- ๑๙๘ - การแสดงออกถึงความไม่พอใจต่อวัฒนธรรม การโกงของระบบราชการของประเทศ โดยมีประชาชนจานวน หลายหมื่นคนเข้าร่วมชุมนุมกันในครั้งน้ี และมีการแสดงภาพหนูเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในการประณามต่อ นักการเมืองที่ทุจริต การประท้วงดังกล่าวยังถือว่ามีขนาดเล็กกว่าครั้งก่อน เพราะที่ผ่านมาได้มี http://www.dailynews.co.th/foreign/540734 การทุจริตเกิดข้ึนและมีการประท้วง จนใน ที่สดุ ประธานาธบิ ดไี ดถ้ ูกปลดจาตาแหนง่ เน่อื งจากการกระทาทล่ี ะเมดิ ต่อกฎระเบยี บเรื่องงบประมาณ จากตวั อยา่ งข้างต้นแสดงให้เหน็ ถงึ ความต่นื ตวั ของประชาชนท่ีออกมาต่อต้านต่อการทุจริต ไม่วา่ จะเป็นการทุจริตในระดบั หน่วยเล็กๆ หรือระดับประเทศ เป็นการแสดงออกซ่งึ การไม่ทนต่อการทุจรติ การไม่ ทนตอ่ การทจุ รติ แสดงออกมาไดห้ ลายระดบั ตั้งแต่การเหน็ คนอน่ื ที่ทาทจุ รติ แลว้ ตนเองรสู้ กึ ไม่พอใจ มกี ารส่ง เร่อื งตรวจสอบ รอ้ งเรียน และในทส่ี ดุ คือการชุมนุม ประท้วง ตามตวั อยา่ งที่ไดน้ ามาแสดงให้เหน็ ข้างต้น ตราบใดทส่ี ามารถสรา้ งให้สังคมไมท่ นต่อการทจุ รติ ได้ เมื่อน้นั ปัญหาการทุจริตก็จะลดน้อยลง แต่หากจะให้ เกิดผลดยี ิ่งข้นึ จะต้องสร้างให้เกดิ ความละอายต่อการทจุ รติ ไมก่ ลา้ ทจ่ี ะทาทุจริต โดยนาเอาหลักธรรมทาง ศาสนามาเป็นเครือ่ งมือในการสง่ั สอน อบรม ในขณะเดยี วกันหากมกี ารทุจริตเกิดข้นึ กระบวนการในการ แสดงออกต่อการทุจริตจะต้องเกดิ ขึ้น และมีการเปิดเผยชอ่ื บุคคลทท่ี จุ รติ ให้กบั สาธารณะชนไดร้ บั ทราบอย่าง ทัว่ ถงึ เมอ่ื สังคมมีทง้ั กระบวนการในการป้องกันการทจุ รติ การปราบปรามการทจุ รติ ที่ดี รวมถึงการสร้างให้ สังคมเปน็ สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต มีความละอายต่อการทาทุจรติ แล้ว ปัญหาการทจุ ริตจะลดน้อยลง ประเทศชาตจิ ะสามารถพฒั นาได้มากขึ้น สาหรบั ระดับการทุจริตทีเ่ กิดขึ้น ไมว่ า่ จะเปน็ ในระดบั ใดลว้ นแล้วแตส่ ง่ ผลกระทบต่อสงั คมและ ประเทศชาติท้ังส้ิน บางครั้งการทุจริตเพียงเล็กนอ้ ยอาจนาไปสกู่ ารทจุ รติ อย่างอนื่ ทม่ี ากกว่าเดมิ ได้ การมี วัฒนธรรม คา่ นิยม หรือความเช่อื ท่ีถูกต้องกส็ ่งผลใหเ้ กิดการทจุ ริตได้เชน่ กัน เช่น การมอบเงนิ อดุ หนนุ แก่ สถานศกึ ษาเพื่อใหบ้ ุตรของตนเองได้เข้าศึกษาในสถานท่แี หง่ นน้ั หากพิจารณาแลว้ อาจพบวา่ เปน็ การ ชว่ ยเหลอื สถานศกึ ษาเพื่อท่สี ถานศกึ ษาแห่งนัน้ จะไดน้ าเงนิ ท่ไี ด้ไปพัฒนาสภาพแวดลอ้ ม การเรียนการสอน ของสถานศึกษาต่อไป แตก่ ารกระทาดังกล่าวนไ้ี มถ่ ูกตอ้ ง เป็นการปลูกฝังสงิ่ ที่ไม่ดีให้เกดิ ข้ึนในสังคม และ ตอ่ ไปหากกระทาเช่นนเ้ี รื่อยๆ จะมองว่าเป็นเรื่องปกตทิ ่ีทุกคนทากัน ไมม่ ีความผิดแต่อย่างใด จนทาใหแ้ บบ แผนหรือพฤตกิ รรมทางสังคมท่ีดถี ูกกลนื หายไปกับการกระทาที่ไม่เหมาะสมเหลา่ น้ี ตัวอย่างการมอบเงนิ แก่ สถานศึกษายงั คงเกิดข้นึ ในประเทศไทยอยา่ งต่อเนื่อง โดยเฉพาะในสถานศึกษาทม่ี ีช่ือเสยี งซ่งึ หลายคนอยาก ให้บุตรของตนเข้าศกึ ษาในสถานท่แี ห่งนั้น แต่ดว้ ยข้อจากัดที่ไมส่ ามารถรบั นกั เรียน นกั ศึกษาได้ทงั้ หมด จงึ ทา ให้ผปู้ กครองบางคนต้องให้เงินกบั สถานศึกษา เพือ่ ใหบ้ ุตรตนเองไดเ้ ข้าเรยี น
- ๑๙๙ - ภาพยนตร์สัน้ “เพอ่ื น” FRIENDS รางวลั ชนะเลิศ ประกวดโครงการ “มหาวิทยาลยั โปร่งใส บณั ฑติ ไทยไมโ่ กง” https://www.youtobe.com/watch?v=yZcG8xXxH60
- ๒๐๐ - ประเมิน แบบบนั ทกึ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม กลมุ่ ท่ี (ช่ือกลมุ่ ) .......................................................................................................... สมาชกิ ในกลุม่ 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... คาชี้แจง: ให้นักเรียนทาเครือ่ งหมาย ในช่องทต่ี รงกบั ความเป็นจรงิ พฤตกิ รรมที่สังเกต 3 คะแนน 1 2 1. มีความสามคั คีและมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็น 2. มคี วามกระตอื รอื รน้ ในการทางาน 3. รับผดิ ชอบในงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 4. มีขั้นตอนในการทางานอย่างเปน็ ระบบ 5. ใช้เวลาในการทางานอยา่ งเหมาะสม 6. ความซ่อื สตั ย์สุจรติ ในการทางานดว้ ยตนเอง รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน คะแนน พฤตกิ รรมทีท่ าเป็นประจา ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ทาเปน็ บางคร้งั ให้ 2 คะแนน พฤตกิ รรมท่ที านอ้ ยครงั้ ให้ 1 เกณฑ์การให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 11 - 15 ดี
- ๒๐๑ - เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน รายการประเมนิ คะแนน 1. ผลงานตรงกับ 432 1 จดุ ประสงค์ ทก่ี าหนด ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่ กบั จุดประสงค์ 2. ผลงานมคี วาม ทกุ ประเดน็ กับจดุ ประสงค์ กับจดุ ประสงค์ สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ ถกู ต้องสมบูรณ์ เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้อง เป็นสว่ นใหญ่ บางประเดน็ 3. ผลงานมี ครบถว้ น ความคดิ ผลงานมีความคิด เนื้อหาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนื้อหาสาระของผลงานไม่ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ ผลงานถูกต้อง เปน็ ผลงานถกู ต้อง เป็น ถูกต้องเปน็ ส่วนใหญ่ 4. ผลงานมีความ และเป็นระบบ เป็นระเบยี บ ผลงานมคี วามเปน็ ส่วนใหญ่ บางประเด็น ระเบียบ แสดงออก 5. ผลงานเสร็จ ถงึ ความประณีต ผลงานมคี วามคิด ผลงานมคี วาม ผลงานไมน่ ่าสนใจไมม่ ี ตามเวลาท่ี กาหนด ส่งผลงานตามเวลา สรา้ งสรรค์ แตย่ งั นา่ สนใจ แต่ยงั ไม่มี ความคิดสรา้ งสรรค์แปลก ที่กาหนด ไม่เป็นระบบ ความคิดสรา้ งสรรค์ ใหม่ แปลกใหม่ ผลงานส่วนใหญ่ มี ผลงานมีความเปน็ ผลงานสว่ นใหญไ่ ม่เปน็ ความเป็นระเบยี บ ระเบยี บ แตม่ ีขอ้ ระเบียบและ แต่ยงั มขี ้อบกพร่อง บกพร่องบางสว่ น มขี อ้ บกพร่อง เลก็ นอ้ ย สง่ ผลงานชา้ กวา่ ส่งผลงานชา้ กวา่ สง่ ผลงานช้ากวา่ เวลาที่ เวลาทกี่ าหนด เวลาท่ีกาหนด กาหนด 1-2 วัน 3-5 วนั เกิน 5 วนั ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 17 – 20 ดมี าก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 5–8 ปรบั ปรงุ
- ๒๐๒ - แบบประเมินการนาเสนองาน หวั ข้อ - การเตรียม - ตอบข้อ -ความ - มีค- วามพอพี ความพร้อม สงสยั ไดต้ รง ชัดเจนใน - ตอบขอ้ งสยั ได้ ยง ประเด็น การนาเสนอ ตรงประเดน็ สามารถ ไมท่ ุจรติ มองเหน็ ได้ ขอ้ ที่ ชือ่ / กลุ่ม ผู้นาเสนองาน ชดั เจน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ คะแนน9-10 ระดบั คณุ ภาพ 4 หมายถงึ ดมี าก คะแนน7-8 ระดับคณุ ภาพ 3 หมายถึง ดี คะแนน5-6 ระดับคณุ ภาพ 2 หมายถงึ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับคณุ ภาพ 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารผา่ นตั้งแต่ระดบั คณุ ภาพพอใช้ขน้ึ ไป สรุป ผ่าน ไมผ่ า่ น ลงชื่อ..........................................................ผูป้ ระเมนิ (........................................................)
- ๒๐๓ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม “มงุ่ มั่นในการทางาน” คาช้แี จง ทาเครือ่ งหมาย ในชอ่ งทต่ี รงกบั ความเป็นจรงิ ตามเกณฑ์การประเมิน เอาใจใส่ต่อการ ตง้ั ใจและ ทุ่มเททางาน รวม ผลการประเมนิ ปฏิบตั ิหน้าท่ีท่ี รับผิดชอบในการ อดทนไมย่ ่อท้อตอ่ คะแนน เลขที่ ชือ่ - สกุล ได้รบั หมอยหมาย ทางานให้สาเร็จ ปญั หาและ อุปสรรคในการ ทางาน ผ่าน ไมผ่ า่ น ๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒ ๑ ๐ (ลงชือ่ )...................................ครูผู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๒๐๔ - แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๓ ชอื่ หนว่ ย STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทุจริต ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ตน่ื รู้ เวลา ๑ ชว่ั โมง 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ตา้ นการทุจรติ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 บอกลักษณะหรือการกระทาทีเ่ ป็นการตื่นรู้ได้ ๒.๒ นกั เรยี นสามารถคิดวเิ คราะห์ แยกแยะการกระทาใดท่ี มผี ลต่อการตื่นรไู้ ด้ ๒.๓ นักเรียนมีความตระหนักถงึ ความพอเพียง ตนื่ รู้ 2.๔ นกั เรียนมีจติ สานึกท่ดี ีต่อการปฏบิ ตั ิดี ถูกต้อง ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1) ความหมายของการต่นื รู้ 2) แยกแยะการกระทาใดที่มีผลต่อการตื่นรู้ 3) ความพอเพยี ง ตน่ื รู้ 4) มีจิตสานกึ ทดี่ ีต่อการปฏบิ ตั ิดถี กู ต้อง 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ ) 1) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ ๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา 4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ ในการดาเนนิ ชีวติ ด้วยความตื่นรูอ้ ยูต่ ลอดเวลา 3.3คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ / ค่านิยม 1. มมี ุง่ มัน่ ในการทางาน 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ๔. กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.1 ขนั้ ตอนการเรยี นรู้ 1. ชมคลปิ วีดโี อ “ต่นื จากตัวตน - Inspired from NHNW3 - หัวใจต่นื รู้” 5นาที ๒. รว่ มกนั สนทนา สรปุ สิ่งทไ่ี ดร้ ับจากการชมคลปิ วีดโี อ ถึงลกั ษณะของการต่ืนรู้ ๓. แบ่งกลุ่มนักเรยี น กลมุ่ ละ 5-6 คน 4. แจกใบความรู้ เรอ่ื ง กาแพง5 ชนั้ ทีข่ วางกั้นเราจากการ “ต่ืนรู้” ให้แต่ละกลมุ่ ศกึ ษา และ สรปุ ประเด็นสาคัญ จัดทาผงั ความคดิ ลงกระดาษชารต์ 5. แต่ละกลุม่ ส่งตวั แทนนาเสนอหนา้ ชัน้ เรียน 6. ครแู ละนกั เรียนสนทนาอภิปรายสรุปร่วมกนั ในการเลือกปฏบิ ตั สิ ิง่ ที่ถกู ต้อง ในการ ดาเนินชีวติ ประจาวนั 7. ครอู า่ นพระราชดารัสของในหลวงรชั กาลท่ี 9 ให้นักเรยี นฟงั และแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหวา่ งครูกบั นักเรียน
- ๒๐๕ - 4.2 ส่ือการเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่องกาแพง 5 ชั้นท่ขี วางกั้นเราจากการ “ตืน่ รู้” 2. กระดาษชารต์ 3. คลปิ วดิ ีโอ เรอ่ื ง ต่นื จากตนเอง - Inspired from NHNW3 - หัวใจตน่ื รู้ 4. พระราชดารสั ของในหลวงรชั กาลที่ 9 ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ 6.1วธิ ีการประเมิน 1) การสงั เกต 2) การนาเสนอผลงาน 3) ผงั ความคิด ๕.๒ เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ 1) แบบสังเกต 2) แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน 3) แบบประเมินผงั ความคิด 5.3 เกณฑ์การตัดสิน - ผ่านการประเมินในระดับ ดี ขึน้ ไป 7 บันทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ................................ .................................................................................................. ......................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ....................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................. ............................................................................. ลงช่ือ ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................)
- ๒๐๖ - ใบความรู้ :: กาแพง 5 ชนั้ ท่ีขวางกน้ั เราจากการ “ตื่นรู้” ::: แม้ว่า “การตน่ื รู้” เป็นสิทธแิ ตก่ าเนดิ ของคนทกุ คนแต่ “ความไมร่ ู้” ในความจรงิ นนั่ เอง ทไี่ ม่เพยี งขวางกั้นเรา จากการตืน่ รู้ และยังทางานสบื ตอ่ อย่างไมม่ ีวันหยุดกับกิเลสสาคัญอีก 4 ตวั เพื่อกักขงั เราไวใ้ นโลกทศั น์เกา่ ของความคดิ ปรุงแตง่ และปกปิดหนทางสู่ความจริง ซงึ่ ใน “โยคะสตู ร”อันเป็นคัมภีรแ์ ม่บทแห่งวิถีโยคะเพื่อ การรูแ้ จง้ ไดป้ ระพนั ธไ์ ว้ตัง้ แต่รวม พ.ศ. 200 โดยมหาฤาษีปตัญชลี ได้กลา่ วถงึ การทางานของกิเลสทัง้ 5 ไว้ อยา่ งน่าสนใจ ดงั น้ี 1. ความไมร่ ู้ - อวชิ ชา หรือ อวทิ ยา โดยย่อท่สี ุด อวิชชา คือ ความไม่รใู้ นความจริง ไดแ้ ก่ ไมร่ วู้ า่ อะไรเปน็ สิ่งจรงิ แท้ อะไรเป็นสิ่งเท็จ อะไรเป็นสง่ิ ยัง่ ยนื อะไรเปน็ สิ่งไม่ยั่งยนื ไม่รวู้ ่าคุณเป็นใคร และคุณไม่ไดเ้ ป็นใคร เป็นต้น ความไมร่ ู้ในความ เปน็ จริง เพราะไมร่ ู้ความจริง สิง่ ท่ถี ูกรู้คอื ความคิด ดงั นน้ั ความไม่รู้ คือ หัวหน้าใหญต่ วั จรงิ ทนี่ าจติ ใจของเรา ไปสู่การยึดตดิ ในความคิด ภาพลกั ษณ์ ความเช่อื วตั ถุ ฯลฯ ความไมร่ ู้ คือ บิก๊ บอสสข์ องกิเลสท้งั มวล ซงึ่ แขง็ แกรง่ และคอยสง่ พลังงานหล่อเล้ียงกิเลสทั้ง 4 อยตู่ ลอดเวลา 2. ความถือตวั ว่าเป็นตัวเปน็ ตน – อสั มิตา จากความไมร่ ู้ที่ทาให้มองไม่เห็นความจริงของส่ิงท่ีไม่ย่งั ยืน และยึดถือในส่ิงตา่ งๆ ที่ประกอบเป็นตวั เรา ไดส้ ่งผลให้เกดิ ความยดึ มั่นในความเปน็ ตัวตน (อตั ตา) ความเปน็ ฉัน (อัสมติ า) จงึ เกดิ ข้ึน กลายเปน็ ความ ปัจเจกท่ีแบง่ แยกเราออกมาจากความเป็นท้งั หมด กลายเป็นเปลอื กแหง่ ตวั ตน ทง้ั ความเห็นแก่ตัว ความเปน็ ของฉัน ความหยิง่ ทะนง ความถือตวั ถอื ตน ฯลฯ 3. ความยึดมั่นถือม่ัน – ราคะ เพราะความเปน็ ตวั ตนหรืออตั ตาปรารถนาท่ีจะดารงอยู่ และสามารถมีอยู่ ไดก้ ็ต่อเมื่อตัวมันไดย้ ึดโยงเข้ากบั สงิ่ ต่างๆ เท่าน้นั ไม่วา่ จะเป็น ชอื่ ของฉัน หน้าท่กี ารงานของฉนั ประวัติของ ฉนั ความสาเร็จของฉัน รถของฉัน รางวลั ของฉัน ลกู ของฉัน และอีกสารพัดพันหมืน่ แสนลา้ น”ของฉนั ” ดงั นน้ั มันจงึ ปรารถนาส่ิงท่มี ันพอใจ และคอยแสวงหาสงิ่ ท่ีจะเสริมภาพลักษณ์ และรกั ษาสถานะแหง่ ความ เปน็ ตวั ตนท่ีมนั ชอบ จนกลายเป็นความอยากความโลภ ความหวงแหนในส่ิงต่างๆ ท่ีเป็น “ตวั ฉนั -ของฉัน” อันเปน็ คุณลักษณะสาคญั ของ “อตั ตา” ทีต่ ัวมนั ไมอ่ าจหลีกเลี่ยงหรอื ละวางไดโ้ ดยง่ายเลย 4. ความเกลียด – เทวษ เป็นด้านตรงขา้ มของ ราคะ มันคือความรสู้ ึกท่มี ีต่อสง่ิ ทีอ่ ตั ตาไมช่ อบ ไม่พอใจ ขัดใจ ซง่ึ เกิดข้ึนเม่ือ สมั ผัสหรือประสบตอ่ ขัดต่อความสุข ความพอใจของอัตตา รวมถึงสิ่งทเ่ี ป็นภัยคุกคามตอ่ ความอยู่รอด ปลอดภัยของมนั จึงกลายเป็นความรูส้ กึ ไม่ชอบ เกลยี ด โกรธ ไปจนกลายเปน็ ความอาฆาตมาดรา้ ยในทสี่ ุด 5. ความกลวั ความตาย การยึดตดิ กบั ชีวิต – อภนิ เิ วศ จากความไมร่ ู้ที่ก่อให้เกิดความยดึ ม่นั ในตวั ตนทเ่ี ป็นจรงิ เปน็ จัง และอัตตาก็โหยหาและปรารถนาการ ดารงอยตู่ ลอดไป ดงั น้ัน สิง่ ที่มนั กลวั ท่สี ุด คือ การพบวา่ ตัวมันไม่มีอยจู่ รงิ และมนั เกรงกลัวต่อการสิ้นสดุ ลง ของตัวมนั หรือการตายอยา่ งท่ีสดุ
- ๒๐๗ - ตวั อย่างพระราชดารชั ของในหลวงรชั กาลท่ี 9
- ๒๐๘ - แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ รายบคุ คล ความ การแสดงความ การตอบ การยอม ทางานตามท่รี ับ รวม ท่ี ชอ่ื -สกลุ สนใจ คดิ เหน็ คาถาม รับฟังคนอนื่ มอบหมาย คะแนน ผลการ 55 55 5 20 ประเมิน *หมายเหตุ ไดค้ ะแนน 11 ขึ้นไป ผา่ นเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การวดั ผล ให้คะแนนระดับคณุ ภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดังนี้ ดีมาก = 18-20 สนใจฟงั ไม่หลับ ไม่พดู คุยในชนั้ มีคาถามที่ดี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานสง่ ครบ ตรงเวลา ดี = 15-17 การแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 70% ปานกลาง = 11-14 การแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 50% ปรับปรุง = 0-10 เขา้ ช้ันเรียน แตก่ ารแสดงออกนอ้ ยมาก สง่ งานไม่ครบ ไมต่ รงเวลา ลงช่อื ……………………………….ผ้สู ังเกต (……………………………….) …………/…………/………
- ๒๐๙ - แบบประเมินผลงาน ผลงานตรง ผลงานตรงกบั ผลงานมี ผลงานมี ผลงานมคี วาม รวม กบั จุดประสงค์ ความคดิ ความ เป็น เป็นระเบยี บ คะแนน จดุ ประสงค์ ทีก่ าหนด สรา้ งสรรค์ ระเบยี บ ท่ี ชื่อ -สกุล ท่ีกาหนด ผลการ 5 5 5 5 5 20 ประเมนิ *หมายเหตุ ได้คะแนน 11 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การวัดผล ใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพของแต่ละพฤตกิ รรมดงั นี้ ดีมาก = 18-20 สนใจฟงั ไมห่ ลับ ไม่พดู คุยในชนั้ มคี าถามท่ดี ี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่งครบ ตรงเวลา ดี = 15-17 การแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ 70% ปานกลาง = 11-14 การแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 50% ปรับปรุง = 0-10 เขา้ ชั้นเรียน แตก่ ารแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไมค่ รบ ไมต่ รงเวลา ลงชอื่ ……………………………….ผ้สู ังเกต (……………………………….) …………/…………/………
- ๒๑๐ - เกณฑก์ ารให้คะแนนผลงาน รายการประเมิน คะแนน 1. ผลงานตรง 5 4 3 2 1 0 กับจุดประสงค์ ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานไม่ ไม่ทาผลงาน ทกี่ าหนด จุดประสงค์ กบั จุดประสงค์ จุดประสงค์ กับจุดประสงค์ สอดคล้องกบั ไมท่ าผลงาน ทุกประเดน็ มากท่ีสดุ ทกุ ประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่ บางประเด็น จดุ ประสงค์ ไม่ทาผลงาน 2. ผลงานมี เนื้อหาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ ความถกู ต้อง ผลงานถกู ตอ้ ง ผลงานถูกตอ้ ง ผลงานถกู ต้อง เปน็ ผลงานถกู ต้อง ผลงานไม่ถูกตอ้ ง ไม่ทาผลงาน สมบรู ณ์ ครบถว้ นดเี ยยี่ ม ครบถ้วน สว่ นใหญ่ เปน็ บางประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่ ผลงานมีความคดิ ผลงานมคี วามคิด ผลงานมีความคิด ผลงานมีความ ผลงานไม่น่าสนใจ ไม่ทาผลงาน 3.ผลงานมี สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ แต่ยงั นา่ สนใจ แต่ยงั ไม่มี ไมม่ คี วามคิด ความคิด แปลกใหม่ แปลกใหม่ ไมเ่ ป็นระบบ ความคดิ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ และเป็นระบบมาก และเปน็ ระบบ แปลกใหม่ แปลกใหม่ ที่สดุ 4. ผลงานมี ผลงานมีความเป็น ผลงานมคี วามเป็น ผลงานส่วนใหญ่ มี ผลงานมคี วามเป็น ผลงานส่วนใหญ่ ความ เป็น ระเบยี บ แสดงออก ระเบยี บ แสดงออก ไม่เปน็ ระเบยี บ ระเบียบ ถงึ ความประณีต ถงึ ความประณีต ความเป็นระเบียบแต่ ระเบียบ แตม่ ีข้อ และ มขี ้อบกพรอ่ ง 5. ผลงานเสรจ็ สง่ ผลงานตามเวลาที่ สง่ ผลงานตามเวลา ยังมีข้อบกพรอ่ ง บกพร่องบางส่วน ส่งผลงานชา้ กว่า ตามเวลาท่ี กาหนดทส่ี ดุ ทีก่ าหนด เวลาทก่ี าหนด กาหนด เล็กน้อย เกนิ 5 วนั ขึ้นไป ส่งผลงานชา้ กวา่ ส่งผลงานชา้ กว่า เวลาท่กี าหนด เวลาทีก่ าหนด 1-2 วนั 3-5 วนั เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 พอใช้ 5 – 8 ปรบั ปรุง ลงชอ่ื ..........................................................ผูป้ ระเมนิ (........................................................)
- ๒๑๑ - แบบประเมินการนาเสนอผลงาน/อภิปรายหน้าห้อง เรอ่ื ง ……………………………………………………………… กลมุ่ ………………………………… หอ้ ง…………………………………… สมาชกิ 1………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. คาชแี้ จง : ใหท้ าเครื่องหมาย ในช่องว่างท่ีกาหนดให้ ประเมนิ ตนเอง รายการประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ รวม 54321 1. มีการวางแผนการทางาน 2. มีความพรอ้ มในการนาเสนอ 3. ความนา่ สนใจในการนาเสนอ 4. มคี วามคดิ สร้างสรรค์ 5. ประโยชน์-ความถูกต้องของงานนาเสนอ เพ่ือนประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ รวม รายการประเมนิ 54321 1. มีการวางแผนการทางาน 2. มคี วามพรอ้ มในการนาเสนอ 3. ความนา่ สนใจในการนาเสนอ 4. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ 5. ประโยชน์-ความถกู ตอ้ งของงานนาเสนอ เกณฑก์ ารประเมิน 21 543 นอ้ ย ตอ้ งปรับปรุง ดมี าก ดี ปานกลาง ลงชอื่ …………….………….ผูป้ ระเมนิ ลงชื่อ…………….………….ผ้ปู ระเมนิ
- ๒๑๒ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม “มงุ่ ม่ันในการทางาน” คาช้แี จง ทาเครือ่ งหมาย ในชอ่ งท่ตี รงกบั ความเปน็ จรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมิน เอาใจใส่ต่อการ ตั้งใจและ ทมุ่ เททางาน รวม ผลการประเมนิ ปฏิบัติหนา้ ทท่ี ่ี รบั ผดิ ชอบในการ อดทนไมย่ ่อท้อต่อ คะแนน เลขที่ ชือ่ - สกุล ได้รบั มอบหมาย ทางานให้สาเรจ็ ปญั หาและ อปุ สรรคในการ ทางาน ผา่ น ไม่ผ่าน ๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒ ๑ ๐ (ลงชื่อ)...................................ครูผู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๒๑๓ - แผนการจัดการเรียนรู้ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา 1 ช่วั โมง หนว่ ยท่ี ๓ ชือ่ หนว่ ย STRONG / จิตพอเพยี งต้านการทจุ ริต แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ดา้ นทุจริต 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ปฏิบตั ิตนเป็นผู้ที่ STONG / จติ พอเพยี งดา้ นการทจุ ริต 1.2 ตระหนักปละเหน็ ความสาคญั ของการตอ่ ต้านและป้องกันการทุจริต ๒.จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 นกั เรียนมีจิตสานึกไม่คิดเอาผลประโยชน์ส่วนรวมมาเปน็ ของสว่ นตน ๒.๒ ปฏบิ ัตลิ ะเวน้ ดา้ นการทจุ ริต ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1) ความหมายของคาวา่ ทุจรติ 2) การปฏบิ ัติละเวน้ ดา้ นการทุจรติ 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด) 1) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคิด 3.3 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ / คา่ นยิ ม 1) ซื่อสัตย์สุจริต 2) มวี นิ ยั ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ / ประสบการณ์ 4.1 ขนั้ ตอนการเรียนรู้ 1) ชมคลิปวดี โี อ เร่ือง “โฆษณา รณรงค์ต่อตา้ นการทุจรติ โดย คตช.” ทม่ี าของคลิป https://www.youtube.com/watch?v=rvFS1YdqSfQ 2) สนทนา อภปิ รายเกย่ี วกับคลปิ วดี ิโอทร่ี ับชมโดยชีใ้ หเ้ ห็นแนวทางการต่อต้านทุจรติ และครู พยายามเชื่อมโยงให้นกั เรียนเห็นว่า การทุจรติ จะทาให้เกดิ ผลเสียต่อตนเอง ผู้อื่น สงั คม ประเทศ อย่างไร พฤติกรรมใดควรปฏิบัติ พฤติกรรมใดควรไม่ปฏบิ ัติ 4.2 ขนั้ สอน 3) แบง่ กลุ่มนักเรยี นกลมุ่ ละ 5-6 กลุ่ม ครูแจกใบความรู้ เรอ่ื ง รูปแบบการทุจรติ ในแต่ละ กล่มุ ศกึ ษา พร้อมกระดาษชาร์ต 4) ให้แต่ละกลุม่ ระดมสมองจัดทาแผนผังความคิด ในประเดน็ ต่อไปน้ี - รปู แบบการทจุ รติ - สาเหตุท่ีทาให้เกดิ การทุจริต - วิธีการแนวทางการต่อต้านการทุจริตตามความคดิ ของนักเรียน 5) ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรยี น 4.2 ขน้ั สรุปและประเมนิ ผล
- ๒๑๔ - 1) รว่ มกันสนทานา อภิปราย สรุป โดยครูเชอ่ื มโยงให้นักเรียนตระหนกั ถึงผลเสยี ของการทจุ รติ 2) นักเรียนแตง่ คาประพันธ์ หวั ขอ้ “ร่วมใจ รว่ มมือต้านทุจริต” 4.2 สอื่ การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) คลปิ วีดโี อโฆษณา “รณรงคต์ ่อตา้ นการทุจริต โดย คตช. https://www.youtube.com/watch?v=rvFS1YdqSfQ 2) ใบความรู้ เร่ือง “รูปแบบของการทุจริต” 3) กระดาษชารต์ ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 7.1วิธีการประเมิน 1) ประเมินจากแบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2) ประเมินจากผลการนาเสนองานแผนผงั ความคดิ 3) ประเมนิ จากแบบสงั เกตพฤติกรรม ๕.๒ เครือ่ งมือท่ีใช้ในการประเมนิ 1) แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 2) แบบประเมนิ การนาเสนองานแผนผังความคดิ 3) แบบสงั เกตพฤติกรรม 5.3 เกณฑ์การตัดสนิ นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดบั ดีขน้ึ ไป 6 บนั ทกึ หลังสอน .............................................................................................. ........................................................... .... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ................................................................. ...................... ..................................................................................................................................... ...................................... ลงชือ่ ................................................ ครูผู้สอน (.................................................) 7 ภาคผนวก ๑. ใบความรู้ ๒. ใบงาน ๓. แบบทดสอบ ๔. แบบสังเกต
- ๒๑๕ - ใบความรู้ รปู แบบการทุจรติ รูปแบบการทุจรติ รแู บบการทจุ รติ ทเ่ี กดิ ข้นึ สามารถแบง่ ออกได้ 3 ลักษณะ คือ แบ่งตามผทู้ ่เี กีย่ วข้อง แบ่งตาม กระบวนการทใี่ ช้ แบง่ ตามลักษณะรูปธรรม ดงั นี้คอื 1.) แบ่งตามผู้ที่เก่ียวข้อง เป็นรูปแบบทุจริตในเรื่องของอานาจและความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ ระหว่างผู้ที่ให้ความอุปถัมภ์ (ผู้ให้การช่วยเหลือ)กับผู้ถูกอุปถัมภ์ (ผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือ) โดยกระบวนการ ทจุ รติ จะมี 2 ประเภทคอื (1) การทุจริตโดยข้าราช หมายถึงการกระทาท่ีมีการใช้หน่วยงานราชการ เพ่ือแสวงหา ผลประโยชน์จากการปฏบิ ัตงิ านของหน่วยงานนน้ั มากกวา่ ประโยชน์สว่ นรวมของสังคม หรือประเทศ โดยลักษณะของการทุจริตโดยข้าราชการสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทย่อย ดังนี้ (ก) การคอร์รัปชันตามน้า (corruption without theft) จะปรากฏขึ้นเมื่อเจ้าหน้าท่ี ของรัฐต้องการติดสินบนโดยมีการจ่ายตามช่องทางราชการ แต่ให้เพ่ิมสินบน รวมเขา้ ไว้กับการจ่ายค่าบริการของหน่วยงานนั้น โดยมีค่าบริการปกติท่ีหน่วยงาน นั้นต้องได้รับก็ยังคงได้รับต่อไป เช่น การจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่ในการออกเอกสาร ต่างๆ นอกเหนือจากค่าธรรมเนยี มปกติทีต่ อ้ งจา่ ยอยแู่ ล้ว เปน็ ต้น (ข) การคอร์รัปชันน้าตามน้า (corruption with theft) เป็นการคอร์รัปช่ันในลักษณะ ท่ีเจา้ หน้าที่ของรฐั จะเรียกเก็บจากผู้ขอรับบริการโดยตรง โดยที่หน่วยงานน้ันไม่ได้ มีการเรียกเก็บเงินค่าบริการแต่อย่างใด เช่น ในการออกเอกสารของหน่วยงาน ราชการไม่ได้มีการกาหนดให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ แต่กรณีที่มีการ เรยี กเกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยจากผทู้ ่ีมาใชบ้ รกิ ารของหน่วยงานรัฐ (2) การทุจริตโดยนักการเมือง (political corruption) เป็นการใช้หน่วยงานของราชการ โดยบรรดานักการเมืองเพื่อมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ในทางการเงินมากกว่าประโยชน์ ส่วนรวมของสังคมหรือประเทศเช่นเดียวกัน โยรูปแบบหรือวิธีการทั่วไปจะมีลักษณะ เช่นเดยี วกบั การทุจรติ โดยราชการ แต่จะเป็นในระดับท่ีสูงมมากกว่า เช่น การทุจริตใน การประเมินโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ และมีการเรียนรับ หรือยอมรับทรัพย์หรือ ประโยชน์ตา่ งจากภาคเอกชน เป็นต้น 2) แบ่งตามกระบวนการที่ใช้ มีอยู่ 2 ประเภท คือ (1) เกิดจากการใช้อานาจในการกาหนด กฎ กติกาพ้ืนฐาน เช่นการออกกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ เพ่ือนอานวยความสะดวกต่อกลุ่มธุรกิจ ของตนเองหรือของพวกพ้องและ (2) เกิดจากการใช้อานาจเจ้าหน้าท่ีเพื่อแสวงหาผลประโยชน์การ กฎ และระเบียบท่ีดารงอยู่ ซึ่งมักเกิดจากความไม่ชัดเจนของกฎหมายและระเบียบเหล่านั้นท่ีทาให้ เจ้าหน้าที่สามารถใช้ความคิดเห็นของตนได้ และการใช้ความคิดเห็นน้ันอาจไม่ถูกหากมีการใช้ไป ในทางท่ีผดิ หรือไมย่ ุตธิ รรมได้ 3) แบ่งตามลักษณะรปู ธรรม มีทั้งหมด 4 รปู แบบ คอื (1) คอร์รัปชันในการจัดซ้ือจัดหา (procurement corruption) เช่นการจัดซื้อ สิ่งของในหนว่ ยงาน โดยมีการคิดราคาเพมิ่ หรือคณุ สมบตั แิ ต่กาหนดราคาซ้ือไว้เทา่ เดมิ
- ๒๑๖ - (2) คอร์รัปช่นั จากการให้สัมปทานและสทิ ธพิ ิเศษ (Concessionaire Corruption) เช่นการใช้เอกชนรายได้รายหน่ึงเข้ามามีสิทธิในการจาทดสัมปทานเป็นก รณีพิเศษต่างจากเอกชน รายอน่ื (3) คอร์รัปชันจากการขายสาผารณสมบัติ(Privatization corruption) เช่น การ ขายกิจการของรฐั วิสาหกจิ หรืการยกเอาทีด่ ิน ทรัพย์สนิ ไปเป็นสิทธิครอบครองของต่างชาติ เป็นต้น (4) คอร์รัปชันจากการกากับผู้ดูแล (Regulatory Corruption) เช่น การกากับดุ แลหน่วยงานแล้วทาการทจุ ริตต่างๆ เปน็ ต้น นกั วชิ าการทไี่ ดร้ ับจากการศกึ ษาเกย่ี วกับปัญหาการทุจริต ได้มีการกาหนดหรือการ แบ่งเป็นประเภทธุรกิจเป็นรูปแบบต่างๆไว้ เช่น การวิจัยของรองศาสตราจารย์ ดร.นวลน้อย ตรีรัตน์ และ คณะ ได้แบ่งการทุจริตคอร์รัปชันออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ (1) การใช้อานาจในการอนุญาตให้ละเว้นการ ปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐเพื่อลดต้นทุนการทาธุรกิจ (2)การใช้อานาจการจัดสรรผลประโยชน์รูปของส่ง ของและการบริการ หรือสิทธิให้แก่เอกชน และ (3) การใช้อานาจในการสร้างอุปสรรคในการบริการแก่ภาค ประชาชนและภาคธุรกิจ เนื่องจากเงินเดือนและผลตอบแทนในระบบราชการต่าจนเกินไปจนขดแรงจูงใจใน การทางาน นอกจากน้ี จากผลการสอบสวยและการศึกษาเรื่องการทุจริต ของคณะกรรมการวิสามัญ สอบสวนและศึกษาเรื่องเก่ียวกับการทุจริตของวุฒิสภา (วิชา มหาคุณ) มีการแบ่งรูปแบบการทุจริตการคอร์ รัปชันอกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1) การทุจริตเชงิ นโยบาย เป็นรูปแบบใหม่ของการทุจริตท่ีแยบยล โดยอาศัยรูปแบบของกฎหมายหรือมติของคระรัฐมนตรี หรือมติของคระกรรมการเป็นเครื่องมือในการแสวงหาผลประโยชน์ ที่ทาให้ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่า เป็นการกระทาทีต่ ้องชอบธรรม 2) การทุจรติ ตอ่ ตาแหนง่ หนา้ ท่รี าชการ เป็นการใช้อานาจและหน้าท่ีความรับผิดชอบของตนเองในบานนะของเจ้าหน้าที่ของรัฐเอ้ือ ประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือบุคคลหน่ึงหรือกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงปัจจุบันมักเกิดการร่วมมือระหว่างนักการเมือง พ่อค้าและราชการจาเปน็ 3) การทุจริตในการจดั ซอื้ จดั จ้าง การทุจริตประเภทนี้มักจะพบได้ท้ังในรูปแบบของการสมยอมราคา ต้ังแต่ข้ันตอนออกแบบ กาหนด รายละเอียดหรือเป็นงาน กาหนดเง่ือนไข คานวณราคากลางออกประกาศประกวดราคา การขายแบบการ ขายและการเปิดของ การประมูล การประกาศ การอนุมติ การทาสัญญาทุกข้ันตอนของกระบวนการจัดซ้ือ จัดจ้างล้วนมีช่องโหว่ให้มีการทุจริตอย่างง่าย นอกจากน้ียังการทุจริตที่มีมาเหนือเมฆอาศัยความเป็น หน่วยงานจาการไม่ได้นาส่งกระทรวงการคลัง แต่เป็นผลประโยชน์ส่วนตน ซึ่งไม่แตกต่างอะไรกับการจ้าง บรษิ ัทเอกชน 4) การทจุ รติ ในการสมั ปทาน เป็นการแสวงหาหรือเอื้อประโยชน์โดยมิชอบจากโครงการหรือกิจการของรัฐ ซึ่งรัฐได้อนุญาตหรือ มอบให้เอกชนดาเนินการแทนให้ลักษณะสัมปทานผูกขาดในกิจการใดกิจการหน่ึง เช่น การทาสัญญา สัมปทานโรงงานสุรา การทาสัมปทานโทรคมนาคม เป็นต้น
- ๒๑๗ - 5) การทจุ รติ โดยการทาลายระบบตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ เป็นการพยายามดาเนินการให้ได้บุคคล ซึ่งมีสายสัมพันธ์กับผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองในอันท่ีจะ ได้เข้าไปดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญซึ่งมีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ เช่น คณะกรรมการเลือกตั้ง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็นต้น ทาให้องค์กร เหลา่ น้ีมีความอ่อนแอ ไมส่ ามารถตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 1.1.3 สาเหตุทท่ี าใหเ้ กดิ การทุจรติ จากการศึกษาโครงการประเมินสถานการณ์ด้านการทุจริตในประเทศไทยของเสาวนีย์ ไทยโรจน์ได้ ระบุ เง่อื นไข/สาเหตุที่ทาใหเ้ กิดการทุจริตคอร์รัปชันอาจมาจากสาเหตภุ ายในหรือสาเหตุภายนอก ดังนี้ (1) ปัจจยั ส่วนบุคคล ได้แก่ พฤติกรรมส่วนตัวของข้าราชการบางคนที่เป็นคนโลภมาก เห็นแก่ ไดไ้ ม่รู้จกั พอ ความเคยชนิ ของขา้ ราชการทีค่ นุ้ เคยกับการทีจ่ ะได้ “ค่านา้ ร้อนน้าชา “หรือ “เงินใต้โต๊ะ” จากผู้ มาตดิ ต่อราชการ ขาดจติ สานึกเพอ่ื ส่วนรวม (2) ปัจจยั ภายนอก ประกอบดว้ ย 1) ดา้ นเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ รายไดข้ องราชการน้อยหรือต่ามากไม่ได้สัดส่วนกับการครอง ชีพท่ีสูงสุด การเติบโตของระบบต้นทุนนิยมที่เน้นการบริโภค สร้างนิสัยการอยยากได้ อยากมี เมื่อรายได้ไม่ เพียงพอกต็ อ้ งหาทางใช้อานาจไปทจุ ริต 2) ด้านสังคม ได้แก่ ค่านิยมของของสังคมที่ยกย่องคนมีเงิน คนรวยและไม่สนใจว่า เงินนั้นได้มาอย่างไร เกิดกี่ลัทธิเอาอย่าง อยากได้สิ่งท่ีคนรวยมี เมื่อเงินเดือนของตนเพียงพอ ก็หาโดยมีวิธีมิ ชอบ 3) ด้านวัฒนธรรม ได้แก่ การนิยมจ่ายเงินของนักธุรกิจให้กับข้าราชการที่ต้องความ สะดวกรวดเร็ว หรือการบริการที่ดีกว่าด้วยการลดตน้ ทุนทจ่ี ะต้องปฏบิ ัตติ ามระเบยี บ 4) ด้านการเมือง ได้แก่ การทุจริตของข้าราชการการแยกไม่ออกจากนักการเมือง การร่วมมือของคนสองกลุม่ นี้เกดิ ขน้ึ ได้ในประเดน็ การใช้จ่ายเงนิ การหารายได้และการตัดสินพิจารราโครงการ ของรัฐ
- ๒๑๘ - แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานรายบุคคล (การอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ) พฤติกรรม ความสนใจ การแสดง การตอบ การยอมรบั ทางาน ที่ คาถาม ความ ฟังผูอ้ นื่ ตามทีไ่ ด้รับ หมาย ช่อื -สกลุ คิดเห็น มอบหมาย เหตุ 43214321432143214321 เกณฑ์การวดั ผล ใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดังน้ี ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไม่หลบั ไมพ่ ดู คุยนอกประเดน็ มีคาถามท่ดี ี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่ง ครบตรงเวลา ดี = 3 สนใจฟัง ไมห่ ลับ พูดคุยนอกประเด็นบ้าง มคี าถาม ตอบคาถามถูกต้อง ทางานสง่ ครบ ตรงเวลา ปานกลาง = 2 สนใจฟัง ไมห่ ลับ พดู คุยนอกประเด็นบ้าง มคี าถาม ไม่ค่อยตอบคาถาม ทางานสง่ ครบ ตรงเวลาบา้ งไม่ตรงเวลาบา้ ง ปรับปรุง = 1 สนใจฟงั ไมห่ ลับ พดู คยุ นอกประเด็นบ้าง ไมม่ กี ารตงั้ คาถามตอบคาถาม สง่ งานไม่ครบ ไม่ตรงเวลา นักเรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมิน ใน ระดับ ๒ จึงจะผ่าน ลงช่ือ……………………………….ผู้สงั เกต (……………………………….) …………/…………/………..
- ๒๑๙ - แบบการประเมินผลการนาเสนองาน เรอ่ื ง …………………………………….วชิ า………………………กลุ่ม .......................................... ชอ่ื ………………………………………….เลขท…ี่ ……………ชัน้ .................................................. ท่ี รายการประเมิน ผู้ประเมิน รวม เกณฑก์ ารประเมิน ตนเอง เพอื่ น ครู 1 เน้อื หา ( 4 คะแนน ) คะแนน 4 : มคี รบทุกขอ้ 9. เนือ้ หาครบถว้ นสมบูรณ์ คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ 10. เนื้อหาถกู ตอ้ ง ขาด 1 ขอ้ 11. เน้ือหาตอ่ เนอื่ ง คะแนน 2 : มี 2 ข้อ 12. มกี ารคน้ คว้าเพ่ิมเตมิ ขาด 2 ข้อ คะแนน 1 : มี 1 ข้อ ขาด 3 ขอ้ 2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2: มคี รบทกุ ขอ้ 9. มีการวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ คะแนน 1 : มี ไมค่ รบ 4 ขอ้ 10. การปฏบิ ตั ติ ามแผน คะแนน 0 : ไม่ปรากฏกระบวน 11. ตดิ ตามประเมินผล การทางานท่ีชดั เจน 12. การปรับปรงุ พัฒนางาน 3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 2 : มคี รบทุกขอ้ 7. การใชส้ านวนภาษาดี คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ถกู ต้อง ขาด 1 ข้อ 8. การสะกดคาและไวยากรณ์ คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ถูกต้อง ขาด 2 ขอ้ คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อ 9. รปู แบบนา่ สนใจ ขาด 3 ข้อ 4. ความสวยงาม 4 คณุ ธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 2 : มคี รบทุกข้อ 9. ตรงต่อเวลา คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ 10. ซ่อื สตั ย์ ขาด 1 ข้อ 11. ความกระตือรือร้น คะแนน1 : มี 2 ข้อ 12. ความมีนา้ ใจ ขาด 2 ข้อ คะแนน 0.5 :มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ รวม คะแนนเต็ม 10 คะแนน เฉล่ยี ลงชือ่ ผปู้ ระเมนิ …………………………….. ตนเอง ลงช่อื ผปู้ ระเมนิ …………………………….. เพ่ือน ลงช่อื ผู้ประเมนิ …………………………….. ครู
- ๒๒๐ - แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลมุ่ กลุ่ม…………..ช้นั ……………… พฤติกรรม ลาดั ชื่อ-สกุล ความ การแสดง การรับฟัง ความต้งั ใจ การมีสว่ น รวม บ รว่ มมือ ความ ความ ในการ รว่ มในการ คดิ เห็น คิดเห็น ทางาน อภปิ ราย ท่ี สมาชกิ กลุ่ม 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = 4 ประสิทธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 90-100% หรือปฏบิ ตั ิบ่อยครง้ั ดี = 3 ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ 70-89% หรือปฏบิ ัติบางคร้ัง ปานกลาง = 2 ประสิทธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 50-69% หรอื ปฏิบตั คิ ร้ังเดียว ปรบั ปรุง = 1 ประสทิ ธิภาพต่ากว่าเกณฑ์ 50% หรอื ไมป่ ฏิบัตเิ ลย นักเรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดบั ดี ประสทิ ธิภาพอยู่ในเกณฑ์ ดี 70-89% ลงช่อื ………………………………ผู้สังเกต (…………………………….) ………./……………/………
- ๒๒๑ - แบบสังเกตแบบสังเกตพฤตกิ รรม “ซอื่ สัตยส์ จุ ริต” คาชแ้ี จง ทาเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งทีต่ รงกบั ความเป็นจริงตามเกณฑก์ ารประเมิน ไมถ่ ือเอาสิ่งของ ผลการประเมิน หรอื ผลงานของ รวม ใหข้ ้อมูลทีถ่ ูกต้อง ผอู้ ่นื มาเปน็ ของ เลขที่ ช่ือ - สกลุ และเปน็ จริง ตนเอง คะแนน ผ่าน ไม่ผา่ น ๓๒๑๐๓๒๑๐ (ลงชือ่ )...................................ครูผู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๒๒๒ - แบบสงั เกตแบบสังเกตพฤติกรรม “มวี นิ ยั ” คาชแ้ี จง ทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งท่ตี รงกับความเปน็ จริงตามเกณฑ์การประเมนิ เลขที่ ช่ือ - สกลุ ปฏิบัตติ าม ตรงต่อเวลาใน รวม ผลการประเมิน ขอ้ ตกลงกฎเกณฑ์ การปฏิบตั ิ คะแนน ผา่ น ไม่ผ่าน ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครัว กจิ กรรมตา่ งๆใน โรงเรียนและ ชีวติ ประจาวนั สังคม ไม่ละเมิด และรบั ผิดชอบใน การทางาน สิทธขิ องคนอ่นื ๓๒๑๐๓๒๑๐ (ลงชอ่ื )...................................ครูผปู้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./............
- ๒๒๓ - ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลา ๒ ช่ัวโมง แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๓ ชอ่ื หนว่ ย STRONG/จิตพอเพียงด้านการทจุ รติ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 เร่อื ง มงุ่ ไปข้างหน้า ๑. ผลการเรียนรู้ 1.1 มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการทุจรติ 1.2 ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผทู้ ่ี STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 นกั เรียนสามารถอธิบายความหมายของความมุง่ มน่ั ตั้งใจได้ 2.2 นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของความซื่อสตั ย์ได้ 2.3 นกั เรียนเลือกวิธกี ารปฏบิ ัตติ นใหเ้ ป็นผ้มู ีพฤตกิ รรมของบคุ คลท่มี คี วามมงุ่ มน่ั ตั้งใจในการ ปฏิบตั ิงานได้ ๒.4 นักเรียนชน่ื ชมและแสดงออกถึงการเป็นผ้มู ีความรบั ผดิ ชอบตอ่ การปฏิบัติหนา้ ทขี่ องตนด้วย ความมุง่ มน่ั ตัง้ ใจจนกระทง่ั งานนัน้ สาเรจ็ ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1) ความหมายของความมงุ่ มนั่ ตั้งใจ 2) ความหมายของความซือ่ สตั ย์ 3) การแสดงออกถึงการเป็นผู้มคี วามรบั ผิดชอบ 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ ) 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3.3 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ / คา่ นยิ ม ๑) มงุ่ มน่ั ในการทางาน 2) ซื่อสตั ย์สจุ ริต กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.1 ขน้ั ตอนการเรียนรู้ ๑) ยกตวั อยา่ งประเดน็ เนอื้ หาการดารงชวี ิตของบุคคลหลากหลายอาชีพเช่นมีอาชพี เกบ็ ของเก่า ขายพ่อค้าแมค่ ้า ยามรกั ษาความปลอดภัย นกั บิน แอร์โฮสเตส เพอ่ื เชื่อมโยงคุณลกั ษณะของ บคุ คลท่ีมีความซื่อสัตย์ต่อการทางาน มคี วามรักและศรัทธาในงานอาชีพของตน พร้อมสนทนา รว่ มกันถงึ ประสบการณ์ในการปฏบิ ตั งิ านของนักเรียนว่ามีแนวทางในการปฏบิ ตั ิงานอย่างไรเพ่ือให้ งานน้นั สาเร็จ ๒) นกั เรียนชมคลปิ วดี โี อ เร่อื งความสาเรจ็ ทเี่ กดิ จากความพยายาม เมอ่ื ชมจบแลว้ ร่วมกนั อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ต่อพฤติกรรมของบคุ คลในเรอ่ื งวา่ สามารถนาพาชวี ิตสูค่ วามสาเร็จได้ อย่างไร ต้องใชค้ วามพากเพียรพยายามหรือมคี ุณธรรมใดบ้างในการก้าวไปสู่ความสาเร็จน้นั พร้อม เปรยี บเทียบกับพฤติกรรมของเพ่อื นหรือคนรจู้ ักทม่ี ีพฤติกรรมเกเรแต่สามารถเปลี่ยนแปลงตนเองจน ก้าวสคู่ วามสาเร็จในการดาเนินชีวติ ไดอ้ ยา่ งไร
- ๒๒๔ - ๓) แบ่งกลมุ่ นักเรียน กลมุ่ ละประมาณ ๓ - ๔ คน เลอื กประธานและเลขานุการกล่มุ ศึกษากรณี ตัวอย่างการทางานของบคุ คลจากใบงานที่ ๑ “หนทางแหง่ ความสาเรจ็ เราเลือกได้” โดย นักเรียน ร่วมอภิปรายแสดงความคิดเหน็ ลักษณะการทางานของบุคคลจากกรณีตวั อยา่ ง เปรียบเทียบผลจากการกระทาของบุคคลในเร่ือง ๔) นักเรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกนั อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ สู่การพิจารณาเลอื กแนวปฏิบัตขิ อง บคุ คลในเร่ืองทีค่ ิดว่าเมอ่ื นามาปฏบิ ตั จิ รงิ แลว้ จะส่งผลต่อความสาเร็จในการปฏิบัติงานของตน พร้อม แสดงเหตผุ ลประกอบ และนาเสนอผลงานต่อเพ่ือนๆกลุ่มอ่ืนๆ 5) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมคัดเลอื กผลงานท่ีคดิ วา่ ดีท่ีสุดในการนาเสนอผลงานของเพอ่ื นแต่ละ กลุม่ พร้อมแสดงเหตุผลประกอบการคดั เลือก 6) กาหนดสถานการณ์ให้นกั เรยี นร่วมคดิ ออกแบบวางแผนการทางานจาก ใบงานท่ี ๒ “มีวิธกี ารอย่างไรในการทเี่ ราจะปฏบิ ตั ิงานใหป้ ระสบความสาเร็จ” โดยหากนักเรียนและเพื่อนๆใน ห้องได้รบั มอบหมายใหป้ ฏบิ ัติหนา้ ที่ในการรับรองแขกผู้ใหญท่ ม่ี าเย่ยี มชมศกึ ษาดูงานทโ่ี รงเรยี นใน วันหยุด จะมีวิธกี ารอยา่ งไรทีจ่ ะทาให้การปฏิบัตงิ านนั้นประสบความสาเร็จเป็นที่พงึ พอใจของแขก ผูม้ าเยือนและเพื่อนๆทุกคนให้ความร่วมมือรว่ มใจในการปฏิบัติงานแต่ เน่อื งจากในวันที่ปฏบิ ตั งิ าน ดงั กลา่ วมีเพ่ือนบางคนไมม่ าปฏิบัตหิ น้าท่ีท่ไี ด้รบั มอบหมายเนอ่ื งจากเปน็ วนั หยุด นักเรยี นจะมวี ิธกี าร แก้ไขอย่างไร ใหร้ ะบุแนวทางการแก้ไข สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอภปิ ราย สรุปผลแนวคิดของกลมุ่ พรอ้ มจัดทาผลงานเตรียมนาเสนอต่อเพอ่ื นๆในห้อง 7) แตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานของกลุ่มตนต่อเพื่อนๆในห้องเป็นการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ต่อกนั 8) ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายถงึ แนวทางในการดาเนินชีวติ ใหป้ ระสบความสาเร็จในการ ทางานนอกจากการมีความม่งุ ม่ันต้ังใจอดทนและไม่ย่อท้อต่อความยากลาบากแล้ว ยงั มคี ุณธรรมใดที่ ช่วยสง่ เสรมิ การดาเนนิ ชวี ิตใหม้ คี วามสุขพบกบั ความสาเรจ็ ในการทางานอนั จะเป็นการ ช่วยส่งเสริม สังคมและประเทศชาตใิ ห้เจริญกา้ วหนา้ ซึ่งประเทศชาติมคี วามคาดหวังจากประชาชนในประเทศมาก ที่สดุ ซ่งึ ก็คือการประพฤติปฏิบัติตนตงั้ ม่นั อยู่ในความซือ่ สตั ย์สุจริตเห็นแกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวมมากกว่า ประโยชนส์ ว่ นตนโดยเร่ิมต้นท่กี ารมคี วามประพฤติท่ดี งี ามของตน ดารงตนต้ังมัน่ อย่บู นพื้นฐานการ ดาเนนิ ชีวิตแบบพอเพยี งมีความสุขกบั ส่งิ ที่ตนเองมี ไมท่ ุจริตคดโกง สามารถแยกแยะไดว้ ่าสิ่งใดควร ทาหรือไม่ควรทา 9) สรปุ รว่ มกนั ถึง การมุ่งไปขา้ งหน้า หมายถงึ ผนุ้ า ผูบ้ ริหาร องคก์ รและชมุ ชนมงุ่ พัฒนา ปรับเปล่ยี นตนเองและส่วนรว่ มให้มคี วามเจริญก้าวหนา้ อย่างยงั่ ยืนบนพื้นฐานความโปร่งใส ความ พอเพียงและรวมสร้างวัฒนธรรมสุจรติ ใหเ้ กิดขึน้ อย่างไปย่อท้อ กิจกรรมเพมิ่ เติม ให้นกั เรียนไดฝ้ กึ ทักษะการทางานการรบั รองแขกในสถานการณ์จริง 4.2 สือ่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) ใบงานกรณีตวั อยา่ งการทางานของบุคคล ใบงานท่ี ๑“หนทางแห่งความสาเรจ็ เราเลอื ก ได”้ 2) ใบงานท่ี ๒ กิจกรรม“มีวิธีการอย่างไรในการทเ่ี ราจะปฏิบัติงานให้ประสบความสาเรจ็ ” ๓) คลปิ วดี โิ อ เรอื ง “ความสาเร็จเกิดความพยายามท้งั ส้ิน”
- ๒๒๕ - ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ 5.1 วธิ กี ารประเมิน ๑) สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในดา้ นการแสดงความคิดเหน็ การอภิปราย การใหเ้ หตุผล พฤติกรรมการปฏบิ ัติงานตามภารกิจทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ๒) ตรวจสอบผลงานจากการทาใบงาน - ใบงานท่ี ๑“หนทางแหง่ ความสาเร็จเราเลือกได้” - ใบงานท่ี ๒ กิจกรรม“มีวิธีการอยา่ งไรในการท่ีเราจะปฏบิ ัตงิ านใหป้ ระสบ ความสาเรจ็ ” ๕.๒ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานของนักเรียน - การเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่ - การปฏิบัติงานรายบุคคล (การอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ) ๒) แบบประเมินผลงานใบงานที่ ๒ “มีวิธีการอย่างไรในการที่เราจะปฏิบตั งิ านใหป้ ระสบ ความสาเรจ็ ” ๓) แบบประเมนิ ผลการให้คะแนน การตรวจสอบผงั มโนทัศน์ 5.3 เกณฑก์ ารตดั สนิ ๑) เกณฑก์ ารประเมินพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติงานของนกั เรียน 1.1) แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม นกั เรียนต้องผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ในระดับดี ประสทิ ธิภาพอยู่ในเกณฑ์ ดี 70- 89% 1.2) แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานรายบุคคล นกั เรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดบั ดี อยู่ในเกณฑ์ 70% 1.3) การประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น นกั เรยี นต้องได้ระดับคุณภาพ ผา่ น ๖.บันทกึ หลงั สอน ............................................................................................................................. ................................ .................................................................................................. ......................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ....................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................. ....................................................... ...................... ลงชือ่ ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................)
- ๒๒๖ - ใบงานท่ี ๑ “หนทางแหง่ ความสาเร็จเราเลือกได้” คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นศกึ ษาบทความเรื่องราวของเจา้ ของเคร่อื งด่ืมชาเขยี วอิชติ ัน ตนั ภาสกรนที แลว้ ร่วมกนั วิเคราะหท์ ีม่ าแห่งความสาเรจ็ ในการทางานของตัน ภาสกรนที ในปัจจุบันน้ี มีนักธุรกิจท่ีประประสบความสาเร็จอยู่จานวนมาก หนึ่งในน้ันคือ คุณตัน ภาสกรนที บคุ คลที่ประสบความสาเร็จจากเคร่อื งดืม่ ชาเขียว ทีส่ ามารถทะยานสู่ความเปน็ ท่ี 1 ของตลาดเคร่ืองดมื่ ชาเขียว เขา คือบุคคลท่ีมีมันสมองแพรวพรายมี่เหล่ียมคิดแง่มุมต่างๆที่น่าจะทาให้เราสามารถศึกษาเป็นแนวทางในการเร่ิมทา ธุรกิจ ทง้ั น้คี ณุ ตันยังเปน็ นกั ธรุ กิจที่ใครๆตา่ งยดึ เป็นต้นแบบในการทาธุรกิจ ท่ีสาคัญคุณตันที่มีต้นทุนในการทาธุรกิจ ทเ่ี ร่มิ จากศนู ย์ แตส่ ามารถทาให้มีอาณาจักรเคร่อื งด่มื ชาเขยี วเปน็ แบรนด์ช้ันนาของประเทศ คณุ ตัน เติบโตมาในครอบครวั ท่ยี ากจน เร่ิมต้นสร้างทุกสิ่งทุกอย่างจากจุดที่เรียกว่า …ศูนย์…ถึงแม้เส้นทาง ถนนสายธุรกิจของเขาในวันนี้อาจไม่ยิ่งใหญ่ระดับที่เรียกว่า ตานาน … แต่คุณตัน ภาสกรนที … เป็นเพียงแค่ ทายาทของครอบครวั คนไทยเชอื้ สายจีนที่มีฐานะปานกลาง ด้วยความที่ครอบครัวคุณตันไม่ได้มีฐานะดี คุณตันเลย ตัดสินใจ เรียนถึงแค่ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้วออกมาทางาน คุณตันคิดว่าเสมอว่าเป็นคนรูปไม่หล่อ พ่อไม่ รวย เรยี นไมเ่ กง่ ถ้ายังทาตวั เท่ยี วเลน่ วนั ตอ่ ไปขา้ งหนา้ ก็คงลาบาก ส่งิ เดียวทีต่ นเองสามารถทาได้ก็คือ ทางานต้อง ตั้งใจทางานใหม้ ากกว่าคนอื่น เรมิ่ จากการทางานเปน็ พนักงานแบกของขนของข้ึนโกดังที่บริษัทซากุระ ได้ค่าแรง เดอื นละ 700 บาท ซง่ึ คุณตันกไ็ ดท้ างานค้มุ คา่ แรงโดยมาทางานเปน็ คนแรก และกลับบ้านเป็นคนสุดท้ายของพนัง งานเสมอ แต่คุณตันไม่ได้ต้องการเกิดมาเป็นลูกจ้างใครตลอดไป คุณตันจึงเริ่มธุรกิจเล็กๆเป็นของตนเองใน วยั 17 ปี และได้ลาออกจากบรษิ ทั ซากุระ และเรม่ิ ทาธุรกิจอยา่ งจรงิ จงั ออกมาเปดิ ร้านขายหนังสือเล็กๆในจงั หวัด ชลบุรี เมื่อเกบ็ เงนิ ไดป้ ระมาณหนง่ึ จากนัน้ คณุ ตนั ได้ขยับขยายมาซ้ือห้องแถวเพื่อมาทาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เปิด ร้านก๊ิฟช็อป ร้านกาแฟ ร้านอาหาร แล้วก็มาทาธุรกิจเรียลเอสเตท กาลังท่ีจะมีเงิน 100 – 200 ล้านบาท พอ รัฐบาลประกาศค่าเงินบาทลอยตัว ทาให้คุณตันเป็นบุคคลล้มละลายในปี 2539 และมีหน้ีสินติดตัว กว่า 100 ลา้ นบาทจากการลงทนุ ทางธุรกิจ แต่คุณตันไม่ได้ย่อท้อต่อความยากลาบากคุณตันได้เริ่มทาธุรกิจเว้ดด้ิง ถ่ายรปู แตง่ งานจัดงานแตง่ งานเพอื่ หาเงินมาใช้หน้ี ซึง่ ความแปลกใหมข่ องธรุ กจิ เวด้ ดิง้ ก็ทาใหค้ ณุ คุณตันสามารถหา เงนิ มาใชห้ นี้กวา่ 100 ลา้ นบาทได้หมดภายใน 2 ปี คุณตนั เรมิ่ ตน้ การทาธุรกจิ โดยมีความเช่อื ว่าส่งิ ทีด่ ที ส่ี ุดยงั ไมเ่ กดิ และส่งิ ท่ดี กี ว่ามโี อกาสเกิดได้ คุณตนั ได้ บอกว่า “ โทรทศั นใ์ นตอนนม้ี ีย่หี อ้ ไหนดที ี่สุด ” หลายๆคน ตอบว่า Sony แตค่ ุณตนั ได้บอกวา่ “ ผิดครบั …เพราะ ย่ีห้อดีที่สุดยังไม่ยังไม่มาเช่นเดียวกับที่ว่านักธุรกิจที่ประสบความสาเร็จยังไม่มา” แสดงให้เห็นว่ายังมีโอกาสเปิด โอกาสให้สาหรับคนท่ีมีความมั่นใจที่จะทาสิ่งท่ีแตกต่างให้โดดเด่นด้วยความคิดสร้างสรรค์ ” เช่นเดียวกับกรณีใน การผลติ ชาเขยี วโออิชิ ช่วงแรกๆเปดิ ตัวดว้ ย รสชาตติ ้นตาหรับ และสามารถทาการตลาดจนขายดี ทว่าเมื่อมีการ คิดคน้ รสชาติใหมอ่ อกมา รสนา้ ผึ้งผสมมะนาว ปรากฏวา่ ขายดีกว่ารสตน้ ตาหรบั เสียอีกจนมคี นยกยอ่ งให้เป็น “ สุด ยอด ”และยดึ รสชาตนิ ี้เปน็ หลัก แต่คณุ ตันกลับไม่คิดว่ารสชาติน้ีดีที่สุดและได้พัฒนาออกรสชาติต่อมาคือขายไปใน ตลาด รสชาติข้าวญี่ปุ่น สง่ ไปขายในตลาด ปรากฏวา่ ขายดกี วา่ ทกุ รสทเี่ คยผา่ นมา และน่ีคือจุดเริ่มต้นของชาเขียว ที่ส่งผลตอ่ ความเจริญรุง่ เรืองในการทาธุรกิจของคุณตันในเวลาต่อมา “เพียงคุณมีความมุ่งม่ันตั้งใจในการทางาน มี เป้าหมายชีวิตที่ชัดเจนในชีวิตท่ีตั้งอยู่บนพ้ืนฐานความซื่อสัตย์สุจริต แม้จะมีปัญหาอุปสรรคเพียงใดก็ตามคุณจะ สามารถฟันฝ่าก้าวข้ามปัญหาอุปสรรคน้ันไปสู่ความสาเร็จได้”และน่ีคือตัวอย่างบุคคลที่ยิ่งใหญ่เพราะคิดที่จะทา ทาด้วยความมงุ่ มั่นตงั้ ใจ ภายใต้พน้ื ฐานความซ่ือสัตย์สุจริต ท่ีผ่านการกล่อมเกลา การเลี้ยงดูมาจากครอบครัว แลว้ คณุ ละ่ คดิ ทีจ่ ะทาอะไรให้ชีวติ พบกับความสาเรจ็ หรือยัง
- ๒๒๗ - ประเดน็ การอภปิ ราย 1. ไดร้ บั แง่คิดอะไรบ้างในการทางานของคุณตนั ภาสกรนที 2. อะไรคือคุณสมบัติของ คุณตัน ภาสกรนที ท่ีทาให้พบกบั ความสาเรจ็ ในการดาเนินชีวติ 3. มสี งิ่ ใดท่ีนักเรยี นคดิ วา่ เป็นคุณสมบตั ิใดท่ีดีของตนเองท่สี ามารถนาไปปฏิบตั ิส่คู วามสาเร็จในการ ดาเนนิ สัมมาชพี ของตน 4. หากการทางานของนักเรียนต้องพบกับปญั หาอปุ สรรคที่ทาใหก้ ารทางานนน้ั ไม่ราบร่ืนนักเรยี น จะมวี ิธีการจดั การกับปญั หาน้ันอยา่ งไรและจะนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ของตนไดอ้ ย่างไร ............................................................................................................................. ................................ ................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................ ............................................. ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................................... .............. ..................................................................................................................... ........................................ ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................................. ................................ ................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................ .............................................................................................................................................................
- ๒๒๘ - ใบงานที่ ๒ “มวี ธิ ีการอยา่ งไรในการที่เราจะปฏบิ ัตงิ านให้ประสบความสาเรจ็ ” คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนร่วมกนั ออกแบบวางแผนการปฏิบตั ิงานจากสถานการณ์ที่กาหนดโดยมี เปา้ หมาย คือ ความสาเรจ็ ในภารกิจท่ไี ดร้ ับและเปน็ การปฏิบัตงิ านทมี่ ีความสุข หากนกั เรียนและเพ่ือนๆในหอ้ งได้รบั มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าทใ่ี นการรบั รองแขกผู้ใหญท่ ่มี า เย่ียมชมศกึ ษาดูงานทโี่ รงเรยี นในวันหยดุ จะมีวธิ กี ารอยา่ งไรทีจ่ ะทาให้การปฏบิ ัติงานน้ันประสบ ความสาเร็จ เปน็ ทพ่ี งึ พอใจของแขกผูม้ าเยือน และเพื่อนๆทกุ คนใหค้ วามร่วมมือร่วมใจในการ ปฏิบตั งิ าน แต่ เนื่องจากในวันท่ปี ฏิบตั ิงานดงั กลา่ วเป็นวนั หยดุ จงึ มเี พอ่ื นบางคนทีไ่ ม่มาปฏิบัติ หนา้ ทที่ ีไ่ ด้รับมอบหมาย นักเรียนจะมีวธิ ีการแก้ไขอย่างไร จงชว่ ยกันหาแนวทางการแก้ไขปญั หา ดังกล่าว สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอภิปราย สรปุ ผลแนวคดิ ของกล่มุ พรอ้ มจดั ทาผลงานเตรยี มนาเสนอตอ่ เพอ่ื นๆใน ห้อง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................. ................................ ................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................. ................................ ................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................. ................................ ................................................................................. ............................................................................ ............................................................................................................................. ................................ .................................................................................................................................................... ......... .......................................................................................................................... ................................... ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................ .................................................................................................................................. ...........................
- ๒๒๙ - ความสาเร็จเกดิ มาจากความพยายามทงั้ สิ้น https://www.youtube.com/watch?v=EzEvPshSKjl
- ๒๓๐ - แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลมุ่ กลุ่ม…………..ช้นั ……………… พฤติกรรม ลาดั ชื่อ-สกุล ความ การแสดง การรับฟัง ความต้งั ใจ การมีสว่ น รวม บ รว่ มมือ ความ ความ ในการ รว่ มในการ คดิ เห็น คิดเห็น ทางาน อภปิ ราย ท่ี สมาชกิ กลุ่ม 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = 4 ประสิทธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 90-100% หรือปฏบิ ตั ิบ่อยครง้ั ดี = 3 ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ 70-89% หรือปฏบิ ัติบางคร้ัง ปานกลาง = 2 ประสิทธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 50-69% หรอื ปฏิบตั คิ ร้ังเดียว ปรบั ปรุง = 1 ประสทิ ธิภาพต่ากว่าเกณฑ์ 50% หรอื ไมป่ ฏิบัตเิ ลย นักเรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดบั ดี ประสทิ ธิภาพอยู่ในเกณฑ์ ดี 70-89% ลงช่อื ………………………………ผู้สังเกต (…………………………….) ………./……………/………
- ๒๓๑ - แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านรายบุคคล (การอภิปรายแสดงความคิดเหน็ ) พฤติกรรม ความสนใจ การแสดง การตอบ การยอมรบั ทางาน ท่ี คาถาม ความ ฟงั ผอู้ น่ื ตามท่ีไดร้ ับ หมาย ช่ือ-สกลุ คดิ เหน็ มอบหมาย เหตุ 43214321432143214321 เกณฑ์การวัดผล ใหค้ ะแนนระดบั คุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดงั น้ี ดมี าก = 4 สนใจฟงั ไม่หลับ ไม่พดู คยุ นอกประเดน็ มีคาถามที่ดี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่ง ครบตรงเวลา ดี = 3 สนใจฟัง ไม่หลับ พูดคุยนอกประเด็นบ้าง มีคาถาม ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่ง ครบตรงเวลา ปานกลาง = 2 สนใจฟัง ไม่หลับ พูดคุยนอกประเด็นบ้าง มีคาถาม ไม่ค่อยตอบคาถาม ทางานส่ง ครบตรงเวลาบา้ งไม่ตรงเวลาบ้าง ปรบั ปรุง = 1 สนใจฟัง ไม่หลับ พูดคุยนอกประเด็นบ้าง ไม่มีการตั้งคาถามตอบคาถาม ส่งงานไม่ ครบ ไมต่ รงเวลา นกั เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับ ๒ จงึ จะผา่ น ลงช่อื ……………………………….ผู้สังเกต (……………………………….) …………/…………/………..
ตัวชวี้ ัด - ๒๓๒ - การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน ข้อท่ี ๖ มุ่งมน่ั ในการทางาน ๖.๑ ตัง้ ใจและรับผิดชอบหนา้ ทกี่ ารทางาน ๖.๒ ทางานด้วยความเพยี รพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย ตวั ชีว้ ัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี ๖.๑ ต้งั ใจและรบั ผิดชอบหน้าท่ีการทางาน ๖.๑.๑ เอาใจใส่ตอ่ การ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ที ่ี ไดร้ ับมอบหมาย ๖.๑.๒ ต้งั ใจและรับผดิ ชอบใน การทางานให้ สาเร็จ ๖.๑.๓ ปรับปรงุ และ พัฒนาการทางานด้วยตนเอง ๖.๒ ทางานด้วยความเพยี รพยายาม และอดทน ๖.๒.๑ ทุม่ เททางาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปญั หา และ เพือ่ ให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย อุปสรรคในการทางาน ๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทางาน ให้สาเร็จ ๖.๒.๓ ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภมู ใิ จ เกณฑ์การประเมนิ ตวั ชว้ี ัดท่ี ๖.๑ ตง้ั ใจและรับผิดชอบในการปฏิบตั หิ น้าท่กี ารงาน พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยย่ี ม (๓) ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อ ไมต่ ้ังใจปฏบิ ัติ ตงั้ ใจและ ต้ังใจและ ต้งั ใจและ การ ปฏบิ ัติหน้าทีท่ ี่ หนา้ ที่การงาน ได้รบั มอบหมาย รบั ผิดชอบในการ รับผิดชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ ๖.๑.๒ ตั้งใจและ ปฏิบตั ิหน้าท่ีที่ ปฏิบัติหน้าท่ที ี่ ปฏิบัตหิ น้าที่ท่ี รับผิดชอบใน การ ทางานให้ สาเรจ็ ได้รับมอบหมายให้ ไดร้ ับมอบหมายให้ ไดร้ บั มอบหมายให้ ๖.๑.๓ ปรับปรุงและ สาเรจ็ มีการ สาเรจ็ มกี าร สาเรจ็ มีการ พฒั นาการทางาน ปรับปรุงการ ปรบั ปรุงและ ปรับปรงุ และ ด้วยตนเอง ทางานให้ดีขน้ึ พัฒนาการทางาน พัฒนาการทางาน ให้ดขี ้นึ ให้ดขี น้ึ ด้วยตนเอง
- ๒๓๓ - ตัวช้วี ดั ที่ ๖.๒ ทางานด้วย ความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยย่ี ม (๓) ๖.๒.๑ ทุ่มเททางาน ไมข่ ยัน อดทน ทางานด้วยความ ทางานด้วยความ ทางานดว้ ยความ อดทน ในการทางาน ขยนั อดทน และ ขยนั อดทน และ ขยนั อดทน และ พยายามให้งาน พยายามให้งาน พยายามให้งาน ไมย่ อ่ ท้อตอ่ ปัญหา สาเรจ็ ตาม สาเร็จตาม สาเร็จตาม และ เปา้ หมาย และชน่ื เป้าหมาย ไม่ย่อ เปา้ หมายภายใน ชมผลงานด้วย ท้อต่อปัญหาใน เวลาทกี่ าหนดไม่ อุปสรรคในการทางาน ความภาคภูมิใจ การทางาน และ ยอ่ ท้อตอ่ ปัญหา ชนื่ ชมผลงานด้วย อุปสรรคในการ ๖.๒.๒ พยายาม ความภาคภมู ใิ จ ทางาน และชนื่ ชม แก้ปัญหา ผลงานดว้ ยความ ภาคภมู ใิ จ และอุปสรรคในการ ทางาน ใหส้ าเร็จ ๖.๒.๓ ช่นื ชมผลงาน ดว้ ย ความภาคภมู ใิ จ เกณฑ์พิจารณาสรปุ ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ ๖ มุ่งมั่นในการทางาน ระดบั เกณฑก์ ารพจิ ารณา ดเี ยยี่ ม (๓) ๑. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดีเย่ยี ม ทุกตวั ชวี้ ัด หรือ ๒. ได้ผลการประเมินระดับดีเยยี่ ม และดี ระดับละ ๑ ตัวช้วี ัด ๑. ไดผ้ ลการประเมินระดับดี ทกุ ตัวช้ีวัด หรือ ดี (๒) ๒. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดีเยี่ยม และระดบั ผ่าน ระดบั ละ ๑ ตัวช้วี ดั ผ่าน (๑) ๑. ได้ผลการประเมินระดบั ผ่าน ทุกตัวชีว้ ดั หรือ ๒. ไดผ้ ลการประเมินระดับดี และระดบั ผา่ น ระดับละ ๑ ตัวชี้วดั ไมผ่ ่าน (๐) มีผลการประเมินตัวชีว้ ัดข้อใดขอ้ หนง่ึ ไดร้ ะดับ ไม่ผา่ น
- ๒๓๔ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องนกั เรยี น พฤติ เอาใจใสต่ ่อ ตัง้ ใจและ หมา กรรม หน้าที่ รบั ผดิ ชอบ การปรับปรงุ ความอดทน การแกไ้ ข ชน่ื ชมใน ย ตอ่ งานของตน พฒั นางาน ปัญหา ผลงานของ เหตุ เลข ที่ไดร้ บั การทุ่มเทใน อปุ สรรค ที่ ชื่อ- มอบหมาย การทางาน ตน ในการทางาน นามสกลุ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 เกณฑ์การวดั ผล ระดบั คุณภาพของแตล่ ะพฤติกรรม ดังนี้ ดีเย่ยี ม = 3 ดี = 2 ลงช่ือ……………………………….ผ้ปู ระเมิน ผ่าน = 1 (……………………………….) ไมผ่ า่ น = 0 …………/…………/……….. นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดบั ผา่ น
- ๒๓๕ - หน่วยท่ี ๓ ช่ือหน่วย แผนการจดั การเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เวลา ๒ ชั่วโมง STRONG/จิตพอเพยี งดา้ นการทจุ รติ เร่อื ง ความเอื้ออาทร ๑. ผลการเรยี นรู้ 1.1 มคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั STRONG/จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ ริต 1.2 ปฏิบตั ิตนเป็นผู้ STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต ๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้ นักเรียนสามารถ 2.1 เข้าใจความหมายของ ความเอื้ออาทร ๒.๒ อธบิ ายและยกตวั อย่างเกี่ยวกับความเอ้อื อาทร ได้ดี 2.๓ ปฏบิ ัตติ นตามผูอ้ ่นื เหมือนปฏบิ ตั ติ นต่อตนเอง ๒.๔ภาคภมู ิใจในความสาเรจ็ ของการปฏบิ ตั ิงาน ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1. ความหมายของความเอือ้ อาทร 2. ตวั อย่างเกยี่ วกบั ความเอ้ืออาทร 3. การปฎบิ ตั ติ น เอ้ืออาทร 4. ความสาเร็จของการปฎบิ ัติงาน 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด) 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคดิ ๓) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ ๔) ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3.3 คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ / คา่ นิยม 1) ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ 2) มวี นิ ัย 3) ใฝ่เรียนรู้ ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี ๑ 1. ชมคลปิ วีดีโอ เร่ือง อยากให้คนไทยมีนา้ ใจให้แกก่ ัน ทีม่ าของคลิปวีดโี อ คอื https://www.youtube.com/watch?v=KYBkZVmPkHA เป็นเน้ือหาเกยี่ วกบั การมีนา้ ใจชว่ ยเหลอื กนั ใน รูปแบบต่าง ๆ 2. ครูต้ังประเดน็ เพื่อ ซักถาม สนทนา อภิปราย เช่น - นกั เรยี นเหน็ อะไรจากคลปิ วีดีโอ - นักเรียนคิดวา่ พฤติกรรมใดบา้ งควรเป็นแบบอย่างในการปฏิบตั ิ
- ๒๓๖ - - นักเรียนคิดว่าจากพฤติกรรมตา่ งๆ ในคลปิ วีดีโอ มีผลดีอยา่ งไร กบั ตนเอง ผู้อ่ืน ชุมชน สังคม ประเทศ และโลกอย่างไร - นกั เรยี นคิดว่าพฤตกิ รรมใดบ้าง ที่เราสามารถนามาปรับใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ - จากพฤติกรรมต่างๆ ในคลิปวีดโี อท่ชี ม เราสามารถให้นยิ ามหรือความหมายถึงคณุ ธรรมใน เร่ืองใด (ครพู ยายามเชือ่ มโยงใหเ้ ขา้ กับคาวา่ เอ้ืออาทร มีน้าใจ เสียสละ เอือ้ เฟ้ือเผ่อื แผ)่ 3. ครูนาตวั อยา่ งรปู ภาพที่แสดงความเออื้ อาทร ความมนี ้าใจ มาให้นักเรียนดู พร้อมกบั สอบถาม นักเรยี นวา่ แสดงใหเ้ หน็ ถึงคุณลักษณะ/คุณธรรมเรอ่ื งใด 4. ครแู จกใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง ความประใจท่ีไดม้ อบใหแ้ ก่ผู้อื่น ของข้าพเจ้า ใหน้ ักเรียนปฏิบัตติ ามคา ชี้แจง 5. ครสู ่มุ ตัวอยา่ งนกั เรียน นาเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรยี น ช่ัวโมงท่ี ๒ 1. ครแู ละนักเรียน สนทนา ซักถาม อภิปรายทบทวนความร้เู ดมิ จากการเรยี นในช่ัวโมงท่ีผา่ นมา 2. ชมคลิปวีดีโอ เร่ือง \"Unsung Hero\" [ภาพยนตร์โฆษณา ปี พ.ศ.2557 ] [Official TVC 2014: Thai Life Insurance] ที่มาของคลิปวดี โี อ คือhttps://www.youtube.com/watch?v=uaWA2GbcnJU โดยมเี น้ือหาเก่ยี วกบั การเสียสละ การชว่ ยเหลือ การให้ผู้อื่น และสงั คม 3. ครูติดกระดาษชารต์ หน้าชั้นเรียน พร้อมกาหนดหัวข้อ คือ รวมพลังการใหต้ ้านทจุ รติ เพ่ือสรา้ ง ชาติ 4. นักเรยี นรว่ มระดมสมองในการกาหนดวธิ กี าร แนวทางในการให้ การเอื้ออาทร การ เออื้ เฟื้อเผื่อแผ่ การเสียสละ การให้ เขียนลงการะดาษชาร์ต ทตี่ ดิ หน้าชน้ั เรียน 5.สนทนา อภิปราย สรุป โดยครพู ยายามเชื่อมโยงว่าการเอ้ืออาทร การเออ้ื เฟื้อเผ่ือแผ่ การเสียสละ การให้ สามารถรว่ มต้านการทุจรติ เพื่อสรา้ งชาติได้อยา่ งไร 4.2 สือ่ การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) คลิปวีดี เร่อื ง อยากใหค้ นไทยมนี า้ ใจใหแ้ ก่กัน ทมี่ าของคลปิ วีดโี อ คือ https://www.youtube.com/watch?v=KYBkZVmPkHA ๒) คลปิ วีดี เรอื่ ง \"Unsung Hero\" [ภาพยนตร์โฆษณา ปี พ.ศ.2557 ] [Official TVC 2014: Thai Life Insurance] ทีม่ าของคลิปวีดีโอ คือhttps://www.youtube.com/watch?v=uaWA2GbcnJU ๓) ใบงานเรอ่ื ง ความประทับใจที่ได้มอบใหแ้ ก่ผู้อ่นื ของข้าพเจ้า ๔) กระดาษชาร์ต ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 วธิ กี ารประเมนิ 1. สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในดา้ นการแสดงความคิดเห็น การอภปิ รายการใหเ้ หตุผล พฤติกรรมการปฏิบตั ิงานตามภารกจิ ท่ีได้รบั มอบหมาย 2. สงั เกตพฤติกรรมท่แี สดงออกของนกั เรียนในดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๕.๒ เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการประเมิน 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานของนักเรียน ๒. แบบสงั เกตพฤติกรรมการนาเสนอผลงาน 3. แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 4. แบบประเมินใบงาน
- ๒๓๗ - 5.3 เกณฑก์ ารตดั สนิ ๑. การประเมินพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานของนกั เรียน นกั เรยี นต้องผา่ นเกณฑ์ การประเมิน ในระดบั ดี ๒. การนาเสนอผลงานนกั เรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับดี ๓. การประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมิน ใน ระดบั ผ่าน ๔. ประเมินใบงานการประเมนิ ในระดับดีข้นึ ไป ๖. บนั ทึกหลังสอน ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ......................................................................ครผู ู้สอน (............................................................)
- ๒๓๘ - ใบงาน เร่ือง ความประทับใจท่ีมอบใหแ้ ก่ผู้อ่ืน คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนเขยี นเรียงความเร่ือง ความประทบั ใจในเรอื่ งของความเอื้ออาทร และความมนี ้าใจท่ีมตี ่อ ผอู้ ่นื ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................
- ๒๓๙ - ๕.๒.๑ แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านของนักเรยี น แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านของนกั เรยี น กลมุ่ ที่…………..ชัน้ ……………… พฤติกรรม ลาดบั ชื่อ-สกลุ ความร่วมมอื การแสดง การรับฟงั ความตง้ั ใจใน การมีส่วน รวม ที่ สมาชกิ กลมุ่ ความคิดเห็น ความคดิ เห็น การทางาน รว่ มในการ 20 อภปิ ราย 43214321432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การให้คะแนน ดีมาก = 4 ประสิทธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 90-100% หรอื ปฏิบัติบอ่ ยคร้งั ดี = 3 ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 70-89% หรือปฏบิ ตั บิ างครั้ง ปานกลาง = 2 ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ 50-69% หรือปฏบิ ตั คิ รง้ั เดยี ว ปรับปรงุ = 1 ประสทิ ธภิ าพตา่ กว่าเกณฑ์ 50% หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ิเลย นกั เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดบั ดี ประสทิ ธิภาพอยู่ในเกณฑ์ ดี 70-89% ลงชือ่ ………………………………ผู้สังเกต (…………………………….) ………./……………/………
- ๒๔๐ - ๕.๒.๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมการนาเสนอผลงาน แบบการประเมินผลการนาเสนองาน เร่ือง …………………………………….วชิ า………………………กล่มุ .......................................... ชอื่ ………………………………………….เลขท…่ี ……………ช้นั .................................................. ท่ี รายการประเมิน ผ้ปู ระเมิน รวม เกณฑ์การประเมนิ ตนเอง เพื่อน ครู 1 เนื้อหา ( 4 คะแนน ) คะแนน 4 : มีครบทกุ ขอ้ 13. เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ คะแนน 3 : มี 3 ข้อ 14. เนอื้ หาถูกต้อง ขาด 1 ข้อ 15. เน้อื หาต่อเน่ือง คะแนน 2 : มี 2 ข้อ 16. มกี ารค้นคว้าเพม่ิ เตมิ ขาด 2 ขอ้ คะแนน 1 : มี 1 ข้อ ขาด 3 ขอ้ 2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2: มคี รบทกุ ข้อ 13. มีการวางแผนอย่างเปน็ ระบบ คะแนน 1 : มี ไมค่ รบ 4 ขอ้ 14. การปฏบิ ัตติ ามแผน คะแนน 0 : ไม่ปรากฏกระบวน 15. ตดิ ตามประเมนิ ผล การทางานทช่ี ัดเจน 16. การปรบั ปรงุ พัฒนางาน 3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 2 : มีครบทุกขอ้ 10. การใช้สานวนภาษาดี คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ถูกต้อง ขาด 1 ขอ้ คะแนน 1 : มี 2 ขอ้ 11. การสะกดคาและไวยากรณ์ ขาด 2 ข้อ ถูกตอ้ ง คะแนน 0.5 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ขอ้ 12. รูปแบบนา่ สนใจ 4. ความสวยงาม 4 คุณธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 2 : มีครบทุกขอ้ 13. ตรงต่อเวลา คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ 14. ซอ่ื สัตย์ ขาด 1 ข้อ 15. ความกระตอื รอื รน้ คะแนน1 : มี 2 ขอ้ 16. ความมีนา้ ใจ ขาด 2 ข้อ คะแนน 0.5 :มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ รวม คะแนนเตม็ 10 คะแนน เฉล่ยี ลงชือ่ ผูป้ ระเมิน…………………………….. ตนเอง ลงช่ือผู้ประเมนิ …………………………….. เพอื่ น ลงช่ือผูป้ ระเมิน…………………………….. ครู
- ๒๔๑ - แบบประเมินการนาเสนอผลงาน/อภิปรายหน้าห้อง เรอ่ื ง ……………………………………………………………… กลมุ่ ………………………………… หอ้ ง…………………………………… สมาชกิ 1………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. คาชแี้ จง : ใหท้ าเครื่องหมาย ในช่องว่างท่ีกาหนดให้ ประเมนิ ตนเอง รายการประเมนิ พฤติกรรมบ่งชี้ รวม 54321 1. มีการวางแผนการทางาน 2. มีความพรอ้ มในการนาเสนอ 3. ความนา่ สนใจในการนาเสนอ 4. มคี วามคดิ สร้างสรรค์ 5. ประโยชน์-ความถูกต้องของงานนาเสนอ เพ่ือนประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ รวม รายการประเมนิ 54321 1. มีการวางแผนการทางาน 2. มคี วามพรอ้ มในการนาเสนอ 3. ความนา่ สนใจในการนาเสนอ 4. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ 5. ประโยชน์-ความถกู ตอ้ งของงานนาเสนอ เกณฑก์ ารประเมิน 21 543 นอ้ ย ตอ้ งปรับปรุง ดมี าก ดี ปานกลาง ลงชอื่ …………….………….ผูป้ ระเมนิ ลงชื่อ…………….………….ผ้ปู ระเมนิ
- ๒๔๒ - ๕.๒.๓ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์แสดงออกถึงการมคี วามเอ้อื อาทร แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ที่ ช่อื นามสกุล รายการประเมิน สรปุ ผลระดบั คณุ ภาพ สรุปผล ชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื ดว้ ย ๘.๒ เขา้ รว่ มกิจกรรม การ ความเตม็ ใจโดยไม่หวัง ที่เป็นประโยชนต์ อ่ ประเมนิ ผลตอบแทน โรงเรยี น ชมุ ชน และ สังคม ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ผ่าน ไม่ ผ่าน หลกั เกณฑ์การประเมนิ ระดบั 3 หมายถึง ดีเย่ียม ระดับ 2 หมายถึง ดี ระดบั 1 หมายถงึ ผา่ น ระดบั 0 หมายถึง ไมผ่ ่าน นักเรยี นตอ้ งได้อย่างน้อยในระดับ 1 จงึ จะผา่ น ลงช่ือ..........................................................ผ้ปู ระเมิน (.....................................................)
- ๒๔๓ - หลักเกณฑก์ ารประเมนิ ตวั ชว้ี ัด ๘.๑ ช่วยเหลือผู้อื่นดว้ ยความเต็มใจโดยไม่หวงั ผลตอบแทน ๘.๒ เข้ารว่ มกจิ กรรมท่เี ป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชมุ ชน และสังคม ตัวชีว้ ดั พฤตกิ รรมบ่งช้ี ๘.๑ ชว่ ยเหลอื ผูอ้ นื่ ด้วยความ ๘.๑.๑ ช่วยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครทู างานด้วยความเต็มใจ เต็มใจโดยไมห่ วังผลตอบแทน ๘.๑.๒ อาสาทางานใหผ้ ู้อื่นด้วยกาลังกาย กาลังใจ และ กาลังสติปัญญา ด้วยความสมัครใจ ๘.๑.๓ แบง่ ปันส่ิงของทรพั ย์สิน และอ่ืนๆและชว่ ยแกป้ ัญหา หรอื สร้างความสุขใหก้ ับผู้อ่ืน ๘.๒ เข้าร่วมกจิ กรรมทีเ่ ปน็ ๘.๒.๑ ดแู ลรักษา สาธารณะสมบตั ิ และสิ่งแวดลอ้ มดว้ ยความเต็มใจ ประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน ๘.๒.๒ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชมุ ชน และ และสังคม สงั คม ๘.๒.๓ เขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่อื แก้ปญั หาหรอื รว่ มสร้างสิ่งที่ดีงามของ ส่วนรวมตามสถานการณ์ท่เี กิดขนึ้ ดว้ ยความกระตือรือร้น เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ตัวชว้ี ัด ๘.๑ ช่วยเหลือผอู้ ่ืนด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไมผ่ ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยยี่ ม (๓) ๘.๑.๑ ชว่ ยพ่อแม่ ไมช่ ่วยเหลอื พ่อแม่ ช่วยพ่อแม่ ช่วยพ่อแม่ ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครองและครู ผู้ปกครอง และครู ผูป้ กครอง และครู ผูป้ กครอง และครู ผู้ปกครอง และครู ทางานด้วยความ ทางาน อาสา ทางาน อาสา ทางาน อาสา เต็มใจ ทางาน และ ทางาน ช่วยคดิ ทางาน ช่วยคดิ ๘.๑.๒ อาสา แบง่ ปนั ส่งิ ของให้ ช่วยทา และ ชว่ ยทา แบง่ ปนั ทางาน ผูอ้ น่ื ดว้ ยความเต็ม แบ่งปันสิ่งของให้ สิ่งของและช่วย ให้ผ้อู น่ื ด้วยกาลัง ใจ ผ้อู น่ื ดว้ ยความเตม็ แก้ปญั หาใหผ้ ู้อนื่ กาย กาลังใจ และ ใจ ด้วยความเต็มใจ กาลังสติปัญญา ด้วยความสมัครใจ ๘.๑.๓ แบ่งปนั ส่ิงของทรัพยส์ นิ และอื่นๆและช่วย แกป้ ัญหา หรอื สรา้ ง ความสขุ ให้กับผู้อน่ื
- ๒๔๔ - ตวั ช้ีวดั ๘.๒ เข้ารว่ มกิจกรรมที่เป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชมุ ชน และสังคม พฤติกรรมบ่งช้ี ไม่ผา่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม (๓) ๘.๒.๑ ดแู ลรกั ษา ไมส่ นใจดูแลรกั ษา ดูแลรกั ษาทรัพย์ ดแู ลรกั ษาทรัพย์ ดูแลรักษาทรัพย์ สมบตั ิ สง่ิ แวดล้อม สาธารณะสมบัติ ทรัพยส์ ินและ สมบตั ิ สงิ่ แวดล้อม สมบตั ิ ส่ิงแวดล้อม ของห้องเรยี น โรงเรียน ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ส่ิงแวดลอ้ มของ ของห้องเรียน ของห้องเรยี น และเขา้ รว่ ม กจิ กรรมเพือ่ สังคม ดว้ ยความเต็มใจ โรงเรียน โรงเรยี น และเข้า โรงเรียน ชมุ ชน และสาธารณะ ประโยชนข์ อง ๘.๒.๒ เขา้ รว่ ม ร่วมกจิ กรรมเพื่อ และเข้ารว่ ม โรงเรียนด้วยความ เตม็ ใจ กิจกรรมทเี่ ป็น สังคมและ กจิ กรรมเพื่อสังคม ประโยชนต์ อ่ สาธารณะ และสาธารณะ โรงเรียน ชมุ ชน ประโยชน์ของ ประโยชนข์ อง และสงั คม โรงเรยี นดว้ ยความ โรงเรียนดว้ ยความ ๘.๒.๓ เข้าร่วม เต็มใจ เตม็ ใจ กิจกรรมเพ่ือ แกป้ ัญหาหรือรว่ ม สร้างสงิ่ ทีด่ งี ามของ ส่วนรวมตาม สถานการณ์ ทเ่ี กดิ ขึน้ ด้วยความ กระตือรือรน้ เกณฑพ์ ิจารณาสรปุ ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ขอ้ ท่ี ๘ มีจิตสาธารณะ ระดับ เกณฑ์การพจิ ารณา ดีเยยี่ ม (๓) ๑. ได้ผลการประเมินระดับดีเยีย่ ม ทกุ ตัวช้ีวัด หรือ ๒. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดีเยี่ยม และดี ระดบั ละ ๑ ตวั ช้ีวัด ๑. ได้ผลการประเมินระดบั ดี ทกุ ตวั ช้วี ัด หรอื ดี (๒) ๒. ได้ผลการประเมนิ ระดับดีเย่ียม และระดบั ผา่ น ระดับละ ๑ ตัวช้วี ัด ๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับผา่ น ทุกตวั ชวี้ ดั หรอื ผ่าน (๑) ๒. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี และระดับผ่าน ระดบั ละ ๑ ตัวชวี้ ัด ไมผ่ ่าน (๐) มีผลการประเมินตัวชว้ี ัดข้อใดขอ้ หนึง่ ได้ระดับ ไม่ผา่ น
- ๒๔๕ - ๕.๒.๔ แบบประเมินสมรรถนะของนักเรียน แบบประเมินสมรรถนะของนักเรียน ชน้ั .......................................ปกี ารศึกษา......................... โรงเรยี น........................................................................สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ......................................... สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน เลขที่ ชื่อ-นามสกลุ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามรถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใ ้ช ัทกษะ ีช ิวต ความสามารถในการใ ้ชเทคโนโล ีย รวมคะแนน ระดับคุณภาพ หมายเหตุ ในแตล่ ะช่องสมรรถนะใหใ้ สค่ ะแนนระดบั คณุ ภาพ เช่น ดีมาก = 3 คะแนน ดี = 2 คะแนน พอใช้ = 1 คะแนน และต้องปรับปรุง = 0 คะแนน สรุปผลการประเมินรายชั้นเรยี น ดีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ................. ดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ................. พอใช้ คิดเปน็ ร้อยละ................. ปรบั ปรงุ คดิ เป็นร้อยละ................. ลงชอ่ื ..................................................ผู้ประเมิน (.......................................................)
- ๒๔๖ - แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน(รายบุคคล) คาชี้แจง :ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แลว้ ใส่เครือ่ งหมาย ลงในชอ่ งระดบั คะแนน ทีต่ รงกบั พฤติกรรมของนักเรียน สมรรถนะทป่ี ระเมิน ระดบั คะแนน 321 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1.1 มคี วามสามารถในการรบั – สง่ สาร 1.2 มีความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอยา่ งเหมาะสม 1.3 ใชว้ ธิ ีการสื่อสารที่เหมาะสม 2. ความสามารถในการคดิ 2.1 มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ เพ่ือการสร้างองค์ความรู้ 2.2 มคี วามสามารถในการคิดเปน็ ระบบ เพื่อการสรา้ งองค์ความรู้ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3.1 แก้ปญั หาโดยใชเ้ หตุผล 3.2 แสวงหาความรูม้ าใชใ้ นการแก้ปัญหา 3.3 ตดั สินใจโดยคานงึ ถึงผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4.1 ทางานและอยรู่ ่วมกับผู้อื่นด้วยความสัมพนั ธ์อนั ดี 4.2 มวี ิธีแก้ไขความขัดแย้งอยา่ งเหมาะสม 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5.1 เลอื กใช้ข้อมูลในการพัฒนาตนเองอย่างเหมาะสม 5.2 เลอื กใช้ข้อมลู ในการทางานและอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ืน่ อย่างเหมาะสม เกณฑ์การให้คะแนน : ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ิชัดเจนและสมา่ เสมอ ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและบอ่ ยครั้ง - พฤติกรรมทปี่ ฏิบัติบางครัง้ ลงชอ่ื .......................................................... ผู้ประเมิน (....................................................) ......................../........................./.................
- ๒๔๗ - “Unsung Hero” [ภาพยนตรโ์ ฆษณา ปีพ.ศ. 2557] [Official TVC 2014 : Thai Lift Insurance] https://www.youtube.com/watch?v=uaWA2GbcnJU
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297