2.จัดทาแผนด้านทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และกาหนดตัวบ่งช้ีวัดความสาเร็จ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องแผน รวมท้งั จัดสรรงบประมาณเพือ่ ให้สามารถดาเนินการได้ตามแผน คณะศิลปศาสตร์ มีการจัดประชุมจัดทาแผนด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เม่ือวันท่ี 24-25 ธันวาคม 2563 (F1-4.2-2.1) เพื่อทบทวนและจัดทาแผนปฏิบัติงานด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ประจา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยในแผนปฏิบัติงานได้มีการกาหนดงบประมาณ ตัวบ่งช้ีวัดความสาเร็จตาม วัตถุประสงค์ของแผนและมีการวางแผนการดาเนินงาน การกาหนดผู้รับผิดชอบ และมีการดาเนินงานตาม โครงการ/กิจกรรม ท่ีสอดคล้องตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้ โดยคานึงถึงผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวช้ีวัดและเป้าหมาย ของแต่ละโครงการ (F1-4.2-2.2) ท้ังน้ี คณะศิลปศาสตร์ได้รับการจัดสรรค่าใช้จ่ายโครงการทานุบารุง ศลิ ปวัฒนธรรมประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมท้ังสิน้ 7 โครงการ ขณะนี้ได้ดาเนินการแล้วและอยู่ระหว่าง เตรยี มดาเนินโครงการเนื่องจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดไวรสั โคโรนา (F1-4.2-2.3) ไดแ้ ก่ (1) โครงการประกวดมารยาทไทยระดบั ชาติ กาหนดจัดโครงการวันที่ 11-12 มีนาคม 2564 ณ อาคารบริหารจัดการเชิงบูรณาการ ช้ัน 3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนยพ์ ระนครศรีอยุธยา หันตรา จัดโดยสาขาวิชาสังคมศาสตร์และ มนษุ ยศาสตร์ และงานพฒั นานักศกึ ษา โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้ - เพอ่ื เปน็ การอนุรกั ษ์และสืบสานมารยาทไทย - เพอื่ ใหบ้ ุคลากรและนกั ศกึ ษาไดม้ ีสว่ นร่วมในการทานุบารุงศิลปวฒั นธรรม - เพ่อื เป็นการเผยแพรแ่ ละให้ความร้เู กย่ี วกับมารยาทไทย - เพือ่ ให้ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้เกีย่ วกับมารยาทไทย (2) โครงการวนั ภาษาไทยแหง่ ชาติ กาหนดจัดโครงการวันท่ี 29 กรกฎาคม 2564 ในระบบออนไลน์โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา ส่งเสริมความสามารถและทักษะภาษาไทยของนักศกึ ษาให้นกั ศึกษาได้เผยแพรผ่ ลงานและกิจกรรมดา้ นภาษาไทย ตลอดจนใหน้ กั ศกึ ษาไดม้ สี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมวนั ภาษาไทยแห่งชาติ (3) โครงการมอบตัวเป็นศิษย์ กาหนดจัดโครงการเดือนกรกฎาคม 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย และเป็นการระลกึ การมอบตัวเป็นศิษยข์ องนักศึกษาในการศกึ ษาหาความรตู้ ลอดการศกึ ษา (4) โครงการราชมงคลรักษ์ภาษาไทยคนร่นุ ใหม่ร่วมสบื สานวัฒนธรรม กาหนดจดั โครงการเมอ่ื วันท่ี 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 โดยมวี ัตถุประสงค์ ดงั นี้ - เพื่อสง่ เสริมใหน้ ักเรียนและนักศึกษาไดม้ ีสว่ นร่วมในการแสดงความอัจฉริยภาพความสามารถ ดา้ นภาษาไทย รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 100
- เพ่ือเผยแพร่การอนุรักษ์และสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทยผ่านการสานความสัมพันธ์ระหว่าง มหาวิทยาลยั กบั สถานศึกษา - เพอ่ื ให้ผู้เขา้ ร่วมโครงการมีความรู้เกย่ี วกบั ภาษาวรรณศลิ ปผ์ ่านวรรณกรรมเพลงลูกทงุ่ อันเป็นศิลปวฒั นธรรมไทย (5) โครงการสบื สานประเพณีสงกรานต์ กาหนดจัดโครงการเดือนเมษายน 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นการสืบสานศิลปวัฒนธรรม ไทยและสร้างความสัมพันธ์ในหมู่คณะของบุคลากรและนักศึกษา แต่เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัส โคโรน่าจึงเลอ่ื นไปเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2564 (6) โครงการเสริมศิลป์สร้างเครอื ข่ายแหง่ วฒั นธรรม ดาเนนิ โครงการเดือนมีนาคม 2564 โดยมวี ตั ถุประสงค์ ดงั นี้ - เพ่อื เปน็ การประชาสมั พันธ์ คณะศลิ ปศาสตรใ์ ห้บุคคลภายนอกรู้จักมากยิง่ ขึ้น - เพอ่ื ใหบ้ ุคลากรและนกั ศึกษาแสดงศักยภาพของบุคลากรและนกั ศึกษา คณะศลิ ปศาสตร์ - เพ่อื เปน็ การเผยแพรแ่ ละใหค้ วามรู้เก่ียวกบั เครือข่ายสบื สานและทานุบารุงศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน และอนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม - เพ่ือใหผ้ ู้เขา้ ร่วมโครงการมคี วามร้แู ละตระหนักถงึ คณุ ค่าของของศลิ ปวัฒนธรรม (7) โครงการอนุรักษว์ ัฒนธรรม กิจกรรมหนง่ึ ความรู้ หนง่ึ ครูภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน กาหนดจัดโครงการเดือนกุมภาพันธ์ 2564 แต่เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโค โรน่า จงึ เลอ่ื นไปเดอื นกรกฎาคม 2564 โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ ดังนี้ - เพอื่ เปน็ การรวบรวมฐานข้อมลู ด้านภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ให้เปน็ แหลง่ ศึกษาเรียนรู้ - เพือ่ ใหบ้ ุคลากรและนักศกึ ษาไดม้ สี ว่ นรว่ มบูรณาการดา้ นภูมิปญั ญาท้องถ่ินเข้ากับ การปฏิบัติงาน และการเรียนการสอนรายวิชาสังคมเศรษฐกิจ 3.กากับตดิ ตามให้มีการดาเนนิ งานตามแผนดา้ นทานุบารงุ ศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์ มีการดาเนินการตามแผนปฏิบัติงานด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมโดยมี การกากับติดตามให้มีการดาเนินโครงการตามแผนโดยแต่งตั้งคณะกรรมการกากับติดตาม ดูแลตัวช้ีวัดด้านทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม ติดตามผรู้ ับผิดชอบโครงการให้เป็นไปตามแผนทไ่ี ด้กาหนดไว้และส่วนงานพัฒนานักศึกษา นาข้อมูลผลการดาเนินโครงการท่ีได้ดาเนินการแล้วเสนอให้ที่ประชุมคณะก รรมการบริหารคณะศิลปศาสตร์ รับทราบ และเมื่อดาเนินโครงการครบตามแผนกิจกรรมด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมที่กาหนดไว้แล้วน้ัน ได้มีการจัดประชุม ติดตาม กากับการดาเนินงานโครงการในการประชุมคณะกรรมการด้านทานุบารุง รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 101
ศิลปวัฒนธรรมของคณะ (F1-4.3-3.1) นาข้อมูลท่ีได้จากการติดตามและประเมินผลนาเสนอต่อคณะกรรมการ ประจาคณะและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องเพ่ือรายงานให้ทราบถึงปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะจากการดาเนิน โครงการด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อเปน็ แนวทางในการปรับปรุงโครงการหรือปรับปรุงแผนด้านทานุบารุง ศลิ ปวัฒนธรรมประจาปี 2564 4.ประเมนิ ความสาเรจ็ ตามตัวบง่ ชี้ที่วดั ความสาเร็จตามวัตถปุ ระสงคข์ องแผนด้านทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรม ตามที่คณะศิลปศาสตร์ได้กาหนดตัวบ่งชี้วัดความสาเร็จของแผนด้านทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ประจาปี 2564 แลว้ น้ัน หลังจากดาเนินโครงการ/ กิจกรรมตามแผนด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วได้ดาเนินการรวบรวมผลการประเมิน ของแต่ละโครงการนาเสนอท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารงานด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมเพ่ือวิเคราะห์ และประเมินผลความสาเร็จตามตัวช้ีวัดของแผนด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ประจาปี 2564 และรายงาน ให้ผู้บริหารทราบโดยมีการสรุปผลการประเมินความสาเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการด้านทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม ดงั น้ี (F1-4.4-4.1) ดังนี้ ผลการประเมินความสาเรจ็ ตามตัวบ่งช้ีวดั ความสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ของแผนด้านทานุบารุงศิลปะและวฒั นธรรม คณะศลิ ปศาสตร์ วัตถุประสงค์ของแผน บุคลากรและนกั ศกึ ษามีความรคู้ วามเข้าใจในคณุ ค่าของศลิ ปวัฒนธรรมไทยและสงิ่ แวดล้อมให้เกดิ ความยัง่ ยืน ตวั ชี้วดั หนว่ ยนับ คา่ ผลการ บรรล/ุ ไมบ่ รรลุ หมายเหตุ เป้าหมาย ดาเนินงาน ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ ของเปา้ ประสงค์ (วตั ถุประสงค์) รอ้ ยละของความรู้เฉลีย่ ท่ีผเู้ ข้าร่วมโครงการ/ รอ้ ยละ >80 3 โครงการ บรรลุ กจิ กรรมไดร้ บั หลังเขา้ รว่ มโครงการ/กิจกรรม คิดเป็นรอ้ ยละ 88.7 ร้อยละความพึงพอใจเฉล่ยี ของผเู้ ข้าร่วมโครงการ รอ้ ยละ >80 3 โครงการ บรรลุ ต่อประโยชน์ของการทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 88.3 ผลการดาเนินงาน มีการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมสาเร็จตามแผน จานวน 3 โครงการ จาก ทั้งหมด 7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 70 เนื่องจากติดสถานการณ์โควิดจึงได้เลื่อนการจัดโครงการออกไป ซึ่งจะ ดาเนินการดว้ ยระบบออนไลนภ์ ายในเดอื นกรกฎาคม 2564 โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 102
สรุปผลการดาเนินการจัดกจิ กรรม/โครงการด้านทานบุ ารงุ ศิลปวัฒนธรรมไทย ตวั ชี้วดั ไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ ตวั ชีว้ ัด 80 โครงการ/ จานวน ผู้เขา้ ร่วม ความพึงพอใจของ ความรเู้ ฉลย่ี ที่ กิจกรรม โครงการ ผู้เขา้ ร่วมโครงการ ผเู้ ขา้ รว่ ม ที่ โครงการทานบุ ารุง ตอ่ ประโยชน์ของ โครงการไดร้ ับ บรรลตุ าม จานวน แนวทาง ศิลปวฒั นธรรม การทานบุ ารงุ ความร้หู ลงั จาก วัตถุประสงค์ เงนิ การปรบั ปรุง ศิลปวัฒนธรรม เขา้ ร่วมโครงการ เป้าหมาย ผล ร้อยละ รอ้ ยละ บรรล/ุ ไม่ บรรลุ 1 โครงการประกวดมารยาท 700 700 84.00 85.60 บรรลุ 200,000 - ไทยระดับชาติ 2 โครงการเสรมิ ศิลปส์ รา้ ง 100 100 89.75 90.50 บรรลุ 65,000 - เครือขา่ ยแห่งวฒั นธรรม 3 โครงการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรม 100 100 89.65 86.70 บรรลุ 20,000 - กจิ กรรมหนง่ึ ความรู้ หนง่ึ ครภู ูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน 4 โครงการวันภาษาไทย เลื่อนโครงการ กาหนดจดั วนั ท่ี 29 ก.ค. 2564 เป็นระบบ 20,000 ปรับกจิ กรรมให้ แห่งชาติ ออนไลน์ สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ โควดิ 5 โครงการมอบตวั เปน็ ศิษย์ เลอื่ นโครงการ กาหนดจดั วนั ที่ 18 ส.ค. 2564 เป็นระบบ 50,000 ปรับกิจกรรมให้ ออนไลน์ สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ โควิด 6 โครงการราชมงคลรกั ษ์ 40,000 ปรบั กิจกรรมให้ ภาษาไทยคนร่นุ ใหมร่ ่วมใจ - สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ สบื สานวฒั นธรรม โควดิ 7 โครงการสบื สานประเพณี เลือ่ นโครงการ กาหนดจดั วนั ที่ 29 ก.ค. 2564 เป็นระบบ 10,000 ปรบั กจิ กรรมให้ สงกรานต์ ออนไลน์ สอดคล้องกบั สถานการณ์ โควิด 5.นาผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ แผนหรือกิจกรรมด้านทานบุ ารงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม คณะศิลปศาสตร์ มีการนาผลการประเมินมาใช้ในการปรบั ปรุงแผนหรือกิจกรรมด้านทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการดาเนินงาน การพัฒนานักศึกษา รวมท้ังการเผยแพร่ ศิลปวฒั นธรรมไทยใหส้ อดคลอ้ งกับคณะและมหาวทิ ยาลยั อย่างต่อเนื่อง หลังจากการดาเนินโครงการตามแผนทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมแล้วงานพัฒนานักศึกษาได้ รวบรวมผลการประเมินและขอ้ เสนอแนะท่ีไดร้ ับจากการดาเนินงานของแตล่ ะโครงการมาประเมินผลความสาเร็จ ตามแผนและนาข้อมูลดังกล่าวรายงานเสนอต่อคณะกรรมการบริหารด้านทานุบารุงศิ ลปวัฒนธรรมของคณะ (F1-4.5-5.1) และนาผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงโครงการ/กิจกรรมเพื่อนามาใช้ในการจัดทา รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 103
แผนกิจกรรมด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมต่อไป ควรมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม สบื สานประเพณีไทยเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและจติ สานกึ ทด่ี ีให้แกน่ กั ศึกษาตามเดมิ เชน่ โครงการประกวด มารยาทไทยระดับชาติโครงการสืบสานวัฒนธรรมไทยเป็นการทาบุญคณะ กิจกรรมโครงการหนึ่งความรู้หน่ึงครู ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ซ่ึงอาจปรับเปล่ียนรูปแบบการดาเนินกิจกรรมเป็นออนไลน์ เป็นต้น เพ่ือให้บุคลากรแล ะ นักศึกษาได้ซาบซ้ึงในศิลปวัฒนธรรมที่แสดงออกถึงความเป็นไทย ตลอดจนให้นักศึกษาตระหนักและประพฤติ ปฏบิ ัตเิ ร่ืองมารยาทไทยใหเ้ ป็นลักษณะนิสัยทใี่ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ของสังคมไทยสืบไป โดยมีตัวอย่างภาพกจิ กรรม ดังนี้ 6.เผยแพรก่ ิจกรรมหรอื การบรกิ ารดา้ นทานุบารุงศิลปะและวฒั นธรรมตอ่ สาธารณชน งานพัฒนานักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ได้มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือด้านทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม 4 โครงการต่อสาธารณชน โดยการนาภาพกิจกรรมในการจัดโครงการจัดทาเป็นจดหมายข่าว คณะศิลปศาสตร์ (F1-4.6-6.1) ผ่านจดหมายข่าวราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะศิลปศาสตร์ พร้อมทั้งนาเผยแพร่ ผ่านทางช่องทางเว็บไซร์ของคณะศิลปศาสตร์ www.liberalarts.rmutsb.ac.th (F1-4.6-6.2) และเผยแพร่ ภาพกิจกรรมโครงการ วีดีโอคลิป ต่อสาธารณชนผ่านช่องทางเฟสบุ๊ค ชื่อเฟสบุ๊คว่า พัฒนานักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ (F1-4.6-6.3) เผยแพร่ วีดีโอคลิป กิจกรรมโครงการ ผ่านทาง youtube (F1-4.1-6.4) โดย มีตวั อยา่ งดังน้ี รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 104
7.กาหนดหรือสร้างมาตรฐานด้านศลิ ปะและวัฒนธรรมซึ่งเปน็ ที่ยอมรับในระดับชาติ คณะศิลปศาสตร์เป็นเจ้าภาพจัดโครงการประกวดมารยาทไทย ระดับชาติ เมื่อวันท่ี 11-12 มีนาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา โดยจัดแข่งขัน ในระดับมัธยมศึกษาและระดับอุดมศึกษา ซ่ึงในการแข่งขันคณะได้ส่งนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์เป็นตัวแทน ของมหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน โดยนักศึกษาของคณะได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี 2 จากการแข่งขัน ท้งั หมด 20 มหาวทิ ยาลัย การจัดการแข่งขันประกวดมารยาทไทย ระดับชาตินี้ ได้ดาเนินการเป็นครั้งที่ 4 และจะจัด ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยในคร้ังล่าสุดได้มีผู้สนใจสมัครเขา้ แข่งขันจากโรงเรียนและมหาวิทยาลยั ทั่วประเทศ เป็นจานวนเพ่ิมขึ้นจากครั้งก่อนและได้ถวายรายงานแด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ - รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ให้ทรงรบั ทราบผลการจดั งานเปน็ ประจาทุกปี ผลการประเมินตนเอง ผลดาเนินการ คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปา้ หมาย เป้าหมาย 7 ขอ้ 5 คะแนน 6 ขอ้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 105
เอกสารหลกั ฐาน : หมายเลข รายการเอกสารหลกั ฐาน F1-4.1-1.1 คาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนนิ งานศิลปวัฒนธรรม F1-4.2-2.1 รายงานประชุมพจิ ารณาแผนการดาเนินโครงการดา้ นทานุบารุงศลิ ปวฒั ธรรม F1-4.2-2.2 แผนด้านทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 F1-4.2-2.3 โครงการที่ไดร้ บั จดั สรร F1-4.3-3.1 รายงานการประชมุ คณะกรรมการบริหารงานด้านทานุบารุงศลิ ปวัฒนธรรม ประจาปี งบประมาณ 2563 F1-4.4-4.1 สรปุ ผลประเมินตามความสาเรจ็ ของโครงการ F1-4.5-5.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบรหิ ารดา้ นทานุบารงุ ศิลปวัฒนธรรม ประจาปี 2563 F1-4.6-6.1 จดหมายขา่ วเผยแพร่กจิ กรรมศิลปวฒั นธรรมคณะศิลปะศาสตร์ F1-4.6-6.2 เว็บไซตเ์ ผยแพร่กจิ กรรมศิลปวฒั นธรรมคณะศิลปะศาสตร์ F1-4.6-6.3 เฟสบ๊คุ เผยแพรก่ จิ กรรมศิลปวัฒนธรรมคณะศิลปะศาสตร์ F1-4.1-6.4 วดี ิโอเผยแพร่กจิ กรรมศลิ ปวัฒนธรรมคณะศลิ ปะศาสตร์ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 106
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ ผลการประเมนิ องค์ประกอบท่ี 5 การบริหารจดั การ ผลการดาเนนิ งาน ตวั บ่งชีท้ ี่ ประเมนิ ตนเอง คะแนนการ ระดับ ตัวต้งั ผลลพั ธ์ ประเมนิ คณุ ภาพ ตวั หาร (% หรือ สัดส่วน) องค์ประกอบท่ี 5 การบริหารจัดการ 5.1 การบรหิ ารของคณะเพ่อื การกากบั ตดิ ตามผลลพั ธ์ตาม 7 ข้อ 5.00 ดมี าก พันธกิจ กล่มุ สถาบัน และเอกลกั ษณ์ของคณะ 5.2 ระบบกากับการประกันคุณภาพหลักสูตร 6 ขอ้ 5.00 ดีมาก คะแนนเฉล่ียการประเมินคณุ ภาพ 5.00 ดีมาก กราฟแสดงผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายในของคณะกรรมการฯ ปกก ารศกึ ษา 2561 และ ปกการศกึ ษา 2562 เปรียบเทียบกับคะแนนการประเมินตนเอง ปกการศึกษา 2563 รอบ 9 เดือน ผลการประเ ิมน 5.00 4.50 4.00 ตวั บง่ ชีท้ ี่ 5.1 ตวั บง่ ชีท้ ่ี 5.2 3.50 5.00 5.00 3.00 5.00 5.00 2.50 5.00 5.00 2.00 1.50 1.00 0.50 0.00 ปีการศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 107
องคป์ ระกอบ 5 การบรหิ ารจัดการ ตวั บ่งชท้ี ี่ 5.1 (สกอ.) การบริหารของคณะเพือ่ การกากับตดิ ตามผลลัพธ์ตามพันธกจิ กลุม่ สถาบัน และเอกลกั ษณข์ องคณะ ผูร้ ับผดิ ชอบ 1. อาจารย์ ดร.สมั พนั ธ์ สุกใส รองคณบดี 2. ผทู้ ี่รบั ผิดชอบรวบรวมและเขยี นรายงาน 2.1 นางสาวมลฤดี ทบั พรม 2.2 นางสาวจริ ะภา การีบุญ 2.3 นางสาวปทติ ตา ชินประหัษฐ์ 2.4 นางสาววนั วสิ า กลนิ่ บารงุ 2.5 นางสาวนริศรา มหะหมดั ชนดิ ของตัวบง่ ช้ี กระบวนการ คาอธบิ ายตัวบง่ ช้ี สถาบันอุดมศึกษามีพันธกิจหลักคือการเรียนการสอนการวิจัยการบริการทางวิชาการแก่สังคม และการทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรมในการดาเนนิ พันธกจิ หลักสถาบนั อุดมศึกษาจาเปน็ ต้องดาเนินงานผ่าน คณะ ดังน้ัน คณะต้องมีการพัฒนาแผนเพ่ือกาหนดทิศทางการพัฒนาและการดาเนินงานของคณะให้ สอดคล้องกับเป้าหมายและกลุ่มสถาบันตลอดจนมีการบริหารท้ังด้านบุคลากรการเงินความเสี่ยงและ การประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือสนับสนุนการดาเนินงานตามพันธกิจหลักให้บรรลุตามเป้าหมายท่ี กาหนดไว้ เกณฑม์ าตรฐาน 1. พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเช่ือมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคลอ้ งกับวสิ ัยทัศน์ของคณะ สถาบัน รวมท้ังสอดคล้องกับกลุม่ สถาบนั และเอกลักษณข์ องคณะ และ พัฒนาไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงิน และแผนปฏิบัติการประจาปีตามกรอบเวลาเพ่ือให้บรรลุผลตามตัว บง่ ช้แี ละเปา้ หมายของแผนกลยุทธแ์ ละเสนอผบู้ รหิ ารระดบั สถาบันเพ่ือพจิ ารณาอนุมตั ิ 2. ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินท่ีประกอบไปด้วยต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละหลักสูตร สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย์ บุคลากร การจัดการเรียนการสอน อย่างต่อเนื่อง เพ่ือวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิต และโอกาสในกรแขง่ ขัน 3. ดาเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงที่เป็นผลจากการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเส่ียงที่เกิด จากปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยท่ีไมส่ มารถควบคุมได้ท่สี ่งผลตอ่ การดาเนินงานตามพนั ธกิจของคณะและ ใหร้ ะดับความเส่ยี งลดลงจากเดมิ 4. บรหิ ารงานดว้ ยหลักธรรมาภบิ าลอย่างครบถ้วนท้งั 10 ประการท่อี ธบิ ายการดาเนนิ งานอย่าง ชัดเจน รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 108
5. ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีจากความรู้ทั้งท่ีมีอยู่ในตัวบุคคล ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรงและ แหลง่ เรียนรู้อน่ื ๆ ตามประเด็นความรู้ อย่างนอ้ ยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและดา้ นการวิจัย จัดเกบ็ อยา่ งเปน็ ระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลกั ษณ์อักษรและนามาปรับใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านจริง 6. การกากับติดตามผลการดาเนนิ งานตามแผนการบรหิ ารและพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและ สายสนับสนุน 7. ดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามระบบและกลไกที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาการของคณะท่ีได้ปรับให้การดาเนินงานด้านประกันคุณภาพเป็นส่วน หนึ่งของการบริหารงานคณะตามปกติที่ประกอบด้วย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และ การประเมนิ คณุ ภาพ เกณฑ์การประเมนิ : 7 ข้อ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มกี ารดาเนินการ มีการดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ มกี ารดาเนินการ 3 - 4 ขอ้ 5 - 6 ข้อ 7 ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ ผลการดาเนินงานและผลการประเมนิ ตนเอง : 1.พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน รวมทั้งสอดคล้องกับกลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของคณะ และ พัฒนาไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจาปก ตามกรอบเวลาเพื่อให้บรรลุผลตามตัวบ่งชี้ และเป้าหมายของแผนกลยทุ ธแ์ ละเสนอผ้บู ริหารระดบั สถาบนั เพื่อพจิ ารณาอนุมตั ิ (1) คณะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อทบทวนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะศิลปศาสตร์ ตามคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการทบทวนประเมินและจัดทาแผนพัฒนาคณะศิลปศาสตร์ ประจาปี 2563 (F1-5.1-1.1) โดยการระดมความคิดเห็นจากคณะกรรมการบริหาร ได้แก่ คณบดี รองคณบดี หัวหน้าสาขาวิชา ประธานหลักสูตร และหัวหน้างาน ร่วมระดมความคิดเห็นในการจัดทาทบทวน ประเมิน และดาเนินการ จดั ทาแผนพัฒนาคณะศิลปศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 โดยการนาผลท่ีได้จากการวิเคราะห์ SWOT มาเป็นแนวทางการทบทวนและจัดทาแผนพัฒนาคณะและเช่ือมโยงจากประเด็น เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดค่า เปา้ หมาย และโครงการท่สี าคัญของแผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา ของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ พ.ศ. 2560-2564 (F1-5.1-1.2) ตามคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการทบทวนประเมินและจัดทาแผนพัฒนา คณะศิลปศาสตร์ ประจาปี 2563 ณ โรงแรมเฮลท์แลนด์ รีสอร์ท แอนด์ สปาพัทยา อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี (F1-5.1-1.3) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 109
(2) คณะได้มีการวางแผนกลยุทธ์ของคณะเพ่ือกาหนดทิศทางในอนาคตของคณะ โดยกาหนด สภาพการณ์ในอนาคตที่ต้องบรรลุและกาหนดแนวทางในการบรรลุบนพ้ืนฐานข้อมูลรอบด้านอย่างเป็นระบบ โดยดาเนินการตามกระบวนการ ประกอบด้วย การประชุมเพื่อทบทวนตัวช้ีวัดและค่าเป้าหมายตัวช้ีวัด ตามภารกิจของคณะ ซึ่งเป็นกลไกในการบริหารจัดการด้านการเงินให้เหมาะสมและเพียงพอท่ีจะสนับสนุน พันธกิจต่าง ๆ ของคณะให้บรรลุเป้าประสงค์ท่ีได้กาหนดไว้ ได้แก่ การสร้างกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ ค่าใช้จ่าย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ มีการวิเคราะห์รายได้ ค่าใช้จ่ายของการดาเนินงาน โดยพิจารณาจากทุกแหล่งเงิน ท้ังจากงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ จากค่าบารุงการศึกษา รวมท้ังรายได้อ่ืน ๆ ที่มหาวิทยาลัยได้รับ มีการนาเงินรายได้ไปจัดสรรอย่างเป็นระบบ มีฐานขอ้ มูลทางการเงินท่ีสามารถแยกคา่ ใช้จ่ายตามหมวดต่าง ๆ มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ ครบทุกพันธกิจของคณะ รวมท้ังมีคณะกรรมการควบคุมและตรวจสอบการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ รายงานทางการเงิน ต้องสามารถทราบข้อมูลด้านค่าใช้จ่ายทั้งหมด ท้ังด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทานบุ ารุงศลิ ปะวฒั นธรรม และการพฒั นาบคุ ลากร (F1-5.1-1.4) (3) คณะมีการถ่ายทอดแผนพัฒนาคณะศิลปศาสตร์ พ.ศ. 2560-2564 ให้บุคลากรภายในคณะ ได้รับทราบ โดยการถ่ายทอดจากการประชุมคณะกรรมการบริหาร ซึ่งประกอบไปด้วย คณบดี รองคณบดี และ หัวหน้าสาขาวิชาทุกศูนย์พ้ืนที่ ซ่ึงเป็นผู้ที่กากับและขับเคล่ือนแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาของคณะ และถ่ายถอดแผนพัฒนาในกิจกรรมการประชุมบุคลากรประจาภาคการศึกษา เพ่ือมอบนโยบายให้แก่บุคลากร เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2563 เพ่ือให้บุคลากรได้รับทราบนโยบายตามแผนพัฒนาของคณะศิลปศาสตร์ และเปา้ หมายหลกั ในการดาเนนิ การของคณะศลิ ปศาสตร์ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (4) คณะได้มีการจัดทาแผนรายงานการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซ่ึงครอบคลุมท้ัง 4 พันธกิจ คือ ด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการ ทางวิชาการ และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยกาหนดเป้าหมายของการดาเนินงานและกาหนด ผู้รับผิดชอบในแต่ละตัวช้ีวัดไว้ในแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ท่ีสอดคล้องกับประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ของคณะศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ (F1-5.1-1.5) (5) คณะได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามผลการดาเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปี พ.ศ.2563 (F1-5.1-1.6) เพื่อทาหน้าที่กากับและติดตามผลการดาเนินงานและการใช้จ่ายเงิน งบประมาณให้เป็นไปตามแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจาปี พ.ศ.2563 ที่ได้วางแผนไว้ (F1-5.1-1.7) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 110
2.ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุนต่อหน่วยในแตล่ ะหลกั สูตร สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย์ บุคลากร การจัดการเรียนการสอน อย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิต และโอกาส ในการแขง่ ขนั คณะนาข้อมูลจากจานวนนักศึกษามาวิเคราะห์หาอัตราส่วน โดยคานวณจากรายหัวนักศึกษา ท่ีมาลงทะเบียนในรายวิชาของคณะ โดยการจัดทาประมาณการรายรับของคณะ (F1-5.1-2.1) เพ่ือนาข้อมูลมา จัดทาคาเสนอของบประมาณตามภารกิจของคณะ (F1-5.1-2.2) จากน้ันนางบประมาณท่ีได้รับการจัดสรรจาก มหาวิทยาลัยไปบริหารจัดการยังศูนย์พ้ืนท่ีท่ีคณะรับผิดชอบ (F1-5.1-2.3) เป็นการจัดสรรไปยังศูนย์พื้นท่ีตาม สัดส่วนอาจารย์และนักศึกษาตามหลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณประจาปีของคณะเพ่ือพัฒนานักศึกษา อาจารย์ บุคลากร การจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง และเพ่ือวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลกั สูตร ใหเ้ ป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพประสทิ ธผิ ลในการผลติ บัณฑิต และโอกาสในการแขง่ ขนั (F1-5.1-2.4) ในการนี้ความคมุ้ ค่าจากการวเิ คราะหต์ ้นทนุ ตอ่ หนว่ ยในแต่ละหลกั สูตร เป็นดังน้ี (1) หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลหลักสูตร 4 ปก มีต้นทุนต่อหน่วย ตลอด หลกั สูตร จานวน 60,800 บาท จากการวิเคราะหค์ วามคุ้มค่าของการบรหิ ารหลักสตู ร พบวา่ จดุ คมุ้ ทนุ ของการบริหารหลกั สูตร ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารสากลหลกั สูตร 4 ปี - ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา ต้องมีจานวนนักศึกษาไม่น้อยกว่า 231 คน ซ่ึงปัจจุบัน มีจานวนนกั ศึกษาทง้ั ส้นิ 134 คน - ศูนย์นนทบุรี ต้องมีจานวนนักศึกษาไม่น้อยกว่า 217 คน ซึ่งปัจจุบันมีจานวนนักศึกษา ท้งั ส้ิน 139 คน - ศูนย์สุพรรณบุรี ต้องมีจานวนนกั ศึกษาไม่น้อยกว่า 196 คน ซ่ึงปัจจบุ ันมีจานวนนักศึกษา ท้ังสน้ิ 69 คน (2)หลักสูตรการทอ่ งเทย่ี ว หลักสตู ร 4 ปก มีตน้ ทนุ ตอ่ หน่วย ตลอดหลกั สูตร จานวน 60,800 บาท จากการวเิ คราะห์ความคุม้ ค่าของการบริหารหลกั สูตร พบว่า จดุ คุ้มทนุ ของการบรหิ ารหลักสตู ร การท่องเท่ยี ว หลักสูตร 4 ปี - ศูนยพ์ ระนครศรอี ยุธยา หันตรา ตอ้ งมีจานวนนักศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า 205 คน ซ่ึงปจั จุบันมี จานวนนกั ศึกษาทั้งสิน้ 57 คน - ศนู ยส์ ุพรรณบุรี ต้องมีจานวนนกั ศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ 175 คน ซึ่งปัจจบุ นั มจี านวนนักศกึ ษา ทง้ั สนิ้ 47 คน (3)หลักสูตรการโรงแรม หลักสตู ร 4 ปก มตี น้ ทุนต่อหนว่ ย ตลอดหลักสตู ร จานวน 60,800 บาท จากการวิเคราะหค์ วามคุ้มคา่ ของการบริหารหลกั สูตร พบว่า จุดค้มุ ทนุ ของการบรหิ ารหลักสูตร การโรงแรม หลักสตู ร 4 ปี รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 111
- ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา ต้องมีจานวนนักศกึ ษาไม่น้อยกวา่ 204 คน ซง่ึ ปัจจุบนั มีจานวนนักศึกษาทั้งสนิ้ 110 คน (4) หลักสูตรภาษาอังกฤษอุตสาหกรรมการบิน (หลักสูตรใหม่) มีต้นทุนต่อหน่วย ตลอด หลักสตู ร จานวน 212,240 บาท จากการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบรหิ ารหลกั สูตร พบวา่ จุดคุ้มทุนของการบริหารหลกั สูตร ภาษาองั กฤษอตุ สาหกรรมการบนิ หลักสตู ร 4 ปี - ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา ต้องมีจานวนนักศึกษาไม่น้อยกว่า 58 คน ซ่ึงปัจจุบัน มีจานวนนกั ศึกษาทงั้ สิ้น 12 คน - ศูนย์นนทบุรี ต้องมีจานวนนักศึกษาไม่น้อยกว่า 52 คน ซึ่งปัจจุบันมีจานวนนักศึกษา ทัง้ ส้ิน 17 คน จากการวเิ คราะห์ดงั กล่าว คณะศิลปศาสตร์ได้ทาการวิเคราะห์ในแง่ของความคุ้มทุนโดยพิจารณาเปรียบเทียบจากจานวน นักศึกษาจริง จานวนนักศึกษา ณ จุดคุ้มทุน และรายได้ผู้ดูแลหลักสูตร แต่ละหลักสูตร มาคานวณ โดยแยกตาม หลักสูตร แยกศูนย์พื้นที่ พบว่า ยังไม่พบจุดคุ้มทุนของแต่ละหลักสูตรในแต่ละพ้ืนท่ี ซ่ึงทั้งนี้มีผลมาจากปัจจัย ภายนอกเป็นส่วนใหญ่ เนื่องมาจากมีการแข่งขันทางการศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัยในระดับเข้มข้น ในการ รับนักศึกษาใหม่ ประกอบกับจานวนประชากรของประเทศไทยลดน้อยลง จึงส่งผลกระทบตอ่ จานวนนกั ศึกษามา สมัครในแตล่ ะหลกั สูตรน้อยลง (F1-5.1-2.5) 3.ดาเนินงานตามแผนบรหิ ารความเสย่ี ง ที่เป็นผลจากการวเิ คราะห์และระบุปัจจัยเสีย่ งท่ีเกดิ จากปัจจยั ภายนอก หรือปัจจยั ท่ไี ม่สามารถควบคมุ ได้ที่ส่งผลต่อการดาเนนิ งานตามพันธกิจของคณะและ ใหร้ ะดบั ความเสี่ยงลดลงจากเดิม คณะศิลปศาสตร์มีระบบและกลไกในการดาเนนิ งานการบริหารความเสย่ี งและการควบคุมภายใน ทเ่ี หมาะสมเพื่อให้สอดคล้องสอดคล้องกับพันธกิจ (F1-5.1-3.1) โดยไดด้ าเนินการตามแผนบริหารความเส่ียงและ การควบคุมภายในหน่วยงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ของคณะตั้งแต่ระดับสาขาวิชา โดยมีงานบริหาร และพัฒนาระบบเป็นหน่วยงานกลางที่ทาหน้าที่ดูแลประสานงานและสนับสนุนการดาเนินงานตามแผนบริหาร ความเสี่ยงและการควบคุมภายในของคณะ โดยมีการแต่งต้ังคณะกรรมการและควบคุมภายใน (F1-5.1-3.2) ทาหน้าที่เป็นผู้ขับเคลื่อน กาหนดนโยบายและแนวทางในการดาเนินงานของการบริหารความเสี่ยงและ การควบคุมภายใน โดยได้มีการกากับติดตามและประเมินผล การดาเนินงานตามแผนบริหารความเส่ียงและ การควบคุมภายใน โดยมีการรายงานผลต่อคณะกรรมการตามลาดับชั้นอย่างต่อเน่ือง รวมท้ังข้อมูลจาก ผู้ปฏิบัติงานการบริหารความเสี่ยง ระดับงาน สาขา ในการกรอกข้อมูลในระบบการบริหารความเสี่ยงโดยระดับ คณะกรรมการระดบั คณะ ได้คดั เลือกขอ้ มลู จากแบบวิเคราะห์ความเสี่ยง ดังนี้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 112
การดาเนนิ งานการบริหารความเสยี่ งและการควบคุมภายในปกงบประมาณ พ.ศ. 2563 สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดบั ความเส่ยี ง ดาเนิน ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานทีร่ บั ผิดชอบ/ ตวั ชวี้ ดั ความเสยี่ ง การ (/) ดาเนินการ วตั ถปุ ระสงค์) ค่า ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เป้าหมาย ไม่บรรลุ ความเสยี่ งเชิงนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย 1. ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนอง ก า ร ผ ลิ ต ก า ลั ง ค น ร อ ง รั บ 1 บัณฑิตในบางหลกั สตู รอาจมี อุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ สมรรถนะไม่ตรงกับความ โ ด ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ส ถ า น ต้องการ ประกอบการ ผลการดาเนินงาน ห ลั ก สู ต ร ส า ข า วิ ช า ก า ร ทอ่ งเท่ียวและสาขาวชิ าการโรงแรม ปรับปรงุ หลักสูตรให้ตอบสนองการ ผลิตกาลังคนรองรับอุตสาหกรรม เป้าหมายของประเทศ เนื่องจาก ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว แ ล ะ ก า ร บ ริ ก า ร มี บ ท บ า ท ส า คั ญ ต่ อ ร า ย ไ ด้ ข อ ง ประเทศเป็นอย่างมาก ทั้งใน ปัจจุบันและในอนาคต โดยความ ร่วมมือกับสถานประกอบการใน การจัดการเรียนการสอนตลอด ปีการศึกษา 2562 2. ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนและ ปฏิบัติงานในสถานประกอบ การ ใ น รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร Work Integrated Learning (WiL) เพิ่มขน้ึ ผลการดาเนินงาน ห ลั ก สู ต ร ส า ข า วิ ช า ก า ร ท่องเทย่ี วและสาขาวิชาการโรงแรม สง่ เสริมให้นักศกึ ษา ได้เรียนรู้และ ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 113
สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดับ ความเสี่ยง ดาเนนิ ไม่ (กิจกรรม/โครงการ/งานทรี่ บั ผิดชอบ/ ตัวชวี้ ดั ความเสย่ี ง การ (/) ดาเนินการ วตั ถปุ ระสงค์) ค่า ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เป้าหมาย ไมบ่ รรลุ ในรูปแบบของ Work Integrated Learning (WiL) 3. สรา้ งความร่วมมอื ทดี่ ีกบั สถาน ประกอบ การในการจดั การศึกษา ในรปู แบบของหลักสตู รร่วมผลิต ผลการดาเนนิ งาน คณะศลิ ปศาสตร์ ไดด้ าเนนิ การ ทาความร่วมมือด้านการจัดการ เรียนการสอน การวิจัย และการ ฝึกอบรม กับบริษัท ไทยไฟลท์เท รนนิ่ง จากัด (Thai Flight Training Co.Ltd.) ซึ่ ง เ ป็ น ส ถ า น ประกอบการท่ีมีภารกิจหลักใน ธุรกิจการศึกษาและการฝึกอบรม และบริษัท วิงสแปน-เซอร์วิสเซส จากัดWingSpanServicesCo.Ltd. ด้านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และได้จัดทาหลักสูตรศิลปศาสตร บัณฑิต สาขา วิชาภาษาอังกฤษ อุตสาหกรรมการบิน โดยการใช้ บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้าน วิชาชีพ อุตสาหกรรมการบินของ บริษัท ไทยไฟลท์เทรนน่ิงจากัด ThaiFlightTraining Co. Ltd. กั บ อ า จ า ร ย์ ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ ร่ ว ม รับผิดชอบกระบวนการเรียนการ สอนและพฒั นานักศกึ ษาตลอดการ จัดการเรียนการสอนของรายวชิ า 4. จัดหาครภุ ณั ฑพ์ ้ืนฐานที่จาเปน็ ทดแทนครุภณั ฑเ์ ดิม และสิ่ง สนับสนุนการเรยี นรใู้ ห้เพยี งพอต่อ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 114
สถานะ ผลการดาเนนิ การ ลาดบั ความเส่ยี ง ดาเนนิ ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานทรี่ บั ผิดชอบ/ ตวั ช้วี ดั ความเสย่ี ง การ (/) ดาเนนิ การ วตั ถุประสงค์) คา่ ผลคา่ บรรลุ / (x) เปา้ หมาย เปา้ หมาย ไม่บรรลุ การเรยี นการสอนและการบรหิ าร หลักสตู ร ผลการดาเนนิ งาน คณะศิลปศาสตร์ได้รับอนุมัติ ใ ห้ ก่ อ ส ร้ า ง อ า ค า ร ค รุ ภั ณ ฑ์ ป ฏิ บั ติ ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว แ ล ะ ก า ร โรงแรม เพ่ือใช้ในการเรียนการ ส อ น แ ล ะ ป ฏิ บั ติ กา ร จ ริ ง ข อ ง นักศึกษาสาขาวิชาการท่องเที่ยว และการโรงแรมเป็นจานวนเงิน 58,000,000 บาท ด า เ นิ น ก า ร จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ชุดครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการทาง ภ า ษ า ร ะ บ บ ดิ จิ ต อ ล ท่ี ทั น ส มั ย ให้กับนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา จานวนเงนิ 3,092,000 บาท ดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างชุด ครุภัณฑ์ ห้องปฏิบัติการ Smart LanguageLoungesใ ห้ กั บ นักศึกษา ศูนย์สุพรรณ จานวนเงิน 2,279,900 บาท 5.การพัฒนาความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์ทางวิชาชีพ ให้ อาจารย์ โดยการฝึกอบรมและการ ฝึกประสบการณ์ (ฝังตัว) ในสถาน ประกอบการ ผลการดาเนนิ งาน เ น่ื อ ง จ า ก ด้ ว ย ส ถ า น ก า ร ณ์ การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโร นาสา ยพันธุ์ให ม่ COVID19 ใน รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 115
สถานะ ผลการดาเนนิ การ ลาดับ ความเสี่ยง ดาเนิน ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานท่รี บั ผิดชอบ/ ตวั ช้วี ดั ความเสยี่ ง การ (/) ดาเนนิ การ วตั ถุประสงค)์ ค่า ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เปา้ หมาย ไม่บรรลุ ประเทศไทย ทาให้อาจารย์ไม่ สามารถเข้าฝึกประสบการณ์ (ฝัง ตัว) ในสถานประกอบการได้ 6. การพัฒนารูปแบบและวิธีการ ส อน ส มั ย ให ม่ ใ ห้ กั บ อา จ า ร ย์ เ พื่ อ เ ป ลี่ ย น บ ท บ า ท จ า ก ผู้ ส อ น Lecturer เป็นผู้ชี้แนะ Facilitator ผลการดาเนินงาน ฝ่ายวิชาการ และวิจัย จั ด โครงการพัฒนาศักยภาพการสอน และการดูแลให้คา ปรึกษาแก่ นักศึกษาในยุคสังคม 4.0 โดย มีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้อาจารย์ได้ เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ศักยภาพในด้านความรู้ ความ เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ห ลั ก ก า ร กระบวนการขั้นตอน ตลอดจน เ ท ค นิ ค ก า ร ส อ น แ ล ะ ก า ร ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า เ พ่ื อ น า ไ ป พั ฒ น า แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ส ภ า พ สถานการณ์ในปัจจุบัน จัดเมื่อ วั น ที่ 27-28 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2563 ณ จังหวดั สุพรรณบุรี 7. การพัฒนาทักษะทางสังคม (Soft skills) ให้นักศึกษาทุกชั้นปี อย่างต่อเน่ือง ผลการดาเนินงาน ฝ่ า ย วิ ช า ก า ร แ ล ะ วิ จั ย ดาเนินการจัดโครงการแข่งขัน ทักษะทางวิชาการศิลปศาสตร์ราช มงคลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 116
สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดบั ความเส่ยี ง ดาเนนิ ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานทรี่ บั ผิดชอบ/ ตวั ช้วี ดั ความเสยี่ ง การ (/) ดาเนนิ การ วตั ถุประสงค)์ คา่ ผลคา่ บรรลุ / (x) เปา้ หมาย เป้าหมาย ไมบ่ รรลุ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเตรียมความ พร้อมในด้านสมรรถนะทางด้าน วิชาชีพทั้งในช้ันเรียน Soft skills และทักษะการทางานในศตวรรษท่ี 21 ให้กบั นกั ศึกษา จัดเมื่อวนั ที่ 13- 14 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2563 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรงุ เทพ โครงการ/กิจกรรม 1. โคร งกา รพัฒนาทักษะ กา ร ทางานในศตวรรษที่ 21 : Cross- cultural Integration 2020 (ศศ.) ผลการดาเนนิ งาน สาขาวิชาการท่องเที่ยวและ การโรงแรม จัดโครงการพัฒนา ทักษะการทางานในศตวรรษท่ี 21 ให้กับนักศึกษาเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2562 โครงการ/กจิ กรรม 2. โคร งกา รพัฒนาทักษะ กา ร ทางานในศตวรรษท่ี 21 : Cross- cultural Integration 2020(ศศ.) ผลการดาเนินงาน สาขาวิชาการท่องเท่ียวและ การโรงแรม จัดโครงการพัฒนา ทักษะการทางานในศตวรรษที่ 21 ให้กบั นกั ศกึ ษา เมื่อวันที่ 2 ตลุ าคม 2562 3. โครงการส่งเสริมทักษะการ เรียนรู้กับการทางานแบบบูรณา รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 117
สถานะ ผลการดาเนนิ การ ลาดบั ความเสีย่ ง ดาเนิน ไม่ (กิจกรรม/โครงการ/งานทรี่ บั ผดิ ชอบ/ ตัวชีว้ ดั ความเสยี่ ง การ (/) ดาเนินการ วตั ถุประสงค)์ คา่ ผลคา่ บรรลุ / (x) เป้าหมาย เปา้ หมาย ไม่บรรลุ ก า ร แ ล ะ ก า ร ฝึ ก ภ า ค ส น า ม ณ สถานทจ่ี ริง (ศศ.) ผลการดาเนินงาน สาขาวิชาการท่องเท่ียวและ การโรงแรม ดาเนนิ การจดั โครงการ ดังน้ี -โครงการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ กับการทางานแบบบูรณาการและ การฝึกภาคสนาม ณ สถานที่จริง เมื่อ วนั ที่ 19-24 ตลุ าคม 2562 -โครงการเกบ็ เสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี ว ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ส า ข า วิ ช า ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ท้ั ง 2 ศู น ย์ พ้ื น ท่ี เมื่อวนั ที่ 25 กันยายน 2563 2 มหาวิทยาลยั ไมส่ ามารถ 1.1 จัดการศกึ ษาใหด้ งึ ดูดผู้เรยี นรนุ่ ดาเนินงานตามแผน ใหม่ เช่นจัดการศกึ ษารว่ มกับสถาน ยทุ ธศาสตร์ ประกอบการ (หลกั สูตรร่วมผลติ ) ตามขอ้ ตกลงความรว่ มมือในการ ผลติ กาลงั คนตามความต้องการ ของสถานประกอบการ ผลการดาเนนิ งาน คณะศลิ ปศาสตร์ ไดม้ ีการเปดิ หลักสตู รภาษาองั กฤษอุตสาหกรรม การบิน รว่ มกับสถานประกอบการ โดยเปดิ รบั นักศกึ ษาในปกี ารศกึ ษา 2563 และเปดิ การเรียนการสอน รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 118
สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดบั ความเส่ยี ง ดาเนนิ ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานที่รบั ผิดชอบ/ ตัวช้วี ดั ความเสยี่ ง การ (/) ดาเนินการ วัตถปุ ระสงค)์ ค่า ผลค่า บรรลุ / (x) เปา้ หมาย เปา้ หมาย ไมบ่ รรลุ 1.2 การเพิ่มหลักสูตรระยะสั้นหรอื หลักสตู ร non degree เพอ่ื หา ผู้เรยี นกลุ่มใหม่ๆ มาชดเชย เช่น คนวยั ทางาน วยั เกษียณอายุ เปน็ ต้น ผลการดาเนินงาน - 1.3 เพ่มิ การประชาสมั พนั ธ์องคก์ ร และหลักสตู รเชิงรุกไปยัง กลุม่ เปา้ หมาย เช่น การจัด Road show หรอื ใหท้ นุ การศกึ ษามากขนึ้ รวมทงั้ การพัฒนา website ของ หน่วยงานใหน้ า่ สนใจและเป็น ปัจจุบันมากข้นึ ผลการดาเนินงาน - รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 119
สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดบั ความเสย่ี ง ดาเนิน ไม่ (กิจกรรม/โครงการ/งานทร่ี บั ผิดชอบ/ ตวั ชีว้ ดั ความเสย่ี ง การ (/) ดาเนนิ การ วัตถปุ ระสงค์) ค่า ผลค่า บรรลุ / (x) เปา้ หมาย เปา้ หมาย ไม่บรรลุ 1.4 จดั การศกึ ษาให้มีสอ่ื ที่ใช้ในการ เรียนการสอนท่ีทันสมัย เช่นการ สร้างบทเรียนออนไลน์ที่ทันสมัย ตอบโจทย์ผเู้ รยี นรุ่นใหม่ ผลการดาเนินงาน ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ มุ่ งเ น้ น การจดั การเรยี นการสอน โดยให้ใช้ ส่ือการสอนที่ทันสมัยตอบโจทย์ ผู้ เ รี ย น รุ่ น ใ ห ม่ อี ก ทั้ ง จั ด ท า ห้องปฏิบัติการทางภาษาระบบ ดิจิตอลท่ีทันสมัย ให้กับนักศึกษา ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา และจัดทาห้อง Smart Language Lounges ใหก้ บั นักศึกษาศนู ยพ์ ื้นท่ี สุพรรณบุรี จานวนท้ังหมด 2 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา และศูนยน์ นทบุรี 2.1 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ หนว่ ยงานในการรับงานบริการ วชิ าการแบบหารายไดเ้ พ่ิมขน้ึ ผลการดาเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ จัดตั้งศูนย์ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ท า ง ปั ญ ญ า ซึ่ ง ด า เ นิ น ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ เ ปิ ด อบ ร ม ห ลั กสู ต ร ร ะ ย ะ สั้ น จานวน 10 หลักสูตร เพื่อเป็นการ บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร แ บ บ ห า ร า ย ไ ด้ เพม่ิ ขนึ้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 120
สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดบั ความเส่ยี ง ดาเนิน ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานท่รี บั ผดิ ชอบ/ ตัวช้ีวดั ความเสยี่ ง การ (/) ดาเนนิ การ วตั ถุประสงค์) คา่ ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เปา้ หมาย ไม่บรรลุ 2.2 กาชับหน่วย งานท่ีรับงา น บริการวิชาการ คิดค่าบริการทาง วิ ช า ก า ร ต า ม ที่ ก า ห น ด ไ ว้ ใ น ข้อบังคับมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการ ให้บริการวิชาการ พ.ศ. 2558 และ ที่แกไ้ ขเพมิ่ เติมอย่างเคร่งครดั ผลการดาเนินงาน - 2.3 จัดทาแผนงาน โครงการในการ เสนอของบประมาณรายจ่ าย ประจาปี ให้สอดรับกับ ยทุ ธศาสตร์ ชาติ ผลการดาเนนิ งาน คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดทาคา เ ส น อ ข อ ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ร ะ จ า ปี โดยให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ช า ติ โ ด ย มี ง า น แ ผ น แ ล ะ งบประมาณของคณะเป็นผู้รวบรวม แ ล ะ จั ด ท า ข้ อ มู ล เ พ่ื อ เ ส น อ ข อ งบประมาณกับมหาวิทยาลัย ตาม ระยะเวลาท่มี หาวิทยาลัยกาหนด รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 121
สถานะ ผลการดาเนนิ การ ลาดบั ความเสย่ี ง ดาเนิน ไม่ (กิจกรรม/โครงการ/งานทร่ี บั ผิดชอบ/ ตัวชี้วดั ความเสย่ี ง การ (/) ดาเนินการ วัตถุประสงค์) ค่า ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เป้าหมาย ไม่บรรลุ 2.4 ส่งเสริมให้หน่วยงานใช้ระบบ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ท า ง ไ ก ล ( Video Conference) ระหว่างศูนย์พื้นที่ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง แ ล ะ ล ด ค ว า ม เ สี่ ย ง ใ น ก า ร เ กิ ด อบุ ตั ิเหตุ ผลการดาเนนิ งาน ภายใต้สถานการณ์ การแพร่ ระบาดที่รุนแรงของไวรัสโคโรนา (COVID-19) คณะได้มีการส่งเสริม วิธีการทางานและประชุมงานผ่าน วิ ดี โ อ ท า ง ไ ก ล ( Video Conference) 2.5 งดจัดการเรยี นการสอนในหลกั สูตร ทีม่ จี านวนผสู้ มคั รเข้าศกึ ษา ต่อไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ี มหาวทิ ยาลยั กาหนด ส่งผลใหไ้ ม่ สามารถจัดการเรยี นการสอนได้ ผลการดาเนนิ งาน ไม่มหี ลักสตู รทผ่ี สู้ มคั รเขา้ ศึกษาตอ่ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ 2.6 ปดิ หลักสตู รท่ไี มส่ ามารถ จัดการเรียนการสอนได้ ตอ่ เนอ่ื งกัน 2 ปีการศึกษา ผลการดาเนินงาน ไมม่ ีการปิดหลักสตู ร รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 122
สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดบั ความเส่ยี ง ดาเนิน ไม่ (กิจกรรม/โครงการ/งานทร่ี บั ผิดชอบ/ ตวั ชีว้ ดั ความเสย่ี ง การ (/) ดาเนนิ การ วัตถปุ ระสงค์) คา่ ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เปา้ หมาย ไม่บรรลุ 3.1 สนับสนุนใหน้ ักวิจัยหาแหลง่ ทุนสนบั สนุนการวจิ ยั จากภายนอก มาเพม่ิ เติมในส่วนทถี่ กู ปรบั ลด วงเงินงบประมาณแผ่นดนิ ผลการดาเนินงาน ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ ส นั บ ส นุ น ให้นักวิจัยหาแหล่งสนับสนุนการ วิจัยจากภายนอกเพ่ิมเติม และ ประชาสัมพันธ์แหล่งทุนภายนอก รวมถึงจัดโครงการพัฒนานักวิจัย โดยระบบพ่ีเล้ียง เพ่ือผลักดันการ เ ขี ย น ข้ อ เ ส น อ ใ น ก า ร ข อ งบประมาณจากแหลง่ ทนุ ภายนอก 3.2 สนับสนุนให้ทุกหน่วยงาน กาหนดงานวิจยั สถาบันเป็นตัวชี้วัด การประเมินการปฏิบัติงาน หรือ กาหนดค่าเป้าหมาย 1 หน่วยงาน ตอ่ 1 งานวิจัยสถาบัน ให้สามารถ ทา วิจั ยส ถา บั นโ ด ย ไ ม่ต้ องใช้ งบประมาณได้ ผลการดาเนนิ งาน คณะศิลปศาสตร์สนับสนุนให้ กาหนดงานวิจยั สถาบันเป็นตัวช้ีวัด การประเมินการปฏบิ ัติ ตามภารกจิ ของมหาวิทยาลยั รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 123
สถานะ ผลการดาเนนิ การ ลาดบั ความเส่ยี ง ดาเนิน ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานทร่ี บั ผิดชอบ/ ตวั ชวี้ ดั ความเสยี่ ง การ (/) ดาเนนิ การ วัตถุประสงค)์ ค่า ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เปา้ หมาย ไมบ่ รรลุ 3.3 ส่งเสรมิ ในการทางานวิจัยแบบ มุ่งเป้า แ ละมีความ เชื่อมโย ง ระหว่างศาสตร์ ในประเด็นท่ีเป็น ปัญหาสาคัญ ผ่านการจัดสรรทุน วจิ ยั ทง้ั ภายในและภายนอก ผลการดาเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ส่งเสริมการ ทางานวิจยั แบบมุ่งเป้า และมคี วาม เช่ือมโยงระหว่างศาสตร์ อีกท้ังยัง บูรณาการระหวา่ งคณะอกี ดว้ ย 3.4 สง่ เสริมกจิ กรรมหรอื จดั อบรม เชงิ ปฏบิ ตั ิการเพ่อื พัฒนาศักยภาพ นกั วจิ ยั ทั้งดา้ นการวิจัยและ จรรยาบรรณนกั วิจยั ผลการดาเนนิ งาน คณะศลิ ปศาสตร์ ไดม้ ีการจดั โครงการ/กิจกรรม อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเพื่อพัฒนาศกั ยภาพ นักวจิ ยั ให้กับบุคลากรภายในคณะ ทสี่ นใจ เม่อื วันท่ี 22 ม.ิ ย. 63 3.5 สนบั สนุนการปรับภาระงานให้ ยืดหยนุ่ เหมาะสมกับแตล่ ะบคุ คล มากที่สดุ ผลการดาเนนิ งาน งานบริหารและพัฒนาระบบ ได้ดาเนินการจัดประชุมพนักงาน สายสนับสนุน เพ่ือกาหนดภาระ งานและความรับผิดชอบของแต่ละ บคุ คลตามข้อตกลงการกาหนด รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 124
สถานะ ผลการดาเนนิ การ ลาดับ ความเส่ียง ดาเนนิ ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานท่ีรบั ผิดชอบ/ ตวั ชีว้ ดั ความเสย่ี ง การ (/) ดาเนนิ การ วัตถปุ ระสงค)์ ค่า ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เป้าหมาย ไมบ่ รรลุ ตัวช้ีวัดเพ่ือประเมินผลการปฏิบัติ ร า ช ก า ร ใ น แ ต่ ล ะ ร อ บ ก า ร ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ 4.1. ทุกหน่วยงานทบทวนผลการ ดาเนินงานทผี่ า่ นมาและวาง แผนการเบกิ จา่ ยงบประมาณ รายจ่ายประจา ให้สอดรบั กับ เกณฑท์ ่มี หาวทิ ยาลยั กาหนด โดย คานงึ ถงึ ปัจจัยแวดล้อมตา่ งๆ เชน่ ระยะเวลาในกระบวนการจดั ซือ้ จดั จา้ ง ช่วงเวลาและความจาเป็นใน การใชง้ านหรอื การดาเนินโครงการ ระยะเวลาของกระบวนเบิกจ่ายใน ระบบ GFmi ผลการดาเนินงาน คณะศลิ ปศาสตร์ ไดม้ ีการ ทบทวนผลการดาเนนิ งานและวาง แผนการเบกิ จา่ ยงบประมาณ รายจ่าย เป็นประจาทุกเดือน โดย การตดิ ตามผลการดาเนนิ งานเป็น ประจาทกุ ๆเดอื นในการประชุม คณะกรรมการบรหิ ารของคณะ ประจาเดอื น 4.2 ผู้รับผิดชอบโครงการ และ ผู้รวบรวมเล่มรายงานฉบบั สมบูรณ์ ของหน่วยงาน เร่งรัดการจัดส่ง ภายใน 30 วนั หลงั เสร็จสิ้นโครงการ ผลการดาเนินงาน รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 125
สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดบั ความเสย่ี ง ดาเนนิ ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานที่รบั ผดิ ชอบ/ ตวั ชว้ี ดั ความเสยี่ ง การ (/) ดาเนินการ วตั ถปุ ระสงค์) ค่า ผลคา่ บรรลุ / (x) เปา้ หมาย เปา้ หมาย ไมบ่ รรลุ งานแผนและงบประมาณ ไ ด้ มี ก า ร จั ด ท า ห นั ง สื อ เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร แ ล ะ ติ ด ต า ม ใ น ร ะ เ บี ย บ ว า ร ะ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ณ ะ ประจาเดอื น โดยใหผ้ ้รู ับผดิ ชอบเรง่ ดาเนินการจัดส่งรูปเล่มโครงการ และดาเนินการจัดส่งมายังงาน บริหารและพัฒนาระบบภายใน ระยะเวลา 20 วัน นับต้ังแต่วันที่ สนิ้ สดุ การดาเนนิ โครงการ โครงการ/กจิ กรรม 1. โครงการพัฒนาหลกั สูตร ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ า นวัตกรรมการจดั การภาครฐั เพื่อ การพฒั นาท้องถ่นิ (ศศ.) ผลการดาเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ จัดกิจกรรม การจัดทาหลักสูตร ดงั นี้ กจิ กรรมที่ 1 ประชมุ จดั ทาหลักสูตร ครัง้ ท่ี 1 เม่อื วนั ท่ี 28 พ.ย. 62 กจิ กรรมที่ 2 ประชุมจัดทาหลักสตู ร คร้งั ท่ี 2 เม่ือวนั ที่ 25 ธ.ค. 62 กิ จ ก ร ร ม ที่ 3 ป ร ะ ชุ ม ย ก ร่ า ง หลกั สตู ร เมอ่ื วนั ท่ี 22 ม.ค. 63 กิจ ก ร ร ม ที่ 4 ป ร ะ ชุ ม วิพ า ก ษ์ หลกั สูตร เมอื่ วนั ท่ี 12 ก.พ. 63 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 126
สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดับ ความเสยี่ ง ดาเนิน ไม่ (กิจกรรม/โครงการ/งานทร่ี บั ผดิ ชอบ/ ตวั ชี้วดั ความเสย่ี ง การ (/) ดาเนนิ การ วตั ถุประสงค)์ ค่า ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เปา้ หมาย ไมบ่ รรลุ 2. โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาจีนเพื่ออุตสาหกรรมบริการ (ศศ.) ผลการดาเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ ไดจ้ ดั กจิ กรรมการจดั ทาหลักสูตร ดังนี้ กิจกรรมท่ี 1 ประชุมจดั ทา หลกั สตู ร ครัง้ ที่ 1 เมอ่ื วันท่ี 28 พ.ย. 62 กจิ กรรมที่ 2 ประชมุ จัดทา หลกั สตู ร คร้ังท่ี 2 เมอ่ื วนั ที่ 25 ธ.ค. 62 กิจกรรมที่ 3 ประชมุ ยกรา่ ง หลักสตู ร เม่อื วันท่ี 22 ม.ค. 63 กจิ กรรมท่ี 4 ประชุมวิพากษ์ หลักสตู ร เม่ือวันท่ี 12 ก.พ. 63 กิจกรรมที่ 5 นาเสนอหลักสูตรต่อ สภาวชิ าการ เมือ่ วันท่ี 2 มี.ค. 63 4.3 โครงการพฒั นาทกั ษะธรุ กิจ บรกิ ารสู่มาตรฐานสากล (ศศ.) ผลการดาเนนิ งาน สาขาวชิ าการท่องเท่ียวและ การโรงแรม ได้นานกั ศึกษา สาขาวชิ าการโรงแรมไปศึกษาดงู าน ณ ทา่ อากาศยานสนามบิน สุวรรณภมู ิ จงั หวัดสมทุ รปราการ เม่อื วนั ท่ี 31 ม.ค. 63 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 127
สถานะ ผลการดาเนนิ การ ลาดบั ความเสีย่ ง ดาเนนิ ไม่ (กิจกรรม/โครงการ/งานทีร่ บั ผดิ ชอบ/ ตวั ชี้วดั ความเสยี่ ง การ (/) ดาเนนิ การ วัตถุประสงค์) คา่ ผลคา่ บรรลุ / (x) เปา้ หมาย เปา้ หมาย ไม่บรรลุ 4.4 โครงการพัฒนานักวิจัยให้มี ความสามารถในงานวิจยั โดยระบบ พี่เลี้ยง (ศศ.) ผลการดาเนินงาน คณะศิลปศาสตร์ ดาเนนิ การ จัดอบรมใหก้ ับนักวิจยั โดยการเชญิ วทิ ยาการจากภายนอกมาบรรยาย ณ ห้องประชมุ พันธ์ทุ ิพย์ คณะศลิ ปศาสตร์ ศูนย์ พระนครศรีอยธุ ยา หนั ตราเมอ่ื วนั ที่ 16-17 ก.ค.63 3 ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ 1. ทุกหน่วยงานทบทวนผลการ ประจาปตี ่ากวา่ เปา้ หมาย ดา เ นินงานท่ีผ่า นมา แ ละ วา ง แ ผ น ก า ร เ บิ ก จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ รายจ่ายประจา ให้สอดรับกับ เกณฑ์ท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดไว้ โดยคานึงถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆ เ ช่ น ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร จัดซ้ือจัดจ้าง ช่วงเวลาและความ จาเป็นในการใช้งานหรื อการ ดาเนนิ งานโครงการ ระยะเวลาของ ก ร ะ บ ว น ก า ร เ บิ ก จ่ า ย ใ น ร ะ บ บ GFmis ผลการดาเนินงาน กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตาม ไตรมาสคณะทาการสารวจความ ต้องการผู้ใช้และจัดทาเอกสาร จดั ซื้อจัดจา้ ง ทากระบวนการและ ส่งให้พัสดุกลางตรวจสอบความ ถูกต้องตามกระบวนการ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 128
สถานะ ผลการดาเนินการ ลาดับ ความเส่ียง ดาเนิน ไม่ (กจิ กรรม/โครงการ/งานท่รี บั ผิดชอบ/ ตวั ชี้วดั ความเสย่ี ง การ (/) ดาเนินการ วัตถปุ ระสงค์) คา่ ผลค่า บรรลุ / (x) เป้าหมาย เปา้ หมาย ไมบ่ รรลุ แต่เน่ืองจากมีการไปกรอกข้อมูล การใช้จ่ายเงิน จึงทาให้พัสดุกลาง ของมหาวิทยาลัยไม่สามารถเข้า ระบบเพื่อกรอกข้อมูลได้ พัสดุ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ร หั ส ก า ร เ ข้ า ม ห า วิ ท ย า ลั ย ต้ อ ง ร อ ร หั ส จ า ก กรมบัญชีกลาง จึงทาให้ส่งผลให้ ยอดการเบิกจ่ายเงินของคณะยังไม่ ขน้ึ ตามทค่ี ณะใช้จ่ายจริง 2 . ผู้รับผิดชอบโครงการ และ ผู้รวบรวมเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ ของหน่วยงานเร่งรัดการจัดส่ง ภายใน 30 วนั หลังเสรจ็ สิ้นโครงการ ผลการดาเนินงาน จัดทาหนังสอื เป็นลายลกั ษณ์ อกั ษรและตดิ ตามในระเบียบวาระ การประชุมคณะกรรมการบริหาร คณะประจาเดอื น โดยให้ ผรู้ บั ผิดชอบเรง่ ดาเนนิ การจัดสง่ รปู เลม่ โครงการ และดาเนินการ จดั สง่ มายังงานบรหิ ารและพัฒนา ระบบภายในระยะเวลา 20 วัน นับตง้ั แต่วนั ทส่ี น้ิ สดุ การดาเนิน โครงการ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 อยู่ในช่วงระหว่างดาเนินการตามแผนของมหาวิทยาลัยต่อไป (F1-5.1-3.3) โดยทางคณะศลิ ปศาสตร์ไดจ้ ัดต้ังคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ประจาปี พ.ศ. 2564 และดาเนินการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (F1-5.1-3.4) (F1-5.1-3.5) ดังต่อไปน้ี รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 129
ลาดับ ความเสยี่ ง การจัดการความเสยี่ ง ที่ (2.1) กลยทุ ธ์ ตวั ชว้ี ดั มาตรการ/กระบวนการ/ กาหนดเสร็จ งบประมาณ ผู้กากบั ตดิ ตาม 1 จานวนการรบั การจัดการ ความเสย่ี ง โครงการ/กิจกรรม ปกี ารศกึ ษา 2563 - (เบอรต์ ดิ ตอ่ ) นกั ศกึ ษาไมเ่ ป็นไป (4.3) ปีการศึกษา 2563 - ตามแผนการรบั (4.1) (4.2) มกราคม 2564 สาขาวิชา นกั ศกึ ษา 1)Reduce(Treat) ร้ อ ย ล ะ จ า น ว น 1) โครงการแนะแนวใน กมุ ภาพนั ธ์ 2564 86,500 ท่องเท่ยี วและ ลดปรมิ าณความ นักศึกษาตามแผน ร า ย วิ ช า สั ม ม น า ปีการศึกษา 2563 30,000 การโรงแรม เสียหายใหน้ อ้ ยลง รับไม่น้อยกว่าร้อย สาขาวชิ าการท่องเที่ยว ปีการศกึ ษา 2563 (ควบคมุ ) ละ 80 และการโรงแรม - ฝ่ายพฒั นา 2)Prevent กันยายน 2564 นักศกึ ษา (Treat) ลดโอกาส ร้ อ ย ล ะ ข อ ง 2) กิ จ ก ร ร ม แ น ว แ น ะ 120,000 ที่จะเกิดใหน้ ้อยลง บุ ค ล า ก ร ที่ มี ร่ ว ม กั บ ก อ ง พั ฒ น า สิงหาคม 2564 ฝา่ ยพัฒนา (ควบคมุ ) ต า แ ห น่ ง ท า ง นักศึกษา นกั ศกึ ษา วชิ าการไมน่ ้อยกว่า 2 บุคลากรสายวชิ าการ Prevent (Treat) ร้อยละ 30 3) โครงการแนะแนวน้อง สาขาวิชาภาษา ยังมตี าแหน่งทาง ลดโอกาสทจ่ี ะเกดิ มอบศลิ ปศาสตร์ ศูนย์สพุ รรณบุรี วชิ าการไม่เปน็ ไปตาม ใหน้ ้อยลง ศูนย์นนทบุรี เกณฑท์ ี่กาหนด (ควบคมุ ) 4) โครงการสอนเสริมกับ โ ร ง เ รี ย น ใ น ชุ ม ช น ฝา่ ยวชิ าการและ ใกลเ้ คียง วจิ ัย 5) กิ จ ก ร ร ม แ น ะ แ น ว ฝ่ายบรหิ ารและ การศึกษาสัญจรรว่ มกับ พฒั นาระบบ กองบริหารทรัพยากร นนทบุรี ดร.จิดาภา เรง่ มี ศรสี ุข 6) การจัดทาห้องเรียน ร า ช ม ง ค ล ร่ ว ม กั บ สถานศึกษา 1) โครงการฝึกอบรมเพื่อ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ด้ า น การเขียนผลงานทาง วชิ าการ 2) ส่งเสริมการทาผลงาน ทางวิชาการ รายบุคคล 3) โครงการจัดทาวารสาร ศิลปศาสตร์ราชมงคล สวุ รรณภมู ิ 3 อาจารยป์ ระจาที่มี Prevent (Treat) ร้ อ ย ล ะ ข อ ง 1) การจดั ทาแผนพัฒนา กันยายน 2564 งานบริหารและ พัฒนาระบบ คุณวุฒิ ป.เอก ไม่ ลดโอกาสท่ีจะเกดิ บุคลากรที่มีคุณวุฒิ ตนเองแบบ IDP เป็นไปตามเกณฑ์ ใหน้ อ้ ยลง ป.เอก ไม่น้อยกว่า (Individual มาตรฐานการประกัน (ควบคมุ ) รอ้ ยละ 30 Development Plan) คณุ ภาพ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 130
ลาดับ ความเสยี่ ง การจัดการความเส่ยี ง ท่ี (2.1) กลยุทธ์ ตวั ชี้วดั มาตรการ/กระบวนการ/ กาหนดเสร็จ งบประมาณ ผู้กากบั ตดิ ตาม ความเสยี่ งด้านการเงนิ การจัดการ ความเสี่ยง โครงการ/กจิ กรรม มิถุนายน 2564 (เบอร์ติดต่อ) 1 งบประมาณการ (4.3) (4.1) (4.2) สนบั สนนุ งานดา้ น วิจยั และงาน Prevent (Treat) จ า น ว น เ งิ น 1) ส่งเสริมความร่วมมือกับ 60,000 ฝา่ ยวชิ าการและ สรา้ งสรรค์ไมเ่ ปน็ ไป ลดโอกาสทจ่ี ะเกดิ สนับสนุนงานวิจัย หน่วยงานภาครัฐและ วิจยั ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ใหน้ อ้ ยลง ไม่น้อยกวา่ 25,000 ภาคเอกชนภายนอก (ควบคมุ ) บาท/คน เ พื่ อ ส นั บ ส นุ น เ งิ น ทุ น วิจัยในการพัฒนาด้าน ต่างๆ 2) เสนอให้มหาวิทยาลัย เพ่ือขอปรับข้อบังคับให้ คณะหรือหน่วยงา น สามารถสนับสนุนทุน วิจั ย ร ะ ดับ ต้ นให้ กั บ นกั วิจัยใหม่ 3) โครงการพัฒนานักวิจัย ให้มีความสามารถใน ง า น วิ จั ย โ ด ย ร ะ บ บ พี่ เล้ยี ง รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 131
ลาดับ ความเส่ียง การจดั การความ กาหนดเสรจ็ งบประมาณ ผกู้ ากับตดิ ตาม ลาดับ ความเส่ียง (เบอร์ติดตอ่ ) ที่ (2.1) ท่ี (2.1) เส่ยี ง 12,000 ฝ่ายพฒั นา ความเส่ยี งจากเหตกุ ารณภ์ ายนอก 30,000 นกั ศกึ ษา 40,000 สาขาวิชา 1 การรองรบั บณั ฑิต Reduce ร้ อ ย ล ะ ข อ ง 1) ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม 350,000 ท่องเท่ยี ว ทจ่ี บให้มีงานทา (Treat) ลด 60,000 ปริมาณความ บัณฑิตที่มีงาน เครือขา่ ยสัมพันธ์กับ ศูนย์ เสียหายให้ สุพรรณบรุ ี น้อยลง ทาไม่น้อยกว่า สถานประกอบการ (ควบคมุ ) สาขา รอ้ ยละ 70 (MOU) สงั คมศาสตร์ 2) โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า กรกฎาคม และ 2564 มนุษยศาสตร์ แนวคิดศษิ ย์เก่า ฝ่ายวชิ าการ 3) โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า มีนาคม 2564 และวิจยั ศักยภาพนักศึกษา เพื่อเตรี ยมควา ม มีนาคม 2564 สาขาวชิ า พ ร้ อ ม สู่ ก า ร เ ป็ น มกราคม 2564 ภาษา บั ณ ฑิ ต นักป ฏิ บั ติ กิจกรรม ท่องเที่ยว ปีการศกึ ษา สญั จร 2563 4) โครงการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรม นักศึกษา ประจาปี 2564 5) โครงการส่งเสริม พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ นักศึกษาสู่การเป็น บั ณ ฑิ ต นักป ฏิ บั ติ เพ่ือเตรี ยมควา ม พร้อมสู่โลกอาชีพใน ศตวรรษที่ 21 6) โครงการเพิ่มพูน ความรู้ และเตรียมความ พร้อมการสอบ NEW TOEIC ใหก้ ับนักศกึ ษา รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 132
4. บริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอยา่ งครบถ้วนทงั้ 10 ประการท่ีอธบิ ายการดาเนนิ งานอย่างชัดเจน ผู้บริหารคณะศลิ ปศาสตร์ บริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลของการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี (Good Governance) ท่ีเหมาะสมมาปรับใชใ้ นภาครฐั ดังนี้ 1. หลักประสิทธิผล (Effectiveness) นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ตวั บง่ ชี้คุณภาพที่นาไปสู่การปฏิบตั ิอย่างเปน็ ระบบโดยคณะผ้บู รหิ าร ได้แก่ คณบดี รองคณบดี ผูช้ ่วยคณบดี หวั หน้าสาขาวิชา และบคุ ลากรของคณะ รว่ มระดมความเห็นในการจัดทา ทบทวนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะศิลปศาสตร์ พ.ศ. 2560-พ.ศ. 2564 (F1-5.1-4.2) และจัดทาแผนปฏบิ ัติ การประจาปีของคณะ (F1-5.1-4.3) เสนอคณะกรรมการประจาคณะเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ในการประชุมเมื่อวันที่ 15 มกราคม 64 (F1-5.1-4.4) และได้มีการติดตามประเมินผลการดาเนินงาน ตามแผนปฏิบัติราชการในการประชุมคณะกรรมการบริหารคณะศิลปศาสตร์ คร้ังท่ี 1/2564 เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2564 (F1-5.1-4.5) เพื่อนาผลการประชุมและข้อเสนอแนะไปพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานอย่าง ตอ่ เนื่องและเป็นระบบบ 2. หลักประสิทธภิ าพ (Efficiency) ผบู้ รหิ ารได้มีการกาหนด ใหม้ กี ารดาเนินงานของคณะฯ เพ่ือใหม้ ีการบริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่ อยา่ งจากัดใหค้ วามคุ้มคา่ มากท่ีสุดท้ังการใช้หอ้ งเรียนและอปุ กรณ์การเรียนการสอน มีระบบเครอื ข่ายสารสนเทศ เคร่ืองมือโสตทัศนูปกรณ์ ห้องสืบค้น ห้องปฏิบัติการทางภาษา เพื่อการจดั การเรียนการสอนและการบริหารงาน ให้เกิดประสิทธิภาพต่อนักศึกษาและบุคลากร ได้แก่ มีระบบอินเตอร์เน็ต Wifi ภายในอาคารคณะศิลปศาสตร์ มีเคร่ืองโสตทัศนูปกรณ์ทุกห้องเรียนไว้บริการนักศึกษาและอาจารย์ในการเรียนการสอน และมีห้องสืบค้น ให้นักศึกษาได้ศึกษาข้อมูลในรายวิชาที่ศึกษาและศึกษาข้อมูลที่ต้องการ มีห้องฝึกปฏิบัติการทางภาษาเพื่อให้ นักศึกษาได้ฝึกฝนจนเกิดความชานาญต่อภาษา (F1-5.1-4.6) ในส่วนของการปฏิรูปงานของคณะศิลปศาสตร์ เพ่ือให้เกิดความคล่องตัวมีประสิทธิภาพและมีความสัมพันธ์ในการทางานกับผู้บริหารดียิ่งข้ึน ได้มีการปรับปรุง การประชุมให้มีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน เช่น มีการจัดประชุมผ่านระบบเครือข่ายในช่วงการระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อประยกุ ต์ใช้กับเทคโนโลยี เป็นต้น นอกจากนย้ี ังมีการกากับดูแลการใช้งาน ทรัพยากรต่างๆ ให้ดูมีค่ามากท่ีสุด โดยมีการรายงานปัญหาและข้อปรับปรุงพัฒนาในการประชุมคณะกรรมการ บริหารคณะเปน็ ประจาอยา่ งสมา่ เสมอ 3. หลกั การตอบสนอง (Responsiveness) ผู้บริหารได้เน้นการให้บริการของสานักงานคณบดีที่สามารถดาเนินการได้ภายในระยะเวลา ท่ีกาหนด เพ่ือให้บรรลุตามพันธกิจของคณะในทุกพันธกิจ โดยได้มีการปรับปรุงพัฒนาระบบงานสารบรรณของ คณะให้มีความรวดเร็วลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน นาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพื่อให้สะดวกและ รวดเร็ว (F1-5.1-4.7) และจัดให้มีการบริการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนท่ีดี โดยเน้นพัฒนาปรับปรุง ห้องสบื ค้น ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องปฏิบตั ิการการท่องเท่ียวและการโรงแรม เพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียน รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 133
การสอนทางด้านภาษา และการปฏิบัติงานการท่องเท่ียวและการโรงแรมของนักศึกษา อีกท้ังยังได้มีการจัดทา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (SOP) (F1-5.1-4.8) เพื่อประชาสัมพันธ์ระยะเวลาขั้นตอนและกระบวนการในการ ให้บริการต่างๆ เพ่ือตอบสนองความคาดหวังและความต้องการในการรับบริการของผู้รับบริการโดย มีการประชาสัมพันธ์ลงในเว็บไซต์ของคณะ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือและสร้างเครือข่ายเช่ือมโยง ความเช่ยี วชาญ และร่วมใชท้ รพั ยากรเพื่อลดชอ่ งว่างความเหล่อื มลา้ ในสังคมกับหน่วยงานอ่ืน ๆ 4.หลักภาระรบั ผิดชอบ(Accountability) ผู้บริหารได้มีการเน้นให้บุคลากรมีความรับผิดชอบในหน้าที่โดยได้จัดทาคาส่ังมอบหมายหน้าท่ี ความรับผิดชอบให้รองคณบดี รองคณบดีประจาศูนย์ ผู้ช่วยคณบดี และหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อให้มีหน้าท่ี รับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงานและเป้าหมายขององค์กรตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย (F1-5.1-4.9) พร้อมท้ัง คณะได้แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามผลการดาเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี 2564 เพ่ือรายงาน ตอ่ มหาวิทยาลัย ทกุ วันท่ี 5 ของเดือน (F1-5.1-4.10) 5.หลักความโปร่งใส (Transparency) ผู้บริหารมีการบริหารงานด้วยความโปร่งใส มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแก่ภาคส่วนต่าง ๆ หลายช่องทอง เช่น เว็บไซต์คณะฯ ป้ายประชาสัมพันธ์ บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ (F1-5.1- 4.11) อกี ทั้งการตัดสินใจและการดาเนินการตา่ งๆของคณะตั้งอยู่บนกฎหมายระเบยี บและข้อบงั คับอย่างชัดเจน รวมถงึ มีการประเมินผลการปฏิบัตงิ านของบุคลากรทเ่ี ป็นธรรม โดยยึดหลักเกณฑท์ ี่มหาวิทยาลัยกาหนดสามารถ ตรวจสอบได้ โดยใหบ้ คุ ลากรที่รบั การตรวจประเมินเซน็ ตร์ บั ทราบผลการประเมินทกุ คร้งั (F1-5.1-4.12) 6.หลกั การมสี ว่ นรว่ ม (Participation) ผู้บริหาร บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการคณะให้เป็นไปตามความรับผิดชอบ ท่ผี บู้ รหิ ารไดร้ ับมอบหมายจากมหาวทิ ยาลัยมามอบหมายให้แก่บุคลากรในคณะ ผู้รว่ มปฏิบัติงาน เสนอความเห็น ฟังความเห็นในการประชุม ร่วมกันแก้ไขปัญหาอุปสรรคให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานประจาปี นอกจาก น้ผี ูบ้ รหิ ารได้ใหบ้ คุ ลากรทกุ ระดบั มสี ่วนร่วมในการจดั ทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2560– 2564 และแผนปฏิบัติการประจาปี ในการประชุมคณะกรรมการบริหารคณะศลิ ปศาสตร์ โดยคณะมกี ารถ่ายทอด แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ พ.ศ.2560–2564 ให้แก่บุคลากรภายในคณะได้รับทราบในโครงการทบทวน ประเมนิ และจดั ทาแผนพัฒนาคณะศลิ ปศาสตร์ ประจาปี 2564 (F1-5.1-4.13) 7.หลกั การกระจายอานาจ (Decentralization) ผู้บริหารคณะศิลปศาสตร์ได้มีการกระจายอานาจรวมท้ังการมอบอานาจแล ะความรับผิดชอบใน การตัดสินใจและการดาเนินงานให้แก่รองคณบดีตามโครงสร้างการบริหารงานของคณะโดยให้รองคณบดี สามารถดาเนินการตามภารกิจที่ได้รับมอบอานาจโดยมีอิสระตามสมควรโดยเฉพาะในเร่ืองการตัดสินใจ และรับผิดชอบในการดาเนินการตามภาระงานอานาจหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายจากคณบดีโดยมุ่งเน้นให้เกิด ความคล่องตัวในการดาเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการในการลดขั้นตอนและระยะเวลาใน การรบั บริการ (F1-5.1-4.14) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 134
8. หลกั นติ ธิ รรม (Rule of Law) คณะศิลปศาสาตร์ มีการบริหารจัดการภายในคณะ โดยดาเนินการอย่างเป็นธรรมไม่เลือกปฏิบัติ คานงึ ถงึ สิทธิเสรภี าพของผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี ภายใตก้ ฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และแนวปฏิบตั ิของมหาวทิ ยาลัยอย่าง เคร่งครัด จัดให้มีการกาหนดโครงสร้างการบริหารงาน และกาจัดสายงานเพ่ือปฏิบัติงานเป็นไปตามภารกิจ รวมท้ังบุคลากรผู้ปฏิบัติงานตระหนักถึงจรรยาบรรณ คุณธรรม มีความซ่ือสัตย์ สุจริต ซึ่งต้องปฏิบัติตาม จรรยาบรรณ (F1-5.1-4.13) 9. หลักความเสมอภาค (Equity) ผู้บริหารได้เน้นการปฏิบัติและการให้บริการอย่างเท่าเทียมต่อบุคลากรทั้งสายวิชาการและ สายสนับสนุน นักศึกษาและผู้รับริการอ่ืนๆ โดยไม่มีการแบ่งแยก และได้มีนโยบายให้บุคลากรทุกระดับเข้ารับ ฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาตนเอง (F1-5.1-4.16) และเปิดโอกาสให้บุคลากรเข้ารับการศึกษาในคุณวุฒิที่สูงขึ้น ตามแผนการพัฒนาบคุ ลากร (F1-5.1-4.17) 10.หลกั มุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) ผู้บริหารมุ่งเน้นให้มีกระบวนการพิจารณาวาระสาคัญๆ ของคณะ ผ่านการประชุมคณะกรรมการ บริหารคณะโดยเป็นเร่ืองเสนอเพ่ือพิจารณาที่สาคัญๆ เช่นการพิจารณาระดับผลคะแนนนักศึกษาประจาภาค การศกึ ษา การพจิ ารณาเสนอชื่อผ้สู มควรไดร้ ับการคัดเลือกให้เป็นบุคลากรดเี ดน่ ประจาปี รวมท้ังพจิ ารณาผลการ ปฏิบตั ริ าชการเพือ่ เล่ือนขั้นเงนิ เดือนคา่ จา้ ง เปน็ ต้น (F1-5.1-4.18) มีการมอบหมายภาระงานระหว่างปิดภาคการศึกษาแก่คณาจารย์ผ่านหัวหน้าสาขาวิชาในการ ประชุมกรรมการบริหารคณะ (F1-5.1-4.19) มีการประชุมเพื่อจัดทา มคอ.3 รายวิชาต่างๆ ซ่ึงเกิดจากการ รวมกันระดมความคดิ เห็นในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอนร่วมกนั ของอาจารย์ประจาวิชา และอาจารยท์ กุ คนในคณะเพื่อเสนอต่อผบู้ ริหารเพื่อพจิ ารณาอนุมัติต่อไป (F1-5.1-4.20) 5. ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีจากความรู้ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคล ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรงและแหล่งเรียนรู้ อ่ืนๆ ตามประเด็นความรู้ อย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย จัดเก็บอย่าง เปน็ ระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรและนามาปรับใชใ้ นการปฏิบตั ิงานจรงิ คณะศิลปศาสตร์ได้ดาเนินการทาแผนการจัดการความรู้ (KM) ประจาปีการศึกษา 2563 โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ ประจาปีการศึกษา 2563 (F1-5.1-5.1) โดยได้มีการกาหนด กลุ่ม เป้าหมายและผู้รับผิดชอบการจัดการความรู้ตามแผน (F1-5.1-5.2) อย่างเป็นรูปธรรมและมีความ ครอบคลุมตามพนั ธกจิ หลักของคณะทั้ง 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1 ดา้ นการเรยี นการสอน 2 ด้านวิจยั 3 ด้านบริการวิชาการ 4 ด้านการทานุบารงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม /อนรุ กั ษพ์ ลังงานและสง่ิ แวดล้อม รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 135
5 ด้านการบรหิ ารจัดการ ซ่งึ ผูบ้ ริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) มีมตเิ ห็นชอบโดยให้ดาเนนิ การตามแผนการจัดการ ความรู้ ประจาปีการศึกษา 2563 ใหส้ อดคลอ้ งกบั พันธกจิ ของคณะจานวน 4 พันธกิจ แผนท่ี 1 ด้านการเรยี นการสอน การจดั การเรยี นการสอนเพ่ือผลิต/พฒั นาบณั ฑิตและกาลังคน รองรับอตุ สาหกรรมเป้าหมายของ ประเทศ แผนท่ี 2 ด้านวจิ ัย การสรา้ งผลงานวจิ ยั และนวตั กรรม/งานสรา้ งสรรค์ ทส่ี รา้ งประโยชน์ให้มหาวิทยาลัย ชุมชน สังคม และประเทศ แผนที่ 3 ด้านบริการวชิ าการ การสร้างผลงานบริการวิชาการทสี่ ร้างประโยชนใ์ ห้มหาวิทยาลยั ชุมชน สงั คม และประเทศ แผนที่ 4 ดา้ นการทานุบารุงศลิ ปะและวัฒนธรรม /อนุรักษพ์ ลงั งานและสง่ิ แวดลอ้ ม การสร้างความยัง่ ยืนทางศิลปวัฒนธรรมหรอื การอนุรักษ์พลังงานสิง่ แวดล้อม แผนท่ี 5 ดา้ นการบริหารจัดการ การพัฒนาการบริหารจดั การมหาวิทยาลยั เพ่ือรองรบั ความเปล่ยี นแปลงได้อยา่ งมัน่ คง ซง่ึ ทางคณะศิลปศาสตร์ ดาเนินการจัดทาแผนการจัดการความรูข้ องหนว่ ยงาน ประจาปีการศกึ ษา 2563 ดังน้ี การจาแนกองคค์ วามร้ทู จี่ าเป็นตอ่ การผลักดนั ตามประเด็นยทุ ธศาสตรข์ องสว่ นราชการ ชือ่ สว่ นราชการ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภูมิ แผนการ เป้าประสงค์ องค์ความรู้ทจ่ี าเป็น ตัวชวี้ ดั (KPI) เปา้ หมาย เหตผุ ลทเ่ี ลอื ก จัดการความรู้ สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร/์ พนั ธกิจ (Objective) ต่อการปฏบิ ัตริ าชการ ของตัวชว้ี ดั องคค์ วามรู้ ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร/์ จานวนผลงาน วิ จั ย แ ล ะ จานวน อ ง ค์ ค ว า ม รู้ พนั ธกิจ นวัตกรรม / ผ ล ง า น วิ จั ย ท่ี เ น้ น ก า ร มี งานสรา้ งสรรค์ ไ ด้ น า ไ ป ใ ช้ ส่ ว น ช่ ว ย แผนที่ 1 พั น ธ กิ จ ที่ 2 ส ร้ า ง ง า น วิ จั ย ผ ล ง า น การสร้างผลงานวิจัย และ เ พ่ื อ ร อ ง รั บ ป ร ะ โ ย ช น์ ตอบสนองเพ่ือ อุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่า 2 ก า ร พั ฒ น า ด้านวจิ ยั สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เพื่อพัฒนา เทคโนโลยี วิจัย นวัตกรรม/งานสร้างสรรค์ ท่ี เป้าหมาย เรอ่ื ง แ ผ น พั ฒ น า ระดับคณะ สังคมและเพ่ิมขีดความสามารถใน และนวัตกรรม ส ร้ า ง ป ร ะ โ ย ช น์ ใ ห้ การแข่งขนั ของประเทศ เ พื่ อ ร อ ง รั บ มหาวิทยาลัย ชุมชน สังคม อุ ต ส า ห ก ร ร ม และประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาเทคโนโลยี เป้ า ห มา ย ข อ ง วิจัย และนวัตกรรมเพื่อรองรับ ป ร ะ เ ท ศ ไ ด้ อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ น า ไ ป ใ ช้ ประโยชน์เพม่ิ ขึน้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 136
การจาแนกองคค์ วามรทู้ ่ีจาเป็นตอ่ การผลักดนั ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตรข์ องสว่ นราชการ ชือ่ สว่ นราชการ : คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ แผนการ เป้าประสงค์ องคค์ วามรู้ที่จาเปน็ ตัวชี้วดั (KPI) เป้าหมาย เหตผุ ลทีเ่ ลือก จัดการความรู้ สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร/์ พันธกิจ (Objective) ต่อการปฏบิ ตั ริ าชการ ของตวั ช้วี ดั องค์ความรู้ ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร/์ -จานวน ชุ ม ช น / -จานวน พันธกิจ ห น่ ว ย ง า น ที่ ห น่ ว ย ง า น / เป็นเครือข่าย ชุม ช น ท่ี เ ป็ น แผนที่ 2 พันธกิจท่ี 3 ให้บริการวิชาการแก่ 1. มหาวิทยาลัย การสร้างผลงานบริกา ร ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เครือข่ายความ ด้า นพั นธ กิ จ ร่ ว ม มื อ ด้ า น ด้ า น บ ริ ก า ร ชุ ม ช น สั ง ค ม บ น พ้ื น ฐ า น เ ป็ น ที่ พึ่ ง ข อ ง วิชาการ ท่ีสร้างประโยชน์ให้ สั ม พั น ธ์ กั บ พั น ธ กิ จ คณะ สั ม พั น ธ์ กั บ วิชาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชุมชน และสังคม มหาวิทยาลัย ชุมชน สังคม คณะ ไม่น้อย ก ว่ า 2 2. เ กิ ด ค ว า ม และประเทศ หน่วยงาน ยุทธ ศา ส ตร์ ที่ 4 ส่ งเ สริม แ ล ะ มั่ น ค ง แ ล ะ ส นั บ ส นุ น พั น ธ กิ จ สั ม พั น ธ์ สามารถพึงพา มหาวทิ ยาลยั กับสังคม ต น เ อ ง ไ ด้ ใ น อนาคต แผนท่ี 3 พันธกิจที่ 4 ส่งเสริมการทานุบารุง 1.เ ป็ น ก า ร ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ย่ั ง ยื น ท า ง -จ า น ว น -จ า น ว น ด้ า น ก า ร ท า นุ ศา สนา ศิลป วัฒนธ รรม แ ละ เ ผ ย แ พ ร่ อ ง ค์ วัฒนธรรมหรือการอนุรักษ์ โครงการ/ โครงการ/ บ า รุ ง ศิ ล ป ะ อนรุ กั ษส์ ่ิงแวดล้อม ค ว า ม รู้ ด้ า น พลงั งานส่งิ แวดล้อม กิ จ ก ร ร ม ด้ า น กิจ กรรม ไม่ และวฒั นธรรม ศิลปวัฒนธรรม ทานุบารุงศิลป น้ อ ย ก ว่ า 1 ยุทธ ศา ส ตร์ ท่ี 4 ส่ งเ สริม แ ล ะ โ ด ย ก า ร บู ร ณ า วัฒนธ รรที่ มี โครงการ/ ส นั บ ส นุ น พั น ธ กิ จ สั ม พั น ธ์ ก า ร ใ ห้ เ ข้ า กั บ การบูรณาการ กจิ กรรม มหาวทิ ยาลัยกับสังคม พันธกจิ อ่นื กบั พันธกิจอน่ื รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 137
ซง่ึ ทางคณะศลิ ปศาสตร์ ไดด้ าเนินการจัดกจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรูแ้ นวปฏิบัติท่ีดี (KM Day) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ดงั นี้ (1)CoP ด้านวจิ ัย การสรา้ งผลงานวิจัย และนวัตกรรม/งานสรา้ งสรรค์ ทส่ี ร้างประโยชน์ให้มหาวทิ ยาลัย ชมุ ชน สังคม และประเทศ ผนู้ าเสนอ (1) อาจารย์ ว่าทีร่ ้อยตรี ดร.ธนรตั น์ รตั น์พงษ์ธระ เร่อื ง การสกดั โจทยว์ จิ ัยเพื่อบรู ณา การการสอนและการคนื ประโยชน์ส่สู ังคม (2) อาจารย์ ดร.จดิ าภา เรง่ มศี รีสขุ เร่อื ง นวตั กรรมการวิจัย : สรา้ งคน สร้างงาน สรา้ งรายได้ สร้าง เครอื่ ข่าย การพัฒนาอย่างยงั่ ยนื ผกู้ ากับการเสวนา อาจารย์ ดร.ธารนี นวสั นธี ผูช้ ว่ ยคณบดี (ดา้ นวจิ ัยและนวัตกรรม) จดั กิจกรรมเม่อื วันพุธที่ 9 มถิ ุนายน 2564 เวลา 09.00 น. ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม 51 คน (2) CoP ด้านบรกิ ารวิชาการ การสรา้ งผลงานบรกิ ารวชิ าการท่สี ร้างประโยชน์ใหม้ หาวทิ ยาลยั ชมุ ชน สงั คม และประเทศ ผนู้ าเสนอ (1) อาจารย์พัฒนพงษ์ ธงหาร และอาจารยฐ์ าปกรณ์ อว่ มสถิตย์ เรื่อง ทาดีไม่มีใครจ้าง (2) อาจารยร์ จุ กิ า ธรรมลักษมี และอาจารย์กนั ตวีร์ เวียงสมิ า เรอ่ื งตอ่ ยอดเครอื ขา่ ยงาน บริการวชิ าการภาษาองั กฤษ (3) อาจารย์ ดร.ฐาปกรณ์ ทองคานุช เร่ืองการสร้างผลงานบริการวชิ าการทีส่ ร้าง ประโยชนใ์ ห้มหาวิทยาลัย ชุมชน สังคม และประเทศ (4) อาจารยว์ รรษา พรหมศลิ ป์ เรอ่ื งการสร้างความมน่ั ใจให้ชมุ ชน ผู้กากับการเสวนา อาจารยพ์ ิมพ์พร พมิ พ์สุวรรณ ผชู้ ว่ ยคณบดี จดั กจิ กรรมเม่ือวนั พธุ ท่ี 9 มิถุนายน 2564 เวลา 13.00 น. ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม 47 คน (3) CoP ด้านการเรียนการสอน การจดั การเรียนการสอนเพอื่ ผลติ /พฒั นาบณั ฑิตและกาลังคน รองรบั อตุ สาหกรรมเป้าหมายของ ประเทศ ผู้นาเสนอ (1) ผ้ชู ่วยศาสตราจารยน์ ันทวดี วงษเ์ สถยี ร ห้วขอ้ เรอ่ื ง “Development of Creative English Media for Cultural Tourism in Ayutthaya via Project-based Learning” (2) อาจารย์ผอ่ งพรรณ สาคะรังค์ หวั ข้อ “Cultivating Cross-Cultural Sensitivity in Language Classrooms” (3) อาจารย์สนธยา รัตนศักดิ์ หวั ข้อ “English Language Teaching Materials Development” รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 138
(4) อาจารย์ ดร.ทวิ า ใจหลกั หัวข้อ “English Learning Management with Active Learning towards the Development of Learning Technique in the 21st Century” ผกู้ ากบั การเสวนา อ.วันดี ศรสี วัสด์ิ รองคณบดี (ด้านวิชาการและวจิ ยั ) จัดกิจกรรมเม่อื วันพุธท่ี 16 มิถุนายน 2564 เวลา 09.00 น. ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม 56 คน (4) CoP ด้านการทานบุ ารุงศลิ ปะและวัฒนธรรม การสรา้ งความยั่งยนื ทางศิลปวัฒนธรรมหรือการอนรุ ักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อม ผ้นู าเสนอ (1) รองศาสตราจารยส์ ายหยดุ อุไรสกุล เรอ่ื งการศึกษาภมู วิ ฒั นธรรมชมุ ชนดงั่ เดมิ ยา่ น คลองสวนพลู (2) อาจารย์ ดร.บญุ สมหญงิ พลเมอื งดี เรอ่ื งวัฒนธรรม วิถีชีวิต ชาตพิ นั ุล์ าวเวียง ตาบล ดอนคา อาเภออูท่ อง จังหวัดสพุ รรณบุรี ผู้กากบั การเสวนา อาจารย์นัทธี เพชรบุรี รองคณบดี (ดา้ นพฒั นานกั ศึกษา) จัดกจิ กรรมเมื่อวันพุธท่ี 16 มิถนุ ายน 2564 เวลา 13.00 น. ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม 57 คน (5) Cop ดา้ นการบริหารจดั การ การพัฒนาการบริหารจดั การมหาวทิ ยาลยั เพื่อรองรบั ความเปล่ยี นแปลงได้อยา่ งมนั่ คง ผนู้ าเสนอเสวนา นางสดุ ารตั น์ อา่ ปัน้ เรือ่ งเทคนิคการเตรยี มความพร้อมเพื่อขอกาหนดตาแหน่งท่ี สงู ขนึ้ ของบคุ ลากรสายสนับสนนุ ผ้กู ากบั การเสวนา (1) อาจารย์ ดร.สมั พนั ธ์ สกุ ใส รองคณบดี (2) นางสาวมลฤดี ทบั พรม หัวหน้าสานักงานคณบดี จดั กจิ กรรมเมอ่ื วันศุกร์ท่ี 18 มถิ นุ ายน 2564 เวลา 09.00 น. ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม 24 คน เนอ่ื งจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดเชอื้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) ระลอกใหมท่ ี่ยงั ทวีความรุนแรง จึงตอ้ งดาเนนิ การจดั กจิ กรรมในรปู แบบออนไลน์ เพ่อื เปน็ การลดการรวมตวั กันและเว้นระยะห่างทางสงั คม ในปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ แนวปฏิบัติท่ีดี (KM DAY) ประจาปีการศึกษา 2563 ในวันที่ 29 มิถุนายน 2564 ซ่ึงคณะศิลปะศาสตร์ได้ส่ง บทความแนวปฏิบัติท่ีดี เพื่อเข้ารว่ มกจิ กรรมท้ังส้นิ จานวน 6 บทความ โดยได้รบั รางวัลจานวน 4 บทความ ดงั น้ี บทความด้านการเรยี นการสอน ผชู้ ่วยศาสตาจารย์นนั ทวดี วงษ์เสถยี ร บทความด้านทานบุ ารงุ ศลิ ปและวฒั นธรรมและการอนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อม รองศาสตราจารยส์ ายหยุด อุไรสกุล อาจารย์ ดร.บุญสมหญิง พลเมอื งดี รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 139
บทความด้านบรหิ ารจัดการ นางสาวสดุ ารัตน์ อ่าปัน้ โดยทางคณะศิลปศาสตร์ได้ดาเนินการรวบรวมจัดเก็บและเผยแพร่แนวปฏิบัติท่ีดี ประจา ปีการศึกษา 2563 ยังเว็ปไซร์ของคณะศิลปะศาสตร์ (http://www.arts.rmutsb.ac.th) เช่น แผนการจัด การความรู้ ประจาปีการศึกษา 2563 เอกสารประกอบการบรรยายของผู้นาเสนอแนวปฏิบัติที่ดี วีดีโอการจัด กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี เพื่อเป็นการเผยแพร่ให้องค์ความรู้ของแนวปฏิบัติท่ีดี ประจา ปีการศกึ ษา 2563 แก่บุคลากรภายในคณะและผ้ทู ่ีสนใจนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป 6. การกากับติดตามผลการดาเนินงานตามแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและ สายสนับสนนุ คณะศิลปศาสตร์มีการจัดทาแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์สายวิชาการ และแผน การบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์โดยการจัดทาแผนพัฒนา บุคลากรประจาปีงบประมาณ 2562ภายใต้แผนพัฒนาบุคลากรระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2558– 2562) โดยคานึงถึง โครงสร้างขององค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ แผนงาน นโยบายในการพฒั นาบุคลากร และ ระบบการบริหารงานบุคคลที่มีการบริหารจัดการบนพ้ืนฐานของทักษะความรู้ และความสามารถเพ่ือให้เกิดผล งานท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ดงั ตอ่ ไปนี้ (5.1-6.1) (1) คณะมีแผนการพฒั นาบคุ ลากรด้านอัตรากาลังโดยการนาข้อมูลภาระงานสอนมาวเิ คราะหค์ วาม ต้องการอัตรากาลังของพนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการ ที่ต้องการเพ่ิมตามกรอบอัตรากาลัง ปีงบประมาณ 2563 จานวน 2 อัตรา สาขาวิชาการท่องเทีย่ วและการโรงแรม (การทอ่ งเที่ยว) คณุ วฒุ ิปริญญาโท (5.1-6.2) (2) คณะมีแผนการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาคุณวุฒิ โดยการจัดลาดับความสาคัญ ซึ่งจัดลาดับความสาคัญของหลักสู ตรสาขาวิชา สถานที่ศึกษาที่ประสงค์ขอสนับสนุนทุนพร้อม ประมาณการค่าใช้จ่ายตามแผนโครงสร้างหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยกาหนดอย่างเคร่งครัด ซึ่งในปีงบประมาณ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 140
2564 มีบุคลากรที่มีคุณสมบัติตรงตามท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดและกาหนดไว้ในแผนและได้สาเร็จการศึกษาต่อ ระดับปรญิ ญาเอก สายวชิ าการ จานวนทั้งสนิ้ 8 ราย ดังนี้ (F1-5.1-6.4) 1. นายศิริศักด์ิ บวั ชุม ระดับปริญญาเอก ภาคนอกเวลาราชการ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ ภาคการศึกษา 1/2559 ณ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง 2. นายกันตวีร์ เวียงสิมา ระดับปริญญาเอก ภาคนอกเวลาราชการ หลักสูตรปรัชญาดุษฎี บณั ฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา ภาคการศึกษาที่ 2/2560 3. นางสาวออมวจี พิบูลย์ ระดับปริญญาเอก สาขาวิทยาการทางการศึกษาการจัดการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคการศึกษา 1/2563 ภาคนอกเวลาราชการ (เสาร์-อาทติ ย)์ 4. นางสาวรุจิกา ธรรมลักษมี ระดับปริญญาเอก ภาคนอกเวลาราชการ หลักสูตรปรัชญาดุษฎี บณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาศาสตร์ ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา ภาคการศึกษาที่ 2/2560 5. นางสาวจุฬารัตน์ ชัยพิทักษ์ ศึกษาต่อระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ภาคปกติ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีกาหนด 3 ปี ตงั้ แต่ วนั ที่ 9 ธันวาคม 2562 ถงึ วนั ท่ี 8 ธันวาคม 2564 6. นางสาวจิตราภรณ์ เถรวัตร ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการการท่องเทยี่ วและโรงแรม ภาคนอกเวลาราชการ ณ มหาวทิ ยาลยั พะเยา 7. นายธง คาเกิด ระดับปริญญาเอก สาขาการจัดการการท่องเท่ียวและบริการแบบบูรณาการ คณะการจัดการการท่องเท่ียว สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ ภาคนอกเวลาราชการ (เสาร์-อาทิตย์) ภาคการศกึ ษา 1 ปีการศกึ ษา 2563 8. นางสาวปริณุต ไชยนิชย์ ระดับปริญญาเอก ภาคนอกเวลาราชการ หลักสูตรปรัชญาดุษฎี บณั ฑติ สาขาวชิ าพฒั นศึกษาศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ภาคการศึกษาที่ 1/2562 สายสนับสนุน จานวนทั้งส้ิน 2 ราย ดังนี้ (1) นางสาววรรณภา ใหญ่มาก พนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งนักวิชาการศึกษา ศึกษาต่อระดับ ปรญิ ญาโท หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑิต ภาคนอกเวลาราชการ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณ ภมู ิ ตัง้ แตภ่ าคการศกึ ษาที่ 1/2559 (2) นายจิระวุฒิ สาระธรรม พนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งนักวิชาการโสตทัศนศึกษา ศึกษาต่อ ระดับปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ภาคนอกเวลาราชการ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ตั้งแต่ภาคการศึกษาท่ี 1/2559 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 141
แผนการเพ่ิมตาแหน่งทางวิชาการ จาก ผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากร ประจาปีงบประมาณ 2564 คณะมีผู้ได้รับการแต่งต้ังดารงตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจา ปงี บประมาณ 2564 จานวน 4 ราย ดังน้ี (F1-5.1-6.5) ผไู้ ดร้ บั การแต่งตัง้ ดารงตาแหน่งทางวิชาการ จานวน 6 ราย ดงั นี้ 1.นางจารกั ซื่อตรง ประเภทขา้ ราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาตาแหนง่ อาจารย์ เสนอขอ ตาแหน่งผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ 2. นางสุภาวดี เผือกฟัก พนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งอาจารย์ ให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วย ศาตราจารย์ สาขาวิชามานุษยวทิ ยา ตง้ั แต่วันที่ 9 เมษายน 2561 3.นายธนภูมิ ปองเสงี่ยม พนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งอาจารย์ เสนอขอตาแหน่งผู้ช่วย ศาสตราจารย์ สาขาวชิ าการทอ่ งเทีย่ ว 4.นางสาวกังสดาล ญาณจันทร์ พนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งอาจารย์ เสนอขอตาแหน่ง ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ 5.นายจักกเมธ พวงทอง พนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งอาจารย์ เสนอขอตาแหน่งผู้ช่วย ศาสตราจารย์ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ 6.นายจักร์กวี ซ่ือตรง พนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งอาจารย์ เสนอขอตาแหน่งผู้ช่วย ศาสตราจารย์ สาขาวชิ าสังคมศษสตร์และมนุษยศาสตร์ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 142
รายช่ือผ้เู สนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ประจาปกงบประมาณ 2564 จานวน 24 ราย ขัน้ ตอนท่ี ขน้ั ตอนท่ี ข้ันตอนที่ ขน้ั ตอนการดาเนนิ การ ขนั้ ตอนท่ี ขน้ั ตอนที่ 2 3 6 7 1 ข้ันตอนท่ี ขั้นตอนที่ กรรมการ สง่ เอกสาร 45 ประชมุ เขา้ สภาฯ ประเมินผล ประกอบ คณะกรรม ที่ ช่ือ - สกุล เสนอขอตาแหน่ง/ การสอน/ การสอน/ สง่ ผลงาน ประชมุ หมายเหตุ สาขาวิชาท่ีเสนอขอ ประชมุ กรรมการ เอกสารคา ทาง กรรมการ การ ผทู้ รงฯ พจิ ารณา กรรมการ ผู้ทรงฯ สอน วชิ าการ ตาแหนง่ พจิ ารณา 1 นางแจม่ จนั ทร์ บุญโญปกรณ์ รองศาสตราจารย์ กาหนดประชมุ 2 นางชลลดา ทวีคณู สาขาวิชา เดอื น ก.พ. 64 ภาษาองั กฤษ รองศาสตราจารย์ ส่งผลมาแล้ว 2 สาขาวิชาจิตวทิ ยา ราย,ทาบทาม ผทู้ รงคุณวุฒิฯ 3 นางวิไลลกั ษณ์ จิราดลธนกฤต ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ใหม่ 1 ราย 4 นางพลารกั ไชยโย สาขาวิชาภาษาไทย แก้ไขปรบั ปรงุ 5 นางสาวจิดาภา เรง่ มีศรีสขุ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ 90 วนั สาขาวิชา กาหนดประชุม ภาษาอังกฤษ เดือน ก.พ. 64 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชารฐั อยู่ระหว่าง ประศาสนศาสตร์ ทาบทาม ผทู้ รงคณุ วฒุ ฯิ 6 รต.ธนรตั น์ รตั นพงศ์ธระ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2 ราย,ส่งผล สาขาวชิ าการ งานทางวชิ า 7 นางสาวศตี กาล ศรฉี ตั ร ทอ่ งเทยี่ วและการ การ 1 ราย 8 นางสาวนนั ทยา คงประพันธ์ โรงแรม กาหนดประชุม 9 นางสาวจริ านีย์ พนั มลู ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ เดอื น มี.ค. 64 10 นางสาววโรทัย สมมิตร สาขาวชิ า 11 นายวัชรพนั ธ์ แสนสิทธ์ิ ภาษาอังกฤษ *ประเมินการ 12 นางภรนชุ นาฎ อรรถาเวช ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สอนก่อน สาขาวิชา มนษุ ยวทิ ยา *ประเมินการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สอนก่อน สาขาวชิ าสงั คม วทิ ยา *ประเมนิ การ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สอนก่อน สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ *ประเมนิ การ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สอนกอ่ น สาขาวิชา ภาษาองั กฤษ *ประเมนิ การ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สอนกอ่ น สาขาวชิ า ภาษาองั กฤษ *ประเมนิ การ สอนก่อน รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 143
ขนั้ ตอนที่ ขั้นตอนที่ ขน้ั ตอนท่ี ขน้ั ตอนการดาเนินการ ขัน้ ตอนท่ี ขั้นตอนที่ 2 3 6 7 1 ขัน้ ตอนท่ี ขนั้ ตอนที่ กรรมการ ส่งเอกสาร 45 ประชุม ประเมินผล ประกอบ คณะกรรม ที่ ช่ือ - สกุล เสนอขอตาแหน่ง/ การสอน/ การสอน/ สง่ ผลงาน ประชมุ หมายเหตุ สาขาวิชาท่เี สนอขอ ประชมุ กรรมการ เอกสารคา ทาง กรรมการ การ ผ้ทู รงฯ พจิ ารณา กรรมการ ผทู้ รงฯ สอน วิชาการ ตาแหนง่ เขา้ สภาฯ พิจารณา 13 นางสุกานดา เปย่ี มบรบิ ูรณ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ *ประเมินการ สอนกอ่ น สาขาวชิ า *ประเมนิ การ ภาษาองั กฤษ สอนกอ่ น 14 นางสาวสปุ รานี พุ้ยมอม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ *ประเมนิ การ สอนก่อน สาขาวชิ า *ประเมนิ การ ภาษาองั กฤษ สอนก่อน *ประเมินการ 15 นายอนุสรณ์ แซ่จนั ทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สอนก่อน สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ 16 นายนัทธี เพชรบุรี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สาขาวิชาภาษาไทย 17 นางสาวจิตราภร เถรวัตร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สาขาวิชาการ ทอ่ งเที่ยวและการ โรงแรม 18 นางสาวธารนี นวัสนธี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ *ประเมนิ การ สอนกอ่ น สาขาวิชาการ ท่องเทย่ี วและการ โรงแรม 19 นายฐาปรณ์ ทองคานุช ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ *ประเมินการ สอนก่อน สาขาวชิ าการ ท่องเทย่ี วและการ โรงแรม 20 นางสาวเบญจพร เช้ือผ้งึ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ *ประเมินการ สอนก่อน สาขาวชิ าการ ท่องเท่ยี วและการ โรงแรม 21 นางสาธาริดา สกลุ รัตน์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ *ประเมินการ สอนก่อน สาขาวิชาการ ท่องเทย่ี วและการ โรงแรม 22 นายรชั กฤต จริ าดลธนกฤต ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ *ประเมินการ สอนกอ่ น สาขาวิชาการ ท่องเทย่ี วและการ โรงแรม 23 นางสาววรรษา พรหมศิลป์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ *ประเมนิ การ สอนกอ่ น สาขาวิชาการ ทอ่ งเท่ยี วและการ โรงแรม 24 นายสขุ ุม คงดษิ ฐ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ *ประเมินการ สอนกอ่ น สาขาวชิ าการ ท่องเท่ยี วและการ โรงแรม หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 144
บุคลากรสายสนบั สนุน จากผลการดาเนินงานตามแผนพฒั นาบุคลากร ประจาปงี บประมาณ 2564 คณะมผี ไู้ ด้รบั การแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งที่สูงขึ้น จานวน 1 ราย นางสดุ ารตั น์ อ่าป้ัน หวั หนา้ งานพัฒนานักศกึ ษา ตาแหน่งเจา้ หน้าที่บริหารงานท่ัวไป ประภทเช่ียวชาญเฉพาะ ระดับตาแหน่งปฏิบัติการ ให้ดารงตาแหน่งทสี่ ูงขึ้น หวั หน้างานพัฒนานกั ศึกษา ตาแหน่งเจา้ หน้าที่บริหารงานทัว่ ไป ประภทเช่ียวชาญเฉพาะ ระดับตาแหน่งชานาญ การ ตงั้ แตว่ ันท่ี 31 กรกฎาคม 2563 สนับสนุนการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้มีความรู้ในด้านความก้าวหน้า ทา ง วิ ชา ชี พคณ ะจึ งได้ ด า เนิ น ก าร จั ด เก็ บ ร ว บร ว ม ข้อมู ล กา ร พั ฒ นา ต น เ อง ข อง บุ ค ล าก ร ทั้ งส า ย วิช า ก า ร และสายสนับสนุน จัดเก็บลงในระบบ Hrs.rmutsb.ac.th ระบบรายงานการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล เพ่ือติดตามผลการพัฒนาตนเองตามแผน IDP (Individual Development Plan) เพ่ือประเมินผลความสาเร็จ ของการพัฒนาบคุ ลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน (F1-5.1-6.6) คณะส่งเสริมให้บุคลากรได้เดินทางไปราชการต่างประเทศ เพ่ือนาความรู้ที่ได้รับ มาใช้ประโยชน์ด้านการเรียนการสอน และเพ่ิมประสทิ ธิภาพการทางาน โดยอนุญาตให้นางสาวเฟ่ืองลดา ชมชื่น พนักงานมหาวิทยาลัย ตาแหน่งอาจารย์ ไปสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทยเพื่อไปสอนภาษาไทย ในมหาวิทยาลัยท่ีประเทศสหรัฐอเมริกา ณ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน วิทยาเขตซีแอทเทิล เมืองซีแอทเทิล รัฐวอชิงตนั ประเทศสหรฐั อเมริกา มีกาหนด 9 เดือน 8 วัน ต้ังแต่วันท่ี 19 กันยายน 2563 ถงึ วันที่ 27 มิถุนายน 2564 ด้วยทุน Fulbright Foreign เพ่ือประโยชน์ในด้านการพัฒนาตนเองในเร่ืองการใช้ภาษา และเรียนรู้ วฒั นธรรมตะวันตก เป็นการสร้างช่ือเสียงให้กับคณะและมหาวิทยาลยั อกี ทง้ั ยงั สามารถนาประสบการณ์มาใชใ้ น การจัดการเรยี นการสอนเพือ่ พฒั นาองค์กรต่อไป ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรสายสนับสนุนได้รับความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพ่ือพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษในส่วนงานราชการภายใต้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เพ่ือเพิ่มศักยภาพให้บุคลากรได้รับความรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ (F1-5.1-6.8) แบบสรุปผลการนาความรู้และทักษะท่ีได้จากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน และวัดผลการเรียนรู้ ของนักศึกษา (สาหรับสายวิชาการ) และแบบสรุปการนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ใน การปฏบิ ตั งิ านทเ่ี ก่ียวขอ้ ง (สาหรับสายสนับสนนุ ) (F1-5.1-6.9) (4) สนับสนุนความต้องการของหน่วยงานและสวัสดิการ คุณภาพและความมั่นคงในชีวิต ของบุคลากรคณะมีความมุ่งมั่นในการสรรหา พัฒนา และธารงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพให้คงอยู่กับองค์กร ตลอดไป ใช้มาตรการในการจูงใจ เพ่ือรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ โดยอาศัยระบบค่าตอบแทน และสวัสดิการที่จูงใจ ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานจากผลสาเร็จของงานอย่างโปร่งใส และเป็นระบบ ท่ีสร้างขวัญและกาลังใจ ตลอดจนสร้างบรรยากาศในการทางานท่ีช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ได้รับการยกย่องให้เกียรติบุคลากรในคณะโดยการมอบโลห์ประเภทรางวัล “เพชรศิลปศาสตร์” แบง่ ออกเป็น 5 ด้าน ดังน้ี (F1-5.1-6.10) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 145
ท่ี ประเภทรางวัล รายชื่อผู้ได้รับรางวัล 1. “เพชรศิลปศาสตร์” ด้านการสอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทวดี วงษ์เสถียร 2. อาจารย์ผ่องพรรณ สาคะรังค์ 3. “เพชรศิลปศาสตร์” ด้านการวิจัย อาจารย์ ดร.จิดาภา เร่งมีศรีสุข 4. “เพชรศิลปศาสตร์” ด้านการบริการวิชาการ อาจารย์จิราณีย์ พันมูล 5. “เพชรศิลปศาสตร์” ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิตยา ปุระชาติ 6. “เพชรศิลปศาสตร์” ด้านการพัฒนานักศึกษา อาจารย์ขวัญสุดา วรวิบูล 7. “เพชรศิลปศาสตร์” บุคลากรสายสนับสนุน นางสาววันวิสา กล่ินบารุง (5) โครงการพัฒนาสมรรถนะและคุณภาพชีวิตของบุคลากรสายสนับสนุน ประจา ปีงบประมาณ 2564 วันที่ 21-22 ธันวาคม 2563 อาคารปฎิบัติการโรงแรมและท่องเที่ยว อาคาร 15 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา โดยมีวัตถุประสงค์ดังน้ี (F1-5.1-6.11) 1. เพอ่ื เปน็ การเพ่มิ พูนความร้ขู องบคุ ลากรให้มีความทนั สมัยทันเหตกุ ารณ์ 2. เพอ่ื ให้บคุ ลากรได้รบั ความรู้ในการพฒั นาองคก์ รและการทางานเปน็ ทีม 3. เพ่ือเปน็ การเผยแพร่และใหค้ วามรู้เกยี่ วกับจรรยาบรรณและวชิ าชพี 4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เก่ียวกับจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตาม จรรยาบรรณวชิ าชพี 7.ดาเนินงานด้าน การประกันคุณภ าพการศึกษาภา ยในต ามระบบแ ละกลไกท่ีเหมา ะสมและ สอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาการของคณะที่ได้ปรับให้การดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพเป็นส่วน หน่ึงของการบริหารงานคณะตามปกติท่ีประกอบด้วย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการ ประเมนิ คุณภาพ คณะศิลปศาสตร์มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยดาเนินงานตามคู่มือประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปีการศึกษา 2557 (F1-5.1-7.1) และดาเนินงานตามมาตรฐาน ข้ั น ต อ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ซึ่ ง มี ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า (F1-5.1-7.2) เป็นกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนา ของคณะ โดยการดาเนินงานด้านประกันคุณภาพเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารงานคณะตามปกติ ซง่ึ ดาเนินการตั้งแต่ระดับหลักสูตรถึงระดับคณะ โดยทางคณะได้ดาเนนิ การดา้ นประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ประกอบดว้ ย การควบคุม ตรวจสอบ ตดิ ตามการดาเนนิ งาน และการประเมนิ คุณภาพ ดงั นี้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 146
การวางแผน (Plan) คณะกรรมการบริหารได้ร่วมประชุมกาหนดผู้กากับและผู้รับผิดชอบตัวช้ีวัด โดยจัดทาและ พิจารณาแผนพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2563 ระดับคณะและระดับหลักสูตร เพ่ือวางแผนการจัดทากิจกรรม โครงการต่างๆ ในการพัฒนาคณะ โดยนาผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2562 มาพิจารณาในการประชุม เพ่ือให้สอดคล้องกับพันธกิจของคณะ (F1-5.1-7.3) อีกท้ัง ยังแต่งต้ังให้มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาในการกากับ ติดตาม และดาเนินงาน โดยมีการประชุม วางแผนการดาเนินงานประกันคุณภาพ ประจาปีการศึกษา 2563 ดังน้ี วันท่ี 20 มกราคม 2564 หลักสูตร ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร (F1-5.1-7.4) และหลักสูตรภาษาอังกฤษอุตสาหกรรมการบิน (F1-5.1-7.5) วันที่ 22 มกราคม 2564 ระดับคณะ (F1-5.1-7.6) และในวันที่ 27 มกราคม 2564 หลักสูตรการท่องเท่ียวและ หลักสูตรการโรงแรม (F1-5.1-7.7) โดยเป็นการจัดประชุมวางแผนการดาเนินงาน กาหนดปฏิทนิ การดาเนินงาน ขั้นตอนการดาเนินงาน เพ่ือเป็นแนวทางการดาเนินงานใหร้ ะดบั คณะ (F1-5.1-7.8) และระดบั หลกั สตู ร (F1-5.1- 7.9) การดาเนินงานด้านประกนั คุณภาพการศกึ ษา (DO) 1. คณะส่งเสริมและให้ความสาคัญกับงานประกันคุณภาพการศึกษา ท้ังระดับคณะและระดับ หลักสตู ร โดยการให้อาจารยป์ ระจาหลักสูตรเขา้ ร่วมกิจกรรม ดงั นี้ (1) โครงการกากับติดตามหลักสูตรเพื่อการเผยแพร่หลักสูตรและมาตรฐานตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ (TQF) โดยมีการเลื่อนการจัดโครงการดังกล่าวเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโร นา (COVID-19) (2) โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมรับตรวจประเมินคุณภาพ การศกึ ษาภายใน ปกก ารศกึ ษา 2563 คณะได้ดาเนินการเข้าร่วมโครงการเตรียมความพร้อมรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน ประจาปีการศึกษา 2563 เพื่อเป็นการกากับติดตาม และเตรียมความพรอ้ มก่อนเขา้ รับการตรวจประเมิน ประจาปีการศึกษา โดยไดเ้ ชิญวิทยากรผทู้ รงคุณวฒุ ใิ นมหาวทิ ยาลัย (รองศาสตราจารยส์ ายหยดุ อไุ รสกุล) ในการ ใหค้ าแนะนา และขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ หรือพฒั นาการเขยี นรายงานประเมินตนเอง (SAR) กิจกรรมที่ 1 การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการแบบออนไลน์ รอบ 9 เดือน (F1-5.1-7.10) ดังนี้ - ระดับคณะ เมื่อวนั ที่ 17 มีนาคม 2564 - หลักสูตรสาขาวชิ าภาษาองั กฤษอุตสาหกรรมการบนิ เม่ือวนั ท่ี 23 มนี าคม 2564 - หลกั สูตรสาขาวชิ าการโรงแรมและหลักสูตรสาขาวิชาการทอ่ งเที่ยว เมื่อวนั ท่ี 24 มนี าคม 2564 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 147
- หลักสูตรสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร เมอ่ื วันที่ 25 มีนาคม 2564 กิกจกรรมที่ 2 การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ ารแบบออนไลน์ รอบ 12 เดือน (F1-5.1-7.11) ดังน้ี - ระดบั คณะ เม่ือวันที่ 17 มถิ ุนายน 2564 - หลกั สตู รสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร เมอ่ื วันที่ 17 มิถนุ ายน 2564 - หลกั สตู รสาขาวชิ าภาษาองั กฤษอุตสาหกรรมการบิน เมื่อวันที่ 17 มถิ ุนายน 2564 - หลกั สตู รสาขาวชิ าการโรงแรม เม่อื วันท่ี 21 มิถุนายน 2564 - หลกั สูตรสาขาวิชาการทอ่ งเท่ียว เมือ่ วนั ที่ 22 มิถนุ ายน 2564 2. คณะมีการกาหนดตัวบ่งช้ีและเกณฑ์การประเมิน เพ่ือใช้ในการควบคุมคุณภาพ และจัดทา KPI MAPPING ประจาปีการศกึ ษา 2563 (F1-5.1-7.12-7.15) 3. คณะได้ดาเนินการติดตามและร่วมกันจัดทารายงานการประเมินตนเอง เพื่อเตรียมความ พร้อมรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ท้ังระดับหลักสูตรและระดับคณะ และมีการประชุมเตรียมความ พร้อมในการจัดทารายงานและการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ระดับคณะ ปกี ารศึกษา 2563 ดงั นี้ ระดับคณะ รอบ 9 เดอื น เม่อื วันท่ี 20-27 มกราคม 2564 ประชมุ ระดบั หลกั สูตร และวนั ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 ประชมุ รอบ 12 เดือน เม่อื วันท่ี 17-21 พฤษภาคม 2564 การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน (Check) คณะศิลปศาสตร์ ได้ดาเนินการหลักจากการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ประจาปี การศึกษา 2562 โดยการนาผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ระดับคณะ มาหารือและ จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจประเมิน เพ่ือพิจารณาเสนอแนวทางการ ดาเนินงานในการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาของระดับคณะ และระดับหลักสูตร ในปีการศึกษา 2563 ตอ่ ไป ผลการประเมนิ ตนเอง ผลดาเนนิ การ คะแนนการประเมนิ ตนเอง บรรลุเป้าหมาย เปา้ หมาย 7 ข้อ 5 คะแนน 7 ขอ้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 148
เอกสารหลกั ฐาน : หมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน F1-5.1-1.1 คาสง่ั แต่งตงั้ คณะกรรมการทบทวนประเมนิ และจัดทาแผนพัฒนาคณะศิลปศาสตร์ ประจาปี 2564 F1-5.1-1.2 แผนพัฒนาคณะและเช่อื มโยงกับแผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช มงคลสุวรรณภมู ิ พ.ศ. 2563-2565 F1-5.1-1.3 รายงานทางการเงนิ F1-5.1-1.4 แผนพัฒนาของคณะศลิ ปศาสตร์ และเปา้ หมายหลักในการดาเนินการของคณะศิลปศาสตรใ์ น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 F1-5.1-1.5 แผนยุทธศาสตรข์ องคณะศิลปศาสตรแ์ ละมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ F1-5.1-1.6 คณะกรรมการตดิ ตามผลการดาเนนิ งานและการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี 2564 F1-5.1-2.1 รายงานจานวนนกั ศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 F1-5.1-2.2 รายละเอียดคาเสนอของบประมาณรายจา่ ยจากเงนิ รายได้ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 F1-5.1-2.3 รายละเอียดการรบั จัดสรรเงินงบประมาณรายจ่ายจากเงินรายได้ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 F1-5.1-2.4 หลกั เกณฑก์ ารจัดสรรงบประมาณประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 F1-5.1-2.5 รายละเอียดการวิเคราะหข์ ้อมูลของจดุ คุ้มทนุ ในการบริหารหลกั สตู ร F1-5.1-3.1 คู่มอื การบริหารความเส่ยี งและการควบคุมภายใน F1-5.1-3.2 คาสง่ั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งและการควบคุมภายใน ประจาปี พ.ศ.2564 F1-5.1-3.3 แผนบรหิ ารความเสี่ยงมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 F1-5.1-3.4 แบบวเิ คราะห์ความเสยี่ ง ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (บส.1) F1-5.1-3.5 แบบแผนบริหารความเสี่ยง ประจาปี พ.ศ.2564 (บส.2) F1-5.1-4.1 ค่มู ือการจดั ระดับการกากับดูแลองค์กรภาครฐั ตามหลกั ธรรมาภิบาลของการบริหารกจิ การ บ้านเมืองท่ีดี F1-5.1-4.2 โครงการทบทวนและจัดทาแผนพฒั นาคณะศลิ ปศาสตร์ ปี 2564 F1-5.1-4.3 รายงานการประชมุ คณะกรรมการประจาคณะ ประจาปี 2563 F1-5.1-4.4 ภาพถ่ายห้องโสตทศั นปู กรณ/์ ภาพถา่ ยหอ้ งสบื คน้ /ภาพถา่ ยห้องปฏิบัติการทางภาษา และห้องปฏิบตั ิการการท่องเท่ียว F1-5.1-4.5 การจดั การประชมุ ผ่านระบบเครอื ข่ายออนไลน์ F1-5.1-4.6 การแนะแนวการศึกษาออนไลน์ F1-5.1-4.7 ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการประเมนิ ผล การปฏบิ ตั ริ าชการของบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2555 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 149
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161