรบั รู้ ธรรมารมณ์  ฝกึ ให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคดิ การถาม และการเขยี น

๑๓ ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ๗. ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมของศาสนาที่ ◆ หลักธรรมเพอื่ การอย่รู ว่ มกันอยา่ ง ตนนับถอื เพ่ือการอย่รู ว่ มกนั เปน็ ชาติได้ สมานฉันท์ อยา่ งสมานฉันท์ o เบญจศลี – เบญจธรรม o ทจุ รติ ๓ – สจุ รติ ๓ o พรหมวหิ าร ๔ o มงคล ๓๘ - เคารพ - ถ่อมตน - ทำความดีให้พร้อมไวก้ อ่ น o พุทธศาสนสุภาษิต : ความพร้อมเพรียง ของหมใู่ หเ้ กิดสขุ เมตตาธรรมค้ำจุน โลก ๘. อธบิ ายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ  กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ โดยสงั เขป  ประวตั ิศาสดา o พระพทุ ธเจ้า o มุฮมั มัด o พระเยซู ป.๕ ๑. วเิ คราะห์ความสำคัญของ ➢ มรดกทางวฒั นธรรมทไ่ี ดร้ ับจาก พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถือ ใน พระพทุ ธศาสนา ฐานะท่เี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรมและหลัก o มรดกทางดา้ นรูปธรรม เชน่ ในการพฒั นาชาตไิ ทย ศาสนสถาน โบราณวตั ถุ สถาปัตยกรรม o มรดกทางดา้ นจติ ใจ เช่น หลักธรรม คำสั่งสอน ความเชอ่ื และคุณธรรม ตา่ ง ๆ  การนำพระพทุ ธศาสนาไปใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการพัฒนาชาตไิ ทย o พัฒนาด้านกายภาพ และส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ ภาวนา ๔ (กาย ศีล จติ ปัญญา) ไตรสกิ ขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และอรยิ สัจสี่

๑๔ ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร o พฒั นาจติ ใจ เชน่ หลกั โอวาท ๓ (ละความชั่ว ทำดี ทำจติ ใจให้ บรสิ ุทธ)์ิ และการบริหารจิตและเจริญ ปัญญา ๒. สรุปพุทธประวตั ิตั้งแต่เสด็จ  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน) กรุงกบิลพสั ดจ์ุ นถึงพุทธกจิ สำคัญ  โปรดพระพทุ ธบดิ า (เสด็จกรุงกบิลพัสดุ)์ หรือประวตั ิศาสดาท่ีตนนบั ถอื ตามท่ี  พทุ ธกจิ สำคญั ได้แก่ โลกัตถจริยา กำหนด ญาตัตถจริยา และพุทธตั ถจริยา ๓. เห็นคุณคา่ และประพฤติตนตาม  พระโสณโกฬวิ สิ ะ แบบอยา่ งการดำเนินชีวติ และข้อคิดจาก  จฬู เสฏฐิชาดก ประวัติสาวก ชาดก/เรือ่ งเลา่ และ  วณั ณาโรหชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามท่ีกำหนด  สมเด็จพระสงั ฆราช (สา)  อาจารย์เสถยี ร โพธนิ ันทะ ๔. อธิบายองคป์ ระกอบ และความสำคญั ➢ องค์ประกอบของพระไตรปฎิ ก ของพระไตรปิฎก หรือคมั ภีรข์ องศาสนาท่ี  พระสตุ ตนั ตปฎิ ก ตนนบั ถอื  พระวนิ ยั ปิฎก  พระอภิธรรมปิฎก ➢ ความสำคญั ของพระไตรปิฎก ๕. แสดงความเคารพพระรตั นตรัย ➢ พระรตั นตรัย และปฏิบัติตามไตรสกิ ขาและหลักธรรม o ศรัทธา ๔ โอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนาหรอื  พระพุทธ หลกั ธรรมของศาสนาทีต่ นนับถอื o พทุ ธจริยา ๓ ตามที่กำหนด  พระธรรม o อริยสัจ ๔ o หลกั กรรม  พระสงฆ์ ➢ ไตรสิกขา  ศลี สมาธิ ปัญญา ➢ โอวาท ๓  ไม่ทำชัว่ o เบญจศีล o อบายมุข ๔

๑๕ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ  ทำความดี o เบญจธรรม o บุญกิริยาวัตถุ ๓ o อคติ ๔ o อทิ ธิบาท ๔ o กตัญญูกตเวทตี อ่ พระพทุ ธศาสนา o มงคล ๓๘ - ใฝร่ ู้ ใฝ่เรยี น - การงานไมอ่ ากูล - อดทน  ทำจติ ใหบ้ ริสทุ ธ์ิ (บรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา) ➢ พทุ ธศาสนสุภาษิต  วิริเยน ทกุ ขฺ มจฺเจติ คนจะล่วงทกุ ขไ์ ดเ้ พราะความเพียร  ปญญฺ า โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต ปัญญา คือ แสงสว่างในโลก ๖. เหน็ คุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา ➢ สวดมนต์ไหวพ้ ระ สรรเสรญิ มสี ตทิ ีเ่ ป็นพ้ืนฐานของสมาธใิ น คณุ พระรัตนตรยั และแผเ่ มตตา พระพทุ ธศาสนา หรือการพัฒนาจติ ตาม  รคู้ วามหมายของสตสิ ัมปชญั ญะ แนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถือตามท่ี สมาธแิ ละปญั ญา กำหนด  รวู้ ธิ ปี ฏิบัติและประโยชนข์ อง การบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญา  ฝกึ การยนื การเดนิ การนัง่ และ การนอน อย่างมสี ติ  ฝกึ การกำหนดรู้ความร้สู กึ เมื่อตา เห็นรปู หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้น ลม้ิ รส กายสัมผสั สงิ่ ท่มี ากระทบใจ รับรธู้ รรมารมณ์  ฝึกใหม้ สี มาธใิ นการฟงั การอา่ น การคดิ การถามและการเขียน

๑๖ ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ๗. ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมของศาสนาที่ ◆ โอวาท ๓ (ตามสาระการเรียนรู้ขอ้ ตนนับถอื เพอ่ื การพฒั นาตนเองและ ๕) สง่ิ แวดล้อม ป.๖ ๑. วิเคราะหค์ วามสำคญั ของพระพุทธ- ◆ พระพทุ ธศาสนาในฐานะเป็นศาสนา ศาสนาในฐานะเปน็ ศาสนาประจำชาติ ประจำชาติ เช่น เปน็ เอกลักษณ์ของ หรือความสำคัญของศาสนาท่ตี นนบั ถอื ชาตไิ ทย เปน็ รากฐานทางวฒั นธรรม ไทย เปน็ ศูนย์รวมจติ ใจ เปน็ มรดก ทางวัฒนธรรมไทย และเป็นหลัก ในการพัฒนาชาติไทย ๒. สรุปพุทธประวตั ติ ัง้ แตป่ ลงอายุสงั ขาร  สรปุ พทุ ธประวตั ิ (ทบทวน) จนถึงสงั เวชนยี สถาน หรือประวัติศาสดาท่ี  ปลงอายสุ ังขาร ตนนบั ถอื ตามทก่ี ำหนด  ปจั ฉมิ สาวก  ปรนิ พิ พาน ๓. เห็นคณุ คา่ และประพฤตติ นตาม  การถวายพระเพลงิ  แจกพระบรมสารรี กิ ธาตุ  สังเวชนยี สถาน ๔  พระราธะ แบบอย่างการดำเนินชวี ติ และข้อคิดจาก  ทีฆตี โิ กสลชาดก ประวัตสิ าวก ชาดก/เรอื่ งเล่า และ  สัพพทาฐชิ าดก ศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามทก่ี ำหนด  พ่อขุนรามคำแหงมหาราช  สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้ากรม-พระปรมา ๔. วิเคราะหค์ วามสำคญั และเคารพ นชุ ติ ชโิ นรส พระรตั นตรยั ปฏบิ ตั ิตามไตรสกิ ขาและ ➢ พระรตั นตรยั หลกั ธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาท่ตี น o ศรทั ธา ๔ นับถอื ตามทกี่ ำหนด  พระพทุ ธ o พทุ ธกจิ ๕  พระธรรม o อริยสจั ๔ o หลกั กรรม  พระสงฆ์ ➢ ไตรสกิ ขา  ศีล สมาธิ ปญั ญา ➢ โอวาท ๓  ไม่ทำชวั่ o เบญจศลี o อบายมขุ ๖ o อกุศลมูล ๓  ทำความดี

๑๗ ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพกิ าร o เบญจธรรม o กศุ ลมลู ๓ o พละ ๔ o คารวะ ๖ o กตญั ญกู ตเวทีต่อพระมหากษัตริย์ o มงคล ๓๘ - มวี นิ ยั - การงานไมม่ ีโทษ - ไมป่ ระมาทในธรรม  ทำจติ ให้บรสิ ุทธ์ิ (บริหารจติ และเจรญิ ปัญญา) ➢ พุทธศาสนสภุ าษติ  สจเฺ จน กิตตฺ ึ ปปฺโปติ คนจะได้เกียรตดิ ้วยสัจจะ  ยถาวาที ตถาการี พูดเชน่ ไร ทำเช่นน้นั ๕. ช่ืนชมการทำความดขี องบคุ คลใน  ตวั อย่างการกระทำความดีของบุคคล ประเทศตามหลกั ศาสนา พรอ้ มทงั้ บอก ในประเทศ แนวปฏบิ ัตใิ นการดำเนนิ ชวี ิต ๖. เห็นคณุ ค่าและสวดมนตแ์ ผ่เมตตา และ  สวดมนตไ์ หวพ้ ระ สรรเสริญ บริหารจติ เจรญิ ปัญญา มสี ติทเ่ี ป็นพื้นฐาน คุณพระรัตนตรยั และแผ่เมตตา ของสมาธใิ นพระพทุ ธศาสนา หรือการ พฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนา  ร้คู วามหมายของสตสิ ัมปชัญญะ ท่ีตนนบั ถอื ตามที่กำหนด สมาธิและปัญญา  รวู้ ธิ ปี ฏบิ ตั แิ ละประโยชน์ของ การบริหารจติ และเจรญิ ปัญญา  ฝกึ การยนื การเดนิ การนั่ง และ การนอนอย่างมีสติ  ฝึกการกำหนดรคู้ วามรสู้ กึ เม่ือตาเห็น รูป หูฟังเสยี ง จมกู ดมกลิ่น ล้ินลมิ้ รส กายสมั ผสั ส่งิ ที่มากระทบ ใจ รับรู้ธรรมารมณ์ ◆ ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอา่ น การคดิ การถาม และการเขียน

๑๘ ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ๗. ปฏบิ ัตติ นตามหลักธรรมของศาสนา ◆ หลักธรรม : อรยิ สัจ ๔ หลกั กรรม ทต่ี นนับถือ เพือ่ แก้ปัญหาอบายมุขและ สง่ิ ◆ โอวาท ๓ : เบญจศีล – เบญจธรรม เสพตดิ อบายมุข ๖ อกศุ ลมูล ๓ กศุ ลมลู ๓ ๘. อธิบายหลักธรรมสำคญั ของศาสนาอื่นๆ ➢ หลกั ธรรมสำคญั ของศาสนาต่าง ๆ โดยสงั เขป ◆ พระพทุ ธศาสนา : อรยิ สจั ๔ โอวาท ๓ ฯลฯ ◆ ศาสนาอสิ ลาม : หลกั ศรัทธา หลกั ปฏบิ ตั ิ หลกั จรยิ ธรรม ◆ ครสิ ตศ์ าสนา : บัญญตั ิ ๑๐ ประการ ๙. อธิบายลักษณะสำคัญของศาสนพิธี ➢ ศาสนพิธขี องศาสนาตา่ ง ๆ พิธกี รรมของศาสนาอน่ื ๆ และปฏิบตั ติ นได้ ◆ พระพทุ ธศาสนา อยา่ งเหมาะสมเมอื่ ต้องเข้ารว่ มพธิ ี o ศาสนพธิ ีทเ่ี ป็นพุทธบญั ญตั ิ เช่น บรรพชา อปุ สมบท o ศาสนพิธที เ่ี กีย่ วเนื่องกบั พระพทุ ธศาสนา เช่น ทำบญุ พิธเี น่ืองใน วนั สำคญั ทางศาสนา o ศาสนาอสิ ลาม เช่น การละหมาด การถือศีลอด การบำเพญ็ ฮัจญ์ ฯลฯ o ครสิ ต์ศาสนา เช่น ศลี ลา้ งบาป ศีลอภยั บาป ศลี กำลัง ศีลมหาสนิท ฯลฯ o ศาสนาฮินดู เชน่ พธิ ศี ราทธ์ พธิ ีบชู า เทวดา ม.๑ ๑. อธบิ ายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หรอื  การสังคายนา ศาสนาท่ตี นนับถือสปู่ ระเทศไทย  การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ ประเทศไทย ๒. วเิ คราะห์ความสำคัญของ ➢ ความสำคญั ของพระพุทธศาสนาต่อ พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถือ ที่ สังคมไทยในฐานะเปน็ มีต่อสภาพแวดล้อมในสงั คมไทย รวมท้งั  ศาสนาประจำชาติ การพฒั นาตนและครอบครวั  สถาบันหลกั ของสังคมไทย

๑๙ ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร  สภาพแวดลอ้ มทก่ี วา้ งขวาง และ ครอบคลมุ สงั คมไทย ๓. วเิ คราะห์พทุ ธประวัตติ ัง้ แตป่ ระสตู ิ  การพฒั นาตนและครอบครัว จนถึงบำเพ็ญทกุ รกริ ยิ า หรือประวตั ิ  สรปุ และวเิ คราะห์ พทุ ธประวตั ิ ศาสดาทต่ี นนบั ถือตามทก่ี ำหนด  ประสูติ  เทวทูต ๔  การแสวงหาความรู้  การบำเพญ็ ทกุ รกริ ิยา ๔. วเิ คราะห์และประพฤตติ นตาม ➢ พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า แบบอยา่ งการดำเนินชีวติ และข้อคิดจาก  พระมหากัสสปะ ประวตั สิ าวก ชาดก/เรอ่ื งเลา่ และศาสนิก  พระอุบาลี ชนตวั อยา่ งตามทก่ี ำหนด  อนาถบณิ ฑกิ ะ  นางวิสาขา ➢ ชาดก  อัมพชาดก  ตติ ตริ ชาดก ๕. อธิบายพทุ ธคณุ และข้อธรรมสำคญั ใน ➢ พระรตั นตรัย กรอบอรยิ สจั ๔ หรือหลกั ธรรมของ  พทุ ธคุณ ๙ ศาสนาท่ีตนนับถอื ตามท่กี ำหนด เหน็ คุณค่าและนำไปพฒั นาแก้ปญั หาของ ➢ อริยสจั ๔ ตนเองและครอบครัว  ทกุ ข์ (ธรรมท่คี วรรู)้ o ขนั ธ์ ๕ - ธาตุ ๔  สมทุ ยั (ธรรมท่ีควรละ) o หลักกรรม - ความหมายและคุณคา่ o อบายมุข ๖  นโิ รธ (ธรรมทค่ี วรบรรล)ุ o สขุ ๒ (กายกิ , เจตสิก) o คหิ ิสุข  มรรค (ธรรมที่ควรเจรญิ ) o ไตรสิกขา o กรรมฐาน ๒ o ปธาน ๔ o โกศล ๓ o มงคล ๓๘ -ไมค่ บคนพาล

๒๐ ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพิการ - คบบัณฑิต - บชู าผคู้ วรบชู า ➢ พุทธศาสนสภุ าษิต  ยํ เว เสวติ ตาทโิ ส คบคนเช่นใดเป็นคนเชน่ นั้น  อตตฺ นา โจทยตตฺ านํ จงเตือนตน ดว้ ยตน  นสิ มฺม กรณํ เสยโฺ ย ใครค่ รวญกอ่ นทำจึงดี  ทรุ าวาสา ฆรา ทกุ ขฺ า เรือนที่ครองไมด่ ีนำทุกข์มาให้ ๖. เห็นคุณคา่ ของการพฒั นาจติ เพ่ือการ ➢ โยนโิ สมนสิการ เรียนรแู้ ละการดำเนินชวี ติ ดว้ ยวธิ คี ดิ แบบ  วธิ คี ิดแบบคณุ คา่ แท้ – คณุ คา่ เทียม โยนิโสมนสกิ ารคือวิธคี ดิ แบบคณุ คา่ แท้ –  วธิ คี ดิ แบบคุณ - โทษและทางออก คุณค่าเทียม และวิธีคดิ แบบคณุ – โทษ และทางออก หรือการพฒั นาจติ ตาม แนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถอื ๗. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจิตและ  สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา เจริญปญั ญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตาม  วธิ ีปฏบิ ตั ิและประโยชนข์ องการบริหารจิต แนวทางของศาสนาทตี่ นบั ถือตามที่ กำหนด และเจริญปัญญา การฝกึ บรหิ ารจติ และ เจรญิ ปัญญาตามหลกั สตปิ ฎั ฐานเน้น อานาปานสติ  นำวธิ กี ารบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาไปใช้ ในชีวิตประจำวนั ๘. วิเคราะหแ์ ละปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม  หลกั ธรรม (ตามสาระการเรียนรขู้ ้อ ๕) ทางศาสนาทตี่ นนับถือ ในการดำรงชวี ิต แบบพอเพียง และดูแลรักษาสง่ิ แวดล้อม ◆ ศาสนกิ ชนของศาสนาตา่ ง ๆ มกี าร เพอ่ื การอยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติสขุ ประพฤติปฏิบตั ติ นและวถิ ีการดำเนินชีวติ ๙. วิเคราะห์เหตุผลความจำเป็นทีท่ ุกคน แตกต่างกันตามหลกั ความเช่ือและคำสอน ต้องศึกษาเรียนรศู้ าสนาอ่ืนๆ ของศาสนาที่ตนนบั ถอื

ช้นั ตัวชว้ี ดั ๒๑ ๑๐. ปฏบิ ัตติ นตอ่ ศาสนิกชนอ่นื ใน สถานการณต์ า่ งๆไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ◆ การปฏบิ ตั อิ ย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอ่ืน ในสถานการณต์ า่ งๆ ๑๑. วเิ คราะหก์ ารกระทำของบุคคลทเ่ี ป็น ◆ ตัวอยา่ งบคุ คลในทอ้ งถิน่ หรอื ประเทศท่ี ปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งด้านศาสนสมั พันธ์ แบบอยา่ งด้านศาสนสมั พนั ธ์ และนำเสนอ หรือมผี ลงานดา้ นศาสนสมั พันธ์ แนวทางการปฏิบตั ิของตนเอง ม.๒ ๑. อธบิ ายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หรือ  การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเข้าส่ปู ระเทศ ศาสนาทต่ี นนับถือสู่ประเทศ เพอ่ื นบ้านและการนับถอื พระพทุ ธ -ศาสนา เพอื่ นบ้าน ของประเทศเพ่ือนบา้ นในปจั จุบนั ๒. วเิ คราะหค์ วามสำคัญของพระพทุ ธ-  ความสำคญั ของพระพุทธศาสนาท่ชี ว่ ย ศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถือทีช่ ่วย เสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศ เสริมสร้างความเข้าใจอนั ดกี ับประเทศ เพอ่ื นบา้ น เพอ่ื นบ้าน ๓. วิเคราะหค์ วามสำคัญของ ➢ ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อ พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ใน สังคมไทยในฐานะเป็น ฐานะทเ่ี ปน็ รากฐานของวัฒนธรรม  รากฐานของวฒั นธรรม เอกลกั ษณข์ องชาตแิ ละมรดกของชาติ  เอกลกั ษณ์และ มรดกของชาติ ๔. อภิปรายความสำคญั ของพระพทุ ธ -  ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับ ศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถือกับ การพฒั นาชมุ ชนและการจดั ระเบยี บสงั คม การพฒั นาชุมชนและการจัดระเบียบสงั คม ๕. วเิ คราะห์พทุ ธประวตั หิ รือประวตั ิ  สรุปและวเิ คราะห์ พทุ ธประวตั ิ ศาสดาของศาสนาทต่ี นนับถือตามที่  การผจญมาร กำหนด  การตรัสรู้ ๖. วิเคราะหแ์ ละประพฤตติ นตาม  การสง่ั สอน  พระสารีบตุ ร แบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ติ และขอ้ คิดจาก  พระโมคคลั ลานะ ประวตั สิ าวก ชาดก/เรอื่ งเล่าและ  นางขชุ ชุตตรา ศาสนิกชนตัวอย่างตามทกี่ ำหนด  พระเจ้าพิมพสิ าร  มติ ตวินทุกชาดก  ราโชวาทชาดก ๗. อธิบายโครงสรา้ ง และสาระสงั เขปของ  โครงสรา้ ง และสาระสังเขปของ พระไตรปฎิ ก หรือคมั ภรี ข์ องศาสนาทตี่ น พระวินัยปฎิ ก พระสุตตนั ตปฎิ ก นบั ถือ และพระอภธิ รรมปฎิ ก

๒๒ ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ ๘. อธบิ ายธรรมคุณ และขอ้ ธรรมสำคญั ใน ➢ พระรตั นตรัย กรอบอรยิ สัจ ๔ หรอื หลกั ธรรมของศาสนา  ธรรมคณุ ๖ ท่ีตนนับถือ ตามทกี่ ำหนด เหน็ คณุ ค่า และนำไปพัฒนา แกป้ ัญหาของชมุ ชนและ ➢ อริยสัจ ๔ สังคม  ทุกข์ (ธรรมทค่ี วรรู้) o ขันธ์ ๕ - อายตนะ  สมุทัย (ธรรมทค่ี วรละ) o หลักกรรม - สมบตั ิ ๔ - วบิ ัติ ๔ o อกุศลกรรมบถ ๑๐ o อบายมขุ ๖  นโิ รธ (ธรรมทค่ี วรบรรลุ) o สุข ๒ (สามสิ , นริ ามิส)  มรรค (ธรรมท่ีควรเจรญิ ) o บพุ พนมิ ติ ของมชั ฌิมาปฏปิ ทา o ดรณุ ธรรม ๖ o กลุ จริ ัฏฐติ ธิ รรม ๔ o กศุ ลกรรมบถ ๑๐ o สตปิ ฏั ฐาน ๔ o มงคล ๓๘ - ประพฤตธิ รรม - เวน้ จากความช่วั - เว้นจากการดืม่ นำ้ เมา ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษติ  กมมฺ ุนา วตตฺ ตี โลโก สัตว์โลกยอ่ มเปน็ ไปตามกรรม  กลฺยาณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปกํ ทำดไี ดด้ ี ทำชวั่ ไดช้ ัว่  สุโข ปญุ ญฺ สสฺ อุจจฺ โย การสงั่ สม บญุ นำสขุ มาให้  ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ ผูบ้ ชู าเขา ยอ่ มไดร้ ับการบชู า ตอบ ผ้ไู หวเ้ ขายอ่ มไดร้ ับการไหวต้ อบ

๒๓ ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพกิ าร ๙. เห็นคณุ คา่ ของการพฒั นาจิตเพอ่ื การ ➢ พัฒนาการเรียนรู้ดว้ ยวธิ คี ดิ แบบโยนโิ ส- เรยี นรแู้ ละดำเนนิ ชีวติ ดว้ ยวิธีคดิ แบบ มนสิการ ๒ วธิ ี คือ วิธคี ดิ แบบอบุ ายปลุก โยนิโสมนสิการคอื วธิ คี ดิ แบบอุบายปลกุ เร้าคุณธรรม และวธิ คี ดิ แบบอรรถธรรม เรา้ คณุ ธรรม และวธิ ีคดิ แบบอรรถธรรม สัมพนั ธ์ สมั พันธ์ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง ของศาสนาท่ตี นนับถือ ๑๐. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจติ และ  สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา เจริญปญั ญาด้วยอานาปานสติ หรอื ตาม  รู้และเขา้ ใจวธิ ปี ฏิบัตแิ ละประโยชน์ของ แนวทางของศาสนาทตี่ นนับถือ การบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญา  ฝึกการบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาตามหลกั สติปัฎฐาน เน้นอานาปานสติ  นำวิธีการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา ไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั ๑๑.วเิ คราะห์การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรม ➢ การปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรม (ตามสาระ ทางศาสนาทีต่ นนบั ถอื เพอ่ื การดำรงตน การเรยี นรู้ ขอ้ ๘.) อย่างเหมาะสมในกระแสความเปล่ยี นแปลง ของโลก และการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข ม. ๓ ๑. อธิบายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือ  การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ประเทศ ศาสนาท่ตี นนับถอื สู่ประเทศตา่ งๆ ทว่ั โลก ต่าง ๆ ท่ัวโลก และการนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาของประเทศเหล่านนั้ ในปัจจบุ นั ๒. วเิ คราะหค์ วามสำคญั ของ  ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะท่ี พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถือใน ช่วยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบสุข ฐานะทชี่ ว่ ยสร้างสรรค์อารยธรรม และ ให้แกโ่ ลก ความสงบสุขแก่โลก ๓. อภิปรายความสำคัญของ  สมั มนาพระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถือ เศรษฐกจิ พอเพยี งและการพฒั นาอยา่ ง กับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ ยัง่ ยืน (ทสี่ อดคล้องกับหลักธรรมในสาระ การพฒั นาอย่างยง่ั ยืน การเรียนรู้ ขอ้ ๖ ) ๔. วเิ คราะหพ์ ทุ ธประวัตจิ ากพระพทุ ธรูป  ศกึ ษาพทุ ธประวตั จิ ากพระพทุ ธรูปปาง ปางตา่ งๆ หรอื ประวตั ิศาสดาทต่ี นนับถอื ต่าง ๆ เช่น ตามทก่ี ำหนด o ปางมารวิชัย o ปางปฐมเทศนา

๒๔ ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ o ปางลลี า o ปางประจำวันเกิด  สรุปและวเิ คราะห์พทุ ธประวัติ  ปฐมเทศนา  โอวาทปาฏโิ มกข์ ๕. วเิ คราะหแ์ ละประพฤติตนตาม  พระอญั ญาโกณฑัญญะ แบบอย่างการดำเนินชีวติ และขอ้ คิดจาก  พระมหาปชาบดเี ถรี ประวัติสาวก ชาดก/เรอ่ื งเล่าและ  พระเขมาเถรี ศาสนิกชนตวั อย่าง ตามทก่ี ำหนด  พระเจา้ ปเสนทโิ กศล  นันทิวิสาลชาดก  สุวัณณหงั สชาดก ๖. อธบิ ายสงั ฆคณุ และขอ้ ธรรมสำคญั ใน ➢ พระรตั นตรยั กรอบอรยิ สจั ๔ หรือหลกั ธรรมของ  สังฆคณุ ๙ ศาสนาที่ตนนบั ถอื ตามทกี่ ำหนด ➢ อริยสจั ๔  ทุกข์ (ธรรมทคี่ วรรู้) o ขันธ์ ๕ -ไตรลกั ษณ์  สมทุ ัย (ธรรมทีค่ วรละ) o หลักกรรม -วฏั ฏะ ๓ -ปปัญจธรรม ๓ (ตณั หา มานะ ทิฎฐ)ิ  นโิ รธ (ธรรมทคี่ วรบรรลุ) o อตั ถะ ๓  มรรค (ธรรมท่คี วรเจริญ) o มรรคมีองค์ ๘ o ปญั ญา ๓ o สัปปุริสธรรม ๗ o บญุ กิริยาวตั ถุ ๑๐ o อบุ าสกธรรม ๗ o มงคล ๓๘ - มศี ิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟังธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษิต

๒๕ ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร  อตตฺ า หเว ชติ ํ เสยฺโย ชนะตนน่นั แลดีกวา่  ธมมฺ จารี สขุ ํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมยอ่ มอยู่เป็นสุข  ปมาโท มจจฺ โุ น ปทํ ความประมาทเปน็ ทางแหง่ ความตาย  สุสฺสูสํ ลภเต ปญฺญํ ผฟู้ ังดว้ ยดยี อ่ มได้ปญั ญา  เร่ืองนา่ รู้จากพระไตรปฎิ ก : พทุ ธ ปณิธาน ๔ ในมหาปรนิ ิพพานสูตร ๗. เหน็ คณุ ค่า และวเิ คราะห์การปฏบิ ัติตน  การปฏิบัติตนตามหลกั ธรรม (ตามสาระ ตามหลักธรรมในการพัฒนาตน การเรยี นรู้ ข้อ ๖.) เพ่ือเตรยี มพรอ้ มสำหรับการทำงาน และการมีครอบครัว ๘. เหน็ คณุ คา่ ของการพฒั นาจติ เพอ่ื การ  พฒั นาการเรียนร้ดู ว้ ยวธิ คี ดิ แบบ โยนิโสมนสกิ าร ๒ วธิ ี คอื วิธีคดิ แบบ เรยี นรู้และดำเนินชีวติ ดว้ ยวธิ ีคดิ แบบ อรยิ สจั และวธิ ีคดิ แบบสบื สาวเหตปุ จั จัย โยนโิ สมนสิการคือ วิธคี ิดแบบอรยิ สจั และ วธิ ีคิดแบบสบื สาวเหตุปจั จัย หรือ การพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตน นับถอื ๙. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจิตและ  สวดมนต์แปล และแผเ่ มตตา เจริญปญั ญาดว้ ยอานาปานสติ หรอื ตาม  รแู้ ละเข้าใจวิธปี ฏบิ ตั ิและประโยชนข์ องการ แนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถือ บริหารจติ และเจริญปัญญา  ฝกึ การบริหารจติ และเจรญิ ปัญญาตามหลัก สติปัฎฐานเนน้ อานาปานสติ  นำวิธีการบรหิ ารจติ และเจริญปัญญา ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ๑๐. วเิ คราะห์ความแตกต่างและยอมรบั  วิถกี ารดำเนนิ ชีวิตของศาสนกิ ชนศาสนา วิถกี ารดำเนินชวี ติ ของศาสนกิ ชนในศาสนา อืน่ ๆ อื่นๆ

ชั้น ตวั ชีว้ ดั ๒๖ ม.๔-ม.๖ ๑.วิเคราะหส์ ังคมชมพูทวีป และคติความ สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร เช่อื ทางศาสนาสมยั กอ่ นพระพทุ ธเจา้  ลกั ษณะของสังคมชมพูทวปี และคตคิ วาม หรอื สังคมสมัยของศาสดาท่ตี นนับถอื เชอ่ื ทางศาสนาสมัยกอ่ นพระพทุ ธเจา้ ๒. วเิ คราะห์ พระพทุ ธเจา้ ในฐานะเปน็  พระพทุ ธเจา้ ในฐานะเปน็ มนษุ ย์ ผฝู้ ึกตนได้ มนุษย์ผู้ฝกึ ตนไดอ้ ย่างสูงสุดในการตรัสรู้ อยา่ งสงู สดุ (การตรัสรู)้ การกอ่ ตง้ั วิธกี ารสอนและการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา หรือวเิ คราะหป์ ระวตั ิ  การกอ่ ตัง้ พระพุทธศาสนา วิธกี ารสอน ศาสดาทีต่ นนับถอื ตามทก่ี ำหนด และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนว พทุ ธจริยา ๓.วิเคราะหพ์ ทุ ธประวตั ดิ ้านการบรหิ าร  พทุ ธประวตั ิดา้ นการบรหิ ารและการธำรง และการธำรงรักษาศาสนา หรอื วเิ คราะห์ รักษาพระพทุ ธศาสนา ประวัติศาสดาทต่ี นนับถือ ตามที่กำหนด ๔. วิเคราะห์ข้อปฏิบตั ทิ างสายกลางใน  พระพทุ ธศาสนามที ฤษฎแี ละวิธกี ารท่เี ปน็ พระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคิดของศาสนาที่ สากลและมีขอ้ ปฏิบัติทย่ี ึดทางสายกลาง ตนนับถอื ตามทีก่ ำหนด ๕. วเิ คราะหก์ ารพัฒนาศรัทธา และปัญญาที่  พระพทุ ธศาสนาเน้นการพฒั นาศรทั ธาและ ถูกตอ้ งในพระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคดิ ของ ปญั ญาท่ีถูกตอ้ ง ศาสนาท่ตี นนับถอื ตามที่กำหนด ๖. วเิ คราะห์ลกั ษณะประชาธปิ ไตยใน  ลักษณะประชาธปิ ไตยในพระพุทธ- พระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคิดของศาสนาที่ ศาสนา ตนนบั ถอื ตามทกี่ ำหนด ๗. วิเคราะห์หลกั การของพระพุทธศาสนา  หลักการของพระพุทธศาสนากบั หลัก กับหลกั วทิ ยาศาสตร์ หรอื แนวคดิ ของ วิทยาศาสตร์ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามท่ีกำหนด  การคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและ การคดิ แบบวิทยาศาสตร์ ๘. วิเคราะหก์ ารฝกึ ฝนและพัฒนาตนเอง  พระพทุ ธศาสนาเน้นการฝึกหดั อบรมตน การพ่งึ ตนเอง และการมงุ่ อิสรภาพใน การพ่งึ ตนเอง และการม่งุ อสิ รภาพ พระพทุ ธศาสนา หรอื แนวคิดของศาสนาที่ ตนนบั ถือตามทีก่ ำหนด ๙. วิเคราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาวา่  พระพุทธศาสนาเป็นศาสตรแ์ ห่งการศกึ ษา เป็นศาสตร์แห่งการศึกษาซงึ่ เน้น  พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสมั พนั ธ์ ความสมั พนั ธข์ องเหตปุ จั จัยกบั ของเหตุปัจจยั และวิธกี ารแก้ปญั หา

๒๗ ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร วธิ ีการแก้ปัญหา หรือแนวคดิ ของศาสนาที่  พระพทุ ธศาสนาฝกึ ตนไมใ่ หป้ ระมาท ตนนบั ถือตามท่กี ำหนด  พระพุทธศาสนามงุ่ ประโยชน์สุขและ ๑๐. วิเคราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาในการฝึก ตนไม่ใหป้ ระมาท ม่งุ ประโยชนแ์ ละ สนั ตภิ าพแก่บคุ คล สังคมและโลก สนั ติภาพบคุ คล สังคมและโลก หรอื แนวคิดของศาสนาทต่ี นนบั ถอื ตามที่  พระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกิจ กำหนด พอเพยี งและการพฒั นาแบบยงั่ ยนื ๑๑. วิเคราะหพ์ ระพุทธศาสนากับปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา ประเทศแบบย่งั ยนื หรอื แนวคิดของ ศาสนาที่ตนนบั ถือตามทกี่ ำหนด ๑๒. วิเคราะหค์ วามสำคญั ของ  ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนากบั พระพทุ ธศาสนาเกยี่ วกบั การศกึ ษา การศกึ ษาท่สี มบรู ณ์ ทีส่ มบูรณ์ การเมอื งและสันตภิ าพ  ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนากับ การเมือง หรอื แนวคดิ ของศาสนาทต่ี นนบั ถือ  ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนากับ สันติภาพ ตามทกี่ ำหนด ๑๓. วิเคราะหห์ ลักธรรมในกรอบ ➢ พระรตั นตรยั อริยสจั ๔ หรือหลักคำสอนของศาสนา  วเิ คราะห์ความหมายและคณุ ค่าของ ทต่ี นนับถือ พุทธะ ธรรมะ สังฆะ ➢ อริยสัจ ๔  ทกุ ข์ (ธรรมทค่ี วรรู้) o ขันธ์ ๕ - นามรูป - โลกธรรม ๘ - จิต, เจตสกิ  สมุทัย (ธรรมทค่ี วรละ) o หลักกรรม - นิยาม ๕ - กรรมนยิ าม ( กรรม ๑๒) - ธรรมนิยาม(ปฏิจจสมปุ บาท) o วิตก ๓ o มิจฉาวณชิ ชา ๕

๒๘ ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร o นวิ รณ์ ๕ o อุปาทาน ๔  นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรลุ) o ภาวนา ๔ o วมิ ตุ ติ ๕ o นพิ พาน  มรรค (ธรรมทคี่ วรเจรญิ ) o พระสทั ธรรม ๓ o ปัญญาวุฒธิ รรม ๔ o พละ ๕ o อบุ าสกธรรม ๕ o อปรหิ านิยธรรม ๗ o ปาปณิกธรรม ๓ o ทิฏฐธัมมิกตั ถสงั วัตตนกิ ธรรม ๔ o โภคอาทิยะ ๕ o อรยิ วฑั ฒิ ๕ o อธิปไตย ๓ o สาราณียธรรม ๖ o ทศพธิ ราชธรรม ๑๐ o วิปสั สนาญาณ ๙ o มงคล ๓๘ - สงเคราะหบ์ ตุ ร - สงเคราะหภ์ รรยา - สันโดษ - ถกู โลกธรรมจติ ไม่หวนั่ ไหว - จติ ไมเ่ ศร้าโศก - จติ ไม่มัวหมอง - จติ เกษม - ความเพียรเผากเิ ลส - ประพฤตพิ รหมจรรย์ - เหน็ อริยสัจ - บรรลุนพิ พาน ➢ พุทธศาสนสุภาษิต  จติ ฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จติ ทฝ่ี กึ ดีแลว้ นำสขุ มาให้

๒๙ ช้ัน ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร  นอจุ จฺ าวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ บณั ฑิตย่อมไมแ่ สดงอาการขน้ึ ๆ ลง ๆ  นตฺถิ โลเก อนนิ ทฺ โิ ต คนทไ่ี ม่ถกู นินทา ไมม่ ีในโลก  โกธํ ฆตวฺ า สุขํ เสติ ฆ่าความโกรธได้ย่อมอยเู่ ป็นสุข  ปฏริ ูปการี ธรุ วา อฎุ ฐฺ าตา วนิ ทฺ เต ธนํ คนขยนั เอาการเอางาน กระทำ เหมาะสม ย่อมหาทรพั ยไ์ ด้  วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นปิ ฺปทา เกิดเป็นคนควรจะพยายามจนกวา่ จะ ประสบความสำเรจ็  สนฺตฎฺฐี ปรมํ ธนํ ความสนั โดษเปน็ ทรัพยอ์ ยา่ งย่งิ ๑๔. วิเคราะห์ขอ้ คดิ และแบบอยา่ ง  อณิ าทานํ ทุกฺขํ โลเก การดำเนินชวี ติ จากประวตั ิสาวก ชาดก เรอ่ื งเล่า และศาสนกิ ชนตวั อย่าง ตามท่ี การเป็นหนเ้ี ป็นทุกขใ์ นโลก กำหนด  ราชา มขุ ํ มนสุ สฺ านํ พระราชาเปน็ ประมขุ ของประชาชน  สติ โลกสฺมิ ชาคโร สตเิ ปน็ เคร่อื งตน่ื ในโลก  นตฺถิ สนตฺ ิปรํ สขุ ํ สขุ อนื่ ยิ่งกวา่ ความสงบไม่มี  นิพพฺ านํ ปรมํ สุขํ นพิ พานเป็นสขุ อย่างยง่ิ ➢ พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิก  พระอัสสชิ  พระกีสาโคตมีเถรี  พระนางมลั ลกิ า  หมอชวี ก โกมารภจั  พระอนุรทุ ธะ  พระองคุลิมาล  พระธมั มทนิ นาเถรี  จติ ตคหบดี  พระอานนท์

๓๐ ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ  พระปฏาจาราเถรี  จฬู สภุ ัททา  สุมนมาลาการ ➢ ชาดก  เวสสนั ดรชาดก  มโหสธชาดก  มหาชนกชาดก ➢ ชาวพุทธตัวอยา่ ง  พระนาคเสน - พระยามิลินท์  สมเด็จพระวันรตั (เฮง เขมจาร)ี  พระอาจารยม์ ั่น ภรู ิทตฺโต  สชุ พี ปญุ ญานภุ าพ  สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช  พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกข)ุ  พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปัญญานันท ภิกขุ)  ดร.เอ็มเบดการ์  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั  พระโพธญิ าณเถร (ชา สุภทโฺ ท)  พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต)  อนาคาริก ธรรมปาละ ๑๕. วเิ คราะห์คุณค่าและความสำคัญของ  วธิ ีการศกึ ษาและค้นคว้าพระไตรปิฏก และ การสงั คายนา พระไตรปฎิ ก หรอื คมั ภรี ์ คัมภรี ์ของศาสนาอ่ืน ๆ การสงั คายนาและ ของศาสนาทต่ี นนับถอื และการเผยแผ่ การเผยแผ่พระไตรปิฏก  ความสำคญั และคุณค่าของพระไตรปฏิ ก ๑๖. เชอื่ มั่นตอ่ ผลของการทำความดี ความ  ตวั อย่างผลทีเ่ กิดจากการทำความดี ชัว่ สามารถวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทตี่ ้อง ความชว่ั เผชญิ และตัดสินใจเลอื กดำเนนิ การหรือ  โยนโิ สมนสิการดว้ ยวธิ คี ิดแบบอรยิ สัจ ปฏิบัติตนไดอ้ ย่างมีเหตผุ ลถูกต้องตาม  หลักธรรมตามสาระการเรียนรขู้ อ้ ๑๓ หลกั ธรรม จรยิ ธรรม และกำหนด เปา้ หมาย บทบาทการดำเนินชวี ิตเพอ่ื การ อยรู่ ่วมกันอยา่ งสนั ติสุข และอยูร่ ่วมกนั เป็นชาตอิ ย่างสมานฉันท์

๓๑ ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ๑๗. อธิบายประวตั ิศาสดาของศาสนาอื่นๆ ◆ ประวตั ิพระพุทธเจา้ มฮุ มั มดั พระเยซู โดยสังเขป ๑๘.ตระหนกั ในคณุ คา่ และความสำคญั ของ ◆ คุณคา่ และความสำคญั ของคา่ นยิ มและ ค่านยิ ม จริยธรรมทเี่ ป็นตัวกำหนดความ จริยธรรม เชื่อและพฤตกิ รรมที่แตกต่างกันของศา ◆ การขจดั ความขัดแยง้ เพอ่ื อย่รู ว่ มกันอยา่ ง สนิกชนศาสนาตา่ งๆ เพอื่ ขจดั ความขดั แย้ง สันติสุข และอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมอย่างสนั ติสุข ๑๙. เหน็ คณุ ค่า เชือ่ มั่น และมุ่งมนั่ พฒั นา  พฒั นาการเรียนรู้ดว้ ยวิธีคดิ แบบโยนิโส ชีวิตดว้ ยการพัฒนาจติ และพฒั นาการ มนสกิ าร ๑๐ วธิ ี (เน้น วธิ คี ดิ แบบแยกแยะ เรยี นรูด้ ว้ ยวธิ คี ิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร ส่วนประกอบ แบบสามัญญลักษณะ หรอื การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนา แบบเป็นอยู่ในขณะปัจจุบัน และแบบ ท่ีตนนบั ถือ วิภัชชวาท ) ๑) วิธคี ดิ แบบสืบสาวเหตุปจั จัย ๒๐. สวดมนต์ แผ่เมตตา และบรหิ ารจติ ๒) วิธคี ิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ และเจรญิ ปญั ญาตามหลกั สติปัฏฐาน หรือ ๓) วธิ คี ดิ แบบสามัญลกั ษณะ ตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนับถอื ๔) วิธคี ดิ แบบอรยิ สัจ ๕) วธิ คี ดิ แบบอรรถธรรมสัมพนั ธ์ ๒๑. วิเคราะหห์ ลักธรรมสำคัญในการอยู่ ๖) วธิ คี ดิ แบบคุณค่าแท้- คุณคา่ เทยี ม รว่ มกันอยา่ งสันติสุขของศาสนาอนื่ ๆ และ ๗) วิธคี ดิ แบบคุณ-โทษ และทางออก ๘) วธิ ีคดิ แบบอุบาย ปลกุ เรา้ คุณธรรม ๙) วิธคี ดิ แบบเป็นอยู่ในขณะปจั จุบัน ๑๐) วิธคี ดิ แบบวิภัชชวาท ➢ สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา รู้และเข้าใจวิธีปฏบิ ตั ิและประโยชนข์ องการ บริหารจติ และเจริญปญั ญา  ฝกึ การบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาตาม หลักสติปัฎฐาน  นำวธิ กี ารบริหารจิตและเจริญปัญญา ไปใช้ในการพฒั นาการเรยี นรู้ คณุ ภาพ ชีวติ และสงั คม ◆ หลักธรรมสำคัญในการอย่รู ว่ มกันอยา่ ง สนั ตสิ ุข

๓๒ ชนั้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ชกั ชวน สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหบ้ ุคคลอื่นเห็น o หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนา เชน่ ความสำคัญของการทำความดี ตอ่ กัน สาราณียธรรม ๖ อธิปไตย ๓ มิจฉาวณิชชา ๕ อริยวฑั ฆิ ๕ โภคอาทยิ ะ ๕ ◆ คริสต์ศาสนา ได้แก่ บญั ญัติ ๑๐ ประการ (เฉพาะทีเ่ ก่ียวขอ้ ง) ◆ ศาสนาอสิ ลาม ไดแ้ ก่ หลกั จริยธรรม (เฉพาะทเี่ ก่ยี วขอ้ ง) ๒๒. เสนอแนวทางการจดั กิจกรรม ความ ◆ สภาพปญั หาในชุมชน และสังคม ร่วมมือของทุกศาสนาในการแก้ปญั หาและ พัฒนาสงั คม สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนกั และปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๑ ๑. บำเพ็ญประโยชน์ต่อวดั หรอื ศาสน ➢ การบำเพ็ญประโยชน์ตอ่ วดั หรอื ศาสน สถานของศาสนาที่ตนนับถอื สถาน  การพฒั นาทำความสะอาด  การบริจาค  การรว่ มกจิ กรรมทางศาสนา ๒. แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ หรือแสดงตน ➢ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ เปน็ ศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ  ขั้นเตรียมการ  ข้นั พธิ ีการ

๓๓ ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ ๓. ปฏบิ ตั ิตนในศาสนพธิ ี พธิ กี รรม และวนั ➢ ประวัติโดยสังเขปของวันสำคญั ทาง สำคัญทางศาสนา ตามทก่ี ำหนดได้ถูกต้อง พระพทุ ธศาสนา  วนั มาฆบชู า  วันวสิ าขบูชา  วนั อาสาฬหบูชา  วนั อัฏฐมีบูชา ➢ การบูชาพระรัตนตรยั ป.๒ ๑. ปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมตอ่ สาวกของ ➢ การฝกึ ปฏบิ ัตมิ รรยาทชาวพุทธ ศาสนาทีต่ นนบั ถือ ตามท่ีกำหนดได้ถกู ต้อง  การพนมมอื  การไหว้  การกราบ  การนั่ง  การยนื การเดนิ ๒. ปฏิบัติตนในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม และ  การเข้ารว่ มกจิ กรรมและพิธีกรรม ที่ วันสำคัญทางศาสนา ตามทก่ี ำหนดได้ เก่ียวเนือ่ งกับวนั สำคัญทางพทุ ธศาสนา ถกู ตอ้ ง  ระเบยี บพิธกี ารบชู าพระรตั นตรยั  การทำบญุ ตักบาตร ป.๓ ๑. ปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ สาวก ➢ ฝึกปฏบิ ตั มิ รรยาทชาวพทุ ธ ศาสนสถาน ศาสนวตั ถขุ องศาสนาทต่ี นนับ  การลกุ ขึ้นยนื รบั ถอื ตามทก่ี ำหนดไดถ้ กู ตอ้ ง  การตอ้ นรับ  การรบั – ส่งสิ่งของแก่พระภิกษุ  มรรยาทในการสนทนา  การสำรวมกริ ิยามารยาท การแตง่ กายทเ่ี หมาะสมเมอ่ื  อยใู่ นวดั และพทุ ธสถาน  การดแู ลรักษาศาสนวตั ถแุ ละ ศาสนสถาน ๒. เห็นคณุ คา่ และปฏบิ ตั ิตนในศาสนพธิ ี  การอาราธนาศีล พธิ ีกรรม และวันสำคญั ทางศาสนา ตามที่  การสมาทานศลี กำหนดได้ถกู ตอ้ ง  เคร่อื งประกอบโต๊ะหมูบ่ ูชา การจดั โต๊ะ หมบู่ ูชา

๓๔ ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ๓. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตน ➢ ความเปน็ มาของการแสดงตนเป็น เป็นศาสนกิ ชนของศาสนาทตี่ นนบั ถือ พุทธมามกะ ➢ การแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ  ข้ันเตรียมการ  ข้ันพธิ ีการ ป.๔ ๑. อภิปรายความสำคญั และมสี ว่ นรว่ มใน  ความรู้เบ้อื งตน้ และความสำคญั ของ การบำรงุ รักษาศาสนสถานของศาสนาท่ี ศาสนสถาน ตนนบั ถอื  การแสดงความเคารพตอ่ ศาสนสถาน  การบำรุงรกั ษาศาสนสถาน ๒. มีมรรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนทีด่ ี  การปฏิบัตติ นทีเ่ หมาะสมต่อพระภิกษุ ตามทกี่ ำหนด  การยืน การเดิน และการน่งั ท่ีเหมาะสม ในโอกาสตา่ ง ๆ ๓. ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรมและวัน  การอาราธนาศีล สำคญั ทางศาสนา ตามทก่ี ำหนดได้ถกู ต้อง  การอาราธนาธรรม  การอาราธนาพระปรติ ร  ระเบียบพิธแี ละการปฏบิ ตั ิตนในวันธรรม สวนะ ป.๕ ๑. จดั พธิ กี รรมตามศาสนาที่ตนนับถอื  การจัดพธิ กี รรมที่เรยี บง่าย ประหยดั อย่างเรียบง่าย มีประโยชน์ และปฏิบตั ติ น มปี ระโยชน์ และถูกตอ้ งตามหลักทาง ถกู ต้อง ศาสนาทต่ี นนับถือ ๒. ปฏิบตั ิตนในศาสนพธิ ี พธิ กี รรม และวัน  การมีส่วนรว่ มในการจัดเตรียมสถานที่ สำคญั ทางศาสนา ตามทกี่ ำหนด และ ประกอบศาสนพธิ ี พธิ กี รรมทางศาสนา อภปิ รายประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการเข้าร่วม  พธิ ีถวายสังฆทาน เคร่อื งสังฆทาน กิจกรรม  ระเบยี บพิธีในการทำบญุ งานมงคล  ประโยชน์ของ การเขา้ ร่วมศาสนพธิ ี พธิ กี รรมทางศาสนา หรอื กจิ กรรม ในวันสำคัญทางศาสนา ๓. มมี รรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนที่ดี  การกราบพระรตั นตรยั ตามที่กำหนด  การไหวบ้ ดิ า มารดา คร/ู อาจารย์ ผู้ทเี่ คารพนบั ถอื  การกราบศพ

๓๕ ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๖ ๑. อธบิ ายความรูเ้ กี่ยวกบั สถานท่ตี ่างๆ  ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ยี วกบั สถานทตี่ ่าง ๆ ในศาสนสถาน และปฏบิ ัตติ นไดอ้ ยา่ ง ภายในวัด เชน่ เขตพทุ ธาวาส สังฆาวาส เหมาะสม  การปฏบิ ัติตนทีเ่ หมาะสมภายในวดั ๒. มมี รรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี  การถวายของแก่พระภกิ ษุ ตามทก่ี ำหนด  การปฏิบัตติ นในขณะฟงั ธรรม  การปฏบิ ัตติ นตามแนวทางของ พุทธศาสนกิ ชน เพื่อประโยชน์ตอ่ ศาสนา ๓. อธบิ ายประโยชนข์ องการเข้ารว่ มใน  ทบทวนการอาราธนาศลี อาราธนา ศาสนพิธี พธิ กี รรม และกิจกรรมใน ธรรม และอาราธนาพระปรติ ร วันสำคญั ทางศาสนา ตามท่กี ำหนด และ ปฏบิ ัตติ นได้ถูกตอ้ ง  พิธีทอดผา้ ป่า  พธิ ีทอดกฐนิ  ระเบยี บพธิ ีในการทำบญุ งานอวมงคล  การปฏบิ ัติตนที่ถกู ตอ้ งในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม และวนั สำคัญทางศาสนา เชน่ วนั มาฆบูชา วันวิสาขบชู า วันอฐั มีบูชา วนั อาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะ  ประโยชน์ของการเข้าร่วมในศาสนพธิ ี/ พธิ ีกรรม และวันสำคญั ทางศาสนา ๔. แสดงตนเปน็ พุทธมามกะ หรือแสดงตน ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ เปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนาที่ตนนบั ถือ ° ขน้ั เตรียมการ ° ขัน้ พิธกี าร ม.๑ ๑. บำเพญ็ ประโยชน์ต่อศาสนสถานของ  การบำเพญ็ ประโยชน์ และ ศาสนาทีต่ นนับถือ การบำรุงรักษาวดั ๒. อธบิ ายจรยิ วตั รของสาวกเพ่ือเปน็  วถิ ีชวี ิตของพระภกิ ษุ แบบอยา่ งในการประพฤตปิ ฏิบตั ิ และ  บทบาทของพระภกิ ษุในการเผยแผ่ ปฏิบัตติ นอยา่ งเหมาะสมตอ่ สาวกของ พระพทุ ธศาสนา เชน่ การแสดงธรรม ศาสนาที่ตนนบั ถอื ปาฐกถาธรรม การประพฤตติ นให้เปน็ แบบอยา่ ง  การเข้าพบพระภกิ ษุ  การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพ

๓๖ ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร พระรตั นตรัย การฟังเจรญิ พระพทุ ธมนต์ การฟงั สวด พระอภิธรรม การฟงั พระธรรมเทศนา ๓. ปฏบิ ัติตนอย่างเหมาะสมตอ่ บุคคลตา่ งๆ  ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อเพอ่ื นตาม ตามหลกั ศาสนาทตี่ นนบั ถอื ตามที่ หลกั พระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนบั กำหนด ถือ ๔. จัดพธิ กี รรม และปฏบิ ตั ิตนใน  การจดั โตะ๊ หมบู่ ูชา แบบ หม่๔ู หมู่ ๕ หมู่ ศาสนพธิ ี พธิ กี รรมไดถ้ ูกต้อง ๗ หมู๙่  การจดุ ธูปเทยี น การจดั เครอื่ งประกอบ โตะ๊ หมู่บชู า  คำอาราธนาตา่ งๆ ๕. อธิบายประวตั ิ ความสำคญั และ  ประวตั แิ ละความสำคัญของวนั ธรรม ปฏบิ ตั ติ นในวันสำคัญทางศาสนา สวนะ วันเข้าพรรษา วนั ออกพรรษา ที่ตนนับถอื ตามทีก่ ำหนด ไดถ้ กู ตอ้ ง วันเทโวโรหณะ ม.๒  ระเบยี บพธิ ี พธิ เี วยี นเทยี น การปฏบิ ัตติ น ในวันมาฆบูชา วันวสิ าขบูชา วันอัฏฐมี บชู า วนั อาสาฬหบชู า วันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคัญ ๑. ปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมต่อบคุ คล  การเปน็ ลกู ที่ดี ตามหลักทศิ เบือ้ งหนา้ ใน ตา่ ง ๆ ตามหลักศาสนาทตี่ นนบั ถอื ตามท่ี ทศิ ๖ กำหนด ๒. มมี รรยาทของความเปน็ ศาสนกิ ชนท่ดี ี  การตอ้ นรับ (ปฏิสันถาร) ตามทกี่ ำหนด  มรรยาทของผูเ้ ปน็ แขก  ฝึกปฏบิ ัตริ ะเบียบพธิ ี ปฏบิ ัติต่อพระภกิ ษุ การยนื การใหท้ ีน่ ัง่ การเดนิ สวน การสนทนา การรับสิ่งของ  การแต่งกายไปวัด การแต่งกายไปงาน ๓. วเิ คราะห์คุณค่าของศาสนพิธี และ มงคล งานอวมงคล  การทำบุญตักบาตร ปฏิบตั ิตนไดถ้ ูกต้อง  การถวายภัตตาหารสงิ่ ของท่ีควรถวาย และสิ่งของตอ้ งห้ามสำหรบั พระภกิ ษุ

๓๗ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพกิ าร  การถวายสงั ฆทาน เครอื่ งสงั ฆทาน  การถวายผ้าอาบน้ำฝน  การจดั เคร่ืองไทยธรรม เครอ่ื งไทยทาน  การกรวดนำ้  การทอดกฐิน การทอดผา้ ปา่ ๔. อธบิ ายคำสอนท่ีเกี่ยวเน่อื งกับ  หลักธรรมเบอ้ื งต้นทีเ่ ก่ยี วเนอื่ งใน วันสำคญั ทางศาสนา และปฏบิ ัติตน วนั มาฆบูชา วันวิสาขบชู า ไดถ้ กู ต้อง วันอัฏฐมีบชู า วันอาสาฬหบูชา  วันธรรมสวนะและเทศกาลสำคญั  ระเบยี บพิธแี ละการปฏบิ ัตติ น ในวนั ธรรมสวนะ วนั เขา้ พรรษา วนั ออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ ๕. อธบิ ายความแตกต่างของศาสนพิธี  ศาสนพิธ/ี พิธีกรรม แนวปฏิบัตขิ อง พิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติของศาสนาอ่ืน ศาสนาอน่ื ๆ ๆ เพอ่ื นำไปสู่การยอมรบั และความเข้าใจ ซ่งึ กนั และกนั ม.๓ ๑. วเิ คราะห์หน้าทีแ่ ละบทบาทของสาวก  หนา้ ทข่ี องพระภกิ ษใุ นการปฏบิ ัติ และปฏบิ ัตติ นต่อสาวก ตามที่กำหนดได้ ตามหลักพระธรรมวินัย และจรยิ วัตร ถกู ตอ้ ง อยา่ งเหมาะสม  การปฏิบตั ิตนต่อพระภกิ ษใุ นงาน ศาสนพิธที ่บี ้าน การสนทนา การแตง่ กาย มรรยาทการพดู กบั พระภกิ ษุตามฐานะ ๒. ปฏบิ ตั ติ นอย่างเหมาะสมต่อบุคคล  การเป็นศิษยท์ ีด่ ี ตามหลกั ทิศเบ้อื งขวา ใน ต่าง ๆ ตามหลกั ศาสนา ตามท่ีกำหนด ทิศ ๖ ของพระพุทธศาสนา ๓. ปฏิบัตหิ นา้ ทีข่ องศาสนิกชนท่ดี ี  การปฏบิ ตั หิ น้าท่ีชาวพทุ ธตามพุทธ ปณิธาน ๔ ในมหาปรนิ พิ พานสูตร ๔. ปฏิบตั ิตนในศาสนพธิ พี ิธกี รรมไดถ้ กู ตอ้ ง  พิธีทำบญุ งานมงคล งานอวมงคล  การนมิ นตพ์ ระภิกษุ การเตรยี มทต่ี ั้ง พระพทุ ธรปู และเครือ่ งบชู า การวงดา้ ย

ชน้ั ตัวชวี้ ดั ๓๘ ๕. อธบิ ายประวตั วิ นั สำคัญทางศาสนา สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ตามท่ีกำหนดและปฏบิ ัติตนไดถ้ ูกตอ้ ง สายสิญจน์ การปูลาดอาสนะ การเตรยี ม ๖. แสดงตนเปน็ พุทธมามกะ หรอื เครื่องรับรอง การจดุ ธปู เทยี น แสดงตนเปน็ ศาสนกิ ชนของศาสนา  ข้อปฏิบตั ิในวันเลี้ยงพระ การถวายขา้ ว ทต่ี นนบั ถือ พระพทุ ธ การถวายไทยธรรม การกรวดนำ้ ➢ ประวตั ิวันสำคญั ทางพระพุทธศาสนาใน ประเทศไทย  วันวสิ าขบชู า (วันสำคญั สากล)  วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ ➢ หลักปฏิบตั ติ น : การฟังพระธรรม เทศนา การแตง่ กายในการประกอบ ศาสนพธิ ีทวี่ ดั การงดเวน้ อบายมุข ➢ การประพฤตปิ ฏิบตั ใิ นวันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคญั ➢ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ  ขั้นเตรยี มการ  ข้ันพธิ กี าร ๗. นำเสนอแนวทางในการธำรงรักษา  การศกึ ษาเรยี นรเู้ รื่ององคป์ ระกอบของ ศาสนาท่ีตนนับถือ พระพทุ ธศาสนา นำไปปฏบิ ตั ิและเผย แผต่ ามโอกาส ม.๔-ม.๖ ๑. ปฏบิ ตั ติ นเป็นศาสนกิ ชนทีด่ ตี ่อสาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบข้าง  การศกึ ษาการรวมตวั ขององคก์ ร ชาวพทุ ธ  การปลูกจติ สำนกึ ในดา้ นการบำรงุ รักษา วดั และพทุ ธสถานใหเ้ กดิ ประโยชน์ ➢ ปฏิบตั ติ นเป็นชาวพทุ ธทด่ี ตี อ่ พระภกิ ษุ  การเขา้ ใจในกิจของพระภิกษุ เช่น การศกึ ษา การปฏิบตั ธิ รรม และ การเป็นนกั บวชทดี่ ี  คณุ สมบัตทิ ายกและปฏิคาหก  หนา้ ทแี่ ละบทบาทของพระภกิ ษุ ใน ฐานะพระนักเทศก์ พระธรรมทตู พระธรรมจารกิ พระ

๓๙ ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพิการ วทิ ยากร พระวปิ ัสสนาจารย์ และ พระนกั พัฒนา  การปกปอ้ งคุม้ ครอง พระพทุ ธศาสนาของพทุ ธบริษัทใน สงั คมไทย  การปฏิบตั ิตนตอ่ พระภกิ ษทุ างกาย วาจา และใจ ทปี่ ระกอบด้วย เมตตา  การปฏิสนั ถารที่เหมาะสมตอ่ พระภิกษุ ในโอกาสตา่ ง ๆ ➢ ปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกที่ดขี องครอบครัว และสงั คม  การรกั ษาศลี ๘  การเขา้ รว่ มกจิ กรรมและเปน็ สมาชกิ ขององคก์ รชาวพุทธ  การเปน็ ชาวพทุ ธท่ดี ี ตามหลกั ทิศ เบ้ืองบน ในทศิ ๖ ๒. ปฏิบตั ติ นถกู ตอ้ งตามศาสนพธิ พี ิธกี รรม  การปฏบิ ตั ิตนที่เหมาะสมในฐานะ ตามหลักศาสนาท่ตี นนบั ถือ ผ้ปู กครองและ ผูอ้ ย่ใู นปกครอง ตามหลักทิศเบ้อื งล่าง ในทิศ ๖  การปฏิสนั ถารตามหลัก ปฏสิ นั ถาร ๒  หน้าที่และบทบาทของอบุ าสก อบุ าสกิ าทมี่ ตี อ่ สงั คมไทยในปัจจุบนั  การปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกทดี่ ขี อง ครอบครัว ตามหลักทศิ เบื้องหลงั ในทศิ ๖  การบำเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชน์ต่อ ครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติ และโลก ➢ ประเภทของศาสนพิธใี นพระพทุ ธศาสนา  ศาสนพธิ เี นื่องดว้ ยพทุ ธบัญญัติ เช่น พิธีแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ

๔๐ ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพิการ พธิ ีเวียนเทยี น ถวายสงั ฆทาน ถวายผา้ อาบน้ำฝน พิธที อดกฐนิ พิธปี วารณา เป็นตน้  ศาสนพธิ ที ีน่ ำพระพทุ ธศาสนา เขา้ ไปเก่ียวเน่อื ง เช่น การทำบญุ เล้ียงพระในโอกาสต่างๆ ➢ ความหมาย ความสำคัญ คตธิ รรม ในพธิ กี รรม บทสวดมนตข์ องนกั เรียน งานพธิ ี คณุ ค่าและประโยชน์ ➢ พิธบี รรพชาอุปสมบท คุณสมบัติของ ผู้ขอบรรพชาอปุ สมบท เคร่ือง อฏั ฐบรขิ าร ประโยชนข์ องการ บรรพชาอปุ สมบท ➢ บุญพธิ ี ทานพธิ ี กศุ ลพธิ ี ➢ คุณค่าและประโยชน์ของศาสนพธิ ี ๓. แสดงตนเปน็ พุทธมามกะหรอื ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ แสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนา  ขนั้ เตรยี มการ ทต่ี นนบั ถอื  ขน้ั พิธกี าร ๔. วิเคราะหห์ ลกั ธรรม คตธิ รรมที่ เกยี่ วเนอื่ งกบั วันสำคญั ทางศาสนา และ  หลกั ธรรม/คติธรรมทเี่ กยี่ วเน่ืองกับ เทศกาลท่สี ำคญั ของศาสนาทต่ี นนบั ถือ วนั สำคญั และเทศกาลทส่ี ำคัญใน และปฏิบัตติ นได้ถกู ต้อง พระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาอื่น ๕. สัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการ  การปฏิบตั ิตนที่ถูกตอ้ งในวนั สำคัญ ธำรงรกั ษาศาสนาทต่ี นนับถอื อันส่งผลถงึ และเทศกาลที่สำคัญในพระพุทธศาสนา การพัฒนาตน พฒั นาชาตแิ ละโลก หรือศาสนาอื่น  การปกปอ้ ง คมุ้ ครอง ธำรงรักษา พระพทุ ธศาสนาของพทุ ธบริษทั ในสังคมไทย  การปลูกจติ สำนึก และการมีสว่ นร่วม ในสังคมพุทธ

๔๑ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบตั ติ นตามหน้าทข่ี องการเป็นพลเมืองดี มีค่านยิ มทด่ี ีงามและธำรงรกั ษา ประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ติ อยู่รว่ มกนั ในสงั คมไทยและสงั คมโลกอย่างสันติสขุ ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๑ ๑. บอกประโยชนแ์ ละปฏบิ ตั ิตนเปน็  การเป็นสมาชกิ ทีด่ ีของครอบครวั และ สมาชิกทด่ี ีของครอบครัวและโรงเรยี น โรงเรียน เช่น − กตัญญกู ตเวทีและเคารพรบั ฟงั คำแนะนำของพ่อแม่ ญาตผิ ใู้ หญ่ และครู − รูจ้ ักกลา่ วคำขอบคุณ ขอโทษ การไหว้ผใู้ หญ่ − ปฏบิ ัตติ าม ขอ้ ตกลง กตกิ า กฎ ระเบียบ ของครอบครวั และ โรงเรยี น − มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมของ ครอบครวั และโรงเรียน − มีเหตุผลและยอมรับฟงั ความ คดิ เห็นของผอู้ ่ืน − มีระเบยี บ วนิ ัย มีน้ำใจ  ประโยชนข์ องการปฏบิ ัติตนเป็นสมาชกิ ท่ี ดีของครอบครัวและโรงเรยี น ๒. ยกตวั อย่างความสามารถและความดี  ลักษณะความสามารถและลกั ษณะ ความดี ของตนเอง ผู้อืน่ และบอกผลจากการ ของตนเองและผอู้ ่นื เช่น กระทำน้ัน - ความกตญั ญกู ตเวที - ความมีระเบยี บวินัย - ความรับผดิ ชอบ - ความขยนั - การเอ้ือเฟอ้ื เผอ่ื แผ่และ ช่วยเหลือผอู้ ื่น - ความซอื่ สตั ยส์ จุ ริต - ความเมตตากรุณา  ผลของการกระทำความดี เช่น - ภาคภูมใิ จ - มคี วามสุข - ไดร้ บั การชน่ื ชม ยกย่อง

๔๒ ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ป.๒ ๑. ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กตกิ า กฎ  ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบยี บ หนา้ ทท่ี ี่ ระเบียบและหนา้ ทท่ี ต่ี ้องปฏิบตั ใิ น ตอ้ งปฏิบัติในครอบครัว โรงเรียน สถานที่ ชวี ิตประจำวัน สาธารณะ เช่น โรงภาพยนต์ โบราณสถาน ฯลฯ ๒. ปฏิบตั ิตนตนตามมารยาทไทย  มารยาทไทย เช่น การแสดงความเคารพ การยนื การเดนิ การน่ัง การนอน การทกั ทาย การรับประทาน ๓. แสดงพฤติกรรมในการยอมรบั ความคิด  การยอมรับความแตกตา่ งของคนใน ความเชื่อและการปฏิบัติของบุคคลอน่ื ท่ี สังคม ในเรอื่ ง ความคดิ ความเช่ือ แตกต่างกันโดยปราศจากอคติ ความสามารถและการปฏบิ ตั ิตนของ บุคคลอ่นื ท่ี แตกตา่ งกัน เชน่ - บุคคลยอ่ มมีความคดิ ทม่ี ีเหตุผล - การปฏิบตั ิตนตามพธิ ีกรรมตาม ความ เชอื่ ของบุคคล - บุคคลย่อมมีความสามารถแตกตา่ ง กัน - ไม่พดู หรือแสดงอาการดูถกู รงั เกยี จ ผู้อื่น ในเรือ่ งของรูปรา่ งหน้าตา สผี ม สีผิว ที่แตกตา่ งกนั ๔. เคารพในสิทธิ เสรภี าพของผู้อนื่  สิทธสิ ว่ นบคุ คล เชน่ - สทิ ธแิ สดงความคิดเห็น - สทิ ธิเสรีภาพในรา่ งกาย - สิทธิในทรพั ย์สนิ ป.๓ ๑. สรุปประโยชน์และปฏบิ ัติตนตาม  ประเพณีและวฒั นธรรมในครอบครวั ประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและ เช่น การแสดงความเคารพและการเช่อื ฟัง ท้องถน่ิ ผใู้ หญ่ การกระทำกจิ กรรมร่วมกนั ใน ครอบครัว  ประเพณแี ละวัฒนธรรมในทอ้ งถิ่น เช่น การเข้ารว่ มประเพณีทางศาสนา ประเพณี เกีย่ วกบั การดำเนินชวี ติ ประโยชน์ ของการปฏบิ ัตติ นตามประเพณแี ละ วฒั นธรรมในครอบครวั และทอ้ งถ่ิน

๔๓ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลางเฉพาะความพิการ ๒. บอกพฤติกรรมการดำเนนิ ชีวติ ของ  พฤติกรรมของตนเองและเพอื่ น ๆ ตนเอง และผอู้ น่ื ทอี่ ยใู่ นกระแสวฒั นธรรม ในชีวติ ประจำวนั เช่น การทกั ทาย ทห่ี ลากหลาย การทำความเคารพ การปฏบิ ตั ิตาม ศาสนพธิ ี การรบั ประทานอาหาร การใช้ ภาษา (ภาษาถิ่นกบั ภาษาราชการ และ ภาษาอืน่ ๆ ฯลฯ )  สาเหตุท่ีทำใหพ้ ฤตกิ รรมการดำเนนิ ชวี ิต ในปัจจบุ ันของนกั เรยี น และผู้อ่ืนแตกต่าง กนั ๓. อธบิ ายความสำคัญขอวนั หยุดราชการ  วนั หยุดราชการทส่ี ำคญั เช่น ทส่ี ำคญั - วนั หยุดเกย่ี วกับชาติและ พระมหากษตั ริย์ เชน่ วันจักรี วนั รัฐธรรมนญู วนั ฉตั รมงคล วันเฉลมิ พระชนมพรรษา - วนั หยดุ ราชการเก่ยี วกับศาสนา เชน่ วันมาฆบชู า วนั วิสาขบชู า วนั อาสาฬหบชู า วันเข้าพรรษา - วนั หยดุ ราชการเกีย่ วกับประเพณแี ละ วัฒนธรรม เชน่ วันสงกรานต์ วนั พชื มงคล ๔. ยกตวั อยา่ งบคุ คลซึ่งมผี ลงานที่เป็น  บุคคลทีม่ ีผลงานเปน็ ประโยชนแ์ กช่ มุ ชน ประโยชน์แก่ชมุ ชนและท้องถิ่นของตน และท้องถ่นิ ของตน ป.๔ ๑. ปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมืองดีตามวิถี  ลกั ษณะผลงานท่เี ป็นประโยชน์แก่ชมุ ชน ประชาธิปไตยในฐานะสมาชกิ ทดี่ ขี อง และท้องถิน่ ชุมชน  การเข้ารว่ มกจิ กรรมประชาธปิ ไตยของ ชมุ ชน เชน่ การรณรงค์การเลอื กตั้ง  แนวทางการปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชิกท่ีดี ของชมุ ชน เชน่ อนรุ กั ษส์ ่ิงแวดล้อม สาธารณสมบัติ โบราณวตั ถุและ โบราณสถาน การพัฒนาชุมชน

๔๔ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลางเฉพาะความพกิ าร ๒. ปฏบิ ัตติ นในการเป็นผู้นำและผู้ตาม ท่ี  การเป็นผนู้ ำและผู้ตามทดี่ ี ดี - บทบาทและความรบั ผิดชอบของผูน้ ำ - บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ตาม หรือสมาชิก - การทำงานกลุ่มให้มปี ระสทิ ธผิ ลและ ประสิทธิภาพ และประโยชนข์ องการ ทำงานเป็นกลมุ่ ๓. วิเคราะหส์ ิทธิพน้ื ฐานที่เด็กทกุ คน  สทิ ธพิ น้ื ฐานของเดก็ เชน่ สทิ ธทิ ่ีจะมีชีวติ พงึ ได้รบั ตามกฎหมาย สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ ับการปกป้อง สทิ ธิ ที่ จะไดร้ บั การพฒั นา สิทธทิ ีจ่ ะมี สว่ นรว่ ม ๔. อธบิ ายความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม  วัฒนธรรมในภาคตา่ งๆ ของไทย ของกลุ่มคนในท้องถิน่ ท่ีแตกต่างกัน เช่น การแต่งกาย ภาษา อาหาร ๕. เสนอวิธีการทจี่ ะอยรู่ ว่ มกันอยา่ ง สันติสขุ ในชีวิตประจำวัน  ปัญหาและสาเหตขุ องการเกดิ ความ ขัดแยง้ ในชวี ิตประจำวนั  แนวทางการแก้ปัญหาความขดั แย้งดว้ ย สนั ตวิ ธิ ี ป.๕ ๑. ยกตวั อย่างและปฏบิ ตั ติ นตาม  สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ สถานภาพ บทบาท สทิ ธิเสรภี าพ และ  หนา้ ท่ขี องพลเมืองดี เช่น เคารพ เทดิ ทนู หนา้ ท่ใี นฐานะพลเมอื งดี สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ อนรุ กั ษ์ ศลิ ปวัฒนธรรม ปฏิบัตติ ามกฎหมาย  คณุ ลักษณะของพลเมอื งดี เช่น เห็นแก่ ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกว่าประโยชนส์ ่วน ตน มีความรบั ผิดชอบ เสียสละ ๒. เสนอวิธีการปกปอ้ งคมุ้ ครองตนเอง  เหตกุ ารณท์ ล่ี ะเมิดสทิ ธิเด็กในสังคมไทย หรอื ผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเดก็  แนวทางการปกป้องคุ้มครองตนเองหรอื ผู้อน่ื จากการละเมิดสทิ ธเิ ดก็  การปกป้องคมุ้ ครองสิทธเิ ด็กในสังคมไทย ๓. เห็นคุณค่าวฒั นธรรมไทยทมี่ ีผลตอ่ การ  วฒั นธรรมไทย ทีม่ ีผลตอ่ การดำเนินชีวติ ดำเนินชีวติ ในสังคมไทย ของคนในสังคมไทย  คณุ ค่าของวัฒนธรรมกบั การดำเนินชีวิต

๔๕ ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลางเฉพาะความพิการ ๔. มสี ว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์และเผยแพร่  ความสำคัญของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินของชุมชน  ตวั อย่างภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ในชมุ ชน ของ ตน  การอนรุ กั ษ์และเผยแพรภ่ มู ปิ ญั ญา ท้องถนิ่ ของชมุ ชน ป.๖ ๑. ปฏิบตั ิตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั  กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ งกับชวี ิตประจำวันเชน่ ชวี ิตประจำวันของครอบครวั และชุมชน - กฎหมายจราจร - กฎหมายทะเบียนราษฎร - กฎหมายยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ - เทศบญั ญัติ ข้อบญั ญตั ิ อบต. อบจ.  ประโยชนข์ องการปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย ดังกลา่ ว ๒. วเิ คราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงวฒั นธรรม  ความหมายและประเภทของวัฒนธรรม ตามกาลเวลาและธำรงรกั ษาวฒั นธรรม อัน  การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตาม ดงี าม กาลเวลาที่มผี ลต่อตนเองและสังคมไทย  แนวทางการธำรงรกั ษาวฒั นธรรมไทย ๓. แสดงออกถงึ มารยาทไทยไดเ้ หมาะสม  ความหมายและสำคญั ของมารยาทไทย ถูกกาลเทศะ  มารยาทไทยและมารยาทสงั คม เช่น การแสดงความเคารพ การยืน การเดิน การนง่ั การนอน การรับของสง่ ของ การรบั ประทานอาหาร การแสดงกิรยิ า อาการ การทักทาย การสนทนา การใช้ คำพูด ๔. อธิบายคุณค่าทางวฒั นธรรมท่แี ตกตา่ ง  ประโยชน์และคณุ คา่ ทางวฒั นธรรม กนั ระหว่างกลมุ่ คนในสังคมไทย  ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมระหวา่ งกลุ่ม คนภาคต่างๆ ในสงั คมไทย  แนวทางการรกั ษาวฒั นธรรม

๔๖ ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลางเฉพาะความพิการ ๕. ตดิ ตามข้อมลู ขา่ วสาร เหตุการณต์ า่ ง ๆ  ข้อมลู ขา่ วสาร เหตุการณต์ า่ ง ๆ เชน่ ในชวี ติ ประจำวนั เลือกรบั และใช้ข้อมูล วิทยุโทรทัศน์ หนังสือพมิ พ์ แหล่งขา่ วตา่ ง ข่าวสารในการเรียนรไู้ ดเ้ หมาะสม ๆ สถานการณจ์ ริง  ประโยชน์จากการตดิ ตามขอ้ มลู ข่าวสาร เหตุการณต์ า่ งๆ  หลกั การเลอื กรบั และใช้ขอ้ มูล ข่าวสาร จากสอื่ ต่างๆ รวมท้งั ส่ือทไ่ี รพ้ รมแดน ม.๑ ๑. ปฏิบตั ิตามกฎหมายในการคมุ้ ครอง  กฎหมายในการคุม้ ครองสิทธขิ องบคุ คล สทิ ธิของบุคคล - กฎหมายการคมุ้ ครองเดก็ - กฎหมายการศกึ ษา - กฎหมายการค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค - กฎหมายลขิ สิทธิ์  ประโยชน์ของการปฏิบัตติ นตามกฎหมาย การคมุ้ ครองสิทธขิ องบคุ คล ๒. ระบคุ วามสามารถของตนเอง  บทบาทและหน้าทข่ี องเยาวชนทมี่ ตี ่อ ในการทำประโยชนต์ ่อสงั คมและ สังคมและประเทศชาติ โดยเน้นจิต ประเทศชาติ สาธารณะ เชน่ เคารพกติกาสงั คม ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีสว่ นรว่ มและ ๓. อภิปรายเก่ยี วกับคณุ คา่ ทางวัฒนธรรม รบั ผิดชอบในกจิ กรรมทางสงั คม อนรุ กั ษ์ ทีเ่ ป็นปัจจยั ในการสร้างความสมั พนั ธ์ท่ดี ี ทรพั ยากรธรรมชาติ รกั ษา หรอื อาจนำไปสคู่ วามเขา้ ใจผดิ ตอ่ กัน สาธารณประโยชน์ ๔. แสดงออกถึงการเคารพในสทิ ธขิ อง  ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่างระหว่าง ตนเองและผ้อู ืน่ วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศใน ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้  วัฒนธรรมท่เี ป็นปจั จัยในการสร้าง ความสัมพันธ์ท่ีดี หรืออาจนำไปสคู่ วาม เขา้ ใจผิดต่อกัน  วิธีปฏิบตั ติ นในการเคารพในสทิ ธิของ ตนเองและผู้อ่ืน  ผลทไี่ ดจ้ ากการเคารพในสทิ ธิของตนเอง และผ้อู ่นื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook