Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โปรแกรมสร้างสุขวัยทำงานในสถานประกอบการ กรมสุขภาพจิต

โปรแกรมสร้างสุขวัยทำงานในสถานประกอบการ กรมสุขภาพจิต

Description: โปรแกรมสร้างสุขวัยทำงานในสถานประกอบการ กรมสุขภาพจิต

Search

Read the Text Version

â»Ãá¡ÃÁ สรางสุขÇÑ·íÒ§Ò¹ 㹠ʶҹ»ÃСͺ¡Òà กรมสุขภาพจิต สำนักสงเสริมและพัฒนาสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ DEPARTMENT OF MENTAL HEALTH



ชื่อหนังสือ : โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งานในสถานประกอบการ กองบรรณาธกิ าร : นางอรวรรณ ดวงจนั ทร์ นางสาวภวมยั กาญจนจริ างกูร นางกลั ยกร ไชยมงคล จดั พิมพ์โดย : สาำ นกั สง่ เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ ถนนติวานนท์ อำาเภอเมอื ง จงั หวัดนนทบรุ ี 11000 พมิ พค์ รั้งที่ 1 : กนั ยายน 2560 จำานวนพิมพ์ : 1,000 เลม่ พมิ พท์ ี่ : บริษัท วคิ ทอเรยี อมิ เมจ จาำ กดั ดาวนโ์ หลดไดท้ ี่ : โปรแกรมสรา้ งสุขวัยทาำ งานในสถานประกอบการ

คำ�นำ� ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ได้กำาหนดวิสัยทัศน์ ว่า ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมท้ังกำาหนดยุทธศาสตร์ด้านต่างๆเพื่อรองรับการ ขับเคล่ือนให้บรรลุวิสัยทัศน์ข้างต้น และหนึ่งในยุทธศาสตร์น้ัน คือ ด้านการสร้างความ สามารถในการแข่งขันโดยพัฒนาภาคการผลิตและบริการร่วมกับยุทธศาสตร์การพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีสุขภาวะท่ีดีควบคู่กันไป ซ่ึงต้องอาศัยความร่วมมือระหว่าง กระทรวงสาธารณสุขและภาคการผลิตและบริการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้ ท่ีผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ท่ีมุ่งเน้นการ พัฒนาคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัย สำาหรับคนวัยทำางาน ได้มีการขับเคล่ือนภายใต้เกณฑ์ “สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภยั กายใจเป็นสุข” อยา่ งตอ่ เน่อื ง กรมสขุ ภาพจติ ในฐานะกรมทรี่ บั ผดิ ชอบพฒั นาและตรวจประเมนิ ตาม “เกณฑก์ ายใจ เป็นสุข” พบว่า ผลลัพธ์เชิงประจักษ์ท่ีสถานประกอบการท่ีเข้าร่วมพัฒนาตามเกณฑ์เห็นอย่าง ชัดเจนและยอมรับ คือ อัตราการลาออกของพนักงานลดลง พนักงานมีความสุขและมีความ ผกู พนั ตอ่ หนว่ ยงานมากขน้ึ แมก้ ระนน้ั กต็ ามสถานประกอบการเหลา่ นนั้ ยงั มคี วามประสงคท์ จ่ี ะ ตอ่ ยอดการพฒั นาตนเองเพอื่ ดแู ลสขุ ภาพใจของพนกั งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและใหม้ คี วามครอบคลมุ ครบถ้วนตามความต้องการของพนักงาน กรมสขุ ภาพจติ จงึ พฒั นาโปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งานในสถานประกอบการ ซงึ่ สามารถ ตอ่ ยอดการจดั กจิ กรรมจาก “เกณฑก์ ายใจเปน็ สขุ ” และเปน็ โปรแกรมฯทผ่ี า่ นขนั้ ตอนการพฒั นา ตามกระบวนการวจิ ยั และพฒั นา เพอื่ ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการจดั กจิ กรรม โดยมงุ่ หวงั วา่ โปรแกรม สรา้ งสขุ ฯน ี้ จะสง่ เสรมิ ใหค้ นวยั ทาำ งานสามารถดแู ลสขุ ภาพใจของตนเอง ครอบครวั และคนรอบ ขา้ งได ้ เพอื่ นาำ ไปสคู่ นวยั ทาำ งานยคุ 4.0 “ปรบั ตวั ได้ ใจเปน็ สขุ สนกุ ไมเ่ ครยี ด” คอื คนวยั ทาำ งาน มสี ขุ ภาพจิตด ี และมคี วามสขุ กรมสขุ ภาพจิต โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทำางาน ในสถานประกอบการ ก

ข โปรแกรมสร้างสขุ วยั ทำางาน ในสถานประกอบการ

ส�รบญั หน้า คาำ นำา ก สารบญั ค บทนำา 1 Module 1 ฝกึ มองโลกในแง่ดี 11 13  กิจกรรม ทบทวนส่ิงดีๆ ในชีวิต : ครัง้ ที่ 1 คน้ หาตวั เอง 15  กิจกรรม ทบทวนส่ิงดีๆ ในชวี ติ : ครง้ั ท่ ี 2-3 ตอกยาำ้ สิ่งด ี 17  กิจกรรม ทบทวนส่ิงดีๆ ในชวี ติ : ครงั้ ท่ ี 4 หันมองรอบขา้ ง 20  กจิ กรรม ทบทวนส่ิงดีๆ ในชีวิต : คร้งั ท ่ี 5 เล่าสู่กนั ฟงั 22  กจิ กรรม ทบทวนสง่ิ ดๆี ในชีวติ : คร้ังท่ี 6 ช่นื ชมคนรอบข้าง 25 อยา่ งจรงิ ใจ 27 Module 2 ปรับเปลย่ี นความคิด 32  กจิ กรรม เก้าอ้ีมนษุ ย์ 35  กจิ กรรม บัตรเติมใจ “ส่งความรกั ให้ Buddy” 37  กจิ กรรม คนดี...ต้องบอกต่อ 39  กิจกรรม สานฝนั สู่จุดหมาย 41 Module 3 ความเข้มแข็งทางใจ 52  กจิ กรรม ความเขม้ แข็งทางใจ...ใครๆ ก็ทำาได ้ 55  กจิ กรรม เชฟมือทอง 57 Module 4 การสรา้ งวฒั นธรรมการมสี ว่ นรว่ ม เพื่อนำาไปสอู่ งค์กรสรา้ งสขุ 60  กจิ กรรม สรา้ งสขุ ไดภ้ ายใตห้ ลังคาเดียวกัน 64  กจิ กรรม สรา้ งสุข...คลายทกุ ข ์ 73  กิจกรรม มาคลายเครียดกันเถอะ 75  กจิ กรรม สง่ เสรมิ การออกกาำ ลงั กาย 76 “ขยบั กาย สบายใจดว้ ยเกา้ อ.้ี ..ขยี้พงุ ”  กจิ กรรม แอโรบคิ “อนามยั 30”  กจิ กรรม แกวง่ แขนลดพงุ โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทำางาน ในสถานประกอบการ ค

ส�รบัญ Module 5 หลักพกั ใจในการดำาเนนิ ชวี ิต (ความกตัญญู-ศาสนา-การใหอ้ ภัย) หนา้  กิจกรรมทางเลอื ก หลกั ธรรม/คณุ ธรรม/จรยิ ธรรม 79  กจิ กรรมทางเลือก ความกตญั ญ ู 81  กจิ กรรมทางเลือก การใหอ้ ภัย 81 81 Module 6 ความพงึ พอใจในสิง่ ทีม่ ี 83  กิจกรรม พอใจในส่งิ ท่.ี ..พอดีในส่ิงที่ขาด 85 89 บรรณานกุ รม 91 ภาคผนวก 92 ความรสู้ ุขภาพจิตวยั ทำางาน 93 95  เครียดได้...กห็ ายได้ 98  เทคนิคการคลายเครยี ดแบบการใชจ้ นิ ตนาการ 101 (Visnalization) 103  เทคนิคการนวดคลายเครยี ด (Massage) 104  ผา่ นพ้นวิกฤตด้วยพลังสุขภาพจติ 106  เทคนิคช่วยให้นอนหลบั เพียงพอ มคี ณุ ภาพ ลดเสย่ี งโรค 107  แบบสงั เกตของหัวหน้างาน สาำ หรับการเฝา้ ระวังพนักงาน 108 ท่มี ีปัญหาสุขภาพจิต 110  กฎรัก 10 ประการเพอื่ รกั ยัง่ ยืน 111  กฎหลกั ครอบครวั 112  กฎเหล็กครอบครัว “5 ข้อตอ้ งทาำ 8 คาำ พดู หา้ มใช”้ 113  ขอ้ คิด...สะกิดใจ...การใช้ชีวติ คู่ รายชือ่ คณะท่ปี รกึ ษา รายชื่อผู้เข้ารว่ มประเมินผลโปรแกรมฯ รายชื่อคณะทำางาน ง โปรแกรมสร้างสขุ วัยทำางาน ในสถานประกอบการ

บทนาำ โปรแกรมสร้างสุขวัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ 1

บทนาำ บทนำ� โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งานในสถานประกอบการไดถ้ กู พฒั นาขนึ้ มาตามกระบวนการ วิจัยและพัฒนา (Research & Development) เพื่อให้สถานประกอบการใช้เป็นแนวทางใน การจัดกจิ กรรมเพ่อื สง่ เสริมสขุ ภาพจติ แกพ่ นกั งานทั่วไป รวมทั้งการจดั กิจกรรมให้แกพ่ นกั งาน ท่ีเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตเพ่ือเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันตั้งแต่เบ้ืองต้น ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาสขุ ภาพจติ ในอนาคต เชน่ พนกั งานใหมท่ ยี่ งั ปรบั ตวั ไมไ่ ด ้ พนกั งานทมี่ คี วามเครยี ด จากการได้รับมอบหมายงานท่ีเกินความสามารถของตนเองพนักงานท่ีเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง มีปัญหาหนี้สิน มีปัญหาครอบครัว เส่ียงต่อการติดสุราและสารเสพติด เป็นต้น โดยมุ่งหวัง ว่าถ้าสถานประกอบการมีการจัดกิจกรรมตามโปรแกรมฯอย่างต่อเนื่องแล้วจะทำาให้พนักงานมี สขุ ภาพจติ ด ี และมคี วามสขุ นน่ั คอื คนวยั ท�ำ ง�น ยคุ 4.0 “ปรบั ตวั ได้ ใจเปน็ สขุ สนกุ ไมเ่ ครยี ด” ข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรมสรา้ งสุขวัยทำางานในสถานประกอบการ 1. คน้ หาปัจจัยที่ทาำ ใหค้ นวยั ทำางานมีความสุข โดย 1.1 ทบทวนการศึกษาวิจัย เพ่ือรวบรวมข้อมูลและนำาข้อมูลมาสังเคราะห์หา ปจั จยั ที่สง่ ผลให้คนวัยทาำ งานมคี วามสขุ 1.2 สัมภาษณ์เชิงลกึ คนวัยทำางานทงั้ หญงิ และชายในแต่ละอาชพี ไดแ้ ก ่ อาชีพ รบั จา้ งเปน็ พนกั งานทาำ ความสะอาด อาชพี ขบั รถแทก็ ซ ่ี อาชพี รบั จา้ งบรษิ ทั เอกชน อาชพี คา้ ขาย อาชีพอาจารย์มหาวทิ ยาลัย อาชพี รบั ราชการ และผทู้ ว่ี ่างงาน 1.3 นาำ ขอ้ มลู จากการทบทวนเอกสารและการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ มาสงั เคราะหเ์ พอ่ื จัดหมวดหม่ปู จั จัยทีส่ ่งผลใหค้ นวยั ทาำ งานมคี วามสุข 2. ศึกษาบริบทของสถานประกอบการเพ่ือใช้เป็นข้อมูลการออกแบบรูปแบบ กิจกรรม ระยะเวลาที่จัด ท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถานประกอบการซึ่งจะทำาให้หน่วยงาน สามารถนำาโปรแกรมไปใชจ้ ัดกจิ กรรมให้พนกั งานได้จรงิ โดย 2.1 ศกึ ษาจากแผนงานประจาำ ปขี องสถานประกอบการเพอื่ ดตู น้ ทนุ เดมิ ทส่ี ถาน ประกอบการมกี ารจัดกจิ กรรมใหพ้ นกั งานประจำาปีอยู่แล้ว 2.2 ศึกษาจากการนำาเสนอร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบหรือคณะทำางาน ระหว่างการตรวจประเมินสถานประกอบการท่ีขอรับการตรวจประเมินระดับประเทศ ภายใต้ โครงการ “สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข” 2 โปรแกรมสรา้ งสุขวยั ทำางาน ในสถานประกอบการ

บทนำา 3. จดั ทาำ กรอบแนวคดิ การพฒั นาโปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งานในสถานประกอบการ โดย 3.1 จัดทำาร่างกรอบแนวคิดการพัฒนาโปรแกรมฯ จากการสังเคราะห์ปัจจัย ทีส่ ่งผลให้คนวยั ทาำ งานมคี วามสุข 3.2 ให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบร่างกรอบแนวคิดการพัฒนาโปรแกรมฯ และให้ ขอ้ เสนอแนะเพื่อปรบั แกใ้ ห้มคี วามเหมาะสม 3.3 จดั ทาำ กรอบแนวคดิ การพฒั นาโปรแกรมฯตามขอ้ เสนอแนะของผเู้ ชย่ี วชาญ 4. จัดทาำ ร่างโปรแกรมสร้างสุขวยั ทำางานในสถานประกอบการโดย 4.1 กาำ หนดโครงสร้างและองคป์ ระกอบของร่างโปรแกรมสรา้ งสุขฯ ตามกรอบ แนวคิดโดยมีองค์ประกอบที่ครอบคลมุ ปจั จัยทสี่ ่งผลต่อความสุขคนวยั ทาำ งาน 4.2 ออกแบบกจิ กรรมใหมใ่ นแตล่ ะองคป์ ระกอบ โดยนาำ กรอบแนวคดิ บรบิ ทและ ตน้ ทุนเดมิ ในการจดั กิจกรรมท่มี ีอย่แู ลว้ ของสถานประกอบการมาเป็นฐานคิด 4.3 คาำ นงึ ถงึ วา่ การออกแบบกจิ กรรมในรา่ งโปรแกรมสรา้ งสขุ ฯ จะตอ้ งสอดคลอ้ ง และสามารถสนับสนุนสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการของกระทรวงสาธารณสุข “สถาน ประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภยั กายใจเป็นสขุ ” 4.4 บางกจิ กรรมยงั คงกจิ กรรมเดมิ ทสี่ ถานประกอบการทาำ อยา่ งตอ่ เนอื่ งอยแู่ ลว้ และเป็นกิจกรรมท่ีช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตให้พนักงานท่ัวไปหรือเป็นการเฝ้าระวังและป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิตในพนักงานกลุ่มเส่ียง ดังนั้นจึงได้มีการนำากิจกรรมเดิมมารวบรวมและจัดใส่ ในแตล่ ะองค์ประกอบของรา่ งโปรแกรมสร้างสุขฯ 5. ประเมนิ ผลรา่ งโปรแกรมสร้างสขุ วัยทำางานในสถานประกอบการ โดย 5.1 ให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบร่างโปรแกรมสร้างสุขฯ และให้ข้อเสนอแนะเพื่อ ปรบั แก้ 5.2 ใหผ้ ใู้ ช ้ (User) ของสถานประกอบการและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี คอื เจา้ หนา้ ท่ี ของศูนยส์ ุขภาพจิต ร่วมกันประเมินรา่ งโปรแกรมสร้างสขุ ฯ 5.3 รวบรวมข้อมูลท่ีได้จากการประเมินผลท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ แล้วนำา มาวเิ คราะหส์ รปุ ผลการประเมนิ รา่ งโปรแกรมสร้างสุขฯ 6. ปรับปรุงและจัดทำาโปรแกรมสร้างสุขวัยทำางานในสถานประกอบการตามสรุป ผลการประเมิน โปรแกรมสร้างสขุ วยั ทำางาน ในสถานประกอบการ 3

บทนาำ โครงสรา้ งโปรแกรมสร้างสุขวยั ทาำ งานในสถานประกอบการ 1. องค์ประกอบของโครงสร้างโปรแกรมสร้างสุขวัยทำางานในสถานประกอบการ ประกอบดว้ ย 6 Module โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ Module วตั ถปุ ระสงค์ ชอ่ื กิจกรรม Module 1  ฝึกคิดบวกต่อตนเอง กจิ กรรมบังคบั ฝกึ มองโลกในแงด่ ี  ฝึกคดิ บวกต่อเหตกุ ารณ์  กจิ กรรมครง้ั ท ่ี 1: คน้ หาตวั เอง  กิจกรรมครงั้ ที่ 2-3: ตอกยา้ำ ส่งิ ดี Module 2 ทางลบ กิจกรรมบงั คับ ปรับเปล่ียนความคิด  รจู้ กั ช่นื ชมคนอ่นื  กจิ กรรมครง้ั ท่ี 4: หนั มองรอบขา้ ง  ปรับความคิดดว้ ยการเปดิ  กจิ กรรมครั้งที่ 5: เล่าสกู่ ันฟัง Module 3 กิจกรรมบงั คับ ความเขม้ แขง็ ทางใจ มมุ มองรอบด้าน  กจิ กรรมครง้ั ที่ 6: ชน่ื ชมคนรอบ  เห็นคุณค่าและ สร้างพลังใจ ข้างอย่างจรงิ ใจ ให้ตนเอง เมนูกจิ กรรมทางเลือก  ค้นหาจุดแขง็ ของตนเองและ  กจิ กรรม พลังอดึ ฮึด สู้  กจิ กรรม บัตรเติมใจ “สง่ ความรกั แกไ้ ขจุดอ่อนที่มีอยู่  วางแผนแกไ้ ขปัญหาอยา่ ง ให้ Buddy”  กิจกรรม คนด.ี ..ตอ้ งบอกตอ่ เปน็ ระบบ  กิจกรรมสานฝนั สจู่ ดุ หมาย กิจกรรมบงั คบั  กิจกรรมความเขม้ แขง็ ทางใจ... ใครๆ กท็ าำ ได้ ตัวอย่างกิจกรรม  กิจกรรม เชฟมอื ทอง 4 โปรแกรมสร้างสขุ วยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ

บทนาำ Module วตั ถุประสงค์ ช่ือกจิ กรรม Module 4  เห็นความสำาคญั ของการมี ตวั อยา่ งกิจกรรม การสรา้ งวฒั นธรรม ส่วนรว่ มสรา้ งและปฏบิ ตั ิ  กจิ กรรม สร้างสขุ ได้ ภายใต้ การมีสว่ นร่วมเพ่ือนาำ ตามวฒั นธรรมขององคก์ ร หลังคาเดียวกัน ไปสู่องค์กรสร้างสขุ  มีสว่ นร่วมดแู ลจติ ใจซ่งึ กัน เมนกู จิ กรรมทางเลือก และกัน  กิจกรรม สรา้ งสขุ ......คลายทกุ ข์  กิจกรรม มาคลายเครียดกนั เถอะ  การรวมตวั กันเพื่อสง่ เสริม เมนกู จิ กรรมทางเลือก การออกกำาลังกายให้รา่ งกาย  กิจกรรม ขยับกายสบายใจด้วย แข็งแรง เกา้ อี.้ ..ขย้พี งุ  กจิ กรรม แอโรบิค “อนามัย 30”  กจิ กรรม แกวง่ แขนลดพุง Module 5  ค้นหาเครอ่ื งยึดเหน่ียวจิตใจ เมนกู ิจกรรมทางเลอื ก หลักพกั ใจในการ ท่ีเหมาะสมกับตนเองเพือ่ ใช้  กจิ กรรม ส่งเสรมิ ด้านจรยิ ธรรม ดำาเนินชวี ติ เป็นหลักคดิ ในการดาำ เนิน  กิจกรรมส่งเสริมความกตญั ญู ชวี ติ  กิจกรรม ส่งเสรมิ การใหอ้ ภยั Module 6  มแี นวคิดยึดหลัก “ความพอ  กิจกรรม พอใจในส่งิ ท่มี .ี ..พอดใี น ความพึงพอใจในส่ิงทมี่ ี เพียง” ในการดำาเนนิ ชวี ิต ส่ิงที่ขาด 2. ลักษณะกิจกรรม กิจกรรมในโปรแกรมสร้างสุขวัยทำางานในสถานประกอบการ ม ี 2 ลกั ษณะ คอื 2.1 กจิ กรรมใหม่ ทสี่ ถานประกอบการยงั ไมเ่ คยจดั โดยกจิ กรรมเหลา่ นถ้ี กู พฒั นา ขนึ้ มาจากกรอบแนวคดิ ตามปจั จยั การสรา้ งสขุ คนวยั ทาำ งาน เพอ่ื สนบั สนนุ ใหส้ ถานประกอบการ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั กจิ กรรมเหลา่ นเ้ี พม่ิ เตมิ ซง่ึ เปน็ การชว่ ยสง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ พนกั งานทว่ั ไป และเพือ่ เปน็ การเฝ้าระวัง ป้องกันพนกั งานท่ีเป็นกลุ่มเสี่ยงไม่ให้มีปญั หาสุขภาพจติ 2.2 กิจกรรมเดิม ท่ีสถานประกอบการกำาหนดไว้เป็นแผนรายปีและจัดให้ พนกั งานอยู่แล้ว และเป็นเร่อื งทเ่ี ก่ียวข้องกบั การดูแลสุขภาพจิตพนักงาน โปรแกรมสร้างสขุ วัยทำางาน ในสถานประกอบการ 5

บทนาำ 3. โอกาสท่ีจะนำากิจกรรมไปใช้ในสถานประกอบการสถานประกอบการสามารถ พจิ ารณากจิ กรรมและวตั ถปุ ระสงคข์ องแตล่ ะกจิ กรรมในแตล่ ะ Module ของโปรแกรมสรา้ งสขุ ฯ เพอ่ื วางแผนออกแบบและกาำ หนดชว่ งเวลาในการจดั กจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของหนว่ ยงาน และความเปน็ ไปได ้ โดยมหี ลกั การเพอื่ มงุ่ เนน้ ใหพ้ นกั งานไดม้ โี อกาสเขา้ รว่ มกจิ กรรมมากทส่ี ดุ และต่อเนื่อง ทงั้ น้เี พ่ือให้บรรลุตามวัตถปุ ระสงคข์ องแตล่ ะกจิ กรรม การวางแผนการจดั กจิ กรรมในโปรแกรมสรา้ งสขุ ฯ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 รปู แบบ ดงั น้ี รูปแบบที่ 1 จัดกจิ กรรมสอดแทรกระหว่างการทำางานในแตล่ ะวันซงึ่ เปน็ กิจกรรม ทตี่ อ้ งจดั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สถานประกอบการอาจจดั กจิ กรรมดงั กลา่ วตามโปรแกรมสรา้ งสขุ ฯ โดย สอดแทรกระหว่างการทำางานในแต่ละวันเพ่ือให้พนักงานทำาอย่างต่อเน่ืองจนกลายเป็นความ เคยชนิ และทาำ จนเปน็ นสิ ัยในทส่ี ุด : ตวั อย่างชว่ งเวลาที่ใชจ้ ดั กจิ กรรม เชน่  จดั สอดแทรกกบั การประชมุ กอ่ นเขา้ งาน (Morning Talk) เชน่ กจิ กรรมทใี่ ช้ เวลาสัน้ ๆ ไดแ้ ก่ กิจกรรมที่ให้คดิ ถึงขอ้ ดีของตนเองและผู้อืน่ เป็นต้น  จดั ชว่ งพกั รบั ประทานอาหารกลางวนั เชน่ การอา่ นบทความทใี่ หค้ วามรดู้ า้ น สขุ ภาพจิตผ่านเสียงตามสายของหน่วยงาน เปน็ ตน้  จัดช่วงพักเพื่อผ่อนคลาย 15 นาที ระหว่างการทำางานทุกสองชั่วโมงหรือ ตามท่ีแตล่ ะหนว่ ยงานกำาหนดใหพ้ ักเชน่ กจิ กรรมการออกกำาลงั กายคลายเครียด รูปแบบท่ี 2 กิจกรรมท่ีสามารถจัดปีละ 1-2 คร้ัง โดยกำาหนดระยะเวลาที่จะจัด กจิ กรรมตามโปรแกรมสรา้ งสุขฯ ซึ่งเปน็ การกาำ หนดเวลาจัดแบบเฉพาะกิจตัวอยา่ ง เชน่  จัดกิจกรรมร่วมกับการจัดสัปดาห์ความปลอดภัย (Safety Week) เช่น กิจกรรมให้ความรู้ในรูปแบบ Walk Rally หรือ ค่ายความรู้  จัดในรูปแบบการอบรมประจาำ ปกี ำาหนดในแผนงานของหนว่ ยงาน 4. ผใู้ ช้ (User) โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งานในสถานประกอบการ สถานประกอบ การสามารถพิจารณามอบหมายตามความเหมาะสม เชน่ 4.1 เจา้ หนา้ ทที่ ส่ี ถานประกอบการกาำ หนดใหเ้ ปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบในการดแู ลสขุ ภาพ กายและสขุ ภาพจิตพนักงาน 4.2 คณะทำางานที่รับผิดชอบการพัฒนาสถานประกอบการภายใต้โครงการ “สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเปน็ สุข” ของกระทรวงสาธารณสขุ 6 โปรแกรมสร้างสขุ วยั ทำางาน ในสถานประกอบการ

บทนาำ 4.3 เจา้ หน้าที่ความปลอดภัย (จป.) 4.4 เจ้าหน้าทีฝ่ ่ายบุคคลหรอื เจ้าหนา้ ท่พี ฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ (HR,HRD) 4.5 คณะทาำ งานสวัสดิการของหนว่ ยงาน 4.6 พยาบาลประจาำ หอ้ งพยาบาลของหน่วยงาน เป็นตน้ 5. กลุม่ เป้าหมายที่เขา้ ร่วมกิจกรรม 5.1 กลมุ่ พนักงานทว่ั ไป เพ่อื สง่ เสรมิ สุขภาพจติ ท่ดี อี ยู่แลว้ ใหย้ ั่งยืน 5.2 กลมุ่ พนกั งานทเ่ี ปน็ กลมุ่ เสย่ี งตอ่ การเกดิ ปญั หาสขุ ภาพจติ เพอ่ื เฝา้ ระวงั และ ปอ้ งกนั แตเ่ นนิ่ ๆ ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาสขุ ภาพจติ ภายหลงั เชน่ พนกั งานใหมท่ ยี่ งั ปรบั ตวั ไมไ่ ด ้ พนกั งาน ทมี่ คี วามเครียดจากการไดร้ บั มอบหมายงานทีเ่ กินความสามารถของตนเอง พนกั งานทเ่ี จบ็ ป่วย ดว้ ยโรคเรอื้ รงั มปี ญั หาหนสี้ นิ มปี ญั หาครอบครวั สญู เสยี บคุ คลทเ่ี ปน็ ทร่ี กั หรอื ของรกั กระทนั หนั เสี่ยงต่อการตดิ สรุ าและสารเสพติด เปน็ ตน้ 6. ชุดส่ือสนับสนุนการจัดกิจกรรม ประกอบด้วยบทความ “ความรู้สุขภาพจิต วยั ทาำ งาน”และ DVD สาธติ ดงั น้ี 6.1 บทความ “ความรสู้ ขุ ภาพจติ วัยทาำ งาน”(รายละเอยี ดในภาคผนวก)  เครยี ดได้...กห็ ายได้  กฎรัก 10 ประการเพอ่ื รักยง่ั ยนื  กฎหลักครอบครวั  กฎเหลก็ ครอบครัว “5 ข้อต้องทาำ 8 คำาพูดห้ามใช้”  ขอ้ คิด...สะกดิ ใจ...การใช้ชวี ิตคู่ 6.2 DVD สาธติ ทผ่ี า่ นการขออนญุ าตเผยแพรจ่ ากกรมอนามยั และสสส. (ตาม DVD ที่แนบท้ายเลม่ ) ดงั นี้  Active Meeting การยืดเหยียด  แอโรบิคขยับกายสบายชวี ี  การออกกำาลังกายรปู แบบอนามยั 30  จังหวะไทยกายบริหาร เพลงภาคเหนือ  จงั หวะไทยกายบรหิ าร เพลงภาคกลาง  จงั หวะไทยกายบริหาร เพลงภาคอสิ าน  จงั หวะไทยกายบริหาร เพลงภาคใต้ โปรแกรมสร้างสขุ วยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ 7

บทนำา  ออกกำาลงั กายบวกเลข บริหารสมอง  การออกกำาลังกายเพอ่ื สุขภาพในอาชพี คนงานสถานประกอบการ  การออกกาำ ลังกายเพ่อื สขุ ภาพในอาชพี เกษตรกร  การแกว่งแขนที่ถกู ต้อง : ลดพุง ลดโรค  การยดื เหยียดกล้ามเน้อื  Office Exercise เกา้ อขี้ ย้พี งุ  เรอ่ื งบนั ดาลใจ ตอนท่ ี 26 เครียดเรียกโรค  หายใจคลายเครียด  วิธ.ี ..สร้างความสขุ ง่ายๆ ด้วยตนเอง  การฝึกสติกบั กิจกรรมทางกาย 7. การประเมินผล การจัดกิจกรรมตามโปรแกรมสร้างสุขฯ ผลลัพธ์ความสำาเร็จ คือ พนักงานท่ีเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีความสุขอยู่ในระดับปกติหรือสูงกว่าปกติจาก การประเมินตามแบบประเมนิ ความสุขคนไทย 15 ข้อ ของกรมสขุ ภาพจิต การประเมนิ ผล แบ่งเป็น 2 ระดบั คอื 7.1 ระดบั ท่ี 1 การประเมนิ ผลกิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ เพื่อนำาผลมาวิเคราะหแ์ ละวางแผนพฒั นาการจัดกิจกรรมใน ปตี อ่ ไปให้มีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน และตรงกบั ความตอ้ งการของพนกั งานมากขนึ้ สถานประกอบการสามารถเลอื กประเมินไดจ้ าก 2 รูปแบบ คอื 7.1.1 การประเมนิ ผลหลงั เสรจ็ สิ้นการจดั กิจกรรมทกุ คร้ัง ในรูปแบบตา่ งๆ ที่สถานประกอบการพิจารณาตามความเหมาะสม ตัวอย่างเช่น จากการสังเกตการมีส่วนร่วม ทำากิจกรรม จากการสัมภาษณ์ จากการประเมนิ ความพงึ พอใจ เป็นตน้ 7.1.2 การประเมินภาพรวมทุกกิจกรรม ซ่ึงสถานประกอบการสามารถ ประเมินผลการจัดกิจกรรมท้ังหมดทุกส้ินปี เพื่อนำาผลมาวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาการจัด กจิ กรรมในปีตอ่ ไปใหม้ ีประสทิ ธภิ าพย่ิงข้ึน 8 โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ

บทนาำ 7.2 ระดับท่ี 2 การประเมินผลลพั ธ์ วัตถุประสงค์ เพ่ือดูผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงระดับคะแนนความสุขของ พนักงานหลังจากการเขา้ รว่ มกิจกรรมตามโปรแกรมสร้างสขุ ฯอยา่ งตอ่ เน่ืองดังนี้  รายบุคคล โดยประเมินด้วยแบบประเมินความสุขคนไทย 15 ข้อ ของกรมสขุ ภาพจติ จาำ นวน 2 ครง้ั คอื ครง้ั ท ่ี 1 ตน้ ปกี อ่ นเรม่ิ จดั กจิ กรรมใหพ้ นกั งาน และครง้ั ท ่ี 2 ปลายปีเม่ือจัดกิจกรรมให้พนักงานเสร็จสิ้นทุกกิจกรรม และนำาผลคะแนนความสุขของแต่ละ บุคคลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบว่ามีความสุขเพิ่มขึ้นหรือไม่ลดลงไปจากเดิม ซึ่งระดับคะแนน ความสขุ จะตอ้ งไดเ้ ทา่ กบั คนปกติ หรือสูงกว่าคนปกติ  ภาพรวมอาจประเมินผลลัพธ์ในภาพรวมร่วมด้วยก็ได้ โดยดูจากอัตรา การลาออกของพนกั งานลดลง เคล็ดไมล่ ับ...กจิ กรรมไดผ้ ล คนทาำ งานมคี วามสุข โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งานในสถานประกอบการ จะชว่ ยสง่ เสรมิ ใหพ้ นกั งานมคี วาม สขุ ได้จรงิ มีเคลด็ ลับ ดังต่อไปน้ี 1. ความต่อเนื่องอย่างยั่งยืน สถานประกอบการจำาเป็นต้องจัดกิจกรรมและ เปดิ โอกาสใหพ้ นกั งานไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และมกี ารกาำ หนดไวใ้ นแผนปฏบิ ตั กิ ารเปน็ ประจำาทุกปี 2. ความใสใ่ จ สนบั สนนุ ใหพ้ นกั งานหมน่ั ฝกึ ทาำ กจิ กรรมทเ่ี ปน็ ปจั จยั พน้ื ฐานทสี่ าำ คญั ในการสรา้ งสขุ ของบคุ คลซงึ่ ไดแ้ กก่ ารเรม่ิ ตน้ จากการฝกึ มองโลกในแงด่ ตี ามกจิ กรรมใน Module 1 จนเกิดเปน็ ความคิดอัตโนมัติและเป็นนสิ ยั ในที่สุด 3. ความสาำ คญั พนกั งานทกุ คนมคี วามเทา่ เทยี มและความสาำ คญั เทา่ กนั ทกุ คน ดงั นน้ั ทุกความคิดเห็นของพนักงานทุกคนมีคุณค่า ทุกปัญหาควรได้รับการช่วยกันหาทางแก้ไขตาม ความเหมาะสมและเป็นไปได้ จาก “เกณฑ์กายใจเป็นสขุ ”... สูโ่ ปรแกรมสรา้ งสขุ วัยทาำ งานในสถานประกอบการ ตงั้ แตป่ งี บประมาณ 2555 เปน็ ต้นมาถึงปจั จบุ ัน กระทรวงสาธารณสขุ ไดม้ นี โยบาย ขบั เคลือ่ นสถานประกอบการภายใตโ้ ครงการ “สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภยั กายใจ เปน็ สขุ ” ซงึ่ มเี ปา้ หมายสาำ คญั คอื สถานประกอบการทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการและไดพ้ ฒั นาตามเกณฑ์ ทกี่ าำ หนด จะทำาให้พนักงานของสถานประกอบการนัน้ มสี ุขภาพกายท่แี ขง็ แรง มีความปลอดภยั โปรแกรมสรา้ งสขุ วัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ 9

บทนำา ระหวา่ งและนอกเวลาทาำ งาน และสดุ ทา้ ยจะทาำ ใหม้ คี วามสขุ ในชวี ติ ทผี่ า่ นมาจงึ มสี ถานประกอบ การจำานวนไม่น้อยที่เข้าร่วมโครงการฯ และเมื่อพัฒนาจนเกิดความพร้อมจะขอรับการตรวจ ประเมินระดับจังหวัด จนถึงระดับประเทศจากทีมผู้ตรวจประเมินของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งประกอบด้วย กรมควบคุมโรค กรมอนามัยและกรมสุขภาพจติ “เกณฑก์ ายใจเป็นสุข” เป็นเกณฑท์ ีก่ รมสขุ ภาพจิตพฒั นาข้นึ มา เพื่อม่งุ หวงั ให้สถาน ประกอบการใช้เป็นเกณฑ์การพัฒนาพนักงานให้มี “ความสุข” ตามคำานิยามขององค์การ อนามัยโลก ดังน้ันจึงมุ่งเน้นให้สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ “สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภยั กายใจเปน็ สขุ ” จดั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาพนกั งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 3 กจิ กรรมหลกั คอื 1. กจิ กรรมนันทนาการ วัตถปุ ระสงคเ์ พื่อให้พนักงานผอ่ นคลายความเครียด และ สามารถสร้างสัมพนั ธภาพทดี่ ีตอ่ ผูอ้ ่นื และรักษาสัมพันธภาพนน้ั ไวอ้ ย่างต่อเน่ือง 2. กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต วัตถุประสงค์ เพอื่ ใหพ้ นกั งานมภี มู คิ มุ้ กนั ทางใจ สามารถปรบั ตวั ไดก้ บั สภาพสงั คมทเี่ ปลย่ี นแปลงและสามารถ จัดการแก้ไขปญั หาท่เี กดิ ข้นึ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยไมเ่ กดิ ความขัดแย้งในใจ 3. กจิ กรรมการเหน็ คณุ คา่ ของพนกั งานและครอบครวั วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหพ้ นกั งาน เกดิ ความภาคภมู ใิ จในตนเองและครอบครวั ทสี่ ามารถทาำ ประโยชนใ์ หก้ บั ผอู้ นื่ ไดแ้ ละมคี นยอมรบั โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งานในสถานประกอบการจงึ เปน็ โปรแกรมฯ ทชี่ ว่ ยสนบั สนนุ ให้สถานประกอบการใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสถานประกอบการตามเกณฑ์ กายใจเปน็ สขุ โดยโปรแกรมสรา้ งสขุ ฯ นไี้ ดอ้ อกแบบกจิ กรรมใหม้ คี วามเชอ่ื มโยง สอดคลอ้ งและ ตอ่ ยอดการพัฒนาใหม้ ีความครอบคลมุ มากข้นึ ความเชื่อมโยงระหวา่ ง “เกณฑก์ ายใจเป็นสุข” และโปรแกรมสรา้ งสุขวัยทาำ งานใน สถานประกอบการ เกณฑก์ ายใจเป็นสขุ โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งานในสถานประกอบการ กิจกรรมนนั ทนาการ Module 4 กิจกรรมส่งเสริมสขุ ภาพจติ Module 3, 4, 5, 6 และป้องกันปญั หาสุขภาพจติ กจิ กรรมการเหน็ คุณคา่ ของพนักงาน Module 1, 2 และครอบครวั 10 โปรแกรมสรา้ งสุขวัยทำางาน ในสถานประกอบการ

Module 1 ฝกึ มองโลกในแงด่ ี โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ 11

Module 1 ฝกึ มองโลกในแง่ดี Module 1 ฝึกมองโลกในแงด่ ี คำาช้แี จงสาำ หรับผูน้ าำ กิจกรรม ปัจจัยพื้นฐานท่ีสำาคัญท่ีส่งผลให้บุคคลมีกำาลังใจ มีความหวัง มีพลัง และ นาำ มาซง่ึ ความสขุ ในชวี ติ คอื การมองโลกในแงด่ ี ซง่ึ แตล่ ะบคุ คลจำาเปน็ ตอ้ งเริม่ ตน้ จาก การฝกึ มองโลกในแง่บวกต่อตนเองใหไ้ ดเ้ สยี กอ่ น โดยมองเห็นจุดดีของตนเอง แลว้ จงึ พฒั นาไปมองโลกในแงด่ ี คอื การมองเหน็ เหน็ สง่ิ ดๆี ในสงิ่ ทไี่ มด่ ี ไมถ่ กู ใจหรอื สง่ิ ทไ่ี มเ่ ปน็ ไปตามทตี่ อ้ งการ ไมว่ ่าจะเป็นเรื่องคน สง่ิ ของ สถานการณ ์ ดงั นน้ั พนกั งานควรไดร้ บั การฝกึ ฝนใหค้ ดิ บวกจนเกดิ เปน็ ความเคยชนิ ทาำ ไดจ้ นเปน็ นสิ ยั และทา้ ยทส่ี ดุ เกดิ เปน็ ความคดิ บวกขน้ึ มาเองอยา่ งอตั โนมตั จิ นสามารถพฒั นาตนเองใหม้ องเหน็ สง่ิ ทด่ี ใี นสง่ิ ทไ่ี มด่ ไี ด้ วตั ถปุ ระสงคภ์ าพรวมของ Module 1 เพอื่ ใหพ้ นกั งานฝกึ มองโลกในแงบ่ วกและมองโลกในแงด่ ตี อ่ ตนเองและผอู้ น่ื กจิ กรรม ประกอบดว้ ย 6 กจิ กรรม ซึ่งจาำ เปน็ ต้องทาำ ให้ครบทุกกิจกรรมและจาำ เปน็ ต้องเร่ิมต้นทำาจากกิจกรรมท่ี 1 ไปถึงกิจกรรมท่ี 6 เน่ืองจากมีการจัดลำาดับเนื้อหา ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ อ้ งการใหเ้ กดิ โดยเรม่ิ จากการฝกึ ฝนคดิ บวกตอ่ ตนเอง และคอ่ ยๆ ฝกึ คดิ บวกตอ่ ผอู้ นื่ และชน่ื ชมผอู้ น่ื ได ้ อยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้ ตดิ ตอ่ กนั 16 สปั ดาห ์ เพื่อใหพ้ นักงานทำาจนเปน็ นิสัย ดังนี้ 1. กจิ กรรม ทบทวนส่ิงดีๆ ในชวี ิต : คร้ังที่ 1 คน้ หาตวั เอง 2. กิจกรรม ทบทวนส่งิ ดๆี ในชีวติ : ครง้ั ที ่ 2 ตอกยา้ำ สิ่งดี 3. กิจกรรม ทบทวนสงิ่ ดีๆ ในชีวิต : ครง้ั ที่ 3 ตอกยาำ้ สง่ิ ดี 4. กจิ กรรม ทบทวนสิ่งดีๆ ในชวี ิต : ครง้ั ที ่ 4 หันมองรอบขา้ ง 5. กิจกรรม ทบทวนส่งิ ดๆี ในชวี ติ : ครงั้ ท ่ี 5 เลา่ สกู่ นั ฟงั 6. กจิ กรรม ทบทวนสง่ิ ดๆี ในชวี ติ : ครง้ั ท ่ี 6 ชน่ื ชมคนรอบขา้ งอยา่ งจรงิ ใจ การติดตามประเมนิ ผล รายละเอยี ดในบทนาำ 12 โปรแกรมสร้างสุขวยั ทำางาน ในสถานประกอบการ

Module 1 ฝึกมองโลกในแงด่ ี กิจกรรม ทบทวนสิง่ ดๆี ในชีวิต : ครั้งท่ี 1 คน้ หาตัวเอง ชือ่ กจิ กรรม ทบทวนสง่ิ ดีๆ ในชวี ติ : ครั้งท่ ี 1 ค้นหาตวั เอง วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ฝึกให้พนกั งานมคี วามคดิ บวกต่อตนเอง ระยะเวลาทใี่ ช ้ ครงั้ ละ 5-10 นาที ควรทาำ ต่อเนอ่ื งอยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 1 คร้งั ตดิ ตอ่ กนั 16 สัปดาห์เพื่อให้เกิดเป็นนิสัยหรือจัดกิจกรรมนี้ได้ทุกวันในกรณีท่ี สถานประกอบการมคี วามพร้อม ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั 1. พนักงานมคี วามภาคภูมใิ จและเห็นคุณค่าในตนเอง 2. พนักงานมพี ลงั ใจท่จี ะทาำ สิง่ ต่างๆ โอกาสในการนำาไปใช ้ สามารถนาำ กจิ กรรมนไี้ ปจดั สอดแทรกกบั กจิ กรรมของสถานประกอบการ เชน่ กิจกรรม Morning Talk หรือจัดชว่ งพักเพือ่ ให้พนักงานผอ่ นคลาย ระหว่างการทำางานครบ 2 ชัว่ โมงหรือหลังการออกกาำ ลังกายประจาำ วัน เปน็ ต้น อปุ กรณ์ ไม่มี โปรแกรมสรา้ งสุขวยั ทำางาน ในสถานประกอบการ 13

Module 1 ฝึกมองโลกในแงด่ ี แนวทางการจัดกิจกรรม 1. ผู้นำากจิ กรรมควรเร่ิมต้นด้วยการใหพ้ นักงานเรยี นรู้ เขา้ ใจและเห็นประโยชน์ของ การมองโลกในแง่บวกตอ่ ตนเอง ดังน้ี พลังแหง่ ...การมองโลกในแง่บวก การมองโลกในแงบ่ วกตอ่ ตนเอง หรอื การคดิ บวกเปน็ ปจั จยั พนื้ ฐานทสี่ าำ คญั ที่ส่งผลให้บุคคลน้ันมีความสุขได้ ซึ่งคนทุกคนสามารถฝึกฝนตนเองให้คิดบวกได้ โดยเร่มิ ตน้ จากการคน้ หาสง่ิ ดีๆ ที่มีอยู่ในตนเอง ยอมรับในข้อดีน้นั จนสามารถชน่ื ชม ตนเอง บอกเลา่ ใหผ้ อู้ นื่ ฟงั ไดก้ อ่ น การมองโลกในแงบ่ วกตอ่ ตนเองจนเปน็ นสิ ยั จะชว่ ย ทำาใหเ้ กดิ ความภาคภมู ิใจ เห็นคณุ ค่าในตนเอง มีกำาลงั ใจ มีความหวงั มีพลงั ในการทำา ส่ิงตา่ งๆ การมองโลกในแงบ่ วกหรอื การคดิ บวกไมใ่ ชก่ ารหลอกตวั เอง หรอื คดิ เขา้ ขา้ ง ตนเอง หรอื ยกยอตนเอง แต่เป็นการฝึกคดิ ค้นหาและมองสง่ิ ทเ่ี ป็นจรงิ การมองอยา่ ง เปน็ เหตเุ ป็นผลถงึ ข้อดีทเ่ี รามอี ยู่จรงิ และเปน็ ข้อดที ่ีทำาใหช้ วี ติ เรามคี ณุ ค่า ยกตวั อยา่ งเช่น “ผมเปน็ คนตง้ั ใจจรงิ จะทาำ อะไรกต็ อ้ งตง้ั ใจทาำ อยา่ งเตม็ ที่ ทุกคร้ัง” “ฉันเป็นคนซื่อสัตย์ต่อความรู้สึกของตนเอง ชอบก็บอก ว่าชอบไมช่ อบก็บอกวา่ ไม่ชอบ” 2. ผนู้ าำ กจิ กรรมใหพ้ นกั งานลองฝกึ คน้ หาสงิ่ ดๆี ของตนเอง 3 อยา่ ง อาจใหพ้ นกั งาน หลับตาแล้วนึกทบทวนถึงสิ่งดีๆ ของตนเองโดยไม่ต้องเล่าให้ใครฟัง ใช้เวลาประมาณ 2 นาที หลงั จากนั้นกลบั ไปปฏิบัติงานตามปกติ 14 โปรแกรมสร้างสขุ วัยทำางาน ในสถานประกอบการ

Module 1 ฝึกมองโลกในแงด่ ี กจิ กรรม ทบทวนสิง่ ดๆี ในชีวิต : ครัง้ ท่ี 2-3 ตอกยำา้ สง่ิ ดี ช่ือกิจกรรม ทบทวนส่ิงดๆี ในชีวิต: ครัง้ ท ่ี 2-3 ตอกยาำ้ สง่ิ ดี วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ฝึกให้พนกั งาน 1. คิดบวกตอ่ ตนเองจนเกดิ เป็นความเคยชิน 2. ยอมรบั ในขอ้ ดที ่ีตนเองมอี ยู่ 3. ช่นื ชมตนเองได้ ระยะเวลาทีใ่ ช้ ครง้ั ละ 5-10 นาท ี ควรทาำ ตอ่ เนอ่ื งอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั ตดิ ตอ่ กนั 16 สัปดาห์เพื่อให้เกิดเป็นนิสัย หรือจัดกิจกรรมนี้ได้ทุกวัน ในกรณีที่ สถานประกอบการมีความพรอ้ ม ประโยชน์ที่ไดร้ บั 1. พนักงานมีความภาคภมู ใิ จและเห็นคณุ ค่าในตนเอง 2. พนกั งานมพี ลังใจทจ่ี ะทาำ สิง่ ตา่ งๆ โอกาสในการนำาไปใช้ สามารถนาำ กจิ กรรมนไ้ี ปจดั สอดแทรกกบั กจิ กรรมของสถานประกอบการ เชน่ กจิ กรรม Morning Talk หรอื จดั ชว่ งพกั เพอื่ ใหพ้ นกั งานผอ่ นคลาย ระหวา่ งการทาำ งานครบ 2 ชว่ั โมงหรอื หลงั การออกกาำ ลงั กายประจาำ วนั เปน็ ต้น อุปกรณ ์ กระดาษโนต้ หรือ กระดาษสี ปากกา แนวทางการจดั กจิ กรรม 1. ผนู้ าำ กจิ กรรมแจกกระดาษโนต้ หรอื กระดาษสแี ละปากกาใหพ้ นกั งานทกุ คน และ ใหพ้ นกั งานฝึกการค้นหาสิ่งดๆี ของตนเอง 3 อย่าง โดยไมใ่ ห้ซ้าำ กบั ท่ีคิดครั้งท่แี ล้ว แล้วเขยี นลง ในกระดาษที่แจกใหใ้ ชเ้ วลาประมาณ 2 นาที 2. ผู้นาำ กิจกรรมควรสังเกตความรว่ มมอื ของพนักงานระหวา่ งทำากิจกรรม พร้อมท้งั สอบถามพนกั งานวา่ สามารถคน้ หาขอ้ ดขี องตนเองไดห้ รอื ไม ่ ถา้ ไมไ่ ดผ้ นู้ าำ กจิ กรรมควรใหค้ าำ แนะนาำ หรือยกตัวอย่างข้อดีของพนักงานคนนนั้ ที่ผนู้ ำากจิ กรรมเหน็ ขอ้ ควรระวงั : จะตอ้ งไมเ่ ปน็ การพดู หรอื ใชภ้ าษาทา่ ทางทแ่ี สดงออกถงึ การประชดประชนั สอ่ เสยี ด 3. ผนู้ าำ กจิ กรรมประเมนิ ความพรอ้ มของพนกั งานวา่ มคี วามพรอ้ มทจ่ี ะแบง่ ปนั ขอ้ ดี ของตนเองใหเ้ พอื่ นได้รับรหู้ รอื ไม่ โปรแกรมสรา้ งสุขวัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ 15

Module 1 ฝึกมองโลกในแง่ดี  กรณีท่ีมีความพร้อม ผู้นำากิจกรรมให้พนักงานจับคู่และผลัดกันเล่าถึงข้อดี ของตนเองที่เขียนไว ้ 3 อยา่ ง  กรณีที่ไม่พร้อมท่จี ะเล่าให้เพอื่ นฟัง ผูน้ าำ กจิ กรรมไมต่ อ้ งบังคบั หมายเหตุ : การจัดกิจกรรมในครั้งท่ี 3 ควรให้พนักงานทุกคนได้เล่าถึงข้อดีของตนเอง เพอื่ เปน็ การฝึกการยอมรับและสามารถชน่ื ชมตนเองได้ 4. ผนู้ าำ กจิ กรรมสรปุ ประโยชนข์ องการคดิ บวกตอ่ ตนเองหรอื มองโลกในแงบ่ วก ดงั น้ี การฝึกให้คิดถึงข้อดีของตนเอง เป็นการฝึกให้รู้จักการมองโลกในแง่บวก ซ่ึงต้องฝึกคดิ เป็นประจาำ อย่างตอ่ เนอื่ ง เชน่ คิดกอ่ นนอนทุกคนื จนเกดิ ความเคยชิน และเปน็ นสิ ยั จะทาำ ใหเ้ หน็ วา่ คนทกุ คนมขี อ้ ดหี รอื จดุ ดอี ยใู่ นตวั ซงึ่ บางครงั้ อาจมองขา้ ม หรอื นกึ ไมถ่ งึ และยงิ่ เรายอมรบั ในจดุ ดที ม่ี อี ยจู่ นสามารถนาำ มาเลา่ หรอื บอกผอู้ น่ื ไดจ้ ะ ทาำ ใหเ้ ราเห็นคุณคา่ ในตนเอง มีความภาคภูมใิ จ มคี วามหวงั มพี ลงั ในการทาำ สง่ิ ต่างๆ 16 โปรแกรมสร้างสขุ วยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ

Module 1 ฝึกมองโลกในแง่ดี กจิ กรรม ทบทวนสิ่งดๆี ในชีวติ : ครงั้ ท่ี 4 หันมองรอบขา้ ง ชื่อกจิ กรรม ทบทวนสิ่งดีๆในชวี ติ : คร้งั ท ี่ 4 หนั มองรอบขา้ ง วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ฝกึ ให้พนกั งาน 1. สามารถค้นหาข้อดีจากเหตุการณท์ างลบตอ่ ตนเอง 2. เหน็ ว่าสง่ิ ทเ่ี กดิ ข้นึ ย่อมมีท้ังข้อดแี ละข้อเสีย ระยะเวลาท่ีใช ้ ครงั้ ละ 5-10 นาท ี ควรทาำ ตอ่ เนอ่ื งอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั ตดิ ตอ่ กนั 16 สปั ดาหเ์ พอื่ ใหเ้ กดิ เป็นนสิ ยั หรอื จัดกิจกรรมนไ้ี ดท้ กุ วนั ในกรณที ่ี สถานประกอบการมคี วามพร้อม ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 1. พนักงานมีความหวัง มีกำาลังใจ และมีพลังใจพร้อมท่ีจะเผชิญกับ เหตกุ ารณท์ ไ่ี มค่ าดคิดทางลบ 2. พนกั งานมมี มุ มองตอ่ โลกในแง่ดี โอกาสในการนาำ ไปใช้ สามารถนาำ กจิ กรรมนไ้ี ปจดั สอดแทรกกบั กจิ กรรมของสถานประกอบการ เชน่ กจิ กรรม Morning Talk หรอื จดั ชว่ งพกั เพอื่ ใหพ้ นกั งานผอ่ นคลาย ระหวา่ งการทาำ งานครบ 2 ชวั่ โมงหรอื หลงั การออกกาำ ลงั กายประจาำ วนั เป็นตน้ อุปกรณ ์ กระดาษโนต้ หรอื กระดาษส ี ปากกาเปน็ ต้น แนวทางการจดั กิจกรรม 1. ผู้นำากิจกรรม สุ่มถามพนักงานว่า “จากการเข้าร่วมกิจกรรมต้ังแต่คร้ังท่ี 1-3 ไดเ้ รียนรอู้ ะไรบา้ ง” 2. หลังจากนัน้ ผูน้ าำ กจิ กรรมสรปุ เพมิ่ เตมิ ดงั นี้ โปรแกรมสร้างสุขวัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ 17

Module 1 ฝึกมองโลกในแงด่ ี มองโลกในแงบ่ วกแลว้ ...ตอ้ งมองโลกในแงด่ ีด้วยจา้ การทำากิจกรรมตั้งแต่ครั้งท่ี 1-3 เป็นการฝึกให้พนักงานได้ค้นหาข้อดีของ ตนเอง ซงึ่ เปน็ การฝกึ คดิ บวกตอ่ ตนเอง อนั เปน็ การฝกึ ระบบคดิ ขน้ั พนื้ ฐานในการมอง โลกในแงบ่ วกจนเกิดเปน็ ความเคยชิน กลายเป็นความคิดอัตโนมัต ิ แต่การทำากิจกรรมคร้ังท่ี 4-6 เป็นการฝึกให้พนักงานได้พัฒนาตนเองให้ ฝึกคิดบวกข้ึนมาอีก 1 ขั้น คือ การฝึกคิดการมองโลกในแง่ดีต่อคนรอบข้างหรือ สถานการณต์ า่ งๆ ท้ังๆ ท่ีอาจมีบางอยา่ งที่ทาำ ให้เราไมถ่ ูกใจ ไมช่ อบใจ ผิดหวงั เสยี ใจ เราพบเจอในชวี ิตประจาำ วนั แตเ่ รายงั สามารถคน้ หาข้อดใี นสงิ่ ต่างๆ เหล่านนั้ ได้ วิธกี ารการมองโลกในแงด่ ี  ไมใ่ ชก่ ารหลอกตวั เอง หรอื การสรา้ งภาพใหต้ นเองดดู หี รอื พวกโลกสวย  คดิ และคน้ หาสง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ตามความเปน็ จรงิ มองอยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล มองรอบดา้ น  ค้นหาส่ิงท่ีเกดิ ขึ้นว่าสามารถทำาให้เรยี นรู้อะไรบ้าง ใหข้ อ้ คิดทีจ่ ะทำาให้ เราปรบั ปรงุ ใหด้ ขี นึ้ ตอ่ ไปอยา่ งไร หรอื ใหบ้ ทเรยี นอะไรทจ่ี ะทาำ ใหเ้ ราไมท่ าำ ผดิ พลาดอกี ยกตวั อยา่ งเช่น “ความผิดหวงั ในวนั นี้จะเป็นบทเรยี นใหเ้ ราไดป้ รบั ปรงุ ตัวเองให้ดีขน้ึ ” “การได้รบั มอบหมายงานใหม่ เปน็ การได้พัฒนาตนเองข้นึ ไปอีกขั้น” ประโยชน์ของการมองโลกในแง่ดี การมองโลกในแงด่ จี นเปน็ นสิ ยั จะชว่ ยทาำ ใหเ้ กดิ กาำ ลงั ใจ มคี วามหวงั มพี ลงั ใน การทาำ สง่ิ ตา่ งๆ แมว้ า่ สง่ิ ทเ่ี ผชญิ นน้ั จะเปน็ เรอื่ งใหม ่ เปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งปรบั ตวั สมหวงั บา้ ง ผดิ หวังบ้าง หรือยุง่ ยากและเปน็ ปญั หา ก็จะสามารถก้าวผา่ นไปได้ 18 โปรแกรมสรา้ งสุขวัยทำางาน ในสถานประกอบการ

Module 1 ฝกึ มองโลกในแงด่ ี 3. ผู้นำากิจกรรมให้พนักงานคิดทบทวนถึง “เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หน่ึงท่ีพบเจอ ในชว่ ง 1-2 วนั ทผ่ี า่ นมา ซงึ่ เปน็ เหตกุ ารณท์ ท่ี าำ ใหพ้ นกั งานมคี วามรสู้ กึ ไมป่ ระทบั ใจ ผดิ หวงั เสยี ใจ” ใช้เวลา 2 นาท ี 4. หลังจากนั้นผนู้ ำากิจกรรม ให้พนักงานกลบั ไปฝกึ คิดการมองโลกในแงด่ ี ดว้ ยการ หาขอ้ ดจี ากเหตกุ ารณท์ เี่ ราคดิ ไว ้ เพอ่ื เตรยี มเลา่ ใหเ้ พอื่ นๆ ฟงั ในชว่ งทท่ี าำ กจิ กรรมกลมุ่ ครง้ั ตอ่ ไป 5. ผู้นำากิจกรรมให้พนักงานช่วยกันเลือกวิธีการนำาเสนอคร้ังต่อไปในรูปแบบ ท่พี นักงานตอ้ งการ เช่น เขียนใส่กระดาษสี หรือกระดาษโน้ตเพ่ือแลกกับเพอื่ นๆ ผลัดกนั อา่ น หรือ นาำ มาเลา่ ใหเ้ พ่อื นฟังเอง เปน็ ตน้ โปรแกรมสร้างสุขวัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ 19

Module 1 ฝึกมองโลกในแง่ดี กจิ กรรม ทบทวนสง่ิ ดๆี ในชวี ติ : คร้ังที่ 5 เลา่ สู่กันฟัง ชอื่ กิจกรรม ทบทวนส่งิ ดๆี ในชีวติ : ครั้งท่ ี 5 เลา่ สูก่ นั ฟัง วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ฝึกให้พนกั งาน 1. สามารถค้นหาขอ้ ดีจากเหตุการณท์ างลบที่มีต่อตนเอง 2. สามารถบอกข้อดที ี่ตนเองคน้ พบไดจ้ ากการเหตุการณท์ างลบ 3. เหน็ วา่ สิง่ ทเ่ี กิดขึ้นย่อมมที ้งั ข้อดแี ละข้อเสีย ระยะเวลาทใี่ ช้ ครง้ั ละ 5-10 นาท ี ควรทาำ ตอ่ เนอื่ งอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั ตดิ ตอ่ กนั 16 สัปดาหเ์ พื่อใหเ้ กิดเปน็ นิสยั หรอื จดั กิจกรรมน้ีได้ทุกวนั ในกรณที ี่ สถานประกอบการมคี วามพร้อม ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ 1. พนักงานมีความหวัง มีกำาลังใจ และมีพลังใจพร้อมที่จะเผชิญกับ เหตุการณ์ทไี่ ม่คาดคิดทางลบ 2. พนักงานมีความคดิ อัตโนมตั ใิ นการมีมมุ มองโลกในแงด่ ี โอกาสในการนำาไปใช ้ สามารถนาำ กจิ กรรมนไ้ี ปจดั สอดแทรกกบั กจิ กรรมของสถานประกอบการ เชน่ กจิ กรรม Morning Talk หรอื จดั ชว่ งพกั เพอ่ื ใหพ้ นกั งานผอ่ นคลาย ระหวา่ งการทาำ งานครบ 2 ชว่ั โมง หรอื หลงั การออกกาำ ลงั กายประจาำ วนั เปน็ ต้น อปุ กรณ ์ กระดาษโนต้ หรอื กระดาษสี ปากกา เปน็ ตน้ แนวทางการจัดกิจกรรม 1. ผนู้ าำ กจิ กรรมใหพ้ นกั งานนาำ เสนอขอ้ ดที ไ่ี ดเ้ ตรยี มมา จากการมอบหมายใหค้ น้ หา ขอ้ ดใี นเหตกุ ารณใ์ ดเหตกุ ารณห์ นง่ึ ซงึ่ ทาำ ใหม้ คี วามรสู้ กึ ไมป่ ระทบั ใจ ผดิ หวงั เสยี ใจโดยใชร้ ปู แบบ การนาำ เสนอตามท่ีเลือกไว้ในคร้ังที่ 4 2. ผนู้ ำากิจกรรมสรปุ ขอ้ คิดท่ไี ดจ้ ากการทาำ กิจกรรม ดังน้ี 20 โปรแกรมสร้างสขุ วัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ

Module 1 ฝกึ มองโลกในแงด่ ี เหน็ ดี...ในร้าย การฝกึ ค้นหาขอ้ ดจี ากเหตกุ ารณ์รอบตวั ท่เี กิดขนึ้ ในชวี ติ ประจาำ วนั และเปน็ เหตุการณ์ท่ีทำาให้เราเกดิ ความรสู้ ึกทางลบ หรือไม่ประทบั ใจ หรอื ผิดหวงั หรอื เสยี ใจ จะเปน็ การสรา้ งนสิ ยั ใหเ้ รามองโลกในแงด่ ี สามารถคน้ หาขอ้ ดใี นสง่ิ ทไ่ี มด่ ที เ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตวั เราได ้ ดังคาำ ทวี่ า่ “ผิดเปน็ ครู” “ไม่เคยทกุ ขแ์ ลว้ จะรวู้ า่ สขุ ไดอ้ ย่างไร” การฝกึ มองโลกในแงด่ ีจนเปน็ นิสัย ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งเหตกุ ารณท์ ่ีตอ้ งเผชญิ รอบตวั เราในชวี ติ ประจาำ วนั หรอื ตอ้ งเผชญิ กบั บคุ คลทไ่ี มพ่ งึ ใจ ไมถ่ กู ใจกต็ าม จะสง่ ผล ใหค้ นๆ น้นั เห็นความหวัง มีกำาลงั ใจ มีพลังใจตอ่ ส้ใู นชีวิตประจาำ วนั เป็นคนมองชีวติ อยา่ งรื่นรมย์ และมคี วามสุข โปรแกรมสรา้ งสุขวัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ 21

Module 1 ฝึกมองโลกในแง่ดี กิจกรรม ทบทวนสิง่ ดีๆ ในชีวิต : ครัง้ ท่ี 6 “ช่ืนชมคนรอบข้างอยา่ งจริงใจ” กจิ กรรม ทบทวนส่งิ ดีๆ ในชวี ติ : ครัง้ ท ี่ 6 ชืน่ ชมคนรอบข้างอย่างจรงิ ใจ วัตถุประสงค์ เพอื่ ฝึกใหพ้ นกั งาน 1. สามารถค้นหาข้อดีของเพ่ือนร่วมงานได้ 2. ชน่ื ชมผูอ้ ่ืนได้ ระยะเวลาทใ่ี ช ้ ครงั้ ละ 5-10 นาท ี ควรทาำ ตอ่ เนอ่ื งอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้ ตดิ ตอ่ กนั 16 สัปดาห์เพอ่ื ให้เกิดเปน็ นิสยั หรอื จดั กจิ กรรมนไี้ ดท้ กุ วนั ในกรณที ี่ สถานประกอบการมคี วามพรอ้ ม ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั 1. พนักงานมีความหวัง มีกาำ ลังใจ และมีพลังใจพร้อมท่ีจะอยู่ร่วมกับ เพอื่ นๆ หรือคนอืน่ ๆ ที่ไม่สามารถทาำ ใหเ้ ราถกู ใจได้ในทุกเรอ่ื ง 2. พนกั งานมีความคดิ อัตโนมัตใิ นการมมี มุ มองโลกในแง่ดี โอกาสในการนำาไปใช ้ สามารถนาำ กจิ กรรมนไ้ี ปจดั สอดแทรกกบั กจิ กรรมของสถานประกอบการ เชน่ กจิ กรรม Morning Talk หรอื จดั ชว่ งพกั เพอื่ ใหพ้ นกั งานผอ่ นคลาย ระหวา่ งการทาำ งานครบ 2 ชว่ั โมง หรอื หลงั การออกกาำ ลงั กายประจาำ วนั เปน็ ต้น อุปกรณ์ ตามความเหมาะสม แนวทางการจดั กจิ กรรม 1. ผู้นำากิจกรรมทบทวนเรื่องการมองโลกในแง่ดี (รายละเอียดความรู้ตามกิจกรรม ครงั้ ที่ 4) 2. ผนู้ ำากิจกรรมชแี้ จงเร่ืองการชน่ื ชมผอู้ น่ื อยา่ งจริงใจ ดงั นี้ 22 โปรแกรมสร้างสขุ วัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ

Module 1 ฝกึ มองโลกในแงด่ ี การชน่ื ชมผู้อ่ืนอย่างจริงใจ การชนื่ ชมผอู้ น่ื อยา่ งจรงิ ใจ เปน็ การแสดงออกอยา่ งหนงึ่ ของการยอมรบั วา่ คนทกุ คนยอ่ มมที งั้ ข้อดแี ละขอ้ ดอ้ ยอยใู่ นตัว ซงึ่ บางทเี ราอาจจะรสู้ กึ ผิดหวัง ไมพ่ อใจ เสยี ใจ ไมช่ อบใจตอ่ การกระทาำ ของคนนน้ั ๆ แตถ่ า้ เรามพี นื้ ฐานของการมองโลกทางบวก จะช่วยใหเ้ ราสามารถมองผอู้ ื่นในแง่ดีไดไ้ ม่ยากทง้ั ๆ ทีค่ นๆ นัน้ อาจมขี ้อทเี่ ราไมพ่ อใจ หลักการชนื่ ชมอยา่ งจรงิ ใจ  ต้องไม่มคี ำาวิจารณ์ ตำาหนิ หรอื ประชดประชัน รวมอยใู่ นคำาช่ืนชม เช่น “เดี๋ยวน้ี ขยนั เป็นพิเศษนะ อย่าให้ดแี ตกกแ็ ลว้ กนั ”  ระหว่างช่ืนชมต้องมีความสอดคล้องกันทั้งภาษาพูดท่ีใช้และภาษาท่าทางที่ แสดงออกอยา่ งจริงใจ  สบตาขณะที่ชน่ื ชม แต่ไม่ใช่การจอ้ งตาเขมง็  ชน่ื ชมด้วยการเขียนเป็นบางครงั้  ชื่นชมด้วยความรู้สึกทจี่ ริงใจ ยอมรับ และเห็นคุณค่าในความพยายามของเขาที่ ทาำ พฤตกิ รรมทคี่ ณุ ตอ้ งการเชน่ “ฉนั ชน่ื ชมเธอจรงิ ๆ ทเ่ี หน็ เธอมคี วามตง้ั ใจทาำ งาน มาตลอด แมง้ านยากๆ เธอก็ไม่เคยบน่ ” โปรแกรมสรา้ งสุขวัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ 23

Module 1 ฝกึ มองโลกในแง่ดี วธิ กี าร การชน่ื ชมอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ผูพ้ ูดบอกความร้สู ึกของตนเองที่มตี ่อบคุ คลทีอ่ ยากช่ืนชม + บอกพฤตกิ รรมทนี่ า่ ชน่ื ชมของบคุ คลทีเ่ ราอยากช่ืนชม + บอกคณุ ลกั ษณะที่นา่ ชน่ื ชมของบคุ คลท่ีเราอยากช่ืนชม ตวั อย่าง เช่น “ฉันนับถอื นำา้ ใจเธอจงั ทเ่ี ธอเลย้ี งดเู อาใจใสท่ ัง้ พ่อและแมเ่ ปน็ อย่างดี เธอเปน็ ลกู ที่กตัญญูจรงิ ๆ” 3. ผนู้ าำ กจิ กรรม ยกตวั อยา่ งคาำ พดู ชน่ื ชม และใหพ้ นกั งานชว่ ยกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ เปน็ การชน่ื ชมอยา่ งจรงิ ใจหรอื ไม ่ ดงั นี้ ชนื่ ชมอย่างจริงใจหรอื ไม่ 1) เธอทำางานเก่งนะ น่าจะทำาแบบน้ีตั้งนานแล้ว มัวแต่ด้ือเลยเสียเวลาอยู่ต้ังนาน (ไม่ใช่) 2) เออทาำ ดีก็ได้ แตไ่ มย่ อมทาำ (ไม่ใช)่ 3) เธอนแี่ น่จริงๆ อดทนทำางานนจ้ี นสาำ เรจ็ มีความพยายามมากๆ (ใช)่ 4) ผมนบั ถือหัวหน้านะ ทห่ี ัวหน้ายอมรบั ฟังเหตุผลของลูกนอ้ ง นี่ซหิ วั หน้าทยี่ ตุ ิธรรม (ใช่) 4. หลังจากน้ันผู้นำากิจกรรมให้พนักงานจับคู่กันตามความสมัครใจ ให้พนักงานฝึก การคน้ หาขอ้ ดขี องเพอ่ื นรว่ มงานทน่ี า่ ชน่ื ชม โดยการนกึ ถงึ ขอ้ ดขี องเพอ่ื นทจ่ี บั คดู่ ว้ ย คนละ 1 ขอ้ และสลบั กันฝึก “การชน่ื ชมอย่างจรงิ ใจ” 24 โปรแกรมสรา้ งสุขวยั ทำางาน ในสถานประกอบการ

Module 2 ปรับเปลีย่ นความคดิ โปรแกรมสร้างสขุ วยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ 25

Module 2 ปรบั เปล่ียนความคดิ Module 2 ปรบั เปลี่ยนความคดิ คาำ ช้แี จงสาำ หรบั ผู้นาำ กิจกรรม การปรับระบบความคิดเป็นปัจจัยหน่ึงของการเสริมสร้างให้คนวัยทำางาน มคี วามสขุ เพราะเปน็ การชว่ ยใหเ้ ปดิ มมุ มองทมี่ ตี อ่ ตนเองและผอู้ น่ื รวมทง้ั สถานการณ์ ต่างๆ ทีเ่ กิดข้ึนรอบตัวเรา เปน็ การมองอย่างรอบดา้ น เหน็ คุณคา่ ในตนเองและผ้อู ื่น ลดความอคติ สรา้ งความหวงั กำาลังใจใหม้ ีพลงั ใจทเ่ี ข้มแขง็ ในการใชช้ ีวติ ตอ่ ไป การปรับเปล่ียนระบบความคิด เป็นการสนับสนุนและเชื่อมโยงให้ คนวัยทาำ งานสามารถมองโลกในแง่ดี กจิ กรรมบางกจิ กรรมเปน็ สงิ่ ทส่ี ถานประกอบการ ไดด้ าำ เนนิ การอยแู่ ลว้ เชน่ กจิ กรรมยกยอ่ งเชดิ ชพู นกั งานในรปู แบบตา่ งๆ แตค่ วรเพม่ิ กจิ กรรมทนี่ อกเหนอื จากท่ี สถานประกอบการมอี ยแู่ ลว้ เพอื่ เพม่ิ ความรคู้ วามเขา้ ใจดา้ นสขุ ภาพจติ และเสรมิ ทกั ษะ ให้มี “พลังสุขภาพจติ ” ในตวั พนักงานทกุ คน วตั ถปุ ระสงค์ภาพรวมของ Module 2 เพ่ือให้พนักงานมีการปรับเปล่ียนความคิดที่มีต่อตนเอง ผู้อ่ืน และต่อ สถานการณ์ความยุ่งยากที่เผชิญอยู่ โดยเปิดมุมมองให้รอบด้าน ซึ่งจะทำาให้เกิด ความหวัง กาำ ลังใจและพลงั ใจในการดำาเนินชีวติ ตอ่ ไป กิจกรรม กจิ กรรมเพอื่ นาำ ไปสกู่ ารปรบั เปลย่ี นความคดิ ไดอ้ อกแบบเปน็ เมนทู างเลอื ก ทสี่ ถานประกอบการ สามารถเลอื กจดั หรอื ทาำ ครบทกุ กจิ กรรม โดยพจิ ารณาตามความ เหมาะสม ประกอบดว้ ย 4 กิจกรรมทางเลอื ก ดังน้ี 1. กิจกรรมเก้าอม้ี นุษย์ 2. กิจกรรมบัตรเตมิ ใจ “ส่งรักให้ Buddy” 3. กจิ กรรมคนดี....ต้องบอกต่อ 4. กิจกรรมสานฝันสู่จดุ หมาย การติดตามประเมินผล รายละเอียดในบทนำา 26 โปรแกรมสรา้ งสุขวัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ

Module 2 ปรบั เปลี่ยนความคิด กจิ กรรม เกา้ อ้มี นษุ ย์ ชื่อกิจกรรม เก้าอ้มี นษุ ย์ วตั ถุประสงค์ เพื่อให้พนักงานฝึก 1. การจดั การแกไ้ ขปญั หาอย่างเปน็ ระบบ 2. การวางเปา้ หมายตามความสามารถของตนเอง 3. การทาำ งานเปน็ ทมี ระยะเวลาทีใ่ ช ้ อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครง้ั (ใช้เวลาคร้งั ละ 15-20 นาท)ี ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั 1. ปรบั ระบบความคดิ มองปญั หาในแงด่ ที ที่ าำ ใหเ้ รามที กั ษะการใชช้ วี ติ มากข้ึน 2. มีความหวัง กำาลงั ใจและพลงั ใจในการดาำ เนนิ ชีวติ 3. มสี ัมพันธภาพท่ดี ีต่อผูอ้ ืน่ โอกาสในการนาำ ไปใช้ สามารถนำากิจกรรมนี้ไปจัดในรูปแบบ Walk rally หรือฐานความรู้ 1 ฐานสอดแทรกกบั การจดั กจิ กรรมสปั ดาหค์ วามปลอดภยั ทหี่ นว่ ยงาน จัดทุกปี ขอ้ ควรระวงั คอื จาำ นวนสมาชกิ ทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรมในแตล่ ะรอบอยา่ งนอ้ ย ควรมีจาำ นวน 10 คนขึน้ ไป อปุ กรณ ์ - แนวทางการจดั กจิ กรรม 1. ผนู้ าำ กจิ กรรมใหพ้ นกั งานทกุ คนทอ่ี ยใู่ นฐานรว่ มกนั ทาำ กจิ กรรม “เกา้ อม้ี นษุ ย”์ โดย 1.1 ใหส้ มาชกิ ทกุ คนจบั มอื กนั เปน็ วงกลม จากนน้ั ปลอ่ ยมอื จากกนั ผนู้ าำ กจิ กรรม ส่ังให้ทุกคนหันหน้าไปในทิศทางเดียวกัน เช่น “ซ้ายหัน / ขวาหัน” และให้ยืนอยู่ในท่านั้น จากนั้นลองให้สมาชิกประเมนิ ตนเองว่าจะสามารถทาำ กจิ กรรม “เกา้ อี้มนษุ ย์” ไดน้ านทีส่ ุดเป็น เวลากี่นาที โดยผู้นำากิจกรรมยังไม่ต้องบอกรายละเอียดการทำากิจกรรมให้บอกเพียงข้อมูลว่า กิจกรรมน้มี ีคะแนนเต็ม 5 คะแนนหากทาำ ได้สำาเร็จและเคยมผี ู้ทท่ี ำาไดน้ านท่สี ดุ ถึง 5 นาที โปรแกรมสร้างสขุ วยั ทำางาน ในสถานประกอบการ 27

Module 2 ปรบั เปลย่ี นความคดิ 1.2 หลังจากสมาชิกร่วมกันตัดสินใจได้แล้วว่าจะร่วมกันทำากิจกรรม “เก้าอ้ี มนษุ ย”์ ใหไ้ ดน้ านทสี่ ดุ กนี่ าท ี ผนู้ าำ กจิ กรรมใหส้ มาชกิ เรมิ่ ทาำ กจิ กรรม ดว้ ยการบอกใหส้ มาชกิ ทกุ คนขยบั เขา้ มาชดิ กนั จนเสมอื นวา่ แตล่ ะคนเปน็ เกา้ อเี้ พอื่ ใหค้ นขา้ งหนา้ ไดน้ ง่ั ลงบนขาหรอื ตกั ของ ตนเอง โดยสมาชิกทุกคนจะต้องนั่งต่อๆ กันไปจนครบทุกคน และนั่งอยู่ในท่าน้ันจนครบเวลา ตามที่ตกลงกนั ไว้ 1.3 ในกรณีท่ีสมาชิกไม่สามารถทำากิจกรรมได้สำาเร็จตามท่ีได้ตกลงกันไว้ และ สมาชกิ มีความพรอ้ มทจ่ี ะขอลองทำาใหม ่ ให้ผนู้ ำากจิ กรรมเปดิ โอกาสให้สมาชิกไดเ้ รมิ่ ทำากิจกรรม อกี ครงั้ โดยใหร้ ่วมกันคดิ วางแผนเพื่อปรบั วิธีการหรอื ลดระยะเวลาท่ีจะสามารถทาำ ไดส้ ำาเรจ็ 2. เม่ือสน้ิ สุดกจิ กรรมน ี้ ผนู้ าำ กจิ กรรมถามความรู้สึกของสมาชิกทรี่ ว่ มกจิ กรรมว่า กรณีทีท่ ำ�กจิ กรรมไม่สำ�เร็จ “รสู้ ึกอยา่ งไรกบั การทาำ กจิ กรรมนี้” “คิดว่ามีอะไรผดิ พลาด” “ถา้ มีโอกาสแก้ตวั ใหม ่ คิดวา่ จะมวี ธิ ีอย่างไรท่ีจะสามารถทาำ กจิ กรรมน้สี าำ เรจ็ ” กรณีทำ�กิจกรรมสำ�เร็จ “ร้สู กึ อย่างไรกับการทำากจิ กรรมน”ี้ “ไดเ้ รียนรอู้ ะไรจากการทำากิจกรรมน้ี เช่น ที่ทำาไดห้ รือไมไ่ ด้เปน็ เพราะอะไร” “เคลด็ ลับท่ที ำาให้ทำาได้สำาเร็จคอื อะไร” 3. ผ้นู ำากิจกรรมสรุปสงิ่ ทีต่ อ้ งการใหพ้ นักงานได้เรยี นร้จู ากการทาำ กิจกรรมดงั นี้ 28 โปรแกรมสรา้ งสขุ วัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ

Module 2 ปรบั เปลีย่ นความคิด ขอ้ คดิ จาก...“เก้าอ้ีมนษุ ย์” กจิ กรรม “เกา้ อม้ี นษุ ย”์ ทาำ ใหไ้ ดเ้ รยี นรวู้ า่ แมเ้ ราจะตง้ั ใจทาำ บางสง่ิ บางอยา่ ง อยา่ งเตม็ ทเี่ ตม็ ความสามารถของเรา แต่ผลท่ีได้รบั อาจไมเ่ ปน็ ไปตามท่เี ราคาดหวงั ว่า จะตอ้ งสาำ เร็จเสมอไป ทีเ่ ปน็ เชน่ นี้เพราะบางเรือ่ งเป็นเร่ืองทีเ่ ราไม่ถนดั เปน็ เร่อื งใหม ่ เป็นเร่ืองที่เราไม่ชอบ เป็นเร่ืองท่ีเราคาดหวังสูงหรือตั้งเป้าหมายท่ีเกินความสามารถ เป็นเรื่องท่ีต้องพึ่งพาอาศัยหรือเก่ียวข้องกับผู้อ่ืน ถึงแม้บางคร้ังเรามีการปรับมีการ วางแผนใหม่แต่ก็ยังไม่ประสบความสำาเร็จ จนทำาให้บางคนอาจรู้สึกหงุดหงิด โกรธ ตนเอง โกรธผู้อื่น หรือเลิกทำาส่ิงนั้นไปเลย แต่ถ้าเราพิจารณาให้ดีว่าส่ิงท่ีเราคิดว่า ได้ปรับเปลี่ยนแล้วนั้นมันเป็นวิธีการท่ีดีท่ีสุดแล้วหรือยัง เพราะการแก้ปัญหาหรือ จะทำาสิ่งใดให้ประสบความสำาเร็จในบางคร้ังต้องใช้เวลาตั้งแต่การทบทวนเป้าหมาย ซึ่งบางครั้งอาจต้องมีการลดเป้าหมายลง จนสามารถทำาสำาเร็จแล้วจึงค่อยๆ เพ่มิ เปา้ หมายให้มากขึ้นเหมือนการกา้ วข้นึ บันได โปรแกรมสร้างสุขวยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ 29

Module 2 ปรับเปลีย่ นความคดิ 4. ผู้นำากิจกรรมทำาความเข้าใจให้พนักงานได้เห็นประโยชน์ของการฝึกปรับเปลี่ยน ความคดิ ดงั น้ี การปรบั เปลีย่ นความคิด ถึงแม้การฝึกมองโลกในแง่บวกและการฝึกมองโลกในแง่ดีเป็นสิ่งท่ีสำาคัญ และเปน็ ปจั จัยพืน้ ฐานของการเสรมิ สรา้ งให้คนวัยทำางานมคี วามสขุ ซ่ึงจาำ เป็นต้องฝึก ทาำ จนเปน็ อตั โนมตั แิ ละเกดิ ความเคยชนิ จนเปน็ นสิ ยั ในทส่ี ดุ แตใ่ นขณะเดยี วกนั ปจั จยั ทเี่ สรมิ สรา้ งความสขุ ของคนวยั ทาำ งานอกี ดา้ นทจ่ี าำ เปน็ และเชอื่ มโยงกบั การมองโลกใน แง่บวกและมองโลกในแง่ด ี คอื การปรับเปลยี่ นความคิด เพราะการใช้ชีวติ ประจำาวัน ของคนเราไมส่ ามารถเจอกบั สงิ่ ทส่ี มหวงั หรอื ถกู ใจไดเ้ สมอไป และบางครง้ั เราเองกไ็ ม่ สามารถเปลี่ยนแปลงส่งิ ทไี่ ม่ถกู ใจน้นั ได ้ ดงั นัน้ เราตอ้ งมวี ิธีการทจ่ี ะอยู่กับสิง่ น้ันใหไ้ ด ้ โดยไมร่ ู้สกึ ฝนื ใจหรือทกุ ข์ใจจนทนไมไ่ ด ้ ดว้ ยการฝกึ ปรับระบบความคิดหรือการปรบั เปลยี่ นความคิดทม่ี ตี อ่ ตนเอง ต่อผ้อู นื่ หรอื ตอ่ สง่ิ ทเ่ี ผชญิ อย ู่ เพอ่ื ใหเ้ รามกี ารดาำ เนนิ ชวี ติ ตอ่ ไป ไมจ่ มอยกู่ บั ความทกุ ข ์ ทอ้ แท ้ สน้ิ หวงั วธิ ีการ การปรับเปลี่ยนความคิด สามารถทำาได้โดย การเปิดมุมมองของตนเอง ให้มองอย่างรอบด้าน มองท้ังข้อดีและข้อเสียที่เกิดข้ึนว่าส่งผลให้เราได้เรียนรู้อะไร สามารถนาำ ไปปรบั ปรงุ และพฒั นาใหด้ ขี นึ้ อยา่ งไร ไมใ่ ชพ่ งุ่ เปา้ มองเฉพาะความลม้ เหลว หรือผลเสียท่เี กดิ ขึน้ อยา่ งเดียว สงิ่ สาำ คญั ทสี่ นบั สนนุ ใหเ้ กดิ การปรบั ความคดิ คอื อนั ดบั แรกตอ้ งมพี น้ื ฐาน ของการมองโลกในแง่บวกก่อน และพัฒนาการมองโลกในแง่บวกนั้นให้สามารถมอง หาขอ้ ดไี ดแ้ มแ้ ตใ่ นสถานการณท์ ตี่ อ้ งเผชญิ กบั ความยงุ่ ยากใจตา่ งๆ เชน่ ไมเ่ ปน็ ไปตาม ความคาดหวัง รสู้ กึ ล้มเหลว รสู้ กึ พา่ ยแพ ้ ผิดหวงั เสยี หนา้ อบั อาย เป็นต้น ซึง่ เรยี กว่า การมองโลกในแงด่ ี และนาำ สองสงิ่ นมี้ าเป็นฐานคิดในการปรับเปล่ียนความคดิ 30 โปรแกรมสร้างสุขวยั ทำางาน ในสถานประกอบการ

Module 2 ปรับเปลีย่ นความคดิ ตัวอยา่ ง การปรบั ความคดิ สถานการณ ์ : หวั หนา้ งานไดม้ อบหมายงานใหม ่ ซง่ึ สมชายตงั้ ใจทมุ่ เททาำ งาน น้นั อยา่ งเตม็ ทค่ี นเดียว เพ่ือไม่ทำาใหห้ วั หนา้ งานผดิ หวัง แต่ผลคอื งานทีท่ าำ นัน้ ไม่เปน็ ไปตามเปา้ หมายทส่ี มชายตง้ั ใจไว ้ สมชายผดิ หวงั และเสยี ใจมาก คดิ วา่ ตนเองไมม่ คี วาม สามารถพอจงึ ทาำ งานไม่สาำ เรจ็ ตามเป้าหมาย การปรบั ความคิดต่อตนเอง เช่น “การลดเป้าหมายไม่ใช่เราไม่เก่ง แต่มันคือการปรับการทำางานข้ันต้นเพ่ือ ให้สำาเรจ็ ก่อน แลว้ จงึ คอ่ ยๆ เพิ่มเปา้ หมาย” “เรายังมีคุณค่าในตนเองหรือยังมีความสามารถอยู่ ถึงแม้บางคร้ังเราต้อง ขอความชว่ ยเหลือหรือความคดิ เห็นจากเพือ่ นร่วมงานบ้าง” การปรับความคดิ ต่อผู้อืน่ เชน่ “คนทุกคนมีความสามารถและความเช่ียวชาญไม่เหมือนกันทุกคน ดังน้ัน การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของเพอ่ื นรว่ มงานจะชว่ ยใหเ้ ราสามารถทาำ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ไดง้ า่ ยขน้ึ ” “การทที่ าำ งานครง้ั แรกแลว้ ยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย แตเ่ มอื่ เราปรบั วธิ กี าร และลดเปา้ หมายลงก่อน หวั หน้างานต้องเหน็ ความพยายามและความตั้งใจท่ีเราม”ี การปรับความคิดเห็นต่อสถานการณเ์ ช่น “การทาำ งานทไ่ี มไ่ ดต้ ามเปา้ หมายไมใ่ ชค่ วามลม้ เหลว แตก่ ลบั เปน็ การใหเ้ กดิ การเรียนรู ้ และเป็นประสบการณ์ท่มี ีค่าในการปรบั การทำางานต่อไป” โปรแกรมสรา้ งสุขวัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ 31

Module 2 ปรบั เปลยี่ นความคดิ ช่อื กิจกรรม บตั รเติมใจ “สง่ ความรกั ให ้ Buddy” วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้พนกั งานฝึก 1. การใสใ่ จผอู้ น่ื 2. การยอมรบั และชน่ื ชมผูอ้ ่ืน 3. การเคารพกตกิ าทไ่ี ดต้ กลงร่วมกัน ระยะเวลาทีใ่ ช้ ตามความเหมาะสม หรอื ใหพ้ นกั งานกาำ หนดระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นแตล่ ะครง้ั เอง แตค่ วรมกี ารจดั กิจกรรมนี้อย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง ประโยชนท์ ไี่ ด้รับ 1. ปรับเปลย่ี นความคดิ มองอย่างรอบดา้ นลดความอคติ 2. ทำาใหม้ สี ัมพันธภาพทดี่ กี ับผอู้ นื่ 3. ร้สู ึกมคี ณุ คา่ ภาคภมู ิใจ มพี ลงั ใจ อปุ กรณ์ กระดาษสำาหรับทำาสลาก กระดาษสีต่างๆ สำาหรับทำาบัตรเติมใจ ปากกาบอร์ด ประชาสมั พนั ธ ์ รางวัล หรอื ตามความเหมาะสม แนวทางการจดั กจิ กรรม 1. ผู้นำากิจกรรม เตรียมทำาสลากรายชื่อพนักงานทุกคนในแผนก/ฝ่ายที่เข้าร่วม กจิ กรรมบัตรเตมิ ใจ “สง่ ความรักให ้ Buddy” 2. ผู้นำากิจกรรม เร่ิมต้นทาำ กจิ กรรม โดย 2.1 ชี้แจงกตกิ าขอ้ ตกลง และวธิ กี ารทาำ กจิ กรรมให้พนักงานเข้าใจดังน้ี  หา้ มเปดิ เผยตวั วา่ เปน็ Buddy กบั ใครจนกวา่ จะครบตามเวลาทกี่ าำ หนด  ต้องสง่ บตั รเตมิ ใจถงึ Buddy ของตนเองอยา่ งนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 1 ครง้ั โดยเป็นการเขียนข้อความหรือคำาพูดที่แสดงถึงความรู้สึกทางบวก การช่ืนชมยินดี และให้ กำาลงั ใจกนั เช่น การชนื่ ชมความดีมีน้ำาใจ การต้ังใจทำางาน เปน็ ตน้  รว่ มกนั กำาหนดวันนดั หมายทจ่ี ะเฉลยช่อื Buddy พร้อมกนั 2.2 ใหส้ มาชกิ แตล่ ะคนจับสลากหา Buddy ของตนเอง คนละ 1 รายชอ่ื ถ้าได้ ชือ่ ของตนเองต้องจับสลากใหม่ 3. เม่อื ครบตามระยะเวลาทกี่ าำ หนด ผ้นู าำ กิจกรรมจดั กิจกรรมเพื่อเฉลยชื่อ Buddy ซึ่งสามารถออกแบบกิจกรรมการเฉลยในรูปแบบต่างๆ เพ่ือให้เกิดความสนุกสนาน ประทับใจ ร้สู กึ วา่ ตนเองมีคุณคา่ เป็นทรี่ ักของเพ่อื นๆ และเปน็ สว่ นหน่งึ ขององคก์ ร 32 โปรแกรมสร้างสขุ วัยทำางาน ในสถานประกอบการ

Module 2 ปรบั เปล่ยี นความคิด ตัวอยา่ งการใหร้ างวลั เช่น  สมาชกิ ทท่ี ายถูกว่าใครเป็น Buddy ของตนเอง  Budder ทแี่ สดงความใสใ่ จอยา่ งสมา่ำ เสมอดว้ ยการสง่ ขอ้ ความใหก้ บั Buddy ของตนเองเป็นประจาำ จนทำาให้ Buddy เกิดความประทบั ใจในความใส่ใจ  Budder ท่ีเขียนบัตรเติมใจให้รัก แล้วทำาให้ Buddy อ่านแล้วรู้สึกดี เกดิ กาำ ลังใจทกุ ครงั้ ท่ีไดร้ ับ 4. กอ่ นปดิ กจิ กรรม ผนู้ าำ กจิ กรรมควรสอบถามพนกั งานทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรม ถงึ ความรสู้ กึ และสิง่ ที่ได้เรียนร้จู ากการทาำ กิจกรรม และสรุปเพ่มิ เติมดังนี้ โปรแกรมสรา้ งสขุ วัยทาำ งาน ในสถานประกอบการ 33

Module 2 ปรบั เปลี่ยนความคดิ บตั รเตมิ ใจ “สง่ ความรักให้ Buddy” ขอ้ สรปุ จากการทาำ กจิ กรรม การทพ่ี นกั งานไดร้ บั บตั รเตมิ ใจจากเพอื่ นรว่ มงานทชี่ น่ื ชม ความดีในดา้ นตา่ งๆ ซง่ึ บางคร้งั เป็นความดีท่ตี นเองอาจนึกไม่ถงึ หรอื มองข้ามความดี นนั้ ไป ย่อมทาำ ใหเ้ ราเกดิ  ความรู้สกึ ภาคภูมิใจในตนเอง รสู้ ึกว่าตนเองมีคณุ คา่  รสู้ ึกได้รับการยอมรับจากผู้อื่น  เปน็ การฝึกตนเองให้รูจ้ กั ฝึกคดิ บวกจนเปน็ อตั โนมัติ  เกิดสัมพันธภาพทด่ี รี ะหว่างกนั ข้อพึงระวงั กรณีท่ผี นู้ าำ กจิ กรรมสังเกตพบว่ามคี ู่ Buddy บางค่ไู ดร้ ับบัตรเตมิ ใจใหร้ ัก น้อยกว่าค่อู นื่ ควรปฏิบตั ดิ งั นี ้  ผู้นำากิจกรรมควรสอบถามเหตุผลของคู่ Buddy ที่ไม่ค่อยส่งบัตรเติม ใจฯเพราะอะไร  ถา้ ได้รบั คำาตอบเปน็ เพราะค ู่ Buddy ไมร่ จู้ ะเขียนวา่ อะไร เขยี นไม่เก่ง เคอะเขนิ ทจ่ี ะเขยี น ผนู้ าำ กจิ กรรมควรทาำ ความเขา้ ใจใหพ้ นกั งานทกุ คนเหน็ วา่ คนแตล่ ะ คนอาจมีบคุ ลิกภาพทแ่ี ตกตา่ งกันไป เช่น บางคนอาจไมช่ า่ งพูด หรือไมช่ อบเปิดเผย ความรสู้ กึ ของตนเองให้ผูอ้ ื่นรบั รู้ หรือไม่ชอบการเขยี นหนังสอื เปน็ ตน้ ท้ังๆ ที่ถ้ามา พิจารณาแล้ว จะพบวา่ จรงิ ๆ แลว้ Buddy ก็อยากมสี ัมพันธภาพทีด่ ีดว้ ย ดงั น้ันเรา ควรยอมรับความแตกตา่ งน ี้  ถา้ ไดร้ บั คาำ ตอบในทางลบหรอื ทาำ ใหค้ ู่ Buddy มคี วามรสู้ กึ ทางลบ ผนู้ าำ กิจกรรมควรใช้คำาพูดที่ช่วยผ่อนคลายบรรยากาศ หรอื สร้างอารมณข์ ัน ทาำ ใหฝ้ ่ายทม่ี ี ความรสู้ กึ ลบ ได้มีความรู้สึกท่ีดีข้ึนเพือ่ ลดความร้สู กึ เสยี หน้า  ถา้ พบวา่ พนกั งานบางคนมปี ฏกิ ริ ยิ าทลี่ บมากๆ ตอ่ การเขา้ รว่ มกจิ กรรมน ้ี หรือน่าจะมีความเครียด ความวิตกกังวลในช่วงน้ัน ผู้นำากิจกรรมควรเฝ้าสังเกตและ หาโอกาสพูดคุยตลอดจนใหก้ ารช่วยเหลือตามความเหมาะสม กรณีทผ่ี ูน้ ำากิจกรรมไม่ สามารถชว่ ยเหลอื ไดด้ ้วยตนเองให้สง่ ต่อตามระบบของหนว่ ยงาน/องค์กร 34 โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ

Module 2 ปรบั เปล่ยี นความคดิ ช่ือกิจกรรม คนดี....ตอ้ งบอกตอ่ วตั ถุประสงค์ เพ่อื สนบั สนุนให้พนักงาน 1. เกดิ ขวัญและกาำ ลังใจท่จี ะทาำ สิง่ ดๆี ทั้งตอ่ ตนเอง ผ้อู ่นื และต่องาน 2. เกิดแรงจงู ใจในการปฏบิ ัตงิ าน 3. เปน็ ตน้ แบบใหก้ ับเพ่อื นพนักงาน ระยะเวลาท่ใี ช ้ ขน้ึ อยกู่ บั กจิ กรรมทเ่ี ลอื กจดั ตามความเหมาะสมของสถานประกอบการ แตค่ วรมีการจัดกิจกรรมน้อี ยา่ งต่อเนื่องทุกปี ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ 1. ทาำ ให้คดิ วา่ ตนเองเป็นสว่ นหนึง่ ขององค์กร เป็นคนมคี วามหมาย เหมอื นองคก์ ร เปน็ บา้ นที่สอง 2. ความภาคภูมใิ จท่ีเป็นต้นแบบ มีคนยกย่องเชดิ ชู อุปกรณ์ รางวัล ข้ึนอยู่กบั ความเหมาะสมและความพรอ้ มของสถานประกอบการ คาำ ชแ้ี จงสาำ หรับผนู้ ำากจิ กรรม กิจกรรมคนดี...ต้องบอกต่อ สามารถออกแบบรูปแบบ และรายละเอียด ต่างๆ ของการจัดกิจกรรมตามที่สถานประกอบการเห็นเหมาะสมและสามารถทำาได้ เพ่ือช่ืนชมคนท่ีทำาดี เช่น การกำาหนดหลักเกณฑ์สำาหรับพนักงานที่สมควรจะได้รับ รางวัลระยะเวลาหรือความถ่ีในการจัดกิจกรรม โดยมุ่งเน้นให้พนักงานมีแรงจูงใจใน การปฏิบัติงาน เกดิ ความรูส้ ึกภาคภมู ิใจมีคณุ ค่าในตนเอง รางวลั ทใี่ หส้ าำ หรบั กจิ กรรมน ้ี อาจใหเ้ ปน็ เงนิ ทอง สง่ิ ของ ขวญั และกาำ ลงั ใจ เช่น ติดบอร์ดประชาสัมพันธ์เพ่ือเชิดชูคนทำาดี มอบเกียรติบัตร สัมภาษณ์ออกเสียง ตามสายหรอื ลงวารสารของสถานประกอบการ เปน็ ตน้ ทง้ั นข้ี นึ้ อยกู่ บั ความเหมาะสม ของสถานประกอบการ โปรแกรมสร้างสขุ วัยทำางาน ในสถานประกอบการ 35

Module 2 ปรับเปลย่ี นความคิด แนวทางการจัดกจิ กรรม ข้ันเตรยี มก�ร 1. ผนู้ าำ กจิ กรรมรว่ มกบั คณะทาำ งานพจิ ารณาเลอื กรปู แบบการจดั กจิ กรรมคนด.ี ...ตอ้ ง บอกตอ่ โดยอาจนาำ มาจากการสำารวจความตอ้ งการของพนักงาน หรอื ผลจากการสาำ รวจความ พงึ พอใจของการจดั กจิ กรรมครง้ั กอ่ นๆ และรว่ มกนั กาำ หนดหลกั เกณฑก์ ารใหร้ างวลั กาำ หนดรางวลั ระยะเวลาในการใหร้ างวลั และจดั ทาำ เปน็ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาำ ป ี เพอ่ื ใหม้ กี ารทาำ กจิ กรรมอยา่ ง ต่อเน่ือง 2. ตวั อยา่ งกิจกรรมชื่นชมคนด ี เชน่ 2.1 ช่นื ชมคนพลังใจเขม้ แข็ง ทส่ี ามารถเลกิ สบู บหุ รี่ เลิกดื่มสรุ าได ้ ตามเปา้ หมาย ที่ต้งั ไว้ 2.2 ชืน่ ชมคนมุง่ มั่นท่ไี มเ่ คยขาด ลา มาสาย มีความขยนั 2.3 ชื่นชมคนดีมีจิตอาสา ที่ชอบช่วยเหลือเพ่ือนพนักงาน คนรอบข้าง ชุมชน และสงั คม 2.4 ชื่นชมคนดีมีคุณธรรม เชน่ เกบ็ ของของผูอ้ ่นื ไดแ้ ลว้ สง่ คืนเจา้ ของ ขนั้ ดำ�เนนิ ก�ร 3. ผนู้ าำ กจิ กรรมควรประชาสมั พนั ธผ์ า่ นชอ่ งทางตา่ งๆเพอ่ื ใหพ้ นกั งานรบั ทราบอยา่ ง ทว่ั ถงึ วา่ สถานประกอบการมกี ารจดั กจิ กรรมคนด.ี ..ตอ้ งบอกตอ่ ในรปู แบบใดบา้ งและหลกั เกณฑ์ เปน็ อย่างไร 4. สถานประกอบการควรสนบั สนนุ ใหม้ กี ารประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื ยกยอ่ งเชดิ ชพู นกั งาน ท่ที าำ ดี เพ่ือให้เปน็ ตน้ แบบแกพ่ นักงานคนอ่ืนเช่น บอร์ดประชาสัมพนั ธ์ เสียงตามสาย เว็บไซด์ อเี มล ์ หรอื ชอ่ งทาง social network ตา่ งๆ ของหน่วยงาน/องคก์ ร เป็นต้น 36 โปรแกรมสร้างสขุ วยั ทำางาน ในสถานประกอบการ

Module 2 ปรบั เปล่ียนความคดิ ชือ่ กจิ กรรม สานฝนั สจู่ ดุ หมาย วัตถุประสงค์ เพอ่ื ให้พนกั งานฝึก 1. การใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ 2. ความมงุ่ มั่น ตัง้ ใจทจ่ี ะทาำ สิง่ หนงึ่ สง่ิ ใดให้สาำ เร็จ ระยะเวลาที่ใช ้ ขนึ้ อยกู่ บั กจิ กรรมทเี่ ลอื กจดั ตามความเหมาะสมของสถานประกอบการ แต่ควรมีการจดั กิจกรรมนอี้ ย่างตอ่ เนือ่ งทุกปี ประโยชน์ท่ไี ด้รับ 1. การเปิดมุมมอง“ความสามารถอยทู่ ่ีการฝกึ ฝน และทกุ ความสาำ เร็จ อยทู่ ีค่ วามพยายาม” 2. มีความสุขท่ีได้แบง่ ปนั รว่ มกับผอู้ ืน่ และสร้างรายได้ใหค้ รอบครวั อปุ กรณ ์ ขน้ึ อย่กู ับกิจกรรมทเ่ี ลือกทำา เช่น กิจกรรมเพาะเห็ด ทำานำ้ายาล้างจาน ฯลฯ แนวทางการจัดกจิ กรรม ข้ันเตรยี มก�ร 1. ผู้นำากิจกรรมสำารวจหรือสอบถามความต้องการของพนักงานท่ีสนใจและมีความ ต้องการรบั การอบรมอาชีพเสริม หรืองานอดิเรก 2. ผู้นำากิจกรรมประสานผู้เชี่ยวชาญให้มาอบรมตามกิจกรรมท่ีพนักงานเลือก โดยจัดทาำ เป็นกำาหนดการและประชาสมั พนั ธ์ใหพ้ นักงานทสี่ นใจได้เข้ารว่ มกจิ กรรม ขนั้ ดำาเนนิ การ 3. ผนู้ าำ กจิ กรรมสนบั สนนุ และควบคมุ กาำ กบั ใหม้ กี ารดาำ เนนิ การตามกจิ กรรมทก่ี าำ หนด 4. ระหวา่ งการทาำ กจิ กรรมผนู้ าำ กจิ กรรมควรกระตนุ้ ใหพ้ นกั งานมสี ว่ นรว่ มใหม้ ากทส่ี ดุ เช่น ช่วยเหลือกัน แลกเปล่ียน แบ่งปนั ผลผลติ ที่ทาำ เป็นต้น 5. ผู้นำากิจกรรมควรคัดเลือกพนักงานท่ีผ่านการอบรมและสามารถถ่ายทอดให้แก่ พนักงานคนอน่ื ๆ ได้ เพื่อให้เปน็ วทิ ยากรในการถ่ายทอดขยายผลให้แก่เพอ่ื นพนกั งานร่นุ ต่อไป หรอื ถ่ายทอดใหล้ ูกหลานของพนกั งาน หรือในชุมชน 6. สถานประกอบการควรหาสถานที่หรือช่องทางให้พนักงานท่ีผ่านการอบรมแล้ว สามารถนำาผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้มาจำาหน่าย เช่น ร้านค้าสวัสดิการ ในการจัดงานสัปดาห์ความ ปลอดภยั เปน็ ตน้ โปรแกรมสร้างสุขวยั ทำางาน ในสถานประกอบการ 37

Module 2 ปรบั เปลี่ยนความคดิ 38 โปรแกรมสรา้ งสุขวยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ

Module 3 ความเขม้ แข็งทางใจ โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทำางาน ในสถานประกอบการ 39

Module 3 ความเขม้ แขง็ ทางใจ Module 3 ความเข้มแขง็ ทางใจ คาำ ช้ีแจงสำาหรบั ผู้นาำ กจิ กรรม ความเข้มแขง็ ทางใจ หรอื พลงั สขุ ภาพจติ หรอื พลงั อดึ ฮึด ส ู้ เป็นอีกหนึง่ ปัจจัยท่ีเสริมสร้างคนวัยทำางานให้มีความสุข เพราะเป็นพลังใจที่จะกระตุ้นให้คนลุก ขึ้นมาต่อสู้เอาชนะอปุ สรรคเมอ่ื ตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หา และกลบั มามคี วามเขม้ แขง็ ทางใจ ใชช้ วี ติ ไดต้ ามปกติ ดงั นน้ั การมองโลกในแงบ่ วก การมองโลกในแง่ด ี การปรบั เปล่ียนความคิด เปน็ ปจั จยั ทส่ี าำ คญั ในการเสรมิ สรา้ งความสขุ คนวยั ทาำ งาน แตจ่ าำ เปน็ ตอ้ งมปี จั จยั ความ เขม้ แข็งทางใจรว่ มดว้ ย จึงจะทาำ ใหค้ นวัยทำางานกลับมาใช้ชวี ิตได้อยา่ งปกติ คำาวา่ “พลังสขุ ภาพจติ ”“ความเข้มแขง็ ทางใจ” “พลงั อดึ ฮดึ สู”้ มีความ เช่ือมโยงและมีความหมายเดียวกัน แต่ท่ีเรียกต่างกันขึ้นอยู่กับความคุ้นเคยหรือการ เลอื กใช้ให้เหมาะสมกบั กลุม่ เป้าหมายที่จะเกดิ ความรู้ความเข้าใจในเรอ่ื งน้ ี ความเชอ่ื มโยงระหวา่ ง “พลงั สขุ ภาพจติ ” “ความเขม้ แขง็ ทางใจ” “พลงั อดึ ฮึด สู้” คอื คนเราทกุ คนจะมพี ลังสุขภาพจติ อย่ใู นตวั มาบ้างนอ้ ยบา้ ง พลงั สขุ ภาพจิตนี้ จะทาำ ใหค้ นๆ นนั้ มคี วามเขม้ แขง็ ทางใจ มคี วามสามารถทจ่ี ะเผชญิ กบั ปญั หาหรอื วกิ ฤต ในชวี ิตซึ่งความเขม้ แข็งทางใจจะต้องประกอบไปดว้ ยพลงั 3 สว่ น คือ พลังอดึ พลงั ฮดึ พลงั ส ู้ ซง่ึ จะทาำ ใหส้ ามารถปรบั ตวั กา้ วผา่ นปญั หาและวกิ ฤตทเ่ี ผชญิ อยกู่ ลบั มาดาำ เนนิ ชวี ติ ได้ตามปกติ “พลังสุขภาพจิต” หรือ “ความเข้มแข็งทางใจ” หรือ “พลังอึด ฮึด สู้” สามารถฝกึ ฝนและพัฒนาใหเ้ พม่ิ ขึ้นได้ วตั ถุประสงค์ภาพรวม เพอื่ ใหพ้ นกั งานมคี วามเขม้ แขง็ ทางใจพรอ้ มทจ่ี ะเผชญิ กบั สถานการณท์ เี่ ปน็ ปญั หา ยงุ่ ยากใจ โดยทส่ี ามารถจดั การและกา้ วผา่ นปญั หาอปุ สรรคนน้ั ได ้ และกลบั ไป ใชช้ วี ติ ไดต้ ามปกติ กิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมทางเลอื ก ดงั นี้ 1. กิจกรรม ความเขม้ แขง็ ทางใจ....ใครๆก็ทำาได้ 2. กจิ กรรม เชฟมือทอง การติดตามประเมนิ ผล รายละเอียดในบทนาำ 40 โปรแกรมสรา้ งสขุ วยั ทำางาน ในสถานประกอบการ

Module 3 ความเข้มแข็งทางใจ ชอ่ื กิจกรรม ความเข้มแข็งทางใจ...ใครๆ กท็ ำาได้ วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหพ้ นักงาน 1. รู้ เขา้ ใจ และเห็นประโยชนข์ องการมคี วามเข้มแข็งทางใจ 2. รู้จดุ แขง็ จุดออ่ น ของตนเอง 3. สามารถวางแผนและแก้ไขปญั หาอย่างเปน็ ระบบ 4. มแี นวทางการพฒั นาตนเองเพื่อใหเ้ กดิ ความเข้มแข็งทางใจ ระยะเวลาทีใ่ ช ้ ใช้เวลาครงั้ ละ 2-3 ช่ัวโมง และควรจดั กิจกรรมนี้อย่างนอ้ ยปีละ 1 ครัง้ หรือจดั ได้บ่อยตามความเหมาะสม ประโยชนท์ ่ีได้รบั พนักงานมีความเข้มแข็งทางใจที่จะเผชิญและก้าวผ่านปัญหาและ อปุ สรรคได้ โอกาสทจ่ี ะใช้ สถานประกอบการสามารถเลอื กการจดั กจิ กรรมนใี้ นโอกาสทเี่ หมาะสม เชน่ 1. บรรจไุ วใ้ นแผนการอบรมพนักงานประจาำ ปี 2. จัดในรูปแบบ walk rally หรือฐานความรู้ร่วมกับการจัดสัปดาห์ ความปลอดภัย 3. มีการประเมินพลังสุขภาพจิตและให้ความรู้พนักงานร่วมกับ การตรวจสุขภาพประจำาปี โปรแกรมสรา้ งสขุ วัยทำางาน ในสถานประกอบการ 41

Module 3 ความเข้มแขง็ ทางใจ คำาช้แี จงสาำ หรับผูน้ ำากจิ กรรมหรอื ผรู้ ับผดิ ชอบประสาน วทิ ยากร เพอื่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจในกิจกรรม คาำ ว่า “พลังสุขภาพจิต”“ความเขม้ แข็งทางใจ” “พลังอดึ ฮึด สู้” มีความ เช่ือมโยงและมีความหมายเดียวกัน แต่ที่เรียกต่างกันข้ึนอยู่กับความคุ้นเคยหรือการ เลือกใช้ให้เหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมายทจ่ี ะเกิดความรูค้ วามเขา้ ใจในเรือ่ งนี้ ความเชอ่ื มโยงระหว่าง“พลงั สุขภาพจติ ” “ความเขม้ แข็งทางใจ” “พลงั อึด ฮดึ ส้”ู คอื คนเราทุกคนจะมีพลงั สขุ ภาพจิตอยูใ่ นตวั มาบ้างนอ้ ยบ้าง พลังสขุ ภาพจติ น้ี จะทาำ ใหค้ นๆ นนั้ มคี วามเขม้ แขง็ ทางใจ มคี วามสามารถทจ่ี ะเผชญิ กบั ปญั หาหรอื วกิ ฤต ในชวี ติ ซ่ึงความเขม้ แขง็ ทางใจจะตอ้ งประกอบไปดว้ ยพลงั 3 สว่ น คือ พลงั อดึ พลังฮึด พลงั ส ู้ ซง่ึ จะทาำ ใหส้ ามารถปรบั ตวั กา้ วผา่ นปญั หาและวกิ ฤตทเ่ี ผชญิ อยกู่ ลบั มาดาำ เนนิ ชีวติ ไดต้ ามปกติ “พลังสุขภาพจิต” หรือ “ความเข้มแข็งทางใจ” หรือ “พลังอึด ฮึด สู้” สามารถฝกึ ฝนและพัฒนาใหเ้ พ่มิ ขึ้นได้ แนวทางการจัดกจิ กรรม รปู แบบที่ 1 : กรณีเลอื กการจัดอบรมใหค้ วามร้แู ก่พนักงาน อปุ กรณ์ แบบประเมินพลงั สขุ ภาพจิต (ฉบบั 20 ข้อ) ของกรมสุขภาพจิต (ดาวนโ์ หลดได้ท่ ี www.sorporsor.com) ข้ันเตรียมก�ร 1. ผู้นำากิจกรรมหรือผู้รับผิดชอบประสานวิทยากรท่ีเชี่ยวชาญในเรื่องสุขภาพจิต (ประเดน็ “พลงั สขุ ภาพจติ ” หรอื “ความเขม้ แขง็ ทางใจ” หรอื “พลงั อดึ ฮดึ ส”ู้ ) เพอ่ื มาใหค้ วามรู้ และพฒั นาจดุ ออ่ นแต่ละดา้ นของพนักงานทพ่ี บจากการประเมนิ พลังสุขภาพจิต (ฉบับ 20 ขอ้ ) ของกรมสุขภาพจิต 42 โปรแกรมสร้างสุขวยั ทาำ งาน ในสถานประกอบการ

Module 3 ความเขม้ แขง็ ทางใจ ข้ันดำ�เนินก�ร 2. วิทยากรให้ความรู้เพ่ือให้พนักงานเข้าใจความหมายและประโยชน์ของความ เข้มแข็งทางใจ ตามองคป์ ระกอบพลังสุขภาพจิต (พลงั อดึ ฮึด ส)ู้ ดังน ้ี ความเข้มแขง็ ทางใจ คำาว่า “ความเข้มแขง็ ทางใจ” “พลังสุขภาพจติ ” “พลงั อดึ ฮดึ สู้” มีความ หมายเดียวกัน แต่ท่ีเรียกต่างกันข้ึนอยู่กับความคุ้นเคยหรือการเลือกใช้คำาใดเพื่อให้ เหมาะสมต่อกล่มุ เปา้ หมายทตี่ ้องการให้เกิดความรคู้ วามเขา้ ใจในเร่ืองนี้ ประโยชน์ ในการดาำ เนนิ ชวี ติ ของคนทกุ คน ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งสว่ นตวั หรอื เรอื่ งงานจะพบ วา่ ทกุ อยา่ งทเี่ กดิ ขน้ึ หรอื พบเจอไมส่ ามารถเปน็ ไปไดอ้ ยา่ งทใี่ จเราตอ้ งการ ดงั นนั้ จงึ เปน็ เรอื่ งปกตธิ รรมดาทค่ี นทกุ คนตอ้ งพบกบั ปญั หาอปุ สรรค ทเ่ี ราอาจแกไ้ ขไดบ้ า้ งไมไ่ ดบ้ า้ ง แตส่ งิ่ สาำ คญั คอื เราจะทาำ อยา่ งไรใหก้ า้ วผา่ นปญั หาอปุ สรรคนนั้ ไดแ้ ละกลบั มาใชช้ วี ติ ได้ ตามปกติ ซึ่งคนที่จะสามารถก้าวผ่านปัญหาและอุปสรรคชีวิตได้ คนๆนั้นต้องมี “ความเขม้ แขง็ ทางใจ” หรอื “พลังสุขภาพจิต” หรือ “พลังอดึ ฮดึ สู”้ ในตัวเอง ซง่ึ จรงิ ๆ แลว้ คนทกุ คนมพี ลงั นอ้ี ยใู่ นตวั มากบา้ งนอ้ ยบา้ ง ซงึ่ พลงั นจี้ ะทาำ ใหค้ นๆ นนั้ มี ความเขม้ แข็งทางใจ มคี วามสามารถทีจ่ ะเผชิญกบั ปัญหาหรอื วกิ ฤตในชวี ิต ชว่ ยทำาให้ สามารถปรบั ตวั กา้ วผา่ นปญั หาและวกิ ฤตทเ่ี ผชญิ อยกู่ ลบั มาดาำ เนนิ ชวี ติ ไดต้ ามปกต ิ ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยพลงั 3 สว่ นทเี่ รียกงา่ ยๆ ว่า พลงั อดึ พลงั ฮึด พลงั สู้ “ความเขม้ แข็งทางใจ” หรอื “พลงั สขุ ภาพจิต” หรือ “พลังอึด ฮดึ ส”ู้ ส�ม�รถฝกึ ฝนใหม้ พี ลงั นเ้ี พม่ิ ขน้ึ โดยเรม่ิ จากฝกึ มองโลกในแงบ่ วก และพฒั นามามอง โลกในแงด่ ี รว่ มกบั การปรบั ความคดิ ของตนเอง ยอมรบั และรจู้ กั ชน่ื ชมคนอนื่ และรสู้ กึ ภาคภมู ใิ จและเห็นคณุ คา่ ในตนเอง โปรแกรมสรา้ งสุขวัยทำางาน ในสถานประกอบการ 43