Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565

หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565

Published by archsu.fac, 2022-06-24 04:15:59

Description: หลักสูตร (มคอ.2) ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565

Search

Read the Text Version

สารบัญ รายละเอยี ดของหลักสตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าสถาปัตยกรรม หนา้ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) รายละเอียดของหลกั สูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรมพ้นื ถ่นิ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 1 (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565) รายละเอยี ดของหลักสตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาสถาปตั ยกรรมไทย 18 (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565) รายละเอยี ดของหลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าประวัติศาสตรส์ ถาปตั ยกรรม 34 (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) รายละเอียดของหลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 51 (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) รายละเอยี ดของหลกั สตู รสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมอื ง 67 (หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564) รายละเอยี ดของหลกั สตู รภมู สิ ถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565) 80 รายละเอียดของหลกั สตู รการวางแผนชมุ ชนเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบณั ฑติ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565) 91 รายละเอียดของหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาสถาปตั ยกรรม (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563) 107 รายละเอยี ดของหลักสตู รปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรมพน้ื ถ่นิ และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565) 123 รายละเอยี ดของหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวชิ าประวัติศาสตร์สถาปตั ยกรรม 144 (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2563) รายละเอยี ดของหลกั สตู รปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาภูมสิ ถาปตั ยกรรม (หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. 2563) 165 ภาคผนวก ขอ้ บงั คบั ระเบียบ ประกาศ สำหรบั นักศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา 180 - ข้อบังคบั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ว่าดว้ ยการศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2561 200 - ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 - ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง การสอบวัดคุณสมบัติและ การสอบประมวลความรอบรู้ - ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง เกณฑ์การเทียบคะแนนผลการทดสอบ ภาษาอังกฤษจากสถาบันทดสอบภาษาอังกฤษที่มีมาตรฐานเทียบเคียงเกณฑ์ ม า ต ร ฐ า น ข อง The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) ท่ีมหาวิทยาลัยศิลปากรยอมรบั - ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานและการทดสอบความรู้ ความสามารถทางภาษาอังกฤษเพื่อสำเร็จการศึกษา ของนักศึกษาระดับ บณั ฑติ ศึกษา - อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 (ภาคปกติ และโครงการพิเศษ)

Page |1 รายละเอียดของหลกั สูตร หลักสูตรสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรม (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ช่ือหลกั สูตร หลักสตู รสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าสถาปัตยกรรม ภาษาไทย Master of Architecture Program in Architecture ภาษาองั กฤษ ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวิชา สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต (สถาปตั ยกรรม) ช่ือเตม็ ภาษาไทย Master of Architecture (Architecture) ช่ือเต็มภาษาอังกฤษ สถ.ม. (สถาปตั ยกรรม) ชือ่ ยอ่ ภาษาไทย M. Arch. (Architecture) ชอื่ ยอ่ ภาษาองั กฤษ วิชาเอก 1. แนวความคิดในการออกแบบ 2. การอนรุ ักษพ์ ลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม จำนวนหน่วยกิตที่เรยี นตลอดหลกั สตู ร แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกวา่ 36 หนว่ ยกิต แผน ข ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกิต อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเรจ็ การศึกษา 1. สถาปนิก 2. ผสู้ อนในสถาบนั อุดมศกึ ษา 3. นักวจิ ัยในหนว่ ยงานรัฐและเอกชน 4. อาชพี อื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เช่น ท่ปี รึกษาด้านอนุรักษพ์ ลงั งานในอาคาร การเทียบโอนหน่วยกติ รายวชิ า และการลงทะเบียนเรียนขา้ มมหาวิทยาลัย เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรือทมี่ ีการเปลยี่ นแปลงภายหลัง โครงสร้างหลกั สูตร หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม แบ่งออกเป็น 2 วิชาเอก คือ วิชาเอก แนวความคิดในการออกแบบ และ วิชาเอกการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม โดยมีรายละเอยี ดโครงสร้างหลักสตู ร แยกตามวชิ าเอก ดงั นี้ หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page |2 (1) วิชาเอกแนวความคดิ ในการออกแบบ แบง่ เปน็ 2 แผนการศึกษา ดงั น้ี แผน ก แบบ ก 2 ประกอบด้วย หมวดวิชาบังคับ จำนวน 15 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9 หนว่ ยกิต วิทยานิพนธ์ มคี า่ เทยี บเทา่ 12 หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกติ แผน ข ประกอบด้วย หมวดวิชาบังคับ จำนวน 15 หน่วยกติ หมวดวิชาเลือก ไมน่ อ้ ยกว่า 15 หนว่ ยกติ การค้นคว้าอสิ ระ มคี ่าเทยี บเทา่ 6 หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกวา่ 36 หนว่ ยกิต หมายเหตุ - แผน ก แบบ ก 2 ไม่มกี ารสอบประมวลความรู้ - แผน ข นักศึกษาจะต้องสอบประมวลความรู้ ภายหลังจากที่ได้เรียนและสอบ ผา่ นรายวชิ าบังคับและรายวชิ าเลอื ก จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกติ (2) วชิ าเอกการอนรุ กั ษ์พลงั งานและสง่ิ แวดล้อม แบง่ เปน็ 2 แผนการศกึ ษา ดังน้ี แผน ก แบบ ก 2 ประกอบดว้ ย หมวดวิชาบังคับ จำนวน 18 หน่วยกติ หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ วิทยานิพนธ์ มคี ่าเทยี บเทา่ 12 หนว่ ยกิต จำนวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกว่า 36 หนว่ ยกติ แผน ข ประกอบดว้ ย หมวดวชิ าบังคบั จำนวน 18 หน่วยกิต หมวดวิชาเลอื ก ไม่น้อยกวา่ 12 หน่วยกิต การคน้ คว้าอสิ ระ มีค่าเทยี บเท่า 6 หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่า 36 หน่วยกิต หมายเหตุ - แผน ก แบบ ก 2 ไมม่ กี ารสอบประมวลความรู้ - แผน ข นักศึกษาจะต้องสอบประมวลความรู้ ภายหลังจากท่ีได้เรียนและสอบ ผ่าน รายวิชาบังคับและรายวชิ าเลือก จำนวนไมน่ ้อยกวา่ 18 หนว่ ยกติ รายวชิ า 6(1-10-7) 1. วชิ าเอกแนวความคดิ ในการออกแบบ 6(1-10-7) 3(2-2-5) 1.1 แผน ก แบบ ก 2 หมวดวชิ าบังคบั จำนวน 15 หนว่ ยกติ ประกอบด้วยรายวชิ าต่อไปนี้ 261 411 การออกแบบสถาปตั ยกรรมขั้นสงู 1 (Advanced Architectural Design I) 261 412 การออกแบบสถาปตั ยกรรมขั้นสูง 2 (Advanced Architectural Design II) 261 417 สัมมนาการวจิ ัยดา้ นการออกแบบสถาปตั ยกรรม (Seminar in Architectural Design Research) หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

Page |3 หมวดวิชาเลือก จำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 9 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวชิ าต่อไปนี้ 261 410 วธิ วี จิ ัยทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) (Research Methodology in Architecture) 261 416 เทคโนโลยแี บบบูรณาการสำหรบั อาคาร 3(3-0-6) (Integrated Technology for Buildings) 261 430 การศกึ ษารายบคุ คลในทางสถาปตั ยกรรม 3(1-4-4) (Individual Study in Architecture) 261 431 สัมมนาสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Seminar in Architecture) 261 432 การออกแบบและทฤษฎีวิพากษ์ 3(3-0-6) (Critical Theory and Design Criticism) 261 433 ความหมายและการรับรูท้ างสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Meaning and Perception in Architecture) 261 434 การออกแบบทดลองในงานสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Experimental Design in Architecture) 261 435 การวิเคราะห์และสังเคราะหท์ างสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Architectural Analysis and Synthesis) 261 436 สถาปัตยกรรมและภมู ิทัศนว์ ัฒนธรรมสากล 3(3-0-6) (Architecture and Global Cultural Landscape) 261 444 ทฤษฎีสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Architectural Theory) นอกจากรายวิชาเลือกดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอ่ืน ๆ ที่บัณฑิตวิทยาลัยเปิดสอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน และ/หรืออาจารย์ท่ี ปรกึ ษาวิชาการ/วิทยานพิ นธ์ หมายเหตุ รายวิชา 261 410 วิธีวจิ ยั ทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ นักศึกษาวิชาเอกแนวความคิดในการ ออกแบบ สามารถลงทะเบียนเรียนเป็นรายวิชาเลือก (แต่เป็นรายวิชาบังคับของวิชาเอกการอนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดล้อม) วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 12 หน่วยกิต 261 420 วทิ ยานิพนธ์ มคี ่าเทยี บเท่า 12 หนว่ ยกิต (Thesis) 1.2 แผน ข หมวดวิชาบงั คับ จำนวน 15 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาตอ่ ไปนี้ 261 411 การออกแบบสถาปตั ยกรรมขน้ั สูง 1 6(1-10-7) (Advanced Architectural Design I) 261 412 การออกแบบสถาปตั ยกรรมขั้นสงู 2 6(1-10-7) (Advanced Architectural Design II) 261 417 สัมมนาการวจิ ัยด้านการออกแบบสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Seminar in Architectural Design Research) หมวดวิชาเลือก จำนวนไม่นอ้ ยกวา่ 15 หน่วยกติ ประกอบดว้ ยรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 261 410 วธิ วี ิจยั ทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) (Research Methodology in Architecture) หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page |4 261 416 เทคโนโลยีแบบบรู ณาการสำหรับอาคาร 3(3-0-6) (Integrated Technology for Buildings) 3(1-4-4) 261 430 การศึกษารายบคุ คลในทางสถาปัตยกรรม (Individual Study in Architecture) 261 431 สัมมนาสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Seminar in Architecture) 261 432 การออกแบบและทฤษฎีวพิ ากษ์ 3(3-0-6) (Critical Theory and Design Criticism) 261 433 ความหมายและการรบั รูท้ างสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Meaning and Perception in Architecture) 261 434 การออกแบบทดลองในงานสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Experimental Design in Architecture) 261 435 การวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะหท์ างสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Architectural Analysis and Synthesis) 261 436 สถาปัตยกรรมและภูมทิ ัศน์วฒั นธรรมสากล 3(3-0-6) (Architecture and Global Cultural Landscape) 261 444 ทฤษฎีสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Architectural Theory) นอกจากรายวิชาเลือกดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอื่น ๆ ที่บัณฑิตวิทยาลัยเปิดสอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน และ/หรืออาจารย์ท่ี ปรกึ ษาวชิ าการ/การค้นควา้ อสิ ระ หมายเหตุ รายวิชา 261 410 วิธีวิจยั ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ นักศึกษาวิชาเอกแนวความคิดในการ ออกแบบ สามารถลงทะเบียนเรียนเป็นรายวิชาเลือก (แตเ่ ปน็ รายวิชาบังคบั ของวิชาเอกการอนรุ ักษพ์ ลงั งานและ ส่ิงแวดล้อม) การคน้ คว้าอิสระ (มคี ่าเทยี บเท่า) 6 หนว่ ยกิต 261 422 การค้นควา้ อิสระ มคี า่ เทยี บเท่า 6 หน่วยกติ (Independent Study) 2. วิชาเอกการอนรุ ักษพ์ ลังงานและส่งิ แวดลอ้ ม 2.1 แผน ก แบบ ก 2 หมวดวิชาบังคบั จำนวน 18 หนว่ ยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปนี้ 261 410 วธิ ีวจิ ัยทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) (Research Methodology in Architecture) 261 413 การออกแบบสถาปัตยกรรมท่ยี ง่ั ยืน 1 6(1-10-7) (Sustainable Architectural Design I) 261 414 การออกแบบสถาปตั ยกรรมทยี่ ั่งยืน 2 6(1-10-7) (Sustainable Architectural Design II) 261 415 การออกแบบอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน 3(2-3-4) (Energy Conscious Building Design) หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

Page |5 หมวดวชิ าเลือก จำนวนไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต ประกอบดว้ ยรายวิชาต่อไปน้ี 3(3-0-6) 261 416 เทคโนโลยแี บบบรู ณาการสำหรบั อาคาร (Integrated Technology for Buildings) 261 437 สถาปตั ยกรรมเพื่อสิ่งแวดลอ้ ม 3(2-2-5) (Architecture for the Environment) 261 438 การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจำลองวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมของอาคารขนั้ ตน้ 3(2-2-5) (Introduction to Building Environment Modeling and Analysis) 261 439 การใช้คอมพิวเตอรเ์ พอ่ื จำลองวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มของอาคารขัน้ สูง 3(2-2-5) (Advanced Building Environment Modeling and Analysis) 261 440 การใช้วสั ดุเพ่อื ลดผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มของอาคาร 3(2-2-5) (Low Environmental Impact Building Materials) 261 441 การระบายอากาศด้วยวิธธี รรมชาตใิ นการออกแบบอาคาร 3(2-2-5) (Natural Ventilation in Architectural Design) 261 442 แสงในงานสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Lighting in Architecture) 261 443 ระบบการประเมนิ อาคารเขยี ว 3(3-0-6) (Green Building Rating Systems) นอกจากรายวิชาเลือกดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอ่ืน ๆ ท่ีบัณฑิตวิทยาลัยเปิดสอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน และ/หรืออาจารย์ที่ ปรึกษาวิชาการ/วทิ ยานพิ นธ์ วิทยานิพนธ์ (มคี า่ เทียบเท่า) 12 หน่วยกิต 261 421 วิทยานพิ นธ์ มีค่าเทยี บเท่า 12 หนว่ ยกิต (Thesis) 2.2 แผน ข หมวดวชิ าบังคบั จำนวน 18 หนว่ ยกติ ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปน้ี 261 410 วธิ ีวจิ ยั ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) (Research Methodology in Architecture) 261 413 การออกแบบสถาปตั ยกรรมที่ย่ังยืน 1 6(1-10-7) (Sustainable Architectural Design I) 261 414 การออกแบบสถาปตั ยกรรมที่ยัง่ ยนื 2 6(1-10-7) (Sustainable Architectural Design II) 261 415 การออกแบบอาคารเพอ่ื การประหยดั พลังงาน 3(2-3-4) (Energy Conscious Building Design) หมวดวชิ าเลือก จำนวนไมน่ ้อยกว่า 12 หน่วยกติ ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปน้ี 261 416 เทคโนโลยีแบบบรู ณาการสำหรับอาคาร 3(3-0-6) (Integrated Technology for Buildings) 261 437 สถาปัตยกรรมเพอื่ ส่งิ แวดลอ้ ม 3(2-2-5) (Architecture for the Environment) หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page |6 261 438 การใชค้ อมพิวเตอร์เพอ่ื จำลองวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มของอาคารขั้นตน้ 3(2-2-5) (Introduction to Building Environment Modeling and Analysis) 261 439 การใชค้ อมพวิ เตอร์เพือ่ จำลองวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมของอาคารข้ันสูง 3(2-2-5) (Advanced Building Environment Modeling and Analysis) 261 440 การใชว้ สั ดุเพอื่ ลดผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มของอาคาร 3(2-2-5) (Low Environmental Impact Building Materials) 261 441 การระบายอากาศดว้ ยวิธีธรรมชาติในการออกแบบอาคาร 3(2-2-5) (Natural Ventilation in Architectural Design) 261 442 แสงในงานสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Lighting in Architecture) 261 443 ระบบการประเมนิ อาคารเขยี ว 3(3-0-6) (Green Building Rating Systems) นอกจากรายวิชาเลือกดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอื่น ๆ ที่บัณฑิตวิทยาลัยเปิดสอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน และ/หรืออาจารย์ท่ี ปรึกษาวชิ าการ/การคน้ ควา้ อสิ ระ การคน้ ควา้ อิสระ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 6 หนว่ ยกิต 261 423 การค้นควา้ อิสระ มีคา่ เทียบเท่า 6 หน่วยกิต (Independent Study) หลักสตู รระดบั บณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

แผนการศึกษา Page |7 1. วชิ าเอกแนวความคดิ ในการออกแบบ แผน ก แบบ ก 2 จำนวนหน่วยกติ รหสั วชิ า ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 (บ-ป-น) 261 411 6(1-10-7) ช่อื รายวิชา 6 รหัสวิชา 12 261 412 การออกแบบสถาปตั ยกรรมขัน้ สงู 1 261 417 วชิ าเลือก จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) รหัสวชิ า รวมจำนวน 6(1-10-7) 261 420 ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 3(2-2-5) 3 ชื่อรายวิชา 12 การออกแบบสถาปัตยกรรมขนั้ สูง 2 จำนวนหน่วยกิต สัมมนาการวิจยั ด้านการออกแบบสถาปตั ยกรรม (บ-ป-น) วชิ าเลือก 12 12 รวมจำนวน ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 ช่ือรายวชิ า วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) รวมจำนวน หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

2. วชิ าเอกแนวความคดิ ในการออกแบบ แผน ข Page |8 รหสั วชิ า ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหน่วยกติ 261 411 (บ-ป-น) ชอ่ื รายวชิ า 6(1-10-7) รหัสวิชา 6 261 412 การออกแบบสถาปตั ยกรรมขั้นสูง 1 12 261 417 วชิ าเลือก จำนวนหน่วยกติ รหสั วชิ า รวมจำนวน (บ-ป-น) 261 422 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 6(1-10-7) 3(2-2-5) ช่อื รายวิชา 3 12 การออกแบบสถาปัตยกรรมขนั้ สูง 2 สมั มนาการวจิ ยั ดา้ นการออกแบบสถาปัตยกรรม จำนวนหนว่ ยกิต วิชาเลือก (บ-ป-น) 6 รวมจำนวน 6 ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 12 ชื่อรายวิชา การค้นควา้ อิสระ (มคี ่าเทียบเท่า) วชิ าเลอื ก รวมจำนวน หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

Page |9 3. วชิ าเอกการอนรุ กั ษ์พลังงานและส่งิ แวดลอ้ ม แผน ก แบบ ก 2 รหัสวชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกติ 261 415 (บ-ป-น) ชอ่ื รายวิชา 3(2-3-4) รหัสวิชา 6 261 410 การออกแบบอาคารเพอ่ื การประหยดั พลังงาน 9 261 413 วิชาเลือก จำนวนหนว่ ยกติ รหัสวิชา รวมจำนวน (บ-ป-น) 261 414 ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 3(2-2-5) 261 421 6(1-10-7) ชื่อรายวชิ า 9 รหัสวชิ า 261 421 วธิ วี จิ ยั ทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จำนวนหนว่ ยกติ การออกแบบสถาปัตยกรรมท่ยี ่ังยนื 1 (บ-ป-น) 6(1-10-7) รวมจำนวน 3 ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 9 ชื่อรายวิชา จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) การออกแบบสถาปัตยกรรมที่ยั่งยนื 2 9 วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) 9 รวมจำนวน ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ชือ่ รายวชิ า วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) รวมจำนวน หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

4. วิชาเอกการอนรุ ักษ์พลังงานและส่งิ แวดลอ้ ม แผน ข P a g e | 10 รหัสวชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกิต 261 415 (บ-ป-น) ชอ่ื รายวชิ า 3(2-3-4) รหัสวิชา 6 261 410 การออกแบบอาคารเพอ่ื การประหยดั พลงั งาน 9 261 413 วชิ าเลอื ก จำนวนหนว่ ยกติ รหัสวิชา รวมจำนวน (บ-ป-น) 261 414 ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 3(2-2-5) 6(1-10-7) รหัสวิชา ชือ่ รายวชิ า 9 261 423 วธิ ีวจิ ัยทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จำนวนหนว่ ยกติ การออกแบบสถาปตั ยกรรมที่ยั่งยืน 1 (บ-ป-น) 6(1-10-7) รวมจำนวน 6 ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 12 ชอ่ื รายวิชา จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) การออกแบบสถาปัตยกรรมทย่ี งั่ ยืน 2 6 วิชาเลือก 6 รวมจำนวน ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ชอ่ื รายวิชา การค้นคว้าอิสระ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หลักสูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 11 คำอธบิ ายรายวิชา 261 410 วธิ วี จิ ัยทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) (Research Methodology in Architecture) ประเภทของงานวิจัย กรณีศึกษางานวิจัยและกระบวนการวิจัย ตลอดจนการเขียน บทความทางวิชาการ เพ่อื นำมาประยกุ ต์ใช้กบั การศกึ ษาและวิจัยทางสถาปัตยกรรม Types of research, case studies, methods and procedures and application to undertake architectural research work academic writing. 261 411 การออกแบบสถาปตั ยกรรมขนั้ สูง 1 6(1-10-7) (Advanced Architectural Design I) ปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรม โดยเน้นกระบวนการในการสร้างสรรค์ผลงาน ตั้งแต่ ข้ันตอนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือแสวงหาแนวคิดที่ชัดเจนในการออกแบ บจนถึงการ สงั เคราะหเ์ ปน็ ผลงานสถาปตั ยกรรมในขนั้ สดุ ท้าย Studio work in architectural design; emphasis on design process, from gathering and analyzing information, to formulating concepts and synthesizing ideas into architectural design solutions. 261 412 การออกแบบสถาปตั ยกรรมข้ันสูง 2 6(1-10-7) (Advanced Architectural Design II) ปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมต่อเน่ืองจากการออกแบบสถาปัตยกรรมข้ันสูง 1 โดย เน้นความชัดเจนของแนวคิดและกระบวนการสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ ตลอดจนการสังเคราะห์ แนวคดิ ทีน่ ำไปสกู่ ารออกแบบสถาปัตยกรรมท่ีสมบูรณข์ ้ันสดุ ทา้ ย Continuation of Advanced Architectural Design I; emphasis on clarity of concept, design process, analytical process, and synthesis of ideas towards final comprehensive architectural design solutions. 261 413 การออกแบบสถาปัตยกรรมที่ยง่ั ยืน 1 6(1-10-7) (Sustainable Architectural Design I) ปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมท่ีย่ังยืน บนพ้ืนฐานความเข้าใจในหลักการด้านการ ออกแบบสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับสภาพภูมิอากาศ ประหยัดพลังงาน และเป็นมิตรกับ สภาพแวดล้อม Studio work on sustainable architectural design projects to demonstrate an understanding of principles underlying climate-sensitive design, energy-conscious design and environment-friendly design. หลกั สูตรระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

P a g e | 12 261 414 การออกแบบสถาปัตยกรรมท่ีย่ังยืน 2 6(1-10-7) 261 415 261 416 (Sustainable Architectural Design II) ปฏบิ ัติการออกแบบสถาปัตยกรรมต่อเน่อื งจากการออกแบบสถาปตั ยกรรมท่ยี ง่ั ยืน 1 โดย เน้นการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติท่ีมีต่อ การออกแบบอาคาร การถ่ายเทความร้อน การระบายอากาศ และการให้แสงสว่างในอาคาร รวมถงึ การจำลองประสิทธิภาพการใช้พลงั งานของอาคาร Continuation of Sustainable Architectural Design 1 with emphasis on using computer programmes for modeling and analysing environmental influence in the process of building design; computer modeling software for studying heat transfer, air flow, and lighting, as well as simulating energy performance of buildings. การออกแบบอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน 3(2-3-4) (Energy Conscious Building Design) อิทธิพลของสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่มีผลต่อการออกแบบอาคาร สภาวะสบาย คุณสมบัติวัสดุที่มีผลต่อการออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน เทคนิคการออกแบบเพ่ือการ ประหยัดพลังงานโดยวิธีธรรมชาติและโดยการใช้เคร่ืองกล การระบายอากาศกับการออกแบบ อาคารและสภาพแวดลอ้ ม หลักการออกแบบระบบแสงสวา่ งในอาคารโดยใช้แสงธรรมชาตแิ ละแสง ประดษิ ฐ์ มีการศึกษานอกสถานท่ี Influence of natural environment and climate on designing of buildings and creating human comfort conditions; thermal property of building materials; passive and active design strategies; natural ventilation for building and environmental design; lighting design using natural and artificial lighting systems. Field trips required. เทคโนโลยแี บบบรู ณาการสำหรบั อาคาร 3(3-0-6) (Integrated Technology for Buildings) งานระบบอาคารท่ีมีความสัมพันธ์กับงานสถาปัตยกรรม รวมถึงเทคโนโลยีท่ีใช้ในการ ก่อสร้าง การใช้อุปกรณ์ในการควบคุมสภาวะแวดล้อมเพื่อสร้างความสบายอย่างประหยัด โดย ถูกต้องตามหลักสุขศาสตร์และนิเวศวิทยา การเลือกอุปกรณ์อาคาร ขนาดพ้ืนท่ีที่เหมาะสม มี ประสทิ ธภิ าพและกลมกลืนกบั อาคาร และการกำหนดตำแหน่งทีต่ งั้ มกี ารศกึ ษานอกสถานที่ Integrating technical systems into the design of buildings; construction technology, services infrastructure, and mechanical equipment; finding economical means of achieving thermal comfort with regards to health and environment; choosing appropriate systems, and making provisions for installation. Field trips required. หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

P a g e | 13 261 417 สมั มนาการวจิ ยั ด้านการออกแบบสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) 261 420 261 421 (Seminar in Architectural Design Research) 261 422 ประเภทของงานวิจัยด้านการออกแบบสถาปัตยกรรม กรณีศึกษาการวิจัยทาง สถาปัตยกรรม ความสมั พันธร์ ะหวา่ งการวจิ ยั และการปฏิบัตกิ ารออกแบบ เพ่ือนํามาประยุกต์ใช้ใน การออกแบบสถาปตั ยกรรม Types of architectural design research, case studies in architectural design, relationship between research and design and research application in architectural design. วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเทา่ 12 หน่วยกิต (Thesis) วชิ าบังคับก่อน: 261 417 สัมมนาการวิจยั ด้านการออกแบบสถาปัตยกรรม การศึกษาเฉพาะบุคคลในเน้ือหาท่ีสนใจเกี่ยวข้องกับแนวความคิดในการออกแบบ เป็น หัวข้อทไี่ ด้รบั การอนมุ ตั ิ ภายใต้การใหค้ ำปรึกษาของอาจารย์ทป่ี รกึ ษาวิทยานพิ นธ์ Individual research on an approved topic of interest relating to conceptual design, carried out under supervision of an advisor. วิทยานิพนธ์ มคี า่ เทยี บเทา่ 12 หน่วยกติ (Thesis) วิชาบังคับกอ่ น: 261 410 วิธวี ิจัยทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ การศึกษาเฉพาะบุคคลในเน้ือหาที่สนใจเก่ียวข้องกับการออกแบบเพื่ออนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม เป็นหัวข้อที่ได้รับการอนุมัติ โดยเสนอในรูปแบบของงานวิจัย ภายใต้การให้ คำปรึกษาของอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ Individual research on an approved topic of interest relating to energy and environmental design, carried out under supervision of an advisor. การคน้ คว้าอสิ ระ มคี ่าเทยี บเทา่ 6 หนว่ ยกติ (Independent Study) วชิ าบงั คับกอ่ น: 261 417 สมั มนาการวจิ ัยดา้ นการออกแบบสถาปตั ยกรรม การค้นคว้าอิสระในหัวข้อเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม ด้านแนวความคิดในการออกแบบซ่ึง ได้รับการอนุมัติจากคณาจารย์ประจำรายวิชาและพัฒนาโครงงานภายใต้การให้คำปรึกษาของ อาจารย์ที่ปรกึ ษา Individual in study on an architectural topic approved by course committee and carried out under supervision of an appointed advisor. หลกั สตู รระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 14 261 423 การคน้ คว้าอิสระ มีค่าเทยี บเทา่ 6 หนว่ ยกิต 261 430 (Independent Study) 261 431 261 432 วชิ าบงั คับก่อน: 261 410 วธิ วี ิจยั ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ การค้นควา้ อิสระในหวั ข้อเก่ยี วกับสถาปัตยกรรม ดา้ นการอนรุ ักษพ์ ลังงานและสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้รับการอนุมัติจากคณาจารย์ประจำรายวิชาและพัฒนาโครงงานภายใต้การให้คำปรึกษาของ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา Individual in study on an architectural topic approved by course committee and carried out under supervision of an appointed advisor. การศกึ ษารายบุคคลในทางสถาปตั ยกรรม 3(1-4-4) (Individual Study in Architecture) เลือกศกึ ษาค้นควา้ ในเรื่องทส่ี นใจเปน็ พิเศษ โดยความเห็นชอบของอาจารย์ทป่ี รกึ ษา Individual in a study on topic of special interest approved by an advisor. สัมมนาสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Seminar in Architecture) สัมมนาเก่ียวกับงานสถาปัตยกรรมร่วมสมัย ตั้งแต่จุดเร่ิมต้น กระบวนการคิด การ ออกแบบ หลกั การและแนวคิดต่าง ๆ ทสี่ มั พันธก์ ับการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดลอ้ ม Seminar on contemporary architecture, their conceptions, thinking and designing processes; principles and concepts concerning architectural and environmental design. การออกแบบและทฤษฎวี พิ ากษ์ 3(3-0-6) (Critical Theory and Design Criticism) ทฤษฎี หลักการ กระแสนิยม ท่ีเกี่ยวเนื่องกับกระบวนการคิดและการออกแบบทาง สถาปัตยกรรม การเปล่ียนแปลงของระบบความคิดท่ีเกี่ยวเน่ืองกับสังคมวัฒนธรรม ซึ่งส่งผล กระทบต่อการพัฒนาเปล่ียนแปลงวิธีการออกแบบ ตลอดจนรูปแบบของงานสถาปัตยกรรมที่ ปรากฏข้นึ ในยุคสมยั ต่าง ๆ Theory, principles and movements relating to architectural thinking and designing process; changes in socio-cultural paradigms affecting design methods and architectural styles of different periods. หลักสูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 15 261 433 ความหมายและการรบั รู้ทางสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) 261 434 (Meaning and Perception in Architecture) 261 435 261 436 ความรู้ความเข้าใจด้านปรัชญาและทฤษฎี ท่ีเก่ียวเนื่องกับความหมายทางสถาปัตยกรรม และสง่ิ แวดล้อม ธรรมชาติของมนุษยแ์ ละการอยอู่ าศยั ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ ปรากฏการณท์ างพฤตกิ รรม และการรับรู้ของมนุษยต์ ั้งแต่ระดับบุคคลถึงระดับสังคม และวัฒนธรรมซึง่ สัมพันธ์กับการออกแบบ สถาปัตยกรรม Understanding philosophy and theory related to meaning of architecture and environment, human nature and habitation; factors affecting human perception and behavior at individual as well as socio-cultural levels, which inform interactions and implications for architectural design. การออกแบบทดลองในงานสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Experimental Design in Architecture) ปรัชญา ทฤษฎี และแนวทางการปฏิบัติท่ีเกี่ยวเน่ืองกับการออกแบบทดลอง เพื่อความ สมบูรณ์ในการพัฒนาแบบและใช้เป็นสื่อในการแสดงออกซ่ึงแนวความคิดในการออกแบบ สถาปตั ยกรรมนัน้ ๆ Philosophy, theory, and practical approaches to experimental design; developing architectural design and using various types of media to express design concepts. การวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหท์ างสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Advanced Architectural Analysis and Synthesis) การวิเคราะห์ ระเบียบวิธีวจิ ัย ตลอดจนการตัง้ คำถามและกระบวนการดำเนินการวิจัยใน รปู แบบ ต่าง ๆ ทีส่ ัมพนั ธ์กับการออกแบบสถาปัตยกรรม Research methodology, analysis, and problem identification; various approaches to design-related research. สถาปัตยกรรมและภมู ทิ ัศน์วัฒนธรรมสากล 3(3-0-6) (Architecture and Global Cultural Landscape) ความหลากหลายทางวัฒนธรรมการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม และภูมิทัศน์ของ หลายหลากชนชาติ การอบุ ัตขิ ้ึนของแนวทางการออกแบบสถาปตั ยกรรมและภูมิทัศนใ์ นนานาอารย ธรรม กระบวนการคิด การพัฒนา และการเปล่ยี นแปลงสิง่ แวดลอ้ มทางวฒั นธรรมในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ จากทว่ั โลก มกี ารศึกษานอกสถานที่ Various creative traditions concerning architecture and landscape of different cultural groups; emergence of design approaches in different civilizations; thinking processes, developments and changes concerning the cultural environment in different regions of the world. Field trips required. หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 16 261 437 สถาปัตยกรรมเพื่อส่ิงแวดล้อม 3(2-2-5) 261 438 261 439 (Architecture for the Environment) 261 440 แนวคิดของงานสถาปัตยกรรมที่เน้นเร่ืองการอนุรักษ์พลังงาน การคำนึงถึงผลกระทบต่อ สง่ิ แวดล้อม ความสบายและสขุ ภาวะของผใู้ ชอ้ าคาร มีการศึกษานอกสถานที่ Concept of energy conservation; awareness of architectural designs environmental impact on building occupants’ comfort and wellbeing. Field trips required. การใช้คอมพวิ เตอร์เพ่อื จำลองและวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม 3(2-2-5) ของอาคารขั้นต้น (Introduction to Building Environment Modeling and Analysis) พื้นฐานการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือให้เข้าใจถึงวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบของ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาตทิ ีม่ ีต่อการออกแบบอาคาร Fundamental use of computer programs for modeling and analyzing environmental influence in the process of building design. การใช้คอมพวิ เตอรเ์ พ่อื จำลองและวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม 3(2-2-5) ของอาคารขั้นสงู (Advanced Building Environment Modeling and Analysis) การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือจำลองสภาพแวดล้อมและประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ของอาคารขนั้ สงู เพือ่ ใช้ในการศกึ ษาวิจัยหรือประกอบการประเมินอาคารเขยี ว Advanced use of computer programs for modeling and analyzing environmental performance and energy efficiency of buildings for the purpose of architectural research or green building assessment. การใชว้ สั ดเุ พือ่ ลดผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ มของอาคาร 3(2-2-5) (Low Environmental Impact Building Materials) เทคนิคในการประเมินผลกระทบของวัสดุที่มีต่อส่ิงแวดล้อม วิธีการประเมิน วัฏจักรชีวิต ของวัสดุ และวิธีการประเมินแบบอ่ืน ๆ หลักเกณฑ์ในการเลือกใช้วัสดุและการติดต้ังเพ่ือลด ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมของอาคาร Techniques for evaluating material properties in terms of impact on the environment; life cycle assessment and other methods of evaluation; criteria for selecting materials and means of installation to reduce environmental impact. หลักสูตรระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 17 261 441 การระบายอากาศด้วยวธิ ีธรรมชาตใิ นการออกแบบอาคาร 3(2-2-5) 261 442 261 443 (Natural Ventilation in Architectural Design) 261 444 ทฤษฎีและหลักการระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติในการออกแบบอาคาร เพ่ือให้เกิด สภาวะสบายและประหยัดพลังงานสำหรับภูมิอากาศในเขตร้อนช้ืน การใช้เคร่ืองมือเพ่ือวิเคราะห์ และจำลองประสทิ ธภิ าพการระบายอากาศในอาคาร Principles of natural ventilation for design of buildings in tropical climate to provide thermal comfort and conserve energy; use of computing tools to analyze and model the performance of natural ventilation in building. แสงในงานสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Lighting in Architecture) ทฤษฎีและวิธีการสำหรับการให้แสงสว่างท้ังแสงธรรมชาติและแสงประดิษฐ์ การนำแสง สว่างไปใช้เพ่ือส่งเสริมงานสถาปัตยกรรม โดยคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ความสบาย ความงาม พลังงาน และสภาพแวดล้อม มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Theories and practice for natural and artificial lighting; use of lighting to enhance architectural design with regards to function, comfort, aesthetic quality, energy consumption and environment. Field trips required. ระบบการประเมินอาคารเขียว 3(3-0-6) (Green Building Rating Systems) ระบบการประเมินอาคารเขียวของต่างประเทศและประเทศไทย องค์ประกอบของอาคาร เขียว หลักเกณฑ์และวิธีในการประเมิน มาตรฐานที่เกี่ยวข้องในการออกแบบและดำเนินงาน กอ่ สร้างเพ่อื ขอรบั รองเปน็ อาคารเขียว International and Thai green building rating systems; element of green building, criteria and assessment methods; design and construction requirements and process for green building certification. ทฤษฎสี ถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Architectural Theory) ทฤษฎีสถาปัตยกรรมตะวันตก ที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรม และการ พัฒนาเปล่ยี นแปลงของแนวความคิดทางสถาปัตยกรรม ตัง้ แตย่ คุ กรกี โบราณ มาจนถึงปัจจุบัน Western Architectural Theory in relation to history, socio-cultural conditions and architectural thinking from Ancient Greek till today. หลกั สตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

P a g e | 18 รายละเอียดของหลักสตู ร หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาสถาปตั ยกรรมพืน้ ถนิ่ และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ชอื่ หลกั สตู ร หลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาไทย สาขาวิชาสถาปตั ยกรรมพ้นื ถิน่ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง Master of Arts Program in Vernacular Architecture and Built Environment ภาษาอังกฤษ ชือ่ ปริญญาและสาขาวิชา ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ (สถาปตั ยกรรมพ้นื ถ่นิ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง) ช่ือเต็มภาษาไทย Master of Arts (Vernacular Architecture and Built Environment) ช่อื เต็มภาษาอังกฤษ ศศ.ม. (สถาปตั ยกรรมพน้ื ถน่ิ และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง) ชื่อย่อภาษาไทย M.A. (Vernacular Architecture and Built Environment) ชื่อยอ่ ภาษาองั กฤษ วชิ าเอก ไมม่ ี จำนวนหนว่ ยกิตทเี่ รยี นตลอดหลกั สตู ร แผน ก แบบ ก 1 มีค่าเทียบเท่า 36 หนว่ ยกิต แผน ก แบบ ก 2 ไม่นอ้ ยกวา่ 36 หน่วยกิต แผน ข ไมน่ อ้ ยกว่า 36 หนว่ ยกิต อาชพี ทส่ี ามารถประกอบได้หลงั สำเรจ็ การศกึ ษา 1. นักออกแบบทางสถาปัตยกรรม และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง 2. ผสู้ อนในสถาบนั อดุ มศกึ ษา และนกั วิชาการ 3. นกั วิจยั ในหนว่ ยงานรฐั เอกชน และสถาบนั อดุ มศึกษา 4. ผ้ผู ลิตส่ือสร้างสรรคป์ ระเภทตา่ ง ๆ 5. นกั อนุรักษ์ และนกั พฒั นาชมุ ชน และมรดกวฒั นธรรม 6. ผปู้ ระกอบกิจการตา่ ง ๆ ท่เี กยี่ วข้องกับสถาปตั ยกรรมพน้ื ถ่ิน ชมุ ชน และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 7. อาชีพอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง และอาชีพใหม่ ๆ ในบริบทร่วมสมัย เช่น Blogger / Vlogger, ผู้ส่งอิทธิพล ทางด้านวฒั นธรรมต่อสังคม (Cultural Influencer) การเทยี บโอนหนว่ ยกติ รายวชิ า และการลงทะเบียนเรยี นขา้ มมหาวทิ ยาลยั เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงภายหลัง หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 19 โครงสรา้ งหลกั สูตร หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง มี รายละเอยี ดโครงสร้างหลักสูตร ดงั นี้ แผน ก แบบ ก 1 ประกอบดว้ ย วิชาบังคับ (ไม่นับหนว่ ยกติ ) 6 หน่วยกิต วิทยานิพนธ์ มคี ่าเทยี บเทา่ 36 หนว่ ยกิต จำนวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลักสตู ร 36 หนว่ ยกติ แผน ก แบบ ก 2 ประกอบด้วย วชิ าบังคับ จำนวน 12 หนว่ ยกติ วิชาเลือก ไมน่ อ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกติ วทิ ยานพิ นธ์ มคี ่าเทียบเท่า 12 หนว่ ยกติ จำนวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ 36 หน่วยกิต แผน ข ประกอบดว้ ย วิชาบังคบั จำนวน 12 หน่วยกติ วิชาเลือก ไม่นอ้ ยกวา่ 18 หนว่ ยกิต การคน้ คว้าอิสระ มีค่าเทียบเท่า 6 หนว่ ยกิต จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 หน่วยกติ หมายเหตุ - แผน ก แบบ ก 1 ไมม่ กี ารสอบประมวลความรู้ - แผน ก แบบ ก 2 ไม่มีการสอบประมวลความรู้ - แผน ข นักศกึ ษาจะตอ้ งสอบประมวลความรู้ ภายหลังจากท่ีไดเ้ รียนและสอบ ผ่าน รายวิชาบังคับและรายวชิ าเลือก จำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 18 หน่วยกิต รายวิชา รายวชิ าเสรมิ พ้ืนฐาน (ไมน่ บั หน่วยกติ ) สำหรับผู้ไม่มีพ้ืนฐานทางสถาปัตยกรรม คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจให้ลงทะเบียนรายวิชาที่มีการเขียน แบบทางสถาปัตยกรรม หรือการเรียนเสริมเพื่อปรับพื้นฐานความรู้ทางสถาปัตยกรรมเบื้องต้น ท้ังน้ี อยู่ในดุลยพินิจ ของคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รฯ แผน ก แบบ ก 1 1) วิชาบังคบั (ไมน่ บั หน่วยกิต) จำนวน 6 หนว่ ยกิต ใหว้ ดั ผลการศึกษา เปน็ S หรือ U 261 510 ปฏิบัตกิ ารภาคสนามสถาปตั ยกรรมพนื้ ถ่นิ และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้าง 3*(1-4-4) (Field Study in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 511 การคดิ แบบมีวิจารณญาณในการวิจยั ดา้ นสถาปตั ยกรรมพื้นถ่ิน 3*(2-2-5) และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง (Critical Thinking in Vernacular Architecture and Built Environment Research) หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาที่ลงทะเบียนเรยี นโดยไม่นับหน่วยกติ และวดั ผลการศึกษาเป็น S หรอื U หลกั สตู รระดับบัณฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 20 2) วทิ ยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 36 หนว่ ยกิต มีคา่ เทียบเท่า 36 หน่วยกติ 261 520 วทิ ยานพิ นธ์ (Thesis) แผน ก แบบ ก 2 1) วิชาบงั คับ จำนวน 12 หน่วยกิต 261 410 วิธวี ิจยั ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) (Research Methodology in Architecture) 261 510 ปฏิบัตกิ ารภาคสนามสถาปตั ยกรรมพ้นื ถิน่ และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง 3(1-4-4) (Field Study in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 511 การคดิ แบบมวี จิ ารณญาณในการวจิ ัยดา้ นสถาปัตยกรรมพืน้ ถ่ิน 3(2-2-5) และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง (Critical Thinking in Vernacular Architecture and Built Environment Research) 261 512 ภูมปิ ัญญา เทคโนโลยี ในสถาปตั ยกรรมพื้นถิ่นและสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(3-0-6) (Wisdom and Technology in Vernacular Architecture and Built Environment) 2) วชิ าเลอื ก ไมน่ ้อยกว่า 12 หนว่ ยกติ กลุ่มวิชาดา้ นมรดกสถาปัตยกรรมพน้ื ถ่นิ และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 261 530 นเิ วศวทิ ยาวัฒนธรรม ภมู ิทัศนว์ ฒั นธรรม และภมู ิทัศน์เมืองประวัตศิ าสตร์ 3(3-0-6) (Cultural Ecology, Cultural Landscape and Historic Urban Landscape) 261 531 ถ่ินฐานและสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ งพนื้ ถน่ิ กลุม่ ชนชาตพิ นั ธ์ุ 3(2-2-5) (Settlements and Vernacular Built Environment of Ethnic People) 261 532 ศาสนสถาปตั ยกรรมพนื้ ถ่นิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Sacred and Religious of Vernacular Architecture and Built Environment) 3(3-0-6) 3(2-2-5) กล่มุ วชิ าด้านการจดั การสถาปัตยกรรมพืน้ ถ่ิน และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง 3(2-2-5) 261 533 สงั คม เศรษฐกิจฐานวฒั นธรรมและสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(2-2-5) (Social, Cultural and Built Environment Based Economy) 261 534 การอนรุ ักษแ์ ละพฒั นาสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้างและชุมชน (Conservation and Development of Built Environment and Community) 261 535 สถาปัตยกรรมพ้นื ถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ งในบริบทเมอื ง (Vernacular Architecture and Built Environment in Urban Context) 261 536 การปรับประโยชน์ใชส้ อยสถาปัตยกรรมพ้ืนถ่นิ และสภาพแวดลอ้ ม สรรคส์ ร้างในบรบิ ทร่วมสมยั (Adaptation of Vernacular Architecture and Built Environment for Contemporary Context) หลักสูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 21 กลุม่ วิชาดา้ นการออกแบบสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) 261 537 วสั ดุ และระบบการกอ่ สร้างในสถาปัตยกรรมพน้ื ถิ่นและ สภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง (Material and Tectonic Construction in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 538 การออกแบบสถาปัตยกรรมรว่ มสมัยในบริบทพื้นถ่นิ 3(2-2-5) (Contemporary Architecture Design in Vernacular Context) 261 539 สถาปัตยกรรมพน้ื ถ่ินและการสรรค์สรา้ งสภาวะสบาย 3(3-0-6) (Vernacular Architecture and Design for Comfort) กล่มุ วชิ าสนบั สนนุ การวจิ ัย 261 540 ระบบสารสนเทศทางภมู ิศาสตร์เพือ่ การวิจัยสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Geographic Information System for Built Environment Research) 261 541 ภาคสนามและปฏบิ ตั ิการดา้ นสถาปตั ยกรรมพื้นถ่ินและ 3(2-2-5) สภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ งในตา่ งประเทศ (International Field Study and Workshop in Venacular Architecture and Built Environment) นอกจากรายวชิ าเลอื กดังกล่าวข้างตน้ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทกุ รายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอ่ืน ๆ ท่ีบัณฑิตวิทยาลัยเปิดสอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน และ/หรืออาจารยท์ ่ีปรึกษา วิชาการ/การคน้ คว้าอิสระ 3) วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเท่า) 12 หน่วยกติ 261 521 วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเทา่ 12 หนว่ ยกิต (Thesis) แผน ข 1) วิชาบังคับ จำนวน 12 หนว่ ยกติ 261 410 วธิ วี จิ ยั ทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) (Research Methodology in Architecture) 261 510 ปฏบิ ตั ิการภาคสนามสถาปัตยกรรมพ้นื ถ่นิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(1-4-4) (Field Study in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 511 การคดิ แบบมวี ิจารณญาณในการวิจัยด้านสถาปัตยกรรมพน้ื ถน่ิ 3(2-2-5) และสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง (Critical Thinking in Vernacular Architecture and Built Environment Research) 261 512 ภูมิปญั ญา เทคโนโลยี ในสถาปตั ยกรรมพื้นถ่นิ และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง 3(3-0-6) (Wisdom and Technology in Vernacular Architecture and Built Environment) 3(3-0-6) 2) วชิ าเลือก ไมน่ อ้ ยกว่า 18 หนว่ ยกติ กลุ่มวชิ าด้านมรดกสถาปตั ยกรรมพน้ื ถ่นิ และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้าง 261 530 นเิ วศวิทยาวัฒนธรรม ภมู ทิ ศั น์วัฒนธรรม และภูมทิ ศั น์เมืองประวัติศาสตร์ (Cultural Ecology, Cultural Landscape and Historic Urban Landscape) หลักสตู รระดบั บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

P a g e | 22 261 531 ถนิ่ ฐานและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้างพน้ื ถน่ิ กลมุ่ ชนชาติพันธ์ุ 3(2-2-5) (Settlements and Vernacular Built Environment of Ethnic People) 261 532 ศาสนสถาปัตยกรรมพ้นื ถิ่น และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) (Sacred and Religious of Vernacular Architecture and Built Environment) กลุ่มวิชาด้านการจัดการสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่น และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง 261 533 สังคม เศรษฐกิจฐานวฒั นธรรมและสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(3-0-6) (Social, Cultural and Built Environment Based Economy) 261 534 การอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนาสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ งและชุมชน 3(2-2-5) (Conservation and Development of Built Environment and Community) 261 535 สถาปัตยกรรมพ้ืนถ่นิ และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้างในบริบทเมอื ง 3(2-2-5) (Vernacular Architecture and Built Environment in Urban Context) 261 536 การปรับประโยชนใ์ ชส้ อยสถาปัตยกรรมพน้ื ถน่ิ และสภาพแวดล้อม 3(2-2-5) สรรคส์ ร้างในบรบิ ทรว่ มสมยั (Adaptation of Vernacular Architecture and Built Environment for Contemporary Context) กลุ่มวิชาด้านการออกแบบสรรค์สร้าง 261 537 วัสดุ และระบบการกอ่ สรา้ งในสถาปตั ยกรรมพนื้ ถ่นิ และ 3(2-2-5) สภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง (Material and Tectonic Construction in Vernacular Architecture and Built Environment) 261 538 การออกแบบสถาปตั ยกรรมรว่ มสมัยในบริบทพน้ื ถ่ิน 3(2-2-5) (Contemporary Architecture Design in Vernacular Context) 261 539 สถาปัตยกรรมพืน้ ถิ่นและการสรรค์สร้างสภาวะสบาย 3(3-0-6) (Vernacular Architecture and Design for Comfort) กลมุ่ วชิ าสนบั สนุนการวจิ ัย 261 540 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรเ์ พื่อการวิจยั สภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(2-2-5) (Geographic Information System for Built Environment Research) 261 541 ภาคสนามและปฏบิ ัติการดา้ นสถาปัตยกรรมพืน้ ถิ่นและ 3(2-2-5) สภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ งในตา่ งประเทศ (International Field Study and Workshop in Venacular Architecture and Built Environment) นอกจากรายวิชาเลือกดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอ่ืน ๆ ที่บณั ฑิตวิทยาลัยเปิดสอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน และ/หรืออาจารย์ที่ปรึกษา วชิ าการ/วทิ ยานพิ นธ์ 3) การค้นคว้าอิสระ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 6 หน่วยกติ 261 522 การค้นควา้ อิสระ มคี า่ เทยี บเท่า 6 หนว่ ยกติ (Independent Study) หลักสูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

แผนการศึกษา P a g e | 23 แผน ก แบบ ก 1 จำนวนหนว่ ยกิต ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 (บ-ป-น) 3*(1-4-4) รหัสวชิ า ชื่อรายวชิ า 12 12 261 510 ปฏบิ ตั ิการภาคสนามสถาปตั ยกรรมพืน้ ถิน่ และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้าง 261 520 วทิ ยานิพนธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) รวมจำนวน 3*(2-2-5) ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 12 รหสั วิชา ชื่อรายวชิ า 12 261 511 การคิดแบบมีวิจารณ ญ าณ ในการวิจัยด้านสถาปัตยกรรมพื้นถ่ิน และ จำนวนหนว่ ยกิต 261 520 สภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง (บ-ป-น) วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) 12 12 รวมจำนวน ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 รหัสวิชา ชอ่ื รายวชิ า 261 520 วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาท่ลี งทะเบยี นเรยี นโดยไมน่ ับหน่วยกิต และวัดผลการศกึ ษาเป็น S หรอื U หลกั สตู รระดับบัณฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

แผน ก แบบ ก 2 P a g e | 24 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 จำนวนหน่วยกติ (บ-ป-น) รหัสวชิ า ช่อื รายวิชา 3(1-4-4) 3(2-2-5) 261 510 ปฏบิ ัติการภาคสนามสถาปัตยกรรมพนื้ ถิ่นและสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้าง 261 511 การคิดแบบมีวิจารณ ญ าณ ในการวิจัยด้านสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่น และ 3(3-0-6) สภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3 261 512 ภูมปิ ญั ญา เทคโนโลยี ในสถาปัตยกรรมพน้ื ถิ่นและสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง 12 วิชาเลือก จำนวนหนว่ ยกติ รวมจำนวน (บ-ป-น) ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 3(2-2-5) 9 รหัสวชิ า ช่อื รายวิชา 12 261 410 วธิ ีวจิ ยั ทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ จำนวนหน่วยกิต วชิ าเลอื ก (บ-ป-น) 12 รวมจำนวน 12 ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา 261 521 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หลักสตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

แผน ข P a g e | 25 ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกิต รหัสวิชา ชอ่ื รายวิชา (บ-ป-น) 3(1-4-4) 261 510 ปฏบิ ตั กิ ารภาคสนามสถาปตั ยกรรมพน้ื ถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 3(2-2-5) 261 511 การคิดแบบมีวิจารณ ญ าณ ในการวิจัยด้านสถาปัตยกรรมพ้ืนถ่ิน และ สภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง 3(3-0-6) 261 512 ภูมปิ ญั ญา เทคโนโลยี ในสถาปัตยกรรมพน้ื ถน่ิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3 วิชาเลือก 12 รวมจำนวน จำนวนหน่วยกติ ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 (บ-ป-น) 3(2-2-5) รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า 9 12 261 410 วธิ วี จิ ัยทางสถาปตั ยกรรมศาสตร์ วิชาเลอื ก จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) รวมจำนวน 6 ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 6 12 รหัสวิชา ช่อื รายวิชา 261 522 การคน้ คว้าอิสระ (มีค่าเทียบเท่า) วิชาเลือก รวมจำนวน หลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 26 คำอธิบายรายวชิ า 261 410 วธิ วี ิจยั ทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) (Research Methodology in Architecture) ประเภทของงานวิจัย กรณีศึกษางานวิจัย และกระบวนการวิจัย เพ่ือนํามาประยุกต์ใช้กับ การศกึ ษาและวจิ ัยทางสถาปัตยกรรม Types of research, case studies, methods and procedures for application in undertaking architectural research work. 261 510 ปฏบิ ตั กิ ารภาคสนามสถาปตั ยกรรมพน้ื ถิ่นและสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(1-4-4) (Field Study in Vernacular Architecture and Built Environment) เงือ่ นไข : แผน ก แบบ ก 1 วัดผลการศกึ ษาเป็น S หรอื U แผน ก แบบ ก 2 และแผน ข วดั ผลการศกึ ษาเป็นคา่ ระดับ ปฏิบัติการภาคสนามในพื้นท่ีต่างวัฒนธรรม การจัดทำผังบริเวณชุมชนที่สัมพันธ์กับนิเวศ เทคนิคข้ันสูงในการเก็บข้อมูล การใช้อุปกรณ์สำรวจ รวมทั้งการเขียนแบบ และการแสดงแบบด้วย เทคนิควิธีขั้นสูง การทำคอมพิวเตอร์สามมิติและแบบจำลองสารสนเทศอาคาร การจัดการฐานข้อมูล เพ่ือวิเคราะห์ การเขียนรายงานภาคสนาม และการเขียนรายงานวิจัยเชิงลึกท่ีสะท้อนให้เห็น ความสมั พันธ์ของสถาปัตยกรรมพน้ื ถน่ิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้างกับนิเวศวิทยาวัฒนธรรม มีการศกึ ษานอกสถานที่ Practical fieldwork in areas with diverse culture to study site planning and site ecology; advanced techniques in data collecting and using survey instruments; drafting, advanced presentation; three-dimensional computer graphics techniques and building information modelling (BIM); data processing and analysis; writing detailed and in-depth report illustrating interrelationship between vernacular architecture, built environment and cultural ecology. Field trips required. หลักสูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 27 261 511 การคดิ แบบมวี จิ ารณญาณในการวิจัยดา้ นสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ 3(2-2-5) และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง (Critical Thinking in Vernacular Architecture and Built Environment Research) เงอ่ื นไข : แผน ก แบบ ก 1 วดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U แผน ก แบบ ก 2 และแผน ข วดั ผลการศึกษาเป็นค่าระดบั การทำความเข้าใจปัญหา และบริบทแวดล้อมด้วยวิธีการคิดแบบมีวิจารณญาน การสังเกต และสำนึกของการตัง้ คำถาม กระบวนการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการจดั การปัญหาอยา่ งเป็นระบบ ความคิดสรา้ งสรรค์ และการคิดนอกกรอบ การใชเ้ ครอ่ื งมือและเทคนิคในการสร้างสรรค์แนวคดิ ในการ แก้ปัญหา ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น การคิดบนฐานตรรกะและเหตุผลวิบัติ การรับฟังอย่างมี วิจารณญาณและการโต้แย้งด้วยเหตุผล ในการวิจัยด้านสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง และสถาปัตยกรรม พ้ืนถิ่น มีการศกึ ษานอกสถานที่ Understanding problems and their related factors with discretion; observant and questioning mind; critical thinking process; systematic problem solving methodologies; creative mindset and lateral thinking; techniques and tools for creating ideas and solutions; facts and opinions; logic and fallacy; critical listening and rational argument related to vernacular architecture and built environment research. Field trips required. 261 512 ภูมปิ ญั ญา เทคโนโลยี ในสถาปัตยกรรมพ้ืนถ่นิ และสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(3-0-6) (Wisdom and Technology in Vernacular Architecture and Built Environment) วิธีคิด ภูมิความรู้ที่สั่งสมจากการแก้ปัญหา รหัส การปฏิบัติการ วัสดุ โครงสร้าง การก่อสร้าง เทคนิควิธีการเชงิ ช่าง การเปล่ยี นแปลง ทป่ี รากฏในงานสถาปัตยกรรมพ้นื ถิน่ และสงิ่ แวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง บนฐานความคิดเพ่ือการอยู่อาศัยอย่างยั่งยืน รวมถึงการจัดการท่ีเก่ียวเนื่องกับสถาปัตยกรรมพื้นถ่ิน และสภาพแวดล้อม ในบรบิ ทชนบท และเมือง มกี ารศึกษานอกสถานที่ Local technical wisdom and knowledge acquired through problem solving, coding and practicing; materials, structure and construction techniques; transformations in vernacular architecture and built environment based on the concept of sustainable living; management know-hows concerning vernacular architecture and environment in rural and urban context. Field trips required. หลักสตู รระดบั บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 28 261 520 วิทยานิพนธ์ มคี า่ เทียบเท่า 36 หน่วยกติ (Thesis) การศึกษาเฉพาะบุคคลท่ีเกี่ยวเนื่องกับสถาปัตยกรรมพื้นถ่ิน และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง โดยเสนอในรปู แบบของการวจิ ัยตามกระบวนการของการทำวิทยานิพนธ์ โดยคำแนะนำของอาจารย์ท่ี ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ Individual study related to vernacular architecture and built environment; presentation of a thesis format under supervision of a thesis advisor. 261 521 วิทยานิพนธ์ มีค่าเทยี บเทา่ 12 หน่วยกิต (Thesis) การศึกษาเฉพาะบุคคลที่เก่ียวเนื่องกับสถาปัตยกรรมพื้นถ่ิน และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง โดยเสนอในรูปแบบของการวจิ ัยตามกระบวนการของการทำวิทยานิพนธ์ โดยคำแนะนำของอาจารย์ท่ี ปรึกษาวทิ ยานิพนธ์ Individual study related to vernacular architecture and built environment; presentation of a thesis format under supervision of a thesis advisor. 261 522 การค้นคว้าอสิ ระ มีคา่ เทียบเท่า 6 หนว่ ยกติ (Independent Study) การศกึ ษาเฉพาะบุคคลทเ่ี ก่ยี วเน่อื งกับสถาปัตยกรรมพืน้ ถนิ่ และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สร้างท่มี ี ความสนใจเป็นพิเศษ โดยคำแนะนำของอาจารยท์ ี่ปรึกษาการคน้ ควา้ อสิ ระ Individual study on a topic related to vernacular architecture and Built environment under supervision of an Independent study advisor. 261 530 นเิ วศวิทยาวฒั นธรรม ภูมทิ ัศน์วัฒนธรรม และภมู ิทัศนเ์ มอื งประวตั ศิ าสตร์ 3(3-0-6) (Cultural Ecology, Cultural Landscape and Historic Urban Landscape) ความสัมพันธ์ระหว่างนิเวศท่ีส่งผลต่อการตั้งถ่ินฐาน วิถีชีวิตที่เฉพาะเจาะจงกับระบบนิเวศ องค์ประกอบของส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การ ก่อตัวของ สถาปัตยกรรม แนวคิดเก่ยี วกบั ภมู ิทศั นว์ ัฒนธรรมและภมู ิทศั นเ์ มืองประวตั ิศาสตร์ การจำแนกประเภท การวิเคราะหค์ ุณคา่ และการจดั การเพ่อื สรา้ งความยงั่ ยนื มกี ารศึกษานอกสถานที่ Relationship between ecology, settlements, and way of life; cultural factors associated with the natural environment and development of architectural forms; Concept of cultural landscape and Historic Urban Landscape; identifying values, categorization, evaluation and management approaches for sustainability Field trips required. หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 29 261 531 ถน่ิ ฐานและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้างพน้ื ถ่ินกลมุ่ ชนชาตพิ ันธุ์ 3(2-2-5) (Settlements and Vernacular Built Environment of Ethnic People) ปกรณัม คติความเช่ือ และจินตนาการท่ีเกี่ยวเนื่องกับการต้ังถิ่นฐาน สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง และสถาปัตยกรรมพ้ืนถ่ิน สถาปัตยกรรมพื้นถ่ินในชุมชนชายขอบ ชุมชนพหุวัฒนธรรม การดำรงอยู่ การผลิตซ้ำทางจารีตประเพณี และความเปล่ียน ที่สัมพันธ์ทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และ การเมือง ทั้งในประวัติศาสตร์ และในสังคมร่วมสมัยท่ีส่งผลต่อการเกิดรูปแบบเฉพาะถ่ินการ เปล่ยี นแปลง และพัฒนาการทางสถาปัตยกรรม มกี ารศึกษานอกสถานที่ Mythology, beliefs and notion-influenced formation of settlements, Built Environment and vernacular architecture of marginal communities; multicultural communities; complexity and contradiction; continued existence; replication and change relate to culture, socio-Economic and politic context of vernacular architecture and change. both historical and contemporary societies that bring about local styles, changes, and developments in architecture. Field trips required. 261 532 ศาสนสถาปัตยกรรมพ้ืนถิน่ และสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ ง 3(2-2-5) (Sacred and Religious of Vernacular Architecture and Built Environment) ศาสนา ความเชื่อ และวฒั นธรรมที่ส่งผลต่อการวางผังศาสนสถาน และสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ทางศาสนาท่ีสัมพนั ธก์ บั ระบบความเชอื่ และแนวคดิ ทางศาสนา ปรัชญา สัญลักษณ์ทางศาสนา แนวคิด จักรวาลทัศนะ และสิ่งศักด์ิสิทธิ์เหนือธรรมชาติ และปัจจัยทางส่ิงแวดล้อมท่ีแสดงถึงโลกทัศน์ของ ผู้สร้างและผู้ใช้ประโยชน์ หน้าท่ีใช้สอย และการจัดลำดับพ้ืนท่ี คุณค่า และบทบาทหน้าท่ีของ สถาปตั ยกรรมพน้ื ถิ่นทางศาสนาที่มีต่อระบบสงั คม ความเชอ่ื และศาสนา และชุมชนท้องถ่ิน มีการศกึ ษานอกสถานที่ Religion, beliefs, and cultures that influence layout planning and vernacular religious architectures related to myth and religious concepts, philosophy, religious symbols, concept and perception in cosmology, supernatural and environment factors reflecting worldviews of their builders and inhabitants; functions and spatial organization; values and roles of vernacular architecture on social systems, beliefs and religious systems and local community Field trips required. หลักสตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

P a g e | 30 261 533 สังคม เศรษฐกิจฐานวัฒนธรรมและสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้าง 3(3-0-6) (Social, Cultural and Built Environment Based Economy) ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เก่ียวข้องกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และชุมชน ท่ีสัมพันธ์กับ ประวัติศาสตร์สังคม ทั้งด้านการผลิต กลุ่มสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตของชุมชน และสิ่งแวดล้อมที่ สะทอ้ นให้เหน็ ถึงพลวตั และการปรบั ตวั จนเป็นชุมชนทอ้ งถ่นิ บริบทสงั คมรว่ มสมัย มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Socio-economic aspects of various local communities in relation to social history; issues concerning productivity, social groups, culture, way of life, and environment that reflect dynamism and adaptation of communities within the context of contemporary society. Field trips required. 261 534 การอนุรักษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อมสรรค์สรา้ งและชุมชน 3(2-2-5) (Conservation and Development of Built Environment and Community) ทฤษฎี และหลักการจัดการจัดการมรดกทางสถาปัตยกรรมพื้นถ่ิน และสภาพแวดล้อมสรรค์ สร้าง กฎบัตรนานาชาติ กฎหมาย ระเบียบต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เทคนิคและวิธีการอนุรักษ์มรดกทาง สถาปัตยกรรมแบบต่าง ๆ และแนวความคิดเร่ืองการพัฒนาท่ีอยู่อาศัยและชุมชนอย่างมีส่วนร่วม บน พื้นฐานของการประยุกต์นำองค์ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นมาใช้ สำรวจ บันทึกข้อมลู ในชุมชน ทดลองปฏบิ ตั กิ าร นำเสนอผลงานและแนวความคดิ สสู่ าธารณะ มีการศึกษานอกสถานที่ Theories and principles concerning management of vernacular architectural heritage and Built Environment; international conservation charters, related laws and regulations; various conservation methods and techniques; concept of participatory community development based on knowledge and understanding of vernacular architecture; field exercises in data collection, implementation workshop, and public presentations. Field trips required. หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 31 261 535 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ งในบรบิ ทเมอื ง 3(2-2-5) (Vernacular Architecture and Built Environment in Urban Context) นิยามของสถาปัตยกรรมพื้นถ่ินในบริบทเมืองภายในสังคมร่วมสมัยท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง ต่อเนอ่ื ง องค์ความรู้ด้านวิธคี ิด การสังเกตและถอดรหสั เทคนคิ วิธีการเชิงชา่ ง การประยกุ ต์ภูมคิ วามรู้ท่ี ส่ังสมจากการแก้ปัญหาจากความเป็นพื้นถ่ินในชนบทสู่ความเป็นชุมชนเมือง ทักษะการก่อสร้างและ วัสดุ ความสัมพันธ์ของการอยู่อาศัยในระดับปัจเจก ครัวเรือน ชุมชน และเมือง การก่อรูปของการต้ัง ถน่ิ ฐาน และการใชช้ ีวิตท่ีมคี วามสมั พันธ์กบั ท้งั กายภาพ สงั คม เศรษฐกจิ และการเมือง มกี ารศึกษานอกสถานที่ Definitions of vernacular architecture in constantly changing context of contemporary urban society; ways of thinking, observing and decoding; technical know-how and application of experience accumulated through problem solving in a rural context to an urban situation; construction skill and use of materials; interrelationship of dwellings at individual, household, community and city levels; formation of settlements and livelihood of inhabitants with regards to physical, social, economic and political issues. Field trips required. 261 536 การปรบั ประโยชน์ใชส้ อยสถาปัตยกรรมพน้ื ถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรคส์ ร้าง 3(2-2-5) ในบริบทร่วมสมยั (Adaptation of Vernacular Architecture and Built Environment for Contemporary Context) ทฤษฎี แนวความคิด กฎหมาย และนโยบายเรื่องการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า ย่านและ ชุมชนของประเทศไทย และแนวโน้มของบริบทสากล การสำรวจ ประเมินสภาพอาคารและ สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง การวิเคราะห์คุณค่า การสรา้ งโมเดลทางธุรกิจและข้อเสนอในการพัฒนาบน ฐานคุณคา่ คณุ คา่ ท่ีโครงการสง่ มอบสู่สังคม การประเมนิ ผลกระทบทางสังคมของโครงการ มกี ารศกึ ษานอกสถานที่ Principle, framework, laws and policy in conservation and development of old towns, heritage districts and communities in Thailand and international contexts and trends; survey and investigation of the vernacular building and the built environment; A value analysis; creating the business model canvas and the recommendation based on value; Project’s value given to the society; Social return on investment. Field trips required. หลักสูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

261 537 P a g e | 32 วสั ดุ และระบบการก่อสร้างในสถาปัตยกรรมพ้ืนถิน่ และสภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ ง 3(2-2-5) (Material and Tectonic Construction in Vernacular Architecture and Built Environment) ความสมั พันธร์ ะหว่างการออกแบบ วสั ดุ ระบบการกอ่ สร้าง และรายละเอยี ดในสถาปัตยกรรม พื้นถ่ินและสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง ความรู้และภูมิปัญญาที่สัมพันธ์กับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและ สภาพแวดลอ้ มสรรค์สรา้ งท้งั ในแบบจารตี และแบบรว่ มสมัย ทง้ั ในบรบิ ทชนบทและเมือง กระบวนการ ก่อรปู การณ์ออกแบบผา่ นการพฒั นาสนุ ทรียภาพของวสั ดุ และการกอ่ สรา้ ง มกี ารศึกษานอกสถานท่ี Relationship design and materials, tectonic construction and detail in vernacular architecture and built environment; traditional and modern knowledge and wisdom related to vernacular and built environment in both rural communities and urban context; process of shaping design through aesthetic processing of material and construction. Field trips required. 261 538 การออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัยในบรบิ ทพน้ื ถน่ิ 3(2-2-5) (Contemporary Architecture Design in Vernacular Context) ทฤษฎี และหลักการ การถอดรหัส และการตีความ; การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา และบริบทาง ทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นมาสู่การสร้างแนวความคิด กระบวนการออกแบบ สถาปัตยกรรม และสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ ร้างท่ีสอดคล้องกับบริบทแวดล้อมต่าง ๆ มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Theory and principle; decoding and interpretation; idea development from local wisdom and cultural context for creative design built environment and contemporary architecture related to its contexts Field trips required. 261 539 สถาปัตยกรรมพนื้ ถนิ่ และการสรรค์สรา้ งสภาวะสบาย 3(3-0-6) (Vernacular Architecture and Design for Comfort) ภูมิปัญญาในงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง ในการปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดลอ้ ม และการสรรค์สรา้ งสภาวะสบายบนฐานของการออกแบบทสี่ มั พนั ธก์ ับวิธีทางธรรมชาติ มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Local wisdom of vernacular architecture and built environment in adapting itself with its environment and creating thermal comfort based on passive design strategies. Field trips required. หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 33 261 540 ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตรเ์ พอ่ื การวิจัยสภาพแวดล้อมสรรคส์ รา้ ง 3(2-2-5) (Geographic Information System for Built Environment Research) ความหมาย หลกั การ แนวทางการวิเคราะหข์ อ้ มลู บนระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ลกั ษณะ ของข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โครงสร้างระบบฐานข้อมูล การนำเข้า และจัดเก็บข้อมูลเชิงพ้ืนท่ี และข้อมูล เชิงคุณลักษณะ การวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ตามเง่ือนไข การจัดทำแผนท่ี และการ ประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมเขียนแบบ และโปรแกรมกราฟิกเพื่อการจัดทำแผนที่ การสัมผสั ระยะไกล เพ่อื การ แปลความหมาย และการวจิ ัยทางสภาพแวดลอ้ มสรรคส์ รา้ ง มีการศึกษานอกสถานที่ Definitions and principles of Geographic Information System; framework for data analysis; characteristic of geographic data; database structure, data input, collecting and filing spatial data and attribute data; analyzing geographic information; mapping and using computer graphic programs to produce maps; use of remote sensing for making interpretations and conducting research on built environment. Field trips required. 261 541 ภาคสนามและปฏิบตั กิ ารด้านสถาปัตยกรรมพื้นถิน่ และสภาพแวดลอ้ ม 3(2-2-5) สรรคส์ รา้ งในต่างประเทศ (International Field Study and Workshop in Vernacular Architecture and Built Environment) ปฏิบัติการภาคสนาม และปฏิบัติการในต่างประเทศ สร้างเครือข่ายความร่วมมือทาง วิชาการและการวิจัย พัฒนากรอบความคิดและทักษะความเป็นนานาชาติในด้านการวิจัยและการ ออกแบบ เข้าใจและเคารพในคุณค่าของความหลากหลายของวิถชี ีวิต วัฒนธรรม ชาตพิ นั ธ์ุและชนกลุ่ม นอ้ ย ความเชอื่ และศาสนา การพัฒนาทักษะในการนำเสนอและความร่วมมือในการปฏิบัติภาคสนาม และปฏิบัตกิ าร มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Conducting International practical fieldworks and workshops in various countries; creating academic and research collaborative networks; improving international mindset and skills in research and design; understanding and respecting diversity of ways of living, cultures, ethnic and indigenous people, beliefs and religions; developing skills in presentation and collaboration for the fieldworkand workshops. Field trips required หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

P a g e | 34 รายละเอยี ดของหลกั สูตร หลกั สูตรสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรมไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565) ชอื่ หลกั สตู ร หลกั สตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรมไทย ภาษาไทย Master of Architecture Program in Thai Architecture ภาษาองั กฤษ ชอื่ ปริญญาและสาขาวชิ า สถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (สถาปัตยกรรมไทย) ชื่อเต็มภาษาไทย Master of Architecture (Thai Architecture) ชือ่ เตม็ ภาษาองั กฤษ สถ.ม. (สถาปัตยกรรมไทย) ชอ่ื ยอ่ ภาษาไทย M. Arch. (Thai Architecture) ชือ่ ย่อภาษาองั กฤษ วชิ าเอก ไมม่ ี จำนวนหน่วยกติ ท่เี รียนตลอดหลักสตู ร แผน ก แบบ ก 1 มคี ่าเทียบเทา่ 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 2 ไม่นอ้ ยกว่า 36 หนว่ ยกติ แผน ข ไมน่ อ้ ยกวา่ 39 หนว่ ยกิต อาชีพทีส่ ามารถประกอบได้หลงั สำเร็จการศกึ ษา 1. สถาปนิกผมู้ ีความรคู้ วามเชี่ยวชาญดา้ นสถาปัตยกรรมไทย 2. สถาปนกิ ผมู้ ีความรูค้ วามเชย่ี วชาญด้านการอนรุ ักษ์อาคาร 3. นักวชิ าการดา้ นสถาปตั ยกรรมและสถาปตั ยกรรมไทย 4. ผ้สู อนทางด้านสถาปตั ยกรรมไทย การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลยั เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรือท่ีมีการเปลี่ยนแปลงภายหลงั โครงสร้างหลักสตู ร แบ่งเป็น 3 แผนการศกึ ษา ดังน้ี 6 หน่วยกติ แผน ก แบบ ก 1 36 หน่วยกิต หมวดวชิ าบังคับ (ไมน่ ับหน่วยกิต) 36 หนว่ ยกติ วิทยานิพนธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร หลักสตู รระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

P a g e | 35 แผน ก แบบ ก 2 หมวดวิชาบงั คบั 12 หน่วยกิต หมวดวชิ าเลอื ก ไมน่ อ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกิต วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) 12 หนว่ ยกิต จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่นอ้ ยกว่า 36 หน่วยกติ แผน ข หมวดวชิ าบงั คับ 12 หน่วยกิต หมวดวชิ าบังคับเลือก ไมน่ ้อยกวา่ 12 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าเลือก ไมน่ อ้ ยกว่า 9 หนว่ ยกิต การคน้ ควา้ อสิ ระ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 6 หน่วยกติ จำนวนหนว่ ยกิตตลอดหลกั สูตร ไมน่ อ้ ยกว่า 39 หน่วยกติ หมายเหตุ นักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 และแผน ก แบบ ก 2 ไม่มีการสอบประมวลความรู้ แต่นักศึกษาแผน ข มีการ สอบประมวลความรู้ ภายหลงั จากที่ได้เรยี นและผา่ นรายวชิ าบังคบั และเง่ือนไขของรายวชิ าทง้ั หมด รายวชิ า รายวิชาพื้นฐาน (ไม่นบั หนว่ ยกิต) สำหรับนักศึกษาผู้มีพ้ืนฐานความรู้ไม่เพียงพอในด้านสถาปัตยกรรมไทย ต้องเรียนรายวิชาพื้นฐาน จำนวน 3 หนว่ ยกติ โดยวัดผลการศึกษาเป็น S หรอื U ดังน้ี 262 400 การเขยี นแบบสถาปัตยกรรมไทย 3*(0-6-3) (Delineations in Thai Architecture) แผน ก แบบ ก 1 มีค่าเทียบเท่า 36 หนว่ ยกติ 3*(3-0-6) หมวดวชิ าบังคับ (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) จำนวน 6 หนว่ ยกิต 3*(3-0-6) 262 510 วิธวี จิ ยั มคี ่าเทยี บเท่า 36 หน่วยกิต มคี ่าเทยี บเทา่ 36 หน่วยกิต (Research Methodology) 3(2-3-4) 262 511 สมั มนาวิพากษ์ทฤษฎี (Seminar in Critical Theories) วิทยานพิ นธ์ (มีค่าเทียบเทา่ ) 36 หน่วยกติ โดยเลอื กจากรายวชิ าใดวิชาหน่ึง ดงั น้ี 262 420 วทิ ยานพิ นธ์ (ออกแบบสถาปตั ยกรรมไทย) (Thai Architectural Design Thesis) 262 421 วิทยานพิ นธ์ (วจิ ัยสถาปัตยกรรมไทย) (Thai Architectural Research Thesis) แผน ก แบบ ก 2 รวมตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกวา่ 36 หน่วยกติ หมวดวิชาบงั คบั จำนวน 12 หนว่ ยกติ ประกอบดว้ ยรายวชิ าดงั นี้ 262 410 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยข้ันสงู 1 (Advanced Thai Architectural Design I) หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาทล่ี งทะเบียนเรียนโดยไมน่ ับหนว่ ยกติ และวัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U หลกั สูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 36 262 411 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยขน้ั สูง 2 3(2-3-4) (Advanced Thai Architectural Design II) 262 510 วิธีวิจัย 3(3-0-6) (Research Methodology) 262 511 สมั มนาวิพากษท์ ฤษฎี 3(3-0-6) (Seminar in Critical Theories) หมวดวิชาเลอื ก จำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกติ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปน้ี ตามความสนใจและโดยได้รับความเห็นชอบจาก อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา ดงั น้ี 262 412 การอนรุ กั ษ์และการปรับปรงุ มรดกทางสถาปัตยกรรม: 3(3-0-6) ปรชั ญา ทฤษฎีและการปฏบิ ัติ (Conservation and Adaptation of Architectural Heritage: Philosophy, Theory and Practice) 262 413 พฒั นาการสถาปตั ยกรรมในประเทศไทย 3(3-0-6) (Development of Architecture in Thailand) 262 414 การอนรุ กั ษ์และการปรบั ปรงุ อาคาร 3(2-3-4) (Building Conservation and Adaptation) 262 415 การปรบั ปรงุ การใช้สอยและการฟื้นฟยู า่ นประวตั ศิ าสตร์ 3(2-3-4) (Reuse and Regeneration of Historic Site) 262 430 การสำรวจและการบันทึกอาคาร 3(2-2-5) (Building Surveys and Documentation) 262 431 การวนิ จิ ฉยั อาคาร 3(2-2-5) (Building Pathology) 262 432 การจดั การโครงการอนุรกั ษ์อาคารและพ้ืนที่ประวตั ิศาสตร์ 3(3-0-6) (Conservation Management of Building and Historic Site) 262 433 สถาปตั ยกรรมการสอดแทรกในอาคารและย่านประวตั ิศาสตร์ 3(2-2-5) (Design Intervention for Historic Building and Setting) 262 434 เทคนคิ งานช่างอนรุ ักษ์สถาปัตยกรรม 3(2-2-5) 262 440 (Craft Techniques for Architectural Conservation) 3(3-0-6) 262 441 สถาปตั ยกรรมไทยเฉพาะกจิ 3(2-2-5) 262 442 (Thai Architecture for Specific Events) 3(0-6-3) ลวดลายและการขยายแบบในงานสถาปตั ยกรรมไทย (Decorative Thai Architectural Ornaments and Detail Drawing) ปฏิบตั กิ ารอนุรักษ์สถาปัตยกรรม (Conservation Practice) 262 443 มรดกวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ 3(3-0-6) (Folk Cultural Heritage) หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

P a g e | 37 262 531 ประวัติศาสตรส์ ถาปัตยกรรมสมัยสโุ ขทัย-อยธุ ยา 3(3-0-6) (History of Architecture the During Sukhothai and Ayutthaya Periods) 262 532 ประวตั ิศาสตร์สถาปตั ยกรรมสมัยรตั นโกสินทร์ 3(3-0-6) (History of Architecture During the Rattanakosin Period) 262 535 การสันนิษฐานรูปแบบสถาปตั ยกรรม 3(0-6-3) (Architectural Reconstruction) 262 538 การศกึ ษารายบคุ คล 3(0-6-3) (Individual Study) นอกจากรายวิชาดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอน่ื ๆ ท่บี ณั ฑิตวทิ ยาลัยเปดิ สอนได้ โดยไดร้ ับความเหน็ ชอบจากอาจารย์ท่ปี รกึ ษา วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 12 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวชิ าใดวชิ าหนึง่ ดงั นี้ 262 422 วิทยานพิ นธ์ (ออกแบบสถาปัตยกรรมไทย) มคี ่าเทียบเทา่ 12 หน่วยกิต (Thai Architectural Design Thesis) 262 423วิทยานพิ นธ์ (วจิ ยั สถาปัตยกรรมไทย) มีค่าเทียบเท่า 12 หน่วยกิต (Thai Architectural Research Thesis) แผน ข รวมตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกวา่ 39 หนว่ ยกิต หมวดวิชาบังคับ จำนวน 12 หนว่ ยกิต 262 412 การอนรุ กั ษ์และการปรับปรงุ มรดกทางสถาปตั ยกรรม: 3(3-0-6) ปรชั ญา ทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิ (Conservation and Adaptation of Architectural Heritage: Philosophy, Theory and Practice) 262 413 พฒั นาการสถาปัตยกรรมในประเทศไทย 3(3-0-6) (Development of Architecture in Thailand) 262 414 การอนุรกั ษแ์ ละการปรบั ปรุงอาคาร 3(2-3-4) (Building Conservation and Adaptation) 262 415 การปรบั ปรงุ การใช้สอยและการฟื้นฟูย่านประวตั ศิ าสตร์ 3(2-3-4) (Reuse and Regeneration of Historic Site) หมวดวชิ าบงั คับเลอื ก จำนวนไม่นอ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกติ 262 430 การสำรวจและการบันทกึ อาคาร 3(2-2-5) (Building Surveys and Documentation) 262 431 การวินิจฉัยอาคาร 3(2-2-5) (Building Pathology) 262 432 การจดั การโครงการอนุรกั ษ์อาคารและพืน้ ที่ประวตั ิศาสตร์ 3(3-0-6) (Conservation Management of Building and Historic Site) 262 433 สถาปตั ยกรรมการสอดแทรกในอาคารและยา่ นประวัติศาสตร์ 3(2-2-5) (Design Intervention for Historic Building and Setting) 262 434 เทคนคิ งานช่างอนุรักษ์สถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Craft Techniques for Architectural Conservation) หลกั สตู รระดับบัณฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

P a g e | 38 หมวดวชิ าเลอื ก จำนวนไม่นอ้ ยกวา่ 9 หนว่ ยกิต 3(3-0-6) 262 440 สถาปัตยกรรมไทยเฉพาะกิจ 3(2-2-5) 3(0-6-3) (Thai Architecture for Specific Events) 262 441 ลวดลายและการขยายแบบในงานสถาปตั ยกรรมไทย (Decorative Thai Architectural Ornaments and Detail Drawing) 262 442 ปฏบิ ตั กิ ารอนุรักษ์สถาปัตยกรรม (Conservation Practice) 262 443 มรดกวฒั นธรรมท้องถน่ิ 3(3-0-6) (Folk Cultural Heritage) 262 531 ประวตั ิศาสตรส์ ถาปตั ยกรรมสมัยสุโขทยั -อยธุ ยา 3(3-0-6) (History of Architecture the During Sukhothai and Ayutthaya Periods) 262 532 ประวัตศิ าสตรส์ ถาปตั ยกรรมสมยั รตั นโกสนิ ทร์ 3(3-0-6) (History of Architecture During the Rattanakosin Period) 262 535 การสันนิษฐานรปู แบบสถาปัตยกรรม 3(0-6-3) (Architectural Reconstruction) 262 538 การศกึ ษารายบุคคล 3(0-6-3) (Individual Study) นอกจากรายวิชาดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวิชาอืน่ ๆ ทบี่ ณั ฑติ วิทยาลัยเปดิ สอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ทป่ี รึกษา การคน้ ควา้ อสิ ระ (มีค่าเทียบเทา่ ) 6 หนว่ ยกิต 262 424 การคน้ ควา้ อิสระ มีคา่ เทียบเทา่ 6 หนว่ ยกติ (Independent Study) หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

แผนการศกึ ษา ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 P a g e | 39 แผน ก แบบ ก 1 ชอื่ รายวชิ า จำนวนหน่วยกิต รหสั วิชา (บ-ป-น) 3*(3-0-6) 262 511 สัมมนาวิพากษ์ทฤษฎี 15 262 420 หรือ วิทยานพิ นธ์ (ออกแบบสถาปตั ยกรรมไทย) หรอื วิทยานิพนธ์ (วิจัยสถาปัตยกรรมไทย) (มีคา่ เทียบเท่า) 15 262 421 รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกติ รหสั วิชา (บ-ป-น) ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 3*(3-0-6) 15 ช่อื รายวิชา 15 262 510 วธิ ีวิจัย 262 420 หรือ วิทยานพิ นธ์ (ออกแบบสถาปตั ยกรรมไทย) หรือ จำนวนหนว่ ยกติ วทิ ยานิพนธ์ (วจิ ัยสถาปตั ยกรรมไทย) (มีคา่ เทยี บเทา่ ) (บ-ป-น) 262 421 6 รวมจำนวน รหสั วชิ า 6 ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ช่อื รายวชิ า 262 420 หรือ วิทยานิพนธ์ (ออกแบบสถาปัตยกรรมไทย) หรอื 262 421 วิทยานิพนธ์ (วิจยั สถาปัตยกรรมไทย) (มคี า่ เทียบเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวชิ าทลี่ งทะเบียนเรียนโดยไมน่ บั หน่วยกิตและวดั ผลการศกึ ษาเปน็ S หรือ U หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

แผน ก แบบ ก 2 ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 P a g e | 40 รหสั วชิ า ชื่อรายวิชา จำนวนหน่วยกติ 262 400 การเขยี นแบบสถาปตั ยกรรมไทย (บ-ป-น) 262 410 3*(0-6-3) 262 511 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยขั้นสงู 1 3(2-3-4) 3(3-0-6) รหสั วชิ า สมั มนาวพิ ากษท์ ฤษฎี 3 9 วิชาเลอื ก จำนวนหน่วยกิต รวมจำนวน (บ-ป-น) 3(2-3-4) ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 3(3-0-6) 6 ชอ่ื รายวิชา 12 262 411 การออกแบบสถาปตั ยกรรมไทยข้ันสงู 2 จำนวนหนว่ ยกิต 262 510 (บ-ป-น) วิธีวิจยั 3 รหสั วชิ า วิชาเลือก 3 6 รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 (บ-ป-น) 9 ชอ่ื รายวิชา 9 262 422 หรือ 262 วทิ ยานิพนธ์ (ออกแบบสถาปตั ยกรรมไทย) หรอื 423 วิทยานิพนธ์ (วจิ ยั สถาปัตยกรรมไทย) (มคี า่ เทยี บเทา่ ) วิชาเลือก รวมจำนวน ปีที่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 รหัสวิชา ช่ือรายวชิ า 262 422 หรือ วิทยานพิ นธ์ (ออกแบบสถาปตั ยกรรมไทย) หรือ 262 423 วทิ ยานพิ นธ์ (วจิ ัยสถาปตั ยกรรมไทย) (มีคา่ เทียบเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาทลี่ งทะเบยี นเรยี นโดยไมน่ ับหน่วยกิตและวดั ผลการศกึ ษาเปน็ S หรือ U หลกั สูตรระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

แผน ข P a g e | 41 รหัสวชิ า ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกิต ชอื่ รายวชิ า (บ-ป-น) 3*(0-6-3) 262 400 การเขียนแบบสถาปัตยกรรมไทย 3(3-0-6) 262 412 262 413 การอนุรักษ์และการปรับปรุงมรดกทางสถาปัตยกรรม: ปรัชญา ทฤษฎี 3(3-0-6) และการปฏบิ ตั ิ 3 รหสั วิชา พัฒนาการสถาปตั ยกรรมในประเทศไทย 3 12 วิชาบงั คับเลอื ก จำนวนหนว่ ยกิต วชิ าเลอื ก (บ-ป-น) 3(2-3-4) รวมจำนวน 3 6 ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 12 ช่อื รายวชิ า จำนวนหน่วยกติ (บ-ป-น) 262 414 การอนุรกั ษ์และการปรบั ปรุงอาคาร 3(2-3-4) รหสั วิชา วชิ าบงั คบั เลอื ก 3 6 วิชาเลือก 12 รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกติ (บ-ป-น) ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 3 3 ชื่อรายวิชา 262 415 การปรบั ปรุงการใช้สอยและการฟน้ื ฟูยา่ นประวัตศิ าสตร์ 262 424 การค้นควา้ อิสระ (มีคา่ เทียบเท่า) วิชาบังคบั เลอื ก รวมจำนวน รหัสวิชา ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ชือ่ รายวิชา 262 424 การคน้ คว้าอิสระ (มีค่าเทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาทลี่ งทะเบียนเรียนโดยไมน่ บั หนว่ ยกิตและวดั ผลการศึกษาเปน็ S หรอื U หลักสตู รระดับบณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

P a g e | 42 คำอธบิ ายรายวิชา 262 400 การเขียนแบบสถาปัตยกรรมไทย 3(0-6-3) (Delineations in Thai Architecture) เงื่อนไข : ไมน่ บั หนว่ ยกติ และวัดผลการศึกษาเป็น S หรอื U เขียนแบบสถาปัตยกรรมไทยประเภทต่าง ๆ รูปแบบ โครงสร้าง และองค์ประกอบท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั การกอ่ สร้าง Drafting exercises on various types of Thai architectural components, decorative ornaments, structure, and construction details. 262 410 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยขน้ั สงู 1 3(2-3-4) (Advanced Thai Architectural Design I) ฝึกปฏิบตั ิการออกแบบงานสถาปัตยกรรมไทยขน้ั สูง ท่ีเนน้ แนวความคดิ การค้นควา้ ขอ้ มลู และกระบวนการวิเคราะห์เพ่ือให้ได้มาซ่งึ งานสถาปตั ยกรรมไทยอยา่ งสร้างสรรค์ โดยสอดคลอ้ งกับ สภาพการณ์ทางเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม เทคโนโลยี และการก่อสรา้ งในปจั จุบัน มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Advanced exercises in traditional Thai architectural design; emphasis on design concepts, data collection and analytical process for designing creative Thai architecture that responds to the present economy, society, culture, technology, and construction methods. Field trip required. 262 411 การออกแบบสถาปตั ยกรรมไทยข้ันสงู 2 3(2-3-4) (Advanced Thai Architectural Design II) ฝกึ ปฏิบัติการออกแบบงานสถาปัตยกรรมไทยข้ันสูง ซึ่งมปี ระโยชนใ์ ช้สอยซบั ซ้อนมากข้ึน โดยยังคงเน้นแนวความคิด การค้นคว้าข้อมูล และกระบวนการวิเคราะห์เพ่ือให้ได้มาซ่ึงงาน สถาปัตยกรรมไทยอย่างสร้างสรรค์ โดยสอดคล้องกับสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และการกอ่ สรา้ งในปัจจุบนั มกี ารศกึ ษานอกสถานที่ Advanced exercises in traditional Thai architectural design involving complex and multiple functions; emphasis on analytical process, data collection and design of creative Thai architecture that responds to present economy, society, culture, technology, and construction methods. Field trip required. หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

P a g e | 43 262 412 การอนุรกั ษแ์ ละการปรบั ปรุงมรดกทางสถาปัตยกรรม: 3 ( 3 -0 -6 ) ปรัชญา ทฤษฎี และการปฏิบตั ิ ( Conservation and Adaptation of Architectural Heritage: Philosophy, Theory and Practice) แนวคิดและปรัชญาการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมในระดับสากล และในประเทศไทย แนวคิดการอนรุ ักษ์และปรับปรงุ อาคารในประเทศไทยจากอดตี สู่ปจั จบุ นั โดยศกึ ษาจากกรณีศึกษา ท่ีครอบคลุมตั้งแต่โบราณสถาน อาคารประวัติศาสตร์ ย่านเมืองเก่า มรดกวัฒนธรรม และแหล่ง โบราณคดี Concept and philosophy of architectural heritage conservation in international level and in Thailand; concepts among conservation and adaptation in Thailand from past to present based on case studies from ancient monuments, historic buildings and old towns, cultural heritage, and archaeological sites. 262 413 พฒั นาการสถาปัตยกรรมในประเทศไทย 3(3-0-6) 262 414 (Development of Architecture in Thailand) การสืบค้นข้อมูลอาคารประวัติศาสตร์ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมตามพัฒนาการการ ก่อสร้าง ความเชื่อ เทคโนโลยีการก่อสร้าง คติแนวคิด ตลอดจนลักษณะของการใช้สอยของอาคาร เดมิ และการกอ่ รปู ทางสถาปัตยกรรมและเมอื งประวตั ศิ าสตร์ Investigation of historical data; development of architectural form due to the development of construction, belief, construction technology, ideology, including previous utilization, and morphology of historic building and town. การอนรุ ักษ์และการปรบั ปรงุ อาคาร 3(2-3-4) (Building Conservation and Adaptation) การออกแบบทางสถาปัตยกรรม และปรับปรุงอาคารโบราณ ตามหลักทฤษฎแี ละหลักการ อนุรักษ์สถาปัตยกรรมเพ่ือการใช้สอยร่วมสมัย การทำความเข้าใจอาคาร ข้ันตอนการปฏิบัติการ อนุรกั ษม์ รดกทางสถาปตั ยกรรม และการเขียนแบบอนรุ กั ษ์ ผนวกกบั การสำรวจ และการบนั ทึก Architectural design and adaptation of old buildings according to theory and principle of architectural conservation for contemporary use; understanding of buildings, conservation process, and architectural conservation drawing complemented by surveying and recording. หลักสูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

P a g e | 44 262 415 การปรบั ปรงุ การใชส้ อยและการฟื้นฟยู ่านประวตั ิศาสตร์ 3(2-3-4) 262 420 (Reuse and Regeneration of Historic Site) 262 421 การออกแบบปรับปรุงอาคารและการฟ้ืนฟูย่านประวัติศาสตร์โดยการออกแบบที่ ตอบสนองต่อการใช้สอยที่เปลี่ยนไปตามบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม โดยหลักการ บริหาร การจัดการ กฎหมาย และการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการออกแบบ สถาปัตยกรรมโดยกระบวนการเก็บข้อมูลสภาพสังคม วัฒนธรรม และกายภาพของชุมชน การ วิเคราะห์ และการสังเคราะห์ให้สอดคล้องกับความต้องการ และหลักการอนุรักษ์และปรับปรุง สถาปตั ยกรรม Design for adaptation of historical building and revitalization of historic districts that respond to changing of use according to social context, economy and culture, by administrative principle, management, legislation and stakeholders; and architectural design by process of data collection on social, cultural and physical aspects of community; analysis and synthesis of the data according to needs’ and principles of architectural conservation and adaptation. วทิ ยานิพนธ์ (ออกแบบสถาปัตยกรรมไทย) มีค่าเทยี บเท่า 36 หน่วยกิต (Thai Architectural Design Thesis) โครงการเฉพาะบุคคล โดยเน้นการศึกษา วิเคราะห์ การออกแบบสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรมไทย แล้วรวบรวมและสรุปเป็นเอกสารฉบับสมบูรณ์ ภายใต้การให้คำปรึกษาของ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ Individual undertaking of a Thai architectural design project, starting from data collection, analysis, design and presentation, through compiling and conclusion into a comprehensive document under supervision of an advisor. วิทยานพิ นธ์ (วิจยั สถาปตั ยกรรมไทย) มีค่าเทยี บเท่า 36 หน่วยกิต (Thai Architectural Research Thesis) โครงการศึกษาเฉพาะบุคคลในเนื้อหาท่ีนักศึกษามีความสนใจ โดยเสนอในรูปแบบ กระบวนการวิจัยการออกแบบสถาปัตยกรรมไทย ภายใต้การให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ Individual undertaking of a research project on an approved topic concerning design of Thai architecture, according to set research methodology carried out under supervision of an advisor. หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

P a g e | 45 262 422 วิทยานพิ นธ์ (ออกแบบสถาปัตยกรรมไทย) มีคา่ เทยี บเทา่ 12 หน่วยกติ 262 423 262 424 (Thai Architectural Design Thesis) 262 430 โครงการเฉพาะบุคคล โดยเน้นการศึกษา วิเคราะห์ การออกแบบสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรมไทย แล้วรวบรวมและสรุปเป็นเอกสารฉบับสมบูรณ์ ภายใต้การให้คำปรึกษาของ อาจารยท์ ีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ Individual undertaking a Thai architectural design project, starting from data collection, analysis, design and presentation, through compiling and conclusion into a comprehensive document under supervision of an advisor. วิทยานพิ นธ์ (วิจัยสถาปตั ยกรรมไทย) มคี ่าเทยี บเทา่ 12 หน่วยกิต (Thai Architectural Research Thesis) โครงการศึกษาเฉพาะบุคคลในเนื้อหาที่นักศึกษามีความสนใจ โดยเสนอในรูปแบบ กระบวนการวิจัยการออกแบบสถาปัตยกรรมไทย ภายใต้การให้คำปรึกษาของอาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยานพิ นธ์ Individual undertaking a research project on an approved topic concerning design of Thai architecture, according to set research methodology carried out under supervision of an advisor. การคน้ คว้าอสิ ระ มคี ่าเทียบเท่า 6 หนว่ ยกติ (Independent Study) การศึกษาเฉพาะบุคคลที่เก่ียวเน่ืองกับการอนุรักษ์และการปรับปรุงสถาปัตยกรรม ท่ีมี ความสนใจเปน็ พิเศษ โดยคำแนะนำของอาจารย์ทป่ี รกึ ษา Individual study on a topic related to architectural conservation and adaptation under supervision of advisor. การสำรวจและการบันทึกอาคาร 3(2-2-5) (Building Surveys and Documentation) เทคนิควธิ ีการ และเทคโนโลยใี นการสำรวจ การเก็บข้อมูล การจัดระเบยี บขอ้ มูลและการ เขียนแบบทางสถาปัตยกรรม ที่เก่ียวกับอาคารโบราณ และการบันทกึ สภาพอาคารเบ้ืองต้น มกี ารศึกษานอกสถานท่ี Technique and survey technology, data collection, data organization and architectural drawing of old buildings, and recording basic conditions of buildings. Field trips required. หลกั สตู รระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

P a g e | 46 262 431 การวินิจฉัยอาคาร 3(2-2-5) (Building Pathology) โครงสร้างและการก่อสรา้ งตามองค์ประกอบทางสถาปตั ยกรรม การตรวจสอบสภาพ การ เสอื่ มสภาพ รูปแบบการเสอ่ื มสภาพ และแนวทางการแกไ้ ข มีการศกึ ษานอกสถานที่ Structure and construction based on architectural components; condition assessment, damage, pattern of damage and guidance for consolidation. Field trips required. 262 432 การจัดการโครงการอนุรกั ษ์อาคารและพืน้ ทีป่ ระวัติศาสตร์ 3(3-0-6) (Conservation Management of Building and Historic Site) ทฤษฎีและหลักการบริหาร การวางแผนงานและการจัดการโครงการอนุรักษ์และการ ปรับปรุงอาคาร ตลอดจนการบริหารจัดการพ้ืนที่ประวัติศาสตร์ กลไกในวางแผนเพ่ือป้องกันความ เสียหายแก่มรดกทางสถาปัตยกรรม การวางแผนเพ่ือส่งเสริมการบริหารจัดการท่ีเอื้อต่อการดูแล รกั ษา และการซอ่ มแซมในอนาคต Theories and principles of planning and management of conservation and adaptation projects and management of historical sites; planning mechanism for preventing architectural heritage from damages, and management plan for enhancement of maintenance and future repairs. 262 433 สถาปัตยกรรมการสอดแทรกในอาคารและย่านประวตั ศิ าสตร์ 3(2-2-5) (Design Intervention for Historic Building and Setting) ทฤษฎี หลักการ และตัวอย่างการออกแบบสถาปัตยกรรมที่สอดแทรกในอาคารและย่าน ประวัติศาสตร์ ขอ้ จำกดั ในเชิงกฎหมาย บริบททางสังคมและวัฒนธรรม และการทำความเข้าใจการ ก่อรูปของอาคารและย่านประวัติศาสตร์ ที่นำไปสู่การพัฒนากระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรม อย่างมเี หตุผล สอดคลอ้ งตอ่ บริบทและความสำคัญของท่ตี ้งั Theories, principles and samples of design intervention for historic building and setting; limitations from regulations and social and cultural contexts, and understanding building and site morphology leading to development of rational architectural process responsive to contexts and significances of the site. หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร

P a g e | 47 262 434 เทคนคิ งานชา่ งอนุรักษส์ ถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Craft Techniques for Architectural Conservation) เทคนิควิธีการของงานช่างในรูปแบบต่าง ๆ ช่างไม้ ช่างปูน ช่างโลหะ ช่างสี และช่างสิบ หมู่ เพ่อื การบูรณะซอ่ มแซม และปฏิสังขรณอ์ าคาร Techniques and methods of craftsmanship such as carpenter, mason, metalworker, painter, and the ten divisions of traditional Thai Crafts for repair and restoration. 262 440 สถาปัตยกรรมไทยเฉพาะกิจ 3(3-0-6) 262 441 262 442 (Thai Architecture for Specific Events) ประวัติความเป็นมา รูปแบบการใช้สอยของสถาปัตยกรรม วิธีการก่อสร้าง และ ส่วนประกอบอ่ืน ๆ ทส่ี รา้ งข้นึ สำหรับใช้ในพิธกี ารเฉพาะกจิ ประเภทเมรุ พลับพลา ปะรำพิธี History, styles, functions, construction methods and decorative elements of Thai architecture built for single specific event and subsequently taken down after having served its purpose, such as cremation pavilions, royal stands and other ceremonial structures. ลวดลายและการขยายแบบในงานสถาปัตยกรรมไทย 3(2-2-5) (Decorative Thai Architectural Ornaments and Detail Drawing) ข้ันตอนตลอดจนปฏิบัติการเขียนแบบลวดลายและรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมใน ลักษณะต่าง ๆ เพ่ือความสมบูรณ์ของการพัฒนาแนวความคิดในการออกแบบและใช้เปน็ สื่อในการ แสดงออกซ่ึงระบบวธิ ีการก่อสรา้ งและงานประดับตกแต่ง Traditional decorative designs of Thai architectural ornaments; exercises in drawing various details in the process of design development and expression of construction techniques and ornamentation. ปฏิบัติการอนรุ ักษ์สถาปัตยกรรม 3(0-6-3) (Conservation Practice) ปฏิบัติการศึกษาภาคสนามโครงการอนุรักษ์และปรับปรุงอาคารประวัติศาสตร์ จาก โครงการตัวอย่าง มีการศึกษานอกสถานท่ี Practice in conservation and adaptation of historical building from scase studies. Field trips required. หลักสตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

P a g e | 48 262 443 มรดกวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ 3(3-0-6) 262 510 262 511 (Folk Cultural Heritage) ทฤษฎีและกรอบแนวคิดมรดกวัฒนธรรมท้องถ่ิน การลงพื้นท่ีศึกษา วิธีการเก็บข้อมูล มรดกวัฒนธรรมท้องถ่ิน การให้คุณค่า การออกแบบแนวทางเพื่อการอนุรักษ์และการปรับปรุง สถาปัตยกรรม และการปรับเปล่ียนการใช้สอยของอาคารตามกระบวนการทางวัฒนธรรม และ ประเพณี Theories and framework of folk cultural heritage; site survey, collection of folk cultural heritage data; definitions of values; design guidance for conservation, adaptation, and reuse through evolution of cultural process and tradition. วิธีวจิ ยั 3(3-0-6) (Research Methodology) เงื่อนไข: นกั ศกึ ษาแผน ก แบบ ก 1 วดั ผลการศึกษาเปน็ S หรอื U นกั ศึกษาแผน ก แบบ ก 2 วัดผลการศกึ ษาเปน็ คา่ ระดบั วิ ธี ก า ร แ ล ะ ตั ว แ บ บ ก า ร วิ จั ย เพื่ อ น ำ ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ กั บ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ วิ ธี วิ จั ย งา น ประวตั ิศาสตร์สถาปตั ยกรรม การอนุรกั ษส์ ถาปตั ยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย Methods, research models, and their applications for carrying out investigations in history of architecture and related arts as well as architectural conservation and Thai architecture. สัมมนาวพิ ากษท์ ฤษฎี 3(3-0-6) (Seminar in Critical Theories) เงอ่ื นไข: นกั ศกึ ษาแผน ก แบบ ก 1 วัดผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U นักศกึ ษาแผน ก แบบ ก 2 วัดผลการศึกษาเปน็ คา่ ระดบั สัมมนาเกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ และแนวคิดต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม สถาปตั ยกรรมไทย และการอนรุ กั ษอ์ าคารทางประวตั ศิ าสตร์ Discussion of theories, principles, and concepts pertaining to history of architecture, Thai architecture and conservation of historic buildings. หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook