Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR ระดับคณะ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ปีการศึกษา 2563

SAR ระดับคณะ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ปีการศึกษา 2563

Published by narissara_bah, 2022-03-15 07:16:47

Description: SAR ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

มาตรฐานผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ แหง่ ชาติ ช่ือโครงการ/กจิ กรรม คุณธรรม จริยธรรม ความ ู้ร ัทกษะทาง ัปญญา ัทกษะความ ัสม ัพนธ์ระห ่วาง ุบคคลและความ ัรบผิดชอบ ัทกษะการ ิวเคราะ ์หเชิง ัตวเลข การ ื่สอสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. โครงการปฐมนิเทศนักศกึ ษาใหม่    2. โครงการเลือกต้งั สโมสรนักศกึ ษา   3. โครงการสัมมนาสโมสรนกั ศกึ ษา   4. โครงการแสดงความยนิ ดีกับพ่บี ณั ฑิต  5. โครงการอบรมการรับน้องและประชมุ เชยี ร์   6. โครงการกีฬาภายใน คณะศิลปศาสตร์   ประจาปกี ารศึกษา 2563 7. โครงการกฬี าสวุ รรณภมู เิ กมส์ คร้ังที่ 16   3.จดั กิจกรรมให้ความรแู้ ละทกั ษะการประกันคณุ ภาพแกน่ ักศกึ ษา คณะศิลปศาสตร์ ได้มีการจัดกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษา แก่นักศึกษาในโครงการสัมมนาผู้นานักศึกษาและแลกเปล่ียนเรียนรู้ และส่งมอบงานสโมสรนักศึกษา ประจา ปีการศึกษา 2563 เม่ือวันท่ี 19 สิงหาคม 2563 ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา เนื้อหาของการอบรมบรรยาย ให้ความรูเ้ รอื่ ง “ภาวะผู้นานกั ศกึ ษา และการประกันคุณภาพการศึกษา เพอื่ ให้นักศึกษามีความรูค้ วามเข้าใจในบทบาทหนา้ ท่ี และเตรียมความพร้อม ในการบริหารจัดการกิจกรรมพัฒนานักศึกษา และสามารถนาหลัก PDCA ไปใช้ในการดาเนินงานด้านกิจกรรม พฒั นานักศึกษาของสโมสรนักศกึ ษาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ จากการจัดกิจกรรมคร้ังน้มี ีผเู้ ข้าร่วมโครงการจานวน ท้ังสิ้น 50 คน จากเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ 50 คน ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 100 (F1-1.6-3.1) และคณะศิลปศาสตร์ไดน้ ากิจกรรมให้ความรกู้ ารประกันคุณภาพการศึกษา แทรกไปในกิจกรรมโครงการมอบตัว เปน็ ศิษย์ ประจาปีการศกึ ษา 2563 ในวันที่ 26 สิงหาคม 2563 เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ หอประชุมพระพิรุณ ระลึกโปรดเกล้าฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา ซึ่งมีนักศึกษา ของคณะศิลปศาสตร์ ทุกชน้ั ปีเข้าร่วมกจิ กรรมดังกล่าว (F1-1.6-3.2) 4.ทุกกิจกรรมท่ีดาเนินการ มีการประเมินผลความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมและ นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงการดาเนนิ งานคร้ังตอ่ ไป คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดกิจกรรมตามแผนกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ประจาปีการศึกษา 2563 จานวนทั้งส้ิน 7 โครงการ และได้มีการประเมินผลความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการทุกโครงการ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 50

โดยได้จัดทาสรุปประเมินผลความสาเร็จการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ประจาปีการศึกษา 2563 (F1-1.6-4.1) แล ะ ไ ด้ น า ผ ล ก าร ป ร ะ เ มิ น โ ค ร ง ก า ร / กิ จ ก ร ร ม ท่ี ไ ด้ ด า เ นิ น กา ร ร า ย ง า น ต่ อที่ ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ กร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร คณะศิลปศาสตร์ คณะกรรมการประจาคณะศิลปศาสตร์ คร้ังท่ี 1/2564 วันศุกร์ที่ 15 มกราคม 2564 เวลา 13.00 นาฬิกา ประชุมผ่านระบบเครือข่าย ณ ห้องประชุมชมพูพันธ์ุทิพย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา นาผลการประเมินมาปรับปรุงการดาเนินงาน ในครั้งต่อไป (F1-1.6-4.2) จากการสรุปผลการประเมินโครงการ/กิจกรรม ที่ได้ดาเนินการจัดตามแผนกิจกรรมพัฒนา นกั ศึกษา ประจาปีการศึกษา 2563 พบวา่ โครงการ/กิจกรรม มขี อ้ เสนอแนะ ดังนี้ - สโมสรนักศึกษาดาเนินการประเมินความสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์ ของโครงการและนาผล การประเมนิ มาปรับปรงุ การดาเนนิ งานครง้ั ตอ่ ไปประกอบดว้ ยโครงการ จานวน 6 โครงการ ดังน้ี (1) โครงการปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาใหม่ ปกการศึกษา 2563 ด้านการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ - เพอื่ ใหน้ ักศึกษาใหมไ่ ดร้ บั ความรเู้ กยี่ วกบั การจัดการเรยี นการสอน (บรรลุ) - เพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้รับทราบระเบียบ ข้อบังคับ การรักษาวินัย รวมทั้งกฎหมาย ทีเ่ ก่ยี วข้องกับการใช้ชีวติ ในมหาวทิ ยาลัย (บรรลุ) - เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาใหมร่ บั ทราบการใหบ้ ริการและสวัสดิการนกั ศกึ ษาท่ีพงึ จะได้รับ(บรรลุ) - เพอื่ สร้างความทศั นคติและสร้างความสมั พนั ธ์ที่ดรี ะหว่างอาจารย์กับนกั ศึกษา (บรรลุ) ภาพรวมของโครงการ (บรรลุ) (เกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้จึง จะถอื วา่ บรรลุ) (2) โครงการสมั มนาสโมสร 2563 ด้านการบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ - เพอ่ื ให้การแนะนาแนวทางการปฏิบัติงานกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร (บรรลุ) - นกั ศกึ ษากระชับความสมั พันธอ์ ันดีระหวา่ งนักศึกษาและแลกเปลยี่ นประสบการณ์ที่เกี่ยวกบั การจัดกิจกรรม (บรรล)ุ - นักศึกษาสามารถนาความรู้ จากการเขา้ ร่วมโครงการ PDCA ได้ (บรรลุ) (3) โครงการอบรมการรบั น้องและประชุมเชียร์ งดกิจกรรม ในปีการศึกษา 2563 เนื่องจากเนอื่ งดว้ ยเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชือ้ ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสไม่ให้ขยาย เป็นวงกว้าง รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 51

(4) โครงการกฬี าภายใน คณะศิลปศาสาตร์ ปกการศกึ ษา 2563 ตามแผนการดาเนินจะต้องดาเนินการภายในเดือนธันวาคม เน่ืองด้วยเกิดการแพร่ระบาดของ โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อความปลอดภัยและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เช้ือไวรัสไม่ให้ขยายเป็นวงกว้าง จึงขอเลื่อนโครงการไปดาเนินการในเดือนมกราคม 2563 และในช่วงเดือน มกราคม 2563 ประกาศใหป้ ฏบิ ัตริ าชการที่บ้าน เน่ืองจากสถานการณ์โรคระบาดโควิด COVID-19 ระลอกใหม่ จึงทาใหต้ ้องขอเล่อื นโครงการออกไปอยา่ งไมม่ ีกาหนดหรอื จนกว่าสถานการณจ์ ะกลบั มาเกอื บปกติ จากการขอเลื่อนโครงการไปจนกว่าสถานการณ์จะกลับมาปกตินั้น เนื่องจากการจัดกิจกรรม ต้องอยู่ในช่วงปีการศึกษา 2563 จึงทาให้ต้องงดกิจกรรม ทั้งจากสถานการ์โรคระบาดโควิดที่จะไม่ดีข้ึนและ การสนิ้ สดุ ปีการศึกษา 2564 จึงมีงดการจดั กจิ กรรมกีฬา (5) โครงการกีฬาสวุ รรณภมู ิเกมส์ครง้ั ท่ี 16 เน่ืองด้วยเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงทาให้ ผู้รับผิดชอบโครงการจึงงดการจัดกิจกรรมโครงการ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (6) โครงการแสดงความยนิ ดกี ับพบี่ ณั ฑิต ตามท่ีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุ วรรณภูมิ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สาเร็จ การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ ประจาปกี ารศกึ ษา 2562 ในวันจันทรท์ ี่ 17 สงิ หาคม 2563 ณ หอประชุมราชงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เน่ืองด้วยเกิดการแพร่ระบาดของ โรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือความปลอดภัยและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสไม่ให้ขยายเป็นวงกว้าง จึงขอเลื่อนวันพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจาปีการศึกษา 2562 ออกไป เป็นในวันที่ 8 เมษายน 2564 เนื่องด้วยเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ จงึ เลอื่ นวันพธิ พี ระราชทานปริญญาบตั ร ประจาปีการศึกษา 2562 ออกไปยังไม่มกี าหนด 5. ประเมนิ ความสาเร็จตามวตั ถุประสงคข์ องแผนการจดั กจิ กรรมพัฒนานกั ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ได้มีการจัดทาแผนกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ประจาปีการศึกษา 2563 และได้กาหนดวัตถุประสงค์ของแผนตัวช้ีวัดและเป้าหมายวัดความสาเร็จไว้ในแผนนั้น โดยเมื่อส้ินปีการศึกษา ได้มีการประเมินผลความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ปีการศึกษา 2563 มีร้อยละความสาเร็จของแผนกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยจากการดาเนินโครงการในปีที่ผ่านมา ทางคณะ ได้ดาเนินการวางแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ครบทุกด้าน และได้มีการจัด รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 52

โครงการท่ีให้บริการชุมชน สังคม เพ่ือให้นักศึกษามีจิตสาสาธารณะ แต่เนื่องด้วยเกิดการแพร่ระบาดของ โรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ยังไม่สิ้นสุด จึงทาให้ต้องรอสถานการณ์ให้ดีข้ึนจึงจะสามารถ ดาเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีกาหนดไว้ ดังรายละเอียดและตัวบ่งชี้ ดงั น้ี (F1-1.6-5.1 ) 6.นาผลการประเมนิ ไปปรับปรุงแผนหรอื ปรับปรงุ การจดั กจิ กรรมเพอื่ พัฒนานกั ศกึ ษา จากการประชุมคณะกรรมประจาคณะ (F1-1.6-6.1) ได้นาข้อเสนอแนะมาปรับปรุง เพ่ือให้การดาเนินการตามแผนมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยได้จัดโครงการสัมมนาส่งมอบงานสโมสรนักศึกษา ปีการศึกษา 2563 ซ่ึงภายในโครงการได้นาข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจาคณะ ผลการประเมิน ความสาเร็จของแผนการจัดกิจกรรมมาปรับปรุงและกาหนดกิจกรรมในปีการศึกษา 2563 จนได้แผนปฏิบัติงาน ประจาปีในการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ นโยบายคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ประจาปกี ารศึกษา 2563 (F1-1.6-6.2) ผลการประเมินตนเอง ผลดาเนนิ การ ผลการประเมินตนเอง บรรลเุ ปา้ หมาย เปา้ หมาย 6 ขอ้ 5 คะแนน  5 ขอ้ เอกสารหลกั ฐาน : หมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน F1-1.6-1.1 คาสง่ั แต่งต้ังคณะกรรมการบริหารสโมสรนักศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา 2563 F1-1.6-1.2 แผนปฏิบตั งิ านประจาปใี นการจัดกิจกรรมพัฒนานกั ศึกษาท่สี ่งเสริมผลการเรียนรตู้ าม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ นโยบายคณะกรรมการสโมสรนกั ศกึ ษา F1-1.6-1.3 คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิประจาปกี ารศึกษา 2563 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจาคณะคร้ังที่ 1/2563 F1-1.6-2.1 วันพฤหสั บดีท่ี 21 พฤษภาคม 2563 เวลา 10.00 น.ประชมุ ผา่ นระบบเครือขา่ ย F1-1.6-3.1 ณ ห้องประชุมชมพูพนั ธ์ุทิพย์ คณะศลิ ปศาสตร์ มทร.สุวรรณภมู ิ ศูนยพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา F1-1.6-3.2 หนั ตรา F1-1.6-4.1 แผนการจัดกิจกรรมพฒั นานักศึกษา ประจาปี 2563 โครงการสัมมนาสโมสรนกั ศกึ ษาคณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563 กจิ กรรมโครงการมอบตัวเปน็ ศษิ ย์ ประจาปีการศึกษา 2563 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจาคณะศิลปศาสตร์ คร้งั ที่ 1/2563 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 53

หมายเลข รายการเอกสารหลกั ฐาน F1-1.6-4.3 ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ เรื่อง เลอ่ื นพิธพี ระราชทานปรญิ ญา บตั ร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ประจาปีการศกึ ษา 2562 F1-1.6-4.4 กาหนดการซ้อมรบั พระราชทานปรญิ ญาบตั ร ประจาปีการศึกษา 2562 F1-1.6-5.1 ตารางสรปุ ผลการประเมินความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกจิ กรรม F1-1.6-6.1 ปีการศกึ ษา 2563 รายงานการประชุม คณะกรรมการประจาคณะศลิ ปศาสตร์ ครัง้ ที่ 1/2564 F1-1.6-6.2 วนั ศกุ ร์ที่ 15 มกราคม 2564 เวลา 13.00 น. ประชุมผา่ นระบบเครือขา่ ย ณ ห้องประชุมชมพูพันธท์ุ พิ ย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณ ภมู ิ ศูนยพ์ ระนครศรีอยธุ ยา หันตรา แผนปฏิบัตงิ านประจาปใี นการจัดกจิ กรรมพฒั นานักศึกษาท่สี ่งเสริมผลการเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ นโยบายคณะกรรมการสโมสรนกั ศกึ ษา คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ ประจาปกี ารศึกษา 2563 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 54

องค์ประกอบที่ 2 การวจิ ัย ผลการประเมนิ องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย ตวั บง่ ชี้ที่ ผลการดาเนนิ งาน คะแนนการ ระดับ ประเมินตนเอง ประเมนิ คณุ ภาพ องคป์ ระกอบท่ี 2 การวิจยั ตวั ต้งั ผลลัพธ์ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนา ตวั หาร (% หรือ งานวจิ ัยหรืองานสร้างสรรค์ 2.2 เงินสนบั สนนุ งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ สดั สว่ น) 6 ขอ้ 5.00 ดมี าก 5,642,570 61,667.43 5.00 ดีมาก 91.5 2.3 ผลงานวิชาการของอาจารยป์ ระจาและ 23.00 24.86 5.00 ดมี าก นกั วจิ ยั 92.5 คะแนนเฉลย่ี การประเมินคณุ ภาพ 5.00 ดีมาก กราฟแสดงผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายในของคณะกรรมการฯ ปกก ารศึกษา 2561 และปกการศึกษา2562 เปรียบเทยี บกับคะแนนการประเมินตนเอง ปกการศกึ ษา 2563 ผลการประเมิน 5.00 4.50 4.00 ตวั บง่ ชีท้ ่ี 2.1 ตวั บง่ ชีท้ ี่ 2.2 ตวั บง่ ชีท้ ่ี 2.3 3.50 5.00 5.00 2.35 3.00 5.00 2.65 3.61 2.50 5.00 5.00 5.00 2.00 1.50 1.00 0.50 0.00 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 55

องคป์ ระกอบ 2 การวจิ ัย ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวจิ ัยหรอื งานสรา้ งสรรค์ ผูร้ ับผดิ ชอบ 1. อาจารยว์ นั ดี ศรีสวสั ด์ิ รองคณบดี 2. นายเอกชยั นาคถนอม เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารงานทัว่ ไป ชนดิ ของตัวบ่งช้ี กระบวนการ คาอธบิ ายตวั บ่งชี้ สถาบนั อดุ มศกึ ษาต้องมีการบรหิ ารจัดการงานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรคท์ มี่ ีคุณภาพโดยมแี นว ทางการดาเนินงานทีเ่ ป็นระบบและมีกลไกสง่ เสริมสนบั สนนุ ครบถ้วน เพ่ือให้สามารถดาเนินการได้ตาม แผนท่กี าหนดไวท้ ้งั การสนบั สนุนด้านการจดั หาแหลง่ ทุนวจิ ยั และการจัดสรรทนุ วจิ ยั จากงบประมาณของ สถาบนั ให้กบั บุคลากรส่งเสรมิ พัฒนาสมรรถนะแก่อาจารย์และนกั วิจยั การสนับสนนุ ทรัพยากรท่ีจาเปน็ ซงึ่ รวมถงึ ทรัพยากรบุคคลทรัพยากรการเงนิ เครื่องมอื อปุ กรณท์ เ่ี กีย่ วข้องต่างๆ ตลอดจนจัดระบบสรา้ ง ขวัญและกาลงั ใจแก่นักวิจยั อยา่ งเหมาะสมตลอดจนมีระบบและกลไกเพ่อื ช่วยในการคมุ้ ครองสิทธิ์ของ งานวจิ ยั หรืองานสรา้ งสรรคท์ ี่นาไปใชป้ ระโยชน์ เกณฑม์ าตรฐาน 1. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารงานวิจัยที่สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการบริหารงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ 2. สนบั สนนุ พนั ธกจิ ดา้ นการวิจัยหรอื งานสรา้ งสรรคใ์ นประเดน็ ตอ่ ไปนี้ -หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารหรือหอ้ งปฏิบัติงานสรา้ งสรรค์ หรอื หนว่ ยวจิ ัย หรือศนู ย์เครื่องมือ หรอื ศูนย์ให้ คาปรกึ ษาและสนบั สนุนการวจิ ัยหรอื งานสร้างสรรค์ -หอ้ งสมุดหรอื แหลง่ คน้ ควา้ ข้อมูลสนับสนุนการวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ -ส่ิงอานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจยั หรอื การผลติ งานสร้างสรรค์ เช่น ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยในหอ้ งปฏิบตั กิ าร -กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสรมิ งานวจิ ัยหรืองานสร้างสรรค์ เชน่ การจัดประชุมวิชาการ การจัด แสดงงานสร้างสรรค์ การจดั ให้มศี าสตราจารย์อาคันตุกะหรอื ศาสตราจารย์รบั เชญิ (visiting professor) 3. จัดสรรงบประมาณ เพอื่ เป็นทนุ วิจัยหรอื งานสร้างสรรค์ 4. จัดสรรงบประมาณเพือ่ สนับสนุนการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ในการประชุม วชิ าการหรือการตีพิมพใ์ นวารสารระดบั ชาตหิ รอื นานาชาติ 5. มีการพัฒนาสมรรถนะอาจารย์และนักวิจัย มีการสร้างขวญั และกาลังใจตลอดจนยกย่อง อาจารยแ์ ละนักวจิ ยั ที่มีผลงานวจิ ัยหรอื งานสรา้ งสรรค์ดเี ด่น 6. มรี ะบบและกลไกเพื่อช่วยในการคมุ้ ครองสิทธข์ิ องงานวจิ ัยหรืองานสรา้ งสรรคท์ น่ี าไปใช้ ประโยชน์และดาเนนิ การตามระบบทีก่ าหนด รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 56

เกณฑก์ ารประเมนิ : 6 ข้อ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนนิ การ มกี ารดาเนนิ การ 3– 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ขอ้ 1 ข้อ 2 ขอ้ ผลการดาเนนิ งานและการประเมนิ ตนเอง 1.มีระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารงานวจิ ัยทสี่ ามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นการบรหิ ารงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ (1) คณะศิลปศาสตร์มีระบบสารสนเทศในการบริหารงานวิจัยท่ีเก่ียวกับการติดตาม การดาเนินงานของนักวิจัยตามกรอบระยะเวลา ฐานข้อมูลด้านงบประมาณและการเบิกจ่ายโดยใช้ระบบ ฐานข้อมลู บริหารงานวิจยั ของมหาวทิ ยาลัย (2) คณะศิลปศาสตร์มีระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารงานวิจัย โดยเป็นการจัดทาฐานข้อมูล ผลงานวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัย นาข้ึนหน้าเว็บไซตข์ องคณะศิลปศาสตร์ เพื่อเป็นข้อมูลให้กับนักวิจัยรุ่นใหม่ ได้มาศึกษาแนวทางในการทางานวิจัย ซ่ึงอยู่ระหว่างดาเนินการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล ซ่ึงดาเนินการประมาณ 50 % แล้ว (3) ด้านกลไกงานวิจัยของคณะศิลปศาสตร์ มีสองส่วนท่ีทางานสอดประสานกัน คือ งานวิชาการและวิจัย และศูนย์วิจัยและนวัตกรรมของคณะศิลปศาสตร์ โดยมีการประชาสัมพันธ์ด้านงานวิจัย การนาเสนอผลงานวิจัย การตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัย การสนับสนุนและผลักดันการส่งข้อเสนองานวิจัย เพื่อของบประมาณจากหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมจัดโครงการที่ส่งเสริมการเขียนข้อเสนองานวิจัยให้กับนักวิจัย โดยมีระบบพ่ีเล้ียง และผลักดันให้นักวิจัยมีผลงานวิจัยที่บูรณาการกับคณะหรือหน่วยงานต่างๆ เพ่ือให้ได้ งบประมาณที่มากข้ึนและเพ่ือความหลากหลายของแหล่งทุน ซ่ึงตอนนี้คณะศิลปะศาสตร์กาลังผลักดันงานวิจัย เชิงพื้นที่ให้มากขึ้น และคืนกลับผลการวิจัยไปยังชุมชนที่เป็นพื้นที่วิจัย เพื่อให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์สูงสุดจาก ผลการวิจัยจึงเป็นผลทาให้ชุมชน มีความเชื่อมั่นและร่วมมือในการดาเนินการวิจัยเชิงพื้นท่ีอย่างต่อเนื่อง อีกทั้ง คณะศิลปศาสตร์มีการสรุปงานวิจัยของแต่ละปี เพื่อสรุปหาแนวทางและวิธีการแก้ไข ให้สอดคล้องกับ ความต้องการของแหลง่ ทนุ วิจยั เพ่ือพัฒนางานวิจัยของคณะให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ ทกุ ปี 2. สนับสนนุ พันธกิจด้านการวจิ ยั หรืองานสร้างสรรคใ์ นประเด็นต่อไปนี้ (1) คณะศิลปศาสตร์มีการจัดตั้งศูนย์วิจัยและนวัตกรรม ทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาและสนับสนุน ข้อมูลการวิจัยโดยใช้ระบบพ่ีเลี้ยงนักวิจัย ให้บริการท้ังอาจารย์สายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุน (F1- 2.1.2.1) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 57

(2) คณะศิลปศาสตร์มีตู้จัดแสดงผลงานของอาจารย์เพ่ือเป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูล และศึกษา แนวทางเพื่อใช้เป็นแบบอย่างในด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ อยู่บริเวณชั้น 1 ของคณะศิลปะศาสตร์ โดยมี ผลงานกวา่ 20 ผลงาน ทีไ่ ด้จดั แสดงไว้ (F1-2.1.2.2) (3) คณะศิลปศาสตร์ใช้ศูนย์วิทยบริการฯ ของมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุน การวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ และคณะได้จัดทาฐานข้อมูลผลงานโครงการวิจัยที่เป็นฉบับสมบูรณ์ไว้บนเว็บไซต์ ของคณะ เพ่ือเปน็ แหล่งค้นคว้าขอ้ มลู สนับสนนุ การวจิ ัย(F1-2.1-2.3) (4) คณะศิลปศาสตรเ์ ป็นเจ้าภาพรว่ มกับเครือข่ายศลิ ปวฒั นธรรมมหาวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย ในการงานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ เครือข่ายศิลปะและวัฒนธรรมเพ่ือเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ประจาปี 2564 ภายใต้หวั ข้อ \"วิถีศลิ ปวฒั นธรรมร่วมสมยั \" ณ ห้องประชมุ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ 1 ช้ัน 2 อาคาร เรียนรวมและศูนย์วัฒนธรรม (ตกึ พทุ ธวชิ ชาลยั ) มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร กรุงเทพมหานคร (F1-2.1-2.4) 3. จดั สรรงบประมาณ เพ่ือเปน็ ทนุ วจิ ัยหรืองานสรา้ งสรรค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิกาหนดเปิดรับข้อเสนอโครงการวิจัยเพ่ือขอรับ ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบกองทนุ ส่งเสริมงานวิจัยประจาปีงบประมาณ 2564 (ตุลาคม 2563 – กันยายน 2564) (F1-2.1-3.1) คณะศิลปศาสตร์ได้รับการสนับสนุนเงินวิจัยจากกองทุนส่งเสริมงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ปีงบประมาณ 2564จานวนงานวจิ ยั 16 โครงการ เป็นจานวนเงิน 938,620 บาท (F1-2.1-3.2) คณะศิลปศาสตร์ได้รบั การสนบั สนนุ เงนิ วจิ ยั จากงบกองทนุ พัฒนาดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม ปีงบประมาณ 2564 จานวนงานวจิ ัย 1 โครงการ เปน็ จานวนเงิน 4,703,950 บาท (F1-2.1-3.3) สรปุ เงินสนบั สนุนงานวิจัยท้ังหมด 5,642,570 บาท 4.จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุม วชิ าการหรอื การตีพมิ พ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ มหาวิทยาลัยมีการจัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนนุ การเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ในการประชุมวชิ าการ (F1-2.1-4.1) คณะศิลปศาสตร์ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติและ ระดบั นานาชาติ ซง่ึ ในปี พ.ศ. 2563 และรบั การตพี ิมพ์ในวารสารระดับชาตหิ รอื นานาชาติ ดงั นี้ (1) อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนรัตน์ รัตนพงศ์ธระ ประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิชาการ ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ 1 0 th International Social Sciences and Business Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland วั น ท่ี 3 - 6 กุมภาพันธ์ 2563 ขออนุมัติรับเงินสนับสนุนการนาเสนอผลงานจากมหาวิทยาลัย จานวน 70,000 บาท (F1-2.1-4.2) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 58

(2) อาจารย์ ดร.ธารนี นวัสนธี ประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ 10th International Social Sciences and Business Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland วันท่ี 3-6 กุมภาพันธ์ 2563 ขออนุมัติรับ เงนิ สนับสนนุ การนาเสนอผลงานจากมหาวทิ ยาลยั จานวน 70,000 บาท (F1-2.1-4.3) (3) อาจารย์ธง คาเกิด ประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ 10th International Social Sciences and Business Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland วันท่ี 3-6 กุมภาพันธ์ 2563 ขออนุมัติรับ เงนิ สนบั สนุนการนาเสนอผลงานจากมหาวิทยาลัย จานวน 70,000 บาท (F1-2.1-4.4) (4) อาจารย์สุขุม คงดิษฐ์ ประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ 10th International Social Sciences and Business Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland วันท่ี 3-6 กุมภาพันธ์ 2563 ขออนุมัติรับ เงนิ สนับสนนุ การนาเสนอผลงานจากมหาวทิ ยาลยั จานวน 70,000 บาท (F1-2.1-4.5) (5) รองศาสตราจารย์สายหยุด อุไรสกุล เขา้ ร่วมการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2563 วันศุกร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 ขออนุมัติรับเงินสนับสนุนการ นาเสนอผลงานจากมหาวทิ ยาลัย จานวน 21,004 บาท (F1-2.1-4.6) (6) ผู้ช่วยศาสตราจารย์เนาวรตั น์ อินทรประสิทธิ์ เข้าร่วมการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติมหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2563 วันศุกร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 ไม่ขออนุมัติรับเงิน สนับสนุนการนาเสนอผลงาน (F1-2.1-4.7) (7) อาจารย์ ดร.บุญสมหญิง พลเมืองดี เข้าร่วมงานประชุมวิชาการนานาชาติ เครือข่าย ศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ระหว่างวันที่ 11-13 มีนาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ไม่ขออนุมัติรับเงินสนับสนุนการนาเสนอผลงาน (F1-2.1- 4.8) (8) อ.ดร.บุญสมหญิง พลเมอื งดี เข้ารว่ มงานประชุมวิชาการนานาชาติ ภาคโปสเตอร์ เครอื ข่าย ศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ระหว่างวันท่ี 11-13 มีนาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ไม่ขออนุมัติรับเงินสนับสนุนการนาเสนอผลงาน (F1-2.1- 4.9) (9) อาจารย์จิราณีย์ พันมูล เข้าร่วมงานประชุมวิชาการนานาชาติ ภาคโปสเตอร์ เครือข่าย ศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งท่ี 10 ระหว่างวันที่ 11-13 มีนาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ไม่ขออนุมตั ิรบั เงินสนับสนุนการนาเสนอผลงาน (F1-2.1- 4.10) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 59

(10) อาจารย์เบญจรงค์ พื้นสะอาด เข้าร่วมการประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ คร้ังท่ี 7 เรื่อง นวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาชุมชน วันที่ 30 พฤษภาคม 2563 ขออนมุ ัติรบั เงินสนับสนนุ การนาเสนอผลงานจากคณะ จานวน 2,500 บาท (F1-2.1-4.11) (11) อาจารย์ชาสินี สาราญอินทร์ เข้าร่วมการประชุมระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งท่ี 4 ระหว่างวันท่ี 15-16 กรกฎาคม 2563 ไม่ขออนุมัติรับเงิน สนับสนุนการนาเสนอผลงาน (F1-2.1-4.12) (12) ผู้ช่วยศาสตราจารย์จารัก ซื่อตรง เข้าร่วมการประชุมระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ คร้ังที่ 4 ระหว่างวันท่ี 15-16 กรกฎาคม 2563 ไม่ขออนุมัติรับเงิน สนบั สนุนการนาเสนอผลงาน (F1-2.1-4.13) (13) ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักรฺกวี ซื่อตรง เข้ารว่ มการประชุมระดับชาติ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 15-16 กรกฎาคม 2563 ไม่ขออนุมัติรับเงิน สนบั สนุนการนาเสนอผลงาน (F1-2.1-4.14) (14) อาจารย์นัทธี เพชรบุรี เข้าร่วมการประชุมระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ครั้งที่ 4 ระหว่างวันท่ี 15-16 กรกฎาคม 2563 ไม่ขออนุมัติรับเงินสนับสนุน การนาเสนอผลงาน (F1-2.1-4.15) (15) อาจารย์ภารณี อินทร์เล็ก เข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการ-วิจัยสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คร้ังที่ 13 ระหว่างวันท่ี 17-18 กันยายน 2563 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไม่ขออนุมัติรับเงินสนับสนุนการนาเสนอผลงาน (F1-2.1- 4.16) (16) อาจารย์ ดร.ธารนี นวสั นธี ตีพมิ พ์ลงวารสารวิชาการระดับชาติ วารสารเซนจอหน์ ปีท่ี 32 ฉบับท่ี 23 เดอื นมกราคม-มถิ ุนายน 2563 (F1-2.1-4.17) (17) อาจารย์ ดร.นันทยา คงประพนั ธ์ ตพี ิมพล์ งวารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลาปาง มหาวิทยาลัย จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2563 (F1-2.1-4.18) (18) อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนรัตน์ รัตนพงศ์ธระ ตีพิมพ์ลงวารสารเซนต์จอห์น (สาขา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ISSN: 0859-9432 ปีท่ี 23 ฉบับท่ี 32 เดือนมกราคมถึง เดอื นมถิ ุนายน 2563 (F1-2.1-4.19) (19) อาจารย์ธง คาเกิด ตีพิมพ์ลงวารสารรัชต์ภาคย์ ปีท่ี 14 ฉบับท่ี 36 เดอื นกันยายน-ตุลาคม 2563 (F1-2.1-4.20) (20) อาจารย์ ดร.นันทยา คงประพันธ์ ตพี ิมพ์ลงวารสารวทิ ยาลยั สงฆ์นครลาปาง มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2563 (F1-2.1-4.21) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 60

(21) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์นันทวดี วงษ์เสถยี ร ตพี ิมพล์ งวารสารภาษาปริทัศน์ ฉบบั ที่ 35 (2563) (F1-2.1-4.22) (22) อาจารย์จรัญ อ่อนขาว ตีพิมพ์ลงวารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ (มนุษยศาสตร์และ สงั คมศาสตร)์ ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563 (F1-2.1-4.23) (23) อาจารย์ธาริดา สกุลรัตน์ ตีพิมพ์ลงวารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 4 เดือนเมษายน 2563 (F1-2.1-4.24) (24) อาจารย์พิมพ์พร พิมพ์สุวรรณ ตีพิมพ์ลงวารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีท่ี 12 ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน-ธันวาคม 2563 (F1-2.1-4.25) (25) อาจารย์ธาริดา สกุลรตั น์ ตีพมิ พ์ลงวารสารสังคมศาสตร์และมานษุ ยวิทยาเชิงพุทธ ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 6 มิถนุ ายน 2563 (F1-2.1-4.26) (26) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนภูมิ ปองเสง่ียม ตีพิมพ์ลงวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ปที ี่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 (F1-2.1-4.27) (27) อาจารย์ ดร.นันทยา คงประพันธ์ตี พมิ พ์ลงวารสารสงั คมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 11 เดอื นพฤศจิกายน 2563 (F1-2.1-4.28) (28) อาจารย์ ดร.จิดาภา เร่งมศี รีสุข ตพี ิมพล์ งวารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชงิ พุทธ วดั วังตะวนั ตก จงั หวัดนครศรีธรรมราช ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 8 เดือนสงิ หาคม 2563 (F1-2.1-4.29) (29) อาจารย์ ดร.สัมพันธ์ สุกใส ตีพิมพ์ลงวารสารสังคมศาสตร์และมานษุ ยวิทยาเชงิ พุทธวัดวัง ตะวนั ตก จังหวัดนครศรธี รรมราช ปที ี่ 5 ฉบับที่ 8 เดอื นสิงหาคม 2563 (F1-2.1-4.30) (30) อาจารย์วาสนา มะลินิน ตีพิมพ์ลงวารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธวัดวัง ตะวนั ตก จงั หวัดนครศรธี รรมราช ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 8 เดือนสงิ หาคม 2563 (F1-2.1-4.31) (31) อาจารย์จิราณีย์ พันมูล ตีพิมพ์ลงวารสารวิจัยเพ่ือการพัฒนาเชิงพื้นท่ี ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-สงิ หาคม 2563 (F1-2.1-4.32) (32) อาจารย์พิมพ์พร พิมพ์สุวรรณ ตีพิมพ์ลงวารสารปญั ญาภวิ ัฒน์ ปีท่ี 12ฉบับท่ี 3 กันยายน- ธนั วาคม 2563 (F1-2.1-4.33) (33) อาจารย์ปริณุต ไชยนิชย์ ตีพิมพ์ลงวารสารวิทยาลัยราชสุดาเพ่ือการวิจัยและการพัฒนา คนพิการ ปีที่ 16 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2563 (F1-2.1-4.34) (34) อาจารย์ธง คาเกิด ตีพิมพ์ลงวารสารเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ปีที่ 12 ฉบับที่ 6 เดอื นพฤศจกิ ายน–ธันวาคม 2563 (F1-2.1-4.35) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 61

(35) อาจารย์ วา่ ทีร่ อ้ ยตรี ดร.ธนรตั น์ รัตนพงศ์ธระ ตีพิมพ์ลงวารสาร International Journal of Psychosocial Rehabilitation ISSN :1475-7192 เดือนพฤษภาคม 2563 (F1-2.1-4.36) (36) อาจารย์ วา่ ที่รอ้ ยตรี ดร.ธนรัตน์ รัตนพงศธ์ ระ ตพี ิมพ์ลงวารสาร International Journal of Innovation, Creativity and Change ISSN : 2201-1315 เดอื นกรกฎาคม 2563 (F1-2.1- 4.37) (37) อาจารย์ ดร.สมพงษ์ เกษานุช ตีพมิ พ์ลงวารสาร International Journal of Innovation, Creativity and Change ISSN : 2201-1315 เดอื นมิถนุ ายน 2563 (F1-2.1-4.38) (38) ผู้ช่วยศาสตราจารย์จักกเมธ พวงทอง ผลงานหนังสือ (สนุกกับการแปล) (ได้รับการ ประเมินผ่านเกณฑ์ การขอตาแหน่งทางวิชาการแล้ว) (F1-2.1-4.39) (39) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนภูมิ ปองเสงีย่ ม ผลงานตารา (Principles and Tourist Guide Operation หลักการและการปฏิบัติงานมัคคุเทศก์) (ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอ ตาแหน่งทางวชิ าการแลว้ ) (F1-2.1-4.40) คณะศิลปศาสตร์ มีอาจารย์เข้าร่วมนาเสนอผลงานวิจัยในการประชมุ วชิ าการระดับชาติ จานวน 8 เร่ืองและนานาชาติ จานวน 7 เร่ือง รวม 15 เร่ือง และตีพิมพ์ลงวารสารจานวน 22 เร่ือง ตาราและหนังสือ ทีไ่ ด้รับการประเมนิ ผ่านเกณฑก์ ารขอตาแหน่งทางวชิ าการแลว้ 2 เร่ือง รวมทัง้ ส้ิน 39 เร่อื ง ซ่ึงปีนี้ตั้งเป้าหมายไว้ 15 เรอ่ื ง (ท้งั นาเสนอและตพี ิมพ์) งบประมาณท่ีทางคณะสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุม วชิ าการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ จานวนเงิน 23,504 บาท และมหาวิทยาลยั สนับสนุน งบประมาณ จานวนเงนิ 280,000 บาท รวม 303,504 บาท 5.มกี ารพฒั นาสมรรถนะอาจารย์และนกั วิจยั มีการสรา้ งขวญั และกาลังใจตลอดจนยกยอ่ ง อาจารยแ์ ละนกั วิจัยที่มผี ลงานวจิ ยั หรืองานสรา้ งสรรค์ดเี ด่น คณะศิลปศาสตร์ส่งบุคลากรเข้าร่วมโครงการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ วันท่ี 30-31 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุมนนทรี ชั้น 8 อาคาร 24 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (F1-2.1- 5.1) คณะศิลปะศาสตร์โดยงานวิชาการและวิจัยและศูนย์วิจัยและนวัตกรรมคณะศิลปะศาสตร์ จัดโครงการพัฒนานักวิจัยให้มีความสามารถในงานวิจัยโดยระบบพ่ีเลี้ยง ประจาปี 2563 ระหว่างวันที่ 16-17 กรกฎาคม 2563 ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ โดยมีนักวิจัยและผู้สนใจ เข้ารว่ มกวา่ 50 คน โครงการประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก ทาให้ได้ขอ้ เสนองานวจิ ยั ทม่ี คี ุณภาพในการขอรับ ทุนอดุ หนุนงานวจิ ัย จานวน 23 โครงการ จานวนเงนิ 1,592,960 บาท (F1-2.1-5.2) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 62

คณะศิลปศาสตร์มอบโล่ให้ อาจารย์ ดร.จิดาภา เร่งมีศรีสุข เพื่อยกย่องให้เป็นบุคลากรดีเด่น เพชรศิลปศาสตร์ด้านการวิจัย ในงานวันเกียรติยศศิลปศาสตร์ เม่ือวันที่ 26 สิงหาคม 2563 ณ หอประชุมพระ พิรุณระลึกโปรดเกล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ ศูนยพ์ ระนครศรอี ยุธยา หนั ตรา (F1-2.1-5.3) 6.มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธ์ิของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ ประโยชนแ์ ละดาเนนิ การตามระบบทีก่ าหนด (1) คณะศิลปศาสตร์ใช้ระบบกลไกในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนาซึ่งเป็นหน่วยงานกลางของมหาวิทยาลัย ที่ดาเนินการเก่ียวข้องกับการจดสิทธิบัตรและ อนุสิทธิบัตรให้กับคณะศิลปศาสตร์ ในปี 2563 คณะศิลปศาสตร์ยังไม่มีผลงานท่ีสามารถยื่นขอจดสิทธิบัตรและ อนุสิทธิบตั ร (2) กรณีการคุ้มครองสิทธิของงานวิจัยที่นาไปใช้ประโยชน์ คณะศิลปศาสตร์ได้จัดต้ังศูนย์วิจัย และนวัตกรรม เพื่อเป็นหน่วยงานที่ดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย โดยมีคณะกรรมการดาเนินงาน นาผลงานวิจัยเชิงพื้นที่มาสังเคราะห์ และนาข้อมูลวิจัยท่ีผ่านการสังเคราะห์ คืนกลับไปยังชุมชนที่เป็นพื้นท่ีวิจัย เพ่ือให้ชุมชนได้ใช้ประโยชน์สูงสุดจากผลการวิจัย จึงเป็นผลทาให้ชุมชน มีความเช่ือมั่นและร่วมมือในการ ดาเนินการวิจัยเชิงพื้นที่อยา่ งต่อเน่อื ง พรอ้ มทั้งได้รบั รองและคุ้มครองผลการวิจยั ของคณะ ถึงประโยชน์ที่เกดิ ขึ้น จริงในชุมชน (3) คณะศิลปศาสตร์ได้ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้สอนจัดทาผลงานทางวิชาการ ประเภทตาราและ หนังสือให้มีรูปแบบหลักเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการ ซึ่งเม่ือกระบวนการขอตาแหน่งทางวิชาการได้ผ่าน เรียบร้อยแล้ว ตาราและหนังสือจะได้รับการคุ้มครองลิขสิทธ์ิทางปัญญาโดยระบบ จึงเป็นอีกหนึ่งระบบท่ีคณะ ใช้คุ้มครองสิทธ์ิในผลงานวิชาการของคณะ F1-2.1-6.1) ผลการประเมินตนเอง ผลดาเนนิ การ ผลการประเมนิ ตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เปา้ หมาย 6 ขอ้ 5 คะแนน  5 ข้อ เอกสารหลกั ฐาน : หมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน F1-2.1-1.1 web site ของสถาบันวิจยั และพฒั นา ระบบฐานข้อมูลบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิwww.rdi.rmutsb.ac.th/2011 F1-2.1-2.1 รูปภาพการใช้บริการห้อง F1-2.1-2.2 ภาพตูแ้ สดงผลงานของอาจารย์ F1-2.1-2.3 คาสั่งจดั ตง้ั ศนู ย์วจิ ัยและนวัตกรรม รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 63

หมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน F1-2.1-2.4 web site ของสานกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ www.arit.rmutsb.ac.th/2011/home/ F1-2.1-2.5 สงิ่ อานวยความสะดวกและระบบป้องกันฐานข้อมลู งานวจิ ยั F1-2.1-2.6 ภาพการเข้าร่วมการประชุมวิชาการ F1-2.1-3.1 หนงั สอื กาหนดเปิดรบั ข้อเสนอโครงการวิจยั เพ่อื ขอรบั ทนุ อุดหนุนการวิจยั จากงบกองทนุ สง่ เสรมิ งานวิจัยประจาปีงบประมาณ 2564 (ตลุ าคม 2563 – กนั ยายน 2564) F1-2.1-3.2 หนงั สือขอส่งผลการพจิ ารณาขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ท่ีขอรับทุนอุดหนนุ จากงบกองทนุ ส่งเสรมิ งานวจิ ยั ประจาปีงบประมาณ 2564 ที่ผา่ นการอนุมัติ F1-2.1-3.3 หนังสอื ขอสง่ ผลการอนุมตั ิโครงการวจิ ยั ประจาปงี บประมาณ 2564 ที่ผ่านการอนมุ ตั ิ F1-2.1-4.1 ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ เรอื่ งหลักเกณฑก์ ารสนับสนุนบคุ ลากร เพื่อไปนาเสนอผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ จากกองทนุ ส่งเสรมิ การวิจัย F1-2.1-4.2 เอกสารการประชมุ วชิ าการ F1-2.1-4.3 เอกสารการประชมุ วชิ าการ F1-2.1-4.4 เอกสารการประชุมวชิ าการ F1-2.1-4.5 เอกสารการประชมุ วิชาการ F1-2.1-4.6 เอกสารการประชุมวิชาการ F1-2.1-4.7 เอกสารการประชุมวชิ าการ F1-2.1-4.8 เอกสารการประชุมวชิ าการ F1-2.1-4.9 เอกสารการประชุมวชิ าการ F1-2.1-4.10 เอกสารการประชมุ วชิ าการ F1-2.1-4.11 เอกสาร การประชุมวชิ าการ F1-2.1-4.12 เอกสารการประชมุ วิชาการ F1-2.1-4.13 เอกสารการประชุมวชิ าการ F1-2.1-4.14 เอกสารการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ F1-2.1-4.15 เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ F1-2.1-4.16 เอกสารการประชมุ วชิ าการระดับชาติ F1-2.1-4.17 วารสารวชิ าการ F1-2.1-4.18 วารสาร วิชาการ F1-2.1-4.19 วารสารวชิ าการ F1-2.1-4.20 วารสารวชิ าการ F1-2.1-4.21 วารสารวชิ าการ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 64

หมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน F1-2.1-4.22 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.23 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.24 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.25 วารสารวชิ าการ F1-2.1-4.26 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.27 วารสารวชิ าการ F1-2.1-4.28 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.29 วารสารวชิ าการ F1-2.1-4.30 วารสารวชิ าการ F1-2.1-4.31 วารสารวชิ าการ F1-2.1-4.32 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.33 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.34 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.35 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.36 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.37 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.38 วารสารวิชาการ F1-2.1-4.39 หนงั สอื ที่ได้รบั การประเมนิ ผ่านเกณฑ์การขอตาแหนง่ ทางวิชาการแล้ว F1-2.1-4.40 ตาราทีไ่ ด้รับการประเมินผา่ นเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวชิ าการแล้ว F1-2.1-6.1 มาตรฐานขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานดา้ นการคุ้มครองสิทธข์ิ องงานวจิ ัยหรืองานสรา้ งสรรค์ และ คาส่ังพจิ ารณาการขอจดสทิ ธิบัตรของคณะ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 65

องคป์ ระกอบ 2 การวจิ ยั ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (สกอ.) เงินสนบั สนุนงานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรค์ ผรู้ ับผิดชอบ 1. อาจารย์วันดี ศรสี วัสด์ิ รองคณบดี 2. นายเอกชัย นาคถนอม เจา้ หน้าทบี่ ริหารงานท่ัวไป ชนดิ ของตัวบ่งช้ี ปจั จัยนาเข้า คาอธิบายตัวบ่งช้ี ปัจจัยสาคัญท่ีส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการผลิตงานวิจัยหรืองานสร้างสรร ค์ใน สถาบนั อุดมศึกษาคือเงินสนับสนุนงานวจิ ัยหรอื งานสรา้ งสรรค์ ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจึงตอ้ งจัดสรร เงินจากภายในสถาบันและท่ีได้รับจากภายนอกสถาบันเพ่ือสนับสนุนการทาวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ อย่างมีประสิทธภิ าพตามสภาพแวดล้อมและจดุ เน้นของสถาบัน นอกจากน้นั เงนิ ทุนวจิ ัยหรืองานสรา้ งสรรค์ทสี่ ถาบนั ได้รับจากแหลง่ ทนุ ภายนอกยงั เป็นตัวบ่งช้ี ทสี่ าคัญท่ีแสดงถงึ ศกั ยภาพด้านการวิจัยของคณะโดยเฉพาะคนที่อยู่ในกลุ่มทเ่ี นน้ การวิจัย เกณฑก์ ารประเมนิ โดยการแปลงจานวนเงนิ ตอ่ จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา เปน็ คะแนนระหวา่ ง 0–5 มทร.สุวรรณภมู ิ เปน็ สถาบนั กลุ่ม ค2 จาแนกเป็น 2 กลมุ่ สาขาวชิ า ที่ทาการเปดิ สอน ดงั นี้ 1. กล่มุ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวนเงินสนับสนนุ งานวิจยั และงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกาหนดให้ เปน็ คะแนนเตม็ 5 = 60,000 บาทข้ึนไปต่อคน 2. กลุ่มสาขาวิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จานวนเงนิ สนับสนนุ งานวิจยั และงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันที่กาหนดให้ เปน็ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขน้ึ ไปต่อคน สูตรการคานวณ 1.คานวณจานวนเงินสนบั สนุนงานวิจัยหรอื งานสรา้ งสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบนั ตอ่ จานวนอาจารย์ ประจาและนักวจิ ยั ประจา จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั ฯ = จานวนเงินสนบั สนนุ งานวจิ ัยฯจากภายในและภายนอก จานวนอาจารย์ประจาและนักวจิ ยั ประจา 2. แปลงค่าจานวนเงนิ ท่ีคานวณไดใ้ น ข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนทีไ่ ด้ = จานวนเงินสนับสนนุ งานวจิ ัยฯจากภายในและภายนอก x5 จานวนเงนิ สนบั สนนุ งานวิจัยฯท่ีกาหนดให้เปน็ คะแนนเต็ม 5 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 66

สรปุ คะแนนที่ได้ในระดับคณะวิชา คะแนนทีไ่ ด้ในระดับคณะ = ค่าเฉลีย่ ของคะแนนท่ีได้ของทุกกลุ่มสาขาวิชาในคณะ หมายเหตุ 1. จานวนอาจารย์และนักวิจัยประจา ให้นบั ตามปีการศึกษา และนบั เฉพาะท่ปี ฏิบัติงานจรงิ ไม่ นับรวมผู้ลาศกึ ษาต่อ 2. ใหน้ ับจานวนเงินทม่ี ีการลงนามในสญั ญารับทุนในปกี ารศึกษาหรอื ปีงบประมาณหรือปี ปฏิทนิ นนั้ ๆ ไมใ่ ช่จานวนเงินท่ีเบิกจา่ ยจรงิ 3. กรณีทีม่ หี ลกั ฐานการแบ่งสัดส่วนเงินสนับสนนุ งานวจิ ัย ซง่ึ อาจเปน็ หลกั ฐานจากแหลง่ ทุน หรือ หลกั ฐานจากการตกลงร่วมกันของสถาบันท่ีร่วมโครงการ ใหแ้ บ่งสัดสว่ นเงนิ ตามหลักฐานท่ปี รากฏ กรณีท่ีไมม่ ี หลกั ฐาน ให้แบ่งเงินตามสดั ส่วนผู้รว่ มวจิ ัยของแตล่ ะคณะ 4. การนบั จานวนเงนิ สนบั สนุนโครงการวจิ ัย สามารถนับเงินโครงการวจิ ยั สถาบันท่ีได้ลงนามใน สญั ญารับทุนโดยอาจารยห์ รือนักวิจัย แตไ่ ม่สามารถนับเงนิ โครงการวิจัยสถาบนั ท่ีบุคลากรสายสนับสนนุ ท่ีไม่ใชน่ ักวจิ ัยเป็นผดู้ าเนินการ ผลการดาเนินงานและการประเมนิ ตนเอง: ตารางแสดงจานวนอาจารยป์ ระจา และนกั วจิ ัยประจาที่ปฏบิ ัติงานจริง สาขาวิชา จานวน (คน) กลุ่มวิทย์ กลุ่มมนุษยฯ์ รวม คณะศิลปศาสตร์ - 91.5 91.5 แทนค่า 5,642,570 1. จานวนเงนิ สนบั สนนุ งานวจิ ัยหรอื งานสร้างสรรคจ์ ากภายในและภายนอก สถาบนั 91.5 (1) 61,667.43 2. จานวนอาจารย์ประจาและนักวจิ ัยทัง้ หมดไมน่ บั รวมผูล้ าศกึ ษาต่อ(2) 12.33 5.00 3. เงินสนบั สนนุ งานวิจยั และงานสร้างสรรคต์ ่ออาจารยป์ ระจาและนกั วิจัย (3) (1) ÷ (2) 4. เทยี บกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ ((3) ÷ 25,000 ) x 5 ดังนน้ั คะแนนทไ่ี ด้ เทา่ กบั รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 67

ผลการดาเนินงานและการประเมินตนเอง : คณะศลิ ปศาสตร์ได้รับจดั สรรงบประมาณสนบั สนุนงานวิจัย ปีงบประมาณ 2564 จากเงินสนับสนุน ภายใน จานวน 938,620 บาท และจากเงินสนับสนุนภายนอก 4,703,950 บาท รวมเป็นเงินท้ังส้ิน 5,642,570 บาท อาจารย์ที่ปฏิบัติงานจริง 91.5 คน คิดเป็นเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ภายในและภายนอก สถาบนั ต่อจานวนอาจารยป์ ระจา เทา่ กับ 61,667.43 บาท/คน คิดเปน็ 5.00 คะแนน ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน ผลลพั ธ์ คะแนนประเมิน ตัวหาร 61,667.43 บาท/คน ตนเอง ตวั ต้ัง จานวนเงินสนับสนนุ งานวจิ ัย จานวนอาจารย์ประจา 5.00 คะแนน และนกั วจิ ัย (5,642,570 บาท) (ไมน่ ับผลู้ าศึกษาต่อ) (91.5 คน) ผลการประเมนิ ตนเอง ผลดาเนนิ การ คะแนนประเมนิ ตนเอง บรรลุเป้าหมาย เปา้ หมาย  61,667.43 บาท/คน 5.00 25,000 บาทขึ้นไปตอ่ คน เอกสารหลักฐาน : รายการเอกสารหลักฐาน หมายเลข หนงั สือกาหนดเปิดรับข้อเสนอโครงการวจิ ัยเพ่อื ขอรบั ทนุ อุดหนนุ การวจิ ยั จากงบกองทุน F1-2.2-1 ส่งเสริมงานวจิ ัยประจาปงี บประมาณ 2564 (ตลุ าคม 2562 – กนั ยายน 2563) หนังสือขอสง่ ผลการพิจารณาข้อเสนอโครงการวจิ ยั ที่ขอรบั ทุนอุดหนนุ จากงบกองทนุ F1-2.2-2 สง่ เสริมงานวิจยั ประจาปีงบประมาณ 2564 ท่ผี ่านการอนุมัติ หนงั สอื แจง้ ผลการอนุมัติ F1-2.2-3 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 68

ตารางแสดงเงนิ สนบั สนนุ งานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอก ของคณะศิลปศาสตร์ จานวนเงนิ สนับสนนุ งานวจิ ัย และงานสร้างสรรค์ รายการ ปงก บประมาณ ปกงบประมาณ ปกงบประมาณ 2562 2563 2564 เงินสนับสนนุ งานวิจัยและงานสร้างสรรคจ์ าก 1,147,640 1,096,800 938,620 ภายในสถาบัน (บาท) เงินสนับสนุนงานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรคจ์ าก 2,745,000 162,000 4,703,950 ภายนอกสถาบนั (บาท) รวมเงินสนบั สนุนท้ังหมด 3,892,640 1,258,800 5,642,570 รวมจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยปฏิบตั ิงาน 99 95 91.5 จริง เงนิ สนับสนุนงานวจิ ยั และงานสรา้ งสรรคต์ ่อ 39,319.60 13,250.53 61,667.43 อาจารย์ประจาและนักวิจัย ขอ้ มูล ณ วันท่ี 31 พฤษภาคม 2564 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 69

องคป์ ระกอบ 2 การวจิ ัย ตัวบง่ ช้ที ่ี 2.3 (สกอ.) ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ประจาและนักวจิ ัย ผูร้ ับผิดชอบ 1. อาจารยว์ นั ดี ศรสี วสั ด์ิ รองคณบดี 2. นายเอกชยั นาคถนอม เจ้าหนา้ ท่ีบริหารงานทวั่ ไป ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลลพั ธ์ การคดิ รอบปก ปปก ฏทิ นิ (1 ม.ค. – 31 ธ.ค.) คาอธิบายตัวบ่งชี้ ผลงานวชิ าการเปน็ ขอ้ มลู ท่ีสาคญั ในการแสดงให้เห็นวา่ อาจารยป์ ระจาและนกั วิจัยได้สร้างสรรค์ ขึ้นเพ่ือแสดงให้เห็นถึงความกา้ วหนา้ ทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรอู้ ย่างต่อเนื่องเปน็ ผลงานที่มี คุณค่าสมควรส่งเสริมให้มีการเผยแพร่และนาไปใช้ประโยชน์ท้ังเชิงวิชาการและการแข่งขันของประเทศ ผลงานวิชาการอยู่ในรูปของบทความวิจัยหรือวารสารวิชาการท่ีปรากฏในฐานข้อมูล TCI หรือ Scopus หรือตามประกาศก.พ.อ หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติว่าด้วย หลักเกณฑ์การ พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 ผลงานได้รับการจด อนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร หรือเป็นผลงานทางวิชาการรับใช้สังคมท่ีผ่านการประเมินตาแหน่งทาง วิชาการแล้วผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดาเนินการ ตาราหรือหนังสือที่ใช้ใน การขอผลงานทางวิชาการและผา่ นการพจิ ารณาตามเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแล้ว โดยมีวิธีการ คิดดงั น้ี เกณฑ์การประเมนิ โดยการแปลงคา่ ร้อยละของผลรวมถว่ งน้าหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาและ นักวิจัยเป็นคะแนนระหว่าง 0-5 เกณฑ์แบง่ กล่มุ ตามสาขาวิชาดงั นี้ 1. เกณฑ์เฉพาะคณะ กล่มุ ข และ ค2 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานทางวชิ าการของอาจารยป์ ระจาและนักวจิ ัยท่ีกาหนดไว้ เป็นคะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป 2. กลมุ่ สาขาวชิ า มนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ร้อยละของผลรวมถ่วงนา้ หนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจาและนักวิจยั ที่กาหนดไว้ เปน็ คะแนนเตม็ 5 = รอ้ ยละ 20 ขนึ้ ไป รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 70

สตู รการคานวณ 1. คานวณร้อยละของผลรวมถว่ งน้าหนกั ของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาและนกั วิจยั ตามสูตร ผลรวมถ่วงนา้ หนักของผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาและนกั วจิ ัย x 100 จานวนอาจารยป์ ระจาและนักวิจยั ทัง้ หมด 2. แปลงค่าร้อยละทคี่ านวณไดใ้ น ขอ้ 1 เทยี บกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนท่ไี ด้ = ร้อยละผลรวมถว่ งนา้ หนกั ของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาและนักวิจยั X5 รอ้ ยละผลรวมถว่ งน้าหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาและนกั วิจัยท่ีกาหนดใหเ้ ป็นคะแนนเตม็ 5 แทนค่า 23.0 1. ผลรวมถ่วงน้าหนกั ของผลงานวชิ าการของอาจารยป์ ระจาและนักวจิ ยั (1) 92.5 24.864 2. จานวนอาจารยป์ ระจาและนกั วจิ ัยทั้งหมด (2) 6.22 3. ร้อยละผลรวมถ่วงนา้ หนกั ของผลงานวิชาการของอาจารยป์ ระจาและนักวจิ ยั (3) ((1) ÷ (2)) x 100 5.00 4. เทยี บกบั คะแนนเต็ม 5 คะแนนทไี่ ด้ ((3) ÷ 20 ) x 5 ดังนัน้ คะแนนทไ่ี ด้ เทา่ กับ กาหนดระดับคุณภาพผลงาน ดังน้ี คา่ น้าหนกั ระดับคณุ ภาพงานวจิ ยั 0.20 - บทความวจิ ยั หรอื บทความวิชาการฉบบั สมบรู ณท์ ่ตี พี มิ พ์ในรายงานสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการ ระดบั ชาติ 0.40 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุม วิชาการระดับ นานาชาติ หรือที่ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง วชิ าการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมัติ และจัดทาเปน็ ประกาศให้ทราบเป็นการทัว่ ไป และแจง้ ให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับแต่ วันท่ีออกประกาศ - ผลงานท่ไี ด้รบั การจดอนสุ ิทธบิ ตั ร รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 71

คา่ น้าหนัก ระดับคณุ ภาพงานวจิ ัย 0.60 0.80 - บทความวิจยั หรอื บทความวิชาการทีม่ กี ารตพี ิมพใ์ นวารสารวิชาการทปี่ รากฏในฐานขอ้ มลู TCI 1.00 กล่มุ ท่ี 2 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีไม่อยู่ใน ฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การ พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบัน นาเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีออกประกาศ (ซ่ึงไม่อยู่ใน Beall’s list) หรือตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการทปี่ รากฏในฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ท่ี 1 - บทความวิจยั หรือบทความวิชาการทม่ี ีการตพี ิมพใ์ นวารสารวิชาการระดบั นานาชาตีทปี่ รากฏใน ฐานขอ้ มลู ระดบั นานาชาตติ ามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าดว้ ย หลักเกณฑ์การพจิ ารณาวารสารทางวชิ าการสาหรบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ พ.ศ. 2556 - ผลงานไดร้ บั การจดสทิ ธิบัตร - ผลงานวชิ าการรบั ใช้สงั คมทไี่ ดร้ บั การประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การขอตาแหนง่ ทางวิชาการแล้ว - ผลงานวจิ ยั ท่หี นว่ ยงานหรอื องคก์ รระดบั ชาติวา่ จ้างให้ดาเนนิ การ - ผลงานค้นพบพนั ธุ์พชื พนั ธ์ุสตั ว์ ทคี่ ้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบยี น - ตาราหรอื หนังสอื ที่ไดร้ บั การประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหนง่ ทางวชิ าการแลว้ - ตาราหรอื หนังสือที่ผ่านการพจิ ารณาตามหลักเกณฑก์ ารประเมินตาแหน่งทางวชิ าการ แต่ไม่ไดน้ ามาขอรบั การประเมนิ ตาแหน่งทางวชิ าการ การส่งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลือกให้นาเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และเม่ือไดร้ บั การตอบรับและตพี มิ พ์แลว้ การตีพมิ พ์ต้องตีพมิ พ์เป็นฉบบั สมบูรณ์ซึง่ สามารถอยู่ ในรปู แบบเอกสาร หรอื สือ่ อิเลก็ ทรอนิกสไ์ ด้ ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ ดงั นี้ ค่านา้ หนกั ระดับคณุ ภาพ 0.20 งานสรา้ งสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลกั ษณะหนึ่ง หรอื ผ่านส่อื อิเล็กทรอนิกส์ online 0.40 งานสรา้ งสรรคท์ ี่ได้รับการเผยแพรใ่ นระดบั สถาบัน 0.60 งานสร้างสรรค์ท่ไี ด้รับการเผยแพรใ่ นระดบั ชาติ 0.80 งานสรา้ งสรรคท์ ไ่ี ดร้ ับการเผยแพร่ในระดบั ความรว่ มมือระหว่างประเทศ 1.00 งานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การเผยแพรใ่ นระดบั ภมู ิภาคอาเซียน/นานาชาติ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 72

ผลการดาเนินงานและการประเมินตนเอง คณะศิลปศาสตร์มีผลงานวิชาการของอาจารย์ประจา จานวน 39 ผลงาน ผลรวมถ่วงน้าหนักของ ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจา เท่ากับ 23.0 จากอาจารย์ประจาท่ีปฏิบัติงานจริง 92.5 คน คิดเป็นร้อยละ 24.864 เทา่ กับ 5.00 คะแนน ผลการประเมินตนเอง ผลดาเนินการ คะแนนประเมินตนเอง บรรลุเปา้ หมาย เป้าหมาย 24.86 5.00  ร้อยละ 10 เอกสารหลกั ฐาน : รายการเอกสารหลกั ฐาน หมายเลข F1-2.3-1 ประชุมวชิ าการและนาเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ 10th International Social Sciences and Business Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland F1-2.3-2 ประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิชาการระดบั นานาชาติ 10th International Social Sciences and Business Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland F1-2.3-3 ประชมุ วชิ าการและนาเสนอผลงานวชิ าการระดับนานาชาติ 10th International Social Sciences and Business Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland F1-2.3-4 ประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวชิ าการระดับนานาชาติ 10th International Social Sciences and Business Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland F1-2.3-5 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวทิ ยาลัยพายัพ 2563 F1-2.3-6 การประชุมวิชาการระดบั ชาติมหาวทิ ยาลัยพายัพ 2563 F1-2.3-7 ประชุมวิชาการนานาชาติ เครือข่ายศิลปวฒั นธรรมมหาวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย ครั้งท่ี 10 F1-2.3-8 ประชมุ วิชาการนานาชาติ เครือข่ายศลิ ปวฒั นธรรมมหาวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย ครั้งท่ี 10 F1-2.3-9 ประชุมวิชาการนานาชาติ เครือข่ายศิลปวัฒนธรรมมหาวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย ครงั้ ที่ 10 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 73

หมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน F1-2.3-10 F1-2.3-11 การประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 7 F1-2.3-12 F1-2.3-13 การประชมุ ระดบั ชาติ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ ครง้ั ท่ี 4 F1-2.3-14 F1-2.3-15 การประชุมระดบั ชาติ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครง้ั ที่ 4 F1-2.3-16 การประชุมระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภูมิ ครง้ั ท่ี 4 F1-2.3-17 การประชุมระดับชาติ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 4 F1-2.3-18 การประชมุ วชิ าการระดับชาติเครอื ข่ายความร่วมมือทางวิชาการ-วจิ ยั สายมนุษยศาสตรแ์ ละ สงั คมศาสตร์ ครงั้ ท่ี 13 F1-2.3-19 F1-2.3-20 วารสารวชิ าการระดับชาติ วารสารเซนจอห์น ปีท่ี 32 ฉบบั ที่ 23 เดอื นมกราคม-มิถุนายน 2563 F1-2.3-21 F1-2.3-22 วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลาปาง มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดอื นพฤษภาคม-สงิ หาคม 2563 F1-2.3-23 F1-2.3-24 วารสารเซนต์จอหน์ (สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์) ISSN: 0859-9432 ปีท่ี 23 ฉบบั F1-2.3-25 ที่ 32 เดือนมกราคมถึงมถิ นุ ายน 2563 วารสารรชั ตภ์ าคย์ ปที ่ี 14 ฉบบั ที่ 36 เดือนกันยายน-ตลุ าคม 2563 วารสารวทิ ยาลยั สงฆน์ ครลาปาง มหาวทิ ยาลัยจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือน พฤษภาคม-สิงหาคม 2563 วารสารภาษาปริทศั น์ ฉบบั ท่ี 35 (2563) วารสารวชิ าการ มทร.สุวรรณภูมิ (มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร)์ ปที ่ี 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563 วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวทิ ยาเชิงพทุ ธ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 4 เดอื นเมษายน 2563 วารสารปญั ญาภิวฒั น์ ปที ี่ 12 ฉบบั ท่ี 3 เดอื นกนั ยายน-ธันวาคม 2563 วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวทิ ยาเชงิ พทุ ธ ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 6 มิถนุ ายน 2563 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 74

หมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน F1-2.3-26 วารสารบณั ฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ปที ี่ 14 ฉบับ F1-2.3-27 ที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563 F1-2.3-28 วารสารสงั คมศาสตร์และมานุษยวทิ ยาเชิงพุทธ ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 11 เดือนพฤศจิกายน 2563 F1-2.3-29 วารสารสงั คมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชงิ พทุ ธ วัดวงั ตะวันตก จังหวัดนครศรธี รรมราช ปที ่ี 5 F1-2.3-30 ฉบบั ที่ 8 เดอื นสงิ หาคม 2563 F1-2.3-31 วารสารสงั คมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพทุ ธ วดั วงั ตะวนั ตก จงั หวดั นครศรีธรรมราช ปที ่ี 5 F1-2.3-32 ฉบบั ท่ี 8 เดือนสิงหาคม 2563 F1-2.3-33 วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชิงพทุ ธ วดั วังตะวนั ตก จงั หวดั นครศรีธรรมราช ปที ี่ 5 F1-2.3-34 ฉบบั ท่ี 8 เดือนสงิ หาคม 2563 F1-2.3-35 วารสารวจิ ยั เพ่อื การพฒั นาเชิงพื้นท่ี ปีท่ี 12 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-สงิ หาคม 2563 F1-2.3-36 วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปที ี่ 12ฉบับท่ี 3 กันยายน-ธนั วาคม 2563 F1-2.3-37 วารสารวิทยาลยั ราชสดุ าเพือ่ การวจิ ยั และการพัฒนาคนพิการ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม- F1-2.3-38 ธันวาคม 2563 F1-2.3-39 วารสารเพอื่ การพัฒนาเชิงพ้ืนที่ ปีท่ี 12 ฉบบั ที่ 6 พฤศจิกายน –ธันวาคม 2563 วารสาร International Journal of Psychosocial Rehabilitation ISSN :1475-7192 เดอื นพฤษภาคม 2563 วารสาร International Journal of Innovation, Creativity and Change ISSN : 2201- 1315 เดือนกรกฎาคม 2563 วารสาร International Journal of Innovation, Creativity and Change ISSN : 2201- 1315 เดอื นมิถนุ ายน 2563 หนงั สอื (ผชู้ ่วยศาสตราจารยจ์ กั กเมธ พวงทอง) ตารา (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนภมู ิ ปองเสงยี่ ม) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 75

ตารางที่ 2.2-2 จานวนและรายชอ่ื ผลงานวชิ าการของอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา ในปก พ.ศ.2563 จาแนกสาขาวิชา กลุ่มสาขาวิชา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร้อยละ 20 = 5 คะแนน ปทก ่ี ลา ชอ่ื ผลงานวิชาการ เจา้ ของผลงาน ปทก ่ี ชอื่ วารสาร/แหล่งตพี ิมพ์ คา่ ถว่ ง ผลงาน ดบั ตพี ิมพ์ นา้ หนัก เสร็จ ที่ สาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ นาเสนอผลงานวชิ าการและวจิ ัย 2563 1 The Management of อ.วา่ ทีร่ อ้ ยตรี ดร.ธน 2563 ประชุมวชิ าการและนาเสนอ 0.4 Decreasing the Effect รัตน์ รตั นพงศ์ธระ ผลงานวิชาการระดบั of Carbon Pollution นานาชาติ 10th Cause by Tourism International Social Activities in World Sciences and Business Heritage Sites, Case Research Conference ณ Study: Ayutthaya Universita della Svizzera World Heritage, italiana, Lugano, Thailand Switzerland วันที่ 3-6 กุมภาพันธ์ 2563 2 Cultural Heritage for อ.ดร.ธารนี นวัสนธี 2563 ประชุมวิชาการและนาเสนอ 0.4 Creative Tourism ผลงานวิชาการระดับ Activities to Reflect a นานาชาติ 10th World Heritage International Social Recognition in Sciences and Business Ayutthaya, Thailand Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland วันที่ 3-6 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 76

ปทก ี่ ลา ช่ือผลงานวชิ าการ เจ้าของผลงาน ปทก ี่ ชือ่ วารสาร/แหลง่ ตพี มิ พ์ คา่ ถ่วง ผลงาน ดบั ตีพิมพ์ นา้ หนัก เสรจ็ ที่ อ.ธง คาเกดิ 3 Agro-Ecotourism 2563 ประชมุ วิชาการและนาเสนอ 0.4 Routes Based on ผลงานวิชาการระดับ Creative Tourism by นานาชาติ 10th Organizing the International Social Community’s Sciences and Business Participation in Research Conference ณ Samruan, Central of Universita della Svizzera Thailand italiana, Lugano, Switzerland วันที่ 3-6 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 4 Cultural Heritage for อ.สขุ ุม คงดิษฐ์ 2563 ประชุมวชิ าการและนาเสนอ 0.4 Creative Tourism ผลงานวิชาการระดับ Activities to Reflect a นานาชาติ 10th World Heritage International Social Recognition in Sciences and Business Ayutthaya, Thailand Research Conference ณ Universita della Svizzera italiana, Lugano, Switzerland วันที่ 3-6 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 5 แพการคา้ ยา่ นหวั รอ : วิถี รศ.สายหยุด อไุ รสกลุ 2563 การประชุมวชิ าการเสนอ 0.2 ผลงานวิจัยระดับชาติ ชวี ิตชมุ ชนและการ ผศ.เนาวรัตน์ มหาวทิ ยาลยั พายัพ พ.ศ. 2563 วันศุกรท์ ่ี 14 เปลี่ยนแปลงรปู แบบการค้า อินทรประสิทธ์ิ กุมภาพนั ธ์ 2563 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 77

ปกท่ี ลา ชอื่ ผลงานวชิ าการ เจ้าของผลงาน ปทก ่ี ช่ือวารสาร/แหลง่ ตีพิมพ์ ค่าถว่ ง ผลงาน ดบั ตพี ิมพ์ น้าหนกั เสรจ็ ท่ี 0.2 6 การพัฒนาทักษะการพดู ผศ.เนาวรตั น์ 2563 การประชมุ วิชาการเสนอ ผลงานวิจยั ระดบั ชาติ ภาษาองั กฤษผา่ นกิจกรรม อินทรประสิทธ์ิ มหาวทิ ยาลยั พายัพ พ.ศ. 2563 วันศุกรท์ ี่ 14 การโตว้ าทีของนักศกึ ษาชัน้ อาคม สระบวั และ กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ปีที่ 2 สาขาวชิ า สายหยดุ อุไรสกุล ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร สากล มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล สวุ รรณภมู ิ 7 The Study of Mon อ.ดร.บุญสมหญงิ 2563 งานประชุมวชิ าการนานาชาติ 0.4 เครือข่ายศลิ ปวฒั นธรรม People’s Identity: Mon พลเมืองดี อ.จุฬารัตน์ มหาวทิ ยาลยั แห่งประเทศ ไทย ครง้ั ที่ 10 ระหว่างวนั ที่ identity study: A case ชัยพทิ ักษ์ และ 11-13 มนี าคม 2563 ณ มหาวิทยาลยั ราชภฏั study of the Last อ.วรรษา พรหมศิลป์ กาแพงเพชร Group of Mon Krugsri in Khanon Luang Sub- district, Bang Pa-In District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province 8 An Anthropological อ.ดร.บุญสมหญงิ 2563 งานประชมุ วิชาการนานาชาติ 0.4 เครอื ข่ายศิลปวัฒนธรรม Reflection of an พลเมืองดี มหาวิทยาลัยแหง่ ประเทศ ไทย ครงั้ ท่ี 10 ระหวา่ งวันท่ี Austroasiatic Language: และ อ.จฬุ ารตั น์ 11-13 มีนาคม 2563 ณ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ The Significant Identity ชยั พทิ กั ษ์ กาแพงเพชร of Siamese Minority of Ethnic Mons รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 78

ปทก ่ี ลา ชอ่ื ผลงานวิชาการ เจ้าของผลงาน ปกท่ี ชอื่ วารสาร/แหล่งตีพิมพ์ คา่ ถว่ ง ผลงาน ดบั ตีพมิ พ์ นา้ หนกั เสรจ็ ท่ี 9 The Behavior and อ.จริ าณีย์ พนั มลู 2563 งานประชมุ วิชาการนานาชาติ 0.4 Requirement of อ.วโรทัย สมมติ ร และ เครอื ข่ายศิลปวัฒนธรรม Tourists ผศ.ชลลดา ทวีคณู มหาวทิ ยาลยั แห่งประเทศ on Koh Kret ไทย คร้งั ท่ี 10 ระหวา่ งวันท่ี Community, 11-13 มีนาคม 2563 ณ Nonthaburi Province. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร 10 การพฒั นาการท่องเทยี่ ว อ.เบญจรงค์ พื้นสะอาด 2563 การประชุมวชิ าการและ 0.2 เชงิ เกษตรของหม่บู ้าน OTOP นวัตวถิ บี า้ นคลอง และอ.ดร.สมพงษ์ นาเสนอผลงานวิจัย สอง จังหวดั นนทบุรี เกศานชุ ระดับชาติ ครั้งที่ 7 เรื่อง นวัตกรรมการเรียนรู้สู่การ พัฒนาชุมชน วันท่ี 30 พ.ค. 2563 11 พระมหากษัตรยิ ก์ ับ อ.ชาสินี สาราญอนิ ทร์ 2563 การประชุมระดับชาติ 0.2 ประชาชนจากอุปลักษณ์ อ.นัทธี เพชรบุรี และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช เชิงมโนทัศน์ในบทเพลง อ.พิมพพ์ ร พมิ พส์ วุ รรณ มงคลสวุ รรณภมู ิ ครงั้ ท่ี 4 เทิดพระเกียรติแด่ ระหวา่ งวนั ที่ 15-16 ก.ค. พระบาทสมเดจ็ พระ 2563 ปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ย เดช 12 การศกึ ษาความสามารถ ผศ.จารัก ซือ่ ตรง 2563 การประชุมระดบั ชาติ 0.2 และกลวธิ ีในการส่ือสาร และผศ.จักรก์ วี ซื่อตรง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช ภาษาองั กฤษของ มงคลสวุ รรณภมู ิ ครงั้ ที่ 4 ประชาชนในจงั หวดั ระหวา่ งวันที่ 15-16 ก.ค. สุพรรณบุรีกบั นักท่องเทยี่ ว 2563 ชาวต่างชาติ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 79

ปกที่ ลา ช่ือผลงานวิชาการ เจ้าของผลงาน ปทก ี่ ชอ่ื วารสาร/แหล่งตีพมิ พ์ ค่าถว่ ง ผลงาน ดับ ตีพิมพ์ นา้ หนัก เสร็จ ที่ 13 การศึกษาการเปล่ียนแปลง ผศ.จักรกฺ วี ซอ่ื ตรง 2563 การประชุมระดับชาติ 0.2 และการปรบั ตัวทาง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช เศรษฐกิจและสังคมของคน มงคลสุวรรณภมู ิ ครง้ั ท่ี 4 ในชมุ ชน : กรณศี กึ ษา ระหว่างวนั ท่ี 15-16 ก.ค. ชมุ ชนตลาดสามชุกรอ้ ยปี 2563 อาเภอสามชุก จังหวัด สพุ รรณบรุ ี 14 การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิ อ.นทั ธี เพชรบุรี 2563 การประชมุ ระดับชาติ 0.2 ทางการเรียนวชิ า มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช ภาษาองั กฤษโดยใช้ มงคลสุวรรณภมู ิ คร้งั ท่ี 4 กจิ กรรมเปน็ ฐานนักเรยี น ระหว่างวนั ที่ 15-16 ก.ค. ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4-6 2563 โรงเรยี นวัดไผ่แตร อ.เมอื ง จังหวัดลพบรุ ี 15 การสารวจและประเมนิ อ.ภารณี อนิ ทร์เล็ก 2563 การประชมุ วชิ าการ 0.2 ทรัพยากรประวัตศิ าสตร์ ระดบั ชาติเครือข่ายความ และวัฒนธรรมตามเสน้ ทาง รว่ มมอื ทางวิชาการ-วิจัยสาย ถนนสายนนทบุรี ๑ ส่กู าร มนษุ ยศาสตร์และ สรา้ งเส้นทางการทอ่ งเทยี่ ว สังคมศาสตร์ ครัง้ ที่ 13 จากสถานีรถไฟสะพาน ระหวา่ งวนั ท่ี 17-18 พระนั่งเกลา้ จังหวดั กันยายน 2563 นนทบุรี มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รวมคะแนนถ่วงนา้ หนกั 4.4 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 80

ผลงานที่ตีพิมพว์ ารสารวชิ าการ เจา้ ของผลงาน ปกท่ี ชอ่ื วารสาร/แหล่งตีพมิ พ์ ค่าถว่ ง ตีพิมพ์ นา้ หนกั ปทก ี่ ลา ผลงาน ดบั ชอ่ื ผลงานวิชาการ เสร็จ ท่ี สาขาวิชาสงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์ 2563 1 การบรู ณาการรูปแบบการ อ.ดร.ธารนี นวัสนธี 2563 วารสารวชิ าการระดับชาติ 0.6 ท่องเท่ยี วจากฐานอตั วารสารเซนจอหน์ ปที ่ี 32 ลักษณ์ท้องถนิ่ สกู่ าร ฉบับที่ 23 เดือนมกราคม- ทอ่ งเทยี่ ววิถไี ทยอยา่ ง มถิ นุ ายน 2563 สรา้ งสรรค์ จงั หวัด พระนครศรอี ยธุ ยา 2 ความเชื่อและพิธกี รรม อ.ดร.นันทยา 2563 วารสารวทิ ยาลัยสงฆ์นคร 0.6 0.6 เก่ียวกบั ศาลเจา้ ของชมุ ชน คงประพันธ์ ผศ.สุภาวดี ลาปาง มหาวิทยาลยั จุฬาลง ตาบลย่านยาว อาเภอสามชกุ เผอื กฟัก และอ.พรทพิ ย์ กรณราชวิทยาลยั ปที ี่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี ชว่ ยเพล ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม- สงิ หาคม 2563 3 แนวทางการเพมิ่ ขีด อ.วา่ ท่ีรอ้ ยตรี ดร.ธน 2563 วารสารเซนตจ์ อห์น (สาขา ความสามารถของ รัตน์ รตั นพงศ์ธระ มนุษยศาสตรแ์ ละ ร้านอาหารรมิ ทางเพ่ือ สงั คมศาสตร์) ISSN: 0859- รองรบั การท่องเที่ยวใน 9432 ปีที่ 23 ฉบับท่ี 32 กรุงเทพมหานคร เดือนมกราคมถงึ มิถนุ ายน 2563 4 Knowledge Management อ.ธง คาเกิด 2563 วารสารรชั ตภ์ าคย์ ปที ่ี 14 0.6 to Enhance Marketing ฉบบั ท่ี 36 เดอื นกันยายน- Development of ตุลาคม 2563 Community-Based Cultural Tourism รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 81

ปกที่ ลา ชื่อผลงานวิชาการ เจ้าของผลงาน ปทก ี่ ชอื่ วารสาร/แหล่งตีพิมพ์ คา่ ถ่วง ผลงาน ดับ ตพี มิ พ์ นา้ หนัก เสร็จ ที่ 5 ความเช่ือและพธิ ีกรรม อ.ดร.นันทยา 2563 วารสารวทิ ยาลยั สงฆ์นคร 0.6 เกีย่ วกับศาลเจ้าของชมุ ชน คงประพันธ์ ลาปาง มหาวิทยาลัยจุฬาลง ตาบลย่านยาว อาเภอสามชุก กรณราชวิทยาลยั ปที ่ี 9 จงั หวัดสุพรรณบุรี ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม- สิงหาคม 2563 6 การสรา้ งคาภาษาองั กฤษใน ผศ.นนั ทวดี วงษเ์ สถยี ร 2563 วารสารภาษาปริทัศน์ ฉบบั ท่ี 0.6 สื่อโฆษณากลางแจง้ ของไทย 35 (2563) (Word Formation Processes in Thai Outdoor Advertisements) 7 การพัฒนารปู แบบการสอน อ.จรญั ออ่ นขาว 2563 วารสารวชิ าการ มทร.สุวรรณ 0.6 ภาษาอังกฤษดว้ ยแนวคดิ พหุ ภมู ิ (มนุษยศาสตร์และ ประสาทสัมผสั และการ สังคมศาสตร)์ ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี เรียนรู้แบบปฏบิ ัตใิ นงานจริง 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2563 ดว้ ยสมาธสิ าหรบั พนกั งาน จาหน่ายบัตรเข้าชมอทุ ยาน ประวัตศิ าสตร์ พระนครศรีอยธุ ยา 8 การบรหิ ารจัดการความเส่ียง อ.ธาริดา สกลุ รัตน์ 2563 วารสารสังคมศาสตรแ์ ละ 0.6 ของท่ีพกั สมั ผัสวฒั นธรรม มานษุ ยวิทยาเชงิ พทุ ธ ปที ่ี 5 ชนบท (โฮมสเตย)์ จงั หวดั ฉบับท่ี 4 เดอื นเมษายน พระนครศรอี ยธุ ยา 2563 9 การพฒั นาท่พี ักแบบ อ.พิมพ์พร พิมพส์ วุ รรณ 2563 วารสารปัญญาภิวฒั น์ ปที ่ี 12 0.8 โฮสเทลรองรับกลุ่ม ฉบบั ท่ี 3 เดือนกันยายน- นกั ท่องเท่ยี วในจงั หวัด ธันวาคม 2563 พระนครศรอี ยธุ ยา รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 82

ปกที่ ลา ชอ่ื ผลงานวิชาการ เจ้าของผลงาน ปกที่ ชือ่ วารสาร/แหลง่ ตีพิมพ์ คา่ ถว่ ง ผลงาน ดบั ตีพมิ พ์ นา้ หนกั เสรจ็ ท่ี 10 แนวทางพัฒนาการบริการ อ.ธาริดา สกลุ รัตน์ 2563 วารสารสังคมศาสตร์และ 0.8 ทพ่ี ักสัมผัสวัฒนธรรม มานุษยวทิ ยาเชิงพทุ ธ ปที ี่ 5 (โฮมสเตย)์ จังหวดั ฉบับที่ 6 มิถุนายน 2563 พระนครศรีอยธุ ยา 11 การศึกษาความพึงพอใจ ผศ. ดร.ธนภูมิ ปอง 2563 วารสารบณั ฑติ ศึกษา 0.8 มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลย และการรับรู้ของ เสงี่ยม อลงกรณ์ ในพระบรม ราชปู ถัมภ์ ปที ่ี 14 ฉบับที่ 3 นักท่องเท่ียวชาวไทยท่ี กันยายน-ธันวาคม 2563 เดนิ ทางมาท่องเท่ยี วใน พืน้ ที่อุทยานประวัตศิ าสตร์ จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา 12 ปจั จัยทมี่ ีผลต่อภาวะซึมเศร้า อ.ดร.นนั ทยา 2563 วารสารสงั คมศาสตร์และ 0.8 มานุษยวิทยาเชงิ พุทธ ปีที่ 5 ในวัยร่นุ กรณศี กึ ษา : คงประพันธ์ ฉบับท่ี 11 เดอื นพฤศจิกายน 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช มงคลสวุ รรณภมู ิ 13 ระบบการเสรมิ สรา้ งการมี อ.ดร.จิดาภา เรง่ มศี รี 2563 วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละ 0.8 สว่ นรว่ มในการสง่ เสริมความ สุข มานุษยวิทยาเชงิ พทุ ธ วดั วงั โปร่งใสขององค์กรปกครอง ตะวนั ตก จังหวัด ส่วนทอ้ งถิน่ ไทยในทศวรรษ นครศรธี รรมราช ปที ่ี 5 ฉบบั หน้า ท่ี 8 เดอื นสงิ หาคม 2563 14 ระบบการมีสว่ นรว่ มการ นายนภัทร์ แก้วนาค 2563 วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละ 0.8 จดั การขยะในชุมชนเชิง และอ.ดร.สมั พันธ์ มานษุ ยวิทยาเชงิ พทุ ธ วดั วงั บูรณาการเขตพน้ื ที่จงั หวดั สกุ ใส ตะวนั ตก จังหวดั ภาคกลาง นครศรีธรรมราช ปที ี่ 5 ฉบบั ท่ี 8 เดอื นสิงหาคม 2563 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 83

ปทก ่ี ลา ชอ่ื ผลงานวิชาการ เจ้าของผลงาน ปทก ่ี ชือ่ วารสาร/แหล่งตีพิมพ์ คา่ ถว่ ง ผลงาน ดบั ตพี มิ พ์ นา้ หนัก เสรจ็ ที่ นายนภัทร์ แก้วนาค และอ.วาสนา มะลนิ นิ 15 แบบจาลองการการมีสว่ น 2563 วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละ 0.8 รว่ มของเครอื ขา่ ยทางสงั คม มานษุ ยวทิ ยาเชิงพุทธ วัดวัง เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของ ตะวันตก จงั หวดั สภาเด็กและเยาวชนใน นครศรธี รรมราช ปีท่ี 5 ฉบบั สงั คมไทย ท่ี 8 เดอื นสงิ หาคม 2563 16 กจิ กรรมพหุวัฒนธรรมเพือ่ อ.จิราณีย์ พันมูล 2563 วารสารวจิ ัยเพ่ือการพัฒนา 0.8 ส่งเสริมการท่องเท่ียวเชงิ เชิงพื้นที่ ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 วัฒนธรรมเกาะเกรด็ จงั หวดั กรกฎาคม-สงิ หาคม 2563 นนทบุรี 17 การพัฒนาที่พกั แบบโฮสเทล อ.พิมพ์พร พมิ พ์สวุ รรณ 2563 วารสารปญั ญาภิวฒั น์ ปที ่ี 12 0.8 เพอ่ื รองรบั กลมุ่ นักทอ่ งเท่ยี ว ฉบับที่ 3 กันยายน-ธนั วาคม ในจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา 2563 18 การปรับเปล่ยี นมโนทัศนข์ อง อ.ปริณตุ ไชยนชิ ย์ 2563 วารสารวทิ ยาลัยราชสดุ าเพ่ือ 0.8 คนพกิ ารผ้ปู ระสบวิกฤตด้วย การวิจยั และการพฒั นาคน การเสรมิ พลงั อานาจตนเอง พกิ าร ปีท่ี 16 ฉบับท่ี 2 กรณศี กึ ษา ส่ือหนงั สือ กรกฎาคม-ธันวาคม 2563 อิเลก็ ทรอนิกส์ \"จติ สดใสแม้ กายพกิ าร\" ของ อ.กาพล ทอง บญุ นุ่ม 19 การพฒั นาการท่องเท่ียวเชิง อ.ธง คาเกิด 2563 วารสารเพื่อการพฒั นาเชิง 0.8 เกษตรโดยองคก์ รแบบพหุ อ.ดร.พลารกั ไชยโย พนื้ ที่ ปที ่ี 12 ฉบบั ท่ี 6 ภาคี ชมุ ชนวงั ยาง จังหวัด อ.เพยี งฤทัย เสงย่ี มศลิ พฤศจิกายน –ธันวาคม 2563 สพุ รรณบรุ ี อ.จติ ราภรณ์ เถรวัตร อ.อทุ มุ พร เรืองฤทธ์ิ อ.พรทิพย์ ชว่ ยเพล รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 84

ปกที่ ลา ชื่อผลงานวชิ าการ เจ้าของผลงาน ปกท่ี ชื่อวารสาร/แหล่งตพี มิ พ์ คา่ ถ่วง ผลงาน ดับ ตพี มิ พ์ น้าหนกั เสร็จ ที่ อ.วท.รต. ดร.ธนรัตน์ รัตนพงศ์ธระ 20 Emerging with Thai 2563 วารสาร International 1.0 Tourism Industry : Crisis, Journal of Psychosocial Effect and Recovery Rehabilitation ISSN :1475-7192 เดอื น พฤษภาคม 2563 21 Marketing Promotion for อ.วท.รต. ดร.ธนรัตน์ 2563 วารสาร International 1.0 Enhancing Community- รัตนพงศ์ธระ Journal of Innovation, Based Cultural Tourism Creativity and Change Through Value Creation ISSN : 2201-1315 เดือน of local Identity กรกฎาคม 2563 22 The Movement Process อ.ดร.สมพงษ์ เกษานุช 2563 วารสาร International 1.0 of the Strategic Journal of Innovation, Approaches for Creativity and Change Developing the Ethical ISSN : 2201-1315 เดือน Behavior under Project of มิถนุ ายน 2563 Observing Five Precepts Village in Buddhism รวมคะแนนถ่วงนา้ หนัก 16.6 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 85

ตาราหรอื หนงั สือทไ่ี ดร้ ับการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแลว้ ปกที่ ลา ชือ่ ผลงานวชิ าการ เจา้ ของผลงาน ปทก ี่ แหล่งตพี ิมพ์ คา่ ถว่ ง ผลงาน ดับ ตีพมิ พ์ นา้ หนกั เสรจ็ ที่ 1.0 สาขาวชิ าสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ 2563 1 สนกุ กบั การแปล ผศ.จักกเมธ พวงทอง 2563 บรษิ ัท แดเนก็ ซ์ อนิ เตอร์คอ ปอเรชัน้ จากัด 2 Principles and Tourist ผศ.ดร.ธนภมู ิ ปอง 2563 บรษิ ัท แดเนก็ ซ์ อนิ เตอรค์ อ 1.0 Guide Operation หลกั การ เสงยี่ ม ปอเรชัน้ จากัด และการปฏบิ ตั งิ าน มัคคเุ ทศก์ รวมคะแนนถ่วงนา้ หนัก 2.0 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 86

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ ผลการประเมินองคป์ ระกอบท่ี 3 การบริการวิชาการ ตวั บง่ ชีท้ ่ี ผลการดาเนินงาน คะแนนการ ระดับ ประเมินตนเอง ประเมิน คุณภาพ องคป์ ระกอบที่ 3 การบริการวชิ าการ ตัวตงั้ ผลลัพธ์ 3.1 การบรกิ ารวิชาการแก่สงั คม ตัวหาร (% หรือ สัดสว่ น) 6 ขอ้ 5.00 ดีมาก คะแนนเฉลี่ยการประเมนิ คุณภาพ 5.00 ดมี าก กราฟแสดงผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของคณะกรรมการฯ ปกก ารศกึ ษา 2561 และ ปกก ารศกึ ษา 2562 เปรียบเทียบกบั คะแนนการประเมินตนเอง ปกการศึกษา 2563 รอบ 9 เดือน ผลการประเมิน 5.00 4.00 3.00 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 2.00 5.00 5.00 5.00 1.00 0.00 ตวั บง่ ชีท้ ี่ 4.1 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 87

องค์ประกอบ 3 การบรกิ ารวิชาการ ตัวบ่งชท้ี ่ี 3.1 (สกอ.) การบรกิ ารวิชาการแกส่ งั คม ผรู้ ับผดิ ชอบ 1. อาจารยว์ ันดี ศรีสวสั ด์ิ รองคณบดี 2. นายจริ ะวฒุ ิ สาระธรรม นกั วชิ าการโสตทศั นศึกษา ชนดิ ของตัวบ่งชี้ กระบวนการ คาอธบิ ายตวั บ่งชี้ การบริการวิชาการเป็นภารกิจหลักอีกอย่างหน่ึงของสถาบันอุดมศึกษาคณะควรคานึงถึง กระบวนการในการให้บริการวิชาการแก่สงั คมโดยการศึกษาความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายนามาจัดทา แผนบริการวิชาการประจาปีท้งั การบริการวิชาการที่ทาใหเ้ กดิ รายไดแ้ ละการบรกิ ารวชิ าการท่ีคณะจดั ทา เพื่อสร้างประโยชน์แก่ชุมชนโดยมีการประเมินความสาเร็จของการบริการวิชาการและนามาจัดทาเ ป็น แผนเพือ่ พฒั นาการเรียนการสอนแกน่ ักศกึ ษาให้มปี ระสบการณจ์ ากสภาพจรงิ และนามาใช้ประโยชน์จน เกิดผลลพั ธท์ ส่ี รา้ งความพึงพอใจตอ่ ชุมชนและสงั คมอย่างต่อเน่ืองและย่ังยนื เกณฑม์ าตรฐาน 1. จดั ทาแผนการบริการวชิ าการท่ีสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและกาหนดตวั บง่ ชีว้ ดั ความสาเร็จในระดบั แผนและโครงการบริการวชิ าการแกส่ งั คมและเสนอกรรมการประจาคณะ เพ่ือ พิจารณาอนุมตั ิ 2. โครงการบรกิ ารวชิ าการแก่สังคมตามแผน มกี ารจดั ทาแผนการใช้ประโยชนจ์ ากการบรกิ าร วชิ าการเพอ่ื ใหเ้ กิดผลต่อการพัฒนานกั ศกึ ษา ชมุ ชน หรือสงั คม 3. โครงการบรกิ ารวชิ าการแก่สงั คมในข้อ 1 อยา่ งน้อยตอ้ งมโี ครงการท่ีบริการแบบให้เปลา่ 4. ประเมินความสาเร็จตามตัวบง่ ช้ีของแผนและโครงการบรกิ ารวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 และ นาเสนอกรรมการประจาคณะเพอื่ พิจารณา 5. นาผลการประเมินตามข้อ 4 มาปรบั ปรุงแผนหรือพัฒนาการให้บรกิ ารวชิ าการสงั คม 6 .คณะมสี ่วนรว่ มในการบริการวิชาการแกส่ ังคมในระดบั สถาบนั เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มกี ารดาเนนิ การ มกี ารดาเนนิ การ มกี ารดาเนนิ การ มีการดาเนินการ คะแนน 1 มกี ารดาเนินการ 2 ข้อ 3 – 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ขอ้ 1 ขอ้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 88

ผลการดาเนินงานและผลการประเมนิ ตนเอง : 1. จัดทาแผนการบริการวิชาการประจาปกที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและกาหนด ตัวบ่งชี้วัดความสาเร็จในระดับแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมและเสนอกรรมการประจาคณะ เพอื่ พจิ ารณาอนมุ ัติ คณะศลิ ปศาสตร์ได้สารวจความต้องการการบริการวชิ าการโดยการลงพืน้ ทใ่ี นการจัดเก็บข้อมูล และนาข้อเสนอแนะจากการดาเนินโครงการบริการวิชาการในรอบปีที่ผ่านมา เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการจัดทา แผนบริการวชิ าการ โดยมกี ารจดั ประชุมระดมสมองคณะกรรมการและผู้ทมี่ ีส่วนเกี่ยวข้อง เพอ่ื จดั ทาแผนบรกิ าร วิชาการท่ีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม โดยได้นาเสนอแผนบริการวิชาการเพ่ือขอรับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะ เมื่อวันท่ี 27 มกราคม 2564 เพื่อให้ข้อเสนอแนะและเห็นชอบ ในการดาเนินโครงการตอ่ ไป 2. โครงการบริการวิชาการแก่สังคมตามแผน มีการจัดทาแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการ วชิ าการเพ่ือใหเ้ กิดผลตอ่ การพัฒนานกั ศึกษา ชุมชน หรอื สังคม คณะศิลปศาสตร์มีการนาแผนการบริการวิชาการมาจัดทาแผนการใช้ประโยชน์ โดยมีการ จัดประชุมคณะกรรมการผมู้ สี ่วนเกี่ยวขอ้ งกบั การดาเนินโครงการบริการวิชาการของคณะ โดยการจัดทาแผนการ ใช้ประโยชน์ร่วมกับชุมชนและบูรณาการการบริการวิชาการกับการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีเก่ียวข้อง ดังนี้ (F1-3.1-2.1) แผนการใช้ประโยชน์จากโครงการบรกิ ารวชิ การวิชาการ ประจาปกงบประมาณ 2564 ลาดับท่ี โครงการ ประเภท บริการวิชาการเกดิ ประโยชน์ต่อ โครงการ การพัฒนานกั ศึกษา การพฒั นาชมุ ชน/สงั คม 1 โครงการวชิ าการสู่วชิ าชพี \"ศาสตร์การผสม บรกิ ารวิชาการ นกั ศึกษาได้นาความรู้ ผ้ผู า่ นการอบรม ได้นา เคร่ืองดมื่ ทน่ี ่าสนใจ” แบบให้เปล่า จากการเรยี นการ ความรู้ทีไ่ ด้จากการ สอนไปฝึกใชใ้ นการ อบรมไปใชใ้ นการ ใหบ้ รกิ ารวิชาการแก่ ปฏิบัตงิ าน/การสรา้ ง สังคม อาชีพ/การสรา้ งรายได้ 2 โครงการอบรมหลักสตู รกลยุทธ์การเขียน บรกิ ารวชิ าการ นาความรแู้ ละ ผผู้ า่ นการอบรม ได้นา หนังสือราชการ แบบให้เปลา่ ประสบการณก์ าร ความรู้ทไี่ ดจ้ ากการ สอนเขียนหนงั สอื อบรมไปใชใ้ นการ ราชการใหก้ ับ ปฏบิ ัติงานในการเขียน หน่วยงานตา่ ง ๆ มา หนังสือราชการถูกตอ้ ง ใช้กับการเรยี นการ สอนให้กบั นกั ศึกษา รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 89

ลาดับที่ โครงการ ประเภท บริการวิชาการเกดิ ประโยชนต์ ่อ โครงการ บริการวิชาการ การพัฒนานักศกึ ษา การพัฒนาชุมชน/สงั คม แบบใหเ้ ปลา่ 3 โครงการอบรมอาหารและเคร่อื งดม่ื เพือ่ นักศกึ ษาได้ชว่ ย ผผู้ ่านการอบรม ได้นา อาชีพ บรกิ ารวชิ าการ แบบให้เปลา่ ฝกึ อบรมนาความรู้ ความรูท้ ่ไี ดจ้ ากการ บริการวิชาการ จากการฝึกสอนไปใน อบรมไปใชใ้ นการ แบบใหเ้ ปล่า การให้บรกิ ารวชิ าการ ปฏบิ ัตงิ าน/การสรา้ ง บริการวิชาการ แบบให้เปลา่ แกส่ งั คม อาชพี /การสรา้ งรายได้ 4 โครงการแนะแนวน้องมองศิลปศาสตร์ บริการวิชาการ นกั ศึกษาได้ออกแนะ ชช่ี ่องทางการศกึ ษาตอ่ แบบใหเ้ ปลา่ แนวกับคณาจารย์ ในระดบั ทส่ี ูงกว่าเดมิ บรกิ ารวิชาการ แบบใหเ้ ปลา่ เพ่อื ฝึกประสบการณ์ ให้กบั บุคคลภายนอก จริง 5 โครงการพฒั นาแนวคดิ ศิษยเ์ กา่ นกั ศึกษาปัจจุบันของ ศิษย์เกา่ ทจ่ี บการศกึ ษา คณะไดท้ าความรู้จัก ไปแล้วได้รบั การให้ กบั ศิษย์เกา่ ความร้ใู หม่ ๆ ในการ ดาเนินชีวติ 6 โครงการพฒั นาศักยภาพด้านวิชาการ นักศึกษาร่วม ผู้เขา้ อบรมไดร้ บั ความรู้ สาหรบั นกั เรียนมธั ยมศึกษาภายใต้ เครอื ข่ายความรว่ มมือ (MOU) กจิ กรรมไดฝ้ ึก ดา้ นการใช้ภาษาอังกฤษ 7 โครงการสอนเสริมแกโ่ รงเรยี นในชุมชน ประสบการณก์ ารใช้ ใกล้เคียง ภาษาองั กฤษ นกั ศึกษาไดน้ าความรู้ นักเรียนนาความร้ทู ไ่ี ด้ จากการเรียนการ จากการอบรมไปใช้ใน สอนไปฝกึ ใชใ้ นการ การเตรยี มความพรอ้ ม ให้บรกิ ารวิชาการแก่ สอบเข้าระดับอุดมศกึ ษา สงั คม 8 โครงการสร้างพันธกจิ สมั พนั ธ์ทางวชิ าการ นกั ศกึ ษาที่รว่ ม 1. บุคลากรทีเ่ ขา้ ร่วม และวิชาชพี แก่หน่วยงานทัง้ ภายในและ ภายนอกประเทศ : กจิ กรรมจัดฝกึ อบรม บริการวชิ าการนา โครงการสามารถนา หลักสตู รพัฒนาทกั ษะการใชภ้ าษาไทยให้ ชาวกัมพชู า ความรูจ้ ากการชว่ ย ความรแู้ ละ ฝกึ สอนไปฝึกใชใ้ น ประสบการณไ์ ปใชใ้ น การประกอบอาชีพ การพัฒนางานดาเนิน กิจกรรมระหวา่ ง มหาวทิ ยาลยั ทม่ี ี ขอ้ ตกลงความร่วมมือ ทางดา้ นวิชาการ 2. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมี ความรู้ความเขา้ ใจและ ตระหนักเกย่ี วกบั ประชาคมอาเซยี น รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 90

ลาดับท่ี โครงการ ประเภท บริการวิชาการเกิดประโยชน์ต่อ โครงการ การพฒั นานกั ศกึ ษา การพฒั นาชุมชน/สงั คม 9 โครงการพลเมอื งสามวัยรเู้ ทา่ ทนั สอื่ เพือ่ เสรมิ สร้างสขุ ภาวะทดี่ ี บรกิ ารวชิ าการ เพิม่ ขึน้ ประโยชน์ต่อ แบบใหเ้ ปลา่ ชุมชน ภาคเอกชน 10 โครงการพฒั นาศกั ยภาพนกั ศึกษาเพอื่ ภาครัฐหรอื หน่วยงาน เตรยี มความพรอ้ มสกู่ ารเป็นบณั ฑติ นัก บริการวิชาการ วชิ าชพี ปฏิบัตกิ ิจกรรม ท่องเทย่ี วสญั จร ครงั้ ท่ี 1 แบบใหเ้ ปลา่ นกั ศึกษาได้นาความรู้ ผู้เข้าอบรมนาความรทู้ ี่ จากการเรยี นการ ได้จากการอบรม ไปใช้ สอนไปฝกึ ใช้ในการ เพ่ือหารายได้ สรา้ ง ให้บริการวชิ าการ แก่ อาชพี และดูแลสขุ ภาพ สังคม พงึ พาตนเองได้ นักศกึ ษาออกฝกึ ให้ความรูเ้ ก่ยี วกบั ปฏบิ ตั ิกิจกรรมดา้ น สถานทท่ี อ่ งเท่ียวให้กับ การทอ่ งเทย่ี วเพ่ือฝึก คนในชมุ ชนทจี่ ัด ประสบการณจ์ ริง กิจกรรม 3.โครงการบรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คมในข้อ 1 อย่างน้อยต้องมโี ครงการท่บี รกิ ารแบบให้เปลา่ คณะศลิ ปศาสตร์มีโครงการบรกิ ารวิชาการแก่สงั คมแบบให้เปลา่ ดังนี้ (1) โครงการวชิ าการสวู่ ชิ าชพี \"ศาสตร์การผสมเครื่องดม่ื ที่น่าสนใจ\" (F1-3.1-3.1) (2) โครงการอบรมหลักสตู รกลยทุ ย์การเขยี นหนงั สือราชการ (F1-3.1-3.2) (3) โครงการอบรมอาหารและเครื่องดม่ื เพ่ืออาชีพ (F1-3.1-3.3) (4) โครงการแนะแนวนอ้ งมองศลิ ปศาสตร์ (F1-3.1-3.4) (5) โครงการพัฒนาแนวคิดศษิ ยเ์ กา่ (F1-3.1-3.5) (6) โครงการพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการสาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาภายใต้เครือข่ายความ รว่ มมือ (MOU) (F1-3.1-3.6) (7) โครงการสอนเสริมแก่โรงเรยี นในชุมชนใกล้เคยี ง (F1-3.1-3.7) (8) โครงการสร้างพัมธกิจพัมธ์ทางวิชาการและวิชาชีพหน่วยงานท้ังภายในและภายนอก ประเทศ กจิ กรรมจัดฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาทกั ษะการใชภ้ าษาไทยให้ชาวกรั มพูชา (F1-3.1-3.8) (9) โครงการพลเมืองสามวัยรู้เท่าทนั ส่ือเพื่อเสริมสรา้ งสขุ ภาวะทีด่ ี (F1-3.1-3.9) (10) โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติกรรม ทอ่ งเทย่ี วสัญจร ครัง้ ท่ี 1 (F1-3.1-3.10) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 91

4.ประเมินความสาเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 และ นาเสนอกรรมการประจาคณะ เพอื่ พิจารณา คณะศิลปศาสตร์ได้ทาการประเมินผลสาเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและบริการวิชาการ โดยทา เป็นแบบสรุปรายงานผลการดาเนินโครงการบริการวชิ การ ประจาปีงบประมาณ 2564 และได้นาผลการประเมิน ของแต่ละโครงการเสนอต่อกรรมการประจาคณะ เพื่อรบั ทราบและให้ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุงการใช้บริการ วชิ าการในปถี ัดไป ดงั นี้ รายงานสรุปผลการดาเนินโครงการบรหิ ารวชิ าการตามแผนปฏิบตั ิงานโครงการ ประจาปงก บประมาณ พ.ศ. 2564 วตั ถปุ ระสงคข์ องแผนบริการวิชาการ แผนงาน/ คณะศิลปศาสตร์ ผลผลติ / งบประมาณ แผนการ วนั ที่ สถานะ รอ้ ยละความ จานวน ร้อยละของ หมายเหตุ ที่ โครงการ/ เงินรายได้ ดาเนนิ งาน ดาเนนิ โครงการ พึงพอใจ หน่วยงาน จานวน โครงการ เฉล่ียของ หรือชุมชนท่ี ผูเ้ ขา้ ร่วม - งบรายจา่ ย/ ผู้รบั การ ไดร้ ับการ รายจา่ ยทสี่ าคญั 20,000 ม.ี ค.64 23 ก.ค. 63 ดาเนินการ บรกิ ารวิ บรกิ าร โครงการบริการ ชการและ วชิ าการและ วิชาการและ 1 โครงการวชิ าการสู่ วชิ าชีพ วิชาชพี วิชาชีพ 91 0 100 วชิ าชีพ \"ศาสตรก์ าร เลอ่ื นเป็น แลว้ ผสมเครอ่ื งดื่มที่ ก.ค. 64 น่าสนใจ” 2 โครงการอบรม 20,000 มี.ค.64 n/a อยรู่ ะหวา่ ง n/a n/a n/a ขอเลื่อนโครงการ หลกั สตู รกลยทุ ธ์ เล่อื นเป็น ดาเนินการ การเขยี นหนังสือ ส.ค. 64 จากสถานการณ์ ราชการ การแพรร่ ะบาดของ โรคโควดิ 19 3 โครงการอบรม 20,000 ม.ค. 64 n/a อยรู่ ะหว่าง n/a n/a n/a ขอเล่อื นโครงการ 30 อาหารและ เลอ่ื นเป็น ดาเนินการ จากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของ เครื่องด่ืมเพ่ืออาชีพ ก.ค. 64 โรคโควดิ 19 4 โครงการแนะแนว 86,500 พ.ย. 63 พ.ย. 63 คณะศลิ ป 93 100 - นอ้ งมองศิลป ศาสตร์ 3 ศาสตร์ ศูนย์พื้นที่ 5 โครงการพฒั นา 12,000 เม.ย.64 24 เม.ย.64 ดาเนินการ 94 0 41 - แนวคิดศิษยเ์ ก่า แลว้ 6 โครงการพัฒนา 60,000 ก.พ. 64 n/a อยรู่ ะหวา่ ง n/a n/a n/a ขอเลอื่ นโครงการ ศกั ยภาพดา้ น เลอ่ื นเป็น ดาเนินการ วชิ าการสาหรับ มิ.ย. 64 จากสถานการณ์ นกั เรียน การแพร่ระบาดของ โรคโควดิ 19 มัธยมศกึ ษาภายใต้ เครอื ขา่ ยความ รว่ มมือ (MOU) รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 92

วัตถุประสงคข์ องแผนบริการวชิ าการ แผนงาน/ คณะศิลปศาสตร์ ท่ี ผลผลิต/ งบประมาณ แผนการ วันที่ สถานะ ร้อยละความ จานวน ร้อยละของ หมายเหตุ โครงการ/ เงนิ รายได้ ดาเนนิ งาน ดาเนนิ โครงการ พึงพอใจ หนว่ ยงาน จานวน งบรายจ่าย/ โครงการ เฉล่ยี ของ หรอื ชมุ ชนที่ ผู้เขา้ ร่วม รายจ่ายท่สี าคัญ ผรู้ บั การ ได้รับการ บริการวิ บรกิ าร โครงการบริการ ชการและ วชิ าการและ วิชาการและ วิชาชพี วิชาชพี วชิ าชพี 7 โครงการสอนเสรมิ 30,000 ก.พ. 64 2-3 ม.ี ค. ดาเนินการ 89 2 100 - แกโ่ รงเรยี นใน เลื่อนเป็น 64 แล้ว ชุมชนใกล้เคยี ง ม.ี ค. 64 4-5 มี.ค. 64 8 โครงการสรา้ งพันธ 40,000 ก.พ. 64 28 มิ.ย. – อยูร่ ะหว่าง n/a n/a n/a ขอเลือ่ นโครงการ กจิ สมั พนั ธ์ทาง เลอื่ นเป็น 10 ส.ค. 64 ดาเนินการ จากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของ วิชาการและวชิ าชีพ ก.ค. 64 โรคโควดิ 19 แก่หนว่ ยงานท้งั ภายในและ ภายนอกประเทศ : กจิ กรรมจัด ฝกึ อบรมหลกั สูตร พฒั นาทกั ษะการใช้ ภาษาไทยให้ชาว กมั พูชา 9 โครงการพลเมือง 20,000 ก.พ. เลือ่ น n/a อยรู่ ะหวา่ ง n/a n/a n/a ขอเล่ือนโครงการ สามวยั รู้เทา่ ทันสื่อ 94 3 เพื่อเสริมสรา้ งสุข เป็น ก.ค. 64 ดาเนินการ จากสถานการณ์ ภาวะทดี่ ี 92.20 35 การแพร่ระบาดของ 30,000 ม.ค. 64 25-30 มิ.ย. ดาเนินการ โรคโควดิ 19 10 โครงการพัฒนา ศกั ยภาพนกั ศกึ ษา เล่อื นเป็น 64 แลว้ 100 - เพอื่ เตรยี มความ พรอ้ มส่กู ารเป็น มิ.ย.64 100 บณั ฑิตนกั ปฏิบตั ิ กจิ กรรม ทอ่ งเท่ยี ว 338,500 สัญจร คร้งั ที่ 1 ผลรวมหรอื คา่ เฉลย่ี รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 93

ผลประเมนิ ความสาเรจ็ ตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการ วัตถุประสงค์ของแผน บรกิ ารวิชาการและวชิ าชีพตอบสนองต่อความตอ้ งการของชุมชนตามแนวพระราชดาริ ตวั ช้ีวัด หนว่ ยนบั ค่าเป้าหมาย ผลการ บรรลุ ไมบ่ รรลุ ดาเนนิ งาน ตวั ชวี้ ัดความสาเร็จ รอ้ ยละความพึงพอใจ ร้อยละ ≥80 ร้อยละ 92.20  เฉลยี่ ของผรู้ บั การ บรกิ ารวชิ การและ หนว่ ยงาน 12 หนว่ ยงาน 35 หน่วยงาน  วิชาชพี ร้อยละ ≥80 ร้อยละ 100  จานวนหนว่ ยงานหรือ ชุมชนท่ีไดร้ ับการบรกิ าร วิชาการและวชิ าชีพ รอ้ ยละของจานวน ผู้เขา้ รว่ มโครงการ บรกิ ารวิชาการและ วิชาชีพ 5.นาผลการประเมนิ ตามข้อ 4 มาปรบั ปรงุ แผนหรือพัฒนาการใหบ้ ริการวชิ าการสงั คม จากผลการประเมินความสาเร็จของแผนตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการ แก่สังคมในข้อ 4 เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2564 ณ คณะศิลปศาสตร์ อาคารปฏิบัติการการท่องเที่ยวและ การโรงแรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรอี ยุธยา หันตรา โดยท่ีประชุมพิจาณา แล้ว รับทราบผลความสาเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการด้านบริการวิชาการ ประจาปีงบประมาณ 2564 และได้ให้ข้อเสนอแนะกับโครงการต่าง ๆ นามาปรับปรุงโครงการ จนนาไปสู่ร่างขอนุมตั ิโครงการบริการวิชาการ ประจาปีงบประมาณ 2565 (F1-3.1-5.1) เสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริหารประจาคณะ (CEO) (F1-3.1-5.2) เม่ือวนั ที่ 29 มถิ นุ ายน 2564 ซ่ึงทีป่ ระชุมรับทราบและเหน็ ชอบดาเนนิ การ เพือ่ พจิ ารณาตอ่ ไป รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 94

สรุปผลการข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประจาคณะ ท่ี แผนงาน/ผลผลติ /โครงการ/ แผนการ แผนการ วนั ทดี่ าเนนิ สถานการการ ร้อยละความ ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประจาคณะ งบรายจ่าย/รายจา่ ยท่สี าคญั ดาเนินงาน เบกิ จ่าย โครงการ ดาเนิน พงึ พอใจใน โครงการ การ ใหบ้ รกิ าร 1 โครงการวิชาการสวู่ ิชาชพี มี.ค.64 ส.ค. 64 23 ก.ค. 63 ดาเนินการ 91 ในการจัดโครงการครง้ั ตอ่ ไปหากยังมี \"ศาสตรก์ ารผสมเครือ่ งด่ืมที่ เลื่อนเป็น เสร็จ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ น่าสนใจ” ก.ค. 64 19 ควรลดจานวนผูเ้ ข้ารับการอบรมให้ นอ้ ยลงและรักษามาตราการการปอ้ งกัน โควิด 19 2 โครงการอบรมหลกั สตู รกล ม.ี ค.64 ส.ค.64 n/a อยรู่ ะหวา่ ง n/a หากมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ยทุ ธ์การเขยี นหนงั สอื เลอ่ื นเปน็ ดาเนินการ ควรจัดอบรมในรูปแบบของการ Online ราชการ ส.ค. 64 3 โครงการอบรมอาหารและ ม.ค. 64 ส.ค.64 n/a อย่รู ะหว่าง n/a โครงการจาเป็นตอ้ งมกี ารฝกึ ปฏิบตั ิ ควร เครือ่ งด่มื เพือ่ อาชพี เลื่อนเป็น ดาเนนิ การ ลดจานวนคน และรักษามาตราจการการ ก.ค. 64 ป้องกนั โรคโควิด 19 4 โครงการแนะแนวนอ้ งมอง พ.ย. 63 ธ.ค. 64 พ.ย. 63 คณะศลิ ป 93 การใช้วสั ดุ ครุภณั ฑ์ ต้องนามาบรกิ าร ศิลปศาสตร์ พ.ค. 64 24 เม.ย.64 ศาสตร์ 3 ประชาชนใหเ้ กดิ ประโยชนก์ ับภาษาชนให้ ศนู ย์พื้นท่ี คุม้ คา่ 5 โครงการพัฒนาแนวคดิ ศิษย์ เม.ย.64 ดาเนินการ เก่า เสร็จ 94 เป็นโครงการทจี่ ดั กจิ กรรม Online ทาให้ ศิษย์เก่าและนกั ศกึ ษาปจั จุบันทกุ คนได้ 6 โครงการพฒั นาศักยภาพ ก.พ. 64 ก.ค. 64 n/a อยู่ระหว่าง พบปะกนั เห็นควรจดั โครงการในครัง้ ด้านวชิ าการสาหรับนกั เรียน เลื่อนเป็น ดาเนินการ ตอ่ ไป เพ่อื แรกเปลยี่ นประสบการณ์ของ ศิษย์เก่าใหก้ บั นักศกึ ษารนุ่ ใหม่ ๆ ทกี่ าลงั จะเขา้ เรยี น n/a คณะตอ้ งรักษาความสัมพนั ธอ์ ันดีกบั โรงเรยี นในเครือค่าย MOU มัธยมศกึ ษาภายใต้เครือข่าย ม.ิ ย. 64 ความรว่ มมอื (MOU) 7 โครงการสอนเสริมแก่ ก.พ. 64 เม.ย. 64 2-3 มี.ค. 64 ดาเนินการ 89 ควรจัดอบรมกบั นกั เรียนจานวนไมม่ าก หรอื จดั อบรม Online รกั ษามาตราการ โรงเรยี นในชมุ ชนใกล้เคยี ง เลื่อนเปน็ เสรจ็ ปอ้ งกันโรค ม.ี ค. 64 4-5 ม.ี ค. 64 n/a ควรมกี ารปรับเปล่ียนรปู แบบการทา 8 โครงการสรา้ งพนั ธกจิ ก.พ. 64 ส.ค.64 28 มิ.ย. – อยรู่ ะหว่าง กจิ กรรมอื่น นอกจากการจัดกจิ กรรม อบรมภาษาไทย สมั พนั ธ์ทางวิชาการและ เลอ่ื นเปน็ 10 ส.ค. 64 ดาเนินการ n/a เปน็ โครงการที่ชว่ ยส่งเสริมคุณภาพความ วิชาชพี แกห่ นว่ ยงานทง้ั ก.ค. 64 ชวี ติ ใหก้ ับคนในชุมชน ควรจดั กจิ กรรม ภายในและภายนอกประเทศ อยา่ งต่อเนอื่ ง : กจิ กรรมจัดฝึกอบรม หลักสูตรพัฒนาทกั ษะการใช้ ภาษาไทยให้ชาวกมั พชู า 9 โครงการพลเมอื งสามวัย ก.พ. เลื่อน ส.ค.64 n/a อยูร่ ะหวา่ ง รูเ้ ท่าทนั ส่ือเพ่อื เสริมสร้างสุข เปน็ ก.ค. ดาเนนิ การ ภาวะที่ดี 64 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 95

ท่ี แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ/ แผนการ แผนการ วนั ทด่ี าเนนิ สถานการการ รอ้ ยละความ ขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการประจาคณะ งบรายจ่าย/รายจา่ ยทีส่ าคญั ดาเนินงาน เบิกจา่ ย โครงการ ดาเนิน พงึ พอใจใน โครงการ การ ใหบ้ ริการ 10 โครงการพัฒนาศกั ยภาพ ม.ค. 64 ก.ค. 64 25-30 มิ.ย. ดาเนนิ การ 94 ผู้จดั โครงการควรมกี ารจัดกจิ กรรมใน นักศึกษาเพ่ือเตรยี มความ เลือ่ นเป็น 64 เสร็จ พืน้ ทใี่ หม่ ๆ เพอื่ สรา้ งองค์ความรู้ใหม่ ๆ พรอ้ มสกู่ ารเปน็ บณั ฑิตนัก มิ.ย.64 กับประชาชนในชมุ ชนและคณะ ปฏบิ ตั ิกิจกรรม ท่องเที่ยว สัญจร คร้ังท่ี 1 6.คณะมีส่วนรว่ มในการบริการวชิ าการแก่สงั คมในระดบั สถาบนั คณะศิลปศาสตร์มีส่วนร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมในระดับสถาบัน ในโครงการยกระดับ คณุ ภาพชีวิต หม่บู ้าน ชมุ ชน สงั คม ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมสี ถาบันวิจัยและพฒั นา เป็นหน่วยงาน หลักให้กับมหาวิทยาลัย เพื่อจัดโครงการอบรมนักเล่าเร่ืองภายในชุมชน วันที่ 8 มีนาคม 2564 (F1-3.1-6.1) ณ โรงเรียนลาดบัวหลวงไพโรจน์วิทยา ตาบลพระยาบันลือ อาเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อให้เกิดการเรียนร้บู นพื้นฐานภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ เพอื่ หนุนเสริมการท่องเทย่ี วชมุ ชน ผลการประเมนิ ตนเอง ผลดาเนินการ คะแนนการประเมินตนเอง บรรลเุ ป้าหมาย เป้าหมาย 6 ข้อ 6 ขอ้ 5 คะแนน  เอกสารหลักฐาน : หมายเลข รายการเอกสารหลกั ฐาน F1-3.1-1.1 แผนปฏบิ ัติงานโครงการบริการวิชาการ ประจาปงี บประมาณ 2564 F1-3.1-1.2 รายงานการประชมุ คณะกรรมการประจาคณะ F1-3.1-2.1 แผนการใชป้ ระโยชน์จากการบริการวชิ าการ ประจาปีงบประมาณ 2564 F1-3.1-3.1 โครงการวชิ าการสูว่ ิชาชพี \"ศาสตรก์ ารผลมเครื่องด่ืมทีน่ ่าสนใจ F1-3.1-3.2 โครงการอบรมหลกั สตู รกลยุทยก์ ารเขยี นหนงั สือราชการ F1-3.1-3.3 โครงการอบรมอาหารและเคร่ืองดม่ื เพื่ออาชีพ F1-3.1-3.4 โครงการแนะแนวน้องมองศลิ ปะศาสตร์ F1-3.1-3.5 โครงการพฒั นาแนวคิดศิษยเ์ กา่ F1-3.1-3.6 โครงการพฒั นาศักยภาพด้านวชิ าการสาหรับนกั เรียนมธั ยมศึกษาภายใต้เครือข่ายความ ร่วมมือ (MOU) F1-3.1-3.7 โครงการสอนเสริมแก่โรงเรียนในชุมชนใกลเ้ คยี ง รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 96

หมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน F1-3.1-3.8 โครงการสรา้ งพัมธกิจพัมธท์ างวิชาการและวิชาชพี หน่วยงานทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ : กจิ กรรมจดั ฝกึ อบรมหลกั สตู รพฒั นาทกั ษะการใช้ภาษาไทยให้ชาวกรั มพูชา F1-3.1-3.9 โครงการพลเมืองสามวยั รเู้ ทา่ ทันสือ่ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะท่ดี ี F1-3.1-3.10 โครงการพฒั นาศกั ยภาพนกั ศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมสกู่ ารเป็นบัณฑติ นักปฏบิ ตั กิ รรม ท่องเที่ยวสัญจร ครง้ั ที่ 1 F1-3.1-4.1 รายงานผลการประเมินความสาเรจ็ ของแผนการบริการวชิ าการ F1-3.1-4.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจาคณะ F1-3.1-5.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจาคณะ F1-3.1-5.2 แผนการบริการวิชาการและแผนการใช้ประโยชนป์ ระจาปีงบประมาณ 2564 F1-3.1-6.1 โครงการอบรมนักเลา่ เร่ืองภายในชมุ ชน รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 97

องคป์ ระกอบท่ี 4 การทานบุ ารงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม ผลการประเมนิ องคป์ ระกอบท่ี 4 การทานบุ ารงุ ศิลปะและวัฒนธรรม ผลการดาเนนิ งาน ประเมนิ ตนเอง คะแนนการ ระดับ ประเมนิ คณุ ภาพ ตวั บ่งช้ที ี่ ตวั ตั้ง ผลลัพธ์ 5.00 ดีมาก ตวั หาร (% หรือ สัดสว่ น) องค์ประกอบท่ี 4 การทานุบารงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม 4.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม 7 ข้อ คะแนนเฉลย่ี การประเมินคุณภาพ 5.00 ดมี าก กราฟแสดงผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในของคณะกรรมการฯ ปกการศึกษา 2561 และ ปกการศกึ ษา 2562 เปรียบเทียบกบั คะแนนการประเมินตนเอง ปกการศกึ ษา 2563 รอบ 9 เดือน ผลการประเมิน 5.00 4.50 4.00 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 3.50 5.00 5.00 5.00 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 0.50 0.00 ตวั บง่ ชีท้ ี่ 4.1 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศิลปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 98

องค์ประกอบ 4 การทานุบารุงศิลปะและวฒั นธรรม ตวั บ่งชีท้ ่ี 4.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการทานบุ ารุงศลิ ปะและวัฒนธรรม ผรู้ ับผดิ ชอบ 1. อาจารย์นัทธี เพชรบรุ ี รองคณบดี 2. นางสดุ ารัตน์ อา่ ป้ัน หัวหน้างานพัฒนานักศึกษา ชนดิ ของตัวบ่งช้ี กระบวนการ คาอธบิ ายตวั บ่งชี้ สถาบนั อุดมศึกษาต้องมีนโยบายแผนงานโครงสร้างและการบรหิ ารจัดการงานทานุบารุงศิลปะ และวฒั นธรรมท้ังการอนุรกั ษ์ฟื้นฟสู ืบสานเผยแพรว่ ฒั นธรรมไทยภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ตามจุดเน้นของ สถาบนั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล เกณฑ์มาตรฐาน 1. กาหนดผู้รบั ผิดชอบในการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 2. จัดทาแผนด้านทานุบารุงศิลปะและวฒั นธรรม และกาหนดตัวบ่งช้วี ดั ความสาเรจ็ ตาม วตั ถุประสงค์ของแผน รวมทงั้ จัดสรรงบประมาณเพื่อใหส้ ามารถดาเนินการได้ตามแผน 3. กากบั ติดตามให้มีการดาเนินงานตามแผนด้านทานุบารงุ ศิลปะและวฒั นธรรม 4. ประเมินความสาเร็จของตามตัวบง่ ช้ีทวี่ ดั ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนด้านทานุ บารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม 5. นาผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ แผนหรือกจิ กรรมดา้ นทานุบารงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม 6. เผยแพร่กจิ กรรมหรือการบริการดา้ นทานบุ ารุงศิลปะและวฒั นธรรมตอ่ สาธารณชน 7. กาหนดหรือสรา้ งมาตรฐานดา้ นศิลปะและวัฒนธรรมซ่งึ เปน็ ที่ยอมรับในระดบั ชาติ เกณฑ์การประเมนิ : 7 ข้อ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มกี ารดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ มกี ารดาเนนิ การ 3 - 4 ขอ้ 5 ขอ้ 6 - 7 ขอ้ 1 ข้อ 2 ขอ้ ผลการดาเนนิ งานและผลการประเมนิ ตนเอง : 1.กาหนดผู้รบั ผิดชอบในการทานุบารงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม คณะศิลปศาสตร์มีการกาหนดผู้รับผิดชอบในงานด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม โดยแต่งต้ัง คณะกรรมการตามคาสั่งคณะศิลปศาสตร์ที่ 306/2562 ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2562 เรื่องแต่งต้ังคณะกรรมการ บริหารงานด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (F1-4.1-1.1) เพื่อวางแผนพัฒนา ระบบและกลไกบริหารงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมใหส้ อดคลอ้ งกับแผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาของมหาวิทยาลัย รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 99