๕๐ ใบความรทู้ ่ี ๐๑ พิธีกรรมของศาสนาตา่ ง ๆ พิธีกรรม หรอื ศำสนพธิ ี หมำยถงึ กำรบูชำ แบบอย่ำงหรือแบบแผนต่ำง ๆ ทปี่ ฏิบัติ ในทำงศำสนำ ศาสนพธิ ใี นศาสนาอิสลาม แหลง่ ภำพจำก ศูนยป์ ระชำสัมพันธ์ขำ่ วสำร ฮัจย์แหง่ ประเทศไทย ศาสนาอสิ ลาม เปน็ ศำสนำทไี่ ม่มนี ักบวชหรือนกั พรต ในกำรประกอบพิธีกรรม ถอื หลกั กำรของศำสนำเปน็ ธรรมนญู สูงสดุ ในกำรดำรงชวี ติ หลักปฏบิ ัติทำงศำสนกจิ ทส่ี ำคญั ได้แก่ หลกั ปฏบิ ัติ ๕ ประกำร มีดังนี้ ๑. การละหมาด กำรละหมำด เป็นกำรปฏิบตั ศิ ำสนกจิ อย่ำงหนง่ึ ในศำสนำอิสลำม เพ่อื เป็นกำรภักดตี อ่ อัลลอฮฺ มุสลมิ ทกุ คนจะต้องละหมำด วันละ ๕ เวลำ เรียกวำ่ ละหมำดฟรั ดู ละหมำด หมำยถึง กำรขอพร ควำมหมำยทำง ศำสนำหมำยถึง กำรกล่ำวและกำรกระทำ ซ่งึ เรม่ิ ต้นด้วยตกั บรี และ จบลงดว้ ยสะลำม กำรละหมำดเป็นกำร สรำ้ งเอกภำพอยำ่ งหน่ึงของมสุ ลิม เม่อื ละหมำดมุสลมิ ทั่วโลก หันหน้ำไปทำงกิบละฮฺ เพอ่ื เคำรพภักดตี อ่ อัลลอฮฺ กำรละหมำด ฝกึ ฝนใหเ้ ปน็ คนตรงต่อเวลำ มคี วำมอดทน และขดั เกลำจิตใจ ให้บริสทุ ธิผ์ อ่ งแผว้ ไมป่ ระพฤตสิ ง่ิ หนง่ึ สิง่ ใดในทำงชว่ั รำ้ ย ความสาคัญ ชำวไทยท่ีนับถือศำสนำอสิ ลำมทกุ คนตอ้ งปฏบิ ตั ศิ ำสนกิจอย่ำงเครง่ ครดั เพรำะ กำรละหมำดเป็น ศำสนกจิ เพื่อเข้ำเฝ้ำต่อเบ้ืองพระพักตรข์ องพระผู้เปน็ เจำ้ อัลลอฮ (ซบุ ฮำฯ) ดว้ ยควำมสงบ สำรวม จึงเปน็ หนำ้ ท่ี ของมสุ ลมิ ทุกคนที่จะตอ้ งปฏบิ ตั ิเปน็ กจิ วตั รประจำวัน วันละ ๕ เวลำตลอดไป
๕๑ ๒. การปฏิญาณตน คำกล่ำวท่วี ำ่ “ไม่มพี ระเจ้าอนื่ ใดนอกจากอัลลอฮเ์ ท่านน้ั และมุฮมั มัดเป็นบา่ วและศาสนาทตู ของอลั ลอฮ์” ในกำรปฏิญำณนค้ี ือ กำรยอมรบั ยอมจำนนทกุ อยำ่ งที่เกี่ยวกบั อสิ ลำม ทุกอยำ่ งที่มำจำก คมั ภีร์อัลกุรอำนและอัลฮะดิษ คอื ซุนนะฮ์ทม่ี ำจำกทำ่ นนะบี ซ่ึงเปน็ สว่ นสำคญั ของกำรดำเนินชวี ิต ศำสนำ อสิ ลำมมีพระเจำ้ เพยี งองคเ์ ดยี ว ห้ำมสกั กำระในสิ่งที่มนุษยส์ รำ้ งข้นึ มำและห้ำมกม้ กรำบมนษุ ย์ด้วยกนั เอง ๓. การถือศีลอด โดยกำรถอื ศีลอด เป็นหลกั ปฏบิ ัตใิ นศำสนบัญญตั ิ ๑ ใน ๕ ประกำร (ประกอบไปด้วย ๑.นบั ถือพระเจำ้ (อัลลอฮ)ฺ องคเ์ ดยี วและนบีมฮู ำหมดั เปน็ ศำสนฑูตคนสุดท้ำย ๒.ดำรงละหมำด ๓.บริจำคทำน ๔.ถอื ศีลอด ๕.บำเพญ็ ฮจั ย์ที่ นครเมกกะ) ซึ่งชำวมุสลมิ จะประพฤตปิ ฏบิ ัติตน โดยกำร... - งดอำหำร น้ำ เพือ่ จะได้รับรู้ควำมยำกลำบำกคนทย่ี ำกไร้ โดยจะเริม่ ตัง้ แต่แสงพระอำทิตย์ข้ึน แสงพระอำทติ ยเ์ ริม่ ตกดิน - งด ละ เลิก จำกสิ่งท่ีไมด่ ที งั้ หมด - ทำควำมดี บรจิ ำคทำนแก่คนยำกจน - อ่ำนคมั ภรี อ์ ลั กรุ อำน เนื่องจำกในเดือนนเ้ี ป็นเดือนศกั ด์สิ ิทธท์ิ พ่ี ระเจ้ำประทำนคัมภรี อ์ ัลกรอุ ำนมำ ให้แก่มนุษย์ ๔. การจา่ ยซะกาต ให้จำ่ ยซะกำตเม่ือถึงเวลำที่วำญบิ ตอ้ งจำ่ ย และจำ่ ยดว้ ยควำมพึงพอใจ โดยจ่ำยสงิ่ ที่ดแี ละมีคุณภำพ มำกทส่ี ดุ จำกทรพั ยท์ ต่ี ้องจ่ำย เปน็ สิ่งท่ีเขำรักท่ีสดุ ทม่ี ีควำมเป็นหะลำลมำกทสี่ ุด ทำให้ผู้รับพงึ พอใจ ๕. การประกอบพิธฮี ัจญ์ พธิ ฮี ัจญจ์ ะทำในเดือน ซุล-ฮิจยะห์ (เดือนที่ ๑๒ ของปฮี จิ เรำะหศ์ ักรำช) ของแตล่ ะปี กำรกำหนดพิธฮี ัจย์ น้ัน จะใชก้ ำรดูเดอื น เพ่อื กำหนดวนั ตำ่ ง ๆ โดยจะดูเดอื นกันในวันที่ ๒๙ เดือน ซุลเกยี๊ ะดะห์ เพอ่ื กำหนด วันท่ี ๑ เดอื นซุลฮจิ ยะห์ และวันที่ ๑๐ เดือนซุลฮจิ ยะห์ จะเปน็ วนั อดี ล้ิ อัฎฮำ หรือ อดี ใหญ่(รำยอ)ท่ีบำ้ นเรำ ผู้ ทไี่ ม่ได้ไปประกอบพิธฮี จั ย์จะทำกรบุ ำน (เชือดสตั ว์ และแบ่งปันเน้อื ให้กับผยู้ ำกไร)้ การแต่งงานแบบอิสลามหรอื พธิ นี ิกะห์ ถ้ำหำกฝำ่ ยใดไม่ได้เป็นอสิ ลำม ต้องทำพิธีเข้ารับอสิ ลามกอ่ น ถงึ จะทำพิธีนิกะหไ์ ด้พิธีเขำ้ รบั อสิ ลำม ในกำรเข้ำรับอสิ ลำมนั้น จะตอ้ งมีพยำนร้เู ห็นในกำรรบั อสิ ลำมอย่ำงนอ้ ย ๒ คน และปฏญิ ำนตนโดยพูด ว่ำ \" ไม่มีพระเจ้ำอ่ืนใดที่ถูกนมัสกำรกรำบไหว้โดยเทีย่ งแท้ นอกจำกพระเจำ้ อัลเลำะห์ องคเ์ ดียวเทำ่ นั้น และมี นบีมูหมัดเป็นพระศำสนฑตู ของพระองค์ \"
๕๒ ศาสนพธิ ีในศาสนาครสิ ต์ แหล่งภำพจำก PPTV Thailand HD36 พิธกี รรมสาคัญในศาสนาคริสต์ พิธีกรรมสำคัญในศำสนำน้ีเรียกวำ่ \"พธิ ีศกั ดิ์สิทธ์\"ิ มีดงั นี้ ๑. พิธบี พั ติศมำหรอื ศีลลำ้ งบำป เปน็ พิธแี รกที่คริสตชนต้องรับ โดยบำทหลวงจะใชน้ ้ำศักด์ิสิทธ์ิเทลง บนศีรษะพร้อมเจิมนำ้ มนั คริสมำทห่ี น้ำผำก ๒. พธิ ีมหำสนิทศกั ด์ิสิทธิ์หรอื ศลี มหำสนิท เป็นพธิ กี รรมรับศีลโดยรับขนมปังและเหล้ำองุน่ มำ รับประทำน โดยควำมเชือ่ ว่ำพระกำยและพระโลหิตของพระเยซู ๓. ศีลอภัยบำป เป็นกำรสำรภำพบำปกับพระเจำ้ โดยผำ่ นบำทหลวง บำทหลวงจะเป็นผ้ตู กั เตือนส่ังสอน ไม่ใหท้ ำบำปนั้นอกี และทำกำรอภัยบำปให้ในนำมพระเจำ้ ๔. ศีลกำลงั เป็นพธิ ีรับศีลโดยกำรเจมิ หนำ้ ผำก เพอ่ื ยนื ยนั ควำมเช่ือว่ำจะนับถอื ศำสนำคริสต์ตลอดไป และไดร้ ับพระพรของพระจิต ทำให้เข้มแขง็ ในควำมเชือ่ มำกข้นึ ๕. ศีลสมรส เปน็ พธิ ีประกอบกำรแต่งงำน โดยบำทหลวงเปน็ พยำน เปน็ กำรแสดงควำมสมั พนั ธ์วำ่ จะรกั กันจนกว่ำชวี ิตจะหำไม่ ๖. ศีลอนกุ รม เปน็ พิธีสำหรบั กำรบวชเป็นนกั บวช ไดแ้ ก่ มขุ นำยก บำทหลวง และพันธบรกิ ร ๗. ศีลเจมิ คนไข้ เปน็ พธิ เี จมิ คนไขโ้ ดยบำทหลวงจะเจิมนำ้ มนั ลงบนหนำ้ ผำกและมอื ทง้ั สองข้ำงของ ผูป้ ่วย ใหร้ ะลึกวำ่ พระเจ้ำจะอย่กู ับตนและให้พลงั บรรเทำอำกำรเจ็บปว่ ย สำหรับนิกำยโรมันคำทอลกิ และนกิ ำยออร์ทอดอกซ์ จะมีพธิ ีกรรมท้งั ๗ พธิ ี แตส่ ำหรบั นิกำย โปรเตสแตนต์ จะมเี พยี ง ๒ พธิ ี คอื พธิ บี ัพติศมำและพธิ ีมหำสนทิ ศักด์ิสทิ ธิ์
๕๓ ศาสนพิธใี นศาสนาพุทธ แหลง่ ภำพจำก www.kalyanamitra.org ศาสนพิธี หมำยถงึ ระเบยี บแบบแผนหรือแบบอย่ำงทีถ่ ือปฎิบตั ิในศำสนำ เม่อื นำมำใช้ใน พระพุทธศำสนำ จึงหมำยถงึ ระเบยี บแบบแผนหรือแบบอย่ำงทีพ่ งึ ปฎบิ ตั ใิ นพระพุทธศำสนำ ศำสนพธิ ี ต่ำง ๆ ชว่ ยทำให้ควำมศรัทธำตอ่ พระพทุ ธศำสนกิ ชนมีควำมแนน่ แฟน้ ยง่ิ ขึน้ เป็นสิง่ ตอกย้ำใจใหร้ ะลึกถงึ คณุ ของพระรตั นตรัยไดอ้ ยำ่ งดเี ยยี่ ม จงึ เป็นระเบียบแบบแผนอันดีงำมทคี่ วรรกั ษำไว้คู่กับพระพุทธศำสนำตลอดไป ศาสนพิธี เป็นพธิ ีกรรมทำงศำสนำซง่ึ ถอื ปฏบิ ัติเป็นแบบอยำ่ ง เป็นธรรมเนยี มสืบตอ่ กนั มำ เพ่ือควำม เป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงำมเปน็ แบบเดียวกัน เหตใุ หเ้ กดิ ศำสนพิธีน้ีคือควำมนิยมทำบุญของพทุ ธศำสนิกชน ซึ่งไม่วำ่ จะปรำรภเหตุอะไรทำกัน กม็ กั จะให้ตรงและครบตำมหลกั วิธที ำบญุ ในทำงพระพุทธศำสนำ ซ่ึงพระ สัมมำสัมพทุ ธเจ้ำทรงแนะแนวไว้ ๓ หลัก คอื ๑. ทำน กำรบรจิ ำค วตั ถุส่งิ ของของตนเพ่ือประโยชน์แก่ผอู้ นื่ ๒. ศีล กำรรกั ษำกำยวำจำให้สงบเรียบร้อย ๓. ภำวนำ กำรยกระดบั จิตใหส้ ูงข้ึนด้วยกำรอบรมใหส้ งบนิ่งและให้เกดิ ปญั ญำ ดงั นน้ั ในกำรทำบุญทุกครงั้ ชำวพุทธจึงถือคติว่ำต้องใหเ้ ขำ้ หลกั ๓ ประกำรน้ี โดยเริ่มต้นจะทำข้อไหน กอ่ นกไ็ ด้ เช่น รบั ศลี แล้วฟงั พระเจริญพระพุทธมนต์ (ภำวนำ) จบลงด้วยกำรถวำยทำน เป็นตน้ ควำมนิยมนไี้ ด้แพร่หลำยทัว่ ไปจนกลำยเปน็ ประเพณีทำงศำสนำไป พธิ กี รรมแบบนจี้ ึงสมมตเิ รียกกัน ตอ่ มำวำ่ “ศำสนพิธี” ศาสนพิธตี า่ ง ๆ ในพระพทุ ธศำสนำ ช่วยทำใหค้ วำมศรทั ธำต่อพุทธศำสนำของพุทธศำสนกิ ชนมคี วำม แนน่ แฟ้นยง่ิ ขนึ้ เปน็ สง่ิ ตอกยำ้ ใจใหร้ ะลึกถงึ คณุ ของพระรตั นตรัยได้อยำ่ งดีเยีย่ มจงึ เปน็ ระเบยี บแบบแผนอนั ดงี ำมทค่ี วร รักษำ ไว้ค่กู ับพระพุทธศำสนำตลอดไป ในพระพุทธศำสนำแบ่งศำสนำพิธอี อกเป็น ๔ หมวดใหญ่ ๆ ดงั นี้ ๑. กศุ ลพธิ ี เปน็ พธิ ที ีเ่ ก่ยี วเนื่องกับกำรอบรมควำมดีงำมทำงพระพุทธศำสนำ เช่น กำรรกั ษำศีล กำรนัง่ สมำธิ เปน็ ต้น
๕๔ ๒. บุญพิธี เป็นพธิ ีทำบุญเน่ืองดว้ ยประเพณกี ำรดำเนนิ ชีวิตของคนทว่ั ไป มีบุญมงคลและ อวมงคล เช่น บุญขึน้ บ้ำนใหม่ บญุ หน้ำศพ เป็นตน้ ๓. ทำนพธิ ี เปน็ พธิ ีถวำยทำนต่ำง ๆ เช่น ถวำยสงั ฆทำน เครอ่ื งนุ่งหม่ ยำรกั ษำโรค เปน็ ต้น ๔. ปกิณกะพธิ ี เปน็ พิธเี บด็ เตล็ด ไดแ้ กก่ ำรอำรำธนำศลี กำรประเคนของพระ เป็นตน้ พิธที ่ีเกยี่ วข้องกบั ชวี ิตประจาวันของชาวพุทธเสมอ ๆ มดี ังต่อไปน้ี พธิ กี ารตักบาตร คอื กำรนำขำ้ วและอำหำรคำวหวำนใสบ่ ำตรพระหรือสำมเณร โดยอำจทำประจำวนั ในทอ้ งถิ่นชมุ ชนท่ี มีพระสงฆ์และสำมเณรออกบณิ ฑบำต จะทำในวันเกิดของตนหรือวนั สำคญั ทำงศำสนำ รวมทั้งวัน ๘ คำ่ และ ๑๔, ๑๕ คำ่ เปน็ ตน้ พิธถี วายสงั ฆทาน คือกำรถวำยวัตถุท่ีควรเป็นทำนแกส่ งฆ์ มไิ ด้เจำะจงแก่ภกิ ษรุ ปู ใดรปู หนึง่ หำกถวำยเจำะจงเฉพำะรปู เรยี กวำ่ \"ปำฏิบคุ ลกิ ทำน\" ไม่ต้องมพี ิธีกรรมอะไรในกำรถวำย ส่วนสังฆทำนนนั้ เปน็ กำรถวำยกลำง ๆ ให้สงฆ์ ์ เฉลยี่ กนั ใช้สอย จงึ มพี ิธีกรรมเขำ้ มำเก่ียวขอ้ งด้วย โดยเฉพำะกำรถวำยและกำรอนโุ มทนำของสงฆ์ การอาราธนาศีลและสมาทานศลี เบือ้ งตน้ ของกำรบำเพญ็ กุศลของพุทธศำสนิกชน ตอ้ งมพี ิธรี บั สรณคมน์และศีลก่อนแลว้ จงึ ค่อย อำรำธนำ พระปริตรถำ้ บำเพ็ญบุญเก่ียวกบั กำรเทศนจ์ ึงจะอำรำธนำธรรม กำรที่ขอเบญจศีลก่อนเสมอไปทกุ พธิ ี นน้ั เพ่ือชำระจิตให้บริสทุ ธ์ิ ใหเ้ ป็นผู้มีศีลสมควรแก่กำรรอง รบั พระธรรมสรณคมน์ หมำยควำมวำ่ ขอถึงพระ พุทธ พระธรรม พระสงฆ์เป็นทพ่ี งึ่ กอ่ นอำรำธนำควรกรำบพระพุทธรูป ที่โตะ๊ หม่บู ชู ำและบูชำพระก่อนแล้วจึง กลำ่ วคำอำรำธนำตำมด้วยกำรสมำทำนศีล ศาสนพิธีตา่ ง ๆ ทางพระพุทธศาสนา - กำรประเคนของ - กำรกรวดน้ำ - โต๊ะหมู่บชู ำ - ระเบียบปฏบิ ตั กิ ำรมอบเทียนชนวนผ้ใู หญ่ - พธิ กี รรมในวนั สำคัญทำงพระพุทธศำสนำ - ระเบียบปฏบิ ตั ิกำรไปรว่ มงำนศพ - วัฒนธรรมชำวพทุ ธท่ีปรำกฎหลักฐำนในพระไตรปฎิ ก พิธกี รรมงำนบญุ ต่ำง ๆ ของชำวพทุ ธ สำมำรถนำมำปฏิบัตไิ ด้กิจกรรมงำนบญุ ตำ่ ง ๆ ไดพ้ รอ้ มกนั ในวัน เดียวกัน เชน่ ในพธิ ที อดกฐิน พธิ ีทอดผ้ำป่ำ พิธถี วำยจตุปัจจยั ไทยธรรม พธิ ที ำบุญปุพพเปตตพลอี ุทิศบญุ ให้ บรรพบุรษุ หรอื ผูท้ ี่ลว่ งลบั ไปแล้วในวนั พระข้ึน ๑๔ คำ่ ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๔ คำ่ ๑๕ ค่ำ พิธจี ุดประทีปในวนั สำคัญทำงพระพทุ ธศำสนำ เชน่ วนั มำฆบชู ำ วันวิสำขบชู ำ วนั อำสำฬหบูชำ ที่มำ https://www.winnews.tv/news/12180
๕๕ บ ๓.๒/ผ ๒-๐๑ ใบงานท่ี ๐๑ คาชแี้ จง นกั เรยี นเขียนอธบิ ำยวธิ ีปฏิบตั ิตนท่ีเหมำะสมเมอ่ื เข้ำรว่ มศำสนพธิ ที ำงศำสนำ ในวันสำคญั ทำงศำสนำทีต่ นนบั ถือ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ............................................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................. ................. .................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ............................................................... .... ............................................................................................................................. ................................................. .................. ชือ่ ..................................ส...ก..ลุ.................................................................เ.ล...ข..ท...ี่ .............................ช..ั้น............................... .................. ............................................................................................................................. ................................................. ..................
๕๖ ใบความรู้ท่ี ๐๑ เรื่อง การปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเหมาะสมเมอ่ื เขา้ ร่วมศาสนพธิ ีในศาสนาพทุ ธและศาสนา อื่นทตี่ นนับถอื การปฏบิ ัตติ นในวันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา • ทำบุญตักบำตรแลว้ กรวดน้ำแผส่ ่วนบุญใหแ้ กผูล้ ว่ งลับ • ฟังธรรมเทศนำที่วัด หรอื ทำงวิทยโุ ทรทศั น์ • รักษำศีล ๕ หรือศลี ๘ เวน้ จำกกำรทำบำป ทำแตค่ วำมดี ทำใจให้บรสิ ทุ ธิ์ • แผเ่ มตตำใหแ้ ก่สัตว์ • นำดอกไม้ ธปู เทียน ไปเวียนเทียนที่วัดเปน็ พทุ ธบชู ำ วันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา วันสำคญั ทำงพระพทุ ธศำสนำ หมำยถึง วันทีม่ ีเหตกุ ำรณส์ ำคัญบำงอยำ่ งเกิดขึ้นใน พระพทุ ธศำสนำ ส่วนใหญ่จะเปน็ วันท่ีเกยี่ วขอ้ งกับพระพุทธเจ้ำซงึ่ จะกำหนดเอำวนั ที่มีเหตุกำรณ์ พิเศษเกิดขน้ึ ในชวี ติ ของพระองค์เปน็ หลกั กำรศึกษำวนั สำคัญทำงพระพุทธศำสนำ นอกจำกจะได้ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจในพระพุทธศำสนำท่ถี ูกต้องแลว้ ยังช่วยให้ผู้ศึกษำเกิดควำมซำบซึ้ง และเกดิ แนวควำมคิดในกำรปฏบิ ัติ และกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมในชวี ิตประจำวันต่อไป วันมาฆบชู า มำฆบูชำ แปลวำ่ กำรบชู ำในวนั เพ็ญเดอื น ๓ วนั น้ีถอื เปน็ วันสำคญั ทำงพระพุทธศำสนำ เนื่องจำก เป็นวนั ทีม่ ีกำรประชุมทีป่ ระกอบดว้ ยองค์ ๔ หรอื ท่ีเรยี กว่ำ “จำตรุ งคสันนบิ ำต” เกิดข้ึน ทวี่ ัดเวฬวุ ันใกล้กรงุ รำชคฤห์ แคว้นมคธ กำรประชุมทป่ี ระกอบดว้ ยองค์ ๔ คือ ๑) พระสงฆส์ ำวกล้วนเป็นพระอรหันต์ ๒) พระสงฆส์ ำวกล้วนเปน็ เอหิภกิ ขุ พระพทุ ธเจ้ำบวชใหเ้ อง ๓) พระสงฆส์ ำวกจำนวน ๑,๒๕๐ องค์ มำประชมุ พร้อมกันโดยมิไดน้ ัดหมำย ๔) พระพทุ ธเจ้ำเห็นเป็นอัศจรรย์ จงึ ได้ทรงแสดงโอวำทปำฏิโมกข์
๕๗ วนั วสิ าขบูชา วิสำขบชู ำ แปลว่ำ กำรบูชำในวันเพญ็ เดอื น ๖ วันวิสำขบชู ำ เป็นวนั สำคญั เก่ยี วกบั พระพทุ ธเจำ้ โดยตรงซง่ึ ท้งั ๓ เหตุกำรณเ์ กิดขึน้ ในวันเพญ็ เดือน ๖ แต่เกดิ ต่ำงปีกนั ในชว่ งเวลำ ๘๐ ปี ได้แก่ ๑) วันประสตู ิ ตรงกบั วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ก่อนพุทธศักรำช ๘๐ ปี ณ ปำ่ สำละ สวนลุมพินวี นั ๒) วนั ตรสั รู้ เกิดขนึ้ ใน ๓๕ ปตี ่อมำ ภำยหลงั ทเี่ จ้ำชำยสิทธตั ถะเสดจ็ ออกบรรพชำ ณ โคน ต้นโพธิ์ ใกลแ้ ม่น้ำเนรัญชรำ ตำบลอุรุเวลำเสนำนคิ ม แควน้ มคธ ๓) วันปรนิ พิ พำน เกดิ ข้ึนในปีที่ ๘๐ แห่งพระชนมำยขุ องพระพทุ ธเจ้ำ ณ แทน่ บรรทม ระหว่ำงต้นสำละ เมืองกสุ นิ ำรำวันอฏั ฐมบี ูชำ เมื่อพระพทุ ธเจ้ำเสดจ็ ปรนิ ิพพำนจงึ มีกำร ตั้งพระบรมศพของพระพทุ ธองค์พรอ้ มจดั เครือ่ งสักกำรบชู ำเป็นเวลำ ๗ วนั ณ มกุฏพันธนเจดีย์ เมืองกุสนิ ำรำและในวนั ท่ี ๘ ซ่งึ ตรงกับวนั แรม ๘ ค่ำ เดือน ๖ เหล่ำ มลั ลกษัตรยิ แ์ ละพระเถระชนั้ ผ้ใู หญ่ได้ประกอบพธิ ีถวำยพระเพลิงพระบรมศพของ พระพทุ ธเจ้ำ ซึง่ เรำชำวพุทธเรียกวนั นี้ว่ำ “วันอฏั ฐมบี ชู ำ” วนั อาสาฬหบูชา อำสำฬหบชู ำ แปลวำ่ กำรบูชำในวันเพญ็ เดือน ๘ วันอำสำฬหบชู ำ เป็นวนั สำคัญทำง พระพทุ ธศำสนำวันหนง่ึ มเี หตกุ ำรณเ์ กดิ ขึ้น ดังนี้ ๑) เปน็ วันข้ึน ๑๕ ค่ำ เดอื น ๘ ๒) เป็นวนั ที่พระพทุ ธเจ้ำประกำศพระศำสนำเป็นครง้ั แรก โดยกำรแสดงปฐมเทศนำ เรยี กว่ำ ธัมมจกั กปั ปวตั นสูตร มใี จควำมสำคัญ คือ อริยสัจ ๔ เพอื่ โปรดปัญจวคั คีย์ ที่ ปำ่ อิสปิ ตนมฤคทำยวัน เมอื งพำรำณสี ๓) เปน็ วันที่พระสงฆส์ ำวกเกิดขึน้ คร้งั แรก คือ โกณฑัญญะ ๔) เปน็ วนั ทพ่ี ระรัตนตรัยเกดิ ขนึ้ ในโลกบรบิ รู ณ์ เกรด็ พุทธศาสน์ วันอำสำฬหบูชำ เรมิ่ มีขึ้นในสมยั รัชกำลที่ ๙ แหง่ กรุงรัตนโกสินทร์ โดยท่มี หำเถรสมำคมได้ เสนอต่อรฐั บำล เพอื่ ให้ถอื เปน็ วันสำคญั ทำงพระพุทธศำสนำอีกวนั หน่ึง
๕๘ บ ๓.๒/ผ ๓-๐๑ ใบงานที่ ๐๑ คาชีแ้ จง นกั เรียนแต่ละกลมุ่ จัดทำหนงั สอื เล่มเลก็ เร่ือง กำรแสดงควำมเคำรพพระรตั นตรยั กลมุ่ ท่.ี ......................................ชื่อกลุ่ม.................................................. สมำชกิ ในกลมุ่ ช่อื .............................สกุล.......................................... เลขที่ ......................... ชัน้ .......................... ช่อื .............................สกลุ .......................................... เลขที่ ......................... ช้ัน.......................... ชอ่ื .............................สกลุ .......................................... เลขท่ี ......................... ชั้น.......................... ชอ่ื .............................สกุล.......................................... เลขท่ี ......................... ชน้ั .......................... ชอ่ื .............................สกลุ .......................................... เลขที่ ......................... ชน้ั .........................
๕๙ ใบความรู้ท่ี ๐๑ เร่อื ง การแสดงความเคารพพระรัตนตรัย ******************** พระรตั นตรยั หรอื พระไตรรัตน์ หมำยถึง แกว้ สำมประกำรอนั ประเสริฐสุดของ พุทธศำสนกิ ชน ทเี่ รียกวำ่ รตั น (แกว้ ) เพรำะว่ำเปน็ ส่ิงท่ีประเสรฐิ มีค่ำสูง และหำได้ยำก เทียบ ด้วยดวงแก้วมณี พระรตั นตรยั คอื พระพุทธเจ้ำ, พระธรรม และพระสงฆ์ ซงึ่ เรียกเตม็ ว่ำพุทธรตั นะ, ธรรม รัตนะ, สังฆรัตนะ ซ่งึ ไดแ้ ก่ • พระพุทธ คือ ทำ่ นผู้ตรสั รู้ธรรมด้วยพระองค์เอง แลว้ สอนประชุมชนใหป้ ระพฤตชิ อบด้วย กำย, วำจำ, ใจ ตำมพระธรรมวินยั • พระธรรม คือ พระธรรมวินยั อนั เปน็ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ำ • พระสงฆ์ คอื หมชู่ นทีฟ่ ังคำสัง่ สอนของพระพทุ ธเจำ้ แลว้ ปฏบิ ตั ชิ อบตำมพระธรรมวนิ ัย ทม่ี ำ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%A2 การแสดงความเคารพพระรัตนตรยั การกราบ (อภิวาท) เปน็ กำรแสดงควำมเคำรพดว้ ยวิธีนงั่ ประนมมือข้นึ เสมอหน้ำผำกแล้ว น้อมศรี ษะลงจรดพืน้ หรือจรดมือ ณ ท่ีใดท่หี น่ึง แลว้ น้อมศีรษะลงบนมือน้ัน เช่น กรำบลงบนตกั ก็ อนุโลมถือว่ำเปน็ กรำบ ถำ้ หมอบแล้วน้อมศรี ษะจรดมอื ทีป่ ระนมถึงพน้ื เรียกว่ำ หมอบกราบ กำรกรำบมี ๒ ลกั ษณะ คอื กำรกรำบแบบเบญจางคประดิษฐ์ และกำรกรำบผู้ใหญก่ ำร กรำบเบญจางคประดษิ ฐ์ ใช้กรำบพระรตั นตรัย ไดแ้ ก่ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ กำรกรำบ แบบเบญจำงคประดิษฐ์ หมำยถึง กำรท่ีใหอ้ วัยวะทง้ั ๕ คอื เขำ่ ทัง้ ๒ มือทัง้ ๒ และหน้ำผำกจรด พื้น กำรกรำบจะมี ๓ จงั หวะ และจะต้องน่ังอย่ใู นทำ่ เตรียมกรำบ
๖๐ ท่ำเตรยี มกรำบ ทา่ เตรียมกราบ ชาย นง่ั คุกเข่ำปลำยเท้ำต้ัง น่ัง บนสน้ เทำ้ มือทงั้ สองวำงบนหน้ำขำทง้ั สองข้ำง (ทำ่ เทพบุตร) หญงิ นั่งคุกเขำ่ ปลำย เทำ้ รำบ นั่งบนส้นเท้ำ มือทง้ั สองวำงบน หนำ้ ขำท้งั สองขำ้ ง (ท่ำเทพธิดำ) จงั หวะที่ ๑ (อัญชล)ี ยกมอื ขนึ้ ประนมระหว่ำงอก ปลำยนิว้ ชดิ กนั ตั้งขึน้ แนบตัวไมก่ ำงศอก จงั หวะท่ี ๑ (อัญชลี)
๖๑ จังหวะท่ี ๒ (วนั ทา) ยกมอื ขนึ้ พรอ้ มกับก้มศีรษะ โดยใหป้ ลำยน้ิวชี้จรดหนำ้ ผำก จงั หวะที่ ๒ (วนั ทำ) จังหวะที่ ๓ (อภวิ าท) ทอดมือลงกรำบ ใหม้ ือและแขนทง้ั สองข้ำงลงพรอ้ มกนั มือคว่ำหำ่ งกันเลก็ นอ้ ยพอใหห้ นำ้ ผำกจรด พนื้ ระหวำ่ งมือได้ จงั หวะที่ ๓ (อภิวำท) ชาย ให้กำงศอกทง้ั สองข้ำงลง ตอ่ จำกเขำ่ ขนำนไปกบั พื้น หลังไมโ่ ก่ง หญิง ให้ศอกทง้ั สองข้ำงคร่อมเข่ำเล็กน้อย ทำสำมจังหวะให้ครบสำมคร้ัง แล้วยกมือขึ้นจบโดยใหป้ ลำยนิว้ ชี้จรดหน้ำผำก แลว้ ปล่อยมือลง กำรกรำบไม่ควรใหช้ ้ำหรือเรว็ เกนิ ไป
๖๒ การประนมมอื (อญั ชลีกรรม) กำรประนมมอื คือ กำรยกมอื ท้งั สองต้งั ประนมขึน้ เปน็ พมุ่ โดยใหฝ้ ่ำมอื ทั้งสองชดิ กันต้ังไว้ ระหว่ำงอก นว้ิ มือทงั้ สบิ ชิดกัน ไม่เหยียดตรงไปขำ้ งหน้ำ แขนทงั้ สองกำงห่ำงจำกลำตัวพอสมควร คือไม่ห่ำงมำกหรอื ติดแนน่ กบั ลำตัว เงยหน้ำมองตรงตอ่ สิ่งท่เี คำรพ ลำตัวต้ังตรงหลังไมง่ อ กำร ประนมมือเคำรพพระรตั นตรยั ควรทำด้วยควำมเคำรพออ่ นน้อม อย่ำปลอ่ ยให้นวิ้ มืองอหงิก อยำ่ ง เอำนว้ิ ประสำนกัน ไม่ยกมอื ประนมใหส้ งู จนจรดคำง และไมป่ ล่อยใหม้ อื ตกลงมำอยู่ท่หี นำ้ ท้อง เป็นต้น การไหว้ (นมสั การ) ยกมือท่ปี ระนมขึ้นจรดหนำ้ ผำกพร้อมกบั น้อมหรือก้มศรี ษะลงเล็กน้อยใหป้ ลำยนว้ิ ชี้จรดตีน ผม ปลำยน้ิวหวั แมม่ อื จรดกลำงหนำ้ ผำกหรือระหว่ำงคิว้ ไหวค้ รั้งเดยี วแล้วลดมอื ลง สำหรบั ชำยยนื สน้ เทำ้ ชดิ ปลำยเท้ำแยกออกเล็กน้อย สำหรับหญงิ กำ้ วขำขวำออกไปขำ้ งหนำ้ ยอ่ ตวั หรอื คอ้ มตัว ต่ำลงเลก็ นอ้ ย กำรไหว้พระรตั นตรยั กระทำในโอกำสต่ำง ๆ เชน่ ไหวพ้ ระสงฆ์ขณะทีน่ ่งั เกำ้ อ้หี รือ ยืนอยหู่ รือกำลงั เดนิ ผ่ำน (ถำ้ พระสงฆน์ ั่งอยู่บนพ้ืนใชก้ ำรกรำบแทน) กำรแสดงควำมเคำรพปูชนีย วตั ถแุ ละปชู นียสถำนกก็ ระทำดว้ ยกำรไหว้
๖๓ บ.๓.๒/ผ.๔-๐๑ ใบงานที่ ๐๑ คาชแ้ี จง สมำชิกในกลุม่ ชว่ ยกันเขยี นแผนผังควำมร้ทู ไี่ ด้จำกกำรศึกษำใบควำมรทู้ ี่ ๐๑ พรอ้ มกับ นำเสนอหนำ้ ช้นั เรียน สมำชกิ ในกลุม่ ช่อื ....................................สกลุ ..................................................... เลขที่ ......................... ชั้น.......................... ชื่อ....................................สกุล..................................................... เลขที่ ......................... ช้นั .......................... ชอื่ ....................................สกลุ ..................................................... เลขที่ ......................... ชั้น.......................... ชื่อ....................................สกุล..................................................... เลขที่ ......................... ชั้น..........................
๖๔ บ ๓.๒/ผ ๔-๐๔ ใบงานท่ี ๐๒ คาช้ีแจง นกั เรียนเขียนเรียงควำมกำรนำหลักไตรสิกขำ และหลกั ธรรมโอวำท ๓ มำใช้ ในชวี ติ ประจำวนั ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ช่อื ....................................สกลุ ..................................................... เลขที่ ......................... ชั้น..........................
๖๕ ใบความรู้ท่ี ๐๑ เรื่อง วิธีปฏบิ ตั ติ ามไตรสกิ ขา และหลักธรรมโอวาท ๓ วธิ ีปฏบิ ัตติ ามไตรสิกขา ถำ้ พดู ถึงเร่อื งไตรสิกขำแล้วชำวพทุ ธส่วนใหญ่รูว้ ่ำมันคอื อะไรแตไ่ ม่รวู้ ำ่ จะปฏบิ ตั อิ ย่ำงไรให้ คนไทยสว่ นใหญน่ ับถอื พระพุทธศำสนำแต่ไม่เขำ้ ใจวำ่ พระพทุ ธศำสนำคืออะไร อะไรเป็นคำสอน อะไรเป็นหลกั ในกำรปฏบิ ัติ อะไรเป็นขอ้ ห้ำม หรืออำจมีผ้รู อู้ ย่แู ต่ก็เป็นส่วนน้อยที่จะเขำ้ ใจวำ่ พระพทุ ธศำสนำสอนอะไรและตอ้ งปฏบิ ตั อิ ยำ่ งไรถึงจะเข้ำสู่ภำวะธรรมของพระพทุ ธเจ้ำ อันนีถ้ ือ ว่ำเปน็ ประเดน็ ปญั หำท่พี ระสงฆ์ควรเร่งแก้ไข ซ่ึงแนวทำงในกำรดำเนินชวี ิตตำมแบบฉบบั ไตรสิกขำ ถอื วำ่ เป็นธรรมมะพ้นื ๆ ในกำรดำเนินชีวิตก็ว่ำได้หำกเรำทุกคนขำดสง่ิ เหลำ่ น้ีน้ันก็หมำยควำมว่ำ ธรรมข้ออนื่ อยำ่ ไปพดู ถงึ เลย ศลี สิกขา ในดำ้ นของศีลสิกขำคอื ต้องศึกษำในเร่ืองศลี อันไดแ้ กเ่ จตนำทจ่ี ะงดเวน้ ไมล่ ะเมิดขอ้ ห้ำม ด้ำนกำย ดำ้ นวำจำ ใหร้ ักษำควำมเป็นปกตขิ องควำมเปน็ มนุษย์ผูซ้ ึ่งมใี จสงู หรือ อำจกล่ำวได้วำ่ ใน ดำ้ นนี้เป็นกำรพฒั นำในเร่อื งของพฤตกิ รรม โดยมีส่วนสำคญั ทีค่ วรเน้น คือ ๑. พฤติกรรมที่มีควำมสมั พันธ์กับสิง่ แวดล้อมทำงกำยภำพหรอื โลกแห่งวัตถุ หรอื อำจกล่ำวว่ำ เปน็ กำรรู้จกั ใชอ้ ินทรยี ์ คอื ตำ หู จมกู ล้ิน กำย ในกำรรับรู้โดยไม่เกดิ ผลเสียหรอื เกดิ โทษ แต่ ให้เกดิ ผลดี ส่งเสริมคณุ ภำพชวี ิต และกำรฝึกอินทรียใ์ หม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพในกำรใช้งำน ใหต้ ำดู เป็น ใหห้ ฟู งั เปน็ ฯลฯ อยู่ในหลักของอนิ ทรยี ์สงั วร น่นั เอง กำรเสพ กำรบรโิ ภคปจั จัย ๔ กำรใช้ ประโยชน์จำกวตั ถุ จำกอปุ กรณ์ต่ำง ๆ รวมทั้งเทคโนโลยดี ้วย ปัญญำท่รี ้เู ข้ำใจมงุ่ คุณค่ำที่ แท้จริง ใหไ้ ด้คุณภำพชวี ิต ไมห่ ลงไปกับคณุ ค่ำเทียมตำมค่ำนยิ มที่ผดิ ๆ อนั เปน็ คำ่ นิยมทฟี่ งุ้ เฟ้อ โกเ้ ก๋ ที่ทำให้บริโภคมำก แต่เสยี คุณภำพชีวติ เรียกง่ำยๆ ว่ำ กินเป็น บรโิ ภคเปน็ ใชเ้ ป็น เริม่ ดว้ ยกำรกินพอดี อันเป็นกำรปฏิบตั ติ ำมหลกั ของ โภชเนมัตตญั ญตุ ำ ๒. พฤตกิ รรมทีส่ มั พันธ์กับสง่ิ แวดลอ้ มทำงสังคมและโลกแห่งชวี ิต เชน่ กำรอยู่รว่ มกนั ในทำง สังคม โดยไมเ่ บียดเบียน ก่อควำมทกุ ขค์ วำมเดอื ดรอ้ น หรอื ก่อเวรภยั แตร่ จู้ กั มคี วำมสัมพนั ธ์ท่ี ดีกบั เพือ่ นมนษุ ยอ์ ยำ่ งชว่ ยเหลอื เกอื้ กูล ดำรงตนอยใู่ นกรอบของศีล ตำเนินชวี ติ ตำมหลักของ ศลี ใหค้ วำมรว่ มมือกบั กำรรักษำกตกิ ำของสังคม กฎเกณฑ์หรือกฎหมำย ระเบยี บ แบบแผน หรอื วนิ ัยแม่บทของชุมชนหรอื สงั คมของตน และวฒั นธรรม รวมทง้ั สิ่งทีเ่ รยี กวำ่ จรรยำบรรณ
๖๖ ตำ่ ง ๆ และรู้จักแบง่ ปนั กำรเผือ่ แผ่แบ่งปนั ช่วยเหลือ ตำมหลกั ของกำรใหท้ ำน เพือ่ ชว่ ยเหลอื ปลดเปลื้องควำมทกุ ขข์ องเพือ่ นมนษุ ย์ ให้ควำมสุข และส่งเสรมิ กำรสร้ำงสรรค์ สิง่ ทด่ี งี ำม ตลอดจนกำรประพฤตเิ ก้อื กลู แกช่ ีวิตอ่ืน ๆ ท้ังสัตว์มนษุ ยแ์ ละพืชพันธ์ุ เช่น กำรร่วมสร้ำงเขต อภัยทำน นิวำปสถำน กำรปลูกสวนป่ำ สรำ้ งแหล่งต้นนำ้ ๓. พฤติกรรมท่เี กี่ยวกับกำรประกอบอำชพี กำรเลย้ี งชีพอย่ำงมศี ลิ ปวิทยำในวชิ ำชีพทีฝ่ กึ ไว้ อยำ่ งดี มคี วำมชำนำญท่ีจะปฏิบตั ิใหไ้ ดผ้ ลดีและเป็นสัมมำอำชีพ ซึง่ เป็นลกั ษณะทีส่ ำคญั คือ ไมเ่ ป็นไปเพื่อควำมเบียดเบียนไม่กอ่ ควำมเดือดร้อนแกผ่ อู้ ่นื หรือกอ่ ผลเสยี หำยแกส่ ังคม หำกแตเ่ ปน็ เครอื่ งแก้ปัญหำของชีวติ และแก้ปัญหำของสงั คม มชี วี ิตท่ีเป็นไปเพื่อสรำ้ งสรรค์ ทำให้เกดิ ประโยชน์เกอ้ื กูล ท่ีเออื้ ตอ่ กำรพัฒนำชวี ติ ของตน ไม่ทำให้ชวี ติ ตกตำ่ หรอื ทำลำย คุณค่ำของควำมเป็นมนุษย์ หรอื เส่ือมจำกคุณควำมดใี นภำวะแหง่ ตน จิตสิกขา ในด้ำนของจติ สกิ ขำคอื ศกึ ษำในเรอื่ งจิต เรียนรู้เรอ่ื งจิต ใหเ้ ข้ำใจธรรมชำติของจติ กำรทำงำนของจิต ร้วู ิธีกำรพัฒนำจิต เพือ่ ให้สงบต้งั มัน่ เป็นสมำธพิ รอ้ มที่จะทำกิจหนำ้ ที่อยำ่ งมี ประสิทธิภำพ ในดำ้ นกำรพฒั นำจิต หรอื ที่เรยี กวำ่ สมำธิ แยกได้ดังน้ี ๑. ด้ำนคุณภำพจติ ได้แกค่ ณุ ธรรมควำมดีงำมตำ่ ง ๆ เชน่ เมตตำ กรุณำ กตญั ญูกตเวที คำรวะ หิริโอตตัปปะ ฯ ซึ่งหล่อเลยี้ งจิตใจใหเ้ จริญงอกงำม และเป็นพนื้ ฐำนของพฤตกิ รรมทด่ี งี ำม ๒. ดำ้ นสมรรถภำพจติ ได้แกค่ วำมสำมำรถของจิต ที่เข้มแข็ง ม่ันคงหรอื ควำมมีประสทิ ธิภำพ ของจิต เชน่ มีฉันทะ ควำมใฝ่รใู้ ฝ่ดงี ำม ใฝ่กระทำ จติ มีควำมเพียร ควำมขยนั ควำมอดทน มี ควำมระลึกได้ รตู้ ัวทัว่ พรอ้ มเท่ำทนั ตืน่ ตัวอยู่เสมอ สำมำรถควบคมุ ตัวเองได้ มคี วำมต้ังมั่นแน่ว แน่ ใส สงบ เปน็ สมำธิ รวมไปถึงควำมไม่ประมำท ทีจ่ ะทำใหก้ ้ำวหนำ้ ม่ันคงในพฤติกรรมทด่ี ี งำม หรอื ต้ังมั่นในควำมดีงำมและพร้อมทจี่ ะใชป้ ัญญำในกำรใช้ชวี ติ และประกอบกิจหน้ำที่ ๓. ด้ำนสขุ ภำพจติ ได้แกส่ ภำพจติ ทีป่ รำศจำกควำมขุ่นมัวเศร้ำหมอง เร่ำรอ้ น หำกแตม่ ีควำม สดช่นื เอิบอ่ิม รำ่ เริง เบกิ บำน ผอ่ นคลำย ผ่องใส เปน็ สุข ซ่ึงจะส่งผลตอ่ สขุ ภำพกำย และทำให้ พฤตกิ รรมที่ดีงำมมคี วำมม่ันคง สอดคลอ้ งกลมกลนื หรืออยูใ่ นภำวะท่ีสมดลุ
๖๗ ปญั ญาสกิ ขา ในด้ำนปญั ญำสกิ ขำคือศึกษำในเรื่องปัญญำ พฒั นำด้ำนปญั ญำ ในกำรพฒั นำดำ้ นปัญญำน้ี จะมีกำรพัฒนำอยูห่ ลำยระดับ เช่น - ควำมรู้ควำมเข้ำใจในสิ่งท่ีได้ยนิ ได้ฟงั มำ หรอื ทีเ่ ลำ่ เรยี นมำและรบั กำรถ่ำยทอดศลิ ปะ วิทยำกำร ตลอดจนขอ้ มลู ข่ำวสำรต่ำง ๆ อย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพ - กำรรับรู้ประสบกำรณ์และเรียนร้สู ่ิงต่ำง ๆ อยำ่ งถกู ตอ้ งตำมเป็นจรงิ ไมบ่ ิดเบือน หรืออคติ ดว้ ยควำมรัก ควำมชัง และเพรำะควำมกลัว - กำรคิดพนิ จิ พิจำรณำวินจิ ฉยั อย่ำงมวี จิ ำรณญำณ ด้วยกำรใช้ปัญญำท่บี รสิ ทุ ธอ์ิ ิสระไมถ่ ูกกเิ ลส เชน่ ควำมอยำกไดผ้ ลประโยชน์ และควำมเกลียดชังเข้ำครอบงำ - กำรรจู้ ักมอง รู้จักคดิ มีหลกั กำรคิด มวี ธิ ีคิดทีจ่ ะเขำ้ ถึงควำมจริง และไดค้ ุณประโยชน์ มี โยนิโสมนสกิ ำร อยำ่ งทเี่ รยี กวำ่ มองเปน็ คิดเป็น เชน่ รจู้ ักวเิ ครำะห์ แยกแยะ สืบสำวหำเหตุ ปจั จยั ของส่งิ เกดิ ขน้ึ ดำรงตัง้ อยแู่ ละแปรเปลี่ยนสภำวะไป - กำรรู้จกั จัดกำร ดำเนนิ กำร ทำกจิ ให้สำเรจ็ ฉลำดในวิธกี ำรทจี่ ะนำไปสู่จุดหมำย - มีควำมสำมำรถในกำรแสวงหำ เลือกคัดจดั สรรประมวลควำมรู้ คดิ ได้ชดั เจน และสำมำรถนำ ควำมร้ทู ่มี อี ยมู่ ำเชอ่ื มโยมสร้ำงเป็นเครือข่ำยควำมรูแ้ ละสร้ำงเป็นควำมร้คู วำมคิดใหม่เพ่ือใช้ ในกำรแกป้ ญั หำและสรำ้ งสรรค์ - มคี วำมรูแ้ จง้ เขำ้ ถึงควำมจริงของโลกและชีวติ รู้เท่ำทันกบั ธรรมดำ หรือกบั ธรรมชำตทิ ง้ั หลำย ที่ทำให้วำงใจถกู ต้องตอ่ ทุกสิง่ ทกุ อย่ำง สำมำรถแก้ปัญหำชีวติ ขจดั ควำมทกุ ข์ในจิตใจของ ตนเองได้ หลุดพน้ จำกควำมยดึ ติดในส่ิงทั้งหลำย จิตไม่ถูกบบี ค้นั ครอบงำกระทบกระทง่ั ดว้ ย ควำมผนั ผวนปรวนแปรของสงิ่ ต่ำง ๆ หลุดพ้นเป็นอสิ ระ อยเู่ หนือกระแสโลก ที่มำ http://www.mcutak.com/default.asp?content=contentdetail&id=27640
๖๘ วิธปี ฏบิ ัตติ ามหลักธรรมโอวาท ๓ โอวาท ๓ หมำยถึง หลกั ธรรมทเ่ี ปน็ หวั ใจในทำงพระพทุ ธศำสนำ ๓ ประกำร อันเปน็ พทุ ธ โอวำทท่ีสอนใหเ้ รำละเว้นควำมชว่ั ทำแตค่ วำมดี และหม่ันฝึกจิตให้บรสิ ทุ ธ์ิ เบิกบำน มีศรทั ธำ และ เช่ือในเร่อื งของกรรมของตน (กำรกระทำ) หลักธรรมทำงพระพุทธศำสนำท่ีชำวพทุ ธพงึ ยึดปฏิบัตินน้ั มมี ำกมำย และหลักธรรมแต่ละ หมวดกเ็ หมำะสมสำหรับบคุ คล และเหตุกำรณต์ ำ่ ง ๆ แตพ่ ุทธโอวำท ๓ เป็นหลักธรรมคำส่ังสอน ของพระพุทธเจำ้ ทีม่ ีหลกั อยู่ ๓ ประกำร ที่ให้พงึ ถอื ปฏิบตั ิ ๓ ประกำร เปรยี บเสมอื นหวั ใจของพทุ ธ ศำสนำ โอวำท ๓ ของพระพุทธเจำ้ คอื ๑. พงึ เว้นจำกทุจรติ คือ ไม่ประพฤตชิ ่ัวทัง้ กำย วำจำ ใจ (ไม่ทำชวั่ ) ๒. พงึ ประพฤติด้วยกำรสุจริต คือ ประพฤติโดยชอบดว้ ยทั้งทำงกำย วำจำ ใจ (ทำแตค่ วำมดี) ๓. พงึ ทำใจของตนใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ ปรำศจำกกิเลสทัง้ ปวง อนั ได้แก่ โลภ โกรธ หลง เปน็ ตน้ (ทำจติ ให้บริสุทธ์)ิ
๖๙ ความสาคญั ของโอวาท ๓ ๑. ชว่ ยให้ปถุ ุชนทั้งหลำยไมท่ ำควำมชวั่ เชน่ ไม่ประพฤตใิ นกำรลักขโมย ไมฉ่ อ้ โกงผอู้ ่นื ไม่ ประพฤตผิ ดิ ในงำม ไม่ยุแยใ่ ห้เกดิ ควำมแตกแยกในหมู่คณะ และพึงละเว้นจำกกำรกระทำควำมชวั่ ทั้งปวง ทงั้ ทำงกำย วำจำ และใจ ๒. ช่วยให้ปุถชุ นท้งั หลำยรจู้ กั ทำควำมดี เชน่ กำรใหท้ ำน กำรรกั ษำศีล ๕ กำรมเี มตตำจิต ตอ่ เพื่อมนษุ ย์ และสรรพสตั ว์ รวมถงึ พึงประพฤตติ ำมหลกั ธรรมอืน่ อย่ำงเปน็ นิจ ๓. ชว่ ยใหป้ ุถชุ นท้ังหลำยมจี ติ ใจใหผ้ ่องใส บริสุทธิ์ ด้วยกำรฝึกจติ ให้มีสติ มีสมำธิ และจิตที่ สงบเพ่ือทำใหจ้ ติ ใจไมเ่ กดิ ควำมทุกขเวทนำ จิตไมเ่ ศร้ำหมองตอ่ สิ่งใด ๆ ท่ีมำกระทบทั้งปวง ผ้ทู ี่ ปฏิบัติได้เชน่ น้ี ยอ่ มเป็นผู้มจี ิตท่สี งบ มสี มำธิ นำไปสูก่ ำรงำนท่สี ำเร็จรุรว่ ง และเกิดควำมสขุ ตอ่ ตนเอง และคนรอบขำ้ ง โอวาท ๓ ประการ ๑. เวน้ จำกกำรทำช่ัว ควำมชัว่ แห่งโอวำท ๓ คือ กำรกระทำทีไ่ มด่ ี กำรกระทำที่เป็นบำป เป็นสิง่ เลวร้ำย ย่อมมี ผลทำใหเ้ กิดควำมทุกข์กำยทุกขใ์ จ รวมถงึ เกิดควำมเดอื ดรอ้ นแก่ตนเอง และผู้อนื่ ดังนัน้ จึงพงึ ละ เวน้ และหลกี เลีย่ งจำกกำรระทำควำมชัว่ ท้งั ปวง ทัง้ ทำงด้ำนกำย วำจำ และจิตใจ ๒. ให้ทำควำมดี ควำมดี แห่งโอวำท ๓ คือ กำรกระทำทีด่ ีงำม เป็นบุญแกต่ วั เอง มีผลทำใหเ้ กดิ ควำมสขุ ควำมสบำยใจ เกิดประโยชนแ์ กต่ นเอง และผู้อืน่ โดยพึงต้องหมนั่ กระทำแต่ทำควำมดี ซง่ึ เปน็ กำร พฒั นำตนให้มีควำมประพฤตทิ ง่ี ดงำม เรียกวำ่ คุณธรรม และจริยธรรม ๓. มีจิตใจบริสุทธ์ิ จิตใจบริสทุ ธ์ิ แห่งโอวำท ๓ หมำยถึง พึงตั้งมนั่ ในจติ ท่ีงดงำม คนท่ีมจี ิตใจดีงำม มกี ำร กระทำ และคำพูดทด่ี ี ด้วยกำรฝึกใจของเรำใหม้ ีควำมบรสิ ทุ ธ์ิ มีสติ และมสี มำธิ ไม่ฟุ้งซ่ำน คิดใน สิ่งท่ดี ี ไม่คิดรำ้ ย ไม่คดิ อจิ ฉำรษิ ยำคนอนื่ เรำหม่ันฝึกทำสมำธจิ ะทำให้ใจเรำสงบ และมีสติ การทาจติ ใจใหบ้ ริสทุ ธ์ิด้วยการประพฤติ ๓ แนวทาง คือ ๑. กำรเจริญสติ เปน็ กำรฝึกสตใิ หเ้ กดิ กับตนเอง เพอื่ ปอ้ งกนั ควำมผดิ พลำด คนทีม่ สี ตยิ ่อม ประสบผลสำเร็จในกำรทำงำน และกำรศกึ ษำเล่ำเรยี น ๒. กำรสวดมนต์ เป็นวิธหี นงึ่ ท่ชี ว่ ยทำให้จิตมีสมำธิ ด้วยจติ ท่ีสงบ และเพ่งตอ่ กำรภำวนำ ๓. กำรทำจิตใจใหบ้ ริสทุ ธิ์ เปน็ กำรฝึกจติ ให้ผ่องใสด้วยกำรฝึกสมำธิ เพื่อขดั เกลำจติ ใจให้ สงบน่งิ และเกดิ จติ ท่ีบรสิ ทุ ธ์ิ
๗๐ แนวทางอื่น ๆ - พึงเรียนร้เู พอ่ื ใหร้ ู้จักควำมหมำย และประโยชนข์ องสติ และสมำธิ - พึง ฝึกสวดมนต์ ไหว้พระ และแผเ่ มตตำอยำ่ งสม่ำเสมอ - พึงฝึกสมำธิด้วยกำรอำ่ น - พึงฝึกสมำธิดว้ ยเพ่งจติ จบั อำกำรกำรเคลอ่ื นไหวของร่ำงกำยอย่ำงมสี ติ ดังนนั้ โอวำท ๓ จึงเปรียบเสมอื นหวั ใจของพทุ ธศำสนำ เปน็ หลกั กำรประพฤติ ปฏบิ ตั ิ มี ๓ ขอ้ คอื ๑. กำรละเวน้ จำกกำรกระทำควำมชวั่ ท้งั ปวง ๒. พึงกระทำแต่ควำมดี ๓. พึงฝึกจิตให้ผอ่ งใส และบรสิ ุทธิ์ โอวำท ๓ ประกำรนี้ เปน็ หลักธรรมคำสัง่ สอนของพระพทุ ธเจ้ำทคี่ วรยึดปฏิบัติ http://thaihealthlife.com/%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%973/
๗๑ แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยที่ ๓ เด็กไทยใฝ่ดี หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ ปฏิบตั ิมาเปน็ นิจ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ .......................................................... คาสงั่ : ให้ทาเครอ่ื งหมายกากบาท (x) หน้าคาตอบทถี่ กู ท่สี ดุ เพยี งคาตอบเดียว ๑) ข้อใดไมใ่ ชค่ ณุ สมบตั ิของผูท้ ี่จะบรรพชำเป็นสำมเณร ก. ต้องรเู้ ดยี งสำ ข. ตอ้ งไม่เปน็ โรคติดต่อ ค. ต้องเปน็ ผ้หู ญิง ง. ตอ้ งไดร้ ับอนญุ ำตจำกบิดำมำรดำ ๒) ขอ้ ใดตอ่ ไปนีเ้ ป็นศำสนพธิ ใี นศำสนำพุทธ ก. กำรละหมำด ข. กำรไปโบสถ์วนั อำทติ ย์ ค. กำรอปุ สมบท ง. พิธีบูชำยญั ๓) กำรนิมนตพ์ ระมำทำพิธีทำบุญเน่อื งในวันเกดิ ถือเปน็ พธิ กี รรมประเภทใด ก. งำนมงคล ข. งำนอวมงคล ค. งำนอปั ปมงคล ง. ไม่มีข้อใดถกู ต้อง ๔) กำรอปุ สมบทเป็นพระสงฆ์มวี ธิ ีกำรอปุ สมบทอยกู่ ่วี ธิ ี ก. ๒ วิธี ข. ๑ วิธี ค. ๕ วิธี ง. ๓ วิธี ๕) พธิ กี รรมที่ชำวคริสต์ไปสำรภำพบำปกบั บำทหลวงเรียกวำ่ พิธีกรรมใด ก. ศีลลำ้ งบำป ข. ศีลแก้บำป ค. ศลี กำลงั ง. ศีลมหำสนิท ๖) กำรถอื ศีลอดเปน็ พิธีกรรมในศำสนำใด ก. ซกิ ซ์ ข. อิสลำม ค. พทุ ธ ง. คริสต์ ๗) พธิ บี ชู ำเทวดำเปน็ พิธกี รรมในศำสนำใด ก. ฮนิ ดู – พรำหมณ์ ข. พทุ ธ ค. ซกิ ซ์ ง. อสิ ลำม
๗๒ ๘) ข้อใดกล่ำวถึงกำรถือศีลอดในศำสนำอิสลำมได้ถกู ตอ้ ง ก. ต้องงดอำหำรทัง้ วนั ทง้ั คืนตลอด ๑ เดอื น ข. ตอ้ งงดน้ำและอำหำรเฉพำะกลำงวนั เป็นเวลำ ๗ วนั ค. ต้องงดเวน้ จำกกำรดืม่ น้ำและอำหำร และกำรสังวำสต้ังแตเ่ วลำพระอำทติ ย์ขนึ้ จนถงึ พระอำทิตยต์ กดนิ เป็นเวลำ ๑ เดอื น ง. ถูกต้องทกุ ขอ้ ๙) นกั บวชในศำสนำคริสตเ์ รียกว่ำอะไร ก. บำทหลวง ข. พระสงฆ์ ค. พรำหมณ์ ง. โตะ๊ อหิ ม่ำม ๑0) ชำวมุสลมิ จะไปประกอบพิธฮี ัจญท์ ี่เมืองใดตอ่ ไปนี้ ก. เมืองเยรูซำเลม ประเทศอิสรำเอล ข. เมอื งพำรำณสี ประเทศอนิ เดีย ค. เมืองเมกกะ ประเทศซำอดุ อิ ำระเบยี ง. เมอื งกวั ลำลมั เปอร์ ประเทศมำเลเซยี
๗๓ หนว่ ยยอ่ ยที่ ๓ พาจิตแจ่มใส
๗๔ แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนร้แู บบบูรณาการ หนว่ ยท่ี ๓ เดก็ ไทยใฝ่ดี หนว่ ยยอ่ ยที่ ๓ พาจิตแจ่มใส ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนทำเครอ่ื งหมำย X ทบั อักษรหนำ้ คำตอบท่ีถูกท่ีสุดเพยี งข้อเดียว ๑. กำรไหวพ้ ระและสวดมนต์ส่งผลใหน้ ักเรยี นได้รบั ส่ิง ๖. ข้อใดคอื ประโยชน์ของกำรใช้สตกิ ำกับกำรเลน่ กฬี ำ ใดมำกท่สี ุด ก. เล่นไดเ้ ร็วกว่ำเพ่อื น ก. จติ ใจนงิ่ มีสมำธิ ข. เขำ้ ใจกติกำกำรเล่น ข. มีควำมสนกุ สนำน ค. ตดั สนิ ใจได้เรว็ ค. มีควำมคิดกว้ำงไกล ง. ได้รบั เสียงเชียรม์ ำก ง. มองกำรณ์ไกลตดั สินใจถูกต้อง ๒. กำรแผ่เมตตำเกิดผลดอี ย่ำงไร ๗. ข้อใด คือ ประโยชน์ของกำรฝกึ สมำธใิ นกำรอำ่ น ก. ช่วยเพม่ิ ควำมทุกข์ให้ตน หนงั สือ ข. ช่วยลดควำมเห็นแก่ตัว ก. ทำใหใ้ จเย็นลง ค. ได้รับกำรชมเชยจำกผูอ้ ่ืน ข. ทำใหอ้ ่ำนหนังสือได้ช้ำลง ง. ลด ละ เลกิ ควำมชวั่ ท้งั หลำย ค. ทำใหเ้ กิดควำมกงั วลใจในตนเอง ง. ทำใหจ้ ับประเดน็ สำคญั ของเรื่องได้ดี ๓. ขอ้ ใด คือ จดุ มุ่งหมำยของกำรฝึกสมำธิ ๘. ขอ้ ใดแสดงวำ่ เรำมีสติ ก. เพือ่ ให้มีบุคลิกภำพดี ก. รบี ว่ิงใหท้ นั เพือ่ น ข. เพ่ือใหม้ สี ุขภำพแข็งแรง ข. คดิ เรื่องต่ำง ๆ ขณะเรียน ค. เพ่อื ใหม้ ีควำมจำแม่นยำ ค. ขณะทนี่ อนก็รูว่ำกำลงั นอน ง. เพือ่ ใหจ้ ติ ใจมคี วำมสุขสงบม่ันคง ง. อำ่ นหนงั สือและฟังเพลงพรอ้ มกัน ๔. ข้อใดไม่ใชก่ ำรเตรียมกำยก่อนปฏิบตั สิ มำธิ ๙. กำรทำสมำธจิ ะสำมำรถทำได้เม่อื ใ่ ด ก. อำบนำ้ ชำระร่ำงกำยให้ สะอำด ก. น่ัง ข. เลือกเส้อื ผ้ำทส่ี วมใสแ่ ลว้ สบำยตัว ข. เดิน ค.ไม่ควรใส่เคร่ืองประดับรำ่ งกำย ค. นอน ง. ใสน่ ำ้ หอมกลิ่นอ่อนๆ ง. ทำไดท้ กุ เวลำ ๕. กำรฝึกให้มีสมำธใิ นกำรฟัง กำรคิด กำรถำมและกำร ๑๐. กำรทำสิ่งใดถำ้ ไม่มีสติแล้วอำจเกดิ ผลเสยี มำก เขยี น มปี ระโยชน์ตอ่ ตวั เรำในดำ้ นใดมำกท่สี ุด ทีส่ ดุ ก. กำรรู้จกั ผอู้ ่ืน ก. อำ่ นหนงั สือ ข. กำรเรียน ข. ดูโทรทัศน์ ค. กำรปฏบิ ัติตนเปน็ คนดี ค. ขบั รถ ง. กำรปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดอบุ ัติเหตุ ง. ฟังเพลง
๗๕ บ.๓.๓/ผ.๑-๐๑ ใบงานที่ ๐๑ คาชี้แจง นักเรียนเขียนแผนผงั ควำมคิดประโยชน์ของกำรมสี ติสมั ปชญั ญะ สมำธิ ปัญญำ และ โทษของกำรขำดสตสิ ัมปชญั ญะ สมำธิ ปญั ญำ ประโยชนข์ องการมีสติสัมปชญั ญะ สมาธิ ปัญญา โทษของการขาดสติสัมปชัญญะ สมาธิ ปัญญา ช่ือ...................................................สกุล............................................................ชัน้ ..............เลขที่......................
๗๖ บ ๓.๓/ผ ๑-๐๒ ใบงานท่ี ๐๒ คาชแ้ี จง นักเรียนเขยี นสรปุ ควำมรู้ประโยชนข์ องกำรมสี ติสัมปชัญญะ สมำธิ ปญั ญำ และโทษ ของกำรขำดสติสมั ปชัญญะ สมำธิ ปัญญำ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ช่อื ...................................................สกลุ ............................................................ชน้ั ..............เลขท่ี......................
๗๗ ใบความรูท้ ี่ ๑ ความหมายของสติ สัมปชญั ญะ สมาธิ และปญั ญา สตสิ ัมปชัญญะ เป็นลักษณะอำกำรของจติ ของเรำ แบ่งเป็น ๒ ประกำร คอื สติ และ สมั ปชญั ญะ สติ คอื ควำมนึกไดร้ ะลกึ ไดก้ ำรระลึกสิ่งทที่ ำเช่นนกั เรียนมีหน้ำที่ เรยี นก็ต้องตง้ั ใจศึกษำเล่ำเรียน สัมปชัญญะ คือ กำรรตู้ ัวว่ำกระทำอะไรอยู่ สมาธิ คือ ควำมต้ังมั่นของจิตสงบม่นั คงไม่วอกแวก ปัญญา คือ ควำมรอบรู้ หรอื ชำญฉลำดในส่ิงต่ำง ๆ เช่นนักเรียนเรยี นวชิ ำ ที่เรยี นอย่ำงชำญฉลำด สตสิ ัมปชญั ญะ สมำธิ และปัญญำมีประโยชนท์ ำให้เรำผู้ฝึกปฏบิ ตั ิมี ควำมจำแม่นและมสี ติรูต้ ัวอยกู่ ับกำรเรยี นกำรศึกษำอยู่ตลอดเวลำกำรมีสติดี สมั ปชัญญะม่ันคงจะทำใหเ้ กดิ สมำธิตั้งมนั่ ทำให้คิดทำพูดในส่งิ ทถี่ กู ตอ้ ง ทำให้ ไม่ลืมตวั ไมเ่ ผลอตัวใช้ปัญญำพิจำรณำใครค่ รวญสง่ิ ตำ่ ง ๆ ได้จนก่อใหเ้ กิด ประโยชน์อยำ่ งสูงสุด
๗๘ ประโยชนข์ องการมสี ติสมั ปชญั ญะ สมาธิ และปญั ญา หลำยคนมกั บ่นเปน็ เสยี งเดียวกันวำ่ ‘โลกอยู่ยำกข้ึนทุกวนั ’ แตแ่ ทจ้ รงิ แล้ว โลกเรำไม่ได้อย่ยู ำกเลย เพยี งแต่เรำเองตำ่ งหำกท่ีทำตวั เรอ่ื งมำกกบั โลก เพรำะฉะนนั้ หำกต้องกำรใช้ชีวติ อย่บู นโลกนที้ ่ำมกลำงควำม ผำสุก กำรทำสมำธิน้ันชว่ ยไดม้ ำกทเี ดียว เพียงแค่กำหนดลมหำยใจเข้ำออกหรือทีเ่ รยี กวำ่ “อำนำปำนสติ” น่นั เอง สำหรบั ประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ำกกำรทำสมำธนิ ้นั มหี ลำยอย่ำงทีเดยี ว ๑. ชว่ ยใหจ้ ติ ใจผอ่ งใส อ่อนโยน กำรทำสมำธิจะช่วยใหจ้ ิตใจเรำน่ิงสงบ ท่ำมกลำงจิตทก่ี ำหนดภำยใต้ลมหำยใจเข้ำออก เรำจะรูต้ วั ตลอดเวลำ สำมำรถตำมทันทกุ อำรมณ์ ยงิ่ เรำกำหนดลมหำยใจเขำ้ ออกอยำ่ งช้ำ ๆ ลกึ ๆ ด้วยแล้ว มันจะยง่ิ ชว่ ยกล่อมเกลำจิตใจเรำในตวั ทำใหเ้ รำเปน็ คนสุขุมนมุ่ ลกึ ใจเยน็ อ่อนโยนและมองโลกรอบตัวในแงด่ งี ำมมำก ขึ้น อำรมณ์กจ็ ะแจ่มใส และยังสง่ ผลให้สขุ ภำพดีตำมมำอกี ด้วย ๒. ช่วยผอ่ นคลายความเครยี ด กำรทำสมำธิเม่อื จิตใจเรำน่งิ มำก ๆ ผสำนเปน็ หน่ึงเดยี วกับลมหำยใจแลว้ สำรแหง่ ควำมสขุ จะหลงั่ ไหล ออกมำจนแผ่ซ่ำนควำมเยน็ ไปทัว่ สรรพำงคก์ ำยอย่ำงนำ่ อัศจรรยใ์ จทเี ดียวค่ะ ด้วยเหตุนี้ จึงชว่ ยผอ่ นคลำย ควำมเครยี ดไดอ้ ย่ำงปลดิ ทิ้งทนั ตำและยังทำให้เรำมจี ิตใจสงบเยอื กเย็น และมคี วำมสุขอยำ่ งทไี่ มเ่ คยสัมผสั มำ กอ่ นแนน่ อน ๓. ลดอารมณ์โกรธหรือโมโหรา้ ยได้ กำรหมัน่ ฝึกสมำธิบอ่ ย ๆ จะทำให้เรำรูเ้ ท่ำทนั อำรมณข์ องตนเองได้ดี เพรำะจิตเรำจะอยกู่ บั ลมหำยใจ ตลอดเวลำ เรำจะรูท้ ุกกำรเคลื่อนไหว ทุกสิง่ ท่ีคดิ พูดและทำจะมำพร้อมสตอิ ยู่เสมอ เมื่อไรทเ่ี รำเร่ิมโกรธใคร หรอื กำลังโมโหร้ำยหงุดหงดิ เช่ือไหมว่ำจติ เบ้ืองลึกทีผ่ ่ำนกำรทำสมำธิมำแลว้ อย่ำงดจี ะสอนเตอื นตวั มันเอง ทำ ให้เรำดึงอำรมณใ์ หก้ ลบั มำอย่กู ับปัจจุบนั ขณะ อยู่กับลมหำยใจ และหำกเรำทำได้เช่นนี้บอ่ ย ๆ กย็ อ่ มเปลยี่ น จำกคนท่มี กั มอี ำรมณร์ ำ้ ย เกรย้ี วกรำดง่ำยมำเป็นคนทใี่ จเยน็ ลงได้มำกขึ้นแน่นอน ดงั น้นั ประโยชน์จำกกำรทำสมำธิน่ีแหละค่ะทีจ่ ะช่วยระงับควำมโกรธแค้นชงิ ชงั ทำให้จิตใจเรำนกึ ไปถึงกำร เมตตำต่อเพอื่ นมนุษย์และสำมำรถอโหสิกรรมให้เพ่ือนมนุษยท์ ที่ ำใหเ้ รำโกรธเคอื งลง
๗๙ ๔. ชว่ ยใหค้ วามจาดีและสมองทางานมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ สำหรบั นกั เรียน นกั ศึกษำหรือแม้แตค่ นวยั ทำงำนทจ่ี ะตอ้ งใชส้ มองในกำรคดิ วำงแผนและใช้ไอเดีย มำก ๆ นั้น กำรหม่ันทำสมำธิบอ่ ย ๆ ยอ่ มช่วยเสรมิ สร้ำงท้ังควำมจำดี ช่วยกระตุ้นให้เกดิ สมำธิ ทำให้สมอง ทำงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพมำกข้นึ ได้ เพรำะจิตท่ีผำ่ นกำรฝึกมำจนเกิดสมำธจิ ะทำใหค้ วำมคิดของเรำที่คดิ และ ทำ กล่นั ออกมำจำกลมหำยใจอันประณตี สตจิ ะสอนสั่งให้เรำดำเนินชีวิตอยำ่ งละเมียดละไมมำกขึน้ ดงั นน้ั แล้ว หำกใครอยำกใหค้ ณุ ภำพชวี ิตดีขนึ้ ทกุ ด้ำน ใหก้ ำรทำงำนของศกั ยภำพสมองเปน็ ไปอย่ำงมคี ณุ ภำพ ๕. ชว่ ยใหผ้ ิวพรรณออ่ นเยาว์ ผอ่ งใส ดูเดก็ กว่าวัย เวลำทเ่ี รำฝกึ สมำธิ เรำจะตอ้ งกำหนดลมหำยใจเข้ำออก โดยสูดหำยใจเข้ำไปให้เตม็ ท้องลกึ ๆ ช้ำ ๆ และปล่อยลมหำยใจออกมำยำวๆ เม่อื ทำแบบน้ีสมำ่ เสมอ ก็ย่อมช่วยให้ออกซิเจนเข้ำมำฟอกเลือดภำยใน ร่ำงกำยได้ เปน็ กำรดีทอ็ กซส์ ำรพิษในตวั ส่งผลให้สมองไบรท์ คิดอะไรกล็ ่นื ไหลและสำรแหง่ ควำมสุขท่หี ล่ัง ออกมำก็ทำใหเ้ รำมีควำมสุข บำบัดทกุ ข์ ผอ่ นคลำยควำมเครยี ดได้ผล แนน่ อนคะ่ ว่ำนี่คือ ยำอำยุวัฒนะของจริง แถมยังส่งผลให้ผิวพรรณสะอำด ผ่องใส เลือดลมไหลเวียนดี ผิวเตง่ ตึงจนอ่อนเยำว์กวำ่ วัยในท่ีสดุ ๖. ชว่ ยพัฒนาบุคลกิ ภาพใหส้ งา่ ผา่ เผย คนทที่ ำสมำธิบ่อย ๆ บุคลกิ ภำพยอ่ มดีแน่นอน เพรำะสมำธนิ ัน้ จะทำให้เขำมีสตกิ บั ตัวอยูต่ ลอดเวลำ และด้วยควำมท่ีสมำธทิ ำใหเ้ รำใจเยน็ และรอบคอบมำกขึ้น บุคลกิ ทำ่ ทำงของเรำทีแ่ สดงออกผ่ำนกำรคดิ พูด และทำ รวมถงึ อำกปั กริ ยิ ำต่ำง ๆ ทเ่ี รำแสดงออกมันจะมำพรอ้ มทว่ งจังหวะที่ออ่ นโยน สง่ำ ไม่รีบรอ้ นหรือ แสดงท่ำทีแบบคนหนุ หันพลันแลน่ ซง่ึ สะทอ้ นให้เห็นถึงคนท่มี ปี ญั ญำและน่ำคบหำ คนแบบน้ีไปที่ไหนกย็ อ่ มมี แตค่ นอยำกพดู คยุ ด้วยและอยำกสร้ำงสัมพนั ธไมตรดี ้วยแน่นอน ๗. สขุ ภาพดี บาบัดโรคได้ คนทฝ่ี กึ สมำธบิ ่อย ๆ จะชว่ ยบำบัดโรคและสรำ้ งเสรมิ สุขภำพให้แข็งแรงอำยยุ นื ยำวได้ เพรำะสมำธิจะ ช่วยบำบดั ควำมเครยี ดสง่ ผลใหร้ ะดับควำมดนั โลหิตลดลง แถมสำรแหง่ ควำมสขุ ยังมีประสทิ ธิภำพเป็นดั่งยำ วเิ ศษทจ่ี ะชว่ ยบรรเทำอำกำรเจ็บปวดของรำ่ งกำยได้ ดังนัน้ หำกใครอยำกมีสุขภำพดี อำยยุ นื แนะนำให้หนั มำ ทำสมำธิบ่อย ๆ ควบคู่กับกำรกินอำหำรท่มี ปี ระโยชนแ์ ละออกกำลงั กำยอยู่เสมอ รับรองคณุ จะมีสขุ ภำพชวี ิตที่ ดแี ละมีอำยยุ นื ยำวแน่นอน ๘. ชว่ ยลดน้าหนักได้ เพรำะจติ ใจทน่ี ง่ิ เงยี บ มำพรอ้ มสมำธริ ู้ทกุ ลมหำยใจเข้ำออก จะควบคุมควำมคิดเรำให้อยูก่ ับปัจจุบัน และอยำกทำแต่สงิ่ ดี ๆ ใหต้ วั เอง เรำจะมคี วำมสขุ เบำสบำยตัวแทบตลอดเวลำเลยก็ว่ำได้ อำกำรแบบน้มี ันจะ ทำใหเ้ รำอิม่ เอิบ มีควำมสุขอย่ำงปีติเหลอื ล้นอยภู่ ำยใน แมแ้ ต่กำรกินอำหำรก็ทำให้เรำเลอื กสรรแตอ่ ำหำรเพอ่ื สขุ ภำพ เค้ียวอยำ่ งชำ้ ๆ มีสติไปกบั กำรเคยี้ วทกุ คำ และเพรำะควำมอิม่ จำกจติ ท่ีมีอยู่แล้วนนั้ เองจะยงิ่ ชว่ ยให้ เรำกนิ อำหำรได้น้อยลงแต่อ่ิมทอ้ งเรว็ ขนึ้ ดว้ ยเหตดุ ังกลำ่ วจงึ ทำใหก้ ำรลดน้ำหนักพลอยประสบผลสำเรจ็ อยำ่ ง ไม่น่ำเช่ือนัน่ เอง
๘๐ ๙. ทาให้มคี วามสุข หลำยคนปรำรถนำอยำกมีควำมสุขและวง่ิ ตำมออกไปหำควำมสุขนอกบำ้ น ในรปู แบบที่ไมใ่ ช่แกน่ สำรสำคญั ของชวี ติ แทจ้ ริง หรอื บำงคนกลบั เข้ำมำบำ้ นอำจจะนำปัญหำหรือควำมทกุ ขก์ ลับเข้ำมำมำกขึน้ ดว้ ย ซำ้ เพรำะฉะนน้ั ส้หู นั มำทำสมำธิฝึกทำใจใหน้ ่งิ สงบบอ่ ย ๆ เพรำะคณุ จะพบวำ่ กำรทำสมำธินแ่ี หละทจี่ ะมอบ หนทำงแห่งควำมสุขให้เรำไดอ้ ยำ่ งแท้จรงิ จติ ใจเรำจะแช่มชนื่ เบิกบำน อำรมณด์ ีสดใส ยิง่ ฝึกสมำธิมำกใจเรำก็ จะยง่ิ ผอ่ นคลำย สุขสงบมำกและมนั ยอ่ มทำให้เรำพึงพอใจกบั ชีวิตทเ่ี ปน็ อยู่ โดยไมต่ ้องดน้ิ รนออกไปไขว่ควำ้ หำ ควำมสุขนอกบ้ำนอกี เลย ๑๐. ทาใหเ้ ราไดบ้ ญุ น่คี ือ ประโยชนจ์ ำกกำรทำสมำธโิ ดยตรงอีกอย่ำงหนง่ึ เพรำะเวลำทีเ่ รำทำสมำธหิ ลำยคนมกั จะเตรียม ตวั เร่มิ ทำด้วยกำรสวดมนต์เพื่อกล่อมใจให้สงบ จำกน้นั ก็มำนงั่ สมำธิ แผเ่ มตตำให้เจำ้ กรรมนำยเวรและสรรพ สตั ว์ หลำยคนที่ทำแบบน้ีกจ็ ะย่ิงไดบ้ ญุ มำก หรืออย่ำงนอ้ ยหำกเรำไม่สะดวกที่จะสวดมนต์กอ่ นแต่ทำสมำธเิ ลย เพอ่ื หยุดควำมฟงุ้ ซ่ำน หยุดใจให้สงบนิง่ แบบนี้อยู่ที่ไหนกท็ ำไดค้ ่ะ ไม่จำเป็นว่ำจะต้องเป็นทบ่ี ้ำนเทำ่ นน้ั นั่งอยู่ บนรถ เดินทำง กนิ ขำ้ ว ไปเรียน นั่งทำงำน ฯลฯ ก็สำมำรถกำหนดจติ ให้อยกู่ ับลมหำยใจได้เสมอ ผลลัพธ์ท่ีไดก้ ็ คอื ใจทป่ี ล่อยวำงเป็นสขุ เม่ือใจเรำเป็นสขุ เรำจะไมป่ รำรถนำซง่ึ สงิ่ ใดบนโลกน้ีอกี ทั้งปวง แมแ้ ต่กำรโกรธเรำก็ สำมำรถระงับได้ กลำยเปน็ กำรใหอ้ ภยั ทำนแก่เจำ้ กรรมนำยเวรและคนทเ่ี รำไมช่ อบใจ เรำจะได้หลุดพน้ จำก บว่ งของกเิ ลส ใครทอี่ ยำกสร้ำงสมบญุ จะเห็นได้วำ่ เรำไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งออกจำกบ้ำนไปทำบุญที่วัดเสมอไปก็ได้ เพรำะเพียงแค่ทำสมำธิให้จิตใจสงบน่ิงเยอื กเยน็ จำกทบ่ี ้ำน ง่ำยๆ แคน่ ี้กถ็ ือเปน็ กำรสะสมบญุ ในตัวอย่ำงทีค่ ุณ ไมค่ ำดคิดแล้ว
๘๑ บ ๓.๓/ผ ๒-๐๑ ใบงานท่ี ๐๑ คาช้แี จง นักเรยี นเขียนเรยี งควำมประเด็น กำรบรหิ ำรจติ และเจริญปัญญำ โดยกำหนดช่ือเร่อื ง ด้วยตนเอง ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ชอ่ื …………………………………………........................………………………….ช้นั .........................เลขท่.ี ..................
๘๒ ใบความรู้ที่ ๐๑ การบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา การสวดมนตแ์ ปลและ แผเ่ มตตา กำรไหวพ้ ระสวดมนต์เปน็ กำรแสดงควำมเคำรพตอ่ พระรัตนตรัยที่เรำต้องปฏบิ ตั ิให้พร้อม ทงั้ ทำงกำย วำจำ และใจ เพอ่ื ให้เปน็ กำรเสริมสรำ้ งสตปิ ญั ญำ ผ้ทู ปี่ ฏิบตั ิเปน็ ประจำจะเกิด สตสิ ัมปชญั ญะ มีจติ เป็นสมำธิ ประณีตและมีคณุ ธรรม ทำให้ควำมเหน็ ถกู ตอ้ งตำมหลกั ของ พระพทุ ธศำสนำ ในขณะที่สวดมนตถ์ อื เป็นกำร บริหำรจติ และเจรญิ ปญั ญำเบือ้ งตน้ จะทำใหม้ สี ตแิ ละ สัมปชญั ญะรตู้ วั อยู่กบั ปจั จบุ นั เสมอ กำรไหว้พระสวดมนต์ โดยมำกนิยมทำในตอนเช้ำและก่อน นอน หรือทำก่อนที่เรำจะฝกึ สมำธซิ ่ึงจะช่วยให้ผู้ฝกึ จิตสงบ มีสมำธิ และระลกึ ถึงคณุ พระรัตนตรัย ประโยชน์ของการสวดมนตแ์ ผเ่ มตตา ๑. เปน็ สขุ ทง้ั ยำมหลับยำมต่ืน ๒. ขณะหลบั อยูไ่ มฝ่ ันรำ้ ย ๓. สีหน้ำสดช่นื ผ่องใส เป็นทรี่ ักของผู้พบเห็น ๔. จิตมน่ั คง ใจเป็นสมำธติ ั้งมั่นไดเ้ รว็ ๕. เทวดำย่อมรกั ษำคุม้ ครอง ประโยชน์ของการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญา มนุษย์มีส่วนประกอบ ๒ ส่วน คือ ร่ำงกำยและจิตใจ ในสว่ นของรำ่ งกำยกท็ ำนอำหำรท่ถี ูก หลักอนำมัยและออกกำลังกำยอยูเ่ สมอ จึงจะเติบโตอยำ่ งมปี ระสิทธิภำพ สว่ นจติ ใจนั้นกต็ อ้ งมีกำร เลย้ี งดูเหมือนกนั ถ้ำจะให้จติ ใจแข็งแรงก็ต้องมีกำรบรหิ ำรจติ ใจ กำรฝึกบริหำรจติ เปน็ กำรให้อำหำรใจท่ีมปี ระสทิ ธภิ ำพ จติ ใจที่ได้รับกำรฝึกสมำธจิ ะบรสิ ุทธิ์สะอำด มีคณุ ธรรม มคี วำมเขม้ แขง็ มีควำมผ่อนคลำย สงบสุข ควรแก่กำรพัฒนำทำงดำ้ นปญั ญำ คือ กำร อำ่ น กำรฟัง หรอื กำรศึกษำหำควำมรใู้ นส่ิงต่ำง ๆ โดยคิดไตรต่ รองอยำ่ งถถี่ ้วนจนเกิดควำมรู้ ควำม เขำ้ ใจอยำ่ งลกึ ซ้งึ ท่ีเรียกวำ่ ปญั ญำ
๘๓ ประโยชน์ของการบริหารจิต ๑. ทำให้กำยและจิตผ่องใส มีควำมสงบ ๒. ทำใหจ้ ำแมน่ เข้ำใจได้รวดเรว็ เปน็ ผลดตี อกำรศกึ ษำเล่ำเรียน ๓. ทำใหม้ คี วำมหมำยเมตตำกรุรำเหน็ อกเห็นใจผอู้ ื่น สตั ว์อืน่ ๔. ทำใหม้ ีจติ ต้ังมั่น มีสติ สมำธิ ปญั ญำ อยกู่ ับตวั ตลอดเวลำ ๕. ทำให้มีปญั ญำรอบรู้ ร้จู กั เหตุผล และส่ิงอันควรและไมค่ วร ๖. ชว่ ยไมใ่ หป้ ระมำทในชีวติ และมีสำนึกในหน้ำทข่ี องตนเองอยตู่ ลอดเวลำ ฝึกการบรหิ ารจิตและเจริญ ปญั ญาตามหลักสติปัฏฐาน สติ ปฏั ฐำน ๔ หมำยถงึ ธรรมอันเปน็ ที่ตง้ั แหง่ สตหิ รือขอ้ ปฏบิ ตั ิทใี่ ชส้ ตเิ ป็นหลกั ในกำรคดิ พิจำรณำ สิ่งทง้ั หลำย แบ่งออกเปน็ ๔ หมวด คือ ๑. กำยำนปุ สั สนำ กำรใชส้ ติพจิ ำรณำกำยให้เหน็ ตำมควำมเป็นจรงิ ของกำย น้นั ๆ กำรฝึก โดยใช้สติพิจำรณำกำยและองค์ประกอบในกำย อำจฝึกได้ คือ ๑. อำนำปำนสติ ๒. อริ ยิ ำบถ ๓. สมั ปชัญญะ ๔. ปฏิกูลมนสิกำร ๕. ธำตุมนสิกำร ๖. นวสถี ิกำ ๒. เวทนำนุปสั สนำ คือ กำรใช้สตกิ ำหนดรอู้ ำรมณ์ของเรำเองที่เกิดข้นึ ๓ อยำ่ ง คอื ควำมรสู้ กึ ทกุ ข์(ทุกขเวทนำ) ดใี จเปน็ สขุ (สุขเปน็ เวทนำ) และ ไมไ่ ด้ดใี จไมเ่ สยี ใจ (อเุ บกขำเวทนำ) และมองเปน็ เพียงอำรมณ์ที่รบั รูแ้ ละไม่ยินดีไปกับอำรมณเ์ หลำ่ นั้น ๓. จติ ตำนปุ ัสสนำ คอื กำรมีสติพิจำรณำจิต (ควำมคิด) ทเ่ี กิดเศรำ้ หมอง หรือยนิ ดหี รือกำร ใช้จติ ตวั เองกำหนดรูแ้ ละไม่ยินดีไปกับอำรมณเ์ หลำ่ นัน้ ๔. ธัมมำนุปัสสนำ คอื กำรใชส้ ตกิ ำหนดพจิ ำรณำธรรมต่ำง ๆ ที่เกิดขึน้ ในจติ เป็นกำร พจิ ำรณำธรรมเพ่อื ใหร้ ู้ ใชเ้ ป็นเครอ่ื งระลกึ ไม่ใหเ้ รำผู้ปฏิบตั ิไปยึดมน่ั ถือม่ัน
๘๔ ฝึก บรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาแบบอานาปานสติ อำนำปำนสติ แปลวำ่ กำรระลึกถึงลมหำยใจเข้ำออก คอื กำรฝึกใชส้ ตกิ ำหนดลมขณะเข้ำ และออกในแบบตำ่ ง ๆ รวม ทั้งมีสติเห็นถงึ กำรเกิดและดบั ของลมหำยใจ โดยมขี ัน้ ตอนปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ ๑. เลอื กสถำนทใี่ หเ้ หมำะสม สงบเงียบ เหมำะตอ่ กำรปฏบิ ัติ ๒. เวลำทใี่ ช้ในกำรปฏบิ ัตติ ้องกำหนดใหเ้ หมำะสม ๓. สมำทำนศีล รับศลี จำกพระ หรือสมำทำนงดเวน้ ด้วยตนเอง เพ่ือชำระจิตใจใหบ้ ริสุทธ์ิ เตรยี มควำมพร้อมในกำรปฏิบัติ ๔. นมัสกำรพระรตั นตรัย สวดมนต์รำลึกถึงคณุ ของพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ๕. ตดั ปลิโพธ คอื ควำมห่วงกังวลทุกอยำ่ งให้หมดส้ิน ใหก้ ำหนดเฉพำะกำรฝกึ กำรบรหิ ำร จิตและเจรญิ ปญั ญำเทำ่ นั้น โดยนั่งขดั สมำธเิ หมอื นพระพทุ ธรูปปำงสมำธแิ ล้วกำหนดลมหำยใจเขำ้ ออก วธิ กี ำรบรหิ ำรจติ และเจรญิ ปัญญำ สำมำรถนำไปใชใ้ นกำรพัฒนำกำรเรยี นรู้ คุณภำพ ชีวิตและสังคม โดยสำมำรถนำไปใชใ้ นกำรดำเนนิ ชวี ิตได้อย่ำงดี เชน่ - ด้านการควบคมุ จิต เพือ่ สุขภำพจติ ท่ดี ี คนเรำถ้ำไดร้ บั กำรอบรมจิตจนเปน็ สมำธิแลว้ จติ จะไม่ฟุ้งซำ่ นสงบดแี ละทำให้มีสขุ ภำพจติ ท่ดี ี เมอื่ เรำมีสุขภำพจิตดีแล้วก็ยอ่ มสง่ ผลทำใหม้ ี รำ่ งกำยและสตปิ ญั ญำดี - ด้านการศกึ ษาเลา่ เรยี น กำรนำกำรบรหิ ำรจติ ไปใชใ้ นกำรศกึ ษำ คือ เวลำทเี่ รำเรยี น หนังสอื อ่ำนหนังสือ หรอื ฟงั ครูสอนในชน้ั เรียน ควรมสี ติ มีสมำธิ จะทำใหเ้ รำสำมำรถทำควำม เข้ำใจในกำรเรียนได้ดีขน้ึ - ดา้ นการทางาน หำกทำงำนอะไรก็ตำม ถ้ำมสี ตอิ ยู่ตลอดเวลำจะช่วยป้องกันอนั ตรำยได้ เปน็ อย่ำงดีเพรำะเมอื่ ผู้ ปฏิบตั ิงำนมจี ติ ใจท่สี งบ มน่ คง ไม่ฟงุ้ ซำ่ น ผู้ปฏบิ ัติงำนกจ็ ะตั้งใจทำงำน เหลำ่ นน้ั อบย่ำงเต็มกำลังจนงำนสำเรจ็ ไม่มีข้อ ผิดพลำด และงำนนั้นกอ็ อกมำอยำ่ งมีคุณภำพ ทมี่ า : https://sites.google.com/site/krutantae/kar-brihar-cit-laea-kar-ceriy-payya
๘๕ บ ๓.๓/ผ ๓-๐๑ ใบงานที่ ๐๑ คาชแ้ี จง นกั เรียนเขียนวิธีกำร และข้อดขี องกำรยนื กำรเดิน กำรนง่ั และกำรนอนอย่ำงมีสติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ชือ่ .....................................สกลุ ..........................................................ชนั้ ..............เลขท่ี..............
๘๖ ใบความร้ทู ี่ ๐๑ เรอื่ ง การยืน เดนิ น่งั และนอนอย่างมสี ติ ตรำบท่ียงั มลี มหำยใจอยู่ จงอย่ดู ้วยอำนำปำนสติ อยำ่ งพระพุทธเจ้ำ จะยนื จะเดนิ จะนง่ั จะนอน จะกิน ดืม่ ขับถำ่ ย ทำครัว ทำควำมสะอำดบ้ำน ขบั รถ ทำงำนทุกชนิด ให้อยู่กบั อำนำปำน สติ เดนิ เลน่ พกั ผ่อน ก็ทำอำนำปำนสติได้ พูดได้ว่ำ **ชวี ิตทั้งหมดนีใ้ หอ้ ยดู่ ้วย อำนำปำนสติ ** อานาปานสติ * อำนะ (อัสสำสะ) คอื ลมหำยใจเข้ำ * อำปำนะ (ปสั สำสะ) คอื ลมหำยใจออก อำนะ + อำปำนะ คือ อำนำปำนะ ลมหำยใจเขำ้ ลมหำยใจออก สติ คอื ควำมระลกึ รู้ กำรกำหนดร้ใู นปัจจบุ ัน ไมใ่ ชก่ ำรคดิ จำเอำ อำนำปำนสติ คือ กำรกำหนดรู้ลมหำยใจเข้ำ ลมหำยใจออก ในปัจจบุ นั แต่ละขณะ ๑. อริ ิยาบถยืน : ยืนอานาปานสติ ยืนอย่ำงสำรวม เทำ้ ทง้ั สองห่ำงกันพอสมควร ประมำณ 20 เซนติเมตร เพ่อื ยนื ไดอ้ ยำ่ ง มั่นคง และเอำมอื ขวำทับมอื ซำ้ ย วำงลงท่ีหนำ้ ท้อง เหมอื นกบั ท่ำน่ัง เพอื่ ใหด้ เู รยี บรอ้ ย แตถ่ ำ้ อยู่ คนเดียวจะปล่อยมอื ข้ำง ๆ ตวั ตำมสบำย ๆ แบบโครงกระดูกท่ีถกู แขวนไว้ก็ได้ จำกน้ันทอดสำยตำให้ยำวพอดี ๆ ประมำณเมตรครงึ่ แต่ไม่ให้จอ้ งอะไร กำหนดสำยตำไว้ คร่ึงๆ ระหว่ำงพ้นื ดนิ กับตัวของเรำเอง ทั้งน้ีเพ่ือไม่ให้ ดอู ะไรเปน็ พเิ ศษนั่นเอง หรอื อำจกำหนดดูที่ ปลำยจมูกกไ็ ด้ บำงครงั้ อำจจะกำหนดสำยตำไวท้ ี่ทส่ี บำยตำ เชน่ กำหนดที่ สนำมหญ้ำสเี ขยี ว ตน้ ไม้ ดอกไม้ หรอื สระนำ้ แต่ไมใ่ ห้คิดปรุงแต่ง เป็นเรอื่ งเปน็ รำว ถำ้ รู้สึกมีอะไรเกะกะตำหรอื อยู่ ด้วยกันหลำยคน อำจจะหลบั ตำก็ได้เหมือนกัน แต่ระวงั อยำ่ ใหล้ ม้ ต้องมีสติ ทรงตัวไว้ให้ดี หำยใจจำกทำงเทำ้ หำยใจเขำ้ ลกึ ๆ ยืดตัวหน่อยๆ หำยใจออกสบำยๆ ปล่อยลมลงตำมตัวทำงเท้ำ หำยใจเขำ้ ลึกๆ ยดื ตวั หน่อยๆ ต้ังกำยตรง หำยใจออก ปลอ่ ยลมลงทำงเทำ้ สบำยๆ ๒ - ๓ ครั้ง หรือ ๓ - ๔ คร้ัง หำยใจเขำ้ ลึกๆ หนอ่ ย ๆ หลังจำกนัน้ หำยใจสบำย ๆ ธรรมดำ ๆ แต่ส่งควำมรสู้ ึกให้มนั ถึงเท้ำทกุ คร้งั ทำควำมรู้สึกคลำ้ ยกบั ว่ำ ลมเข้ำ ลมออก จำกทำงเท้ำ
๘๗ วิธีน้ชี ว่ ยทำให้ ลมเข้ำ ลมออก ยำวขึน้ โอปนยิโก นอ้ มจติ เข้ำมำดกู ำยยืน ไม่ให้ส่งจิตคดิ ออกไปข้ำง นอก ให้มีควำมรู้ตวั ชัด ๆ ในกำรยืน ยนื เฉย ๆ ทุกอย่ำงให้มันเป็นธรรมดำ ๆ ยืนสบำย ๆ นน่ั แหละ ดี และถูกตอ้ ง รู้ชดั ว่ำกำยกำลงั ยืน รู้ชดั ว่ำลมหำยใจปรำกฏอยู่ ลมหำยใจปรำกฏอยู่อย่ำงไรก็รับรู้ รับทรำบ กำหนดรู้ ระลึกรู้เฉย ๆ มีหลกั อยู่ว่ำ ควำมรู้สกึ อยู่ทไ่ี หน จติ กอ็ ยทู่ ีน่ ัน่ กำรระลึกรู้ลม หำยใจออก ลมหำยใจเข้ำ คือ กำรรกั ษำใจไม่ให้ ฟุง้ ซ่ำน ให้อยกู่ บั ปจั จุบัน ไมใ่ หต้ ิดอำรมณ์ ๒. อริ ยิ าบถเดนิ : เดินอานาปานสติ กำรเดินทีถ่ ูกตอ้ ง คอื เดนิ อย่ำงธรรมดำ เอำกำย เอำใจ มำเดิน เม่อื กำยกำลงั เดนิ ใหใ้ จเดิน ด้วยกัน ไม่ใช่ว่ำ เม่ือกำยกำลงั เดนิ ใจคิดไปเทยี่ วในอดีต อนำคต หรอื คิดเท่ียวไปทวั่ โลก อย่ำให้ กำยกบั ใจทะเลำะกนั อยู่คนละทศิ คนละทำง ใหก้ ำยกับใจสำมัคคกี ัน รักกัน อยดู่ ว้ ยกนั ใหม้ ี สติสมั ปชัญญะ มีควำมรู้สกึ ตวั ทั่วพร้อมในกำรเดิน เดินให้ถกู ต้องและเปน็ ธรรมชำติที่สุด อริ ิยาบถเดิน : เดนิ อานาปานสติ กำรเดนิ ทีถ่ ูกต้อง คอื เดินอยำ่ งธรรมดำ เอำกำย เอำใจ มำเดนิ เมอ่ื กำยกำลังเดนิ ใหใ้ จเดนิ ดว้ ยกนั ไมใ่ ช่วำ่ เม่อื กำยกำลงั เดนิ ใจคิดไปเที่ยวในอดีต อนำคต หรือ คิดเที่ยวไปทว่ั โลก อยำ่ ให้ กำยกบั ใจทะเลำะกัน อยูค่ นละทิศ คนละทำง ใหก้ ำยกับใจสำมคั คีกัน รกั กนั อยู่ดว้ ยกัน ให้มสี ตสิ ัมปชญั ญะ มคี วำมรสู้ ึกตัวท่วั พรอ้ มในกำรเดนิ เดินใหถ้ กู ตอ้ งและเป็นธรรมชำตทิ ่ีสุด ลักษณะการเดนิ มมี ำกมำยหลำยวิธี แลว้ แต่สำนักและครบู ำอำจำรย์ - เดนิ ช้ำ ๆ ชำ้ มำก ๆ ช่ัวโมงละ ๑๐ - ๔๐ เมตร กไ็ ด้ - คอ่ ยๆ เดนิ - เดินอยำ่ งธรรมดำ - เดินเร็ว - วิ่งก็มี
๘๘ วิธกี าหนดขณะที่เดนิ มี ๒ วิธีด้วยกนั คือ กำหนดทีก่ ำย และกำหนดทจี่ ติ วิธกี ำหนดทีก่ ำย คอื กำรตง้ั ใจเพ่งกำหนดดูกำรเคล่ือนไหวของเท้ำ เชน่ เดนิ ช้ำ ๆ ยกหนอ ยำ่ งหนอ เหยียบหนอ คอ่ ยๆ เดิน พยำยำมกำหนดรู้ เทำ้ สมั ผัสดนิ หรือทำควำมรู้สึกอยทู่ ก่ี ำรกำ้ ว ขวำกำ้ ว ซ้ำยกำ้ ว บำงทีก็ให้นกึ กำ้ วขำขวำว่ำ พทุ ก้ำวขำซำ้ ยวำ่ โธ ขวำพุท ซำ้ ยโธ พทุ โธ ๆ เปน็ ต้น วิธกี ำหนดทจ่ี ิต ตั้งใจรกั ษำจิต หรอื พินิจพิจำรณำในหวั ข้อธรรม ต่ำง ๆ ไมต่ ้องกงั วลใน อิริยำบถยก ย่ำง เหยียบ ฯลฯ เชน่ พจิ ำรณำ ควำมตำย พจิ ำรณำร่ำงกำยเปน็ อสภุ ะ หรือแยก ออกเป็น ธำตุ ๔ เปน็ ต้น เดนิ ธรรมดำ หรอื เดนิ เรว็ หรอื ชำ้ ๆ แลว้ แต่จริตนสิ ัย ของแต่ละบุคคล ไม่ตอ้ งกงั วลในเทำ้ ทเี่ คลอื่ นก้ำวไป กำรฝกึ อำนำปำนสติ จะกำหนดทั้งกำยและจิตพร้อมกัน ลมหำยใจเข้ำ ลมหำยใจออก คอื กำย จติ ก็อยทู่ ี่ลมหำยใจเฉพำะหนำ้ กำรกำหนดรู้ลมหำยใจ จึงเปน็ กำรตำมดูจติ เป็นกำรรกั ษำจติ ด้วย เดินจงกรม เรำจะฝกึ เดนิ จงกรมแบบธรรมชำติทีส่ ดุ ให้เดินธรรมดำ ๆ แตช่ ำ้ กว่ำปกตนิ ดิ หนอ่ ย ขวำก้ำว ซ้ำยกำ้ ว ขวำก้ำว ซำ้ ยกำ้ ว เดินไปเร่อื ย ๆ น่นั แหละ คือเดินจงกรม เดนิ เฉย ๆ ธรรมดำ ๆ แต่ใหม้ ีอำกำรสำรวมระวังในกำรเดิน มสี ติ ระลึกรู้ ลมหำยใจเขำ้ ลมหำยใจออก ทกุ ครงั้ บำงคน อำจจะไม่เคยชนิ กับกำรกำหนดลมหำยใจขณะเดิน เพรำะวำ่ ควำมรู้สกึ ทเ่ี ท้ำกำลังก้ำวอยู่ ควำมรู้สกึ ทฝ่ี ำ่ เท้ำกำลัง ถกู ดิน ควำมรู้สึกตัวในกำรเดินเดน่ ชดั มำกกวำ่ ลมหำยใจหลำยเท่ำ หลำยสบิ เท่ำกเ็ ปน็ ได้ แตไ่ ม่ต้องสงสยั อะไร อะไรท่ีกำลังปรำกฏอยโู่ ดยธรรมชำติ รบั รู้ รับทรำบ หมด ร้ชู ัดว่ำกำยกำลังเดิน แต่เรำไมท่ ิง้ ลมหำยใจ ให้มีควำมพยำยำมท่ีจะกำหนดรู้ ลมหำยใจเข้ำ ลมหำยใจออก รนู้ ิดหน่อยว่ำ ลมเขำ้ ลมออก เท่ำนั้น เบำขนำดไหนกช็ ่ำงมนั แต่ใหม้ นั รตู้ ิดตอ่ กนั เดนิ ไป เดนิ มำ เริ่มจะเม่ือยคอ เมอื่ ยหลัง หำยใจเข้ำลกึ ๆ ๒ - ๓ คร้ัง ยดื ตวั หน่อย ๆ เป็นระยะ ๆ เพือ่ ช่วยผ่อนคลำยควำมรูส้ กึ ทำให้เบำตัว สบำยตวั เดนิ ไปเรอ่ื ย ๆ ถ้ำจิตไมส่ งบ หยุดเดินก่อนก็ได้ หำยใจเข้ำลึก ๆ ๒ - ๓ ครั้ง หรือนำนพอสมควร จนกวำ่ จิตจะสงบเรียบรอ้ ย ต้งั หลัก ต้ังสติ แล้ว
๘๙ คอ่ ย ๆ เดนิ ตอ่ ไป เดนิ กำหนดอำนำปำนสติ เหมอื นกำรยืนกำหนดอำนำปำนสติ ต่ำงกันเพียงกำร เคลอ่ื นไหวของกำยเทำ่ นนั้ ไม่ว่ำจะวงิ่ เดนิ เร็ว เดินธรรมดำ เดินช้ำ หยุดอยู่คอื ยืน เรำมีหน้ำท่ี ระลึกรทู้ ุกครง้ั ที่ลมหำยใจเข้ำ ลมหำยใจออกติดตอ่ กนั เทำ่ นน้ั หำจุดสบำย ๆ หำยใจเข้ำสบำย ๆ หำยใจออกสบำย ๆ เป็นกำรเจรญิ สตทิ จ่ี ะระลกึ ร้ลู มหำยใจเข้ำ ลมหำยใจออก เปน็ กำรรักษำจติ ใจ ใหเ้ ปน็ ปกติ เป็นกำรรกั ษำควำมรสู้ ึกให้เป็นปกติ คือ เบำสบำย หำยใจสบำย ๆ กำยสบำย ใจสบำย สบำย ๆ อำนิสงสข์ องกำรเดินจงกรม มี 5 อยำ่ งคือ ๑. เปน็ ผู้ทนต่อควำมเพียร ๒. เปน็ ผ้ทู นต่อกำรเดนิ ไกล ๓. เป็นผมู้ กี ำรเจบ็ ไข้นอ้ ย ๔. อำหำรท่ีบรโิ ภคเข้ำไปยอ่ มยอ่ ยงำ่ ย ๕. สมำธิซึ่งไดข้ ณะเดินจงกรม ดำรงอยไู่ ด้นำน ๓. อิริยาบถนัง่ : นั่งกาหนดอานาปานสติ ใครเคยฝึกน่ังสมำธใิ นท่ำไหน หรอื ถนัดนั่ง ก็ใหน้ ่ังอยำ่ งนน้ั น่งั ขดั สมำธิ นัง่ พับเพยี บกบั พืน้ หรือนง่ั บนเก้ำอี้ก็ได้ ข้อสำคญั อยูท่ ่ีหลังตั้งตรง และไม่ควรพงิ หลังกบั ส่ิงใด เพรำะจะทำให้เกดิ ควำมสบำยมำกไป ทำให้งว่ งนอนได้งำ่ ย โบรำณำจำรย์สอนไว้ว่ำ ลักษณะกำรนั่งทเ่ี รียบรอ้ ยนัน้ ให้ เอำขำขวำ ทบั ขำซ้ำย มอื ขวำทบั มอื ซำ้ ย ต้งั กำยให้ตรง พอเหมำะ พอดี พองำม ไมใ่ ห้เอียงขวำ เอยี งซ้ำย ไมก่ ้มหน้ำเกนิ ไป และไมเ่ งยหน้ำเกินไป ให้เอำทำ่ น่ังของพระพทุ ธรูปเป็นตัวอย่ำง พยำยำมน่งั ใหเ้ รียบรอ้ ย อย่ำงนั้น เมือ่ ใครได้เหน็ ยอ่ มร้สู กึ ศรัทธำ เกดิ ควำมชน่ื อกชน่ื ใจด้วย แต่ไม่วำ่ จะเป็นท่ำไหนก็ตำม ข้อสำคัญอยูท่ ว่ี ่ำ นง่ั สบำย ตัง้ กำย ได้ตรง มั่นคง และนัง่ ได้นำน โดย ไมต่ อ้ งใชค้ วำมพยำยำมในกำร ทรงตัวมำกนัก ทั้งน้เี พื่อไมใ่ หม้ คี วำมรสู้ ึกกังวลทำงกำย เพรำะ กำรปฏบิ ัติงำนทำงจติ ในสมถะและวปิ ัสสนำกรรมฐำนเป็นงำนท่ี ละเอียดสขุ ุม บำงครั้งอำจจะเข้ำ ลักษณะมกี ำย แตร่ ้สู ึกเหมือนไม่มี ให้พยำยำมฝึกปฏบิ ตั กิ ันมำก ๆ ไมใ่ ห้มคี วำมกงั วลต่อกำรน่ัง
๙๐ นงั่ ขัดสมำธิ ตั้งกำยตรง ดำรงสตใิ ห้มนั่ หำยใจเขำ้ ลึก ๆ ปล่อย ลมหำยใจออก หำยใจเขำ้ ลกึ ๆ สดุ ๆ ยืดตัว แล้วก็ปล่อย ทำอยู่ อย่ำงนี้ ๒ - ๓, ๓ - ๔ ครงั้ แลว้ คอ่ ย ๆ ปล่อย หำยใจสบำย ๆ ธรรมดำ ๆ รู้กำยนงั่ รลู้ มหำยใจเข้ำ ลมหำยใจออก ทำใจใหเ้ รยี บร้อย รคู้ วำมรสู้ ึกเปน็ ปกติ น่ัง สบำยๆ หำยใจสบำยๆ นนั่ แหละดี และถูกต้อง หำยใจสบำย หำยใจเข้ำ ใหเ้ บำสบำย หำยใจออก ให้เบำสบำย ไม่ตอ้ งตงั้ ใจกำหนดลงไปท่ีไหน ให้ กำหนดเบำ ๆ สบำย ๆ กอ่ น น่งั สบำย นง่ั เฉย ๆ ลมหำยใจปรำกฏอยู่ กำหนดเบำ ๆ ระลกึ ร้อู ยูเ่ ฉย ๆ หำยใจเข้ำ สบำย หำยใจออก สบำย ถ้ำคิดออกไปเร่อื งอืน่ พอรูต้ วั ให้รีบกลับมำ ท่ี ลมหำยใจเข้ำ ลมหำยใจออก ถำ้ คิดอะไรมำกไปหนอ่ ย ให้หำยใจเข้ำลกึ ๆ หำยใจออก สบำย หำยใจเขำ้ ลกึ ๆ หนอ่ ย หำยใจออก ปลอ่ ย สบำย ๆ ๓ - ๔ คร้ัง แล้วปล่อยตำมปกติ กำหนดร้ลู ม หำยใจเข้ำ ลมหำยใจออก ถำ้ งว่ งนอนใหล้ ืมตำ ใหม้ ีสตใิ นกำรนัง่ ทรงตวั ในกำรนั่งเรยี บร้อย ใหม้ ี ควำมร้สู ึกตวั ทัว่ พรอ้ มในกำรน่งั ให้มีเจตนำในกำรหำยใจเข้ำลกึ ๆ หนอ่ ย หำยใจออก ปลอ่ ยตำม ธรรมชำติ หำยใจเข้ำลกึ ๆ หำยใจออก หำยใจเข้ำลึก ๆ ชว่ ยทำให้เพมิ่ กำลัง นั่งไดต้ รง ตื่นตัว ตื่น ใจ ขบั ไล่ควำมง่วงนอน ควำมข้เี กียจออกไปได้ ถ้ำมพี ลังมำกไป กำยร้อน ใจรอ้ น ตื่นเต้น หำยใจ ออก ยำว ๆ หน่อย หำยใจเข้ำ ปล่อยตำมปกติ ให้มีเจตนำในกำรหำยใจออกยำว ๆ หน่อย หำยใจเข้ำ ปล่อยตำมสบำย หำยใจออก ยำว ๆ สบำยๆ หำยใจเข้ำ สบำย ๆ กำหนดรู้ลมหำยใจ ออกสบำย ลมหำยใจเขำ้ สบำย รกั ษำจิตให้เปน็ ปกติ รักษำควำมร้สู กึ เป็นปกติ หลบั ตำหรือลืมตำ โดยมำกเรำท้งั หลำยมกั เข้ำใจกนั ว่ำ กำรนง่ั สมำธิ คอื กำรน่ังหลบั ตำ แตถ่ ้ำเรำสงั เกตดู พระพุทธรปู มอี งคไ์ หนบ้ำงท่ีหลบั ตำ ส่วนใหญ่แล้ว พระพุทธรูปจะอยูใ่ นท่ำนัง่ แลว้ ลมื ตำเลก็ นอ้ ย ใช่ไหม สำหรบั พระในนกิ ำยเซนทปี่ ระเทศญป่ี ่นุ เวลำนัง่ สมำธิทำ่ นกห็ ้ำมหลับตำ เวลำน่ังสมำธิ หลบั ตำ อำจจะรสู้ กึ สงบและสบำยก็จริง แต่นิวรณ์ มกั จะเข้ำมำครอบงำจติ ได้งำ่ ย โดยเฉพำะอยำ่ ง ยง่ิ ควำมง่วงเหงำ หำวนอน หรอื ถนี มทิ ธะนิวรณ์ ถำ้ ลมื ตำใหม้ ีแสงสว่ำงเข้ำตำอยู่ตลอด จะสังเกต และจับควำม ง่วงนอนได้ง่ำย และจัดกำรขบั ไล่ไดส้ ะดวก แต่หำกม่นั ใจวำ่ ไม่งว่ งเหงำหำวนอน
๙๑ แน่ ๆ จะหลบั ตำกไ็ ด้เหมือนกนั ที่สดุ ของกำรทำสมำธิ คือ ไม่ว่ำจะหลบั ตำหรอื ลมื ตำ เม่ือเหน็ อะไร ได้ยนิ อะไร รู้สึกอย่ำงไรกต็ ำม ให้ทำจิตต้ังม่นั เป็นสมำธนิ น่ั แหละ ๔. อริ ิยาบถนอน : นอนกาหนดอานาปานสติ เรำสำมำรถฝกึ อำนำปำนสติในอริ ิยำบถนอนไดอ้ ยำ่ งง่ำย ๆ สบำย ๆ โดยกำรนอนหงำย สบำย ๆ ธรรมดำ ๆ อิรยิ ำบถคลำ้ ยกำรยืน วำงแขนลงข้ำงลำตวั ฝ่ำมอื หงำยข้ึนหำ่ งจำกกำย พอสมควร ประมำณ ๑ - ๒ คบื นอนเหยยี ดสบำยๆ เหมอื นคนตำยทไ่ี มร่ บั รู้ อะไร หำกเรำคนุ้ เคย กบั กำรนอนตะแคงกส็ ำมำรถทำไดเ้ ช่นกัน จำกนั้นให้สำรวจรำ่ งกำยทัง้ หมด โดยเร่มิ จำกปลำยเทำ้ ขน้ึ มำ ผ่อนคลำยกล้ำมเนอ้ื ของร่ำงกำยทกุ ส่วน ไม่ใหม้ ีกลำ้ มเนือ้ สว่ นใด เกรง็ อย่เู ลย จนกระทัง่ มี ควำมรสู้ ึกตวั เบำเหมือนสำลี เวลำหำยใจเข้ำ หำยใจออก ให้กำหนดควำมรู้สึกเหมอื นกับวำ่ หำยใจเข้ำ หำยใจออก ทำงเท้ำ เมอื่ หำยใจออกให้กวำดเอำควำมรู้สกึ ทไ่ี ม่ดี ควำมเครียด ควำม กังวล ควำมรสู้ ึกเจบ็ ป่วย ไมส่ บำย ทง้ั ทำงกำยและทำงใจ ออกไป จำกร่ำงกำยใหห้ มด โดยหำยใจ ใหไ้ กลออกไปจำกเทำ้ หลำยเมตรก็ได้ เม่อื หำยใจเขำ้ ต้งั สติไวท้ ี่เทำ้ ให้ควำมรู้สึกสะอำดบรสิ ุทธิ์ ผ่ำนเขำ้ มำทำงรำ่ งกำย จนถึงใบหน้ำและจมูก สุขภำพของใจจะดขี นึ้ และ ทำใหอ้ ำยยุ นื ไปด้วยพรอ้ ม ๆ กัน
๙๒ บ ๓.๓/ผ ๔-๐๑ ใบงานที่ ๐๑ คาช้แี จง นักเรียนเขียนประโยชนก์ ำรใช้สมำธใิ นกำรมอง กำรฟัง กำรอำ่ น กำรคดิ กำรถำม และกำรเขยี น พฤติกรรม ประโยชน์ ................................................................................................................................................... กำรมอง ................................................................................................................................................... กำรฟงั ………………………………………………………………………………………………………………………………….. กำรอ่ำน …………………………………………………………………………………………………………………………………. กำรคิด ................................................................................................................................................... กำรถำม ................................................................................................................................................... กำรเขียน ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………. ชอื่ ...........................................................................................................ชั้น................................เลขที่.............................
๙๓ ใบความรทู้ ่ี ๐๑ เรื่อง สมาธิในการฟัง การอา่ น การคิด การถาม และการเขยี น สมาธิ คอื กำรสำรวมใจใหม้ ัน่ คง ไมว่ อกแวกนกั เรยี นหำกมีสมำธิใน กำรเรียนจะทำให้มีสมำธิ และพัฒนำปญั ญำไปสูก่ ำรเรยี นไดซ้ ง่ึ กำรพัฒนำกำรฟงั กำรอ่ำนกำรคดิ กำรถำม กำรเขียน สำมำรถฝึกได้ดงั นี้ การฟัง ตั้งใจฟังอยำ่ งสงบ จบั ใหไ้ ดใ้ จควำมวำ่ เป็นเร่ืองอะไร เกดิ ขึ้นทไี่ หน มใี ครเกย่ี วข้องบำ้ ง มีประโยชนอ์ ยำ่ งไร เชอื่ ไดห้ รือไม่ ข้อมลู นี้ตอ้ งสบื ค้นหำไดท้ ไ่ี หน การอ่าน ทำใจให้สงบ มีควำมต้ังใจใครร่ ู้ มีสมำธใิ นกำรอำ่ น ต้งั ใจอำ่ น รูใ้ ห้ไดว้ ำ่ อ่ำนเรอ่ื งอะไร มปี ระโยชนอ์ ยำ่ งไร เชือ่ ไดห้ รือไม่ ค้นหำหลกั ฐำนควำมจรงิ ไดท้ ่ไี หน การคิด คิดไตรต่ รองในสงิ่ ท่ฟี ังมำ หรอื อ่ำนมำแลว้ ว่ำ มปี ระโยชน์ หรือ มีโทษ แยกแยะหำเหตุผล และขอ้ เท็จจริง ควรตัดสนิ ใจเช่ือหรอื ไม่ การถาม เม่อื ไมเ่ ข้ำใจ หรือ สงสัย ในสง่ิ ท่ตี นฟัง หรือ สิง่ ทีต่ นอ่ำน ใหถ้ ำมครู หรอื ผู้ทเี่ กยี่ วขอ้ งกับสิ่งนน้ั ๆ ดว้ ยคำพดู ท่สี ุภำพ การเขยี น จดบันทกึ หรอื เขียน สิง่ ทีไ่ ดจ้ ำกกำรรบั ฟัง กำรอำ่ น กำรถำม และ กำรติดตำมเรือ่ งรำว เพอื่ เกบ็ ไว้เปน็ ขอ้ มูลสำหรบั กำรเรยี นรูต้ อ่ ไป ประโยชนข์ องการฝึก จะทำใหน้ ักเรยี นพัฒนำกำรคดิ กำรอำ่ น กำรเขียน กำรถำม อยำ่ งเป็นระบบ สำมำรถพัฒนำสตปิ ญั ญำและไดค้ วำมรขู้ องตนอยำ่ งเตม็ ท่ี ทำใหเ้ กดิ ควำมม่นั ใจในตนเอง มบี คุ ลิกภำพที่งดงำม
๙๔ การฝกี ให้มีสมาธใิ นการฟัง การอา่ น การคดิ การถาม และการเขยี น ๑) กำรฝีกให้มสี มำธิในกำรฟัง คอื ควำมต้งั ใจม่ัน มจี ติ กำหนดแนว่ แนต่ ง้ั มัน่ ใน กำรฟัง เมอ่ื หไู ิดย้ นิ กก็ ำหนดร้สู ่ิงท่ีไิดย้ ินแล้วพจิ ำรณำในสิ่งทไี่ ด้ยิน ทำจิตใจใหส้ งบ จดจ่ออยู่ในสงิ่ ท่ไี ดย้ ินเพยี งอย่ำงเดียว กจ็ ะทำใหเ้ ขำ้ ใจในสิ่งท่ีฟงั ๒) กำรฝึกใหม้ สี มำธใิ นกำรอำ่ น คอื กำรทำจิตใจใหจ้ ดจอ่ อยกู่ บั เรื่องทเี่ รำอ่ำน กำหนดจิตต้งั ม่ันแนว่ แนต่ อ่ กำรอ่ำนเพยี งอย่ำงเดยี ว โดยไมฟ่ งุ้ ซ่ำนคิดไปในเร่ืองอนื่ ๆ กจ็ ะทำใิห้เขำ้ ใจในเรือ่ งท่ีอำ่ น ๓) กำรฝึกใหม้ ีสมำธิในกำรคิด คอื กำรฝกึ คดิ อย่ำงมเี หตุผล เมอื่ ไดร้ บั ควำมรู้ จำกกำรฟงั หรอื กำรอำ่ นแล้วจะตอ้ งพจิ ำรณำเรื่องทไ่ี ดฟ้ งั หรือเรื่องท่ีได้อำ่ น แลว้ นำมำ วิเครำะห์ จงึ จะไดช้ ่อื ว่ำ \"คิดเป็น\" และถำ้ เรำหมัน่ ฝึกคิดวเิ ครำะหอ์ ยำ่ งรอบคอบมี เหตผุ ลแลว้ ก็จะทำใหไ้ ดร้ บั ควำมรใู้ หม่ ๆ เพิม่ ข้นึ ๔) กำรฝกึ ให้มสี มำธใิ นกำรถำม คอื กำรคดิ ไตร่ตรองอยำ่ รอบคอบก่อนแลว้ จึง คอ่ ยถำม ถำ้ นกั เรยี นสงสยั ในเรือ่ งใดขณะทฟี่ ังอยู่ สำมำรถไต่ถำมได้ และควรถำม ดว้ ยควำมสุภำพ ๕) กำรฝึกใหม้ สี มำธใิ นกำรเขยี น คอื กำรมใี จมงุ่ ม่ันจดจอ่ ทจี่ ะเขียน และลงมอื เขยี นตำมทีไ่ ดค้ ิดไตร่ตรองเอำไวแ้ ล้ว ทม่ี า http://www.thaigoodview.com/node/145084
๙๕ ใบงานท่ี ๐๑ บ ๓.๓/ผ ๕-๐๑ คาช้ีแจง นักเรียนเขยี นแผนผังควำมคิด เรื่อง ข้อดีของกำรนำกำรพัฒนำจิตตำมศำสนำท่ตี น นับถือถอื ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน โดยสรำ้ งสรรคผ์ ลงำนใหส้ วยงำม ขอ้ ดีของการนาการพฒั นาจิตตามศาสนา ทต่ี นนบั ถือไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ชอ่ื ..........................................................................ชั้น..................................เลขที่..................... ชื่อ..........................................................................ช้นั ..................................เลขท.่ี .................... ช่อื ..........................................................................ช้นั ..................................เลขที่....................
๙๖ บ ๓.๓/ผ ๕-๐๒ ใบงานที่ ๐๒ คาชแ้ี จง นกั เรียนเขยี นเรยี งควำมประเดน็ กำรนำกำรพัฒนำจิตตำมแนวทำงของศำสนำ ที่ตนนับถอื ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั โดยกำหนดช่ือเรื่องดว้ ยตนเอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ชื่อ............................................................................................ชั้น...........................เลขที่.........................
๙๗ ใบความรทู้ ี่ ๐๑ การนาการพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนับถือไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั กำรบรหิ ำรจติ และเจริญปัญญำกอ่ ให้เกิด “ชีวติ ท่ีมีคุณภำพ” หมำยถงึ ควำมสมบรู ณข์ อง ชวี ิต เป็นผูท้ ่สี ำมำรถดำรงชวี ติ ไดอ้ ย่ำงมคี ณุ ภำพท้ังในด้ำนจติ ใจ กำรงำน รวมท้งั ด้ำนครอบครวั โดยไม่จำเปน็ ต้องมฐี ำนะ ตำแหน่งทำงสังคมสงู ส่ง บคุ คลผนู้ นั้ อำจเป็นคนธรรมดำ ซึง่ สำมำรถ ควบคุมจิตใจได้ มีควำมรจู้ กั พอ ไมล่ ะโมบ ขยนั ขันแข็งในกำรประกอบอำชพี ทีส่ ุจริต สิ่งเหลำ่ นจ้ี ะ ทำให้สภำพทำงร่ำงกำยและจิตใจเกดิ ควำมสุขทำงกำยและสุขใจ คุณภำพชวี ติ ดังกลำ่ วก็ต้องอำศยั กำรฝกึ อบรมจติ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับสมำธินั่นเอง ดังน้ันบคุ คลควรนำวิธีกำรบริหำรจิตและเจริญปญั ญำ ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันไดด้ ังนี้ ๑. ใช้ประกอบกำรเรียน โดยกำรมสี มำธิตง่ั มั่นในส่งิ ทีต่ ้องกำรเรียนรู้ เชน่ จิตตั้งมัน่ ในกำร อ่ำนหนงั สอื โดยตระหนักรู้อยู่กับตวั อกั ษรที่อำ่ นอยำ่ งมสี ติ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ควำมเข้ำใจในสง่ิ ท่อี ยำกรู้ อย่ำงอำ่ น เชน่ เดยี วกับจติ ตง่ั มั่นกับกำรฟังกำรบรรยำย และกำรเรยี นร้เู รอ่ื งอื่น ๆ เป็นต้น ๒. ใช้ประกอบกบั กำรทำงำน โดยต้ังจติ ใหม้ ีสมำธิ แนว่ แน่อยู่กับสง่ิ ที่กำลงั ทำ ไมจ่ ติ ใจ วอกแวกหรอื ฟุ้งซำน จติ ใจไมเ่ ลือ่ นลอย ยอ่ มช่วยให้ทำงำนได้ผลดี ๓. ฝกึ ทำสมำธทิ ุกวันในช่วงเวลำว่ำง เชน่ ก่อนนอน เพรำะกำรทำสมำธิจะกอ่ ให้เกิด ประโยชนต์ ำ่ ง ๆ ดังทกี่ ล่ำวมำข้ำงต้น
๙๘ การนาการบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญาไปใช้ในชีวติ ประจาวันมงุ่ สูก่ ารพฒั นาจติ อำไพ สุจริตกุล (ม.ป.ป. : ๓๑) กลำ่ วว่ำ ปัจจุบนั กำรพฒั นำจิตใจควบคูไ่ ปกบั กำรพัฒนำ ดำ้ นวตั ถุมีควำมสำคัญอย่ำงยงิ่ เพรำะพฒั นำกำรดำ้ นวัตถุอยำ่ งเดียวก่อใหเ้ กดิ ปญั หำมำกมำยดว้ ย ควำมเครียดและควำมเหน็ แก่ตวั ของบุคคลในสงั คมเพ่ือป้องกันและขจดั ปญั หำดังกล่ำวจึงควร สง่ เสรมิ ใหท้ ุกคนพฒั นำจิตดว้ ยกำรเจรญิ วปิ ัสสนำกมั มัฏฐำนเปน็ กำรพฒั นำจิตให้รู้เท่ำทันโลก ร้จู ัก ชีวติ ตำมเป็นจริง เพือ่ ลดละควำมยึดมัน่ ถอื ม่ันในตวั ตน อันเป็นผลใหจ้ ิตบรสิ ุทธแิ์ ละเกิดปัญญำกำร บรหิ ำรจิตและเจรญิ ปัญญำ เปน็ กำรนำหลกั ธรรมคำสอนของพระพุทธศำสนำมำปฏบิ ัติจนเหน็ ผล โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ กำรมุ่งใหเ้ ดก็ และเยำวชนปฏิบัตติ ำมโอวำท ๓ คอื เว้นชัว่ ดว้ ยกำรรกั ษำศลี ทำดี โดยกำรประพฤติธรรม และทำจติ ใจให้ผอ่ งใสบริสทุ ธ์ิ ดว้ ยกำรฝึกสติ บริหำรจติ และเจริญปญั ญำ ดังตำรำงต่อไปน้ี ๑. รกั ษำศีล ประพฤตธิ รรม บรหิ ำรจติ เจรญิ ปัญญำ – ไม่ฆ่ำไมเ่ บยี ดเบียนกนั – มีเมตตำกรุณำ ฝึกสตปิ ัฏฐำน ๔ ได้แก่ – ไมล่ ักขโมย – ประกอบสมั มำชพี – ระลกึ รใู้ นกำย – ไมล่ ่วงละเมิดส่งิ ทีผ่ อู้ ่ืนรักและหวงแหน – สำรวมในกำม – ระลึกรูใ้ นเวทนำ – ไม่พูดเท็จ (เว้นวจีทจุ ริต ๔) – รักษำสจั จะ – ระลึกร้ใู นจติ – ไม่เสพของเสพติดให้โทษ – มีสติสมั ปชญั ญะ – ระลึกในธรรมะ ๒. ส่งผลตอ่ กำรเปล่ยี นแปลงทำงร่ำงกำย เบน็ สันและวอลเลชย์ (Benson and Wallace) พบวำ่ ระหว่ำงกำรฝึกสมำธจิ ะมกี ำรผ่อนคลำยก้ำมเน้ือทว่ั ร่ำงกำย อตั รำของชีพจรและกำรหำยใจลดลง ควำมต้ำนทำนของผวิ หนงั เพมิ่ ขึ้น ระดับของแลคเตตยใ์ นเลือด (Blood lactate) ลดลงและ กจิ กรรมเกยี่ วกับกำเผำผลำญอำหำรในร่ำงกำย (Metabolism) กล็ ดลงดว้ ย สง่ิ ทน่ี ำ่ สนใจอกี อยำ่ ง หน่ึงคือ มกี ำรหล่ังของสำรประเภทฝิ่นออกมำในสมอง สำรน้เี รยี กวำ่ เอ็นดอรฟ์ ิน (Endorphins) ขณะเมอื่ อย่ใู นสมำธิหรอื ออกจำกสมำธิแลว้ ผู้ฝกึ จะมีควำมรู้สึกสดชื่น ตืน่ ตวั สขุ สบำย และยงั ทำให้ อำกำรปวดลดลงดว้ ย (จำลอง ดษิ ญวณชิ . ม.ป.ป. : ๑๕๙) ๓.ส่งผลทำงจิตวิทยำนักจิตวทิ ยำและจิตแพทย์มคี วำมเห็นสอดคล้องกัน ว่ำกำรฝกึ สมำธิสำมำรถ ลดควำมเครียดและควำมวิตกกงั วลไดบ้ ำงทำ่ นได้นำเอำเทคนคิ ของกำรฝกึ สมำธมิ ำประยุกตใ์ ชใ้ น
๙๙ กำรรักษำผปู้ ว่ ยทมี่ ีปญั หำทำงจติ ใจและทำงอำรมณ์บำงรำย โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ ผูป้ ว่ ยโรคประสำท และโรคทำงกำยสำเหตุจำกจิตใจ ๔. ส่งผลด้ำนสังคม ผู้ปฏิบัตสิ มำธิอยำ่ งสม่ำเสมอจะช่วยพฒั นำบคุ ลิกภำพให้ดแี ละม่นั คง มี ควำมสำมำรถทำงสงั คมดีข้นึ เปน็ กำรช่วยปอ้ งกันและขจดั ปญั หำสงั คม เชน่ ปัญหำควำมก้ำวรำ้ ว ควำมรุนแรง ปัญหำทำงเพศ ปัญหำยำเสพติด เปน็ ต้น ประโยชน์ของการบริหารจติ และเจริญปัญญา กำรฝกึ อบรมเจริญสมำธมิ ีวตั ถปุ ระสงค์ที่จะนำไปใช้ประโยชนด์ ้ำนตำ่ ง ๆ ดังนี้ ๑. สมำธิภำวนำทเ่ี จรญิ แลว้ ทำใหม้ ำกแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพือ่ ทฏิ ฐธรรมสขุ วิหำร (กำรอย่เู ป็น สขุ ในปจั จุบัน) ได้แก่ กำรเจรญิ ฌำน ในลกั ษณะท่เี ปน็ วธิ ีหำควำมสุขแบบหน่ึง พระพุทธเจำ้ และ พระอรหันตท์ ้งั หลำย นยิ มเจรญิ ฌำนโอกำสวำ่ ง เพือ่ เป็นกำรพกั ผ่อนอย่ำงสุขสบำย ท่ีเรียกวำ่ ทิฏฐธรรมสขุ วิหำร ๒. สมำธิภำวนำทีเ่ จริญแลว้ ทำให้มำกแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพือ่ กำรไดญ้ ำณทสั สนะ หมำยถึง กำรนำเอำสมำธไิ ปใช้เพ่ือผลสำเรจ็ ทำงจติ คอื ควำมสำมำรถพิเศษจำพวกอภญิ ญำ (ควำมรู้ขน้ั สูง ๖ อย่ำงคอื แสดงอทิ ธิฤทธต์ิ ่ำง ๆ หทู ิพย์ ทำยใจคนอ่ืนได้ ระลึกชำติไดต้ ำทิพย์ และทำใหอ้ ำสวะสิน้ ไป) รวมทั้งอทิ ธิปำฏหิ ำริย์ ๓. สมำธิภำวนำท่ีเจริญแล้ว ทำให้มำกแล้ว ยอ่ มเปน็ ไปเพ่ือสติและสัมปชัญญะ คอื กำร รู้เท่ำทันควำมรู้สกึ นกึ คดิ ต่ำง ๆ ท่เี กิดขึน้ หรือดับไปในควำมเป็นอยปู่ ระจำวนั ของตน ๔. สมำธิภำวนำทีเ่ จรญิ แลว้ ทำให้มำกแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพ่ือควำมสิน้ ไปแห่งอำสวะทั้งหลำย ได้แกก่ ำรเปน็ อยู่โดยใชป้ ญั ญำพิจำรณำเห็นอยเู่ สมอถงึ ควำมเกิดขน้ึ และควำมเสอ่ื มส้นิ ไปของ อปุ ำทำนขันธ์ ๕ (รูป เวทนำ สญั ญำ สงั ขำร และวญิ ญำณ) กลำ่ วง่ำย ๆ วำ่ กำรใช้สมำธิเพื่อ ประโยชน์ทำงปัญญำ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229