P a g e | 49 262 531 ประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมสมยั สุโขทยั -อยุธยา 3(3-0-6) 262 532 (History of Architecture the During Sukhothai and Ayutthaya Periods) คติ แนวคิด ลักษณะเฉพาะของการวางผัง รูปแบบ โครงสร้าง และองค์ประกอบทาง สถาปัตยกรรม บทบาทหน้าท่ี และพัฒนาการของงานสถาปัตยกรรมไทยประเภทพุทธศาสนาคาร ท่ีเป็นทั้ง เจดีย์ ปรางค์ มณฑป อุโบสถ วิหาร และอ่ืน ๆ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับศิลปสถาปัตยกรรมไทย ในชว่ งสมัยสุโขทัยจนถงึ อยธุ ยาตอนปลาย (พุทธศตวรรษท่ี 19-24) มีการศกึ ษานอกสถานที่ Ideologies, concepts, building layouts, styles, structures and architectural components of architecture in Thailand; role and development of Buddhist buildings and structures, such as stupas, prangs, mandapas, ordination halls, and viharas, in connection with developments in Thai art and architecture during the periods of Sukhothai and Ayutthaya (14th to 19th centuries.) Field trips required. ประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมสมัยรตั นโกสินทร์ 3(3-0-6) (History of Architecture During the Rattanakosin Period) สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 จนถึงรัชกาลท่ี 8 สุนทรียภาพ และอดุ มคติแห่งยุคสมยั รวมทั้งสภาพสงั คมวัฒนธรรมและแนวความคดิ ท่ีส่งผลต่อการสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอิทธิพลจากอารยธรรมอยุธยา จีน และอารยธรรมใหม่จากตะวันตก และวิถีชีวติ ที่สะท้อนในตัวสถาปัตยกรรม ผ่านการวิเคราะห์ผังพื้น รูปลักษณ์ องค์ประกอบ วัสดุ และการก่อสร้างของอาคารประเภทต่าง ๆ วัด พระราชวัง บ้านพักอาศัย อาคารสาธารณะ และ อาคารราชการ Architecture of Rattanakosin period from the reign of King Rama I to King Rama VIII; aesthetic values and ideologies; socio-cultural conditions and ideals affecting the creation of architecture especially those influenced by Ayutthaya, Chinese and Western civilizations; lifestyles reflected in the works of architecture through analysis of plans, styles, components, materials and construction of various building types: temples, palaces, residences, public and government buildings. หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 50 262 535 การสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม 3(0-6-3) 262 538 (Architectural Reconstruction) สันนิษฐานรูปแบบด้ังเดิมของโบราณสถาน ด้วยการใช้องค์ความรู้และหลักวิชาทาง ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ใช้กระบวนการเก็บข้อมูลและบันทึกจากสถานที่ตั้งด้วยเทคโนโลยี และการประมวลผลที่ทนั สมยั มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Reconstructive modeling of original forms of ancient buildings using knowledge and principles of architectural history; procedure of collecting and documenting on-site architectural data with technology and modern processing. Field trips required. การศึกษารายบคุ คล 3(0-6-3) (Individual Study) เลือกศึกษาและค้นคว้าในเร่ืองที่สนใจเป็นพิเศษในขอบเขตท่ีเก่ียวข้องกับประวัติศาสตร์ สถาปตั ยกรรม หรอื การอนรุ ักษส์ ถาปัตยกรรม Individual undertaking to study a topic of special interest concerning history of architecture or architectural conservation. หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 51 รายละเอียดของหลักสตู ร หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าประวตั ิศาสตร์สถาปตั ยกรรม (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ชือ่ หลกั สูตร ภาษาไทย หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาประวตั ิศาสตร์สถาปตั ยกรรม ภาษาอังกฤษ Master of Arts Program in History of Architecture ช่อื ปริญญาและสาขาวิชา ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัตศิ าสตร์สถาปตั ยกรรม) Master of Arts (History of Architecture) ชื่อเต็มภาษาไทย ศศ.ม. (ประวตั ศิ าสตร์สถาปตั ยกรรม) ช่ือเตม็ ภาษาอังกฤษ M.A. (History of Architecture) ชือ่ ยอ่ ภาษาไทย ช่ือยอ่ ภาษาองั กฤษ วชิ าเอก ไม่มี จำนวนหนว่ ยกิตทเี่ รยี นตลอดหลกั สูตร แผน ก แบบ ก 1 มคี า่ เทียบเทา่ 36 หน่วยกติ แผน ก แบบ ก 2 ไมน่ ้อยกว่า 36 หน่วยกิต แผน ข ไมน่ ้อยกวา่ 36 หน่วยกติ อาชีพทส่ี ามารถประกอบได้หลังสำเรจ็ การศึกษา 1. นักวิจยั ด้านประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรมหรือการอนรุ ักษ์สถาปัตยกรรมในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 2. ผูส้ อนในสถาบนั อดุ มศกึ ษา 3. นักอนรุ กั ษ์สถาปตั ยกรรม 4. นักวชิ าการท่ีเก่ียวข้องกับประวตั ศิ าสตร์สถาปัตยกรรมหรอื การอนรุ กั ษ์สถาปัตยกรรม 5. นักวิชาการอิสระ 6. วิชาชีพอนื่ ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เช่น นักเขยี นสารคดี เป็นต้น การเทยี บโอนหน่วยกติ รายวิชาและการลงทะเบยี นเรยี นข้ามมหาวทิ ยาลัย เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลยั ศิลปากร ว่าด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ทีม่ กี ารเปล่ียนแปลงภายหลงั โครงสรา้ งหลกั สูตร แบ่งเป็น 3 แผนการศกึ ษา ดงั นี้ 3 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 1 36 หน่วยกิต หมวดวชิ าบงั คบั (ไม่นบั หน่วยกิต) 36 หน่วยกิต วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเทา่ จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตร หลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 52 แผน ก แบบ ก 2 หมวดวชิ าบังคับ 6 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าเลอื ก ไม่น้อยกวา่ 18 หน่วยกิต วทิ ยานิพนธ์ มคี า่ เทยี บเท่า 12 หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมน่ ้อยกวา่ 36 หนว่ ยกติ แผน ข หมวดวิชาบังคับ 6 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าเลอื ก ไมน่ อ้ ยกวา่ 24 หนว่ ยกิต การค้นคว้าอสิ ระ มคี ่าเทยี บเทา่ 6 หน่วยกิต จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกว่า 36 หน่วยกิต หมายเหตุ นักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 และแผน ก แบบ ก 2 ไม่มีการสอบประมวลความรู้ แต่นักศึกษาแผน ข มีการ สอบประมวลความรู้ ภายหลังจากทไ่ี ด้เรียนและผา่ นรายวิชาบงั คับและเง่อื นไขของรายวิชาทั้งหมด รายวิชา หมวดวชิ าพืน้ ฐาน จำนวน 3 หนว่ ยกิต (ไมน่ ับหนว่ ยกิต และ วัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U) สำหรับนักศึกษาที่ขาดพ้ืนฐานในการทำความเข้าใจแบบทางสถาปัตยกรรม ต้องลงทะเบียนรายวิชา ดังตอ่ ไปนี้ 262 400 การเขยี นแบบสถาปตั ยกรรมไทย 3*(0-6-3) (Delineations in Thai Architecture) (1) แผน ก แบบ ก 1 มีคา่ เทยี บเท่า 36 หนว่ ยกิต 1) หมวดวิชาบงั คบั จำนวน 3 หนว่ ยกติ (ไม่นบั หน่วยกติ และ วดั ผลการศึกษาเปน็ S หรือ U) 262 538 การศกึ ษารายบุคคล 3*(0-6-3) (Individual Study) 2) วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเท่า) 36 หนว่ ยกิต 262 520 วิทยานพิ นธ์ มคี ่าเทยี บเท่า 36 หนว่ ยกิต (Thesis) (2) แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข รวมแลว้ ตลอดหลักสตู ร ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกิต 1) หมวดวิชาบงั คบั จำนวน 6 หนว่ ยกติ 262 510 วิธีวจิ ยั 3(3-0-6) (Research Methodology) 262 511 สมั มนาวิพากษท์ ฤษฎี 3(3-0-6) (Seminar in Critical Theories) หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาทลี่ งทะเบยี นเรยี นโดยไมน่ บั หน่วยกิต และวดั ผลการศึกษาเปน็ S หรอื U หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 53 2) หมวดวิชาเลือก แผน ก แบบ ก 2 จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต และ แผน ข จำนวนไม่น้อย กว่า 24 หน่วยกิต กลุ่มวชิ าประวัตศิ าสตร์สถาปัตยกรรม 262 440 สถาปัตยกรรมไทยเฉพาะกจิ 3(3-0-6) (Thai Architecture for Specific Events) 262 530 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมกอ่ นสมยั สุโขทัย 3(3-0-6) (History of Pre-Sukhothai Architecture) 262 531 ประวัติศาสตรส์ ถาปัตยกรรมสมยั สุโขทัย-อยุธยา 3(3-0-6) (History of Architecture During Sukhothai and Ayutthaya Periods) 262 532 ประวตั ศิ าสตร์สถาปตั ยกรรมสมยั รตั นโกสินทร์ 3(3-0-6) (History of Architecture During Rattanakosin Period) 262 533 ววิ ัฒนาการพุทธสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Evolution of Buddhist Architecture) 262 534 สถาปตั ยกรรมยคุ สมยั ใหม่ในสยาม 3(2-2-5) (Modern Architecture in Siam) 262 535 การสนั นษิ ฐานรปู แบบสถาปัตยกรรม 3(0-6-3) (Architectural Reconstruction) 262 536 ไทยศกึ ษา 3(3-0-6) (Thai Studies) 262 537 การเมือง เศรษฐกจิ สงั คมในสถาปตั ยกรรมไทยร่วมสมัย 3(3-0-6) (Politics, Economy, Society in Contemporary Thai Architecture) 262 538 การศึกษารายบคุ คล 3(0-6-3) (Individual Study) 262 539 การวจิ ยั และการเผยแพร่ประวตั ิศาสตรส์ ถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Research and Dissemination of Architectural History) กลมุ่ วิชาอนรุ กั ษส์ ถาปตั ยกรรมและชมุ ชน 262 540 การอนุรกั ษอ์ าคารทางประวัติศาสตรแ์ ละโบราณสถานในประเทศไทย 3(2-2-5) (Conservation of Historic Buildings and Ancient Monuments in Thailand) 262 541 การอนรุ ักษย์ ่านและชมุ ชนประวตั ศิ าสตร์ในประเทศไทย 3(2-2-5) (Conservation of Historic Sites and Settlements in Thailand) 262 542 การวนิ ิจฉัยการเสือ่ มสภาพของโบราณสถานและอาคารประวตั ศิ าสตร์ 3(3-0-6) (Building Diagnostics of Ancient Monuments and Historic Buildings) 262 543 การอนรุ ักษ์วัสดุในโบราณสถานในประเทศไทย 3(3-0-6) (Conservation of Materials in Ancient Monuments in Thailand) 262 544 การปรบั ปรุงอาคารประวตั ิศาสตรใ์ นบริบทใหม่ 3(2-2-5) (Rehabilitation of Historic Buildings in New Context) 262 545 การอนรุ ักษส์ ถาปตั ยกรรมในระดับสากล 3(2-2-5) (Architectural Conservation at International Level) หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 54 กลุ่มวชิ าสถาปตั ยกรรมเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ 262 546 วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในประเทศไทยและเอเชียตะวนั ออก 3(3-0-6) เฉียงใต้ (Culture and Vernacular Architecture in Thailand and Southeast Asia) 262 547 สถาปัตยกรรมยคุ ต้นถงึ ยุคทองของอทิ ธิพลอินเดยี ในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 3(3-0-6) (Architecture of Early to Golden Periods of Indian Influences in Southeast Asia) 262 548 สถาปตั ยกรรมยุคสะทอ้ นความเป็นทอ้ งถน่ิ ถึงยคุ อาณานคิ มตะวนั ตกใน 3(3-0-6) เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Architecture of Indigenization to Western Colonization Periods in Southeast Asia) 262 549 ศาสนา ความเชอื่ และวัฒนธรรมทสี่ ่งผลต่อสถาปัตยกรรมในเอเชยี 3(3-0-6) ตะวันออกเฉยี งใต้ (Religions, Beliefs, and Culture Influencing Architecture in Southeast Asia) นอกจากรายวิชาดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาสามารถเลือกเรียนจากทุกรายวิชาในหลักสูตรของ สาขาวชิ าอ่ืน ๆ ทบ่ี ณั ฑิตวิทยาลยั เปดิ สอนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรกึ ษา 3) วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 12 หน่วยกติ สำหรบั แผน ก แบบ ก 2 262 521 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเทา่ 12 หน่วยกิต (Thesis) 4) การคน้ คว้าอสิ ระ (มีค่าเทยี บเทา่ ) 6 หน่วยกติ สำหรบั แผน ข 262 522 การค้นควา้ อิสระ มีคา่ เทยี บเทา่ 6 หนว่ ยกติ (Independent Study) หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
แผนการศึกษา P a g e | 55 แผน ก แบบ ก 1 จำนวนหน่วยกิต รหัสวชิ า ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 (บ-ป-น) ช่ือรายวิชา 3*(0-6-3) - 262 538 การศกึ ษารายบคุ คล รหสั วชิ า จำนวนหนว่ ยกติ รวมจำนวน (บ-ป-น) ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 12 ชื่อรายวชิ า 12 262 520 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี ่าเทียบเท่า) จำนวนหน่วยกติ รหัสวิชา (บ-ป-น) รวมจำนวน 12 ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 12 ช่ือรายวชิ า จำนวนหน่วยกติ 262 520 วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) (บ-ป-น) รหัสวิชา รวมจำนวน 12 ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 2 12 ช่อื รายวชิ า 262 520 วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ *หมายถึง รายวิชาทเ่ี รียนโดยไม่นับหนว่ ยกิต หลักสูตรระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
แผน ก แบบ ก 2 P a g e | 56 รหัสวชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 จำนวนหนว่ ยกิต ช่ือรายวิชา (บ-ป-น) 3(3-0-6) 262 511 สัมมนาวพิ ากษ์ทฤษฎี 9 รหสั วิชา วิชาเลอื ก 12 รวมจำนวน จำนวนหน่วยกิต ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (บ-ป-น) ช่ือรายวิชา 3(3-0-6) 9 262 510 วธิ วี จิ ยั รวมจำนวน 12 วชิ าเลอื ก ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ชือ่ รายวชิ า จำนวนหนว่ ยกิต รหัสวิชา (บ-ป-น) 6 262 521 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี ่าเทียบเทา่ ) 6 รหสั วิชา รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 (บ-ป-น) ชือ่ รายวชิ า 6 6 262 521 วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
แผน ข P a g e | 57 รหัสวชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกิต ชือ่ รายวชิ า (บ-ป-น) 3(3-0-6) 262 511 สมั มนาวพิ ากษ์ทฤษฎี 9 รหสั วิชา วิชาเลอื ก 12 รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 (บ-ป-น) ชื่อรายวิชา 3(3-0-6) 9 262 510 วธิ ีวจิ ยั รวมจำนวน 12 วชิ าเลอื ก ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ช่ือรายวชิ า จำนวนหนว่ ยกติ รหัสวิชา (บ-ป-น) 6 วชิ าเลือก รวมจำนวน 6 รหสั วิชา ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ชื่อรายวชิ า จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) 262 522 การคน้ คว้าอสิ ระ (มีค่าเทียบเท่า) 6 รวมจำนวน 6 หลักสตู รระดับบัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 58 คำอธบิ ายรายวิชา 262 400 การเขียนแบบสถาปตั ยกรรมไทย 3(0-6-3) (Delineations in Thai Architecture) เงอ่ื นไข : วดั ผลการศึกษาเปน็ S หรอื U เขียนแบบสถาปัตยกรรมไทยประเภทต่าง ๆ รูปแบบ โครงสร้าง และองค์ประกอบท่ี เก่ยี วขอ้ งกบั รายละเอยี ดในการก่อสรา้ ง Drafting exercises on various types of Thai architectural components, decorative ornaments, structures, and construction details. 262 440 สถาปตั ยกรรมไทยเฉพาะกิจ 3(3-0-6) (Thai Architecture for Specific Events) ประวัติความเป็นมา รูปแบบการใช้สอยของสถาปัตยกรรม วิธีการก่อสร้าง และ ส่วนประกอบอ่ืน ๆ ท่สี รา้ งขนึ้ สำหรบั ใชใ้ นพิธกี ารเฉพาะกิจประเภทเมรุ พลบั พลา ปะรำพิธี มีการศกึ ษานอกสถานที่ History, styles, functions, construction methods, and decorative elements of Thai architecture built temporarily for a specific event, such as cremation pavilions, royal stands, and other ceremonial structures. Field trips required. 262 510 วธิ วี จิ ัย 3(3-0-6) (Research Methodology) วิ ธี ก า ร แ ล ะ ตั ว แ บ บ ก า ร วิ จั ย เพื่ อ น ำ ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ วิ ธี วิ จั ย ง า น ประวัติศาสตร์สถาปตั ยกรรม การอนรุ ักษ์สถาปัตยกรรม และสถาปตั ยกรรมไทย Methods, research models, and their applications for carrying out research in history of architecture, architectural conservation, and Thai architecture. 262 511 สมั มนาวิพากษท์ ฤษฎี 3(3-0-6) (Seminar in Critical Theories) สัมมนาเก่ียวกับทฤษฎี หลักการ และแนวคิดต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ สถาปตั ยกรรม สถาปัตยกรรมไทย และการอนรุ ักษ์อาคารทางประวัตศิ าสตร์ Discussion of theories, principles, and concepts pertaining to history of architecture, Thai architecture, and conservation of historic buildings. หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 59 262 520 วิทยานิพนธ์ มคี ่าเทยี บเทา่ 36 หน่วยกติ 262 521 262 522 (Thesis) 262 530 โครงการเฉพาะบุคคลที่มีเน้ือหาตามกลุ่มวิชาเลือกที่กำหนดไว้ในหลักสูตร คือ ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน และสถาปัตยกรรมเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้ ภายใต้การดแู ลของอาจารย์ท่ีปรกึ ษา Individual undertaking to research on a topic concerning history of architecture, architecture and urban conservation, and architecture of Southeast Asia under the supervision of a thesis advisor. วิทยานพิ นธ์ มีค่าเทียบเท่า 12 หนว่ ยกติ (Thesis) โครงการเฉพาะบุคคลที่มีเน้ือหาตามกลุ่มวิชาเลือกท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตร คือ ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน และสถาปัตยกรรมเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต้ ภายใต้การดแู ลของอาจารย์ท่ีปรกึ ษา Individual undertaking to research on a topic concerning history of architecture, architecture and urban conservation, and architecture of Southeast Asia under the supervision of a thesis advisor. การค้นควา้ อสิ ระ มคี ่าเทียบเทา่ 6 หนว่ ยกิต (Independent Study) การค้นคว้าอิสระเฉพาะบุคคลที่มีเนื้อหาตามกลุ่มวิชาเลือกที่กำหนดไว้ในหลักสูตร คือ ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชน และสถาปัตยกรรมเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ภายใต้การดแู ลของอาจารย์ทป่ี รกึ ษา Independent undertaking to study a topic concerning history of architecture, architecture and urban conservation, and architecture of Southeast Asia under the supervision of an advisor. ประวัติศาสตร์สถาปตั ยกรรมกอ่ นสมัยสุโขทยั 3(3-0-6) (History of Pre-Sukhothai Architecture) รูปแบบลักษณะเฉพาะและท่ีมาของสถาปัตยกรรม การวางผัง วิธีการก่อสร้าง สถาปัตยกรรม ประติมากรรมและปรัชญาของรูปแบบสถาปัตยกรรมท่ีเกี่ยวข้อง ก่อนพุทธ ศตวรรษที่ 19 รวมทั้งสถาปตั ยกรรมไทยทีไ่ ด้รบั อิทธพิ ลศลิ ปะแบบต่าง ๆ จากนอกประเทศ มีการศึกษานอกสถานท่ี Styles, origins, philosophy, layouts, construction techniques, and sculptural elements of architecture before 14 th century in Thailand; special characteristics of foreign art, and influence on Thai architecture. Field trips required. หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 60 262 531 ประวตั ิศาสตร์สถาปตั ยกรรมสมัยสุโขทัย-อยุธยา 3(3-0-6) 262 532 (History of Architecture During Sukhothai and Ayutthaya Periods) คติ แนวคิด ลักษณะเฉพาะของการวางผัง รูปแบบ โครงสร้าง และองค์ประกอบทาง สถาปตั ยกรรม บทบาทหน้าท่ี และพฒั นาการของงานสถาปตั ยกรรมไทยประเภทพุทธศาสนาคาร ที่ เป็นทั้ง เจดีย์ ปรางค์ มณฑป อุโบสถ วิหาร และอื่น ๆ ซึ่งเก่ียวเน่ืองกับศิลปสถาปัตยกรรมไทย ในชว่ งสมัยสุโขทัยจนถึงอยุธยาตอนปลาย (พทุ ธศตวรรษที่ 19-24) มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Ideologies, concepts, building layouts, styles, structures and architectural components of architecture in Thailand; role and development of Buddhist buildings and structures, such as stupas, prangs, mandapas, ordination halls, and viharas, in connection with developments in Thai art and architecture during the periods of Sukhothai and Ayutthaya (14th to 19th centuries) Field trips required. ประวัตศิ าสตรส์ ถาปัตยกรรมสมัยรตั นโกสนิ ทร์ 3(3-0-6) (History of Architecture During Rattanakosin Period) สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 จนถึงรัชกาลท่ี 8 สุนทรียภาพ และอุดมคติแห่งยุคสมัย สภาพสังคมวัฒนธรรมและแนวความคิดที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรม อิทธพิ ลจากอารยธรรมอยุธยา จนี และอารยธรรมใหมจ่ ากตะวันตก และวิถชี ีวิตท่ี สะท้อนในตัวสถาปัตยกรรม ผ่านการวิเคราะห์ผังพื้น รูปลักษณ์ องค์ประกอบ วัสดุ และการ ก่อสร้างของอาคารประเภทต่าง ๆ วัด พระราชวัง บ้านพักอาศัย อาคารสาธารณะ และอาคาร ราชการ Architecture of the Rattanakosin period from the reigns of King Rama I to King Rama VIII; aesthetic values and ideologies; socio-cultural conditions and ideals affecting the creation of architecture; influence of Ayutthaya, Chinese and Western civilizations; ways of life reflected in the works of architecture through analysis of plans, styles, components, materials and construction of various building types: temples, palaces, residences, public and government buildings. หลักสูตรระดับบัณฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 61 262 533 วิวฒั นาการพทุ ธสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) 262 534 262 535 (Evolution of Buddhist Architecture) กำเนดิ พุทธสถาปตั ยกรรมและพัฒนาการในอินเดยี ศรีลงั กา และประเทศเพื่อนบ้านที่มี อิทธิพลต่อพุทธสถาปัตยกรรมในประเทศไทย ผังพ้ืน ผังบริเวณ และการออกแบบอุโบสถ วิหาร เจดีย์ และสังฆกิ วิหาร Origin and development of Buddhist architecture in India, Sri Lanka, and Thailand’s neighbouring countries that influence plans, layouts and designs of Buddhist architecture in Thailand including ordination halls, viharas, pagodas, and monasteries. สถาปตั ยกรรมยคุ สมัยใหมใ่ นสยาม 3(2-2-5) (Modern Architecture in Siam) สถาปัตยกรรมใหม่ภายใต้อิทธิพลตะวันตก ซึ่งเป็นผลจากการเปิดประเทศ ต้ังแต่สมัย รัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลที่ 9 สภาพสังคม วัฒนธรรมท่ีทำให้เกิดอุดมคติแห่งยุคสมัย และ สถาปัตยกรรมแบบใหม่ การวิเคราะห์ผังพ้ืน รูปแบบ วัสดุ และการก่อสร้างของอาคารประเภท ตา่ ง ๆ มีการเปรียบเทียบกับอาคารช่วงเวลาเดยี วกันในญปี่ ่นุ ตั้งแต่รัชสมัยเมจิ ไทโช และโชวะ Modern architecture under Western influence resulted from the opening of the country to the West from the reigns of King Rama IV to King Rama IX; socio-cultural conditions affecting emergence of ideology of the age and new kind of architecture; analysis of plans, styles, materials and construction of various types of buildings; comparative studies of contemporaneous buildings in Japan in the Meiji, Taisho and Showa periods. การสนั นิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม 3(0-6-3) (Architectural Reconstruction) สันนิษฐานรูปแบบด้ังเดิมของโบราณสถาน ด้วยการใช้องค์ความรู้และหลักวิชาทาง ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ใช้กระบวนการเก็บข้อมูลและบันทึกจากสถานที่ตั้งด้วยเทคโนโลยี และการประมวลผลทีท่ ันสมัย มีการศึกษานอกสถานท่ี Reconstructive modeling of original forms of ancient buildings using knowledge and principles of architectural history; procedure of collecting and documenting on-site architectural data with technology and modern processing. Field trips required. หลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 62 262 536 ไทยศกึ ษา 3(3-0-6) 262 537 262 538 (Thai Studies) 262 539 ประเพณีและวัฒนธรรมไทยในอดีตท่ีเก่ียวเน่ืองกับวิถีการดำรงชีวิต โลกทัศน์ คติความ เชื่อและศาสนา ทั้งระดับสังคมชาวบ้านและในราชสำนักตลอดจนการรับเอาอารยธรรมต่าง ๆ เข้ามาพัฒนาจนกลายเปน็ จารีตของตนเอง Thai traditions and cultures in the past associated with ways of life, worldviews, religions, and beliefs of common people and courtiers, and adaptation of influences from other civilizations. การเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คมในสถาปตั ยกรรมไทยรว่ มสมยั 3(3-0-6) (Politics, Economy, Society in Contemporary Thai Architecture) ความเปลี่ยนแปลงทางแนวคิด คติความเช่ือ และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย ท่ีเป็นผลมาจากการเปลยี่ นแปลงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม Transformations in thoughts, doctrines, and architectural styles of contemporary Thai architecture as a result of political and socio-economic changes. การศกึ ษารายบุคคล 3(0-6-3) (Individual Study) เงอ่ื นไข: นักศกึ ษาแผน ก แบบ ก 1 วดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U นักศกึ ษาแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข วัดผลการศกึ ษาเปน็ คา่ ระดับ เลือกศึกษาและค้นคว้าในเรื่องท่ีสนใจเป็นพิเศษในขอบเขตท่ีเก่ียวข้องกับประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม หรือการอนุรกั ษส์ ถาปตั ยกรรม Individual undertaking to study a topic of special interest concerning history of architecture or architectural conservation. การวจิ ยั และการเผยแพร่ประวัตศิ าสตร์สถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Research and Dissemination of Architectural History) แนวทางที่เป็นไปได้ในการวิจัย ประยุกต์ใช้ และเผยแพร่ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ท่ี นอกเหนอื ไปจากแบบแผนทางวชิ าการ Possibilities of ways in which architectural history may be researched, applied and disseminated outside the conventional academic research. หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 63 262 540 การอนุรกั ษ์อาคารทางประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณสถานในประเทศไทย 3(2-2-5) 262 541 262 542 (Conservation of Historic Buildings and Ancient Monuments in Thailand) หลักการ แนวคิด การอนุรกั ษ์โบราณสถานทั้งของไทยโบราณและหลักสากล การอนุรักษ์ โครงสร้างและวัสดขุ องโบราณสถาน สาเหตขุ องความเสื่อมของโครงสรา้ งและวสั ดุ และวิธีการแกไ้ ข โดยพื้นฐาน ตลอดจนการตรวจสภาพโบราณสถานและการทำรายงานการตรวจสภาพ มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Principles and concepts in conservation of historic buildings according to ancient Thai techniques as well as international charters and methods; conservation of structure and materials; causes of deterioration and basic interventions; inspection of buildings and documentation of physical conditions. Field trips required. การอนรุ ักษย์ า่ นและชุมชนประวตั ศิ าสตร์ในประเทศไทย 3(2-2-5) (Conservation of Historic Sites and Settlements in Thailand) หลักการบริหาร การจัดการ และกฎหมายตลอดจนระเบียบต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการ อนุรักษ์โบราณสถานและแหล่งท่ีต้ัง การอนุรักษ์โบราณสถานและสภาพโดยรอบ ตลอดจนการ อนุรักษ์ชุมชนประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ผ่านการวิเคราะห์สภาพสังคม วัฒนธรรม และ กายภาพของชุมชน มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Principles of management and legislation concerning conservation of historic places; conservation of buildings, sites, surroundings, and community settlements, based on analysis of socio-cultural factors and physical conditions. Field trips required. การวนิ จิ ฉยั การเสื่อมสภาพของโบราณสถานและอาคารประวัตศิ าสตร์ 3(3-0-6) (Building Diagnostics of Ancient Monuments and Historic Buildings) โครงสร้างและวิธีการก่อสร้างโบราณสถานและอาคารประวัติศาสตร์ สาเหตุ ปัจจัย และ ตัวการท่ีทำให้อาคารเสื่อมสภาพ รูปแบบการเส่ือมสภาพของโครงสร้างอาคารและวัสดุ และการ วนิ ิจฉยั หาสาเหตกุ ารเสื่อมสภาพของโบราณสถานและอาคารประวตั ศิ าสตร์ มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Structures and construction techniques of ancient monuments and historic buildings; causes, factors and agents causing decays; patterns of structural damage and material deterioration; and diagnosis of building decay and deterioration. Field trips required. หลกั สตู รระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 64 262 543 การอนรุ กั ษว์ สั ดุในโบราณสถานในประเทศไทย 3(3-0-6) 262 544 262 545 (Conservation of Materials in Ancient Monuments in Thailand) คุณสมบัติของวัสดุท่ีใช้ในการก่อสร้างโบราณสถานในประเทศไทย กระบวนการ เสื่อมสภาพของวัสดุเม่ือถูกนำมาใช้ในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย คุณสมบัติ ข้อดีข้อเสียของ วัสดุและวิธกี ารท่ใี ชใ้ นการอนรุ กั ษว์ ัสดุในโบราณสถานในประเทศไทย มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Properties of materials used in constructing ancient monuments in Thailand; decay mechanisms of materials under local climate; properties, advantages and disadvantages of materials and techniques used to conserve materials in ancient monuments in Thailand. Field trips required. การปรบั ปรุงอาคารประวัตศิ าสตร์ในบริบทใหม่ 3(2-2-5) (Rehabilitation of Historic Buildings in New Context) ทฤษฎีและการปฏิบัติการอนุรักษ์อาคารประวัติศาสตร์ เพื่อคน้ หากระบวนการและการ สร้างแนวทางปฏิบัติในการนำอาคารประวัติศาสตร์กลับมาใช้ในบริบทใหม่ เพื่อให้อาคารถูกใช้ งานอย่างมีประสิทธิภาพ และมีอายุการใช้งานที่ยาวนานต่อไป ด้วยการปรับอาคารให้มีพื้นที่ใช้ สอยใหมท่ ี่เหมาะสม การวิเคราะห์ศักยภาพอาคารในด้านต่าง ๆ รูปแบบทางสถาปตั ยกรรมและท่ี ว่างเดิม โครงสร้างเดิม ทางเดิน และโครงสร้างความสัมพันธ์ของอาคารกับพื้นท่ี ปัจจัยด้ าน การเมอื ง สงั คม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ และปรชั ญาของการอนุรกั ษ์อาคาร นโยบายและการปฏบิ ตั ิ วชิ าชพี การพฒั นาท่ียั่งยืน และการนำทรัพยากรกลบั มาใชใ้ หม่ Theory and practice concerning rehabilitation of historic buildings for new effective and efficient use in their changed context to prolong the life of buildings; analysis of original architectural style, space, structure, circulation, and interrelationship between buildings and spaces for determining potential uses; political, social, cultural, and economic factors relating to philosophy of conservation and policies concerning conservation practices; sustainable development and adaptive reuse of resources. การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมในระดับสากล 3(2-2-5) (Architectural Conservation at International Level) เงือ่ นไข: นักศึกษารบั ผดิ ชอบค่าใช้จา่ ยในการศกึ ษาดูงานเอง นอกเหนอื จากคา่ ลงทะเบียน การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและชุมชนในหลากหลายภูมิภาค ยุโรป อเมริกา หรือเอเชีย ผ่านการบรรยาย ทศั นศกึ ษา และปฏิบัตงิ านจรงิ ในพืน้ ท่ี มีการศกึ ษานอกสถานที่ Field trip concerning conservation of architecture and communities in parts of the world, including Europe, America and Asia; including lectures, excursions, and and onsite practical undertakings. Field trips required. หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
262 546 P a g e | 65 262 547 วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมพนื้ ถ่นิ ในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3(3-0-6) (Culture and Vernacular Architecture in Thailand and Southeast Asia) ความเกี่ยวเนื่องระหว่างวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม รูปแบบทางสังคมวัฒนธรรมและ สภาพแวดล้อมพ้ืนถ่ินเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะในด้านชีวิตความเป็นอยู่ อาชีพ ศาสนา การตัง้ ถิน่ ฐาน ศิลปะ รวมทั้งสถาปตั ยกรรมทีแ่ ตกต่างกนั ศกึ ษาวเิ คราะห์ความสัมพันธ์และ การสะท้อนกลับระหว่างสิง่ ท่ีเปน็ นามธรรมและรูปธรรม ปัจจัยทีเ่ ปน็ นามธรรม รูปแบบและรปู ทรง สถาปัตยกรรม การจัดระเบียบพื้นท่ีใช้สอย สัญลักษณ์และส่ิงประดิษฐ์พ้ืนบ้าน ท่ีปรากฏในแต่ละ ท้องถ่ินทั้งในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ความสำนึกในคุณค่าของภูมิปัญญาและงาน ออกแบบระดบั พน้ื บา้ นเหล่านนั้ มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Relations between culture and architecture; social cultural forms, and environmental factors determining the unique characteristics of everyday life, occupations, religion, human settlements, art and architecture; interrelationships and reflection between intangible and tangible, abstract factors, shapes and forms of architecture; functions and spatial identity of vernacular architecture, symbols, folk arts and inventions in Thailand and the neighbouring countries; awareness of the value of local wisdom and folk art design. Field trip required. สถาปัตยกรรมยุคตน้ ถงึ ยุคทองของอิทธิพลอนิ เดียในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 3(3-0-6) (Architecture of Early to Golden Periods of Indian Influences in Southeast Asia) สถาปัตยกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บนผืนแผ่นดินใหญ่และจักรวรรดิห มู่เกาะใน อินโดนีเซียระหว่างพุทธศตวรรษที่ 12 ถึง 18 ตั้งแต่สมัยเร่ิมการเผยแพร่อิทธิพลอินเดียจนถึงยุค ทองของศลิ ปะอินเดยี ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สถาปัตยกรรมผวิ มอญ อาระข่าน ฟูนัน เจนละ จามปา ชวากลาง เขมร และพุกาม นอกจากยังรวมถึงศิลปะและสถาปัตยกรรมของอินเดียท่ีส่ง อทิ ธพิ ลตอ่ ศลิ ปะและสถาปัตยกรรมในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Architecture of mainland and Indonesian archipelago in Southeast Asia between the 7th to 13th centuries from the early to the Golden periods of Indian influence in art and architecture; architecture of the Pyu, Mon, Arakanese, Funan, Chenla, Champa, Central Java, Khmer, and Burmese; Indian architecture and art influencing those in Southeast Asia. Field trips required. หลักสูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 66 262 548 สถาปัตยกรรมยุคสะท้อนความเป็นทอ้ งถนิ่ ถึงยุคอาณานิคมตะวันตกใน 3(3-0-6) 262 549 เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ (Architecture of Indigenization to Western Colonization Periods in Southeast Asia) สถาปัตยกรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 15 ถึง 25 สมัยการ สะท้อนความเป็นท้องถ่ินจนถึงยุคอาณานิคมของตะวันตก สถาปัตยกรรมชวาตะวันออก จามปา ตอนปลาย รวมท้ังเขมร พม่า ไทย และลาวที่ได้รับอิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทจากศรีลังกา สถาปัตยกรรมท่ีได้รับอิทธิพลศาสนาอิสลามในมาเลเซียและอินโดนีเซีย และสถาปัตยกรรมที่มี อิทธิพลตะวันตกในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มกี ารศึกษานอกสถานท่ี Architecture of Southeast Asia between the 10th to 20th centuries; local to colonial style of architecture in Eastern Java and Champa; Buddhist architecture with Sinhalese influence in Cambodia, Burma, Thailand, and Laos; architecture with Islamic influence in Indonesia and the Malay Peninsula; architecture with Western influence in Southeast Asia. Field trips required. ศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมที่สง่ ผลต่อสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) ในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (Religions, Beliefs, and Culture Influencing Architecture in Southeast Asia) ศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ทมี่ อี ิทธิพลตอ่ การออกแบบ สถาปัตยกรรมในภูมิภาค เน่ืองจากสถาปัตยกรรมเป็นส่วนหน่ึงของระบบวัฒนธรรม พ้ืนท่ีว่างใน งานสถาปัตยกรรมไม่ว่าจะใช้เพ่ือเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาหรือความเชื่อหรือเพื่อการปฏิสัมพันธ์ ทางสังคมล้วนสะท้อนโลกทัศน์ของผู้สร้างและผู้อยูอ่ าศัย ศาสนา ความเชอ่ื และวัฒนธรรมท้ังท่ี เป็นของด้ังเดิมในภูมิภาคและที่รับอิทธิพลจากภายนอก ระบบทางสังคม ระบบความเชื่อและ ศาสนา รวมไปถึงแนวความคิดเรื่อง นำ้ ภูเขา จกั รวาล และสมมตุ เิ ทพ มกี ารศึกษานอกสถานที่ Religions, beliefs, and culture in Southeast Asia that influence architectural designs in the region; Architecture as a cultural system; symbolic religious spaces and spaces for social interactions reflecting worldviews of their builders and inhabitants, local traditions and foreign influences, social systems, beliefs and religious systems, and cosmological concepts of water, mountain, universe and divinity. Field trips required. หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 67 รายละเอยี ดของหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจัดการโครงการก่อสร้าง (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ชือ่ หลกั สูตร หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการโครงการก่อสรา้ ง ภาษาไทย Master of Science Program in Construction Project Management ภาษาอังกฤษ ช่อื ปริญญาและสาขาวิชา วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต (การจดั การโครงการก่อสรา้ ง) ชอ่ื เต็มภาษาไทย Master of Science (Construction Project Management) ชอื่ เต็มภาษาอังกฤษ วท.ม. (การจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง) ชื่อยอ่ ภาษาไทย M.Sc. (Construction Project Management) ชอ่ื ย่อภาษาองั กฤษ วชิ าเอก ไมม่ ี จำนวนหน่วยกิตทเี่ รยี นตลอดหลกั สตู ร แผน ก แบบ ก 1 มีคา่ เทียบเท่า 36 หน่วยกติ แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกวา่ 36 หนว่ ยกติ แผน ข ไม่น้อยกวา่ 36 หน่วยกิต อาชพี ท่ีสามารถประกอบได้หลงั สำเร็จการศึกษา 1. ผูบ้ รหิ ารหรอื ผู้จดั การโครงการ/โครงการก่อสรา้ ง 2. ผคู้ วบคมุ หรือหัวหน้างานกอ่ สร้าง 3. ผสู้ อนในสถาบนั อดุ มศึกษา 4. ผปู้ ระกอบการธรุ กิจก่อสรา้ ง 5. สายวิชาชีพอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการโครงการก่อสร้าง เช่น ผู้บริหารทรัพยากรอาคาร ผู้จัดการ โครงการพฒั นาอสงั หารมิ ทรัพย์ ผูท้ ่ีทำงานในบริษทั รับเหมาก่อสร้าง หรือ บริษัทบริหารและควบคุมงานก่อสร้าง หรือ บริษทั พฒั นาโครงการอสังหารมิ ทรัพย์ การเทยี บโอนหน่วยกติ รายวชิ า และการลงทะเบยี นเรียนขา้ มมหาวิทยาลยั เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ทมี่ ีการเปลย่ี นแปลงภายหลัง หลกั สูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 68 โครงสรา้ งหลักสูตร แบง่ เป็น 3 แผน ดังน้ี แผน ก แบบ ก 1 หมวดวชิ าพื้นฐาน (ไม่นบั หน่วยกิต) 3 หนว่ ยกิต หมวดวิชาบังคบั (ไมน่ บั หนว่ ยกิต) 3 หน่วยกติ วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 2 หมวดวิชาพนื้ ฐาน (ไมน่ บั หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต หมวดวิชาบังคับ 15 หนว่ ยกิต หมวดวชิ าเลอื ก ไม่น้อยกวา่ 9 หน่วยกิต วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเท่า) 12 หน่วยกิต แผน ข หมวดวชิ าพ้นื ฐาน (ไม่นบั หนว่ ยกิต) 3 หน่วยกิต หมวดวชิ าบังคบั 15 หน่วยกิต หมวดวิชาเลอื ก ไมน่ ้อยกว่า 15 หนว่ ยกติ การคน้ คว้าอสิ ระ (มคี า่ เทยี บเท่า) 6 หน่วยกติ หมายเหตุ 1. การสอบประมวลความรู้ แผน ก แบบ ก 1 และแผน ก แบบ ก 2 ไม่มกี ารสอบประมวลความรู้ แผน ข มีการสอบประมวลความรู้ ภายหลังจากท่ีได้เรียนและผ่านเงื่อนไขรายวิชาในหมวดวิชา บังคบั และเง่อื นไขของรายวชิ าบงั คับทั้งหมด 2. สำหรับนักศกึ ษาท่ีมีคุณวุฒิไม่ตรงที่กำหนดไว้ในคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา คณะกรรมการบริหาร หลักสูตรฯ จะพิจารณาให้นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชา 263 500 พ้ืนฐานการออกแบบและก่อสร้างอาคาร เพิ่มเติม โดยไม่นบั หนว่ ยกิต และใหแ้ สดงผลการเรียนเป็นสญั ลกั ษณ์ S หรือ U รายวิชา แผน ก แบบ ก 1 หมวดวชิ าพน้ื ฐาน (ไม่นับหน่วยกิต) จำนวน 3 หน่วยกิต 263 500 พน้ื ฐานการออกแบบและก่อสร้างอาคาร 3*(3-0-6) 3*(3-0-6) (Basic Building Design and Construction) 36 หนว่ ยกติ หมวดวิชาบงั คบั (ไมน่ บั หนว่ ยกติ ) จำนวน 3 หน่วยกติ 263 514 ระเบียบวธิ ีวิจยั ทางการจดั การโครงการก่อสรา้ ง (Research Methodology in Construction Project Management) วิทยานิพนธ์ (มคี า่ เทียบเท่า) 36 หนว่ ยกิต 263 520 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเทา่ (Thesis) หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาทีล่ งทะเบียนเรยี นโดยไม่นบั หน่วยกิต และวดั ผลการศึกษาเปน็ S หรือ U หลักสตู รระดบั บณั ฑิตศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 69 แผน ก แบบ ก 2 หมวดวิชาพ้นื ฐาน (ไม่นับหน่วยกติ ) จำนวน 3 หน่วยกิต 263 500 พืน้ ฐานการออกแบบและกอ่ สรา้ งอาคาร 3*(3-0-6) (Basic Building Design and Construction) หมวดวชิ าบังคับ จำนวน 15 หน่วยกติ 263 510 การลงทนุ อสงั หาริมทรพั ย์ 3(3-0-6) (Real Estate Investment) 263 511 การบรหิ ารจดั การเอกสารกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Construction Documentation) 263 512 การจัดการงานก่อสรา้ ง 3(3-0-6) (Construction Management) 263 513 การจดั การองค์กร 3(3-0-6) (Organization Management) 263 514 ระเบียบวธิ ีวิจัยทางการจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Research Methodology in Construction Project Management) หมวดวชิ าเลอื ก จำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 9 หน่วยกติ 263 530 ระบบสารสนเทศในการจัดการโครงการกอ่ สร้าง 3(3-0-6) (Information System in Construction Project Management) 263 531 คอมพวิ เตอรส์ ำหรับการจดั การโครงการกอ่ สร้าง 3(3-0-6) (Computer Application in Construction Project Management) 263 532 การจำลองขอ้ มลู อาคารสำหรับการจดั การโครงการกอ่ สร้าง 3(3-0-6) (Building Information Modeling for Construction Project Management) 263 533 การบรหิ ารทรพั ยส์ นิ และการจัดการทรพั ยากรอาคาร 3(3-0-6) (Property and Facility Management) 263 534 การจดั การและเทคนิคการฟืน้ ฟูและบูรณะอาคาร 3(3-0-6) (Building Refurbishment Management and Techniques) 263 535 การบูรณาการงานระบบอาคาร 3(3-0-6) (Integration of Building Systems) 263 536 การกอ่ สรา้ งแบบยงั่ ยืน 3(3-0-6) (Sustainable Construction) 263 537 ความร้เู บ้ืองตน้ ในการวจิ ัยเพือ่ การดำเนินงาน 3(3-0-6) (Introduction to Operations Research) 263 538 การจัดการคุณภาพ 3(3-0-6) (Quality Management) นอกเหนอื ไปจากรายวชิ าเลือกดงั กล่าวนแ้ี ล้ว นักศกึ ษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในหลกั สูตรอ่นื ๆ ที่บณั ฑติ วทิ ยาลัยเปิดสอนได้โดยไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรฯ หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาทล่ี งทะเบียนเรียนโดยไม่นบั หน่วยกิต และวดั ผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
263 521 วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเทา่ ) 12 หนว่ ยกติ มคี า่ เทียบเท่า P a g e | 70 วทิ ยานิพนธ์ (Thesis) 12 หน่วยกิต แผน ข 3*(3-0-6) หมวดวชิ าพนื้ ฐาน (ไมน่ บั หนว่ ยกติ ) จำนวน 3 หน่วยกติ 3(3-0-6) 263 500 พ้นื ฐานการออกแบบและก่อสรา้ งอาคาร 3(3-0-6) (Basic Building Design and Construction) 3(3-0-6) หมวดวิชาบงั คับ จำนวน 15 หน่วยกติ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 263 510 การลงทุนอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Investment) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 263 511 การบรหิ ารจดั การเอกสารก่อสรา้ ง 3(3-0-6) (Construction Documentation) 3(3-0-6) 263 512 การจดั การงานก่อสรา้ ง 3(3-0-6) (Construction Management) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 263 513 การจดั การองค์กร 3(3-0-6) (Organization Management) 263 514 ระเบยี บวธิ ีวิจัยทางการจัดการโครงการกอ่ สรา้ ง (Research Methodology in Construction Project Management) หมวดวชิ าเลือก จำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 15 หน่วยกติ 263 530 ระบบสารสนเทศในการจัดการโครงการก่อสรา้ ง (Information System in Construction Project Management) 263 531 คอมพวิ เตอรส์ ำหรับการจดั การโครงการก่อสรา้ ง (Computer Application in Construction Project Management) 263 532 การจำลองข้อมูลอาคารสำหรบั การจัดการโครงการก่อสรา้ ง (Building Information Modeling for Construction Project Management) 263 533 การบรหิ ารทรพั ย์สนิ และการจดั การทรัพยากรอาคาร (Property and Facility Management) 263 534 การจัดการและเทคนิคการฟื้นฟูและบูรณะอาคาร (Building Refurbishment Management and Techniques) 263 535 การบูรณาการงานระบบอาคาร (Integration of Building Systems) 263 536 การก่อสรา้ งแบบย่งั ยนื (Sustainable Construction) 263 537 ความรเู้ บ้อื งต้นในการวจิ ัยเพ่อื การดำเนนิ งาน (Introduction to Operations Research) หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าทลี่ งทะเบยี นเรียนโดยไมน่ ับหน่วยกิต และวดั ผลการศึกษาเป็น S หรอื U หลักสตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 71 263 538 การจัดการคณุ ภาพ 3(3-0-6) (Quality Management) นอกเหนือไปจากรายวิชาเลือกดงั กล่าวนีแ้ ล้ว นักศึกษาสามารถเลอื กเรียนรายวิชาในหลักสูตรอื่น ๆ ท่ีบัณฑิตวทิ ยาลยั เปดิ สอนได้โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรฯ การคน้ คว้าอสิ ระ (มีคา่ เทียบเทา่ ) 6 หนว่ ยกิต 263 522 การค้นคว้าอสิ ระ มคี ่าเทียบเท่า 6 หน่วยกติ (Independent Study) หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
แผนการศึกษา P a g e | 72 แผน ก แบบ ก 1 จำนวนหนว่ ยกติ รหัสวิชา ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 (บ – ป – น) ชือ่ รายวิชา 3*(3-0-6) 6 263 500 พ้นื ฐานการออกแบบและกอ่ สรา้ งอาคาร 6 263 520 วิทยานิพนธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) จำนวนหนว่ ยกติ รหัสวชิ า รวมจำนวน (บ – ป – น) ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 3*(3-0-6) ชอื่ รายวิชา 6 6 263 514 ระเบยี บวิธวี ิจัยทางการจัดการโครงการก่อสรา้ ง 263 520 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) จำนวนหน่วยกติ (บ – ป – น) รหัสวิชา รวมจำนวน 12 ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 12 ชื่อรายวชิ า จำนวนหนว่ ยกิต 263 520 วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) (บ – ป – น) รหสั วิชา รวมจำนวน 12 ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 12 ช่อื รายวิชา 263 520 วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาที่เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
แผน ก แบบ ก 2 P a g e | 73 รหัสวชิ า ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหนว่ ยกิต ชอื่ รายวิชา (บ – ป – น) 3*(3-0-6) 263 500 พืน้ ฐานการออกแบบและก่อสร้างอาคาร 3(3-0-6) 263 510 การลงทุนอสงั หารมิ ทรัพย์ 3(3-0-6) 263 511 การบรหิ ารจัดการเอกสารก่อสร้าง 6 วิชาเลอื ก 12 รหสั วชิ า รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 (บ – ป – น) ชอ่ื รายวิชา 3(3-0-6) 3(3-0-6) 263 512 การจดั การงานกอ่ สร้าง 3(3-0-6) 263 513 การจดั การองคก์ ร 3 263 514 ระเบียบวิธวี จิ ยั ทางการจัดการโครงการก่อสรา้ ง 12 วิชาเลอื ก รหัสวชิ า จำนวนหนว่ ยกติ รวมจำนวน (บ – ป – น) ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 6 ชอ่ื รายวชิ า 6 263 521 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) จำนวนหน่วยกติ รหัสวิชา รวมจำนวน (บ – ป – น) ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 6 ชื่อรายวชิ า 6 263 521 วทิ ยานพิ นธ์ (มีค่าเทยี บเทา่ ) รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวชิ าทเ่ี รยี นโดยไมน่ ับหนว่ ยกิต หลักสตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
แผน ข P a g e | 74 รหัสวชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกติ ชือ่ รายวชิ า (บ – ป – น) 3*(3-0-6) 263 500 พน้ื ฐานการออกแบบและก่อสรา้ งอาคาร 3(3-0-6) 263 510 การลงทนุ อสงั หาริมทรัพย์ 3(3-0-6) 263 511 การบรหิ ารจัดการเอกสารก่อสรา้ ง 6 วิชาเลอื ก 12 รหัสวิชา รวมจำนวน จำนวนหน่วยกติ ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 (บ – ป – น) ชอ่ื รายวชิ า 3(3-0-6) 3(3-0-6) 263 512 การจัดการงานกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) 263 513 การจัดการองค์กร 3 263 514 ระเบยี บวิธีวจิ ัยทางการจดั การโครงการก่อสรา้ ง 12 วิชาเลอื ก รหสั วิชา จำนวนหนว่ ยกิต รวมจำนวน (บ – ป – น) ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 3 ช่อื รายวิชา 3 6 263 522 การค้นควา้ อิสระ (มคี า่ เทียบเทา่ ) รหสั วิชา วิชาเลอื ก จำนวนหน่วยกติ (บ – ป – น) รวมจำนวน 3 ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 3 ช่ือรายวิชา 6 263 522 การคน้ ควา้ อสิ ระ (มคี า่ เทยี บเท่า) วิชาเลอื ก รวมจำนวน หมายเหตุ * หมายถงึ รายวิชาทเ่ี รยี นโดยไมน่ บั หน่วยกิต หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 75 คำอธิบายรายวิชา 263 500 พน้ื ฐานการออกแบบและกอ่ สรา้ งอาคาร 3(3-0-6) (Basic Building Design and Construction) เงื่อนไข : วดั ผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U พื้นฐานการออกแบบทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม การวิเคราะห์ปัญหาในงานออกแบบและ กอ่ สร้างประเภทต่าง ๆ โดยการอภิปรายและสมั มนา Fundamentals of architectural and engineering design; analyzing various types of problems in design and construction through discussions and seminars. 263 510 การลงทนุ อสังหาริมทรพั ย์ 3(3-0-6) (Real Estate Investment) ภาพรวมของธุรกิจและอุตสาหกรรมการกอ่ สร้าง พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ และการประยุกต์ใช้ การดำเนินงานโครงการอสังหาริมทรัพย์ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการและการจัดการงาน ออกแบบ ทักษะผู้ประกอบการ Overview of construction business and industry; fundamentals of economics and applications to real estate projects; project feasibility study and design management; entrepreneurial skills. 263 511 การบรหิ ารจดั การเอกสารก่อสร้าง 3(3-0-6) (Construction Documentation) ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดทำและจัดการเอกสารสัญญาที่เก่ียวข้องกับการก่อสร้าง สัญญา ประเภทต่าง ๆ การประกวดราคา การคัดเลือกผู้รับเหมา การทำและบริหารสัญญาจ้าง การพิจารณา กรณพี ิพาทในการก่อสร้าง การแกไ้ ขและขจัดข้อโต้แย้งอันเนื่องมาจากเอกสารสญั ญา มีการศึกษานอกสถานท่ี Procurement system; construction and contract documentation; types of contracts, biddings, contractor selection, contract management and dispute resolution. Field trips required. 263 512 การจดั การงานก่อสร้าง 3(3-0-6) (Construction Management) หลักการในการจัดการงานก่อสร้าง การวางแผนงาน การควบคุม และติดตามผลขอบเขตงาน ความปลอดภยั ต้นทนุ เวลา และคุณภาพ มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี Principles of managing construction: planning, controlling and monitoring construction’s scope, safety, time, cost and quality. Field trips required. หลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 76 263 513 การจดั การองค์กร 3(3-0-6) (Organization Management) ประเภทขององค์กร การพัฒนาวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เป้าหมายเชิงกลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ การจัดการองคก์ รและทรพั ยากรมนษุ ย์ Types of organizations; development of visions, missions, strategic goals, strategic objectives, strategic plans; organization and human resource management. 263 514 ระเบียบวิธวี จิ ัยทางการจัดการโครงการก่อสร้าง 3(3-0-6) (Research Methodology in Construction Project Management) เงือ่ นไข : แผน ก แบบ ก 1 วดั ผลการศึกษาเป็น S หรอื U แผน ก แบบ ก 2 และแผน ข วดั ผลการศึกษาเป็นค่าระดับ แนะนำระเบียบวิจัย วิธีดำเนินงานวิจัยเบ้ืองต้นและงานวิจัยขั้นสูง ลักษณะเฉพาะของการวิจัย ทางการจัดการโครงการก่อสร้าง การนำเสนอ การอภิปรายหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ การจัดทำโครงร่าง การวิจัย การเก็บข้อมูล เครือ่ งมือในการวิจัย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การวิเคราะห์ข้อมูล และการ ตคี วามผลการศึกษา Introduction to basic and advanced research methodologies; unique characteristics of research in construction project management; presentation and discussion on topics of interests; research proposal preparation; data gathering, research tools, information technology, data analysis, interpretation. 263 520 วิทยานิพนธ์ มีค่าเทยี บเทา่ 36 หน่วยกติ (Thesis) นักศึกษาเลือกทำวิจัยในหัวข้อท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการโครงการก่อสร้าง แสดงให้เห็นถึง ความสามารถในการคิดและวิเคราะห์ที่เป็นระบบ การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและการ ปฏิบัติ และการพิสูจน์ความน่าเช่ือถือของผลการศึกษา ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ท่ีปรึกษา วทิ ยานิพนธ์ Individual research on a topic concerning construction project management; demonstrating abilities in systematic thinking and data analysis; explaining relationships between theories and practices; presenting reliable study results under the supervision of a thesis supervisor. 263 521 วทิ ยานิพนธ์ มีคา่ เทยี บเท่า 12 หน่วยกิต (Thesis) วิชาบังคับก่อน : 263 514 ระเบียบวธิ ีวิจยั ทางการจัดการโครงการก่อสร้าง นักศึกษาเลือกทำวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการจัดการโครงการก่อสร้าง แสดงให้เห็นถึง ความสามารถในการคิดและวิเคราะห์ที่เป็นระบบ และการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและการ ปฏบิ ตั ิ ภายใตก้ ารควบคมุ ของอาจารยท์ ป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธ์ Individual research on a topic concerning construction project management; demonstrating abilities in systematic thinking and data analysis and explaining relationships between theories and practices under the supervision of a thesis supervisor. หลกั สตู รระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 77 263 522 การค้นคว้าอสิ ระ มคี า่ เทียบเทา่ 6 หนว่ ยกิต (Independent Study) วชิ าบังคบั ก่อน : 263 514 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั ทางการจดั การโครงการก่อสรา้ ง การศึกษาเฉพาะบุคคลในหัวข้อท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการโครงการก่อสร้าง แสดงให้เห็นถึง ความสามารถในการคิดทีเ่ ปน็ ระบบ ภายใต้การควบคุมของอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาการคน้ คว้าอสิ ระ Individual research on a topic concerning construction project management; demonstrating abilities in systematic thinking and data analysis under the supervision of an independent study supervisor. 263 530 ระบบสารสนเทศในการจดั การโครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Information System in Construction Project Management) แนวความคิดของระบบสารสนเทศพื้นฐาน และการประยุกต์ใช้กับกระบวนการจัดการโครงการ ก่อสร้าง การออกแบบและวางแผนระบบสารสนเทศ การควบคุมการก่อสร้าง การวิเคราะห์ รายงาน และการประเมินผลระบบ ระบบสารสนเทศเพื่อการวิเคราะห์เชิงการจัดการ และการตัดสินใจสำหรับ ผบู้ ริหาร Concepts of basic information system and practical applications to construction project management procedures; information system design and planning; construction control; system analysis, reporting and evaluation; information system for managerial analysis and executive decision-making. 263 531 คอมพิวเตอรส์ ำหรับการจดั การโครงการก่อสรา้ ง 3(3-0-6) (Computer Applications in Construction Project Management) ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับคอมพิวเตอร์สำหรับการจัดการโครงการก่อสร้าง การนำคอมพิวเตอร์มา ใช้ในกระบวนการจัดการโครงการก่อสร้างในแต่ละขั้นตอน การทดลองใช้โปรแกรมต่าง ๆ ในการ วางแผน ประเมนิ และจดั การโครงการ การเลอื กและนำโปรแกรมไปประยุกตใ์ ช้ Basic knowledge of computer applications in construction project management; use of computer technology in construction management process; examining software used in project planning, evaluation, and management; software selection and applications. 263 532 การจำลองขอ้ มูลอาคารสำหรับการจัดการโครงการกอ่ สรา้ ง 3(3-0-6) (Building Information Modeling for Construction Project Management) หลักการและทฤษฎีในการจำลองข้อมูลอาคาร (บิม) การประยุกต์ใช้บิม ในการจัดการโครงการ ออกแบบและก่อสรา้ ง และการแก้ปัญหาในกระบวนการกอ่ สรา้ ง Principles and theories of Building Information Modeling (BIM); BIM applications in design and construction project management and problem solving. หลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
P a g e | 78 263 533 การบริหารทรพั ยส์ นิ และการจัดการทรัพยากรอาคาร 3(3-0-6) (Property and Facility Management) นิยามการบริหารทรัพย์สินและการจัดการทรัพยากรอาคาร ประเภททรัพย์สิน การจัดการ ทรัพย์สินในครอบครอง บทบาทและความรับผิดชอบของผู้บริหารทรัพย์สินและผู้จัดการทรัพยากร อาคารในวงจรธุรกจิ ก่อสร้าง มีการศึกษานอกสถานที่ Definitions of property and facility management; types of properties; portfolio management; role and responsibility of property and facility managers in construction business cycle. Field trips required. 263 534 การจัดการและเทคนคิ การฟืน้ ฟูและบูรณะอาคาร 3(3-0-6) (Building Refurbishment Management and Techniques) หลักการบริหารจัดการโครงการปรับปรุงอาคาร การวิเคราะห์สภาพอาคารเดิมและความคุ้มทุน ในการปรับปรุงอาคาร ข้ันตอนและเทคนิควิธีการปรับปรุงอาคารที่ไม่ใช้งานแล้ว การประมาณการ คา่ ใช้จ่ายและงบประมาณในการปรบั ปรุง และการเสนอเทคนิควิธีการปรบั ปรุงทเี่ หมาะสม มีการศกึ ษานอกสถานที่ Principles of building refurbishment management; analyzing existing building conditions and feasibility study for refurbishnent; processes and techniques in refurbishing obsolete buildings; cost and budget estimation and refurbishing techniques proposal. Field trips required. 263 535 การบรู ณาการงานระบบอาคาร 3(3-0-6) (Integration of Building Systems) การบูรณาการเทคโนโลยีระบบอาคารต่าง ๆ ในขั้นตอนการออกแบบและก่อสร้าง ระบบกรอบ อาคาร ระบบโครงสร้าง ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ระบบสุขาภิบาล ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และไฟฟ้ากำลัง ระบบเสียง ระบบอาคารอัตโนมัติ ระบบส่ือสาร การตกแต่งภายในและภูมิ สถาปัตยกรรม ตลอดจนแนวทางและเครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการตรวจสอบระบบอาคาร มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Integration of building-system technologies in design and construction processes concerning building envelope, structural system, heating, ventilation, and air- conditioning (HVAC) systems, sanitary system, lighting and electrical system, acoustic system, building automation system, communication system, and interior and landscape design; guidelines and equipment for building system inspections. Field trips required. หลกั สตู รระดับบัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 79 263 536 การกอ่ สรา้ งแบบยั่งยืน 3(3-0-6) (Sustainable Construction) แนวทางสำหรับการจัดการโครงการก่อสร้างอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการส่งเสริม คุณภาพของสภาพแวดล้อมภายในอาคาร แนวทางการประเมินอาคารที่เป็นมิตรต่อสิง่ แวดลอ้ มของไทย และต่างประเทศ ทรีส์ และ ลีด มีการศกึ ษานอกสถานท่ี Guidelines for environmentally friendly building construction project management and indoor environmental quality improvement; Thai and international methods for rating green buildings: TREES and LEED. Field trips required 263 537 ความรเู้ บ้ืองต้นในการวิจัยเพือ่ การดำเนินงาน 3(3-0-6) (Introduction to Operations Research) ความรู้เบ้ืองต้นในการวิจัยดำเนินงาน เทคนิคการจำลองทางคณิตศาสตร์เพ่ือใช้ในการตัดสินใจ เชงิ การจดั การ และการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจัดการโครงการกอ่ สรา้ ง Introduction to operations research; mathematical modeling techniques in managerial decision-making and applications for construction project management. 263 538 การจัดการคุณภาพ 3(3-0-6) (Quality Management) แนวความคิดพื้นฐานของการจัดการคุณภาพ เทคนิค การประยุกต์ใช้และวิธีการแบบต่าง ๆ ใน การจัดการคุณภาพ ปัจจัยที่มีผลกระทบทั้งภายนอกและภายในที่ส่งผลต่อกระบวนการควบคมุ คุณภาพ การจดั ทำแผนในการจัดการคุณภาพ Basic concepts of quality management; techniques, applications and alternative approaches to quality management; internal and external factors affecting quality control processes; quality management planning. หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร
P a g e | 80 รายละเอยี ดของหลักสตู ร หลักสูตรสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการออกแบบชมุ ชนเมอื ง (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2564) ช่ือหลักสตู ร หลักสตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการออกแบบชุมชนเมือง ภาษาไทย Master of Architecture Program in Urban Design ภาษาองั กฤษ ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวิชา สถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การออกแบบชุมชนเมอื ง) ช่อื เตม็ ภาษาไทย Master of Architecture (Urban Design) ชอ่ื เตม็ ภาษาองั กฤษ สถ.ม. (การออกแบบชมุ ชนเมอื ง) ชื่อย่อภาษาไทย M. Arch. (Urban Design) ชอ่ื ยอ่ ภาษาองั กฤษ วิชาเอก ไมม่ ี จำนวนหน่วยกติ ทเี่ รยี นตลอดหลักสูตร 36 หนว่ ยกติ แผน ก แบบ ก 1 มคี า่ เทียบเทา่ 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 2 จำนวน 36 หน่วยกิตภาษาองั กฤษ แผน ข ไมน่ ้อยกวา่ อาชีพท่ีสามารถประกอบไดห้ ลงั สำเร็จการศกึ ษา อาชพี ท่เี กี่ยวข้องกบั การพฒั นาเมอื งและคุณภาพสภาพแวดล้อมของชมุ ชนเมอื ง เช่น 1. นักออกแบบชมุ ชนเมือง 2. นกั วิชาการด้านชุมชนเมอื ง 3. สถาปนกิ ผงั เมือง 4. ผูส้ อนในสถาบนั การศึกษา 5. ท่ปี รกึ ษาโครงการพัฒนาชุมชนเมือง 6. นักวจิ ัย 7. ประกอบอาชพี อสิ ระดา้ นการออกแบบและพฒั นาชุมชนเมือง การเทยี บโอนหนว่ ยกติ รายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นข้ามมหาวิทยาลยั เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ท่ีมีการเปลีย่ นแปลงภายหลงั หลักสูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 81 โครงสรา้ งหลกั สตู ร หลักสูตรแผน ก แบบ ก 1 ทำวิทยานิพนธ์ มคี ่าเทยี บเท่า 36 หน่วยกติ 1. หมวดวชิ าบงั คับ (ไมน่ บั หน่วยกติ ) 3 หนว่ ยกติ 2. วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 36 หน่วยกติ หลักสตู รแผน ก แบบ ก 2 ศกึ ษารายวิชา และทำวทิ ยานิพนธ์ รวมจำนวน 36 หนว่ ยกติ 1. หมวดวิชาบังคับ (ไมน่ ับหน่วยกิต) 3 หนว่ ยกติ 2. หมวดวิชาบงั คบั 24 หน่วยกิต 3. วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 12 หน่วยกิต หลักสูตรแผน ข ศึกษารายวิชา และทำการค้นคว้าอิสระ รวมจำนวนไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และต้องทำ การสอบประมวลความรู้ เมอื่ มหี น่วยกิตสะสมไม่นอ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกติ 1. หมวดวชิ าบงั คบั 27 หนว่ ยกิต 2. หมวดวิชาเลือก ไมน่ ้อยกวา่ 3 หนว่ ยกิต 3. การค้นคว้าอสิ ระ (มคี า่ เทยี บเท่า) 6 หนว่ ยกิต รายวิชา แผน ก แบบ ก 1 หมวดวชิ าบงั คับ (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) จำนวน 3 หน่วยกติ 264 510 สัมมนาการวิจยั ในงานออกแบบชมุ ชนเมือง 3*(3-0-6) (Urban Design Research Seminar) 36 หน่วยกติ วิทยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) 36 หน่วยกิต 3*(3-0-6) 264 520 วทิ ยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเทา่ 3(3-0-6) 3(3-0-6) (Thesis) 3(3-0-6) 3(2-2-5) แผน ก แบบ ก 2 3(2-2-5) 3(0-6-3) หมวดวชิ าบังคับ (ไมน่ บั หน่วยกิต) จำนวน 3 หนว่ ยกติ 6(0-12-6) 264 510 สัมมนาการวิจัยในงานออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design Research Seminar) หมวดวิชาบังคับ จำนวน 24 หนว่ ยกิต 264 511 ทฤษฎกี ารออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design Theories) 264 512 สัมมนากระบวนการออกแบบชุมชนเมอื ง (Urban Design Process Seminar) 264 513 อนาคตของเมอื ง (Future of City) 264 514 ขอ้ มลู และเคร่ืองมอื การวิเคราะห์เพื่อการออกแบบชุมชนเมอื ง (Data and Analytical Tools for Urban Design) 264 515 ข้อมลู มหัตและดจิ ทิ ัลเทคโนโลยีเพ่ือการออกแบบชมุ ชนเมือง (Big Data and Digital Technology in Urban Design) 264 517 ปฏบิ ตั ิการการออกแบบชมุ ชนเมอื งข้ันพ้ืนฐาน (Fundamental Urban Design Studio) 264 518 ปฏบิ ตั กิ ารการออกแบบชุมชนเมืองอยา่ งสรา้ งสรรค์ (Creative Urban Design Studio) หลักสตู รระดับบัณฑิตศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 82 วิทยานพิ นธ์ (มคี ่าเทียบเท่า) 12 หนว่ ยกติ 264 521 วิทยานพิ นธ์ มคี า่ เทียบเทา่ 12 หน่วยกติ (Thesis) แผน ข หมวดวิชาบังคบั จำนวน 27 หนว่ ยกติ 264 511 ทฤษฎีการออกแบบชมุ ชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Design Theories) 264 512 สัมมนากระบวนการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Design Process Seminar) 264 513 อนาคตของเมอื ง 3(3-0-6) (Future of City) 264 514 ข้อมูลและเครอ่ื งมือการวเิ คราะหเ์ พื่อการออกแบบชุมชนเมือง 3(2-2-5) (Data and Analytical Tools for Urban Design) 264 515 ขอ้ มูลมหัตและดิจิทัลเทคโนโลยเี พ่อื การออกแบบชุมชนเมอื ง 3(2-2-5) (Big Data and Digital Technology in Urban Design) 264 516 เปดิ โลกการเรียนรเู้ พ่ือการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Open Lectures for Urban Design) 264 517 ปฏบิ ตั ิการการออกแบบชมุ ชนเมืองขนั้ พื้นฐาน 3(0-6-3) (Fundamental Urban Design Studio) 264 518 ปฏิบตั กิ ารการออกแบบชมุ ชนเมอื งอยา่ งสรา้ งสรรค์ 6(0-12-6) (Creative Urban Design Studio) หมวดวชิ าเลือก จำนวนไม่นอ้ ยกวา่ 3 หนว่ ยกิต 264 510 สัมมนาการวิจยั ในงานออกแบบชมุ ชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Design Research Seminar) 264 530 แนวทางการนำแผนไปปฏิบตั ิในการออกแบบชุมชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Design Implementation) 264 531 การศกึ ษาสณั ฐานชมุ ชนเมือง 3(3-0-6) (Study of Urban Morphology) 264 532 การศึกษาหวั ขอ้ พิเศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) การคน้ ควา้ อสิ ระ (มคี ่าเทียบเทา่ ) 6 หน่วยกิต 264 522 การคน้ ควา้ อิสระเพ่ือการออกแบบชมุ ชนเมือง มีคา่ เทยี บเทา่ 6 หน่วยกติ (Independent Urban Design Study) หลักสูตรระดบั บัณฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
แผนการศึกษา P a g e | 83 แผน ก แบบ ก 1 จำนวนหนว่ ยกติ รหสั วชิ า ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 (บ – ป – น) 264 510 3*(3-0-6) 264 520 ชอื่ รายวชิ า 15 15 รหัสวชิ า สมั มนาการวิจยั ในงานออกแบบชมุ ชนเมือง 264 520 วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) จำนวนหน่วยกิต (บ – ป – น) รหัสวิชา รวมจำนวน 15 264 520 ปที ่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 15 ชอ่ื รายวิชา จำนวนหน่วยกิต (บ – ป – น) วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 6 รวมจำนวน 6 ปที ี่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ชอื่ รายวิชา วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * รายวิชาทเี่ รยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ หลักสูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
แผน ก แบบ ก 2 P a g e | 84 รหสั วชิ า ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหนว่ ยกิต 264 511 (บ – ป – น) 264 512 ชื่อรายวชิ า 3(3-0-6) 264 513 3(3-0-6) 264 514 ทฤษฎกี ารออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) 264 517 สัมมนากระบวนการออกแบบชุมชนเมอื ง 3(2-2-5) อนาคตของเมอื ง 3(0-6-3) รหสั วชิ า ข้อมลู และเครื่องมือการวเิ คราะห์เพื่อการออกแบบชุมชนเมือง 15 264 510 ปฏบิ ัตกิ ารการออกแบบชุมชนเมอื งข้ันพื้นฐาน 264 515 จำนวนหน่วยกิต 264 518 รวมจำนวน (บ – ป – น) 264 521 ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 3*(3-0-6) 3(2-2-5) รหสั วิชา ชอื่ รายวิชา 6(0-12-6) 264 521 3 สมั มนาการวิจยั ในงานออกแบบชุมชนเมอื ง 12 รหสั วิชา ข้อมลู มหตั และดิจิทลั เทคโนโลยีเพอื่ การออกแบบชุมชนเมอื ง 264 521 ปฏบิ ัตกิ ารการออกแบบชุมชนเมอื งอย่างสร้างสรรค์ จำนวนหน่วยกติ วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทยี บเทา่ ) (บ – ป – น) 3 รวมจำนวน 3 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน จำนวนหน่วยกิต ชือ่ รายวิชา (บ – ป – น) 6 วิทยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 6 รวมจำนวน ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ชอ่ื รายวิชา วิทยานิพนธ์ (มีค่าเทยี บเท่า) รวมจำนวน หมายเหตุ * รายวิชาท่ีเรียนโดยไมน่ ับหน่วยกิต หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
แผน ข ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 P a g e | 85 ช่ือรายวิชา รหสั วิชา จำนวนหนว่ ยกิต 264 511 ทฤษฎีการออกแบบชุมชนเมอื ง (บ – ป – น) 264 512 สมั มนากระบวนการออกแบบชุมชนเมือง 3(3-0-6) 264 513 อนาคตของเมือง 3(3-0-6) 264 514 ข้อมูลและเครือ่ งมือการวิเคราะหเ์ พือ่ การออกแบบชุมชนเมอื ง 3(3-0-6) 264 517 ปฏิบตั กิ ารการออกแบบชุมชนเมอื งขัน้ พ้ืนฐาน 3(2-2-5) 3(0-6-3) รหัสวิชา รวมจำนวน 15 264 515 ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 264 516 ชื่อรายวชิ า จำนวนหนว่ ยกิต 264 518 (บ – ป – น) ข้อมลู มหตั และดจิ ทิ ลั เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบชุมชนเมือง 3(2-2-5) รหัสวิชา เปิดโลกการเรยี นร้เู พอ่ื การออกแบบชุมชนเมือง 3(3-0-6) 264 522 ปฏิบตั ิการการออกแบบชุมชนเมืองอยา่ งสร้างสรรค์ 6(0-12-6) วิชาเลือก 3 15 รวมจำนวน ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 จำนวนหน่วยกติ ช่ือรายวชิ า (บ – ป – น) 6 การคน้ ควา้ อิสระเพื่อการออกแบบชมุ ชนเมือง (มีค่าเทียบเทา่ ) 6 รวมจำนวน หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 86 คำอธบิ ายรายวชิ า 264 510 สัมมนาการวิจัยในงานออกแบบชมุ ชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Design Research Seminar) เงือ่ นไข แผน ก แบบ ก 1 และแผน ก แบบ ก 2 วดั ผลการศึกษาเป็น S หรือ U แผน ข วดั ผลการศกึ ษาเป็นคา่ ระดบั ทฤษฎีและความรู้ท่ีเกี่ยวกับการวิจัยเพ่ือการออกแบบชุมชนเมืองที่นำไปสู่การต้ังคำถาม ในการวิจัยที่สัมพันธ์กับประเด็นร่วมสมัยของเมือง รวมถึงออกแบบวิจัยเบ้ืองต้น ทั้งการวิจัยเชิง ปริมาณและคุณภาพ ระเบียบวิธีวิจัยในขั้นตอนต่าง ๆ การใช้วิธีการทางสถิติเป็นเคร่ืองมือ การ วิเคราะห์ขอ้ มลู การตีความผลการวจิ ยั และการนำผลไปใช้ Theories and knowledge applied in urban design research which lead to a crucial research questions that respond to contemporary urban scenario; basic research design; quantitative and qualitative research; methodology frameworks; basic use of statistics; data inquiry and analysis; interpretation of findings and their implications. 264 511 ทฤษฎีการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Design Theories) วิวัฒนาการ ความเคลื่อนไหว และทฤษฎีการออกแบบชุมชนเมืองต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน ปัญหา ปัจจัยและกระบวนการการออกแบบชุมชนเมือง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการปฏิบัติงาน การออกแบบ Evolutions, movements, and theories concerning urban design from past to present; issues, factors and processes involved in urban design; applications of theories in urban design. 264 512 สัมมนากระบวนการออกแบบชมุ ชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Design Process Seminar) อภิปรายหลักการ วิธีการ และกระบวนการปฏิบัติงานการออกแบบชุมชนเมือง การ คัดเลือกพ้ืนท่ีศึกษา การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์แบบแผนทางสังคมและกายภาพ การ กำหนดแนวคิดและแนวทางการออกแบบ เทคนิคการออกแบบสภาวะแวดล้อม การนำเสนองาน ออกแบบ การนำแผนไปปฏิบตั ิ และการมีสว่ นรว่ ม มกี ารศึกษาดูงานนอกสถานท่ี Discussions on principles, methods and processes of urban design practice, including site selection; data collection and analysis of socio-spatial patterns; design inquiry; techniques of environmental design; design communication; design implementation and public participation. Involves study visits. หลักสตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
P a g e | 87 264 513 อนาคตของเมือง 3(3-0-6) 264 514 264 515 (Future of City) อภิปราย คน้ ควา้ และคาดการณ์แนวโนม้ ของเมืองในอนาคตท้ังในบริบทโลกและทอ้ งถนิ่ ที่ ตอบรับกับความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คม เทคโนโลยี และวิถีชวี ิตของผู้คน ซ่ึงนำมาสู่การ สร้างโจทย์การออกแบบชมุ ชนเมืองทรี่ ่วมสมยั ในฉากทศั น์อนาคต มีการศกึ ษาดงู านนอกสถานท่ี Debates, explorations and anticipations on the future of cities in global and local contexts; influences of dynamic of socio-economic forces, technology disruptions and contemporary urban lifestyle to establish a qualiry urban design brief in futuristic scenarios. Involves study visits. ข้อมูลและเคร่อื งมอื การวิเคราะหเ์ พื่อการออกแบบชมุ ชนเมือง 3(2-2-5) (Data and Analytical tools for Urban Design) วิธีการและเคร่ืองมือในการสืบค้น เก็บข้อมูล และแนวทางการวิเคราะห์ลักษณะทาง กายภาพและสร้างความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ สังคม และพฤติกรรมมนุษย์ อันนำมาสู่การสร้าง เทคนคิ การวิเคราะห์เพ่ือการออกแบบชุมชนเมือง Procedures and tools for data inquiry, collection and analysis of physical urban elements relating to socio-economics, human behaviour; analytical techniques for urban design. ขอ้ มูลขนาดใหญ่และดิจทิ ัลเทคโนโลยีเพอ่ื การออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(2-2-5) (Big Data and Digital Technology in Urban Design) วธิ ีการและเครือ่ งมือสืบค้น เก็บขอ้ มูล และแนวทางการวิเคราะห์แหลง่ ข้อมูลข้อมูลขนาด ใหญ่ซึ่งมีความหลากหลาย และมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา การเติบโตที่รวดเร็ว โดยเฉพาะใน ระบบอินเทอเนต และอปุ กรณ์ต่าง ๆ รวมไปถงึ การเรียนร้กู ารประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีเพื่อจัดการกับ ข้อมูลต่าง ๆ เหล่าน้ีด้วยการฝึกปฏิบัติการใช้งานระบบปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ ระบบภูมิ สารสนเทศเพอ่ื ใช้ในการออกแบบและวางผงั ชุมชนเมืองในระดบั สูง Procedures and tools for data inquiry, collection and analysis of Big Data— enormous, diverse and velocity data available on the internet and devices;); applications of digital technology to manage such Big Data with computing operation and geographical information systems, leading to advanced urban design and planning. หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 88 264 516 เปิดโลกการเรยี นรเู้ พ่ือการออกแบบชุมชนเมอื ง 3(3-0-6) 264 517 264 518 (Open Lectures for Urban Design) 264 520 รวบรวมกลุ่มวิชาท่เี ปิดสอนภายในคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร หรอื อ่ืน ๆ ท่ีได้รับความร่วมมือ ซึ่งมีหัวข้อบรรยายที่ส่งเสริมความเข้าใจด้านการออกแบบชุมชนให้ นักศึกษาเลอื กเรียนตามความสนใจ และสรุปเป็นองค์ความรู้ด้านสหวทิ ยาการ Attending a series of collective open lectures (curated to individual attendance by student’s academic advisor) available in Faculty of Architecture Silpakorn University and/or collaborated organisations to establish the multi- disciplinary knowledge in urban design. ปฏิบตั ิการการออกแบบชมุ ชนเมอื งขน้ั พืน้ ฐาน 3 ( 0 -6 -3 ) (Fundamental Urban Design Studio) ป ฏิ บั ติ ก า ร อ อ ก แ บ บ ชุ ม ช น เมื อ ง ข้ั น พ้ื น ฐ า น เพ่ื อ ท ำ ค ว า ม เข้ า ใจ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง องคป์ ระกอบดา้ นกายภาพ สังคม และเศรษฐกิจของพน้ื ทแ่ี ละเมือง โดยมพี นื้ ทป่ี ฏบิ ัตกิ ารทม่ี ีข้นั ตอน ของการดำเนินงานไม่ซับซ้อน เพื่อให้เห็นภาพรวมของกระบวนการออกแบบชุมชนเมือง และ รปู แบบการออกแบบชุมชนเมอื งรปู แบบตา่ ง ๆ มีการศึกษาดูงานนอกสถานท่ี Fundamental urban design studio; basic understanding of relationship among physical, social and economic structures in public spaces and city; defining study area comprehensible to students; overall urban design process in various types and scales of projects. Involves study visits. ปฏบิ ตั กิ ารการออกแบบชุมชนเมืองอยา่ งสรา้ งสรรค์ 6(0-12-6) (Creative Urban Design Studio) ปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง โดยนักศึกษามีอิสระในการเลือกประเด็นการศึกษาท่ี สนใจตามความเชยี่ วชาญของกลุ่มอาจารย์ท่ีปรึกษา และดำเนนิ การศึกษาอย่างลึกซ้ึง โดยเน้นการ เก็บขอ้ มลู การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การสงั เคราะห์ และการเสนอหลกั การเพอ่ื การออกแบบ มีการศึกษาดงู านนอกสถานที่ Advanced urban design studio exercise on individual’s interest which is approved by mentors; deep and thorough urban design process; data collection, analysis, synthesis and alternative design solutions. Involves study visits. วทิ ยานพิ นธ์ มคี า่ เทยี บเทา่ 36 หนว่ ยกิต (Thesis) โครงการศึกษาวจิ ัยเฉพาะบุคคลในหัวข้อท่ีสนใจด้านการออกแบบชุมชนเมือง โดยความ เหน็ ชอบของอาจารยท์ ี่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ Individual research on urban design topic supported and supervised by advisor; emphasis on academic approach. หลักสูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 89 264 521 วิทยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเท่า 12 หนว่ ยกิต 264 522 264 530 (Thesis) โครงการศึกษาวิจัยเฉพาะบุคคลในหัวข้อที่สนใจด้านการออกแบบชุมชนเมือง โดยความ เหน็ ชอบของอาจารยท์ ป่ี รึกษาวทิ ยานพิ นธ์ Individual research on urban design topic supported and supervised by advisor; emphasis on academic approach. การคน้ คว้าอิสระเพ่อื การออกแบบชุมชนเมือง มคี ่าเทยี บเท่า 6 หน่วยกติ (Independent Urban Design Study) การค้นคว้าในเรื่องที่สนใจเป็นพิเศษ ด้วยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา การฝึก ปฏิบัติและแสดงความสามารถในการทำการศึกษาวิจัยทางด้านการออกแบบชุมชนเมือง โดยมี ความกระชับแตค่ รบถ้วนตามกระบวนการ และเน้นไปที่ผลลัพธ์ท่ีสร้างแนวทางการออกแบบ และ โจทยใ์ นการพัฒนาพื้นท่ี Individual study on urban design topics which is supported and supervised by advisor; comprehensive and compact research process, focusing on design principles and area development brief. แนวทางการนำแผนไปปฏบิ ตั ิในการออกแบบชมุ ชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Design Implementation) หลักการ วิธีการ และกระบวนการในการนำผลงานออกแบบ แผนการ และนโยบาย ไป ปฏิบัติให้สัมฤทธ์ผลตรงตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ ทั้งในโครงการภาครัฐและเอกชน การเลือกสรร แนวทางในการปฏิบัติการ ความเป็นไปได้ของโครงการ การจัดการองค์กร การวิเคราะห์การเงิน การลงทุน การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการมีส่วนร่วม โดยอาจมีการลงมือปฏิบัติงานจริง ในเชิง Urban intervention มกี ารศึกษาดูงานนอกสถานท่ี Principles, methods and processes for implementing urban design plans and policies; implementation approaches for public and private projects; project feasibility; project organisation and management; investment, stakeholder analysis and public participation; applying the initiatives into the practice as urban intervention. Involves study visits. หลกั สูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 90 264 531 การศึกษาสณั ฐานชุมชนเมือง 3(3-0-6) 264 532 (Study of Urban Morphology) สัณฐานชุมชนเมืองและการวิเคราะห์ผังพ้ืนจากองค์ประกอบเมืองท่ีซับซ้อนและ เปล่ียนแปลง การวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ของสัณฐานเมืองในแต่ละช่วงเวลา การช้ีให้เห็นถึงกระบวนการก่อตัว ปรับเปลี่ยน และคงอยู่ของกรอบสัณฐานเมือง กระบวนการ ทอ้ งถน่ิ ในการพฒั นารูปทรงของเมอื งซงึ่ นำไปสู่การออกแบบสภาวะแวดลอ้ มท่ีตอบสนอง Studies of urban morphology and analysis of ground plan through complex urban elements and their transformations; historico-geographical analysis of urban morphology in different periods; introduction to formations, modifications and consolidations of morphological frames; local processes of form-productions which lead to design for responsive environment. การศกึ ษาหัวขอ้ พิเศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) การออกแบบชมุ ชนเมอื ง ในเรื่องท่ีสนใจ หรือเป็นเรือ่ งทีส่ ำคัญอยูใ่ นขณะนั้น Open topic of special interest or current issues concerning urban design. หลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
P a g e | 91 รายละเอียดของหลกั สตู ร หลกั สูตรภูมสิ ถาปตั ยกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ชื่อหลกั สตู ร หลกั สูตรภมู สิ ถาปัตยกรรมศาสตรมหาบณั ฑิต ภาษาไทย Master of Landscape Architecture Program ภาษาองั กฤษ ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวิชา ภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ ชื่อเต็มภาษาไทย Master of Landscape Architecture ชื่อเต็มภาษาองั กฤษ ภ.สถ.ม. ชอ่ื ยอ่ ภาษาไทย M.L.A. ชือ่ ย่อภาษาองั กฤษ วชิ าเอก ไมม่ ี จำนวนหน่วยกติ ทเี่ รียนตลอดหลักสตู ร แผน ก แบบ ก 1 มีค่าเทยี บเทา่ 39 หน่วยกติ แผน ก แบบ ก 2 ไม่นอ้ ยกวา่ 39 หน่วยกติ 39 หน่วยกิต แผน ข ไม่น้อยกวา่ อาชพี ทส่ี ามารถประกอบได้หลงั สำเร็จการศกึ ษา 1. ผู้สอนในสถาบันการศกึ ษา 2. ภมู สิ ถาปนกิ 3. นักวชิ าการ และนกั วจิ ยั ดา้ นภูมสิ ถาปัตยกรรม 4. ท่ีปรกึ ษาอสิ ระทางดา้ นภูมสิ ถาปัตยกรรม การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 (ภาคผนวก ก) และ/หรอื ทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงภายหลงั หลกั สูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
โครงสร้างหลักสูตร หลกั สตู รภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ มี 3 แผนการศกึ ษา ดงั นี้ P a g e | 92 แผน ก แบบ ก 1 หน่วยกิต วิทยานพิ นธ์ มีคา่ เทยี บเทา่ 39 หน่วยกติ แผน ก แบบ ก 2 หนว่ ยกติ หนว่ ยกติ หมวดวชิ าบงั คับ จำนวน 21 หน่วยกติ หมวดวิชาเลือก จำนวนไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกิต หนว่ ยกิต วทิ ยานพิ นธ์ มคี ่าเทยี บเทา่ 12 แผน ข หมวดวิชาบงั คบั จำนวน 27 หมวดวชิ าเลอื ก จำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 9 การคน้ ควา้ อิสระ มคี า่ เทยี บเท่า 3 หมายเหตุ: แผน ก แบบ ก 1 ไม่มีการสอบประมวลความรู้ แผน ก แบบ ก 2 ไม่มีการสอบประมวลความรู้ แผน ข มีการสอบประมวลความรู้ 3 สายวิชา ได้แก่ 1. สายวิชาทฤษฎกี ารออกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรม 2. สายวชิ าปฏิบตั กิ ารออกแบบภมู ิสถาปัตยกรรม 3. สายวิชาวทิ ยาการสัมพนั ธก์ บั ภูมิสถาปัตยกรรม รายวิชา แผน ก แบบ ก 1 หมวดวิชาพืน้ ฐาน (ไมน่ บั หน่วยกิต) จำนวน 9 หนว่ ยกิต สำหรับนักศึกษาที่มีพื้นฐานความรู้การทำวิจัยและ/หรือความรู้ในสาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรมไม่ เพียงพอ ทั้งนี้ให้อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ โดยไมน่ บั หน่วยกติ และให้วัดผลการศึกษาเป็น S หรอื U 266 517 ระเบียบวธิ วี ิจยั ทางภมู สิ ถาปัตยกรรม 3*(3-0-6) (Research Methodology in Landscape Architecture) 266 518 สัมมนางานภูมิสถาปัตยกรรม 3*(2-2-5) (Seminar in Landscape Architecture) 266 538 การศกึ ษาหวั ข้อพิเศษ 3*(0-6-3) (Special Topic Study) วทิ ยานิพนธ์ (มคี ่าเทยี บเท่า) 39 หนว่ ยกติ 266 520 วทิ ยานพิ นธ์ มีคา่ เทียบเทา่ 39 หนว่ ยกิต (Thesis) หมายเหตุ * หมายถึง รายวชิ าท่ลี งทะเบยี นเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต และวัดผลการศึกษาเป็น S หรือ U หลักสตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
P a g e | 93 แผน ก แบบ ก 2 หมวดวิชาพืน้ ฐาน (ไมน่ บั หนว่ ยกติ ) จำนวน 3 หนว่ ยกติ สำหรับนักศึกษาที่มีพ้ืนฐานความรู้วิชาภูมิสถาปัตยกรรมไม่เพียงพอ ท้ังน้ีให้อยู่ในดุลยพินิจของ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรฯ โดยไม่นบั หนว่ ยกติ และให้วัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรอื U 266 500 การก่อสรา้ งงานภมู ิสถาปัตยกรรม 3*(2-2-5) (Landscape Architectural Construction) หมวดวชิ าบงั คับ จำนวน 21 หนว่ ยกติ ประกอบดว้ ยรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 266 510 หลกั การและทฤษฎที างภูมิสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Principle and Theory in Landscape Architecture) 266 511 นเิ วศวทิ ยาภมู ิทศั นแ์ ละการพัฒนาอย่างย่งั ยืน 3(3-0-6) (Landscape Ecology and Sustainable Development) 266 512 การใช้พืชพรรณในการออกแบบ 3(2-2-5) (Planting Design) 266 513 ปฏิบตั กิ ารออกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรม 1 3(0-6-3) (Landscape Architectural Design Studio I) 266 514 ปฏบิ ัติการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2 3(0-6-3) (Landscape Architectural Design Studio II) 266 516 การกอ่ สร้างงานภูมิสถาปัตยกรรมขัน้ สงู 3(2-2-5) (Advanced Landscape Architectural Construction) 266 517 ระเบยี บวธิ ีวิจัยทางภูมิสถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Research Methodology in Landscape Architecture) หมวดวิชาเลอื ก จำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต โดยใหเ้ ลอื กจากรายวิชาต่อไปนี้ 266 530 การวเิ คราะห์และประเมินทัศนคณุ ภาพ 3(3-0-6) (Visual Quality Analysis and Assessment) 266 531 ภูมทิ ัศนช์ ุมชนเมือง 3(3-0-6) (Urban Landscape) 266 532 ภมู ิทศั นว์ ัฒนธรรม 3(3-0-6) (Cultural Landscape) 266 533 การออกแบบและวางแผนภูมิสถาปตั ยกรรมเชงิ นเิ วศ 3(3-0-6) (Ecological Landscape Design and Planning) 266 534 การออกแบบภมู ทิ ัศน์เพอ่ื การฟน้ื ฟูสภาพแวดลอ้ ม 3(3-0-6) (Regenerative Landscape Design) 266 535 วัสดุและการออกแบบก่อสรา้ งงานภมู สิ ถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Material and Construction Design in Landscape Architecture) 266 536 การออกแบบสภาพแวดลอ้ มเพือ่ ทกุ คน 3(3-0-6) (Universal Design) 266 537 ระบบภูมสิ ารสนเทศในงานภูมสิ ถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Geographic Information System in Landscape Architecture) 266 538 การศกึ ษาหัวข้อพเิ ศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) หมายเหตุ * หมายถงึ รายวชิ าทลี่ งทะเบยี นเรยี นโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ และวัดผลการศกึ ษาเปน็ S หรือ U หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
P a g e | 94 นอกเหนอื ไปจากรายวชิ าเลือกดังกล่าวน้ีแล้ว นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในหลกั สูตรอ่ืน ๆ ที่บัณฑิตวิทยาลัยเปดิ สอนไดโ้ ดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา หมายเหตุ: สำหรับรายวิชา 266 515 ปฏิบัติการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 3 และรายวิชา 266 518 สัมมนางานภูมิสถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับของแผน ข นั้น นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนและ นบั เปน็ รายวชิ าเลือกของแผน ก แบบ ก 2 ได้ วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเท่า) 12 หนว่ ยกติ 266 521 วทิ ยานพิ นธ์ มีค่าเทยี บเทา่ 12 หนว่ ยกิต (Thesis) แผน ข หมวดวชิ าพื้นฐาน (ไมน่ ับหนว่ ยกิต) จำนวน 3 หนว่ ยกติ สำหรับนักศึกษาท่ีมีพื้นฐานความรู้วิชาภูมิสถาปัตยกรรมไม่เพียงพอ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ โดยไม่นบั หนว่ ยกิตและใหว้ ดั ผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U 266 500 การกอ่ สรา้ งงานภูมสิ ถาปตั ยกรรม 3*(2-2-5) (Landscape Architectural Construction) หมวดวชิ าบังคบั จำนวน 27 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาตอ่ ไปนี้ 266 510 หลกั การและทฤษฎที างภมู ิสถาปตั ยกรรม 3(3-0-6) (Principle and Theory in Landscape Architecture) 266 511 นเิ วศวทิ ยาภมู ิทัศนแ์ ละการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื 3(3-0-6) (Landscape Ecology and Sustainable Development) 266 512 การใช้พืชพรรณในการออกแบบ 3(2-2-5) (Planting Design) 266 513 ปฏิบตั ิการออกแบบภูมิสถาปตั ยกรรม 1 3(0-6-3) (Landscape Architectural Design Studio I) 266 514 ปฏิบตั กิ ารออกแบบภมู ิสถาปัตยกรรม 2 3(0-6-3) (Landscape Architectural Design Studio II) 266 515 ปฏบิ ตั กิ ารออกแบบภมู สิ ถาปัตยกรรม 3 3(0-6-3) (Landscape Architectural Design Studio III) 266 516 การกอ่ สร้างงานภูมสิ ถาปัตยกรรมขนั้ สูง 3(2-2-5) (Advanced Landscape Architectural Construction) 266 517 ระเบยี บวิธีวจิ ัยทางภูมสิ ถาปัตยกรรม 3(3-0-6) (Research Methodology in Landscape Architecture) 266 518 สัมมนางานภูมิสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Seminar in Landscape Architecture) หมวดวิชาเลอื ก จำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 9 หน่วยกติ โดยใหเ้ ลือกจากรายวชิ าต่อไปน้ี 266 530 การวเิ คราะหแ์ ละประเมินทศั นคณุ ภาพ 3(3-0-6) (Visual Quality Analysis and Assessment) 266 531 ภูมทิ ศั น์ชุมชนเมอื ง 3(3-0-6) (Urban Landscape) 266 532 ภูมทิ ศั น์วฒั นธรรม 3(3-0-6) (Cultural Landscape) หมายเหตุ * หมายถึง รายวิชาที่ลงทะเบียนเรยี นโดยไมน่ บั หน่วยกิต และวัดผลการศกึ ษาเป็น S หรือ U หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
P a g e | 95 266 533 การออกแบบและวางแผนภูมิสถาปตั ยกรรมเชงิ นเิ วศ 3(3-0-6) (Ecological Landscape Design and Planning) 266 534 การออกแบบภูมทิ ศั น์เพื่อการฟ้ืนฟสู ภาพแวดลอ้ ม 3(3-0-6) (Regenerative Landscape Design) 266 535 วัสดแุ ละการออกแบบก่อสร้างงานภมู สิ ถาปตั ยกรรม 3(2-2-5) (Material and Construction Design in Landscape Architecture) 266 536 การออกแบบสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ทกุ คน 3(3-0-6) (Universal Design) 266 537 ระบบภมู ิสารสนเทศในงานภมู ิสถาปัตยกรรม 3(2-2-5) (Geographic Information System in Landscape Architecture) 266 538 การศึกษาหวั ขอ้ พิเศษ 3(0-6-3) (Special Topic Study) นอกเหนือไปจากรายวิชาเลือกดงั กล่าวนี้แลว้ นักศึกษาสามารถเลือกเรยี นรายวชิ าในหลักสตู รอน่ื ๆ ท่ีบณั ฑิตวทิ ยาลัยเปิดสอนไดโ้ ดยไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารยท์ ีป่ รกึ ษา การคน้ ควา้ อสิ ระ (มีค่าเทียบเท่า) 3 หนว่ ยกติ 266 522 การค้นคว้าอสิ ระ มีคา่ เทียบเท่า 3 หน่วยกิต (Independent Study) หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 P a g e | 96 แผน ก แบบ ก 1 ชื่อรายวชิ า จำนวนหน่วยกติ รหัสวิชา (บ-ป-น) 3 266 520 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทยี บเทา่ ) 3 รหสั วิชา รวมจำนวน จำนวนหน่วยกติ ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2 (บ-ป-น) ช่ือรายวิชา 12 12 266 520 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) รหัสวิชา รวมจำนวน จำนวนหนว่ ยกิต (บ-ป-น) ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 12 ชื่อรายวิชา 12 266 520 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) จำนวนหนว่ ยกิต รหัสวิชา รวมจำนวน (บ-ป-น) 12 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 12 ช่อื รายวิชา 266 520 วทิ ยานพิ นธ์ (มีคา่ เทียบเทา่ ) รวมจำนวน หลักสตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
แผน ก แบบ ก 2 ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 P a g e | 97 รหสั วชิ า ช่ือรายวิชา จำนวนหนว่ ยกติ 266 510 หลักการและทฤษฎที างภูมสิ ถาปตั ยกรรม (บ-ป-น) 266 513 ปฏิบตั กิ ารออกแบบภูมิสถาปตั ยกรรม 1 3(3-0-6) 266 517 ระเบยี บวธิ ีวิจัยทางภูมสิ ถาปตั ยกรรม 3(0-6-3) วิชาเลอื ก 3(3-0-6) รหสั วชิ า 3 รวมจำนวน 12 ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 จำนวนหน่วยกติ ช่ือรายวิชา (บ-ป-น) 3(3-0-6) 266 511 นเิ วศวิทยาภูมทิ ัศนแ์ ละการพฒั นาอยา่ งยั่งยืน 3(2-2-5) 3(0-6-3) 266 512 การใช้พชื พรรณในการออกแบบ 3(2-2-5) 3 266 514 ปฏบิ ัตกิ ารออกแบบภูมิสถาปตั ยกรรม 2 15 266 516 การกอ่ สร้างงานภูมสิ ถาปตั ยกรรมขน้ั สงู จำนวนหน่วยกิต (บ-ป-น) วิชาเลอื ก 6 6 รวมจำนวน ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1 รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า 266 521 วิทยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) รวมจำนวน หลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
รหัสวิชา ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 P a g e | 98 ชื่อรายวิชา จำนวนหนว่ ยกติ 266 521 วทิ ยานพิ นธ์ (มคี า่ เทียบเทา่ ) (บ-ป-น) รวมจำนวน 6 6 หลักสตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2565 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254