Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนต้านทุจริต ม.1

แผนต้านทุจริต ม.1

Published by assy2525, 2019-05-14 23:20:12

Description: แผนต้านทุจริต ม.1

Keywords: Education

Search

Read the Text Version

- 198 - ใบความรู้ นทิ านคุณธรรมความรบั ผดิ ชอบ เรอื่ ง กระตา่ ยน้อยเกย่ี งงาน ณ ปา่ ใหญแ่ หง่ หนงึ่ มีครอบครวั กระต่ายครอบครัวหน่งึ อาศัยอย่ใู นโพรงไมใ้ หญ่ใกล้ๆ กบั ธารนา้ เลก็ ๆ กระต่ายครอบครัวนีน้ ับได้วา่ เปน็ ผมู้ คี วามสาคัญกบั ป่าไม้แหง่ นม้ี าก เพราะกระต่ายผ้เู ปน็ พอ่ มตี าแหน่งเป็นถงึ ทีป่ รกึ ษาด้านสุขภาพใหแ้ ก่สิงโตเจา้ ป่า สว่ นกระตา่ ยผู้เปน็ แม่กต็ ้องไปประชมุ หารือกบั กลุม่ แมบ่ า้ นสัตวป์ ่าเป็น ประจา ด้วยเหตนุ ี้ท้งั พ่อและแมก่ ระต่ายจึงตอ้ งออกไปทางานนอกบ้านทุกวัน และจาต้องทิ้งใหล้ ูกน้อยท้ังสอง คือกระต่ายพ่ีสาวกบั กระต่ายน้องชาย เล่นกันอยู่ในบา้ นโพรงกระตา่ ยตามลาพงั สองตัว อยมู่ าวนั หน่งึ พ่อกระต่ายสังเกตเห็นว่าบา้ นโพรงกระต่ายของตนไม่คอ่ ยเป็นระเบยี บเรยี บร้อยเท่าท่ีควร จึงยกเร่อื งนี้มาพูดคุยกบั แม่กระตา่ ยก่อนเข้านอนว่า “เธอวา่ ไหมจะ๊ แม่กระต่าย เดย๋ี วนบ้ี ้านของเราไม่คอ่ ยเปน็ ระเบียบเรยี บร้อยเหมอื นแต่ก่อนเลยนะ” “โอ้” แม่กระต่ายร้องอยา่ งละอายใจ “เป็นความบกพรอ่ งของฉันเองจะ้ ชว่ งน้ฉี นั งานย่งุ มากจนไมม่ ีเวลา ดูแลบ้านโพรงกระต่ายของเราให้สวยงามดังเดิม ฉันสญั ญาวา่ จะปรับปรุงตวั เองจ้ะ” “อย่าพดู อยา่ งน้นั เลย แมก่ ระต่ายท่ีรกั เพราะฉนั ไม่ได้คดิ จะตเิ ตียนเธอแต่อยา่ งใด ความจรงิ งานบา้ นเป็น งานทีห่ นกั มาก ฉนั เองต่างหากท่ตี ้องละอายแกใ่ จ เพราะไม่เคยไดช้ ่วยเธอทางานบา้ นเลย แลว้ ตอนน้ีเธอก็งาน ยงุ่ มากจนแทบไมม่ ีเวลาพักผ่อน จะเอาแรงที่ไหนมาดูแลบ้านชอ่ งได้เหมือนแตก่ ่อนเลา่ ” พอ่ กระต่ายปลอบ ขวัญภรรยาสุดทรี่ ัก “ถงึ อย่างน้นั ก็เถอะ แม่กระตา่ ย การท่ีเธองานยุ่งมากอย่างนที้ าใหฉ้ ันนึกอะไรขน้ึ มาได้ แลดูลูกๆ ของ พวกเราสิ เขาทั้งสองเติบโตมากแล้ว แต่เรายงั ไม่เคยสอนให้ลูกเรารูจ้ กั ทางานที่เป็นประโยชนต์ ่อผู้อื่นบา้ งเลย ฉนั วา่ นา่ จะเป็นการดีนะ หากเราจะสอนใหล้ ูก ๆ ทางาน โดยเร่มิ จากงานบ้านของเราเอง” พ่อกระต่ายเสนอ ความเห็น “เป็นความคดิ ที่วเิ ศษมาก แตล่ กู ๆ ของเราไมเ่ คยทางาน เขาจะทาได้ดีหรือจะ๊ ” “เขาคงทาได้ไม่ดีนักหรอก และคงจะสรา้ งความเหน่ือยหนา่ ยใหแ้ ก่เรามากทีเดยี วในตอนแรก แต่น่นั ย่งิ ทาให้เราต้องมอบหมายงานและสอนการทางานทถ่ี กู ต้องแก่เขา หากไมเ่ ริ่มเสียแตต่ อนนี้ เขาก็จะทาอะไรไม่ เป็นเลยเมือ่ โตขึน้ ใครจะอยากได้คนทาอะไรไม่เปน็ ไปร่วมสังคมด้วยละ่ จรงิ ไหม” พ่อกระตา่ ยกลา่ ว เชา้ วันรุ่งขน้ึ แมก่ ระต่ายจึงเรียกลูกท้ังสองมาพดู คยุ ในเรื่องดังกล่าว กระตา่ ยพ่นี ้องไม่เคยทางานบ้านทงั้ คู่ และรวู้ า่ เปน็ งานที่เหนือ่ ยมากทเี ดยี ว อย่างไรก็ตาม กระต่ายทั้งคู่กร็ ักและเช่ือฟังพ่อแม่กระต่าย จงึ คิดว่าถา้ พวกตนทางานบา้ นก็จะชว่ ยบรรเทาความเหน่ือยลา้ ของพ่อกับแม่ได้ ดงั นั้นทั้งคูจ่ งึ รับปากแม่กระต่ายวา่ จะชว่ ย ทางานบ้านทุกอย่างแทนแม่กระตา่ ยเอง แตแ่ ม่กระตา่ ยไม่ได้ใจร้ายกับลูกๆ ขนาดนนั้ เธอคดิ ว่าจะค่อยๆ มอบหมายงานใหล้ ูกรบั ผดิ ชอบไปทีละ อยา่ งก่อน เพ่ือดูลักษณะการทางานของลกู ๆ และช้ีแนะจุดบกพร่องให้แกไ้ ขไปทลี ะจดุ ด้วยเหตนุ ้ี งานชน้ิ แรกที่ แมก่ ระต่ายมอบให้กระตา่ ยพี่น้องทาก็คือ งานลา้ งจานและรกั ษาความสะอาดในห้องครวั กระต่ายพนี่ ้องช่วยทางานทแี่ ม่กระตา่ ยมอบหมายได้สามวัน ต่างคนตา่ งกร็ สู้ ึกวา่ ตนเองทางานมากกวา่ อีกคนหนึ่ง จึงเกดิ การโตเ้ ถยี งกนั ขึ้นอย่างรุนแรง สุดท้ายกระต่ายผู้พกี่ เ็ อ่ยแนวทางแกป้ ัญหาว่า ใหจ้ ดรายชือ่ งานท้ังหมด แล้วแบ่งกนั ทาใหช้ ัดเจนไปเลย แล้วกัน กระต่ายน้องชายก็เห็นด้วย ท้ังสองจึงจดรายชื่องานทต่ี ้องทาทงั้ หมดแลว้ ตกลงกันว่าใครจะทาสงิ่ ใด กระต่ายพี่สาวรบั งานจัดเตรยี มโตะ๊ อาหาร ส่วนกระต่ายน้องชายบอกว่าจะเก็บกวาดโตะ๊ อาหารเอง เม่ือ

- 199 - กระต่ายพส่ี าวลา้ งจาน น้องชายก็รบั หน้าที่เชด็ จานและเก็บเขา้ ตู้ นอกจากนน้ั ยงั มีงานจุกจกิ มากมายในครัวท่ี ทัง้ สองพยายามแบ่งกนั ทา การแบ่งงานกันทาเชน่ นี้ มองผิวเผนิ แล้วน่าจะเปน็ ไปดว้ ยดี แต่พอทาเข้าจริง ๆ กลับไมส่ าเรจ็ ตามเวลาที่ ควรจะเป็น เพราะกระตา่ ยน้อยท้ังสองไม่ได้มงุ่ ม่นั ในงานของตน เอาแตจ่ บั ตาดอู ีกฝ่ายหนึ่งว่ากาลงั ทาอะไร และทาเต็มทต่ี ามหน้าทข่ี องตนเองหรือไม่ “แม่จา๋ ” กระต่ายพีส่ าววิง่ โร่เขา้ ไปฟอ้ งแม่กระต่ายในวนั หน่งึ “มีจานอยู่บนโตะ๊ อีกใบหนึ่ง แต่น้อง กระต่ายจอมเกยี จคร้านไมย่ อมหยิบไปวางท่ีอ่างลา้ งจาน อย่างน้ีลูกก็ลา้ งจานไม่ไดส้ กั ทสี ิจะ๊ ” “ลูกกห็ ยบิ ไปไวเ้ องสิจ๊ะ” แม่กระตา่ ยกล่าวอยา่ งไม่เห็นเป็นเรื่องสลกั สาคัญ “โธ่ แม่จา๋ นน่ั ไมใ่ ชง่ านของลูกสักหนอ่ ย มันเป็นงานของน้องตา่ งหาก เราแบ่งหนา้ ทก่ี นั แล้ว ก็ต้องทา ตามท่ีตกลงกันไว้สิ” แล้วชามใบน้ันกต็ ้งั อยู่ท่ีเดิมรอกระตา่ ยน้องชายมาหยิบมนั ไป ฝ่ายกระตา่ ยพ่ีสาวกร็ อจานจากน้องชายอยู่ อย่างนั้น กวา่ จะไดล้ ้างจานก็ปรากฏวา่ จานของหลายๆ มื้อสุมรวมกันเป็นกองพะเนิน ซ่ึงทาใหต้ ้องล้างจาน เปน็ จานวนมากและใช้เวลามากข้นึ ดว้ ย ดังน้ัน น้องชายผมู้ ีหนา้ ทเี่ ชด็ ถว้ ยชามก็เลยต้องน่ังรอให้พี่สาวล้างจาน ให้เสร็จก่อน จึงจะเช็ดจานชามและนาเข้าเกบ็ ในตไู้ ด้ ซึ่งทาใหก้ ระตา่ ยน้องชายต้องน่ังเช็ดจนดกึ ดน่ื อยบู่ ่อยๆ นอกจากพีส่ าวจะเก่ียงงานแล้ว กระตา่ ยน้องชายก็เก่ียงงานเชน่ กนั หากเขากาลงั กวาดพ้ืนครัว และเหน็ เศษขยะตกอยใู่ นอ่างลา้ งจาน เขาก็จะกวาดสายตาผา่ นไปเหมอื นมองไม่เหน็ เพราะอา่ งล้างจานเป็นความ รบั ผดิ ชอบของกระต่ายพส่ี าว ขยะที่ตกอยูจ่ งึ ทาใหเ้ กดิ การอุดตัน ทาใหพ้ ่อกระตา่ ยต้องมาซ่อมให้อยู่หลายคร้ัง บรรยากาศในบ้านเร่ิมเศรา้ หมอง เพราะมแี ต่เสียงร้องเกยี่ งงานกันจากลูกทั้งสอง พ่อแม่กระต่ายเฝ้ามอง พฤติกรรมของลูกอยู่พกั หนงึ่ จนเห็นวา่ ไมม่ ีอะไรพัฒนาไปในทางทด่ี ี พอ่ กระต่ายจึงสง่ สัญญาณให้แมก่ ระต่ายรู้ ว่า ถึงเวลาทคี่ วรจะจัดการอะไรสักอย่างได้แลว้ วนั หน่ึง แม่กระตา่ ยจงึ เรียกลูกกระตา่ ยเข้ามาพูดคุยในเร่อื งนี้ “การท่ลี ูกท้ังสองแบง่ งานกันทาเป็นเรื่องทดี่ ี แตไ่ ม่ใชว่ ิธีท่ลี กู กาลังทาอยตู่ อนนี้ เพราะเราเป็นคนใน ครอบครัวเดยี วกัน เราต้องรักและช่วยเหลอื กัน ไม่ใช่แบ่งงานกนั ทาโดยไมเ่ หลียวแลคนอื่น หากลกู ยังทาเชน่ น้ี ต่อไป ในไม่ช้าเราคงต้องจา้ งคุณทนายความมาช่วยตดั สนิ ว่าใครจะทางาน และตอ้ งทาเม่ือไร จะลงโทษเขา อยา่ งถา้ เขาทางานบกพร่อง นั่นดูเหมอื นวา่ เรามีกฎหมายท่ีปราศจากความรู้สกึ ซงึ่ ถ้าเป็นสังคมภายนอก เรา อาจตอ้ งทาเช่นนน้ั แตน่ ี่คือบา้ นของเรา ลูกคอื ลูกของพ่อแม่และลูกสองคนเปน็ พี่นอ้ งกัน เราทุกคนชว่ ยกัน ทางานเพราะเรารักกนั ไมด่ ีย่ิงกว่าหรอื ” “ถ้าเช่นนน้ั ลกู มติ ้องทาทุกอย่างหมดเลยหรือ ถา้ ลูกคิดเช่นนั้น แตพ่ ี่กระต่ายไม่คดิ เช่นลกู แล้วไมห่ ยิบจบั อะไรเลย ลูกก็ต้องทาทกุ อยา่ งคนเดียวสจิ ๊ะแม่” น้องชายคร่าครวญ “ไม่หรอกลกู ลกู ไม่ต้องทางานหมดทุกอยา่ ง พี่กระต่ายจะช่วยลูกทางานทุกอย่าง เพราะพร่ี ักลูก และไม่ อยากให้ลูกทางานเหนื่อยเกินไป ลกู เองกจ็ ะชว่ ยพีเ่ ขาเชน่ กัน จะไม่มีใครคดิ วา่ ใครต้องทางานมากกวา่ ใคร แต่ ลูกต้องคดิ วา่ จะทาอยา่ งไรจงึ จะช่วยแบ่งเบาภาระของพห่ี รือน้อง ไม่ใหเ้ หน่ือยเกินไปมากทส่ี ุด ถ้าลูกๆ เปลย่ี น วธิ คี ดิ และปฏบิ ตั ิได้อย่างนี้ งานของลูกก็จะเสร็จเรียบร้อยดีทงั้ สองคน” กระต่ายพีน่ ้องมองหน้ากนั ครหู่ นึ่ง แลว้ กระตา่ ยพส่ี าวกพ็ ดู ข้นึ วา่ “กไ็ ดจ้ ้ะแม่ ลูกจะลองทางานโดยคดิ แบบน้นั ดูกไ็ ด้ เพราะลกู ก็ไม่อยากทะเลาะกับน้องนกั หรอก” แมห่ นั ไปหานอ้ งชาย “ลกู กเ็ ต็มใจทจ่ี ะลองดู” กระต่ายน้องชายตอบ

- 200 - “ดแี ลว้ ลกู ” แม่กระต่ายกล่าวพลางโอบกอดลูกทงั้ สอง “เราจะปฏบิ ัติตามวธิ ใี หมน่ ี้ คอื ให้เราชว่ ยกัน ทางานเพราะความรกั ไม่ใช่เพราะถกู บังคับ ความรักนัน้ จาเป็นสาหรับครอบครวั เรามากท่ีสุด จาไวเ้ ถดิ ลูกรัก” ลกู กระต่ายพากนั หัวเราะ เป็นเร่ืองดที เี ดยี วสาหรับครอบครวั กระตา่ ยท่ีไดย้ ินเด็กทั้งสองหวั เราะอกี หลงั จากนัน้ กระต่ายพน่ี ้องก็ปฏิบัติตามความคดิ ของแมก่ ระต่าย และรูส้ กึ ว่าวิธีนช้ี ว่ ยให้พวกเขาทางานได้ สาเรจ็ เรียบรอ้ ย ทงั้ ยังรกั ษาความสขุ ในครอบครวั ไวไ้ ดอ้ ีกด้วย บทสรปุ ของผูแ้ ตง่ เธอท้ังหลาย วา่ กันถงึ เรื่องการทางานแล้ว การแบง่ งานกันทาเปน็ เร่ืองที่ดีมาก แต่หากทาเพยี งความ รับผิดชอบของตน โดยเกีย่ งที่จะชว่ ยเหลือผู้อื่นแลว้ กอ็ ยา่ ทาเสยี เลยจะดีกว่า เพราะการทางานแบบน้ีไม่ชว่ ยให้ เธอเรยี นร้อู ะไรมากขนึ้ ยง่ิ ไปกว่าน้ัน ยงั ทาใหเ้ ธอกลายเปน็ คนใจคอคบั แคบมากเกินไป ลองคิดดสู ิว่า การจะสร้างสรรค์ผลงานช้นั ดีสักชนิ้ หนึ่งนัน้ จะตอ้ งเกดิ จากองคป์ ระกอบชั้นดหี ลายๆ ประการมาอยูร่ ่วมกนั หากเธอมงุ่ มัน่ ในงานของตนเองโดยไมส่ นใจชว่ ยเหลือคนอืน่ เลย ถึงเธอจะทางานส่วน ของเธอไดด้ ีแค่ไหน แต่ถ้าส่วนอนื่ ๆ ใช้ไม่ได้ ภาพรวมของงานชิ้นนน้ั จะออกมาได้ดีได้อย่างไร ถา้ เปน็ เช่นนนั้ จริง เธอจะไมเ่ สียแรงไปเปลา่ ๆ หรือ ทั้งหมดนไี้ ม่ไดห้ มายความวา่ เธอตอ้ งทมุ่ เทแรงกายแรงใจเพ่ือชว่ ยคนอื่นตลอดเวลา แตห่ มายความว่าให้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทีส่ ่วนของตนเองใหด้ ีทส่ี ุด จนเมอื่ เธอพร้อมจะหยิบยนื่ ความช่วยเหลอื ให้ผู้อ่นื แลว้ เธอจงึ คอ่ ยเขา้ ไป ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกเ่ ขาในส่วนทเ่ี ขาต้องการจริงๆ ที่สาคญั คือเธอต้องช่วยเพราะมีใจรกั ท่ีจะชว่ ย มิใช่ชว่ ย เพราะกลวั คนอื่นกล่าวหาว่าเธอไม่ชว่ ย หากเธอพยายามทาหนา้ ท่ีของตนเองใหด้ ีและมใี จรักท่จี ะชว่ ยผ้อู น่ื เชน่ น้ี งานของเธอก็จะประสบความสาเร็จตามความต้งั ใจได้ไม่ยาก

- 201 - ใบความรู้ เรอื่ ง ความรับผิดชอบ คืออะไร สาคัญไฉน ความรับผดิ ชอบ/รับผิด/รับชอบ สาคัญท่สี ดุ ตองเขาใจความหมายของคาวา “ความรบั ผิดชอบ” ใหถกู ตอง ขอใหเขาใจวา “รบั ผิด” ไมใชการรับโทษหรือถูกลงโทษ “รับชอบ” ไมใชรางวัล หรอื รบั คาชมเชย การรูจกั รับผดิ หรือยอมรับวา อะไรผิดพลาดเสยี หาย และเสียหายเพราะอะไร เพยี งใดน้ัน มี ประโยชน ทาใหบคุ คลรูจกั พจิ ารณาตนเอง ยอมรับความผิดของตนเองโดยใจจรงิ เปนทางทจ่ี ะชวยแกไข ความผิดได และใหรวู าจะตองปฏิบัตแิ กไขใหม สวนการรูจักรบั ชอบหรอื รูวา่ อะไรถกู อันไดแกถูกตามความมุงห มาย ถกู ตามหลกั วิชา ถูกตามวิธกี ารนนั้ มปี ระโยชนทาใหทราบแจงวา จะทาใหงานเสร็จสมบรู ณไดอยางไร จกั ไดถือปฏบิ ตั ิตอไป .…….......... ความรับผิดชอบ คอื หนาทที่ ี่ไดรบั มอบหมายใหทา จะหลีกเลีย่ ง ละเลยไมได (พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร : ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๑๙) ประเภทของความรับผดิ ชอบตามลักษณะความหมายมีดงั นี้ 1. ความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง 2. ความรับผดิ ชอบตอ่ ผอู้ นื่ และสงั คม ซง่ึ แตล่ ะประเภทมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1) ความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง หมายถึงการรับรู้ฐานะและบทบาทของตนที่เป็นส่วนหน่ึงของสังคม ซ่ึง จะต้องดารงตนอยู่ในสภาพท่ีช่วยเหลือตนเองได้ โดยที่บุคคลควรจะวิเคราะห์และแยกแยะว่าส่ิงใดถูกหรือผิด เหมาะสมหรือไม่ และมีความสามารถท่ีจะเลือกตัดสินใจในการเป็นที่ยอมรับของสังคม ความรับผิดชอบต่อ ตนเอง แบง่ ไดเ้ ปน็ 1.1 ความรบั ผิดชอบในด้านการรกั ษาสุขภาพอนามยั ของตนเองคือ สามารถเอาใจ ใสแ่ ละระมดั ระวังสขุ ภาพอนามัยของตนเอง ให้มคี วามสมบรู ณแ์ ขง็ แรงอยเู่ สมอ 1.2 ความรับผิดชอบในการหาเครื่องอุปโภคบริโภคคือ สามารถจัดหาและดูแลเครื่องใช้ ส่วนตวั ใหเ้ ป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย อยใู่ นสภาพที่สามารถใช้งานได้เหมาะสม 1.3 ความรับผิดชอบในด้านสติปัญญาและความสามรถคือ ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนใฝ่หาความรู้ ตา่ งๆ การฝึกฝนตนเองในดา้ นประสบการณ์ต่างๆ 1.4 ความรบั ผดิ ชอบในด้านความประพฤติคอื รจู้ กั ประพฤตใิ หเ้ หมาะสม เป็นผู้มีระเบียบวินัย ดารงตนให้อยู่ในคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.5 ความรับผิดชอบในด้านมนุษยสัมพันธ์คือ รู้จักท่ีจะปรับตัวให้อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้ อยา่ งเหมาะสม 1.6 ความรับผิดชอบในด้านเศรษฐกจิ ส่วนตัวคอื ร้จู ักวางแผนและประมาณการใช้จ่ายของตน โดยยดึ หลักการประหยดั และอดออม 1.7 ความรับผิดชอบเรื่องการงาน คือ เมื่อได้รับมอบหมายให้ทากิจใดก็ต้องทาให้เรียบร้อย ภายในเวลาท่ีกาหนด 1.8 ความรับผิดชอบต่อการกระทาของตน คือยอมรับผลการกระทาของตนทั้งผลดีหรือ ใน ดา้ นทเี่ กิดผลเสียหาย 2 ความรับผิดชอบต่อผู้อื่นและสังคม หมายถึง ภาระและหน้าที่ของบุคคลซ่ึงเก่ียวข้องและมีส่วนร่วม ต่อสวัสดิภาพของสังคมท่ีตนเป็นสมาชิก ด้วยเหตุที่บุคคลทุกคนเป็นส่วนประกอบของสังคมไม่ว่าจะเป็นสังคม ขนาดเล็ก จนถึงสังคมขนาดใหญ่ได้แก่ครอบครัว ช้ันเรียน สถานศึกษา ชุมชน และประเทศชาติตามลาดับ

- 202 - ดงั น้ันการกระทาของบคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ ย่อมตอ้ งส่งผลกระทบตอ่ สังคมส่วนรวมไม่มากก็น้อย เมื่อบุคคลทุกคน มีภาระหน้าที่ที่จะเก่ียวพันกับสวัสดิภาพของสังคม ท่ีตนดารงอยู่บุคคลจึงมีหน้าท่ีและความรับผิดชอบต้อง ปฏบิ ตั ติ ่อสงั คม 5 ประการดงั นี้ 2.1 ความรับผิดชอบต่อ บิดามารดาและครอบครัวได้แก่ให้ความเคารพและเช่ือฟัง ช่วยเหลือการงานให้เต็มความสามรถในแต่ละโอกาสอันสมควร ประพฤติตนเป็นคนดี ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน ไม่ นาความเดอื ดร้อนมาสู่ครอบครวั และช่วยกันรักษา และเชิดชชู ื่อเสียงวงศ์กระกูล 2.2 ความรับผิดชอบต่อเพื่อน ได้แก่การให้ความรักแก่เพื่อนเปรียบเสมือนพ่ีน้องของตน ตักเตือนเม่ือเพื่อนกระทาผิดคอยแนะนาให้เพ่ือนกระทาในสิ่งที่ถูกต้อง ช่วยเพ่ือนอย่างเหมาะสมและถูกต้อง ไม่เอารัดเอาเปรียบ ให้อภัยในกรณีที่เกิดความผิดพลาดหรือบาดหมางกัน ใช้ถ้อยคาสุภาพต่อกันด้วยความ ออ่ นโยน 2.3 ความรับผิดชอบต่อสถานศึกษาครูอาจารย์ได้แก่การตั้งใจศึกษาเล่าเรียน ไม่หนีเรียน เคารพและเชื่อฟงั ครูอาจารย์ชว่ ยเหลือกิจกรรมงานของสถานศกึ ษาอย่างเครง่ ครดั รักษาความสะอาดไม่ทาลาย ทรัพย์สมบตั ขิ องสถานศึกษา รกั ษาและสร้างช่อื เสียงเกยี รติยศของสถานศกึ ษา 2.4 ความรับผิดชอบต่อชุมชน ในฐานะที่เป็นสมาชิกของชุมชน ได้แก่ เคารพ และปฏิบัติ ตามระเบยี บขอ้ บงั คบั หรือขนบธรรมเนยี มประเพณีท่ียึดถือภายในชมุ ชนของตน ช่วยรักษาสาธารณสมบัติและ ให้ความร่วมมอื ในการทางานเพื่อพฒั นาชมุ ชน ไมล่ ะเลยต่อพลเมืองดี 2.5 ความรับผิดชอบต่อประเทศชาติได้แก่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบต่างๆ ของสังคม รักษาสาธารณสมบัติของชาติให้ความร่วมมือ และช่วยเหลือเจ้าหน้าท่ีในการรักษาความมั่นคงของชาติ จงรักภักดตี ่อชาติศาสนา พระมหากษัตริยร์ กั ษาความสามคั คขี องคนในชาติดารงไว้ซ่ึงศิลปวัฒนธรรมแห่งความ เป็นไทย ความสาคัญของความรับผิดชอบ ความรบั ผดิ ชอบเปน็ คณุ สมบตั ทิ ด่ี ี อย่างหน่งึ ซึ่งจาเป็นอย่างยงิ่ ทีค่ วรปลูกฝังให้แกเ่ ดก็ และเยาวชนไทย นอกจากความมรี ะเบยี บวินยั ความซื่อสัตยส์ จุ ริต ความขยันม่นั เพียร มมี านะอตุ สาหะ และความเสียสละอันเปน็ คุณลักษณะของพลเมืองดีซึง่ เปน็ ลักษณะนิสยั และการกระทาท่ี สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและกฎเกณฑข์ ้อบงั คบั ของกฎหมาย หรอื กฎเกณฑ์ของศาสนา อีกทั้งคานงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนร่วมมากกว่าการฉวยโอกาสเพ่ือตนเอง ความรบั ผดิ ชอบจะเป็นกลไกทีส่ าคญั ในการ ผลักดนั ใหบ้ ุคคลปฏบิ ตั ติ ามระเบียบที่ได้กาหนดไว้ มีความเคารพสทิ ธขิ องผู้อน่ื ซอื่ สตั ย์สุจริต ซงึ่ จะช่วยให้ สมาชิกในสังคมสามรถทจ่ี ะอยู่รว่ มกันได้อยา่ งสงบสุขหากสมาชิกทุกคนในสงั คมเป็นผทู้ ่ีมีความรบั ผิดชอบ ปัญหาความว่นุ วายต่างๆ ทส่ี ังคมกาลงั ประสบอยู่ในปจั จุบัน คงไม่เกิดข้ึนดังทีส่ ัญญา สัญญาวิวฒั นก์ ล่าวไวว้ า่ สงั คมจะขาดความสงบสุขเนื่องจากมบี ุคคลส่วนหนง่ึ ของสังคม เป็นผทู้ ี่ขาดคณุ ลักษณะของความรับผิดชอบ ความสม่าเสมอความเชื่อมนั่ ในตนเองความซอ่ื สัตย์ ความพยายามทจ่ี ะพ่ึงพาตนเองและลด ความตอ้ งการท่จี ะ พ่ึงพาผอู้ นื่ ใหน้ ้อยลง

- 203 - แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม กลุ่ม .......................................................................................................... สมาชกิ ในกลุ่ม 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... 6. ...................................................................... คาช้แี จง: ให้นกั เรยี นทาเครื่องหมาย  ในช่องทีต่ รงกับความเปน็ จริง พฤตกิ รรมท่สี ังเกต คะแนน 32 1 1. มีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ 2. มคี วามกระตือรือรน้ ในการทางาน 3. รบั ผดิ ชอบในงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 4. มีข้นั ตอนในการทางานอย่างเปน็ ระบบ 5. ใชเ้ วลาในการทางานอยา่ งเหมาะสม รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน พฤตกิ รรมที่ทาเป็นประจา ให้ 3 คะแนน พฤตกิ รรมทที่ าเป็นบางคร้ัง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทีท่ าน้อยครง้ั ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 13-15 ดี 8-12 5-7 ปานกลาง ปรบั ปรงุ

- 204 - แบบการประเมนิ ผลการนาเสนองาน เรอ่ื ง ………………………………………………………………………. วิชา…………………………………………………….…………….ช้นั ………………. ชอื่ /กลมุ่ ……………………………………………………….………………………………………………….. ที่ รายการประเมิน ผูป้ ระเมนิ รวม เกณฑก์ ารประเมนิ 1 เนอ้ื หา ( 4 คะแนน ) ตนเอง เพอื่ น ครู 1. เนอื้ หาครบถ้วนสมบูรณ์ 2. เนอื้ หาถูกตอ้ ง คะแนน 4 : มีครบทกุ ข้อ 3. เน้ือหาตอ่ เนอ่ื ง 4. มกี ารคน้ คว้าเพมิ่ เติม คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ 2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้ 1. มีการวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ 2. การปฏิบตั ิตามแผน คะแนน 1 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ 3. ติดตามประเมนิ ผล 4. การปรับปรุงพัฒนางาน คะแนน 2: มีครบทุกข้อ คะแนน 1 : มี ไม่ครบ 4 ข้อ 3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 0 : ไม่ปรากฏกระบวน 1. การใช้สานวนภาษาดีถกู ต้อง 2. การสะกดคาและไวยากรณ์ การทางานที่ชัดเจน ถกู ต้อง 3. รปู แบบนา่ สนใจ คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้ 4. ความสวยงาม คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้ คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ขอ้ 4 คณุ ธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ข้อ 1. ตรงตอ่ เวลา 2. ซือ่ สัตย์ คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้ 3. ความกระตอื รือรน้ คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ข้อ 4. ความมนี า้ ใจ คะแนน1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้ รวม คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ เฉลยี่ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ลงชอ่ื ผปู้ ระเมิน…………………………….. ตนเอง ลงชื่อผปู้ ระเมิน…………………………….. เพื่อน ลงช่ือผ้ปู ระเมิน…………………………….. ครู

- 205 - แบบสงั เกตพฤติกรรม มงุ่ มน่ั ในการทางาน คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย √ ลงในช่องท่ีตรงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑก์ ารประเมิน เลข ช่ือ – สกลุ เอาใจใสต่ อ่ ตงั้ ใจและ ทมุ่ เททางาน รวม ผลการประเมิน ที่ การปฏิบตั ิ รับผิดชอบใน อดทนไม่ย่อท้อ คะแนน หนา้ ท่ีที่ไดร้ ับ การทางานให้ ตอ่ ปัญหาและ ผา่ น ไม่ มอบหมาย สาเร็จ อุปสรรคในการ ผ่าน ทางาน ๓ ๒๑ ๓๒๑ ๓๒๑ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดบั 3 มกี ารปฏิบตั ิได้ดสี มา่ เสมอ ระดบั 2 มีการปฏบิ ัติไดบ้ ้างพอสมควร ระดบั 1 มีการปฏบิ ัตบิ า้ ง ลงช่ือ........................................... ครผู สู้ ังเกต (…………………………………….) ............../..................../....................

- 206 - ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑แผนการ เวลา ๒ ชวั่ โมง แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๔ ชอื่ หน่วย พลเมืองและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม จดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ เรื่อง ความเป็นพลเมือง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ๑.๒ ปฏบิ ัตติ นตามหน้าทพ่ี ลเมอื งและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสาคัญของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทจุ รติ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 นกั เรยี นบอกความหมายของความเปน็ พลเมืองได้ 2.2 นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับความเป็นพลเมือง 2.3 นักเรยี นระบุพฤตกิ รรมของความเป็นพลเมือง ประชาชน และราษฎร 2.4 นกั เรียนประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนตามหลกั ความเป็นพลเมือง ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 'พลเมือง' หมายถงึ ประชาชน ทีน่ อกจากเสยี ภาษแี ละปฏิบตั ิตามกฎหมายบ้านเมอื งแล้ว ยงั ตอ้ งมี บทบาทในทางการเมือง คอื อย่างน้อยมีสิทธิไปเลอื กต้ัง แต่ยิ่งไปกว่านั้น คือมีสิทธใิ นการแสดง ความ คิดเห็นต่างๆ ต่อทางการหรอื รัฐได้ ทัง้ ยังมีสิทธเิ ขา้ ร่วมในกิจกรรมตา่ งๆ กับรัฐ และอาจเป็นฝา่ ยรกุ เพื่อ เรียกร้องกฎหมาย นโยบายและกิจกรรมของรฐั ตามทเี่ ห็นพอ้ ง พลเมืองน้ันจะเปน็ คนทร่ี ู้สึกเป็นเจา้ ของในส่ิง สาธารณะ มีความกระตือรือร้น อยากมสี ่วนรว่ ม เอาใจใส่การทางานของรฐั และเป็นประชาชนทส่ี ามารถแก้ไข ปญั หาส่วนรวมได้ในระดับหนึ่ง โดยไม่ต้องรอใหร้ ฐั มาแก้ไขให้เท่านัน้ 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ 3.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ 2) ทักษะกระบวนการคดิ เชงิ สร้างสรรค์ 3.2 ความสามารถในการสื่อสาร อ่าน ฟัง พูด เขยี น 3.๓ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ การสงั เกต การระบุ จาแนก วเิ คราะห์ จัดกลมุ่ สรุป 3.3 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ / คา่ นยิ ม มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

- 207 - ๔.กจิ กรรมการเรยี นรู้ (จานวน ๒ ช่วั โมง) 4.1 ข้ันตอนการเรียนรู้ ชั่วโมงท่ี ๑ ๑. ครูสนทนา กบั นักเรยี นถึงคาว่า พลเมอื ง ประชาชน ราษฎร แล้วถามนกั เรียนวา่ ท้ัง ๓ คาน้มี ี ความหมายเหมือนกนั หรือต่างกนั ๒. แบง่ กล่มุ นักเรยี นออกเป็น ๕ กลุม่ แจกใบความรู้ เรือ่ ง ความเป็นพลเมือง ประชาชน และราษฎร ให้แตล่ ะกลุ่มศกึ ษา และรว่ มกันสรปุ องค์ความรทู้ ีไ่ ด้จากการศึกษาใบความรู้ ๓. แต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนนาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน ๔. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรุปถงึ ความหมายของคาวา่ พลเมือง ประชาชน และราษฎรถึงแม้นว่าคา ทงั้ ๓ คาจะมคี วามหมายท่ีแตกตา่ งกนั ไปบา้ งแต่เราก็ต้องรวู้ ่าหน้าที่ทสี่ าคญั ของเราคืออะไรไมว่ ่า เราจะเป็นพลเมอื ง ประชาชน หรอื ราษฎร ถ้าเราปฏบิ ตั ิตนเปน็ คนดี มีความซ่อื สตั ย์ เราก็เป็นคน ดี ชั่วโมงท่ี ๒ ๑. แบง่ กลุ่มนักเรยี นออกเป็น 3 กลุม่ ครแู จกใบความรู้ เรอ่ื งบทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองทดี่ ีตอ่ ประเทศชาติและสังคมโลก ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มนาศึกษา ๒. ครสู นทนา อภปิ ราย กับนักเรียนถงึ การปฏบิ ัตติ นอยา่ งไรจงึ จะเรียกว่าพลเมืองดี ๓. แจกใบงานใหน้ กั เรยี นเขยี นแผนภาพความคดิ เรื่องพลเมืองดใี นใจฉนั โดยใหน้ กั เรยี นทาเป็น รายบคุ คล ๔. ครูนาผลงานนกั เรยี นท่ีทาได้ถูกตอ้ งและสวยงามมานาเสนอหนา้ ชั้นเรยี นให้คดั เลือกผลงานที่ดี ถูกต้องสวยงามไปติดไว้ทป่ี ้ายนเิ ทศของโรงเรียน ๔.๒ ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. ใบความรู้ เรื่อง ความเปน็ พลเมือง ประชาชน และราษฎร ๒. ใบงาน เร่ือง พลเมืองดีในใจฉัน ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5.1 วิธกี ารประเมิน ๑) สังเกตกระบวนการทางานกลมุ่ ๒) สังเกตการนาเสนอผลงาน ๓) ตรวจใบงาน ๕.๒ เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน ๑) แบบสงั เกตกระบวนการทางานกลุ่ม ๒) แบบบนั ทกึ ผลการนาเสนอผลงาน ๓) แบบประเมินใบงาน ๔) แบบประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

- 208 - 5.3 เกณฑก์ ารตัดสิน นกั เรยี นมีผลการประเมินระดับดขี ้ึนไป 6. บันทึกหลงั สอน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................... ลงช่อื ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................)

- 209 - ใบความรู้ เรอื่ ง ความเป็นพลเมือง ประชาชน และราษฎร แต่เดิมน้ันสังคมไทยใช้คาว่า'ราษฎร (subject)''ประชาชนpeople) และ 'พลเมือง (citizen) เพื่อ อธิบายถึง 'คนหรือประชาชนของประเทศท่ีไม่ใช่ผู้ปกครอง' และมักพูดต่อกัน เช่นประชาราษฎร ประชาชน พลเมอื ง ต่อมาเมอ่ื สังคมเปลี่ยนแปลงไป ความหมายของคาท้ังสามก็เปล่ยี นแปลงไป กลา่ วคือ 'ประชาชน' มีความหมายกลางๆ คือ หมายถึง คนทั่วไปในสังคมท่ีไม่ใช่ผู้ปกครอง เป็นสามัญชน ที่อยู่ภายใต้รัฐ ราษฎร'เป็นคาที่เร่ิมใช้ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 เน่ืองจากสังคมไทยสมัยโบราณน้ัน ประชาชน เป็นไพร่หรือทาสเกือบทั้งหมด พอมาถึงช่วงรัชกาลที่ 5 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการบริหารราชการแผ่นดินคร้ัง ใหญ่และได้ทาการเลิกทาสเลิกไพร่ ทาให้ประชาชนเหล่านั้นกลายเป็นราษฎรหรือเสรีชนท่ีไม่ต้องเป็นข้ารับใช้ มูลนาย และมีสถานะทางกฎหมายเท่าเทียมกัน จึงเรียกอดีตไพร่ ทาส ขุนนาง รวมท้ังชนชั้นใหม่ๆ วา่ 'ราษฎร'ในความหมายของ 'ผู้ท่ีตอ้ งเสียภาษใี ห้กับรฐั และต้องปฏิบัติตามกฎหมายของบ้านเมืองเช่นเดียวกัน หมด ปัจจุบันคาว่าราษฎร และประชาชน มีความหมายเกือบจะเหมือนกัน แต่ประชาชน ส่ือถึง การเปน็ เจา้ ของประเทศ และเจา้ ของอานาจอธิปไตย มากกว่าราษฎร ส่วนราษฎรมีนัยของคนที่เสียเปรียบ คน ทด่ี ้อยกวา่ อยดู่ ว้ ย 'พลเมอื ง' หมายถงึ ประชาชน ท่ีนอกจากเสียภาษีและปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ยังต้องมีบทบาท ในทางการเมือง คอื อยา่ งน้อยมสี ิทธไิ ปเลือกต้ัง แต่ย่ิงไปกว่านั้น คือมีสิทธิในการแสดง ความคิดเห็นต่างๆ ต่อทางการหรือรัฐได้ ทั้งยังมีสิทธิเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ กับรัฐ และอาจเป็นฝ่ายรุกเพื่อเรียกร้องกฎหมาย นโยบายและกิจกรรมของรัฐตามท่ีเห็นพ้อง พลเมืองนั้นจะเป็นคนที่รู้สึกเป็นเจ้าของในส่ิงสาธารณะ มีความ กระตือรือรน้ อยากมสี ่วนรว่ ม เอาใจใส่การทางานของรัฐ และเป็นประชาชนที่สามารถแก้ไขปัญหาส่วนรวมได้ ในระดับหนงึ่ โดยไมต่ อ้ งรอใหร้ ฐั มาแกไ้ ขใหเ้ ท่านัน้ ประชาชน ประชาชน หมายถึงคนของประเทศ เช่น ประชาชนทกุ คนมีหนา้ ที่ตอ้ งรู้กฎหมาย ใครจะปฏเิ สธวา่ ไมร่ ้ไู มไ่ ด้ คาวา่ ประชาชน ในบางครง้ั อาจหมายถงึ ผู้ทีไ่ ม่ใช่ข้าราชการ ทหาร ตารวจ หรอื นักบวช และใน บางครัง้ หมายถึงผู้ทม่ี ิได้เป็นพ่อค้าดว้ ย ประชากร ประชากร หมายถึง คนโดยทัว่ ไป แต่มกั ใชใ้ นกรณที ีจ่ ะพจิ ารณาถงึ จานวน คือจานวนคนของ ประเทศหรือของโลก ในทางสถติ ิ มีการใช้คาว่า ประชากร หมายถึงจานวนของสตั ว์ หรอื สิง่ ทสี่ ารวจทีพ่ จิ ารณา ดว้ ย พลเมอื ง พลเมอื ง หมายถึง หมู่คนท่เี ป็นของประเทศใดประเทศหนึง่ คนทัง้ หมดซ่ึงเป็นกาลังของประเทศ ทัง้ ในทางเศรษฐกิจ การทหาร และอานาจต่อรองกับประเทศอน่ื โดยนัยของความหมาย คาว่า พลเมือง หมายถึง คนท่ีสนบั สนุนเป็นกาลังอานาจของผู้ปกครอง เป็นคนทอี่ ยู่ในการควบคมุ ดแู ลของผ้ปู กครอง

- 210 - ความแตกต่างระหว่างความเป็นราษฎรและความเป็นพลเมอื ง ความเป็นราษฎร - ปฏบิ ัติตนตามหนา้ ทเ่ี ทา่ น้ัน เช่น เสยี ภาษี ปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย - ยอมรับกฎหมาย นโยบาย กจิ การ กจิ กรรม ต่างๆ ของรัฐ - ไมก่ ระตือรอื ร้นทจ่ี ะมีส่วนร่วมทางการเมืองหรือกิจกรรมสาธารณะ - คิดว่าตนเองเป็นผู้นอ้ ย ต้องคอยรบั การอปุ ถัมภ์จากผใู้ หญ่ ความเปน็ พลเมือง - นอกจากเสยี ภาษแี ละปฏิบัตติ ามกฎหมายแลว้ ตอ้ งมีสานกึ ในทางการเมือง อย่างน้อยตอ้ งไปใช้สทิ ธิ เลอื กตง้ั หรือมากกว่าน้นั คือ แสดงความคดิ เห็นตา่ งๆ ต่อบ้านเมอื ง ใช้สิทธเิ ข้าร่วมการทากจิ กรรมตา่ งๆ ร่วมกับรฐั - มีอสิ รภาพ ศักดศ์ิ รี มีความเทา่ เทียมกับผู้อนื่ ให้ความสนใจต่อสว่ นรวมมีบทบาทและมีส่วนร่วมทางการ เมือง - เคารพตนเองและเคารพสทิ ธขิ องผ้อู นื่ เปน็ เจ้าของชีวติ ตนเอง ไมอ่ ยู่ใต้ระบบอปุ ถัมภ์ หรอื อิทธิพลอานาจ ของใคร -ไมต่ กอยู่ใตอ้ ิทธพิ ลของพรรคการเมือง และนักการเมือง ไมร่ บั เงนิ หรือความช่วยเหลอื ทีไ่ ดม้ า อย่างไม่ ถกู ต้อง ไม่ซอื้ สทิ ธิ ไม่ขายเสียง - เอาใจใส่ออกความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การทางานของรฐั บาล ตรวจสอบ ร้องเรียน เมอื่ มีการดาเนินนโยบาย ผดิ พลาด รสู้ ึกเดือดรอ้ นเมื่อรัฐบาลทาเรอ่ื งไมด่ ี ทางานผิดพลาด หรือดาเนินนโยบายผดิ - เปน็ ฝา่ ยรกุ เพื่อเรยี กร้องกฎหมาย นโยบาย หรอื กจิ การทต่ี นเองเหน็ พอ้ ง - สามารถแก้ปญั หาสว่ นรวมเบอื้ งต้นได้ ไมต่ ้องรอแตร่ ฐั บาลมาแก้ไข (เอกสารอ้างอิง:จดหมายขา่ วสถาบนั พระปกเกลา้ ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 7 เดอื นกรกฎาคม 2552)

- 211 - ใบความรู้ เร่อื ง บทบาทหนา้ ท่ีของพลเมอื งทีด่ ตี ่อประเทศชาติและสังคมโลก พลเมอื งดีของประเทศชาติและสงั คมโลก จะต้องเปน็ พลเมืองที่ตระหนกั ถงึ บทบาทหนา้ ทที่ ่ตี นจะต้องปฏบิ ัติ ต่อสังคมและประเทศชาตใิ นด้านตา่ งๆ อยู่เสมอ โดยเฉพาะด้านเศรษฐกจิ ดา้ นการเมืองการปกครอง ดา้ น สังคมและวฒั นธรรม ทั้งนเี้ พราะบทบาทหนา้ ท่ใี นด้านตา่ งๆ ทง้ั 3 ดา้ น จะสง่ ผลกระทบต่อชุมชนและ ประเทศชาติในด้านบวกหรือลบกไ็ ด้ กล่าวคือ หากชาวไทยทุกคนปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมืองดใี นดา้ นเศรษฐกจิ โดยประกอบอาชพี ที่สุจริต เอา เปรียบผอู้ ืน่ และในด้านการเมอื งการปกครอง โดยการไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผสู้ มัครทดี่ ีใหไ้ ปเปน็ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร กจ็ ะสง่ ผลดตี ่อประเทศชาติ นอกจากน้ี บทบาทในดา้ นสังคมและวฒั นธรรมท่ีต้องปฏิบัติ คือ การร่วมงานกบั ผู้อื่น เพ่อื พฒั นาสังคม และส่งเสริมวัฒนธรรมที่ดขี องประเทศให้เป็นทีช่ ่นื ชมของชาวต่างชาติ สังคมไทยฏจ้ ะมแี ตค่ วามสามคั คีกลม เกลียว ไม่เอารัดเอาเปรยี บกัน แต่หากชาวไทยแสดงบทบาทหนา้ ทใี่ นทางตรงกันข้าม เช่น ประกอบอาชีพผดิ กฎหมาย เอารดั เอา เปรยี บผูอ้ ่นื เลอื กคนไม่ดไี ปปกครองประเทศ ชน่ื ชมวัฒนธรรมของตา่ งประเทศ สงั คมไทยและประเทศไทยก็ จะเจรญิ ก้าวหน้าไดล้ า่ ชา้ และขาดความนา่ เช่ือถือในสังคมโลก บทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองดีทางดา้ นเศรษฐกจิ บทบาทหนา้ ทข่ี องพลเมืองดีในด้านเศรษฐกจิ ทส่ี าคญั มดี ังนี้ 1.พลเมอื งดตี ้องประกอบอาชีพทสี่ ุจริตและไม่เอาเปรยี บผ้อู ื่น เช่น ถ้าเปน็ เจ้าของโรงงาน ก็จะตอ้ ง ผลติ สนิ คา้ ท่ีมคี ุณภาพตามทโี่ ฆษณาไวแ้ ละไม่ต้ังราคาขายสูงมากเกินไป หรอื เอาเปรยี บผูบ้ ริโภคดว้ ยวธิ ีการ ด้วยมชิ อบ 2. พลเมอื งดที ่ีมคี วามอ่อนแอทางเศรษฐกจิ ควรรวมตวั กนั เป็นกลมุ่ อาชพี หรอื สหกรณป์ ระเภทต่าง ๆ เพอื่ ช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน และเพิ่มอานาจของการต่อรองทางเศรษฐกจิ เชน่ การรวมตัวกนั เป็น เกษตรกร หรอื สหกรณ์การเกษตรประเภทต่าง ๆ เพ่ือช่วยเหลอื เกษตรกรดว้ ยกันและเพ่ิมอานาจต่อรองกบั กลมุ่ พ่อค้าคนกลาง เป็นตน้ นอกจากน้ี การรวมกลุ่มอาชีพยงั เปน็ แนวทางการสร้างความสามัคคีของคนในชาตไิ ด้อีกทางหนึ่งด้วย 3. พลเมืองดตี ้องใชจ้ ่ายอยา่ งประหยดั และไม่ควรกู้เงนิ ของบุคคลอื่น โดยเฉพาะจากชาวต่างชาติ มา ลงทนุ ในกิจการที่อาจใหผ้ ลตอบแทนทางเศรษฐกจิ ชา้ หรือมีความเสีย่ งสูง เชน่ การกเู้ งินต่างชาตมิ าทาโรงการ พฒั นาที่ดินและปลกู หมู่บ้านจัดสรรโดยไม่ศกึ ษาความต้องการดา้ นทีอ่ ยู่อาศยั ของผู้บรโิ ภค ยังผลให้การ

- 212 - ก่อสรา้ งบา้ นจัดสระหรอื คอนโดมเิ นียมหลายโครงการมผู้ซ้ือน้อยราย เปน็ ผลให้ผูล้ งทุนไม่สามารถใช้เงนิ ต้น และดอกเบย้ี แก่ธนาคารผใู้ ห้กู้ได้ตามกาหนดเวลา จนกลายเป็นปญั หาหน้เี สยี จานวนหลายหมนื่ ลา้ นบาท และ เปน็ สาเหตุสาคัญส่วนหนึง่ ที่ทาให้การฟ้ืนตวั ทางเศรษฐกจิ ของไทย กระทาไดย้ ากลาบาก เปน็ ต้น 4. พลเมืองดีจะต้องเสียภาษอี ากรให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นและรฐั บาลกลางอยา่ งครบถ้วน ทั้งนี้ เพือ่ ชว่ ยให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินและรฐั บาลกลางมีรายไดส้ าหรบั นาไปใช้ในการพฒั นาชุมชนและพฒั นา เศรษฐกจิ และสงั คม ในทางกลบั กนั หากชาวไทยไมย่ อมเสียภาษีอากรหรือเสียภาษีน้อยกวา่ ทคี่ วรจะเสียให้แกอ่ งค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่นหรือรัฐบาลกลาง องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินหรือรฐั บาลกลางก็จะไมม่ ีรายได้มาพัฒนา ท้องถน่ิ หรอื จ่ายเงนิ เดือนให้แก่เจ้าหน้าท่ีของท้องถ่นิ หรือรฐั ที่รับผิดชอบในการพัฒนาและรักษาความสงบ เรียบรอ้ ยของชมุ ชนและประเทศ 5. พลเมืองดีควรท่องเท่ียวภายในประเทศและใชข้ องทีผ่ ลติ ในประเทศ เพือ่ สง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วของ ไทย และเพอ่ื ป้องกนั มใิ ห้เงินตราร่วั ไหลไปตา่ งประเทศ นอกจากนี้ จะต้องเชญิ ชวนชาวไทยและชาวตา่ งชาติ เข้ามาเท่ียวในประเทศไทยดว้ ย บทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองดีทางด้านการเมอื งการปกครอง พลเมอื งดีมีบทบาทหน้าที่ด้านการเมืองการปกครองต่อชุมชนและประเทศ ดังนี้ 1. พลเมืองดมี หี นา้ ที่ไปออกเสียงเลือกตั้งผู้สมคั รรับเลือกตง้ั ที่ดมี ีคุณภาพไปเปน็ สมาชิกสภาองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นหรอื ผบู้ ริการท้องถิน่ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร และสมาชกิ วฒุ สิ ภา 2. พลเมืองดีมีหน้าท่ีสมัครรับเลือกตง้ั เปน็ สมาชิกสภาองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นหรอื สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร เม่ือมีคุณสมบตั ิครบตามเกณฑท์ ่ีกฎหมายบญั ญตั ิ 3. พลเมอื งดีมหี นา้ ที่ตรวจสอบการทางานของสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร หรือผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมืองอื่น ๆ เชน่ นายกรฐั มนตรหี รอื รฐั มนตรี ว่า เปน็ ไปโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ หากพบวา่ สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรอื สมาชกิ สภาผแู้ ทน ราษฎรทจุ ริตต่อหนา้ ทีห่ รือละเมิดรฐั ธรรมนญู กค็ วรเขา้ ชือ่ กนั ฟ้องกลา่ วโทษ เพือ่ ปลดหรือถอดถอนบุคคล ดงั กลา่ วออกจากตาแหน่ง บทบาทหนา้ ทข่ี องพลเมืองดที างดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม บทบาทหน้าทีข่ องพลเมืองดที างดา้ นสังคมและวฒั นธรรมต่อชุมชนและประเทศท่ีควรปฏิบตั ิ มีดงั นี้

- 213 - 1. พลเมอื งดมี หี น้าท่ีร่วมมือกันพฒั นาสงั คมใหน้ ่าอยู่และรกั ษาวฒั นธรรมทีด่ ีงามของชมุ ชนและ ประเทศไว้ เพอื่ เป็นมรดกของชาตแิ ละเพ่ือจงู ใจใหช้ าวต่างชาตมิ าเยยี่ มชม และลงทุนในกิจการตา่ ง ๆ เชน่ แต่งกายดว้ ยผ้าไทยทีเ่ รยี บร้อยและรัดกุมในประเพณสี าคญั ของชาวไทย เช่น วนั ลอยกระทง วันสงกรานต์ เปน็ ตน้ 2. พลเมอื งดีมีหนา้ ที่รักษาความสามัคคแี ละป้องกันมิให้กล่มุ บุคคลที่มีผลประโยชนต์ า่ งกนั เกิดความ ขัดแยง้ หรอื ทะเลาะวิวาทกันกลายเป็นการเผชิญหน้าและเป็นศัตรกู นั ตลอดเวลาทาให้สงั คมไมส่ งบสุข เชน่ เตอื นสตไิ มใ่ ห้เพ่ือนฝงู ทะเลาะกัน เป็นต้น 3. พลเมืองดมี ีหน้าที่ป้องกันมิใหว้ ัฒนธรรมตา่ งชาตมิ าทาลายวัฒนธรรมไทย หรอื วถิ ีชีวิตทด่ี ีงามของ ชาวไทย ในขณะเดยี วกนั ก็ยอมรับวัฒนธรรมที่ดีงามของชาวตา่ งชาติมาประยุกต์ใชเ้ พ่ือนพัฒนาสงั คมไทยให้ เจริญกา้ วหนา้ ยิ่ง ๆ ขึ้นไป เช่น การใชค้ อมพวิ เตอร์ในการคน้ ควา้ ข้อมูลความรู้ด้านการศึกษา เป็นต้น 4. พลเมืองดีมหี นา้ ท่ีชว่ ยเหลอื คนพิการหรือทุพพลภาพให้มาสมารถมชี ีวิตอยใู่ นสังคมได้อยา่ งมี คณุ ภาพ เชน่ เมอื่ พบเห็นคนพิการข้ามถนน กค็ วรจะชว่ ยเหลอื ให้สามารถข้ามไปไดอ้ ย่างปลอกภยั เป็นต้น 5. พลเมอื งดีมีหนา้ ท่ีชว่ ยเหลอื ราชการในเรือ่ งท่ีสามารถชว่ ยเหลือได้ เชน่ ชว่ ยเป้นพยานให้แก่ ตารวจ เพอ่ื เอาคนทาผดิ มาลงโทษ ชว่ ยสอดส่องและแจง้ เบาะแสต่อเจา้ หนา้ ที่ตารวจ เม่อื ได้พบเห็นการ กระทาทีผ่ ิดกฎหมาย เปน็ ตน้ 6. พลเมอื งดีที่ยังเปน็ เดก็ และเยาวชนหน้าทศี่ กึ ษาเลา่ เรยี นให้ดที ีส่ ุด เพ่อื จะได้เป็นกาลังทมี่ ีคุณภาพ ของสงั คมและประเทศชาตติ ่อไป เชน่ เปน็ หมอรกั ษาผู้ปว่ ย เป็นครอู าจารย์ เป็นตน้ กล่าวโดยสรุปว่า พลเมอื งดีมคี วามสาคัญต่อประเทศชาติและสงั คมโลกอยา่ งมาก ท้ังทางดา้ นสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครอง โดยพลเมืองดจี ะเป็นผู้ทท่ี าประโยชนใ์ หแ้ กส่ ังคมสว่ นรวมอย่าง สมา่ เสมอ เชน่ ประกอบสมั มาอาชีพ ยึดมน่ั ในหลกั การเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับในด้านการเมืองการ ปกครองน้นั พลเมืองดจี ะเป็นผ้ทู เี่ คารพกฎหมาย ร้จู กั สทิ ธขิ องตนเอง และเคารพสิทธิของผู้อนื่ เสมอ รวมท้ัง ทาหนา้ ท่ีท่ีกฎหมายกาหนดไว้อย่างเคร่งครัด ดงั นน้ั จงึ ถือไดว้ า่ หากพลเมืองของประเทศใดปฏบิ ตั ติ นให้สมกับเป็นพลเมืองดที ่ีได้กลา่ วมาข้างต้น ประเทศนัน้ กจ็ ะมีแต่ความสงบสุขและเจริญก้าวหน้า รวมท้ังจะชว่ ยใหส้ งั คมโลกมีสนั ติสุขดว้ ย

- 214 - ใบงาน เรอื่ ง พลเมืองดใี นใจฉัน คาชแี้ จง ให้ผู้เรียนวิเคราะห์คุณลักษณะของพลเมืองดีตามความคิดเห็นของนักเรียนลงในแผนผังความคิด พร้อมทง้ั ตอบคาถามทก่ี าหนด คณุ ลักษณะของ พลเมอื งดี ในความคิดของฉัน การปฏิบัตติ นเป็นพลเมืองดกี ่อใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ประเทศชาติอยา่ งไร

- 215 - แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม กลมุ่ .......................................................................................................... สมาชิกในกลมุ่ 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... 6. ...................................................................... คาชแ้ี จง: ให้นักเรยี นทาเครอ่ื งหมาย  ในช่องท่ตี รงกบั ความเป็นจรงิ พฤตกิ รรมที่สังเกต คะแนน 32 1 1. มีสว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ 2. มีความกระตือรือรน้ ในการทางาน 3. รับผิดชอบในงานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 4. มีขั้นตอนในการทางานอย่างเป็นระบบ 5. ใชเ้ วลาในการทางานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน พฤติกรรมทที่ าเป็นประจา ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ทาเปน็ บางครง้ั ให้ 2 คะแนน พฤตกิ รรมทท่ี านอ้ ยครัง้ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 13-15 ดี 8-12 5-7 ปานกลาง ปรบั ปรุง

- 216 - แบบการประเมนิ ผลการนาเสนองาน เรอื่ ง ………………………………………………………………………. วิชา…………………………………………………….…………….ช้นั ………………. ชื่อ/กลุม่ ……………………………………………………….………………………………………………….. ที่ รายการประเมิน ผูป้ ระเมนิ รวม เกณฑก์ ารประเมนิ 1 เนอ้ื หา ( 4 คะแนน ) ตนเอง เพอื่ น ครู 1. เน้ือหาครบถ้วนสมบรู ณ์ 2. เนอ้ื หาถูกตอ้ ง คะแนน 4 : มีครบทกุ ข้อ 3. เนอ้ื หาต่อเนอื่ ง 4. มีการค้นคว้าเพมิ่ เตมิ คะแนน 3 : มี 3 ขอ้ ขาด 1 ข้อ 2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้ 1. มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ 2. การปฏิบตั ติ ามแผน คะแนน 1 : มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ 3. ติดตามประเมนิ ผล 4. การปรบั ปรงุ พฒั นางาน คะแนน 2: มีครบทุกข้อ คะแนน 1 : มี ไม่ครบ 4 ข้อ 3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 0 : ไม่ปรากฏกระบวน 1. การใชส้ านวนภาษาดถี ูกต้อง 2. การสะกดคาและไวยากรณ์ การทางานที่ชัดเจน ถกู ต้อง 3. รูปแบบน่าสนใจ คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้ 4. ความสวยงาม คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้ คะแนน 1 : มี 2 ข้อ ขาด 2 ขอ้ 4 คุณธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ข้อ 1. ตรงต่อเวลา 2. ซอื่ สตั ย์ คะแนน 2 : มคี รบทกุ ขอ้ 3. ความกระตอื รือรน้ คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ข้อ 4. ความมนี ้าใจ คะแนน1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้ รวม คะแนน 0.5 :มี 1 ข้อ ขาด 3 ข้อ เฉล่ีย คะแนนเต็ม 10 คะแนน ลงชอ่ื ผปู้ ระเมิน…………………………….. ตนเอง ลงชือ่ ผปู้ ระเมิน…………………………….. เพื่อน ลงชือ่ ผ้ปู ระเมิน…………………………….. ครู

- 217 - แบบประเมินใบงาน ลาดับ ชอื่ -สกลุ คณุ ลักษณะ การปฏิบตั ิตน รวม สรปุ ที่ ของพลเมืองที่ดี เป็นพลเมอื งดี 1 2 3 1 2 3 6 ผ. มผ. เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ลงช่อื ............................................ผ้ปู ระเมนิ ระดับ 1 ตอบคาถามได้ 1 – 2 ขอ้ ………./………../………. ระดับ 2 ตอบคาถามได้ 3 – 4 ขอ้ ระดับ 3 ตอบคาถามได้ 5 ข้อ ขึน้ ไป

- 218 - แบบประเมินพฤติกรรม “รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์” คาชี้แจง ทาเคร่อื งหมาย √ ลงในช่องท่ีตรงกับความเปน็ จริงตามเกณฑ์การประเมนิ ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้อง ปฏบิ ัตติ นตามสทิ ธิและ เพลงชาติ และอธิบาย หน้าที่พลเมืองดีของ ผลการประเมนิ เลขที่ ช่ือ – สกุล ความหมายของเพลงชาติ ชาติ รวม ไดถ้ กู ต้อง คะแนน ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒๑๐ ผา่ น ไมผ่ า่ น ลงชอ่ื ........................................... ครผู สู้ ังเกต () ............../..................../....................

- 219 - ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒ ชวั่ โมง แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ๔ ช่ือหนว่ ย พลเมอื งและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ เรื่อง ความเปน็ พลโลก ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับพลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๑.๒ ปฏิบัตติ นตามหนา้ ที่พลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสงั คม ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทจุ ริต ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 นกั เรียนบอกความหมายของความเปน็ พลโลกได้ 2.2 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกยี่ วกับความเปน็ พลโลก 2.3 ระบพุ ฤติกรรมของความเปน็ พลโลก 2.4 ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นตามหลักความเปน็ พลโลก ๓. สาระการเรยี นรู้ 3.1 ความรู้ 1) ความหมายของคาว่า ความเปน็ พลโลก 2) คุณลักษณะทด่ี ขี องความเปน็ พลเมืองโลก 3.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) 3.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ 2) ทักษะกระบวนการคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์ 3.2 ความสามารถในการส่ือสาร (อา่ น ฟัง พูด เขียน) 3.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต (การสังเกต การระบุ จาแนก วเิ คราะห์ จดั กล่มุ สรปุ ) 3.3 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ / ค่านยิ ม มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ๔.กจิ กรรมการเรยี นรู้ (จานวน ๒ ชว่ั โมง) 4.1 ข้ันตอนการเรยี นรู้

- 220 - ชั่วโมงท่ี ๑ ๑. นกั เรียนชมการ์ตนู แอนิเมช่นั 2 มติ ิ เรอ่ื งหน้าท่พี ลเมืองดี https://www.youtube.com/watch?v=b20dMjyC8Aw ๒ .ครูและนักเรยี นสนทนาอภิปราย เก่ียวกบั การ์ตนู ทร่ี บั ชมเพื่อทาความเขา้ ใจเรื่องหน้าท่ี พลเมอื งดี ๓. แบ่งกลุ่ม ๓ – ๕ กลมุ่ แจกใบความรู้ เรื่อง เรือ่ ง ความเป็นพลเมอื งโลก (Global Citizenship)ให้แต่ละกลุ่มศกึ ษา และรว่ มกนั สรปุ องค์ความร้ทู ีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษาใบความรู้ ให้ ตัวแทนกล่มุ ออกมานาเสนอผลงาน ๔. สนทนา อภปิ ราย เกี่ยวกับความเปน็ พลโลกท่ีดี การเป็นพลเมอื งทีด่ นี นั้ เปน็ เร่ืองของแตล่ ะ ประเทศแตก่ ารที่เราจะเปน็ พลโลกทีด่ นี นั้ มคี วามสาคัญมากเพราะเราตอ้ งดูว่าโลกน้นั มี ความสาคัญกับเราอย่างไร ถ้าเราทาไม่ดผี ลกระทบมันจะเกิดเป็นวงกว้างเพราะฉะนั้นเม่ือเราจะ ทาอะไรเราต้องคิดใหม้ าก เราตอ้ งเคารพกฎกตกิ าของชาวโลก ชว่ั โมงที่ ๒ ๑. แบ่งกลมุ่ นักเรยี นออกเป็น ๓ กลุ่ม ครแู จกใบความร้เู ร่ือง คุณลกั ษณะของพลเมืองท่ีดี ให้ แตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาทาความเขา้ ใจและศกึ ษาคน้ คว้าเพ่ิมเติม ๒. แจกกระดาษ flip chart ให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ เขยี นคุณลักษณะของพลเมืองดีตามความ เข้าใจของนักเรียน ลงในกระดาษ flip chart พร้อมตกแตง่ ให้สวยงาม ๓. ครใู หค้ าแนะนานักเรยี นและตรวจสอบผลงานเมอ่ื นกั เรยี นทางานเสรจ็ ๔. แตล่ ะกล่มุ ออกมานาเสนอผลงานของตนเม่ือนาเสนอเสร็จแล้วรวบรวมผลงานต่างๆของ นกั เรยี นนามาจดั นิทรรศการเนอ่ื งในวนั ต่อต้านคอร์รัปชน่ั สากล ในวันที่ ๙ ธันวาคมของทุกปี ๔.๒ ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. การ์ตนู แอนิเมชั่น 2 มิติ เรอ่ื งหนา้ ที่พลเมืองดี https://www.youtube.com/watch?v=b20dMjyC8Aw ๒. ใบความรู้ เร่ือง ความเป็นพลเมอื งโลก (Global Citizenship ๓. ใบความรู้ เรือ่ ง ความสาคญั ของพลเมืองดี ๔. กระดาษ flip chart ปากกาเคมี สไี ม้ ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 วธิ ีการประเมิน ๑) สงั เกตกระบวนการทางานกลมุ่ ๒) สงั เกตการนาเสนอผลงาน ๕.๒ เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบสังเกตกระบวนการทางานกลุ่ม ๒) แบบบนั ทึกผลการนาเสนอผลงาน ๓) แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5.3 เกณฑ์การตัดสิน นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับดีข้ึนไป

- 221 - 6. บันทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................. ................ ................................................................................................................... ............................................... ลงช่อื ................................................ ครูผ้สู อน (.................................................)

- 222 - ใบความรู้ เร่อื ง ความเป็นพลเมืองโลก (Global Citizenship) พลโลก ความหมาย คือ [พนละ-] น. ชาวโลก, พลเมืองของโลก.; ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิดหลักการ และสถาบัน การมีบทบาทท่ีเกี่ยวข้องในฐานะสมาชิก ของสังคมทั้งในระดับท้องถ่ิน ประเทศ และระดับโลก ตลอดจนการมีส่วนร่วมรับผิดชอบในฐานะพลเมืองที่ดี ของสงั คมท่คี านงึ ถึงสทิ ธมิ นุษยชนและอดุ มการณ์ประชาธปิ ไตย ลักษณะการเปน็ พลโลก คณุ ลกั ษณะพลเมอื งที่ดขี องประเทศชาติและสังคมโลก 1. เคารพกฎหมายและปฏิบัติตามกฎระเบียบขอ้ บงั คับของสงั คม เมื่อพลเมืองทุกคนปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ไมล่ ว่ งละเมิดสทิ ธขิ องผู้อนื่ หรอื ไม่กระทาความผดิ ตามที่กฎหมายกาหนดก็จะทาให้รัฐไม่ต้องเสียง งบประมาณ ในการป้องกันปราบปราม และจับกุมผู้ท่ีกระทาความผิดมาลงโทษ นอกจากน้ียังทาให้สังคมมีความเป็น ระเบยี บสงบสุขทุกคนอยูร่ ่วมกนั อย่างสมานฉนั ท์ ไม่หวาดระแวงคดิ รา้ ยตอ่ กนั 2. เปน็ ผมู้ ีเหตุผล และรับฟังความคดิ เหน็ ของผูอ้ ่ืน ทุกคนย่อมมีอิสรภาพ เสรีภาพในการแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างกัน ซึ่งการรู้จักการใช้ เหตผุ ลในการดาเนินงาน จะทาให้ชว่ ยประสานความสมั พันธ์ ทาให้เกิดความเขา้ ใจอันดงี ามต่อกนั 3. ยอมรับมติของเสยี งสว่ นใหญ่ เมอื่ มีความขัดแย้งกันในการดาเนินกิจกรรมอันเกิดจากความคิดเห็น ท่ีแตกต่างกัน และจาเป็นต้อง ตดั สินปัญหาดว้ ยการใช้เสียงข้างมากเข้าช่วย และมติส่วนใหญ่ตกลงว่าอย่างไร ถึงแม้ว่าจะไม่ตรงกับความคิด ของเรา เรากต็ ้องปฏิบัติตาม เพราะเป็นมตขิ องเสยี งสว่ นใหญ่น้นั 4. เป็นผ้นู ามนี า้ ใจประชาธปิ ไตย และเห็นแก่ประโยชนส์ ่วนรวม ผู้ที่มีความเป็นประชาธิปไตยน้ัน จะต้องมีความเสียสละ ในเรื่องที่จาเป็นเพื่อผลประโยชน์ของ ส่วนรวมและรักษาไว้ซึ่งสังคมประชาธิปไตย เป็นการส่งผลต่อความมั่นคงและความก้าวหน้าขององค์กรซึ่ง สุดท้าย แล้วผลประโยชน์ดังกล่าวก็ย้อนกลับมาสู่สมาชิกของสังคม เช่นการไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งถึงแม้ว่าเราจะมี อาชีพบางอย่างท่ีมีรายได้ตลอดเวลา เช่นค้าขาย แต่ก็ยอมเสียเวลาค้าขายเพ่ือไปลงสิทธิ์เลือกตั้ง บางคร้ังเรา ต้องมีน้าใจช่วยเหลือกิจกรรมส่วนร่วม เช่น การสมัครเป็นกรรมการเลือกต้ัง หรือสมาคมบาเพ็ญประโยชน์ ส่วนรวม เปน็ ต้น 5. เคารพในสทิ ธเิ สรภี าพของผอู้ น่ื ควรรู้จักเคารพในสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืนเช่นบุคคลมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด แต่ ต้องไมเ่ ปน็ การพดู แสดงความคิดเห็นทใ่ี ส่ร้ายผ้อู ่ืนใหเ้ สยี หาย 6. มคี วามรบั ผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชมุ ชน ประเทศชาติ ในการอยู่ร่วมกันในสังคม ย่อมต้องมีการทางานเป็นหมู่คณะจึงต้องมีการแบ่งหน้าที่ความ รบั ผดิ ชอบในงานนั้นๆ ให้สมาชิกแตล่ ะคนนาไปปฏิบัติตามทไี่ ดร้ ับหมอบหมายไวอ้ ยา่ งเต็มท่ี 7. มสี ่วนร่วมในกิจกรรมการเมืองการปกครอง ในสังคมประชาธิปไตยนั้นสมาชิกทุกคนต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเมืองการปกครอง เช่น การ เลือกตงั้ เป็นต้น

- 223 - 8. มีสว่ นรว่ มในการป้องกนั แกไ้ ขปญั หาเศรษฐกจิ สงั คม การเมืองการปกครอง ช่วยสอดส่องพฤตกิ รรมม่ัวสุมของเยาวชนในสถานบันเทิงต่าง ไม่หลงเช่ือข่าวลือคากล่าวร้ายโจมตี ไมม่ องผทู้ ไ่ี ม่เหน็ ด้วยกบั เราเปน็ ศัตรู รวมถงึ สง่ เสรมิ สนับสนุนการแกไ้ ขปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ดว้ ยสันตวิ ธิ ี 5. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรม ทุกคนควรมีศีลธรรมไว้เป็นหลักในการควบคุมพฤติกรรมของบุคลให้ดาเนินไปอย่างเหมาะสม ถึงแม้จะไม่มีบทลงโทษใดๆก็ตาม การมีส่วนร่วมในการเมอื งการปกครอง การมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางการเมืองการปกครองในระบบประชาธิปไตย ประชาชนสามารถมี สว่ นรว่ มได้ ดังน้ี 1. การใช้สิทธใิ นการเลือกต้ังระดบั ต่างๆ เม่ืออายุครบ18ปีบริบูรณ์ ทุกคนต้องไปใช้สิทธิเลือกต้ังทั้งในระดับประเทศ เช่นการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาและการเลือกต้ังระดับท้องถิ่น เช่น การเลือกตั้งผู้ว่ า กรุงเทพมหานคร การเลือกต้ังสมาชิกองค์กรส่วนท้องถ่ิน เป็นต้น เพ่ือเลือกตัวแทนไปทาหน้าที่บริหาร ประเทศหรอื ท้องถ่ินท่วั ไป 2. การมีส่วนรว่ มในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้นประชาชนทุกคนล้วนมีส่วนร่วมมือ กันสอดส่องดูแล การบริหารราชการแผน่ ดนิ ของรฐั บาลหรือตรวจสอบการทางานของเจ้าหน้าท่ีในองค์กรต่างๆ เพื่อไม่ให้อานาจ ไปในทางที่ไมถ่ กู ตอ้ ง 3. การเป็นแกนนาปลุกจติ สานึกใหแ้ กผ่ ้อู ืน่ ในการร่วมกจิ กรรมทางการเมืองการปกครอง ไดแ้ กก่ ารใช้สทิ ธิเลือกตั้งและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบอานาจของรัฐ โดยการเป็นแกน นานนั้ สามารถปฏิบัติได้หลายอย่าง เช่น ประกาศโฆษณาประชาสัมพันธ์ การเข้าไปช้ีแจงเป็นรายบุคคลการ จดั ให้มกี ารประชุมเพ่อื แสดงความคดิ เหน็ ต่อประเดน็ ท่ีมผี ลกระทบตอ่ สงั คม

- 224 - ใบความรู้ เรอ่ื ง ความสาคัญของพลเมืองดี 1. ความสาคญั ของพลเมืองดี พลเมอื งดมี คี วามสาคญั ตอ่ ประเทศชาติอยา่ งมาก โดยอาจแยกกล่าวถึงความสาคัญของพลเมืองดี ได้ 3 ประการ 1.) ด้านสังคม การเป็นพลเมืองดีจะทาให้การอยู่ร่วมกันในสังคมเป็นไปอย่างสันติสุข เพราะคนในสังคมจะ ช่วยกันรักษาความสงบเรียบร้อย และร่วมกันพัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้า หลีกเลี่ยงความขัดแย้งในสังคม พลเมอื งที่ดจี ะปฏบิ ตั ิตนใหเ้ ปน็ ตัวอยา่ งแก่พลเมืองท่ีประพฤติไม่ดี ในด้านการเสียสละต่างๆ เพื่อประโยชน์ของ สว่ นรวมและประเทศชาติ 2.) ด้านเศรษฐกิจ พลเมืองดีจะประกอบสัมมาอาชีพ ดารงชีวิตตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียง ประหยัด และออมทรัพย์ไว้ใช้ในยามจาเป็น เช่น ยามป่วยไข้ ฉุกเฉิน เป็นต้น และอาจนาทรัพย์ท่ีออมไว้มาลงทุนทา ธุรกจิ เพือ่ หาเล้ยี งชีพ รวมทงั้ นาทรพั ยท์ อ่ี อมไว้มาทาใหเ้ กิดประโยชน์ของสว่ นรวมและประเทศชาติ 3.) ด้านการเมืองการปกครอง พลเมืองดีจะเป็นผู้ท่ีเคารพกฎหมาย รู้จักสิทธิและหน้าที่ของตน รวมทั้งไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น พลเมืองดีนั้นจะรู้จักใช้สิทธิและหน้าท่ีของตนเองตามกฎหมาย มีส่วนร่วมใน กระบวนการทางการเมืองการปกครอง เชน่ ไปใช้สิทธเิ ลอื กตง้ั เป็นต้น จากทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ ทาให้ทราบว่าพลเมอื งมีความสาคญั ต่อสงั คมและประเทศชาติเป็นอย่างมาก เพราะพลเมอื งเป็นปัจจยั สาคัญท่ีทาให้สังคมและประเทศชาติเจริญก้าวหน้า ฉะน้ัน ถ้าพลเมืองส่วนใหญ่ของ สังคมเปน็ พลเมืองดี ย่อมทาให้ประเทศชาติเจรญิ ก้าวหน้าและพัฒนาไดอ้ ย่างยั่งยนื ตอ่ ไป คุณลกั ษณะของพลเมืองดี คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สาคัญและจาเป็นสาหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบร่ืน และช่วย จรรโลงใหส้ ังคมประเทศชาตแิ ละโลกพฒั นากา้ วหนา้ มีดงั น้ี 1.ต้องเป็นบคุ คลทเี่ คารพกฎหมาย 2.ต้องเปน็ บคุ คลท่ีเคารพสทิ ธิและเสรภี าพของตนเองและบุคคลอ่นื 3.ตอ้ งเป็นบุคคลทม่ี คี วามรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทีท่ ีม่ ตี ่อครอบครวั โรงเรียน ชมุ ชน ประเทศชาติ และสังคมโลก 4.ต้องเปน็ บุคคลทม่ี ีเหตผุ ล ใจกว้าง และรบั ฟังความคดิ เหน็ ของคนบคุ คลอื่นเสมอ 5.ต้องเป็นบคุ คลท่มี ีคุณธรรมและจรยิ ธรรมในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน 6.ต้องเป็นบุคคลที่มีความกระตือรือร้นท่ีจะเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก หรือองค์กรท่ีตนสังกัดอยู่ เช่น ร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาสภาพแวดล้อม ของโรงเรียนและชมุ ชนให้ดีข้ึน เปน็ ต้น 7.ต้องเป็นบุคคลท่ีมีความสนใจและกระตือรือร้นท่ีจะเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทางการเมืองการปกครอง เช่น การไปใช้สิทธเิ ลือกตัง้ เป็นตน้ พลเมืองที่ดีมีคุณลักษณะดังกล่าวนี้ จะเป็นผู้ที่ทาประโยชน์ให้แก่ครอบครัว โรงเรียน ประเทศชาติ และสังคมโลกเสมอ ประเทศใดก็ตามท่ีมีพลเมืองดีเป็นจานวนมาก ประเทศน้ันก็จะมีแต่ความ สงบสขุ และเจรญิ ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง

- 225 - แนวทางการพัฒนาตนเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก 3.แนวทางการพฒั นาตนเปน็ พลเมืองดีของประเทศชาติและสงั คมโลก ถ้าบุคคลตระหนักถึงคุณลักษณะของการเป็นพลเมืองดีต่อประเทศชาติและสังคมโลกทั้ง 7 ประการดังกล่าวแล้ว ก็สมควรจะพัฒนาตนเองให้มีคุณคุณลักษณะดังกล่าวด้วย เพ่ือที่จะได้เป็นสมาชิกท่ีดี ของครอบครวั โรงเรียน และชุมชน ซง่ึ แนวทางการพัฒนาตนเป็นพลเมืองดี มีดงั นี้ 3.1 การเปน็ สมาชิกทดี่ ีของครอบครัว ในครอบครวั จะประกอบด้วยสมาชกิ ทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ พ่อ แม่ และลูก ในบางครอบครัวคนอ่ืน ๆ ร่วมอยู่ ดว้ ย เชน่ ปู่ ย่า ตา ยาย เม่ือเราอยู่รว่ มกันในครอบครัว สมาชิกทุกคนต่างก็มีบทบาทและหน้าที่ท่ีจะต้อง ปฏิบัติ เช่น หน้าท่ขี องพ่อแม่ที่มตี ่อลกู - หารายได้มาเล้ียงครอบครัว - อบรมสง่ั สอน - ให้การศกึ ษาแกล่ ูก หนา้ ที่ของลูกที่มตี ่อพ่อแม่ - ชว่ ยแบง่ เบาภาระของพ่อแม่ - ต้งั ใจศกึ ษาเลา่ เรยี น - เคารพเชอื่ ฟังพ่อแม่ นอกจากการปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนา้ ทีใ่ นฐานะของสมาชิกทีด่ ขี องครอบครัวแลว้ ทกุ คนควรปฏบิ ัติ ตามข้อตกลงของครอบครัว และมีความสมั พันธท์ ด่ี ีตอ่ กัน เพื่อให้อยรู่ ่วมกนั ในครอบครัวอยา่ งมคี วามสุข 3.2 การเป็นสมาชิกทีด่ ขี องโรงเรยี น เมอื่ เราอยู่ในโรงเรียน เราทกุ คนมหี นา้ ทที่ ต่ี ้องปฏิบัติต่อโรงเรยี น เพราะโรงเรยี นเป็นสถานทที่ ใ่ี ห้ ความรู้ ซง่ึ เราต้องอยูร่ ว่ มกบั คนอนื่ ๆ อีกมากมาย ดังนัน้ เราจึงจาเป็นตอ้ งปฏิบัตติ ามกฎระเบียบของ ห้องเรียนและโรงเรยี น เพื่อท่ีจะได้อยูร่ ว่ มกันอยา่ งมคี วามสุข และเกดิ ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย เช่น - เมือ่ มาโรงเรียน เราต้องปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบของโรงเรยี น เช่น แต่งกายให้ถกู ต้องตาม ระเบียบ มาให้ทนั เข้าแถวเคารพธงชาตใิ นตอนเช้า - เมือ่ อยูใ่ นโรงเรียน เราตอ้ งชว่ ยกนั รกั ษาความสะอาดในห้องเรยี น และในบริเวณต่าง ๆ ของ โรงเรยี น ทิง้ ขยะลงในถงั ขยะท่โี รงเรียนจัดให้ - ให้ความเคารพเช่ือฟงั ครูอาจารย์ ตง้ั ใจเรยี นหนงั สอื รวมทัง้ ทางานตา่ ง ๆ ท่คี รูมอบหมายดว้ ย ความตง้ั ใจและเอาใจใส่ นอกจากน้ี เราควรปฏบิ ตั ิตนใหเ้ ปน็ สมาชิกท่ีดีของหอ้ งเรยี นและโรงเรยี น เชน่ - ปฏิบตั ใิ นการเปน็ ผู้นาและผ้ตู ามท่ีดี ต้องรูว้ ่าเมอ่ื เราเป็นผู้นาในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ควร ปฏบิ ตั ติ นอย่างไร และเม่ือเป็นผ้ตู ามควรปฏิบตั ิตนอยา่ งไร - ร้จู กั แสดงความคิดเห็นตามสิทธิของตนเอง รวมทงั้ รูจกั รับฟังความคิดเห็นของผู้อน่ื และ เคารพข้อตกลงของคนสว่ นใหญ่ - ถา้ เกิดข้อขัดแยง้ กัน ใหแ้ ก้ปัญหาดว้ ยหลกั เหตุผล ไมใ่ ชอ้ ารมณห์ รอื พละกาลังในการแกป้ ัญหา เพราะไมใ่ ชว่ ธิ แี กป้ ัญหาท่ีถูกต้อง แต่กลบั จะทาให้เกิดปญั หาอน่ื ๆ ตามมา

- 226 - - ในการแข่งขนั ทากจิ กรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน เชน่ การแขง่ กฬี า การประกวดในด้านต่าง ๆ ตอ้ งฝึกฝนตนเองให้เป็นผรู้ จู้ ักแพ้ ชนะ และให้อภยั รวมท้ังยอมรับในคาตัดสนิ ของคณะกรรมการ 3.3 การเปน็ สมาชิกทีด่ ขี องชุมชน การปฏิบตั ิตนในฐานะตนในฐานะสมาชิกของชมุ ชน สามารถทาได้หลายวธิ ี ซึง่ ในวยั ของนักเรียนควร ปฏิบัติ ดงั นี้ 1. ปฏบิ ัตติ นตามกฎระเบยี บของชุมชน เช่น ปฏบิ ัตติ ามกฎจราจร โดยขา้ มถนนตรงทางมา้ ลาย หรอื สะพานลอย ไมว่ ิ่งข้ามถนนตัดหนา้ รถ ไม่ทิ้งขยะลงในท่ีสาธารณะ ไม่ทาลายส่งิ ของท่เี ปน็ ของสาธารณะ และทรัพย์สนิ สว่ นตัวของผ้อู ื่นให้ได้รับความเสยี หายเพราะความสนุกสนานของตนเอง 2. เข้ารว่ มกิจกรรมของชุมชน เพ่ือชว่ ยรักษาและเผยแพร่วฒั นธรรมประเพณีของชุมชนไว้ ใน แต่ละชุมชนจะมีขนบธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบตั ิสบื ทอดกันมา เช่น ประเพณีการทาบุญเม่ือถงึ วันสาคัญทาง ศาสนา ประเพณีวันสงกรานต์ ประเพณวี นั ลอยกระทง 3. บาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน เชน่ ชว่ ยเกบ็ เศษขยะที่พบเหน็ ในบรเิ วณต่าง ๆ ช่วยดแู ลต้นไม้ ดอกไม้ในสวนสาธารณะของชุมชน 4. รว่ มกนั อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในชุมชน โดยใหท้ กุ คนในชุมชนมจี ติ สานึก ในการรักษาส่ิงแวดล้อม เช่น ชุมชนท่ีมีป่าชายเลน ควรจะรว่ มใจกนั อนุรักษป์ า่ ชายเลน เพื่อให้เปน็ ท่ีอยู่ของ สตั วต์ ่าง ๆ รวมท้ังยังเป็นแหล่งหลบภยั ของลูกสตั วน์ ้าอีกด้วย ชมุ ชนท่ีอยตู่ ดิ ชายทะเล ควรรว่ มใจกันรักษาความสะอาดของชายหาด เพื่อใหเ้ ป็นแหล่ง ท่องเท่ยี วทีย่ ง่ั ยืนของชมุ ชน การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในชมุ ชนควรเปน็ ความร่วมมือกันหลายฝ่าย ระหวา่ งบา้ น โรงเรยี น และชุมชน

- 227 - แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลมุ่ กล่มุ .......................................................................................................... สมาชิกในกลุ่ม 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... 6. ...................................................................... คาชแ้ี จง: ให้นกั เรยี นทาเครอื่ งหมาย  ในช่องทต่ี รงกบั ความเปน็ จรงิ พฤตกิ รรมท่ีสังเกต คะแนน 32 1 1. มสี ่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 2. มีความกระตอื รอื รน้ ในการทางาน 3. รบั ผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 4. มีข้นั ตอนในการทางานอยา่ งเป็นระบบ 5. ใช้เวลาในการทางานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมท่ที าเปน็ ประจา ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมทท่ี าเปน็ บางคร้งั ให้ 2 คะแนน พฤตกิ รรมทท่ี านอ้ ยครงั้ ให้ 1 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13-15 ดี 8-12 5-7 ปานกลาง ปรับปรุง

- 228 - แบบการประเมนิ ผลการนาเสนองาน เรอื่ ง ………………………………………………………………………. วชิ า…………………………………………………….…………….ชนั้ ………………. ชือ่ /กลมุ่ ……………………………………………………….………………………………………………….. ที่ รายการประเมิน ผูป้ ระเมิน รวม เกณฑ์การประเมนิ ตนเอง เพื่อน ครู 1 เนือ้ หา ( 4 คะแนน ) คะแนน 4 : มคี รบทกุ ข้อ เน้อื หาครบถว้ นสมบูรณ์ คะแนน 3 : มี 3 ข้อ ขาด 1 ข้อ เน้อื หาถกู ต้อง คะแนน 2 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ข้อ เน้ือหาต่อเนื่อง คะแนน 1 : มี 1 ข้อ ขาด 3 ขอ้ มีการค้นคว้าเพ่ิมเตมิ 2 กระบวนการทางาน(2คะแนน ) คะแนน 2: มคี รบทุกข้อ มีการวางแผนอย่างเปน็ ระบบ คะแนน 1 : มี ไมค่ รบ 4 ขอ้ การปฏบิ ตั ติ ามแผน คะแนน 0 : ไมป่ รากฏกระบวน ตดิ ตามประเมนิ ผล การทางานทชี่ ัดเจน การปรับปรงุ พฒั นางาน 3 การนาเสนอ ( 2 คะแนน ) คะแนน 2 : มคี รบทกุ ข้อ การใช้สานวนภาษาดถี กู ต้อง คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ข้อ การสะกดคาและไวยากรณ์ คะแนน 1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้ ถูกต้อง คะแนน 0.5 : มี 1 ข้อขาด 3 ข้อ รูปแบบน่าสนใจ. ความสวยงาม 4 คณุ ธรรม ( 2 คะแนน ) คะแนน 2 : มีครบทกุ ขอ้ ตรงต่อเวลา คะแนน 1.5: มี 3 ข้อ ขาด 1 ขอ้ ซอ่ื สตั ย์ คะแนน1 : มี 2 ขอ้ ขาด 2 ขอ้ ความกระตือรือรน้ คะแนน 0.5 :มี 1 ขอ้ ขาด 3 ข้อ ความมีน้าใจ รวม คะแนนเต็ม 10 คะแนน เฉล่ีย ลงชื่อผ้ปู ระเมิน…………………………….. ตนเอง ลงช่อื ผู้ประเมนิ …………………………….. เพื่อน ลงชอื่ ผปู้ ระเมนิ …………………………….. ครู

- 229 - แบบประเมนิ พฤติกรรม “รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์” คาชแ้ี จง ทาเคร่อื งหมาย √ ลงในชอ่ งทีต่ รงกับความเป็นจรงิ ตามเกณฑ์การประเมนิ ยืนตรงเคารพธงชาติ ปฏิบัตติ นตามสิทธิ รอ้ งเพลงชาติ และ และหน้าท่ีพลเมืองดี ผลการ เลขที่ ชือ่ – สกลุ อธบิ าย ความหมาย ของชาติ รวม ประเมนิ ของเพลงชาตไิ ด้ คะแนน ถกู ตอ้ ง ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒๑๐ ผา่ น ไมผ่ า่ น ลงชอ่ื ........................................... ครูผู้สังเกต () ............../..................../.............

- 230 - ภาคผนวก

- 231 - คาสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท.่ี . 646/2560 เรื่อง แตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการจัดทาหลกั สูตรหรือชดุ การเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกนั การทุจริต ---------------------------------------- ดว้ ย คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมคร้ังที่ 855-26/2560 เม่ือวันท่ี 11 เมษายน 2560 ได้ มมี ติเหน็ ชอบใหแ้ ตง่ ตงั้ คณะอนุกรรมการจดั ทาหลักสูตรหรอื ชดุ การเรยี นรู้และสอื่ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการ ทุจริต เพ่ือดาเนินการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต สาหรับใชเ้ ปน็ เนอ้ื หามาตรฐานกลางใหส้ ถาบันการศกึ ษาหรือหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องนาไปพิจารณาปรับใช้ในการ เรียนการสอนให้กับกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทุกระดับช้ันเรียน เพื่อปลูกฝังจิตสานึกในการแยกแยะประโยชน์ ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง และสร้างพฤติกรรมท่ีไม่ยอมรับและไม่ทนต่อการทุจริต อันเป็นการ ดาเนินงานตามยทุ ธศาสตรช์ าติว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 “สร้างสังคมไม่ทนต่อการทุจริต” กลยุทธ์ท่ี 1 ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ต้ังแต่ปฐมวัยให้ สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และกลยุทธ์ท่ี 3 ประยุกต์หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเปน็ เครอ่ื งมอื ต้านทุจริต ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามมาตรา 19 (16) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2559 จึงขอแต่งต้ัง คณะอนกุ รรมการจดั ทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต โดย มอี งค์ประกอบ ดงั นี้ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธีรานุวัฒศริ ิ ประธานอนกุ รรมการ 2. รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนุกรรมการ (นายประหยดั พวงจาปา) 3. ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนุกรรมการ (นายกิตติ ลิ้มพงษ)์ 4. ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ (นายอทุ ศิ บวั ศรี) 5. ผอู้ านวยการสานกั ป้องกันการทจุ ริตภาคการเมือง อนุกรรมการ 6. ผ้อู านวยการสานกั ปอ้ งกันการทุจริตภาครฐั วิสาหกิจ อนุกรรมการ และธุรกิจเอกชน 7. ผูอ้ านวยการสานักป้องกันการทจุ ริตภาคประชาสงั คม อนกุ รรมการ และการพัฒนาเครือขา่ ย

- 232 - 8. ผแู้ ทนสานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ อนุกรรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลกั สูตรและสอ่ื การเรียนรู้) 9. ผ้แู ทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อนกุ รรมการ (ด้านการสร้างหลักสตู รและสอ่ื การเรียนรู)้ 10. ผแู้ ทนสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา อนุกรรมการ (ดา้ นการสร้างหลกั สตู รและสื่อการเรยี นร)ู้ 11. ผู้แทนสานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อนกุ รรมการ (ด้านการสร้างหลักสตู รและสอื่ การเรียนร)ู้ 12. ผู้แทนสานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา อนุกรรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลกั สตู รและสื่อการเรยี นร)ู้ 13. ผู้แทนสานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและ อนุกรรมการ การศึกษาตามอัธยาศยั (ด้านการสรา้ งหลกั สูตรและส่ือการเรยี นร)ู้ 14. ผแู้ ทนสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ อนกุ รรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลักสูตรและส่อื การเรยี นร)ู้ 15. ผแู้ ทนท่ีประชุมอธกิ ารบดแี ห่งประเทศไทย อนกุ รรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลักสูตรและสอ่ื การเรยี นรู้) 16. ผู้แทนทป่ี ระชมุ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภฏั อนุกรรมการ (ดา้ นการสร้างหลกั สูตรและสอ่ื การเรียนรู้) 17. ผู้แทนคณะกรรมการอธิการบดมี หาวิทยาลัย อนกุ รรมการ เทคโนโลยีราชมงคล (ดา้ นการสรา้ งหลักสตู รและสอ่ื การเรยี นร)ู้ 18. ผู้แทนสถาบันวชิ าการป้องกนั ประเทศ อนกุ รรมการ กองบัญชาการกองทัพไทย (ด้านการสรา้ งหลกั สตู รและสื่อการเรียนร้)ู 19. ผู้แทนกรมยทุ ธศึกษาทหารบก อนกุ รรมการ (ด้านการสรา้ งหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้) 20. ผแู้ ทนกรมยทุ ธศึกษาทหารเรือ อนุกรรมการ (ดา้ นการสรา้ งหลกั สูตรและสอ่ื การเรยี นร)ู้ 21. ผแู้ ทนกรมยทุ ธศกึ ษาทหารอากาศ อนกุ รรมการ (ด้านการสรา้ งหลกั สตู รและสอ่ื การเรียนรู้) 22. ผูแ้ ทนกองบัญชาการศกึ ษา สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ อนกุ รรมการ (ดา้ นการสร้างหลักสตู รและสอ่ื การเรยี นร)ู้ 23. พลโท ดร.ชยั ฤกษ์ แก้วพรหมมาลย์ อนุกรรมการ 24. นายเสฏฐนนั ท์ องั กรู ภาสวชิ ญ์ อนุกรรมการ 25. นายสเุ ทพ พรหมวาศ อนกุ รรมการ 26. ผู้อานวยการสานักป้องกนั การทุจริตภาครฐั อนกุ รรมการและเลขานกุ าร

- 233 - 27. นายสมพจน์ แพ่งประสิทธ์ิ ผู้ชว่ ยเลขานุการ 28. นางสาวกลั ยา สวนโพธ์ิ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร 29. นายสราวฒุ ิ เศรษฐกร ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร 30. นายกาญจน์บณั ฑิต สนนุช ผู้ชว่ ยเลขานุการ 31. นายเทอดภูมิ ทัศนพิมล ผู้ชว่ ยเลขานุการ 32. นายธนวัฒน์ มะแมน้ ผูช้ ว่ ยเลขานุการ โดยคณะอนกุ รรมการฯ มีอานาจหนา้ ที่ดังน้ี 1. ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้ และส่อื ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกันการทุจริต 2. กาหนดแนวทางและขอบเขตในการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทจุ ริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 “สรา้ งสงั คมไมท่ นตอ่ การทุจรติ ” 3. พิจารณายกร่างและจัดทาเนื้อหาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกันการทุจริต โดยกาหนดโครงสร้างหลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร จุดประสงค์ของรายวิชา เน้อื หาสาระ จดั ระเบยี บ/ลาดบั ของเน้ือหาสาระ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ รวมท้ังอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง 4. พิจารณาให้ความเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือ ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต เพื่อให้มีเน้ือหาท่ีครอบคลุมและสมบูรณ์ พร้อมท้ังนาเสนอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ ทง้ั นี้ ใหด้ าเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2560 5. กาหนดแผนหรือแนวทางการนาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการปอ้ งกันการทจุ รติ ไปใช้ในหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง 6. ดาเนนิ การอื่นๆ ตามทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สง่ั ณ วันท่ี 26 เดือน เมษายน พ.ศ. 2560 พลตารวจเอก (วชั รพล ประสารราชกิจ) ประธานกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

- 234 - รายชื่อคณะทางาน จดั ทาหลกั สูตรหรือชดุ การเรียนรู้ และส่ือประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกันการทุจริต กลมุ่ การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน -------------------------------- ทีป่ รึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 1. นายบุญรกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 2. นางสาวอษุ ณยี ์ ธโนศวรรย์ ผอู้ านวยการสานักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา 3. นายสุรศกั ด์ิ อินศรีไกร ผชู้ ่วยเลขาธิการคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ 4. นายอทุ ศิ บวั ศรี คณะทางาน กลมุ่ ท่ี 1 หลกั สตู รปฐมวัย 1. นางธารณี พรมหนู ครู โรงเรียนอนบุ าลเสาไห้ สพป.สระบุรี เขต 1 2. นางสมบัตร สบื ศกั ด์ิ ครู โรงเรียนอนุบาลบ่อพลอย สพป.กาญจนบุรี เขต 4 3. นางสาวนภสั สร ภริ มยร์ ักษ์ ครู โรงเรียนอนุบาลบ่อพลอย สพป.กาญจนบุรี เขต 4 4. นางสาวลกั ขณา โคบตุ ร ครู โรงเรียนอนบุ าลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบุรี เขต 4 5. นางสมใจ จีนเท่ห์ ครู โรงเรยี นวดั เก้าชั่ง สพป.สงิ หบ์ รุ ี 6. นางสาวกชกร จีนเทห์ ครู โรงเรยี นวัดระนาม สพป.สงิ ห์บุรี 7. นางสพุ ิกา ตน้ สอน ครู โรงเรยี นวดั บ้านปอ้ งน้อย สพป.ราชบรุ ี เขต 2 8. นายพฒั นา พวงมาลี ครู โรงเรียนอนบุ าลเดิมบางนางบวช (วดั ทา่ ชา้ ง) สพป.สุพรรณบุรี เขต 3 9. นางสุภคั ษร พรอุดมประเสรฐิ ครู โรงเรียนวัดบ่อกรุ “คุรปุ ระชาสรรค์” สพป.สุพรรณบุรี เขต 3 10. นางฐิตพิ ร ศรแี จ่ม ครู โรงเรยี นวัดบ่อกรุ “คุรปุ ระชาสรรค์” สพป.สุพรรณบรุ ี เขต 3 11. นางอารีย์วรรณ เขม็ เงิน ครู โรงเรยี นวดั น้าพุ สพป.สพุ รรณบุรี เขต 3 กลุม่ ที่ 2 หลักสตู รประถมศึกษาตอนต้น 1. นางสาวสุภสั สร สุภาพ ครู โรงเรียนชลประทานอนเุ คราะห์ สพป.พระนครศรอี ยธุ ยา เขต 1 2. นางสาวกนกนพ วรฏั ธร ครู โรงเรียนชลประทานอนุเคราะห์ สพป.พระนครศรอี ยุธยา เขต 1 3. นางอารี พวงวรินทร์ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดทงุ่ คอก (สุวรรณสาธุกจิ ) สพป.สุพรรณบรุ ี เขต 2 4. นางละเอียด สะอ้ิงทอง ครู โรงเรยี นวดั ทงุ่ คอก (สุวรรณสาธกุ จิ ) สพป.สุพรรณบรุ ี เขต 2 5. นางสาวเรณู กุศลวงษ์ ครู โรงเรยี นอนบุ าลวดั อา่ งทอง สพป.อ่างทอง 6. นางสุจริ า อาบู ครู โรงเรยี นบา้ นนาดา สพป.นราธวิ าส เขต 1 7. นางสาววไิ ลวรรณ ทองไหม ครู โรงเรยี นเมอื งนราธวิ าส สพป.นราธวิ าส เขต 1 8. นางสาวนติ ยา อาหมาด ครู โรงเรียนบ้านมะนังกาหยี สพป.นราธวิ าส เขต 1 9. นางสาวกสั มานี มามะ ครู โรงเรยี นบ้านบอื เจ๊าะ สพป.นราธวิ าส เขต 1 10. นางสาวนสิ ริน เทพลกั ษณ์ ครู โรงเรยี นบ้านโคกพนอม สพป.นราธวิ าส เขต 1 11. นายยูกฟิ ลี มาหะ ครู โรงเรียนบา้ นฮแู ตยอื ลอ สพป.นราธวิ าส เขต 1 12. นางสาวซาฮาเราะ เจะยิ ครู โรงเรียนบา้ นยือสาแม สพป.นราธวิ าส เขต 1

- 235 - กลุม่ ท่ี 3 หลักสตู รประถมศึกษาตอนปลาย 1. นายกติ ติพงศ์ ศรทั ธาวาณิชย์ ผู้อานวยการโรงเรยี นวัดนางแกว้ สพป.ราชบรุ ี เขต 2 2. นางพรทพิ ย์ อม่ิ ศิลป์ ครู โรงเรยี นวัดสมถะ (สมถวิทยาคาร) สพป.ราชบรุ ี เขต 2 3. นางอัจฉราวดี บญุ โต ครู โรงเรียนวัดนางแกว้ สพป.ราชบรุ ี เขต 2 4. นางสาวศริ เิ พ็ญ จันทร์ทอง ครู โรงเรยี นวัดนางแกว้ สพป.ราชบุรี เขต 2 5. นางสาวเสาวรส แสนแซว ครู โรงเรียนวัดนางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต 2 6. นางสมพร คานุช ครู โรงเรียนวดั นางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต 2 7. นางรุสนานี ยะโก๊ะ ครู โรงเรยี นบา้ นกูวา สพป.นราธิวาส เขต 1 8. นางซีเตาะห์ นิมะ ครู โรงเรียนบา้ นยะหอ สพป.นราธวิ าส เขต 1 9. นางสุนทรี ทองชติ ร์ ครู โรงเรียนสายนา้ ทิพย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร 10. นางสาวพชิ ญดา ไชยดี ครู โรงเรยี นสายนา้ ทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร 11. นางสาวศศธิ ร คานึง ครู โรงเรยี นสายนา้ ทพิ ย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร 12. นางสาวณิชนันทน์ สุวรรณาภยั ครู โรงเรยี นสายน้าทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร กล่มุ ที่ 4 หลกั สูตรมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 1. นางสาวสุธรี า ศริ ิพิรุณ ครู โรงเรยี นวดั นางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต 2 2. นางสลติ ตา มะโนวฒั นา ครู โรงเรียนวัดนางแกว้ สพป.ราชบรุ ี เขต 2 3. นางทิวาพร อุณยเกยี รติ ครู โรงเรยี นวดั ดอนกระเบ้ือง สพป.ราชบุรี เขต 2 4. นางสาววรรณดี ศรีอินสวสั ด์ิ ครู โรงเรยี นชมุ ชนวดั บา้ นเลือก สพป.ราชบรุ ี เขต 2 5. นางสาวฉวีวรรณ หอธรรมกุล ครู โรงเรียนบ้านลาดวิถี สพป.ประจวบครี ขี ันธ์ เขต 2 6. นางสาวชนาธิป เทียนวรรณ ครู โรงเรยี นบา้ นตะพานหนิ (ประชาสามคั ค)ี สพป.ชยั นาท 7. นายวทิ ยา ศริ ิดารง ครู โรงเรียนบา้ นไพรนกยงู (วันชัยประชาสรรค)์ สพป.ชยั นาท 8. นางสาวขจร สังขป์ ระเสริฐ ครู โรงเรยี นบ้านหนองต่อ สพป.ชัยนาท 9. นายเมธา สุระจิตร ครู โรงเรยี นวดั บางปนู สพป.สงิ ห์บรุ ี 10. นายนพรตั น์ บุญอ้น ครู โรงเรียนบา้ นบ่อกะปงุ สพป.นครสวรรค์ เขต 2 11. นางสาวบุษยพรรณ พรหมวาทย์ จนั ทรา ครู โรงเรยี นสรุ ศักดิม์ นตรี สพม. เขต 2 12. นางสาวลักษิกา มกี ุศล ครู โรงเรียนสาคลีวิทยา สพม. เขต 3 กลมุ่ ที่ 5 หลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนปลาย 1. นายภธู ร จันทะหงษ์ ปุณยจรสั ธารง ผู้อานวยการกลุ่มวจิ ัยและพฒั นาองค์กรแหง่ การเรียนรู้ สนก. 2. นายจักรพงษ์ วงคอ์ ้าย นกั วิชาการศึกษา สนก. 3. นายฐาปณฐั อดุ มศรี นกั วชิ าการศึกษา สนก. 4. นายศุภกร มรกต ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ราชบุรี เขต 2 5. นายสพลกิตต์ิ สงั ข์ทิพย์ ครู โรงเรียนตากฟา้ วชิ าประสิทธ์ิ ช่วยราชการ สนก. 6. นางสาวพรรณราย ธนสัตยส์ ถิตย์ ครู โรงเรยี นเสาไห้ “วิมลวทิ ยานุกูล” สพม. เขต 4 7. นายวรินทร ตันตริ ตั น์ ครู โรงเรยี นหนองแคสรกจิ วทิ ยา สพม. เขต 4 8. นางเยาวลักษณ์ หงสห์ ริ ญั เรอื ง ครู โรงเรียนสายนา้ ผง้ึ ในพระอุปถมั ภ์ สพม. เขต 2 9. นางสาวขวญั วภิ า ภูแ่ ส ครู โรงเรียนอนิ ทร์บุรี สพม. เขต 5 10. นายธรรมสรณ์ สศุ ิริ ครู โรงเรยี นอนิ ทรบ์ รุ ี สพม. เขต 5 11. นางสาววิภา ทววี งศ์ ครู โรงเรียนชุมชนวัดใหญโ่ พหกั สพป.ราชบุรี เขต 2 12. นางสาวดวงจันทร์ บัวเบา ครู โรงเรียนชุมชนวดั ใหญโ่ พหัก สพป.ราชบุรี เขต 2

- 236 - คณะทางานสว่ นกลาง 1. นายไชยวฒั น์ สุคันธวิภัติ ขา้ ราชการบานาญ กระทรวงศกึ ษาธิการ 2. นางสาธพุ ร สุคนั ธวภิ ัติ ข้าราชการบานาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3. นางสาวสรรเสรญิ สวุ รรณ์ ข้าราชการบานาญ กระทรวงศึกษาธิการ 4. นางสณุ สิ าห์ มว่ งคราม ข้าราชการบานาญ กระทรวงศกึ ษาธิการ 5. นางสุจติ รา พิชัย เจา้ พนกั งานธรุ การชานาญงาน สนก. 6. นางสาวณฐั รดา เนตรสวา่ ง นกั จัดการงานท่วั ไป สนก. 7. นางสาวมณฑาทิพย์ ศิรสิ มุ ทมุ นักจัดการงานทวั่ ไป สนก. 8. นางสาวศรญั ญา โชติ พนกั งานบนั ทกึ ข้อมูล สนก. 9. นายสหัสพล ษรบัณฑิต เจา้ หน้าที่บริหารทั่วไป สนก. 10. นายภูรติ ะ ปราศกาเมศ เจ้าหน้าท่ีบริหารทว่ั ไป สนก. 11. นางสาวอรอุมา เสอื เฒ่า เจา้ หนา้ ที่บริหารทัว่ ไป สนก. ***************************

- 237 - รายชื่อคณะบรรณาธกิ ารกิจ หลักสูตรหรือชุดการเรียนรูแ้ ละส่อื ประกอบการเรยี นรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน -------------------------------- ท่ปี รึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน 1. นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 2. นางสาวอุษณยี ์ ธโนศวรรย์ ผอู้ านวยการสานักพฒั นานวัตกรรมการจดั การศึกษา 3. นายสุรศกั ดิ์ อนิ ศรไี กร ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ 4. นายอุทศิ บัวศรี คณะทางาน 1. นางสาวสรรเสรญิ สวุ รรณ์ ขา้ ราชการบานาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร 2. นางจานงค์ ศรีมังกร ขา้ ราชการบานาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3. นายธนบดพี ิพฒั น์ ดานลิ ศึกษานเิ ทศก์ ศึกษาธิการจงั หวัดชยั นาท 4. นางณัฐพร พว่ งเฟ่ือง ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.พิษณโุ ลก เขต 3 5. นายศภุ กร มรกต ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ราชบุรี เขต 2 6. นายวนิ ยั อสุณี ณ อยุธยา ศกึ ษานิเทศก์ สพป. อุดรธานี เขต 1 7. นายณฐั พล คุม้ วงศ์ ศึกษานเิ ทศก์ สพป. มหาสารคาม เขต 3 8. นางเพ็ญจา เสมอเหมือน ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นนทบุรี เขต 2 9. นางบังอร ควรประสงค์ ศึกษานเิ ทศก์ สพม. เขต 17 10. นางนิรมล บวั เนียม ผอู้ านวยการโรงเรียนสายน้าทพิ ย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร 11. นายวชริ เมษฐ์ บารงุ ผดงุ วทิ ย์ ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นหนองปลาตอง (ประชาวิทยาคาร) สพป. สกลนคร เขต 1 12. นายไกรสร พมิ พป์ ระชา ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านแบง สพป.หนองคาย เขต 2 13. นายธนกฤติ พรมบตุ ร ผ้อู านวยการโรงเรยี นบา้ นโคกเฟือง สพป.บุรีรมั ย์ เขต 3 14. นายบณุ ยพงศ์ โพธิวฒั น์ธนัต ผอู้ านวยการโรงเรียนบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ์” สพม. เขต 1 15. นางนนั ทนา ชมชื่น ผอู้ านวยการโรงเรยี นผักไห่ “สุทธาประมขุ ” สพม. เขต 3 16. นางสาวปยิ นชุ เปีย่ มวริ ิยวงศ์ ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ รับร่อ สพป.ชุมพร เขต 1 17. นางทิพาภรณ์ หญตี ศรีคา ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านหนิ กบ สงั กัด สพป.ชมุ พร เขต 1 18. นางสจุ ิตรา จรรยา ครู โรงเรียนอนุบาลลพบุรี สพป.ลพบุรี 19. นางสาวภัณฑลิ า บา้ นด่าน ครู โรงเรยี นคิชฌกูฏวิทยา สพม. เขต 17 20. นางสุวรรณี ศักดิ์ชยั สมบูรณ์ ครู โรงเรียนวดั บางปูน สพป.สิงห์บุรี 21. นางลัดดา คาวิจิตร ครู โรงเรียนวัดโบสถ์ สพป.สิงหบ์ รุ ี 22. นางสาวชญั ญานุช รัตนวิชัย ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์” สพม. เขต 1 23. นางสาวอรสา อิษฐเจรญิ ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” สพม. เขต 1 24. นางสาวรัตนากร ศรคี ณุ ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ์” สพม. เขต 1 25. นางสาวกญั ญาพัชร หมูม่ ว่ ง ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอปุ ถัมภ์” สพม. เขต 1

- 238 - 26. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ์” สพม. เขต 1 27. นางสาวณัฐทิตา รกั ษา ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” สพม. เขต 1 28. นางสาวเบญจวรรณ ศิรหิ ัตถ์ ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี ุกหวาดจวนอปุ ถัมภ์” สพม. เขต 1 29. นางสาวรังสมิ า ไกรนรา ครู โรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สสี ุกหวาดจวนอุปถมั ภ์” สพม. เขต 1 30. นางสาวสวุ รรณี สมประเสรฐิ ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สสี ุกหวาดจวนอปุ ถัมภ์” สพม. เขต 1 31. นายบรบิ รู ณ์ พรหมสวา่ ง ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสกุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์” สพม. เขต 1 32. นางนิตยา ภริ มย์กจิ นกั ทรัพยากรบุคคล สพร. 33. นายภูธร จนั ทะหงษ์ ปุณยจรัสธารง ผ้อู านวยการกลุ่มบริหารท่ัวไป สนก. 34. นายจกั รพงษ์ วงคอ์ า้ ย นักวชิ าการศึกษา สนก. 35. นายสพลกิตต์ิ สงั ข์ทิพย์ ครู โรงเรียนตากฟ้าวชิ าประสทิ ธิ์ ชว่ ยราชการ สนก. 36. นายฐาปณฐั อดุ มศรี นักวิชาการศึกษา สนก. 37. นางสจุ ติ รา พิชยั เจ้าพนกั งานธุรการ สนก. 38. นางสาวณฐั รดา เนตรสวา่ ง นกั จัดการงานท่ัวไป สนก. 39. นางสาวศรัญญา โชติ พนกั งานบันทกึ ขอ้ มูล สนก. 40. นายสหัสพล ษรบณั ฑิต เจ้าหน้าท่ีบริหารทวั่ ไป สนก. 41. นางสาวอรอมุ า เสอื เฒ่า เจา้ หน้าท่บี ริหารท่วั ไป สนก. ***************************

- 239 - รายช่อื คณะผปู้ ระสานงาน การจดั ทาหลกั สูตรหรือชุดการเรยี นรู้และส่ือประกอบการเรยี นรู้ ด้านการป้องกนั การทุจริต กลุ่มการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สานักงาน ป.ป.ช. -------------------------------- ท่ปี รึกษา 1. นายวรวิทย์ สขุ บญุ เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ 2. นายประหยัด พวงจาปา รองเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ 3. นายกติ ติ ลม้ิ พงษ์ ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 4. นายอทุ ิศ บัวศรี ผูช้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ 5. นางสาวจินตนา พลอยภัทรภิญโญ ผอู้ านวยการสานักปอ้ งกันการทจุ ริตภาครฐั คณะผปู้ ระสานงาน เจ้าพนักงานป้องกนั การทจุ ริตชานาญการพเิ ศษ เจ้าพนักงานป้องกนั การทุจรติ ชานาญการ 1. นายสมพจน์ แพ่งประสทิ ธ์ิ เจา้ พนักงานปอ้ งกันการทุจริตชานาญการ 2. นายสราวุฒิ เศรษฐกร เจา้ พนักงานปอ้ งกนั การทุจริตปฏิบัตกิ าร 3. นายธนวัฒน์ มะแม้น นกั ศกึ ษาฝึกงาน มหาวิยาลัยราชภฎั จนั ทรเกษม 4. นายณัฐพงศ์ มณจี กั ร์ นักศึกษาฝึกงาน มหาวิยาลัยราชภัฎจนั ทรเกษม 5. นางสาว จิดาภา แสงหริ ญั 6. นางสาววัลภา บุญชู ***************************

- 240 - สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ เลขท่ี 361 ถนนนนทบรุ ี ตาบลทา่ ทราย อาเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท์ 0 2528 4800 - 01 สายด่วน ป.ป.ช. 1205 www.nacc.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook