- ๙๘ - ๒) การทาธุรกิจกับตนเอง (Self - dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) หมายถึงสถานการณ์ท่ีผู้ ดารงตาแหน่งสาธารณะ มีส่วนได้เสียในสัญญาท่ีทากับหน่วยงานที่ตนสังกัด ตัวอย่างเช่น การใช้ตาแหน่ง หน้าที่ทาให้หน่วยงานทาสัญญา ซ้ือสินค้าจากบริษัทของตนเอง หรือจ้างบริษัทของตนเป็นท่ีปรึกษา หรือซื้อ ท่ีดินของตนเองในการจัดสร้างสานักงาน สถานการณ์เช่นนี้เกิดบทบาทท่ีขัดแย้ง เช่น เป็นทั้งผู้ซ้ือและผู้ขาย ในเวลาเดียวกัน ๓) การทางานหลังจากออกจากตาแหน่งหน้าที่สาธารณะหรือหลังเกษียณ (Post -employment) หมายถึงการท่ีบุคคลลาออกจากหน่วยงานของรัฐ และไปทางานในบริษัทเอกชนที่ดาเนินธุรกิจประเภท เดียวกัน เช่น ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ขององค์การอาหารและยา ลาออกจากงานราชการและไปทางานใน บริษัทผลิตหรือขายยา หรือผู้บริหารกระทรวงคมนาคมหลังเกษียณออกไปทางานเป็นผู้บริหารของบริษัท ธรุ กิจสอ่ื สาร ๔) การทางานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ในรูปแบบน้ีมีได้หลายลักษณะ เช่น ผู้ดารงตาแหน่งสาธารณะต้ังบริษัทดาเนินธุรกิจ ท่ีเป็นการแข่งขันกับหน่วยงานหรือองค์การสาธารณะท่ีตน สังกัด หรือการรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการ โดยอาศัยตาแหน่งในราชการสร้างความน่าเช่ือถือว่าโครงการ ของผู้ว่าจ้างจะไม่มีปัญหาติดขัดในการพิจารณาจากหน่วยงานท่ีที่ปรึกษาสังกัดอยู่ หรือในกรณีที่เป็นผู้ ตรวจสอบบัญชีของกรมสรรพากร ก็รับงานพิเศษเป็นท่ีปรึกษาหรือเป็นผู้ทาบัญชีให้กับบริษัทที่ต้องถูก ตรวจสอบ ๕) การรู้ข้อมูลภายใน (Inside information) หมายถึง สถานการณ์ท่ีผู้ดารงตาแหน่งสาธารณะใช้ ประโยชน์จากการรู้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของตนเอง เช่น ทราบว่ามีการตัดถนนผ่านบริเวณใด ก็จะเข้า ไปซื้อที่ดินนั้นในนามของภรรยา หรือทราบว่าจะมีการซื้อขายที่ดินเพื่อทาโครงการของรัฐก็จะเข้าไปซ้ือท่ีดิน น้ันเพ่อื เกง็ กาไรและขายให้กับรฐั ในราคาที่สงู ข้ึน ๖) การใช้ทรัพย์สินของราชการเพื่อประโยชน์ธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s property for private advantage)เช่น การนาเคร่ืองใช้สานักงานต่างๆ กลับไปใช้ท่ีบ้าน การนารถยนต์ราชการไปใช้ใน งานสว่ นตัว ๗) การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตั้งเพอ่ื ประโยชน์ทางการเมอื ง (Pork - barreling)เช่น การที่ รฐั มนตรีอนุมัตโิ ครงการไปลงพ้นื ท่หี รือบ้านเกดิ ของตนเอง หรอื การใชง้ บประมาณสาธารณะเพ่อื หาเสยี ง เม่ือพิจารณา “ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเก่ียวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตน กบั ประโยชน์สว่ นรวม พ.ศ. ....” ทาให้มีรปู แบบเพิ่มเติมจาก ทก่ี ล่าวมาแล้วข้างตน้ อกี 2 กรณี คือ ๘) การใช้ตาแหน่งหน้าท่ีแสวงหาประโยชน์แก่เครือญาติหรือพวกพ้อง (Nepotism) หรืออาจจะ เรียกว่าระบบอุปถัมภ์พิเศษ เช่น การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ใช้อิทธิพลหรือใช้อานาจหน้าท่ีทาให้หน่วยงานของ ตนเขา้ ทาสญั ญากบั บรษิ ทั ของพ่ีนอ้ งของตน ๙) การใช้อิทธิพลเข้าไปมีผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐอ่ืน (influence) เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง เช่น เจ้าหน้าท่ีของรัฐใช้ตาแหน่งหน้าท่ีข่มขู่ผู้ใต้บังคับ บัญชาให้ หยุดทาการตรวจสอบบริษทั ของเครอื ญาติของตน
- ๙๙ - ดังนั้น จงึ สามารถสรุปรูปแบบของการกระทาท่เี ข้าข่ายเป็นการขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม (Conflict of Interest) เป็น 9 รปู แบบ ดงั นี้ การรบั ผลประโยชนต์ า่ งๆ (Accepting benefits) การทาธุรกิจกับตนเอง (Self – dealing) หรือเปน็ คู่สัญญา (Contracts) การทางานหลังจากออกจากตาแหนง่ หน้าที่สาธารณะ หรือหลงั เกษยี ณ (Post – employment) การทางานพเิ ศษ (Outside employment or moonlighting) การรู้ขอ้ มลู ภายใน (Inside information) การใช้ทรัพยส์ นิ ของราชการเพื่อประโยชน์ธุรกจิ สว่ นตวั (Using your employer’s property for private advantage) การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตงั้ เพ่ือประโยชน์ทางการเมอื ง (Pork - barreling) การใชต้ าแหน่งหนา้ ทแ่ี สวงหาประโยชนแ์ กเ่ ครอื ญาติหรือพวกพอ้ ง (Nepotism) การใช้อิทธิพลเขา้ ไปมีผลตอ่ การตดั สินใจของเจ้าหน้าทรี่ ัฐหรือหน่วยงาน ของรัฐอื่น (influence)
- ๑๐๐ - ๓. แก้ “ทุจรติ ” ต้องคดิ แยกแยะปรบั วธิ คี ดิ พฤตกิ รรมเปลีย่ น สงั คมเปล่ยี นประเทศชาติเปลี่ยน โลก เปล่ยี น ใบความร้ทู ่ี ๒
- ๑๐๑ - เรอ่ื งประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชน์สว่ นรวม ผลประโยชน์มี ๒ อย่าง คือ ประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชน์สว่ นรวม ถา้ เราจะคดิ ถึงประโยชนเ์ พยี ง แงเ่ ดยี ว คอื ประโยชน์ของเราสว่ นตวั ต่างคนต่างก็ต้องการประโยชน์ส่วนตัว แล้วจะเปน็ ประโยชนส์ ่วนรวมได้ อย่างไร เพราะฉะนัน้ ประโยชนข์ องสว่ นตัวกบั ประโยชน์ของสว่ นรวมกจ็ ะต้องสอดคล้องกนั คอื ประโยชน์ ของเราก็จะต้องเก่ยี วข้องกบั ประโยชนข์ องคนอ่นื ด้วย ไม่ใชว่ ่าเราไดป้ ระโยชน์แล้วคนอ่ืนเสียประโยชน์ แล้ว ประโยชนส์ ว่ นรวมเสียไป แลว้ จะทาใหเ้ รานัน้ ได้ประโยชน์อยคู่ นเดียวน้ัน เปน็ ส่งิ ท่เี ป็นไปไม่ได้ เพราะฉะนั้นประโยชน์ท่ีแท้จรงิ คือ ประโยชนส์ ว่ นรวมก็ตอ้ งมาจากประโยชน์สว่ นตัวของแต่ละคน ดว้ ย ถ้าแต่ละคนไดร้ บั ประโยชนส์ ่วนตัวหมดทุกคน ก็ทาให้สว่ นรวมไดร้ ับประโยชนน์ นั้ ดว้ ย ถ้าประโยชน์ ส่วนตัวน้นั เป็นไปเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม เพราะฉะนั้นก่อนอื่นต้องเข้าใจว่า ประโยชน์ของเราส่วนตัวทาใหส้ ่วนรวมได้ประโยชน์หรือเปล่า หรอื ถ้าประโยชนส์ ่วนตัวของเรานัน้ ไม่ทาให้เกดิ ประโยชน์แกส่ ่วนรวมเลย อันนนั้ กไ็ ม่มีทางสาเร็จได้ แต่ถา้ ประโยชนข์ องเราซึ่งเปน็ สว่ นตวั เป็นประโยชนข์ องสว่ นรวมด้วย ตา่ งคนตา่ งชว่ ยกัน ทาให้ไดท้ ้งั ประโยชน์ สว่ นรวมและประโยชน์สว่ นตวั ด้วย อันนั้นกจ็ ะไดป้ ระโยชนท์ ้งั ๒ ฝา่ ย แตก่ ่อนทีจ่ ะถึงขนั้ น้ีได้ ก็จะตอ้ งมีความขดั แยง้ หรือมีปัญหา เพราะว่าคนเราคดิ ไมเ่ หมือนกนั เพราะฉะนั้นก่อนอน่ื กจ็ ะต้องเริม่ ดว้ ย มีความจริงใจต่อประโยชน์สว่ นรวม เมอ่ื มีความจริงใจตอ่ ประโยชน์ ส่วนรวม ก็รับฟงั ความเห็นของคนอ่นื ไม่ใชค่ วามเห็นของตนเองเทา่ นั้น เพือ่ ประโยชน์ส่วนรวมจรงิ ๆ
- ๑๐๒ - ใบความรูท้ ี่ ๓ ตัวอย่างการขดั กันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกบั ประโยชน์ส่วนรวมในรูปแบบตา่ งๆ 1. การรับผลประโยชนต์ ่าง ๆ ๑.๑ นายสุจริต ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ได้เดินทางไปปฏิบัติราชการในพื้นท่ีจังหวัดบุรีรัมย์ ซ่ึงในวัน ดงั กลา่ ว นายรวย นายก อบต. ไดม้ อบงาช้างจานวนหนึ่งคใู่ หแ้ ก่ นายสุจรติ เพอ่ื เป็นของท่ีระลึก นายสุจริตได้ มอบงานช้างดังกล่าวให้หน่วยงานต้นสังกัด ตรวจสอบมูลค่าพร้อมท้ังดาเนินการให้ถูกต้องตามระเบียบและ กฎหมาย แต่ต่อมา นายสุจริต พิจารณาแล้วเห็นว่า ไม่สมควรรับงาช้างดังกล่าวไว้ จึงเร่งให้หน่วยงานต้น สังกดั คืนงาช้างใหแ้ กน่ ายรวย ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 103 ประกอบประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ พ.ศ. 2543 ข้อ 7 ประกอบข้อ 5 (2) ได้กาหนดว่า เจ้าหน้าท่ีของรัฐ ผ้ใู ด ไดร้ ับทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อื่นใดจากบุคคลอื่นที่มิใช่ญาติซึ่งมีมูลค่าเกินกว่าสามพันบาท แล้วประสงค์ จะรับทรัพย์สินนั้นไว้เป็นสิทธิของตน จะต้องแจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพย์สินนั้นต่อ ผู้บังคับบัญชา หรือผู้มีอานาจแต่งต้ังถอดถอนหรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานวุฒิสภา หรือประธานสภาท้องถ่ินแล้วแต่กรณี ในทันทีที่สามารถกระทาได้ เพ่ือให้วินิจฉัยว่ามี เหตุผลความจาเปน็ ความเหมาะสม และสมควรที่จะให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้น้ัน รับทรัพย์สินนั้นไว้เป็นสิทธิของ ตนหรือไม่ เมื่อข้อเท็จจริงในเรื่องน้ีปรากฏว่า เมื่อนายสุจริต ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ได้รับงาช้างแล้ว ได้ส่ งให้ หน่วยงานต้นสังกัดตรวจสอบมูลค่าพร้อมทั้งดาเนินการให้ถูกต้องตามระเบียบและกฎหมาย แต่ต่อมานาย สุจริต พิจารณาเห็นว่า ไม่สมควรรับงาช้างดังกล่าวไว้ จึงส่งคืนให้นายรวยไป โดยใช้ระยะเวลาในการ ตรวจสอบระเบียบแนวทางปฏิบัติและข้อมูลท่ีเก่ียวข้องเพ่ือความรอบคอบ และส่งคืนงาช้าง แก่นายรวย ภายใน 3 วัน จากข้อเท็จจริง จึงฟังได้ว่านายสุจริตมิได้มีเจตนาหรือมีความประสงค์ท่ีจะรับงาช้างนั้นไว้เป็น สิทธขิ องตนแต่อย่างใด ๑.๒ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐรับของขวัญจากผู้บริหารของบริษัทเอกชน เพื่อช่วยให้บริษัทเอกชนราย นน้ั ชนะการประมูลรบั งานโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ ๑.๓ การทบ่ี ริษทั แห่งหนึ่งให้ของขวัญเปน็ ทองคามลู ค่ามากกว่า 10 บาท แก่เจ้าหน้าที่ในปีที่ผ่านมา และปีน้ีเจา้ หน้าทเ่ี ร่งรดั คืนภาษใี หก้ ับบริษัทน้ันเปน็ กรณีพิเศษ โดยลัดคิวให้ก่อนบริษัทอ่ืน ๆ เพราะคาดว่าจะ ไดร้ บั ของขวญั อกี ๑.๔ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐไปเป็นคณะกรรมการของบริษัทเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจและได้รับความ บันเทิงในรูปแบบต่าง ๆ จากบริษัทเหล่าน้ัน ซ่ึงมีผลต่อ การให้คาวินิจฉัยหรือข้อเสนอแนะท่ีเป็นธรรมหรือ เป็นไปในลักษณะท่ีเอ้อื ประโยชน์ ตอ่ บรษิ ัทผู้ใหน้ ัน้ ๆ ๑.๕ เจา้ หน้าทข่ี องรฐั ได้รับชุดไม้กอล์ฟจากผู้บริหารของบริษัทเอกชน เม่ือต้องทางานที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทเอกชนแห่งนั้น ก็ช่วยเหลือให้บริษัทน้ันได้รับสัมปทาน เนื่องจากรู้สึกว่าควรตอบแทนท่ีเคยได้รับ ของขวัญมา
- ๑๐๓ - 2. การทาธรุ กจิ กบั ตนเองหรือเป็นคสู่ ัญญา ๒.๑ นิติกร ฝ่ายกฎหมายและเร่งรัดภาษีอากรค้าง สานักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาคหา รายได้พิเศษโดยการเป็นตัวแทนขายประกันชีวิตของบริษัทเอกชน ได้อาศัยโอกาสท่ีตนปฏิบัติหน้าท่ี เร่งรัด ภาษอี ากรค้างผู้ประกอบการรายหนึ่งหาประโยชน์ใหแ้ ก่ตนเองด้วยการขายประกันชีวิตให้แก่หุ้นส่วนผู้จัดการ ของผปู้ ระกอบการดังกล่าว รวมทั้งพนักงานของผู้ประกอบการนั้นอีกหลายคน ในขณะที่ตนกาลังดาเนินการ เร่งรัดภาษีอากรค้าง พฤติการณ์ของเจ้าหน้าท่ีดังกล่าวเป็นการอาศัยตาแหน่งหน้าท่ีราชการของตนหา ประโยชน์ให้แก่ตนเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ตามมาตรา 83 (3) ประกอบมาตรา 84 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. 2551 ๒.๒ การที่เจ้าหน้าที่ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างทาสัญญาให้หน่วยงานต้นสังกัดซื้อคอมพิวเตอร์ สานักงานจากบริษทั ของครอบครัวตนเอง หรอื บริษทั ทต่ี นเองมีห้นุ สว่ นอยู่ ๒.๓ ผู้บริหารหน่วยงานทาสัญญาเช่ารถไปสัมมนาและดูงานกับบริษัท ซ่ึงเป็นของเจ้าหน้าท่ีหรือ บรษิ ัททผ่ี บู้ ริหารมีหนุ้ สว่ นอยู่ ๒.๔ การท่ีผู้ตรวจสอบบัญชีภาครัฐรับงานพิเศษเป็นท่ีปรึกษา หรือเป็นผู้ทาบัญชีให้กับบริษัทท่ีต้อง ถกู ตรวจสอบ ๒.๕ ภรรยาอดีตนายกรัฐมนตรี ประมูลซ้ือที่ดินย่านถนนรัชดาภิเษกใกล้กับศูนย์วัฒนธรรมแห่ง ประเทศไทย จากกองทุนเพื่อการฟ้ืนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการกาดูแลของธนาคารแห่ง ประเทศไทย กระทรวงการคลัง โดยอดีตนายกรัฐมนตรี ซ่ึงในขณะนั้นดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีในฐานะ เจ้าพนกั งาน มหี นา้ ทด่ี ูแลกิจการของกองทนุ ฯ ไดล้ งนามยินยอมในฐานะคู่สมรสให้ภรรยาประมูลซื้อที่ดิน และทาสัญญาซื้อขายท่ีดิน ส่งผลให้เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาซื้อที่ดินโฉนดแปลงดังกล่าว อันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย มีความผิดตาม พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 100 (1) 3. การทางานหลังจากออกจากตาแหน่งหน้าทส่ี าธารณะหรอื หลงั เกษียณ ๓.๑ อดตี ผู้อานวยการโรงพยาบาลแห่งหนึ่งเพิ่งเกษียณอายุราชการไปทางานเป็นท่ีปรึกษาในบริษัท ผลิตหรือขายยา โดยใช้อิทธิพลจากท่ีเคยดารงตาแหน่งในโรงพยาบาลดังกล่าว ให้โรงพยาบาลซื้อยาจาก บริษัทท่ีตนเองเป็นท่ีปรึกษาอยู่ พฤติการณ์เช่นนี้มีมูลความผิดท้ังทางวินัยและทางอาญาฐานเป็นเจ้าหน้าท่ี ของรฐั ปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั อิ ย่างใดในพฤตกิ ารณ์ทอ่ี าจทาให้ผู้อื่นเช่ือว่าตนมีตาแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งท่ี ตนมิได้มีตาแหน่งหรือหน้าที่น้ัน เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรือ ผอู้ ่นื ตามพระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 123 ๓.๒ การท่ีผบู้ รหิ ารหรือเจา้ หนา้ ทขี่ ององค์กรด้านเวชภัณฑ์และสุขภาพออกจากราชการไปทางานใน บรษิ ทั ผลติ หรอื ขายยา
- ๑๐๔ - ๓.๓ การที่ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกษียณแล้วใช้อิทธิพลท่ีเคยดารงตาแหน่งใน หน่วยงานรัฐ รับเป็นที่ปรึกษาให้บริษัทเอกชนที่ตนเคยติดต่อประสานงาน โดยอ้างว่าจะได้ติดต่อกับ หน่วยงานรฐั ไดอ้ ย่างราบรนื่ ๓.๔ การวา่ จ้างเจ้าหนา้ ที่ผู้เกษยี ณมาทางานในตาแหน่งเดิมที่หน่วยงานเดิมโดยไม่คุ้มค่ากับภารกิจท่ี ได้รบั มอบหมาย 4. การทางานพิเศษ ๔.๑ เจา้ หน้าท่ีตรวจสอบภาษี 6 สานกั งานสรรพากรจงั หวดั ในสว่ นภูมิภาค ได้จัดตั้งบริษัทรับจ้างทา บัญชีและให้คาปรึกษาเกี่ยวกับภาษีและมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับบริษัท โดยรับจ้างทาบัญชีและยื่นแบบ แสดงรายการให้ผ้เู สยี ภาษีในเขตจงั หวัดทรี่ บั ราชการอย่แู ละจงั หวดั ใกล้เคียง กลบั มีพฤติการณ์ช่วยเหลือผู้เสีย ภาษใี ห้เสียภาษนี ้อยกว่าความเป็นจริง และรับเงินค่าภาษีอากรจากผู้เสียภาษีบางรายแล้ว มิได้นาไปย่ืนแบบ แสดงรายการชาระภาษใี ห้ พฤตกิ ารณข์ องเจา้ หนา้ ท่ดี ังกล่าว เป็นการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับกรมสรรพากรว่า ด้วยจรรยาข้าราชการ กรมสรรพากร พ.ศ. 2559 ข้อ 9 (7) (8) และอาศัยตาแหน่งหน้าท่ีราชการของตน หาประโยชน์ใหแ้ กต่ นเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามมาตรา 83 (3) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 อีกท้ังเป็นการปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยมิชอบ เพ่ือให้เกิดความเสียหายแก่ ทางราชการโดยร้ายแรง และปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยทุจริต และยังกระทาการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา 85 (1) และ (4) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. 2551 ๔.๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐอาศัยตาแหน่งหน้าท่ีทางราชการรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการ เพื่อให้ บริษัทเอกชนทว่ี ่าจา้ งนนั้ มีความน่าเชื่อถอื มากกวา่ บริษัทคู่แขง่ ๔.๓ การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐไม่ทางานที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานอย่างเต็มที่ แต่เอาเวลาไปรับ งานพเิ ศษอ่นื ๆ ทอี่ ยู่นอกเหนอื อานาจหนา้ ทที่ ไ่ี ด้รบั มอบหมายจากหนว่ ยงานตามกฎหมาย 5. การรู้ขอ้ มูลภายใน ๕.๑ นายช่าง 5 แผนกชุมสายโทรศัพท์เคล่ือนท่ี องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ได้นาข้อมูลเลข หมายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ระบบ 470 MHZ และระบบปลดล็อคไปขายให้แก่ผู้อ่ืน จานวน 40 หมายเลข เพื่อ นาไปปรับจูนเข้ากับโทรศัพท์ เคลื่อนท่ีท่ีนาไปใช้รับจ้างให้บริการโทรศัพท์แก่บุคคลท่ัวไป คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติชมี้ ูลความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 มาตรา 157 และ มาตรา 164 และมี ความผิดวนิ ัย ข้อบังคับองค์การโทรศัพทแ์ หง่ ประเทศไทยวา่ ดว้ ยการพนกั งาน พ.ศ. 2536 ข้อ 44 และ 46 ๕.๒ การท่เี จา้ หนา้ ท่ีของรัฐทราบข้อมลู โครงการตัดถนนเข้าหมู่บ้าน จึงบอกให้ญาติพ่ีน้องไปซื้อที่ดิน บรเิ วณโครงการดังกล่าว เพือ่ ขายใหก้ บั ราชการในราคาทส่ี งู ขึ้น ๕.๓ การที่เจ้าหน้าที่หน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงข่ายโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วัสดุ อุปกรณท์ ีจ่ ะใชใ้ นการวางโครงข่ายโทรคมนาคม แล้วแจ้งข้อมูลให้กับบริษัทเอกชนที่ตนรู้จัก เพื่อให้ได้เปรียบ ในการประมลู
- ๑๐๕ - 6. การใช้ทรพั ยส์ นิ ของราชการเพือ่ ประโยชนส์ ว่ นตน ๖.๑ คณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ ใช้อานาจหน้าที่โดยทุจริต ด้วยการส่ังให้เจ้าหน้าที่นาเก้าอ้ีพร้อมผ้า ปลอกคุมเก้าอ้ี เคร่ืองถ่ายวิดีโอ เครื่องเล่นวิดีโอ กล้องถ่ายรูป และผ้าเต็นท์ นาไปใช้ในงานมงคลสมรสของ บุตรสาว รวมทั้งรถยนต์ รถตู้ส่วนกลาง เพื่อใช้รับส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมพิธี และขนย้ายอุปกรณ์ทั้งที่บ้านพัก และ งานฉลองมงคลสมรสท่ีโรงแรม ซงึ่ ล้วนเป็นทรพั ยส์ ินของทางราชการการกระทาของจาเลยนับเป็นการใช้ อานาจโดยทุจริต เพื่อประโยชนส์ ว่ นตนอันเปน็ การเสยี หายแกร่ ัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ชี้มูลความผิดวินัย และอาญา ต่อมาเร่ืองเข้าสู่กระบวนการในช้ันศาล ศาลพิเคราะห์พยานหลักฐานโจทก์แล้วเห็นว่าการกระทา ของจาเลย เปน็ การทจุ ริตตอ่ ตาแหนง่ หนา้ ที่ฐานเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าท่ีซ้ือทาจัดการหรือรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อานาจในตาแหน่งโดยทุจริตอันเป็นการเสียหายแก่รัฐและเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 และ 157 จึงพิพากษาให้จาคุก 5 ปี และปรับ 20,000 บาท คาให้การรับสารภาพ เป็นประโยชน์แก่การพิจารณาคดี ลดโทษให้ก่ึงหนึ่ง คงจาคุกจาเลยไว้ 2 ปี 6 เดือน และปรับ 10,000 บาท ๖.๒ การท่เี จ้าหน้าทข่ี องรัฐ ผู้มีหน้าทข่ี บั รถยนต์ของสว่ นราชการ นาน้ามนั ในรถยนตไ์ ปขาย และนา เงินมาไว้ใชจ้ ่ายส่วนตัวทาใหส้ ว่ นราชการตอ้ งเสยี งบประมาณ เพอ่ื ซ้อื นา้ มันรถมากกว่าทคี่ วรจะเป็นพฤติกรรม ดังกล่าวถอื เปน็ การทุจริต เบียดบังผลประโยชน์ของส่วนรวมเพื่อประโยชน์ของตนเอง และมีความผิดฐานลัก ทรพั ย์ ๖.๓ การท่ีเจ้าหน้าท่ีรัฐ ผู้มีอานาจอนุมัติให้ใช้รถราชการหรือการเบิกจ่าย ค่าน้ามันเช้ือเพลิง นารถยนตข์ องสว่ นราชการไปใชใ้ นกจิ ธรุ ะส่วนตัว 7. การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กต้ังเพอื่ ประโยชน์ในทางการเมอื ง ๗.๑ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลแห่งหน่ึงร่วมกับพวก แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ปรับปรุงและซ่อมแซมถนนคนเดินใหม่ ในตาบลท่ีตนมีฐานเสียงโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากสภาฯ และ ตรวจรับงานท้ังท่ีไม่ถูกต้องตามแบบรปู รายการท่กี าหนด รวมท้ังเม่ือดาเนินการแล้วเสร็จได้ติดป้ายช่ือของตน และพวก การกระทาดังกล่าวมีมูลเป็นการกระทาการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือสวัสดิภาพของ ประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอานาจหน้าที่ มีมูลความผิดท้ังทางวินัยอย่าง รา้ ยแรงและทางอาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหนงั สอื แจ้งผลการพจิ ารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ผู้มี อานาจ แต่งต้งั ถอดถอน และสานกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ ทราบ ๗.๒ การที่นักการเมืองในจังหวัด ขอเพ่ิมงบประมาณเพ่ือนาโครงการตัดถนน สร้างสะพานลงใน จังหวัด โดยใชช้ อ่ื หรือนามสกลุ ของตนเองเปน็ ชือ่ สะพาน ๗.๓ การทร่ี ฐั มนตรีอนมุ ัติโครงการไปลงในพ้ืนทหี่ รอื บ้านเกดิ ของตนเอง
- ๑๐๖ - 8. การใชต้ าแหนง่ หน้าท่ีแสวงหาประโยชนแ์ ก่เครอื ญาติ พนกั งานสอบสวนละเวน้ ไมน่ าบันทกึ การจับกมุ ทเี่ จ้าหนา้ ท่ีตารวจชดุ จบั กุม ทาขน้ึ ในวนั เกิดเหตรุ วมเข้า สานวน แต่กลับเปลย่ี นบนั ทกึ และแก้ไขข้อหาในบันทึก การจับกมุ เพ่ือช่วยเหลือผตู้ ้องหาซ่ึงเป็นญาติของตน ให้รบั โทษนอ้ ยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแลว้ มมี ูลความผดิ ทางอาญาและทางวินยั อยา่ งร้ายแรง 9. การใช้อทิ ธพิ ลเข้าไปมีผลต่อการตัดสนิ ใจของเจา้ หนา้ ที่รฐั หรือหน่วยงานของรฐั อ่ืน ๙.๑ เจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐใช้ตาแหน่งหน้าท่ใี นฐานะผู้บริหาร เข้าแทรกแซงการปฏบิ ัติงานของเจ้าหนา้ ท่ี ให้ปฏบิ ัตหิ นา้ ทโ่ี ดยมิชอบดว้ ยระเบียบ และกฎหมายหรอื ฝา่ ฝนื จริยธรรม ๙.๒ นายเอ เปน็ หวั หน้าสว่ นราชการแหง่ หนง่ึ ในจงั หวัด รู้จักสนิทสนมกับ นายบี หวั หน้าส่วน ราชการอีกแหง่ หน่ึงในจงั หวัดเดียวกนั นายเอ จงึ ใชค้ วามสัมพนั ธส์ ว่ นตวั ฝากลกู ชาย คือ นายซี เขา้ รบั ราชการภายใต้สงั กัดของนายบี 10. การขัดกนั แห่งผลประโยชนส์ ว่ นบุคคลกับประโยชนส์ ่วนรวมประเภทอน่ื ๆ ๑๐.๑ การเดนิ ทางไปราชการต่างจังหวัดโดยไม่คานึงถึงจานวนคน จานวนงาน และจานวนวันอย่าง เหมาะสม อาทิ เดินทางไปราชการจานวน 10 วัน แต่ใช้เวลาในการทางานจริงเพียง 6 วัน โดยอีก 4 วัน เปน็ การเดินทางทอ่ งเท่ียวในสถานทต่ี า่ ง ๆ ๑๐.๒ เจา้ หน้าท่ผี ูป้ ฏบิ ัติไมใ่ ชเ้ วลาในราชการปฏิบัติงานอยา่ งเตม็ ท่ี เนอื่ งจากตอ้ งการปฏิบัติงานนอก เวลาราชการ เพราะสามารถเบกิ เงินงบประมาณคา่ ตอบแทนการปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการได้ ๑๐.๓ เจ้าหน้าที่ของรัฐลงเวลาปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โดยมิได้อยู่ปฏิบัติงานในช่วงเวลาน้ัน อย่างแท้จริง แต่กลับใชเ้ วลาดังกลา่ วปฏิบัติกจิ ธรุ ะส่วนตัว
- ๑๐๗ - ใบความรทู้ ่ี ๔ เรือ่ งกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการปอ้ งกนั การขัดกันระหว่างประโยชนส์ ่วนตน กบั ประโยชน์ส่วนรวม พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพ่ิมเตมิ มาตรา 100 หา้ มมิใหเ้ จ้าหนา้ ทีข่ องรัฐผใู้ ดดาเนินกจิ การดงั ตอ่ ไปนี้ (1) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาท่ีทากับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ันปฏิบัติ หนา้ ทใ่ี นฐานะทเี่ ปน็ เจ้าหน้าทข่ี องรัฐซง่ึ มอี านาจกากับ ดแู ล ควบคมุ ตรวจสอบ หรือดาเนนิ คดี (2) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทท่ีเข้าเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐท่ี เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่ในฐานะท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐซึ่งมีอานาจกากับดูแล ควบคุม ตรวจสอบ หรอื ดาเนนิ คดี (3) รับสัมปทานหรือคงถือไว้ซ่ึงสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการ ส่วนทอ้ งถิ่นอันมลี ักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน ท้ังน้ี ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ ถอื หุ้นในหา้ งหนุ้ ส่วนหรือบริษัททร่ี บั สัมปทานหรอื เข้าเป็นค่สู ญั ญาในลักษณะดงั กลา่ ว (4) เข้าไปมีส่วนได้เสียในฐานะเป็นกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงานหรือลูกจ้างในธุรกิจของ เอกชนซ่งึ อยู่ภายใตก้ ารกากับ ดูแล ควบคมุ หรือตรวจสอบของหน่วยงานของรัฐท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ันสังกัด อย่หู รอื ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีในฐานะเป็นเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ซ่ึงโดยสภาพของผลประโยชน์ของธุรกิจของเอกชนน้ันอาจ ขดั หรือแยง้ ต่อประโยชน์ส่วนรวม หรือประโยชน์ของทางราชการ หรือกระทบต่อความมีอิสระในการปฏิบัติ หนา้ ท่ขี องเจ้าหนา้ ท่ีของรฐั ผ้นู ้ัน เจ้าหน้าท่ีของรัฐตาแหน่งใดที่ต้องห้ามมิให้ดาเนินกิจการตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามท่ี คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ใหน้ าบทบญั ญตั ติ ามมาตรา 100 มาใช้บังคบั กับคูส่ มรสของเจ้าหน้าที่รัฐตามวรรคสอง โดยให้ถือว่า การดาเนินกิจการของค่สู มรสดังกลา่ ว เปน็ การดาเนนิ กิจการของเจา้ หนา้ ที่ของรฐั มาตรา 103 ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดจากบุคคลนอกเหนือจาก ทรัพยส์ ินหรือประโยชน์อันควรได้ตามกฎหมาย หรือกฎ ข้อบังคับที่ออกโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดโดยธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑ์และจานวนท่ี คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด บทบัญญัติในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดของผู้ซึ่งพ้นจากการเป็น เจ้าหน้าทขี่ องรัฐมาแล้วยังไมถ่ งึ สองปีด้วยโดยอนโุ ลม มาตรา 103/1บรรดาความผิดที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ให้ถือเป็นความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่หรือความผิดต่อ ตาแหนง่ หน้าทรี่ าชการหรือความผดิ ตอ่ ตาแหนง่ หน้าที่ในการยุตธิ รรมตามประมวลกฎหมายอาญาด้วย
- ๑๐๘ - ประกาศคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ เร่ือง หลักเกณฑก์ ารรบั ทรัพย์สนิ หรอื ประโยชน์อืน่ ใดโดยธรรมจรรยาของเจา้ หน้าท่ขี องรัฐ พ.ศ. 2543 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 103 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจึงกาหนด หลักเกณฑ์และจานวนทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐจะรับจากบุคคลได้โดยธรรมจรรยาไว้ ดังนี้ ขอ้ 3 ในประกาศนี้ “การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดโดยธรรมจรรยา” หมายความว่า การรับทรัพย์สินหรือ ประโยชน์อื่นใดจากญาติหรือจากบุคคลที่ให้กันในโอกาสต่าง ๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือ วัฒนธรรม หรือให้กันตามมารยาททีป่ ฏิบัติกนั ในสังคม “ญาติ” หมายความว่า ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน พี่น้องร่วมบิดามารดาหรือ ร่วมบิดาหรือมารดา เดียวกัน ลุง ป้า นา้ อา คสู่ มรส ผ้บู พุ การหี รือผสู้ บื สันดานของค่สู มรส บุตรบญุ ธรรมหรอื ผ้รู ับบตุ รบญุ ธรรม “ประโยชนอ์ ื่นใด” หมายความว่า สิ่งทม่ี ลู ค่า ได้แก่ การลดราคา การรับความบันเทิง การรับบริการ การรับการฝึกอบรม หรอื สง่ิ อ่ืนใดในลักษณะเดียวกนั ข้อ 4 ห้ามมิให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ใด รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด จากบุคคลนอกเหนือจาก ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อันควรได้ตามกฎหมาย หรอื กฎ ขอ้ บังคับ ท่ีออกโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สินหรอื ประโยชนอ์ ื่นใดโดยธรรมจรรยาตามท่ีกาหนดไวใ้ นประกาศน้ี ข้อ 5 เจ้าหน้าทข่ี องรัฐจะรับทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชน์อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) รบั ทรัพยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ ่นื ใดจากญาติซึง่ ใหโ้ ดยเสน่หาตามจานวนทเี่ หมาะสมตามฐานานรุ ูป (2) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากบุคคลอ่ืนซึ่งมิใช่ญาติมีราคาหรือมูลค่าในการรับจากแต่ละ บคุ คล แต่ละโอกาสไม่เกนิ สามพันบาท (3) รบั ทรพั ย์สนิ หรือประโยชน์อนื่ ใดทีก่ ารใหน้ น้ั เป็นการให้ในลกั ษณะให้กบั บคุ คลทวั่ ไป ข้อ 6 การรับทรพั ยส์ ินหรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดจากต่างประเทศ ซ่ึงผู้ให้มิได้ระบุให้เป็นของส่วนตัวหรือมี ราคาหรอื มูลคา่ เกินกว่าสามพนั บาท ไม่ว่าจะระบุเป็นของส่วนตัวหรือไม่ แต่มีเหตุผลความจาเป็นท่ีจะต้องรับ ไว้เพ่ือรักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล ให้เจ้า หน้าที่ของรัฐผู้นั้นรายงาน รายละเอียดข้อเท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ดังกล่าวให้ผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็ว หาก ผู้บังคับบัญชาเห็นว่าไม่มีเหตุที่จะอนุญาตให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นยึดถือทรัพย์สินหรือประโยชน์ดังกล่าวนั้นไว้เป็น ประโยชน์ส่วนตน ให้เจา้ หน้าทีข่ องรฐั ผู้น้ันส่งมอบทรพั ยส์ ินให้หน่วยงานของรฐั ทเ่ี จ้าหนา้ ทข่ี องรัฐผู้น้ันสังกัด ทันที ข้อ 7 การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดท่ีไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ หรือ มีราคาหรือมีมูลค่า มากกวา่ ท่กี าหนดไว้ในข้อ 5 ซึ่งเจ้าหน้าท่ีของรัฐได้รับมาแล้วโดยมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่ต้องรับไว้เพ่ือรักษา ไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ันต้องแจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริง เก่ียวกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์น้ันต่อผู้บังคับบัญชา ซ่ึงเป็นหัวหน้าส่วนราชการ ผู้บริหารสูงสุดของ รัฐวิสาหกิจ หรือผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน สถาบัน หรือองค์กรที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ันสังกัด โดยทันทีท่ี สามารถกระทาได้ เพ่ือใหว้ นิ จิ ฉยั ว่ามเี หตุผลความจาเปน็ ความเหมาะสม และสมควรท่ีจะให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผ้นู ัน้ รับทรพั ย์สินหรอื ประโยชน์น้นั ไวเ้ ปน็ สทิ ธขิ องตนหรอื ไม่
- ๑๐๙ - ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาหรือผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานหรือสถาบันหรือองค์กรที่ เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้นั้นสังกัด มีคาส่ังว่าไม่สมควรรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ดังกล่าว ก็ให้คืนทรัพย์สินหรือ ประโยชน์นั้นแก่ผู้ให้โดยทันที ในกรณีที่ไม่สามารถคืนให้ได้ ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้นั้นส่งมอบทรัพย์สินหรือ ประโยชน์ดงั กลา่ วให้เปน็ สทิ ธิของหน่วยงานทีเ่ จา้ หนา้ ที่ของรฐั ผู้นน้ั สงั กัดโดยเรว็ เม่ือได้ดาเนินการตามความในวรรคสองแล้ว ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ัน ไม่เคยได้รับทรัพย์สิน หรอื ประโยชนด์ ังกลา่ วเลย ในกรณที เ่ี จา้ หน้าทีข่ องรฐั ผู้ได้รับทรพั ยส์ นิ ไวต้ ามวรรคหนึ่งเป็นผู้ดารงตาแหน่งผู้บังคับบัญชา ซึ่งเป็น หวั หน้าส่วนราชการระดบั กระทรวงหรือเทียบเท่า หรือเป็นกรรมการหรือผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หรือ เปน็ กรรมการหรือผู้บริหารสูงสดุ ของหนว่ ยงานของรฐั ใหแ้ จง้ รายละเอียดขอ้ เท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์น้ันต่อผู้มีอานาจแต่งต้ังถอดถอน ส่วนผู้ที่ดารงตาแหน่งประธานกรรมการและกรรมการใน องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือผู้ดารงตาแหน่งที่ไม่มีผู้บังคับบัญชาท่ีมีอานาจถอดถอนให้แจ้งต่อ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทงั้ น้ี เพื่อดาเนินการตามความในวรรคหนงึ่ และวรรคสอง ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ได้รับทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง เป็นผู้ดารงตาแหน่งสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกสภาท้องถ่ิน ให้แจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์เท่านั้นต่อประธาน สภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานสภาท้องถิ่นท่ีเจ้าหน้าท่ี ของรฐั ผู้นน้ั เป็นสมาชิก แลว้ แตก่ รณี เพ่ือดาเนินการตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ข้อ 8 หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ตามประกาศฉบับน้ีให้ ใชบ้ งั คับแก่ผซู้ ึ่งพน้ จากการเปน็ เจา้ หน้าทีข่ องรฐั มาแล้วไม่ถึงสองปีด้วย ระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการใหห้ รือรับของขวัญของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั พ.ศ. 2544 โดยท่ีทผ่ี า่ นมาคณะรัฐมนตรีได้เคยมีมติคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับแนวทางปฏิบัติในการให้ของขวัญและ รับของขวัญของเจ้าหน้าท่ีของรัฐไว้หลายคร้ังเพ่ือเป็นการเสริมสร้างค่านิยมให้เกิดการประหยัด มิให้มีการ เบยี ดเบียนข้าราชการโดยไม่จาเปน็ และสร้างทศั นคตทิ ีไ่ ม่ถกู ต้องเนื่องจากมีการแข่งขันกันให้ของขวัญในราคา แพงทั้งยังเป็นช่องทางให้เกิดการประพฤติมิชอบอื่น ๆ ในวงราชการอีกด้วยและในการกาหนดจรรยาบรรณ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทต่าง ๆ ก็มีการกาหนดในเร่ืองทานองเดียวกัน ประกอบกับคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติได้ประกาศกาหนดหลักเกณฑ์และจานวนที่เจ้าหน้าที่ของรัฐจะรับ ทรพั ยส์ ินหรอื ประโยชน์อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาได้ ฉะน้ันจึงสมควรรวบรวมมาตรการเหล่านั้นและกาหนดเป็น หลักเกณฑ์การปฏิบัติของเจ้าหน้าท่ีของรัฐในการให้ของขวัญและรับของขวัญไว้เป็นการถาวรมีมาตร ฐาน อย่างเดียวกัน และมีความชัดเจนเพ่ือเสริมมาตรการของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติให้เป็นผลอย่างจริงจงั ทั้งน้ี เฉพาะในสว่ นท่ีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ไมไ่ ดก้ าหนดไว้ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 11 (8) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จงึ วางระเบยี บไว้ดังตอ่ ไปน้ี ขอ้ 3ในระเบยี บนี้
- ๑๑๐ - \"ของขวัญ\"หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดท่ีให้แก่กัน เพ่ืออัธยาศัยไมตรี และให้ หมายความรวมถึงเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดท่ีให้เป็นรางวัล ให้โดยเสน่หาหรือเพื่อการสงเคราะห์ หรือให้เป็นสินน้าใจ การให้สิทธิพิเศษซ่ึงมิใช่เป็นสิทธิที่จัดไว้สาหรับบุคคลทั่วไปในการได้รับการลดราคา ทรพั ยส์ ินหรอื การใหส้ ทิ ธิพิเศษในการได้รับบริการหรอื ความบันเทงิ ตลอดจนการออกค่าใช้จ่ายในการเดินทาง หรือท่องเที่ยวค่าท่ีพัก ค่าอาหาร หรือสิ่งอื่นใดในลักษณะเดียวกันและไม่ว่าจะให้เป็นบัตร ต๋ัว หรือหลักฐาน อื่นใด การชาระเงนิ ใหล้ ว่ งหน้า หรือการคืนเงินให้ในภายหลงั \"ปกติประเพณีนิยม\" หมายความว่า เทศกาลหรือวันสาคัญซึ่งอาจมีการให้ของขวัญกัน และให้ หมายความรวมถึงโอกาสในการแสดงความยินดี การแสดง ความขอบคุณ การต้อนรับ การแสดงความเสียใจ หรอื การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตามมารยาท ที่ถือปฏบิ ตั กิ นั ในสงั คมดว้ ย \"ผู้บังคับบัญชา\"ให้หมายความรวมถึง ผู้ซ่ึงปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้าหน่วยงาน ที่แบ่งเป็นการภายในของ หน่วยงานของรัฐและผู้ซึ่งดารงตาแหน่งในระดับท่ีสูงกว่าและได้รับมอบหมายให้มีอานาจบังคับบัญชาหรือ กากบั ดูแลด้วย \"บุคคลในครอบครัว\"หมายความว่า คู่สมรส บุตร บิดา มารดา พ่ีน้องร่วมบิดามารดาหรือร่วมบิดา หรอื มารดาเดียวกัน ข้อ4 ระเบียบน้ีไม่ใช้บังคับกับกรณีการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดของเจ้าหน้าท่ีของรัฐซึ่งอยู่ ภายใตบ้ ังคับกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต ข้อ5เจ้าหน้าที่ของรัฐจะให้ของขวัญแก่ผู้บังคับบัญชาหรือบุคคลในครอบครัวของผู้บังคับบัญชา นอกเหนือจากกรณปี กติประเพณีนิยมทม่ี ีการให้ของขวัญแก่กนั มิได้ การให้ของขวัญตามปกติประเพณีนิยมตามวรรคหนึ่ง เจ้าหน้าท่ีของรัฐจะให้ของขวัญท่ีมีราคาหรือ มูลค่าเกินจานวนท่ีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกาหนดไว้ สาหรับการรับ ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่นื ใด โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าท่ีของรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ มไิ ด้ เจ้าหน้าท่ีของรัฐจะทาการเรี่ยไรเงินหรือทรัพย์สินอื่นใดหรือใช้เงินสวัสดิการใด ๆ เพื่อมอบให้หรือ จดั หาของขวญั ให้ผู้บังคบั บัญชาหรอื บุคคลในครอบครวั ของผู้บงั คบั บญั ชาไมว่ ่ากรณีใด ๆ มไิ ด้ ข้อ 6 ผู้บังคับบัญชาจะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญจาก เจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐซึง่ เป็นผู้อยใู่ นบังคับบัญชามไิ ด้ เวน้ แตเ่ ปน็ การรบั ของขวญั ตามขอ้ 5 ข้อ 7 เจ้าหน้าที่ของรัฐจะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญจากผู้ที่ เก่ียวข้องในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ของเจา้ หน้าทีข่ องรฐั มไิ ด้ ถ้ามิใช่เป็นการรับของขวัญตามกรณีที่กาหนดไว้ใน ข้อ 8 ผู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคหนึ่ง ได้แก่ ผู้มาติดต่องานหรือผู้ซึ่ง ไดร้ บั ประโยชน์จากการปฏบิ ัติงานของเจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั ในลักษณะดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ผ้ซู ึ่งมีคาขอใหห้ นว่ ยงานของรฐั ดาเนินการอยา่ งหน่งึ อยา่ งใด เช่นการขอใบรับรอง การขอให้ออก คาส่ังทางปกครอง หรอื การร้องเรยี นเปน็ ตน้ (2) ผู้ซง่ึ ประกอบธุรกิจหรือมสี ่วนได้เสียในธุรกิจท่ีทากับหน่วยงานของรัฐเช่น การจัดซื้อจัดจ้าง หรือ การได้รบั สมั ปทาน เป็นต้น (3) ผู้ซ่ึงกาลังดาเนินกิจกรรมใด ๆ ที่มีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ควบคุมหรือกากับดูแล เช่น การ ประกอบกจิ การโรงงานหรือธรุ กจิ หลกั ทรัพย์ เป็นตน้
- ๑๑๑ - (4) ผู้ซึ่งอาจได้รับประโยชน์หรือผลกระทบจากการปฏิบัติหน้าท่ีหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีของ เจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ข้อ 8 เจ้าหน้าที่ของรัฐจะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญจากผู้ที่ เกี่ยวข้องในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐได้เฉพาะกรณี การรับของขวัญท่ีให้ตามปกติประเพณีนิยม และของขวัญนั้นมีราคาหรือมูลค่าไม่เกินจานวนท่ีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กาหนดไว้สาหรับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามกฎหมาย ประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต ข้อ 9 ในกรณีท่ีบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ของรัฐรับของขวัญแล้วเจ้าหน้าที่ของรัฐทราบใน ภายหลังว่าเป็นการรับของขวัญโดยฝ่าฝืนระเบียบน้ี ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ท่ี คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติกาหนดไวส้ าหรับการรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่น ใด โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีมีราคาหรือมูลค่าเกินกว่าท่ีกาหนดไว้ ตามกฎหมายประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ขอ้ 10 ในกรณีที่เจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ผูใ้ ดจงใจปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับการให้ของขวัญหรือรับของขวัญโดยฝ่าฝืน ระเบียบน้ี ให้ดาเนินการดังตอ่ ไปนี้ (1) ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ขี องรฐั เป็นข้าราชการการเมือง ให้ถือว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้นั้นประพฤติปฏิบัติ ไม่เป็นไปตามคุณธรรมและจริยธรรม และให้ดาเนินการตามระเบียบท่ีนายกรัฐมนตรีกาหนดโดยความ เหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรวี า่ ด้วยมาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของข้าราชการการเมือง (2) ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นข้าราชการประเภทอ่ืนนอกจาก (1) หรือพนักงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น หรือพนักงานของรัฐวิสาหกิจให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นเป็นผู้กระทาความผิดทาง วนิ ยั และใหผ้ ูบ้ ังคบั บัญชามหี นา้ ท่ดี าเนินการให้มกี ารลงโทษทางวินยั เจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐผนู้ ั้น ข้อ 11 ให้สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีมีหน้าที่สอดส่อง และให้คาแนะนาในการปฏิบัติตาม ระเบยี บนแ้ี กห่ นว่ ยงานของรัฐ ในกรณที ่ีมีผู้ร้องเรยี น ตอ่ สานกั งานปลดั สานักนายรัฐมนตรีว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผใู้ ดปฏบิ ตั ิในการให้ของขวัญหรอื รับของขวญั ฝ่าฝืนระเบยี บนี้ ใหส้ านกั งานปลดั สานกั นายกรัฐมนตรีแจ้งไปยัง ผบู้ งั คับบญั ชาของเจ้าหน้าทีข่ องรฐั ผู้นั้นเพ่อื ดาเนินการตามระเบยี บน้ี ขอ้ 12 เพ่อื ประโยชน์ในการเสรมิ สร้างให้เกดิ ทัศนคตใิ นการประหยัดแกป่ ระชาชนท่ัวไปในการแสดง ความยินดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดงการต้อนรับ หรือการแสดงความเสียใจในโอกาสต่างๆ ตามปกติ ประเพณีนิยมใหเ้ จ้าหน้าทขี่ องรัฐพยายามใช้วิธีการแสดงออกโดยใช้บัตรอวยพร การลงนามในสมุด อวยพรหรอื ใช้บตั รแสดงความเสยี ใจ แทนการใหข้ องขวญั ใหผ้ ูบ้ งั คบั บญั ชามีหนา้ ท่เี สริมสร้างคา่ นยิ มการแสดงความยนิ ดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดง การต้อนรับ หรือการแสดงความเสียใจ ด้วยการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง แนะนาหรือกาหนดมาตรการจูงใจ ท่ีจะพัฒนาทัศนคติ จิตสานึกและพฤติกรรมของผู้อยูใ่ นบังคับบญั ชาใหเ้ ป็นไปในแนวทางประหยดั ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการเร่ยี ไรของหน่วยงานของรฐั พ.ศ. 2544 ขอ้ 4 ในระเบยี บนี้ “การเรี่ยไร” หมายความว่า การเก็บเงินหรือทรัพย์สิน โดยขอร้องให้ช่วยออกเงินหรือทรัพย์สิน ตามใจสมัคร และให้หมายความรวมถึงการซ้ือขาย แลกเปลี่ยน ชดใช้หรือบริการซ่ึงมีการแสดงโดยตรงหรือ โดยปริยายว่า มิใชเ่ ป็นการซ้ือขาย แลกเปล่ียน ชดใช้หรือบริการธรรมดา แต่เพื่อรวบรวมเงินหรือทรัพย์สินท่ี ไดม้ าทง้ั หมด หรอื บางส่วนไปใช้ในกิจการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงนนั้ ด้วย
- ๑๑๒ - “เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร” หมายความว่า เข้าไปช่วยเหลือโดยมีส่วนร่วมในการจัดให้มี การเรี่ยไรในฐานะเปน็ ผู้รว่ มจดั ใหม้ กี ารเรย่ี ไร หรอื เป็นประธานกรรมการ อนกุ รรมการ คณะทางาน ที่ปรึกษา หรือในฐานะอื่นใดในการเรี่ยไรนั้น ข้อ 6 หน่วยงานของรัฐจะจัดให้มีการเร่ียไรหรือเข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องกับการเรี่ยไรมิได้ เว้นแต่เป็น การเรี่ยไร ตามข้อ 19 หรือได้รับอนุมัติจาก กคร. หรือ กคร. จังหวัด แล้วแต่กรณี ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ที่ กาหนดไวใ้ นระเบยี บนี้ หน่วยงานของรัฐซ่ึงจะต้องได้รับอนุญาตในการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมการเร่ียไร นอกจากจะตอ้ งปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรแล้ว จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด ไว้ในระเบียบน้ีด้วย ในกรณีนี้ กคร. อาจกาหนดแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานรัฐดังกล่าวให้สอดคล้องกับ กฎหมายว่าดว้ ยการควบคมุ การเรย่ี ไรก็ได้ ข้อ 8 ให้มีคณะกรรมการควบคุมการเร่ียไรของหน่วยงานของรัฐ เรียกโดยย่อว่า “กคร.” ประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ ผู้แทนสานัก นายกรัฐมนตรี ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทน กระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทนสานักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้แทนสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และ ผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งอีกไม่เกินสี่คนเป็นกรรมการ และผู้แทนสานักงานปลัดสานัก นายกรฐั มนตรีเป็นกรรมการและเลขานุการ กคร. จะแต่งตั้งข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีจานวนไม่เกินสองคนเป็น ผู้ชว่ ยเลขานุการก็ได้ ข้อ 18 การเร่ยี ไรหรอื เข้าไปมีสว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั การเรีย่ ไรที่ กคร. หรอื กคร. จังหวดั แล้วแต่กรณี จะ พิจารณาอนุมตั ิใหต้ ามขอ้ 6 ไดน้ ั้น จะตอ้ งมีลกั ษณะและวตั ถุประสงค์อยา่ งหนึ่งอยา่ งใด ดังตอ่ ไปนี้ (1) เป็นการเรี่ยไรที่หน่วยงานของรฐั เปน็ ผูด้ าเนินการเพอ่ื ประโยชน์แกห่ นว่ ยงานของรฐั นัน้ เอง (2) เป็นการเร่ียไรที่หน่วยงานของรัฐเป็นผู้ดาเนินการเพ่ือประโยชน์แก่การป้องกันหรือพัฒนา ประเทศ (3) เปน็ การเรย่ี ไรทหี่ นว่ ยงานของรัฐเปน็ ผู้ดาเนินการเพอื่ สาธารณประโยชน์ (4) เป็นกรณีที่หน่วยงานของรัฐเข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องกับการเรี่ยไรของบุคคลหรือนิติบุคคลที่ได้รับ อนุญาตจากคณะกรรมการควบคมุ การเรีย่ ไรตามกฎหมายวา่ ด้วยการควบคมุ การเรีย่ ไรแล้ว ข้อ 19 การเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเร่ียไรดังต่อไปนี้ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องขออนุมัติ จาก กคร. หรือ กคร. จงั หวดั แลว้ แต่กรณี (1) เป็นนโยบายเร่งดว่ นของรฐั บาล และมมี ติคระรัฐมนตรใี หเ้ รีย่ ไรได้ (2) เปน็ การเรยี่ ไรท่ีรัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐจาเป็นต้องดาเนินการ เพื่อช่วยเหลือผู้เสียหายหรือ บรรเทาความเสียหายท่เี กดิ จากสาธารณภัยหรอื เหตกุ ารณใ์ ดทีส่ าคัญ (3) เป็นการเร่ยี ไรเพอื่ ร่วมกนั ทาบุญเน่ืองในโอกาสการทอดผา้ พระกฐินพระราชทาน (4) เป็นการเร่ียไรตามข้อ 18 (1) หรือ (3) เพื่อให้ได้เงินหรือทรัพย์สินไม่เกินจานวนเงินหรือมูลค่า ตามท่ี กคร. กาหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา (5) เป็นการเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเร่ียไรตามข้อ 18 (4) ซึ่ง กคร. ได้ประกาศในราชกิจจา นเุ บกษายกเว้นใหห้ น่วยงานของรฐั ดาเนินการได้โดยไม่ต้องขออนุมตั ิ
- ๑๑๓ - (6) เป็นการให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐอื่นที่ได้รับอนุมัติหรือได้รับยกเว้นในการขออนุมัติ ตามระเบียบน้ีแล้ว ข้อ 20 ในกรณีทหี่ นว่ ยงานของรฐั ไดร้ ับอนุมัติหรือได้รับยกเว้นตามข้อ 19 ให้จัดให้มีการเรี่ยไรหรือ เข้าไปมสี ่วนเกย่ี วขอ้ งกับการเรี่ยไร ให้หนว่ ยงานของรัฐดาเนินการดงั ต่อไปน้ี (1) ให้กระทาการเรีย่ ไรเป็นการท่ัวไป โดยประกาศหรือเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน (2) กาหนดสถานท่ีหรอื วิธกี ารทีจ่ ะรับเงินหรอื ทรพั ยส์ ินจากการเรี่ยไร (3) ออกใบเสร็จหรอื หลกั ฐานการรับเงนิ หรอื ทรัพยส์ ินให้แก่ผู้บริจาคทุกครั้ง เว้นแต่โดยลักษณะแห่ง การเร่ียไรไม่สามารถออกใบเสร็จหรือหลักฐานดังกล่าวได้ ก็ให้จัดทาเป็นบัญชีการรับเงินหรือทรัพย์สินนั้นไว้ เพอื่ ให้สามารถตรวจสอบได้ (4) จัดทาบัญชีการรับจ่ายหรือทรัพย์สินที่ได้จากการเรี่ยไรตามระบบบัญชีของทางราชการภายใน เกา้ สิบวนั นับแต่วนั ที่สิ้นสุดการเรีย่ ไร หรือทุกสามเดอื น ในกรณีที่เปน็ การเรี่ยไรท่ีกระทาอย่างต่อเน่ืองและปิด ประกาศเปิดเผย ณ ท่ีทาการของหน่วยงานของรัฐท่ีได้ทาการเรี่ยไรไม่น้อยกว่าสามสิบวันเพ่ือให้บุคคลท่ัวไป ได้ทราบและจัดให้มีเอกสารเก่ียวกับการดาเนินการเร่ียไรดังกล่าวไว้ ณ สถานที่สาหรับประชาชนสามารถใช้ ในการคน้ หาและศกึ ษาขอ้ มูลข่าวสารของราชการด้วย (5) รายงานการเงนิ ของการเรีย่ ไรพรอ้ มท้ังสง่ บญั ชีตาม (4) ให้สานกั งานการตรวจเงินแผ่นดินภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้จัดทาบัญชีตาม (4) แล้วเสร็จ หรือในกรณีที่เป็นการเร่ียไรท่ีได้กระทาอย่างต่อเน่ือง ให้รายงานการเงินพร้อมท้งั สง่ บัญชีดงั กล่าวทุกสามเดอื น ข้อ 21 ในการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องกับการเรี่ยไร ห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการ ดังต่อไปน้ี (1) กาหนดประโยชน์ที่ผู้บริจาคหรือบุคคลอ่ืนจะได้รับซ่ึงมิใช่ประโยชน์ที่หน่วยงานของรัฐได้ ประกาศไว้ (2) กาหนดให้ผู้บริจาคต้องบริจาคเงินหรือทรัพย์สินเป็นจานวนหรือมูลค่าที่แน่นอน เว้นแต่ โดย สภาพ มีความจาเปน็ ตอ้ งกาหนดเปน็ จานวนเงนิ ทแี่ นน่ อน เช่น การจาหน่ายบัตรเขา้ ชมการแสดงหรือบัตรเข้า ร่วมการแข่งขนั เป็นต้น (3) กระทาการใด ๆ ท่เี ปน็ การบังคับใหบ้ คุ คลใดทาการเรี่ยไรหรือบริจาค หรือกระทาการในลักษณะ ท่ีทาให้บุคคลน้ันต้องตกอยู่ในภาวะจายอมไม่สามารถปฏิเสธหรือหลีกเล่ียงที่จะไม่ช่วยทาการเรี่ยไรหรือ บรจิ าคไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อม (4) ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐออกทาการเรี่ยไร หรือใช้ ส่ัง ขอร้อง หรือบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือ บุคคลอืน่ ออกทาการเรย่ี ไร ข้อ 22 เจ้าหน้าทข่ี องรฐั ที่เข้าไปมสี ว่ นเกี่ยวข้องกบั การเรย่ี ไรของบุคคลหรอื นติ ิบุคคลที่ได้รับอนุญาต จากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามกฎหมายวา่ ด้วยการควบคมุ การเร่ียไรซึ่งมิใช่หน่วยงานของรัฐจะต้อง ไมก่ ระทาการดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ใช้หรือแสดงตาแหน่งหน้าท่ีให้ปรากฏในการดาเนินการเร่ียไรไม่ว่าจะเป็นการโฆษณาด้วย สิง่ พิมพ์ตามกฎหมายว่าดว้ ยการพิมพห์ รือส่อื อย่างอ่นื หรอื ดว้ ยวธิ ีการอน่ื ใด (2) ใช้ ส่ัง ขอร้อง หรือบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือบุคคลใดช่วยทาการเรี่ยไรให้ หรือกระทาใน ลักษณะทีท่ าใหผ้ ู้ใตบ้ งั คบั บญั ชาหรือบคุ คลอน่ื นน้ั ตอ้ งตกอยู่ในภาวะจายอมไม่สามารถปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงที่ จะไม่ช่วยทาการเร่ียไรให้ได้ ไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางออ้ ม
- ๑๑๔ - แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๑ ชื่อหนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 เร่ือง ผลประโยชนท์ ับซ้อน(ชมุ ชน สงั คม) เวลา ๑ ชวั่ โมง 7. ผลการเรียนรู้ 1.19มคี วามร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์ ส่วนรวม 1.20สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ 1.21ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทุจรติ 8. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรียนสามารถ 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม 2.2 สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ 2.3 ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต 9. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interest) ผลประโยชนท์ บั ซ้อน หรอื การขดั กนั ของผลประโยชน์ (Conflict of Interest) คือ สถานการณ์ทบี่ คุ คลผูด้ ารงตาแหน่งอนั เปน็ ท่ีไวว้ างใจ ( เช่น ทนายความ นักการเมือง ผบู้ รหิ าร หรือ ผู้อานวยการของบริษัทเอกชน หรือ หนว่ ยงานรัฐ) เกิดความขัดแยง้ ข้นึ ระหว่างผลประโยชน์ สว่ นตัว กบั ผลประโยชน์ทางวิชาชีพ (professional interests) อนั ส่งผลให้ เกดิ ปญั หาท่ีเขาไม่สามารถ ปฏบิ ตั หิ น้าทไ่ี ด้อยา่ งเป็นกลาง / ไมล่ าเอยี งผลประโยชน์ทับซ้อนท่เี กดิ ขึ้น อาจส่งผลให้เกิดความไม่ ไว้วางใจท่ีมีต่อบุคคลผ้นู ้นั วา่ เขาจะสามารถปฏบิ ัติงานตามตาแหนง่ ให้อยู่ในครรลองของคณุ ธรรม จริยธรรมไดม้ ากน้อยเพียงใด ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น หรอื ความขดั แย้งกนั ระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม (Conflict of Interest : COI) เป็นประเด็นปัญหาทางการบริหารภาครัฐในปจั จบุ ันท่เี ป็น บ่อเกดิ ของปัญหาการทจุ ริตประพฤติ มชิ อบในระดับทรี่ นุ แรงข้ึน และยงั สะท้อนปัญหาการขาดหลัก ธรรมาภิบาลและเป็นอปุ สรรคตอ่ การพฒั นาประเทศ ๑) ความหมายและประเภทของการขดั กันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชนส์ ่วนรวม ๒) รูปแบบของผลประโยชน์ทับซอ้ น ๓) การกระทาที่อยู่ในข่ายของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น ๔) ประเภทของผลประโยชนท์ ับซอ้ น ๕) รปู แบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อน ๖) การรับผลประโยชน์ ๗) กจิ กรรมท่ีมีความเสยี่ งตอ่ การมผี ลประโยชนท์ บั ซ้อน 8) แนวทางการป้องกนั ปญั หาผลประโยชน์ทับซอ้ น 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด)
- ๑๑๕ - 1) ความสามารถในการสื่อสาร - ทักษะการวเิ คราะห์ - ทักษะกระบวนการคิดตดั สินใจ - ทักษะการนาความรู้ไปใช้ 2) ความสามารถในการคิด (วเิ คราะห์ จดั กลมุ่ สรปุ ) 3) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 3.3 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ / ค่านิยม 1) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ 2) ซอื่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มีจติ สาธารณะ มีอดุ มการณ์ในส่ิงที่ดงี ามเพอ่ื ส่วนรวม 3) กตัญญตู ่อพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครบู าอาจารย์ 4) ใฝห่ าความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรยี นทั้งทางตรง และทางอ้อม 5) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม 6) มศี ลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวังดตี อ่ ผ้อู นื่ เผอื่ แผ่และแบ่งปัน 7) เขา้ ใจเรยี นรูก้ ารเปน็ ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุขที่ถกู ต้อง 8) มีระเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรจู้ ักการเคารพผู้ใหญ่ 9) มสี ติรตู้ ัว รู้คดิ รทู้ า ปฏบิ ตั ติ ามพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว 10) รู้จักดารงตนอย่โู ดยใช้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รจู้ ักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเปน็ มีไวพ้ อกินพอใชถ้ า้ เหลือก็แจกจา่ ย จาหนา่ ย และพร้อมทีจ่ ะขยายกจิ การเม่ือมีความพร้อม เมื่อมภี ูมคิ ุ้มกันที่ดี 11) มคี วามเข้มแขง็ ทัง้ รา่ งกายและจิตใจไมย่ อมแพต้ อ่ อานาจฝ่ายตา่ หรือกเิ ลส มีความ ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา ๑๒) กระทาอย่างรับผดิ ชอบ ๑๓) มคี วามเปน็ ธรรมในสงั คม 10.กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรียนรู้ วิธสี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ข้นั ท่ี ๑ กระตนุ้ ความสนใจ 1) ครนู าวิดีโอขา่ วและสื่อการสอนประกอบคาบรรยาย(ppt)ทเี่ กยี่ วกบั ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น มาใหน้ กั เรียนดูและชว่ ยกันวเิ คราะห์หวั ข้อขา่ ววา่ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นคืออะไร มลี ักษณะการ กระทาใดเปน็ การกระทาทเ่ี ป็นผลประโยชน์ทับซ้อน รปู แบบของผลประโยชน์ทับซอ้ นเป็นอยา่ งไร ประเภทและรูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อนเปน็ อย่างไร การรบั ผลประโยชนผ์ ลประโยชน์ทับซอ้ น กจิ กรรมท่ีมคี วามเสย่ี งตอ่ การมีผลประโยชนท์ ับซอ้ น แนวทางการป้องกันปัญหาผลประโยชน์ทับ ซอ้ น โดยการจัดการเรยี นการสอนโดยการบรรยาย ฉายภาพยนตรเ์ ก่ยี วกับความรู้เก่ยี วกับการกรณี ความผดิ ทีก่ ระทาเกีย่ วกบั ผลประโยชน์ทับซอ้ น และศกึ ษากรณีตัวอยา่ งของปญั หาท่ีเกิดขึ้น ๒) ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่องผลประโยชนท์ บั ซ้อน (conflict of interest) (ชุมชน สงั คม) 3) ครอู ธบิ ายให้นักเรียนฟังพรอ้ มท้ังเช่ือมโยงให้นักเรยี นเข้าใจถงึ ความรูเ้ กย่ี วกบั ผลประโยชน์ทบั ซ้อนวา่ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นคืออะไร มีลักษณะการกระทาใดเป็นการกระทาทเี่ ป็น ผลประโยชนท์ ับซ้อน รปู แบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อนเป็นอย่างไร ประเภทและรปู แบบของ
- ๑๑๖ - ผลประโยชนท์ ับซ้อนเป็นอย่างไร การรับผลประโยชน์ผลประโยชนท์ ับซ้อน กจิ กรรมที่มีความเสี่ยง ตอ่ การมีผลประโยชนท์ บั ซอ้ น แนวทางการป้องกันปัญหาผลประโยชนท์ ับซอ้ น ขนั้ ท่ี ๒ สารวจคน้ หา 1) นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 5-7 คน ตามความสมัครใจให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกัน ศกึ ษาความรูเ้ รอื่ ง เก่ียวกับผลประโยชนท์ ับซ้อนว่า ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นคืออะไร มลี ักษณะการ กระทาใดเปน็ การกระทาทีเ่ ป็นผลประโยชนท์ บั ซ้อน รปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ นเปน็ อย่างไร ประเภทและรูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อนเป็นอย่างไร การรบั ผลประโยชน์ผลประโยชนท์ ับซอ้ น กิจกรรมที่มีความเสีย่ งต่อการมีผลประโยชนท์ ับซอ้ น แนวทางการป้องกันปัญหาผลประโยชนท์ บั ซ้อนจากใบความรูแ้ ละ หนังสือคน้ ควา้ เพ่มิ เติมจากห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ อินเตอร์เน็ต แลว้ นาความร้ทู ี่ได้จากการศึกษามาอภิปรายในชน้ั เรยี นร่วมกนั 2) นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ 1) สมาชิกแตล่ ะกล่มุ นาความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาเร่ือง ผลประโยชน์ทับซอ้ น(ชมุ ชน สังคม) มา อธิบายใหส้ มาชิกคนอน่ื ๆ ภายในกล่มุ ฟัง ในประเด็นตอ่ ไปนี้ 1.๑) ความหมายและประเภทของการขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ สว่ นรวม 1.๒) รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน 1.๓) การกระทาท่ีอยู่ในข่ายของผลประโยชนท์ ับซ้อน 1.๔) ประเภทของผลประโยชน์ทบั ซ้อน 1.๕) รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น 1.๖) การรบั ผลประโยชน์ 1.๗) กจิ กรรมที่มีความเสี่ยงต่อการมีผลประโยชนท์ บั ซอ้ น 1.8) แนวทางการป้องกันปญั หาผลประโยชนท์ ับซอ้ น 2) นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ขัน้ ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ 1) สมาชกิ ในกลมุ่ ร่วมกันทาใบงานท่ี ๑ เร่ือง ความหมายและประเภทของการขัดกันระหว่าง ประโยชน์สว่ นตนกับประโยชนส์ ว่ นรวม(Conflict of interest) 2) สมาชิกในกลุม่ ร่วมกันทาใบงานที่ ๒ เรอื่ งผลประโยชน์ทบั ซ้อน ๓) สมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมท้ังปรบั ปรุงแก้ไขคาตอบในใบงานที่ 1-๖ ๔) นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล 1) ครแู ละนกั เรียนชว่ ยกันเฉลยคาตอบในใบงานที่ ที่ 1-๒โดยใหส้ มาชกิ แต่ละคนในกลมุ่ เปน็ ผู้ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2) ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนแตล่ ะกล่มุ หาข่าวเก่ยี วกบั บุคคลท่มี กี ารกระทาทส่ี อดคล้องกับการปฏิบัติ ตนตามสิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชนชาวไทยผลประโยชน์ส่วนรวมและผลประโยชนส์ ว่ นตน 4.2 ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ 1) เอกสารประกอบคาบรรยาย(ppt) ๒) วีดิโอ ร้ทู นั การโกง ตอนผลประโยชนท์ บั ซอ้ น ภัยเงียบทาลายชาติ/สถาบันพระปกเกลา้
- ๑๑๗ - ๓) Paoboonjin (รบั ทรัพยส์ ิน+เป็นคสู่ ัญญา) ๔) วดี โิ อนมิ นตย์ ้มิ เดลี่ คนดีไม่คอร์รปั ชนั ตอน ทาบุญบรู ณะ วดั /https://www.youtube.com/watch?v=wv69Dr4DyiUจาก สนง.ปปช. ๕) วดิ ีโอนมิ นต์ยิม้ เดล่ี คนดีไม่คอร์รัปชันตอน แป๊ะเจ๊ยี ตอน สง่ เสรมิ ลกู นอ้ ง ๖) วิดโี อ UNDP Thailand Anti–CorruptionAnimation คอรปั ช่นั ฉนั ไม่ขอรับ/ UNDP ๗) วดิ โี อการ์ตนู เรอ่ื ง การไมย่ อมรบั และการจัดการการทจุ ริต/ TI ฮงั การี 5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วธิ ีการประเมนิ ๑) ตรวจใบงาน ที่ 1-๒ ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ๓) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ๔) สังเกตความมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั ในการทางาน ๕.๒ เครอื่ งมือที่ใช้ในการประเมนิ ๑) ตรวจใบงานที่ 1-๒ ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๔) แบบประเมินคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ 5.3 เกณฑก์ ารตัดสนิ ๑) ตรวจใบงานที่ 1-2 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ๒) ตรวจแบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๓) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๕) สังเกตความมีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 6.บนั ทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ................................ ........................................................ ............................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ................................................ ครูผู้สอน (.................................................)
- ๑๑๘ - ใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง ความหมายและประเภทของการขัดกนั ระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชน์สว่ นรวม(Conflict of interest) คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นวเิ คราะห์ข้อความต่อไปนี้แลว้ ตอบคาถามโดยศึกษาหาคาตอบจากใบความรู้แลว้ ให้ นักเรียนนามาเขยี นเปน็ แผนผังความคิด(Mind Mapping) 1. ความหมาย และรูปแบบของการขัดกันระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนกับประโยชนส์ ่วนรวม (Mind Mapping)
- ๑๑๙ - ใบงานท่ี ๒ เรื่องผลประโยชน์ทบั ซ้อน คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะห์ข้อความตอ่ ไปนี้แล้วตอบคาถามโดยศกึ ษาหาคาตอบจากใบความรู้ ๑. ประเภทและรูปแบบของผลประโยชน์ทับซอ้ นเป็นอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ผลประโยชน์ทับซอ้ นมีความหมายว่าอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การกระทาท่ีอยู่ในขา่ ยของผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมลี ักษณะอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. การรบั ผลประโยชนแ์ ละกิจกรรมทีม่ ีความเสีย่ งต่อการมีผลประโยชน์ทบั ซ้อนมีอะไรบ้างจง ยกตัวอยา่ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. แนวทางการป้องกันปญั หาผลประโยชน์ทบั ซอ้ นมีอะไรบ้าง จงยกตัวอยา่ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ๑๒๐ - แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล กลุม่ ท…ี่ ….......... คาชแ้ี จง ผู้สอนสังเกตการทางานของผู้เรยี น โดยทาเครื่องหมายถกู ลงในช่องท่ตี รงกบั ความเป็นจริง พฤติกรรม ความสนใจ การมีสว่ น การรับฟัง การตอบ ความรบั ผิด รวม ในการเรียน ร่วมแสดง ความคิดเห็น คาถาม ชอบต่องาน คะแนน ชอื่ -สกุล ความคดิ ท่ีได้รับมอบ 1 210 เห็นในการ ของผู้อืน่ 210 10 2 อภปิ ราย หมาย 3 21 0 4 210 21 0 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การประเมิน ใหค้ ะแนน 0-4 ถา้ การทางานน้ันอย่ใู นระดับต้องปรบั ปรงุ ใหค้ ะแนน 5-7 ถ้าการทางานนัน้ อยใู่ นระดับพอใช้ ใหค้ ะแนน 8-10 ถ้าการทางานน้นั อยูใ่ นระดบั ดี ลงช่ือ…………………………………………………… (…………………………………………………..) ผ้ปู ระเมนิ
- ๑๒๑ - ใบความรู้ที่ ๑ ความหมายและประเภทของการขดั กันระหว่างประโยชน์สว่ นตนกับประโยชนส์ ว่ นรวม ผลประโยชน์มี ๒ อย่าง คือ ประโยชน์ส่วนตนกบั ประโยชนส์ ่วนรวม ถา้ เราจะคิดถึงประโยชนเ์ พียง แงเ่ ดยี ว คอื ประโยชนข์ องเราสว่ นตัว ต่างคนตา่ งกต็ ้องการประโยชน์สว่ นตัว แลว้ จะเป็นประโยชน์ส่วนรวมได้ อยา่ งไร เพราะฉะนน้ั ประโยชนข์ องส่วนตัวกับประโยชน์ของสว่ นรวมก็จะต้องสอดคล้องกนั คือ ประโยชน์ ของเราก็จะต้องเกย่ี วข้องกับประโยชน์ของคนอนื่ ด้วย ไมใ่ ช่ว่าเราไดป้ ระโยชนแ์ ลว้ คนอื่นเสียประโยชน์ แลว้ ประโยชนส์ ว่ นรวมเสียไป แล้วจะทาใหเ้ รานั้นได้ประโยชน์อย่คู นเดยี วนัน้ เป็นส่งิ ที่เป็นไปไม่ได้ เพราะฉะนั้นประโยชนท์ ่แี ทจ้ รงิ คอื ประโยชนส์ ่วนรวมก็ตอ้ งมาจากประโยชน์ส่วนตัวของแต่ละคน ด้วย ถ้าแต่ละคนได้รบั ประโยชนส์ ่วนตัวหมดทุกคน ก็ทาให้สว่ นรวมไดร้ บั ประโยชน์นั้นด้วย ถา้ ประโยชน์ ส่วนตัวนนั้ เป็นไปเพอื่ ประโยชนส์ ่วนรวม เพราะฉะนน้ั ก่อนอื่นตอ้ งเข้าใจวา่ ประโยชน์ของเราส่วนตัวทาใหส้ ่วนรวมไดป้ ระโยชน์หรอื เปลา่ หรอื ถา้ ประโยชนส์ ว่ นตัวของเรานนั้ ไม่ทาให้เกิดประโยชน์แกส่ ่วนรวมเลย อนั น้ันก็ไม่มีทางสาเร็จได้ แต่ถ้า ประโยชนข์ องเราซึ่งเป็นสว่ นตัว เปน็ ประโยชนข์ องส่วนรวมดว้ ย ตา่ งคนต่างชว่ ยกัน ทาให้ได้ทัง้ ประโยชน์ ส่วนรวมและประโยชนส์ ว่ นตวั ด้วย อนั นั้นก็จะไดป้ ระโยชน์ท้ัง ๒ ฝ่าย แต่กอ่ นท่ีจะถึงขั้นน้ีได้ ก็จะต้องมีความขัดแย้งหรือมีปัญหา เพราะว่าคนเราคิดไม่เหมือนกนั เพราะฉะนนั้ กอ่ นอ่นื กจ็ ะต้องเรมิ่ ด้วย มคี วามจรงิ ใจต่อประโยชน์สว่ นรวม เม่ือมีความจริงใจตอ่ ประโยชน์ ส่วนรวม ก็รับฟงั ความเหน็ ของคนอนื่ ไมใ่ ชค่ วามเห็นของตนเองเท่าน้นั เพอ่ื ประโยชนส์ ่วนรวมจริงๆ
- ๑๒๒ - ใบความรทู้ ่ี ๒ เร่ืองผลประโยชน์ทบั ซอ้ น (Conflict Of Interests) ประโยชน์ทับซ้อน หรือความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of interest : COI) เป็นประเด็นปัญหาทางการบริหารภาครัฐในปัจจุบันท่ีเป็นบ่อเกิดของปัญหา การทุจริตประพฤติ มิชอบในระดับที่รุนแรงขึ้น และยังสะท้อนปัญหาการขาดหลักธรรมาภิบาลและเป็น อุปสรรคตอ่ การพฒั นาประเทศ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ได้กาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของ ข้าราชการในการป้องกนั ปัญหา ผลประโยชน์ทบั ซ้อนในการปฏิบัติราชการหลายประการ ดังปรากฏในหมวด ๒ ข้อ ๓ (๓) ข้อ ๕(๑),(๒),(๓),(๔) ข้อ ๖(๑),(๒),(๓) ข้อ ๗(๔),(๕) ข้อ ๘(๕) ข้อ ๙(๑) เป็นต้น ความหมาย : สานักงาน ก.พ. สถานการณ์หรือการกระทาของบุคคล (ไม่ว่าจะเป็นนักการเมืองข้าราชการ พนักงานบริษัท ผู้บริหาร) มีผลประโยชน์ส่วนตนเข้ามาเกี่ยวข้อง จนส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจหรือการปฏิบัติหน้าที่ใน ตาแหนง่ น้นั การกระทาดงั กล่าวอาจเกดิ ขึน้ โดยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว ท้ังเจตนาหรือไม่เจตนาหรือบางเรื่องเป็นการ ปฏิบัติสืบต่อกันมา จนไม่เห็นว่าจะเป็นสิ่งผิดแต่อย่างใดพฤติกรรมเหล่าน้ีเป็นการกระทาความผิดทาง จริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ท่ีต้องคานึงถึงผลประโยชน์สาธารณะ (ประโยชน์ของส่วนรวม) แต่กลับ ตัดสินใจปฏิบัติหน้าที่โดยคานึงถึงประโยชน์ ของตนเองหรือพวกพ้อง มูลเหตุปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน ปัญหาผลประโยชนท์ ับซอ้ นเกดิ จากการพัฒนาการทางการเมืองไทยเปลี่ยนไป จากเดิมที่นักการเมืองและ นัก ธุรกจิ เป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน กล่าวคือในอดีต นักธุรกิจต้องพ่ึงพิงนักการเมือง เพ่ือให้นักการเมืองช่วยเหลือ สนับสนุนธุรกิจของตน ซ่ึงในบางครั้งสิ่งที่นักธุรกิจต้องการนั้น มิได้รับการตอบสนองจากนักการเมืองทุกครั้ง เสมอไป นักธุรกิจกต็ ้องจ่ายเงินจานวนมากแก่นักการเมือง ในปัจจบุ ันนกั ธุรกิจจึงใชว้ ธิ กี ารเข้ามาเล่นการเมือง เองเพอื่ ใหต้ นเอง สามารถเข้ามาเปน็ ผ้กู าหนดนโยบายและออกกฎเกณฑ์ต่างๆ ในสังคมได้ และที่สาคัญคือทา ให้ขา้ ราชการต่างๆ ตอ้ งปฏบิ ัติตามคาสั่ง ผลประโยชน์ทับซอ้ น ภาษาไทยใช้อยู่ ๓ อย่าง ๑. ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น ๓. ผลประโยชน์ขัดกนั นิยามศัพท์และแนวคิดสาคัญ ผลประโยชน์ส่วนตน (private interest) “ผลประโยชน์” คือ ส่ิงใดๆ ท่ีมีผลต่อบุคคล/กลุ่ม ไม่ว่าในทางบวกหรือลบ “ผลประโยชน์ส่วนตน” ไม่ได้ครอบคลุมเพียงผลประโยชน์ ด้านการงานหรือธุรกิจของเจ้าหน้าที่ แต่รวมถึงคนท่ีติดต่อ สัมพันธ์ด้วย เช่น เพื่อน ญาติคู่แข่ง ศัตรูเมื่อใด เจ้าหน้าท่ีประสงค์จะให้คนเหล่าน้ีได้หรือเสียประโยชน์ เมื่อน้ันก็ถือ ว่ามีเร่ืองผลประโยชน์ส่วนตนมา เกี่ยวข้อง ผลประโยชน์ส่วนตน มี๒ ประเภท คือ ท่ีเกี่ยวกับเงิน (pecuniary) และที่ไม่เก่ียวกับเงิน (non- pecuniary) ๑. ผลประโยชน์ส่วนตนท่ีเกี่ยวกับเงิน ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มาซึ่งเงินทองเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวกับการ เพิ่มพูน ประโยชน์หรือปกป้องการสูญเสียของส่ิงท่ีมีอยู่แล้ว เช่น ท่ีดิน หุ้น ตาแหน่งในบริษัทที่รับงานจาก หนว่ ยงาน รวมถงึ การได้มาซึง่ ผลประโยชนอ์ นื่ ๆ ที่ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นรปู ตัวเงิน เช่น สัมปทาน ส่วนลดของขวัญ หรือ ของท่ีแสดงน้าใจไมตรีอ่นื ๆ ๒. ผลประโยชน์ที่ไม่เกี่ยวกับเงิน เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ครอบครัว หรือกิจกรรมทาง สังคม วัฒนธรรมอื่น ๆ เช่น สถาบันการศึกษา สมาคม ลัทธิแนวคิด มักอยู่ในรูปความลาเอียง/อคติ/เลือกที่ รักมักท่ีชัง และ มีข้อสังเกตว่าแม้แต่ความเช่ือ/ความคิดเห็นส่วนตัวก็จัดอยู่ในประเภทนี้ • หน้าที่สาธารณะ (public duty) หน้าที่สาธารณะของผู้ท่ีทางานให้ภาครัฐคือ การให้ความสาคัญอันดับต้นแก่ ประโยชน์
- ๑๒๓ - สาธารณะ (public interest) คนเหล่านี้ไม่จากัดเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐท้ังระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ เท่านั้น แต่ยังรวมถึงคนอื่น ๆ ท่ีทางานให้ภาครัฐ เช่น ที่ปรึกษา อาสาสมัคร • ผลประโยชน์สาธารณะ คือ ประโยชนข์ องชมุ ชนโดยรวม ไมใ่ ช่ผลรวมของผลประโยชน์ของปัจเจกบุคคล และไม่ใช่ ผลประโยชน์ของกลุ่ม คน การระบุผลประโยชน์สาธารณะไม่ใช่เร่ืองง่าย แต่ในเบ้ืองต้นเจ้าหน้าที่ภาครัฐสามารถให้ ความสาคัญ อันดบั ต้นแกส่ ิง่ นโ้ี ดย - ทางานตามหน้าท่อี ยา่ งเตม็ ท่แี ละมปี ระสิทธภิ าพ - ทางานตามหน้าที่ตามกรอบและมาตรฐานทางจรยิ ธรรม - ระบุผลประโยชนท์ บั ซอ้ นทีต่ นเองมหี รอื อาจจะมแี ละจดั การอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ - ให้ความสาคัญอันดับต้นแก่ผลประโยชน์สาธารณะ มีความคาดหวังว่าเจ้าหน้าที่ต้องจากัดขอบเขตที่ ประโยชน์ สว่ นตนจะมามผี ลต่อความเป็นกลางในการทาหน้าที่ - หลีกเลย่ี งการตดั สนิ ใจหรอื การทาหน้าที่ท่ีมีผลประโยชนท์ บั ซ้อน - หลีกเล่ยี งการกระทา/กจิ กรรมส่วนตนที่อาจทาให้คนเห็นว่าได้ประโยชน์จากข้อมลู ภายใน - หลกี เล่ียงการใช้ตาแหน่งหน้าที่หรือทรพั ยากรของหน่วยงานเพ่ือประโยชน์ส่วนตน - ปอ้ งกนั ข้อครหาวา่ ไดร้ ับผลประโยชน์ทไ่ี ม่สมควรจากการใช้อานาจหนา้ ที่ - ไมใ่ ช้ประโยชนจ์ ากตาแหน่งหรือข้อมูลภายในทไ่ี ดข้ ณะอยใู่ นตาแหน่ง ขณะทไี่ ปหาตาแหน่งงานใหม่ . • ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interests) องค์กรสากล คือ Organization for Economic Cooperation and Development (OECD) นิยามว่าเป็นความทับซ้อนระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ทับซ้อน มี๓ ประเภท คือ ๑. ผลประโยชน์ทับซ้อนที่เกิดข้ึนจริง (actual) มีความทับซ้อนระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนและสาธารณะเกิดข้ึน ๒. ผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีเห็น (perceived & apparent) เป็น ผลประโยชน์ทับซ้อนที่คนเห็นว่ามีแต่จริงๆ อาจไม่มีก็ได้ถ้าจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนประเภทน้ีอย่างขาด ประสิทธิภาพ ก็อาจนามาซ่ึงผลเสียไม่น้อยกว่าการ จัดการผลประโยชน์ทับซ้อนที่เกิดขึ้นจริง ข้อนี้แสดงว่า เจ้าหน้าที่ไม่เพียงแต่จะต้องประพฤติตนอย่างมีจริยธรรม เท่านั้น แต่ต้องทาให้คนอื่น ๆ รับรู้และเห็นด้วยว่า ไม่ได้รับประโยชน์เช่นนั้นจริง ๓. ผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีเป็นไปได้ (potential) ผลประโยชน์ส่วนตนที่มีใน ปจั จุบนั อาจจะทับซ้อนกบั ผลประโยชนส์ าธารณะไดใ้ นอนาคต • หนา้ ทท่ี ับซ้อน (conflict of duty) หรือผลประโยชน์เบียดซอ้ นกัน (competing interests) มี ๒ ประเภท ๑. ประเภทแรก เกิดจากการท่ีเจ้าหน้าที่มีบทบาทหน้าที่มากกว่าหนึ่ง เช่น เป็น เจ้าหน้าท่ีในหน่วยงานและ เป็นคณะกรรมการด้านระเบียบวินัยประจาหน่วยงานด้วย ปัญหาจะเกิดเม่ือไม่ สามารถแยกแยะบทบาทหน้าที่ท้ังสอง ออกจากกันได้อาจทาให้ทางานไม่มีประสิทธิภาพ หรือแม้กระท่ังเกิด ความผิดพลาดหรือผิดกฎหมาย ปกติหน่วยงาน มักมีกลไกป้องกันปัญหาน้ีโดยแยกแยะบทบาทหน้าที่ต่างๆ ใหช้ ัดเจน แตก่ ย็ งั มีปัญหาไดโ้ ดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ใน หนว่ ยงานท่มี ีกาลงั คนน้อยหรือมีเจ้าหน้าท่ีบางคนเท่านั้นท่ี สามารถทางานบางอย่างที่คนอ่ืนๆ ท าไม่ได้คนส่วนใหญ่ ไม่ค่อยห่วงปัญหาน้ีกันเพราะดูเหมือนไม่มีเรื่อง ผลประโยชนส์ ่วนตนมาเกีย่ วขอ้ ง ๒. ประเภทที่สอง เกดิ จากการท่ีเจา้ หนา้ ท่มี ีบทบาทหน้าท่ีมากกว่าหนึ่งบทบาท และการทาบทบาท หน้าท่ี ในหน่วยงานหนึ่งน้ัน ทาให้ได้ข้อมูลภายในบางอย่างที่อาจนามาใช้เป็นประโยชน์แก่การทาบทบาท หน้าทีใ่ หแ้ ก่ อีกหน่วยงานหนงึ่ ได้ผลเสยี คือ ถ้านาขอ้ มูลมาใช้ก็อาจเกิดการประพฤติมิชอบหรือความลาเอียง/ อคตติ อ่ คนบางกลุ่ม ควรถือว่าหน้าท่ีทับซ้อนเป็นปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนด้วย เพราะว่ามีหลักการจัดการ แบบเดียวกัน น่นั คือ การตัดสินใจทาหน้าทต่ี อ้ งเป็นกลางและกลไกการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนก็สามารถ
- ๑๒๔ - นามาจัดการกับหน้าท่ีทับซ้อนได้ ความหมายและประเภทของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับ ประโยชนส์ ่วนรวม ความขดั แยง้ (Conflict) สถานการณ์ทีข่ ัดกนั ไม่ลงรอยเปน็ เหตุการณ์อันเกิดข้ึนเมื่อบุคคล ไม่สามารถตัดสินใจ กระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง ความขัดแย้งอาจเกิดข้ึนได้จากความไม่ลงรอยกันในเร่ือง ความคิด แนวทางปฏิบัติ หรือ ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ส่วนตน (Private Interests) เป็นผลตอบแทนที่ บุคคลได้รับ โดยเห็นว่ามีคุณค่าท่ีจะสนองตอบความ ต้องการของตนเองหรือของกลุ่มที่ตนเองเกี่ยวข้อง ผลประโยชน์เป็นสิ่งจูงใจให้คนเรามีพฤติกรรมต่างๆ เพ่ือสนอง ความต้องการท้ังหลาย (เพ็ญศรี วายวานนท์ ,2527:154) ผลประโยชน์ส่วนรวมหรือผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interests) หมายถึง ส่ิงใดก็ตามที่ให้ ประโยชน์สุขแก่บุคคลท้ังหลายในสังคม ผลประโยชน์สาธารณะ ยังหมายรวมถึงหลัก ประโยชน์ต่อมวล สมาชิกในสังคม ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict Of Interests) เป็นสถานการณ์ท่ีบุคคลในฐานะพนักงานหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ใช้ตาแหน่งหรืออานาจหน้าที่ใน การแสวงประโยชน์แก่ ตนเอง กลุ่มหรือพวกพ้อง ซึ่งเป็นการละเมิดทางจริยธรรม และส่งผลกระทบหรือ ความเสียหายตอ่ ประโยชน์ สาธารณะ คาอ่ืนท่ีมีความหมายถงึ ความขัดแย้งกันแห่งผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม ได้แก่ การมีผลประโยชน์ ทับ ซ้อน ความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ของผู้ดารงตาแหน่งสาธารณะ และรวมถึงคอร์รัปช่ันเชิงนโยบาย คอรร์ ปั ชน่ั สเี ทา ความหมายของ (Conflict Of Interests กับ Corruption) - Conflict of Interests เป็นรูปแบบหน่ึงของ Corruption แต่ระดับหรือขนาด และขอบเขต ตา่ งกัน - Conflict of Interests นาไปสู่ Corruption ทีร่ ุนแรงข้นึ - Conflict of Interests เกี่ยวกับการใช้อานาจท่ีเป็นทางการ เช่ือมโยงกับกฎหมาย ระเบียบการ ปฏิบัติ และส่วนที่ไม่เป็นทางการ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ขยายไปถึงเร่ืองครอบครัว ต้องพิจารณา ความสัมพันธ์ เชน่ ค่สู มรส และคนในเครอื ญาติ รูปแบบ (Conflict Of Interests) การรบั ผลประโยชน์ (Accepting Benefits) ไดแ้ ก่ - การรับของขวญั หรอื ของกานลั ทมี่ ีคา่ อ่ืนๆ ซ่ึงสง่ ผลตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ - การที่บริษัทสนับสนุนการเดินทางไปประชุม/ดูงานในต่างประเทศ ของผู้บริหารและอาจรวมถึง ครอบครัว - การท่หี น่วยงานราชการรบั เงินบริจาคสรา้ งสานกั งานจากบรษิ ทั ธรุ กิจท่ีตดิ ตอ่ กบั หนว่ ยงาน - เจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั รับของแถมหรือผลประโยชนใ์ นการปฏบิ ตั ิงานท่เี กยี่ วกับการจัดซื้อจัดจา้ ง - การที่บุคคลปฏิบัติหน้าท่ีเอาผลประโยชน์ส่วนตัวไปพัวพันในการตัดสินใจ เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อ ตนเอง และเปน็ การเสยี ประโยชนข์ องทางการ การกระทาทอ่ี ยใู่ นข่าย Conflict of Interests ความหมาย รับผลประโยชน์ (Accepting Benefits) คือ การรับสินบนหรือรับของขวัญ เช่น เป็นเจ้าพนักงานสรรพากร แล้วรับเงินจากผู้มา เสียภาษี หรือเป็น เจ้าหน้าที่จัดซื้อแล้วไปรับไม้กอล์ฟจากร้านค้า เป็นต้น ใช้อิทธิพล (Influence Peddling) เป็นการเรียก ผลตอบแทนในการใชอ้ ิทธิพลในตาแหนง่ หนา้ ท่ีเพื่อส่งผลที่ เปน็ คุณแก่ฝา่ ยใด ฝา่ ยหนึง่ อยา่ งไมเ่ ป็นธรรม - ใช้ทรัพย์สินของนายจ้างเพ่ือประโยชน์ส่วนตน (Using employer’s property for private advantage) ได้แก่ การใชร้ ถราชการ หรอื ใช้คอมพวิ เตอรข์ องราชการทางานสว่ นตัว เปน็ ตน้ - ใช้ขอ้ มลู ลับของราชการ (Using confidential information) เช่น รู้ว่าราชการจะตัดถนน แล้วรีบชิงไปซื้อ ที่ดักหน้าไว้กอ่ น
- ๑๒๕ - - รับงานนอก (Outside employment or moonlighting) ได้แก่ การเปิดบริษัทหากินซ้อนบริษัทที่ตนเอง ทางาน เช่น เป็นพนักงานขายแอบเอาสินค้าตัวเองมาขายแข่ง หรือเช่นนักบัญชีท่ีรับงานส่วนตัวจนไม่มีเวลา ทางานบัญชีในหนา้ ท่ีใหร้ าชการ - ทางานหลงั ออกจากตาแหน่ง (Post Employment) เป็นการไปทางานให้ผู้อื่นหลังออกจากงานเดิม โดยใช้ ความรู้หรืออิทธพิ ลท่ีเดิมมาชิงงาน หรือเอาประโยชน์โดยไม่ชอบธรรม เช่น เอาความรู้ในนโยบาย และ แผน ของธนาคารชาตไิ ปชว่ ยธนาคารเอกชนหลังเกษียณ ผลประโยชน์ทบั ซ้อน (Conflict Of Interest) ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือการขัดกันของผลประโยชน์ (conflict of interest) คือ สถานการณ์ที่ บุคคลผู้ดารงตาแหน่งอันเป็นที่ไว้วางใจ ( เช่น ทนายความ นักการเมือง ผู้บริหาร หรือ ผู้อานวยการของ บริษัทเอกชน หรือ หน่วยงานรัฐ) เกิดความขัดแย้งข้ึนระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตัวกับผลประโยชน์ทาง วิชาชีพ (professional interests) อันส่งผลให้ เกิดปัญหาที่เขาไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างเป็นกลาง / ไม่ลาเอยี งผลประโยชน์ทับซ้อนทเี่ กิดขน้ึ อาจสง่ ผลใหเ้ กดิ ความไม่ไว้วางใจที่มตี ่อบคุ คลผู้นั้น ว่าเขาจะสามารถ ปฏิบตั ิงานตามตาแหน่งให้อยู่ในครรลองของคณุ ธรรมจริยธรรมได้มากน้อยเพยี งใด ภาษาไทยใช้อยู่ 3 อยา่ ง คอื 1. ความขดั แย้งกันระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. ผลประโยชนท์ ับซ้อน 3. ผลประโยชนข์ ดั กนั ผลประโยชน์ทับซ้อน ความหมายของ สานกั งาน ก.พ. สถานการณ์หรือการกระทาของบุคคล (ไม่ ว่าจะเป็นนักการเมอื ง ขา้ ราชการ พนกั งานบริษัท ผบู้ ริหาร) มผี ลประโยชน์ สว่ นตนเข้ามาเกี่ยวข้อง จนส่งผล กระทบต่อการตัดสินใจหรือการปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่งน้ัน การกระทา ดังกล่าวอาจเกิดขึ้นโดยรู้ตัวหรือไม่ รู้ตัวท้ังเจตนาหรือไม่เจตนาหรือ บางเรื่อง เป็นการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนไม่เห็นว่าจะเป็นส่ิงผิดแต่อย่างใด พฤตกิ รรมเหลา่ นี้เป็นการกระทาความผดิ ทางจริยธรรมของเจา้ หน้าท่ีรัฐที่ต้องคานึงถึงผลประโยชน์สาธารณะ (ประโยชน์ ของส่วนรวม) แต่กลบั ตดั สนิ ใจปฏบิ ัติหนา้ ท่โี ดยคานงึ ถึงประโยชน์ของตนเองหรือพวกพ้อง แนวคดิ ของวิชาการ ใหค้ วามหมายของผลประโยชนท์ ับซ้อนไว้ 4 ประการ ดงั น้ี 1. ความหมายอย่างกว้างหมายรวมถึงการปฏิบัติงานตามตาแหน่งหน้าที่ท่ีรับผิดชอบอย่างต่อ หน่วยงานหรือองค์การหรือต่อส่วนรวมแต่ดาเนินการตัดสินใจปฏิบัติหน้าท่ีโดยคานึงถึงผลประโยชน์ของ ตนเอง ครอบครัว และเพือ่ นฝูง 2.ผลประโยชน์ทับซ้อนสามารถเกิดข้ึนได้ทั้งในหน่วยงาน ภาครัฐ องค์กรธุรกิจ สถาบันการศึกษา องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรวิชาชีพต่างๆ โดยสมารถเกิดข้ึนได้ทั้งในระดับนโยบายของชาติ หน่วยงาน ราชการ และองคก์ รในระดับทอ้ งถ่นิ ดงั นน้ั ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นจึงมมี ลู คา่ คาวมเสยี หายต้ังแต่ไม่กี่ร้อยบาทไป จนถึงนับหมื่นล้านบาท และในบางกรณีความเสียมิได้ปรากฏออกมาในรูปของท่ีเป็นวัตถุโดย แต่ยังรวมถึง ผลประโยชน์มิใช่วัตถอุ กี ด้วย 3. ผลประโยชน์ทับซ้อนมิได้จากัดเฉพาะผลประโยชน์ของ บุคคลเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการมีอคติใน การตัดสนิ ใจหรอื ดาเนินการอนั มงุ่ ตอบสนองต่อผลประโยชน์ของหน่วยงานอีกหน่วยงานหนึ่งด้วย เช่น การที่ บุคคลดารงตาแหน่งซ้อนกันในสองหน่วยงาน อันก่อให้เกิดการทาบทบาทท่ีขัดแย้งกัน และมีการใช้อานาจ หน้าที่ของหน่วยงานหน่ึงไปรับใช้ผลประโยชน์ของอีกหนว่ ยงานหนึ่ง
- ๑๒๖ - 4. “การฉ้อราษฎร์บังหลวง”และ“การคอร์รัปชัน เชิงนโยบาย” (Policy Corruption) ต่างก็เป็น รูปแบบหน่ึงของผลประโยชน์ทับซ้อน เนื่องจากท้ังสอง รูปแบบต่างเป็นการใช้ตาแหนงหน้าท่ีสาหรับมุ่ง ตอบสนอง ตอ่ ผลประโยชนส์ ว่ นตัวและ/หรือพรรคพวก สรุป ผลประโยชน์ส่วนตน กับ ผลประโยชน์ส่วนรวม ขัดกัน เจ้าหน้าท่ีของรัฐ มีหน้าท่ีรักษา ผลประโยชน์สว่ นรวม การปฏิบัตหิ นา้ ที่ของเจ้าหนา้ ท่ี จงึ ตอ้ งไม่มผี ลประโยชน์ส่วนตัวเขา้ มา เกย่ี วขอ้ ง 1. การใช้ตาแหนง่ ไปดาเนนิ การเพ่ือประโยชน์ทางธรุ กิจของตนเองโดยตรง 2. ใชต้ าแหนง่ ไปช่วยเหลอื ญาตสิ นทิ มติ รสหาย 3. การรับผลประโยชน์โดยตรง 4. การแลกเปลย่ี นผลประโยชน์โดยใช้ตาแหน่งหนา้ ท่กี ารงาน 5. การนาทรัพยส์ นิ ของหน่วยงานไปใชส้ วนตวั 6. การนาข้อมูลอันเปน็ ความลบั ของหน่วยงานมาใชป้ ระโยชน์ส่วนตัว 7. การทางานอีกแหง่ หนึง่ ท่ีขัดแยง้ กบั แห่งเดิม 8. ผลประโยชน์ทบั ซ้อนจากการเปลย่ี นสถานที่ทางาน 9. การปิดบังความผดิ มาตรการในการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตตามรัฐธรรมูนญ 1. มาตรการคัดสรรคนดีเขาสู่ตาแหนง่ ทางการเมือง 2. การกาหนดมาตรการป้องกนการทุจรติ ในตาแหน่ง 3. การเพ่ิมระบบและองค์การตรวจสอบการใช้อานาจ 4. การมสว่ นรวมของประชาชนในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต การกาหนดมาตรการป้องกันการทุจรติ ในตาแหน่ง 1. การมปี ระมวลจรยิ ธรรมและการห้ามผลประโยชนข์ ดั กัน 2. การใหแ้ สดงบัญชที รัพย์และหนสี้ ิน 3. การใช้หลกั โปร่งใสในการใช้อานาจ แนวทางการปฏบิ ัตติ นของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 1. หลกั นิตธิ รรม 2. หลกั คณุ ธรรม 3. หลกั ความโปร่งใส 4. หลักการมีส่วนรวม 5. หลกั ความรับผิดชอบ 6. หลักความคุ้มคา่
- ๑๒๗ - แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8 เร่อื ง รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน (ชมุ ชน สังคม) เวลา ๑ ชว่ั โมง 1. ผลการเรียนรู้ 1.22มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม 1.23สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 1.24ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกันการทุจรติ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ นักเรียนสามารถ 2.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2.2 สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ 2.3 ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ ผลประโยชนท์ ับซอ้ น หรอื การขดั กนั ของผลประโยชน์ (conflict of interest) คอื สถานการณ์ท่ีบคุ คลผดู้ ารงตาแหนง่ อันเป็นที่ไวว้ างใจ ( เช่น ทนายความ นักการเมือง ผู้บริหาร หรือ ผอู้ านวยการของบรษิ ัทเอกชน หรือ หน่วยงานรัฐ) เกิดความขัดแยง้ ขึ้นระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตัว กับผลประโยชนท์ างวชิ าชีพ (professional interests) อันสง่ ผลให้ เกดิ ปญั หาทเี่ ขาไมส่ ามารถ ปฏิบัตหิ น้าที่ได้อย่างเป็นกลาง / ไม่ลาเอยี งผลประโยชนท์ ับซ้อนทเ่ี กิดข้ึน อาจสง่ ผลให้เกดิ ความไม่ ไว้วางใจทม่ี ีต่อบุคคลผ้นู ั้น วา่ เขาจะสามารถปฏิบตั ิงานตามตาแหนง่ ให้อยู่ในครรลองของคณุ ธรรม จริยธรรมได้มากน้อยเพยี งใด ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือความขดั แย้งกนั ระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม (Conflict of interest : COI) เปน็ ประเด็นปัญหาทางการบริหารภาครัฐในปัจจบุ นั ท่ีเป็น บอ่ เกิดของปัญหาการทุจรติ ประพฤติ มิชอบในระดับท่ีรนุ แรงขนึ้ และยังสะท้อนปญั หาการขาดหลัก ธรรมาภบิ าลและเปน็ อปุ สรรคตอ่ การพัฒนาประเทศ 1ประเภทของผลประโยชนท์ ับซ้อน 2) ตวั อยา่ งประโยชน์ทบั ซ้อน 3) รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น ๔) การรับประโยชนต์ ่างๆ ๕) แนวทางปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาผลประโยชน์ทับซอ้ น 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ ) 1) ความสามารถในการส่ือสาร (ทักษะการวเิ คราะห,์ ทักษะกระบวนการคิดตดั สนิ ใจ, ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้) 2) ความสามารถในการคิด (วเิ คราะห์ จัดกลุ่ม สรปุ ) 3) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
- ๑๒๘ - 3.3 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ / คา่ นิยม 1) มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 2) ซอ่ื สัตย์ เสยี สละ อดทน มีจติ สาธารณะ มีอดุ มการณ์ในสง่ิ ทีด่ ีงามเพือ่ ส่วนรวม 3) กตัญญตู ่อพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครูบาอาจารย์ 4) ใฝ่หาความรู้ หมัน่ ศึกษาเล่าเรียนทงั้ ทางตรง และทางอ้อม 5) รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6) มศี ีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดตี ่อผอู้ ่ืน เผ่อื แผ่และแบ่งปัน 7) เขา้ ใจเรียนร้กู ารเปน็ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ท่ีถกู ต้อง 8) มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรจู้ กั การเคารพผูใ้ หญ่ 9) มีสติรู้ตวั รู้คิด ร้ทู า ปฏบิ ตั ิตามพระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั 10) รู้จักดารงตนอยโู่ ดยใชห้ ลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รจู้ ักอดออมไวใ้ ช้เมื่อยามจาเปน็ มไี วพ้ อกนิ พอใชถ้ า้ เหลอื ก็แจกจ่าย จาหน่าย และพร้อมท่จี ะขยายกจิ การเม่ือมีความพร้อม เมื่อมภี ูมิคุ้มกันที่ดี 11) มีความเข้มแข็งท้งั รา่ งกายและจิตใจไมย่ อมแพต้ อ่ อานาจฝ่ายต่า หรอื กเิ ลส มคี วาม ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลกั ของศาสนา ๑๒) กระทาอยา่ งรบั ผดิ ชอบ ๑๓) มีความเปน็ ธรรมในสงั คม 4. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.1 ขัน้ ตอนการเรยี นรู้ วธิ ีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขนั้ ท่ี ๑ กระตนุ้ ความสนใจ 1) ครูนาวดี โี อข่าวและสื่อการสอนประกอบคาบรรยาย(ppt)ท่ีเกยี่ วกบั รูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ นมาใหน้ กั เรยี นดูและช่วยกนั วิเคราะหห์ ัวข้อข่าวว่า การกระทาใดเป็นการกระทาเป็นลกั ษณะของ ผลประโยชน์ทบั ซ้อน โดยการจัดการเรยี นการสอนโดยการบรรยาย ฉายภาพยนตร์เก่ยี วกบั ความรู้ เกี่ยวกบั รูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อน และศกึ ษากรณีตัวอย่างของปญั หาทเี่ กิดขนึ้ 2) นักเรยี นแต่ละคนจะแสดงความคดิ เห็นพรอ้ มอธบิ ายเหตุผลแตกตา่ งกันไป ครูรว่ มอภิปรายว่า รปู แบบเปน็ การใช้อานาจหน้าที่ทผี่ ดิ 3) ใหน้ กั เรยี นศึกษาใบความรู้เรอ่ื งรูปแบบของผลประโยชนท์ บั ซ้อน(ชมุ ชน สังคม) 4) ครูอธบิ ายใหน้ ักเรียนรเู้ ก่ียวกับรูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อนพรอ้ มท้งั เช่ือมโยงให้นักเรยี น เขา้ ใจถึงรูปแบบของผลประโยชน์ทับซอ้ นว่ามีลกั ษณะอย่างไร ขั้นท่ี ๒ สารวจคน้ หา 1) นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ตามความสมัครใจให้นักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกันศึกษาความรู้ เรอ่ื ง รูปแบบของผลประโยชน์ทับซอ้ นจากใบความรูแ้ ละหนังสอื ค้นควา้ เพ่ิมเติมจากห้องสมดุ และ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ อนิ เตอรเ์ นต็ แลว้ นาความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษามาอภปิ รายในชัน้ เรียนรว่ มกนั 2) นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู้ 1) สมาชิกแตล่ ะกลุ่มนาความรูท้ ี่ได้จากการศึกษาเร่อื งรูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น (ชุมชน สังคม) มาอธิบายให้สมาชกิ คนอืน่ ๆ ภายในกลุ่มฟัง ในประเด็นตอ่ ไปนี้ 1.1 ประเภทของผลประโยชน์ทับซอ้ น
- ๑๒๙ - 1.2 ตวั อย่างประโยชน์ทบั ซอ้ น 1.3 รปู แบบของผลประโยชน์ทับซอ้ น 1.4 การรบั ประโยชนต์ ่างๆ 1.5 แนวทางปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาผลประโยชน์ทบั ซอ้ น 2) นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด ขั้นท่ี 4 ขยายความเข้าใจ 1) สมาชิกในกลุ่มร่วมกนั ทาใบงานเรอ่ื งรูปแบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ น 2) สมาชิกในกล่มุ ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมท้ังปรับปรุงแก้ไขคาตอบในใบงาน 3) นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล 1) ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกนั เฉลยคาตอบในใบงานโดยใหส้ มาชิกแต่ละคนในกลมุ่ เป็นผตู้ รวจสอบความ ถูกต้อง 2) ครูมอบหมายให้นักเรยี นแต่ละกลุม่ หาขา่ วเก่ยี วกบั บุคคลทมี่ ีการกระทาตัวในลกั ษณะทบี่ ง่ บอกถึง ที่ รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน 4.2 สอ่ื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) เอกสารประกอบคาบรรยาย(ppt) ๒) วิดีโอ เร่ืองMOST –The Bridge v.2 ไทย ๓) Paoboonjin (รบั ทรัพย์สิน+เปน็ คสู่ ญั ญา) ๔) ข่าวตะลงึ เบญจมฯเมือนคอนข้ึนปา้ ยยกเลิกเด็กฝากเขา้ เรยี น/ข่าวจากเว็บ DMCTODAY ๕) วีดีโอรทู้ นั การโกง ตอนผลประโยชน์ทบั ซ้อน ภัยเงียบทาลายชาติ/สถาบันพระปกเกลา้ 5. การประเมินผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธีการประเมิน ๑) ตรวจใบงาน ๒) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล ๓) สงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ๔) สังเกตความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ ม่นั ในการทางาน ๕.๒ เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการประเมนิ ๑) ตรวจใบงาน ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ๔) แบบประเมินคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
- ๑๓๐ - 5.3 เกณฑก์ ารตัดสนิ ๑) ตรวจใบงานท่ี 1-๓ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ๒) ตรวจแบบบนั ทึกการอ่าน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๓) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๔) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๕) สังเกตความมวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่นั ในการทางาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 6.บนั ทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ................................ ....................................................... .............................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ................................................... .................................................................................................. ...................... ลงช่ือ ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................)
คาชีแ้ จง - ๑๓๑ - ใบงานเรอ่ื งรูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน ให้นักเรยี นวิเคราะหข์ อ้ ความตอ่ ไปน้ีแล้วตอบคาถามโดยศึกษาหาคาตอบจากใบความรู้ 1) ประเภทของผลประโยชน์ทบั ซ้อนมกี ีป่ ระเภท อะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2) ใหน้ ักเรียนยกตัวอย่างประโยชน์ทบั ซอ้ นจากข่าวและคลิปวีดีโอที่นักเรียนคน้ ควา้ มา ๑ ตัวอยา่ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3) รปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมีกรี่ ูปแบบอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔) การรับประโยชน์ต่างๆจากผลประโยชน์ทับซ้อนมีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕) แนวทางป้องกนั และแก้ไขปญั หาผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมีอะไรบ้างจงยกตวั อยา่ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ๑๓๒ - แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคล กลุม่ ท…ี่ ….......... คาชแ้ี จง ผู้สอนสังเกตการทางานของผ้เู รยี น โดยทาเครอ่ื งหมายถูกลงในช่องท่ตี รงกบั ความเป็นจริง พฤติกรรม ความสนใจ การมีสว่ น การรบั ฟงั การตอบ ความรบั ผิด รวม ในการเรียน ร่วมแสดง ความคดิ คาถาม ชอบต่องาน คะแนน ชอื่ -สกุล ความคดิ เห็นของ ทไี่ ดร้ บั มอบ 1 210 เห็นในการ 210 10 2 อภิปราย ผูอ้ ่ืน หมาย 3 4 210 210 210 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การประเมิน ใหค้ ะแนน 0-4 ถา้ การทางานน้ันอย่ใู นระดับต้องปรบั ปรงุ ใหค้ ะแนน 5-7 ถ้าการทางานนัน้ อยู่ในระดับพอใช้ ใหค้ ะแนน 8-10 ถ้าการทางานน้นั อยูใ่ นระดบั ดี ลงช่ือ…………………………………………………… (…………………………………………………..) ผ้ปู ระเมนิ
- ๑๓๓ - ใบความรู้ เร่ือง รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน ประเภทของผลประโยชนท์ บั ซอ้ น 1. การใช้ตาแหนง่ ไปดาเนนิ การเพ่อื ประโยชนท์ างธุรกจิ ของตนเองโดยตรง 2. ใชต้ าแหนง่ ไปชว่ ยเหลอื ญาตสิ นิทมิตรสหาย 3. การรับผลประโยชน์โดยตรง 4. การแลกเปลี่ยนผลประโยชนโ์ ดยใชต้ าแหน่งหนา้ ท่กี ารงาน 5. การนาทรัพย์สินของหนว่ ยงานไปใช้ส่วนตัว 6. การนาข้อมลู อนั เป็นความลบั ของหนว่ ยงานมาใชป้ ระโยชน์สว่ นตัว 7. การทางานอีกแหง่ หนึ่ง ท่ีขัดแย้งกบั แห่งเดมิ 8. ผลประโยชนท์ ับซ้อนจากการเปล่ียนสถานทที่ างาน 9. การปิดบังความผดิ ตัวอย่างประโยชนท์ บั ซอ้ น 1. หาประโยชนใ์ ห้ตนเอง 2. รับประโยชนจ์ ากตาแหน่งหน้าท่ี 3. ใช้อิทธิพลเรยี กผลตอบแทน 4. ใช้ทรัพย์สินของนายจา้ งเพ่ือประโยชนข์ องตน 5. ใช้ข้อมลู ความลับ เพื่อแสวงประโยชน์ของตนเองและพวกพ้อง 6. รบั งานนอก แล้วสง่ ผลเสียให้งานในหนา้ ที่ 7. ทางานหลงั ออกจากตาแหนง่ และเออื้ ประโยชน์ต่อบรษิ ัท 8. การให้ของขวัญ ของกานลั เพือ่ หวังความก้าวหนา้ 9. ใหท้ ิปพนักงานโรงแรมเพื่อหวงั การบรกิ ารท่ดี ีกว่าลูกคา้ รายอ่นื 10. ช่วยให้ญาตมิ ติ รทางานในหนว่ ยท่ีตนมีอานาจ 11. ชือ้ ขายตาแหน่ง จา่ ยผลประโยชน์ เพ่ือความเจริญกา้ วหน้าของตน รูปแบบของประโยชนท์ บั ซอ้ น การรับผลประโยชนต์ ่างๆ (Accepting Benefit) 1. การทาธุรกจิ กบั ตวั เอง (Self-dealing) หรอื การเปน็ ค่สู ัญญา 2. การทางานหลังเกษียณ (Post-employment) 3. การทางานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) 4. การใช้ข้อมูลภายใน (Inside information) 5. การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตง้ั เพือ่ ประโยชน์ในทางการเมือง (Pork-barreling) การรบั ประโยชนต์ ่างๆ 1. การรับของขวัญจากบรษิ ัทต่างๆ 2.บริษัทสนับสนุนค่าเดินทางไปดงู านตา่ งประเทศ 3. หน่วยราชการรับเงนิ บริจาคจากธุรกจิ ทเ่ี ปน็ ลูกคา้ ของหน่วยงาน 4. ไดร้ บั ของแถมหรือผลประโยชนอ์ น่ื ใดจากการจัดชือ้ จดั จ้าง 5. การที่คณะกรรมการกู้เงินจากสถาบนั การเงินในการกากบั ดูแล 6. การที่คณะกรรมการฝากญาติพ่ีน้องหรือคนทคี่ ุ้นเคยเข้าทางานในรัฐวสิ าหกจิ ที่ตนกากับดูแลอยู่ ประโยชน์อันคานวณเป็นเงินได้
- ๑๓๔ - 1. การปลดหนหี้ รือการลดหน้ีให้เปล่า 2. การให้ยมื โดยไมค่ ิดดอกเบ้ีย 3. การเข้าค้าประกันโดยไม่คิดคา่ ธรรมเนยี ม 4. การให้ค่านายหน้าหรอื ค่าธรรมเนียมการเปน็ ตวั แทน 5. การขาย การใหเ้ ช่าชอื้ ทรัพย์สนิ เกินมลู ค่าท่เี ป็นจรงิ ตามที่ปรากฏเหน็ ในทอ้ งตลาด 6. การใช้สถานที่ ยานพาหนะ หรอื ทรัพย์สนิ โดยไมค่ ิดคา่ เชา่ หรอื ค่าบริการน้อยกว่าที่คิดกับบุคคลอนื่ โดย ปกติทางการค้า 7. การใหใ้ ช้บรกิ ารโดยไม่คิดคา่ บริการ หรอื คดิ คา่ ใชบ้ ริการน้อยกวา่ ท่ีคิดกับบุคคลอ่ืน โดยปกติทางการค้า 8. การใหส้ ว่ นลดในสนิ ค้า หรือทรัพยส์ ินทจี่ าหน่าย โดยการให้ส่วนลดมากกวา่ ทใี่ ห้กบั บคุ คลอื่น โดยปกติทาง การค้า 9. การใหเ้ ดนิ ทาง หรอื ขนส่งบุคคล หรือส่ิงของโดยไม่คดิ ค่าใช้จ่าย หรือคดิ ค่าใช้จา่ ยนอ้ ยกวา่ บุคคลอ่ืน โดย ปกตทิ างการค้า 10. การจดั เลย้ี ง การจัดมหรสพ หรือการบนั เทิงอนื่ ให้โดยไม่คิดค่าใช้จา่ ย หรือคดิ คา่ ใช้จ่ายนอ้ ยกว่าที่คิดกบั บคุ คลอนื่ โดยปกตทิ างการค้า ขา้ ราชการประจา กิจกรรมที่มีความเสี่ยง 11. การรบั ผลประโยชน์หรือการเรยี กร้องสิ่งตอบแทนจากการปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบ 12. การรับงานนอกหรือการทาธรุ กจิ ท่เี บียดบังเวลาราชการ/งานโดยรวมของหน่วยงาน 13. การทางานหลงั เกษียณใหก้ ับหน่วยงานทม่ี ผี ลประโยชนข์ ดั กับหน่วยงานตน้ สังกัดเดิม การนารถราชการไปใช้ในกจิ ธุระสว่ นตวั และในหลายกรณีมกี ารเบิกค่าน้ามนั ด้วย 1. การนาบคุ ลากรของหนว่ ยงานไปใชเ้ พ่ือการส่วนตวั 2. การรับงานจากภายนอกจนกระทบตอ่ การปฏบิ ัติหน้าที่ประจา 3. การใชส้ ิทธิในการเบิกจ่ายยาให้แกญ่ าตแิ ลว้ นายาไปใช้ที่คลนิ ิคส่วนตวั 4. การรบั ประโยชน์จากระบบการลอ็ กบตั รคิวใหแ้ ก่เจา้ หน้าทีห่ รือญาตเิ จ้าหนา้ ท่ใี นหนว่ ยงานกล่มุ วชิ าชพี ที่ เกีย่ วกบั การ ตรวจสอบ ประเมินราคาและการจัดซื้อจัดจ้าง 5. การกาหนดมาตรฐาน (Specification) ในสนิ คา้ ที่จะจัดซอ้ื จัดจ้างให้บริษัทของตนหรือของพวกพ้อง ไดเ้ ปรยี บหรอื ชนะในการประมูล 6. การใหข้ ้อมูลการจดั ซื้อจดั จา้ งแก่พรรคพวก/ญาติ เพ่ือแสวงหาผลประโยชน์ในการประมูลหรือการจ้าง เหมา รวมถงึ การปกปดิ ขอ้ มูล เชน่ การปิดประกาศหรอื เผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารลา่ ชา้ หรอื พ้นกาหนดการ ยน่ื ใบเสนอราคา เปน็ ต้น ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อนื่ ใด โดยธรรมจรรยาของ เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๓ (มาตรา ๑๐๓) ขอ้ ๕ เจา้ หน้าท่ีของรัฐจะรับทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดโดยธรรมจรรยาได้ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) จากญาติ ซ่ึงใหโ้ ดยเสนห่ าตามจานวนที่เหมาะสมตามฐานานุรูป (๒) จากบคุ คลอนื่ ราคาหรอื มลู ค่าในการรับจากแตล่ ะบคุ คล แต่ละโอกาสไมเ่ กนิ สาม พันบาท การรบั ทรพั ยส์ ินหรือประโยชนอ์ นื่ ทม่ี ีมลู ค่าเกนิ กว่า ๓,๐๐๐ บาทโดยมีความจาเป็นตอ้ งรับเพื่อรักษา ไมตรี มติ รภาพ ตอ้ งแจ้งผบู้ ริหารสูงสุดของหนว่ ยงานโดยทันทที ส่ี ามารถกระทาได้
- ๑๓๕ - หากมคี วามจาเป็นตอ้ งรบั เพราะเพ่อื รักษาไมตร.ี ..จะทาอย่างไร แจ้งผ้บู ังคบั บญั ชา ซ่งึ เป็นหวั หน้าส่วนราชการ วนิ ิจฉยั มีเหตผุ ล รบั ได้ - รบั ไว้ ไม่เหตุควรรับ - สง่ คนื สง่ คืนไมไ่ ด้ มอบให้สว่ นราชการ ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยการเรย่ี ไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๒๒ เจ้าหน้าท่ีของรัฐทเ่ี ขา้ ไปมีส่วนเก่ียวขอ้ งกับการเรยี่ ไรของบุคคลหรือนติ ิบุคคลท่ีไดร้ บั อนุญาตจาก คณะกรรมการควบคุมการเรย่ี ไรตามกฎหมายวา่ ด้วยการเร่ียไรซ่ึงมิใช่หนว่ ยงานของรฐั จะต้องไม่กระทาการ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ใชห้ รอื แสดงตาแหนง่ หน้าทีใ่ ห้ปรากฏในการดาเนินการเรย่ี ไรไมว่ า่ จะเป็นการโฆษณาด้วยสิง่ พิมพ์ตาม กฎหมาย ว่าดว้ ยการพิมพ์ หรือสื่ออยา่ งอนื่ หรอื ดว้ ยวิธีการอ่ืนใด (๒) ใช้ สง่ั ขอรอ้ ง หรอื บังคับใหผ้ ใู้ ต้บงั คับบัญชา หรือบคุ คลใดชว่ ยทาการเรย่ี ไรให้หรือกระทาในลักษณะใหผ้ ู้ น้ันอยู่ ในภาวะจายอมไมส่ ามารถปฏิเสธ หรือหลีกเลยี่ งทีจ่ ะไม่ชว่ ยทาการเร่ยี ไรไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม แนวทางปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาผลประโยชนท์ ับซ้อน “ความขัดแย้ง ระหวา่ ง บทบาท” (Conflict of roles) หมายความวา่ บุคคลดารงตาแหนง่ ท่มี ี บทบาทสองบทบาทขัดแย้งกัน เช่น นายสมชายเป็นกรรมการสอบ คดั เลอื กบุคคลเข้าทางาน โดยที่บตุ รสาว ของสมชายเปน็ ผ้สู มัครสอบคนหน่งึ ด้วย ซ่งึ ในกรณีน้ีถอื วา่ เกดิ “การดารง ตาแหน่งอันหม่ินเหมต่ อ่ การเกิด ปัญหาผลประโยชน์ทบั ซอ้ น” แต่ในกรณีน้ีถอื วา่ ยังมิได้นาไปสู่การกระทาความผดิ แต่ ประการใด (เชน่ การ สอบคดั เลือกบุคคลยงั มิไดเ้ กิดข้นึ จริง หรือมีการสอบเกดิ ขึ้นแลว้ แต่นายสมชายสามารถวางตัวเปน็ กลาง มิได้ ชว่ ยเหลือ บุตรสาวของตนแต่ประการใด เป็นต้น) กระนน้ั ก็ตาม การดารงตาแหน่งอนั หมิ่นเหม่ต่อการเกิด ปญั หา ผลประโยชน์ทบั ซ้อนดังกลา่ ว ถือเป็นสถานการณ์ล่อแหลม ทีอ่ าจจูงใจ/ชักนาใหเ้ กิดการกระทา เกดิ ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น จะต้องถอนตัวออกอยา่ งสมบูรณ์จากการเปน็ ผูม้ สี ่วนในการตัดสนิ ใจ งด แสดง ความคดิ เหน็ ละเวน้ จากการให้คาปรกึ ษา และ งดออกเสยี ง (Recusal) เชน่ ในกรณีทส่ี มชายเปน็ กรรมการสอบคัดเลือกบุคลากร เขา้ ทางาน โดยมบี ตุ รสาวของตนสมัครเข้ารว่ มสอบคดั เลือก ด้วยนัน้ ซงึ่ ใน สถานการณ์ เช่นน้ี สมชายจะต้องลาออกจากการเปน็ กรรมการสอบคัดเลือก เพ่ือเป็นการถอนตวั ออกจาก การเกี่ยวข้องกับสถานการณอ์ ันหมิ่นเหม่ต่อผลประโยชน์ทับซ้อนอย่างสูง เคลอ่ื นยา้ ยผลประโยชน์สว่ นตัวทที่ ับซอ้ นอยใู่ ห้ออกไป (Removal) เพ่ือให้ตนเองสามารถปฏิบตั ิ ภารกิจได้ โดยปราศจากอคติ วิธกี ารดังกลา่ วนเ้ี ปน็ การปดิ ช่องทางมิให้เออื้ อานวยต่อการเกิดปญั หา ผลประโยชนท์ บั ซ้อน จงึ เปน็ วธิ ที ่ีดที ่สี ดุ วธิ ีหนงึ่ ในการจัดการกบั ผลประโยชน์ทับซ้อน เชน่ จากกรณตี วั อยา่ ง ในข้อสอง สมชาย สามารถ แกป้ ัญหาผลประโยชนท์ บั ซ้อนได้ โดยการขอร้องให้บุตรสาวของตนถอนตวั ออก จากการสอบ เพ่ือใหส้ มชายสามารถ ปฏิบัตหิ นา้ ทใี่ นฐานะกรรมการสอบคดั เลือก มาตรการในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ตามรัฐธรรมนูญ 1. มาตรการคดั สรรคนดเี ข้าสู่ตาแหนง่ ทางการเมือง 2. การกาหนดมาตรการป้องกนั การทจุ รติ ในตาแหน่ง 3. การเพ่ิมระบบและองค์การตรวจสอบการใชอ้ านาจ 4. การมีส่วนรว่ มของประชาชนในการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต การกาหนดมาตรการป้องกันการทจุ ริตในตาแหน่ง 1. การมีประมวลจรยิ ธรรมและการหา้ มผลประโยชน์ทบั ซอ้ น 2. การแสดงบัญชีทรัพย์และหนีส้ ิน
- ๑๓๖ - 3. การใช้หลกั โปรง่ ใสในการใช้อานาจ แนวทางการปฏบิ ัตติ นของเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ 1. หลักนิตธิ รรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปร่งใส 4. หลักการมีส่วนรว่ ม 5. หลกั ความรบั ผิดชอบ 6. หลักความคุ้มค่า หลักธรรมาภบิ าล และหลักคุณธรรม จรยิ ธรรมในการปฏบิ ัติงาน แนวทางการป้องกันและ ปราบปราม การทจุ รติ (ANTI CORRUPTION) หลักธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารองค์กร (Good Governance) หลกั คณุ ธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงาน การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ธรรมาภิบาล จะมคี าวา่ integrity คา่ นิยมของข้าราชการ I am ready I = Integrity มีศักด์ิศรี (ยดึ มั่นในความถูกต้อง สจุ ริต เทยี่ งธรรม) A = Activeness ขยันต้งั ใจทางาน (บริการ/แก้ไขปัญหา ปชช) M = Morality มศี ลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรม R = Relevance รูท้ นั โลก ปรับตัวทนั โลก ตรงกับสังคม E = Efficiency ม่งุ เน้นประสิทธิภาพ (คุณภาพ ดชั นี ประเมนิ ผล) A = Accountability รบั ผิดชอบตอ่ ผลงาน ประชาชน D = Democracy มใี จ/การกระทาเป็น ประชาธปิ ไตย (มีส่วนรว่ ม โปร่งใส) Y = Yield มผี ลงาน มุง่ เน้นผลงาน เพื่อประโยชนส์ ขุ ของประชาชนการ
- ๑๓๗ - หนว่ ยท่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ
- ๑๓๘ - ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๑ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี ๒ ชื่อหนว่ ย ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง ทาการบ้าน/ชน้ิ งานเองกันเถอะ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับความไม่ทนและความละอายตอ่ การทจุ ริต ๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผไู้ มท่ นและละอายตอ่ การทุจริตทกุ รูปแบบ ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทุจรติ ๒.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 นักเรยี นมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั ความไม่ทนและความละอายตอ่ การทุจรติ ในการทา การบา้ นชนิ้ งาน 2.2 นกั เรยี นสามารถคิดวิเคราะหถ์ งึ ผลเสยี จากการทุจรติ ในการทาการบา้ น/ชนิ้ งาน 2.3 นกั เรยี นตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อตา้ นและปอ้ งกันการทจุ ริต ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ ๑) ตวั อย่างความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ๒) ผลเสยี จากการทุจรติ ในการไมท่ าการบา้ น/ชน้ิ งานดว้ ยตนอง 3) ความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทจุ รติ 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกิด) 3.1.ความสามารถในการคิด 1).ทักษะการสงั เกต 2).ทักษะการระบุ 3.2 ความสามารถในการส่ือสาร (ฟงั พูด อ่าน เขยี น) 3.4.ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ (วเิ คราะห์ จัดกลุ่ม สรปุ ) 3.3 คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ / ค่านยิ ม ๑) ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศึกษาเล่าเรยี นทั้งทางตรง และทางอ้อม ๒) มีสตริ ้ตู ัว รคู้ ิด รูท้ า รู้ปฏิบตั ิตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ๓) มคี วามเข้มแข็งทง้ั ร่างกายและจติ ใจไมย่ อมแพต้ ่ออานาจฝา่ ยต่า หรอื กเิ ลส มีความ ละอายเกรงกลวั ต่อบาปตามหลักของศาสนา ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.1 ขน้ั ตอนการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ จานวน ๑ ช่ัวโมง
- ๑๓๙ - ๑. ชมคลปิ วีดีโอ \"กระเป๋าตังค์\" ผลงานรองชนะเลิศการประกวดส่อื ป้องกนั การทจุ ริต ระดบั อดุ มศึกษา จากท่มี าของคลิป คือ https://www.youtube.com/watch?v=Z6h4OuywCgE ๒. สนทนา อภปิ ราย ร่วมกนั จากเหตุการณ์ในคลปิ วดี โี อ \"กระเปา๋ ตังค์\" ผลงานรองชนะเลศิ การ ประกวดสื่อป้องกันการทุจรติ ระดับอุดมศึกษา โดยชใ้ี ห้เหน็ ถงึ ผลเสยี ทเี่ กิดจากการทจุ รติ ๓. ชมคลปิ วดี โี อ เรอ่ื ง ลอกการบ้านเพื่อนมนั ไม่ดยี งั ไงไปดู ทมี่ าของคลิปวดี โี อ https://www.youtube.com/watch?v=8O5uHKs4qLM ๔. สนทนา อภปิ ราย คลิปวดี โี อ เรือ่ ง ลอกการบา้ นเพือ่ นมันไม่ดียงั ไงไปดู เพือ่ ชี้ให้นักเรียนได้ เลง็ เห็น และตระหนักถงึ การทจุ รติ เป็นสิง่ ที่ไม่ดี รวมทัง้ อธบิ ายถงึ เรื่องของการลอกการบา้ นเปน็ การทุจริตที่จะสามารถขยายไปสกู่ ารทุจริตทรี่ ้ายแรงขนึ้ ได้ ๕. กิจกรรมระดมสมอง โดยให้นักเรียนชว่ ยกนั คดิ วา่ ผลเสยี ของการไมท่ าการบ้าน/ชิน้ งานเอง สง่ ผล อย่างไรบ้าง ลงบนกระดาษชาร์ต ๖. สนทนา อภิปราย โดยครูเป็นผทู้ ี่กระตนุ้ ใหน้ ักเรียนเกดิ ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการ ต่อตา้ นและปอ้ งกนั การทจุ ริต โดยการเร่ิมตน้ จากการการบ้าน/ชิ้นงานเอง ๗. แจกใบงาน เร่ือง ทาการบ้าน/ชิน้ งาน มีท้งั ข้อดแี ละข้อเสีย 4.2 สอื่ การเรียนรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ 1) ลอกการบ้านเพื่อนมันไม่ดียังไงไปดู https://www.youtube.com/watch?v=8O5uHKs4qLM ๒) คลปิ วีดีโอ \"กระเป๋าตงั ค์\" ผลงานรองชนะเลิศการประกวดส่ือปอ้ งกันการทจุ ริตระดบั อุดมศึกษา https://www.youtube.com/watch?v=Z6h4OuywCgE ๓) กระดาษชารต์ ๔) ใบงาน เร่อื ง ทาการบ้าน/ช้ินงาน มีทง้ั ข้อดีและขอ้ เสีย ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ 5.1วิธกี ารประเมิน ๑) ใบงาน เร่อื ง ทาการบ้าน/ชน้ิ งาน มีทงั้ ข้อดีและข้อเสีย ๒) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๕.๒ เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ 1. แบบประเมินใบงาน ๒. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานของผู้เรยี นเป็นรายบุคคล 5.3 เกณฑก์ ารตดั สนิ นักเรยี นได้คะแนนระดับดีข้นึ ไป ถอื ว่าผ่าน
- ๑๔๐ - 6. บันทึกหลงั สอน ............................................................................................................................. ............................ ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ ................................................ ครูผู้สอน (.................................................)
- ๑๔๑ - ช่ือ ......................................................สกุล ................................................ชนั้ ................ เลขที่……. โรงเรยี น ............................................................................ ใบงาน เร่อื ง ทาการบ้าน/ชน้ิ งาน มที ั้งขอ้ ดีและขอ้ เสีย คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นเขยี นผังมโนทัศน์ผลดีผลเสยี เกย่ี วกบั การทาการบ้าน/ช้นิ งาน ผลดี ทาการบา้ น/ชิ้นงานเอง ผลเสยี ไม่ทาการบ้าน/ชน้ิ งานเอง
- ๑๔๒ - แบบประเมนิ ใบงาน เรอื่ ง .......................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ …….. วันท่ี.....................เดือน........................................................พ.ศ. .................................. ที่ ประเดน็ คะแนน ความตัง้ ใจ ความ เสรจ็ ตาม รวม ระดบั ช่อื - สกลุ ปฏบิ ตั งิ าน ถกู ต้อง กาหนด ๑๕ คุณภาพ คะแนน ๕ ๕ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เกณฑ์การประเมินและระดบั คุณภาพ คะแนน ๑๓ - ๑๕ คะแนน หมายถงึ ดีมาก คะแนน ๙ – ๑๒ คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน ๕ – ๘ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๑ – ๔ คะแนน หมายถงึ ปรับปรุง จานวนคนท่ีผ่านระดบั คุณภาพ......................คน รอ้ ยละ............... จานวนคนทไี่ มผ่ ่านระดบั คุณภาพ..................คน รอ้ ยละ............... ลงช่อื .................................... ผปู้ ระเมิน (...................................................)
- ๑๔๓ - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานของผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล พฤติกรรม การแสดง การตอบ การยอมรบั ทางาน หมายเหตุ ที่ ความสนใจ ความ คาถาม ฟงั คนอ่ืน ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย ชื่อ-สกุล คิดเหน็ 43214321432143214321 เกณฑ์การวัดผล ใหค้ ะแนนระดับคณุ ภาพของแต่ละพฤตกิ รรมดังนี้ ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไม่หลับ ไม่พูดคุยในชั้น มีคาถามที่ดี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่งครบ ตรงเวลา ดี = 3 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑป์ ระมาณ 70% ปานกลาง = 2 การแสดงออกอย่ใู นเกณฑป์ ระมาณ 50% ปรับปรงุ = 1 เขา้ ช้ันเรยี น แตก่ ารแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไมค่ รบ ไม่ตรงเวลา ลงช่อื ……………………………….ผู้สังเกต (……………………………….) …………/…………/………..
- ๑๔๔ - ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๑ ชวั่ โมง แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๒ ชอื่ หนว่ ย ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ - แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ เร่อื ง รูห้ น้าทกี่ ารทาเวร/การทาความสะอาด ๑.ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความไม่ทนและความละอายต่อการทุจริต ๑.๒ ปฏบิ ัติตนเป็นผไู้ มท่ นและละอายตอ่ การทุจรติ ทกุ รปู แบบ ๑.๓ ตระหนักและเห็นความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทุจริต ๒.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ นักเรยี นสามารถ 2.1 นักเรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับความไมท่ นและความละอายต่อการทุจริตในการทาเวร/ การทา ความสะอาด 2.2 นกั เรยี นสามารถคิดวิเคราะหถ์ ึงผลเสยี จากการทุจริตในการทาเวร/การทาความสะอาด 5.2 นกั เรยี นตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและปอ้ งกนั การทุจรติ ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ ๒.๑. ตวั อยา่ งความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต ๒.๒. ผลเสยี จากการทุจรติ ในการไมก่ ารทาเวร/การทาความสะอาด ๒.๓. ความสาคัญของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ ) 3.1.ความสามารถในการคิด 1).ทกั ษะการสงั เกต 2).ทักษะการระบุ 3.2 ความสามารถในการสื่อสาร (ฟัง พดู อา่ น เขียน) 3.4.ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ (วเิ คราะห์ จดั กลุ่ม สรุป) 3.3 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ / ค่านิยม ๑) ซือ่ สัตย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ์ในส่ิงที่ดีงามเพ่ือสว่ นรวม ๒) มรี ะเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรจู้ กั การเคารพผใู้ หญ่ ๓) มคี วามเข้มแข็งทงั้ ร่างกายและจติ ใจไม่ยอมแพ้ตอ่ อานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มคี วาม ละอายเกรงกลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 ขัน้ ตอนการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ จานวน ๑ ชว่ั โมง ๑. ชมคลปิ วีดีโอ หนงั สัน้ ๆเร่อื ง จะชว่ ยกันรักษาความสะอาดในโรงเรียนได้อยา่ งไร ทม่ี าของคลิปวดี ีโอ https://www.youtube.com/watch?v=rjiE85tL_GA
- ๑๔๕ - ๒. สนทนา อภิปราย ร่วมกันจากเหตุการณ์ในคลปิ วีดีโอ ว่าเกิดเหตกุ ารณ์อะไรขน้ึ และจะแก้ไข อยา่ งไรโดยชีใ้ หเ้ หน็ ถึงผลเสียที่เกิดจากการทจุ รติ และความรับผิดชอบทต่ี ้องรบั จากผลของการ กระทา ๓. กิจกรรมระดมสมอง หัวขอ้ “ช่วยกนั จดั ระบบบทบาท หน้าท่ีตัวเราในฐานะนักเรยี นท่ีดี” เขียน ลงบนกระดาษชารท์ ๔. สนทนา อภิปราย ในประเด็น การทาเวร/การทาความสะอาดเปน็ บทบาทหนา้ ทีข่ องนักเรียน โดย ครูพยายามชีใ้ ห้เห็นว่าถ้าเรามีการทาเวร/การทาความสะอาด ไมห่ ลบหนี หรอื ไม่เอาเปรยี บเพ่อื น ถือวา่ มีความละอายต่อการทุจรติ ๕. สนทนา อภิปราย โดยครเู ปน็ ผทู้ กี่ ระตุน้ ใหน้ กั เรียนเกดิ ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการทา เวร/การทาความสะอาด ว่าเกย่ี วข้องกับการต่อตา้ นและป้องกนั การทจุ ริต ๖. ให้นกั เรยี นแตง่ คาขวญั รณรงค์เรอื่ ง การรักษาความสะอาด 4.2 สอื่ การเรยี นรู้ / แหลง่ การเรยี นรู้ 1) คลิปวดี ีโอ หนงั สนั้ ๆเรื่อง จะชว่ ยกันรักษาความสะอาดในโรงเรยี นได้อยา่ งไร โดยมีทีม่ าจาก https://www.youtube.com/watch?v=rjiE85tL_GA ๒) กระดาษชารท์ ๓) สี ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ 5.1 วิธีการประเมิน ๑) การแต่งคาขวัญ ๒) สงั เกตพฤติกรรมการทางานของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๕.๒ เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการประเมิน 1. แบบประเมินการแต่งคาขวัญ ๒. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานของผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคล 5.3 เกณฑ์การตดิ สนิ นักเรยี นไดร้ ะดับดีขนึ้ ไปถือว่าผา่ น 6. บนั ทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ................................ .................................................................................................. ................................................................... ...... ............................................................................................................................. .............................................. ....................................................................................................................................... .................................... ลงช่ือ ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................)
- ๑๔๖ - แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล พฤตกิ รรม การแสดง การตอบ การยอมรบั ทางาน คาถาม ฟงั คนอืน่ ตามทไี่ ด้รบั ท่ี ความสนใจ ความ มอบหมาย หมายเหตุ คิดเห็น ชื่อ-สกุล 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 เกณฑ์การวดั ผล ใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดังนี้ ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไม่หลับ ไม่พูดคุยในชั้น มีคาถามที่ดี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่งครบ ตรงเวลา ดี = 3 การแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ 70% ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑป์ ระมาณ 50% ปรับปรุง = 1 เขา้ ช้ันเรยี น แต่การแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไมค่ รบ ไมต่ รงเวลา ลงช่อื ……………………………….ผู้ประเมิน (……………………………….) …………/…………/………..
- ๑๔๗ - แบบประเมินการแต่งคาขวญั คาช้ีแจง เขียนเครื่องหมาย / ตรงกบั พฤติกรรมของนักเรียนตามรายการท่สี ังเกต รายการประเมิน รวมคะแนน 15 ชือ่ -สกลุ เน้ือหาสาระ การใชภ้ าษา อกั ขรวิธี ความคิด ความสะอาด 3 3 3 สรา้ งสรรค์ เรยี บร้อย 3 3 เกณฑ์การให้คะแนน ประเดน็ การประเมนิ 3 พฤติกรรม/ระดับคะแนน 1 เนื้อหาสาระ ไมช่ ัดเจนและน่าสนใจ การใชภ้ าษา ถูกต้องชดั เจน 2 อักขรวธิ ี นา่ สนใจมาก ใช้ภาษาถอ้ ยคาบกพร่องอยู่บ้าง ถกู ต้องชัดเจน ใช้ภาษาถ้อยคาไดถ้ กู ตอ้ ง นา่ สนใจพอใช้ ไม่ถูกตอ้ งตามอักขรวิธี ตามหลักวิชาการ 3 คาข้นึ ไป ใช้ภาษาถอ้ ยคาได้ถูกตอ้ งแต่ ถูกต้องตามอักขรวิธี ไม่เป็นไปตามหลักวชิ าการ ทกุ คา ไม่ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี 1-2 คา ความคิดสร้างสรรค์ มีความคดิ สร้างสรรคใ์ นการ มีความคิดสรา้ งสรรค์ในการ มีการปรับปรุงการอ่านจาก อ่านทแี่ ปลกใหม่ไม่เหมือน อา่ นแตกต่างจากคนทวั่ ไป การอา่ นทัว่ ไป และสรา้ งสรรค์ ความสะอาด เรยี บรอ้ ย ใคร สะอาดไม่มีรอยขีดฆา่ มรี อย เพม่ิ เติมใหด้ ขี น้ึ เล็กนอ้ ย ลบ 1-2 แห่ง สะอาดไม่มรี อยขูดขีด ฆ่า สะอาดไมม่ ีรอยขีดฆา่ และรอบคอบ มรี อยมากกวา่ 2 แห่ง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297