แผน ข P a g e | 99 รหัสวชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกติ ชื่อรายวชิ า (บ-ป-น) 3(3-0-6) 266 510 หลกั การและทฤษฎีทางภูมสิ ถาปัตยกรรม 3(0-6-3) 3(3-0-6) 266 513 ปฏบิ ตั กิ ารออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 1 3 12 266 517 ระเบียบวธิ วี จิ ัยทางภูมสิ ถาปตั ยกรรม จำนวนหน่วยกติ วชิ าเลอื ก (บ-ป-น) 3(3-0-6) รวมจำนวน 3(2-2-5) 3(0-6-3) ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 3(2-2-5) 3 รหัสวิชา ชอ่ื รายวชิ า 15 266 511 นิเวศวิทยาภูมทิ ัศน์และการพฒั นาอยา่ งยั่งยืน จำนวนหน่วยกติ (บ-ป-น) 266 512 การใชพ้ ืชพรรณในการออกแบบ 3(0-6-3) 3(2-2-5) 266 514 ปฏิบัตกิ ารออกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรม 2 3 3 266 516 การก่อสร้างงานภมู สิ ถาปตั ยกรรมข้นั สงู 12 วิชาเลือก รวมจำนวน ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 รหัสวชิ า ชือ่ รายวิชา 266 515 ปฏบิ ัติการออกแบบภมู สิ ถาปตั ยกรรม 3 266 518 สัมมนางานภมู ิสถาปตั ยกรรม 266 522 การคน้ คว้าอิสระ (มีคา่ เทยี บเท่า) วิชาเลือก รวมจำนวน หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 100 คำอธิบายรายวิชา 266 500 การก่อสรา้ งงานภูมสิ ถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Landscape Architectural Construction) เง่ือนไข: บังคับเฉพาะนักศึกษาที่มีพ้ืนฐานความรู้วชิ าภูมสิ ถาปัตยกรรมไม่เพียงพอ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร โดยไมน่ บั หน่วยกิต และใหว้ ดั ผลการศึกษาเป็น S หรอื U หลักการและเทคนิคของการก่อสร้างงานภูมิสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมพื้นท่ีโครงการ ปฏิบัติการการออกแบบปรับระดับผิวดิน การระบายน้ำและชลประทาน งานดิน การควบคุมการ ตกตะกอนและการพังทะลาย และการวางแนวถนน รวมถึงการออกแบบรายละเอียดงาน ภูมิ สถาปัตยกรรม ตลอดจนการจัดทำเอกสารการกอ่ สรา้ งภูมสิ ถาปตั ยกรรม Principles and techniques of landscape construction and site engineering; design exercises in grading, drainage and irrigation, earthwork, sedimentation and erosion control, road alignment; preparation of landscape architecture construction drawings and documentation. 266 510 หลักการและทฤษฎีทางภูมสิ ถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Principle and Theory in Landscape Architecture) หลักการของภูมิสถาปัตยกรรม ความเป็นมาของภูมิสถาปัตยกรรมตั้งแต่อดีต โดยเน้นที่การ พัฒนาแนวคิดในยุคสมัยต่าง ๆ จนถึงปัจจุบัน หลักการและทฤษฎี ภูมิสถาปัตยกรรมท่ีเกิดจาก แนวความคิดต่างๆ ท้ังในดา้ นกายภาพ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม Principles and history of landscape architecture; emphasis on developments in concepts from past eras to present-day; principles and theory of landscape architecture influenced by concepts concerning physical, social, and environmental issues. 266 511 นิเวศวิทยาภมู ทิ ศั น์และการพฒั นาอยา่ งยั่งยนื 3(3-0-6) (Landscape Ecology and Sustainable Development) หลักการและแนวความคิดของนิเวศวิทยาภูมิทัศน์และการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ เกี่ยวเน่ืองกับ ภูมิสถาปัตยกรรม ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศการออกแบบและการวางผังทาง กายภาพที่นำไปสคู่ วามย่งั ยนื Principles and concepts of landscape ecology and sustainable development in landscape architecture; fundamentals of environmental concept and ecosystem; sustainable landscape design and planning. หลกั สูตรระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 101 266 512 การใช้พชื พรรณในการออกแบบ 3(2-2-5) (Planting Design) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพืชพรรณ การแยกประเภท การต้ังช่ือ และการจำแนก พืชพรรณ เทคนิคการปลูกและบำรุงรักษาพืชพรรณ หลักการออกแบบพืชพรรณ และ ปฏิบัตกิ ารใช้พืชพรรณในการ ออกแบบ Basic botanical knowledge, classification, nomenclature, and identification of plants; planting and maintenance techniques; principles and practice of planting design. 266 513 ปฏิบตั ิการออกแบบภูมสิ ถาปตั ยกรรม 1 3(0-6-3) (Landscape Architectural Design Studio I) ปฏิบตั ิการวางผงั และออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น ขั้นตอนและกระบวนการวางผังและ ออกแบบสำหรับโครงการทไี่ ม่ซบั ซอ้ นแต่มคี วามหลากหลายของท่ีตงั้ ท้งั ใน พ้ืนท่ีธรรมชาติและในเมอื ง Studio works in basic landscape architectural design and planning; design process for simple landscape architectural projects with variety of site contexts - both natural and urban settings. 266 514 ปฏิบตั กิ ารออกแบบภมู สิ ถาปตั ยกรรม 2 3(0-6-3) (Landscape Architectural Design Studio II) วิชาบงั คับก่อน: 266 513 ปฏบิ ตั ิการออกแบบภมู ิสถาปัตยกรรม 1 ปฏบิ ัติการวางผงั และออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมขน้ั สูง แนวความคิดและวธิ กี ารแก้ปัญหา การ วเิ คราะหโ์ ปรแกรมและพ้นื ท่ี การวางผงั และการออกแบบพ้ืนทีใ่ นเมอื งทีโ่ ครงการมคี วามซบั ซอ้ น Studio works in advanced landscape architectural design and planning; concept and approach to design problems, program and site analyses, planning and design of complex projects within urban context. 266 515 ปฏิบัตกิ ารออกแบบภูมิสถาปตั ยกรรม 3 3(0-6-3) (Landscape Architectural Design Studio III) วิชาบังคบั ก่อน: 266 514 ปฏิบัตกิ ารออกแบบภมู สิ ถาปัตยกรรม 2 ปฏิบัติการวางผังและออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมขั้นสูงสำหรับโครงการที่มี ความซับซ้อนมาก กระบวนการเข้าสู่ปัญหา การสร้างโปรแกรม การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล การวางผังและการ ออกแบบที่มีรายละเอียด Studio works in more advanced landscape architectural design and planning of highly complex projects; process of approaching problems, program formation, data analysis and synthesis, planning and detail design solutions. หลักสตู รระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 102 266 516 การกอ่ สร้างงานภมู ิสถาปัตยกรรมข้ันสงู 3(2-2-5) (Advanced Landscape Architectural Construction) เทคนิคขั้นสูงและนวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพในดา้ นการก่อสร้างและวิศวกรรม ทางภูมิสถาปัตยกรรม โดยมุ่งเน้นที่เทคนิคการก่อสร้างภูมิสถาปัตยกรรมสำหรับโครงการขนาดใหญ่และ โครงการทม่ี ีสงิ่ แวดล้อมทซ่ี ับซ้อน รวมไปถงึ การประเมนิ ราคาก่อสร้าง Advanced and innovative techniques associated with current professional practice in landscape architectural construction and engineering; emphasis on landscape construction techniques of large-scale projects and projects within complex environment; construction cost estimation. 266 517 ระเบยี บวธิ ีวิจยั ทางภมู ิสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Research Methodology in Landscape Architecture) เง่ือนไข : 1. นักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 บังคับเฉพาะนักศึกษาที่มีพื้นฐานความรู้การทำวิจัยไม่เพียงพอ ท้ังน้ีใหอ้ ย่ใู นดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการบริหารหลักสตู ร โดยไม่นบั หนว่ ยกิตและใหว้ ดั ผลการศึกษาเป็น S หรือ U 2. นักศึกษาแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข วดั ผลการศกึ ษาเปน็ ค่าระดับ วิธีการวิจัย ทฤษฎี การต้ังสมมุติฐาน การออกแบบการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวัดผล และการเขียนรายงานผลการวิจยั ระเบยี บวธิ วี จิ ัยท้งั ในเชิงคณุ ภาพและปรมิ าณ Research methods, theory, hypothesis formulation, research design, data collection, assessment and report writing; qualitative and quantitative research methodologies. 266 518 สัมมนางานภมู ิสถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Seminar in Landscape Architecture) เง่ือนไข : 1. นักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 บังคับเฉพาะนักศึกษาที่มีพ้ืนฐานความรู้ในสาขาวิชาภูมิ สถาปัตยกรรมไม่เพียงพอ ทั้งน้ีให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยไม่นับหน่วยกิต และใหว้ ดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรอื U 2. นักศึกษาแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข วัดผลการศกึ ษาเป็นคา่ ระดบั การอภิปรายในเนื้อหาท่ีเก่ียวข้องกับภูมสิ ถาปตั ยกรรมที่มคี วามสำคญั หรือได้รับความสนใจใน ช่วงเวลาน้ัน เน้นการเตรียมตัวค้นคว้า การพัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบ และการแลกเปล่ียนความ คิดเหน็ และข้อโตแ้ ย้งในชน้ั เรียน Discussions on topics relating to landscape architecture focusing on important or controversial issues; emphasis on preparation of topics prior to class, development of systematic thinking, and exchange of opinions during seminar. หลกั สตู รระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 103 266 520 วิทยานพิ นธ์ มคี ่าเทียบเทา่ 39 หน่วยกิต (Thesis) เงื่อนไข: เฉพาะนักศกึ ษาที่เลือก แผน ก แบบ ก 1 การวิจัยเฉพาะบุคคลในหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ โดยมีสาระและความซับซ้อน ภายใต้การดูแล ของอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวิทยานพิ นธ์ Individual undertaking to research on student-selected topic of interest with content and complexity supervised by a thesis advisor. 266 521 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเท่า 12 หนว่ ยกิต (Thesis) เงื่อนไข: เฉพาะนกั ศึกษาทเ่ี ลือก แผน ก แบบ ก 2 การวิจัยเฉพาะบุคคลในหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ภายใต้การดูแลของอาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยานพิ นธ์ Individual undertaking to research on student-selected topic of interest supervised by a thesis advisor. 266 522 การคน้ คว้าอสิ ระ มคี ่าเทยี บเทา่ 3 หนว่ ยกิต (Independent Study) เง่ือนไข: เฉพาะนกั ศึกษาทเ่ี ลอื ก แผน ข การวิจัยเชิงออกแบบเพื่อการวางผังและออกแบบโครงการภูมิสถาปัตยกรรม ด้วยความ เห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา กระบวนการค้นคว้า การสร้างโปรแกรม การวิเคราะห์และสังเคราะห์ ข้อมลู การวางผงั และการออกแบบท่ีมีรายละเอยี ด Design-oriented research on a landscape architecture projects approved by an advisor; undertaking research process, program formation, data analysis and synthesis, planning and detail design solutions. 266 530 การวิเคราะห์และประเมนิ ทัศนคุณภาพ 3(3-0-6) (Visual Quality Analysis and Assessment) ทัศนคุณภาพและการประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์ให้เหมาะสมกับบริบททางกายภาพ วฒั นธรรม และสงั คม หลักการ ทฤษฎี และเทคนิค ในการวิเคราะห์ และประเมินทัศนคุณภาพ Visual quality and the application of analytical process relating to physical, cultural and social contexts; principles, theories, and techniques in visual quality analysis and assessment. หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 104 266 531 ภูมทิ ัศนช์ มุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Landscape) องค์ประกอบทางภูมิทัศน์ของพ้ืนที่เมือง เอกลักษณ์ ภูมิสัญลักษณ์ สถานที่สำคัญทาง ประวัติศาสตร์ ระบบการพักผ่อนหย่อนใจและระบบที่โล่ง ตลอดจนนิเวศวิทยาท่ีมีอิทธิพลต่อมนุษย์ เทคนิคการวางผังและออกแบบภูมิทัศน์ในย่านชุมชนเมืองเพ่ือปรับปรุงทัศนคุณภาพของสภาพแวดล้อม ชมุ ชนเมอื ง Landscape features in urban areas, identity, landmark, and historical significance; recreational and open space systems; and ecological influence on humans; techniques for landscape planning and design in urban areas to improve visual quality of urban environment. 266 532 ภูมิทัศนว์ ัฒนธรรม 3(3-0-6) (Cultural Landscape) ภูมิทัศน์ที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ในวัฒนธรรมต่าง ๆ ภายใต้บริบททางสังคม เศรษฐกจิ และสิ่งแวดลอ้ ม โดยเน้นการศึกษาความสัมพันธ์เชงิ พน้ื ทขี่ องมนษุ ย์กับส่ิงแวดล้อม ผา่ นรูปแบบ การตั้งถิน่ ฐานของมนษุ ย์และลกั ษณะทางสถาปัตยกรรมของส่งิ แวดล้อมทมี่ นุษยส์ รา้ งขึ้น Human-made landscape created by people of different cultural groups under social, economic, and environmental contexts; emphasis on study of spatial relationship between human and the environment through human settlement patterns and architectural characteristics of the built environment. 266 533 การออกแบบและวางแผนภูมิสถาปัตยกรรมเชงิ นิเวศ 3(3-0-6) (Ecological Landscape Design and Planning) การผสมผสานแนวคิดนิเวศวทิ ยาเข้ากับภูมิสถาปัตยกรรม แนวความคิดนเิ วศวิทยา โครงสร้าง ของภมู ทิ ศั น์ พัฒนาการและความเปล่ียนแปลงของภูมิทัศน์ และแนวทางเชิงนเิ วศในการการออกแบบและ วางแผนภูมสิ ถาปตั ยกรรม Integration of ecological concepts into landscape architecture; ecological concepts; landscape structure; landscape development and change; ecological approach to landscape design and planning. หลกั สูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 105 266 534 การออกแบบภมู ทิ ศั น์เพอื่ การฟื้นฟูสภาพแวดล้อม 3(3-0-6) (Regenerative Landscape Design) การออกแบบภูมิทัศน์และภูมิสถาปัตยกรรมที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างการฟื้นฟูและทดแทนแก่ สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ เน้นความสำคัญของกระบวนการ ทางนิเวศวิทยา และการผสมผสาน กระบวนการเข้ากับการออกแบบและการใชง้ าน Landscape architectural design that aims towards revitalisation and renewal of environment and ecosystem; emphasis on process-oriented ecological design and integration of ecological process into landscape design and function. 266 535 วสั ดแุ ละการออกแบบก่อสร้างงานภมู ิสถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Material and Construction Design in Landscape Architecture) คุณสมบัติทางกายภาพ ธรรมชาติ ข้อจำกัดของวัสดุต่างๆ ที่ใช้ในงานออกแบบ ก่อสร้างภูมิ สถาปัตยกรรม หลักการออกแบบโดยใช้วัสดุ และเทคนิคที่ใช้ในการก่อสร้างงานภูมิสถาปัตยกรรมอย่าง เหมาะสม มกี ารศกึ ษานอกสถานที่ Physical properties, nature and limitations of materials used in landscape architecture design and construction; principles of design using appropriate materials and construction techniques for landscape architecture. Field trips required. 266 536 การออกแบบสภาพแวดล้อมเพือ่ ทุกคน 3(3-0-6) (Universal Design) หลักการออกแบบสภาพแวดล้อมเพ่ือทุกคน ท่ีสนับสนุนให้เกิดความเท่าเทยี มกันของคนพกิ าร ผู้สูงอายุ เด็ก และผู้ท่ีมีสุขภาพแข็งแรง เพื่อให้การเข้าถึงพ้ืนท่ีต่างๆ ในชุมชนเมืองเป็นไปโดยปราศจาก อุปสรรค เน้นหลักการในการออกแบบปรับปรุงอาคารสถานที่ ตลอดจนสาธารณูปโภคสาธารณูปการที่ เก่ยี วข้อง Design principles for universal design to promote equality for the disabled, the elderly, the young, and the healthy to be able to access all places within urban areas; emphasis on design principles for building and infrastructure improvements. หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 106 266 537 ระบบภูมสิ ารสนเทศในงานภูมสิ ถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Geographic Information System in Landscape Architecture) ปฏบิ ัตกิ ารใช้งานระบบภูมิสารสนเทศในงานภมู ิสถาปตั ยกรรมในระดับพ้ืนฐานและระดับกลาง การพัฒนาและดำเนินโครงการท่ีใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเป็น เครื่องมือวิเคราะห์ในงานภูมิ สถาปตั ยกรรมที่มีความซบั ซอ้ น Practical use of basic and intermediate Geographic Information System (GIS) in landscape architecture; developing and executing complicated landscape architecture projects using GIS. 266 538 การศึกษาหวั ขอ้ พิเศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) เง่ือนไข : 1. นักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 บังคับเฉพาะนักศึกษาท่ีมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาภูมิ สถาปัตยกรรมไม่เพียงพอ ท้ังน้ีให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยไม่นับหน่วยกิต และใหว้ ดั ผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U 2. นักศึกษาแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบ รายวชิ า และวดั ผลการศึกษาเป็นค่าระดบั ประเด็นเก่ยี วกบั ภมู สิ ถาปัตยกรรมท่ีสนใจหรอื ทีม่ คี วามสำคัญในขณะนั้น Topic of special interest or current issues concerning landscape architecture. หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 107 รายละเอยี ดของหลกั สูตร หลกั สูตรการวางแผนชุมชนเมอื งและสภาพแวดล้อมมหาบณั ฑิต (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ชอื่ หลักสตู ร หลักสูตรการวางแผนชมุ ชนเมืองและสภาพแวดลอ้ มมหาบณั ฑติ ภาษาไทย Master of Urban and Environmental Planning Program ภาษาองั กฤษ ช่ือปริญญาและสาขาวชิ า การวางแผนชุมชนเมอื งและสภาพแวดลอ้ มมหาบัณฑิต ชอ่ื เตม็ ภาษาไทย Master of Urban and Environmental Planning ชือ่ เตม็ ภาษาองั กฤษ ผ.ม. ช่อื ยอ่ ภาษาไทย M.U.E.P. ช่ือย่อภาษาอังกฤษ วชิ าเอก ไมม่ ี จำนวนหนว่ ยกติ ท่ีเรียนตลอดหลักสตู ร แผน ก แบบ ก 1 มีคา่ เทียบเท่า 36 หนว่ ยกิต แผน ก แบบ ก 2 ไมน่ ้อยกวา่ 36 หน่วยกิต แผน ข ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกิต อาชีพทส่ี ามารถประกอบไดห้ ลงั สำเรจ็ การศกึ ษา 1. นกั ผังเมอื ง 2. ผสู้ อนในสถาบนั อุดมศกึ ษา 3. นักวชิ าการผังเมืองในหน่วยงานของเอกชน 4. นักวิเคราะห์นโยบายและแผนในหน่วยงานของรฐั และเอกชน 5. นกั วางแผนพัฒนาชุมชน/พัฒนาเมือง 6. นักวางผังและออกแบบ 7. ปรกึ ษาด้านการวางผงั เมอื ง การวางแผนพฒั นาชมุ ชน การสรา้ งการมสี ว่ นร่วม 8. อาชีพอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ผู้ประกอบการด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ผู้ประกอบการบริษัทพัฒนา เมือง นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักสร้างสรรค์เน้ือหา (Content Creator) ผอู้ ำนวยการกระบวนการมีส่วนรว่ ม เปน็ ต้น หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 108 การเทยี บโอนหนว่ ยกิต รายวิชา และการลงทะเบยี นเรยี นขา้ มมหาวทิ ยาลัย เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ท่ีมีการเปลยี่ นแปลงภายหลัง โครงสรา้ งหลกั สูตร จำนวน 6 หนว่ ยกิต มีค่าเทียบเท่า 36 หน่วยกติ แผน ก แบบ ก 1 หมวดวชิ าบังคบั (ไม่นับหน่วยกิต) วทิ ยานพิ นธ์ แผน ก แบบ ก 2 จำนวน 12 หนว่ ยกิต จำนวนไมน่ ้อยกว่า 12 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าบงั คับ มคี ่าเทยี บเทา่ 12 หน่วยกิต หมวดวิชาเลอื ก วิทยานพิ นธ์ แผน ข จำนวน 18 หน่วยกิต จำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกิต หมวดวิชาบงั คับ มีคา่ เทยี บเทา่ 6 หนว่ ยกติ หมวดวิชาเลอื ก การค้นควา้ อิสระ หมายเหตุ 1. แผน ก แบบ ก 1 ไม่มีการสอบประมวลความรู้ แผน ก แบบ ก 2 ไม่มกี ารสอบประมวลความรู้ แผน ข มีการสอบประมวลความรู้ 2 สายวิชา ได้แก่ 1. สายวิชาทฤษฎกี ารวางแผนชมุ ชนเมืองและสภาพแวดลอ้ ม 2. สายวชิ าปฏิบัตกิ ารวางแผนชมุ ชนเมอื งและสภาพแวดล้อม 2. สำหรับทุกแผนการศึกษา ผู้ไม่มีพ้ืนฐานความรู้ด้านการวางแผนชุมชนเมืองและ สภาพแวดล้อม ต้องเรยี นวิชา 264 600 ความรูพ้ ้ืนฐานการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม รายวชิ า รายวิชาพ้ืนฐาน (ไม่นับหน่วยกิต) สำหรับนักศึกษาท่ีมีพ้ืนฐานความรู้การวางแผนชุมชนเมือง และสภาพแวดล้อมไม่เพียงพอ ท้ังน้ีให้ อยใู่ นดุลยพินจิ ของคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร โดยไมน่ บั หน่วยกติ และวดั ผลการศึกษาเปน็ S หรอื U 264 600 ความรู้พ้ืนฐานการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดลอ้ ม 3*(3-0-6) (Fundamental Knowledge of Urban and Environmental Planning) หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาที่ลงทะเบยี นเรียนโดยไม่นับหน่วยกติ และวัดผลการศกึ ษาเป็น S หรอื U หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
แผน ก แบบ ก 1 P a g e | 109 หมวดวชิ าบังคับ (ไมน่ บั หน่วยกิต) จำนวน 6 หน่วยกิต 3*(3-0-6) 264 612 ระเบียบวิธีวจิ ยั ทางการวางแผนชุมชนเมอื ง 3*(0-6-3) (Research Methodology in Urban Planning) มคี า่ เทยี บเท่า 36 หนว่ ยกิต 264 636 การศึกษาหัวขอ้ พิเศษ 3(3-0-6) (Special Topic Study) 3(3-0-6) 3(3-0-6) วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทียบเท่า) 36 หน่วยกิต 3(0-6-3) 264 620 วิทยานิพนธ์ 3(3-0-6) (Thesis) 3(0-6-3) แผน ก แบบ ก 2 3(3-0-6) 3(3-0-6) หมวดวชิ าบงั คบั จำนวน 12 หน่วยกติ 3(3-0-6) 264 610 ทฤษฎกี ารวางแผนชมุ ชนเมอื งและสภาพแวดล้อม 3(0-6-3) 3(3-0-6) (Theory of Urban and Environmental Planning) 264 611 เทคนคิ การวางแผนและดจิ ทิ ัลเทคโนโลยี (Planning Techniques and Digital Technology) 264 612 ระเบยี บวธิ ีวิจยั ทางการวางแผนชุมชนเมือง (Research Methodology in Urban Planning) 264 614 ปฏบิ ัติการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม (Urban and Environmental Planning Studio) หมวดวชิ าเลือก ไม่น้อยกว่า 12 หนว่ ยกติ 264 613 การวางแผนการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ และโครงสร้างพื้นฐาน (Land Use and Infrastructure Planning) 264 615 ปฏบิ ัตกิ ารวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมขนั้ สงู (Advanced Urban and Environmental Planning Studio) 264 630 กระบวนทัศน์การวางแผน (Planning Paradigms) 264 631 การวางแผนสง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental Planning) 264 632 กลไกในการนำผังเมอื งส่ภู าคปฏิบตั ิ (Mechanisms of Planning Implementation) 264 633 การศึกษาภาคสนาม (Field Study in Planning) 264 634 สภาพแวดลอ้ มและพฤติกรรมมนษุ ย์ (Environment and Human Behavior) หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าท่ีลงทะเบียนเรยี นโดยไม่นบั หน่วยกิต และวดั ผลการศึกษาเป็น S หรอื U หลักสูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 110 264 635 สารสนเทศเมือง 3(3-0-6) (Urban Informatics) 264 636 การศกึ ษาหวั ขอ้ พิเศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) 264 637 การวางแผนการขนสง่ ในเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Transportation Planning) 264 638 การวางแผนชุมชนเมืองแบบปรับตัวได้ 3(3-0-6) (Urban Resilience Planning) นอกเหนอื ไปจากรายวิชาเลือกดงั กล่าวน้ีแล้ว นกั ศกึ ษาสามารถเลือกเรยี นรายวชิ าในหลักสตู รอ่นื ๆ ท่ีบัณฑิตวิทยาลัยเปดิ สอนได้โดยไดร้ ับความเหน็ ชอบจากอาจารย์ท่ปี รกึ ษา วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 12 หน่วยกติ มคี า่ เทียบเท่า 12 หนว่ ยกิต 264 621 วทิ ยานพิ นธ์ (Thesis) แผน ข หมวดวชิ าบงั คับ จำนวน 18 หนว่ ยกติ 3(3-0-6) 264 610 ทฤษฎีการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดลอ้ ม 3(3-0-6) 3(3-0-6) (Theory of Urban and Environmental Planning) 3(3-0-6) 264 611 เทคนคิ การวางแผนและดิจทิ ัลเทคโนโลยี 3(0-6-3) 3(0-6-3) (Planning Techniques and Digital Technology) 264 612 ระเบียบวธิ ีวิจยั ทางการวางแผนชมุ ชนเมอื ง (Research Methodology in Urban Planning) 264 613 การวางแผนการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ และโครงสร้างพื้นฐาน (Land Use and Infrastructure Planning) 264 614 ปฏบิ ัติการวางแผนชมุ ชนเมืองและสภาพแวดลอ้ ม (Urban and Environmental Planning Studio) 264 615 ปฏิบตั กิ ารวางแผนชมุ ชนเมืองและสภาพแวดลอ้ มขนั้ สงู (Advanced Urban and Environmental Planning Studio) หมวดวิชาเลอื ก ไม่น้อยกว่า 12 หนว่ ยกติ 3(3-0-6) 264 630 กระบวนทศั น์การวางแผน 3(3-0-6) 3(3-0-6) (Planning Paradigms) 3(0-6-3) 264 631 การวางแผนสิ่งแวดล้อม (Environmental Planning) 264 632 กลไกในการนำผังเมอื งสู่ภาคปฏิบัติ (Mechanisms of Planning Implementation) 264 633 การศกึ ษาภาคสนาม (Field Study in Planning) หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 111 264 634 สภาพแวดล้อมและพฤตกิ รรมมนษุ ย์ 3(3-0-6) (Environment and Human Behavior) 264 635 สารสนเทศเมือง 3(3-0-6) (Urban Informatics) 264 636 การศกึ ษาหัวขอ้ พิเศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) 264 637 การวางแผนการขนส่งในเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Transportation Planning) 264 638 การวางแผนชมุ ชนเมอื งแบบปรับตัวได้ 3(3-0-6) (Urban Resilience Planning) นอกเหนือไปจากรายวิชาเลือกดังกล่าวน้ีแล้ว นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในหลักสูตร อนื่ ๆ ท่บี ณั ฑิตวิทยาลัยเปดิ สอนไดโ้ ดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรกึ ษา การค้นควา้ อิสระ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 6 หนว่ ยกติ มคี ่าเทียบเท่า 6 หนว่ ยกติ 264 622 การคน้ ควา้ อิสระ (Independent Study) หลักสูตรระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
แผนการศึกษา P a g e | 112 แผน ก แบบ ก 1 จำนวนหน่วยกติ รหัสวชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (บ – ป – น) 264 612 3*(3-0-6) 264 636 ชอื่ รายวิชา 3*(0-6-3) 0 รหัสวชิ า ระเบียบวิธวี จิ ัยทางการวางแผนชุมชนเมือง 264 620 การศึกษาหัวขอ้ พิเศษ จำนวนหน่วยกิต (บ – ป – น) รหัสวชิ า รวมจำนวน 12 264 620 ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 12 รหัสวิชา ชือ่ รายวิชา จำนวนหนว่ ยกิต 264 620 (บ – ป – น) วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) 12 รวมจำนวน 12 ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 จำนวนหน่วยกติ ชอื่ รายวิชา (บ – ป – น) 12 วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) 12 รวมจำนวน ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ชื่อรายวิชา วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าทลี่ งทะเบียนเรยี นโดยไมน่ ับหน่วยกิต และวดั ผลการศึกษาเป็น S หรือ U หลักสูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
แผน ก แบบ ก 2 P a g e | 113 รหัสวชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหน่วยกติ 264 610 (บ – ป – น) 264 611 ช่อื รายวชิ า 3(3-0-6) 3(3-0-6) รหสั วิชา ทฤษฎกี ารวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม 3 264 612 เทคนิคการวางแผนและดจิ ทิ ัลเทคโนโลยี 9 264 614 วิชาเลอื ก จำนวนหนว่ ยกติ รหัสวชิ า รวมจำนวน (บ – ป – น) 264 621 ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 3(3-0-6) 3(0-6-3) รหสั วิชา ชื่อรายวิชา 3 264 621 9 ระเบียบวธิ วี จิ ัยทางการวางแผนชุมชนเมอื ง ปฏบิ ัตกิ ารวางแผนชุมชนเมอื งและสภาพแวดล้อม จำนวนหน่วยกติ วิชาเลอื ก (บ – ป – น) 6 รวมจำนวน 3 ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 9 ช่ือรายวชิ า จำนวนหนว่ ยกิต (บ – ป – น) วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเท่า) 6 วชิ าเลือก 3 9 รวมจำนวน ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 ชื่อรายวิชา วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) วิชาเลือก รวมจำนวน หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
แผน ข ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 P a g e | 114 รหสั วิชา ชือ่ รายวชิ า จำนวนหน่วยกติ 264 610 (บ – ป – น) 264 611 ทฤษฎีการวางแผนชมุ ชนเมอื งและสภาพแวดล้อม 3(3-0-6) เทคนคิ การวางแผนและดิจทิ ัลเทคโนโลยี 3(3-0-6) รหัสวิชา วิชาเลอื ก 3 264 612 9 264 614 รวมจำนวน ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหนว่ ยกิต รหสั วชิ า (บ – ป – น) 264 613 ช่อื รายวชิ า 3(3-0-6) 264 615 3(0-6-3) ระเบียบวธิ ีวจิ ยั ทางการวางแผนชมุ ชนเมอื ง 3 รหสั วิชา ปฏิบัตกิ ารวางแผนชุมชนเมอื งและสภาพแวดลอ้ ม 9 264 622 วชิ าเลอื ก จำนวนหน่วยกติ รวมจำนวน (บ – ป – น) ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1 3(3-0-6) 3(0-6-3) ช่อื รายวิชา 3 9 การวางแผนการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ และโครงสรา้ งพื้นฐาน ปฏิบัติการวางแผนชมุ ชนเมอื งและสภาพแวดลอ้ มข้นั สูง จำนวนหนว่ ยกติ วิชาเลือก (บ – ป – น) 6 รวมจำนวน 3 ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 9 ชื่อรายวชิ า การคน้ คว้าอสิ ระ (มีค่าเทยี บเท่า) วชิ าเลอื ก รวมจำนวน หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 115 คำอธบิ ายรายวิชา 264 600 ความรพู้ ้ืนฐานการวางแผนชุมชนเมอื งและสภาพแวดลอ้ ม 3(3-0-6) (Fundamental Knowledge of Urban and Environmental Planning) เง่อื นไข: วัดผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม ปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง วิธี เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การนำเสนองานทางด้านการวางแผน การวางผัง การออกแบบ ทางกายภาพ แบบฝึกหัดการวางผังและออกแบบพ้นื ทเี่ มอื ง มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่ Fundamental knowledge of urban and environmental planning, related issues, methods of collecting data and data analysis, presentation of plans and designs; exercises on planning and design of urban areas. Field trips required. 264 610 ทฤษฎกี ารวางแผนชมุ ชนเมอื งและสภาพแวดล้อม 3(3-0-6) (Theory of Urban and Environmental Planning) วิวัฒนาการ ความเคล่ือนไหว และทฤษฎีการตั้งถิ่นฐานและการวางแผนชุมชนเมืองและ สภาพแวดล้อม ต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน ปัญหา ปัจจัยและกระบวนการการวางแผนชุมชนเมืองและ การประยกุ ตใ์ ช้ทฤษฎใี นการปฏบิ ัติงานวางแผน Evolutions, movements and theories concerning urban settlement; urban and environmental planning from past to present; applications of theories, issues, factors and process involved in urban planning. 264 611 เทคนคิ การวางแผนและดจิ ิทลั เทคโนโลยี 3(3-0-6) (Planning Techniques and Digital Technology) แนวความคิดและหลักการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมด้วยวิธีการเชิงระบบ ดิจทิ ลั เทคโนโลยีท่ปี ระยุกตใ์ ชใ้ นกระบวนการวางแผนชุมชนเมือง ทฤษฎี และการปฏิบตั กิ ารฝกึ การ ประยุกต์ใช้เทคนิคและดิจิทลั เทคโนโลยี เพอ่ื การวางแผนและออกแบบทางผงั เมือง ทฤษฎี ประวัติ และวิวัฒนาการการพัฒนาอุปกรณ์และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีผลต่อสื่อดิจิทัล พฒั นาการด้านการผังเมอื ง การพัฒนาดิจิทลั เทคโนโลยี การสรา้ งปรบั ปรงุ สอ่ื ดิจิทลั ในปจั จุบัน การ ใช้และประยุกต์ใช้เคร่ืองมือ และโปรแกรมในการสร้างปรับแต่งประกอบสื่อดิจิทัลท่ีเก่ียวข้องกับ โครงการวางผงั เมอื ง Concepts and principles of systematic approachs to urban and environmental planning; digital technology applied in urban planning process; theoretical and practical aspects of the use of techniques and digital technology related to urban and environmental planning; theory, history and development of hardware and software affecting digital media in urban planning; uses and applications of digital tools and software to create and manipulate digital contents related to urban planning projects. หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
P a g e | 116 264 612 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ทางการวางแผนชุมชนเมือง 3(3-0-6) 264 613 (Research Methodology in Urban Planning) เง่ือนไข: นักศกึ ษาแผน ก แบบ ก 1 วดั ผลการศึกษาเป็น S หรอื U นักศกึ ษาแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข วัดผลการศึกษาเปน็ คา่ ระดับ ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกับการวิจยั ประเภทตา่ ง ๆ ท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพที่เก่ียวข้องกับ การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม ภาพรวมของระเบียบวิธีวิจยั ในขั้นตอนตา่ ง ๆ โดยเน้น การต้ังคำถามในการวิจัย วางสมมติฐานวิจยั การออกแบบวิจัยเบ้ืองตน้ การใชว้ ิธีการทางสถิติเป็น เครอ่ื งมือ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การตีความผลการวิจยั และการนำผลไปใช้ Basic knowledge in various types of research including quantitative and qualitative research pertaining to urban and environmental planning; research methodology including research questions, research hypotheses, research design, fundamental statistics, data analysis, interpretation of findings, and implementation. การวางแผนการใช้ประโยชนท์ ่ดี ินและโครงสรา้ งพ้ืนฐาน 3(3-0-6) (Land Use and Infrastructure Planning) ทฤษฎีและการวิเคราะห์การวางแผนด้านกายภาพท่ีสนับสนุนการพัฒนาเมืองอย่างเป็น รูปธรรม โดยเน้นเร่ืองการใช้ประโยชน์ท่ีดิน สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ระบบการจราจร และ ขนสง่ ซงึ่ มบี ทบาทสำคญั ต่อคุณภาพชวี ติ สังคมเมอื ง กระบวนการและเทคนคิ การวางแผนขั้นพื้นฐาน Theory and analysis of physical planning essential for concrete urban development; emphasis on land use, infrastructure, and transportation systems important to quality of urban life; fundamental planning process and techniques. หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 117 264 614 ปฏิบตั กิ ารวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดลอ้ ม 3(0-6-3) 264 615 264 620 (Urban and Environmental Planning Studio) ปฏิบัติการวางแผนพัฒนาชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมข้ันต้น กระบวนการข้ันตอนการ วางแผน การปรับใช้หลักการทฤษฎีกับสถานการณ์จริง การกำหนดรายละเอียดและวัตถุประสงค์ ของโครงการ การเก็บข้อมูลและศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการวางแผน การสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วม ตลอดจนการวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล การวางแผนพัฒนาพื้นที่ที่ เหมาะสม เน้นการพฒั นาบนฐานทางวัฒนธรรม และภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ รวมถึงการสร้างนวัตกรรม เพ่ือยกระดับคณุ ภาพชวี ิตและตอบรับกบั สังคมยุคใหม่ มกี ารศึกษาดงู านนอกสถานที่ Exercise in basic urban and environmental planning through assigned projects; conductin g overall planning processes, a p p ly in g theories on a specific cases, defining project’s details and objectives, gathering data and examining factors related to planning an area, adoptin g participation activities, as well as analyzin g and synthesizing data and information acquired; proposing practical spatial plans; emphasis on development approaches based on cultural assets and local wisdoms, as well as innovations which act to upgrade living quality and response to evolving social environment. Field trips required. ปฏบิ ตั ิการวางแผนชมุ ชนเมืองและสภาพแวดลอ้ มขั้นสูง 3(0-6-3) (Advanced Urban and Environmental Planning Studio) ปฏิบัติการวางแผนพัฒนาชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมข้ันก้าวหน้า เน้นประเด็นเฉพาะ เรื่องที่นักศึกษาสนใจ การฝึกหัด การนำแผนไปปฏิบัติ ผลผลิตของการฝึกหัดน้ีประกอบด้วย 1) แผนพฒั นาพื้นท่ี และ 2) แนวทางการนำแผนไปปฏบิ ตั ิ มีการศกึ ษาดงู านนอกสถานท่ี Exercise in advanced urban and environmental planning through assigned projects in which each focuses on specific topics of individual student’s interests; more elaborate learning process than that accomplished in Urban and Environmental Planning Studio I including planning Implementation; outcomes including 1) practical spatial plans and 2) practical implementation plans. Field trips required. วิทยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเทา่ 36 หน่วยกติ (Thesis) โครงการศึกษาเฉพาะบุคคล ในหัวข้อท่ีนักศึกษามีความสนใจ โดยมีเน้ือหาสาระและ รายละเอยี ดทยี่ อมรับรว่ มกันกับอาจารย์ทป่ี รกึ ษาวิทยานิพนธ์ Individual research on a topic characterized by the curriculum with content and complexity agreed to by an advisor. หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 118 264 621 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเทา่ 12 หนว่ ยกติ 264 622 264 630 (Thesis) โครงการศึกษาเฉพาะบุคคล ในหัวข้อที่นักศึกษามีความสนใจ โดยมีเนื้อหาสาระและ รายละเอยี ดทย่ี อมรบั ร่วมกนั กับอาจารย์ท่ปี รกึ ษาวิทยานพิ นธ์ Individual research on a topic characterized by the curriculum with content and complexity agreed to by an advisor. การค้นควา้ อิสระ มคี ่าเทียบเทา่ 6 หนว่ ยกติ (Independent Study) ค้นคว้าในเร่ืองท่สี นใจเปน็ พิเศษด้วยความเห็นชอบของอาจารย์ผคู้ วบคมุ ฝึกหัดและแสดง ความสามารถในการทำการศกึ ษาวจิ ัยทีก่ ระชบั แตค่ รบถว้ นตามกระบวนการ Research on a topic of special interest, approved by an advisor, demonstrating ability to conduct a concise research through comprehensive procedure. กระบวนทัศน์การวางแผน 3(3-0-6) (Planning Paradigms) แนวคิด และพัฒนาการของกระบวนทัศน์ในการวางแผนชุมชนเมือง การวางแผนการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อมเมืองและธรรมชาติ ท่ีปรากฏและ ได้รบั การยอมรับอยา่ งกวา้ งขวางต้งั แต่อดตี จนถึงปจั จุบัน การวิเคราะหห์ ากระบวนทศั นท์ เ่ี หมาะสม เพอ่ื นำมาประยุกตใ์ ชใ้ นโครงการวางแผนชมุ ชนเมอื งและสภาพแวดล้อมประเภท ต่าง ๆ ตั้งแต่การ พัฒนาเมือง ถึงการอนุรักษแ์ ละฟนื้ ฟเู มอื งอย่างสร้างสรรค์และเหมาะสม Concepts and evolution of well-recognized paradigms in urban planning, economic and social development planning, urban and natural environment conservation and regeneration from past to present; finding appropriate paradigms for creative and suitable applications in various types of urban environmental planning projects from urban development to urban conservation and regeneration. หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
P a g e | 119 264 631 การวางแผนสิง่ แวดล้อม 3(3-0-6) 264 632 (Environmental Planning) หลักการและทฤษฎีการวางแผนสิ่งแวดล้อม ปัญหาและประเด็นเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมซ่ึง เกิดจากการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์และปัจจัยอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม การเปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ การพัฒนาโครงการ การพัฒนาในเขตเมือง การออกแบบและการวางผังเมือง กฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม แนวความคิดและการทำรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบส่ิงแวดล้อมและความเส่ียงต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรวัฒนธรรม โบราณคดี ภมู ิทศั นแ์ ละคณุ ภาพชวี ิต วธิ ีและเทคนิคการประเมินผลกระทบส่งิ แวดล้อม การประเมิน ทัศนคุณภาพ มาตรการแก้ไขและลดผลกระทบ รวมทั้งการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม แบบฝกึ หดั การวางแผนสงิ่ แวดล้อม มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่ Principles and theories on environmental planning; environmental problems and issues from human settlements and other factors affecting environment including climate change, project developments, urban development, urban design and urban planning; regulatory and policy making environment; concepts and report writing of environmental impact analysis and environmental risks affecting environment, economy, society, cultural resources, archaeology, landscapes and quality of life; a ssessment processes and techniques; visual quality assessment; mitigation of impacts and monitoring environment quality; exercises on environmental planning. Field trips required. กลไกในการนำผังเมอื งสู่ภาคปฏบิ ตั ิ 3(3-0-6) (Mechanisms of Planning Implementation) กลไกสำคัญสามประการท่ีช่วยให้ผังเมืองที่วางไว้ปฏิบัติได้จริง กลไกด้านกฎหมาย ด้าน การเงิน และด้านการบริหารจัดการ รวมถึงมาตรการต่าง ๆ ในการบริหารจัดการการพัฒนาตาม แผน กรณศี ึกษาตา่ ง ๆ จากประสบการณจ์ ริง Three major mechanisms that realize the master plans: legal mechanism, financial mechanism, and administrative mechanism; essential planning measures or processes for plan implementation stage; related case studies. หลักสตู รระดบั บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 120 264 633 การศกึ ษาภาคสนาม 3(0-6-3) 264 634 (Field Study in Planning) ตัวอย่างการวางแผนเพ่ือสร้างความเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานกับสภาพทาง กายภาพซึ่งดำเนินการในสภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างไปจากท่ีนักศึกษา คุน้ เคย โดยเดินทางไปศกึ ษาสถานที่จริงภายในประเทศหรอื ต่างประเทศ เพอื่ สำรวจ วางแผน และ ประเมินการวางแผนพฒั นาชมุ ชนเมืองและสภาพแวดล้อมในประเดน็ ที่สนใจหรือท่ีกำหนด มีการศกึ ษาดูงานนอกสถานที่ Examples of planning which demonstrate relationship between users and physical conditions in socio-cultural environments other than those to which students are accustomed to; requiring either a domestic or international field study trip related to urban and environmental planning on given issues or issues of particular interest. Field trips required. สภาพแวดลอ้ มและพฤตกิ รรมมนษุ ย์ 3(3-0-6) (Environment and Human Behavior) อิทธิพลต่าง ๆ ที่มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ในระดับส่วนบุคคลและระดับกลุ่มสังคมซึ่ง เก่ียวข้องกับมนุษย์และสภาพแวดล้อมทางกายภาพ กระบวนการพฤติกรรมมนุษย์ การรับรู้ การ เรยี นรู้ การจดจำสภาพแวดล้อม รวมถึงวิเคราะหถ์ ึงสง่ิ ท่เี รยี นรู้และจำได้ที่ปรากฏในระบบมโนทัศน์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงจินตภาพของสภาพแวดล้อมชุมชน และวิเคราะห์การใช้สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของชุมชน พฤติกรรมทางสังคมในสภาพแวดล้อมชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมแออัด การ เผชญิ หนา้ ในสังคมและการปรับตวั ในวฒั นธรรมแปลกใหม่ Influences affecting human behaviors of individuals and social groups which involve man and physical environment; human behavioral process, environmental perception, learning and cognition, analysis of image of the urban environment and its utilization; social behaviors in urban and crowding environment; social encountering and assimilating to new cultural environment. หลกั สตู รระดับบณั ฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
P a g e | 121 264 635 สารสนเทศเมอื ง 3(3-0-6) 264 636 264 637 (Urban Informatics) ความรู้พ้ืนฐาน ความหมาย หลักการ กระบวนการ และการประยุกต์ใช้ในงานต่าง ๆ เก่ียวกับเทคโนโลยีในการจัดเก็บ บริหารจัดการและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเมือง ระบบภูมิ สารสนเทศ การสำรวจระยะไกล เทคโนโลยีโลกเสมือนก้าวสู่โลกความจริง ปฏิบัติการสร้าง ฐานข้อมูลสารสนเทศเมือง การแก้ไขข้อมูล ทดลองการวิเคราะห์ปัญหาเบ้ืองต้นในการวางแผน พฒั นาชมุ ชนเมอื งและสภาพแวดล้อม Fundamental Knowledge, meanings, principles, procedures and applications of technologies for data collection, data management, and analyses of urban informatics; Geographic Information System, remote sensing, virtual reality technology; exercises to build database of urban informatics, data editing, and experimenting with analysis of simple problems and applications in urban and environmental planning. การศึกษาหวั ขอ้ พเิ ศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) เงอ่ื นไข: 1. นักศึกษาท่จี ะลงทะเบียนรายวชิ านต้ี ้องไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากผรู้ บั ผิดชอบ รายวชิ า 2. นักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 วัดผลการศึกษาเปน็ S หรือ U นกั ศึกษาแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข วัดผลการศึกษาเป็นคา่ ระดับ การวางแผนพัฒนาชุมชนเมือง และสภาพแวดล้อมในเรื่องท่ีสนใจ หรือเป็นเร่ืองที่สำคัญ อยู่ในขณะนน้ั Topic of special interest or current issues concerning urban and environmental planning. การวางแผนการขนสง่ ในเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Transportation Planning) การวางแผนระบบคมนาคมหรือการขนส่งในพ้ืนที่เมืองที่จำเป็น รูปแบบระบบการขนส่ง ต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ประโยชน์ท่ีดินและการขนส่ง ความเหมาะสมการลงทุน โครงสร้างพ้ืนฐานด้านการขนส่ง การพัฒนาเมืองอย่างย่ังยืนโดยมีระบบขนส่งชี้ นำ แผนงาน นโยบาย และกฎหมายดา้ นการขนส่งและพฒั นาเมอื งทเ่ี กย่ี วข้อง รวมถึงกรณีศกึ ษาการวางแผนการ ขนส่งในบรบิ ทเมืองและพ้นื ท่เี ก่ียวเนอื่ งท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ Urban transportation planning process; appropriate transportation systems and the correlation between land use and transportation; transportation project assessment; transportation-oriented development for sustainability; policies and legal issues pertaining to urban planning and development; essential urban transportation case studies. หลกั สูตรระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 122 264 638 การวางแผนชมุ ชนเมืองแบบปรบั ตัวได้ 3(3-0-6) (Urban Resilience Planning) ทฤษฎี แนวความคิด และกรณีศึกษาของการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม แนวทาง เคร่ืองมือ กลไก และมาตรการในการพัฒนาและการบริหารจัดการชุมชนเมืองให้มี ความสามารถในการรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลง ภัยพิบัติด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ ทางสังคม การเมืองการปกครอง ทางสาธารณสุข รวมถึงการวางแผนการ การกู้ภัย สู่การฟ้ืนฟูและพัฒนาหลังภัยพิบัติให้ชุมชนเมืองกลับสู่สภาวะ บทบาทหน้าท่ีปกติอย่าง รวดเรว็ และดีขน้ึ Theories, concepts, and case studies of urban and environmental planning; methods, tools and measures in urban development and management to enable city to respond to various types of disasters including natural disaster, economic crises, social and political unrests, public health threats; planning for rapid emergency response and recovery to “build back better”. หลักสูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 123 รายละเอยี ดของหลกั สตู ร หลกั สูตรปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) ชอ่ื หลักสูตร หลักสูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาสถาปตั ยกรรม ชือ่ หลักสูตร Doctor of Philosophy Program in Architecture ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ชื่อปรญิ ญาและสาขาวิชา ปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ (สถาปตั ยกรรม) ชื่อเต็มภาษาไทย Doctor of Philosophy (Architecture) ชือ่ เต็มภาษาองั กฤษ ปร.ด. (สถาปตั ยกรรม) ชอ่ื ย่อภาษาไทย Ph.D. (Architecture) ชื่อย่อภาษาองั กฤษ วชิ าเอก 1. ทฤษฎีและแนวความคิดในการออกแบบ 2. การอนุรกั ษพ์ ลงั งานและสภาพแวดลอ้ ม จำนวนหน่วยกติ ท่เี รียนตลอดหลักสูตร มคี ่าเทียบเทา่ 48 หน่วยกิต แบบ 1.1 (ผเู้ ข้าศึกษาทส่ี ำเร็จปรญิ ญาโท) จำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 60 หน่วยกติ แบบ 2.1 (ผูเ้ ขา้ ศกึ ษาทส่ี ำเรจ็ ปริญญาโท) จำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 72 หนว่ ยกิต แบบ 2.2 (ผเู้ ข้าศึกษาท่สี ำเร็จปริญญาตรี) อาชพี ท่ีสามารถประกอบไดห้ ลงั สำเรจ็ การศึกษา 1. สถาปนกิ (สำหรับผูท้ ่ีจบปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิตทีส่ ภาสถาปนกิ รับรอง) 2. ผู้สอนในสถาบนั อดุ มศึกษา และนักวชิ าการ 3. นักวจิ ยั ข้ันสูงดา้ นสถาปตั ยกรรม ศิลปวฒั นธรรม การอนุรกั ษ์พลงั งาน ในหน่วยงานภาครฐั และเอกชน การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบยี นเรยี นขา้ มมหาวิทยาลยั เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบั ณ ฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรือที่มกี ารเปลย่ี นแปลงภายหลงั โครงสร้างของหลักสตู ร แบ่งเป็น 3 แผนการศกึ ษา ดังนี้ 6 หนว่ ยกิต แบบ 1.1 วิทยานิพนธ์ มีคา่ เทยี บเทา่ 48 หนว่ ยกิต 48 หน่วยกิต หมวดวชิ าบงั คับ (ไม่นบั หนว่ ยกติ ) 48 หน่วยกติ วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเทา่ จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตร หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
แบบ 2.1 ไมน่ ้อยกวา่ 60 หนว่ ยกติ P a g e | 124 หมวดวชิ าบงั คับ (ไม่นบั หนว่ ยกติ ) หมวดวชิ าบงั คับ 6 หนว่ ยกิต หมวดวชิ าเลอื ก ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต วิทยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเทา่ 6 หน่วยกติ จำนวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สตู รไมน่ ้อยกว่า 48 หนว่ ยกิต 60 หนว่ ยกิต แบบ 2.2 ไมน่ อ้ ยกวา่ 72 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าบงั คับ (ไมน่ บั หนว่ ยกติ ) 6 หนว่ ยกิต หมวดวิชาบงั คับ 6 หน่วยกิต หมวดวิชาเลอื ก ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกติ วทิ ยานพิ นธ์ มคี า่ เทยี บเท่า 48 หนว่ ยกติ จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่า 72 หนว่ ยกติ รายวชิ า วิชาเอกทฤษฎีและแนวความคดิ ในการออกแบบ 1. แบบ 1.1 หมวดวชิ าบังคบั (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) จำนวน 6 หนว่ ยกิต ประกอบดว้ ยรายวิชาต่อไปน้ี 261 710 ประวตั ิศาสตร์และทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม 3*(2-2-5) (Architectural History and Theory) 261 711 ทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม 3*(2-2-5) (Architectural Theory) วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 48 หน่วยกติ 261 720 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเทา่ 48 หน่วยกิต (Thesis) 2. แบบ 2.1 หมวดวิชาบงั คบั (ไม่นบั หนว่ ยกิต) จำนวน 6 หนว่ ยกติ ประกอบดว้ ยรายวิชาต่อไปนี้ 261 710 ประวตั ศิ าสตร์และทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม 3*(2-2-5) (Architectural History and Theory) 261 711 ทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม 3*(2-2-5) (Architectural Theory) หมวดวิชาบงั คบั จำนวน 6 หนว่ ยกติ ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปน้ี 261 712 สัมมนาทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Seminar in Architectural Theory) 261 713 สมั มนาทฤษฎสี ถาปัตยกรรมและสภาพแวดลอ้ ม 3(2-2-5) (Seminar in Architectural Theory and Environment) หมวดวิชาเลอื ก จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยเลอื กจากรายวิชาต่อไปน้ี 261 415 เทคโนโลยแี บบบรู ณาการสำหรับอาคาร 3(3-0-6) (Integrated Technology for Buildings) 261 431 สัมมนาสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Seminar in Architecture) หมายเหตุ * รายวิชาทเ่ี รยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกิต หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 125 261 432 การออกแบบและทฤษฎวี พิ ากษ์ 3(3-0-6) (Critical Theory and Design Criticism) 261 433 ความหมายและการรบั รู้ทางสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Meaning and Perception in Architecture) 261 434 ศลิ ปะการก่อสรา้ ง รายละเอียด และวสั ดุในงานสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Tectonic Theory, Architectural Details and Materials) 261 435 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ทางสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Architectural Analysis and Synthesis) 261 436 สถาปตั ยกรรมและภมู ทิ ศั นว์ ัฒนธรรมสากล 3(3-0-6) (Architecture and Global Cultural Landscape) 261 437 สถาปตั ยกรรมเพอ่ื สงิ่ แวดล้อม 3(2-2-5) (Green Architecture) 261 438 การใชค้ อมพิวเตอร์เพ่ือจำลองและวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของอาคารข้ันตน้ 3(2-2-5) (Introduction to Building Environment Modeling and Analysis) 261 439 การใชค้ อมพิวเตอร์เพื่อจำลองและวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมของอาคารขนั้ สูง 3(2-2-5) (Advanced Building Environment Modeling and Analysis) 261 440 การใช้วสั ดุเพื่อลดผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มของอาคาร 3(2-2-5) (Low Environmental Impact Building Materials) 261 441 การระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาตใิ นการออกแบบอาคาร 3(2-2-5) (Natural Ventilation in Architectural Design) 261 442 แสงในงานสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Lighting in Architecture) หมายเหตุ นักศึกษาสามารถเลือกศึกษารายวิชาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาจากหลักสูตรอ่ืน ๆ ของ คณะและมหาวิทยาลยั ศลิ ปากรตามความเห็นชอบของอาจารย์ท่ปี รึกษา วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 48 หน่วยกิต 261 721 วิทยานพิ นธ์ มีค่าเทยี บเท่า 48 หนว่ ยกติ (Thesis) 3. แบบ 2.2 หมวดวชิ าบังคับ (ไมน่ บั หนว่ ยกิต) จำนวน 6 หนว่ ยกิต ประกอบดว้ ยรายวิชาตอ่ ไปน้ี 261 710 ประวตั ศิ าสตร์และทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม 3*(2-2-5) (Architectural History and Theory) 261 711 ทฤษฎีสถาปัตยกรรม 3*(2-2-5) (Architectural Theory) หมวดวชิ าบงั คบั จำนวน 6 หนว่ ยกติ ประกอบดว้ ยรายวิชาตอ่ ไปน้ี 261 712 สัมมนาทฤษฎสี ถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Seminar in Architectural Theory) 261 713 สัมมนาทฤษฎีสถาปัตยกรรมและสภาพแวดลอ้ ม 3(2-2-5) (Seminar in Architectural Theory and Environment) หมายเหตุ * รายวชิ าท่เี รียนโดยไม่นับหนว่ ยกติ หลักสูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 126 หมวดวชิ าเลือก จำนวนไมน่ ้อยกว่า 18 หนว่ ยกิต โดยเลือกจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 261 415 เทคโนโลยแี บบบรู ณาการสำหรับอาคาร 3(3-0-6) (Integrated Technology for Buildings) 261 431 สมั มนาสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Seminar in Architecture) 261 432 การออกแบบและทฤษฎีวิพากษ์ 3(3-0-6) (Critical Theory and Design Criticism) 261 433 ความหมายและการรับรทู้ างสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Meaning and Perception in Architecture) 261 434 ศลิ ปะการก่อสรา้ ง รายละเอียด และวสั ดุในงานสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Tectonic Theory, Architectural Details and Materials) 261 435 การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ทางสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Architectural Analysis and Synthesis) 261 436 สถาปตั ยกรรมและภูมทิ ัศน์วัฒนธรรมสากล 3(3-0-6) (Architecture and Global Cultural Landscape) 261 437 สถาปตั ยกรรมเพื่อสง่ิ แวดล้อม 3(2-2-5) (Green Architecture) 261 438 การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจำลองและวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของอาคารขน้ั ตน้ 3(2-2-5) (Introduction to Building Environment Modeling and Analysis) 261 439 การใช้คอมพวิ เตอร์เพื่อจำลองและวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของอาคารข้นั สูง 3(2-2-5) (Advanced Building Environment Modeling and Analysis) 261 440 การใช้วัสดเุ พอื่ ลดผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมของอาคาร 3(2-2-5) (Low Environmental Impact Building Materials) 261 441 การระบายอากาศดว้ ยวธิ ธี รรมชาตใิ นการออกแบบอาคาร 3(2-2-5) (Natural Ventilation in Architectural Design) 261 442 แสงในงานสถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Lighting in Architecture) หมายเหตุ นักศึกษาสามารถเลือกศึกษารายวิชาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาจากหลักสูตรอ่ืน ๆ ของ คณะและมหาวิทยาลยั ศิลปากรตามความเห็นชอบของอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 48 หนว่ ยกติ 261 722 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเท่า 48 หน่วยกติ (Thesis) วชิ าเอกการอนุรกั ษพ์ ลงั งานและสภาพแวดล้อม 1. แบบ 1.1 หมวดวชิ าบงั คบั (ไม่นับหน่วยกติ ) จำนวน 6 หน่วยกิต ประกอบดว้ ยรายวิชาตอ่ ไปน้ี 261 714 สัมมนาการอนรุ ักษ์พลงั งานและสภาพแวดล้อม 1 3*(2-2-5) (Seminar in Energy and Environmental Conservation I) 261 715 สัมมนาการอนรุ ักษพ์ ลังงานและสภาพแวดลอ้ ม 2 3*(2-2-5) (Seminar in Energy and Environmental Conservation II) หมายเหตุ * รายวชิ าทเ่ี รยี นโดยไมน่ ับหนว่ ยกติ หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 127 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) 48 หนว่ ยกิต 261 720 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเท่า 48 หนว่ ยกติ (Thesis) 2. แบบ 2.1 หมวดวิชาบงั คบั (ไม่นับหนว่ ยกิต) จำนวน 6 หนว่ ยกติ ประกอบดว้ ยรายวชิ าต่อไปน้ี 261 714 สัมมนาการอนุรักษ์พลงั งานและสภาพแวดลอ้ ม 1 3*(2-2-5) (Seminar in Energy and Environmental Conservation I) 261 715 สมั มนาการอนุรักษ์พลงั งานและสภาพแวดล้อม 2 3*(2-2-5) (Seminar in Energy and Environmental Conservation II) หมวดวชิ าบังคับ จำนวน 6 หนว่ ยกติ ประกอบดว้ ยรายวิชาตอ่ ไปน้ี 261 716 การวจิ ยั ข้นั สูงทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดลอ้ ม 3(2-2-5) (Advanced Research in Architecture and Environment) 261 717 สถติ ิเพื่อการวจิ ยั ทางสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Statistics for Architectural Research) หมวดวชิ าเลอื ก จำนวนไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ โดยเลือกจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 261 415 เทคโนโลยแี บบบูรณาการสำหรับอาคาร 3(3-0-6) (Integrated Technology for Buildings) 261 431 สัมมนาสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Seminar in Architecture) 261 432 การออกแบบและทฤษฎวี พิ ากษ์ 3(3-0-6) (Critical Theory and Design Criticism) 261 433 ความหมายและการรบั รู้ทางสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Meaning and Perception in Architecture) 261 434 ศิลปะการกอ่ สรา้ ง รายละเอียด และวสั ดใุ นงานสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Tectonic Theory, Architectural Details and Materials) 261 435 การวิเคราะห์และสงั เคราะห์ทางสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Architectural Analysis and Synthesis) 261 436 สถาปัตยกรรมและภมู ทิ ัศนว์ ฒั นธรรมสากล 3(3-0-6) (Architecture and Global Cultural Landscape) 261 437 สถาปตั ยกรรมเพื่อสิง่ แวดล้อม 3(2-2-5) (Green Architecture) 261 438 การใชค้ อมพิวเตอร์เพ่ือจำลองและวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มของอาคารขั้นตน้ 3(2-2-5) (Introduction to Building Environment Modeling and Analysis) 261 439 การใชค้ อมพวิ เตอร์เพ่ือจำลองและวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มของอาคารข้ันสูง 3(2-2-5) (Advanced Building Environment Modeling and Analysis) 261 440 การใชว้ สั ดเุ พ่อื ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มของอาคาร 3(2-2-5) (Low Environmental Impact Building Materials) 261 441 การระบายอากาศดว้ ยวธิ ธี รรมชาตใิ นการออกแบบอาคาร 3(2-2-5) (Natural Ventilation in Architectural Design) หมายเหตุ * รายวิชาท่ีเรียนโดยไม่นับหนว่ ยกิต หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 128 261 442 แสงในงานสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Lighting in Architecture) หมายเหตุ นักศึกษาสามารถเลือกศึกษารายวิชาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาจากหลักสูตรอื่น ๆ ของ คณะและมหาวิทยาลยั ศิลปากรตามความเหน็ ชอบของอาจารยท์ ีป่ รกึ ษา วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) 48 หนว่ ยกิต 261 721 วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเทา่ 48 หนว่ ยกิต (Thesis) 3. แบบ 2.2 หมวดวิชาบังคบั (ไมน่ บั หนว่ ยกติ ) จำนวน 6 หน่วยกติ ประกอบดว้ ยรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 261 714 สมั มนาการอนรุ กั ษ์พลังงานและสภาพแวดล้อม 1 3*(2-2-5) (Seminar in Energy and Environmental Conservation I) 261 715 สมั มนาการอนุรักษพ์ ลังงานและสภาพแวดลอ้ ม 2 3*(2-2-5) (Seminar in Energy and Environmental Conservation II) หมวดวชิ าบังคบั จำนวน 6 หนว่ ยกติ ประกอบดว้ ยรายวิชาต่อไปนี้ 261 716 การวิจัยข้ันสงู ทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดล้อม 3(2-2-5) (Advanced Research in Architecture and Environment) 261 717 สถติ ิเพอื่ การวจิ ยั ทางสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Statistics for Architectural Research) หมวดวิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกวา่ 18 หน่วยกติ โดยเลือกจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 261 415 เทคโนโลยีแบบบรู ณาการสำหรบั อาคาร 3(3-0-6) (Integrated Technology for Buildings) 261 431 สมั มนาสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Seminar in Architecture) 261 432 การออกแบบและทฤษฎีวิพากษ์ 3(3-0-6) (Critical Theory and Design Criticism) 261 433 ความหมายและการรับร้ทู างสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Meaning and Perception in Architecture) 261 434 ศิลปะการก่อสร้าง รายละเอยี ด และวัสดุในงานสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Tectonic Theory, Architectural Details and Materials) 261 435 การวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะหท์ างสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Architectural Analysis and Synthesis) 261 436 สถาปัตยกรรมและภมู ิทัศน์วฒั นธรรมสากล 3(3-0-6) (Architecture and Global Cultural Landscape) 261 437 สถาปตั ยกรรมเพือ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 3(2-2-5) (Green Architecture) 261 438 การใช้คอมพวิ เตอรเ์ พื่อจำลองและวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของอาคารขน้ั ตน้ 3(2-2-5) (Introduction to Building Environment Modeling and Analysis) 261 439 การใช้คอมพวิ เตอร์เพ่ือจำลองและวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมของอาคารขนั้ สูง 3(2-2-5) (Advanced Building Environment Modeling and Analysis) หมายเหตุ * รายวชิ าท่ีเรียนโดยไมน่ ับหน่วยกิต หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
P a g e | 129 261 440 การใช้วัสดเุ พือ่ ลดผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มของอาคาร 3(2-2-5) (Low Environmental Impact Building Materials) 261 441 การระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาตใิ นการออกแบบอาคาร 3(2-2-5) (Natural Ventilation in Architectural Design) 261 442 แสงในงานสถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Lighting in Architecture) หมายเหตุ นักศึกษาสามารถเลือกศึกษารายวิชาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาจากหลักสูตรอ่ืน ๆ ของ คณะและมหาวิทยาลยั ศลิ ปากรตามความเหน็ ชอบของอาจารยท์ ป่ี รึกษา วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทียบเทา่ ) 48 หน่วยกติ 261 722 วทิ ยานพิ นธ์ มคี ่าเทยี บเท่า 48 หนว่ ยกิต (Thesis) หลักสูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
แผนการศึกษา P a g e | 130 วิชาเอกทฤษฎแี ละแนวความคดิ ในการออกแบบ 1. แบบ 1.1 จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) รหัสวิชา ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 3*(2-2-5) ช่อื รายวชิ า 9 9 261 710 ประวตั ศิ าสตร์และทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม 261 720 วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) รหสั วชิ า รวมจำนวน 3*(2-2-5) ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 9 9 ชื่อรายวิชา จำนวนหนว่ ยกติ 261 711 ทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม (บ-ป-น) 261 720 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 9 9 รหัสวชิ า รวมจำนวน ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) ชือ่ รายวิชา 9 9 261 720 วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเท่า) รหสั วชิ า จำนวนหน่วยกติ รวมจำนวน (บ-ป-น) ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 6 6 ชื่อรายวชิ า จำนวนหนว่ ยกิต 261 720 วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) (บ-ป-น) รหัสวิชา รวมจำนวน 6 6 ปที ี่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 ชือ่ รายวชิ า 261 720 วิทยานพิ นธ์ (มีค่าเทียบเท่า) รหัสวชิ า รวมจำนวน ปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ชือ่ รายวิชา 261 720 วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * รายวิชาท่เี รียนโดยไมน่ ับหน่วยกิต หลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
วชิ าเอกทฤษฎแี ละแนวความคดิ ในการออกแบบ (ตอ่ ) P a g e | 131 2. แบบ 2.1 จำนวนหนว่ ยกติ รหัสวชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (บ-ป-น) ชือ่ รายวชิ า 3*(2-2-5) 3(2-2-5) 261 710 ประวตั ศิ าสตร์และทฤษฎีสถาปัตยกรรม 3 261 712 6 สมั มนาทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม รหสั วิชา จำนวนหนว่ ยกติ วชิ าเลอื ก รวมจำนวน (บ-ป-น) ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 3*(2-2-5) 3(2-2-5) ช่ือรายวชิ า 3 6 261 711 ทฤษฎีสถาปตั ยกรรม 261 713 สมั มนาทฤษฎีสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม จำนวนหน่วยกติ วชิ าเลือก (บ-ป-น) รหสั วชิ า 12 รวมจำนวน 12 ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต ช่อื รายวิชา (บ-ป-น) 9 261 721 วทิ ยานิพนธ์ (มคี า่ เทียบเท่า) 9 รหสั วิชา รวมจำนวน จำนวนหน่วยกิต ปีที่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 (บ-ป-น) ชอ่ื รายวชิ า 9 9 261 721 วทิ ยานิพนธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) รหัสวชิ า รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) ปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 9 ชอื่ รายวชิ า 9 261 721 วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) จำนวนหน่วยกิต รหสั วชิ า รวมจำนวน (บ-ป-น) 9 ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2 9 ชอ่ื รายวชิ า 261 721 วิทยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) รหัสวิชา รวมจำนวน ปที ่ี 4 ภาคการศึกษาที่ 1 ชื่อรายวิชา 261 721 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * รายวิชาทีเ่ รียนโดยไม่นับหน่วยกิต หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
วิชาเอกทฤษฎแี ละแนวความคดิ ในการออกแบบ (ตอ่ ) P a g e | 132 3. แบบ 2.2 จำนวนหน่วยกติ รหสั วิชา ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 (บ-ป-น) ช่ือรายวิชา 3*(2-2-5) 3(2-2-5) 261 710 ประวตั ศิ าสตรแ์ ละทฤษฎสี ถาปตั ยกรรม 6 261 712 สมั มนาทฤษฎสี ถาปัตยกรรม 9 วชิ าเลือก รหสั วิชา จำนวนหน่วยกติ รวมจำนวน (บ-ป-น) ปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 3*(2-2-5) 3(2-2-5) ชอ่ื รายวชิ า 6 9 261 711 ทฤษฎีสถาปตั ยกรรม 261 713 สัมมนาทฤษฎีสถาปตั ยกรรมและสภาพแวดล้อม จำนวนหนว่ ยกติ วิชาเลอื ก (บ-ป-น) รหสั วชิ า 9 รวมจำนวน 3 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 12 ชื่อรายวิชา จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) 261 722 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเท่า) 9 วิชาเลือก 3 รวมจำนวน 12 รหสั วชิ า ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต ชือ่ รายวิชา (บ-ป-น) 9 261 722 วทิ ยานิพนธ์ (มคี า่ เทยี บเท่า) 9 รหัสวิชา วิชาเลอื ก รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต ปที ี่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 (บ-ป-น) 9 ชื่อรายวชิ า 9 261 722 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเท่า) รหัสวชิ า รวมจำนวน ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ช่ือรายวิชา 261 722 วทิ ยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ * รายวชิ าที่เรียนโดยไม่นบั หนว่ ยกิต หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
รหสั วชิ า ปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 1 P a g e | 133 ช่อื รายวิชา จำนวนหน่วยกิต 261 722 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) (บ-ป-น) รหสั วชิ า รวมจำนวน 6 6 ปที ี่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 ชอื่ รายวชิ า จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) 261 722 วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) 6 รวมจำนวน 6 หลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
วิชาเอกการอนรุ ักษ์พลงั งานและสภาพแวดล้อม P a g e | 134 1. แบบ 1.1 จำนวนหน่วยกิต รหสั วชิ า ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 (บ-ป-น) ช่อื รายวชิ า 3*(2-2-5) 9 261 714 สมั มนาการอนรุ ักษพ์ ลังงานและสภาพแวดลอ้ ม 1 9 261 720 วทิ ยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเท่า) จำนวนหนว่ ยกติ รหสั วิชา รวมจำนวน (บ-ป-น) ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 3*(2-2-5) 9 ช่ือรายวิชา 9 261 715 สัมมนาการอนุรักษพ์ ลงั งานและสภาพแวดลอ้ ม 2 จำนวนหนว่ ยกติ 261 720 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเท่า) (บ-ป-น) 9 รหสั วชิ า รวมจำนวน 9 ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหนว่ ยกิต ชื่อรายวิชา (บ-ป-น) 9 261 720 วทิ ยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) 9 รหัสวิชา รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกติ ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 (บ-ป-น) ชือ่ รายวิชา 6 6 261 720 วทิ ยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) รหัสวิชา รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) ปีที่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 6 ชือ่ รายวิชา 6 261 720 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) รหสั วิชา รวมจำนวน ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 ช่อื รายวิชา 261 720 วทิ ยานิพนธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ * รายวิชาทเ่ี รียนโดยไมน่ บั หนว่ ยกิต หลักสูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
วชิ าเอกการอนุรักษ์พลงั งานและสภาพแวดล้อม (ตอ่ ) P a g e | 135 2. แบบ 2.1 จำนวนหน่วยกติ รหัสวิชา ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 (บ-ป-น) ชอ่ื รายวิชา 3*(2-2-5) 3(2-2-5) 261 714 สัมมนาการอนุรักษ์พลงั งานและสภาพแวดล้อม 1 3 261 716 การวิจยั ขัน้ สูงทางสถาปตั ยกรรมศาสตรแ์ ละสภาพแวดลอ้ ม 6 วิชาเลอื ก รหัสวิชา จำนวนหน่วยกิต รวมจำนวน (บ-ป-น) ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 3*(2-2-5) 3(2-2-5) ชื่อรายวชิ า 3 6 261 715 สัมมนาการอนุรกั ษพ์ ลงั งานและสภาพแวดล้อม 2 261 717 สถิติเพอื่ การวจิ ัยทางสถาปัตยกรรม จำนวนหนว่ ยกิต วชิ าเลือก (บ-ป-น) รหัสวชิ า 12 รวมจำนวน 12 ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกิต ชื่อรายวชิ า (บ-ป-น) 9 261 721 วทิ ยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเท่า) 9 รหสั วิชา รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (บ-ป-น) ชอ่ื รายวิชา 9 9 261 721 วิทยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) รหัสวชิ า รวมจำนวน จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 9 ชอ่ื รายวชิ า 9 261 721 วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทียบเทา่ ) จำนวนหน่วยกิต รหัสวิชา รวมจำนวน (บ-ป-น) 9 ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2 9 ชื่อรายวชิ า 261 721 วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทียบเท่า) รหสั วิชา รวมจำนวน ปที ี่ 4 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ช่ือรายวชิ า 261 721 วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ * รายวชิ าทเ่ี รียนโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
วชิ าเอกการอนรุ กั ษพ์ ลังงานและสภาพแวดล้อม (ตอ่ ) P a g e | 136 3. แบบ 2.2 จำนวนหนว่ ยกติ รหัสวชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 (บ-ป-น) ช่ือรายวิชา 3*(2-2-5) 3(2-2-5) 261 714 สมั มนาการอนรุ กั ษ์พลังงานและสภาพแวดล้อม 1 6 261 716 การวิจยั ขนั้ สงู ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดลอ้ ม 9 วชิ าเลือก รหสั วิชา จำนวนหน่วยกติ รวมจำนวน (บ-ป-น) ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 3*(2-2-5) 3(2-2-5) ชือ่ รายวิชา 6 9 261 715 สมั มนาการอนรุ ักษพ์ ลังงานและสภาพแวดลอ้ ม 2 261 717 สถติ เิ พอื่ การวจิ ัยทางสถาปัตยกรรม จำนวนหน่วยกติ วิชาเลือก (บ-ป-น) รหัสวชิ า 9 รวมจำนวน 3 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 12 ชื่อรายวชิ า จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) 261 722 วทิ ยานิพนธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 9 วิชาเลอื ก 3 รวมจำนวน 12 รหสั วิชา ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 จำนวนหน่วยกิต ชอ่ื รายวชิ า (บ-ป-น) 9 261 722 วทิ ยานิพนธ์ (มคี า่ เทียบเท่า) 9 รหัสวิชา วชิ าเลอื ก รวมจำนวน จำนวนหน่วยกติ ปที ี่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 (บ-ป-น) 9 ช่อื รายวชิ า 9 261 722 วิทยานพิ นธ์ (มีค่าเทียบเท่า) รหสั วิชา รวมจำนวน ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ชอ่ื รายวชิ า 261 722 วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ * รายวชิ าทีเ่ รียนโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ หลักสูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
รหสั วชิ า ปที ่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 1 P a g e | 137 ชือ่ รายวิชา จำนวนหน่วยกติ 261 722 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเท่า) (บ-ป-น) รหสั วชิ า รวมจำนวน 6 6 ปที ี่ 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ชอ่ื รายวิชา จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) 261 722 วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเท่า) 6 รวมจำนวน 6 หลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 138 คำอธบิ ายรายวชิ า 261 415 เทคโนโลยแี บบบรู ณาการสำหรับอาคาร 3(3-0-6) (Integrated Technology for Buildings) งานระบบอาคารท่ีมีความสัมพันธ์กับงานสถาปัตยกรรม รวมถึงเทคโนโลยีท่ีใช้ในการ ก่อสร้าง การใช้อุปกรณ์ในการควบคุมสภาวะแวดล้อมเพื่อสร้างความสบายอย่างประหยัด โดย ถูกต้องตามหลักสุขศาสตร์และนิเวศวิทยา การเลือกอุปกรณ์อาคาร ขนาดพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสม มี ประสทิ ธภิ าพและกลมกลืนกบั อาคาร และการกำหนดตำแหนง่ ทตี่ ้งั มีการศึกษานอกสถานที่ Integrating technical systems into the design of buildings; construction technology, and mechanical equipment; finding economical means of achieving thermal comfort with regards to health and environment; choosing appropriate systems, and making provisions for installation that are efficient and harmonized with the building and sitting. Field trips required. 261 431 สมั มนาสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Seminar in Architecture) สัมมนาเก่ียวกับงานสถาปัตยกรรมในปัจจุบัน ต้ังแต่จุดเริ่มต้น กระบวนการคิด การ ออกแบบ หลกั การและแนวคิดตา่ ง ๆ ทส่ี มั พนั ธก์ บั การออกแบบสถาปตั ยกรรมและสภาพแวดล้อม Seminar on contemporary architecture, their conceptions, thinking and designing processes; principles and concepts concerning architectural and environmental design. 261 432 การออกแบบและทฤษฎีวพิ ากษ์ 3(3-0-6) (Critical Theory and Design Criticism) ทฤษฎี หลักการ และกระแสทางความคิด ท่ีเก่ียวเน่ืองกับกระบวนการคิดและการ ออกแบบทางสถาปัตยกรรม การเปลี่ยนแปลงของระบบความคิดท่ีเก่ียวเนื่องกับสังคมวัฒนธรรม ซง่ึ ส่งผลกระทบต่อการพฒั นาเปลยี่ นแปลงวิธกี ารออกแบบ ตลอดจนรูปแบบของงานสถาปัตยกรรม ทปี่ รากฏข้นึ ในยคุ สมยั ตา่ ง ๆ Theory, principles and movements relating to architectural thinking and designing process; changes in socio-cultural paradigms affecting design methods and architectural styles of different periods. หลกั สูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
P a g e | 139 261 433 ความหมายและการรับร้ทู างสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Meaning and Perception in Architecture) ความรู้ความเข้าใจด้านปรัชญาและทฤษฎี ท่ีเก่ียวเน่ืองกับความหมายทางสถาปัตยกรรม และสิ่งแวดลอ้ ม ธรรมชาตขิ องมนุษยแ์ ละการอยอู่ าศยั ปจั จยั ทส่ี ่งผลตอ่ ปรากฏการณท์ างพฤตกิ รรม และการรบั รู้ของมนุษย์ตง้ั แตร่ ะดับบุคคลถึงระดับสงั คม และวัฒนธรรมซึ่งสัมพนั ธก์ ับการออกแบบ สถาปตั ยกรรม Understanding philosophy and theory in meaning of architecture and dwelling, human nature and architecture; factors affecting human perception and behavior at individual as well as socio-cultural levels of interaction and implications for architectural design. 261 434 ศลิ ปะการกอ่ สร้าง รายละเอียด และวัสดุในงานสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Tectonic Theory, Architectural Details and Materials) ปรัชญา ทฤษฎี และแนวทางการปฏิบัติท่ีเกี่ยวเน่ืองกับศิลปะการก่อสร้าง การทำ รายละเอียดและวัสดทุ างสถาปัตยกรรมในรปู แบบต่างๆ เพอื่ ความสมบรู ณ์ในการพัฒนาแบบและใช้ เปน็ สื่อในการแสดงออกซ่ึงแนวความคิดในการออกแบบสถาปตั ยกรรมน้นั ๆ Philosophy, theory, and practical approaches to the art of construction; developing architectural details and using various types of materials to express design concepts. 261 435 การวิเคราะห์และสงั เคราะห์ทางสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Architectural Analysis and Synthesis) ศึกษาวเิ คราะห์ ระเบียบวธิ วี จิ ัย ตลอดจนการตงั้ คำถามและกระบวนการดำเนินการวจิ ัยใน รูปแบบตา่ ง ๆ ทสี่ ัมพันธ์กับการออกแบบสถาปัตยกรรม Research methodology, analysis, and problem identification; various approaches to design-related research. 261 436 สถาปัตยกรรมและภูมทิ ศั นว์ ัฒนธรรมสากล 3(3-0-6) (Architecture and Global Cultural Landscape) ความหลากหลายทางวัฒนธรรมการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม และภูมิทัศน์ของ หลายหลากชนชาติ การอบุ ัติข้ึนของแนวทางการออกแบบสถาปตั ยกรรมและภมู ทิ ัศนใ์ นนานาอารย ธรรม กระบวนการคิด การพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ จากทัว่ โลก มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Various creative traditions concerning architecture and landscape of different cultural groups; design approaches adopted by different civilizations; thinking process, developments and changes concerning the cultural environment in different regions of the world. Field trips required. หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
P a g e | 140 261 437 สถาปตั ยกรรมเพื่อส่ิงแวดล้อม 3(2-2-5) (Green Architecture) แนวคิดของงานสถาปัตยกรรมท่ีเน้นเร่ืองการอนุรักษ์พลังงาน การคำนึงถึงผลกระทบต่อ ส่ิงแวดลอ้ ม ความสบายและสุขภาวะของผูใ้ ชอ้ าคาร มีการศึกษานอกสถานที่ Concept of energy conservation, environmental awareness in architectural design and comfort and wellbeing of building occupants. Field trips required. 261 438 การใช้คอมพิวเตอรเ์ พือ่ จำลองและวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมของอาคารข้นั ต้น 3(2-2-5) (Introduction to Building Environment Modeling and Analysis) พ้ื นฐาน การใช้โป รแกรมค อม พิ วเตอร์เพื่ อให้ เข้าใจถึงวิธีการวิ เคราะห์ ผ ลกระท บ ของ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติท่มี ตี อ่ การออกแบบอาคาร Fundamental use of computer programs for modeling and analyzing environmental influence in the process of building design. 261 439 การใชค้ อมพิวเตอร์เพอื่ จำลองและวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของอาคารขั้นสงู 3(2-2-5) (Advanced Building Environment Modeling and Analysis) การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือจำลองสภาพแวดล้อมและประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ของอาคารขน้ั สงู เพ่อื ใช้ในการศกึ ษาวจิ ัยหรอื ประกอบการประเมินอาคารเขยี ว Advanced use of computer programs for modeling and analyzing environmental performance and energy efficiency of buildings for the purpose of architectural research or green building assessment. 261 440 การใชว้ สั ดเุ พื่อลดผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อมของอาคาร 3(2-2-5) (Low Environmental Impact Building Materials) เทคนิคในการประเมินผลกระทบของวัสดุที่มีต่อสิ่งแวดล้อม วิธีการประเมิน วัฏจักรชีวิต ของวัสดุ และวิธีการประเมินแบบอื่น ๆ หลักเกณฑ์ในการเลือกใช้วัสดุและการติดตั้งเพ่ือลด ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมของอาคาร Techniques for evaluating material properties in terms of impact on the environment; life cycle assessment and other methods of evaluation; criteria for selecting materials and means of installation to reduce environmental impact. 261 441 การระบายอากาศดว้ ยวธิ ีธรรมชาตใิ นการออกแบบอาคาร 3(2-2-5) (Natural Ventilation in Architectural Design) ทฤษฎีและหลักการระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติในการออกแบบอาคาร เพ่ือให้เกิดสภาวะ สบายและประหยัดพลังงานสำหรับภูมิอากาศในเขตร้อนช้ืน การใช้เคร่ืองมือเพ่ือวิเคราะห์และ จำลองประสิทธภิ าพการระบายอากาศในอาคาร Theory and principles of natural ventilation for design of buildings in tropical climate to provide thermal comfort and conserve energy; use of computing tools to analyze and model the performance of natural ventilation strategies in building. หลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 141 261 442 แสงในงานสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Lighting in Architecture) ทฤษฎีและวิธีการสำหรับการส่องสว่างทั้งแสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์ การนำแสงสว่างไป ใช้เพื่อส่งเสริมงานสถาปัตยกรรม โดยคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ความสบาย ความงาม พลังงาน และสภาพแวดล้อม มีการศึกษานอกสถานท่ี Theories and practice for natural and artificial lighting; use of lighting to enhance architectural with regards to function, comfort, aesthetic quality, energy consumption and environment. Field trips required. 261 710 ประวัติศาสตรแ์ ละทฤษฎีสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Architectural History and Theory) เงอื่ นไข : ศึกษาโดยไม่นบั หน่วยกิต และวดั ผลการศกึ ษาเปน็ S หรือ U ศึกษาเกย่ี วกับประวัติศาสตร์ ทฤษฎีและแนวความคิดทางสถาปตั ยกรรมตะวันตกตั้งแต่ยุค กรีกมาจนถึงยุคนีโอคลาสสิค โดยเน้นการสร้างความเข้าใจจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบงาน ออกแบบสถาปัตยกรรมในแต่ละยุคสมัย และความสัมพันธ์ระหว่างประวัติศาสตร์และทฤษฎี สถาปัตยกรรม Architectural history, theories and concepts from Greek to Neoclassic periods; comparing architectural designs of the periods; analysis and comparative methods to study architecture of each period, focusing on the relationship between history and theory of architecture. 261 711 ทฤษฎีสถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Architectural Theory) วิชาบงั คบั ก่อน 261 710 ประวตั ศิ าสตร์และทฤษฎีสถาปัตยกรรม เงอ่ื นไข : ศึกษาโดยไมน่ บั หนว่ ยกิต และวัดผลการศึกษาเปน็ S หรอื U ศกึ ษาเกย่ี วกบั ทฤษฎีและแนวความคดิ ทางสถาปัตยกรรม ในประวัตศิ าสตร์ตะวันตกต้ังแต่ ยุคนีโอคลาสสิคมาจนถึงยุคปัจจุบัน โดยเน้นการสร้างความเข้าใจจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างทฤษฎีและงานออกแบบสถาปัตยกรรมในแต่ละยคุ สมยั Architectural theories and concepts from Neoclassic to Contemporary periods; analysis and comparative methods to study architecture of each period, focusing on the relationship between theory and practice. 261 712 สัมมนาทฤษฎีสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Seminar in Architectural Theory) การค้นคว้า การใช้ข้อมูลสารสนเทศ การจัดระบบข้อมูล การนำเสนอและอภิปรายใน หวั ขอ้ ตา่ ง ๆ และการทบทวนวรรณกรรมเกย่ี วกับทฤษฎีและแนวความคดิ ทางสถาปัตยกรรม Inquiry using information technology ; presentation and discussion of topics studied; literature reviews concerning architectural theories and concepts. หลกั สูตรระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 142 261 713 สัมมนาทฤษฎีสถาปตั ยกรรมและสภาพแวดล้อม 3(2-2-5) (Seminar in Architectural Theory and Environment) การค้นคว้าขั้นสูง การใช้ข้อมูลสารสนเทศ การนำเสนอและอภิปรายในหัวข้อต่างๆ และ การทบทวนวรรณกรรมเกยี่ วกบั ทฤษฎีและแนวความคิดทางสถาปัตยกรรมและสภาพแวดลอ้ ม Inquiry using advanced information technology; presentation and discussion of topics studied; literature reviews concerning architectural and environmental theories and concepts. 261 714 สมั มนาการอนรุ ักษพ์ ลังงานและสภาพแวดลอ้ ม 1 3(2-2-5) (Seminar in Energy and Environmental Conservation I) เงอื่ นไข : ศึกษาโดยไม่นบั หนว่ ยกิต และวัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U การคน้ คว้า การใช้ข้อมลู สารสนเทศ การนำเสนอและอภปิ รายในหวั ขอ้ ตา่ งๆ และการ ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการอนรุ ักษพ์ ลงั งานในอาคาร Inquiry using information technology ; presentation and discussion of topics studied as well as literature reviews in energy and environmental conservation in buildings. 261 715 สมั มนาการอนุรักษพ์ ลงั งานและสภาพแวดล้อม 2 3(2-2-5) (Seminar in Energy and Environmental Conservation II) วชิ าบังคับกอ่ น 261 714 สัมมนาการอนรุ กั ษ์พลงั งานและสภาพแวดลอ้ ม 1 เงอื่ นไข : ศึกษาโดยไม่นบั หนว่ ยกติ และวดั ผลการศึกษาเปน็ S หรือ U การค้นคว้า การอภิปรายและการประเมินระเบียบวิธีวิจัยเก่ียวกับการอนุรักษ์พลังงานใน อาคาร Inquiry, discussion and evaluation of research methodology in energy conservation in buildings. 261 716 การวิจัยข้นั สูงทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดล้อม 3(2-2-5) (Advanced Research in Architecture and Environment) การวิจัยขั้นสูงทางสถาปัตยกรรมศาสตร์และสภาพแวดล้อม การจัดทำร่างโครงการวิจัย การใช้ เทคโนโลยสารสนเทศและคอมพิวเตอร์สำหรับประมวลผล และการสืบค้นข้อมูล การ วิเคราะห์ผล การเรียบเรียงและเขียนบทความทางวิชาการ เทคนิคการนำเสนอและการอภิปราย ผลงานวิจัย การจัดทำรายงานเพ่ือการตพี มิ พ์ ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ Preparing research proposal; use of information technology for gathering, processing and analyzing data; writing reports and articles; techniques for presentation and discussion of findings and results; preparing papers and articles for publication in journals and international journals. หลกั สตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 143 261 717 สถติ ิเพอ่ื การวจิ ัยทางสถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Statistics for Architectural Research) การใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางสถาปัตยกรรม การกำหนดตัวแปรและการต้ังสมมติฐานการ ออกแบบการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติเชิงพรรณาสำหรับการวิจัย สถิติอนุมานสำหรับการวิจัย การเลือกใช้ค่าสถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัยทางสถาปัตยกรรม ศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปรความหมายข้อมูล และการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สำหรบั การวิเคราะห์ ขอ้ มลู ทางสถติ ิเพื่อการวจิ ัย Using statistics in architectural research; variables and hypothesis; research design; data collection and analysis; descriptive statistics; inference statistics; choosing appropriate statistical test for architectural research; analysis and interpretation of data; application of statistical software package. 261 720 วทิ ยานิพนธ์ มคี ่าเทยี บเท่า 48 หน่วยกิต (Thesis) การศกึ ษารายบุคคลท่เี ก่ียวเนอ่ื งกับสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม โดยเสนอในรูปแบบ ของการวจิ ัยตามกระบวนการของการทำวิทยานิพนธ์ และก่อให้เกิดความรู้ใหม่ โดยคำแนะนำของ อาจารยท์ ่ปี รึกษาวิทยานพิ นธ์ Individual research on a topic relating to architecture and environment carried out systematically to produce new knowledge under the supervision of a thesis supervisor. 261 721 วิทยานพิ นธ์ มคี ่าเทยี บเทา่ 48 หน่วยกติ (Thesis) การศึกษารายบคุ คลที่เก่ยี วเนอื่ งกบั สถาปตั ยกรรมและสภาพแวดลอ้ ม โดยเสนอในรูปแบบ ของการวจิ ัยตามกระบวนการของการทำวิทยานิพนธ์ และก่อให้เกิดความรใู้ หม่ โดยคำแนะนำของ อาจารย์ท่ปี รึกษาวิทยานิพนธ์ Individual research on a topic relating to architecture and environment carried out systematically to produce new knowledge under the supervision of a thesis supervisor. 261 722 วิทยานิพนธ์ มคี า่ เทยี บเทา่ 48 หนว่ ยกติ (Thesis) การศึกษารายบุคคลท่ีเก่ียวเน่ืองกับสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม โดยเสนอใน รูปแบบของการวิจัยตามกระบวนการของการทำวิทยานิพนธ์ และก่อให้เกิดความรู้ใหม่ โดย คำแนะนำของอาจารย์ทป่ี รึกษาวิทยานิพนธ์ Individual research on a topic relating to architecture and environment carried out systematically to produce new knowledge under the supervision of a thesis supervisor. หลักสูตรระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
P a g e | 144 รายละเอยี ดของหลกั สูตร หลกั สูตรปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าสถาปัตยกรรมพืน้ ถน่ิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ชื่อหลกั สูตร หลักสตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑิต ภาษาไทย สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพ้นื ถน่ิ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง Doctor of Philosohy Program in Vernacular Architecture and ภาษาอังกฤษ Built Environment ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ปรัชญาดุษฎบี ณั ฑติ (สถาปัตยกรรมพน้ื ถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง) ชือ่ เตม็ ภาษาไทย Doctor of Philosophy (Vernacular Architecture and Built Environment) ช่อื เตม็ ภาษาองั กฤษ ปร.ด. (สถาปัตยกรรมพน้ื ถิ่นและสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง) ชื่อยอ่ ภาษาไทย Ph.D. (Vernacular Architecture and Built Environment) ชอื่ ยอ่ ภาษาอังกฤษ วิชาเอก ไมม่ ี จำนวนหนว่ ยกติ ทีเ่ รียนตลอดหลักสูตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง แบ่งการศึกษา ออกเปน็ 2 แบบ 4 แผนการศกึ ษา คือ แบบ 1.1 (ผูเ้ ขา้ ศึกษาทส่ี ำเร็จปริญญาโท) มีค่าเทียบเทา่ 48 หนว่ ยกิต แบบ 1.2 (ผ้เู ขา้ ศึกษาท่สี ำเร็จปริญญาตรี) มีค่าเทียบเทา่ 72 หน่วยกติ แบบ 2.1 (ผ้เู ขา้ ศกึ ษาที่สำเรจ็ ปริญญาโท) ไม่น้อยกวา่ 54 หน่วยกิต แบบ 2.2 (ผู้เขา้ ศึกษาท่ีสำเรจ็ ปริญญาตรี) ไม่นอ้ ยกวา่ 72 หนว่ ยกติ อาชีพท่ีสามารถประกอบไดห้ ลงั สำเร็จการศึกษา 1. นักออกแบบทางสถาปตั ยกรรมและสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง 2. ผ้สู อนในสถาบนั อดุ มศึกษา และนักวิชาการ 3. นกั วจิ ัยในหนว่ ยงานรัฐ เอกชน และสถาบนั อุดมศกึ ษา 4. ผ้ผู ลิตส่ือสร้างสรรค์ประเภทต่าง ๆ 5. นกั อนุรักษ์ และนกั พฒั นาชุมชน และมรดกวัฒนธรรม 6. ผปู้ ระกอบกิจการตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับสถาปตั ยกรรมพืน้ ถิน่ ชมุ ชน และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 7. อาชีพอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง และอาชีพใหม่ ๆ ในบริบทร่วมสมัย เช่น Blogger / Vlogger, ผู้ส่งอิทธิพล ทางด้านวฒั นธรรมต่อสงั คม (Cultural Influencer) หลักสตู รระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 145 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนขา้ มมหาวทิ ยาลยั เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ทมี่ กี ารเปล่ียนแปลงภายหลงั โครงสร้างหลกั สูตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง มี รายละเอียดโครงสรา้ งหลกั สูตร ดังนี้ แบบ 1.1 วชิ าบังคบั (ไม่นบั หน่วยกิต) 12 หนว่ ยกติ วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 48 หนว่ ยกิต จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู ร 48 หน่วยกติ แบบ 1.2 วชิ าบังคบั (ไมน่ ับหน่วยกิต) 12 หนว่ ยกิต วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 72 หนว่ ยกติ จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู ร 72 หนว่ ยกิต แบบ 2.1 วิชาบงั คับ (ไม่นบั หนว่ ยกติ ) 9 หนว่ ยกิต วิชาบงั คบั 9 หนว่ ยกิต วิชาเลือก ไมน่ ้อยกว่า 9 หน่วยกิต วทิ ยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 36 หน่วยกิต จำนวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สูตร ไมน่ ้อยกวา่ 54 หน่วยกิต แบบ 2.2 วิชาบังคบั (ไม่นบั หนว่ ยกิต) 9 หนว่ ยกิต วชิ าบงั คับ 9 หนว่ ยกิต วชิ าเลอื ก ไมน่ อ้ ยกว่า 15 หนว่ ยกิต วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 48 หน่วยกิต จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู ร ไม่น้อยกว่า 72 หนว่ ยกิต รายวิชา รายวชิ าเสรมิ พ้ืนฐาน (ไมน่ บั หนว่ ยกิต) สำหรบั ผู้ไม่มีพืน้ ฐานทางสถาปตั ยกรรม คณะกรรมการบริหารหลักสตู รอาจให้ลงทะเบยี นรายวิชาท่ี มกี ารเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม หรอื การเรียนเสริมเพื่อปรับพ้ืนฐานความรทู้ างสถาปัตยกรรมเบื้องต้น ท้ังนี้ อยู่ใน ดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรฯ หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 146 แบบ 1.1 1) วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) จำนวน 12 หน่วยกติ 261 511 การคดิ แบบมวี จิ ารณญาณในการวจิ ัยด้านสถาปัตยกรรมพ้ืนถน่ิ 3*(2-2-5) และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้าง (Critical Thinking in Vernacular Architecture and Built Environment Research) 261 610 การวจิ ยั ข้นั สูงทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดล้อมสร้างสรรค์ 3*(2-2-5) (Advanced Research in Architecture and Built Environment) 261 611 สัมมนาสถาปตั ยกรรมพื้นถนิ่ และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 3*(2-2-5) (Seminar in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 612 สมั มนาการเขยี นวทิ ยานิพนธ์ 3(2-2-5) (Seminar in Thesis writing) 2) วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 48 หน่วยกติ 261 620 วิทยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเทา่ 48 หน่วยกติ (Thesis) แบบ 1.2 1) วชิ าบงั คบั (ไม่นับหน่วยกติ ) จำนวน 12 หน่วยกติ 261 511 การคดิ แบบมวี ิจารณญาณในการวิจยั ดา้ นสถาปัตยกรรมพ้ืนถน่ิ 3*(2-2-5) และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง (Critical Thinking in Vernacular Architecture and Built Environment Research) 261 610 การวิจยั ขน้ั สูงทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 3*(2-2-5) (Advanced Research in Architecture and Built Environment) 261 611 สมั มนาสถาปตั ยกรรมพ้ืนถิ่น และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 3*(2-2-5) (Seminar in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 612 สัมมนาการเขยี นวิทยานิพนธ์ 3(2-2-5) (Seminar in Thesis writing) 2) วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) 72 หน่วยกิต 261 621 วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทยี บเท่า 72 หน่วยกติ (Thesis) แบบ 2.1 1) วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกติ ) จำนวน 9 หนว่ ยกิต 261 610 การวจิ ยั ขน้ั สงู ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง 3*(2-2-5) (Advanced Research in Architecture and Built Environment) 261 611 สมั มนาสถาปัตยกรรมพนื้ ถิ่น และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง 3*(2-2-5) 261 612 (Seminar in Vernacular Architecture and Built Environment) 3(2-2-5) สมั มนาการเขยี นวิทยานิพนธ์ (Seminar in Thesis writing) หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาทล่ี งทะเบยี นเรยี นโดยไมน่ ับหน่วยกิต และวัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 147 2) วชิ าบังคับ จำนวน 9 หนว่ ยกติ 261 510 ปฏบิ ตั ิการภาคสนามสถาปัตยกรรมพ้ืนถ่นิ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(1-4-4) (Field Study in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 511 การคิดแบบมวี ิจารณญาณในการวจิ ยั ด้านสถาปตั ยกรรมพ้นื ถนิ่ 3(2-2-5) และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง (Critical Thinking in Vernacular Architecture and Built Environment Research) 261 512 ภูมปิ ญั ญา เทคโนโลยี ในสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(3-0-6) (Wisdom and Technology in Vernacular Architecture and Built Environment) 3) วิชาเลือก ไม่นอ้ ยกว่า 9 หนว่ ยกติ กลุ่มวิชาด้านมรดกสถาปัตยกรรมพืน้ ถ่นิ และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง 261 530 นเิ วศวทิ ยาวฒั นธรรม ภมู ิทศั น์วัฒนธรรม และภูมิทัศน์เมอื งประวัตศิ าสตร์ 3(3-0-6) (Cultural Ecology, Cultural Landscape and Historic Urban Landscape) 261 531 ถิน่ ฐานและสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ งพ้นื ถนิ่ กลุ่มชนชาติพนั ธุ์ 3(2-2-5) (Settlements and Vernacular Built Environment of Ethnic People) 261 532 ศาสนสถาปตั ยกรรมพืน้ ถิ่น และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Sacred and Religious of Vernacular Architecture and Built Environment) กลุม่ วชิ าด้านการจัดการสถาปตั ยกรรมพ้นื ถิ่น และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 261 533 สังคม เศรษฐกิจฐานวฒั นธรรมและสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 3(3-0-6) (Social, Cultural and Built Environment Based Economy) 261 534 การอนุรกั ษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้างและชมุ ชน 3(2-2-5) (Conservation and Development of Built Environment and Community) 261 535 สถาปตั ยกรรมพ้นื ถน่ิ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ งในบริบทเมือง 3(2-2-5) (Vernacular Architecture and Built Environment in Urban Context) 261 536 การปรบั ประโยชนใ์ ชส้ อยสถาปตั ยกรรมพน้ื ถน่ิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(2-2-5) ในบริบทร่วมสมยั (Adaptation of Vernacular Architecture and Built Environment for Contemporary Context) กล่มุ วิชาด้านการออกแบบสรรค์สรา้ ง 261 537 วัสดุ และระบบการก่อสร้างในสถาปัตยกรรมพื้นถ่นิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Material and Tectonic Construction in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 538 การออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัยในบริบทพนื้ ถน่ิ 3(2-2-5) (Contemporary Architecture Design in Vernacular Context) 261 539 สถาปัตยกรรมพืน้ ถิ่นและการสรรค์สร้างสภาวะสบาย 3(3-0-6) (Vernacular Architecture and Design for Comfort) กลมุ่ วชิ าสนบั สนนุ การวจิ ัย 261 540 ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตรเ์ พ่ือการวิจัยสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Geographic Information System for Built Environment Research) หลักสูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 148 261 541 ภาคสนามและปฏบิ ัตกิ ารด้านสถาปตั ยกรรมพื้นถ่ินและสภาพแวดลอ้ ม 3(2-2-5) สรรคส์ รา้ งในตา่ งประเทศ (International Field Study and Workshop in Vernacular Architecture and Built Environment) นอกจากรายวิชาเลอื กดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอื่น ๆ ท่ีบณั ฑิตวิทยาลัยเปิดสอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน และ/หรืออาจารยท์ ี่ปรึกษา วิชาการ/วิทยานพิ นธ์ 4) วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 36 หนว่ ยกติ 261 622 วิทยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเทา่ 36 หน่วยกิต (Thesis) แบบ 2.2 1) วชิ าบังคับ (ไม่นับหนว่ ยกิต) จำนวน 9 หนว่ ยกติ 261 610 การวจิ ัยขนั้ สูงทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3*(2-2-5) (Advanced Research in Architecture and Built Environment) 261 611 สัมมนาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง 3*(2-2-5) (Seminar in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 612 สมั มนาการเขียนวิทยานิพนธ์ 3(2-2-5) (Seminar in Thesis writing) 2) วิชาบังคบั จำนวน 9 หนว่ ยกติ 261 510 ปฏบิ ัตกิ ารภาคสนามสถาปตั ยกรรมพ้ืนถน่ิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(1-4-4) (Field Study in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 511 การคิดแบบมวี จิ ารณญาณในการวิจัยดา้ นสถาปัตยกรรมพน้ื ถิน่ 3(2-2-5) และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง (Critical Thinking in Vernacular Architecture and Built Environment Research) 261 512 ภมู ปิ ญั ญา เทคโนโลยี ในสถาปัตยกรรมพื้นถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(3-0-6) (Wisdom and Technology in Vernacular Architecture and Built Environment) 3) วชิ าเลอื ก ไม่นอ้ ยกว่า 15 หน่วยกติ กลมุ่ วชิ าดา้ นมรดกสถาปัตยกรรมพื้นถนิ่ และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 261 530 นิเวศวิทยาวฒั นธรรม ภูมทิ ศั นว์ ัฒนธรรม และภมู ิทัศนเ์ มืองประวตั ศิ าสตร์ 3(3-0-6) (Cultural Ecology, Cultural Landscape and Historic Urban Landscape) 261 531 ถิน่ ฐานและสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ งพืน้ ถ่ินกลุม่ ชนชาติพนั ธุ์ 3(2-2-5) (Settlements and Vernacular Built Environment of Ethnic People) 261 532 ศาสนสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่น และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Sacred and Religious of Vernacular Architecture and Built Environment) กลมุ่ วิชาด้านการจดั การสถาปตั ยกรรมพนื้ ถิ่น และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง 261 533 สังคม เศรษฐกจิ ฐานวัฒนธรรมและสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(3-0-6) (Social, Cultural and Built Environment Based Economy) หมายเหตุ * หมายถงึ รายวชิ าทีล่ งทะเบยี นเรยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกิต และวดั ผลการศึกษาเป็น S หรอื U หลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254