Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนต้านทุจริต ม.1

แผนต้านทุจริต ม.1

Published by assy2525, 2019-05-14 23:20:12

Description: แผนต้านทุจริต ม.1

Keywords: Education

Search

Read the Text Version

- 148 - ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 2 ช่วั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ 5 หน่วยท่ี 3 ชอ่ื หน่วย STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทจุ รติ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ เร่ือง ตอ่ ต้านทจุ ริต ๑. ผลการเรยี นรู้ 1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั STRONG จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ รติ 1.2 ประยุกตห์ ลกั บูรณาการ “STRONG” เปน็ แนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรมหนว่ ยงาน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 นักเรียนสามารถปฏิบัติตนสร้างฐานความคิดจิตพอเพียงต่อต้านการทุจริตให้เกิดขึ้นเป็นพ้ืนฐาน ความคดิ ของปัจเจกบุคคล 2.2 นักเรียนสามารถประยุกต์หลักบูรณาการ “STRONG” เป็นแนวทางในการพัฒนาวัฒนธรรม หน่วยงานได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ - ศึกษาความหมายและความเข้าใจเก่ียวกับ การสร้างฐานความคิดจิตพอเพียงต่อต้านการ ทุจรติ ให้เกดิ ขึ้นเป็นพ้ืนฐานความคดิ ของปัจเจกบุคคล - การประยุกต์หลักบูรณาการ “STRONG” เปน็ แนวทางในการพฒั นาวฒั นธรรมหน่วยงาน 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ ) 1) ความสามารถในการสื่อสาร อธบิ ายความหมายเกีย่ วกับเร่อื ง การประยกุ ต์หลักบูรณาการ “STRONG” เป็นแนวทาง ในการพฒั นาวฒั นธรรมหน่วยงาน / จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต 2) ความสามารถในการคิด วิเคราะหแ์ ละจัดกลุม่ ถึงเร่ืองการประยุกตห์ ลกั บรู ณาการ “STRONG” เปน็ แนวทางใน การพฒั นาวฒั นธรรมหนว่ ยงาน / จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจรติ 3) ความสามารถในการปฏิบัติตนสร้างฐานความคิดจิตพอเพียงต่อต้านการทุจริตให้เกิดข้ึน เป็นพ้ืนฐานความคดิ ของปจั เจกบุคคล 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิตทด่ี ีและมจี ติ พอเพียงต่อตา้ นการทุจริต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยโี ดยการสบื คน้ ขอ้ มูลเกยี่ วกบั การสรา้ งฐานคดิ จติ พอเพยี งต่อต้านการทจุ ริตใหเ้ กิดข้นึ เป็นพ้ืนฐานความคดิ ของปจั เจกบุคคล โดยประยุกตห์ ลกั บูรณาการ “STRONG” เปน็ แนวทางในการพัฒนาวฒั นธรรมหน่วยงาน 3.3 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ / ค่านยิ ม ซ่อื สัตยส์ จุ รติ ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 ข้นั ตอนการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี 1 1. ครูช้แี จงแนะนาเนอ้ื หา เร่ือง ความพอเพยี ง ภาพยนตร์สน้ั โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เรือ่ ง เลือน

- 149 - 2. นกั เรยี นดวู ิดีทัศน์เก่ียวกบั เรือ่ งการสรา้ งฐานคิดจติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต และชว่ ยกนั วิเคราะห์ สังเกต ตัง้ ข้อสงสัยว่ามอี ะไรเป็นปญั หาทาใหเ้ กิดการทจุ รติ 3. ครตู ้ังคาถามให้นกั เรียนคิดตามว่า เรื่องราวในวดี ที ัศน์ทีเ่ ห็นในรปู แบบตา่ งๆ น้ัน อะไรคือสาเหตุ ของการทจุ รติ เพราะอะไร และจะหาวิธีปอ้ งกนั ต่อต้านการทจุ ริตอย่างไรบา้ ง 4. นกั เรยี นจดบันทึก เนือ้ หาเกย่ี วกับการสรา้ งฐานคดิ จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต 5. แบง่ กลมุ่ นักเรียน กลุ่มละ 3 คน ใหป้ ฏบิ ัตติ ามใบงานท่ี 5 เร่ือง STRONG /จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการ ทจุ ริต โดยใหค้ ้นควา้ สืบคน้ ความรู้จากแหล่งเรียนรแู้ ละสารสนเทศ เช่น อนิ เทอรเ์ น็ต เร่อื งการสรา้ งฐานคดิ จิต พอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ สาเหตแุ ละวธิ ีการปอ้ งกนั ต่อตา้ นไมใ่ หเ้ กดิ การทุจริต 6. นกั เรียนและครูผู้สอนรว่ มกนั สรปุ องค์ความรขู้ องนักเรยี นที่สามารถอธิบายเรื่องหลักการต่อต้าน การทจุ รติ และสาเหตุการทุจริตและหาวิธีป้องกนั การทุจริตได้ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ถกู ต้อง และครผู สู้ อนแสดง ความชนื่ ชมต่อนักเรียนทุกคน ทสี่ ามารถทากิจกรรมทมี่ อบหมายในใบงาน ไดส้ าเรจ็ และมีประสิทธิภาพ 7. ครูประเมินผลขั้นตอนกระบวนการปฏิบัติงานและภาระงานที่กาหนดให้นักเรียนฝึกปฏิบัติด้วย ความเข้าใจ ชัว่ โมงที่ 2 1. ครูทบทวนเนือ้ หา เรื่องการสร้างฐานความคิดจติ พอเพียง 2. นักเรยี นศกึ ษาใบความรู้เรื่อง การประยุกต์หลักบูรณาการ “STRONG” เปน็ แนวทางในการพฒั นา วัฒนธรรมและหน่วยงาน 3. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ เปน็ ๕ กลุ่ม แล้วใหน้ กั เรียนแสดงบทบาทสมมติ โดยมเี นื้อหาเกีย่ วกับแนวคิดการ นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมากข้ึน เคร่ืองมือในการปอ้ งกนั การทุจรติ ในกลุม่ อาชีพและ หน่วยงานตา่ งๆ ดงั น้ี กลมุ่ ท่ี ๑ ในครอบครวั กลุ่มที่ ๒ ในโรงเรียน กล่มุ ที่ ๓ ในวัด กลุ่มที่ ๔ ในชุมชน กลมุ่ ท่ี ๕ ในสถานท่รี าชการ 4. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั การแสดงบทบาทสมมติ 5. นักเรยี นจดบนั ทกึ เนอ้ื หาสาระสาคัญโดยสรปุ จากการชมวีดทิ ศั น์ 6. นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุปองค์ความรู้ของนักผู้เรียนทส่ี ามารถอธิบายเรอ่ื งหลักการต่อต้านการ ทจุ ริต และสาเหตกุ ารทุจรติ และหาวธิ ปี ้องกนั การทุจรติ ได้ในรปู แบบต่าง ๆ ได้ถูกต้อง และครูผูส้ อนแสดง ความชืน่ ชมกับนักเรียนทกุ คน ทีส่ ามารถทากจิ กรรมที่มอบหมายในใบงานที่ 5 ได้สาเรจ็ และมปี ระสิทธิภาพ 7. ครูประเมินผลข้ันตอนกระบวนการปฏิบัติงานและภาระงานท่ีกาหนดให้นักเรียนฝึกปฏิบัติด้วย ความเขา้ ใจ 4.2 สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) ภาพยนตร์สนั้ โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. เร่ือง เลอื ก 2) ภาพยนตร์สนั้ ชอ่ สะอาดสัญลกั ษณส์ ง่ เสรมิ คุณธรรมความดี 3) จลุ สาร ป.ป.ช. สารสโู่ รงเรยี น

- 150 - 4) PowerPoint เรอื่ ง STRONG 5) ตวั อย่างขา่ ว 6) รายการภารกิจปราบปรามการทุจริต : https://goo.gl/vzGxVy 7) รายการภารกจิ พชิ ิตโกง : https://goo.gl/S9kHnv 1. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธีการประเมิน 1. ดา้ นความรู้ (K) - ประเมนิ จากการซกั ถาม - การตรวจแบบใบงาน ทนั เวลาทก่ี าหนด - การนาเสนอผลงาน 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - การสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติงานตามขัน้ ตอนการกระบวนการในการทางาน กลมุ่ 3. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและเจตคติ (A) - การสังเกตพฤตกิ รรมเน้นความรับผดิ ชอบ ใฝ่เรยี นรู้ ขยนั ซ่อื สัตย์ อดทนและมจี ิต สาธารณะ 5.2 เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการประเมนิ - แบบฝกึ ปฏิบตั จิ ากใบงาน - แบบประเมนิ จากแบบฝกึ หัด - แบบสังเกตประเมินผลการปฏิบัตงิ าน (Rubrics) - แบบประเมินผลพฤติกรรม 5.3 เกณฑก์ ารตัดสนิ ดมี าก = 4 สนใจฟัง ไม่หลับ ไม่พูดคุยในช้นั มีคาถามที่ดี ตอบคาถามถูกตอ้ ง ทางานสง่ ครบ ตรงตอ่ เวลา ดี = 3 การแสดงออกอย่ใู นเกณฑ์ประมาณ 70% ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ 50% ปรบั ปรุง = 1 เขา้ ชัน้ เรียน แต่การแสดงออกนอ้ ยมาก สง่ งานไม่ครบ ไม่ตรงเวลา 6.บนั ทึกหลงั สอน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ................................................ ครผู ้สู อน (.................................................)

- 151 - ใบงานเรื่อง STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ รติ **************************************************************** คาสงั่ ให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3 คน ช่วยกันคน้ ควา้ หาขอ้ มูลเกย่ี วกับ ๑. เร่ือง STRONG ๒. S (sufficient) บคุ คลและหน่วยงานน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้ เป็นหลักในการทางานและการดารงชีวติ ๓. T (transparent) บคุ คลและหน่วยงานปฏบิ ตั ิงานบนฐานของความโปร่งใสตรวจสอบได้เป็น ทต่ี ้งั ๔. R (realise) บุคคลและหน่วยงานมีความเข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้าของปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบภายในสังคม ๕. (onward) บุคคลและหน่วยงานมีแนวคิดมุ่งพัฒนาหน่วยงานให้เกิดความโปร่งใสและร่วม สร้างวัฒนธรรมไม่ทนต่อการทุจริตให้เกิดขึ้น และไม่ย่อท้อต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริต ประพฤตมิ ิชอบให้สาเรจ็ ลลุ ว่ งได้ตามเป้าหมายท่ีกาหนดร่วมกนั ๖. N (knowledge) บุคคลและหน่วยงานมีการพัฒนาองค์ความรู้อย่างสม่าเสมอเพื่อให้เท่าทันต่อ สถานการณ์การทุจรติ ของหน่วยงาน ๗. G (generosity) บคุ คลและหน่วยงานรว่ มพัฒนาหนว่ ยงานใหม้ คี วามเอื้ออาทรบนพื้นฐาน ของจริยธรรมและจิตพอเพยี ง ๘. จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทุจริต

- 152 - แบบทดสอบ STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทุจรติ **************************************************************** คาสั่ง ใหน้ กั เรยี นชว่ ยวจิ ารณแ์ ละระบุถงึ ความเส่ียงตอ่ การทจุ ริต จากภาพการ์ตูนทีก่ าหนดใหเ้ กย่ี วกับเร่ือง STRONG และจติ พอเพียงต่อต้านการทจุ ริตอยา่ งไรบ้าง ภาพการ์ตูน คาตอบ ………………………………………………………………..………… ………………………………………………………….. ………………………………………………………………..………… …………………………………………………………..……………… ………………………………………………..………………………… …………………………………………..……………………………… ………………………………..………………………………………… …………………………..……………………………………………… ………………..………………………………………………………… …………..……………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..…… …………………………………………………………..……………… ……………………………………………………..…………………… …………………………………………..……………………………… ……………………………………..…………………………………… …………………………..……………………………………………… ……………………..…………………………………………………… …………..……………………………………………………………… ……..………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………..………… ……………………………………………………..…………………… …………………………………………………………………………… .

- 153 - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านรายบคุ คล พฤตกิ รรม การแสดง การตอบ การยอมรบั ทางาน หมายเหตุ ที่ ความสนใจ คาถาม ฟงั คนอื่น ตามที่ได้รับ ชอื่ -สกลุ ความคิดเห็น มอบหมาย 43214321432143214321 เกณฑ์การวดั ผล ใหค้ ะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดงั น้ี ดีมาก = 4 สนใจฟัง ไมห่ ลับ ไมพ่ ดู คุยในช้นั มีคาถามที่ดี ตอบคาถามถูกตอ้ ง ทางานส่งครบตรงเวลา ดี = 3 การแสดงออกอยใู่ นเกณฑ์ประมาณ 70% ปานกลาง = 2 การแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ 50% ปรับปรงุ = 1 เข้าชั้นเรียน แตก่ ารแสดงออกน้อยมาก สง่ งานไม่ครบ ไมต่ รงเวลา ลงช่ือ………………………………………………..…………….ผูส้ งั เกต (…………………………………………………..………….) ……………/……………………..……/…………..……..

- 154 - แบบประเมินผลการนาเสนองาน เร่อื ง ……………………………………………………………………………………. วิชา……………………………………………….ชน้ั ………………. ช่ือ…………………………………………………..เลขท…ี่ …………… ที่ รายการประเมิน ผปู้ ระเมิน รวม เกณฑ์การประเมนิ ตนเอง เพื่อน ครู 1 เนื้อหา ( 4 คะแนน ) คะแนน 4 : มีครบทกุ ข้อ 1. เน้อื หาครบถว้ นสมบรู ณ์ คะแนน 3 : มี 3 ข้อ ขาด 1 ข้อ 2. เน้อื หาถูกตอ้ ง คะแนน 2 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ข้อ 3. เน้ือหาต่อเนอื่ ง คะแนน 1 : มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ 4. มกี ารคน้ คว้าเพิม่ เตมิ คะแนน 2: มีครบทุกข้อ 2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 1 : มี ไมค่ รบ 4 ข้อ 1. มีการวางแผนอย่างเปน็ ระบบ คะแนน 0 : ไมป่ รากฏกระบวน 2. การปฏิบตั ติ ามแผน 3. ติดตามประเมนิ ผล การทางานทชี่ ดั เจน 4. การปรบั ปรงุ พฒั นางาน คะแนน 2 : มคี รบทุกขอ้ 3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 1.5: มี 3 ขอ้ ขาด 1 ขอ้ 1. การใช้สานวนภาษาดีถกู ตอ้ ง คะแนน 1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ข้อ 2. การสะกดคาและไวยากรณ์ถูกต้อง คะแนน 0.5 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ 3. รปู แบบนา่ สนใจ 4. ความสวยงาม คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้ คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้ 4 คุณธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ข้อ 1. ตรงต่อเวลา คะแนน 0.5 :มี 1 ขอ้ ขาด 3 ขอ้ 2. ซื่อสตั ย์ 3. ความกระตือรอื ร้น คะแนนเตม็ 10 คะแนน 4. ความมนี ้าใจ รวม เฉลีย่ ลงชื่อผูป้ ระเมิน…………………………………….……….. ตนเอง ลงช่อื ผปู้ ระเมิน…………………………….……………….. เพ่อื น ลงช่ือผ้ปู ระเมนิ ………………………….………………….. ครู

- 155 - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่ กลมุ่ ที่…………..ชั้น……………… พฤติกรรม ลาดบั ชือ่ -สกลุ ความ การแสดง การรบั ฟัง ความตัง้ ใจ การมสี ว่ น รวม ท่ี สมาชกิ กลมุ่ ร่วมมือ ความ ความ ในการ รว่ มในการ คดิ เห็น คดิ เหน็ ทางาน อภปิ ราย 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 90-100% หรือปฏบิ ตั บิ อ่ ยครง้ั ดีมาก = 4 ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ 70-89% หรอื ปฏิบตั บิ างครั้ง ดี = 3 ประสิทธภิ าพอยใู่ นเกณฑ์ 50-69% หรือปฏิบัติคร้งั เดียว ปานกลาง = 2 ประสิทธภิ าพต่ากว่าเกณฑ์ 50% หรือไมป่ ฏิบตั ิเลย ปรบั ปรุง = 1 ลงชื่อ………………………………………………..…………….ผู้สังเกต (…………………………………………………..………….) ……………/……………………..……/…………..……..

- 156 - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ชอื่ – สกลุ ..............................................................เลขท่ี...................ชั้น...........................ปีการศกึ ษา................ ----------------------------------------------- คาช้แี จง ให้พจิ ารณาตัวช้วี ัดตอ่ ไปน้ีแล้วใหร้ ะดบั คะแนนที่ตรงกบั การปฏิบตั ิของนกั เรยี นตามความเปน็ จริง ระดับคะแนน 5 หมายถงึ ปฏิบตั เิ ปน็ ประจาทุกครง้ั ระดบั คะแนน 4 หมายถงึ ปฏิบัติบ่อยครง้ั ระดบั คะแนน 3 หมายถึง ปฏบิ ัตบิ างครง้ั ระดับคะแนน 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั นิ อ้ ย ระดับคะแนน 1 หมายถึง มีพฤติกรรมไมช่ ดั เจนหรือไม่มีหลักฐานท่ี นา่ เชอื่ ถือ ตวั ช้ีวัด 5 คะแนน 1 ขอ้ 1 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 432 1.1 เป็นพลเมอื งดีของชาติ คะแนน 1.2 ธารงไวซ้ ึง่ ความเป็นชาตไิ ทย 1.3 ศรัทธา ยึดมั่นและปฏบิ ตั ติ นตามหลักของศาสนา 1.4 เคารพเทดิ ทนู สถาบัน พระมหากษัตริย์ รวมคะแนน ขอ้ 2 ซ่อื สตั ยส์ ุจริต 2.1 ประพฤติตรงตาม ความเปน็ จริงต่อตนเองทัง้ ทางกาย วาจา ใจ 2.2 ประพฤติตรงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ ผูอ้ น่ื ทั้งทางกาย วาจา ใจ รวมคะแนน ขอ้ 3 มวี ินัย 3.1 ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคับของครอบครวั โรงเรยี นและสังคม รวมคะแนน ข้อ 4 ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 ต้งั ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.2 แสวงหาความรจู้ าก แหล่งเรยี นร้ตู ่างๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น ดว้ ยการ เลือกใช้สอ่ื อย่างเหมาะสม สรปุ เปน็ องค์ความรู้ และสามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ รวมคะแนน

- 157 - ตัวชวี้ ดั 54321 ข้อ 5 อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 5.1 ดาเนินชีวิตอยา่ งพอประมาณ มเี หตุผล รอบคอบ มีคณุ ธรรม 5.2 มภี มู ิคุม้ กนั ในตวั ทดี่ ี ปรบั ตัวเพือ่ อยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ รวมคะแนน ขอ้ 6 มงุ่ มน่ั ในการทางาน 6.1 ต้ังใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ีการงาน 5.2 ทางานด้วย ความเพียร พยายาม และ อดทนเพอ่ื ให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย รวมคะแนน ข้อ 7 รกั ความเปน็ ไทย 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมคี วามกตญั ญูกตเวที 7.2 เหน็ คณุ ค่าและใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม 7.3 อนรุ กั ษ์ สบื ทอดภูมิปญั ญาไทย รวมคะแนน ข้อ 8 มีจติ สาธารณะ 8.1 ชว่ ยเหลือผอู้ น่ื ด้วยความเต็มใจโดย ไมห่ วังผลตอบแทน 8.2 เข้าร่วมกิจกรรมทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรยี น ชมุ ชน และสังคม รวมคะแนน รวมคะแนนทัง้ หมด รวมคะแนนทัง้ หมดเฉลย่ี รอ้ ยละ ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 - 100 ระดับคณุ ภาพ ดเี ย่ยี ม (3) ร้อยละ 70 - 79 ระดบั คณุ ภาพ ดี (2) รอ้ ยละ 50 - 69 ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ (1) ร้อยละ 0 - 49 ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง (0) สรุปผลการประเมนิ  ผ่าน ระดบั  ดเี ยยี่ ม  ดี  ผ่านเกณฑ์การประเมนิ  ไมผ่ า่ น ระดบั  ปรับปรงุ ลงชื่อ………………………………………………..…………….ผู้ประเมนิ (…………………………………………………..………….) ……………/……………………..……/…………..……..

- 158 - แผนการจดั การเรียนรู้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลา 1 ชั่วโมง หนว่ ยที่ ๓ ชือ่ หน่วย STRONG/จิตพอเพียงด้านการทุจรติ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 เรือ่ ง มุ่งไปข้างหนา้ ๑. ผลการเรียนรู้ 1.1 มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ STRONG/จิตพอเพียงต่อต้านการทุจรติ 1.2 ปฏบิ ัติตนเปน็ ผูท้ ี่ STRONG/จติ พอเพียงต่อตา้ นการทุจรติ ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 นกั เรียนสามารถอธบิ ายความหมายของความมุง่ มัน่ ตงั้ ใจได้ 2.2 นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของความซอ่ื สตั ย์ได้ 2.3 นกั เรยี นเลอื กวิธีการปฏบิ ัติตนใหเ้ ปน็ ผู้มพี ฤตกิ รรมของบุคคลท่มี ีความมงุ่ มั่นต้ังใจในการ ปฏบิ ัติงานได้ ๒.4 นกั เรียนชนื่ ชมและแสดงออกถงึ การเป็นผมู้ ีความรบั ผิดชอบตอ่ การปฏิบตั ิหนา้ ทข่ี องตนด้วยความ มุ่งม่นั ตงั้ ใจจนกระทง่ั งานนัน้ สาเรจ็ ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1) ความหมายของความมงุ่ มนั่ ตั้งใจ 2) ความหมายของความซื่อสตั ย์ 3) การแสดงออกถึงการเปน็ ผ้มู คี วามรับผิดชอบ 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด) 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3.3 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ / ค่านิยม ๑) มงุ่ มนั่ ในการทางาน 2) ซือ่ สัตย์สจุ ริต กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.1 ข้นั ตอนการเรยี นรู้ ๑) ยกตัวอย่างประเด็นเนื้อหาการดารงชีวิตของบุคคลหลากหลายอาชพี เชน่ มีอาชีพเกบ็ ของเก่า ขายพ่อค้าแม่ค้า ยามรกั ษาความปลอดภยั นักบนิ แอรโ์ ฮสเตส เพอ่ื เชอื่ มโยงคณุ ลักษณะของบุคคล ทมี่ ีความซ่ือสัตย์ต่อการทางาน มคี วามรกั และศรัทธาในงานอาชีพของตน พร้อมสนทนาร่วมกันถึง ประสบการณ์ในการปฏิบตั งิ านของนักเรียนว่ามีแนวทางในการปฏิบัตงิ านอย่างไรเพ่ือใหง้ านน้นั สาเรจ็ ๒) นักเรียนชมคลิปวีดโี อ เร่ืองความสาเร็จทีเ่ กดิ จากความพยายาม เมอื่ ชมจบแลว้ รว่ มกัน อภิปรายแสดงความคิดเห็นต่อพฤติกรรมของบุคคลในเรื่องว่าสามารถนาพาชีวติ สู่ความสาเร็จได้ อยา่ งไร ต้องใช้ความพากเพียรพยายามหรือมคี ุณธรรมใดบ้างในการก้าวไปสูค่ วามสาเร็จนนั้ พรอ้ ม เปรยี บเทียบกบั พฤติกรรมของเพอ่ื นหรือคนรจู้ ักทมี่ ีพฤตกิ รรมเกเรแตส่ ามารถเปลีย่ นแปลงตนเองจน กา้ วสูค่ วามสาเร็จในการดาเนินชีวิตไดอ้ ย่างไร ๓) แบง่ กลมุ่ นักเรียน กลุ่มละประมาณ ๓ - ๔ คน เลอื กประธานและเลขานุการกลุ่ม ศึกษากรณี

- 159 - ตวั อยา่ งการทางานของบคุ คลจากใบงานท่ี ๑ “หนทางแหง่ ความสาเรจ็ เราเลอื กได้” โดยนักเรยี น ร่วม อภิปรายแสดงความคดิ เห็นลกั ษณะการทางานของบคุ คลจากกรณีตัวอย่าง เปรียบเทียบผลจากการ กระทา ของบคุ คลในเร่ือง ๔) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นสูก่ ารพิจารณาเลอื กแนวปฏบิ ัติของ บุคคลในเรื่องทค่ี ิดว่าเมอื่ นามาปฏบิ ัติจริงแล้วจะส่งผลต่อความสาเรจ็ ในการปฏิบตั ิงานของตน พร้อม แสดงเหตผุ ลประกอบ และนาเสนอผลงานตอ่ เพอื่ นๆกลมุ่ อ่ืนๆ 5) นักเรียนแตล่ ะกล่มุ รว่ มคัดเลือกผลงานท่ีคิดวา่ ดที สี่ ุดในการนาเสนอผลงานของเพ่ือนแต่ละ กลมุ่ พร้อมแสดงเหตุผลประกอบการคัดเลอื ก 6) กาหนดสถานการณใ์ ห้นกั เรียนรว่ มคดิ ออกแบบวางแผนการทางานจาก ใบงานท่ี ๒ “มีวิธีการอยา่ งไรในการท่ีเราจะปฏิบัตงิ านให้ประสบความสาเร็จ” โดยหากนกั เรียนและเพ่ือนๆใน หอ้ งได้รับมอบหมายใหป้ ฏบิ ัติหน้าทใ่ี นการรบั รองแขกผูใ้ หญ่ท่มี าเยย่ี มชมศกึ ษาดูงานที่โรงเรียนใน วันหยุด จะมวี ิธกี ารอยา่ งไรท่ีจะทาให้การปฏิบตั ิงานนนั้ ประสบความสาเร็จเป็นท่ีพึงพอใจของแขกผู้ มาเยอื นและเพื่อนๆทกุ คนให้ความร่วมมือร่วมใจในการปฏิบตั ิงานแต่ เนอ่ื งจากในวนั ท่ีปฏบิ ตั งิ าน ดงั กล่าวมเี พ่ือนบางคนไมม่ าปฏบิ ัตหิ นา้ ทที่ ีไ่ ด้รับมอบหมายเน่อื งจากเป็นวนั หยดุ นักเรียนจะมีวธิ กี าร แกไ้ ขอย่างไร ให้ระบุแนวทางการแก้ไข สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอภปิ ราย สรุปผลแนวคดิ ของกลมุ่ พร้อม จดั ทาผลงานเตรยี มนาเสนอต่อเพื่อนๆในห้อง 7) แตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานของกลมุ่ ตนต่อเพื่อนๆในห้องเป็นการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ต่อกนั 8) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายถงึ แนวทางในการดาเนนิ ชีวติ ใหป้ ระสบความสาเร็จในการ ทางานนอกจากการมีความมุ่งมั่นตั้งใจอดทนและไมย่ อ่ ท้อต่อความยากลาบากแลว้ ยังมีคุณธรรมใดที่ ช่วยส่งเสริมการดาเนินชวี ิตใหม้ คี วามสขุ พบกับความสาเรจ็ ในการทางานอนั จะเปน็ การ ช่วยส่งเสริม สงั คมและประเทศชาตใิ ห้เจริญก้าวหนา้ ซ่ึงประเทศชาติมคี วามคาดหวงั จากประชาชนในประเทศมาก ทสี่ ดุ ซ่งึ ก็คอื การประพฤติปฏิบตั ิตนตั้งมัน่ อยู่ในความซอ่ื สัตย์สุจรติ เห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ่วนตนโดยเริ่มตน้ ที่การมคี วามประพฤติท่ีดีงามของตน ดารงตนต้ังม่ันอยบู่ นพื้นฐานการ ดาเนินชีวติ แบบพอเพียงมีความสุขกับสิ่งที่ตนเองมี ไมท่ จุ ริตคดโกง สามารถแยกแยะไดว้ า่ สง่ิ ใดควรทา หรือไม่ควรทา 9) สรปุ รว่ มกันถึง การม่งุ ไปข้างหน้า หมายถงึ ผุน้ า ผูบ้ รหิ าร องค์กรและชุมชนมงุ่ พัฒนา ปรบั เปล่ยี นตนเองและสว่ นรว่ มใหม้ ีความเจริญกา้ วหน้าอยา่ งยงั่ ยนื บนพ้ืนฐานความโปรง่ ใส ความ พอเพยี งและรวมสร้างวฒั นธรรมสจุ ริตใหเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งไปย่อทอ้ กจิ กรรมเพ่ิมเติม ใหน้ ักเรียนไดฝ้ ึกทักษะการทางานการรับรองแขกในสถานการณจ์ ริง 4.2 ส่ือการเรียนรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ 1) ใบงานกรณีตวั อย่างการทางานของบุคคล ใบงานที่ ๑“หนทางแห่งความสาเรจ็ เราเลือก ได”้ 2) ใบงานที่ ๒ กจิ กรรม“มวี ิธีการอย่างไรในการทเ่ี ราจะปฏิบตั งิ านให้ประสบความสาเรจ็ ” ๓) คลิปวีดิโอ เรือง “ความสาเรจ็ เกดิ ความพยายามทงั้ ส้ิน”

- 160 - ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ 5.1 วิธกี ารประเมนิ ๑) สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในด้านการแสดงความคิดเหน็ การอภิปราย การใหเ้ หตุผล พฤติกรรมการปฏิบัติงานตามภารกจิ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย ๒) ตรวจสอบผลงานจากการทาใบงาน - ใบงานท่ี ๑“หนทางแห่งความสาเรจ็ เราเลือกได้” - ใบงานที่ ๒ กิจกรรม“มวี ธิ ีการอย่างไรในการที่เราจะปฏิบัตงิ านให้ประสบ ความสาเรจ็ ” ๕.๒ เครอื่ งมือที่ใช้ในการประเมิน ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนกั เรียน - การเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ - การปฏบิ ัตงิ านรายบุคคล (การอภิปรายแสดงความคดิ เห็น) ๒) แบบประเมนิ ผลงานใบงานที่ ๒ “มีวิธกี ารอย่างไรในการท่เี ราจะปฏิบัติงานใหป้ ระสบ ความสาเรจ็ ” ๓) แบบประเมินผลการให้คะแนน การตรวจสอบผงั มโนทัศน์ 5.3 เกณฑก์ ารตดั สิน ๑) เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานของนกั เรียน 1.1) แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานกลุม่ นักเรียนตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ในระดบั ดี ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ ดี 70- 89% 1.2) แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติงานรายบคุ คล นกั เรียนตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับดี อยู่ในเกณฑ์ 70% 1.3) การประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน นกั เรยี นต้องได้ระดบั คณุ ภาพ ผา่ น ๖.บันทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. .................................................................... ........................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................)

- 161 - ใบงานท่ี ๑ “หนทางแหง่ ความสาเรจ็ เราเลือกได้” คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนศึกษาบทความเรื่องราวของเจ้าของเครอ่ื งด่มื ชาเขียวอชิ ติ ัน ตัน ภาสกรนที แล้วร่วมกันวิเคราะหท์ ่ีมาแหง่ ความสาเรจ็ ในการทางานของตนั ภาสกรนที ในปจั จบุ ันน้ี มนี กั ธรุ กจิ ที่ประประสบความสาเรจ็ อยจู่ านวนมาก หน่ึงในนนั้ คือ คุณตัน ภาสกรนที บุคคลท่ี ประสบความสาเรจ็ จากเครื่องดม่ื ชาเขียว ทส่ี ามารถทะยานสคู่ วามเปน็ ท่ี 1 ของตลาดเคร่ืองดม่ื ชาเขียว เขาคอื บคุ คลทมี่ ี มนั สมองแพรวพรายมเี่ หล่ียมคดิ แง่มุมตา่ งๆทีน่ า่ จะทาให้เราสามารถศกึ ษาเปน็ แนวทางในการเร่ิมทาธรุ กจิ ท้งั นค้ี ณุ ตันยังเป็น นักธรุ กิจทใี่ ครๆตา่ งยึดเป็นตน้ แบบในการทาธุรกจิ ท่ีสาคญั คณุ ตันทม่ี ีตน้ ทุนในการทาธรุ กจิ ที่เรมิ่ จากศนู ย์ แตส่ ามารถทาใหม้ ี อาณาจกั รเครอื่ งดืม่ ชาเขียวเป็นแบรนด์ช้นั นาของประเทศ คณุ ตนั เตบิ โตมาในครอบครวั ทีย่ ากจน เรม่ิ ตน้ สร้างทุกส่งิ ทกุ อย่างจากจดุ ท่เี รยี กวา่ …ศนู ย…์ ถึงแม้เส้นทางถนนสาย ธรุ กจิ ของเขาในวันนีอ้ าจไม่ย่ิงใหญ่ระดับท่เี รยี กวา่ ตานาน … แตค่ ุณตนั ภาสกรนที … เป็นเพียงแคท่ ายาทของครอบครวั คน ไทยเชือ้ สายจนี ท่ีมีฐานะปานกลาง ดว้ ยความทคี่ รอบครวั คณุ ตนั ไม่ได้มีฐานะดี คณุ ตนั เลยตัดสินใจ เรยี นถึงแคช่ ้ันมธั ยมศึกษา ปที ่ี 3 แล้วออกมาทางาน คุณตนั คดิ วา่ เสมอว่าเป็นคนรปู ไม่หล่อ พ่อไมร่ วย เรยี นไมเ่ ก่ง ถา้ ยังทาตัวเทีย่ วเล่น วันต่อไป ข้างหนา้ ก็คงลาบาก สิง่ เดยี วทต่ี นเองสามารถทาได้กค็ ือ ทางานต้องตั้งใจทางานให้มากกว่าคนอ่นื เรม่ิ จากการทางานเป็น พนักงานแบกของขนของขึ้นโกดงั ท่บี รษิ ทั ซากุระ ไดค้ า่ แรงเดือนละ 700 บาท ซ่งึ คุณตนั กไ็ ด้ทางานคมุ้ ค่าแรงโดยมาทางาน เปน็ คนแรก และกลับบา้ นเปน็ คนสดุ ทา้ ยของพนังงานเสมอ แต่คณุ ตันไมไ่ ดต้ อ้ งการเกิดมาเป็นลกู จ้างใครตลอดไป คณุ ตนั จงึ เร่ิมธุรกจิ เลก็ ๆเปน็ ของตนเองในวยั 17 ปี และได้ลาออกจากบริษทั ซากรุ ะ และเรม่ิ ทาธรุ กิจอยา่ งจรงิ จัง ออกมาเปิดรา้ นขาย หนงั สือเลก็ ๆในจังหวดั ชลบรุ ี เม่ือเก็บเงนิ ได้ประมาณหน่งึ จากน้ันคณุ ตนั ไดข้ ยับขยายมาซอื้ ห้องแถวเพือ่ มาทาธุรกิจ อสงั หารมิ ทรพั ย์ เปิดรา้ นกฟิ๊ ช็อป รา้ นกาแฟ รา้ นอาหาร แล้วก็มาทาธรุ กจิ เรียลเอสเตท กาลังทีจ่ ะมีเงิน 100 – 200 ล้าน บาท พอรัฐบาลประกาศค่าเงนิ บาทลอยตัว ทาให้คุณตนั เปน็ บุคคลลม้ ละลายในปี 2539 และมหี นส้ี ินตดิ ตัวกวา่ 100 ล้าน บาทจากการลงทุนทางธุรกจิ แต่คุณตนั ไมไ่ ด้ยอ่ ทอ้ ต่อความยากลาบากคณุ ตนั ไดเ้ รม่ิ ทาธรุ กจิ เวด้ ด้งิ ถา่ ยรปู แตง่ งานจัดงาน แตง่ งานเพ่ือหาเงินมาใชห้ นี้ ซึ่งความแปลกใหมข่ องธรุ กิจเวด้ ด้งิ กท็ าให้คณุ คุณตนั สามารถหาเงนิ มาใชห้ นีก้ ว่า 100 ล้านบาท ได้หมดภายใน 2 ปี คุณตันเริม่ ต้นการทาธุรกจิ โดยมีความเชอ่ื วา่ ส่งิ ทดี่ ีท่ีสุดยังไม่เกดิ และสิง่ ทดี่ กี วา่ มโี อกาสเกดิ ได้ คณุ ตนั ได้บอกว่า “ โทรทัศนใ์ นตอนนี้มยี ห่ี อ้ ไหนดที ส่ี ดุ ” หลายๆคน ตอบวา่ Sony แตค่ ณุ ตันไดบ้ อกวา่ “ ผิดครับ…เพราะยห่ี ้อดที ่สี ดุ ยังไมย่ ังไม่ มาเชน่ เดียวกบั ทีว่ ่านกั ธรุ กจิ ที่ประสบความสาเรจ็ ยังไม่มา” แสดงใหเ้ ห็นวา่ ยงั มีโอกาสเปดิ โอกาสให้สาหรบั คนท่ีมีความม่ันใจที่ จะทาสิ่งท่แี ตกต่างให้โดดเด่นด้วยความคิดสรา้ งสรรค์ ” เชน่ เดียวกบั กรณีในการผลติ ชาเขยี วโออชิ ิ ชว่ งแรกๆเปดิ ตัว ด้วย รสชาตติ ้นตาหรบั และสามารถทาการตลาดจนขายดี ทวา่ เมอื่ มกี ารคดิ คน้ รสชาตใิ หมอ่ อกมา รสน้าผึง้ ผสม มะนาว ปรากฏว่าขายดีกวา่ รสตน้ ตาหรบั เสียอกี จนมีคนยกยอ่ งให้เปน็ “ สุดยอด ”และยึดรสชาตนิ เ้ี ปน็ หลกั แต่คณุ ตนั กลับ ไม่คดิ วา่ รสชาตนิ ี้ดที ่ีสดุ และได้พฒั นาออกรสชาติต่อมาคอื ขายไปในตลาด รสชาตขิ า้ วญปี่ ุ่น ส่งไปขายในตลาด ปรากฏว่าขาย ดีกวา่ ทุกรสท่เี คยผา่ นมา และนคี่ อื จุดเริ่มตน้ ของชาเขยี วทสี่ ่งผลตอ่ ความเจรญิ ร่งุ เรืองในการทาธรุ กิจของคุณตันในเวลาตอ่ มา “เพยี งคุณมีความมุ่งม่ันตงั้ ใจในการทางาน มเี ปา้ หมายชวี ิตทชี่ ัดเจนในชวี ิตท่ตี ัง้ อยบู่ นพน้ื ฐานความซื่อสตั ยส์ จุ รติ แม้จะมปี ัญหา อปุ สรรคเพียงใดกต็ ามคณุ จะสามารถฟนั ฝ่าก้าวข้ามปญั หาอุปสรรคนนั้ ไปสู่ความสาเร็จได้”และนค่ี ือตวั อย่างบุคคลที่ยิ่งใหญ่ เพราะคิดทจ่ี ะทา ทาดว้ ยความมุ่งมัน่ ต้งั ใจ ภายใต้พน้ื ฐานความซื่อสัตยส์ ุจริต ท่ีผา่ นการกล่อมเกลา การเลีย้ งดมู าจาก ครอบครวั แล้วคณุ ละ่ คดิ ทจี่ ะทาอะไรใหช้ วี ิตพบกบั ความสาเรจ็ หรอื ยงั

- 162 - ประเดน็ การอภปิ ราย 1. ไดร้ บั แง่คดิ อะไรบ้างในการทางานของคุณตัน ภาสกรนที 2. อะไรคือคณุ สมบตั ิของ คุณตัน ภาสกรนที ทีท่ าใหพ้ บกบั ความสาเร็จในการดาเนนิ ชวี ติ 3. มสี ่งิ ใดทีน่ ักเรยี นคิดว่าเป็นคุณสมบัติใดที่ดขี องตนเองทส่ี ามารถนาไปปฏิบตั สิ คู่ วามสาเร็จในการ ดาเนินสมั มาชพี ของตน 4. หากการทางานของนักเรยี นต้องพบกบั ปัญหาอปุ สรรคท่ีทาให้การทางานนัน้ ไมร่ าบร่นื นกั เรยี นจะ มีวธิ ีการจัดการกบั ปัญหานั้นอยา่ งไรและจะนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ของตนได้อย่างไร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................. ............................................................................... ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................ .................... ............................................................................................................... ................................................. ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................... .......................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................................................................... .....................

- 163 - ใบงานที่ ๒ “มวี ธิ กี ารอยา่ งไรในการท่เี ราจะปฏิบตั ิงานใหป้ ระสบความสาเร็จ” คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั ออกแบบวางแผนการปฏิบัติงานจากสถานการณท์ ่ีกาหนดโดยมี เป้าหมาย คือ ความสาเรจ็ ในภารกิจทีไ่ ดร้ ับและเปน็ การปฏบิ ตั งิ านท่มี คี วามสุข หากนักเรียนและเพ่ือนๆในหอ้ งได้รบั มอบหมายให้ปฏิบัติหนา้ ท่ีในการรับรองแขกผู้ใหญท่ ี่มา เยยี่ มชมศกึ ษาดูงานทีโ่ รงเรยี นในวนั หยุด จะมวี ิธกี ารอยา่ งไรทจ่ี ะทาให้การปฏบิ ตั ิงานนั้นประสบ ความสาเร็จ เป็นท่ีพึงพอใจของแขกผู้มาเยอื น และเพื่อนๆทกุ คนให้ความร่วมมือร่วมใจในการ ปฏบิ ัตงิ าน แต่ เนอื่ งจากในวันทป่ี ฏบิ ตั ิงานดังกลา่ วเปน็ วนั หยุด จึงมีเพอ่ื นบางคนทไ่ี ม่มาปฏิบัติหนา้ ท่ี ทไ่ี ด้รับมอบหมาย นักเรียนจะมีวิธกี ารแกไ้ ขอย่างไร จงช่วยกันหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดงั กล่าว สมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกนั อภิปราย สรปุ ผลแนวคดิ ของกลมุ่ พรอ้ มจัดทาผลงานเตรียมนาเสนอตอ่ เพอื่ นๆใน ห้อง ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................... ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ...................................................................................................................................................... .......... ......................................................................................................................... ....................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................ ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ..................................................................................................................................................... ........... ....................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ...................................

- 164 - ความสาเร็จเกดิ มาจากความพยายามทัง้ ส้นิ https://www.youtube.com/watch?v=EzEvPshSKjl

- 165 - แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกล่มุ กลุ่ม…………..ช้นั ……………… พฤติกรรม ลาดั ชอื่ -สกุล ความ การแสดง การรับฟงั ความตัง้ ใจ การมสี ่วน รวม บ ร่วมมือ ความ ความ ในการ ร่วมในการ คดิ เห็น คิดเหน็ ทางาน อภปิ ราย ท่ี สมาชกิ กล่มุ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดีมาก = 4 ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ 90-100% หรอื ปฏิบตั บิ อ่ ยคร้ัง ดี = 3 ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ 70-89% หรือปฏิบัติบางครง้ั ปานกลาง = 2 ประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ 50-69% หรอื ปฏิบตั คิ รัง้ เดยี ว ปรับปรงุ = 1 ประสิทธิภาพต่ากวา่ เกณฑ์ 50% หรือไมป่ ฏิบตั เิ ลย นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมิน ในระดบั ดี ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ ดี 70-89% ลงชอ่ื ………………………………ผู้สังเกต (…………………………….) ………./……………/………

- 166 - แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านรายบคุ คล (การอภิปรายแสดงความคิดเหน็ ) พฤติกรรม ความสนใจ การแสดง การตอบ การยอมรับ ทางาน ท่ี คาถาม ความ ฟงั ผู้อ่นื ตามทไ่ี ดร้ บั หมาย คดิ เห็น มอบหมาย เหตุ ช่อื -สกุล 43214321432143214321 เกณฑ์การวดั ผล ให้คะแนนระดบั คณุ ภาพของแตล่ ะพฤติกรรมดังนี้ ดมี าก = 4 สนใจฟัง ไม่หลับ ไม่พูดคุยนอกประเด็น มีคาถามท่ีดี ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่ง ครบตรงเวลา ดี = 3 สนใจฟัง ไม่หลับ พูดคุยนอกประเด็นบ้าง มีคาถาม ตอบคาถามถูกต้อง ทางานส่ง ครบตรงเวลา ปานกลาง = 2 สนใจฟัง ไม่หลับ พูดคุยนอกประเด็นบ้าง มีคาถาม ไม่ค่อยตอบคาถาม ทางานส่ง ครบตรงเวลาบ้างไมต่ รงเวลาบ้าง ปรับปรงุ = 1 สนใจฟัง ไม่หลับ พูดคุยนอกประเด็นบ้าง ไม่มีการต้ังคาถามตอบคาถาม ส่งงานไม่ ครบไม่ตรงเวลา นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดับ ๒ จึงจะผา่ น ลงช่ือ……………………………….ผ้สู งั เกต (……………………………….) …………/…………/………..

- 167 - การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผู้เรยี น ข้อที่ ๖ มงุ่ ม่ันในการทางาน ตวั ช้วี ัด ๖.๑ ต้งั ใจและรับผดิ ชอบหนา้ ที่การทางาน ๖.๒ ทางานด้วยความเพยี รพยายาม และอดทนเพ่ือให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย ตวั ชวี้ ัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๖.๑ ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบหน้าทก่ี ารทางาน ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการ ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีที่ ไดร้ บั มอบหมาย ๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบใน การทางานให้ สาเรจ็ ๖.๑.๓ ปรบั ปรุงและ พฒั นาการทางานดว้ ยตนเอง ๖.๒ ทางานดว้ ยความเพียรพยายาม และอดทน ๖.๒.๑ ทมุ่ เททางาน อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อปญั หา และ เพื่อให้งานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย อุปสรรคในการทางาน ๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทางาน ให้สาเรจ็ ๖.๒.๓ ช่นื ชมผลงานดว้ ยความภาคภมู ใิ จ เกณฑก์ ารประเมนิ ตวั ชีว้ ดั ที่ ๖.๑ ตงั้ ใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบัตหิ นา้ ทีก่ ารงาน พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ ่าน (0) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเย่ียม (๓) ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อ ไม่ตงั้ ใจปฏบิ ตั ิ ตั้งใจและ ตงั้ ใจและ ตัง้ ใจและ การ ปฏิบัติหน้าท่ที ี่ หนา้ ทกี่ ารงาน ไดร้ ับมอบหมาย รับผดิ ชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ ๖.๑.๒ ตงั้ ใจและ รับผดิ ชอบใน การ ปฏบิ ตั ิหน้าท่ที ่ี ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ที ่ี ปฏบิ ตั หิ น้าที่ท่ี ทางานให้ สาเรจ็ ๖.๑.๓ ปรับปรงุ และ ไดร้ บั มอบหมายให้ ได้รบั มอบหมายให้ ได้รบั มอบหมายให้ พัฒนาการทางาน ด้วยตนเอง สาเรจ็ มกี าร สาเร็จ มกี าร สาเร็จ มกี าร ปรบั ปรุงการ ปรับปรงุ และ ปรับปรงุ และ ทางานใหด้ ีขึน้ พฒั นาการทางาน พัฒนาการทางาน ให้ดีขึน้ ให้ดีข้นึ ด้วยตนเอง

- 168 - ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๖.๒ ทางานดว้ ย ความเพยี รพยายาม และอดทนเพอื่ ใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไมผ่ ่าน (0) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยย่ี ม (๓) ๖.๒.๑ ทุ่มเททางาน ไมข่ ยัน อดทน ทางานดว้ ยความ ทางานดว้ ยความ ทางานด้วยความ อดทน ในการทางาน ขยนั อดทน และ พยายามให้งาน ขยันอดทน และ ขยนั อดทน และ ไมย่ ่อทอ้ ต่อปญั หา และ สาเร็จตาม เป้าหมาย และช่นื พยายามให้งาน พยายามให้งาน อปุ สรรคในการทางาน ชมผลงานด้วย ความภาคภมู ิใจ สาเร็จตาม สาเรจ็ ตาม ๖.๒.๒ พยายาม แก้ปญั หา เปา้ หมาย ไม่ย่อท้อ เป้าหมายภายใน และอปุ สรรคในการ ตอ่ ปญั หาในการ เวลาทีก่ าหนดไม่ ทางาน ทางาน และชน่ื ชม ย่อท้อตอ่ ปัญหา ใหส้ าเร็จ ผลงานดว้ ยความ อุปสรรคในการ ภาคภูมิใจ ทางาน และชนื่ ชม ผลงานดว้ ยความ ภาคภูมิใจ ๖.๒.๓ ชื่นชมผลงาน ดว้ ย ความภาคภมู ใิ จ เกณฑพ์ ิจารณาสรปุ ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ ้อที่ ๖ ม่งุ มัน่ ในการทางาน ระดับ เกณฑก์ ารพิจารณา ดเี ยย่ี ม (๓) ๑. ไดผ้ ลการประเมินระดับดีเยี่ยม ทุกตัวชว้ี ดั หรือ ๒. ได้ผลการประเมินระดบั ดีเยย่ี ม และดี ระดับละ ๑ ตวั ชวี้ ัด ๑. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดี ทุกตวั ชี้วดั หรอื ดี (๒) ๒. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดีเยี่ยม และระดับผ่าน ระดบั ละ ๑ ตัวช้ีวดั ผา่ น (๑) ๑. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ผา่ น ทกุ ตัวชวี้ ัด หรอื ๒. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดี และระดบั ผ่าน ระดบั ละ ๑ ตัวช้ีวดั ไม่ผา่ น (๐) มผี ลการประเมินตวั ช้ีวดั ข้อใดขอ้ หน่ึงได้ระดับ ไมผ่ ่าน

- 169 - แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของนกั เรียน พฤติ เอาใจใส่ต่อ ตงั้ ใจและ หมา กรรม หนา้ ที่ รับผดิ ชอบ การปรับปรงุ ความอดทน การแกไ้ ข ชน่ื ชมใน ย พฒั นางาน ปญั หา ผลงานของ เหตุ เลข ทีไ่ ดร้ ับ การทมุ่ เทใน อุปสรรค ที่ ชือ่ - มอบหมาย ตอ่ งานของตน การทางาน ตน ในการทางาน นามสกลุ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 เกณฑ์การวัดผล ระดบั คุณภาพของแตล่ ะพฤติกรรม ดงั น้ี ดีเย่ยี ม = 3 ดี = 2 ผ่าน = 1 ไมผ่ ่าน = 0 นกั เรียนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ใน ระดบั ผา่ น ลงชือ่ ……………………………….ผ้ปู ระเมิน (……………………………….) …………/…………/………..

- 170 - หนว่ ยท่ี ๓ ช่ือหน่วย แผนการจดั การเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 เวลา 1 ช่วั โมง STRONG/จติ พอเพียงดา้ นการทจุ รติ เร่ือง ความเอ้อื อาทร ๑. ผลการเรียนรู้ มีจิตพอเพียงตอ่ ต้านทจุ รติ มีความตระหนักในการปฏิบตั ติ นเป็นผมู้ ีความเอือ้ อาทรในชีวิตประจาวัน ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 นกั เรยี นเขา้ ใจความหมายของความเอื้ออาทร ๒.๒ นกั เรียนยกตวั อย่างของความเอื้ออาทรได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ - ความเอื้ออาทร หมายถงึ ความเอ้ือเฟ้ือ ความเอ้ืออารี ความมนี ้าใจ และการปฏบิ ัติตนเปน็ ผมู้ ี ความเอ้ืออาทร - การตระหนกั และเห็นคุณค่าของการต่อตา้ นการทจุ ริต แต่ไม่ควรเอื้อเฟื้อชว่ ยเหลือในสง่ิ ท่ีไม่ ถกู ต้อง โดยหวังผลประโยชนส์ ่วนตวั 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคดิ 3.3 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ / ค่านิยม ๑) ม่งุ มัน่ ในการทางาน ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี1 4.1 ขั้นตอนการเรียนรู้ 1. นักเรียนเลา่ ประสบการณเ์ กี่ยวกับการชว่ ยเหลอื คนอนื่ 2. นักเรยี นจบั คูช่ ่วยกันเขยี นแผนผงั ลาดบั เหตกุ ารณ์ต้ังแตต่ น้ จนจบ แลว้ นาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น ชว่ ยกันตรวจสอบว่าใครลาดับเหตุการณ์ได้ถูกตอ้ งทส่ี ดุ 3. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปถงึ ข้อคิดที่ได้จากการช่วยเหลอื ผ้อู ืน่ และเราสามารถนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้อย่างไร เช่น เมอ่ื มีผเู้ ดือนรอ้ นเราตอ้ งใหก้ ารช่วยเหลอื 4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปถึงความตระหนกั ในการปฏบิ ัตติ นเป็นผู้มีความเอื้ออาทรใน ชวี ิตประจาวนั 5. นักเรียนวาดภาพความเอ้ืออาทรตอ่ ผู้อน่ื และระบายสีใหส้ วยงาม 6. ครูและนักเรยี นร่วมกันคัดเลือกผลงานที่มีคณุ ภาพ อยใู่ นเกณฑด์ ีออกมานาเสนอผลงานทีห่ น้า ชั้นเรียน และนาผลงานมาจัดป้ายนิเทศแสดงผลงานของนกั เรียน ชั่วโมงที่ 2 7. แบ่งนกั เรยี นเปน็ 2-5 กล่มุ ๆ ละเท่าๆกัน 8. นักเรยี นแสดงบทบาทสมมติเก่ยี วกับความเออ้ื อาทรต่อผู้อ่นื 9. ใหก้ ลุ่มอ่นื แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับการแสดงบทบาทสมมตุ ิ

- 171 - 10. ครูและนักเรยี นสรปุ ความหมายของการเอ้ืออาทร 4.2 สื่อการเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ใบความรู้ ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 วิธกี ารประเมนิ ๑) สังเกตพฤติกรรม - การตอบคาถาม - การยกตวั อย่างความเอื้ออาทร - การปฏิบตั ติ นเปน็ ผูม้ คี วามเอ้ืออาทรในโรงเรียน ๒) ตรวจสอบผลงาน ๕.๒ เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ แบบสังเกตพฤตกิ รรม 5.3 เกณฑ์การตัดสนิ นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ถือวา่ ผ่าน ๖. บนั ทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................................................ครูผสู้ อน (............................................................)

- 172 - หน่วยท่ี ๔ พลเมอื งและความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม

- 173 - ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๔ ชอ่ื หนว่ ย พลเมืองและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง การเคารพสทิ ธหิ น้าทต่ี ่อตนเองและผู้อ่นื ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ทพี่ ลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทุจรติ ๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 นักเรียนบอกสิทธิของพลเมืองตามรัฐธรรมนญู ได้ ๒.2 นักเรียนบอกหน้าท่ีของพลเมอื งตามรฐั ธรรมนูญได้ ๒.๓ นกั เรยี นบอกบทบาทหน้าทขี่ องเยาวชนในการเปน็ พลเมืองดีได้ ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1) สิทธิ 2) หน้าที่ ๓) บทบาทและหน้าทข่ี องเยาวชนในการเป็นพลเมืองดี 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ ) 3.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ 2) ทกั ษะกระบวนการคิดเชงิ สร้างสรรค์ 3.2 ความสามารถในการส่ือสาร อา่ น ฟัง พดู เขียน 3.๓ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ การสงั เกต การระบุ จาแนก วเิ คราะห์ จัดกลุ่ม สรุป 3.3 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ / คา่ นิยม มรี ะเบยี บวินัย ๔.กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรียนรู้ ชว่ั โมงที่ ๑ 1) นกั เรียนชมวีดที ศั น์ เกยี่ วกบั การเคารพสิทธผิ ้อู นื่ เพื่อให้รู้และเขา้ ใจความหมายและความสาคญั ของ การร้จู กั เคารพสทิ ธิของผู้อนื่ ไมก่ ระทาการท่เี ปน็ การละเมิดตอ่ ผอู้ ื่น มเี น้อื หา คือ วางกระถางตน้ ไม้ ไวบ้ นกาแพงที่กน้ั ระหวา่ งบา้ น และรดนา้ ต้นไม้ ทาให้ดนิ ไหลออกไปเลอะบ้านที่มกี าแพงตดิ กนั จึง

- 174 - ตอ้ งเปล่ียนทวี่ างต้นไม้ใหม่ ท่ีมาของวีดที ศั น์ https://www.youtube.com/watch?v=bztZQ_hkkNs จากกรม ส่งเสริมวฒั นธรรม 2) ครูและนักเรยี นสนทนาอภปิ ราย เกย่ี วกับวดี ีทศั น์ท่ไี ดร้ ับชม 3) ครูสมุ่ นกั เรยี นประมาณ ๓ ถึง ๔ คน ใหม้ าแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั วีดีทศั น์ทชี่ มหนา้ ช้นั เรียน 4) นักเรียนทาใบงานเรอ่ื งทางการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิและเสรภี าพของตนเองและผู้อน่ื 5) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ถงึ การเคารพสิทธขิ องผ้อู ื่นว่าเราไม่ควรกระทาการใดๆท่ีทาให้ผู้อน่ื เดือดร้อนท้ังดา้ นร่างกายหรือจติ ใจ ชั่วโมงท่ี ๒ 1) แบ่งกลุ่มออกเปน็ ๖ กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ จับฉลากเพอ่ื เลือกเนื้อหาและใหแ้ ต่ละกลมุ่ ทากิจกรรมตาม หวั ข้อที่ได้รบั มอบหมายโดยศึกษาจากใบความรู้และปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมท่ี 1 – ๓ ดงั นี้ - เรอ่ื งสิทธิ - เร่อื งหน้าท่ี - เรือ่ งบทบาทและหน้าที่ของเยาวชนในการเป็นพลเมืองดี 2) แตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนนาเสนอผลงาน 3) รว่ มกนั สรปุ ภาพรวมของกิจกรรมในสาระของสิทธิ หน้าท่ี ความเปน็ พลเมอื งดตี ามวถิ ี ประชาธิปไตยและบทบาทและหน้าท่ีของเยาวชนในการเป็นพลเมืองดี 4.2 ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) วีดีทัศน์ เกี่ยวกับ การเคารพสิทธิผอู้ ื่น เพอ่ื ให้รู้จักเคารพสิทธิของผอู้ ่ืน ไม่กระทาการท่ีเปน็ การ ละเมดิ ต่อผูอ้ ืน่ มเี นอื้ หา คือ วางกระถางต้นไม้ไว้บนกาแพงทีก่ ้ันระหวา่ งบา้ น และรดน้าต้นไม้ ทาให้ดนิ ไหล ออกไปเลอะบ้านทม่ี ีกาแพงติดกนั จึงต้องเปล่ียนทวี่ างต้นไม้ใหม่ ทม่ี าของวดี ีทศั น์ https://www.youtube.com/watch?v=bztZQ_hkkNs จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ๑) ใบความรทู้ ี่ 1 เร่ือง สิทธิ หน้าท่ี ๒) ใบความรู้ที่ ๒ เรือ่ ง บทบาทและหน้าท่ีของเยาวชนในการเป็นพลเมืองดี ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธกี ารประเมิน ๑) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ๒) ประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๕.๒ เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการประเมิน 1) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ๒) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓) ใบงานเรอื่ งทางการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธแิ ละเสรภี าพของตนเองและผู้อื่น ๕.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดับดีขึ้นไป

- 175 - 6. บันทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชือ่ ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................)

- 176 - ใบความรู้ เร่อื ง บทบาท สิทธิ หนา้ ท่ี บทบาท หมายถงึ การปฏบิ ตั ติ ามสทิ ธิ หนา้ ท่ีอันเน่ืองมาจากสถานภาพของบุคคล เน่ืองจากบุคคลมหี ลาย สถานภาพในคนคนเดยี ว ฉะนั้นบทบาทของบุคคลจึงต้องปฏบิ ัติไปตามสถานภาพในสถานการณต์ ามสถานภาพ นนั้ ๆ สิทธิ เสรีภาพ และหนา้ ทีข่ องประชาชนชาวไทยตามรฐั ธรรมนญู สิทธิ หมายถึง สงิ่ ท่ไี มม่ รี ูปรา่ งซง่ึ มีอยู่ในตวั มนุษย์มาตง้ั แต่เกิดหรอื เกดิ ขึน้ โดยกฎหมาย เพื่อใหม้ นุษยไ์ ดร้ ับ ประโยชน์ และมนุษย์จะเปน็ ผู้เลอื กใช้ส่งิ น้นั เอง โดยไม่มผี ู้ใดบงั คับได้ เช่น สิทธใิ นการกนิ การนอน แตส่ ิทธิ บางอย่างมนุษย์ไดร้ บั โดยกฎหมายกาหนดให้มี เชน่ สทิ ธิในการมี การใช้ทรัพย์สิน สทิ ธใิ นการร้องทกุ ข์เม่ือตน ถูกกระทาละเมดิ กฎหมาย เป็นต้น เสรภี าพ หมายถงึ การใช้สทิ ธิอย่างใดอยา่ งหนึง่ หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนงึ่ ได้อย่างอิสระ แต่ทงั้ น้ี จะต้องไม่กระทบต่อสิทธิของผอู้ ่ืน ซงึ่ หากผใู้ ดใชส้ ทิ ธิเสรีภาพเกินขอบเขตจนก่อความเดือดรอ้ นต่อผู้อ่ืน ก็ย่อม ถูกดาเนินคดีตามกฎหมาย หน้าที่ หมายถงึ การกระทาหรอื การละเว้นการกระทาเพ่ือประโยชน์โดยตรงของการมีสิทธิหนา้ ท่เี ป็น ส่ิงท่ี บงั คับใหม้ นุษยใ์ นสังคมตอ้ งปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางสังคมหรือกฎหมาย บญั ญัติไว้ จะไม่ปฏิบัตติ ามไม่ได้ ส่วน สทิ ธิและเสรภี าพเป็นสงิ่ ที่มนุษยม์ อี ยู่แต่จะใชห้ รือไม่ก็ได้ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้กาหนดสทิ ธิ เสรภี าพ และหนา้ ท่ขี องประชาชนชาวไทยไว้ ดังน้ี 1) สทิ ธขิ องปวงชนชาวไทย 1. สทิ ธใิ นครอบครวั และความเป็นอย่สู ่วนตวั ชาวไทยทุกคนย่อมได้รบั ความคุ้มครอง เกียรตยิ ศ ชื่อเสียง และความเป็นอยสู่ ว่ นตัว 2. สิทธิอนุรกั ษ์ฟืน้ ฟจู ารีตประเพณี บุคคลในท้องถิ่นและชุมชนตอ้ งชว่ ยกนั อนุรักษ์ฟ้นื ฟูจารตี ประเพณี วฒั นธรรมอนั ดงี าม ภูมิปัญญาท้องถ่ินเพื่อรักษาไวใ้ ห้คงอยู่ตลอดไป 3. สทิ ธิในทรัพยส์ นิ บุคคลจะได้รบั การค้มุ ครองสิทธใิ นการครอบครองทรัพยส์ นิ ของตนและการสืบทอด มรดก 4. สิทธใิ นการรับการศึกษาอบรม บุคคลย่อมมีความเสมอภาคในการเขา้ รบั การศึกษาขน้ึ พน้ื ฐาน 12 ปี อย่างมีคุณภาพและทั่วถึง โดยไม่เสยี คา่ ใชจ้ า่ ย 5. สิทธิในการรบั บรกิ ารทางดา้ นสาธารณสขุ อย่างเสมอภาคและได้มาตรฐาน สาหรบั ผู้ยากไรจ้ ะไดร้ บั สทิ ธิ ในการรักษาพยาบาลจากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 6. สทิ ธทิ ่ีจะได้รับการค้มุ ครองโดยรฐั เด็กเยาวชน สตรี และบคุ คลในสังคมท่ีไดร้ ับการปฏิบัตอิ ยา่ งรนุ แรง และไมเ่ ป็นธรรมจะไดร้ บั การ คุม้ ครองโดยรัฐ 7. สทิ ธทิ ่ีจะไดร้ ับการชว่ ยเหลือจากรฐั เชน่ บุคคลทมี่ ีอายุเกนิ หกสิบปี และรายไดไ้ ม่พอต่อการยงั ชีพ รฐั จะ ใหค้ วามชว่ ยเหลือ เปน็ ต้น

- 177 - 8. สทิ ธทิ จี่ ะได้สง่ิ อานวยความสะดวกอนั เปน็ สาธารณะ โดยรัฐจะใหค้ วามช่วยเหลือและอานวยความ สะดวกอันเปน็ สาธารณะแก่บุคคลในสังคม 9. สิทธิของบุคคลท่จี ะมสี ่วนร่วมกับรัฐและชุมชน ในการบารงุ รักษาและการไดป้ ระโยชนจ์ าก ทรพั ยากรธรรมชาติ 10. สทิ ธิท่จี ะไดร้ ับทราบขอ้ มูลข่าวสารจากหน่วยงานของรัฐ รฐั วิสาหกจิ หรือราชการสว่ นท้องถ่ินอย่าง เปดิ เผย เวน้ แต่การเปิดเผยข้อมูลน้นั จะมีผลต่อความมน่ั คงของรัฐหรือความปลอดภัยของ ประชาชนส่วนรวม หรือเปน็ สว่ นไดส้ ว่ นเสยี ของบุคคลซึ่งมีสทิ ธิได้รับความคมุ้ ครอง 11. สทิ ธิเสนอเรอ่ื งราวร้องทุกขโ์ ดยได้รบั แจ้งผลการพิจารณาภายในเวลาอนั ควรตามบทบญั ญัติของ กฎหมาย 12. สทิ ธิท่ีบุคคลสามารถฟอ้ งร้องหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการสว่ นท้องถิ่น หรอื องค์กรของรัฐท่ี เปน็ นิตบิ ุคคลใหร้ บั ผิดชอบการกระทาหรือละเว้นการกระทา ตามกฎหมายของเจ้าหน้าท่ีของรฐั ภายใน หนว่ ยงานน้ัน 2) เสรภี าพของปวงชนชาวไทย 1. เสรภี าพในเคหสถาน ชาวไทยทกุ คนย่อมได้รบั ความคมุ้ ครองในการอาศยั และครอบครองเคหสถานโดย ปกตสิ ขุ การเขา้ ไปในเคหสถานของผู้อน่ื โดยปราศจากการยินยอมของผ้คู รอบครอง หรอื การเขา้ ไปตรวจคน้ เคหสถานโดยไม่มีหมายคน้ จากศาลย่อมทาไม่ได้ 2. เสรภี าพในการเดินทางและการเลือกถนิ่ ที่อยู่ การเนรเทศบุคคลผู้มสี ญั ชาติไทยออกนอกราชอาณาจกั ร หรือหา้ มมใิ ห้บุคคลผู้มี สัญชาตไิ ทยเข้ามาในราชอาณาจักรจะกระทามิได้ 3. เสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็นผา่ นการพดู การเขยี น การพิมพ์ การโฆษณาและการส่ือความหมาย โดยวิธอี ืน่ จะจากัดแก่บคุ คลชาวไทยมิได้ เวน้ แตโ่ ดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแหง่ กฎหมายเฉพาะเพื่อความ มั่นคงของรฐั เพื่อรกั ษาความสงบเรียบร้อยหรอื ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน 4. เสรีภาพในการสื่อสารถึงกนั โดยทางท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย การตรวจ การกัก หรอื การเปดิ เผยข้อมลู สว่ น บุคคล รวมท้งั การกระทาตา่ ง ๆเพ่ือเผยแพร่ข้อมูลนนั้ จะกระทามิได้ 5. เสรภี าพในการนับถือศาสนา นิกาย ลัทธิ ความเช่อื ทางศาสนา และเสรีภาพในการประกอบพธิ ีกรรม ตามความเช่ือของตน โดยไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าทขี่ องพลเมอื ง และไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรอื ศีลธรรม อนั ดีของประชาชน ยอ่ มเปน็ เสรภี าพของประชาชน 6. เสรภี าพในการชมุ นุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ การจากัดเสรีภาพดงั กล่าวจะกระทาไม่ได้ เวน้ แตโ่ ดย อาศยั อานาจตามบทบญั ญัตขิ องกฎหมายเพื่อคุม้ ครองประชาชนทจี่ ะใชท้ ี่ สาธารณะหรือเพ่อื รักษาความสงบ เรียบร้อยเมื่อประเทศอยใู่ นภาวะสงคราม หรือระหว่างประกาศสถานการณ์ฉุกเฉนิ หรือประกาศใช้กฎอัยการ ศกึ 7. เสรภี าพในการรวมตัวกันเป็นสมาคม สหพนั ธ์ องค์กร องคก์ รเอกชน หรอื หมู่คณะอนื่ การจากัด เสรภี าพตา่ ง ๆเหลา่ น้ีจะกระทามไิ ด้ เว้นแต่อาศยั อานาจกฎหมายเฉพาะเพ่ือคุ้มครองประโยชน์สว่ นรวมของ ประชาชน การรักษาความสงบเรยี บรอ้ ยหรือป้องกนั การผูกขาดในทางเศรษฐกิจ 8. เสรภี าพในการรวมตัวจัดตั้งพรรคการเมือง เพือ่ ดาเนนิ กิจกรรมทางการเมืองตามวิถที างการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 9. เสรีภาพในการประกอบอาชพี และการแข่งขนั โดยเสรอี ย่างเป็นธรรม การจากัดเสรีภาพดังกล่าวจะทา

- 178 - ได้ โดยอาศยั กฎหมายเพ่ือประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของรฐั หรือเศรษฐกิจของ ประเทศ และเพ่อื ปอ้ งกนั การผูกขาดหรอื ขจดั ความไมเ่ ป็นธรรมในการแขง่ ขันทางการคา้ 3) หน้าท่ขี องประชาชนชาวไทย 1. บคุ คลมหี น้าทรี่ ักษาไว้ซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์และการแกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ 2. บุคคลมหี น้าท่ปี ฏิบตั ติ ามกฎหมาย 3. บคุ คลมีหน้าทไ่ี ปใชส้ ิทธิเลือกต้ัง บคุ คลซึ่งไมไ่ ปเลือกต้งั โดยไมแ่ จ้งเหตผุ ลอนั สมควร ยอ่ มเสียสิทธติ ามท่ี กฎหมายบญั ญตั ิไว้ 4. บคุ คลมีหนา้ ทปี่ ้องกนั ประเทศ รับราชการทหาร 5. บุคคลมีหน้าที่เสียภาษีใหร้ ฐั 6. บุคคลมหี น้าท่ชี ่วยเหลือราชการ รบั การศกึ ษาอบรม ปกป้องและสบื สานวัฒนธรรมของชาติ ภูมิปัญญา ท้องถิน่ รวมถึงการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. บคุ คลผู้เป็นข้าราชการ พนกั งาน หรอื ลูกจา้ งหนว่ ยงานราชการ รฐั วสิ าหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น มี หน้าทดี่ าเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายเพ่ือรักษาประโยชนส์ ว่ นรวมอานวยความ สะดวกและให้บริการแก่ ประชาชน แนวทางการปฏบิ ตั ติ นตามบทบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนูญ 1. เคารพสิทธขิ องกนั และกัน โดยไม่ละเมดิ สิทธเิ สรภี าพของผอู้ นื่ เช่น สิทธิ เสรีภาพในชวี ติ และร่างกาย สิทธใิ นครอบครัว เกยี รติยศ ช่ือเสียง และความเปน็ ส่วนตวั เปน็ ตน้ 2. รู้จักใช้สิทธิของตนเองและแนะนาให้ผอู้ ืน่ รู้จักใช้และรักษาสทิ ธขิ องตนเอง เชน่ การรักษาสทิ ธิในการ เลือกตั้งเพื่อป้องกนั ไม่ให้มีการซื้อสทิ ธขิ ายเสยี ง 3. รณรงค์ เผยแพรค่ วามรเู้ กย่ี วกับสทิ ธมิ นุษยชน และปลูกฝงั แนวความคดิ เรื่องสทิ ธิมนุษยชนให้แกช่ มุ ชน หรือสังคมตามสถานภาพและบทบาททต่ี นพงึ กระทาได้ เช่น ใหค้ วามรกู้ บั สมาชกิ ครอบครัว จากนน้ั จึงคอ่ ย ๆ ขยายไปยงั สถาบนั อืน่ ๆ ในสังคม เช่น สถานศึกษา เป็นต้น 4. รว่ มมอื กับหนว่ ยงานของภาครัฐและเอกชนเพอ่ื การคมุ้ ครองสิทธิมนุษยชน เชน่ การให้ข้อมลู ข่าวสาร เกีย่ วกบั การละเมิดสิทธมิ นุษยชนแก่เจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั หรอื เปน็ อาสาสมัครชว่ ยเหลอื งานขององคก์ รท่ปี ฏบิ ตั ิงาน ในการคุ้มครองสทิ ธมิ นุษยชน เป็นตน้ 5. การปฏบิ ัติตามหนา้ ท่ีของชาวไทยตามทไ่ี ด้บัญญตั ิไวใ้ นรัฐธรรมนญู เช่น การเสียภาษีให้รัฐเพอ่ื นาเงนิ นน้ั มาใชพ้ ัฒนาประเทศ การเข้ารับราชการทหาร เพื่อเป็นกาลงั สาคัญในการป้องกันประเทศ หรือการออกไปใช้ สทิ ธิเลือกตงั้ เพ่อื ให้ไดค้ นดีเข้าไปบริหารบ้านเมืองให้มคี วามเจริญก้าวหน้า เปน็ ตน้ 6. สง่ เสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรอสิ ระตามรัฐธรรมนูญ สามารถทาไดโ้ ดยการให้ความ ช่วยเหลือดา้ นขอ้ มูลขา่ วสารการทุจรติ ของข้าราชการและเจ้าหนา้ ที่ของรฐั แก่คณะกรรมการปอ้ งกนั และ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรอื ให้ความร่วมมือในการดาเนนิ งานของคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ไมว่ า่ จะ เปน็ การใหข้ ้อมูลข่าวสารเกี่ยวกบั การทจุ รติ การเลือกตง้ั ประจาเขต เปน็ ตน้

- 179 - ใบความรู้ เรอ่ื ง บทบาทและหนา้ ท่ีของเยาวชนท่ีมีต่อสังคมและประเทศชาติ เยาวชนกับการเป็นสมาชิกทด่ี ีของสังคมและประเทศชาติ เยาวชน หมายถงึ คนหนมุ่ สาวท่มี ีพลัง อันสาคญั ท่ีจะสามารถชว่ ยกนั เสริมสร้างกจิ กรรมที่เป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาประเทศชาติในอนาคต เยาวชนทีด่ ี 1. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ศลี ธรรมในการดาเนินชีวิต 2. เคารพสิทธิเสรีภาพของผอู้ ื่น 3. มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ท่ีไดร้ ับมอบหมาย 4. เป็นผู้ทมี่ ีเหตุผล รบั ฟังความคิดเห็นของผ้อู ่ืน 5. ปฏิบัติตามแบบอย่างวฒั นธรรมประเพณที ี่ดงี าม 6. ปฏิบตั ิตามกฎข้อบังคบั ของชมุ ชนอยา่ งเครง่ ครัด 7. มคี วามกระตือรือร้นที่จะเขา้ มาแกป้ ัญหาและพัฒนาชุมชน คณุ ลักษณะของเยาวชนทด่ี ี เยาวชนที่ดคี วรจะเป็นผมู้ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม กลา่ วคือ จะต้องมธี รรมะในการดาเนินชวี ิต ไดแ้ ก่ 1. การเสยี สละต่อสว่ นรวม เป็นคุณธรรมทช่ี ่วยในการพฒั นาประเทศชาตใิ หม้ คี วามเจริญก้าวหนา้ เพราะถา้ สมาชกิ ในสงั คมเหน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนร่วม และยอมเสียสละผลประโยชน์สว่ นตน จะทาใหส้ งั คมพัฒนา ไปได้อย่างรวดเรว็ และมงั่ คง 2. การมีระเบียบวินยั และรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ เปน็ คณุ ธรรมท่ีช่วยให้คนในสงั คมอยรู่ ่วมกันได้อย่าง สงบสุข เพราะถ้าสมาชิกในสังคมยดึ มน่ั ในระเบยี บวินยั ร้แู ละเขา้ ใจสิทธขิ องตนเอง ไมล่ ะเมินสทิ ธิผู้อ่นื และ ตง้ั ใจปฏบิ ัตหิ น้าทีข่ องตนใหด้ ีทส่ี ุด 3. ความซื่อสตั ยส์ ุจริต เป็นคุณธรรมทมี่ คี วามสาคัญ เพราะหากสมาชิกในสงั คมยึดมัน่ ในความซื่อสัตย์ สจุ รติ เช่นไมล่ ักทรัพย์ ไม่เบียดเบียนทรพั ย์สนิ ของผู้อน่ื กจ็ ะทาให้สงั คมมีแต่ความเจรญิ ประชาชนมีแต่ ความสขุ

- 180 - การปฏิบตั ิตนเปน็ เยาวชนท่ีดีตามสถานภาพและบทบาท 1. เยาวชนกับการเป็นสมาชิกทดี่ ีของครอบครวั เยาวชนในสถานภาพของการเป็นบตุ รควรมบี ทบาท หน้าท่ี ดังนี้ 1.1 เคารพเชอื่ ฟงั บิดามารดา 1.2 ชว่ ยเหลือบดิ ามารดาในทกุ โอกาสท่ีทาได้ 1.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยัด ไมฟ่ ุ่มเฟือย สรุ ุ่ยสรุ ่าย 1.4 มีความรักใคร่ปรองดองในหมู่พ่นี อ้ ง 1.5 ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน 1.6 ประพฤตติ นให้สมกบั เป็นผู้ดารงวงศต์ ระกลู 2. เยาวชนกับการเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของโรงเรยี น เยาวชนในฐานะนักเรยี นควรมีบทบาทหนา้ ท่ี ดงั น้ี 2.1 รับผดิ ชอบในหน้าทขี่ องนักเรยี น คือ ตง้ั ใจเลา่ เรยี น ประพฤติตนเป็นคนดี 2.2 เช่ือฟังคาส่งั สอนอบรมของครูอาจารย์ 2.3 กตัญญรู ู้คุณของครูอาจารย์ 2.4 รกั ใคร่ปองดองกันในหม่เู พื่อนนักเรยี น 2.5 สง่ เสริมเพื่อนในทางที่ถูกท่ีควร 3. เยาวชนกับการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของชุมชน ชมุ ชนคอื สังคมขนาดเลก็ เชน่ หมู่บา้ นหรือกลุ่มคน โดย เยาวชนเป็นสว่ นหนึง่ ของชุมชนท่ีตนอาศยั อยู่ จงึ ต้องมีบทบาทหนา้ ที่ต่อชุมชนดงั น้ี 3.1 รกั ษาสขุ ลกั ษณะของชุมชน เช่น การท้งิ ขยะใหเ้ ปน็ ท่ี ช่วยกาจดั สิ่งปฏกิ ูลต่าง ๆ เปน็ ตน้ 3.2 อนรุ กั ษส์ ่งิ แวดล้อมในชุมชน เชน่ ไม่ขดี เขยี นทาลายโบราณวัตถใุ นชมุ ชน ช่วนกนั ดแู ลสาธารณ สมบัติ 3.3 มสี ่วนร่วมในการทากจิ กรรมของชมุ ชน 4. เยาวชนกับการเปน็ สมาชิกท่ีดีของประเทศชาติ 4.1 เขา้ รับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 12 ปี 4.2 ปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย 4.3 ใชส้ ิทธใิ นการเลอื กตัง้ 4.4 ใช้ทรพั ยากรอย่างคุม้ ค่า 4.5 สืบทอดประเพณวี ัฒนธรรมอันดีงามของไทย 4.6 ชว่ ยเหลือกจิ กรรมตา่ ง ๆทท่ี างราชการจัดขน้ึ 4.7 ประกอบอาชีพสุจริตด้วยความขยนั หมน่ั เพยี ร 4.8 ประหยดั และอดออม

- 181 - ใบงาน เรือ่ ง แนวทางการปฏิบัติตนในการเคารพสทิ ธแิ ละเสรีภาพของตนเองและผู้อน่ื คาชแ้ี จง 1. ใหน้ กั เรียนเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติตนในการเคารพสทิ ธแิ ละเสรีภาพของ ตนเองและผอู้ นื่ ลาดบั ท่ี แนวทางการปฏบิ ตั ติ น 1. ในการเคารพสทิ ธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อ่ืน 2. 3. .......... ..... ..... 4. 5. .......... 6. .......... .......... ..... ..... .......... ..... ..... .......... ..... ..... .......... ..... .....

- 182 - แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลมุ่ กลมุ่ .......................................................................................................... สมาชิกในกลุ่ม 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... 6. ...................................................................... คาช้แี จง: ให้นกั เรียนทาเคร่ืองหมาย  ในชอ่ งท่ีตรงกับความเป็นจริง พฤตกิ รรมท่ีสังเกต คะแนน 1 32 1. มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็น 2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทางาน 3. รับผดิ ชอบในงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 4. มีขนั้ ตอนในการทางานอย่างเป็นระบบ 5. ใชเ้ วลาในการทางานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑ์การให้คะแนน พฤตกิ รรมท่ีทาเปน็ ประจา ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทที่ าเป็นบางครง้ั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทท่ี าน้อยครงั้ ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 13-15 ดี 8-12 5-7 ปานกลาง ปรับปรุง

- 183 - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ความมีวินยั คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย √ ลงในช่องทต่ี รงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง ตรงตอ่ เวลาในการ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ปฏบิ ัติกิจกรรมต่างๆ ใน ผลการประเมิน เลขท่ี ชอ่ื – สกลุ ข้อบงั คบั ของครอบครอบ ชวี ติ ประจาวนั และ รวม โรงเรยี นและสงั คม ไม่ รบั ผิดชอบในการทางาน คะแนน ละเมิดสทิ ธิของผู้อน่ื ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒๑๐ ผา่ น ไม่ผา่ น ลงช่ือ........................................... ครผู ู้ประเมนิ () ............../..................../....................

- 184 - ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑แผนการ เวลา ๒ ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ ๔ ชอื่ หน่วย พลเมอื งและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม จดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื ง ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๑.๒ ปฏิบตั ติ นตามหน้าท่ีพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ๑.๓ ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทจุ รติ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ เกยี่ วกับระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย และประพฤติปฏิบัตติ นเป็น พลเมืองดที ่มี ีส่วนรว่ มในการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต 2.2 นักเรยี นบอกความหมายของระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมายได้ 2.3 นกั เรียนมีความรับผิดชอบในการปฏิบัตหิ น้าที่ท่ไี ดร้ บั มอบหมายด้วยความซอ่ื สตั ย์สจุ ริต และ เสรจ็ ตามเวลาทก่ี าหนด ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1) ความหมายของคาว่า ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย 2) ความหมายของคาวา่ พลเมืองดี 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ 1. ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ 2) ทักษะกระบวนการคิดเชงิ สร้างสรรค์ 2. ความสามารถในการส่อื สาร (อา่ น ฟัง พูด เขยี น) ๓. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ (การสังเกต การระบุ จาแนก วเิ คราะห์ จัดกลมุ่ สรปุ ) 3.3 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ / คา่ นยิ ม ความมีวนิ ัย

- 185 - ๔.กจิ กรรมการเรยี นรู้ (จานวน ๒ ชวั่ โมง) 4.1 ขั้นตอนการเรียนรู้ ชวั่ โมงที่ 1 ๑. นักเรยี นชมวีดที ศั น์ เกย่ี วกับความอดทน อดกลน้ั เพื่อให้รูจ้ ักความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง สังคม เคารพกฎ กตกิ า เนอ้ื หาเปน็ การขับรถแซงผอู้ ่ืนไปมา และไมเ่ คารพกฎจาจร โดยมที ่จี าก https://www.youtube.com/watch?v=dWmZDGYtE_k จากกรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม ๒. ครแู ละนกั เรยี นสนทนาอภิปราย เกีย่ วกบั วดี ีทศั น์ท่ีรบั ชม ๓. แบ่งกลมุ่ นักเรยี นออกเปน็ ๔ กลมุ่ แจกใบความรทู้ ่ี ๑ – ๔ เร่อื ง มาร้จู กั ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย กนั เถอะ ให้แต่ละกลมุ่ ศึกษาความหมายของระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย โดยวิธีการ จบั สลาก จากน้นั ใหต้ วั แทนกลุ่มออกมานาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น ๔. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความหมายของระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย โดยใหค้ วามร้เู พ่ิมเติมว่า ถา้ ทุกคนปฏิบตั ติ นตามระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย ประเทศชาติก็จะมแี ต่ความสงบสุข ชวั่ โมงที่ ๒ 1. แบ่งกลุ่มนักเรยี นออกเปน็ ๔ กลมุ่ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ จบั สลาก หวั ข้องาน ๔ หวั ขอ้ ดงั นี้ - ระเบียบของการเข้าห้องสมุด - ขอ้ ตกลงในห้องเรยี น - กตกิ ามารยาทในการรบั ประทานอาหาร - แนวทางในการปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมืองดี โดยใหแ้ ตล่ ะกลุม่ ช่วยกนั ระดมความคดิ ตามหัวข้อที่กลุ่มตนเองจบั สลากได้ลงในกระดาษ flip chart 2. ใหแ้ ต่ละกล่มุ ออกมานาเสนอผลงานของตนเองหน้าช้ันเรียน โดยมคี รคู อยให้ความร้เู พิม่ เติม 4.2 สอื่ การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) วีดที ัศน์ เกีย่ วกบั ความอดทน อดกลน้ั เพอ่ื ใหร้ จู้ ักความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง สงั คม เคารพกฎ กตกิ า เน้ือหาเป็นการขบั รถแซงผอู้ ่ืนไปมา และไม่เคารพกฎจาจร โดยมที ม่ี าจาก https://www.youtube.com/watch?v=dWmZDGYtE_k กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม ๒) กระดาษ flip chart ๓) ใบความรูท้ ี่ ๑ เรือ่ ง บา้ นเมอื งจะดเี ม่ือประชาชนมีระเบยี บ ๔) ใบความรูท้ ่ี ๒ เรอ่ื ง มารจู้ กั กฎ กันเถอะ ๕) ใบความรทู้ ี่ ๓ เรอ่ื ง มาร้จู กั กตกิ า กันเถอะ ๖) ใบความรู้ที่ ๔ เรอื่ ง มารจู้ กั กฎหมาย กันเถอะ ๗) ใบความรู้ที่ ๕ เร่ือง มาเป็นพลเมอื งดีกันเถอะ

- 186 - ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ 5.1 วธิ กี ารประเมนิ ๑) สังเกตกระบวนการทางานกลุม่ ๒) การนาเสนอผลงาน ๕.๒ เครอ่ื งมือที่ใช้ในการประเมนิ ๑) แบบสังเกตกระบวนการทางานกลุ่ม ๒) แบบบันทึกผลการนาเสนอผลงาน ๓) แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๕.๓ เกณฑ์การประเมิน นกั เรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับดีข้ึนไป 6. บันทึกหลงั สอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่ือ ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................)

- 187 - ใบความรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง บา้ นเมืองจะดีเม่ือประชาชนมรี ะเบยี บ ระเบยี บ หมายถึง แบบแผนท่ีวางไว้เปน็ แนวปฏบิ ตั ิหรอื ดาเนนิ การ เชน่ ระเบยี บวนิ ัย ระเบยี บขอ้ บังคับ ตอ้ ง ปฏบิ ัตติ ามระเบียบ \" ระเบียบวินยั \" คือ คุณสมบัติที่สาคัญในการดาเนินชีวิต ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ์ และ พฤติกรรมของตนเอง ให้เป็นไปตามที่มุ่งหวัง โดยเกิดจากการสานึก ซึ่งต้องไม่กระทาการใดๆ อันเป็นผลทาให้ เกิดความยุ่งยากแก่ตนเองในอนาคต หากแต่ต้องเป็นส่ิงท่ีก่อให้เกิด ความเจริญรุ่งเรืองแก่ตนเองและผู้อื่นโดย ไม่ขดั ต่อระเบยี บของสังคมและไมข่ ดั ตอ่ สิทธิของผู้อ่ืน ความมีวนิ ยั ในตนเอง สามารถควบคุมตนเองให้ปฏิบัติตน ตามระเบียบข้อตกลงของสังคมส่วนรวมด้วยความสมัครใจของผู้ปฏิบัติเอง เพื่อความสงบสุขในชีวิตและความ เป็นระเบียบเรยี บร้อยของสงั คม การอยรู่ ่วมกันเปน็ หมูเ่ หลา่ ถ้าขาดระเบยี บวนิ ยั ตา่ งคนตา่ งทาตามอาเภอใจ ความขัดแยง้ และลักล่นั ก็ จะเกดิ ขนึ้ ยง่ิ มากคนก็ย่ิงมากเร่ือง ไมม่ ีความสงบสุข การงานท่ที ากจ็ ะเสยี ผล

- 188 - ใบความรู้ที่ ๒ เร่อื ง มารจู้ ัก กฎ กนั เถอะ “กฎ” ตามความหมายโดยท่ัวไปหมายถึง จดไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ตรา คาบงั คับ หรือข้อกาหนดหรือข้อบญั ญตั ิที่ บงั คบั ใหต้ ้องมีการปฏบิ ตั ิตาม1 ส่วน “กฎ” ตามความหมายของกฎหมายปกครองหมายความถงึ พระราช กฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญตั ิทอ้ งถ่ิน ระเบียบ ข้อบังคบั หรือบทบัญญัติอ่ืนทีม่ ผี ล บงั คบั เปน็ การทว่ั ไปโดยไมม่ ุ่งหมายใหใ้ ชบ้ ังคับแก่กรณใี ดหรือบคุ คลใดเป็นการเฉพาะ2 ในทางปฏบิ ตั ไิ มค่ ่อยมี ปญั หามากนักในการวนิ ิจฉยั วา่ อะไรเป็น “กฎ” ในสว่ นท่ีเป็นพระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ข้อบัญญตั ิท้องถ่ิน ประกาศกระทรวง แต่มปี ระกาศ ระเบียบ ข้อบังคบั หรือบทบญั ญตั ิบางฉบับท่อี าจทาให้ฝา่ ยปกครองและ ประชาชนเขา้ ใจสบั สนว่าเป็น “กฎ” หรอื “คาสั่งทางปกครอง”3 เนื่องจากบทนยิ ามไดใ้ ห้ความหมายของคาว่า “กฎ” หมายความรวมถึงบทบญั ญัติอืน่ ทมี่ ผี ลบังคบั เป็นการท่วั ไปโดยไม่มงุ่ หมายให้ใชบ้ ังคับแก่กรณีใดหรือ บุคคลใดเป็นการเฉพาะ อกี ด้วย กฎ (Law) หมายถึง ทฤษฎที ่ีสามารถอธบิ ายปรากฏการณในธรรมชาตไิ ดอ้ ยา่ ง กวา้ งขวางเป็นเวลานานจนเปน็ ท่ยี อมรบั สามารถทดสอบผลไดเ้ หมือนเดิมทุกๆ ครั้ง โดย ไมม่ ีขอ้ โต้แยง้ ใดๆ เพราะเป็นความจริงที่ไมเปลีย่ นแปลงการวิเคราะหข์ ้อมูลและสรปุ ผล 1 พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ , พิมพ์คร้ังท่ี ๑ (กรุงเทพมหานคร: นานมบี คุ๊ สพ์ ับลิเคชัน่ ,๒๕๔๖),หน้า ๓ 2 โปรดดบู ทนิยาม “กฎ” ในมาตรา ๓ แหง่ พระราชบัญญตั ิจัดตั้งศาลปกครอง และวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๕ แหง่ พระราชบญั ญัตวิ ธิ ปี ฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ 3 พระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ มาตรา ๕ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี ฯลฯ “คาส่งั ทางปกครอง” หมายความว่า (๑) การใช้อานาจตามกฎหมายของเจ้าหนา้ ท่ที มี่ ีผลเป็นการสรา้ งนิติสมั พนั ธ์ขึน้ ระหวา่ งบุคคลในอนั ทีจ่ ะกอ่ เปล่ยี นแปลง โอน สงวน ระงบั หรือมี ผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธหิ รอื หนา้ ที่ของบคุ คล ไม่วา่ จะเป็นการถาวรหรอื ชวั่ คราว เชน่ การสงั่ การ การอนุญาต การอนมุ ตั ิ การวนิ จิ ฉัย อทุ ธรณ์ การรับรอง และการรบั จดทะเบยี น

- 189 - ใบความรทู้ ี่ ๓ เรอ่ื ง มาร้จู กั กตกิ า กนั เถอะ ในทางสงั คมวิทยาถอื ว่าคนเปน็ สัตวส์ ังคม (Social Animal) คือรวมกันอยเู่ ปน็ กล่มุ เป็นชมุ ชน เป็นเมอื ง และเปน็ ประเทศ ในทานองเดียวกับสตั ว์ท่รี วมกนั อยู่เปน็ ฝงู แตถ่ ึงแม้ว่า คนเปน็ สตั วใ์ นทางสงั คมวทิ ยา แต่ ในทาง จรยิ ศาสตรค์ นมีข้อแตกตา่ งจากสัตว์ในดา้ นหลัก คือ 1. ทางดา้ นร่างกาย คนมีโครงสรา้ งรา่ งกายสูงข้ึนในแนวด่ิงของโลก สว่ นสตั ว์มโี ครงสร้างรา่ งกายยาวไป ตามแนวนอนขนานกบั พน้ื โลก หรอื ถ้าจะพูดตามนยั แห่งคาสอนในพระพุทธศาสนาว่า ดิรจั ฉาน หรอื เดรัจฉาน แปลวา่ ไปทางขวาง ซ่ึงเปน็ ท่ีมาของคาดา่ คนชัว่ คนเลวว่าเป็น คนขวางโลก อันหมายถึงเปน็ สตั วน์ ั่นเอง 2. ทางด้านจติ ใจ คนใช้เหตผุ ล หลักการ คุณธรรม และจริยธรรม ควบคุมพฤติกรรมทแ่ี สดงออกทาง กาย และวาจา ส่วนสตั วม์ เี พียงสัญชาตญาณเท่านนั้ ควบคมุ พฤติกรรม ดว้ ยเหตทุ ่ีคนตา่ งจากสัตว์ในทางดา้ นจติ ใจน้เี อง ทาใหส้ ังคมของคนมีการพฒั นาเจรญิ รงุ่ เรืองในทกุ ด้าน เม่ือกาลเวลาผ่านไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการกาหนดกตกิ าข้ึนมาเพ่อื ควบคมุ พฤติกรรมผู้คนในสังคมใหอ้ ยู่ รวมกันอยา่ งสงบสุข กติกาทางสังคมของคนในยุคต้นเริ่มจากการมีความเชื่อร่วมกนั หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ลทั ธิ และ ความเชอ่ื ในยุคแรกได้แกค่ วามเชอ่ื เกีย่ วกับวญิ ญาณประจาธรรมชาติ ภูเขา ตน้ ไม้ หรือแม้กระทง่ั สตั วบ์ างชนิด ความเช่อื ในลกั ษณะน้ีนกั วชิ าการดา้ นศาสนาเรยี กว่า วญิ ญาณนยิ ม และความเชอื่ ในเรื่องทรงเจ้าเข้าผีก็จดั อยู่ ในประเภทเดยี วกันน้ี กติกา แปลว่า ข้อความท่ีได้ทาความตกลงกันแล้ว หมายถึง กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายข้ึน ไป กาหนดขึน้ เป็นหลักปฏบิ ตั ิ เช่น ในการเล่นกีฬา หรอื การเลน่ เกมตา่ ง ๆ มกี ติกาทีผ่ ู้เล่นต้องปฏิบัตติ ามท้งั ในการเลน่ การแพ้ชนะ การปรับ การลงโทษ เป็นต้น ผู้ท่ีแพ้ ก็ต้องยอมรับ ความพา่ ยแพ้ อาจถูกลงโทษ หรือถกู ปรบั ตามกตกิ าทีต่ กลงกันแล้ว เช่น นักฟุตบอล ที่ทาให้คู่ต่อสู้เจ็บ ไม่ว่าจะ โดยต้ังใจหรอื ไมต่ ้ังใจกต็ าม จะต้องถูกลงโทษได้ใบเหลือง หรือใบแดงซึ่งทาให้ต้องออกจากการเล่น คนเชียร์ ฟุตบอลที่ฝ่ายของตนแพ้แล้วไม่ยอมแพ้จัดว่าเป็นคนที่ไม่ปฏิบัติตามกติกา คนที่ไม่ปฏิบัติตามกติกาจะถูก สังคมประณามว่าเป็นอันธพาล เป็นคนเกเร กติกาเป็นข้อตกลงท่ีช่วยให้คนในสังคมทากิจกรรมร่วมกันได้ อยา่ งเป็นระเบียบเรยี บร้อย และทาให้ทุกคนอยู่ร่วมกนั ได้อย่างสนั ติสขุ ทมี่ า : บทวิทยรุ ายการ “รู้ รกั ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานวี ทิ ยุกระจายเสยี งแห่งประเทศไทย เมื่อ วนั ที่ ๖ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

- 190 - ใบความรทู้ ี่ ๔ เรอ่ื ง มารจู้ กั กฎหมาย กนั เถอะ กฎหมายคืออะไร กฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์ ข้อบังคับที่ใช้ควบคุมความประพฤติของมนุษย์ในสังคม กฎหมาย มีลักษณะเป็นคาสั่ง ข้อห้าม ท่ีมาจากผู้มีอานาจสูงสุดในสังคมใช้บังคับได้ทั่วไปใครฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษหรือ สภาพบังคับอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ระบบกฎหมายในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 4 ระบบ ได้แก่ ระบบกฎหมาย ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร ระบบกฎหมายสังคมนิยม และระบบกฎหมายศาสนา กฎหมายแต่ละระบบ ย่อมมีท่ีมาแต่งต่างกัน การแบ่งประเภทของกฎหมาย อาจแบ่งได้หลายลักษณะ ขึ้นอยู่กับว่าจะยึดอะไรเป็น หลักเกณฑ์ในการแบ่ง มนุษย์จาเป็นต้องมีกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้สังคม เกิดความเป็น ระเบยี บเรียบรอ้ ยและสงบสุข มนุษย์เป็นสัตว์สังคม เพื่อให้สังคมเป็นระเบียบเรียบร้อยสงบสุข กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เหล่าน้ี เรียกว่า บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norms) ประกอบด้วย 1. วถิ ีชาวบ้าน (Folkways) เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติท่ีอยู่ในรูปของประเพณีนิยม ท่ีสมาชิกในสังคม ปฏบิ ตั ิสืบตอ่ กันมา ถ้าใครไมป่ ฏบิ ตั ิตามก็จะถูกติฉินนินทาว่าร้าย เช่น การแต่งกาย กิริยามารยาททางสังคมใน โอกาสตา่ ง ๆ เป็นตน้ 2. จารีต (Mores) เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่ยึดหลักความดีความชั่ว กฎเกณฑ์ทางศาสนา เป็นเรื่อง ของความรู้สึกว่าส่ิงใดผิดสิ่งใดถูก หากใครละเมิดฝ่าฝืนจะได้รับการต่อต้านจากสมาชิกในสังคมอย่างจริงจัง อาจถูกกีดกันออกจากสังคม หรือไม่มีใครคบค้าสมาคมด้วย เช่น การลักเล็กขโมยน้อย การเนรคุณบิดามารดา หรอื ผู้มีพระคณุ เปน็ ตน้ 3. กฎหมาย (Laws) เปน็ กฎเกณฑ์ความประพฤตทิ มี่ ีการบัญญัติไว้อย่างชัดเจน แน่นอน ว่ากระทาอย่างไร เปน็ ความผิดฐานใด จะได้รับอย่างไร เช่น ผใู้ ดฆ่าผู้อืน่ ต้องระวางโทษประหารชวี ิต เปน็ ตน้ กฎเกณฑ์ของความประพฤตทิ ้ังสามประการดงั กลา่ ว สองประการแรกไม่ได้มกี ารบัญญัตไิ ว้อย่าง ชดั เจน การลงโทษผูล้ ะเมิดฝา่ ฝืนก็ไม่รนุ แรง ประการท่ีสาม กฎหมายจงึ เป็นส่ิงท่ีสาคัญท่สี ุด ใช้ได้ผลมากท่สี ดุ ในการควบคุมความประพฤติของมนษุ ย์ ดงั นน้ั สงั คมมนุษย์ทกุ สงั คมจึงจาเป็นต้องมีกฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์ใน การอยู่ร่วมกันดังคากลา่ วท่ีว่า “ท่ใี ดมสี งั คมท่นี น่ั มีกฎหมาย” กฎหมาย หมายถงึ คาสิ่งหรอื ข้อบังคับของรัฐ ซึ่งบัญญตั ิขึ้นเพ่อื ใชค้ วบคมุ ความประพฤติของบุคคลซึง่ อยใู่ นรฐั หรือในประเทศ ของตนหากผูใ้ ดฝ่าฝืนไม่ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ าม ก็จะ มีความผิดและถูกลงโทษหรือไดร้ บั ผลเสยี หายนนั้ ดว้ ย

- 191 - ใบความรทู้ ี่ ๔ เรือ่ ง มาเปน็ พลเมืองดีกนั เถอะ พลเมืองดใี นวถิ ีชีวติ ประชาธิปไตย ความหมายของ “พลเมืองดี” ในวถิ ีชีวิตประชาธิปไตย พจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ไดใ้ ห้ความหมายของคาตา่ ง ๆ ดังนี้ “พลเมือง” หมายถึง ชาวเมอื ง ชาวประเทศ ประชาชน “วถิ ”ี หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน “ประชาธปิ ไตย” หมายถงึ แบบการปกครองทีถ่ ือมตปิ วงชนเป็นใหญ่ ดังน้ันคาว่า “พลเมอื งดใี นวถิ ีชีวิตประชาธปิ ไตย” จงึ หมายถงึ พลเมืองที่มคี ุณลักษณะที่สาคัญ คอื เป็นผู้ที่ยึด มนั่ ในหลกั ศีลธรรมและคุณธรรมของศาสนา มหี ลักการทางประชาธปิ ไตยในการดารงชวี ิต ปฏิบตั ิตนตาม กฎหมายดารงตนเปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คม โดยมีการชว่ ยเหลอื เก้ือกูลกนั อนั จะก่อให้เกิดการพัฒนาสงั คมและ ประเทศชาติให้เปน็ สังคมและประเทศประชาธปิ ไตยอย่างแท้จรงิ หลักการทางประชาธิปไตย หลกั การทางประชาธปิ ไตยที่สาคัญท่ีสดุ ไดแ้ ก่ 1) หลกั อานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน หมายถึง ประชาชนเปน็ เจ้าของ อานาจสงู สดุ ในการปกครองรัฐ 2) หลักความเสมอภาค หมายถึง ความเท่าเทียมกนั ในสังคมประชาธิปไตย ถือว่าทุกคนท่ีเกดิ มาจะมคี วามเท่า เทยี มกันในฐานะการเปน็ ประชากรของรฐั ไดแ้ ก่ มีสิทธเิ สรภี าพ มหี น้าที่เสมอภาคกนั ไม่มีการแบง่ ชนชัน้ หรือ การเลือกปฏบิ ัติ ควรดารงชีวิตอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันติ ไมข่ ม่ เหงรังแกคนทีอ่ ่อนแอหรือยากจนกวา่ 3) หลักนิตธิ รรม หมายถึง การใช้หลกั กฎหมายเป็นกฎเกณฑก์ ารอยู่รว่ มกนั เพอ่ื ความสงบสุขของสังคม 4) หลกั เหตผุ ล หมายถึง การใช้เหตุผลท่ถี ูกต้องในการตัดสินหรอื ยุตปิ ญั หาในสังคม 5) หลักการถือเสยี งขา้ งมาก หมายถงึ การลงมตโิ ดยยอมรับเสยี งส่วนใหญใ่ นสงั คมประชาธิปไตย ครอบครัว ประชาธิปไตย จงึ ใช้หลกั การถือเสยี งข้างมากเพ่ือลงมติในประเดน็ ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างสันตวิ ธิ ี 6) หลักประนีประนอม หมายถงึ การลดความขัดแยง้ โดยการผอ่ นหนกั ผอ่ นเบาใหก้ นั ร่วมมือกันเพ่ือเห็นแก่ ประโยชน์ของสว่ นรวมเปน็ สาคญั หลักการทางประชาธปิ ไตยจงึ เปน็ หลกั การสาคัญทน่ี ามาใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ ในสงั คม เพื่อกอ่ ใหเ้ กดิ ความสงบสุขในสงั คมได้ แนวทางการปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดีตามวิถชี วี ติ ประชาธิปไตย พลเมืองดีตามวิถชี ีวติ ประชาธิปไตยควรมีแนวทางการปฏบิ ัติตนดังน้ี คอื 1) ดา้ นสงั คม ไดแ้ ก่ (1) การแสดงความคิดอย่างมเี หตผุ ล (2) การรบั ฟงั ข้อคิดเหน็ ของผอู้ ่ืน (3) การยอมรบั เมอื่ ผู้อ่ืนมเี หตผุ ลทด่ี กี ว่า (4) การตัดสินใจโดยใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ (5) การเคารพระเบยี บของสังคม (6) การมจี ิตสาธารณะ คอื เหน็ แกป่ ระโยชนข์ องส่วนรวมและรักษาสาธารณสมบัติ

- 192 - 2) ด้านเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ (1) การประหยดั และอดออมในครอบครวั (2) การซ่อื สัตย์สจุ รติ ต่ออาชีพทท่ี า (3) การพฒั นางานอาชีพให้กา้ วหนา้ (4) การใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม (5) การสร้างงานและสรา้ งสรรค์สิ่งประดิษฐใ์ หม่ ๆ เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อสังคมไทยและ สังคมโลก (6) การเปน็ ผ้ผู ลิตและผูบ้ ริโภคท่ดี ี มีความซือ่ สัตย์ ยึดมัน่ ในอุดมการณ์ที่ดตี ่อชาติเป็นสาคัญ 3) ดา้ นการเมืองการปกครอง ได้แก่ (1) การเคารพกฎหมาย (2) การรับฟงั ข้อคิดเหน็ ของทุกคนโดยอดทนต่อความขัดแยง้ ที่เกิดข้ึน (3) การยอมรับในเหตุผลท่ีดีกว่า (4) การซ่ือสตั ย์ต่อหนา้ ท่ีโดยไมเ่ ห็นแกป่ ระโยชน์สว่ นตน (5) การกล้าเสนอความคดิ เหน็ ต่อสว่ นรวม กลา้ เสนอตนเองในการทาหนา้ ทีส่ มาชิกสภาผู้แทน ราษฎร หรอื สมาชกิ วฒุ ิสภา (6) การทางานอยา่ งเต็มความสามารถ เตม็ เวลา

- 193 - แบบการประเมนิ ผลการนาเสนองาน เรอื่ ง ………………………………………………………………………. วิชา…………………………………………………….…………….ช้นั ………………. ชื่อ/กลุม่ ……………………………………………………….………………………………………………….. ที่ รายการประเมิน ผูป้ ระเมนิ รวม เกณฑก์ ารประเมนิ 1 เนอ้ื หา ( 4 คะแนน ) ตนเอง เพอื่ น ครู 1. เน้ือหาครบถ้วนสมบรู ณ์ 2. เนอ้ื หาถูกตอ้ ง คะแนน 4 : มีครบทกุ ข้อ 3. เนอ้ื หาต่อเนอื่ ง 4. มีการค้นคว้าเพมิ่ เตมิ คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ 2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้ 1. มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ 2. การปฏิบตั ติ ามแผน คะแนน 1 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ 3. ติดตามประเมนิ ผล 4. การปรบั ปรงุ พฒั นางาน คะแนน 2: มีครบทุกข้อ คะแนน 1 : มี ไม่ครบ 4 ข้อ 3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 0 : ไม่ปรากฏกระบวน 1. การใชส้ านวนภาษาดถี ูกต้อง 2. การสะกดคาและไวยากรณ์ การทางานที่ชัดเจน ถกู ต้อง 3. รูปแบบน่าสนใจ คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้ 4. ความสวยงาม คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้ คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ขอ้ 4 คุณธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ข้อ 5. ตรงต่อเวลา 6. ซอื่ สตั ย์ คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้ 7. ความกระตอื รือรน้ คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ข้อ 8. ความมนี ้าใจ คะแนน1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้ รวม คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ เฉล่ีย คะแนนเต็ม 10 คะแนน ลงชอ่ื ผปู้ ระเมิน…………………………….. ตนเอง ลงชือ่ ผปู้ ระเมิน…………………………….. เพื่อน ลงชือ่ ผ้ปู ระเมิน…………………………….. ครู

- 194 - แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม กลมุ่ .......................................................................................................... สมาชิกในกลมุ่ 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... 6. ...................................................................... คาชแ้ี จง: ให้นกั เรยี นทาเครือ่ งหมาย  ในชอ่ งที่ตรงกับความเปน็ จริง พฤตกิ รรมท่ีสังเกต คะแนน 32 1 1. มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็ 2. มคี วามกระตอื รือรน้ ในการทางาน 3. รับผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 4. มีข้นั ตอนในการทางานอย่างเป็นระบบ 5. ใช้เวลาในการทางานอยา่ งเหมาะสม รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน พฤตกิ รรมทที่ าเป็นประจา ให้ 3 คะแนน พฤตกิ รรมทีท่ าเปน็ บางคร้งั ให้ 2 คะแนน พฤตกิ รรมทที่ านอ้ ยครัง้ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 13-15 ดี 8-12 5-7 ปานกลาง ปรบั ปรุง

- 195 - แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ความมีวินยั คาช้ีแจง ทาเครื่องหมาย √ ลงในช่องท่ีตรงกับความเป็นจริงตามเกณฑ์การประเมนิ ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง ตรงตอ่ เวลาในการ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ปฏบิ ัติกิจกรรมตา่ งๆ ใน ผลการประเมนิ เลขที่ ชือ่ – สกุล ข้อบงั คบั ของครอบครอบ ชวี ติ ประจาวัน และ รวม โรงเรียนและสังคม ไม่ รบั ผดิ ชอบในการทางาน คะแนน ละเมดิ สทิ ธขิ องผูอ้ ่นื ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒๑๐ ผา่ น ไม่ผา่ น ลงช่อื ........................................... ครผู ปู้ ระเมิน () ............../..................../....................

- 196 - แผนการจดั การเรียนรู้ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑แผนการ เวลา ๒ ช่ัวโมง หนว่ ยที่ ๔ ช่ือหน่วย พลเมอื งและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม จดั การเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรอื่ ง ความรบั ผิดชอบต่อตนเองและผู้อน่ื /สังคม ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่พลเมอื งและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการต่อต้านและป้องกนั การทุจริต ๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 นกั รยี นบอกความหมายของความรับผิดชอบได้ 2.2 นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับความรับผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อื่น 2.3 นักเรียนประพฤตปิ ฏิบัติตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดที ั้งรับผิดชอบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1) ความหมายของคาวา่ ความรับผดิ ชอบ 2) แนวทางประยุกต์ความรับผดิ ชอบมาใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) 3.1 ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ 2) ทักษะกระบวนการคดิ เชงิ สร้างสรรค์ 3.2 ความสามารถในการส่ือสาร อ่าน ฟัง พูด เขยี น 3.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต การสังเกต การระบุ จาแนก วิเคราะห์ จัดกลุม่ สรปุ 3.3 คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ / ค่านิยม มุ่งม่นั ในการทางาน ๔.กิจกรรมการเรียนรู้ (จานวน ๒ ชว่ั โมง) 4.1 ขั้นตอนการเรียนรู้ ช่วั โมงที่ ๑ ๑. ครูเลา่ นทิ านเรื่อง กระตา่ ยนอ้ ยเกยี่ งงาน ซ่งึ เป็นนิทานคุณธรรมเกี่ยวกับความรับผดิ ชอบ ๒. ครแู ละนักเรียนสนทนาอภิปรายซักถาม เกยี่ วกับนิทานท่ีฟัง ถา้ นักเรียนเปน็ กระตา่ ยน้อยทั้งสอง ตวั นกั เรยี นจะปฏิบัติตนอย่างไรไมใ่ หเ้ กดิ ปัญหาเหมือนกระต่ายนอ้ ยทั้งสอง ๓. แบ่งนกั เรียนออกเป็น ๓ กลุม่ แจกใบความรู้ เรื่อง ความรับผดิ ชอบ คอื อะไร สาคญั ไฉน ใหแ้ ต่ ละกลมุ่ ศึกษา และร่วมกนั สรุปองค์ความรูท้ ี่ไดจ้ ากการศึกษาใบความรู้ เสรจ็ แล้วเขียนลงใน กระดาษเอ ๔ ท่ีครูแจกให้ จากนัน้ ให้ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน ๔. ครูและนักเรยี นช่วยกันสรปุ ถงึ ความหมายของคาว่าความรับผิดชอบ

- 197 - ดงั น้นั ความรับผดิ ชอบหมายถึง หนาที่ ทไ่ี ดรบั มอบหมายให้ทา จะหลกี เลย่ี ง ละเลยไมได ซ่งึ ความรบั ผิดชอบมที ้งั ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง และความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผู้อ่นื และสังคม หากทกุ คนในสงั คมมีความรบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่ของตนเองและต่อผู้อื่น ตอ่ สังคม ประเทศชาตขิ องเราก็จะ มีความเจรญิ ก้าวหนา้ ประชาชนกจ็ ะอยกู่ นั อยา่ งสงบสขุ ชัว่ โมงท่ี ๒ 1. แบง่ นักเรยี นออกเป็น ๒ กลมุ่ ใหห้ วั หนา้ กล่มุ จบั สลากหัวข้องานดังนี้ - ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง - ความรับผิดชอบต่อผูอ้ น่ื สงั คม 2. นักเรียนทั้งสองกลุ่มช่วยกันระดมความคดิ เขยี นงานลงในกระดาษ flip chart ใหว้ าดภาพประกอบ ดว้ ย 3. ทง้ั สองกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน 4. ครูและนักเรียนสนทนา อภปิ รายสรปุ ร่วมกัน ในประเด็นการประยุกต์ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง และผู้อ่นื สังคมมาใช้ในการดาเนินชวี ติ ๔.๒ ส่ือการเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ ๑. นทิ าน เรอื่ ง กระต่ายน้อยเก่ียงงาน ๒. กระดาษ A ๔ สไี ม้ ปากกาเคมี ๓. ใบความรู้ เรอ่ื ง ความรับผดิ ชอบ คืออะไร สาคัญไฉน ๔. กระดาษ flip chart ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 วิธกี ารประเมิน ๑) สงั เกตกระบวนการทางานกลมุ่ ๒) การนาเสนอผลงาน ๕.๒ เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบสงั เกตกระบวนการทางานกลุม่ ๒) แบบบันทึกผลการนาเสนอผลงาน ๓) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5.3 เกณฑ์การตัดสนิ นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในระดับดีขนึ้ ไป 6. บนั ทกึ หลงั สอน ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ..................................... ลงชื่อ ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook