Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565

Published by archsu.fac, 2022-06-24 04:15:59

Description: หลักสูตร (มคอ.2) ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565

Search

Read the Text Version

P a g e | 149 261 534 การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ งและชุมชน 3(2-2-5) (Conservation and Development of Built Environment and Community) 261 535 สถาปัตยกรรมพื้นถนิ่ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ งในบรบิ ทเมือง 3(2-2-5) (Vernacular Architecture and Built Environment in Urban Context) 261 536 การปรับประโยชน์ใช้สอยสถาปัตยกรรมพ้นื ถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 3(2-2-5) ในบริบทรว่ มสมัย (Adaptation of Vernacular Architecture and Built Environment for Contemporary Context) กลมุ่ วชิ าด้านการออกแบบสรรคส์ รา้ ง 261 537 วสั ดุ และระบบการกอ่ สร้างในสถาปตั ยกรรมพนื้ ถ่นิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(2-2-5) (Material and Tectonic Construction in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 538 การออกแบบสถาปตั ยกรรมรว่ มสมยั ในบริบทพนื้ ถน่ิ 3(2-2-5) (Contemporary Architecture Design in Vernacular Context) 261 539 สถาปัตยกรรมพ้นื ถ่นิ และการสรรค์สร้างสภาวะสบาย 3(3-0-6) (Vernacular Architecture and Design for Comfort) กล่มุ วิชาสนับสนุนการวจิ ยั 261 540 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพือ่ การวิจัยสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Geographic Information System for Built Environment Research) 261 541 ภาคสนามและปฏิบตั ิการดา้ นสถาปัตยกรรมพ้นื ถ่นิ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) ในตา่ งประเทศ (International Field Study and Workshop in Vernacular Architecture and Built Environment) นอกจากรายวิชาเลือกดังกล่าวข้างต้น นักศกึ ษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอื่น ๆ ท่ีบณั ฑิตวิทยาลัยเปิดสอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน และ/หรืออาจารยท์ ี่ปรึกษา วิชาการ/วิทยานพิ นธ์ 4) วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 48 หนว่ ยกติ มคี า่ เทียบเท่า 48 หน่วยกติ 261 623 วิทยานพิ นธ์ (Thesis) หลักสตู รระดับบัณฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 150 แผนการศึกษา แบบ 1.1 (2.5 ปี) รหสั วิชา ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหนว่ ยกติ 261 511 (บ-ป-น) 261 620 ชื่อรายวิชา 3*(2-2-5) รหัสวชิ า การคดิ แบบมวี ิจารณญาณในการวจิ ยั ด้านสถาปตั ยกรรมพ้ืนถน่ิ และสภาพแวดล้อมสรรค์ 6 261 610 สรา้ ง 6 261 620 วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทียบเท่า) จำนวนหนว่ ยกิต รหัสวิชา รวมจำนวน (บ-ป-น) 261 611 ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 3*(2-2-5) 261 620 6 ชอ่ื รายวิชา 6 รหัสวิชา 261 612 การวิจยั ขนั้ สูงทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง จำนวนหน่วยกิต 261 620 วทิ ยานิพนธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) (บ-ป-น) 3*(2-2-5) รหสั วชิ า รวมจำนวน 12 261 620 ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 12 ชื่อรายวิชา จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) สมั มนาสถาปตั ยกรรมพืน้ ถน่ิ และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง 3*(2-2-5) วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเท่า) 12 12 รวมจำนวน ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) ช่ือรายวชิ า 12 12 สัมมนาการเขยี นวทิ ยานพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเท่า) รวมจำนวน ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 ชื่อรายวิชา วทิ ยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าท่ีลงทะเบียนเรยี นโดยไม่นบั หน่วยกติ และวดั ผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U หลักสูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 151 แบบ 1.2 (4 ป)ี รหัสวชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จำนวนหนว่ ยกิต 261 511 (บ-ป-น) 261 621 ชอื่ รายวิชา 3*(2-2-5) รหสั วชิ า การคดิ แบบมวี จิ ารณญาณในการวจิ ยั ดา้ นสถาปตั ยกรรมพื้นถิ่นและสภาพแวดล้อมสรรค์ 3 261 610 สรา้ ง 3 261 621 วิทยานิพนธ์ (มคี า่ เทียบเท่า) จำนวนหนว่ ยกติ รหัสวิชา รวมจำนวน (บ-ป-น) 261 611 ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 3*(2-2-5) 261 621 6 ช่ือรายวิชา 6 รหัสวิชา 261 612 การวิจยั ข้ันสูงทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง จำนวนหนว่ ยกติ 261 621 วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) (บ-ป-น) 3*(2-2-5) รหัสวิชา รวมจำนวน 6 261 621 ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 6 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนหนว่ ยกติ 261 621 (บ-ป-น) สัมมนาสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3*(2-2-5) วทิ ยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) 9 9 รวมจำนวน ปีที่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) ชอ่ื รายวิชา 12 12 สัมมนาการเขยี นวิทยานิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ (มีค่าเทียบเทา่ ) จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) รวมจำนวน 12 ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 1 12 ชื่อรายวิชา วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทียบเทา่ ) รวมจำนวน ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 2 ช่ือรายวิชา วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวชิ าที่ลงทะเบียนเรียนโดยไมน่ ับหน่วยกติ และวัดผลการศึกษาเป็น S หรอื U หลักสตู รระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

รหสั วิชา ปีท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 1 P a g e | 152 261 621 ช่อื รายวชิ า จำนวนหน่วยกติ รหัสวิชา (บ-ป-น) 261 621 วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเท่า) 12 รวมจำนวน 12 ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จำนวนหน่วยกติ ช่ือรายวชิ า (บ-ป-น) 12 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) 12 รวมจำนวน หลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 153 แบบ 2.1 (3 ปี) ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 รหสั วชิ า ชอ่ื รายวิชา จำนวนหน่วยกติ (บ-ป-น) 261 510 ปฏิบตั ิการภาคสนามสถาปตั ยกรรมพนื้ ถิน่ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(1-4-4) 261 511 การคดิ แบบมีวิจารณญาณในการวจิ ัยดา้ นสถาปตั ยกรรมพ้นื ถนิ่ และสภาพแวดล้อมสรรค์ 3(2-2-5) สร้าง 261 512 ภมู ิปัญญา เทคโนโลยี ในสถาปัตยกรรมพน้ื ถิน่ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง 3(3-0-6) วิชาเลือก 3 12 รวมจำนวน ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) รหัสวชิ า ชอ่ื รายวิชา 3*(2-2-5) 6 261 610 การวิจัยขน้ั สูงทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง 6 วชิ าเลือก จำนวนหน่วยกิต รวมจำนวน (บ-ป-น) ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 3*(2-2-5) 9 รหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า 9 261 611 สัมมนาสถาปตั ยกรรมพืน้ ถ่ิน และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้าง จำนวนหน่วยกิต 261 622 วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเท่า) (บ-ป-น) 3*(2-2-5) รวมจำนวน 9 ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 9 รหสั วชิ า ชอื่ รายวชิ า จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) 261 612 สัมมนาการเขยี นวิทยานพิ นธ์ 9 261 622 วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 9 รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกติ ปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 (บ-ป-น) 9 รหสั วิชา ชือ่ รายวชิ า 9 261 622 วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) รวมจำนวน ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 2 รหัสวิชา ชือ่ รายวชิ า 261 622 วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาที่ลงทะเบียนเรยี นโดยไมน่ ับหน่วยกิต และวัดผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U หลกั สตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

P a g e | 154 แบบ 2.2 (3.5 ป)ี ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 รหสั วชิ า ชือ่ รายวิชา จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) 261 510 ปฏบิ ัตกิ ารภาคสนามสถาปัตยกรรมพืน้ ถ่นิ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง 3(1-4-4) 261 511 การคิดแบบมีวจิ ารณญาณในการวิจยั ด้านสถาปัตยกรรมพน้ื ถนิ่ และสภาพแวดลอ้ ม 3(2-2-5) สรรค์สรา้ ง 261 512 ภมู ิปัญญา เทคโนโลยี ในสถาปตั ยกรรมพ้นื ถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(3-0-6) วชิ าเลอื ก 3 12 รวมจำนวน ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) รหสั วิชา ชอ่ื รายวิชา 9 9 วชิ าเลอื ก จำนวนหนว่ ยกติ รวมจำนวน (บ-ป-น) ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 6 3 รหัสวิชา ชอื่ รายวิชา 9 261 623 วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) จำนวนหนว่ ยกติ วชิ าเลอื ก (บ-ป-น) 3*(2-2-5) รวมจำนวน 6 ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 6 รหสั วิชา ช่ือรายวชิ า จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) 261 610 การวจิ ัยขนั้ สูงทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง 3*(2-2-5) 261 623 วทิ ยานิพนธ์ (มคี า่ เทยี บเท่า) 12 12 รวมจำนวน ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 รหสั วชิ า ชื่อรายวชิ า 261 611 สัมมนาสถาปัตยกรรมพื้นถ่ิน และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 261 623 วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวชิ าทลี่ งทะเบยี นเรียนโดยไมน่ ับหน่วยกติ และวดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรอื U หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

รหสั วิชา ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2 P a g e | 155 261 612 261 623 ชื่อรายวชิ า จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) รหสั วิชา สัมมนาการเขยี นวิทยานพิ นธ์ 3*(2-2-5) 261 623 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเท่า) 12 12 รวมจำนวน ปที ่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) ชอื่ รายวิชา 12 12 วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาทีล่ งทะเบยี นเรยี นโดยไมน่ บั หน่วยกิต และวดั ผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U หลกั สูตรระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 156 คำอธิบายรายวิชา 261 510 ปฏิบตั ิการภาคสนามสถาปัตยกรรมพื้นถน่ิ และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้าง 3(1-4-4) (Field Study in Vernacular Architecture and Built Environment) ปฏบิ ัตกิ ารภาคสนามในพ้ืนทตี่ ่างวัฒนธรรม การจัดทำผงั บริเวณชุมชนทีส่ มั พนั ธ์กับระบบนิเวศ เทคนิคขั้นสูงในการเก็บข้อมูล การใช้อุปกรณ์สำรวจ รวมทั้งการเขียนแบบ และการแสดงแบบด้วย เทคนิควธิ ีขัน้ สูง การทำคอมพิวเตอรส์ ามมิติและสารสนเทศหุ่นจำลองอาคาร การจัดการฐานขอ้ มูลเพ่ือ วเิ คราะห์ การเขียนรายงานภาคสนาม และการเขียนรายงานวิจัยเชิงลึกท่ีสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ ของสถาปัตยกรรมพน้ื ถน่ิ และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้างกบั นิเวศวทิ ยาวัฒนธรรม มกี ารศึกษานอกสถานท่ี Practical fieldwork under cultural diversity concept; issues on site planning and site ecology; advanced techniques in data collecting and using survey instruments; drafting, advanced presentation; three-dimensional computer graphic techniques and building information modeling-BIM; data processing and analysis; writing detailed and in-depth report illustrating interrelationship between vernacular architecture, built environment and cultural ecology. Field trips required. 261 511 การคดิ แบบมีวิจารณญาณในการวิจยั ดา้ นสถาปัตยกรรมพืน้ ถิ่น 3(2-2-5) และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง (Critical Thinking in Vernacular Architecture and Built Environment Research) เงอ่ื นไข : นักศึกษาแบบ 1.1 และแบบ 1.2 วัดผลการศกึ ษาเป็น S หรอื U นักศกึ ษาแบบ 2.1 และแบบ 2.2 วัดผลการศกึ ษาเป็นค่าระดบั การทำความเข้าใจปัญหา และบริบทแวดล้อมด้วยวิธีการคิดแบบมีวิจารณญาน การสังเกต และสำนึกของการตง้ั คำถาม กระบวนการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และการจัดการปญั หาอย่างเป็นระบบ ความคิดสรา้ งสรรค์ และการคดิ นอกกรอบ การใชเ้ ครอ่ื งมือและเทคนคิ ในการสร้างสรรคแ์ นวคิดในการ แก้ปัญหา ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น การคิดบนฐานตรรกะและเหตุผลวิบัติ การรับฟังอย่างมี วิจารณญาณและการโต้แย้งด้วยเหตุผล ในการวิจัยด้านสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง และสถาปัตยกรรม พนื้ ถิ่น มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Understanding problems and their related factors. Observant and questioning mind; Systematic problem solving methodologies; Creative mindset and lateral thinking; Techniques and tools for creating ideas and solutions. Facts and opinions. Logic and fallacy. Critical listening and rational argument; related to built environment and vernacular architecture research. Field trips required. หลักสูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 157 261 512 ภมู ิปัญญา เทคโนโลยี ในสถาปัตยกรรมพน้ื ถน่ิ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(3-0-6) (Wisdom and Technology in Vernacular Architecture and Built Environment) วธิ ีคิด ภูมิความรู้ท่ีส่ังสมจากการแก้ปัญหา รหัส การปฏิบัติการ วัสดุ โครงสร้าง การก่อสร้าง เทคนิควิธกี ารเชงิ ชา่ ง การเปลี่ยนแปลง ที่ปรากฏในงานสถาปัตยกรรมพืน้ ถน่ิ และสง่ิ แวดลอ้ มสรรค์สร้าง บนฐานความคิดเพ่ือการอยู่อาศัยอย่างย่ังยืน รวมถึงการจัดการที่เก่ียวเนื่องกับสถาปัตยกรรมพ้ืนถ่ิน และสภาพแวดลอ้ ม ในบรบิ ทชนบท และเมอื ง มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Local technical wisdom and knowledge acquired through problem solving, coding and implementation; materials, structure and construction techniques; transformations in vernacular architecture and built environment based on the concept of sustainable living; management issues concerning vernacular architecture and environment in rural and urban context. Field trips required. 261 530 นเิ วศวทิ ยาวฒั นธรรม ภมู ทิ ศั น์วฒั นธรรม และภมู ิทศั น์เมืองประวตั ศิ าสตร์ 3(3-0-6) (Cultural Ecology, Cultural Landscape and Historic Urban Landscape) ความสัมพันธ์ระหว่างนิเวศท่ีส่งผลต่อการตั้งถิ่นฐาน วิถีชีวิตที่เฉพาะเจาะจงกับระบบนิเวศ องค์ประกอบของส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมท่ีสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การก่อตัวของ สถาปตั ยกรรม แนวคดิ เก่ยี วกับภูมิทัศน์วัฒนธรรมและภมู ิทศั น์เมืองประวัติศาสตร์ การจำแนกประเภท การวเิ คราะหค์ ณุ ค่า และการจดั การเพ่ือสรา้ งความยัง่ ยืน มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Relationship between ecology, settlements, and way of life; cultural factors associated with the natural environment and development of architectural forms; Concept of cultural landscape and Historic Urban Landscape; identifying values, categorization, evaluation and management approaches for sustainability Field trips required. หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 158 261 531 ถ่นิ ฐานและสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ งพื้นถ่ินกลมุ่ ชนชาตพิ นั ธ์ุ 3(2-2-5) (Settlements and Vernacular Built Environment of Ethnic People) ปกรณัม คติความเช่ือ และจินตนาการท่ีเก่ียวเนื่องกับการต้ังถิ่นฐาน สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง และสถาปัตยกรรมพื้นถ่ิน สถาปัตยกรรมพ้ืนถ่ินในชุมชนชายขอบ ชุมชนพหุวัฒนธรรม การดำรงอยู่ การผลิตซ้ำทางจารีตประเพณี และความเปล่ียน ท่ีสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และ การเมือง ท้ังในประวัติศาสตร์ และในสังคมร่วมสมัยท่ีส่งผลต่อการเกิดรูปแบบเฉพาะถิ่นการ เปลี่ยนแปลง และพัฒนาการทางสถาปัตยกรรม มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Mythology, beliefs and notion-influenced formation of settlements, Built Environment and vernacular architecture of marginal communities; multicultural communities; complexity and contradiction; continued existence; replication and change relate to culture, socio-Economic and politic context of vernacular architecture and change. both historical and contemporary societies that bring about local styles, changes, and developments in architecture. Field trips required. 261 532 ศาสนสถาปัตยกรรมพ้นื ถ่ิน และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(2-2-5) (Sacred and Religious of Vernacular Architecture and Built Environment) ศาสนา ความเชื่อ และวฒั นธรรมท่ีส่งผลต่อการวางผังศาสนสถาน และสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่น ทางศาสนาท่ีสมั พนั ธก์ บั ระบบความเช่ือและแนวคิดทางศาสนา ปรัชญา สัญลกั ษณ์ทางศาสนา แนวคิด จักรวาลทัศนะ และส่ิงศักด์ิสิทธ์ิเหนือธรรมชาติ และปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่แสดงถึงโลกทัศน์ของ ผู้สร้างและผู้ใช้ประโยชน์ หน้าท่ีใช้สอย และการจัดลำดับพ้ืนท่ี คุณค่า และบทบาทหน้าที่ของ สถาปัตยกรรมพนื้ ถน่ิ ทางศาสนาทมี่ ตี อ่ ระบบสงั คม ความเช่อื และศาสนา และชุมชนทอ้ งถิ่น มีการศึกษานอกสถานที่ Religion, beliefs, and cultures that influence layout planning and vernacular religious architectures related to myth and religious concepts, philosophy, religious symbols, concept and perception in cosmology, supernatural and environment factors reflecting worldviews of their builders and inhabitants; functions and spatial organization; values and roles of vernacular architecture on social systems, beliefs and religious systems and local community Field trips required. หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 159 261 533 สงั คม เศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมและสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง 3(3-0-6) (Social, Cultural and Built Environment Based Economy) ความสัมพันธ์ของปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และชุมชน ที่สัมพันธ์กับ ประวัติศาสตร์สังคม ทั้งด้านการผลิต กลุ่มสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตของชุมชน และส่ิงแวดล้อมท่ี สะท้อนให้เห็นถึงพลวัต และการปรบั ตวั จนเปน็ ชมุ ชนท้องถิ่นบรบิ ทสังคมรว่ มสมยั มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Socio-economic aspects of various local communities in relation to social history; issues concerning productivity, social groups, culture, way of life, and environment that reflect dynamism and adaptation of communities within the context of contemporary society. Field trips required. 261 534 การอนรุ ักษแ์ ละพฒั นาสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้างและชุมชน 3(2-2-5) (Conservation and Development of Built Environment and Community) ทฤษฎี และหลักการจัดการจัดการมรดกทางสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่น และสภาพแวดล้อมสรรค์ สร้าง กฎบัตรนานาชาติ กฎหมาย ระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เทคนิคและวิธีการอนุรักษ์มรดกทาง สถาปัตยกรรมแบบต่าง ๆ และแนวความคิดเร่ืองการพัฒนาที่อยู่อาศัยและชุมชนอย่างมีส่วนร่วม บน พื้นฐานของการประยุกต์นำองค์ความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับสถาปัตยกรรมพื้นถ่ินมาใช้ สำรวจ บันทึกขอ้ มลู ในชุมชน ทดลองปฏิบตั กิ าร นำเสนอผลงานและแนวความคิดสู่สาธารณะ มกี ารศกึ ษานอกสถานที่ Theories and principles concerning management of vernacular architectural heritage and Built Environment; international conservation charters, related laws and regulations; various conservation methods and techniques; concept of participatory community development based on knowledge and understanding of vernacular architecture; field exercises in data collection, implementation workshop, and public presentations. Field trips required. หลักสตู รระดับบณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 160 261 535 สถาปัตยกรรมพนื้ ถิ่นและสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้างในบรบิ ทเมอื ง 3(2-2-5) (Vernacular Architecture and Built Environment in Urban Context) นิยามของสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นในบริบทเมืองภายในสังคมร่วมสมัยที่มีการเปล่ียนแปลงอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง องค์ความรู้ดา้ นวิธีคิด การสังเกตและถอดรหสั เทคนคิ วิธกี ารเชิงช่าง การประยุกต์ภมู คิ วามรู้ที่ ส่ังสมจากการแก้ปัญหาจากความเป็นพ้ืนถ่ินในชนบทสู่ความเป็นชุมชนเมือง ทักษะการก่อสร้างและ วัสดุ ความสัมพันธ์ของการอยู่อาศัยในระดับปัจเจก ครัวเรือน ชุมชน และเมือง การก่อรูปของการต้ัง ถน่ิ ฐาน และการใชช้ วี ิตท่มี ีความสัมพนั ธ์กบั ท้งั กายภาพ สังคม เศรษฐกจิ และการเมือง มกี ารศึกษานอกสถานที่ Definitions of vernacular architecture in constantly changing context of contemporary urban society; ways of thinking, observing and decoding; technical know-how and application of experience accumulated through problem solving in a rural context to an urban situation; construction skill and use of materials; interrelationship of dwellings at individual, household, community and city levels; formation of settlements and livelihood of inhabitants with regards to physical, social, economic and political issues. Field trips required. 261 536 การปรับประโยชน์ใช้สอยสถาปัตยกรรมพนื้ ถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง 3(2-2-5) ในบรบิ ทรว่ มสมยั (Adaptation of Vernacular Architecture and Built Environment for Contemporary Context) ทฤษฎี แนวความคิด กฎหมาย และนโยบายเรื่องการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า ย่านและ ชุมชนของประเทศไทย และแนวโน้มของบริบทสากล การสำรวจ ประเมินสภาพอาคารและ สภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้าง การวิเคราะห์คุณค่า การสร้างโมเดลทางธุรกิจและข้อเสนอในการพัฒนาบน ฐานคณุ คา่ คุณค่าที่โครงการสง่ มอบสสู่ ังคม การประเมนิ ผลกระทบทางสงั คมของโครงการ มีการศึกษานอกสถานท่ี Principle, framework, laws and policy in conservation and development of old towns, heritage districts and communities in Thailand and international contexts and trends; survey and investigation of the vernacular building and the built environment; A value analysis; creating the business model canvas and the recommendation based on value; Project’s value given to the society; Social return on investment. หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

261 537 P a g e | 161 วสั ดุ และระบบการกอ่ สรา้ งในสถาปัตยกรรมพ้ืนถนิ่ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Material and Tectonic Construction in Vernacular Architecture and Built Environment) ความสัมพนั ธ์ระหว่างการออกแบบ วสั ดุ ระบบการกอ่ สรา้ ง และรายละเอียดในสถาปตั ยกรรม พ้ืนถิ่นและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง ความรู้และภูมิปัญญาที่สัมพันธ์กับสถาปัตยกรรมพื้นถ่ินและ สภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ งทง้ั ในแบบจารีต และแบบร่วมสมัย ทั้งในบรบิ ทชนบทและเมอื ง กระบวนการ ก่อรปู การณ์ออกแบบผ่านการพัฒนาสนุ ทรียภาพของวสั ดุ และการกอ่ สร้าง มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Relationship between design and materials, tectonic construction and detail in vernacular architecture and built environment; traditional and modern knowledge and wisdom related to vernacular and built environment in both rural communities and urban context; process of shaping design through aesthetic processing of material and construction. Field trips required. 261 538 การออกแบบสถาปัตยกรรมรว่ มสมัยในบริบทพนื้ ถ่ิน 3(2-2-5) (Contemporary Architecture Design in Vernacular Context) ทฤษฎี และหลักการ การถอดรหัส และการตีความ; การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา และบริบทาง ทางวัฒนธรรมท่ีปรากฏในสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นมาสู่การสร้างแนวความคิด กระบวนการออกแบบ สถาปตั ยกรรม และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ งที่สอดคล้องกบั บรบิ ทแวดลอ้ มตา่ ง ๆ มกี ารศึกษานอกสถานท่ี Theory and principle; decoding and interpretation; idea development from local wisdom and cultural context for creative design built environment and contemporary architecture related to its contexts Field trips required. 261 539 สถาปตั ยกรรมพ้นื ถน่ิ และการสรรคส์ รา้ งสภาวะสบาย 3(3-0-6) (Vernacular Architecture and Design for Comfort) ภูมิปัญญาในงานสถาปัตยกรรมพ้ืนถ่ิน และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง ในการปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดลอ้ ม และการสรรคส์ รา้ งสภาวะสบายบนฐานของการออกแบบท่ีสัมพนั ธ์กบั วธิ ีทางธรรมชาติ มีการศึกษานอกสถานที่ Local wisdom of vernacular architecture and built environment in adapting itself with its environment and creating thermal comfort based on passive design strategies. Field trips required. หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

P a g e | 162 261 540 ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตรเ์ พือ่ การวิจยั สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง 3(2-2-5) (Geographic Information System for Built Environment Research) ความหมาย หลักการ แนวทางการวเิ คราะห์ข้อมลู บนระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ลกั ษณะ ของข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โครงสร้างระบบฐานข้อมูล การนำเข้า และจัดเก็บข้อมูลเชิงพ้ืนที่ และข้อมูล เชิงคุณลักษณะ การวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ตามเงื่อนไข การจัดทำแผนที่ และการ ประยกุ ตใ์ ช้โปรแกรมเขยี นแบบ และโปรแกรมกราฟกิ เพอ่ื การจดั ทำแผนท่ี การสัมผสั ระยะไกล เพ่อื การ แปลความหมาย และการวจิ ยั ทางสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง มกี ารศึกษานอกสถานที่ Definitions and principles of Geographic Information System; framework for data analysis; characteristic of geographic data; database structure, data input, collecting and filing spatial data and attribute data; analyzing geographic information; mapping and using computer graphic programs to produce maps; use of remote sensing for making interpretations and conducting research on built environment. Field trips required. 261 541 ภาคสนามและปฏิบตั ิการด้านสถาปัตยกรรมพืน้ ถ่นิ และสภาพแวดล้อม 3(2-2-5) สรรค์สร้างในตา่ งประเทศ (International Field Study and Workshop in Vernacular Architecture and Built Environment) ปฏิบัติการภาคสนาม และปฏิบัติการในต่างประเทศ สร้างเครือข่ายความร่วมมือทาง วิชาการและการวิจัย พัฒนากรอบความคิดและทักษะความเป็นนานาชาติในด้านการวิจัยและการ ออกแบบ เขา้ ใจและเคารพในคุณคา่ ของความหลากหลายของวิถีชีวิต วัฒนธรรม ชาติพนั ธแ์ุ ละชนกลุ่ม น้อย ความเชอ่ื และศาสนา การพัฒนาทักษะในการนำเสนอและความร่วมมือในการปฏิบัติภาคสนาม และปฏิบัติการ มีการศกึ ษานอกสถานที่ Conducting International practical fieldworks and workshops in various countries; creating academic and research collaborative networks; improving international mindset and skills in research and design; understanding and respecting diversity of ways of living, cultures, ethnic and indigenous people, beliefs and religions; developing skills in presentation and collaboration for the fieldworkand workshops. Field trips required หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 163 261 610 การวิจัยขั้นสงู ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(2-2-5) (Advanced Research in Architecture and Built Environment) เงือ่ นไข: วดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U การจัดทำร่างโครงการวิจัย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์สำหรับ ประมวลผล และการสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ผล การเรียบเรียง และเขียนบทความทางวิชาการ เทคนิคการนำเสนอและการอภิปรายผลงานวิจัย การจัดทำรายงานเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารระดับ นานาชาติ Preparing research proposal; use of information technology for gathering, processing and analyzing data; writing reports and articles; techniques for presentation and discussion of findings and results; preparing papers and articles for publication in international journals. 261 611 สมั มนาสถาปัตยกรรมพน้ื ถิน่ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Seminar in Vernacular Architecture and Built Environment) เงอ่ื นไข: วัดผลการศึกษาเป็น S หรอื U การค้นควา้ ข้อมูลเทคโนโลยสี ารสนเทศ การนำเสนอ และอภปิ รายในหัวขอ้ ที่น่าสนใจทาง สถาปัตยกรรมพื้นถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้างที่เป็นองค์ความรู้ข้ันสงู หรือเป็นสถานภาพความรู้ ใหม่ รวมท้ังการฝึกปฏิบัติในการทบทวนสารสนเทศ/วรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือกำหนดทฤษฎี และ แนวทางการวิจยั Inquiry using information technology; presentation and discussion of topics studied concerning new or advanced knowledge on vernacular architecture; developing ability in conducting literature reviews that may lead to formulating hypothesis and establishing direction for research work. 261 612 สมั มนาการเขียนวทิ ยานพิ นธ์ 3(2-2-5) (Seminar in Thesis writing) เงอ่ื นไข: วัดผลการศึกษาเปน็ S หรือ U การสร้างความม่ันใจ และทักษะในการทำวิทยานิพนธ์; สร้างวัตถุประสงค์ และพัฒนา คำถามการวิจัย และการพัฒนาเคร่ืองมือสำหรับการระบุปัญหา; การทบทวนความรู้; วิเคราะห์; ถกเถียง และสรุปผล; สร้างทางเลือกต่าง ๆ สำหรับวทิ ยานิพนธ์; จัดการข้อมูล; เขียนบทความ; เขียน บทคัดยอ่ และการอ้างองิ Building confidence and skills in carrying out Thesis work; establishing objectives and developing research questions as well as devising methods for addressing such questions; literature review, analyses, discussions and conclusions; alternative models for Thesis; managing data; writing articles, abstracts and references หลกั สูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 164 261 620 วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทยี บเท่า 48 หน่วยกติ (Thesis) การวิจัยข้ันสูงเฉพาะบุคคลและหัวข้อเฉพาะที่เกี่ยวเน่ืองกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และ สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง โดยเสนอในรูปแบบของการวิจัยอย่างเป็นระบบ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ ภายใต้คำแนะนำของอาจารยป์ รึกษาวิทยานพิ นธ์ Individual research on an advanced and specific topic relating to vernacular architecture and built environment carried out systematically to produce new body of knowledge under supervision of a thesis supervisor. 261 621 วทิ ยานพิ นธ์ มคี ่าเทยี บเทา่ 72 หนว่ ยกิต (Thesis) การวิจัยขั้นสูงเฉพาะบุคคลและหัวข้อเฉพาะท่ีเก่ียวเนื่องกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และ สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง โดยเสนอในรูปแบบของการวิจัยอย่างเป็นระบบ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ ภายใต้คำแนะนำของอาจารย์ปรึกษาวิทยานพิ นธ์ Individual research on an advanced and specific topic relating to vernacular architecture and built environment carried out systematically to produce new body of knowledge under supervision of a thesis supervisor. 261 622 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเทา่ 36 หน่วยกิต (Thesis) การวิจัยขั้นสูงเฉพาะบุคคลและหัวข้อเฉพาะท่ีเก่ียวเนื่องกับสถาปัตยกรรมพื้นถ่ิน และ สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง โดยเสนอในรูปแบบของการวิจัยอย่างเป็นระบบ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ ภายใตค้ ำแนะนำของอาจารย์ปรึกษาวทิ ยานิพนธ์ Individual research on an advanced and specific topic relating to vernacular architecture and built environment carried out systematically to produce new body of knowledge under supervision of a thesis supervisor. 261 623 วิทยานิพนธ์ มีคา่ เทยี บเทา่ 48 หน่วยกติ (Thesis) การวิจัยข้ันสูงเฉพาะบุคคลและหัวข้อเฉพาะท่ีเก่ียวเนื่องกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และ สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง โดยเสนอในรูปแบบของการวิจัยอย่างเป็นระบบ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ ภายใตค้ ำแนะนำของอาจารย์ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ Individual research on an advanced and specific topic relating to vernacular architecture and built environment carried out systematically to produce new body of knowledge under supervision of a thesis supervisor. หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 165 รายละเอยี ดของหลกั สตู ร หลกั สตู รปรัชญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าประวัติศาสตรส์ ถาปตั ยกรรม (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) ช่อื หลกั สูตร หลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวตั ิศาสตร์สถาปตั ยกรรม ภาษาไทย Doctor of Philosophy Program in History of Architecture ภาษาอังกฤษ ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า ปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑิต (ประวตั ิศาสตรส์ ถาปตั ยกรรม) ช่ือเต็มภาษาไทย Doctor of Philosophy (History of Architecture) ชอ่ื เต็มภาษาองั กฤษ ปร.ด. (ประวตั ศิ าสตรส์ ถาปัตยกรรม) ชอื่ ย่อภาษาไทย Ph.D. (History of Architecture) ชื่อย่อภาษาอังกฤษ วิชาเอก ไม่มี จำนวนหน่วยกติ ทีเ่ รยี นตลอดหลักสตู ร แบบ 1.1 (ผูเ้ ข้าศึกษาทสี่ ำเรจ็ ปรญิ ญาโท) มีคา่ เทียบเทา่ 48 หน่วยกติ แบบ 2.1 (ผู้เข้าศกึ ษาทีส่ ำเรจ็ ปริญญาโท) ไม่น้อยกว่า 54 หน่วยกติ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลงั สำเรจ็ การศกึ ษา 1. นักวิจัยข้ันสูงด้านประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมในหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน 2. ผสู้ อนในสถาบันอุดมศกึ ษา 3. นกั อนรุ กั ษ์สถาปัตยกรรม 4. นกั วิชาการท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ประวตั ิศาสตรส์ ถาปัตยกรรม 5. นกั วิชาการอิสระ การเทยี บโอนหน่วยกติ รายวชิ าและการลงทะเบยี นเรียนข้ามมหาวิทยาลัย เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ท่ีมีการเปล่ยี นแปลงภายหลงั ) โครงสร้างหลกั สูตร แบ่งเปน็ 2 แผนการศึกษา ดงั นี้ 3 หน่วยกติ 1. แบบ 1.1 48 หน่วยกติ หมวดวชิ าบงั คบั พืน้ ฐาน (ไม่นบั หน่วยกิต) 48 หน่วยกิต วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเทา่ จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สูตร หลักสูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

P a g e | 166 2. แบบ 2.1 หมวดวิชาบงั คบั 6 หนว่ ยกติ หมวดวิชาเลอื ก ไมน่ อ้ ยกว่า 12 หน่วยกิต วทิ ยานพิ นธ์ มีค่าเทยี บเท่า 36 หนว่ ยกติ จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมน่ ้อยกวา่ 54 หนว่ ยกติ หมายเหตุ นักศึกษาอาจต้องลงทะเบียนรายวชิ าเพิ่มเติม ตามท่ีอาจารย์ที่ปรึกษาหรือคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรฯ กำหนด โดยไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมเป็นสว่ นหนง่ึ ของหลักสตู ร รายวชิ า หมวดวชิ าพ้ืนฐาน (ไมน่ ับหน่วยกติ ) จำนวน 3 หน่วยกิต สำหรบั นักศึกษาท่ขี าดพ้นื ฐานในการทำความเขา้ ใจแบบทางสถาปตั ยกรรม ต้องลงทะเบียนรายวิชา ดังต่อไปนี้ 262 401 การเขยี นแบบสถาปัตยกรรมไทย 3*(0-6-3) (Delineations in Thai Architecture) 1. แบบ 1.1 มคี ่าเทียบเท่า 48 หนว่ ยกติ หมวดวิชาบงั คับพืน้ ฐาน (ไม่นับหน่วยกิต) จำนวน 3 หน่วยกติ 262 631 การศกึ ษาเฉพาะเรือ่ ง 3*(0-6-3) (Special Topic) วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 48 หน่วยกิต 262 620 วทิ ยานิพนธ์ มคี ่าเทยี บเท่า 48 หนว่ ยกิต (Thesis) 2. แบบ 2.1 รายวิชา 18 หน่วยกิต และวิทยานพิ นธ์ 36 หน่วยกิต รวมไมน่ อ้ ยกว่า 54 หนว่ ยกิต หมวดวชิ าบงั คบั จำนวน 6 หน่วยกิต 262 610 วิธวี ิจัยขน้ั สงู ทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Research Methodology in History of Architecture) 262 611 สมั มนาการเขียนประวตั ศิ าสตรส์ ถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Seminar on Architectural Historiography) หมวดวชิ าเลอื ก ไมน่ อ้ ยกว่า 12 หน่วยกิต กลมุ่ วิชาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรม 262 511 ประวัตศิ าสตร์สถาปตั ยกรรมกอ่ นสมยั สโุ ขทยั 3(3-0-6) (History of Pre-Sukhothai Architecture) 262 512 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัย-อยุธยา 3(3-0-6) (History of Architecture During Sukhothai and Ayutthaya Periods) 262 513 ประวัตศิ าสตร์สถาปตั ยกรรมสมยั รตั นโกสินทร์ 3(3-0-6) (History of Architecture During Rattanakosin Period) 262 530 วิวัฒนาการพทุ ธสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Evolution of Buddhist Architecture) 262 531 สถาปตั ยกรรมยคุ สมยั ใหมใ่ นสยามสมัยรชั กาลที่ 4 – รชั กาลท่ี 8 3(2-2-5) (Modern Architecture in Siam from the Reigns of Kings Rama IV to Rama VIII) หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาทลี่ งทะเบยี นเรียนโดยไมน่ บั หนว่ ยกิต และวัดผลเป็น S หรือ U หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

P a g e | 167 262 532 การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม 3(0-6-3) 262 533 262 544 (Architectural Reconstruction) 262 630 262 631 ไทยศึกษา 3(3-0-6) 262 537 (Thai Studies) 262 538 การวิจยั และการเผยแพร่ประวตั ศิ าสตรส์ ถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) 262 539 262 540 (Research and Dissemination of Architectural History) 262 541 262 632 สถาปัตยกรรมกบั ความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยร่วมสมยั 3(3-0-6) 262 514 (Architecture and Transformation of Contemporary Thai Society) 262 543 การศึกษาเฉพาะเรื่อง 3(0-6-3) 262 633 (Special Topic) 262 634 กลุ่มวชิ าอนรุ กั ษส์ ถาปตั ยกรรมและชมุ ชน การอนุรักษ์ยา่ นและชมุ ชนประวัตศิ าสตรใ์ นประเทศไทย 3(2-2-5) (Conservation of Historic Sites and Settlements in Thailand) การวนิ จิ ฉยั การเส่ือมสภาพของโบราณสถานและอาคารประวัติศาสตร์ 3(3-0-6) (Building Diagnostics of Ancient Monuments and Historic Buildings) การอนุรักษ์วสั ดใุ นโบราณสถานในประเทศไทย 3(2-3-4) (Conservation of Materials in Ancient Monuments in Thailand) การปรับปรงุ อาคารประวตั ิศาสตร์ในบริบทใหม่ 3(2-2-5) (Rehabilitation of Historic Buildings in New Context) การอนรุ ักษส์ ถาปตั ยกรรมในระดบั สากล 3(2-2-5) (Architectural Conservation at International Level) การอนุรกั ษ์มรดกสถาปตั ยกรรมในประเทศไทย: ปรชั ญาและการปฏบิ ัติ 3(2-2-5) (Conservation of Architectural Heritage in Thailand: Philosophy and Practices) กลุ่มวชิ าสถาปตั ยกรรมเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมพืน้ ถนิ่ ในประเทศไทยและเอเชยี ตะวนั ออก 3(3-0-6) เฉยี งใต้ (Culture and Vernacular Architecture in Thailand and Southeast Asia) ศาสนา ความเช่อื และวฒั นธรรมทส่ี ่งผลต่อสถาปัตยกรรมในเอเชีย 3(3-0-6) ตะวนั ออกเฉียงใต้ (Religions, Beliefs, and Culture Influenced on Architecture in Southeast Asia) สัมมนาประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 3(3-0-6) ระหวา่ งพทุ ธศตวรรษที่ 12 ถึง 18 (Seminar on History of Architecture in Southeast Asia between the 7th to the 13th Centuries) สัมมนาประวตั ิศาสตรส์ ถาปัตยกรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ 3(3-0-6) ระหว่างพทุ ธศตวรรษท่ี 15 ถงึ 25 (Seminar on History of Architecture in Southeast Asia between the 10th to the 20th Centuries) หลกั สตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

P a g e | 168 นอกจากรายวชิ าดังกล่าวข้างต้น นักศกึ ษาสามารถเลอื กเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของสาขาวชิ าอื่น ๆ ทีบ่ ณั ฑิตวิทยาลยั เปิดสอนได้ โดยได้รบั ความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรกึ ษา วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) 36 หนว่ ยกติ 262 621 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเทา่ 36 หน่วยกติ (Thesis) หลกั สูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

แผนการศกึ ษา P a g e | 169 แบบ 1.1 จำนวนหนว่ ยกิต รหัสวิชา ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 (บ-ป-น) ชื่อรายวชิ า 3*(0-6-3) - 262 631 การศกึ ษาเฉพาะเร่อื ง รหสั วิชา จำนวนหน่วยกติ รวมจำนวน (บ-ป-น) ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 12 12 ช่อื รายวิชา จำนวนหน่วยกติ 262 620 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) (บ-ป-น) รหัสวชิ า 12 รวมจำนวน 12 ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกติ ชอ่ื รายวชิ า (บ-ป-น) 12 262 620 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 12 รหัสวชิ า รวมจำนวน จำนวนหน่วยกติ ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 (บ-ป-น) ชื่อรายวิชา 6 6 262 620 วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) รหสั วิชา รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 1 6 ชอ่ื รายวชิ า 6 262 620 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) รหัสวชิ า รวมจำนวน ปีที่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 2 ช่ือรายวิชา 262 620 วิทยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ *หมายถงึ รายวิชาท่ีเรยี นโดยไม่นบั หน่วยกิต หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

แบบ 2.1 P a g e | 170 รหัสวิชา ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหน่วยกติ ชือ่ รายวิชา (บ-ป-น) 3(3-0-6) 262 611 สมั มนาการเขยี นประวตั ศิ าสตรส์ ถาปตั ยกรรม 6 รหัสวิชา 9 วชิ าเลอื ก รวมจำนวน จำนวนหน่วยกติ (บ-ป-น) ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 3(3-0-6) ช่ือรายวชิ า 3 6 262 610 วิธวี จิ ยั ขนั้ สูงทางประวตั ิศาสตรส์ ถาปตั ยกรรม รหสั วิชา วิชาเลือก จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) รวมจำนวน 3 ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 3 ชอื่ รายวชิ า จำนวนหน่วยกติ (บ-ป-น) วิชาเลอื ก รวมจำนวน 12 รหัสวิชา ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 12 ชื่อรายวชิ า จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) 262 621 วทิ ยานิพนธ์ (มีค่าเทียบเทา่ ) 9 รหัสวิชา รวมจำนวน 9 ปีท่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จำนวนหนว่ ยกติ ช่ือรายวชิ า (บ-ป-น) 9 262 621 วทิ ยานิพนธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) 9 รหสั วชิ า รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกติ ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (บ-ป-น) ชือ่ รายวิชา 6 6 262 621 วิทยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) รหสั วิชา รวมจำนวน ปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ช่อื รายวชิ า 262 621 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี ่าเทียบเทา่ ) รวมจำนวน หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 171 คำอธบิ ายรายวิชา 262 401 การเขียนแบบสถาปตั ยกรรมไทย 3(0-6-3) (Delineations in Thai Architecture) เงอื่ นไข : ไมน่ บั หนว่ ยกติ และวดั ผลการศกึ ษาเปน็ S หรือ U เขยี นแบบสถาปตั ยกรรมไทยประเภทต่าง ๆ อาทิ รปู แบบ โครงสร้าง และองคป์ ระกอบ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการก่อสรา้ ง Drafting exercises on various types of Thai architectural components, such as decorative ornaments, structure, and construction details. 262 511 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมกอ่ นสมยั สโุ ขทยั 3(3-0-6) (History of Pre-Sukhothai Architecture) รูปแบบลักษณะเฉพาะและท่ีมาของสถาปัตยกรรม การวางผัง วิธีการก่อสร้าง สถาปัตยกรรม ประติมากรรมและปรัชญาของรูปแบบสถาปัตยกรรมท่ีเกี่ยวข้อง ก่อนพุทธ ศตวรรษที่ 19 รวมทั้งสถาปัตยกรรมไทยท่ไี ดร้ ับอิทธิพลศิลปะแบบต่าง ๆ จากนอกประเทศ มกี ารศึกษานอกสถานที่ Origins, philosophy, styles, layouts, construction techniques, and sculptural elements of architecture of Pre-Sukhothai periods before 14th century in Thailand; special characteristics of foreign art styles, their origins and influence on Thai architecture. Field trips required. 262 512 ประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมสมัยสโุ ขทยั -อยธุ ยา 3(3-0-6) (History of Architecture During Sukhothai and Ayutthaya Periods) คติ แนวคิด ลักษณะเฉพาะของการวางผัง รูปแบบ โครงสร้าง และองค์ประกอบทาง สถาปตั ยกรรม บทบาทหน้าที่ และพัฒนาการของงานสถาปตั ยกรรมไทยประเภทพุทธศาสนาคาร ท่ีเป็นท้ัง เจดีย์ ปรางค์ มณฑป อุโบสถ วิหาร และอื่น ๆ ซ่ึงเก่ียวเนื่องกับศิลปสถาปัตยกรรมไทย ในชว่ งสมยั สโุ ขทัยจนถงึ อยุธยาตอนปลาย (พุทธศตวรรษที่ 19-24) มีการศกึ ษานอกสถานที่ Ideologies, concepts, building layouts, styles, structures and architectural components of architecture in Thailand; role and development of Buddhist buildings and structures, such as stupas, prangs, mandapas, ordination halls, and viharas, in connection with developments in Thai art and architecture during the periods of Sukhothai and Ayutthaya (14th to 19th centuries) Field trips required. หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

P a g e | 172 262 513 ประวัตศิ าสตร์สถาปตั ยกรรมสมัยรัตนโกสนิ ทร์ 3(3-0-6) 262 514 (History of Architecture During Rattanakosin Period) สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ต้ังแต่สมัยรัชกาลท่ี 1 จนถึงรัชกาลท่ี 8 สุนทรียภาพ และอุดมคติแห่งยุคสมยั รวมทงั้ สภาพสงั คมวฒั นธรรมและแนวความคิดที่สง่ ผลตอ่ การสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอิทธิพลจากอารยธรรมอยุธยา จีน และอารยธรรมใหม่จากตะวันตก และวิถีชีวิตที่สะท้อนในตัวสถาปัตยกรรม ผ่านการวิเคราะห์ผังพื้น รูปลักษณ์ องค์ประกอบ วัสดุ และการก่อสร้างของอาคารประเภทต่าง ๆ วัด พระราชวัง บ้านพักอาศัย อาคารสาธารณะ และ อาคารราชการ Architecture of Rattanakosin period from the reign of Kings Rama I to King Rama VIII; aesthetic values and ideologies; socio-cultural conditions and ideals affecting the creation of architecture especially those influenced by Ayutthaya, Chinese and Western civilizations; lifestyles reflected in the works of architecture through analysis of plans, styles, components, materials and construction of various building types: temples, palaces, residences, public and government buildings. วัฒนธรรมและสถาปตั ยกรรมพ้นื ถิน่ ในประเทศไทยและเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ 3(3-0-6) (Culture and Vernacular Architecture in Thailand and Southeast Asia) ความเกี่ยวเนื่องระหว่างวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม รูปแบบทางสังคมวัฒนธรรมและ สภาพแวดล้อมพื้นถ่ินเป็นปัจจัยสำคัญท่ีทำให้เกิดลักษณะเฉพาะในด้านชีวิตความเป็นอยู่ อาชีพ ศาสนา การต้งั ถิ่นฐาน ศิลปะ รวมทง้ั สถาปตั ยกรรมทแี่ ตกต่างกัน ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธแ์ ละ การสะทอ้ นกลับระหว่างสิง่ ท่เี ปน็ นามธรรมและรูปธรรม ปัจจัยท่เี ป็นนามธรรม รูปแบบและรูปทรง สถาปัตยกรรม การจัดระเบียบพื้นท่ีใช้สอย สัญลักษณ์และสิ่งประดิษฐ์พ้ืนบ้าน ท่ีปรากฏในแต่ละ ท้องถ่ินทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ความสำนึกในคุณค่าของภูมิปัญญาและงาน ออกแบบระดับพืน้ บ้านเหลา่ นนั้ มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Relations between culture and architecture; social cultural forms, and environmental factors determining the unique characteristics of everyday life, occupations, religion, human settlements, art and architecture; emphases on interrelationships and reflection between intangible and tangible, abstract factors, shapes and forms of architecture; functions and spatial identity of vernacular architecture, symbols, folk arts and inventions in Thailand and the neighbouring countries; awareness of the value of local wisdom and folk art design. Field trip required. หลกั สูตรระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 173 262 530 ววิ ัฒนาการพุทธสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) 262 531 262 532 (Evolution of Buddhist Architecture) กำเนิดพุทธสถาปัตยกรรมและพัฒนาการในอินเดีย ศรีลังกา และประเทศเพ่ือนบ้านที่มี อทิ ธิพลตอ่ พุทธสถาปตั ยกรรมในประเทศไทย ผังบรเิ วณ อโุ บสถ วิหาร เจดยี ์ และ สงั ฆิกวิหาร Origin and development of Buddhist architecture in India, Sri Lanka, and Thailand’s neighbouring countries that influences plans, layouts and designs of Buddhist architecture in Thailand, ordination halls, viharas, pagodas, and monasteries. สถาปัตยกรรมยุคสมัยใหมใ่ นสยามสมยั รชั กาลท่ี 4 – รชั กาลท่ี 8 3(2-2-5) (Modern Architecture in Siam from the Reigns of Kings Rama IV to Rama VIII) สถาปัตยกรรมใหม่ภายใต้อิทธิพลตะวันตก ซ่ึงเป็นผลจากการเปิดประเทศ ตั้งแต่สมัย รัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลที่ 8 สภาพสังคม วัฒนธรรมที่ทำให้เกิดอุดมคติแห่งยุคสมัย และ สถาปัตยกรรมแบบใหม่ การวิเคราะห์ผังพ้ืน รูปแบบ วัสดุ และการก่อสร้างของอาคารประเภท ตา่ ง ๆ มีการเปรียบเทยี บกบั อาคารชว่ งเวลาเดียวกนั ในญป่ี ่นุ ตงั้ แตร่ ัชสมัยเมจิ ไทโช และโชวะ Modern architecture under Western influence resulting from opening the country to the West from the reigns of King Rama IV to Rama VIII; socio-cultural conditions affecting emergence of ideology of the age bringing about new kind of architecture; analysis of plans, styles, materials and construction of various types of buildings; comparative studies of contemporaneous buildings in Japan in the Meiji, Taisho and Showa period. การสันนิษฐานรปู แบบสถาปัตยกรรม 3(0-6-3) (Architectural Reconstruction) กระบวนการเก็บขอ้ มูลและบันทึกจากสถานทต่ี งั้ เพอื่ นำมาสกู่ ารวเิ คราะห์และสนั นษิ ฐาน รูปแบบด้ังเดิมของโบราณสถาน ด้วยการใช้องค์ความรู้และหลักวิชาทางประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม มกี ารศกึ ษานอกสถานที่ Collecting and documenting architectural data from sites; use of data as well as knowledge of architectural history to analyze and speculate original forms of ancient buildings. Field trips required. หลักสูตรระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

P a g e | 174 262 533 ไทยศึกษา 3(3-0-6) 262 537 262 538 (Thai Studies) ประเพณีและวัฒนธรรมไทยในอดีตที่เก่ียวเน่ืองกับวิถีการดำรงชีวิต โลกทัศน์ คติความ เช่ือและศาสนา ทั้งระดับสังคมชาวบ้านและในราชสำนักตลอดจนการรับเอาอารยธรรมต่าง ๆ เข้ามาพัฒนาจนกลายเป็นจารีตของตนเอง Thai traditions and cultures in the past associated with ways of life, worldviews, religions, and beliefs of common people and courtiers, and adaptation of influences from other civilizations. การอนุรักษย์ ่านและชุมชนประวัตศิ าสตรใ์ นประเทศไทย 3(2-2-5) (Conservation of Historic Sites and Settlements in Thailand) หลักการบริหาร การจัดการ และกฎหมายตลอดจนระเบียบต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการ อนุรักษ์โบราณสถานและแหล่งท่ีต้ัง การอนุรักษ์โบราณสถานและสภาพโดยรอบ ตลอดจนการ อนุรักษ์ชุมชนประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ผ่านการวิเคราะห์สภาพสังคม วัฒนธรรม และ กายภาพของชุมชน Principles of management and legislations concerning conservation of historic places; conservation of buildings, sites, surroundings, and community settlements, based on analysis of socio-cultural factors and physical conditions. การวินจิ ฉัยการเสอื่ มสภาพของโบราณสถานและอาคารประวัติศาสตร์ 3(3-0-6) (Building Diagnostics of Ancient Monuments and Historic Buildings) โครงสรา้ งและวิธีการก่อสรา้ งโบราณสถานและอาคารประวตั ศิ าสตร์ สาเหตุ ปจั จยั และ ตัวการที่ทำให้อาคารเส่ือมสภาพ รูปแบบการเสื่อมสภาพของโครงสรา้ งอาคารและวสั ดุ และการ วนิ จิ ฉยั หาสาเหตกุ ารเสอ่ื มสภาพของโบราณสถานและอาคารประวตั ิศาสตร์ มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Structures and construction techniques of ancient monuments and historic buildings; causes, factors and agents causing decays; patterns of structural damage and material deterioration; and diagnosis of building decay and deterioration. Field trips required. หลักสูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 175 262 539 การอนรุ กั ษ์วัสดใุ นโบราณสถานในประเทศไทย 3(2-3-4) 262 540 262 541 (Conservation of Materials in Ancient Monuments in Thailand) คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างโบราณสถานในประเทศไทย กระบวนการ เสอ่ื มสภาพของวสั ดเุ มื่อถูกนำมาใช้ในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย คุณสมบัติ ข้อดีขอ้ เสียของ วสั ดุและวิธีการที่ใช้ในการอนรุ กั ษว์ ัสดุในโบราณสถานในประเทศไทย มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Properties of materials used in constructing ancient monuments in Thailand; decay mechanisms of materials under local climate; properties, advantages and disadvantages of materials and techniques used to conserve materials in ancient monuments in Thailand. Field trips required. การปรับปรงุ อาคารประวัตศิ าสตร์ในบรบิ ทใหม่ 3(2-2-5) (Rehabilitation of Historic Buildings in New Context) ทฤษฎีและการปฏิบตั ิการอนุรักษ์อาคารประวัติศาสตร์ เพื่อคน้ หากระบวนการและการ สร้างแนวทางปฏิบัติในการนำอาคารประวัติศาสตร์กลับมาใช้ในบริบทใหม่ เพื่อให้อาคารถูกใช้ งานอย่างมีประสิทธิภาพ และมีอายุการใช้งานที่ยาวนานต่อไป ด้วยการปรับอาคารให้มีพื้นที่ใช้ สอยใหมท่ ่ีเหมาะสม การวิเคราะห์ศักยภาพอาคารในด้านตา่ ง ๆ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมและที่ ว่างเดิม โครงสร้างเดิม ทางเดิน และโครงสร้างความสัมพันธ์ของอาคารกับพื้นท่ี ปัจจัยด้าน การเมอื ง สังคม วฒั นธรรม เศรษฐกิจ และปรัชญาของการอนุรักษอ์ าคาร นโยบายและการปฏิบตั ิ วชิ าชพี การพัฒนาท่ียงั่ ยืน และการนำทรัพยากรกลับมาใชใ้ หม่ Theory and practice concerning rehabilitation of historic buildings in their changed context for more effective and efficient use to help prolong the life of buildings; analysis of architectural style, structure, circulation, and interrelationship between buildings and spaces for determining potential uses; political, social, cultural, and economic factors relating to philosophy of conservation and policies concerning conservation practices; sustainable development and adaptive reuse of resources. การอนุรกั ษ์สถาปัตยกรรมในระดับสากล 3(2-2-5) (Architectural Conservation at International Level) เงื่อนไข: นกั ศกึ ษารบั ผิดชอบค่าใช้จ่ายในการศึกษาดงู านเอง นอกเหนือจากค่าลงทะเบยี น การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชนในหลากหลายภูมิภาค ยุโรป อเมริกา หรือเอเชีย ผา่ นการบรรยาย ทศั นศกึ ษา และปฏิบตั งิ านจริงในพื้นที่ มีการศกึ ษานอกสถานที่ Field trip concerning the conservation of architecture and communities in parts of the world, including Europe, America and Asia; including lectures, excursions, and practical undertakings. Field trips required. หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

P a g e | 176 262 543 ศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมทส่ี ง่ ผลต่อสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) 262 544 ในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ 262 610 (Religions, Beliefs, and Culture Influenced on Architecture in Southeast Asia) ศาสนา ความเช่ือ และวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีมีอิทธิพลต่อการออกแบบ สถาปัตยกรรมในภูมิภาค เน่ืองจากสถาปัตยกรรมเป็นส่วนหน่ึงของระบบวัฒนธรรม พื้นที่ว่างใน งานสถาปัตยกรรมไม่ว่าจะใช้เพื่อเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาหรือความเช่ือหรือเพ่ือการปฏิสัมพันธ์ ทางสังคมล้วนสะท้อนโลกทัศน์ของผู้สร้างและผู้อยู่อาศัย ศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมทั้งที่ เป็นของด้ังเดิมในภูมิภาคและที่รับอิทธิพลจากภายนอก ระบบทางสังคม ระบบความเชื่อและ ศาสนา รวมไปถงึ แนวความคิดเรื่อง น้ำ ภเู ขา จกั รวาล และสมมุตเิ ทพ มีการศึกษานอกสถานท่ี Religions, beliefs, and culture in Southeast Asia that influence architectural designs in the region; Architecture as a cultural system; symbolic religious spaces and spaces for social interactions reflecting worldviews of their builders and inhabitants, local traditions and foreign influences, social systems, beliefs and religious systems, and cosmological concepts of water, mountain, and divinity. Field trips required. การวจิ ัยและการเผยแพรป่ ระวตั ศิ าสตรส์ ถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Research and Dissemination of Architectural History) แนวทางที่เป็นไปได้ในการวิจัย ประยุกต์ใช้ และเผยแพร่ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ที่ นอกเหนอื ไปจากแบบแผนทางวชิ าการ Possibilities of ways in which architectural history may be researched, applied and disseminated outside the conventional academic research. วธิ ีวจิ ัยขน้ั สงู ทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Research Methodology in History of Architecture) วิธีการและตัวแบบการวิจัยขั้นสูงเพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาและวิธีวิจัยงาน สถาปัตยกรรมและศิลปะทเ่ี ก่ยี วเน่อื ง Research models, methods, and their applications for carrying out investigations in architecture and related arts. หลักสูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 177 262 611 สัมมนาการเขียนประวตั ิศาสตรส์ ถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) 262 620 262 621 (Seminar on Architectural Historiography) 262 630 การสัมมนาเก่ียวกับทฤษฎี หลักการ และแนวคิดต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการเขียน ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือตรวจสอบที่มาของประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม รวมท้ังวิธีการหรือทฤษฎีท่ีนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์หรือประวัติศาสตร์ สถาปตั ยกรรมพฒั นาขึน้ ใชใ้ นการศกึ ษาสถาปตั ยกรรมในประเทศไทยได้ Discussion of theories, principles and concepts about writing on history of architecture; examining how architectural history was created; investigating wider theoretical and methodological questions on which architectural history is founded. วทิ ยานพิ นธ์ มีค่าเทยี บเทา่ 48 หน่วยกติ (Thesis) โครงการวิจัยขั้นสูงที่เกี่ยวเนื่องกับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม การอนุรักษ์ สถาปัตยกรรมและชุมชน และสถาปัตยกรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยต้องได้รับการอนุมัติ จากคณะกรรมการวทิ ยานพิ นธ์ Individual undertaking research project on topic approved by thesis committee concerning either history of architecture, architecture and urban conservation, or architecture of Southeast Asia. วิทยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเท่า 36 หนว่ ยกิต (Thesis) โครงการวจิ ัยข้นั สูงที่เกีย่ วเนือ่ งกับประวัตศิ าสตร์สถาปัตยกรรม การอนุรกั ษส์ ถาปัตยกรรม และชุมชน และสถาปัตยกรรมเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ โดยต้องไดร้ ับการอนุมัติจากคณะกรรมการ วิทยานิพนธ์ Individual undertaking in research project on topic approved by thesis committee concerning either history of architecture, architecture and urban conservation, or architecture of Southeast Asia. สถาปตั ยกรรมกับความเปลีย่ นแปลงในสงั คมไทยร่วมสมัย 3(3-0-6) (Architecture and Transformation of Contemporary Thai Society) ความเปล่ียนแปลงของสังคมไทยร่วมสมัยท่ีส่งอิทธิพลต่อการก่อรูปแนวความคิด คติ ความเช่ือ และรูปแบบงานสถาปัตยกรรม มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างสถาปัตยกรรมกับปัจจัย ต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ สงั คม และการเมอื ง เพือ่ สร้างความเขา้ ใจเชงิ ลกึ Transformation of contemporary Thai society affecting various architectural ideas and styles; emphasis on socio-economic and socio-political aspects for in- depth understanding of their relationship to architecture. หลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 178 262 631 การศกึ ษาเฉพาะเร่อื ง 3(0-6-3) 262 632 (Special Topic) 262 633 เงือ่ นไข : โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการดำเงินงานหลักสตู ร ค้ น ค ว้ า ใน เร่ื อ ง ห รื อ ป ร ะ เด็ น ท่ี ส น ใ จ ใ น ข อ บ เข ต ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมไทยและสถาปัตยกรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือการอนุรักษ์ สถาปตั ยกรรม Topics of special interest concerning history of architecture, Thai architecture, Southeast Asia architecture or architectural conservation approved by Program comnittee. การอนุรกั ษ์มรดกสถาปตั ยกรรมในประเทศไทย: ปรัชญาและการปฏบิ ัติ 3(2-2-5) (Conservation of Architectural Heritage in Thailand: Philosophy and Practices) แนวคิดและปรัชญาการอนุรกั ษ์มรดกสถาปตั ยกรรมของไทย จากแนวคิดในสมัยโบราณ สู่แนวคิดสากล พร้อมท้ังรูปแบบการอนุรักษ์ที่หลากหลายตั้งแต่อดีตสู่ปัจจุบัน โดยพิจารณาจาก กรณีศึกษาที่ครอบคลุมต้ังแต่โบราณสถาน สถาปัตยกรรมประวัติศาสตร์ ชุมชนเมือง ประวตั ศิ าสตร์ และแหลง่ โบราณคดีเป็นตน้ เพือ่ ตรวจสอบรากฐานและการพัฒนาของกิจกรรมน้ี Concept and philosophy of architectural heritage conservation in Thailand from ancient time to present day; various methods of practices based on case studies on ancient monuments, historic buildings and towns, and archaeological sites in order to investigate foundations and development of these activities. สัมมนาประวัติศาสตร์สถาปตั ยกรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 3(3-0-6) ระหวา่ งพทุ ธศตวรรษท่ี 12 ถงึ 18 (Seminar on History of Architecture in Southeast Asia between the 7th to the 13th Centuries) การสัมมนาเก่ียวกับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บนผืน แผ่นดินใหญ่และจักรวรรดิหมู่เกาะในอินโดนีเซียระหว่างพุทธศตวรรษท่ี 12 ถึง 18 ต้ังแต่สมัยเร่ิม การเผยแพร่อิทธิพลอินเดียจนถึงยุคทองของศิลปะอินเดียในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ อาทิ สถาปตั ยกรรมผวิ มอญ อาระขา่ น ฟนู ัน เจนละ จามปา ชวากลาง เขมร และพุกาม เปน็ ต้น มกี ารศึกษานอกสถานท่ี Discussion on architectural history of mainland and Indonesian archipelago in Southeast Asia between the 7th to 13th centuries from the early to the Golden periods of Indian influence in art and architecture in Southeast Asia, such as that of the Pyu, Mon, Arakanese, Funan, Chenla, Champa, Central Java, Khmer, and Burmese. Field trips required. หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 179 262 634 สัมมนาประวตั ิศาสตร์สถาปตั ยกรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3(3-0-6) ระหวา่ งพุทธศตวรรษท่ี 15 ถงึ 25 (Seminar on History of Architecture in Southeast Asia between the 10th to the 20th Centuries) การสัมมนาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้ังแต่พุทธ ศตวรรษท่ี 15 ถึง 25 สมัยการสะท้อนความเป็นท้องถ่ินจนถึงยุคอาณานิคมของตะวันตก ได้แก่ สถาปัตยกรรมชวาตะวันออก จามปาตอนปลาย รวมท้ังเขมร พม่า ไทย และลาวที่ได้รับ อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทจากศรีลังกา สถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลศาสนาอิสลามใน มาเลเซียและอนิ โดนเี ซยี และสถาปัตยกรรมที่มอี ิทธิพลตะวนั ตกในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มกี ารศกึ ษานอกสถานที่ Discussion on architectural history of Southeast Asia between the 10th to 20th centuries from local to colonial style of architecture in Eastern Java and Champa; Buddhist architecture with Sinhalese influence in Cambodia, Burma, Thailand, and Laos; architecture with Islamic influence in Indonesia and the Malay Peninsula; and architecture with Western influence in Southeast Asia. Field trips required. หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 180 รายละเอียดของหลกั สตู ร หลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปตั ยกรรม (หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2563) ชอื่ หลักสตู ร หลักสตู รปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาภมู สิ ถาปตั ยกรรม ภาษาไทย Doctor of Philosophy Program in Landscape Architecture ภาษาอังกฤษ ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า ปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑิต (ภูมิสถาปตั ยกรรม) ช่อื เต็มภาษาไทย Doctor of Philosophy (Landscape Architecture) ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ ปร.ด. (ภมู ิสถาปัตยกรรม) ชอ่ื ยอ่ ภาษาไทย Ph.D. (Landscape Architecture) ช่อื ยอ่ ภาษาองั กฤษ วชิ าเอก ไม่มี จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลกั สตู ร มคี า่ เทียบเทา่ 48 หน่วยกิต แบบ 1.1 (ผูเ้ ขา้ ศึกษาทส่ี ำเรจ็ ปรญิ ญาโท) มคี า่ เทยี บเทา่ 72 หนว่ ยกิต แบบ 1.2 (ผู้เข้าศกึ ษาทส่ี ำเร็จปริญญาตรี) ไม่นอ้ ยกวา่ 48 หนว่ ยกิต แบบ 2.1 (ผูเ้ ขา้ ศึกษาทส่ี ำเรจ็ ปรญิ ญาโท) ไมน่ ้อยกวา่ 72 หน่วยกิต แบบ 2.2 (ผู้เขา้ ศึกษาทสี่ ำเร็จปรญิ ญาตรี) อาชีพทีส่ ามารถประกอบไดห้ ลงั สำเรจ็ การศกึ ษา 1. ผูส้ อนในสถาบันการศกึ ษา 2. นักวิจัยหรือนักวิชาการภมู ิสถาปัตยกรรม 3. ทป่ี รึกษาหรอื ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นภูมสิ ถาปตั ยกรรม 4. ภมู ิสถาปนิก การเทยี บโอนหนว่ ยกติ รายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นขา้ มมหาวทิ ยาลยั เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรือทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงภายหลัง หลกั สตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 181 โครงสร้างหลกั สูตร หลกั สูตรปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าภมู สิ ถาปตั ยกรรม มี 4 แบบ ดงั นี้ 1. แบบ 1.1 หมวดวชิ าบงั คบั (ไมน่ บั หน่วยกติ ) จำนวน 9 หนว่ ยกติ วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเท่า 48 หนว่ ยกติ จำนวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกติ 2. แบบ 1.2 9 หนว่ ยกิต หมวดวชิ าบงั คบั (ไม่นบั หน่วยกติ ) จำนวน วทิ ยานพิ นธ์ มคี ่าเทยี บเท่า 72 หนว่ ยกิต จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สูตร จำนวน 72 หน่วยกิต 3. แบบ 2.1 9 หน่วยกติ หมวดวชิ าบงั คับ (ไมน่ บั หน่วยกติ ) หมวดวิชาเลือก จำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 12 หน่วยกติ วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทยี บเท่า 36 หนว่ ยกติ จำนวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลักสตู ร ไม่นอ้ ยกว่า 48 หน่วยกติ 4. แบบ 2.2 จำนวน 6 หน่วยกติ หมวดวิชาพนื้ ฐาน (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) จำนวน 9 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าบงั คบั หมวดวชิ าเลอื ก จำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 15 หนว่ ยกิต วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเท่า 48 หน่วยกติ จำนวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสูตร ไมน่ ้อยกวา่ 72 หนว่ ยกิต หมายเหตุ: มีการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) กอ่ นการลงทะเบียนรายวิชาวิทยานิพนธ์ รายวชิ า หมวดวชิ าพน้ื ฐาน (ไม่นับหนว่ ยกิต) นักศึกษาในแบบ 2.2 ทุกคน และนักศึกษาในแบบอ่ืนๆ ที่มีพื้นฐานความรู้ทางวิชาการในด้านภูมิ สถาปัตยกรรมไม่พอเพียง ต้องลงเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ดังต่อไปนี้ โดยไม่นับหน่วยกิตรวมเป็นส่วนหน่งึ ของหลักสูตร และวดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U 266 510 หลกั การและทฤษฎีทางภูมสิ ถาปัตยกรรม 3*(3-0-6) (Principles and Theory in Landscape Architecture) 266 511 นเิ วศวทิ ยาภูมทิ ัศนแ์ ละการพฒั นาอย่างย่งั ยนื 3*(3-0-6) (Landscape Ecology and Sustainable Development) หลกั สตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 182 แบบ 1.1 หมวดวชิ าบงั คบั (ไม่นบั หนว่ ยกิต) จำนวน 9 หนว่ ยกิต 266 610 ระเบียบวธิ วี ิจัยขน้ั สูงทางภูมสิ ถาปัตยกรรม 3*(3-0-6) (Advanced Research Methodology in Landscape Architecture) 266 611 สถติ ิเพอื่ การวจิ ัย 3*(3-0-6) (Statistics for Research) 266 612 สัมมนาภมู สิ ถาปัตยกรรมระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิต 3*(3-0-6) (Doctoral Seminar in Landscape Architecture) วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเท่า) 48 หน่วยกิต 266 620 วิทยานพิ นธ์ มีค่าเทียบเทา่ 48 หนว่ ยกติ (Thesis) แบบ 1.2 หมวดวิชาบังคบั (ไมน่ บั หนว่ ยกติ ) จำนวน 9 หนว่ ยกติ 266 610 ระเบยี บวธิ วี ิจัยขนั้ สูงทางภมู สิ ถาปัตยกรรม 3*(3-0-6) (Advanced Research Methodology in Landscape Architecture) 266 611 สถติ ิเพ่อื การวจิ ัย 3*(3-0-6) (Statistics for Research) 266 612 สัมมนาภมู สิ ถาปตั ยกรรมระดับดษุ ฎีบัณฑิต 3*(3-0-6) (Doctoral Seminar in Landscape Architecture) วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเท่า) 72 หนว่ ยกิต 266 621 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเท่า 72 หนว่ ยกิต (Thesis) แบบ 2.1 หมวดวิชาบงั คับ (ไมน่ บั หนว่ ยกิต) จำนวน 9 หน่วยกิต 266 610 ระเบยี บวิธีวจิ ัยขนั้ สงู ทางภูมสิ ถาปตั ยกรรม 3*(3-0-6) (Advanced Research Methodology in Landscape Architecture) 266 611 สถิตเิ พอื่ การวจิ ยั 3*(3-0-6) (Statistics for Research) 266 612 สัมมนาภูมสิ ถาปตั ยกรรมระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิต 3*(3-0-6) (Doctoral Seminar in Landscape Architecture) หมายเหตุ * หมายถงึ ลงทะเบยี นเรยี นโดยไมน่ ับหนว่ ยกติ หลักสตู รระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

P a g e | 183 หมวดวิชาเลอื ก ไมน่ ้อยกว่า 12 หน่วยกิต 266 630 การวจิ ัยเชิงสำรวจและการวิเคราะหข์ ้อมูล 3(3-0-6) (Survey Research and Data Analysis) 266 631 การวเิ คราะห์และประเมินทัศนคุณภาพ 3(3-0-6) (Visual Quality Analysis and Assessment) 266 632 ภมู ทิ ศั นช์ มุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Landscape) 266 633 ภมู ิทศั น์วฒั นธรรม 3(3-0-6) (Cultural Landscape) 266 634 การออกแบบและวางแผนภมู ิสถาปัตยกรรมเชิงนเิ วศ 3(3-0-6) (Ecological Landscape Design and Planning) 266 635 การออกแบบภูมทิ ัศน์เพอ่ื การฟน้ื ฟูสภาพแวดลอ้ ม 3(3-0-6) (Regenerative Landscape Design) 266 636 วสั ดแุ ละการออกแบบก่อสรา้ งงานภูมิสถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Material and Construction Design in Landscape Architecture) 266 637 การออกแบบสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ทุกคน 3(3-0-6) (Universal Design) 266 638 ระบบภมู สิ ารสนเทศในงานภมู สิ ถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Geographic Information System in Landscape Architecture) 266 639 การศกึ ษาหวั ขอ้ พเิ ศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) นอกเหนือไปจากรายวิชาเลือกดังกล่าวนี้แล้ว นักศึกษาสามารถเลือกเรยี นรายวิชาในระดบั บัณฑิตศึกษาจาก หลักสูตรอนื่ ๆ ของคณะ และของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากอาจารยท์ ี่ปรึกษา วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเท่า) 36 หน่วยกิต 266 622 วทิ ยานพิ นธ์ มีค่าเทียบเทา่ 36 หนว่ ยกิต (Thesis) แบบ 2.2 หมวดวิชาบงั คับ จำนวน 9 หนว่ ยกิต 266 610 ระเบยี บวิธวี จิ ัยขน้ั สงู ทางภมู สิ ถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Research Methodology in Landscape Architecture) หลกั สูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 184 266 611 สถิติเพ่ือการวจิ ยั 3(3-0-6) 3(3-0-6) (Statistics for Research) 3(3-0-6) 266 612 สัมมนาภมู สิ ถาปัตยกรรมระดับดุษฎีบณั ฑติ 3(3-0-6) 3(3-0-6) (Doctoral Seminar in Landscape Architecture) 3(3-0-6) 3(3-0-6) หมวดวิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกวา่ 15 หนว่ ยกติ โดยให้เลอื กจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 266 630 การวิจยั เชิงสำรวจและการวิเคราะหข์ ้อมูล (Survey Research and Data Analysis) 266 631 การวเิ คราะหแ์ ละประเมินทัศนคุณภาพ (Visual Quality Analysis and Assessment) 266 632 ภมู ิทศั นช์ ุมชนเมือง (Urban Landscape) 266 633 ภูมิทัศน์วัฒนธรรม (Cultural Landscape) 266 634 การออกแบบและวางแผนภูมิสถาปตั ยกรรมเชิงนิเวศ (Ecological Landscape Design and Planning) 266 635 การออกแบบภูมิทัศน์เพือ่ การฟ้นื ฟูสภาพแวดลอ้ ม 3(3-0-6) (Regenerative Landscape Design) 266 636 วัสดแุ ละการออกแบบกอ่ สร้างงานภูมิสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Material and Construction Design in Landscape Architecture) 266 637 การออกแบบสภาพแวดล้อมเพอื่ ทกุ คน 3(3-0-6) (Universal Design) 266 638 ระบบภมู ิสารสนเทศในงานภมู สิ ถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Geographic Information System in Landscape Architecture) 266 639 การศึกษาหัวขอ้ พเิ ศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) นอกเหนือไปจากรายวิชาเลือกดังกล่าวนี้แลว้ นักศึกษาสามารถเลือกเรยี นรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาจาก หลกั สูตรอืน่ ๆ ของคณะ และของมหาวิทยาลยั ศิลปากร โดยได้รบั ความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรกึ ษา วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) 48 หนว่ ยกิต 266 623 วิทยานพิ นธ์ มคี ่าเทยี บเท่า 48 หนว่ ยกิต (Thesis) หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

แผนการศึกษา P a g e | 185 แบบ 1.1 วิทยานพิ นธ์ 48 หน่วยกิต จำนวนหน่วยกติ รหสั วิชา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 (บ-ป-น) ชอ่ื รายวชิ า 3*(3-0-6) 3*(3-0-6) 266 610 ระเบยี บวิธีวิจัยขนั้ สูงทางภมู สิ ถาปัตยกรรม 0 266 611 สถติ ิเพื่อการวิจัย จำนวนหน่วยกติ รหัสวิชา รวมจำนวน (บ-ป-น) ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 3*(3-0-6) 0 ชือ่ รายวิชา จำนวนหนว่ ยกิต 266 612 สมั มนาภูมสิ ถาปัตยกรรมระดบั ดษุ ฎีบัณฑิต (บ-ป-น) 12 รหสั วชิ า รวมจำนวน 12 ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จำนวนหนว่ ยกิต ชือ่ รายวิชา (บ-ป-น) 12 266 620 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 12 รหสั วชิ า รวมจำนวน ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ชื่อรายวิชา 266 620 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ *รายวชิ าบังคบั ไมน่ ับหนว่ ยกติ หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

รหัสวชิ า ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 P a g e | 186 ช่อื รายวิชา จำนวนหน่วยกติ 266 620 วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) (บ-ป-น) รหัสวชิ า รวมจำนวน 12 12 ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 2 ชือ่ รายวชิ า จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) 266 620 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 12 รวมจำนวน 12 หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

แบบ 1.2 วิทยานพิ นธ์ 72 หน่วยกติ P a g e | 187 รหสั วชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกติ ช่อื รายวิชา (บ-ป-น) 3*(3-0-6) 266 610 ระเบยี บวิธวี ิจยั ขน้ั สูงทางภมู สิ ถาปัตยกรรม 3*(3-0-6) 266 611 สถติ ิเพอ่ื การวิจัย 0 รหัสวิชา รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 (บ-ป-น) 3*(3-0-6) ชอื่ รายวิชา 0 266 612 สัมมนาภมู สิ ถาปัตยกรรมระดบั ดุษฎบี ณั ฑติ จำนวนหน่วยกติ (บ-ป-น) รหสั วชิ า รวมจำนวน 12 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 12 ชื่อรายวิชา จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) 266 621 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) 12 รหัสวชิ า รวมจำนวน 12 ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ช่ือรายวชิ า 266 621 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ *รายวชิ าบังคบั ไมน่ บั หนว่ ยกติ หลกั สูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รหสั วชิ า ปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 P a g e | 188 ช่ือรายวิชา จำนวนหน่วยกติ 266 621 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) (บ-ป-น) รหสั วิชา รวมจำนวน 12 12 ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ช่ือรายวชิ า จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) 266 621 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 12 รหัสวชิ า รวมจำนวน 12 ปีท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 1 จำนวนหน่วยกติ ชือ่ รายวิชา (บ-ป-น) 12 266 621 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) 12 รหสั วชิ า รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต ปีท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 2 (บ-ป-น) ชอ่ื รายวชิ า 12 12 266 621 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หลกั สตู รระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 189 แบบ 2.1 รายวชิ า 12 หนว่ ยกิต และวทิ ยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต รวมไมน่ ้อยกวา่ 48 หนว่ ยกติ รหสั วชิ า ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกิต ชอื่ รายวิชา (บ-ป-น) 3*(3-0-6) 266 610 ระเบียบวิธวี จิ ัยขนั้ สูงทางภูมสิ ถาปัตยกรรม 3*(3-0-6) 266 611 สถิตเิ พอื่ การวิจยั 3 3 วิชาเลือก รวมจำนวน รหัสวชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) ชือ่ รายวชิ า 3*(3-0-6) 6 266 612 สมั มนาภมู สิ ถาปตั ยกรรมระดบั ดุษฎีบณั ฑติ 6 วชิ าเลือก รวมจำนวน จำนวนหน่วยกิต รหัสวชิ า ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 (บ-ป-น) 3 ชือ่ รายวชิ า 3 วิชาเลอื ก รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต รหสั วิชา ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 2 (บ-ป-น) 12 ช่ือรายวิชา 12 266 622 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ *รายวิชาบังคบั ไมน่ บั หนว่ ยกติ หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

รหัสวชิ า ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 P a g e | 190 ช่อื รายวิชา จำนวนหน่วยกติ 266 622 วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) (บ-ป-น) รหัสวชิ า รวมจำนวน 12 12 ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 2 ชือ่ รายวชิ า จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) 266 622 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 12 รวมจำนวน 12 หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 191 แบบ 2.2 รายวชิ า 24 หน่วยกิต และวิทยานพิ นธ์ 48 หน่วยกิต รวมไมน่ อ้ ยกวา่ 72 หน่วยกิต รหัสวิชา ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต ชื่อรายวชิ า (บ-ป-น) 3*(3-0-6) 266 510 หลกั การและทฤษฎีทางภูมสิ ถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 266 610 ระเบียบวิธีวิจยั ขน้ั สงู ทางภูมสิ ถาปัตยกรรม 3 266 611 สถิติเพ่ือการวจิ ัย 9 วิชาเลือก รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกติ รหสั วชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 (บ-ป-น) 3(3-0-6) ช่ือรายวิชา 6 9 266 612 สมั มนาภูมสิ ถาปตั ยกรรมระดบั ดุษฎีบัณฑิต จำนวนหนว่ ยกติ วชิ าเลอื ก รวมจำนวน (บ-ป-น) รหสั วิชา ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 3*(3-0-6) 6 ชือ่ รายวชิ า 6 266 511 นเิ วศวทิ ยาภูมทิ ศั น์และการพฒั นาอย่างย่ังยนื จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) วชิ าเลอื ก รวมจำนวน 12 รหสั วิชา ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 12 ชื่อรายวิชา 266 623 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ *รายวชิ าพ้ืนฐานไมน่ บั หน่วยกิต หลกั สูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

รหสั วชิ า ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 1 P a g e | 192 ชอ่ื รายวชิ า จำนวนหน่วยกติ 266 623 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) (บ-ป-น) รหัสวชิ า รวมจำนวน 12 12 ปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ชื่อรายวิชา จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) 266 623 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 12 รหัสวิชา รวมจำนวน 12 ปที ี่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหนว่ ยกติ ชือ่ รายวิชา (บ-ป-น) 6 266 623 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) 6 รหัสวิชา รวมจำนวน จำนวนหน่วยกติ ปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (บ-ป-น) ชอ่ื รายวิชา 6 6 266 623 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หลักสูตรระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

P a g e | 193 คำอธบิ ายรายวิชา 266 510 หลักการและทฤษฎที างภมู ิสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Principles and Theory in Landscape Architecture) เงื่อนไข: วัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรือ U หลักการของภูมิสถาปัตยกรรม ความเป็นมาของภูมิสถาปัตยกรรมตั้งแต่อดีต โดย เน้นท่ีการพัฒนาแนวคิดในยุคสมัยต่าง ๆ จนถึงปัจจุบัน หลักการและทฤษฎีภูมสิ ถาปัตยกรรม ทเ่ี กดิ จากแนวความคิดต่าง ๆ ทงั้ ในดา้ นกายภาพ สงั คม และสง่ิ แวดล้อม Principles and history of landscape architecture; emphasis on developments in concepts from past eras to present day; principles and theory of landscape architecture influenced by concepts concerning physical, social, and environmental issues. 266 511 นิเวศวิทยาภูมทิ ศั น์และการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื 3(3-0-6) (Landscape Ecology and Sustainable Development) เงอื่ นไข: วัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U หลั กการและแน วความคิ ดของนิ เวศวิทยาภู มิทั ศน์ และการพั ฒ น าอย่างยั่ งยืน ท่ี เกี่ยวเนื่องกับภูมิสถาปัตยกรรม ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ การออกแบบและการวางผงั ทางกายภาพทนี่ ำไปสคู่ วามยง่ั ยนื Principles and concepts of landscape ecology and sustainable development in landscape architecture; fundamentals of environment and ecosystem; sustainable landscape design and planning. 266 610 ระเบยี บวิธวี จิ ยั ขัน้ สงู ทางภมู สิ ถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Research Methodology in Landscape Architecture) เงือ่ นไข: นักศึกษาแบบ 1.1 แบบ 1.2 และแบบ 2.1 วัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U นกั ศึกษาแบบ 2.2 วดั ผลการศกึ ษาเปน็ ค่าระดบั ความรเู้ ชิงลึกเก่ียวกับวิธีการวิจัย ทฤษฎี การต้ังสมมุติฐาน การออกแบบการวิจัย การ เก็บรวบรวมข้อมูล การวัดผล และการเขียนรายงานผลการวิจัย จริยธรรมในการทำวิจัย ระเบยี บวิธวี ิจัยทงั้ ในเชงิ คุณภาพและปริมาณ In-depth knowledge in research methods, theory, hypothesis formulation, research design, data collection, assessment and report writing; research ethics; qualitative and quantitative research methodologies. หลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 194 266 611 สถติ ิเพอ่ื การวิจัย 3(3-0-6) 266 612 266 620 (Statistics for Research) เงอื่ นไข: นกั ศกึ ษาแบบ 1.1 แบบ 1.2 และแบบ 2.1 วัดผลการศึกษาเป็น S หรอื U นักศกึ ษาแบบ 2.2 วัดผลการศึกษาเปน็ คา่ ระดบั วิธีการทางสถิติเพ่ือการวิจัย สถิติเชิงพรรณา สถิติเชิงอนุมาน การบรรยาย สรุปผล นำเสนอผลการวิเคราะห์ และทดสอบสมมตฐิ านสำหรบั การวิจยั Statistical methods for research; descriptive statistics, inferential statistics; describing, concluding, presenting analysis findings, and testing of research hypothesis. สมั มนาภูมิสถาปัตยกรรมระดบั ดษุ ฎีบณั ฑิต 3(3-0-6) (Doctoral Seminar in Landscape Architecture) เงอื่ นไข: นกั ศกึ ษาแบบ 1.1 แบบ 1.2 และแบบ 2.1 วัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรือ U นกั ศึกษาแบบ 2.2 วดั ผลการศกึ ษาเปน็ ค่าระดบั การอภิปรายในเนื้อหาท่ีเก่ียวข้องกับภูมิสถาปัตยกรรมที่มีความสำคัญหรือได้รับความ สนใจในช่วงเวลาน้ัน เน้นการเตรียมตัวค้นคว้า การพัฒนาความคิดเชิงวิพากษ์อย่างเป็นระบบ และการแลกเปล่ียนความคิดเห็นและข้อโต้แย้งในชั้นเรียน เพ่ือเตรียมความพรอมในการศึกษา ระดบั ดษุ ฎีบัณฑิต Discussions on topics relating to landscape architecture focusing on important or relevant controversial issues; emphasis on preparation of topics prior to class, systematic development of critical thinking, and exchange of opinions during seminar as a preparation for a doctoral study. วิทยานิพนธ์ มีค่าเทยี บเทา่ 48 หนว่ ยกติ (Thesis) การวิจัยขั้นสูงรายบุคคล อันกอใหเกิดองคความรูใหมดานภูมิสถาปตยกรรมและ สภาพแวดล้อม การนําเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจัย จริยธรรมการทําวิจัยและเผยแพร ผลงาน วชิ าการ ตอ้ งได้รบั การอนุมัตหิ วั ข้อวิทยานิพนธ์จากคณะกรรมการวทิ ยานิพนธ์ Individual undertaking in advanced research project on topic leading to a contribution to the body of knowledge in the field of landscape architecture and environment; delivering and publishing final research outcome with ethics; approval of the thesis topic by a thesis committee. หลักสูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

P a g e | 195 266 621 วิทยานิพนธ์ มคี า่ เทยี บเท่า 72 หน่วยกติ 266 622 266 623 (Thesis) การวิจัยขั้นสูงรายบุคคล อันกอใหเกิดองคความรูใหมดานภูมิสถาปตยกรรมและ สภาพแวดล้อม การนําเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจัย จริยธรรมการทําวิจัยและเผยแพร ผลงาน วิชาการ ต้องได้รับการอนุมตั หิ ัวขอ้ วทิ ยานิพนธ์จากคณะกรรมการวทิ ยานิพนธ์ Individual undertaking in advanced research project on topic leading to a contribution to the body of knowledge in the field of landscape architecture and environment; delivering and publishing final research outcome with ethics; approval of the thesis topic by a thesis committee. วิทยานิพนธ์ มคี ่าเทยี บเทา่ 36 หนว่ ยกติ (Thesis) การวิจัยขั้นสูงรายบุคคล อันกอใหเกิดองคความรูใหมดานภูมิสถาปตยกรรมและ สภาพแวดล้อม การนําเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจัย จริยธรรมการทําวิจัยและเผยแพร ผลงาน วิชาการ ตอ้ งได้รับการอนมุ ตั ิหวั ขอ้ วทิ ยานิพนธ์จากคณะกรรมการวทิ ยานิพนธ์ Individual undertaking in advanced research project on topic leading to a contribution to the body of knowledge in the field of landscape architecture and environment; delivering and publishing final research outcome with ethics; approval of the thesis topic by a thesis committee. วทิ ยานิพนธ์ มีค่าเทียบเทา่ 48 หนว่ ยกติ (Thesis) การวิจัยข้ันสูงรายบุคคล อันกอใหเกิดองคความรูใหมดานภูมิสถาปตยกรรมและ สภาพแวดล้อม การนําเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจัย จริยธรรมการทําวิจัยและเผยแพร ผลงาน วชิ าการ ต้องได้รบั การอนมุ ตั หิ วั ขอ้ วิทยานิพนธจ์ ากคณะกรรมการวิทยานพิ นธ์ Individual undertaking in advanced research project on topic leading to a contribution to the body of knowledge in the field of landscape architecture and environment; delivering and publishing final research outcome with ethics; approval of the thesis topic by a thesis committee. หลักสตู รระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

P a g e | 196 266 630 การวจิ ัยเชงิ สำรวจและการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 3(3-0-6) 266 631 266 632 (Survey Research and Data Analysis) ความรู้และความเข้าใจในท้ังกระบวนการทำวิจัยเชิงสำรวจ การตงั้ คำถามการวิจยั การ ออกแบบการวิจัยและแบบสอบถาม การสุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล การ วิเคราะห์ข้อมูล และการแปลผลการวิจัย การใช้วธิ ที างสถติ พิ น้ื ฐานและข้นั สงู ในการ วิเคราะหข์ฺ อ้ มลู Knowledge and understanding of the whole process of survey research methodology; defining research question, research and questionnaire design, sampling, method of data collection, analysis, and findings interpretation; using basic and advanced statistical methods for data analysis. การวเิ คราะหแ์ ละประเมินทศั นคุณภาพ 3(3-0-6) (Visual Quality Analysis and Assessment) ทัศนคุณ ภาพและการประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์ให้เหมาะสมกับบริ บทท าง กายภาพ วัฒนธรรม และสังคม หลักการ ทฤษฎี และเทคนิค ในการวิเคราะห์ และประเมิน ทัศนคณุ ภาพ เพ่ือการศึกษาในระดับดุษฎบี ัณฑติ Visual quality and the application of analytical process relating to physical, cultural and social contexts; principles, theories, and techniques in visual quality analysis and assessment for a doctoral study. ภูมทิ ศั น์ชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Landscape) องค์ประกอบทางภูมิทัศน์ของพื้นท่ีเมือง เอกลักษณ์ ภูมิสัญลักษณ์ สถานที่สำคัญทาง ประวัติศาสตร์ ระบบการพักผ่อนหย่อนใจและระบบที่โล่ง ตลอดจนนิเวศวิทยาที่มีอิทธิพลต่อ มนุษย์ เทคนิคการวางผังและออกแบบภมู ิทัศน์ในยา่ นชมุ ชนเมืองเพื่อปรับปรุงทัศนคุณภาพของ สภาพแวดล้อมชุมชนเมือง เพ่ือการศกึ ษาในระดับดษุ ฎีบณั ฑติ Landscape features in urban areas, identity, landmark, and historical significance; recreational and open space systems, and ecological influence on humans; techniques for landscape planning and design in urban areas to improve visual quality of urban environment for a doctoral study. หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 197 266 633 ภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรม 3(3-0-6) 266 634 266 635 (Cultural Landscape) ภูมิทัศน์ที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ในวัฒนธรรมต่าง ๆ โดยเน้นใน ประเด็นเกี่ยวกับรูปแบบการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ รูปแบบการแบ่งเขตที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์ ดา้ นสังคมและเศรษฐกิจ และลกั ษณะทางสถาปตั ยกรรมของอาคารสิ่งกอ่ สร้าง เพื่อการศกึ ษาใน ระดับดษุ ฎบี ณั ฑิต Man-made landscape created by people of different cultural groups; emphasis on human settlement patterns, land-division patterns for economic and social uses, and architectural styles of buildings and structures for a doctoral study. การออกแบบและวางแผนภูมิสถาปัตยกรรมเชิงนิเวศ 3(3-0-6) (Ecological Landscape Design and Planning) การผสมผสานแนวคิดนิเวศวิทยาเข้ากับภูมิสถาปัตยกรรม แนวความคิดนิเวศวิทยา โครงสร้างของภูมิทัศน์ พัฒนาการและความเปล่ียนแปลงของภูมิทัศน์ และแนวทางเชิงนิเวศ ในการออกแบบและวางแผนภูมสิ ถาปตั ยกรรม เพื่อการศึกษาในระดับดุษฎบี ัณฑิต Integration of ecological concepts into landscape architecture; ecological concepts; landscape structure; landscape development and change; ecological approach to landscape design and planning for a doctoral study. การออกแบบภมู ิทศั น์เพ่อื การฟ้ืนฟสู ภาพแวดล้อม 3(3-0-6) (Regenerative Landscape Design) การออกแบบภูมิทัศน์และภูมิสถาปัตยกรรมที่มีจุดมุ่งหมายเพ่ือสร้างการฟื้นฟูและ ทดแทนแกส่ ภาพแวดลอ้ มและระบบนเิ วศ เนน้ ความสำคญั ของกระบวนการทางนิเวศวทิ ยา และ การผสมผสานกระบวนการเข้ากับการออกแบบและการใช้งาน เพ่ือการศึกษาในระดับดุษฎี บณั ฑติ Landscape architectural design that aims towards revitalisation and renewal of environment and ecosystem; emphasis on ecological process and integration of the process into landscape design and function for a doctoral study. หลกั สูตรระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 198 266 636 วัสดแุ ละการออกแบบก่อสรา้ งงานภมู ิสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) 266 637 266 638 (Material and Construction Design in Landscape Architecture) คุณสมบัติทางกายภาพ ธรรมชาติ ข้อจำกัดของวัสดุต่าง ๆ ที่ใช้ในงานออกแบบ ก่อสร้างภูมิสถาปัตยกรรม หลักการออกแบบโดยใช้วัสดุ และเทคนิคที่ใช้ในการก่อสร้างงานภูมิ สถาปัตยกรรมอยา่ งเหมาะสม เพอื่ การศึกษาในระดับดษุ ฎบี ณั ฑติ มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Physical properties, nature and limitations of materials used in landscape architecture design and construction; principles of design using appropriate materials and construction techniques for landscape architecture for a doctoral study. Field trips required. การออกแบบสภาพแวดลอ้ มเพ่ือทุกคน 3(3-0-6) (Universal Design) หลักการออกแบบสภาพแวดล้อมเพ่ือทุกคน ท่ีสนับสนุนให้เกิดความเท่าเทียมกันของ คนพิการ ผู้สูงอายุ เด็ก และผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อให้การเข้าถึงพ้ืนท่ตี า่ ง ๆ ในชุมชนเมือง เป็นไปโดยปราศจากอุปสรรค เน้นหลักการในการออกแบบปรับปรุงอาคารสถานที่ ตลอดจน สาธารณูปโภคสาธารณปู การทเี่ กี่ยวขอ้ ง เพื่อการศึกษาในระดับดษุ ฎบี ณั ฑติ Design principles for universal design to promote equality for the disabled, the elderly, the young, and the healthy to be able to access all places within urban areas; emphasis on design principles for buildings and infrastructure improvements for a doctoral study. ระบบภมู สิ ารสนเทศในงานภูมสิ ถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Geographic Information System in Landscape Architecture) ปฏิบัติการใช้งานระบบภูมิสารสนเทศในงานภูมิสถาปัตยกรรมในระดับสูง การพัฒนา แ ล ะ ด ำ เนิ น โ ค ร ง ก า ร ที่ ใช้ เท ค โ น โ ล ยี ภู มิ ส า ร ส น เท ศ เป็ น เค ร่ื อ ง มื อ วิ เค ร า ะ ห์ ใน ง า น ภู มิ สถาปัตยกรรมทมี่ ีความซับซอ้ น เพ่อื การศกึ ษาในระดับดุษฎีบณั ฑติ Practical use of advanced Geographic Information System (GIS) in landscape architecture; developing and executing complicated projects using GIS in landscape architecture projects for a doctoral study. หลกั สูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร