Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 ปี 8 เดือนอนุแรงงาน

1 ปี 8 เดือนอนุแรงงาน

Description: คณะอนุกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบแรงงานและระบบคุ้มครองผู้บริโภค
ในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) ได้ดำเนินการปฏิรูประบบแรงงานที่ทางสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ได้จัดทำไว้ก่อนหน้านั้น
โดยคณะอนุกรรมาธิการ ได้นำมาพิจารณาและผลักดันให้เกิดเป็นรูปธรรมต่อเนื่อง เริ่มตั้งแต่การนำร่างที่ทางสภาปฏิรูปแห่งชาติได้จัดทำไว้มีจำนวน ๔ เรื่อง ได้แก่ การจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ณ จุดผ่านแดนถาวร เพื่อจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบ, การพัฒนาฝีมือแรงงานแห่งชาติเพื่อยกระดับขีดความสามารถการแข่งขันแรงงานไทย และร่างพระราชบัญญัติบูรณาการการพัฒนากำลังแรงงานแห่งชาติ พ.ศ.... , การปฏิรูปบริหาร
การจัดการข้อมูลด้านแรงงานและธนาคารแรงงานมาดำเนินการ

Search

Read the Text Version

0000000000

Page |๑ คำนำ คณะอนุกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูประบบแรงงานและระบบคุ้มครองผู้บริโภค ในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) ไดด้ าเนนิ การปฏิรูประบบแรงงานท่ีทางสภาปฏริ ูปแหง่ ชาติ (สปช.) ไดจ้ ัดทาไวก้ ่อนหน้าน้นั โดยคณะอนุกรรมาธิการ ได้นามาพิจารณาและผลักดันให้เกิดเป็นรปู ธรรมต่อเนื่อง เริ่มตงั้ แตก่ ารนาร่างที่ทางสภาปฏริ ูปแห่งชาติไดจ้ ดั ทาไว้มีจานวน ๔ เร่ือง ไดแ้ ก่ การจดทะเบียน แรงงานข้ามชาติ ณ จุดผ่านแดนถาวร เพ่ือจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบ, การพัฒนา ฝีมือแรงงานแห่งชาติเพื่อยกระดับขีดความสามารถการแข่งขันแรงงานไทย และร่าง พระราชบัญญัติบูรณาการการพัฒนากาลังแรงงานแห่งชาติ พ.ศ.... , การปฏิรูปบริหาร การจัดการข้อมูลดา้ นแรงงานและธนาคารแรงงานมาดาเนินการ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เกิดการปฏิรูปที่แท้จริง เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม และทุกภาคส่วนให้การยอมรบั โดยเชิญผแู้ ทนหนว่ ยงาน ภาครฐั นายจา้ ง ลกู จา้ ง และผ้ทู เี่ กย่ี วข้อง เช่น นักวิชาการ นักวิจัย และ NGOs เป็นต้น มาร่วมพิจารณา และได้ลงไปศึกษาดูงาน ในพื้นที่ ทั้งที่เป็นหน่วยงานของรัฐ สถานประกอบการ อีกทั้งยังได้จัดสัมมนา โดยเชิญ ทุกภาคส่วนเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นเพ่ือให้เกิดความรอบคอบ โดยนาทุกประเด็นที่นาเสนอ มาปรบั แก้ และจานวน ๓ เรือ่ งได้ผา่ นความเหน็ ชอบของสภาขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศแล้ว ในระหว่างที่ทางานได้มีกลุ่มแรงงานต่าง ๆ นาหนังสือร้องทุกข์ที่แสดงถึงความ เดือดร้อนมาขอความช่วยเหลือ ซึ่งอนุกรรมาธิการ ได้ดาเนินการประสานงานไม่ว่าจะเป็น หนว่ ยงานภาครฐั สถานประกอบการ โดยรว่ มกันหาทางออกเพือ่ บรรเทาความเดอื ดรอ้ น บนเส้นทางขับเคล่ือนปฏิรูปแรงงานสายน้ี แม้ระยะเวลาส้ันๆเพียง ๑ ปี ๘ เดือน แต่ทางคณะอนุกรรมาธิการ ต่างได้ทุ่มเทความรู้ความสามารถเพ่ือให้งานท่ีทา ถูกนาไปใช้ ให้เกิดมรรคผลแก่ประเทศชาติ หนังสือเล่มนี้นอกจากสรุปการทางานแล้ว ยังเป็นการ ถ่ายทอดความรู้สึกของการทาหน้าที่การปฏิรูปประเทศด้านแรงงานของแต่ละบุคคลในคณะ อนุกรรมาธิการ เพ่ือสะท้อนถึงความตั้งใจจริงของคณะอนุกรรมาธิการ ในการทางานร่วมกับ ทุกภาคสว่ นเพือ่ ใหก้ ารปฏริ ปู ประเทศเดินไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ย่งั ยนื สุดท้ายนี้ขอขอบคุณทุกคนที่เกี่ยวข้อง ทุกภาคส่วน และหวังว่าหนังสือเล่มน้ี จะถูกนาไปเป็นฐานความคิดหรือตอ่ ยอดการแก้ปญั หาต่อไปในอนาคต คณะอนกุ รรมาธกิ ารขับเคลือ่ นการปฏริ ปู ระบบแรงงานและระบบคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค กรกฎาคม ๒๕๖๐

Page |๒ คำนิยม จากสถานการณ์บ้านเมืองท่ีผ่านมา ประเทศชาติจาเป็นต้องปฏิรูปประเทศเพื่อก้าวไปข้างหน้า โดยสภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศได้รับผิดชอบการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ๑๑ ด้าน ในส่วนของ คณะกรรมาธกิ ารขบั เคลื่อนการปฏิรูปประเทศดา้ นสังคม มงี านรบั ผดิ ชอบ ไดแ้ ก่ ดา้ นแรงงานและคมุ้ ครองผบู้ ริโภค ด้านผสู้ งู วยั ดา้ นสังคมเข้มแขง็ ตอ่ จากสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อผลักดันให้บังเกิดเป็นรปู ธรรม ต้องขอขอบคุณคณะอนุกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบแรงงานและระบบคุ้มครอง ผู้บรโิ ภค ท่ีไดผ้ ลกั ดันงานต่อจากสภาปฏริ ูปแห่งชาตจิ นครบถ้วนสมบรู ณ์ จากการเฝา้ ตดิ ตามการปฏิบัติงานของอนุกรรมาธิการ ทม่ี ีความมุง่ ม่ัน โดยดูจากกระบวนการ การ จัดทา ตง้ั แตก่ ารศึกษางานของสภาปฏิรปู แห่งชาติ การเชิญภาครัฐ เอกชน นักวิชาการและผู้ท่เี ก่ียวข้อง มาร่วม ให้ข้อคิดเห็น การเดินทางไปศึกษาดูงานท้ังของหน่วยงานภาครัฐ และสถานประกอบการของเอกชน ตลอดจน การจัดสัมมนา เพ่ือได้ข้อมูลรอบด้านนาไปสู่การจัดทาฉบับร่าง ได้แก่ การจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ณ จุด ผ่านแดนถาวร เพ่ือจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบ การพัฒนาฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพ่ือยกระดับขีด ความสามารถการแข่งขันของแรงงานไทย และการปฏิรูประบบบริหารจัดการข้อมูลด้านแรงงาน จนผลักดัน ผา่ นสภาขับเคลอ่ื นการปฏิรูปประเทศ การจัดทาเอกสารสรุปผลการปฏิบัติงานของคณะอนุกรรมาธิการ แสดงออกถึงความต้ังใจจริง และเป็นการเผยแพร่ผลงานของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศอีกด้านหนึ่ง ซึ่งในส่วนของสภาขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศก็ไดร้ วบรวมผลการปฏิรปู ประเทศทงั้ ๑๑ ดา้ น ซ่ึงผลการปฏิบตั งิ านของคณะอนกุ รรมาธิการ กเ็ ป็นสว่ นหนง่ึ ของงานการขับเคลอื่ น เพือ่ เตรยี มส่งมอบใหก้ บั นายกรฐั มนตรีต่อไป (นำยอโณทยั ฤทธปิ ัญญำวงศ์) ประธำนกรรมำธกิ ำรขบั เคลื่อนกำรปฏิรปู ประเทศดำ้ นสงั คม สภำขับเคลื่อนกำรปฏริ ปู ประเทศ

Page |๓ รำยนำมคณะอนุกรรมำธิกำรขับเคลือ่ นกำรปฏิรปู ระบบแรงงำนและระบบคมุ้ ครองผู้บริโภค ในคณะกรรมำธกิ ำรขับเคลื่อนกำรปฏิรปู ประเทศดำ้ นสังคม สภำขบั เคล่ือนกำรปฏิรปู ประเทศ *************************** นายศริ ิชัย ไม้งาม ประธานอนกุ รรมาธกิ าร พลเอก ปราการ ชลยุทธ พลตรี ชวลติ เรยี นแจ้ง พลโท วฒุ นิ นั ท์ เพช็ รขาวเขยี ว นายสมพร นอ้ ยสุวรรณ์ รองประธานอนกุ รรมาธกิ าร อนุกรรมาธิการ อนกุ รรมาธกิ าร อนกุ รรมาธิการ นายชาลี ลอยสงู นายพิภู สุโชคชยั กุล นายอานาจ พละมี นายกติ ตภิ ณ ทุ่งกลาง อนุกรรมาธกิ าร อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธกิ าร นางสิรวิ ัน ร่มฉตั รทอง นางถวลิ เพม่ิ เพยี รสนิ นางสาวนงสคราญ อดทน นางดรณุ ี แก้วม่วง อนกุ รรมาธิการ อนุกรรมาธกิ าร อนุกรรมาธกิ าร อนกุ รรมาธิการ นายวรพงษ์ รวีรัฐ นายสาวิทย์ แก้วหวาน อนุกรรมาธกิ าร อนุกรรมาธกิ ารและเลขานกุ าร

Page |๔ คณะทีป่ รึกษำ คณะอนกุ รรมำธิกำรขับเคลือ่ นกำรปฏิรปู ระบบแรงงำนและระบบคมุ้ ครองผบู้ ริโภค ************************ รองศาสตราจารย์แล ดลิ กวทิ ยรตั น์ พลอากาศเอก มนสั รปู ขจร พลโท ธนาคาร เกดิ ในมงคล ที่ปรึกษาอนกุ รรมาธกิ าร ท่ปี รึกษาอนกุ รรมาธิการ ท่ปี รึกษาอนุกรรมาธิการ นางสาวบษุ ยรัตน์ กาญจนดิษฐ์ นายนริ ันดร ชัยศรี นายนิธิวชั ร์ ศริ ปิ ริยพงศ์ ที่ปรกึ ษาอนกุ รรมาธกิ าร ทป่ี รึกษาอนุกรรมาธิการ ท่ปี รกึ ษาอนุกรรมาธิการ นายสรุ พล พลอยสุข นายจานงค์ แจ่มโสภณ ท่ีปรกึ ษาอนุกรรมาธกิ าร ทป่ี รกึ ษาอนกุ รรมาธิการ

Page |๕ อดีตอนกุ รรมำธิกำรและท่ปี รึกษำ ************************ อนกุ รรมาธิการทพี่ น้ จากตาแหนง่ ๑. พลเอก ชศู ักดิ์ สันติวรวุฒิ (พ้นจากตาแหน่ง อนุกรรมาธกิ ารและที่ปรึกษา เมื่อวนั ที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๙) ๒. พลอากาศเอก มนัส รปู ขจร (พ้นจากตาแหน่ง อนุกรรมาธิการและท่ปี รึกษา เมอ่ื วันท่ี ๔ มกราคม ๒๕๕๙) ๓. รองศาสตราจารยแ์ ล ดิลกวิทยรัตน์ (พ้นจากตาแหน่ง อนุกรรมาธกิ าร เมือ่ วันท่ี ๑๐ มนี าคม ๒๕๕๙) ๔. นายธีรภัทร สันติเมทนีดล (พ้นจากตาแหนง่ รองประธานอนุกรรมาธกิ าร คนท่ีหนึ่ง เม่ือวันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๙) ๕. รองศาสตราจารย์วิทยา กุลสมบูรณ์ (พน้ จากตาแหน่ง อนุกรรมาธกิ าร เม่ือวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๙) ๖. นายอิฐบูรณ์ อ้นวงษา (พ้นจากตาแหนง่ อนุกรรมาธิการ เม่อื วันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๙) ๗.นายสุชัยสิทธิ์ อตั ถาวงศ์ (พน้ จากตาแหน่ง อนุกรรมาธกิ าร เมอ่ื วันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๕๙) ๘. นายสุรพล พลอยสขุ (พ้นจากตาแหน่ง อนุกรรมาธิการ เมอ่ื วันที่ ๒๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๐) ๙. นายจานงค์ แจ่มโสภณ (พ้นจากตาแหน่ง อนุกรรมาธิการ เมือ่ วันท่ี ๒๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๐) ปรึกษาอนุกรรมาธกิ ารทพี่ ้นจากตาแหน่ง ๑. นายกติ ติภณ ท่งุ กลาง (พน้ จากตาแหนง่ ท่ีปรึกษาอนุกรรมาธกิ าร เมือ่ วันท่ี ๔ มกราคม ๒๕๕๙) ๒. นายอานาจ พละมี (พน้ จากตาแหนง่ ท่ปี รึกษาอนุกรรมาธิการ เม่อื วนั ที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๙)

Page |๖ เจ้าหนา้ ทีก่ ลมุ่ งานคณะกรรมาธิการการแรงงาน (ฝา่ ยเลขานุการ) นางปณัสยา จนั ทราสงู เนิน ผูบ้ งั คับบัญชา กล่มุ งานคณะกรรมาธกิ ารการแรงงาน นางกชพร นาคฤทธ์ิ นางสาวรัตนาพร อนิ ตรา นายรงั ษี สกุ ุณา วทิ ยากรชานาญการพิเศษ วิทยากรชานาญการพิเศษ นติ ิกรชานาญการพเิ ศษ นายชาญณรงค์ พทุ ธาราม นางนันทิดา วลั ลา แกว้ สีปลาด นายสุทธิศกั ด์ิ ตัสโต นติ ิกรชานาญการ นิตกิ รปฏบิ ตั กิ าร วทิ ยากรปฏิบตั ิการ นายณัฐพงศ์ พิมเสน นางสาวสมควร สิงหต์ ยุ่ นางสาวนชุ นาถ สายสงั ข์ นติ ิกรปฏิบัตกิ าร เจา้ พนักงานธุรการอาวุโส เจ้าพนักงานธรุ การชานาญงาน นางสภุ าพรรณ ป้อมกระโทก นางสาวเนตรนภา อนิ ทโชติ เจ้าพนกั งานบนั ทึกขอ้ มลู ปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานบนั ทึกข้อมูลปฏิบตั ิงาน นางสาวธนิกา เนาวรัชต์ ผู้ช่วยประจาตัวประธานอนุกรรมาธิการ

Page |๗ สารบญั หนา้ คานา ๑ คานิยม ๒ รายนามอนกุ รรมาธกิ าร ทีป่ รึกษา และอดีตอนุกรรมาธกิ ารและที่ปรึกษา ๓ ในคณะอนกุ รรมาธิการขบั เคลือ่ นการปฏิรูประบบแรงงานและระบบ คุ้มครองผู้บริโภค รายนามเจา้ หนา้ ทีฝ่ ่ายเลขานุการและผชู้ ่วยประจาตวั ประธานอนุกรรมาธกิ าร ๖ ตอนท่ี ๑ กอ่ ร่างสรา้ งฐานงานทีท่ า ๙ บทนำ ๑๑ ภำรกิจงำนของคณะอนุกรรมำธกิ ำร ๒๐ ภำรกิจที่ ๑ กำรจัดทำรำยงำนเพ่อื กำรขับเคลื่อนกำรปฏิรปู ประเทศ ๒๑ ดำ้ นแรงงำน ภำรกิจที่ ๒ กำรจัดสมั มนำ ๒๘ ภำรกิจที่ ๓ กำรศึกษำดูงำนและกำรเดนิ ทำงเขำ้ พบหนว่ ยงำนท่เี กย่ี วข้อง ๓๓ ภำรกิจที่ ๔ กำรพจิ ำรณำข้อเสนอแนะเพ่อื กำรปฏิรปู เรอ่ื งร้องเรยี น ๔๔ และเร่อื งอื่น ๆ ตำมที่ได้รบั มอบหมำย ภำรกิจที่ ๕ ภำรกิจที่ไม่สำมำรถขับเคลื่อนตอ่ จำกงำนของ ๔๙ สภำปฏิรปู แห่งชำตวิ ำระปฏิรปู ที่ ๓๗ : ปฏิรูปกำรแรงงำน เรื่องกำรจัดตั้งธนำคำรแรงงำน ตอนท่ี ๒ บทสัมภาษณ์ บนความคาดหวังการขับเคลือ่ นปฏิรปู แรงงาน ๕๒ นำยศิริชยั ไม้งำม ประธำนอนุกรรมำธิกำร ๕๔ พลเอก ปรำกำร ชลยุทธ รองประธำนอนุกรรมำธิกำร ๖๔ ตอนท่ี ๓ บนถนนสายเดียวกนั เรือ่ งเลา่ จากคณะอนุกรรมาธกิ าร ๖๘ มมุ จากฝ่ายความม่ันคง ๖๙ พลโท วุฒินันท์ เพช็ รขำวเขียว ๗๐

พลตรี ชวลิต เรียนแจ้ง Page |๘ นำยสมพร น้อยสุวรรณ์ นำยนิรันดร ชยั ศรี หน้า มุมจากผู้แทนกระทรวงแรงงาน ๗๔ นำงถวิล เพิ่มเพยี รสิน ๗๗ นำยสรุ พล พลอยสขุ ๘๑ มุมจากนักวชิ าการ ๘๔ รองศำสตรำจำรย์แล ดิลกวิทยรตั น์ ๘๕ นำงสำวนงสครำญ อดทน ๘๙ นำงดรณุ ี แก้วม่วง ๙๑ มุมจากนายจ้าง ๙๒ นำงสิรวิ ัน ร่มฉตั รทอง ๙๕ นำยพิภู สโุ ชคชัยกุล ๙๖ นำยวรพงษ์ รวิรัฐ ๙๘ มมุ จากลกู จา้ ง ๙๙ นำยชำลี ลอยสูง ๑๐๒ นำยสำวิทย์ แก้วหวำน ๑๐๕ นำยอำนำจ พละมี ๑๐๗ มุมจากเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยเลขานกุ าร ๑๐๘ ๑๑๐ ตอนท่ี ๔ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๑๑๔ ๑๑๖ ๑๒๑

Page |๙ ตอนที่ ๑ กอ่ ร่างสร้างฐานงานทที่ า

P a g e | ๑๐ “ภารกจิ ” ทไ่ี มใ่ ช่ “ภาระ” เมอ่ื งานของเรา คอื การปรบั กลไกภาครฐั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื รองรบั ความเสย่ี งใหมๆ่ ทแ่ี รงงานตอ้ งเผชญิ ในอนาคต นางสาวบษุ ยรตั น์ กาญจนดษิ ฐ์

P a g e | ๑๑ บทนำ เพราะเราเชอ่ื ว่า “ความมนั่ คงของแรงงาน คอื ความมน่ั คงของประเทศไทย” ทาอย่างไร “แรงงานจะมีความมั่นคง ?” ไม่ว่าอย่างไรก็ย่อมปฏิเสธไม่ได้ว่า วันน้ียังมีแรงงานบางกลุ่มที่ยังไม่มีความ “ม่ันคง” ในการทางาน ยงั ไม่มีหลกั ประกนั ท่ีดี เข้าไมถ่ ึงขอ้ มูลขา่ วสารท่ีเกย่ี วข้อง ยังไมไ่ ดร้ บั การคมุ้ ครองสทิ ธิตามกฎหมายเต็มท่ี สภาพ การจา้ งงานยงั ไมเ่ ป็นธรรม สภาพแวดล้อมการทางานยงั ไม่ปลอดภยั ยังไม่สามารถสร้างระบบแรงงานสัมพันธ์ที่ ดรี ่วมกนั ระหว่างลกู จา้ งกับนายจ้าง ตลอดจนยงั ไมไ่ ดร้ บั สวสั ดิการแรงงานทเ่ี หมาะสมตามมาตรฐานสากล สถานการณ์เหล่านี้จึงไม่สามารถสร้างให้แรงงานเกิดความ “มั่งค่ัง” มีรายได้สูง (High Income) มีผลิตภาพแรงงานสูง (High Productivity) และนาไปสู่คุณภาพชีวิตท่ีดีอย่าง “ย่ังยืน” ได้แต่อย่างใดนี้ เป็นผลมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่งความเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรม การขยายตัวทางเศรษฐกิจไม่ได้ให้ ประโยชน์ทวั่ ถงึ กบั ทกุ ภาคส่วนของสังคม โดยเฉพาะกลมุ่ แรงงานทเ่ี ปน็ ปัจจัยการผลติ ทีส่ าคญั การสร้างให้เกิดความม่ันคงของแรงงานจึงไม่ใช่เพียงแค่เรื่องของการข้ึนค่าจ้างขั้นต่าให้สูงข้ึน เพียงเท่าน้ัน แต่ต้องคือการลดทอนความเหลื่อมล้าทางรายได้ สิทธิ โอกาส อานาจ และศักดิ์ศรี ผ่านการ เพิม่ อานาจต่อรองและสวัสดิการ การปรบั โครงสรา้ งคา่ จ้าง และการเพิ่มผลิตภาพและการค้มุ ครองแรงงานเปน็ สาคญั ความไม่ม่ันคงของแรงงานแต่ละกลุ่ม ไม่เกิดจากชะตากรรมหรือโชคชะตาดลบันดาลให้ ไม่ได้เกิดจาก กรรมเก่าชาติท่ีแล้ว แต่ถูกสร้างและกาหนดจากนโยบายที่เลือกปฏิบัติและโครงสร้างสังคมที่อยุติธรรมเอารัด เอาเปรยี บ ดังนั้นการสร้างความม่ันคงในแรงงาน จึงคือการปรับดุลยภาพของโครงสร้างในสังคมไทยที่ทาให้แรงงาน สามารถเข้าถึงการคุ้มครองสิทธิ มีเสรีภาพในการรวมกลุ่ม การเจรจาต่อรอง การได้รับค่าจ้างที่เป็นธรรม และการจัดสวัสดกิ ารเข้าไปหนุนเสรมิ เปน็ การปรับสัมพนั ธภาพทางอานาจระหวา่ งผไู้ ดเ้ ปรยี บกบั ผเู้ สียเปรียบ “พวกเรา” ตระหนักดีว่า การทางานเช่นน้ี คือ การสร้างระบบขึ้นมาใหม่ คือ การเปลี่ยนวิธีคิดเรื่อง แรงงานในประเทศไทย ซ่ึงแน่นอนมิใช่เรื่องง่ายในเร็ววันหรือสามารถทาได้โดยทันที อีกท้ังด้วยข้อจากัด ของ “เรา” เอง ภารกจิ การทางานเพือ่ สรา้ งระบบขน้ึ มาใหมจ่ งึ ถูกจากดั อยู่ในเพยี ง ๓ เรอื่ งหลักเทา่ น้ัน คือ  การจดทะเบยี นแรงงานขา้ มชาติ ณ จุดผ่านแดนถาวร เพอื่ จดั ระเบียบแรงงานข้ามชาตเิ ขา้ สูร่ ะบบ  การพัฒนาฝีมอื แรงงานแห่งชาติ เพื่อยกระดบั ขดี ความสามารถการแข่งขันของแรงงานไทย และรา่ ง พระราชบญั ญัตบิ ูรณาการการพฒั นากาลังแรงงานแหง่ ชาติ พ.ศ. ....  การปฏริ ูประบบบรหิ ารจดั การข้อมูลด้านแรงงาน แต่คาว่า “เดินทีละก้าว กินข้าวทีละอย่าง ทาทีละอย่าง” น้ี อาจเป็นจ๊ิกซอว์คาตอบเล็กๆเพื่อก้าวไปสู่ คาตอบใหญ่ ๆ ในอนาคตตอ่ ไป

P a g e | ๑๒ ๑) เรำคอื ใคร : รูจ้ ักคนทำภำรกิจ วันจันทร์ที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ คือ หมุดหมายท่ีสาคัญของคณะอนุกรรรมาธิการขับเคลื่อนการ ปฏิรูประบบแรงงานและระบบคุ้มครองผู้บริโภค ที่คณะกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมาธิการคณะน้ีข้ึนมา โดยมีนายศิริชัย ไม้งาม เป็นประธาน พลเอก ปราการ ชลยทุ ธ เป็นรองประธาน และนายสาวทิ ย์ แกว้ หวาน เปน็ เลขานกุ าร วันอังคารท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ คือ การประชุมนัดแรกของคณะอนุกรรมาธิการ คณะน้ี เพอื่ พิจารณาประเด็นปฏริ ูปท่ีจักดาเนินการ หลำยคนท่ีหยิบเอกสำรฉบับนี้ขึ้นมำ อำจมีควำมสงสัยว่ำสภำขับเคล่ือนกำรปฏิรูป ประเทศ คอื ใคร น้ี อ า จ ต้ อ ง ย้ อ น ไ ป ท่ี รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.๒๕๕๗ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติมฉบับท่ี ๑-๔ ทีไ่ ดก้ าหนดไว้ว่า หลงั จากทสี่ ภาปฏริ ูปแห่งชาติ (สปช.) จดั ทาข้อเสนอแนะว่าดว้ ยการปฏิรูปประเทศเสรจ็ และส้ินสุดการทาหน้าที่ ลงหลังการลงมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อ ๖ กันยายน ๒๕๕๘ รัฐธรรมนูญได้กาหนดว่าจะต้องต้ัง “สภา ขับเคลอื่ นการปฏริ ูปประเทศ” หรอื สปท. ขึ้นมาจานวน ๒๐๐ คน เพือ่ ทาหนา้ ท่ีตอ่ จาก สปช. ซ่ึงนายกรฐั มนตรี แตง่ ตง้ั จากผมู้ สี ญั ชาติไทยโดยการเกดิ และมีอายุไม่ตา่ กวา่ สามสิบห้าปี โดยในมาตรา ๓๙/๒ และ ๓๙/๓ ได้กาหนดว่า เม่ือสภาปฏิรูปแห่งชาติสิ้นสุดลงแล้ว มิให้มีสภา ปฏิรูปแห่งชาติตามรัฐธรรมนูญน้ีอีก และให้มีสภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศข้ึนแทนเพ่ือดาเนินการให้เกิด การปฏิรูปดา้ นต่างๆ สบื ต่อจากสภาปฏิรปู แห่งชาติ อานาจหน้าท่ีของ สปท.ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญชั่วคราว มาตรา ๓๑ (๑) คือ ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทาแนวทางและข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปด้านต่างๆ เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และหากเห็นว่ากรณีใดจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติ ขนึ้ ใชบ้ ังคับให้ สปท.จัดทาร่างพระราชบัญญตั ขิ ึน้ เสนอตอ่ สภานิติบญั ญัตแิ ห่งชาตเิ พื่อพจิ ารณาต่อไป สาหรบั คณะกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม เป็นผลมาจากการกาหนดในข้อบังคับ สภาขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๘ หมวด ๕ กรรมาธกิ าร ข้อ ๗๓ ท่รี ะบไุ วว้ า่ ใหม้ ีคณะกรรมาธิการ สามัญประจาสภาสิบเอ็ดคณะ แต่ละคณะประกอบด้วยสมาชิกไม่น้อยกว่าสิบเอ็ดคนแต่ไม่เกินยี่สิบสามคน โดยมีอานาจหน้าท่ี ดังน้ี “(๑๐) คณะกรรมาธิการขบั เคลือ่ นการปฏริ ูปประเทศด้านสังคม มีอํานาจหน้าท่ศี ึกษา วิเคราะห์ จดั ทํา แนวทาง แผนการปฏิรูป วิธีการปฏิรูปพร้อมกําหนดเวลาการปฏิรูป และข้อเสนอแนะเพ่ือการขับเคล่ือนการ ปฏิรูปประเทศด้านสังคม ชุมชนเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส การจัดการด้านแรงงาน และการคุม้ ครองผูบ้ รโิ ภคใหส้ ัมฤทธิผล รวมทง้ั มีอาํ นาจหนา้ ท่อี นื่ ตามท่สี ภามอบหมาย” และนจ้ี งึ เป็นที่มาของการท่ีคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม ได้แต่งตั้งคณะอนุ กรรรมาธิการขับเคลือ่ นการปฏิรปู ระบบแรงงานและระบบคุ้มครองผู้บริโภคข้ึนมา เพ่ือทาหน้าที่ดังกล่าวตามที่ กาหนดไว้

P a g e | ๑๓ ในช่วงแรกการประชุมของคณะอนุกรรมาธิการมีขึ้นในทุกสัปดาห์โดยกาหนดไว้ที่วันอังคาร และมาเปล่ียน เป็นทุกวันพุธ ตั้งแต่วันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๕๙ จนวันส้ินสุดการทางานของคณะอนุกรรมาธิการในวันท่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ภารกิจของคณะอนุกรรมาธิการ คือ การพิจารณา ศึกษา วิเคราะห์ จัดทาแนวทางแผนการปฏิรูป วิธีการปฏิรูป พร้อมทั้งกาหนดเวลาปฎิรูป และข้อเสนอแนะเพื่อการขับเคลื่อนประเด็นด้านแรงงานและด้าน คุ้มครองผู้บริโภค ทั้งนี้เป็นการหยิบยกประเด็นสาคัญจากสภาปฏริ ูปแห่งชาติท่ีได้จดั ทาไวแ้ ลว้ มาดาเนินการตอ่ โดยให้คานึงถงึ ความสาคัญเร่งด่วนและการสัมฤทธิผลของการปฏริ ปู ในระยะเวลาท่เี หลอื อยู่ นายแพทย์อาพล จินดาวัฒนะ รองประธานคนท่ี ๑ ในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ดา้ นสงั คม ไดเ้ สนอไว้อย่างนา่ สนใจว่า การขบั เคลือ่ นการปฏิรปู แบง่ เปน็ ๓ ระดบั คือ (1) การปฏริ ูประบบและ โครงสร้างต้องอาศัยกลไกทางกฎหมาย (๒) การปฏิรูประดับการจัดการของฝา่ ยบริหาร (รัฐบาล) และ (๓) การปฏิรปู เชงิ ประเดน็ โดยทัง้ ๓ ระดบั น้ี ทางคณะอนุกรรมาธกิ ารเห็นว่ายังสามารถแบ่งได้อีกว่า (๑) เปน็ ส่ิงทกี่ ระทรวงท่ี เก่ียวข้องสามารถขับเคล่ือนต่อ และทาได้ทันที (๒) ต้องมีการบูรณาการข้ามกระทรวง และ (๓) ต้องมีการใช้ กลไกพิเศษหรือมาตรการพเิ ศษในระดบั ประเทศ เพอ่ื แก้ไขปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการวิเคราะห์ทิศทางการขับเคลื่อนการปฏิรูปดังกล่าว ทาให้คร้ังแรกของการประชุม คือ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ คณะอนุกรรมาธิการ จึงเห็นชอบร่วมกันขณะน้ัน ให้มีคณะทางานขับเคลื่อนการปฏิรูประบบ แรงงานและระบบคุ้มครองผู้บรโิ ภค จานวน ๔ เร่ือง ทีแ่ ตล่ ะคณะมภี ารกิจรบั ผิดชอบที่แตกตา่ งกนั ไป ไดแ้ ก่ (๑) การพัฒนาฝีมือแรงงาน เน้นไปที่การพัฒนาร่างพระราชบัญญัติบูรณาการพัฒนากาลังคนและฝีมือ แรงงานแห่งชาติ พ.ศ... (๒) การปฏิรูปการบรหิ ารจดั การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานข้ามชาติ (๓) ธนาคารแรงงานและการจัดทาฐานขอ้ มลู (๔) การปฏิรูประบบคุ้มครองผู้บริโภค โดยเน้นไปที่การศึกษาเรื่องร่างพระราชบัญญัติองค์การอิสระ เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ...., ร่างพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความชารุดบกพร่อง พ.ศ.... , ร่างพระราชบัญญัติการแจ้งเตือนภัยและการจัดการสินค้าไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค พ.ศ. .. และร่าง พระราชบัญญตั ิค้มุ ครองผไู้ ดร้ ับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ....

P a g e | ๑๔ (๒) เรำทำอะไร : รจู้ กั ภำรกิจท่ีทำ นับต้ังแต่วันท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ท่ีมีการแต่งตั้งคณะทางานรวม ๔ คณะ ภารกิจสาคัญของแต่ละ คณะ คอื การจัดทาร่างรายงานการปฏริ ูปท่ีสอดคล้องกับภารกจิ ที่รับผดิ ชอบ ซึ่งจะเห็นได้วา่ เปน็ งานท่ีเกีย่ วข้อง กับการปฏิรูประบบและโครงสร้างท่ีต้องอาศัยกลไกทางกฎหมายทุกเร่ือง อีกทั้งยังต้องการการบูรณาการการ ทางานข้ามกระทรวงทุกภารกิจ เพ่ือทาให้กระทรวงท่ีเป็นเจ้าภาพหลัก เช่น กระทรวงแรงง านสามารถ ขับเคลือ่ นภารกจิ ได้จรงิ ตอ่ ไปในอนาคต ภายหลังจากท่ีท้ัง ๔ คณะทางานได้แยกย้ายกันไปศึกษาประเด็นปฏิรูปท่ีเกี่ยวข้อง และนาเข้าสู่การ พจิ ารณาในคณะอนุกรรมาธิการทุกสปั ดาหต์ ้ังแต่เดือนมกราคม ๒๕๕๙ เปน็ ต้นมา กระบวนการพิจารณารายงานแต่ละฉบบั จะมี ๔ ขัน้ ตอน ได้แก่ (1) คณะอนุกรรมาธิการฯพิจารณาและเห็นชอบในรายงานฉบับดังกล่าว (ขั้นตอนนี้ใช้เวลาอย่างน้อย ในการปรบั แก้ไข ๕-๑๐ ครงั้ ) (2) นาเข้าสู่การพิจารณาเห็นชอบในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม (ขัน้ ตอนนใ้ี ชเ้ วลาอยา่ งน้อยในการปรับแกไ้ ข ๒ ครั้ง) (3) เม่ือผ่านการเห็นชอบในข้อ (๒) แล้วจะนาเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เป็นคร้ังท่ี ๓ (ข้ันตอนนี้ใช้เวลาอย่างน้อยในการปรับแก้ไข ๑-๒ คร้ัง) (4) นาเสนอต่อท่ีประชุมสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศเพื่อเห็นชอบต่อไป (มักผ่านการเห็นชอบใน การเสนอ แตต่ ้องนาํ รายงานมาปรบั แก้ไขให้สมบรู ณ)์ ดังน้นั จึงทาให้กระบวนการจดั ทารายงานแตล่ ะฉบับจึงใช้เวลาหลายเดอื นและปรบั แกไ้ ขเพอ่ื ให้สมบูรณ์ ที่สุด ซ่ึงไม่ใช่แค่ถกเถียงหาข้อสรุปร่วมกันในคณะทางานและคณะอนุกรรมาธิการ แต่ยังมีการเชิญผู้เก่ียวข้อง จากภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม เข้าร่วมให้ข้อเสนอแนะ รวมถึงการจัดสัมมนาและลงพ้ืนที่ศึกษาดูงาน ประกอบความเข้าใจในประเด็นดังกล่าว (ซ่ึงจะกล่าวถึงอย่างละเอียดใน ตอนที่ว่าด้วยภารกิจ ของอนุกรรมาธิการ) ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๙ การปฏิรูปเรื่องการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ณ จุดผ่านแดนถาวร เพ่ือจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบ คือ รายงานฉบับแรกท่ีผ่านการเห็นชอบจากท่ีประชุม สภาขบั เคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๙ รายงานฉบับท่ี ๒ คือ การพัฒนาฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพ่ือยกระดับ ขีดความสามารถการแข่งขันของแรงงานไทย และร่างพระราชบัญญัติบูรณาการการพัฒนากาลังแรงงาน แหง่ ชาติ พ.ศ. ....การปฏริ ูประบบบริหารจดั การข้อมูลดา้ นแรงงาน ผา่ นความเห็นชอบจากท่ปี ระชมุ สปท. ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๐ รายงานฉบับท่ี ๓ เรื่องการปฏิรูประบบบริหารจัดการข้อมูลด้านแรงงาน กผ็ า่ นความเห็นชอบจากทีป่ ระชุม สปท. เป็นรายงานฉบับสุดทา้ ยของการทาหนา้ ที่ของอนกุ รรมาธกิ าร สาหรับในเรื่องธนาคารแรงงานน้ัน แม้เป็นความมุ่งหวังแต่ยังไม่ได้มีการดาเนินการแต่อย่างใด ทั้งที่เป็นข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปของสภาปฏิรูปประเทศก็ตาม เน่ืองจากอาจมีความซ้าซ้อนกับโครงการ หรอื บรกิ ารตา่ ง ๆ ท่มี กี ารดาเนนิ การหรอื ให้บรกิ ารไว้อย่แู ลว้ ทงั้ ทีเ่ ปน็ ของหนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชน ขณะเดียวกันในอีกประเด็นที่สาคัญ คือ ภายหลังจากการทางานมาได้ประมาณ ๗ เดือน เพื่อให้การ ขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภคมีความคมชัดลึกและตรงประเด็นมากข้ึน ทาให้เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๙

P a g e | ๑๕ ทีป่ ระชุมคณะกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นสังคม ได้มีมตติ ้งั คณะอนุกรรมาธกิ ารขับเคลื่อนการ ปฏิรปู ดา้ นการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค โดยมพี ลเอก ชศู ักด์ิ สันตวิ รวฒุ ิ เป็นประธานอนุกรรมาธิการ และมีการประชุม คร้ังแรกเมื่อวันท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ทาให้ภารกิจงานของคณะอนุกรรมาธิการ จึงเหลือเพียง ประเด็นแรงงานเท่านนั้ นอกจากการจัดทารายงานการปฏิรูปแล้ว ภารกิจอีกประการที่สาคัญของคณะอนุกรรมาธิการ คณะน้ี คือ การรับเรื่องร้องเรียนจากแรงงานกลุ่มต่าง ๆ ท่ีได้รับความไม่เป็นธรรมหลายกรณี เช่น การถูกเลิกจ้าง ไม่เป็นธรรม สมาชิกสหภาพแรงงานถูกละเมิดสิทธิและนายจ้างใช้สิทธิปิดงานตามพระราชบัญญัติ แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ จนทาให้แรงงานได้รับความเดือดร้อนจากการขาดรายได้เพราะไม่สามารถ เข้าไปทางานในสถานประกอบการได้ การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานข้ามชาติในภาคการเกษตร ลู ก จ้ า ง ป ร ะ จ า ห น่ ว ย ง า น ร า ช ก า ร ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ ข อ รั บ ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ฐ า น ะ ท า ง ก า ร ง า น ใ น ห น้ า ท่ี ร า ช ก า ร ปัญหาแรงงานไทยไปทางานในตา่ งประเทศ เปน็ ตน้

P a g e | ๑๖ (๓) ทำไปทำไม : เพรำะงำนทท่ี ำ คือ “ภำรกิจ” รองรับควำมเสย่ี งใหมๆ่ ที่แรงงำนตอ้ งเผชิญในอนำคต กำรจดทะเบยี นแรงงำนข้ำมชำติ ณ จุดผ่ำนแดนถำวร เพอ่ื จดั ระเบียบแรงงำนขำ้ มชำติเขำ้ สู่ระบบ ปฏิเสธไม่ได้ว่าแรงงานข้ามชาติโดยเฉพาะจากประเทศพม่า ลาว กัมพูชา เป็นส่วนหน่ึงของสังคมไทย และมคี วามสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทย ทาอย่างไรจึงจะทาให้แรงงานข้ามชาติ “มีตัวตน”ในสังคมไทย และไม่เป็น “มนุษยล์ ่องหน” ที่ไร้ตวั ตน นบั ตง้ั แต่เขากา้ วขาย้ายถิ่นเข้ามาในเส้นเขตแดนท่ีเรยี กว่า “ประเทศไทย/รัฐไทย” เม่ือมาตรการของภาครัฐยังมีข้อจากัด ยังไม่มีทิศทางหรือนโยบายท่ีแน่นอน ทาให้ไม่สามารถแก้ไข และหามาตรการรองรับได้อย่างทันท่วงที นโยบายของรัฐเป็นการแก้ไขปัญหาเป็นระยะๆ ไม่มีทิศทาง และมาตรการในระยะยาว หน่วยงานท่ีเข้ามาเก่ียวข้องก็หลากหลายและต่างก็มีแนวทางการทางานเปน็ การเฉพาะของหน่วยงาน บางหน่วยเน้นด้านความมั่นคง โดยละเลยความเป็นมนุษย์ แรงงานข้ามชาติบางส่วนถูกกดข่ีข่มเหงกระทั่ง ถกู เข้าสกู่ ระบวนการคา้ มนษุ ย์ “แรงงานขา้ มชาติ” จงึ กลายเป็น “มนุษย์ลอ่ งหน” ที่ไรต้ วั ตนในสงั คมไทย การจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ณ จุดผ่านแดนถาวร เพื่อจัดระเบียบแรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบ จึงเป็นการเลือกการเส่ียงโชคของแรงงานข้ามชาติท่ีย้ายถิ่นให้ได้รับความเป็นธรรม มีตัวตน มีตาแหน่งแห่งที่ที่ ชัดเจนไม่ต้องหลบๆซ่อนๆ เพื่อทาให้แรงงานข้ามชาติได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายและมาตรการต่าง ๆ ทาใหก้ ารเคลือ่ นย้ายของแรงงานไมต่ ้องกลายเป็นนักเสีย่ งโชคตั้งแต่ทแี่ รงงานเหลา่ น้ีเหยยี บแผน่ ดินไทย เพราะการทางานไม่ใช่การเส่ียงโชค จึงไม่จาเป็นต้องปล่อยให้เป็นแรงงานข้ามชาติเป็นภาระในมือใคร หรอื หนว่ ยงานใดหน่วยงานหนึ่งในการตง้ั รับกับปัญหา เราทุกคนที่เกี่ยวข้องย่อมสามารถสร้างพ้ืนท่ีปลอดภัยและความเป็นธรรมแก่แรงงานข้ามชาติได้ เพราะงานของแรงงานข้ามชาติก่อให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศไทยอย่างมหาศาล ดั งน้ัน การปกป้องคุ้มครองคนหางานต้ังแต่ย้ายถิ่นเข้ามาในประเทศไทย ผ่านการจดทะเบียน ณ จุดผ่านแดนถาวร จงึ มคี วามสาคญั อยา่ งยง่ิ ยวด

P a g e | ๑๗ กำรพัฒนำฝีมือแรงงำนแห่งชำติ เพ่ือยกระดับขีดควำมสำมำรถกำรแข่งขันของแรงงำนไทย และรำ่ งพระรำชบญั ญัติบูรณำกำรกำรพัฒนำกำลังแรงงำนแห่งชำติ พ.ศ. .... การเปล่ียนแปลงทางโครงสร้างประชากรส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจไทย เน่ืองจากอัตราการเกิดน้อยลง สวนทางกับจานวนผูส้ ูงอายุที่เพิ่มมากข้ึนตามความทันสมัยและคุณภาพการรักษาพยาบาล ทาให้ประเทศไทย กาลังก้าวไปสู่ “ยุคสังคมสูงวัย” นอกจากนี้การปรับเปลี่ยนทางด้านเทคโนโลยี ตลอดจนโครงสร้างการผลิต และการให้บริการมีการเปล่ียนแปลงไปจากเดิม ระบบการผลิตย่อส่วนลง มีการโยกย้ายฐานการผลิต ปรับการ ผลิตรายย่อยไปยังฐานต่าง ๆ คงเหลอื แตง่ านสาคัญและการอาศัยหว่ งโซอ่ ุปทาน (Supply Chain) ในด้านการผลิต หรือการให้บรกิ ารทาให้ต้องมีการปรับโครงสร้างการจา้ งงาน และรูปแบบการจ้างประเภทตา่ ง ๆ ท่ีหลากหลาย มาก จากการศกึ ษาวจิ ยั ของหลายหน่วยงาน สรปุ ได้ว่า กาลังแรงงานของไทยยงั ไม่มีคุณภาพเพยี งพอ ดังน้ันการผลักดันนโยบายการพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อให้ผลิตภาพของประเทศเพ่ิมสูงขึ้น ผลผลิต ต่อหัวเพิม่ สงู ขึ้นและการสร้างระบบการบรหิ ารจดั การแรงงานที่ดีมีประสทิ ธภิ าพ จึงเป็นสงิ่ จาเป็นท่ีจะตอ้ งได้รับ ความใสใ่ จจากทกุ หน่วยงานท่สี ว่ นเกย่ี วข้องเปน็ อย่างยิง่ ในช่วงเกือบ ๑๐ ปีท่ีผ่านมา ผลิตภาพแรงงานของไทยขยายตัวอยู่ในระดับค่อนข้างต่าและมีแนวโน้ม ลดลง สะท้อนวา่ ไทยมงุ่ เนน้ ปจั จยั ด้านเงนิ ทุนและปริมาณแรงงานมากกวา่ การพฒั นาคุณภาพแรงงาน ท่ีผ่านมาพบว่า มีหลายหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ได้มีความพยายาม ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีกาลังแรงงานเพียงพอ ท้ังด้านปริมาณและคุณภาพที่สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดเพิ่มข้ึน ประเด็นสาคัญที่ควรให้ความสนใจ คือ เม่ือพิจารณาผู้รับบริการหรอื กาลังแรงงานกลับพบว่า มีความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในระดับต่า เม่ือเปรียบเทียบกับจานวนแรงงาน ทอี่ ยู่ในกาลังแรงงานทัง้ หมด การปฏิรูปและพัฒนากาลังแรงงานไทย จานวน ๓๘–๓๙ ล้านคน ให้เก่งขึ้นกว่าเดิม ติดอาวุธ ทางปัญญาท้ังแนวต้ัง แนวราบ สร้างภูมิต้านทานทางด้านความมั่นคงทางสังคมรองรับกรณีต้องขาดรายได้ โดยไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า จาเป็นต้องเร่งระดมทุกภาคส่วนรวมทั้งภาคเอกชนให้เป็นหน่ึงเดียว ในการปฏิรูปและพัฒนา การบูรณาการภารกิจของหน่วยงานต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนากาลังแรงงาน ของประเทศ ให้มีการดาเนินงานท่ีเป็นไปในทิศทางท่ีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนา กาลังแรงงานใหม่ กาลังแรงงานท่ีมีงานทาหรือมีอาชีพอยู่แล้ว หรือกาลังแรงงานที่ประสงค์จะเปลี่ยนงาน หรือเปลี่ยนอาชพี จงึ เป็นภารกิจท่ีสาคญั กำรปฏริ ปู ระบบบริหำรจดั กำรขอ้ มูลดำ้ นแรงงำน แม้นโยบายขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) จะตระหนกั ชดั ถงึ การทป่ี ระเทศไทยต้องมฐี านข้อมลู Labour Market Information (LMI) ที่ชัดเจน ซ่ึงประกอบด้วย ๑) ด้านอุปสงค์ของ แรงงาน (Demand) หรือด้านความต้องการของนายจ้าง ๒) ด้านอุปทานของแรงงาน (Supply) ท่ีตอบสนองความต้องการ เช่น การคาดการณ์จานวนแรงงานท่ีเข้าสู่ตลาดแรงงาน ๓) ด้านกลไก ที่ผนวกด้านอุปสงค์และอุปทานเข้าด้วยกัน เพื่อใช้เป็นข้อมูล ประกอบการตัดสินใจให้กับหลายภาคส่วน ทั้งฝ่ายนโยบายนายจ้าง และลูกจ้าง ทาให้รับทราบข้อมูลพื้นฐานของตลาดแรงงาน ลักษณะ ของงาน ประเภทงาน ความต้องการงานว่าอยู่ในภาคส่วนใดบ้าง

P a g e | ๑๘ เป็นต้น ซ่ึงจะทาให้การออกจากงานจะต่าลง รวมท้ังส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างและลูกจ้างเกดิ ผลิตภาพ (Productivity) ทส่ี งู ข้ึน แต่น้ันเองเม่ือมาพิจารณาสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศไทย พบว่า ภาครัฐยังขาดฐานข้อมูลกลาง ในลักษณะศูนย์บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) เนื่องจากว่าข้อมูลของภาครัฐ หน่วยงาน ที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเป็นการเฉพาะ สถาบันทางวิชาการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม (องค์กร ด้านแรงงานต่าง ๆ ) นั้นมีลักษณะต่างคนต่างทาและกระจัดกระจายอยู่หลายหน่วยงาน น้ีจึงทาให้เกิดการ สับสนว่า ข้อมูลหน่วยงานใดมีความเป็นปัจจุบันมากที่สุดที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้จริง ขาดการเช่ือมโยง ฐานข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกันให้เป็นระบบฐานข้อมูลเดียว ทาให้การใช้ประโยชน์ในการตอบสนองความต้องการ ขอ้ มูลจึงมอี ยู่อยา่ งจากัด รวมท้ังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร กระทรวงแรงงาน ก็ไม่สามารถเรียกข้อมูล จากหน่วยงานอื่นนาเข้าระบบได้ ทาให้ข้อมูลด้านแรงงานท่ีมีอยู่จึงไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้ใชบ้ รกิ ารได้เตม็ ที่ ซง่ึ มีความตอ้ งการท่หี ลากหลาย ดังน้ัน การจัดทาระบบฐานข้อมูลแรงงานเพื่อรวบรวมข้อมูลด้านแรงงาน จัดเก็บให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน มีการวางโครงสร้างข้อมูลด้านแรงงานอย่างเป็นระบบร่วมกัน ที่ทาให้กระบวนการทางาน ของหน่วยงานต่าง ๆ สามารถเช่ือมโยงกันได้ตั้งแต่ต้นจนจบ อีกทั้งต้องมีการกาหนดโครงสร้างข้อมูล ท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยต้องพัฒนาให้เกิดศูนย์กลางด้านข้อมูลแรงงานในระดับชาติขึ้นมา เพ่ือทาหน้าท่ี ในการบรู ณาการข้อมลู ด้านแรงงานในเชิงยุทธศาสตร์ร่วมกบั หน่วยงานอน่ื ๆ ดาเนินการในรูปแบบของศนู ย์ที่จัด วางระบบใหท้ กุ กระทรวงและทุกหน่วยงานสามารถส่งข้อมูลมายังหน่วยงานดังกลา่ วน้ีได้ เพือ่ ทาหน้าท่ีจัดระบบ ข้อมลู เพอ่ื นาไปใชใ้ นการวางแผนด้านยทุ ธศาสตร์ประเทศต่อไป จงึ เป็นเรอื่ งทสี่ าคัญในการดาเนนิ การ

P a g e | ๑๙ ภารกิจ ของ คณะอนกุ รรมาธกิ าร ขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ระบบแรงงาน และ ระบบคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค

P a g e | ๒๐ ภำรกิจท่ีสำคัญของคณะอนุกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูประบบแรงงำนและระบบ คุม้ ครองผู้บรโิ ภค ประกอบไปดว้ ย ๔ ภำรกจิ และอีก ๑ ภำรกิจท่ีดำเนนิ กำรไมส่ ำเรจ็ คือ (1) กำรจดั ทำรำยงำนเพอื่ กำรขบั เคลือ่ นกำรปฏิรปู ประเทศดำ้ นแรงงำน ๓ เร่ือง (2) กำรจัดสมั มนำ ๓ ครั้ง (3) กำรศึกษำดูงำนและกำรเดินทำงเขำ้ พบหนว่ ยงำนท่เี ก่ียวขอ้ ง ๗ ครั้ง (4) กำรพิจำรณำข้อเสนอแนะเพื่อกำรปฏิรูป เรื่องร้องเรียน และเรื่องอื่น ๆ ตำมทีไ่ ดร้ ับมอบหมำย ๘ กรณี (5) ภำรกิจที่ไม่สำมำรถขับเคลื่อนต่อจำกงำนของสภำปฎิรูปแห่งชำติได้สำเร็จ เร่ืองวำระกำรปฏริ ปู ที่ ๓๗ : ปฏริ ปู กำรแรงงำน เรอ่ื ง กำรจดั ต้ังธนำคำรแรงงำน

P a g e | ๒๑ ภำรกิจที่ ๑ : กำรจัดทำรำยงำนเพื่อกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนแรงงำน รวม ๓ เร่ือง ได้แก่ (๑.๑) กำรจดทะเบียนแรงงำนข้ำมชำติ ณ จุดผ่ำนแดนถำวร เพื่อจัดระเบียบแรงงำน ข้ำมชำติเข้ำสู่ระบบ สำระสำคัญของเร่อื ง ๑) สภำพปญั หำ ที่ผ่านมาประเทศไทยได้ดาเนินมาตรการและนโยบายในการบริหารจัดการแรงงานขา้ มชาติ โดยการมีมติคณะรัฐมนตรีผ่อนผันให้แรงงานข้ามชาติที่เข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย มาขึ้นทะเบียนเพื่อเข้าสู่ ระบบให้ถูกต้องเป็นครั้งคราวและมีกาหนดระยะเวลา รวมทั้งการจัดทาบันทึกความเข้าใจความร่วมมือ ด้านการจ้างงาน (Memorandum of Understanding on Employment Corporation-MOU) ระหว่าง ประเทศเพ่ือนบ้านทั้ง ๓ ประเทศ แต่ยังไม่ประสบผลสาเร็จตามที่มุ่งหวัง และยังคงมีแรงงานข้ามชาติลักลอบ เข้าเมืองมาตามแนวชายแดน ดังจะเห็นได้จากบันทึกการจับกุมและผลักดันส่งกลับแรงงานข้ามชาติ ผดิ กฎหมายอย่างตอ่ เน่อื ง สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนดังกล่าวได้มีงานวิจัยเชิงวิชาการที่ยืนยันว่า การจ้างงานแรงงาน ข้ามชาติ ผ่านระบบ MOU ยังมีข้อจากัดหลายประการ สาเหตุเกิดจากกฎระเบียบการจ้างงานตาม MOU มีความ ยุ่งยากและหลายข้ันตอน ทาให้การจ้างงานใช้เวลายาวนาน และค่าใช้จ่ายสูงเกินไป ประกอบกับเหตุผลอื่น ๆ เช่น การขาดประสบการณ์ของบริษัทจัดหางานในประเทศเพื่อนบ้าน ความไม่พร้อมของหน่วยงานราชการ ในการสนับสนุน การไม่รู้ไม่เข้าใจกฎระเบียบของฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งบริษัทจัดหางาน นายจ้าง คนงาน และเจ้าหน้าที่รัฐหน่วยต่างๆ เป็นต้น ตลอดจนความขัดข้องในการดาเนินการด้านประชาสัมพันธ์และประสาน กบั ประเทศเพ่ือนบา้ น ๒) วิธีกำรปฏิรูปและข้อเสนอแนะ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงควรมีการปฏิรูปโดยการจดทะเบียน แรงงานข้ามชาติ ณ จดุ ผ่านแดนถาวร เพอื่ จดั ระเบยี บแรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบ เพือ่ เป็นแนวทางใหม่มาใชใ้ นการ บรหิ ารจัดการ ซึ่งการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติถือเป็นข้ันตอนแรกท่ีสาคัญของการแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติ ทั้งระบบในอนาคต ท่ีครอบคลุมท้ังในเรื่องการบริหารจัดการและการคุ้มครองแรงงาน ซึ่งหากทาให้แรงงาน ข้ามชาติที่ผิดกฎหมายสามารถเข้าสู่ระบบได้เป็นลาดับแรก จะเป็นจุดเริ่มต้นในการนาไปสู่การแก้ไขปัญหา แรงงานข้ามชาติอื่น ๆ โดยเฉพาะการเข้าถึงสิทธิ สวัสดกิ าร และการคุ้มครองแรงงานตามที่กฎหมายได้กาหนดไว้ รวมท้ังปัญหาการค้ามนุษย์ ซึ่งถือเป็นวาระแห่งชาติท่ีควรให้ความสาคัญและแก้ไขอย่างเร่งดว่ นตอ่ ไป

P a g e | ๒๒ ในการน้ี เพ่ือให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ มีข้อเสนอดังน้ี ๑. ขอให้คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบให้มีการเปิดจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ณ จุดผ่านแดนถาวร ได้ตลอดทั้งปี โดยให้ยกเว้นการใช้มาตรา ๑๒ (๓) ตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ เป็นการเฉพาะ กับกลุ่มแรงงานข้ามชาติที่มาจากประเทศเพื่อนบ้านที่ติดชายแดนไทยเท่านั้น เฉกเช่นเดยี วกับการยกเว้นช่วง ที่มีการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติผ่านศูนย์บริการจดทะเบียนแรงงานตา่ งด้าวแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) และให้นามาตรา ๑๗ มาบังคับใช้แทน โดยในระยะเริ่มต้นเห็นควรใหก้ าหนดเงื่อนไขระยะเวลาในการ เปิดจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ณ จุดผ่านแดนถาวร ระยะเวลา ๓ ปี เท่านั้น ในฐานะเป็นมาตรการเร่งด่วน เพื่อให้หน่วยงานระดับปฏิบัติการทางานได้โดยสะดวกขึ้น และให้มีการประเมินเป็นระยะ ๆ ตามบริบท ที่เกี่ยวข้องและความจาเป็นและในระหว่างการดาเนินการหากพิจารณาแล้วเห็นว่า จุดผ่านแดนถาวรที่มีอยู่ ไม่เพยี งพอในการรองรับการจดทะเบยี นได้ ให้สามารถเพมิ่ เติมจดุ ผ่อนปรนเป็นจุดจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติได้ ในอนาคตตามความเหมาะสม และเห็นควรให้คณะรัฐมนตรีมอบให้กระทรวงแรงงาน เป็นเจ้าภาพหลักในการ ดาเนินการเรื่องดังกล่าว เพื่อทาหน้าที่ในการบูรณาการภารกิจความรับผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องทั้งหมดในการดาเนินการ โดยมีข้ันตอนดังนี้ ๑) ให้แรงงานข้ามชาติ พม่า ลาว กัมพูชา ที่ประสงค์มาทางานในประเทศไทย แจ้งความประสงค์ต่อ เจ้าหน้าทีส่ านักงานตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) ณ จุดผ่านแดนถาวรไทย โดยให้ ตม.ไทย นาแรงงานขา้ มชาติที่มี ความประสงค์จะเข้ามาทางานในประเทศไทย มาท่ีศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ที่ได้จัดเตรียมไว้ โดยเฉพาะ โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถดาเนินการได้เบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวกัน ๒) แรงงานข้ามชาติต้องเข้ารับการตรวจสุขภาพเป็นอันดับแรก เพื่อคัดกรองบุคคลที่มีสุขภาพ แข็งแรง โดยเป็นความรับผิดชอบของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดตรวจสุขภาพแรงงานข้ามชาติ ถ้าเป็นโรคติดต่อ/ร้ายแรงให้ส่งกลับประเทศ ทั้งน้ีค่าใช้จ่ายเป็นไปตามที่กาหนด ๓) สาหรับแรงงานข้ามชาติที่ผ่านการตรวจสุขภาพเรียบร้อยแล้ว ให้ ตม.ไทย และสานักบริหาร การทะเบียน กระทรวงมหาดไทย จัดเก็บข้อมูลที่เก่ียวข้องท้ังหมด เพื่อรับรองตัวบุคคลและยืนยันการเข้าเมือง ตลอดจนการบันทึกอัตลักษณ์ตัวบุคคล (การพิมพ์ลายนิ้วมือและบันทึกภาพใบหน้า) ทั้งนี้ แรงงานที่เข้าเมือง มาอาจจะมีทัง้ กลุ่มที่มีบัตรประชาชนหรือเอกสารรับรองตัวบคุ คล และกลุ่มที่ไม่มีเอกสารใด ๆ เลย เนื่องจาก การออกบัตรประจาตัวประชาชนของประเทศเพื่อนบ้าน ๓ ประเทศ ยังมีข้อจากัดอยู่ ในขั้นตอนนี้ ตามกฎหมายของประเทศไทย คณะรัฐมนตรีต้องมีมติอนุญาตโดยเฉพาะ เพื่อให้แรงงานข้ามชาติสามารถ อยอู่ าศัยและทางานในประเทศไทย โดยใหก้ ระทรวงมหาดไทยออกประกาศรับรองเอกสารท่ีใช้ในการขา้ มแดนเพื่อ มาทางาน และบัตรประจาตวั ที่ประเทศไทยออกให้ตามมาตรา ๑๗ แหง่ พระราชบญั ญตั ิคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ ๔) แรงงานข้ามชาติที่ผ่านการตรวจสุขภาพ และ ตม.ไทย ได้จัดเก็บข้อมูล ให้ติดต่อกับจัดหางาน จังหวัด เพื่อให้จัดหางานจังหวัดจัดหางานให้แรงงานที่ประสงค์จะทางาน ทั้งนี้ ทางจัดหางานจังหวัดจะต้องมี ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความต้องการจ้างงานของนายจ้างในพื้นที่ใช้ประกอ บการพิจารณาเป็นสาคัญ เพ่ือตัดระบบนายหน้าในการทาหน้าท่ีแทนนายจ้างตัวจริง ๕) ให้กระทรวงมหาดไทยออกบัตรประจาตัวของแรงงานข้ามชาติ เพื่อแสดงสถานการณ์อยู่อาศัย เพ่ือทางานในประเทศไทย โดยมีอายุบัตรไม่เกิน ๔ ปี ตามระยะเวลาการจ้างงานแบบระบบ MOU แต่จะต้อง มาตอ่ อายุบัตรทกุ ปี โดยสามารถตอ่ ได้ท่ีว่าการอาเภอ หรอื เทศบาล หรอื สานกั งานเขต ในพนื้ ทท่ี ี่แรงงานทางานอยู่

P a g e | ๒๓ ๖) สถานประกอบการ/นายจ้าง ที่มารับแรงงานข้ามชาติเข้าไปทางาน ให้นาแรงงานไปแจ้งย้ายเข้า ในทะเบียนบ้านของนายจ้างต่อสานักทะเบียนอาเภอท้องที่ตนเองภายใน ๗ วัน และในกิจการใดที่ต้องเข้าสู่ การคุ้มครองตามระบบประกันสังคม ให้นายจ้างมีหน้าที่แจ้งการเข้าสู่การเป็นผู้ประกันตน ๗) เมื่อแรงงานข้ามชาติคนใดขอเปลี่ยนงาน ให้นายจ้างเดิมแจ้งย้ายแรงงานคนนั้นออกจากทะเบยี น บ้านภายใน ๓ วัน สาหรับสถานประกอบการ/นายจ้างใหม่ที่ประสงค์จะรับแรงงานข้ามชาติต่อจากนายจ้าง เดิมให้ดาเนินการแจ้งย้ายเข้าทะเบียนบ้านตนเองภายใน ๗ วัน และดาเนินการเรื่องสิทธิต่าง ๆ ของแรงงาน เช่นเดียวกัน ๘) เมื่อบัตรประจาตัวของแรงงานข้ามชาติที่ทางการไทยออกให้หมดอายุ ให้แรงงานข้ามชาติกลับ ประเทศตนเอง ณ จุด ตม.บริเวณจุดผ่านแดนถาวรที่ตนเองเข้ามาคร้ังแรก โดยให้คืนบัตรประจาตัวที่ออกโดย ทางการไทยที่ ตม.ไทย และถ้าจะกลับเข้ามาทางานใหม่ ให้ขอยื่นทาบัตรใหม่อีกคร้ังตามขั้นตอนท่ีกาหนดไว้ ทั้งนี้ กระบวนการบริหารจัดการเรื่องการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ณ จุดผ่านแดนถาวร ให้นาระบบการดาเนินการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว ณ ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ท่ีกระทรวงแรงงานได้เคยดาเนินการแล้ว มาเป็นแนวทางในการดาเนินการ ๒.เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบเร่ืองการปรับปรุงกลไกการดาเนินการบริหารจัดการ และคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ โดยให้มี คณะกรรมการนโยบายยุทธศาสตร์แรงงานข้ามชาติ ซึ่งเป็น คณะกรรมการระดับชาติ ประกอบด้วย ผู้แทนจากส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยรองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงแรงงานเป็นรองประธาน รวมถึงตัวแทนจากภาคเอกชน ภาคแรงงาน ภาคประชาสังคม และภาควิชาการ มีอานาจหน้าท่ีในการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา การบริหารจัดการและคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ ทั้งระบบ การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล โดยให้คานึงถึงการบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติแต่ละกลุ่ม ได้แก่ (๑) กลุ่มที่ลักลอบเข้ามาใหม่ (๒) กลุ่มที่หลบหนีเข้าเมืองมาอยู่นานแล้วแต่ยังผิดกฎหมาย (๓) กลุ่มที่ อยู่ในระหว่างกระบวนการพัฒนาสถานะให้ถูกกฎหมาย (๔) กลุ่มที่ถูกกฎหมายแล้ว เพื่อควบคุมจานวน แรงงานข้ามชาติให้สอดคล้องกับความจาเป็นในการจ้างงานภายในประเทศ การส่งเสรมิ การอยู่ร่วมกัน ในสังคมพหุวัฒนธรรม การคุ้มครองแรงงานและสวัสดิการแรงงานข้ามชาติ ตลอดจนการกาหนดงบประมาณ ที่ได้รับจากการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ให้รายได้ส่วนหนึ่งเป็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เนื่องจาก แรงงานข้ามชาติได้ไปใช้สาธารณูปโภคต่าง ๆ ในท้องถิ่นนั้น ๆ เพื่อไม่ให้ท้องถิ่นรับภาระด้านงบประมาณ มากเกินไป

P a g e | ๒๔ (๑.๒) กำรพัฒนำฝีมือแรงงำนแห่งชำติ เพื่อยกระดบั ขดี ควำมสำมำรถกำรแข่งขันของแรงงำนไทย และร่ำงพระรำชบัญญัติบูรณำกำรกำรพัฒนำกำลังแรงงำนแห่งชำติ พ.ศ. .... สำระสำคัญของเร่ือง ๑) สภำพปัญหำ ปัจจุบันการพัฒนาฝีมือแรงงานของกาลังคนในประเทศไทยมีหลายหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งแต่ละหนว่ ยงานจะดาเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานได้ภายใต้บทบาทและภาระหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายเท่านั้น แต่การดาเนินการดังกล่าวไม่ได้มีลักษณะของการบูรณาการความร่วมมือกันระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน จะมุ่งเน้นทาหน้าที่ในการกาหนด มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติและพัฒนาฝีมือแรงงาน เพ่ือให้กาลังแรงงานมีความรู้ความสามารถและทักษะ ฝีมือเป็นไปตามกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ (สมรรถนะ) ที่กาหนด ในขณะที่กระทรวงศึกษาธิการ มุ่งเน้นการพัฒนามาตรฐานการศึกษาและการเตรียมความพร้อมให้กับกาลังคนท่ีอยู่ในวัยของการศึกษา ส่งผล ให้คุณภาพของกาลังแรงงานโดยเฉพาะทักษะหรือสมรรถนะของผู้ที่กาลังจะเข้าสู่ตลาดแรงงาน ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน เป็นต้น แม้ว่าปัจจุบันจะมีระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึก อาชีพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ บังคับใช้อยู่แล้ว แต่เนื่องจากกฎหมายดังกล่าวเป็นเพียงระเบียบนายกสานัก นายกรัฐมนตรี จึงทาให้การพัฒนากาลังแรงงานของหน่วยงานต่าง ๆ ไม่สามารถบูรณาการการพัฒนากาลัง แรงงานของประเทศให้มีการดาเนินงานท่ีเป็นไปในทิศทางท่ีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพได้ ประกอบกับการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรทีป่ ระเทศไทยกาลังก้าวไปสู่ยุคสังคมสงู วัย อันจะส่งผลให้อัตราวัยแรงงานท่ี เป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจลดจานวนลง รวมท้ังแรงงานส่วนใหญ่จะมีอายุมากและมีการศึกษา น้อย และไม่มีทักษะในการทางานบนพ้ืนฐานงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีที่มี การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาจึงทาให้การ พัฒนาฝีมือแรงงานดงั กล่าวไม่ตรงกับความต้องการ ของสถานประกอบการและตลาดแรงงาน ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงควรมีการปฏิรูปการ พัฒนาฝีมือแรงงาน โดยกาหนดมาตรการในการ พัฒนาฝีมือแรงงานให้มีคุณภาพ สอดคล้องกับ ทิศทางการพัฒนาของประเทศ และสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้ประกอบการ ซึ่งจะต้อง ดาเนินการร่วมกันทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา กาลังแรงงานของประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์ในการปฏิรูป คือ ๑. เพื่อปฏิรูปการพัฒนากาลังแรงงานของประเทศให้เกิดการบูรณาการภารกิจของหน่วยงานต่าง ๆ ๒. สนับสนุนหลักการพื้นฐานในการยกระดับขีดความสามารถของกาลังแรงงานไทยให้สูงข้ึน ๓. แก้ไขปัญหาการขาดแคลนกาลังแรงงานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ๔. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ เพิ่มความแข็งแกร่งและ ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมั่นคง ๕. เพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศบนรากฐานทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพสูง ๒) วิธีกำรปฏิรูปและข้อเสนอแนะ เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการปฏิรูปการพัฒนาฝีมือแรงงานดังกล่าว ควรดาเนินการ ดังนี้ ๑. ผลักดันให้มีการตราพระราชบัญญัติบูรณาการการพัฒนากาลังแรงงานแห่งชาติ พ.ศ. ....

P a g e | ๒๕ ๒. จัดตั้งคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อทาหน้าที่ในการกากับดูแล กาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ในการดาเนินงานด้านการพัฒนากาลังแรงงานของประเทศ เรียกว่า “คณะกรรมการบูรณาการการพัฒนา กาลังแรงงานแห่งชาติ” เพื่อทาหน้าที่ในการกาหนดยุทธศาสตร์บูรณาการการพัฒนาฝีมือแรงงานแห่งชาติ ผลักดันให้การกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ รูปแบบ แนวทาง และวิธีการดาเนินงานด้านการพัฒนากาลัง แรงงานของประเทศของทุกภาคส่วนให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือ ในการพัฒนากาลังแรงงานของประเทศระหว่างหน่วยงานของรัฐต่าง ๆ และหน่วยงานภาคเอกชนอื่นที่ เกี่ยวข้อง โดยเรียกย่อว่า “กบรช.” ประกอบด้วย (๑) นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เป็นรองประธานกรรมการ (๓) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้อานวยการสานักงานสถิติแห่งชาติ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการ ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า เ ล ข า ธิ ก า ร คณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน ผู้อานวยการสานัก งบประมาณ อธิบดีกรมการจัดหางาน ผู้ อ า น ว ย ก า ร ส ถ า บั น คุ ณ วุ ฒิ วิ ช า ชี พ ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย (๔) ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง และผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง (๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นกรรมการและเลขานุการ รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ และให้ข้าราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ซึ่งอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือ แรงงานมอบหมายเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ๓. มีคณะอนุกรรมการในระดับพื้นที่ (จังหวัด) เพื่อทาหน้าที่ในการศึกษาความต้องการแรงงาน และประสานการดาเนินงานของทุกหน่วยงานในเขตพื้นที่ ๔. มีกรอบการดาเนินงานเร่งด่วนที่ต้องดาเนินการ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่กาลังเกิดขึ้นอยู่ใน ปัจจุบัน และมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาภารกิจของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในอนาคต

P a g e | ๒๖ (๑.๓) กำรปฏิรูประบบบริหำรจัดกำรข้อมูลด้ำนแรงงำน สำระสำคัญของเรื่อง ๑) สภำพปัญหำ เนื่องจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลด้านแรงงานทั้งเชิงปริมาณ (สถิติ) และคุณภาพ ต่างก็เป็นองค์กรที่มีขนาดใหญ่ มีโครงสร้างที่ซับซ้อน แต่ละหน่วยงานทางานไม่เชื่อมโยงกัน และการใชเ้ ทคโนโลยีที่แตกต่างจึงเชื่อมโยงทางานร่วมกันได้ยาก เกิดความซ้าซอ้ นของระบบข้อมูล ด้านแรงงานในประเทศไทย ทาให้ขาดความเป็นเอกภาพในการทางานด้านสถิติที่ข้อมูลกระจัดกระจาย และถูกจัดเก็บโดยหน่วยงานต่างๆหลายหน่วยงาน นอกเหนือจากสานักงานสถิติแห่งชาติท่ีเป็นหน่วยงานหลัก ยังมีทั้งหน่วยงานภาครัฐที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเป็นการเฉพาะ สถาบันทาง วิชาการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม รวมอย่างน้อย ๕๐ หน่วยงาน และข้อมูลด้านแรงงานที่มีอยู่ไม่สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้ใช้บริการได้เต็มที่เพราะมีความต้องการที่หลากหลาย รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐ ยังมีข้อจากัดด้านเทคโนโลยี ที่ยังไม่สามารถพัฒนาระบบข้อมูลด้านแรงงานที่สามารถให้บริการผ่านรูปแบบ ดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้จะมีศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร กระทรวงแรงงาน เป็นหน่วยงานหลัก ในการรวบรวมข้อมูลด้านแรงงานในประเทศ แต่ยังไม่สามารถเช่ือมโยงข้อมูลจากหน่วยงานอื่น นาเข้าระบบได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นจึงจาเป็นต้อง มีการวางโครงสร้างข้อมูลด้านแรงงานอย่างเป็น ระบบร่วมกัน ที่จะทาให้กระบวนการทางานของ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถเช่ือมโยงกันได้ต้ังแต่ต้น จนจบ อีกทั้งต้องมีการกาหนดโครงสร้างข้อมูลที่ เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยต้องพัฒนาให้เกิดศูนย์กลางด้านข้อมูลแรงงานในระดับชาติขึ้นมา เพื่อทาหน้าท่ี ในการบูรณาการข้อมูลด้านแรงงานในเชิงยุทธศาสตร์ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ดาเนินการในรูปแบบของศูนย์ ที่จัดวางระบบให้ทุกหน่วยงานสามารถส่งข้อมูลมายังหน่วยงานดังกล่าว เพื่อทาหน้าที่จัดระบบข้อมูลและ นาไปใช้ในการวางแผนด้านยุทธศาสตร์ประเทศต่อไป ๒) วิธีกำรปฏิรูปและข้อเสนอแนะ เพื่อให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือในการจัดระบบข้อมูล ด้านแรงงานระหว่างหนว่ ยงานของรัฐต่างๆกับหน่วยงานภาคเอกชนอื่นที่เกี่ยวข้อง และให้สอดคล้อง กับข้อเสนอขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) จึงเห็นควรเสนอให้มีการปฏริ ูประบบการบรหิ าร จัดการข้อมูลด้านแรงงาน โดยยกระดับโครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลแรงงานแห่งชาติ ซึ่งปัจจุบันยังอยู่ในระหว่าง การดาเนินการและเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงแรงงาน ให้ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาและจัดระบบฐานข้อมูลแรงงานของประเทศที่มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงข้อมูลจากทุก ๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายใต้มาตรฐานเดียวกัน ให้หน่วยงานต่างๆ นาส่งข้อมูลเข้าสู่ ระบบ และมีระบบประมวลผลที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนการอานวยความสะดวกในการเรียกใช้ และให้ ข้อมูลท่ีเผยแพร่มีความเป็นเอกภาพ น่าเชื่อถือ ทันต่อสถานการณ์ เพ่ือจะทาให้ได้ข้อมูลด้านแรงงานที่แท้จริง โดยมีกรอบการดาเนินงานดังนี้ (๑) จัดตั้งคณะทางานร่วมในรูปของ “คณะกรรมการฐานข้อมูลกลางด้านแรงงาน” โดยมี รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานเป็นรองประธาน และกรรมการมาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยให้กระทรวงแรงงานเป็นเจ้าภาพดาเนินการ เพื่อพิจารณา

P a g e | ๒๗ เป้าหมายเรือ่ งการเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านแรงงานแบบ \"One - stop service\" ที่ประสานงานและรวบรวม ข้อมูลด้านแรงงานต่างๆจากหลายๆแหล่งมาบูรณาการกัน ทาหน้าที่เป็นกลไกของภาครัฐในการเชื่อมโยง แหล่งข้อมูลด้านแรงงานต่าง ๆ ได้อย่างเป็นระบบ รวดเร็ว ทันสมัย และทันเหตุการณ์ เพื่อให้ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคแรงงาน ได้ข้อมูลที่แม่นยาถูกต้อง ผ่านการสังเคราะห์และวิเคราะห์แล้วจากหน่วยงาน เจ้าของเร่ือง อันจะมีส่วนช่วยให้สามารถกาหนดนโยบายและวางแผนการพัฒนาประเทศด้านกาลังแรงงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นแหล่งข้อมูลที่ภาครัฐสามารถสื่อสารให้กับภาคเอกชนและภาคแรงงานได้ อย่างน่าเชื่อถือ (๒) การยกระดับโครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูล แ ร ง ง า น แ ห่ง ช า ติ ซึ่ง ปัจ จุบัน ยัง อ ยู่ใ น ร ะ ห ว ่า ง การดาเนินการและเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจของศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร กระทรวงแรงงาน ให้เป็น “ศูนย์กลางด้านข้อมูลแรงงานระดับชาติ” เพื่อทาหน้าที่ในการบูรณาการข้อมูลด้านแรงงานในเชิง ยุทธศาสตร์ร่วมกับหน่วยงานอ่ืนๆ ดาเนินการในรูปแบบ การเป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านแรงงาน มีอานาจในการให้ แต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดส่งข้อมูลมายังศูนย์กลางด้านข้อมูลแรงงาน ซึ่งจะส่งผลให้สามารถนาข้อมูล ที่มีอยู่มาใช้พิจารณากาหนดนโยบายดา้ นแรงงานในประเทศไทย และสามารถนามาใช้ในการกาหนด กาลังการผลิตในภาคอุตสาหกรรมต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยมอบหมายให้กระทรวงแรงงาน ออกแบบโครงสร้างองค์กรต่อไปตามภารกิจท่ีต้องดาเนินการ (๓) ภารกิจหลักของศูนย์กลางด้านข้อมูลแรงงานระดับชาติ ในระยะแรกให้มีการศึกษาข้อมูล ด้านแรงงานในแต่ละหน่วยงานที่จัดเก็บ และนาข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบกับความต้องการด้านข้อมูลแรงงาน ในปัจจุบันว่าสามารถเป็นฐานข้อมูลสว่ นกลางที่จะนามาใช้งานใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ลดปัญหาความซ้าซ้อน ได้หรือไม่ อย่างไร โดยให้มีการออกแบบฐานข้อมูลด้านแรงงานที่กาหนดให้ศูนย์กลางด้านข้อมูลแรงงาน ระดับชาติต้องดาเนินการรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอ่ืน เพ่ือให้หน่วยงาน ต่าง ๆ นาส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบและมีระบบประมวลผลข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพ ในลักษณะเป็นการบูรณาการฐานข้อมูลด้านการจ้างงานร่วมกันแบบ Labour Market Information (LMI) ตามข้อเสนอแนะขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ซึ่งประกอบด้วย ๑) ด้านอุปสงค์ ของแรงงาน (Demand) ๒) ด้านอุปทานของแรงงาน (Supply) และ ๓) ด้านกลไกที่ผนวกด้านอุปสงค์ และอุปทานเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ ควรออกแบบฐานข้อมูลเพื่อให้มีระบบข้อมูลที่สามารถเชื่อมโยง เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งควรกาหนดกลุ่มเป้าหมายในการจดั เก็บข้อมูลและมีการจาแนกประเภท หรือลักษณะข้อมูลเบ้ืองต้นให้ชัดเจน (๔) การพัฒนาโปรแกรมระบบงานฐานข้อมูลแรงงาน / วางระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ การเชื่อมโยง ข้อมูลแต่ละหน่วยงาน (๕) การนาข้อมูลที่จัดเก็บมาพยากรณ์ด้านแรงงานหรือการคาดการณ์สถานการณ์ดา้ นแรงงาน เพื่อวางแผนการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง (๖) การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ให้ทุกหน่วยงานส่งข้อมูลที่เป็นมาตรฐานเดียวกันเข้าสู่ระบบ และให้บริการข้อมูลอย่างท่ัวถึงแก่ผู้ต้องการใช้ข้อมูลให้เข้าถึงฐานข้อมูลได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว

P a g e | ๒๘ ภำรกิจท่ี ๒ : กำรจัดสัมมนำ รวม ๓ เรื่อง ได้แก่ (๒.๑) สถำนกำรณ์แรงงำนในสำยตำประชำคมโลก ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันพุธที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ณ ห้อง ประชุมจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ อาคารประชาธิปก-ราไพพรรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์แรงงานไทยที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจของโลก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และสภาพ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมของประเทศไทย รวมท้ังเพ่ือการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ปัญหา อุปสรรค ทิศทางและโอกาสของการพัฒนา แรงงานไทย เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับ ผู้ใ ช้แ ร ง ง า น ต่อ ก า ร ทา ง า น ใ น ปัจ จุบัน ที่เกี่ยวข้องกับบริบทที่หลากหลาย โดยมี ผู้เข้าร่ว มการสัมม นา ซึ่ง เป็นผู้แ ท น จ า ก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้ใช้แรงงาน จานวน ๘๐ คน แ ล ะ มี วิทยากรและผู้ดาเนินรายการ ดังน้ี ๑) ศาสตราจารย์สุภางค์ จันทวานิช ผู้อานวยการศูนย์วิจัยการย้ายถิ่น สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒) รองศาสตราจารย์แล ดิลกวิทยรัตน์ ท่ีปรึกษาคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านสังคม ๓) นายอารักษ์ พรหมณี อธิบดีกรมการจัดหางาน ๔) นายสมพงศ์ สระแก้ว ผู้อานวยการมูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน ๕) นายสาวิทย์ แก้วหวาน อนุกรรมาธิการและเลขานุการ ข้อเสนอแนะ ในกระบวนการแก้ไขปัญหาของผู้ใช้แรงงาน ควรทาให้เกิดการรวมตัวกัน และส่งเสียงออกไปให้หน่วยงานที่รับผิดชอบหรือเกี่ยวข้องได้รับรู้ ปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงาน จะแก้ไขเฉพาะส่วนไม่ได้ ทุกฝ่ายทั้งรัฐบาล สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ผู้แรงงาน ผู้ประกอบการ แ ล ะ ใ น ว ง ง า น ร ัฐ ส ภ า ต ้อ ง ช ่ว ย ก ัน ม ิฉ ะ นั ้น จ ะ ไ ม ่ส า ม า ร ถ ห ล ุด พ ้น จ า ก ม ุม ม อ ง ด ้า น ล บ ของนานาชาติได้ ควรเปิดพื้นที่สาหรับแรงงานในการนาเสนอปัญหาร้องเรีย นมากขึ้น ประเทศไทย ไม่ควรตื่นตระหนกไปกับกระแสจากประเทศคู่ค้าจนเกินไป แต่ควรหนักแน่นและเชื่อมั่นต่อแนว ที่ดาเนินการไปแล้วอย่างดีที่สุดตามมาตรฐานองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ควรมีการบูรณาการ หน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละภาคส่วนรวมเข้าด้วยกัน

P a g e | ๒๙ เพื่อสร้างเอกภาพในการบริหารจัดการปัญหาแรงงาน ควรมีมาตรการทางภาษี เพื่อกระจาย งบประมาณลงไปในท้องถิ่นเพื่อช่วยบริหารจัดการและดูแลคนไทยในพื้นที่ด้วย ให้กาหนดรูปแบบ เขตปกครองที่มีลักษณะพิเศษในแต่ละพื้นที่อย่างเหมาะสม เช่น การบริหารจัดการในพื้นที่ เขตเศรษฐกิจพิเศษเป็นต้นแบบนาร่อง เป็นต้น ซึ่งประเทศไทยต้องเฝ้าระวังแรงงานข้ามชาติ ในการลักลอบเข้าออกตามเขตแนวชายแดน โดยต้องพิจารณาว่า แรงงานข้ามชาติที่เข้ามาทางานตามข้อตกลงว่าด้วยการจ้างแรงงานข้ามชาติ ระหว่างประเทศไทยกับคู่ภาคี (MOU) สามารถตอบสนองความต้องการได้จริงหรือไม่ โดยนายจ้าง ต้องการแรงงานข้ามชาติเพราะมีค่าจ้างที่ถูกกว่า ทาให้การต่อรองของแรงงานไทยลดลงและถูกเอาเปรียบ ในการกดราคาค่าจ้าง รวมทั้งควรให้แรงงานข้ามชาติได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายให้ครบถ้วน ในกรณีท่ีแรงงานข้ามชาติทางานในงานท่ีเป็นอันตราย (๒.๒) กำรปฏิรูประบบบริหำรจัดกำรข้อมูลด้ำนแรงงำน วันศุกร์ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมคณะกรรมาธิการ หมายเลข ๒๑๓ – ๒๑๔ ช้ัน ๒ อาคารรัฐสภา ๒ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมการสัมมนา เกี่ยวกับการปฏิรูประบบบริหารจัดการข้อมูลด้านแรงงาน และเพื่อนาข้อมูลที่ได้รับไปใช้ประกอบการ จ ัด ท า ร า ย ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม า ธ ิก า ร เ กี ่ย ว ก ับ ก า ร ป ฏ ิร ูป ร ะ บ บ บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ข ้อ ม ูล ด ้า น แ ร ง ง า น ให้มีเนื้อหาครบถ้ว นและสมบูรณ์ สามารถนาไปขับเคลื่อนการปฏิรูปได้อย่างเป็นรูปธ รร ม โดยมีผู้เข้าร่วมการสัมมนาซึ่งเป็นผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้ใช้แรงงาน จานวน ๘๕ คน และมีวิทยากรและผู้ดาเนินรายการ ดังน้ี ๑) รองศาสตราจารย์แล ดิลกวิทย รัตน์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการ ปฏิรูปประเทศด้านสังคม ๒) นายศิริชัย ไม้งาม สมาชิกสภา ขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เลขานุการ กรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้าน สังคม และประธานอนุกรรมาธิการขับเคลื่อน การปฏิรูประบบแรงงานและระบบคุ้มครอง ผู้บริโภค ๓) นางถวิล เพ่ิมเพียรสิน ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงแรงงาน และอนุกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบแรงงานและระบบคุ้มครองผู้บริโภค ๔) นายอานนท์ จันทวิช ผู้อานวยการสานักสถิติเศรษฐกิจและสังคม สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ๕) นายสาวิทย์ แก้วหวาน อนุกรรมาธิการและเลขานุการ ข้อเสนอแนะ เพื่อให้เกิดการปฏิรูประบบฐานข้อมูลแรงงาน ให้ได้ฐานข้อมูลที่เป็นเอกภาพ น่าเชื่อถือ และสามารถนาข้อมูลแรงงานไปประมวลผลวิเคราะห์ คาดการณ์ และเพื่อนาไปใช้ในการ กาหนดนโยบายหรือวางแผนพัฒนากาลังแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการติดตาม สถานการณ์แรงงานได้อย่างทันท่วงที จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกหน่วยงานและทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีระบบฐานข้อมูลท่ีอยู่ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน

P a g e | ๓๐ เ นื ่อ ง จ า ก ป ัจ จ ุบ ัน ม ีห น ่ว ย ง า น ที ่เ กี ่ย ว ข ้อ ง ก ับ ก า ร จ ัด เ ก ็บ ข้อ ม ูล ด ้า น แ ร ง ง า น จ า น ว น ม า ก แต่หน่วยงานดังกล่าวไม่มีการเช่ือมโยงหรือบูรณาการข้อมูลร่วมกัน จึงทาให้การบริหารจัดการแรงงาน ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร และเห็นว่าหากมีการปฏิรูประบบฐานข้อมูลด้านแรงงานได้สาเร็จ โดยมีหน่วยงานกลางเพียงหน่วยงานเดียวทาหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูล จะก่อให้เกิดประโยชน์ เป็นอย่างมาก เช่น ประโยชน์ต่อการกาหนดนโยบายของรัฐ การได้รับการยอมรับจากต่างประเทศ และป้องกันปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงาน เป็นต้น ดังนั้น ประเทศไทยจึงควรมีฐานข้อมูลที่เป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกัน ต้องมีการบูรณา การข้อมูลระหว่างหน่วยงานให้ครอบคลุมข้อมูลด้านแรงงานที่เกี่ยวข้องจะสามารถช่วยสร้างแรงงาน ที่มีทักษะและความรู้ด้านเทคโนโลยีเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การยกระดับขีด ความสามารถ การเสริมสร้างทักษะ และการเติมเต็มศักยภาพของประชาชนให้ทันกับการเปล่ียนแปลง จากภายนอกได้เท่าทันสถานการณ์ (๒.๓) อีกด้ำนหน่ึงของไทยแลนด์ ๔.๐ อย่ำเผลอท้ิงใครไว้ข้ำงหลัง วันศุกร์ที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมคณะกรรมาธิการ หมายเลข ๒๑๓-๒๑๖ ช้ัน ๒ อาคารรัฐสภา ๒ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ที่ส่งผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบต่อประชากรกลุ่มแรงงาน และเพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์ ปัญหา อุปสรรค ทิศทางและโอกาสของการพัฒนาแรงงานไทยในการเตรียมความพร้อมให้กับผู้ใช้แรงงาน ต่อการทางานในอนาคตที่สอดรับกับนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ รวมทั้งเพื่อนาข้อมูลที่ได้รับไปใช้ ประกอบการขับเคลื่อนการปฏิรูปด้านแรงงานได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป โดยมีผู้เข้าร่วมการสัมมนา ซึ่งเป็นผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้ใช้แรงงาน จานวน ๑๓๙ คน และมีวิทยากรและผู้ดาเนินรายการ ดังน้ี ๑) รองศาสตราจารย์ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์การเมือง ๒) นายสิงหเดช ชูอานาจ รองปลัดกระทรวงแรงงาน ๓) นางสิริวัน ร่มฉัตรทอง อนุกรรมาธิการและเลขาธิการสภาองค์การนายจ้างแห่งประเทศไทย ๔) นายเกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว นักวิชาการด้านแรงงานและผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ๕) นางสุนทรี เซ่งกิ่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองการรับงานไปทาท่ีบ้าน ๖) นายวรวิทย์ ศรีอนันต์รักษา สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ และรอง บรรณาธิการบริหารหนังสือพิมพ์เดลินิวส์

P a g e | ๓๑ ข้อเสนอแนะ เมื่อโลกจะเข้าสู่ยุค ๔.๐ ประเทศใดที่มีการเตรียมการและมีความพร้อมก่อน จะได้เปรียบ ส่วนประเทศที่ยังไม่พร้อมจะถูกลากไปเข้าสู่ยุค ๔.๐ ด้วย จะเกิดความไม่เท่าเทียมกัน ในโลกสูงมาก ประเทศใดที่ไม่มีความพร้อมจะยากจนลง จะเกิดการกระจุกตัวของทรัพยากรแรงงาน ทาให้อานาจต่อรองของประเทศจะลดลงจนถูกกดให้อยู่ในประเทศท่ีติดกับดักรายได้ปานกลางยาวนาน ซ่ึงส่ิงท่ีน่าเป็นกังวลของประเทศไทยในยุค ๔.๐ คือ โครงสร้างทางเศรษฐกิจโดยเฉลี่ยของประเทศไทย ยังอยู่ในระดับ ๒.๕ กล่าวคือ ขณะที่กาลังจะขับเคล่ือนไปสู่ระดับ ๔.๐ แต่ทักษะและคุณภาพของคนยัง อยู่ในระดับ ๒.๐ – ๓.๐ ดังนั้น จึงต้องมีการยกระดับคนให้อยู่ในระดับเดียวกันด้วย ๒ แนวทาง คือ (๑) ต้องดูแลกลุ่มคน ที่ไม่เก่งและไม่มีความพร้อมให้ขึ้นมาให้อยู่ในระดับ ๓.๐ เพื่อไม่ให้เกิดช่องว่างด้วยการ Reskill หรือการ ฝึกทักษะให้ใหม่ แบ่งกลุ่มในการให้ความช่วยเหลือที่ชัดเจน และหาสาเหตุของปัญหาให้เจอแล้วแก้ไข ปัญหาให้ตรงจุด โดยดาเนินการทั้งแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ ( ๒) พัฒนากลุ่มคนที่มี ความพร้อมอยู่แล้วให้ไปสู่ระดับ ๔.๐ และแม้จะมีการคาดการณ์ว่าทางออกของปัญหาดังกล่าว คือ การสร้างนวัตกรรมและการพัฒนาเทคโนโลยี แต่หัวใจสาคัญของการแก้ไขปัญหา คือ “คน” หรือ การปรับโครงสร้างตลาดแรงงานและการพัฒนาคน ไม่ใช่การพัฒนาเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว และ เม่ือให้“คน”เป็นส่วนสาคัญ จะสอดคล้องกับโมเดล ในทวีปยุโรปที่มุ่งพัฒนากาลังคนควบคู่ไปกับการสร้างนวัตกรรม ที่ไม่ต้องใช้เงินลงทุนสูงและ ทาได้แค่บริษัทยักษ์ใหญ่ แต่เป็นการสร้างนวัตกรรมที่ระดับ Start up สามารถทาได้ ซ่ึงเป็นนวัตกรรม ที่จะมาช่วยเปลี่ยนวิธีการทางานใหม่ให้คนทางานกับเทคโนโลยี ( Process Innovation) เพราะเมื่อ พิจารณาโครงสร้างทางเศรษฐกิจของไทยพบว่า ๒๕ ปีที่ผ่านมา ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ภาคการผลิต แบบเดิมยังมีบทบาทสาคัญ ยังคงต้องพึ่งพาแรงงานข้ามชาติ ภาคการเกษตรมีควา มสาคัญลดลง คนมีรายได้เพิ่มขึ้นเพราะทางานหนักขึ้น แต่หากรัฐบาลจะมีนโยบายเน้นการขับเคลื่อนภาคการเกษตร จะต้องไม่ละเลยการพัฒนาและ การสร้างกาลังคนไปป้อนตลาดแรงงานกลุ่มอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การบริการ รวมทั้งแรงงาน นอกระบบไปพร้อมกัน โดยประเทศไทยจะต้องปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ๒ ส่วน คือ (๑) จะต้องผลิต กาลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการโดยไม่พึ่งพาแรงงานต่างด้าว เว้นแต่ การให้สิทธิความเป็นพลเมืองแบบประเทศสหรัฐอเมริกาที่จะทาให้แรงงานทุ่มเทต่อการทางานมากขึ้น แต่จะต้องมีกระบวนการคัดกรองที่เหมาะสม และควรสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้ามากกว่าการลด ต้นทุนการผลิต และ (๒) ต้องผลิตกาลังคนให้สอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ โดยเพิ่มแรงงาน ในสายวิชาชีพให้มากข้ึน และลดการใช้แรงงานในระดับวุฒิการศึกษา ม.๓ และต่ากว่า ม.๓ ลง ทั้งนี้ ในการเตรียมคนจะต้องเริ่มจากการมีชุดทักษะที่มีมาตรฐานระดับนานาชาติ จะต้อง ยกระดับทักษะของแรงงานด้วยโมเดล ๓ ประสาน หรืออาจเรียกว่า “กลไกประชารัฐ” คือ (๑) สถาบันการศึกษาสายอาชีวะและระดับมหาวิทยาลัย (๒) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และ (๓) สถาน ประกอบการภาคเอกชน ทั้ง ๓ ส่วนมาร่วมมือกันเพื่อพัฒนาทักษะแรงงานโดยมีเกณฑ์วัดผลที่ได้ มาตรฐานตามเป้าหมายให้ได้ รวมทั้งจะต้องกาหนดนิยามคาว่า “นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐” ให้มี ความหมายชัดเจนว่าจะเป็นแบบใด เพราะที่ผ่านมามีการตีความออกไปหลากหลายขึ้นอยู่กับการ ตั้งสมมติฐานของแต่ละคน และควรมีหน่วยงานหลักรับผิดชอบในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ ประเทศ โดยการกาหนดแนวทางที่ชัดเจนให้หน่วยงานต่าง ๆ ไปปฏิบัติตาม เพื่อให้ทุกภาคส่วน ดาเนินการสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

P a g e | ๓๒ นอกจากนี้ในการขับเคลื่อนประเทศเพื่อเข้าสู่ยุค ๔.๐ จะต้องเปลี่ยนแนวคิดค่านิยมด้าน ก า ร ศึก ษ า แ ล ะ พัฒ น า ค น รุ ่น ใ ห ม่ใ ห ้มีทัก ษ ะ ที่ส อ ด ร ับ กับ ก า ร เ ป ลี ่ย น แ ป ล ง ที่จ ะ เ กิด ขึ้น ใ น อ น า ค ต โดยกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นหน่วยงานด้านการผลิตกาลังคนควรเป็นเจ้าภาพหลักในการดาเนินการ และให้กระทรวงแรงงานเป็นเจ้าภาพร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินการ จะต้องเพิ่มมูลค่า ของคนทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคนและเครื่องมือ และหากต้องการให้ คนเข้าสู่สายอาชีวะเพิ่มมากขึ้น ก็ไม่ควรไปกาหนดฐานเงินเดือนของคนจบการศึกษาสายอาชีวะ ที่ตายตัว และให้พิจารณาฐานเงินเดือนไปตามรายทักษะวิชาชีพที่ขาดแคลนหรือมีความต้องการสูง โดยการตั้งฐานเงินเดือนที่สูงกว่า จะเป็นแรงจูงใจให้คนตัดสินใจเข้าศึกษาในวิชาชีพที่เป็น ความต้องการของตลาดแรงงานได้นอกไปจากการปรับเปลี่ยนค่านิยมด้านการศึกษาของคนไทย

P a g e | ๓๓ ภำรกิจที่ ๓ : กำรศกึ ษำดูงำนและการเดนิ ทางเขา้ พบหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง รวม ๗ ครงั้ (๓.๑) ปัญหำแรงงำนและกำรใช้แรงงำนตำ่ งด้ำว ณ จงั หวดั ระนอง ในระหว่างวันศุกร์ที่ ๘–วันเสาร์ท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือรับทราบ และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับปัญหาและอุปสรรค ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ รวมทั้งเย่ียมชมการ ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เก่ียวกับการบริหารจัดการด้านแรงงาน มาใช้ประกอบการ พิจารณาศึกษาและจัดทารายงานข้อเสนอแนะในการขับเคล่ือนการปฏิรูประบบแรงงานของประเทศไทย เพื่อเสนอต่อสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ โดยในวันศุกร์ที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๙ คณะกรรมาธิการ ได้ร่วมประชุมกับผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนภาคเอกชน และผู้ใช้แรงงาน ณ ศาลากลางจังหวัดระนอง และได้ลงพื้นที่ศึกษาดูงานที่ศูนย์จดทะเบียนแรงงานต่างด้าวจังหวัดระนอง และในวันเสาร์ท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ คณะกรรมาธิการได้ลงพ้ืนท่ีเยี่ยมชมการดาเนินงานของศูนย์ควบคุม การแจง้ เรอื เขา้ -ออก (Port In Port Out center : PIPO) จังหวัดระนอง รวมทง้ั ดา่ นตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดระนอง ข้อเสนอแนะ รัฐบาลควรเร่งเจรจากับประเทศพม่า เพ่ือจัดระบบแรงงานต่างด้าวในลักษณะมาเช้า – กลับเย็น ตามมาตรา ๑๔ ของพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. .... ให้มีผลในทางปฏิบัติโดยเร็ว และให้มีการ สกัดกั้นการเดินทางเข้ามาของแรงงานต่างด้าวตามแนวชายแดนอย่างเข้มงวด บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด และจรงิ จัง มีการทา MOU กบั ประเทศต้นทางในระบบรฐั ต่อรัฐ (G TO G) และควรพิสูจนส์ ัญชาติแรงงานที่ถือ บัตรสีชมพู เพ่ือระบุสัญชาติของแรงงานทาให้ทราบสถานะของแรงงานว่าเป็นสัญชาติใด จะทาให้ง่ายต่อการ ตรวจสอบ และควรให้จังหวัดระนองมีการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว ทั้งระบบ โดยมีองค์กรบริหาร แรงงานต่างด้าวท่ีเป็นเอกเทศมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน มีฝ่ายความม่ันคง ฝ่ายกระทรวงแรงงาน และฝ่ายนายจ้างบริหารจัดการด้านนโยบายร่วมกัน สาหรับเรื่องการจ้างงานผู้สูงอายุ ควรจะมีกฎหมาย มารองรับการทางานของผู้สูงอายุ

P a g e | ๓๔ (๓.๒) กำรใช้แรงงำนข้ำมชำตใิ นกิจกำรประมงทะเล ณ จังหวดั สมุทรสำคร ในวันพุธท่ี ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเข้าร่วมประชุมและศึกษาดูงานร่วมกับ ภาคเอกชน ได้แก่ บริษัท อนุสรณ์มหาชัยซูริมิ จากัด และผู้ประกอบการประมง โดยคณะกรรมาธิการได้ร่วม ประชุมเพ่ือรับทราบข้อมูลและข้อเสนอแนะจากสว่ นราชการท่ีเกี่ยวขอ้ งกับปัญหาแรงงานและการใช้แรงงานข้ามชาติ ในกิจการประมงทะเลในพื้นท่ี ณ ห้องประชมุ บริษทั อนุสรณ์มหาชยั ซูริมิ จากัด จงั หวดั สมุทรสาคร ข้อเสนอแนะ ควรกาหนดให้มีการเปิดจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติได้ตลอดทั้งปี หรือหากไม่สามารถ กาหนดให้มีการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติได้โดยตลอด ควรให้มีศูนย์จดทะเบียนแรงงานในลักษณะ One Stop Service เพอื่ ใหผ้ ้ปู ระกอบการสามารถนาแรงงานข้ามชาติเข้ามาทางานได้โดยถกู ต้องตามกฎหมาย ควรทาบนั ทกึ ขอ้ ตกลงกบั ประเทศเพื่อนบ้านเกยี่ วกับการนาเข้าแรงงานข้ามชาติเพื่อให้แรงงานขา้ มชาติทเี่ ข้ามา ทางานในประเทศเปน็ แรงงานที่ถกู ตอ้ งตามกฎหมาย โดยวิธีดังกล่าวเป็นการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานได้ในระยะยาว และหน่วยงานภาครัฐ ควรที่จะมีมาตรการในการสนบั สนุนผปู้ ระกอบการอาหารทะเลแปรรูปและแชแ่ ข็งขนาด SMEs เพอ่ื ให้สามารถ ดาเนินธุรกิจต่อไปได้ และมาตรการท่ีรัฐนามาใช้ควรกาหนดวิธีการและมาตรฐานให้เหมาะสมในกิจการแต่ละ ขนาด รวมทั้งควรกาหนดให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการใช้แรงงานข้ามชาติในกิจการประมงทะเล มีโอกาส เขา้ ไปมีสว่ นร่วมในการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรสัตว์น้าในทะเล และการกาหนดมาตรการตา่ ง ๆ รว่ มกนั

P a g e | ๓๕ (๓.๓) กำรศึกษำดูงำน เรื่อง กำรพัฒนำฝีมือแรงงำนตำมมำตรฐำนฝีมือแรงงำนแห่งชำติ กำร พั ฒ น ำ ศั ก ย ภ ำ พ ผู้ พิ ก ำ ร แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ก ำ ร ผ ลิ ต ส มั ย ใ ห ม่ กั บ อ น ำ ค ต แ ร ง ง ำ น ไ ท ย ณ จังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง ในระหว่างวันพุธที่ ๒๓–วันพฤหัสบดีที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับทราบ ข้อมูล รับฟังสภาพปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์มาตรฐานฝีมือ แรงงานแห่งชาติ การพัฒนาคุณภาพชีวิต การให้การศึกษา การพัฒนาอาชีพให้กับผู้พิการ รวมทั้งการศึกษา ดูงานสถานประกอบการที่มีการปรับรูปแบบการผลิต ด้วยการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ทดแทน แรงงาน เพ่ือรวบรวมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และผลกระทบที่จะได้รับจากการเปลี่ยนแปลงเชิง สังคมในอนาคต โดยในวันพุธที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ คณะกรรมาธิการเดินทางศึกษาดูงาน ณ สถาบัน พัฒนาฝีมือแรงงาน ๓ จังหวัดชลบุรี ได้ร่วมประชุม กับหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาฝีมือแรงงาน ในพ้ืนท่ีในประเด็นเรื่อง “การพัฒนาฝีมือแรงงาน เพ่ือให้เป็นไปตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ” รวมท้ัง เดินทางไปศึกษาสภาพความเป็นจรงิ และเยี่ยมชมการดาเนินงานดา้ นการให้การศึกษาและพัฒนาอาชพี สาหรบั คนพกิ าร ณ มูลนิธิพระมหาไถเ่ พื่อการพัฒนาคนพิการ ต่อมาในวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ คณะกรรมาธิการเดินทางศึกษาดูงานและเยี่ยมชม การจัดทาโครงการ “โรงเรียนในโรงงาน” ของภาคเอกชน เก่ียวกับกระบวนการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน และการนา เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ในการผลิตเพ่ือทดแทนกาลังคน เพ่ือเพ่ิมกาลังการผลิต ณ บริษัท เอส เอ็น ซี ไพยองซาน อีโวลูชั่น จากัด จังหวัดระยอง รวมทั้งเย่ียมชมการดาเนินงานด้านการพัฒนาศักยภาพผู้พิการ ในการทางาน ณ ศนู ยฟ์ ้นื ฟูสมรรถภาพคนงานประจาภาคตะวันออก จังหวดั ระยอง ข้อเสนอแนะ ให้สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานในพ้ืนที่จัดทาหนังสือถึงประธานคณะกรรมาธิการ ขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม เพ่ือแจ้งความประสงค์ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน พร้อมทั้งปัญหา และอุปสรรค เช่น ความประสงค์ในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่ออานวย ความสะดวกในการพัฒนาฝีมือแรงงานใหม้ ีประสิทธิภาพ หรือการปรับอัตราการจัดเก็บค่าธรรมเนียมทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติที่ปัจจุบันมีการจัดเก็บไม่เพียงพอต่อการฝึกอบรม และอาจส่งผลให้ การจดั การฝกึ อบรมไม่เต็มตามรูปแบบอย่างเต็มท่ี เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ข้อมูลประกอบการพิจารณาในการขับเคล่ือนการ ปฏริ ูปประเทศดา้ นแรงงานต่อไป ในประเด็นการจัดทาโครงการ โ รงเ รี ย น ในโรงงานของภาคเอกชน ถือเป็นแนวคิดใหม่ ในการศึกษารูปแบบใหม่ เพ่ือให้ความรู้และเป็นการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ให้กับนักศึกษา ที่ ต้ อ ง ก า ร ผ ลิ ต กาลังคนให้มีคุณภาพตรงตามที่ ตลาดแรงงานต้องการให้มากท่ีสุด เป็นการเตรียมผู้เรียน เข้าสู่อาชีพในสาขาต่าง ๆ ตรงกับความต้องการ ของตลาดแรงงาน โดยเน้นเรียนจริง รู้จริง และทาจริง

P a g e | ๓๖ โดยความร่วมมือ คือ สถานศึกษา สถานประกอบการ และสมาคมหรือองค์กรวิชาชีพ ซ่ึงเป็นการจัดการศึกษา โดยใช้ระยะการเรียนเป็นตัวกาหนดโครงการหลักสูตร ตลอดจนเป็นการพัฒนานักศึกษาที่เรียนจบแล้ว ให้มีคุณภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับการพัฒนาคนให้มีขดี ความสามารถตอ้ งเริ่มทก่ี ารศึกษา โดยเฉพาะหลักสูตรการศึกษาท่ีจะนามาใช้กับสถาบันอาชีวศึกษาต้องมีการปรับเปลี่ยนหลักสูตร ให้นกั ศกึ ษาเรียนจบไปเปน็ ผู้ประกอบอาชีพจริง ๆ ไม่ใช่สรา้ งหลักสูตรแลว้ มาบังคบั ใช้ ซง่ึ ไม่ตรงกับสาขาอาชีพ รวมท้ังควรพัฒนากาลังแรงงานที่อยู่ในตลาดแรงงานอยู่แล้วให้มีทักษะฝีมือสอดคล้องกับความต้องการ ของสถานประกอบการ สามารถรองรับการเปล่ียนแปลงท่จี ะเกิดขนึ้ ในอนาคตได้ (๓.๔) เทคโนโลยีกำรผลิตสมัยใหม่กับกำรปรับตัวของแรงงำนและสถำนประกอบกำร และกำรพัฒนำศกั ยภำพผพู้ กิ ำร ณ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรำ ในวันศุกร์ที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๙ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับทราบการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค ในการใหก้ ารศึกษา การฝึกอาชีพ การจัดหาสิ่งอานวยความสะดวก และสภาพแวดล้อมในการดูแลคนพิการ รวมทั้งรับทราบแนวทางการบรหิ ารจดั การแรงงานจากผปู้ ระกอบการ ในกรณหี ากมีการนาเทคโนโลยีการผลิต สมัยใหม่มาใช้แทนกาลังคน โดยคณะกรรมาธิการได้เดินทางศึกษาดูงานด้านการพัฒนาศักยภาพคนพิการ ณ สถานสงเคราะห์คนพิการและทุพพลภาพบางปะกง และไปเย่ียมชมการจัดการภายในโรงงานและข้ันตอน การประกอบรถยนต์ ณ บรษิ ัท โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย จากดั (โรงงานบ้านโพธิ์) จังหวัดฉะเชิงเทรา ข้อเสนอแนะ ในประเด็นคนพิการ ควรส่งเสริมให้คนพิการจัดทาเคร่ืองมือเคร่ืองใช้สาหรับคนพิการ ด้วยตนเอง เพ่ือช่วยอานวยความสะดวกในการดารงชีวิตประจาวัน เพราะคนพิการย่อมทราบความต้องการ ที่แท้จริงมากกว่าคนปกติท่ัวไป และควรหาแนวทางในการนาเงินจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการ ซึ่งได้มาจากสถานประกอบการที่ไม่สามารถรับคนพิการเข้าทางานได้ มาช่วยเหลือ ผู้พิการ ให้ได้รับความสะดวกสบายในการดารงชีวิตมากย่ิงข้ึน รวมท้ังควรวางแผนกิจกรรมส่งเสริมอาชีพคนพิการ ให้เหมาะสมไปตามแต่ละพื้นที่ และส่งเสริมให้คนพิการอาศัยอยู่กับครอบครัวมากกว่าการพักอาศัย ในสถานสงเคราะห์คนพกิ าร

P a g e | ๓๗ สาหรับประเด็นด้านแรงงานเห็นว่า มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา ควรจะมีการติดตามผล การปฏิบัติงานของนักศึกษาเมื่อเข้าสู่การทางาน กล่าวคือ เม่ือนักศึกษาท่ีจบการศึกษาแล้วออกไปทางานยัง สถานประกอบการต่าง ๆ สถาบันการศึกษาควรติดตามว่า นักศึกษาท่ีจบการศึกษาออกไปสามารถปฏิบัติงาน ได้หรือไม่ มีทักษะตรงกับความต้องการของสถานประกอบการตามสาขาวิชาชีพท่ีศึกษาเล่าเรียนมาหรือไม่ จะทาให้สถาบันการศึกษาได้รับทราบข้อมูลและนาไปปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนเพ่ือให้นักศึกษาท่ีจบ การศึกษาออกมามีทักษะตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน และนักศึกษาควรจะใช้เวลาในช่วงปิดเทอม ภาคฤดูร้อนให้เป็นประโยชน์ โดยนักศึกษาอาจไปขอฝึกงานในสถานประกอบการ เพ่ือเป็นการใช้เวลาว่าง ให้เป็นประโยชน์ สามารถเก็บเกี่ยวประสบการณ์ในการทางานจริงได้ อีกทั้ง สถานประกอบการ จะพิจารณาว่านักศึกษามีความตั้งใจทางานหรือไม่ มีทักษะด้านใดเป็นพิเศษและ เมื่อจบการศึกษาแล้ว หากมาสมัครงานกับสถานประกอบการอาจได้รบั การพิจารณาเปน็ กรณพี ิเศษ (๓.๕) กำรศึกษำดูงำน เรอ่ื ง ปญั หำกำรใช้แรงงำนข้ำมชำติในเขตพ้ืนท่ีชำยแดนไทย – กัมพชู ำ ณ จังหวัดสระแก้วและจังหวัดจันทบุรี ในระหว่างวันศุกร์ที่ ๒๖–วันอาทิตย์ท่ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพอื่ รับทราบข้อมูล สภาพการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ รวมทั้งประเด็นอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องในพื้นท่ีชายแดนของประเทศ โดยในวัน ศุกร์ที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เดินทางศึกษาดูงาน ณ จังหวัดสระแก้ว คณะกรรมาธิการได้เข้าร่วมประชมุ กบั ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง และตัวแทนกลุ่มเกษตรกรชาวไร่อ้อย สมาคม เกษตรกรชายแดนบูรพา ณ ห้องประชุมศาลากลาง จงั หวัดสระแกว้ และในวันเสาร์ท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมาธิการได้ลงพื้นที่ปฏิบัติงานจริงและสังเกตการณ์ สภาพการเข้า – ออก ของแรงงานข้ามชาติชาวกัมพูชา ความแออดั และความเป็นไปได้ในการเปิดจุดผ่านแดน ถาวรเพิ่มขึ้นใหม่ ณ จุดผ่อนปรนบ้านเขาดิน อาเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว รวมทั้งได้เดินทางศึกษา ดูงาน ณ จงั หวดั จนั ทบุรี โดยคณะกรรมาธิการไดเ้ ข้ารว่ มประชุมกับผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ ผู้แทนภาคเอกชน และผู้แทนจากกลุ่มเกษตรกรสวนผลไม้ในจังหวัด ณ ห้องประชุมศาลากลางจังหวัด จันทบุรี รวมท้ังได้ลงพ้ืนท่ีเพ่ือศึกษาสภาพปัญหาคนต่างด้าวสัญชาติแอฟริกาที่มาอาศัยอยู่ในจังหวัดจันทบุรีเป็น จานวนมาก ณ ชมุ ชนพอ่ คา้ พลอยชาวแอฟริกาจังหวดั จนั ทบรุ ี ขอ้ เสนอแนะ ประเด็นการบริหารจัดการแรงงานในจังหวัดจันทบรุ ี ผู้ว่าราชการจังหวัดได้ให้เสนอแนะ ว่า การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้เป็นไปตามแต่ละพ้ืนท่ีอย่างเหมาะสมนั้นไม่ใช่การเพ่ิมอานาจให้แก่ผู้ว่าราชการ จังหวัดแต่ควรเป็นการมอบอานาจในการตัดสินใจให้กับองค์กรหนึ่ง คือ “กรมการจังหวัด” เพ่ือให้เกิดความ รอบคอบในการใช้ดุลยพินิจ โดยการดาเนินการดังกล่าวไม่จาเป็นต้องแก้กฎหมายแต่ให้ดาเนินการเป็น มติคณะรัฐมนตรีว่า หากเกิดกรณีปัญหาที่เป็นปัญหาเฉพาะพื้นที่จังหวัดน้ัน ๆ แล้ว หากคณะกรมการจังหวัด ซ่ึงเป็นผู้แทนจาก ๒๐ กระทรวง มีดุลยพินิจอย่างไรให้รายงานให้หน่วยงานเจ้าของเรื่องทราบ เพ่ือจะ ดาเนินการแกป้ ัญหาใหเ้ หมาะสมไปแต่ละพ้นื ที่

P a g e | ๓๘ สาหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาคนต่างด้าวชาวแอฟริกา จะต้องมีการตรวจสอบอย่างเข้มงวด บริษัทที่มี สถานท่ีตั้งไม่เหมาะสมเป็นห้องเล็ก ๆ เป็นห้องตามชุมชน ซ่ึงมีลักษณะไม่ใช่บริษัทท่ีมีทุนจดทะเบียน ๒ ล้านบาท หรือ ๔ ล้านบาท ต้องมีการตรวจสอบหลักฐานชัดเจนว่า สานักงานมีการดาเนินธุรกิจจริงหรอื ไม่ และการปล่อย บริษัทร้างว่างเปลา่ จะต้องไม่พิจารณาออกใบอนุญาตทางานให้อีก ซึ่งจะเป็นการคัดกรองให้เหลอื เฉพาะบริษทั ที่มีคุณภาพประกอบธุรกิจจริงเท่าน้ัน และควรมีการตรวจสอบพนักงานคนไทยในบริษัทท่ีทางานในตาแหน่ง ต่าง ๆ ของบริษัท ซ่ึงตามระเบียบหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ต้องจ้างคนไทย ๔ คน ต่อการจ้างคนต่างด้าว ๑ คน จะต้องแสดงบัญชีการจ่ายเงินเดือนพนักงาน การส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม การจ้างคนต่างด้าว ทางานในตาแหนง่ ผจู้ ดั การบริษัทจะต้องแสดงหลักฐานการจา่ ยเงินเดือนข้นั ตา่ ๒๕,๐๐๐ บาท ทกุ เดือน

P a g e | ๓๙ (๓.๖) กำรเดินทำงไปร่วมประชุมกับปลัดกระทรวงแรงงำน เรื่อง “กำรพัฒนำฝีมือแรงงำน แห่งชำติ เพ่ือยกระดับขีดควำมสำมำรถกำรแข่งขันของแรงงำนไทย และร่ำงพระรำชบัญญัติ บูรณำกำรกำรพัฒนำกำลังแรงงำนแห่งชำติ พ.ศ. ....” และเร่ือง “กำรปฏิรูประบบฐำนข้อมูล แรง ง ำนแห่ ง ชำติ ภ ำย ใต้ ศูนย์ เทค โนโล ยีแล ะสำรส นเทศ ก ระท รว ง แรงงำน ” วันพฤหัสบดีที่ ๒๑ กรกฎำคม ๒๕๕๙ ณ ห้องประชุมสำนักปลัดกระทรวงแรงงำน กระทรวง แรงงำน คณะอนุ กรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูประบบแรงงานและระบบคุ้มครองผู้บริโภค ในคณะกรรมาธิการขบั เคลอ่ื นการปฏิรปู ประเทศด้านสงั คม สภาขบั เคลือ่ นการปฏิรูปประเทศ ไดเ้ ดนิ ทางไปร่วม ประชุมกับหม่อมหลวง ปุณฑริก สมิติ ปลัดกระทรวงแรงงานและคณะเจ้าหน้าท่ีจากกระทรวงแรงงาน เพื่อรับทราบข้อมูลมาใช้ประกอบการจัดทารายงานข้อเสนอแนะเพื่อการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบแรงงาน ในประเดน็ “การพฒั นาฝมี อื แรงงาน”และ“การปฏิรูประบบฐานข้อมูล” ผลท่ีได้รับ ทาให้คณะอนุกรรมาธิการได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง สามารถนาไปใช้ประกอบการพิจารณาศึกษาเพื่อจัดทารายงานเป็นข้อเสนอแนะเพ่ือการขับเคล่ือน การปฏิรปู ประเทศด้านแรงงาน สรปุ ผลการประชมุ เร่ืองการพฒั นาฝมี ือแรงงาน เนื่องจากกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาคนมีหลายหน่วยงานที่รับผิดชอบ แต่ละหน่วยงานไม่ข้ึนตรง ต่อกัน ดังนั้น การพัฒนาคนจึงดาเนินการไปคนละทิศละทาง แต่รัฐบาลปัจจุบันได้มีคาสั่งให้หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ต้องประสานงานและร่วมมือกัน เพื่อสามารถผลิตนักเรียน นักศึกษาให้ตรงกับความต้องการของ สถานประกอบการซึ่งดาเนินการตามรูปแบบของคณะกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานการฝึกอาชีพ แหง่ ชาติทต่ี ้ังข้ึนตามมตคิ ณะรัฐมนตรี เม่อื มีการเปลีย่ นแปลงคณะรัฐมนตรีนโยบายก็เปล่ียนไป ปจั จุบนั ได้มีการ จัดตั้งตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน แต่ยังคงไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ ท้ังหมด เนื่องจากระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีไม่ใช่กฎหมายไม่มีสภาพบังคับท่ีชัดเจน ดังน้ัน ทิศทางแผน แม่บทของประเทศไทยจะไปทางไหน คือ เมื่อทางกระทรวงศึกษาธิการไม่ปฏิบัติตาม เพราะระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรีไม่สามารถบงั คับใช้ได้อย่างจริงจัง ประกอบกับการเมืองมีความหลายหลากและมีการผลัดเปล่ียนผู้ทา หน้าท่ีกันตลอด โดยการทางานของกรมพัฒนาฝีมืแรงงานต้องอาศัยความร่วมมือกับสถานประกอบการ เพ่ือจัดทาสมรรถนะและความต้องการสายอาชีพของสถานประกอบการขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจะเข้าไปดูแล เพ่ือให้ได้สมรรถนะที่เข้มข้น ซ่ึงได้ใช้กฎหมายเกี่ยวกับการกาหนดค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงานเป็น ตัวกาหนด โดยออกประกาศสาขาท่ีกาหนดอัตราค่าจ้างและสาขาอาชีพที่ต้องอาศัยคุณสมบัติเฉพาะ เพ่ือควบคุม คุณภาพให้กับผู้ใช้บริการไม่ให้ได้รับอันตรายและปลอดภัยกับตัวผู้จัดทาด้วย คนอื่นไม่สามารถทาได้ถ้าไม่มี หนังสืออนุญาตดังกล่าว แต่การทางานที่ผ่านมายังไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควร ดังนั้น จึงมีความจาเป็นท่ี จะต้องตรากฎหมายวา่ ด้วยการบรู ณาการการพัฒนากาลังแรงงานแห่งชาติ พ.ศ. ....” ขึน้ เพื่อขับเคล่อื นคนให้มี ขีดความสามารถ โดยคณะกรรมการบูรณาการการพัฒนากาลังแรงงานแห่งชาติจะเป็นผู้กาหนดแผนแม่บทให้ แต่ละหน่วยงานไปดาเนินการตามหน้าท่ี จากแบบเดิมที่อาศัยระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรี ท่ีมักมีการเปล่ียนแปลง คณะกรรมการไปเรอื่ ย ๆ จึงไมม่ ีผลบังคับทีเ่ ป็นรปู ธรรม สาหรับประเด็นเรื่องการซ้าซ้อนกระทรวงแรงงานสามารถแก้ไขให้ทางานร่วมกันได้ โดยการต่อยอด การทางาน เช่น สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) จะพัฒนาฝีมือด้านใดก็ให้มาปรึกษากับกรมพัฒนา

P a g e | ๔๐ ฝีมือแรงงาน เพ่ือประกาศหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ (License) ก็สามารถทางานร่วมกันได้ เป็นต้น ในการขับเคล่ือนของต่างประเทศจะมีการขับเคล่ือนในด้านอุตสาหกรรม ด้านเศรษฐกิจและคนควบคู่กันไป เพ่ือให้กระจายไปในแต่ละด้านให้ชัดเจน การดาเนินงานท่ีผ่านมาของกระทรวงแรงงานเป็นฝ่ายบุคคลของ ประเทศ ในการทางานร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเป็นงานท่ีรับช่วง ต่อจากด้านการศึกษา แต่สาหรับคนท่ีกาลังศึกษามีความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ซึ่งบางคาถามที่ว่า ได้มีการสะท้อนปัญหาให้ทางกระทรวงศึกษาธิการทราบหรือไม่ว่า นักศึกษาท่ีจบออกมาแล้ว ไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน หรือผู้ประกอบการต้องการอะไร ซ่ึงกระทรวงแรงงานได้ประสาน ความร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธกิ ารมาตลอด โดยจดั มกี ารฝกึ งานในสถานประกอบการโดยตรง รวมทง้ั กาหนด กรอบมาตรฐานฝมี ือแรงงาน เพอ่ื เปน็ การตอบโจทยข์ องตลาดแรงงานท่ีเปน็ สากลและตรงกับความตอ้ งการของ ผู้ประกอบการ โดยการวิเคราะห์สมรรถนะและส่งต่อหลักสูตรการเรียนการสอนในรูปแบบทวิภาคี ไปยัง กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งการฝึกงานเป็นการใช้สถานประกอบการเพ่ิมเติมทักษะคุณภาพชีวิตการศึกษา ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการจะต้องปูพื้นฐานนักศึกษาให้มีความรู้ ความคิด สามารถวิเคราะห์และเชื่อมต่อการพัฒนา ฝมี อื แรงงานได้ เร่ืองการขาดแคลนแรงงาน การพัฒนาฝีมือแรงงานต้องเปลี่ยนทักษะใหม่ ต้องเปลี่ยนแนวการสอน ทักษะฝีมือให้เป็นทักษะอ่ืน ๆ ที่สามารถจะทางานในอุตสาหกรรมแห่งใหม่ได้ เพราะโลกมีการเปล่ียนแปลงเร็ว มาก จะต้องรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและให้ทันกับสถานการณ์ เพ่ือป้องกันไม่ให้แรงงานเหล่านี้หลุดออกนอก ระบบและให้บริษัทใช้คนให้นานที่สุด และสาหรับการกาหนดคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานวิชาชีพสามารถ เทียบโอนได้ ประสบการณ์ในการทางานสามารถนามาเทียบโอนวฒุ ใิ นส่วนของทักษะการทางาน แรงงานทีเ่ ทียบ โอนจะต้องศึกษาในส่วนของภาคการศึกษาที่กระทรวงศึกษากาหนดในเร่ืองการเรียนวิชาภาคพ้ืนฐาน เช่น ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ เป็นต้น โดยให้สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน (ก.พ.) ออกประกาศรบั รอง ในการทางานร่วมกันเปน็ เร่ืองปกติทีห่ นว่ ยงานอ่นื เปน็ คนออกกฎหมายแตอ่ ีกหน่วยงานหน่งึ เป็นฝ่ายปฏบิ ัติ เรอ่ื งการปฏริ ูประบบฐานขอ้ มูล ตามที่นายกรัฐมนตรีได้สั่งการให้กระทรวงแรงงานร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งคณะทางานเรื่อง การยกระดับคุณภาพวิชาชีพ โดยกาหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงแรงงาน เป็นรองประธาน และตั้งคณะทางานย่อยเกี่ยวกับเร่ือง Database of Demand and Supply โดยมีปลัดกระทรวงแรงงานเป็นประธาน กระทรวงศึกษาธิการจะเป็นผู้รับผิดชอบในด้าน Supply และให้กระทรวง แรงงานเป็นผู้รับผิดชอบในด้าน Demand และมีภาคเอกชนมาร่วมด้วย เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เป็นต้น ซ่ึงการทางานของ กระทรวงศึกษาธกิ ารท่ผี ่านมา ไมส่ ามารถหาข้อมลู ไดต้ รงตามเป้าหมาย จงึ ไดม้ อบหมายให้ปลดั กระทรวงแรงงาน ดูแล Database ของภาครัฐ เช่น องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) การไฟฟ้า รัฐวิสาหกิจ ฯลฯ รวมทั้งสิ้น ประมาณ ๖,๘๑๓ หน่วย เป็นต้น และดูแลข้อมูลนักเรียน นักศึกษาในระดับปริญญาตรีขึ้นไป สาหรับ กระทรวงศกึ ษาธิการเปน็ ผู้ดแู ลข้อมลู ด้านความต้องการในระดับ ปวช. และปวส. เพื่อรว่ มมือกันในการวางแผน การศึกษาในอนาคต โดยระบบศนู ย์ข้อมูลแรงงานแหง่ ชาติ มีฐานขอ้ มลู มาจาก ๒ แหล่ง คือ - ฐานขอ้ มลู ภายในท่ีจดั เก็บ ๕ หน่วยงาน ได้แก่ ๑. กรมการจัดหางาน เช่น จานวนคนต่างด้าวคงเหลือทางานอยู่ในประเทศไทย จาแนกรายจังหวัด หรือข้อมูลการอนุญาตทางานของแรงงานต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ที่จดทะเบียน ณ ศูนย์บริการ จดทะเบียนแรงงานต่างด้าวแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ปี ๒๕๕๘ เป็นตน้

P a g e | ๔๑ ๒. กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน เชน่ การสง่ เสริมการพฒั นาฝมี ือแรงงาน เป็นต้น ๓. กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เชน่ ขอ้ มลู การคุม้ ครองแรงงานจากการยื่นคาร้อง การค้มุ ครอง แรงงาน เป็นตน้ ๔. สานักงานประกันสังคม เช่น ผ้ปู ระกันตนตามมาตรา ๓๓, ๓๙ และ ๔๐ เปน็ ตน้ ๕. สานกั งานปลดั กระทรวงแรงงาน เชน่ อตั ราค่าจา้ งขน้ั ตา่ ท่ัวประเทศ ปจั จุบันและย้อนหลัง เป็นต้น - ฐานขอ้ มลู จากหน่วยงานภายนอก ได้แก่ ๑. กระทรวงศึกษาธิการ เช่น จานวนนักเรียน นักศึกษาประเภทอาชีวศึกษาในระบบโรงเรยี น จาแนก ตามสาขาวชิ า ระดับ ปวช. และปวส. เปน็ ต้น ๒. กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เช่น ทะเบยี นผ้พู ิการ ๕๐,๐๖๐ ราย เป็นตน้ ๓. กรมสง่ เสรมิ การเกษตร เชน่ ทะเบยี นเกษตรกร ๗,๒๐๒,๘๒๑ ราย เป็นต้น ๔. สานักงานสถิติแห่งชาติ เช่น ภาวการณ์ทางานของประชากร (ตั้งแต่ ๒๕๔๔ – ถึงปัจจุบัน) รายไตร มาส ณ ไตรมาส ๒/๒๕๕๘ อยใู่ นกาลงั แรงงาน ๓๘.๔๐ ล้านคน ไม่อยู่ในกาลงั แรงงาน ๑๖.๗๙ ลา้ นคน เป็นตน้ ๕. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เช่น การคาดประมาณประชากร ของประเทศไทย เปน็ ตน้ ๖. กรมการปกครอง เช่น การตรวจสอบประวัติบุคคล (กาลงั ดาเนินการ) ๗. สานักงานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) (GISTDA) เชน่ ขอ้ มูลพิกัด ตาบล อาเภอ จงั หวดั ช้นั ขอ้ มูลนา้ ทว่ ม เป็นต้น ๘. สานกั งานรัฐบาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) (EGA) สาหรับรายละเอียดอ่ืน ๆจะใช้วิธีการเช่ือมต่อข้อมูลของแต่ละกระทรวงท่ีเกี่ยวข้องมาเก็บไว้ โดยผู้ใช้ สามารถเปิดเขา้ ไปดูข้อมูลในรายละเอยี ดอ่ืน ๆ ได้ โดยระบบศูนย์ข้อมูลแรงงานแห่งชาติของกระทรวงแรงงาน การจัดเก็บฐานข้อมูลรายบุคคลจากการ ปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในกระทรวงแรงงานเป็นหลัก เช่น เมื่อบุคคลท่ีผ่านการพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือ ฝึกอาชีพจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแล้ว ก็จะส่งข้อมูลต่อไปยังกรมการจัดหางาน แต่การส่งต่อข้อมูลจะต้อง ได้รับอนุญาตจากบุคคลน้ันด้วย เป็นต้น ซ่ึงจะได้ข้อมูลที่ถูกต้อง สาหรับข้อมูลด้านการสารวจจะเป็นการ คาดการณ์แนวโน้มในอนาคต ในการเปิดเข้าดูข้อมูลบุคคลทั่วไปสามารถดูได้ในเชิงสถิติ แต่หากเป็นข้อมูล เฉพาะรายบุคคล บุคคลอ่ืนไม่สามารถเข้าไปดูได้เพราะมีกฎหมายกาหนดไว้ แต่กระทรวงแรงงานจะดาเนินการ เช่ือมต่อข้อมูลของแต่ละหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องมาใช้เฉพาะส่วนที่จาเป็น เพราะปัจจุบันนายกรัฐมนตรีได้สั่งการ ให้หน่วยงานทุกหน่วยงานเชอื่ มต่อข้อมลู ซ่งึ กนั และกนั ไดท้ ุกกจิ กรรม แตต่ อ้ งระวังในเรอ่ื งชน้ั ความลบั ของบุคคล และการเปิดดูข้อมูลต้องใช้เฉพาะเครือข่ายของภาครัฐเท่านั้น จะไม่อนุญาตให้ใช้ผ่านทางอินเตอร์เน็ตท่ัวไปได้ เพราะตอ้ งการรักษาข้อมลู สว่ นบุคคลแต่หากเป็นข้อมูลเฉพาะของตนเองสามารถเปิดดูได้

P a g e | ๔๒ (๓.๗) กำรเดินทำงไปประชุมเพ่ือรับฟังควำมคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทำงกำรดำเนินกำรบังคับใช้ พระรำชกำหนดกำรบริหำรจัดกำรกำรทำงำนของคนตำ่ งดำ้ ว พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ กระทรวงแรงงำน คณะอนุกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูประบบแรงงานและระบบคุ้มครองผู้บริโภคได้เดินทางไปขอเข้าพบ อธิบดีกรมการจัดหางาน เพ่ือร่วมหารือ เก่ียวกับแนวทาง หรือหลักเกณฑ์ในการ ด า เ นิ น ก า ร บั ง คั บ ใ ช้ พ ร ะ ร า ช ก า ห น ด ก า ร บริหารจัดการการทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ กระทรวงแรงงาน เมื่อวัน อังคารที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจ ไดแ้ ลกเปลี่ยนข้อมูล รวมท้ัง พิจารณาหารือถึงผลกระทบ ท่ีอาจเกิดขึ้นจาก การบั งคั บใช้ กฎหมาย ดังกล่าวร่วมกั น แตเ่ นื่องจากอธบิ ดีกรมการจดั หางานตดิ ภารกจิ เร่งดว่ น ต้องเดนิ ทางไปปฏบิ ตั ริ าชการในตา่ งประเทศ จงึ ได้มอบหมายให้ นายพิชิต นิลทองคา ผู้ตรวจราชการกรมการจัดหางาน และนายถิรพัฒน์ เจตินัย นิติกรชานาญการ เป็นผู้แทน ให้การต้อนรับและร่วมประชุม เพ่ือชี้แจงให้ข้อมูลต่อคณะอนุกรรมาธิการ ณ ห้องประชุมกลุ่มงานกฎหมาย ชน้ั ๑๑ สานักงานปลดั กระทรวงแรงงาน กระทรวงแรงงาน ผลที่ได้รับ คณะอนุกรรมาธิการได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับแนวทาง หรือหลักเกณฑ์ในการ ดาเนินการบังคับใช้พระราชกาหนดการบริหารจัดการการทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ จากหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องโดยตรง สามารถนาข้อมูลที่ได้รับไปสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และใช้ ประกอบการพิจารณาศึกษาเพื่อการขบั เคล่ือนการปฏริ ปู ดา้ นแรงงาน สรุปผลกำรประชุม ผู้แทนจากกระทรวงแรงงานได้ให้ข้อมูลความเป็นมาและอธิบายหลักการสาคัญ ของพระราชกาหนดการบรหิ ารจดั การการทางานของคนตา่ งด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ สรปุ สาระสาคญั ไดด้ งั นี้ - ขยายความนิยามของคาว่า “ทางาน” หลักการเดิมคาว่า “ทางาน” มีการตีความที่กว้าง ดังนั้น พระราชกาหนดฉบับน้ี จากัดการตีความให้แคบลงจากเดิม โดยต้องเป็นการทางานเพื่อประกอบเป็นอาชีพ จึงจะเป็นการทางานตามความหมายน้ี นอกจากนี้ให้อานาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ประกาศกาหนด ประเภทงานที่ไม่ถือเป็นการทางานตามกฎหมายนี้ - ใหร้ ัฐมนตรวี า่ การกระทรวงแรงงาน โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการนโยบายการบริหารจดั การการ ทางานของคนตา่ งด้าวออกประกาศกาหนดงานที่หา้ มคนตา่ งดา้ วทา - พระราชกาหนดการบริหารการจัดการการทางานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 เป็นการปรับปรุง กฎหมายเพ่ิมหลักการใหม่ โดยมีเหตุผลให้รัฐบาลจากัดจานวนหรือควบคุมปริมาณ การทางานของคนต่างด้าว เพ่ือป้องกันการแย่งอาชีพจากคนไทย และเพ่ือประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรและความ ปลอดภัยสาธารณะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจประกาศ กาหนดเขตท่พี ักอาศัยสาหรบั ผูอ้ นญุ าตให้ทางานเฉพาะจาพวกใด หรอื ท้องทใ่ี ดก็ได้ - กาหนดหน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของนายจา้ งและผรู้ บั อนุญาตใหน้ าคนตา่ งด้าวมาทางานใหม้ ีความ ชัดเจน เพ่ือให้ความคุ้มครองและมีกลไกการร้องทุกข์แก่คนต่างด้าว ซึ่งได้รับความเสียหายจากการที่นายจ้าง หรือผู้รับอนุญาตให้นาคนต่างด้าวมาทางาน ไม่ปฏิบัติหน้าท่ีและความรับผิดชอบดังกล่าว ซึ่งให้ร้องทุกข์ได้ด้วย ตนเองเพื่อดาเนินการหักหลักประกันที่วางไว้ให้ชดใช้ค่าเสียหาย จากการไม่มีความรับผิดชอบของนายจ้างและผู้รับ อนญุ าตทางาน

P a g e | ๔๓ - กาหนดลักษณะการขออนุญาตทางานของคนต่างด้าว ท่ีจะต้องเข้าเมืองมาโดยถูกต้องตามกฎหมาย กล่าวคือ ก่อนท่ีจะเข้ามาทางานในประเทศ ต้องไปติดต่อขอวีซ่า Non–immigrant visa B ณ สถานทูตไทย ประจาประเทศนั้น และคนต่างด้าวผู้นั้น จะต้องมีหนังสือเดินทางหรือเอกสารท่ีใช้แทนหนังสือเดินทางอัน ถูกตอ้ งและสมบูรณ์ อกี ทัง้ จะต้องมกี ารขออนญุ าตเข้าเมืองและได้รบั ความยนิ ยอมจากรัฐบาลไทยในการให้เข้า ประเทศ กล่าวคือ หนังสือเดินทางจะต้องได้รับการตรวจลงตราจากองค์กรที่ทาหน้าท่ี และถ้าไม่เป็นงานที่หา้ ม ไว้ก็สามารถขออนุญาตทางานตามพระราชกาหนดฉบับนี้ได้ แต่มีข้อยกเว้นท่ีไม่ต้องขอใบอนุญาตทางาน ในกรณีท่ีเข้าเมืองมาเพ่ือทางานอันจาเป็นและเร่งด่วน ซ่ึงมีระยะเวลาการทางานไม่เกินสิบห้าวัน เพียงแจ้ง นายทะเบียนให้รับทราบสามารถทางานได้เลย ทั้งน้ี หลักการเดิมงานจาเป็นและเร่งด่วนเป็นดุลพินิจ ของเจ้าหน้าท่ีในแต่ละท้องที่น้ัน แต่ตามพระราชกาหนดน้ีงานจาเป็นและเร่งด่วนจะต้องเป็นไปตามที่อธิบดี ประกาศกาหนด - กรณีแรงงานต่างด้าวที่เข้าเมืองมาโดยได้รับสิทธิพิเศษตามกฎหมายอื่นท่ีเก่ียวข้อง เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ซ่ึงหลักเกณฑ์ วิธีการ เข้าเมืองจะต้องเป็นไปตามกฎหมาย เฉพาะ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบดังกล่าวมีหน้าท่ีเพียงแจ้งให้นายทะเบียนทราบเท่าน้ัน และให้นายทะเบียน ออกใบอนญุ าตทางานใหแ้ กค่ นต่างดา้ วดงั กล่าวภายในระยะเวลาท่ีกาหนด เป็นต้น - กรณีแรงงานต่างด้าวท่ีหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติ เมียนมา ลาว และกัมพูชา ท่ีคณะรัฐมนตรีได้มีมติ ผ่อนผันให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการช่ัวคราว ตามมาตรา 17 ของพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 สามารถขออนุญาตทางานตามประเภทท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนด เช่น งานกรรมกร งานรับใช้ในบ้าน ผู้ประสานงาน ด้านภาษาลาว กมั พูชา และเมยี นมา เปน็ ต้น - กรณีคนต่างด้าวซ่ึงเป็นคนสัญชาติของ ประเทศที่มีชายแดนติดกับประเทศไทย หากไดเ้ ข้ามา ในราชอาณาจักรโดยมีบัตรผ่านแดนหรือเอกสาร ราชการที่ประเทศต้นทางออกให้ คนต่างด้าว สามารถใช้ในการเข้ามาในราชอาณาจักรและอาจ ไ ด้ รั บ อ นุ ญ า ต จ า ก น า ย ท ะ เ บี ย น ใ ห้ ท า ง า น ใ น ราชอาณาจักรเป็นการช่ัวคราว ในช่วงระยะเวลา หรือตามฤดูกาลและในท้องที่ท่ีกาหนดไว้ ซึ่งก่อน หน้านี้เคยมีปัญหาเรื่องเอกสารในการข้ามแดน แต่พระราชกาหนดดังกล่าว ได้กาหนดให้บัตรผ่านแด นหรือ เอกสารราชการที่ประเทศต้นทางออกให้คนต่างด้าวถือเป็นเอกสารท่ีใช้ในการขออนุญาตทางานสาหรับคนต่าง ดา้ ว โดยคานึงถงึ ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศและเร่อื งความมน่ั คงเปน็ หลัก - กรณีนายจ้างท่ีมีกิจการหลายประเภท สามารถใช้แรงงานต่างด้าวได้ โดยมีข้อจากัดให้อยู่ในพื้นที่ จงั หวัดเดียวกัน และนายจา้ งตอ้ งเป็นคนเดียวกัน - ได้มีการเพิ่มเติมบทกาหนดโทษเฉพาะของนายจ้าง เช่น ผู้ใดรับคนต่างด้าวที่ไม่มีใบอนุญาต เข้าทางาน หรือรับคนต่างด้าวที่มีใบอนุญาตทางาน แต่ให้ทางานท่ีห้ามคนต่างด้าวทา ต้องระวางโทษปรับ ต้ังแต่ 400,000 – 800,000 บาท ต่อคนต่างด้าวท่ีจ้าง 1 คน เป็นต้น ซ่ึงในการกาหนดโทษนายจ้าง ในพระราชกาหนดฉบับน้ี เป็นการปรับบทกาหนดโทษเพ่ือมิให้เกิดความเลื่อมล้าในการบังคับใช้กฎหมาย และเพ่ือให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๖๐ เก่ยี วกบั การเพม่ิ โทษสาหรับ ความผิดเกี่ยวกับการใช้แรงงานเด็ก พระราชกาหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ เกี่ยวกับการใช้แรงงานแปรรูป สตั วน์ า้ แบบผิดกฎหมาย และพระราชบัญญัติปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษย์ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

P a g e | ๔๔ ภำรกิจที่ ๔ : กำรพิจำรณำข้อเสนอแนะเพ่อื กำรปฏริ ปู เรือ่ งรอ้ งเรียน และเรื่องอืน่ ๆ ตำมที่ได้รบั มอบหมำย รวม ๘ กรณี (๔.๑) เสนอขอรับกำรยกระดับฐำนะทำงกำรงำนในหน้ำที่รำชกำร เสนอโดยลูกจ้ำงประจำ หน่วยงำนรำชกำรทว่ั ประเทศไทย ประเด็นที่มำ ด้วยมีหนังสือส่งทางไปรษณีย์ในลักษณะบัตรสนเท่ห์ ไม่ระบุชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ ตดิ ตอ่ กลบั ทชี่ ัดเจน โดยใช้ช่อื ว่า ลกู จ้างประจาหน่วยงานราชการทว่ั ประเทศไทย เรื่อง เสนอขอรับการยกระดับ ฐานะทางการงานในหน้าท่ีราชการ ลงวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ มีสาเนาเรียนถึงบุคคลสาคัญในราชการหลายทา่ น อาทิ นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ประธาน คณะกรรมาธิการปฏิรูปการแรงงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นต้น โดยมีข้อเสนอขอให้พิจารณาสนับสนุนการปรับยกระดับฐานะของลูกจ้างประจาส่วนราชการให้เป็น ข้าราชการ เพื่อให้ได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการ ต่าง ๆ เช่นเดียวกับผู้เป็นข้าราชการ เนื่องจากสภาพ ความเป็นลูกจ้างประจา มีความเหล่ือมล้าในเรื่อง ค่าจ้างหรือค่าตอบแทนระหว่างลูกจ้างประจากับ พนักงานราชการท่มี าแทนท่ี ซึ่งมีหน้าที่ราชการคลา้ ยกัน ตลอดจนสิทธิประโยชน์ในด้านค่ารักษาพยาบาลภายหลัง เกษี ยณอายุ ราชการ ก็ ไ ม่ ไ ด้ รั บ เ พ ร า ะ ร ะ เ บี ย บ ข อ ง ราชการกาหนดกรอบไว้ ผลกำรพิจำรณำ เห็นว่าเรื่องร้องเรียนดังกล่าว เก่ียวข้องกับสิทธิประโยชน์ในประเด็นข้อกฎหมาย ซึ่งหน่วยงานหลักท่ีกาหนดกรอบและเป็นผู้รับผิดชอบ คือ สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สานักงาน กพ.) จึงได้จัดทาหนังสือเป็นข้อเสนอแนะในเรื่อง รอ้ งเรียนดังกลา่ วใหก้ ับหน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบหลกั เพอ่ื พิจารณาหาแนวทางในการแก้ไขปญั หาตอ่ ไป (๔.๒) ขอให้พิจำรณำแก้ไขปรับปรุงร่ำงพระรำชบญั ญัติบูรณำกำรกำรพัฒนำกำลังคนและฝมี อื แรงงำนแห่งชำติ พ.ศ. .... เสนอโดยนำยกรฑี ำ ประสพโชค อธิบดีกรมพฒั นำฝมี อื แรงงำน ประเด็นที่มำ ด้วยคณะอนุกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏริ ูประบบแรงงานและระบบคุ้มครองผู้บรโิ ภค ได้เชิญอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงานมาร่วมประชุม เมื่อวันพุธที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๙ เพื่อพิจารณาศึกษาเรื่อง แนวทางการขับเคลอื่ นเพื่อยกระดับฝมี ือแรงงาน ซ่ึงคณะอนุกรรมาธกิ ารได้ขอให้กรมพัฒนาฝมี ือแรงงานจัดทา คาชี้แจงประกอบเหตุผลในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติบูรณาการการพัฒนากาลังคนและฝีมือแรงงาน แห่งชาติ พ.ศ. .... ซ่ึงอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้มีหนังสือพร้อมคาชี้แจงประกอบเหตุผลของกรมพัฒนา ฝีมือแรงงาน เพื่อขอให้แก้ไขปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติบูรณาการการพัฒนากาลังคนและฝีมือแรงงาน แหง่ ชาติ พ.ศ. .... มายังคณะอนุกรรมาธิการเพือ่ ประกอบการพจิ ารณาต่อไป

P a g e | ๔๕ ผลกำรพิจำรณำ เห็นควรให้รับข้อเสนอดังกล่าวไว้ใช้ประกอบการพิจารณาศึกษาและจัดทารายงาน เร่ือง การพัฒนาฝีมือแรงงานแห่งชาติ เพ่ือยกระดับขีดความสามารถการแข่งขันของแรงงานไทย และรา่ งพระราชบัญญัติบรู ณาการการพัฒนากาลงั แรงงานแห่งชาติ พ.ศ. .... (๔.๓) ขอควำมช่วยเหลือถูกเลิกจ้ำงไม่เป็นธรรมและขอให้ตรวจสอบกำรกระทำของนำยจ้ำง เสนอโดยนำยสมชำย ศรีเกิด ประเด็นที่มำ ด้วยนายสมชาย ศรีเกิด นายสุเทพ อมรา นายสันติ เกียรติวงศ์ และนายนฤวัต พันหลวง พนักงานขับรถ หัวลากบรรทุกรับ – ส่งสินค้าด้วยรถตู้คอนเทนเนอร์ ของบรษิ ัท ฟินมอร์ จากัด ได้มีหนังสอื ร้องเรียน มายังคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูประบบแรงงาน และระบบคุ้มครองผู้บริโภค เพ่ือขอความ ช่วยเหลอื กรณีถกู เลิกจ้างไมเ่ ปน็ ธรรมและขอให้ ตรวจสอบการกระทาของนายจา้ ง ผลกำรพิจำรณำ ทาหนังสือเรียนอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เพื่อพิจารณาดาเนินการ ช่วยเหลอื โดยปัจจบุ ันไดม้ กี ารเจรจาไกลเ่ กลี่ยและยตุ ิข้อพิพาทแรงงานแลว้ (๔.๔) ขอร้องเรียนกรณีกำรละเมิดสิทธิแรงงำนข้ันรุนแรงในบริษัท ซันโคโกเซ เทคโนโลยี ประเทศ ไทย จำกัด ซึ่งเป็นผลมำจำกกำรที่นำยจ้ำงใช้สิทธิปิดงำนตำมพระรำชบัญญัติแรงงำนสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ เสนอโดยนำยอมรเดช ศรเี มอื ง ประธำนสหภำพแรงงำนซันโคโกเซ ประเทศไทย ประเด็นท่ีมำ ด้วยนายอมรเดช ศรีเมือง ประธานสหภาพแรงงานซันโคโกเซ ประเทศไทย ต้ังอยู่เลขที่ ๒๔๙ หมู่ ๒ ตาบลหนองไร่ อาเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ได้มายื่นเรื่องร้องเรียนต่อคณะอนุ กรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบแรงงานและ ระบบคุ้มครองผู้บริโภค เมื่อวันท่ี ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ณ รัฐสภา ร้องเรียนว่า บริษัท ซันโคโกเซ เทคโนโลยี ประเทศไทย จากัด ตง้ั อยทู่ น่ี คิ มอุตสาหกรรม อิสเทิร์นซีบอร์ด จังหวัดระยอง ได้มีคาสั่งปิดงานเฉพาะผู้ที่เป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน จานวน ๖๖๓ คน ไม่ใหเ้ ขา้ ทางานในโรงงานและงดจา่ ยค่าจา้ ง ทาใหไ้ ดร้ บั ความเดือดร้อนต่อการดารงชีพ สหภาพฯได้มีการชุมนุมหน้าบริษัทและมีการนัดเจรจากับนายจ้างกว่า ๒๓ ครั้ง ตั้งแต่เดือนกันยายน ๒๕๕๘ จนถึงเดือนมกราคม ๒๕๕๙ ก็ยังหาข้อยุติไม่ได้ สหภาพฯ จึงเดินทางมาชุมนุมที่กระทรวงแรงงาน เม่ือวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๙ และถูกกดดันจากเจ้าหน้าที่ตารวจจนต้องยุติการชุมนุมเพ่ือความปลอดภัย ของคนงาน จนถึงบดั นย้ี งั ไม่ไดร้ ับการแกไ้ ขปัญหาจากกระทรวงแรงงานเลย ผลกำรพิจำรณำ คณะอนุกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูประบบแรงงานและระบบคุ้มครองผู้บริโภค ได้เชิญตัวแทนฝ่ายลูกจ้างและฝ่ายนายจ้างมาร่วมหารือกัน เพื่อให้เกิดการเจรจาไกล่เกล่ียและระงับข้อพิพาท แรงงาน

P a g e | ๔๖ (๔.๕) เร่ืองร้องเรียน ขอความเป็นธรรมกรณีลูกจ้างเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานถูกละเมิดสิทธิ แรงงาน และนายจ้างใชส้ ิทธปิ ิดงานตามพระราชบัญญัตแิ รงงานสมั พันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ ประเด็นท่ีมา ด้วยนายปรีชา สุขกุล ประธานสหภาพแรงงานไมย์เออร์ อลูมิเนียม (MEYER ALUMINIAM WORDER’S UNION) ได้มายื่นข้อเรียกร้องต่อประธานกรรมาธกิ ารขับเคลื่อนการปฏิรปู ประเทศ ด้านสังคมเร่ือง ขอให้เป็นผู้หารือกับกระทรวงแรงงาน เพ่ือยุติปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการปิดงาน ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ ของบริษัทไมย์เออร์ อลูมิเนียม (ประเทศไทย) จังหวัดชลบุรี โดยให้ข้อมูลว่า นายจ้างได้ใช้สิทธิปิดงานตามกฎหมาย โดยไม่มีกาหนดและเลือกกระทาเฉพาะลูกจ้างท่ีเป็น สมาชิกสหภาพแรงงานดังกล่าว แม้สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดได้เข้ามาช่วยเจรจาไกล่เกล่ียแล้ว แต่ยังตกลงกันไม่ได้ ทาให้ลูกจ้างไม่มีงานทาชั่วคราวและไม่ได้รับค่าจ้างจนได้รับความเดือดร้อน ซึ่งประธาน กรรมาธิการได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาว่าเรื่องร้องเรียนดังกล่าวอยู่ในอานาจหน้าท่ี ของคณะกรรมาธิการหรือไม่ และจากการตรวจสอบ อ า น า จ ห น้ า ท่ี ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม า ธิ ก า ร ขั บเ ค ล่ื อน การปฏริ ูปประเทศด้านสังคม สภาขบั เคล่ือนการปฏิรูป ประเทศ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ และที่แก้ไข เพ่ิมเติม และข้อบังคับสภาขับเคลื่อนการปฏิรูป ประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๘ เห็นว่า เรื่องร้องเรียนดังกล่าว ไม่อยู่ในกรอบอานาจโดยตรงของคณะกรรมาธิการ ทจ่ี ะสามารถดาเนินการได้ ผลการพิจารณา คณะอนุกรรมาธิการได้พิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อสร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้าในสังคม ตามหลักการปฏิรูปและเพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนให้กับผู้ได้รับผลกระทบ ตามหลักมนุษยธรรม จึงเห็นควรเสนอให้คณะกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศด้านสังคมทาหนังสือ เรียนอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาหน่วยงานที่มีอานาจ หนา้ ทโี่ ดยตรงตามกฎหมาย เพือ่ นาเสนอเร่อื งรอ้ งเรียนดังกล่าวและขอให้พจิ ารณาให้ความชว่ ยเหลอื ต่อไป (๔.๖) ขอแก้ไขปัญหำกำรขำดแคลนแรงงำนต่ำงด้ำว (ภำคกำรเกษตร) เสนอโดย นำยผดุง เล็กจินดำ นำยกสมำคมผู้ประกอบกำรสวนกล้วยไม้ไทย ผ่ำนนำงสำววลัยรัตน์ ศรีอรุณ รองประธำนสภำขบั เคล่ือนกำรปฏริ ปู ประเทศ คนท่ีสอง ประเด็นท่ีมำ ด้วยศูนย์สื่อสารสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ได้จัดส่งข้อเสนอแนะของประชาชน เกี่ยวกับการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม เร่ือง ขอแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ต่างด้าว (ภาคการเกษตร) ที่เสนอโดย นายผดุง เล็กจินดา นายกสมาคมผู้ประกอบการสวนกล้วยไม้ไทย ตามหนังสือที่ สผ (สปท) ๐๐๐๑/๙๑๙๗ ลงวนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๕๘ เพอ่ื ให้คณะกรรมาธิการปฏิรปู ประเทศ ดา้ นสังคมพจิ ารณาดาเนินการ โดยสรุปสาระสาคัญได้ว่า ปัจจุบันคนไทยไม่นิยมทางานเป็นลูกจ้างในอาชีพภาคการเกษตรมากนัก จึงเป็นสาเหตุให้มีการจ้างแรงงานต่างด้าวในงานดังกล่าวมากข้ึน แต่ในปัจจุบันการใช้แรงงานต่างด้าวมีปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆ อาทิ ปัญหาการขาดแคลนแรงงานต่างด้าว เน่ืองจากแรงงานต่างด้าวท่ีข้ึนทะเบียน และทางานในภาคการเกษตร ย้ายการทางานไปสู่ภาคอุตสาหกรรม หรือภาคอ่ืนและไปประกอบอาชีพอื่น ๆ โดยฝ่าฝืนพระราชกฤษฎีกากาหนดในอาชีพและวิชาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทา พ.ศ. ๒๕๒๒ รวมทั้ง ปัญหา

P a g e | ๔๗ การออกหนังสือเดินทางและการพิสูจน์สัญชาติของแรงงานต่างด้าวท่ีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายมีขั้นตอนที่ ซับซ้อน ยุ่งยาก และใช้เวลานาน ดังน้ัน สมาคมผู้ประกอบการสวนกล้วยไม้ไทย จึงได้มีการระดมความคิดเหน็ จากเกษตรกรท่ีปลูกกล้วยไม้และผู้ประกอบการภาคการเกษตรอื่น ๆ เพ่ือนาเสนอแนวทางในการดาเนินการ แก้ไขปญั หาอย่างเร่งด่วน ผลกำรพิจำรณำ เห็นว่าข้อมูลท่ีได้รับ เป็นประโยชน์ในการจัดทารายงานเกี่ยวกับการ บริหารจัดการแรงงานข้ามชาติ จึงได้ประสานไป ยั ง ผู้ เ ส น อ เ ร่ื อ ง เ พื่ อ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ไว้ใช้ ประกอบการพิจารณาศึกษาและจดั ทารายงาน เรื่อง “การจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติ ณ จุดผ่านแดน ถาวร เพอ่ื จดั ระเบียบแรงงานข้ามชาติเข้าสู่ระบบ” (๔.๗) ขอร้องเรียนให้แก้ไขปัญหำกำรใช้แรงงำนต่ำงด้ำวในจังหวัดสระแก้วและจังหวัด ปรำจีนบรุ ี ประเด็นท่ีมำ ด้วยนายมนตรี อาพล นายกสมาคมเกษตรกรชายแดนบูรพา สถาบันชาวไร่อ้อยตาม พระราชบัญญัติและน้าตาลทราย พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้มาย่ืนเรื่องร้องเรียนต่อคณะกรรมาธิการขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศด้านสังคม สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ เมื่อวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ อาคารรัฐสภา เพ่ือให้แก้ไขปัญหาการใช้แรงงานต่างด้าวให้แก่เกษตรกรชาวไร่อ้อยในจังหวัดสระแก้วและจังหวัดปราจีนบุรี เนื่องจากสภาพการใช้แรงงานในจังหวัดสระแก้วจะใช้แรงงานต่างด้าวในการเก็บผลผลิตทางการเกษตร โดยการแสตมป์ Border pass ผ่านเข้า – ออก เพื่อเข้ามาทางานในเขตจังหวัดสระแก้ว แต่เนื่องจากในจังหวัด สระแก้วมีด่านตรวจคนเข้าเมืองถาวรเพียงด่านเดียวท่ีตาบลคลองลึก อาเภออรัญประเทศ จึงทาให้มีความล่าช้า ในการเดินทางเข้ามาทางานในประเทศไทยเนื่องจากมีผู้ใช้บริการจานวนมาก อีกทั้งในเขตจังหวัดต่อเนื่อง คือ จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีสมาชิกของสมาคมเกษตรกรชายแดนบูรพา และมีการปลูกอ้อย อยู่เป็นจานวนมากมีปัญหาขาดแคลนแรงงานเช่นกัน หากไม่มีแรงงานต่างด้าวเพื่อเก็บเก่ียวผลผลติ จะก่อให้เกดิ ความเสียหายเปน็ อยา่ งมาก ผลกำรพิจำรณำ เห็นควรให้ความช่วยเหลือกลุ่มเกษตรกรชาวไร่อ้อยกลุ่มดังกล่าวอย่างเร่งด่วน จึงได้มีการลงพ้ืนท่ีเพ่ือศึกษาดูงานในจังหวัดสระแก้วและจังหวัดจันทบุรี เพื่อรับทราบข้อเท็จจริงของ สภาพปัญหาและหารอื ร่วมกบั ตัวแทนผูร้ อ้ งเรียนเพอ่ื หาแนวทางในการแกไ้ ขปญั หาต่อไป

P a g e | ๔๘ (๔.๘) เร่ืองร้องเรียน กำรแก้ไขกฎหมำยและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดส่งแรงงำนไทย ไปตำ่ งประเทศ ประเดน็ ท่ีมำ ด้วยคณะกรรมาธกิ ารได้รบั หนังสือรอ้ งเรียนจากนายสรุ ชยั หวังวัฒนานุกูล นายกสมาคม การจัดหางานไทยไป เรื่อง การแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบท่ีเก่ียวข้องกับการจัดส่งแรงงานไทย ไปต่างประเทศ เม่ือวันท่ี ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ โดยขอให้คณะกรรมาธิการช่วยเหลือผลักดันแก้ไขกฎหมาย และระเบยี บต่าง ๆ ดังนี้ ๑) ขอให้ผลักดันให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ ให้สอดคล้องกบั สถานการณใ์ นปจั จบุ ัน ๒) ขอให้ผลักดันให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคและไม่เอื้ออานวย ต่อการจัดส่ง ซ่ึงสามารถดาเนินการได้อย่างรวดเร็ว ได้แก่ ระเบียบเกี่ยวกับการโฆษณา พ.ศ. ๒๕๔๕ และระเบียบเกี่ยวกับการกาหนดคา่ บริการและค่าใชจ้ ่ายท่จี ะเรียกเก็บจากคนหางาน พ.ศ. ๒๕๔๗ ผลกำรพิจำรณำ ในการประชุมคณะกรรมาธิการ คร้ังท่ี ๗๕ เมื่อวันพุธท่ี ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๐ คณะกรรมาธิการได้เชิญผู้แทนจากกระทรวงแรงงานมารว่ มประชุมเพ่ือหารือเร่ืองดังกล่าว ไดแ้ ก่ นางอิงอร ชว่ ยจวน ผู้ตรวจราชการกรม และนายภัทรวุฒิ เภอแสละ ผู้อานวยการสานักบริหารแรงงานต่างด้าว และได้ข้อมูลว่า ทางกรมการจัดหางานได้รับทราบและให้ความสนใจกับเรื่องดังกล่าวเป็นอย่างดี ซ่ึงขณะนี้อยู่ในระหว่าง การพิจารณายกร่างแก้ไขกฎหมายว่าด้วยการจัดหางานและคุ้มครองคนหางานและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงต้องใช้ระยะเวลาในการดาเนินการตามข้ันตอน ก่อนเสนอต่อกระทรวงแรงงานพิจารณาดาเนินการต่อไป โดยคณะกรรมาธกิ ารไดม้ ีขอ้ เสนอใหเ้ ร่งดาเนนิ การดังกลา่ วแลว้

P a g e | ๔๙ ภำรกิจที่ ๕ : ภำรกจิ ท่ีไม่สำมำรถขบั เคลอื่ นตอ่ จำกงำนของสภำปฏิรูปแหง่ ชำติได้สำเรจ็ เรื่อง วำระกำรปฏริ ปู ท่ี ๓๗ : ปฏริ ูปกำรแรงงำน เร่อื ง กำรจดั ตั้งธนำคำรแรงงำน การจัดต้ังธนาคารแรงงาน แม้เป็นภารกิจท่ียังไม่สามารถขับเคลอื่ นต่อจากงานของสภาปฏริ ูปแห่งชาติ ได้สาเร็จ ท้ังๆท่ีแนวคิดการจัดต้ังธนาคารแรงงานมีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็นการสง่ เสริมการออมและพัฒนาตนเอง ของผใู้ ช้แรงงานนัน้ มมี าเน่นิ นานพอสมควร นบั ต้งั แต่ข้อเสนอและข้อเรียกรอ้ งของคณะกรรมาธิการแรงงานและ สวัสดิการสังคม วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร และองค์การแรงงานแห่งประเทศไทย ตั้งแต่พุทธศักราช 2548 และหลังจากน้ัน สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ได้จ้างบริษัทท่ีปรึกษา เพ่ือศึกษาความเหมาะสม และความเป็นไปได้ในการจัดต้ังธนาคารแรงงาน ซ่ึงผลการเสนอได้นาไปถึงข้อสรุปท่ีว่า “การจัดต้ังธนาคาร แรงงานน้ันควรจะเป็นนโยบายระดับชาติ รัฐบาลควรจะจัดงบประมาณดําเนินการ ไม่ควรใช้เงินกองทุน ประกันสังคมเนอ่ื งจากต้นทนุ สูง” หลังจากข้อสรุปครั้งน้ันการผลักดันไปสู่การปฏิบัติก็ยังไม่เกิดข้ึน จนกระท่ังในช่วงของการทางาน ในสภาปฏิรูปแห่งชาติ ได้มีการนาเสนอ เร่ือง ข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปตามมาตรา 31 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 (เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติธนาคารแรงงาน พ.ศ. ....) ต่อคณะรัฐมนตรี โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันท่ี 30 กันยายน 2558 รับทราบข้อเสนอแนะและได้ให้ กระทรวงการคลังเป็นหน่วยงานหลักรับเร่ืองน้ีไปพิจารณาร่วมกับกระทรวงแรงงา นเพ่ือศึกษาแนวทางและ ความเหมาะสมของข้อเสนอดังกลา่ ว หลังจากน้ันกระทรวงการคลังและกระทรวงแรงงานได้หารือร่วมกันและนามาซึ่งข้อสรุปว่า “ไม่มีความ จําเป็นที่จะต้องจัดตั้งธนาคารแรงงาน เพ่ือวัตถุประสงค์ตามแนวความคิดดังกล่าว” โดยกระทรวงการคลงั ได้ให้ เหตุผล สรุปสาระสาคญั ได้ ดังน้ี ๑. การกาหนดให้มีสถาบันการเงินใหม่ในรูปแบบธนาคารน้ัน อาจมีความซ้าซ้อนกับโครงการหรือ บริการตา่ ง ๆ ท่ีมีการดาเนนิ การ หรือให้บรกิ ารไว้อยู่แล้ว ท้งั ทเี่ ปน็ ของหนว่ ยงานภาครัฐและภาคเอกชน ดงั นี้ ๑.๑ การสนับสนนุ การเข้าถงึ แหลง่ เงินทุนแกภ่ าคแรงงาน (๑) ธนาคารออมสิน : มีหน้าท่ีในการสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนแก่ประชาชนรายย่อย ซึ่งรวมถึง ผู้ใช้แรงงาน ท้ังนี้ การให้บริการจะรวมถึงการส่งเสริมการออมและการสร้างวินัยทางการเงินให้แก่ลูกค้าของ ธนาคารด้วย (๒) ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) : มีหน้าที่ในการให้บริการทางการเงิน แก่เกษตรกร ท้ังน้ี การให้บริการจะรวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร และการเป็นสถาบันการเงิน เพอ่ื การพฒั นาชนบท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook