- 48 - แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 1 ชือ่ หน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี1 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง ความแตกต่างระหวา่ งจริยธรรมและการทุจริต (ชมุ ชน สงั คม) เวลา ๒ ชวั่ โมง 1 ผลการเรียนรู้ 1.1มคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม 1.2สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ 1.3ตระหนกั และเหน็ ความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทจุ รติ 2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ สว่ นรวม 2.2 นกั เรยี นสามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 2.3 นกั เรียนตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการตอ่ ต้านและปอ้ งกนั การทจุ ริต 3 สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1) สาเหตขุ องการทจุ รติ และทิศทางการป้องกันการทุจรติ ในประเทศไทย ๒) ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ สว่ นรวม (Conflict of interest) ๓) แก้ “ทุจริต” ต้องคิดแยกแยะปรับวิธีคิด พฤติกรรมเปลี่ยน สังคมเปลี่ยนประเทศชาติ เปล่ยี น โลกเปล่ียน 4)ตัวอยา่ งการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนกับประโยชนส์ ว่ นรวมในรูปแบบตา่ งๆ 3.2ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ ) 1)ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ 3) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ - กระบวนการทางานกลมุ่ 3.3 คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ / ค่านยิ ม 1) มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 2) ซ่อื สตั ย์ เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณ์ในส่ิงที่ดีงามเพื่อส่วนรวม 3) กตญั ญูตอ่ พ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครบู าอาจารย์ 4) ใฝห่ าความรู้ หม่นั ศกึ ษาเลา่ เรียนท้งั ทางตรง และทางออ้ ม 5) รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม 6) มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวังดตี ่อผอู้ ื่น เผ่อื แผแ่ ละแบ่งปนั 7) เข้าใจเรยี นรกู้ ารเป็นประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุขที่ถูกตอ้ ง 8) มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผ้นู ้อยรจู้ กั การเคารพผใู้ หญ่
- 49 - 9) มีสตริ ตู้ ัว ร้คู ิด รทู้ า รู้ปฏบิ ัตติ ามพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว 10) รจู้ ักดารงตนอยู่โดยใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมท่จี ะขยายกิจการเมือ่ มีความพรอ้ ม เมือ่ มีภูมคิ ุม้ กนั ทดี่ ี 11) มคี วามเขม้ แข็งทั้งร่างกายและจติ ใจไม่ยอมแพต้ ่ออานาจฝ่ายต่า หรอื กิเลส มี ความละอายเกรงกลวั ตอ่ บาปตามหลกั ของศาสนา 4..กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรียนรู้ ข้ันท่ี 1 เตรยี มการ 1. ครูเตรียมตัวอย่างใบบตั รคา ระบบคดิ ฐานสบิ & ระบบคดิ ฐานสองแล้วให้นกั เรียนแยก ประเภทว่าอะไรจัดเป็นจริยธรรม มีอะไรบ้าง และอะไรจัดเป็นการทุจริต มีอะไรบ้าง แล้วให้นักเรียนออกมา เขยี นบนกระดานดา ๒. นักเรียนดูวดี โี อเรื่องการต์ ูนเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตอนความซ่อื สัตย์ แล้วครู ถามนักเรียนว่า คนขายของทอนเงินให้ลูกค้าแล้วลูกค้ากลับนาเงินท่ีเกินมาคืน นักเรียนคิดว่าการ์ตูนเร่ืองน้ี สอนให้คิดเรื่องอะไร ลูกค้ามีพฤติกรรมอะไรท่ีบ่งบอกเห็นได้อย่างชัดเจน นักเรียนยกตัวอย่างเหตุการณ์ ประเทศไทยของเรามีลักษณะอย่างไร แล้วให้นักเรียนออกมาบอกและอธิบายประกอบสถานการณ์ว่าอะไร เป็นจรยิ ธรรม อะไรเปน็ การทุจรติ ขัน้ ที่ 2 เสนอตวั อยา่ ง ๓. ครูแจกกระดาษขนาด A4 ใหน้ ักเรียนคนละ 1 แผน่ ใหน้ ักเรยี นสรุป Mind Map ตามท่ี ครกู าหนดลงบนกระดาษใหถ้ กู ตอ้ ง ไว้นาเสนอนิทรรศการ ๔. นักเรียนนาเสนอผลงานตนเองและศึกษาความรู้จากคลิปต่างๆ เพ่ิมเติมเพ่ือเสริมความรู้จาก แหล่งเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี 3 เปรยี บเทยี บ ๕. นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ ๕ คน ร่วมกันศึกษาความรู้และสรุปสาระสาคัญตามประเด็นที่ครู กาหนด จากสถานการณ์ท่ีนักเรียนได้ดู แล้วให้ตัวแทนกลุ่มออกมาจับสลากหมายเลขกลุ่มและรับสถานการณ์ จาลองที่ ๑ – ๓ ตามลาดบั ทจี่ บั ฉลากได้ ๖. ครูกาหนดระยะเวลาในการทางานกล่มุ รว่ มกนั ตามความเหมาะสม แลว้ สมุ่ เรยี กตัวแทนกลุ่ม ออกมานาเสนอความรู้หนา้ ชน้ั เรยี น ตามลาดับกลมุ่ ที่ 1 - ๓ ๗. นักเรยี นกลมุ่ อื่นๆ ต้งั ประเดน็ คาถามหลงั จากท่ีตัวแทนกลุม่ นาเสนอความรู้จบแลว้ กลมุ่ ละ ๑ คาถาม แล้วให้กลมุ่ ทเ่ี ป็นเจ้าของเร่อื งช่วยกันตอบคาถามให้ถูกต้อง ขนั้ ท่ี 4 สรุปกฎเกณฑ์ ๘ .นักเรียนร่วมกันสรปุ ประเดน็ ความร้ทู ่ีได้รบั จดลงในสมดุ แล้วครตู ั้งประเดน็ คาถามใหน้ ักเรยี น ช่วยกนั ตอบ หรือสุ่มเรียกนกั เรยี นใหต้ อบเปน็ รายบคุ คล
- 50 - ๙. นกั เรยี นร่วมกันศกึ ษาความรู้ ตามสถานการณจ์ าลองและร่วมแสดงความคิดเห็นว่า ลักษณะ ของสถานการณ์จาลองท่ีได้รับมีความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริต มีความสาคัญต่อชุมชน สังคม หรือไม่ อยา่ งไร ๑๐. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปความรู้เป็น Mind Map และวิเคราะห์แสดงความคิดเหน็ ๑๑. นักเรียนชว่ ยกนั ยกตวั อย่างโรงเรยี น ชุมชนของตนเอง ว่าเปน็ อย่างไร ณ ปัจจบุ ันเราจะ ร่วมกนั ตระหนักใหค้ วามสาคญั เร่อื งนีไ้ ด้อยา่ งไร ๑๒. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า จริยธรรมและการทุจริต ของแตล่ ะชุมชน สังคม มีความสอดคล้องหรือเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ถ้าคนเราไม่เห็นความสาคัญหรือแยกแยะไม่ออกว่าผลกระทบที่เกิด จะส่งผลต่อสังคม ชุมชนในอนาคตในดา้ นต่างๆอย่างไร ๑๓. นักเรียนได้รับการชี้แนะจากครูผู้สอนสามารถศึกษาความรู้เสริมเพ่ิมเติมเร่ือง ความ แตกต่างระหว่างจรยิ ธรรมและการทจุ รติ ของโรงเรียนสุจรติ ไดใ้ นเวป็ ไซตข์ องโรงเรยี นสจุ รติ ขั้นที่ 5 นาไปใช้ ๑๔. นักเรียนแต่ละกล่มุ หาข้อความการกระทา พฤตกิ รรม หรอื เรอ่ื งราวทเี่ ปน็ ขอ้ ความ สถานการณ์เพ่ิมเติม มาเขียนใส่ในกระดาษฟลิปชาร์ทท่ีครูแจกให้ แล้วให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันเผยแพร่ให้ นกั เรียน ครู ชมุ ชน หรอื นามาจัดปา้ ยนเิ ทศเพื่อปลุกจติ สานึกกระตุ้นจริยธรรมต้านทุจรติ ๑๕. นักเรียนแต่ละกล่มุ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรยี น โดยครูและเพ่ือน นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ และให้ข้อเสนอแนะเพื่อนาไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั 4.2 สอื่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ 1) เรื่องการต์ นู เสริมสร้างคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตอนความซ่อื สตั ย์ ๒) หนงั สือเรยี น/หนงั สอื พิมพ์ ๓) ภาพขา่ ว ๔) ภาพยนตร์สน้ั ๆ /คลิป ๕) แหล่งเรยี นรู้ในโรงเรยี น ชุมชน /สถานการณท์ ่พี บได้ในชุมชน ๖) หอ้ งสมดุ โรงเรียน ๗) หอ้ งเทคโนโลยใี นโรงเรยี น ๘) ใบความร้/ู สถานการณจ์ าลองที่ ๑-๓ ๘.๑. การทางานพเิ ศษ ๘.๒. การรขู้ ้อมลู ภายใน ๘.๓ การใช้ทรัพยส์ ินของราชการเพอ่ื ประโยชน์สว่ นตน
- 51 - ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 วิธีการประเมนิ รายการประเมนิ คาอธบิ ายระดบั คุณภาพ / ระดบั คะแนน ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) 1. ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความ ความแตกต่างระหวา่ ง จริยธรรมและการทุจริต แตกตา่ งระหว่าง แตกตา่ งระหว่าง แตกต่างระหวา่ ง (ชมุ ชน สงั คม) จริยธรรมและการทุจริต จรยิ ธรรมและการทจุ ริต จริยธรรมและการทจุ รติ (ชุมชน สังคม)ได้ถกู ต้อง (ชมุ ชน สงั คม)ได้ถูกต้อง (ชุมชน สงั คม) ไดถ้ ูกต้อง 2. สามารถคิดแยกแยะ 2. สามารถคดิ แยกแยะ 2. สามารถคิดแยกแยะ 2. สามารถคดิ แยกแยะ ความแตกตา่ งระหวา่ ง ความแตกต่างระหวา่ ง ความแตกต่างระหวา่ ง ความแตกต่างระหว่าง จริยธรรมและการทจุ รติ จรยิ ธรรมและการทุจรติ จริยธรรมและการทุจรติ จริยธรรมและการทุจริต (ชุมชน สงั คม)สว่ นรวมได้ (ชุมชน สงั คม)สว่ นรวมได้ (ชุมชน สังคม)ส่วนรวมได้ (ชมุ ชน สงั คม)ส่วนรวมได้ ในรปู แบบตา่ งๆได้ ในรปู แบบตา่ งๆได้ ในรปู แบบตา่ งๆได้ ในรูปแบบต่างๆได้ 3. ตระหนกั และเหน็ 3. ตระหนกั และเหน็ 3. ตระหนักและเห็น 3. ตระหนักและเห็น ความสาคญั ของจริยธรรม ความสาคญั ของจรยิ ธรรม ความสาคัญของจรยิ ธรรม ความสาคัญของจรยิ ธรรม และรว่ มต้านทจุ ริตใน และร่วมตา้ นทุจริตใน และรว่ มตา้ นทุจรติ ใน และรว่ มตา้ นทจุ ริตใน รูปแบบตา่ งๆได้ รปู แบบตา่ งๆได้ รูปแบบต่างๆได้ รปู แบบต่างๆได้ 5.2. เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมนิ 1)แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนักเรียนเป็นรายบุคคล ๒)ผลงานนกั เรียน ๓)บอร์ดป้ายนเิ ทศ 5.3 เกณฑก์ ารตดั สนิ เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ (ขอ้ ๑) ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 1-3 ปรับปรงุ
- 52 - 6. บันทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ............................................................................... ................................................................................................................................... ........................................... ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................) 7.ภาคผนวก - ใบความร้บู ตั รคาระบบคิดฐานสบิ & ระบบคิดฐานสอง - แบบสงั เกต
- 53 - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานของนักเรียนเปน็ รายบุคคล กลมุ่ ที่…….......... คาชแ้ี จง ครผู ้สู อนสงั เกตการทางานของนกั เรียน โดยทาเครอ่ื งหมายถูกลงในชอ่ งท่ีตรงกับความเปน็ จริง พฤติกรรม ความสนใจ การมสี ่วนร่วม การรบั ฟงั การตอบ ความรบั ผดิ รวม ในการเรียน แสดง ความคิดเหน็ คาถาม ชอบตอ่ งาน คะแนน ของผอู้ น่ื ท่ไี ดร้ ับมอบ ความคดิ เหน็ ใน การ หมาย อภปิ ราย ชือ่ -สกุล 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การประเมิน ให้คะแนน 0-4 ถา้ การทางานน้ันอยู่ในระดบั ต้องปรบั ปรงุ ให้คะแนน 5-7 ถ้าการทางานนนั้ อยู่ในระดบั พอใช้ ให้คะแนน 8-10 ถา้ การทางานนนั้ อยู่ในระดบั ดี ลงชอ่ื …………………………………………………… (…………………………………………………..) ผูป้ ระเมนิ
- 54 - ตวั อยา่ ง ระบบคดิ ฐานสบิ & ระบบคิดฐานสอง
- 55 - แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 1 ชือ่ หนว่ ย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 เรื่อง ประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม (ชุมชน สังคม) เวลา ๑ ชว่ั โมง 1. ผลการเรยี นรู้ 1.13มีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม 1.14สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 1.15ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกันการทุจริต 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 นกั เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม 2.2 นกั เรียนสามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ 2.3 นกั เรียนตระหนกั และเหน็ ความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทุจรติ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1) บทบาทและหน้าท่ีของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์และรู้จักการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติด้วยพื้นฐานของ ความถกู ตอ้ งและเปน็ ธรรม 2) วิธีปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นเพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสานึกมี คณุ ธรรมไม่เหน็ แก่ตวั ไม่เอาเปรียบผู้อ่ืน รู้จักจาแนกชั่วดี สามารถแยกแยะความผิดและความถูกต้อง เพอื่ เปน็ ภมู คิ มุ้ กันตอ่ ปัญหาทจุ ริตคอรร์ ัปชัน 3) ผลทไี่ ดจ้ ากการเคารพในสทิ ธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้แก่ ความซ่ือสัตย์สุจริต การมี จติ สาธารณะ การรรู้ ับผิดชอบและมีวินัย และรกั ความพอเพียง ๔) บทบาทและหน้าท่ีของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยเน้นจิตสาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์มีสมรรถนะในการคิดและมีวิจารณญาณในการแก้ไข ปัญหาของผ้เู รยี น ให้คิดเปน็ และปฏิบัติอยา่ งถูกตอ้ ง กล้าหาญ และมคี ณุ ธรรม 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ ) 1) ความสามารถในการสือ่ สาร (ทกั ษะการวเิ คราะห์ ทกั ษะกระบวนการคิดตดั สนิ ใจ ทักษะการนาความรู้ไปใช้) 2) ความสามารถในการคดิ (วิเคราะห์ จดั กล่มุ สรปุ ) 3) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 3.3 คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ / ค่านิยม 1) ซ่ือสัตย์ เสยี สละ อดทน มจี ติ สาธารณะ มีอดุ มการณใ์ นสิง่ ท่ีดีงามเพอ่ื ส่วนรวม 4.กิจกรรมการเรียนรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรยี นรู้ วธิ สี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขัน้ ที่ ๑ กระตนุ้ ความสนใจ
- 56 - 1. ครูนาข่าวมาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์หัวข้อข่าวต่อไปน้ีว่า เหมาะสมหรือไม่ เพราะเหตุใดและ การกระทาใดเปน็ การกระทาที่เป็นผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม 2. นักเรียนแต่ละคนจะแสดงความคิดเห็นพร้อมอธิบายเหตุผลแตกต่างกันไป ครูเฉลยคาตอบและ อธิบายความรู้เพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่าการกระทาของบุคคลในข่าว เป็นการกระทาท่ีไม่เหมาะสม และเป็นการกระทาเพื่อประโยชนส์ ว่ นตนหรอื ประโยชนส์ ่วนรวม 3. ครูอธบิ ายใหน้ กั เรียนเหน็ ถึงความสาคัญของการเคารพสิทธิและเสรภี าพของตนเองและผอู้ ่ืน ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม พร้อมท้ังเชื่อมโยงให้นกั เรยี นเขา้ ใจถงึ ผลดีของการ เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่นและผลดีของการเหน็ ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม และ ผลเสียอันเกิดจากการกระทาท่ีแสดงถงึ การไมเ่ คารพสิทธเิ สรภี าพของผูอ้ ื่นและผลเสยี ของการเห็น ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม - ผลดีของการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืน ได้แก่ ทาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจอันดตี ่อกัน ลดความขัดแย้ง ขอ้ พิพาทระหวา่ งกัน สังคมสงบสุข - ผลเสียของการไมเ่ คารพสทิ ธิเสรภี าพของผู้อื่น ไดแ้ ก่ ทาให้ผูอ้ นื่ ได้รับความเดือดร้อน ผู้ทีถ่ กู ละเมิดสิทธิเสรีภาพมีความไม่พอใจนาไปสู่การทะเลาะวิวาทกนั ขั้นท่ี ๒ สารวจค้นหา 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ตามความสมัครใจให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้ เร่ือง สิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญจากหนังสือเรียนและ ความหมายผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม จากใบความรู้ หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติมจาก ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ อินเตอร์เน็ต แล้วนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษามาอภิปราย ร่วมกัน 2. นกั เรียนตอบคาถามเพ่ือกระตนุ้ ความคดิ ข้นั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ 1. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาเรื่อง สิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย ตาม บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและความหมายของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มา อธิบายให้สมาชกิ คนอนื่ ๆ ภายในกลุ่มฟัง ในประเดน็ ต่อไปนี้ 1) สิทธขิ องประชาชนชาวไทยตามกฎหมาย 2) เสรีภาพของประชาชนชาวไทย 3) ผลดีของการเคารพสทิ ธิและเสรีภาพของผู้อ่นื 4) ผลเสียของการไม่เคารพสทิ ธิและเสรภี าพของผอู้ ื่น ๕) การกระทาทเ่ี ป็นประโยชน์สว่ นตน ๖) การกระทาที่เปน็ ประโยชน์สว่ นรวม 2. นกั เรยี นตอบคาถามเพอื่ กระต้นุ ความคิด ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ 1) สมาชกิ ในกลุม่ รว่ มกนั ทาใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง สิทธแิ ละเสรีภาพและการกระทาท่ีเป็น ประโยชน์สว่ นตนการกระทาที่เป็นประโยชน์สว่ นรวม 2) สมาชิกในกลุ่มรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมทั้งปรบั ปรุงแก้ไขคาตอบในใบงานที่
- 57 - 3) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันทากจิ กรรมตามตวั ชว้ี ดั 4) นักเรยี นตอบคาถามเพื่อกระตนุ้ ความคิด ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล 1) ครแู ละนกั เรียนชว่ ยกันเฉลยคาตอบในใบงานที่ 1.1 โดยให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเป็นผู้ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2) ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มหาข่าวเกย่ี วกับบุคคลที่มกี ารกระทาทสี่ อดคลอ้ งกับ การปฏบิ ัติตนตามสิทธแิ ละเสรีภาพของประชาชนชาวไทยกระทาผลประโยชน์เพ่ือสว่ นรวมและ ผลประโยชน์ส่วนตน 4.2 ส่อื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 1) สอ่ื เรอ่ื ง MOST –The Bridge v.2 ไทย 2) ภาพข่าวอวสานแผงคา้ ริมทางหลวง ลน่ั รอ้ื เกลีย้ ง ภายใน 2 ป/ี ข่าวจากกระปุกดอทคอม 3) ไทยจ๋า ทาไมทาผดิ แลว้ ต้องอ้างว่า ใครๆ เขากท็ ากนั 4) เคารพสทิ ธผิ อู้ ่ืน/https://www.youtube.com/watch?v=bztZQ_hkkNs จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม 5.การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วธิ กี ารประเมิน ๑) ตรวจใบงานท่ี 1.1 ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ๓) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ๔) สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ และมุง่ มน่ั ในการทางาน ๕.๒ เครื่องมือที่ใชใ้ นการประเมนิ ๑) ใบงานท่ี 1.1 ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ๓) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ๔) แบบประเมินคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ 5.3 เกณฑก์ ารตัดสิน ๑) ตรวจใบงานท่ี 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ๒) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๓) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๔) สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มน่ั ในการทางาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
- 58 - 6. บันทึกหลังสอน ...................................................................................................................................................... ......... ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชือ่ ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................) 7. ภาคผนวก - ใบความรู้ - ใบงาน - แบบสงั เกต
- 59 - ใบงานที่ ๑ 1.1 สิทธแิ ละเสรภี าพและผลประโยชนส์ ว่ นรวมและผลประโยชน์สว่ นตน คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนวิเคราะห์ข้อความตอ่ ไปนี้ว่าข้อใดเปน็ สิทธิ เสรภี าพ ผลประโยชน์ส่วนรวมและ ผลประโยชน์สว่ นตน 1. ปจั จุบันทกุ คนสามารถเขา้ ใช้งานโซเชยี ลเนต็ เวิรค์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ตารวจเข้าตรวจคน้ บา้ นโดยไม่มีหมายคน้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. วิภาภูมิใจมากทส่ี ามารถซื้อสมาร์ทโฟนด้วยเงินของตนเอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. สรยทุ ธนารถยนต์สว่ นตัวไปลา้ งท่ีทางานในวนั หยดุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ตูน บอด้ีสแลมทาโครงการกา้ วคนละก้าวโดยการว่ิงจากเบตงถึงแมส่ าย ระยะทาง ๒,๑๙๑ กโิ ลเมตรเพือ่ ๑๑ โรงพยาบาลทว่ั ประเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. นกั เรยี นรวมตวั กันในวนั หยดุ ไปทาความสะอาดศาลากลางหมบู่ า้ น ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. บญุ มาเปดิ รา้ นอาหารตามสั่งบนฟุตบาทหนา้ บา้ นตวั เอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. เด่นถมท่ีทบั ท่ีคนอน่ื เพราะทข่ี ้างๆไมม่ ีคนทาประโยชน์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9.หมบู่ า้ นเวียงทองมีทั้งชาวบ้านท่นี บั ถือพระพุทธศาสนา และศาสนาอิสลาม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. ทกุ คนสามารถเดินทางไปทัว่ ประเทศไทย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- 60 - ขอ้ ประเด็น สทิ ธิเสรภี าพและประโยชน์ ส่วนตน ส่วนรวม 1. ปัจจุบนั ทกุ คนสามารถเข้าใช้งานโซเชยี ลเน็ตเวิรค์ 2. ตารวจเข้าตรวจค้นบา้ นโดยไม่มีหมายค้น 3. วิภาภมู ใิ จมากทสี่ ามารถซ้ือสมารท์ โฟนด้วยเงินของตนเอง 4. สรยุทธนารถยนตส์ ว่ นตวั ไปลา้ งทีท่ างานในวันหยดุ 5. ตนู บอด้สี แลมทาโครงการกา้ วคนละกา้ วโดยการว่งิ จากเบตงถึง แม่สาย ระยะทาง ๒,๑๙๑ กิโลเมตรเพื่อ ๑๑ โรงพยาบาลท่ัว ประเทศ 6. นกั เรียนรวมตวั กันในวนั หยดุ ไปทาความสะอาดศาลากลาง หมบู่ า้ น 7. บุญมาเปดิ ร้านอาหารตามสงั่ บนฟุตบาทหนา้ บ้านตัวเอง 8. เด่นถมท่ีทบั ท่ีคนอ่นื เพราะทข่ี ้างๆไม่มคี นทาประโยชน์ 9. หมู่บา้ นเวยี งทองมีท้งั ชาวบ้านที่นบั ถือพระพุทธศาสนา และ ศาสนาอิสลาม 10. ทกุ คนสามารถเดินทางไปทว่ั ประเทศไทย
- 61 - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม “ซื่อสัตยส์ จุ ริต” คาชแี้ จง ทาเครื่องหมาย ในชอ่ งที่ตรงกบั ความเป็นจริงตามเกณฑ์การประเมิน 2.ปฏิบตั ิตาม 1.ใหข้ อ้ มูลท่ี โดยคานึงถึง 3.ปฏิบัติตน 4.ไม่หา ผลการประเมิน ถูกต้องและ ความถกู ตอ้ ง ตอ่ ผอู้ ืน่ ด้วย ผลประโยชน์ เลขท่ี ช่ือ - สกุล เปน็ จริง ละอาย เกรง ความซอ่ื สัตย์ ในทางท่ีไม่ รวม กลวั ตอ่ การ คะแนน กระทาผิด ถูกต้อง ผ่าน ไมผ่ ่าน ๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐ (ลงช่อื )...................................ครผู ู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- 62 - แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนักเรยี นเป็นรายบุคคล กลุ่มท่ี…….......... คาชแี้ จง ครผู ูส้ อนสังเกตการทางานของนักเรียน โดยทาเครือ่ งหมายถกู ลงในช่องทีต่ รงกับความเปน็ จริง พฤตกิ รรม ความสนใจ การมสี ่วน การรับฟัง การตอบ ความรบั ผดิ รวม ในการเรยี น รว่ มแสดง ความคิด คาถาม ชอบต่องาน คะแนน เลขท่ี ความคดิ เหน็ ของผู้ ทีไ่ ดร้ บั มอบ 1 210 เหน็ ในการ 210 10 2 อภปิ ราย อนื่ หมาย 3 4 210 210 210 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑก์ ารประเมิน ใหค้ ะแนน 0-4 ถ้าการทางานนนั้ อยู่ในระดบั ต้องปรับปรงุ ให้คะแนน 5-7 ถ้าการทางานนั้นอยูใ่ นระดับพอใช้ ใหค้ ะแนน 8-10 ถา้ การทางานนนั้ อย่ใู นระดับดี (ลงช่ือ)………………………………………ครูผู้ประเมิน (...............................................................)
- 63 - ใบความรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง สิทธิและเสรีภาพและผลประโยชน์ส่วนรวมและผลประโยชน์ส่วนตน 1.ความหมายของสทิ ธิ สทิ ธิ หมายถึง ส่ิงที่ไมม่ รี ปู รา่ งซึง่ มอี ยูใ่ นตวั มนษุ ย์มาตัง้ แตเ่ กดิ หรือเกิดขน้ึ โดยกฎหมาย เพอ่ื ให้มนษุ ยไ์ ด้รบั ประโยชน์ และมนุษยจ์ ะเปน็ ผู้เลอื กใชส้ ง่ิ นั้นเองโดยไม่มีผ้ใู ดบังคบั ได้ เชน่ สิทธใิ นการกิน การนอน แต่สิทธิบางอย่างมนษุ ย์ไดร้ ับโดยกฎหมายกาหนดใหม้ ี เช่น สิทธใิ นการมี การใช้ทรัพยส์ ิน สทิ ธิ ในการรอ้ งทุกขเ์ มอ่ื ตนถกู กระทาละเมิดกฎหมาย เป็นตน้ 2.แนวทางการปฏิบตั ติ นตามบทบญั ญัตใิ นรัฐธรรมนูญ 1. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืน เช่น สิทธิ เสรีภาพ ในชีวิตและ ร่างกาย สิทธิในครอบครวั เกยี รตยิ ศ ช่ือเสยี ง และความเป็นส่วนตัว เปน็ ตน้ 2. รู้จักใช้สิทธิของตนเองและแนะนาให้ผู้อื่นรู้จักใช้และรักษาสิทธิของตนเอง เช่น การรักษาสิทธิใน การเลือกตงั้ เพอ่ื แสดงเจตจานงทางการเมืองและป้องกนั ไม่ให้มกี ารซ้ือสิทธิขายเสยี ง 3. รณรงค์ เผยแพร่ความรู้เก่ียวกับสิทธิมนุษยชน และปลูกฝังแนวความคิดเรื่องสิทธิ มนุษยชนให้แก่ ชุมชนหรือสังคมตามสถานภาพและบทบาทท่ีตนพึงกระทาได้ เช่น ให้ความรู้กับสมาชิก ครอบครัว จากน้ันจึง คอ่ ย ๆ ขยายไปยงั สถาบนั อน่ื ๆ ในสังคม เชน่ สถานศึกษา เป็นต้น 4. ร่วมมือกับหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เช่น การให้ข้อมูล ขา่ วสารเกีย่ วกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนแก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐ หรือเป็นอาสาสมัคร ช่วยเหลืองานขององค์กรที่ ปฏิบตั งิ านในการคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชน เป็นตน้ 5. การปฏิบัติตามหน้าที่ของชาวไทยตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น การเสียภาษีให้รัฐเพื่อนา เงินน้ันมาใช้พัฒนาประเทศ การเข้ารับราชการทหารเพ่ือเป็นกาลังสาคัญในการป้องกันประเทศ หรือการ ออกไปใชส้ ิทธิเลือกตงั้ เพือ่ ให้ได้คนดีเข้าไปบรหิ ารบา้ นเมืองให้มคี วามเจริญกา้ วหนา้ เป็นต้น 6. ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ สามารถทาได้โดยการให้ ความชว่ ยเหลอื ด้านขอ้ มลู ข่าวสารการทจุ ริตของขา้ ราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ แก่คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือให้ความร่วมมือในการดาเนินงานของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ไม่ว่าจะ เป็นการใหข้ อ้ มูลขา่ วสารเก่ยี วกับการทุจริตการเลือกต้ังประจาเขตเปน็ ตน้
- 64 - ใบความรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง หนา้ ที่ 1.ความหมายของหน้าท่ี หน้าท่ี หมายถึง การกระทาหรอื การละเวน้ การกระทาเพื่อประโยชน์โดยตรงของการมีสิทธิ หน้าท่ีเป็น ส่ิงที่บังคับให้มนุษย์ในสังคมต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางสังคมหรือตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ จะไม่ปฏิบัติตาม ไมไ่ ด้ ส่วนสิทธแิ ละเสรภี าพเปน็ สง่ิ ท่มี นษุ ย์มอี ยแู่ ตจ่ ะใช้หรือไม่ใชก้ ็ได้ 2. หน้าท่พี ลเมืองดตี ามรฐั ธรรมนูญ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยได้กาหนดหนา้ ท่ีของประชาชนชาวไทยไว้ดงั นี้ 2.1 บุคคลมีหน้าท่ีรักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข 2.2 บคุ คลมหี น้าที่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย 2.3 บคุ คลมหี นา้ ทไ่ี ปใช้สิทธเิ ลือกตง้ั 2.4 บคุ คลมีหนา้ ที่ปอ้ งกนั ประเทศ รบั ราชการทหาร 2.5 บคุ คลมีหน้าทเี่ สียภาษีใหร้ ัฐ 2.6. บคุ คลมีหน้าที่ชว่ ยเหลือราชการ รบั การศกึ ษาอบรม ปกป้องและสืบสานวัฒนธรรม ของชาติ ภูมิ ปญั ญาท้องถ่ิน รวมถึงการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 2.7. บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการ ส่วน ทอ้ งถิน่ มหี น้าทีด่ าเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายเพือ่ รักษาประโยชน์ส่วนรวมอานวยความสะดวก 3. แนวทางการปฏิบตั ติ นตามบทบญั ญัตใิ นรฐั ธรรมนญู 3.1 เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืน เช่น สิทธิ เสรีภาพ ในชีวิตและ รา่ งกาย สทิ ธิในครอบครวั เกียรตยิ ศ ชื่อเสียง และความเป็นส่วนตัว เป็นต้น 3.2 รู้จกั ใชส้ ทิ ธิของตนเองและแนะนาให้ผู้อ่ืนรู้จักใช้และรักษาสิทธิของตนเอง เช่น การรักษาสิทธิใน การเลอื กต้ังเพอื่ แสดงเจตจานงทางการเมืองและป้องกันไมใ่ ห้มีการซื้อสทิ ธิขายเสยี ง 3.3 รณรงค์ เผยแพรค่ วามรู้เกี่ยวกบั สทิ ธิมนุษยชน และปลูกฝงั แนวความคิดเร่อื งสิทธิ มนุษยชนให้แก่ ชุมชนหรือสังคมตามสถานภาพและบทบาทท่ีตนพึงกระทาได้ เช่น ให้ความรู้กับสมาชิก ครอบครัว จากนั้นจึง ค่อย ๆ ขยายไปยงั สถาบันอนื่ ๆ ในสงั คม เช่น สถานศกึ ษา เป็นต้น 3.4 ร่วมมือกับหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เช่น การให้ข้อมูล ขา่ วสารเก่ยี วกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเป็นอาสาสมัคร ช่วยเหลืองานขององค์กรท่ี ปฏิบตั งิ านในการค้มุ ครองสทิ ธมิ นุษยชน เปน็ ตน้ 3.5 การปฏิบัติตามหน้าที่ของชาวไทยตามท่ีได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น การเสีย ภาษีให้รัฐเพื่อ นาเงินน้ันมาใช้พัฒนาประเทศ การเข้ารับราชการทหารเพื่อเป็นกาลังสาคัญในการป้องกันประเทศ หรือการ ออกไปใชส้ ิทธิเลือกตัง้ เพื่อใหไ้ ด้คนดีเขา้ ไปบรหิ ารบา้ นเมอื งใหม้ ีความเจริญก้าวหนา้ เป็นตน้ 3.6 สง่ เสริม และสนบั สนนุ การดาเนนิ งานขององคก์ รอสิ ระตามรฐั ธรรมนูญ สามารถ ทาได้โดยการให้ ความชว่ ยเหลอื ด้านข้อมลู ข่าวสารการทุจริตของขา้ ราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ แก่คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือให้ความร่วมมือในการดาเนินงานของ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ไม่ว่าจะ เป็นการให้ข้อมลู ข่าวสารเก่ียวกับการทจุ ริตการเลอื กตง้ั ประจาเขต เป็นต้น
- 65 - ใบความรู้ที่ 3 เร่ือง เสรีภาพ 1. ความหมายของเสรีภาพ เสรีภาพ หมายถึง การใช้สิทธิอย่างใดอย่างหน่ึง หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งได้อย่าง อิสระ แต่ ทงั้ นจี้ ะต้องไมก่ ระทบต่อสทิ ธิของผอู้ ืน่ ซง่ึ หากผใู้ ดใช้สิทธเิ สรภี าพเกินขอบเขตจนกอ่ ความเดือดร้อนต่อผู้อื่น ถือ เปน็ การกระทาเกนิ เสรีภาพของตนก็ย่อมถกู ดาเนินคดีตามกฎหมาย 2. เสรีภาพพลเมืองดีตามรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้กาหนด เสรีภาพของประชาชน ชาวไทยไว้ดังน้ี 2.1 เสรีภาพในเคหสถาน ชาวไทยทุกคนย่อมได้รับความคุ้ม ครองในการอาศัยและครอบครอง เคหสถานโดยปกติสุข การเขา้ ไปในเคหสถานของผ้อู น่ื โดยปราศจากการยินยอมของผู้ครอบครอง หรือ การเข้า ไปตรวจคน้ เคหสถานโดยไมม่ ีหมายค้นจากศาลยอ่ มทาไม่ได้ 2.2 เสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถ่ินท่ีอยู่ การเนรเทศบุคคลผู้มีสัญชาติไทยออก นอก ราชอาณาจักรหรอื ห้ามมิใหบ้ ุคคลผมู้ สี ัญชาตไิ ทยเขา้ มาในราชอาณาจกั รจะกระทามิได้ 2.3 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นผ่านการพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณาและ การสื่อ ความหมายโดยวิธีอ่ืนจะจากัดแก่บุคคลชาวไทยมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย 2.4 เสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบด้วยกฎหมาย การตรวจ การกัก หรือการ เปิดเผย ขอ้ มลู ส่วนตน รวมทง้ั การกระทาต่าง ๆ เพอ่ื เผยแพรข่ ้อมูลนนั้ จะกระทามิได้ 2.5 เสรีภาพในการนับถือศาสนา นิกาย ลัทธิ ความเชื่อทางศาสนา และเสรีภาพในการ ประกอบ พิธีกรรมตามความเช่ือของตน โดยไม่เป็นปฏปิ กั ษต์ อ่ หน้าที่ของพลเมือง และไม่ขัดต่อความสงบ เรียบร้อยหรือ ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน ยอ่ มเป็นเสรภี าพของประชาชน 2.6 เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวธุ การจากัดเสรีภาพดังกล่าว จะกระทาไม่ได้ เว้น แต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญตั ิของกฎหมายเพื่อคุ้มครองประชาชนทีจ่ ะใช้ ท่สี าธารณะหรือเพื่อรักษาความ สงบเรียบร้อยเม่ือประเทศอยู่ในภาวะสงคราม หรือระหว่างประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉิน หรือประกาศใช้กฎ อัยการศกึ 2.7 เสรีภาพในการรวมตัวกันเป็นสมาคม สหพันธ์ องค์กร องค์เอกชน หรือหมู่คณะอ่ืน การจากัด เสรีภาพต่าง ๆ เหล่านี้จะกระทามิได้ เว้นแต่อาศัยอานาจกฎหมายเฉพาะเพื่อคุ้มครอง ประโยชน์ส่วนรวมของ ประชาชน การรักษาความสงบเรียบร้อยหรือป้องกนั การผกู ขาดในทางเศรษฐกจิ 2.8 เสรีภาพในการรวมตัวจัดต้ังพรรคการเมือง เพื่อดาเนินกิจกรรมทางการเมืองตามวิถีทาง การ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ 2.9 เสรีภาพในการประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม การจากัด เสรีภาพดังกล่าว จะทาได้โดยอาศัยกฎหมายเพ่ือประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจ ของประเทศ และเพื่อ ปอ้ งกนั การผูกขาดหรือขจดั ความไม่เป็นธรรมในการแขง่ ขนั ทางการคา้
- 66 - ใบความรู้ท่ี 4 เรื่องประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์ส่วนรวม ผลประโยชน์มี ๒ อย่าง คือ ประโยชน์สว่ นตนกับประโยชน์ส่วนรวม ถ้าเราจะคิดถึงประโยชน์เพียงแง่เดียว คือ ประโยชนข์ องเราสว่ นตัว ตา่ งคนตา่ งกต็ อ้ งการประโยชนส์ ่วนตัว แล้วจะเปน็ ประโยชนส์ ว่ นรวมได้อยา่ งไร ประโยชนข์ องส่วนตนกับประโยชน์ของส่วนรวมก็จะต้องสอดคล้องกัน คือ ประโยชน์ของเราก็จะต้อง เก่ยี วข้องกบั ประโยชนข์ องคนอืน่ ด้วย ไม่ใช่ว่าเราได้ประโยชน์แล้วคนอื่นเสียประโยชน์ แล้วประโยชน์ส่วนรวม เสยี ไป จะทาให้เราน้นั ได้ประโยชน์อยู่คนเดียวนั้น เป็นส่งิ ท่ีเป็นไปไม่ได้ ประโยชน์ท่ีแท้จริง คือ ประโยชน์ส่วนรวมก็ต้องมาจากประโยชน์ส่วนตนของแต่ละคนด้วย ถ้าแต่ละ คนได้รับประโยชน์ส่วนตนหมดทุกคน ก็ทาให้ส่วนรวมได้รับประโยชน์น้ันด้วย ถ้าประโยชน์ส่วนตนน้ันเป็นไป เพ่ือประโยชนส์ ว่ นรวม ก่อนอ่ืนตอ้ งเขา้ ใจวา่ ประโยชนข์ องเราสว่ นตนทาใหส้ ่วนรวมได้ประโยชน์หรอื เปลา่ หรอื ถา้ ประโยชน์ ส่วนตนของเรานั้น ไม่ทาให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมเลย อันน้ันก็ไม่มีทางสาเร็จได้ แต่ถ้าประโยชน์ของเราซึ่ง เป็นส่วนตน เป็นประโยชน์ของส่วนรวมด้วย ต่างคนต่างช่วยกัน ทาให้ได้ทั้งประโยชน์ส่วนรวมและประโยชน์ ส่วนตนดว้ ย อนั นนั้ ก็จะได้ประโยชนท์ ้งั ๒ ฝ่าย แต่ก่อนท่ีจะถงึ ขน้ั นีไ้ ด้ กจ็ ะตอ้ งมคี วามขัดแย้งหรือมีปัญหา เพราะว่าคนเราคิดไม่เหมือนกัน ก่อนอื่น กจ็ ะตอ้ งเริม่ ดว้ ย มีความจรงิ ใจตอ่ ประโยชน์ส่วนรวม เมอ่ื มคี วามจรงิ ใจตอ่ ประโยชน์ส่วนรวม ก็รับฟังความเห็น ของคนอ่ืน ไมใ่ ช่ความเหน็ ของตนเองเท่าน้ัน เพอื่ ประโยชนส์ ว่ นรวมจรงิ ๆ
- 67 - แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 1 ช่อื หนว่ ย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 เร่ือง การขัดกนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชนส์ ว่ นรวม (ชมุ ชน สังคม) เวลา ๑ ชว่ั โมง 1. ผลการเรียนรู้ 1.16มคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม 1.17สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 1.18ตระหนักและเห็นความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกันการทุจรติ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ นกั เรยี น 2.1 นักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั การแยกแยะความหมายและรูปแบบของการขัดกันระหว่าง ผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2.2 นักเรยี นสามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 2.3 นกั เรยี นตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ นักเรียนสามารถใช้ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในการ อธบิ ายรูปแบบและวิธีการปฏิบัติงานในลักษณะการจัดป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตระหนักถึง ความร้ายแรงของการทุจริต และมีจิตสานึกความเป็นพลเมืองดีป้องกันและต่อต้านการทุจริต เป็นผู้มี ความซื่อสัตย์ สุจริต การมีจิตสาธารณะ มีความเป็นธรรมทางสังคม แสดงออกทางการกระทาอย่าง รบั ผิดชอบ และการเป็นอยอู่ ย่างพอเพยี ง 1) ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ สว่ นรวม (Conflict of interest) 2) ความสัมพันธ์ระหว่าง “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม” “จรยิ ธรรม” และ “การทุจริต 3) รปู แบบของการขัดกันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวม 3.2 ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด) 1) ความสามารถในการสื่อสาร (ทกั ษะการวเิ คราะห์ ทกั ษะกระบวนการคิดตัดสนิ ใจ ทักษะการนาความรู้ไปใช้) 2) ความสามารถในการคดิ (วเิ คราะห์ จดั กลุ่ม สรุป) 3) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 3.3 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ / คา่ นิยม 1) ซื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน มจี ิตสาธารณะ มีอุดมการณ์ในสง่ิ ทีด่ ีงามเพ่อื สว่ นรวม 2) ใฝห่ าความรู้ หมัน่ ศึกษาเลา่ เรยี นทง้ั ทางตรง และทางออ้ ม 3) มีความเปน็ ธรรมในสงั คม
- 68 - 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.1 ขั้นตอนการเรยี นรู้ วธิ สี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขั้นที่ ๑ กระตุน้ ความสนใจ 1.นักเรียนดูวีดีทัศน์เก่ียวกับเรื่องการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม มาให้ดู และชว่ ยกันวิเคราะห์ข่าวคณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ วชิรพยาบาลโดนฟ้องฐานเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติ หน้าที่โดยทุจริต นาทรัพย์สินของหลวงไปใช้ส่วนตัว ว่า การกระทาใดเป็นการกระทาที่เป็น ผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนต์ ่อสว่ นรวมและขดั กันอยา่ งไร 2.นักเรียนแต่ละคนจะแสดงความคิดเห็นพร้อมอธิบายเหตุผลแตกต่างกันไป ครูร่วมอภิปรายว่าเป็น การใช้อานาจหน้าทีท่ ผ่ี ิด 3. นักเรียนศึกษาใบความรู้เร่ืองการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม (ชุมชน สังคม) 4. ครอู ธบิ ายให้นกั เรียนรู้ ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับ ประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of interest) พร้อมท้ังเช่ือมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงรูปแบบและ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง “การขดั กันระหว่างประโยชน์สว่ นตนกับประโยชน์ส่วนรวม” “จริยธรรม” และ “การทุจริตของการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์ส่วนรวม ขน้ั ที่ ๒ สารวจค้นหา 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ตามความสมัครใจให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้ เรื่อง รปู แบบและความสัมพันธ์ระหว่าง “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม” “จรยิ ธรรม” และ “การทจุ รติ ของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกบั ประโยชน์ส่วนรวม จากใบความรอู้ ินเทอร์เน็ตแลว้ นาความรู้ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษามาอภปิ รายในชน้ั เรยี นร่วมกนั ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ 1. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาเร่ือง การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและ ประโยชน์สว่ นรวม (ชมุ ชน สงั คม) มาอธิบายใหส้ มาชกิ คนอื่นๆ ภายในกลมุ่ ฟัง ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ สว่ นรวม (Conflict of interest) 2) ความสัมพันธ์ระหว่าง “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม” “จรยิ ธรรม” และ “การทุจริต 3) รูปแบบของการขดั กันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม 4) การกระทาทีเ่ ปน็ ประโยชนส์ ว่ นตน 5) การกระทาทเ่ี ป็นประโยชน์สว่ นรวม 2. นักเรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด ขัน้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ 1. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทาใบงานท่ี ๑ เร่ือง ทฤษฎี ความหมาย และรูปแบบของการขัดกันระหว่าง ประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม (Conflict of interest) 2) สมาชิกในกล่มุ ร่วมกันทาใบงานที่ ๒ เรอ่ื งความสัมพันธ์ระหว่าง “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วน ตนกบั ประโยชน์สว่ นรวม” “จริยธรรม” และ “การทจุ รติ 3) สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทาใบงานท่ี ๓ เรื่องรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและ ประโยชนส์ ว่ นรวม
- 69 - 4) สมาชิกในกล่มุ รว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง พรอ้ มทั้งปรบั ปรุงแก้ไขคาตอบในใบงานที่ 1-๓ 5) นกั เรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล 1. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานโดยให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเป็นผู้ตรวจสอบความ ถกู ตอ้ ง 2. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มหาข่าวเก่ียวกับบุคคลท่ีมีการกระทาที่สอดคล้องกับการปฏิบัติ ตนตามสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยผลประโยชนส์ ่วนรวมและผลประโยชน์ส่วนตน 5.2 สอื่ การเรยี นรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ 1) เอกสารประกอบคาบรรยาย(ppt) ๒) วดี ีทัศน์ เรอ่ื งMOST –The Bridge v.2 ไทย ๓) Paoboonjin (รับทรัพยส์ นิ +เป็นค่สู ญั ญา) ๔) ข่าวตะลึงเบญจมฯเมืองคอนขึ้นป้ายยกเลิกเด็กฝากเข้าเรียน/ข่าวจากเว็บ DMCTODAY ๕) วีดีทัศน์รู้ทันการโกง ตอนผลประโยชน์ทับซ้อน ภัยเงียบทาลายชาติ/สถาบัน พระปกเกลา้ 5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วธิ ีการประเมนิ ๑) ตรวจใบงานเร่ืองรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวม ๒) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล ๓) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ๔) สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ และม่งุ ม่นั ในการทางาน ๕.๒ เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการประเมิน ๑) ตรวจใบงานเรือ่ งรปู แบบของการขัดกันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์ สว่ นรวม ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๔) แบบประเมนิ คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ 5.3 เกณฑก์ ารตัดสนิ ๑) ตรวจใบงานที่ 1- ๓ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ๒) ตรวจแบบบนั ทึกการอา่ น ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๓) สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๔) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๕) สังเกตความมีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งม่นั ในการทางานระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์
- 70 - 6. บันทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ............................ ...................................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... ......................................................................................... .................................................................. ................... ลงช่ือ ................................................ ครูผู้สอน (.................................................) 7. ภาคผนวก - ใบความรู้ - ใบงาน - แบบสังเกต
- 71 - ใบงาน เรื่อง รูปแบบของการขดั กันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถามโดยศึกษาหาคาตอบจากใบความรู้แล้วให้ นกั เรยี นนามาเขียนเป็นแผนผังความคดิ (Mind Mapping) กลมุ่ ที่1. ทฤษฏีความหมายและรปู แบบของการขดั กนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์สว่ นรวม กลมุ่ ท2่ี . ความสาพนั ธร์ ะหวา่ ง “การขดั กนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม กลุม่ ที่3. รูปแบบของการขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม (Mind Mapping)
- 72 - แบบสังเกตพฤติกรรม “ซ่อื สตั ยส์ ุจริต” คาชแี้ จง ทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งที่ตรงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมิน 2.ปฏบิ ัตติ าม 1.ให้ข้อมลู ท่ี โดยคานึงถงึ 3.ปฏบิ ตั ิตน 4.ไมห่ า ผลการประเมนิ ถกู ต้องและ ความถกู ตอ้ ง ต่อผู้อนื่ ดว้ ย ผลประโยชน์ เลขท่ี ชื่อ - สกุล เป็นจรงิ ละอาย เกรง ความซือ่ สตั ย์ ในทางท่ีไม่ รวม กลวั ตอ่ การ คะแนน กระทาผดิ ถกู ต้อง ผา่ น ไมผ่ ่าน ๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐ (ลงชื่อ)...................................ครผู ู้ประเมิน (…………………………………………………) ............../................./.............
- 73 - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล กลุ่มท่ี…….......... คาชแ้ี จง ครสู อนสังเกตการทางานของนกั เรยี น โดยทาเครือ่ งหมายถูกลงในชอ่ งที่ตรงกบั ความเป็นจรงิ พฤตกิ รรม ความสนใจ การมสี ่วน การรับฟัง การตอบ ความรับผิด รวม ในการเรยี น รว่ มแสดง ความคิด คาถาม ชอบตอ่ งาน คะแนน เลขที่ ความคดิ เห็นของผู้ ท่ีได้รับมอบ 1 210 เห็นในการ 210 10 2 อภปิ ราย อืน่ หมาย 3 4 210 210 210 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การประเมิน ให้คะแนน 0-4 ถา้ การทางานน้ันอยใู่ นระดับต้องปรบั ปรงุ ใหค้ ะแนน 5-7 ถ้าการทางานน้ันอย่ใู นระดบั พอใช้ ใหค้ ะแนน 8-10 ถ้าการทางานนนั้ อยใู่ นระดบั ดี ลงชอ่ื …………………………………………………… (…………………………………………………..) ผปู้ ระเมิน
- 74 - แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ช่อื หนว่ ย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 เรื่อง ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น (ชุมชน สังคม) เวลา ๑ ชั่วโมง 1. ผลการเรยี นรู้ 1.19มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 1.20สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 1.21ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทุจรติ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับความหมายของผลประโยชน์ทับซ้อนการแยกแยะระหว่าง ผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม 2.2 นกั เรียนสามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 2.3 นักเรยี นตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ของการตอ่ ต้านและป้องกันการทุจรติ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ ผลประโยชนท์ ับซ้อน (conflict of interest) ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือการขัดกันของผลประโยชน์ (conflict of interest) คือ สถานการณ์ที่บุคคลผู้ดารงตาแหน่งอันเป็นท่ีไว้วางใจ ( เช่น ทนายความ นักการเมือง ผู้บริหาร หรือ ผู้อานวยการของบริษัทเอกชน หรือ หน่วยงานรัฐ) เกิดความขัดแย้งข้ึนระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตัว กบั ผลประโยชน์ทางวชิ าชีพ (professional interests) อันส่งผลให้ เกิดปัญหาที่เขาไม่สามารถปฏิบัติ หน้าท่ีไดอ้ ยา่ งเปน็ กลาง / ไม่ลาเอยี งผลประโยชนท์ บั ซ้อนท่ีเกิดข้ึน อาจส่งผลให้เกิดความไม่ไว้วางใจที่ มีต่อบุคคลผู้น้ัน ว่าเขาจะสามารถปฏิบัติงานตามตาแหน่งให้อยู่ในครรลองของคุณธรรมจริยธรรมได้ มากน้อยเพียงใด ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม (Conflict of interest : COI) เป็นประเด็นปัญหาทางการบริหารภาครัฐในปัจจุบันท่ีเป็นบ่อ เกิดของปัญหาการทุจริตประพฤติ มิชอบในระดับที่รุนแรงขึ้น และยังสะท้อนปัญหาการขาดหลักธรร มาภบิ าลและเป็นอปุ สรรคตอ่ การพฒั นาประเทศ ๑) ความหมายและประเภทของการขัดกันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม ๒) รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น ๓) การกระทาทอ่ี ยู่ในขา่ ยของผลประโยชนท์ ับซ้อน ๔) ประเภทของผลประโยชน์ทับซอ้ น ๕) รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน ๖) การรบั ผลประโยชน์ ๗) กจิ กรรมท่มี ีความเส่ยี งต่อการมีผลประโยชน์ทับซ้อน 8) แนวทางการป้องกนั ปญั หาผลประโยชนท์ ับซอ้ น
- 75 - 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด) 1) ความสามารถในการสือ่ สาร (ทักษะการวเิ คราะห์ ทักษะกระบวนการคิดตดั สินใจ ทกั ษะการนาความรูไ้ ปใช้) 2) ความสามารถในการคดิ (วิเคราะห์ จัดกลุ่ม สรุป) 3) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 3.3 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ / คา่ นิยม 1) ซือ่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มีจติ สาธารณะ มีอุดมการณใ์ นส่งิ ท่ีดีงามเพือ่ สว่ นรวม 4. กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.1 ขัน้ ตอนการเรยี นรู้ วธิ สี อนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขัน้ ท่ี ๑ กระตุ้นความสนใจ 1. ดูวดี ีทัศนข์ า่ วและสื่อการสอนประกอบคาบรรยาย(ppt)ท่ีเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนและช่วยกัน วิเคราะห์ข่าวว่า ผลประโยชน์ทับซ้อนคืออะไร มีลักษณะการกระทาใดเป็นการกระทาท่ีเป็น ผลประโยชน์ทับซ้อน รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อนเป็นอย่างไร ประเภทและรูปแบบของ ผลประโยชน์ทับซ้อนเป็นอย่างไร การรับผลประโยชน์ผลประโยชน์ทับซ้อน กิจกรรมท่ีมีความเสี่ยงต่อ การมีผลประโยชนท์ ับซ้อน แนวทางการปอ้ งกันปัญหาผลประโยชนท์ บั ซ้อน จัดการเรียนการสอนโดยการบรรยาย ฉายภาพยนตร์เกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับการกรณีความผิดท่ี กระทาเกี่ยวกับผลประโยชนท์ บั ซ้อน และศกึ ษากรณีตัวอย่างของปัญหาท่เี กิดขน้ึ ในวดี ีทศั น์ ๒. นกั เรยี นศึกษาใบความรเู้ รือ่ งผลประโยชน์ทบั ซอ้ น (conflict of interest) (ชมุ ชน สงั คม) 3. ครูอธิบายพร้อมทั้งเช่ือมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงความรู้เกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนว่า ผลประโยชน์ทับซ้อนคืออะไร มีลักษณะการกระทาใดเป็นการกระทาที่เป็นผลประโยชน์ทับซ้อน รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อนเป็นอย่างไร ประเภทและรูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อนเป็น อยา่ งไร การรับผลประโยชน์ / ผลประโยชน์ทับซ้อน กิจกรรมท่ีมีความเสี่ยงต่อการมีผลประโยชน์ทับ ซอ้ น แนวทางการปอ้ งกนั ปญั หาผลประโยชน์ทับซ้อน ขัน้ ท่ี ๒ สารวจคน้ หา 1. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5-7 คน ตามความสมัครใจนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง เกีย่ วกับผลประโยชน์ทับซอ้ นวา่ ผลประโยชน์ทับซอ้ นคอื อะไร มีลักษณะการกระทาใดเป็นการกระทา ที่เป็นผลประโยชน์ทับซ้อน รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อนเป็นอย่างไร ประเภทและรูปแบบของ ผลประโยชนท์ ับซอ้ นเป็นอยา่ งไร การรับผลประโยชน์/ผลประโยชนท์ บั ซ้อน กจิ กรรมที่มีความเส่ียงต่อ การมผี ลประโยชน์ทับซอ้ น แนวทางการป้องกนั ปญั หาผลประโยชนท์ บั ซ้อนจากใบความรู้และ หนังสือ ค้นคว้าเพ่ิมเติมจากห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ อินเตอร์เน็ต แล้วนาความรู้ที่ได้จาก การศกึ ษามาอภิปรายในช้ันเรียนร่วมกัน 2. นกั เรยี นตอบคาถามจากการดูวีดที ศั น์ ขั้นท่ี 3 อธบิ ายความรู้ 1. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาเร่ือง ผลประโยชน์ทับซ้อน (ชุมชน สังคม) มา อธบิ ายใหส้ มาชกิ คนอน่ื ๆ ภายในกลมุ่ ฟัง ในประเด็นตอ่ ไปน้ี ๑) ความหมายและประเภทของการขดั กันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม ๒) รูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น
- 76 - ๓) การกระทาท่ีอยใู่ นขา่ ยของผลประโยชนท์ ับซ้อน ๔) ประเภทของผลประโยชน์ทับซอ้ น ๕) รปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซ้อน ๖) การรบั ผลประโยชน์ ๗) กจิ กรรมทมี่ คี วามเส่ยี งต่อการมผี ลประโยชน์ทับซ้อน ๗) แนวทางการปอ้ งกนั ปญั หาผลประโยชนท์ บั ซอ้ น 2. นกั เรยี นตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ 1. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ ๑ เรื่อง ความหมายและประเภทของการขัดกันระหว่าง ประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม(Conflict of interest) 2.สมาชกิ ในกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ ๒ เรอื่ งผลประโยชน์ทบั ซ้อน ๓. สมาชิกในกลมุ่ รว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมทงั้ ปรับปรุงแกไ้ ขคาตอบในใบงานท่ี 1-2 ๔. นักเรยี นตอบคาถามจากใบงานท่ี1และใบงานท่ี2 ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล 1. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานที่ ที่ 1-๒โดยให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเป็นผู้ ตรวจสอบความถูกต้อง 2. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มหาข่าวเกี่ยวกับบุคคลท่ีมีการกระทาที่สอดคล้องกับการปฏิบัติ ตนตามสทิ ธิและเสรภี าพของประชาชนชาวไทยผลประโยชน์ส่วนรวมและผลประโยชน์ส่วนตนและคน ท่เี ห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ ประโยชน์ส่วนตน 4.2 สอื่ การเรยี นรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ 1) เอกสารประกอบคาบรรยาย(ppt) ๒) รู้ทันการโกง ตอนผลประโยชน์ทบั ซอ้ น ภัยเงยี บทาลายชาติ/สถาบนั พระปกเกล้า ๓) Paoboonjin (รับทรัพย์สนิ +เป็นคู่สัญญา) ๔) นมิ นต์ยมิ้ เดลี่ คนดไี มค่ อร์รัปชัน ตอน ทาบุญบูรณะ วดั /https://www.youtube.com/watch?v=wv69Dr4DyiUจาก สนง.ปปช. ๕) นิมนตย์ ้ิมเดลี่ คนดีไมค่ อรร์ ปั ชนั ตอน แป๊ะเจีย้ ตอน สง่ เสริมลกู นอ้ ง ๖) UNDP Thailand Anti–CorruptionAnimation คอรปั ชน่ั ฉนั ไมข่ อรบั / UNDP ๗) เร่ือง การไม่ยอมรบั และการจัดการการทจุ รติ /TI ฮังการี 5. การประเมินผลการเรยี นรู้ 5.1 วธิ กี ารประเมิน ๑) ตรวจใบงาน ที่ 1-๒ 2) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล ๕.๒ เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการประเมนิ ๑) แบบประเมนิ ใบงานท่ี 1-๒ 2) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล
- 77 - 5.3 เกณฑก์ ารตัดสิน ๑) ตรวจใบงานที่ 1-๒ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ๒) ตรวจแบบบันทกึ การอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๓) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๔) สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ๕) สงั เกตความมีวินยั ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่นั ในการทางาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 6. บันทกึ หลงั สอน ............................................................................................................................. ............................ ................................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. .................................................................... ......................... ลงช่อื ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................) 7. ภาคผนวก - ใบความรู้ - ใบงาน - แบบสังเกต - แบบประเมนิ ผลงาน
- 78 - ใบงานที่ ๑ เร่ือง ความหมายและประเภทของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of interest) คาช้ีแจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อความต่อไปน้ีแล้วตอบคาถามโดยศึกษาหาคาตอบจากใบความรู้แล้ว ใหน้ กั เรียนนามาเขียนเปน็ แผนผังความคดิ (Mind Mapping) 1. ความหมาย และรปู แบบของการขดั กันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชนส์ ่วนรวม (Mind Mapping)
- 79 - ใบงานท่ี ๒ เรื่องผลประโยชน์ทบั ซ้อน คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนวิเคราะห์ขอ้ ความต่อไปนี้แลว้ ตอบคาถามโดยศึกษาหาคาตอบจากใบความรู้ ๑. ประเภทและรปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซ้อนเปน็ อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นมีความหมายวา่ อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การกระทาที่อยู่ในข่ายของผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมีลกั ษณะอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. การรบั ผลประโยชนแ์ ละกิจกรรมท่มี ีความเสีย่ งต่อการมีผลประโยชนท์ บั ซ้อนมีอะไรบ้างจง ยกตวั อยา่ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. แนวทางการป้องกันปัญหาผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมีอะไรบ้าง จงยกตัวอยา่ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- 80 - แบบสงั เกตพฤติกรรม “ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต” คาชแี้ จง ทาเคร่ืองหมาย ในชอ่ งทีต่ รงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมิน 2.ปฏิบตั ิตาม เลขท่ี ชื่อ - สกุล 1.ให้ข้อมลู ท่ี โดยคานึงถงึ 3.ปฏบิ ตั ิตน 4.ไมห่ า รวม ผลการประเมนิ ถกู ต้องและ ความถูกต้อง ต่อผู้อนื่ ดว้ ย ผลประโยชน์ คะแนน ผ่าน ไม่ผา่ น เป็นจรงิ ละอาย เกรง ความซือ่ สตั ย์ ในทางท่ีไม่ กลวั ตอ่ การ กระทาผิด ถกู ต้อง ๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐ (ลงชื่อ)...................................ครูผู้ประเมิน (…………………………………………………) ............../................./.............
- 81 - แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล กลมุ่ ที่…….......... คาชแ้ี จง ครสู อนสงั เกตการณ์ทางานของนักเรียน โดยทาเคร่ืองหมายถูกลงในชอ่ งท่ตี รงกับความเป็นจริง พฤติกรรม ความสนใจ การมีส่วน การรบั ฟงั การตอบ ความรบั ผดิ รวม ในการเรยี น ร่วมแสดง ความคดิ คาถาม ชอบต่องาน คะแน เลขที่ ความคดิ เห็นของผู้ ท่ีไดร้ ับมอบ 1 210 เห็นในการ 210 น 2 อภิปราย อน่ื หมาย 3 10 4 210 210 210 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การประเมนิ ให้คะแนน 0-4 ถา้ การทางานน้นั อยู่ในระดบั ตอ้ งปรับปรงุ ใหค้ ะแนน 5-7 ถา้ การทางานน้นั อย่ใู นระดับพอใช้ ให้คะแนน 8-10 ถา้ การทางานน้นั อยูใ่ นระดับดี ลงช่อื …………………………………………………… (…………………………………………………..) ผู้ประเมนิ
- 82 - ใบความรู้ที่ ๑ ความหมายและประเภทของการขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกบั ประโยชน์ส่วนรวม ผลประโยชนม์ ี ๒ อย่าง คือ ประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม ถ้าเราจะคิดถึงประโยชน์เพียงแง่ เดียว คือ ประโยชน์ของเราส่วนตัว ต่างคนต่างก็ต้องการประโยชน์ส่วนตัว แล้วจะเป็นประโยชน์ส่วนรวมได้ อย่างไร เพราะฉะน้ันประโยชน์ของส่วนตัวกับประโยชน์ของส่วนรวมก็จะต้องสอดคล้องกัน คือ ประโยชน์ ของเราก็จะต้องเกี่ยวข้องกับประโยชน์ของคนอื่นด้วย ไม่ใช่ว่าเราได้ประโยชน์แล้วคนอื่นเสียประโยชน์ แล้ว ประโยชน์สว่ นรวมเสยี ไป แล้วจะทาใหเ้ รานนั้ ได้ประโยชน์อยูค่ นเดียวนั้น เป็นสง่ิ ทีเ่ ปน็ ไปไม่ได้ เพราะฉะนั้นประโยชน์ท่ีแท้จริง คือ ประโยชน์ส่วนรวมก็ต้องมาจากประโยชน์ส่วนตัวของแต่ละคน ด้วย ถ้าแต่ละคนได้รับประโยชน์ส่วนตัวหมดทุกคน ก็ทาให้ส่วนรวมได้รับประโยชน์นั้นด้วย ถ้าประโยชน์ สว่ นตัวนัน้ เปน็ ไปเพื่อประโยชนส์ ว่ นรวม เพราะฉะน้นั ก่อนอน่ื ต้องเขา้ ใจว่า ประโยชนข์ องเราสว่ นตวั ทาให้สว่ นรวมได้ประโยชน์หรือเปล่า หรือ ถ้าประโยชน์ส่วนตัวของเรานั้น ไม่ทาให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวมเลย อันน้ันก็ไม่มีทางสาเร็จได้ แต่ถ้า ประโยชน์ของเราซึ่งเป็นส่วนตัว เป็นประโยชน์ของส่วนรวมด้วย ต่างคนต่างช่วยกัน ทาให้ได้ทั้งประโยชน์ สว่ นรวมและประโยชน์ส่วนตวั ด้วย อนั นน้ั กจ็ ะได้ประโยชนท์ ัง้ ๒ ฝา่ ย แต่ก่อนที่จะถึงข้ันนี้ได้ ก็จะต้องมีความขัดแย้งหรือมีปัญหา เพราะว่าคนเราคิดไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้นก่อนอื่นก็จะต้องเร่ิมด้วย มีความจริงใจต่อประโยชน์ส่วนรวม เมื่อมีความจริงใจต่อประโยชน์ ส่วนรวม ก็รบั ฟงั ความเหน็ ของคนอ่ืน ไม่ใช่ความเห็นของตนเองเท่าน้ัน เพ่ือประโยชนส์ ่วนรวมจรงิ ๆ ใบความรู้ที่ ๒ เรือ่ งผลประโยชน์ทบั ซอ้ น (Conflict Of Interests) ประโยชน์ทับซ้อน หรือความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of interest : COI) เปน็ ประเดน็ ปญั หาทางการบรหิ ารภาครฐั ในปัจจุบนั ที่เป็นบ่อเกิดของปัญหาการ ทุจริตประพฤติ มชิ อบในระดับท่รี นุ แรงขึน้ และยงั สะท้อนปัญหาการขาดหลกั ธรรมาภิบาลและเป็นอุปสรรคต่อ การพัฒนาประเทศ ประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการพลเรือน ได้กาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของข้าราชการใน การป้องกันปัญหา ผลประโยชน์ทับซ้อนในการปฏิบัติราชการหลายประการ ดังปรากฏในหมวด ๒ ข้อ ๓ (๓) ข้อ ๕(๑),(๒),(๓),(๔) ข้อ ๖(๑),(๒),(๓) ขอ้ ๗(๔),(๕) ข้อ ๘(๕) ข้อ ๙(๑) เป็นต้น ความหมาย : สานักงาน ก.พ. สถานการณ์หรือการกระทาของบุคคล (ไม่ว่าจะเป็นนักการเมืองข้าราชการ พนักงานบริษัท ผู้บริหาร) มี ผลประโยชนส์ ว่ นตนเขา้ มาเกยี่ วขอ้ ง จนสง่ ผลกระทบต่อการตัดสินใจหรือการปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่งนั้น การ กระทาดังกล่าวอาจเกิดขึ้นโดยรู้ตัวหรือไมร่ ู้ตัว ทัง้ เจตนาหรือไม่เจตนาหรือบางเร่ืองเป็นการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนไม่เห็นว่าจะเป็นสิ่งผิดแต่อย่างใดพฤติกรรมเหล่านี้เป็นการกระทาความผิดทางจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีของ รัฐ ท่ีต้องคานึงถึงผลประโยชน์สาธารณะ (ประโยชน์ของส่วนรวม) แต่กลับตัดสินใจปฏิบัติหน้าที่โดยคานึงถึง ประโยชน์ ของตนเองหรือพวกพ้อง มูลเหตุปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน ปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนเกิดจาก การพัฒนาการทางการเมืองไทยเปลี่ยนไป จากเดิมที่นักการเมืองและ นักธุรกิจเป็นบุคคลคนละกลุ่มกัน กล่าวคือในอดีต นักธุรกิจต้องพึ่งพิงนักการเมือง เพ่ือให้นักการเมืองช่วยเหลือ สนับสนุนธุรกิจของตน ซ่ึงใน บางคร้งั สิง่ ทีน่ กั ธุรกจิ ต้องการนัน้ มิไดร้ ับการตอบสนองจากนักการเมืองทุกคร้ังเสมอไป นักธุรกิจก็ต้องจ่ายเงิน จานวนมากแกน่ กั การเมือง ในปจั จบุ นั นกั ธุรกิจจึงใชว้ ธิ กี ารเข้ามาเลน่ การเมืองเองเพ่ือให้ตนเอง สามารถเข้ามา เป็นผู้กาหนดนโยบายและออกกฎเกณฑ์ต่างๆ ในสังคมได้ และที่สาคัญคือทาให้ข้าราชการต่างๆ ต้องปฏิบัติ ตามคาสัง่
- 83 - ผลประโยชน์ทับซ้อน ภาษาไทยใช้อยู่ ๓ อย่าง ๑. ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. ผลประโยชน์ทับซอ้ น ๓. ผลประโยชนข์ ัดกนั นิยามศัพทแ์ ละแนวคดิ สาคัญ ผลประโยชน์สว่ นตน (private interest) “ผลประโยชน์” คือ ส่ิงใดๆ ท่ี มีผลต่อบุคคล/กลุ่ม ไม่ว่าในทางบวกหรือลบ “ผลประโยชน์ส่วนตน” ไม่ได้ครอบคลุมเพียงผลประโยชน์ด้าน การงานหรือธุรกิจของเจา้ หน้าท่ี แต่รวมถึงคนท่ีตดิ ตอ่ สมั พนั ธ์ด้วย เช่น เพื่อน ญาติคู่แขง่ ศัตรูเม่ือใดเจ้าหน้าที่ ประสงค์จะให้คนเหลา่ น้ไี ด้หรอื เสยี ประโยชน์ เมอ่ื น้นั ก็ถือ วา่ มเี รอ่ื งผลประโยชนส์ ่วนตนมาเกย่ี วขอ้ ง ผลประโยชน์ส่วนตน มี๒ ประเภท คือ ท่ีเกี่ยวกับเงิน (pecuniary) และที่ไม่เก่ียวกับเงิน (non- pecuniary) ๑. ผลประโยชน์ส่วนตนที่เกี่ยวกับเงิน ไม่ได้เกี่ยวกับการได้มาซ่ึงเงินทองเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวกับการเพิ่มพูน ประโยชน์หรือปกป้องการสูญเสียของสิ่งท่ีมีอยู่แล้ว เช่น ที่ดิน หุ้น ตาแหน่งในบริษัทท่ีรับงานจากหน่วยงาน รวมถงึ การได้มาซ่ึงผลประโยชน์อื่นๆ ท่ีไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน เช่น สัมปทาน ส่วนลดของขวัญ หรือของท่ีแสดง น้าใจไมตรอี ื่นๆ ๒. ผลประโยชน์ที่ไม่เก่ียวกับเงิน เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ครอบครัว หรือกิจกรรมทางสังคม วฒั นธรรมอน่ื ๆ เช่น สถาบันการศึกษา สมาคม ลัทธแิ นวคดิ มกั อยู่ในรูปความลาเอียง/อคติ/เลือกที่รักมักท่ีชัง และ มีข้อสงั เกตว่าแม้แตค่ วามเช่อื /ความคิดเห็นสว่ นตัวก็จัดอยใู่ นประเภทนี้ • หน้าที่สาธารณะ (public duty) หน้าที่สาธารณะของผู้ท่ีทางานให้ภาครัฐคือ การให้ความสาคัญอันดับต้นแก่ ประโยชน์สาธารณะ (public interest) คนเหล่านี้ไม่จากัดเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐทั้งระดับท้องถ่ินและระดับประเทศ เท่านั้น แต่ยังรวมถึง คนอื่น ๆ ท่ีทางานให้ภาครัฐ เช่น ที่ปรึกษา อาสาสมัคร • ผลประโยชน์สาธารณะ คือประโยชน์ของชุมชน โดยรวม ไม่ใช่ผลรวมของผลประโยชน์ของปัจเจกบุคคล และไม่ใช่ ผลประโยชน์ของกลุ่มคน การระบุ ผลประโยชน์สาธารณะไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ในเบ้ืองต้นเจ้าหน้าที่ภาครัฐสามารถให้ ความสาคัญอันดับต้นแก่สิ่งน้ี โดย - ทางานตามหน้าท่อี ยา่ งเตม็ ทีแ่ ละมปี ระสิทธิภาพ - ทางานตามหน้าทีต่ ามกรอบและมาตรฐานทางจรยิ ธรรม - ระบผุ ลประโยชนท์ บั ซอ้ นท่ีตนเองมหี รอื อาจจะมีและจดั การอย่างมีประสิทธิภาพ - ให้ความสาคัญอันดับต้นแก่ผลประโยชน์สาธารณะ มีความคาดหวังว่าเจ้าหน้าท่ีต้องจากัดขอบเขตที่ ประโยชนส์ ว่ นตนจะมามผี ลตอ่ ความเป็นกลางในการทาหน้าที่ - หลกี เลี่ยงการตดั สินใจหรือการทาหนา้ ทที่ ี่มีผลประโยชน์ทับซ้อน - หลกี เล่ยี งการกระทา/กิจกรรมสว่ นตนที่อาจทาใหค้ นเห็นวา่ ไดป้ ระโยชน์จากขอ้ มูลภายใน - หลกี เล่ยี งการใชต้ าแหน่งหน้าที่หรือทรัพยากรของหนว่ ยงานเพอ่ื ประโยชน์สว่ นตน - ป้องกนั ขอ้ ครหาวา่ ได้รับผลประโยชนท์ ่ีไมส่ มควรจากการใชอ้ านาจหนา้ ที่ - ไม่ใช้ประโยชน์จากตาแหนง่ หรอื ขอ้ มลู ภายในที่ไดข้ ณะอยใู่ นตาแหน่ง ขณะทไ่ี ปหาตาแหน่งงานใหม่ . • ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interests) องค์กรสากล คือ Organization for Economic Cooperation and Development (OECD) นิยามว่าเป็นความทับซ้อนระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ทบั ซ้อน มี ๓ ประเภท คอื ๑. ผลประโยชนท์ ับซอ้ นทเ่ี กิดขึ้นจรงิ (actual) มคี วามทับซ้อนระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตนและสาธารณะเกิดข้ึน ๒. ผลประโยชน์ทับซ้อนที่เห็น (perceived & apparent) เป็นผลประโยชน์ทับ ซอ้ นทีค่ นเหน็ ว่ามแี ต่จรงิ ๆ อาจไม่มกี ็ได้ถา้ จดั การผลประโยชน์ทับซ้อนประเภทน้ีอย่างขาดประสิทธิภาพ ก็อาจ นามาซึ่งผลเสียไม่น้อยกว่าการ จัดการผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีเกิดขึ้นจริง ข้อนี้แสดงว่าเจ้าหน้าที่ไม่เพียงแต่
- 84 - จะต้องประพฤติตนอย่างมีจริยธรรม เท่าน้ัน แต่ต้องทาให้คนอื่น ๆ รับรู้และเห็นด้วยว่าไม่ได้รับประโยชน์ เชน่ นั้นจริง ๓. ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นทเ่ี ปน็ ไปได้ (potential) ผลประโยชน์สว่ นตนที่มีในปัจจุบันอาจจะทับซ้อน กบั ผลประโยชนส์ าธารณะได้ในอนาคต • หนา้ ทที่ บั ซ้อน (conflict of duty) หรือผลประโยชนเ์ บยี ดซ้อนกัน (competing interests) มี๒ ประเภท ๑. ประเภทแรก เกิดจากการท่ีเจ้าหน้าที่มีบทบาทหน้าท่ีมากกว่าหน่ึง เช่น เป็น เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานและ เป็นคณะกรรมการด้านระเบียบวินัยประจาหน่วยงานด้วย ปัญหาจะเกิดเม่ือไม่ สามารถแยกแยะบทบาทหน้าที่ทั้งสอง ออกจากกันได้อาจทาให้ทางานไม่มีประสิทธิภาพ หรือแม้กระทั่งเกิด ความผิดพลาดหรอื ผิดกฎหมาย ปกตหิ น่วยงาน มกั มีกลไกป้องกันปัญหานี้โดยแยกแยะบทบาทหน้าท่ีต่างๆ ให้ ชัดเจน แต่ก็ยังมีปัญหาได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน หน่วยงานที่มีกาลังคนน้อยหรือมีเจ้าหน้าท่ีบางคนเท่านั้นที่ สามารถทางานบางอย่างที่คนอ่ืนๆ ท าไม่ได้คนส่วนใหญ่ ไม่ค่อยห่วงปัญหานี้กันเพราะดูเหมือนไม่มีเร่ือง ผลประโยชน์ส่วนตนมาเกย่ี วข้อง ๒. ประเภทท่ีสอง เกิดจากการท่ีเจ้าหน้าที่มีบทบาทหน้าที่มากกว่าหนึ่งบทบาท และการทาบทบาท หน้าท่ี ในหน่วยงานหนึ่งนั้น ทาให้ได้ข้อมูลภายในบางอย่างที่อาจนามาใช้เป็นประโยชน์แก่การทาบทบาท หน้าที่ให้แก่ อีกหน่วยงานหน่ึงได้ผลเสียคือ ถ้านาข้อมูลมาใช้ก็อาจเกิดการประพฤติมิชอบหรือความลาเอียง/ อคติต่อคนบางกลุ่ม ควรถือว่าหน้าที่ทับซ้อนเป็นปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนด้วย เพราะว่ามีหลักการจัดการ แบบเดียวกัน น่ันคือ การตัดสินใจทาหน้าท่ีต้องเป็นกลางและกลไกการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนก็สามารถ นามาจัดการกับหน้าที่ทับซ้อนได้ ความหมายและประเภทของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับ ประโยชน์ส่วนรวม ความขัดแย้ง (Conflict) สถานการณ์ท่ีขัดกัน ไม่ลงรอยเป็นเหตุการณ์อันเกิดข้ึนเม่ือบุคคล ไม่สามารถตัดสินใจ กระทาอย่างใดอย่างหน่ึง ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นได้จากความไม่ลงรอยกันในเรื่อง ความคิด แนวทางปฏิบัติ หรือ ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ส่วนตน (Private Interests) เป็นผลตอบแทนที่ บุคคลได้รับ โดยเห็นว่ามีคุณค่าที่จะสนองตอบความ ต้องการของตนเองหรือของกลุ่มท่ีตนเองเกี่ยวข้อง ผลประโยชน์เป็นสิ่งจูงใจให้คนเรามีพฤติกรรมต่างๆ เพ่ือสนอง ความต้องการท้ังหลาย (เพ็ญศรี วายวานนท์ ,2527:154) ผลประโยชน์ส่วนรวมหรือผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interests) หมายถึง ส่ิงใดก็ตามที่ให้ ประโยชน์สุขแกบ่ คุ คลทง้ั หลายในสงั คม ผลประโยชน์สาธารณะ ยังหมายรวมถึงหลัก ประโยชน์ต่อมวลสมาชิก ในสงั คม ความขดั แย้งกันระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict Of Interests) เป็น สถานการณท์ ีบ่ ุคคลในฐานะพนกั งานหรือเจ้าหน้าทข่ี องรัฐ ใช้ตาแหน่งหรืออานาจหน้าท่ีในการแสวงประโยชน์ แก่ ตนเอง กลุ่มหรือพวกพ้อง ซ่ึงเป็นการละเมิดทางจริยธรรม และส่งผลกระทบหรือความเสียหายต่อ ประโยชน์ สาธารณะ คาอ่ืนที่มีความหมายถึงความขัดแย้งกันแห่งผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม ได้แก่ การมีผลประโยชน์ ทับ ซ้อน ความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ของผู้ดารงตาแหน่งสาธารณะ และรวมถึงคอร์รัปช่ันเชิงนโยบาย คอรร์ ปั ชัน่ สีเทา ความหมายของ (Conflict Of Interests กบั Corruption) - Conflict of Interests เป็นรปู แบบหนง่ึ ของ Corruption แต่ระดบั หรือขนาด และขอบเขต ตา่ งกัน - Conflict of Interests นาไปสู่ Corruption ทรี่ ุนแรงขน้ึ - Conflict of Interests เกี่ยวกบั การใชอ้ านาจที่เป็นทางการ เชื่อมโยงกบั กฎหมาย ระเบียบการปฏิบัติ และ ส่วนที่ไม่เป็นทางการ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ขยายไปถึงเรื่องครอบครัว ต้องพิจารณา ความสัมพันธ์ เช่น คสู่ มรส และคนในเครือญาติ รปู แบบ (Conflict Of Interests) การรบั ผลประโยชน์ (Accepting Benefits) ไดแ้ ก่
- 85 - - การรบั ของขวญั หรือของกานัลท่มี คี ่าอ่ืนๆ ซึง่ สง่ ผลตอ่ การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี - การทบ่ี ริษทั สนบั สนุนการเดนิ ทางไปประชุม/ดูงานในตา่ งประเทศ ของผ้บู รหิ ารและอาจรวมถึงครอบครวั - การท่หี น่วยงานราชการรับเงินบริจาคสรา้ งสานกั งานจากบรษิ ทั ธุรกิจทีต่ ดิ ตอ่ กับหน่วยงาน - เจ้าหน้าทข่ี องรฐั รบั ของแถมหรือผลประโยชนใ์ นการปฏิบัตงิ านทเี่ ก่ียวกับการจัดซอื้ จัดจ้าง - การท่บี คุ คลปฏบิ ตั หิ นา้ ทเี่ อาผลประโยชนส์ ว่ นตวั ไปพวั พันในการตัดสินใจ เพื่อเอ้ือประโยชน์ต่อตนเอง และ เป็นการเสียประโยชน์ของทางการ การกระทาท่ีอยู่ในข่าย Conflict of Interests ความหมาย รับผลประโยชน์ (Accepting Benefits) คือ การรับสินบนหรือรับของขวัญ เช่น เป็นเจ้าพนักงานสรรพากร แล้วรับเงินจากผู้มา เสียภาษี หรือเป็น เจ้าหน้าที่จัดซื้อแล้วไปรับไม้กอล์ฟจากร้านค้า เป็นต้น ใช้อิทธิพล (Influence Peddling) เป็นการเรียก ผลตอบแทนในการใช้อทิ ธพิ ลในตาแหน่งหน้าทเี่ พ่ือสง่ ผลท่ี เปน็ คณุ แกฝ่ า่ ยใด ฝา่ ยหนงึ่ อยา่ งไมเ่ ปน็ ธรรม - ใช้ทรัพย์สินของนายจ้างเพื่อประโยชน์ส่วนตน (Using employer’s property for private advantage) ไดแ้ ก่ การใชร้ ถราชการ หรอื ใชค้ อมพิวเตอรข์ องราชการทางานสว่ นตวั เปน็ ตน้ - ใชข้ อ้ มลู ลับของราชการ (Using confidential information) เช่น รู้ว่าราชการจะตัดถนน แล้วรีบชิงไปซื้อ ที่ ดกั หน้าไวก้ อ่ น - รับงานนอก (Outside employment or moonlighting) ได้แก่ การเปิดบริษัทหากินซ้อนบริษัทที่ตนเอง ทางาน เช่น เป็นพนักงานขายแอบเอาสินค้าตัวเองมาขายแข่ง หรือเช่นนักบัญชีท่ีรับงานส่วนตัวจนไม่มีเวลา ทางานบัญชใี นหนา้ ท่ีให้ราชการ - ทางานหลังออกจากตาแหน่ง (Post Employment) เป็นการไปทางานให้ผู้อื่นหลังออกจากงานเดิม โดยใช้ ความรู้หรืออิทธิพลท่ีเดิมมาชิงงาน หรือเอาประโยชน์โดยไม่ชอบธรรม เช่น เอาความรู้ในนโยบาย และ แผน ของธนาคารชาติไปชว่ ยธนาคารเอกชนหลังเกษยี ณ ผลประโยชน์ทับซอ้ น (conflict of interest) ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือการขัดกันของผลประโยชน์ (conflict of interest) คือ สถานการณ์ท่ี บุคคลผู้ดารงตาแหน่งอันเป็นที่ไว้วางใจ ( เช่น ทนายความ นักการเมือง ผู้บริหาร หรือ ผู้อานวยการของ บรษิ ัทเอกชน หรือ หน่วยงานรัฐ) เกิดความขดั แยง้ ขึ้นระหว่างผลประโยชน์ สว่ นตัวกับผลประโยชน์ทางวิชาชีพ (professional interests) อันสง่ ผลให้ เกิดปัญหาท่ีเขาไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเป็นกลาง / ไม่ลาเอียง ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นทเ่ี กิดขน้ึ อาจส่งผลให้เกิดความไม่ไว้วางใจที่มีต่อบุคคลผู้นั้น ว่าเขาจะสามารถปฏิบัติงาน ตามตาแหน่งให้อยู่ในครรลองของคุณธรรมจรยิ ธรรมได้มากน้อยเพยี งใด ภาษาไทยใช้อยู่ 3 อยา่ ง คอื 1. ความขดั แยง้ กนั ระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. ผลประโยชนท์ ับซอ้ น 3. ผลประโยชนข์ ัดกัน ผลประโยชน์ทับซ้อน ความหมายของ สานักงาน ก.พ. สถานการณ์หรือการกระทาของบุคคล (ไม่ ว่าจะเป็นนักการเมือง ข้าราชการ พนักงานบริษัท ผู้บริหาร) มีผลประโยชน์ ส่วนตนเข้ามาเกี่ยวข้อง จนส่งผล กระทบต่อการตัดสนิ ใจหรอื การปฏิบัติหนา้ ท่ใี นตาแหน่งนนั้ การกระทา ดงั กลา่ วอาจเกิดขึ้นโดยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว ท้ังเจตนาหรือไม่เจตนา หรือ บางเร่ือง เป็นการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนไม่เห็นว่าจะเป็นสิ่งผิดแต่อย่างใด พฤติกรรมเหล่าน้ีเป็นการกระทาความผิดทางจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีรัฐที่ต้องคานึงถึงผลประโยชน์สาธารณะ (ประโยชน์ ของส่วนรวม) แต่กลับตดั สนิ ใจปฏิบตั หิ น้าท่โี ดยคานงึ ถงึ ประโยชน์ของตนเองหรือพวกพ้อง
- 86 - แนวคดิ ของวชิ าการ ให้ความหมายของผลประโยชน์ทับซ้อนไว้ 4 ประการ ดงั นี้ 1. ความหมายอย่างกว้างหมายรวมถึงการปฏิบัติงานตามตาแหน่งหน้าที่ที่รับผิดชอบอย่างต่อหน่วยงานหรือ องค์การหรือต่อส่วนรวมแต่ดาเนินการตัดสินใจปฏิบัติหน้าที่โดยคานึงถึงผลประโยชน์ของตนเอง ครอบครัว และเพื่อนฝงู 2.ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นสามารถเกิดข้ึนไดท้ ้ังในหน่วยงาน ภาครฐั องค์กรธุรกิจ สถาบนั การศึกษา องค์กร พัฒนาเอกชน และองค์กรวชิ าชีพตา่ งๆ โดยสมารถเกิดขึ้นได้ท้งั ในระดับนโยบายของชาติ หนว่ ยงานราชการ และองคก์ รในระดบั ทอ้ งถิ่น ดังนั้นผลประโยชน์ทบั ซอ้ นจึงมีมูลค่าความเสียหายต้ังแตไ่ มก่ ่ีร้อยบาทไปจนถงึ นบั หมืน่ ล้านบาท และในบางกรณีความเสยี มิไดป้ รากฏออกมาในรปู ของท่เี ป็นวัตถุโดย แต่ยังรวมถึงผลประโยชน์ มใิ ชว่ ตั ถอุ ีกดว้ ย 3. ผลประโยชนท์ บั ซ้อนมิไดจ้ ากัดเฉพาะผลประโยชน์ของ บคุ คลเท่านัน้ แต่ยงั รวมถงึ การมีอคติในการตัดสินใจ หรือดาเนินการอันมุ่งตอบสนองต่อผลประโยชน์ของหน่วยงานอีกหน่วยงานหนึ่งด้วย เช่น การที่บุคคลดารง ตาแหน่งซ้อนกันในสองหน่วยงาน อันก่อให้เกิดการทาบทบาทที่ขัดแย้งกัน และมีการใช้อานาจหน้าที่ของ หน่วยงานหนึ่งไปรับใชผ้ ลประโยชนข์ องอกี หนว่ ยงานหนงึ่ 4. “การฉ้อราษฎรบ์ งั หลวง”และ“การคอร์รัปชัน เชิงนโยบาย” (Policy Corruption) ต่างก็เป็น รูปแบบหน่ึง ของผลประโยชน์ทับซ้อน เน่ืองจากท้ังสอง รูปแบบต่างเป็นการใช้ตาแหนงหน้าท่ีสาหรับมุ่งตอบสนอง ต่อ ผลประโยชน์สว่ นตัวและ/หรอื พรรคพวก สรุป ผลประโยชน์ส่วนตน กับ ผลประโยชน์ส่วนรวม ขัดกัน เจ้าหน้าท่ีของรัฐ มีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ ส่วนรวม การปฏบิ ตั หิ น้าทข่ี องเจา้ หนา้ ที่ จงึ ตอ้ งไม่มผี ลประโยชนส์ ว่ นตวั เขา้ มา เกยี่ วขอ้ ง 1. การใช้ตาแหนง่ ไปดาเนนิ การเพอื่ ประโยชน์ทางธรุ กจิ ของตนเองโดยตรง 2. ใช้ตาแหนง่ ไปช่วยเหลอื ญาตสิ นิทมติ รสหาย 3. การรบั ผลประโยชนโ์ ดยตรง 4. การแลกเปล่ยี นผลประโยชนโ์ ดยใช้ตาแหน่งหน้าท่กี ารงาน 5. การนาทรัพยส์ นิ ของหน่วยงานไปใชส้ วนตวั 6. การนาข้อมลู อนั เปน็ ความลบั ของหน่วยงานมาใชป้ ระโยชนส์ ่วนตัว 7. การทางานอีกแห่งหน่ึง ที่ขัดแยง้ กบั แห่งเดิม 8. ผลประโยชนท์ ับซ้อนจากการเปลี่ยนสถานทท่ี างาน 9. การปดิ บังความผิด มาตรการในการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตตามรัฐธรรมูนญ 1. มาตรการคดั สรรคนดีเขาสู่ตาแหนง่ ทางการเมือง 2. การกาหนดมาตรการป้องกนการทจุ ริตในตาแหนง่ 3. การเพ่ิมระบบและองค์การตรวจสอบการใชอ้ านาจ 4. การมสว่ นรวมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต การกาหนดมาตรการป้องกนั การทุจรติ ในตาแหนง่ - การมีประมวลจรยิ ธรรมและการหา้ มผลประโยชน์ขัดกนั - การใหแ้ สดงบัญชที รัพยแ์ ละหน้ีสนิ - การใชห้ ลักโปร่งใสในการใช้อานาจ
- 87 - แนวทางการปฏบิ ัตติ นของเจา้ หน้าท่ขี องรฐั (1) หลกั นติ ธิ รรม (2) หลกั คุณธรรม (3) หลักความโปรง่ ใส (4) หลักการมสี ว่ นรวม (5) หลักความรบั ผิดชอบ (6) หลกั ความคุ้มคา่
- 88 - แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๑ ช่ือหน่วย การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 เรอ่ื ง รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น (ชุมชน สังคม) เวลา ๑ ชั่วโมง 1. ผลการเรยี นรู้ 1.22มีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม 1.23สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ 1.24ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทจุ รติ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 นักเรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับรูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน 2.2 นักเรยี นสามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ 2.3 นักเรียนตระหนักและเห็นความสาคญั ของการต่อต้านและปอ้ งกันการทจุ รติ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือการขัดกันของผลประโยชน์ (conflict of interest) คือ สถานการณ์ท่ีบุคคลผู้ดารงตาแหน่งอันเป็นท่ีไว้วางใจ ( เช่น ทนายความ นักการเมือง ผู้บริหาร หรือ ผู้อานวยการของบริษัทเอกชน หรือ หน่วยงานรัฐ) เกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างผลประโยชน์ ส่วนตัว กับผลประโยชนท์ างวิชาชพี (professional interests) อนั ส่งผลให้ เกิดปัญหาที่เขาไม่สามารถปฏิบัติ หนา้ ท่ไี ดอ้ ย่างเป็นกลาง / ไมล่ าเอียงผลประโยชนท์ ับซอ้ นทเี่ กิดขึน้ อาจส่งผลให้เกิดความไม่ไว้วางใจที่ มีต่อบุคคลผู้นั้น ว่าเขาจะสามารถปฏิบัติงานตามตาแหน่งให้อยู่ในครรลองของคุณธรรมจริยธรรมได้ มากนอ้ ยเพยี งใด ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม (Conflict of interest : COI) เปน็ ประเด็นปญั หาทางการบริหารภาครัฐในปัจจุบันที่เป็นบ่อ เกิดของปัญหาการทุจริตประพฤติ มิชอบในระดับที่รุนแรงข้ึน และยังสะท้อนปัญหาการขาดหลักธรร มาภบิ าลและเปน็ อปุ สรรคตอ่ การพัฒนาประเทศ 1ประเภทของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น 2) ตวั อย่างประโยชน์ทับซ้อน 3) รปู แบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อน ๔) การรับประโยชน์ตา่ งๆ ๕) แนวทางป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาผลประโยชนท์ บั ซ้อน 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด) 1) ความสามารถในการสอื่ สาร 1)ทกั ษะการวิเคราะห์ 2) ทกั ษะกระบวนการคิดตัดสนิ ใจ 3) ทกั ษะการนาความร้ไู ปใช้ 2) ความสามารถในการคิด (วเิ คราะห์ จัดกล่มุ สรปุ ) 3) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- 89 - 3.3 คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ / คา่ นยิ ม 1) ซือ่ สตั ย์ เสยี สละ อดทน มีจติ สาธารณะ มอี ดุ มการณ์ในสิง่ ท่ดี ีงามเพอ่ื สว่ นรวม 4. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.1 ขน้ั ตอนการเรียนรู้ วธิ ีสอนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขน้ั ท่ี ๑ กระตุ้นความสนใจ 1. ครนู าวีดีทศั น์ข่าวและสอ่ื การสอนประกอบคาบรรยาย (ppt) เกี่ยวกับรูปแบบของผลประโยชน์ทับ ซ้อนให้นักเรียนดูและช่วยกันวิเคราะห์ข่าวว่า การกระทาใดเป็นการกระทาเป็นลักษณะของ ผลประโยชนท์ บั ซ้อน รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อน และให้นักเรียนศึกษากรณีตัวอย่างของปัญหา ทเี่ กิดข้ึน 2.นักเรียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็นพร้อมอธิบายเหตุผล ครูร่วมอภิปรายว่ารูปแบบใดเป็นการใช้ อานาจหนา้ ทีท่ ่ีผิด 3. นกั เรยี นศกึ ษาใบความรู้เรือ่ งรปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซ้อน(ชมุ ชน สังคม) 4. ครอู ธบิ ายเกยี่ วกับรูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อนพร้อมท้ังเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงรูปแบบ ของผลประโยชนท์ บั ซอ้ นวา่ มลี ักษณะอย่างไร ขน้ั ที่ ๒ สารวจคน้ หา 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ตามความสมัครใจนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเรื่อง รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อนจากใบความรู้และหนังสือค้นคว้าเพิ่มเติมจากห้องสมุด และ แหล่งข้อมลู สารสนเทศ อินเตอรเ์ น็ต แล้วนาความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษามาอภปิ รายในชั้นเรยี นรว่ มกัน 2. นกั เรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ ขน้ั ที่ 3 อธิบายความรู้ 3.1 สมาชิกแต่ละกลุ่มนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาเร่ืองรูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน (ชุมชน สงั คม) มาอธิบายให้สมาชกิ คนอื่นๆ ภายในกล่มุ ฟัง ในประเดน็ ต่อไปน้ี 1)ประเภทของผลประโยชน์ทับซอ้ น 2) ตัวอยา่ งประโยชน์ทบั ซ้อน 3) รูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น ๔) การรบั ประโยชนต์ า่ งๆ ๕) แนวทางป้องกนั และแก้ไขปัญหาผลประโยชนท์ ับซอ้ น 2. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด ข้ันที่ 4 ขยายความเข้าใจ 1. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันทาใบงานเร่อื งรปู แบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน 2. สมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกันตรวจสอบความถกู ต้อง พรอ้ มทง้ั ปรบั ปรงุ แกไ้ ขคาตอบในใบงานทค่ี รแู จกให้ 3. นักเรียนตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ ข้ันที่ 5 ตรวจสอบผล 1. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงานโดยให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเป็นผู้ตรวจสอบความ ถูกต้อง 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มหาข่าวเกย่ี วกับบุคคลทีม่ กี ารกระทาที่แสดงถงึ การมีผลประโยชนท์ ับซอ้ น
- 90 - 4.2 สื่อการเรียนรู้ / แหลง่ การเรยี นรู้ 1) เอกสารประกอบคาบรรยาย(ppt) ๒) เรือ่ งMOST –The Bridge v.2 ไทย ๓) Paoboonjin (รบั ทรพั ยส์ นิ +เป็นคูส่ ัญญา) ๔) ข่าวตะลงึ เบญจมฯเมืองคอนข้ึนป้ายยกเลิกเด็กฝากเข้าเรยี น/ขา่ วจากเวบ็ DMCTODAY ๕) รู้ทันการโกง ตอนผลประโยชนท์ บั ซอ้ น ภัยเงยี บทาลายชาติ/สถาบันพระปกเกลา้ 5.การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วธิ ีการประเมนิ ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล ๕.๒ เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการประเมิน ๑) ใบงานเรื่องรูปแบบของผลประโยชน์ทับซอ้ น ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ 5.3 เกณฑ์การตดั สิน ๑) ตรวจใบงานรูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ๒) สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ๓) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 6.บนั ทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ............................ ...................................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. ................................................. ลงชือ่ ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................) 7. ภาคผนวก - ใบความรู้ เรอื่ ง รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อน - ใบงาน เรอ่ื ง รปู แบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น - แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานของผู้เรยี นรายบุคคล
- 91 - คาช้แี จง ใบงานเรือ่ งรูปแบบของผลประโยชนท์ บั ซ้อน ให้นกั เรียนวเิ คราะห์ข้อความต่อไปน้ีแล้วตอบคาถามโดยศึกษาหาคาตอบจากใบความรู้ 1)ประเภทของผลประโยชน์ทับซอ้ นมีก่ีประเภท อะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2)ให้นักเรยี นยกตวั อย่างประโยชนท์ บั ซอ้ นจากขา่ วและคลปิ วดี ีโอทนี่ ักเรียนคน้ คว้ามา ๑ ตวั อย่าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3) รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อนมีกร่ี ปู แบบอะไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔) การรับประโยชนต์ า่ งๆจากผลประโยชน์ทบั ซอ้ นมีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕) แนวทางปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมีอะไรบ้างจงยกตัวอย่าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- 92 - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม “ซ่ือสตั ย์สจุ รติ ” คาชแี้ จง ทาเครื่องหมาย ในชอ่ งที่ตรงกับความเป็นจริงตามเกณฑก์ ารประเมิน 2.ปฏบิ ัติตาม เลขท่ี ช่ือ - สกุล 1.ให้ข้อมลู ท่ี โดยคานึงถงึ 3.ปฏิบัติตน 4.ไมห่ า รวม ผลการประเมนิ ถูกต้องและ ความถูกต้อง ตอ่ ผ้อู ่นื ด้วย ผลประโยชน์ คะแนน ผ่าน ไมผ่ ่าน เปน็ จริง ละอาย เกรง ความซื่อสัตย์ ในทางที่ไม่ กลวั ตอ่ การ กระทาผดิ ถูกต้อง ๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐๓๒๑๐ (ลงชือ่ )...................................ครูผูป้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- 93 - แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล กลมุ่ ท่ี…….......... คาชแ้ี จง ครสู อนสังเกตการทางานของนกั เรียน โดยทาเคร่อื งหมายถูกลงในช่องทตี่ รงกับความเป็นจรงิ พฤติกรรม ความสนใจ การมสี ่วน การรับฟงั การตอบ ความรบั ผิด รวม ในการเรยี น รว่ มแสดง ความคดิ คาถาม ชอบต่องาน คะแนน เลขที่ ความคดิ เห็นของ ท่ไี ดร้ ับมอบ 1 210 เหน็ ในการ 210 10 2 อภิปราย ผู้อน่ื หมาย 3 4 210 210 210 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 หมายถึง แสดงพฤติกรรมอยา่ งชดั เจน ระดบั 1 หมายถงึ แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ระดับ 0 หมายถึง ไม่แสดงพฤติกรรม ลงชอ่ื …………………………………………………… (…………………………………………………..) ผู้ประเมนิ
- 94 - ใบความรู้ เรอ่ื ง รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน ประเภทของผลประโยชน์ทับซอ้ น - การใชต้ าแหนง่ ไปดาเนินการเพ่ือประโยชน์ทางธุรกิจของตนเองโดยตรง - ใชต้ าแหนง่ ไปช่วยเหลอื ญาติสนิทมิตรสหาย - การรบั ผลประโยชน์โดยตรง - การแลกเปล่ียนผลประโยชนโ์ ดยใช้ตาแหนง่ หนา้ ทกี่ ารงาน - การนาทรพั ย์สนิ ของหน่วยงานไปใชส้ ่วนตัว - การนาข้อมลู อันเปน็ ความลับของหน่วยงานมาใช้ประโยชนส์ ่วนตวั - การทางานอกี แหง่ หน่ึง ทข่ี ัดแยง้ กบั แห่งเดมิ - ผลประโยชนท์ ับซอ้ นจากการเปลยี่ นสถานทที่ างาน - การปดิ บงั ความผดิ ตัวอย่างประโยชน์ทบั ซ้อน - หาประโยชนใ์ ห้ตนเอง - รบั ประโยชนจ์ ากตาแหนง่ หน้าท่ี - ใชอ้ ทิ ธิพลเรยี กผลตอบแทน - ใช้ทรพั ย์สินของนายจา้ งเพือ่ ประโยชนข์ องตน - ใชข้ อ้ มูลความลบั เพอ่ื แสวงประโยชนข์ องตนเองและพวกพ้อง - รบั งานนอก แลว้ สง่ ผลเสียให้งานในหนา้ ท่ี - ทางานหลงั ออกจากตาแหน่งและเอ้อื ประโยชน์ตอ่ บริษัท - การให้ของขวญั ของกานลั เพือ่ หวังความกา้ วหน้า - ใหท้ ปิ พนกั งานโรงแรมเพอ่ื หวงั การบริการทดี่ ีกว่าลูกค้ารายอน่ื - ชว่ ยให้ญาตมิ ิตรทางานในหนว่ ยทตี่ นมีอานาจ - ชือ้ ขายตาแหน่ง จา่ ยผลประโยชน์ เพอ่ื ความเจรญิ ก้าวหน้าของตน รูปแบบของประโยชน์ทับซ้อน การรบั ผลประโยชน์ตา่ งๆ (Accepting Benefit) - การทาธรุ กิจกบั ตัวเอง (Self-dealing) หรอื การเปน็ คสู่ ัญญา - การทางานหลงั เกษียณ (Post-employment) - การทางานพเิ ศษ (Outside employment or moonlighting) - การใชข้ ้อมูลภายใน (Inside information) - การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตง้ั เพื่อประโยชน์ในทางการเมอื ง (Pork-barreling) การรบั ประโยชน์ตา่ งๆ - การรบั ของขวัญจากบริษัทต่างๆ - บรษิ ัทสนับสนุนค่าเดินทางไปดูงานตา่ งประเทศ - หนว่ ยราชการรับเงนิ บริจาคจากธรุ กจิ ทเ่ี ป็นลกู คา้ ของหน่วยงาน - ได้รบั ของแถมหรือผลประโยชน์อ่ืนใดจากการจัดชอ้ื จดั จ้าง - การทค่ี ณะกรรมการกเู้ งนิ จากสถาบนั การเงินในการกากบั ดูแล - การทค่ี ณะกรรมการฝากญาติพีน่ อ้ งหรือคนท่ีคุน้ เคยเขา้ ทางานในรฐั วสิ าหกจิ ท่ีตนกากบั ดแู ลอยู่
- 95 - ประโยชน์อันคานวณเป็นเงินได้ - การปลดหนีห้ รือการลดหนใ้ี ห้เปล่า - การให้ยมื โดยไม่คิดดอกเบย้ี - การเขา้ คา้ ประกนั โดยไม่คิดค่าธรรมเนยี ม - การใหค้ ่านายหนา้ หรอื คา่ ธรรมเนียมการเป็นตวั แทน - การขาย การให้เช่าชอื้ ทรพั ยส์ ิน เกนิ มลู ค่าทีเ่ ป็นจรงิ ตามท่ปี รากฏเหน็ ในทอ้ งตลาด - การใช้สถานที่ ยานพาหนะ หรือทรัพยส์ นิ โดยไมค่ ดิ คา่ เชา่ หรือค่าบรกิ ารน้อยกว่าท่คี ิดกบั บุคคลอื่น โดยปกติ ทางการค้า - การให้ใชบ้ รกิ ารโดยไมค่ ดิ ค่าบรกิ าร หรอื คิดค่าใช้บริการน้อยกว่าที่คิดกับบคุ คลอนื่ โดยปกติทางการค้า - การใหส้ ่วนลดในสินค้า หรือทรัพย์สินท่ีจาหน่าย โดยการให้ส่วนลดมากกว่าที่ให้กับบุคคลอื่น โดยปกติทาง การค้า - การให้เดินทาง หรือขนส่งบุคคล หรือสิ่งของโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรือคิดค่าใช้จ่ายน้อยกว่าบุคคลอ่ืน โดย ปกตทิ างการคา้ - การจัดเลี้ยง การจัดมหรสพ หรือการบันเทิงอ่ืน ให้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรือคิดค่าใช้จ่ายน้อยกว่าที่คิดกับ บุคคลอ่นื โดยปกตทิ างการคา้ ข้าราชการประจา กจิ กรรมทมี่ ีความเสีย่ ง - การรับผลประโยชน์หรือการเรียกร้องส่งิ ตอบแทนจากการปฏิบตั งิ านในหนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบ - การรับงานนอกหรอื การทาธรุ กจิ ท่ีเบียดบังเวลาราชการ/งานโดยรวมของหนว่ ยงาน - การทางานหลังเกษียณให้กับหน่วยงานท่ีมีผลประโยชน์ขัดกับหน่วยงานต้นสัง กัดเดิม - การนารถราชการไปใช้ในกิจธรุ ะสว่ นตวั และในหลายกรณีมกี ารเบกิ คา่ น้ามันดว้ ย - การนาบคุ ลากรของหน่วยงานไปใช้เพ่อื การสว่ นตัว - การรบั งานจากภายนอกจนกระทบต่อการปฏิบัตหิ นา้ ทปี่ ระจา - การใชส้ ทิ ธใิ นการเบกิ จ่ายยาใหแ้ กญ่ าตแิ ลว้ นายาไปใชท้ ่ีคลนิ ิคสว่ นตวั - การรับประโยชน์จากระบบการล็อกบัตรคิวให้แก่เจ้าหน้าท่ีหรือญาติเจ้าหน้าท่ีในหน่วยงานกลุ่มวิชาชีพท่ี เกีย่ วกับการ ตรวจสอบ ประเมนิ ราคาและการจัดซื้อจดั จ้าง - การกาหนดมาตรฐาน (Specification) ในสินค้าที่จะจัดซื้อจัดจ้างให้บริษัทของตนหรือของพวกพ้อง ไดเ้ ปรยี บหรือชนะในการประมลู - การใหข้ อ้ มลู การจัดซื้อจัดจา้ งแกพ่ รรคพวก/ญาติ เพ่ือแสวงหาผลประโยชน์ในการประมูลหรือการจ้าง เหมา รวมถึงการปกปิดข้อมูล เช่น การปิดประกาศหรือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารล่าช้าหรือพ้นกาหนดการ ยื่นใบเสนอ ราคา เป็นตน้ ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยาของ เจา้ หน้าท่ีของรฐั พ.ศ. ๒๕๔๓ (มาตรา ๑๐๓) ข้อ ๕ เจ้าหน้าทข่ี องรัฐจะรับทรพั ย์สนิ หรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาไดด้ ังต่อไปน้ี (๑) จากญาติ ซงึ่ ใหโ้ ดยเสนห่ าตามจานวนท่เี หมาะสมตามฐานานุรูป (๒) จากบุคคลอนื่ ราคาหรือมลู ค่าในการรับจากแต่ละบุคคล แต่ละโอกาสไม่เกินสามพันบาท การรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนท่ีมีมูลค่าเกินกว่า ๓,๐๐๐ บาทโดยมีความจาเป็นต้องรับเพื่อรักษาไมตรี มิตรภาพ ต้องแจ้ง ผ้บู รหิ ารสูงสดุ ของหนว่ ยงานโดยทันทีที่สามารถกระทาได้
- 96 - หากมีความจาเปน็ ตอ้ งรับเพราะเพ่อื รกั ษาไมตรี...จะทาอย่างไร แจง้ ผ้บู งั คบั บญั ชา ซงึ่ เปน็ หวั หนา้ ส่วนราชการ วินจิ ฉยั มเี หตผุ ล รบั ได้ - รับไว้ ไมเ่ หตคุ วรรับ - สง่ คนื สง่ คืนไมไ่ ด้ มอบให้สว่ นราชการ ระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรวี ่าด้วยการเร่ียไรของหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๒๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเร่ียไรของบุคคลหรือนิติบุคคลท่ีได้รับอนุญาตจาก คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วยการเรี่ยไรซึ่งมิใช่หน่วยงานของรัฐจะต้องไม่กระทาการ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ใช้หรือแสดงตาแหน่งหน้าที่ให้ปรากฏในการดาเนินการเรี่ยไรไม่ว่าจะเป็นการโฆษณาด้วยสิ่งพิมพ์ตาม กฎหมาย ว่าดว้ ยการพมิ พ์ หรอื สื่ออยา่ งอื่นหรอื ดว้ ยวธิ ีการอ่นื ใด (๒) ใช้ สั่ง ขอร้อง หรือบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือบุคคลใดช่วยทาการเรี่ยไรให้หรือกระทาในลักษณะให้ผู้ นั้นอยู่ ในภาวะจายอมไม่สามารถปฏิเสธ หรอื หลีกเลี่ยงท่ีจะไมช่ ่วยทาการเรี่ยไรไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม แนวทางป้องกันและแก้ไขปญั หาผลประโยชนท์ บั ซ้อน “ความขัดแย้ง ระหว่าง บทบาท” (Conflict of roles) หมายความว่า บุคคลดารงตาแหน่งท่ีมี บทบาทสองบทบาทขัดแย้งกัน เช่น นายสมชายเป็นกรรมการสอบ คัดเลือกบุคคลเข้าทางาน โดยท่ีบุตรสาว ของสมชายเป็นผู้สมัครสอบคนหนึ่งด้วย ซึ่งในกรณีน้ีถือว่าเกิด “การดารง ตาแหน่งอันหม่ินเหม่ต่อการเกิด ปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน” แต่ในกรณีนี้ถือว่ายังมิได้นาไปสู่การกระทาความผิดแต่ ประการใด (เช่น การ สอบคัดเลือกบุคคลยังมิได้เกิดขึ้นจริง หรือมีการสอบเกิดขึ้นแล้วแต่นายสมชายสามารถวางตัวเป็นกลาง มิได้ ช่วยเหลือ บุตรสาวของตนแต่ประการใด เป็นต้น) กระนั้นก็ตาม การดารงตาแหน่งอันหม่ินเหม่ต่อการเกิด ปญั หา ผลประโยชน์ทับซอ้ นดังกล่าว ถือเป็นสถานการณล์ ่อแหลม ท่ีอาจจงู ใจ/ชกั นาให้เกดิ การกระทา เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน จะต้องถอนตัวออกอย่างสมบูรณ์จากการเป็น ผู้มีส่วนในการตัดสินใจ งด แสดง ความคิดเห็น ละเว้นจากการให้คาปรึกษา และ งดออกเสียง (Recusal) เช่น ในกรณีที่สมชายเป็น กรรมการสอบคัดเลือกบุคลากร เข้าทางาน โดยมีบุตรสาวของตนสมัครเข้าร่วมสอบคัดเลือก ด้วยนั้น ซึ่งใน สถานการณ์ เชน่ นี้ สมชายจะตอ้ งลาออกจากการเปน็ กรรมการสอบคัดเลือก เพื่อเป็นการถอนตัว ออกจากการ เกย่ี วขอ้ งกับสถานการณ์อันหมิ่นเหมต่ ่อผลประโยชนท์ บั ซ้อนอยา่ งสงู เคลื่อนย้ายผลประโยชน์ส่วนตัวที่ทับซ้อนอยู่ให้ออกไป (Removal) เพ่ือให้ตนเองสามารถปฏิบัติ ภารกิจได้ โดยปราศจากอคติ วิธีการดังกล่าวน้ีเป็นการปิดช่องทางมิให้เอ้ืออานวยต่อการเกิดปัญหา ผลประโยชน์ทับซ้อน จึงเปน็ วธิ ีทีด่ ีที่สุดวธิ หี น่ึงในการจัดการกับผลประโยชน์ทับซ้อน เช่น จากกรณีตัวอย่างใน ขอ้ สอง สมชาย สามารถ แกป้ ญั หาผลประโยชน์ทับซ้อนได้ โดยการขอร้องให้บุตรสาวของตนถอนตัว ออกจาก การสอบ เพอื่ ให้สมชายสามารถ ปฏบิ ัติหน้าท่ีในฐานะกรรมการสอบคัดเลือก มาตรการในการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต ตามรฐั ธรรมนูญ - มาตรการคดั สรรคนดีเข้าสูต่ าแหนง่ ทางการเมือง - การกาหนดมาตรการป้องกนั การทจุ รติ ในตาแหน่ง - การเพม่ิ ระบบและองคก์ ารตรวจสอบการใชอ้ านาจ - การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ การกาหนดมาตรการป้องกันการทุจรติ ในตาแหน่ง - การมีประมวลจริยธรรมและการห้ามผลประโยชนท์ ับซ้อน - การแสดงบญั ชที รัพย์และหนส้ี ิน
- 97 - - การใช้หลกั โปร่งใสในการใช้อานาจ แนวทางการปฏบิ ตั ติ นของเจ้าหน้าที่ของรัฐ - หลักนิตธิ รรม - หลกั คณุ ธรรม - หลกั ความโปร่งใส - หลักการมสี ว่ นรว่ ม - หลกั ความรับผดิ ชอบ - หลักความคมุ้ คา่ หลกั ธรรมาภบิ าล และหลกั คณุ ธรรม จริยธรรมในการปฏิบัติงาน แนวทางการป้องกันและ ปราบปรามการ ทุจริต (ANTI CORRUPTION) หลกั ธรรมาภิบาลในการบรหิ ารองค์กร (Good Governance) หลกั คุณธรรม จรยิ ธรรม ในการปฏิบตั ิงาน การ ป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ธรรมาภิบาล จะมคี าวา่ integrity ค่านยิ มของข้าราชการ I am ready I = Integrity มีศกั ด์ิศรี (ยดึ ม่นั ในความถูกตอ้ ง สจุ ริต เทีย่ งธรรม) A = Activeness ขยันตง้ั ใจทางาน (บริการ/แก้ไขปญั หา ปชช) M = Morality มศี ีลธรรม คุณธรรม จรยิ ธรรม R = Relevance รทู้ ันโลก ปรบั ตัวทันโลก ตรงกับสังคม E = Efficiency มุ่งเนน้ ประสิทธิภาพ (คณุ ภาพ ดัชนี ประเมินผล) A = Accountability รับผิดชอบต่อผลงาน ประชาชน D = Democracy มใี จ/การกระทาเป็น ประชาธปิ ไตย (มสี ว่ นร่วม โปรง่ ใส) Y = Yield มีผลงาน มงุ่ เนน้ ผลงาน เพือ่ ประโยชน์สุข ของประชาชนการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243