สารบัญ หนา้ 1 รายงานการสำรวจด้วยเทคโนโลยีภูมสิ ารสนเทศ ปี 2560 2 รายงานผลการสำรวจเนอ้ื ที่เพาะปลกู ข้าวนาปรงั ปี 2560 15 รายงานผลการสำรวจเนอ้ื ที่ยืนตน้ ปาล์มน้ำมนั ปี 2560 28 รายงานผลการสำรวจเนอ้ื ที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ปี 2560 38 39 รายงานการสำรวจดว้ ยเทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศ ปี 2561 51 รายงานผลการสำรวจเนอ้ื ทเ่ี พาะปลูกข้าวนาปรัง ปี 2561 64 รายงานผลการสำรวจเนือ้ ที่เพาะปลกู ข้าวนาปี ปี 2561/62 77 รายงานผลการสำรวจเนื้อที่ยืนตน้ ปาลม์ นำ้ มัน ปี 2561 87 รายงานผลการสำรวจเนื้อที่เพาะปลกู มันสำปะหลงั โรงงาน ปี 2561 98 รายงานผลการสำรวจเนื้อทย่ี ืนตน้ ยางพารา ปี 2561 99 111 รายงานการสำรวจด้วยเทคโนโลยีภูมสิ ารสนเทศ ปี 2562 124 รายงานผลการสำรวจเนื้อทีเ่ พาะปลูกข้าวนาปรัง ปี 2562 134 รายงานผลการสำรวจเนอ้ื ท่ีเพาะปลูกข้าวนาปี ปี 2562/63 143 รายงานผลการสำรวจเนื้อทีเ่ พาะปลกู มนั สำปะหลังโรงงาน ปี 2562 144 รายงานผลการสำรวจเนื้อที่เพาะปลกู สบั ปะรดโรงงาน ปี 2562 159 รายงานการสำรวจด้วยเทคโนโลยีภมู ิสารสนเทศ ปี 2563 รายงานผลการสำรวจเนื้อท่เี พาะปลูกข้าวนาปรงั ปี 2563 รายงานผลการสำรวจเน้ือที่เพาะปลกู ข้าวนาปี ปี 2563/64
รายงานการสำรวจดว ยเทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ ป 2560
รายงานผลการสำรวจเน้ือท่ีเพาะปลกู ขาวนาปรงั ป 2560 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ
รายงานผลการสำรวจเนื้อที่เพาะปลกู ขาวนาปรัง ป 2560 โดยใชเทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ หลกั การและเหตุผล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ไดเนนการสรางความสมดุล ของ การผลิตกับทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบการเกษตรเปนระบบที่ซับซอนประกอบดวย ตัวแปรท้ัง ทางดานกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสังคม ซึ่งการพัฒนาการเกษตรจำเปนตองเขาใจภาพรวมของระบบ การเกษตรนั้นๆ เพื่อที่จะสะทอนใหเห็นศักยภาพและปญหาอันจะนำไปสูการแกไข ประกอบกับการเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดดของการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ของเทคโนโลยหี ลกั เชน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร ตระหนักถงึ ความสำคญั ทางดา นความกาวหนาทางเทคโนโลยี ท่ใี ชในการ สำรวจและ จัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตที่ถูกตองและรวดเร็ว จึงไดนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo – Information) หรือ GI ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยี รีโมทเซนซิง ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และระบบกำหนดวเิ คราะหบ นพื้นโลก (GPS) มาใชในการวเิ คราะหแ ละจัดเก็บ เพื่อประเมนิ เนื้อทีเ่ พาะปลูกกอน ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ซึ่งเปนทางเลือกใน การวางแผน หรือกำหนดแนวทางการจัดการดานการผลิตไดอยางมี ประสิทธิภาพ ในปงบประมาณ 2560 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดำเนินงานที่นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาประยุกตใชในการวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560 ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม โดยการ สุมเลือกพ้ืนที่ตัวอยาง ดวยวิธีการสุมตวั อยาง แบบใชสัดสวนของความนา จะเปน ตามขนาดเนื้อที่ (Probability Proportional to Size : PPS) วัตถปุ ระสงค เพื่อวิเคราะหและจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ในป 2560 สำหรับจัดทำขอมูลเชิงพื้นที่และแผนที่ แสดงเนื้อทเ่ี พาะปลกู ขา วนาปรงั เปนรายจงั หวัด อำเภอ ตำบล ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ซึ่งบันทึกขอมูลชวงเดือน พฤศจกิ ายน 2559 - พฤษภาคม 2560 ครอบคลมุ เนือ้ ทเ่ี พาะปลูกขาวนาปรงั ในประเทศไทย
เครือ่ งมือ อุปกรณ และวธิ ีการดำเนินงาน 1. เคร่ืองมอื และอุปกรณ 1) ขอมูลดาวเทียมจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียม LANDSAT 8 ครอบคลุม ประเทศไทย 2) ภาพ Ortho Photo สี มาตราสว น 1:2,500 และ 1:4,000 3) แผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ ของกรมแผนท่ีทหาร มาตราสวน 1 : 50,000 4) เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรม ประกอบดวยโปรแกรมที่สำคัญ คือ โปรแกรมควบคุมระบบ Windows XP และโปรแกรมทใ่ี ชใ นการวิเคราะหแ ละประมวลผลขอ มลดู าวเทียม โปรแกรม TNTmips โปรแกรม ImageAnalysis และโปรแกรม ecogdition 2. ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน 1) รวบรวมขอมูลและจัดเตรียมเบื้องตน ไดแก ภาพถายดาวเทียม ภาพ Ortho Photo สี และ แผนท่ี ภูมิประเทศมาตราสว น 1 : 50,000 2) เลือกขอมูลดาวเทียม และการคัดเลือกชวงคลื่นขอมูลที่นำมาใชวิเคราะห ท่ีมีลักษณะเดนใน เรื่อง ความชื้น พืชพรรณ และความแตกตางพื้นที่ระหวางดินและน้ำเพื่อทำภาพสีผสมสำหรับ การจำแนกเนื้อที่ เพาะปลกู ขาวนาปรัง 3) การแกไขความผิดพลาดเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) เนื่องจากความ ผิดพลาดทาง วิเคราะห เพื่อใหขอมูลดาวเทียมที่ใชในการวิเคราะหมีวิเคราะหและทิศทางที่ถูกตองตามแผนที่ภูมิประเทศและ ภาพออรโธสี มาตรสวน 1: 4,000 ที่ใชอางอิง โดยใชวิธี Image to Map หรือ Image to Image 4) การตอภาพ (Mosaic) เนื่องจากการวิเคราะหเปนรายจังหวัด และจังหวัดหนึ่งๆ ครอบคลุม ขอมูล หลายภาพ จ าเปนตองตอภาพใหเ ชื่อมโยงเปน พื้นทเ่ี ดยี วกันกอนนำมาวเิ คราะห 5) การเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตนกอนการแปลวิเคราะห โดยตรวจสอบขอมูลในเนื้อที่จริง เปรียบเทียบกับขอมูลดาวเทียม รายละเอียดของขอมูลที่สำรวจ ควรประกอบดวย ตำแหนงของ จุดสำรวจตอง สามารถอางอิงไดบนแผนท่ีและปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ลักษณะเนื้อที่ ประเภท ของสิ่งปกคลุมดิน ชนิดพืช ระยะการเจรญิ เตบิ โต รวมท้ังสภาพแวดลอมบริเวณใกลเ คยี ง ถาเปน ไปได ชวงเวลาในการสำรวจควรใกลเคียงหรือ อยูในฤดูกาลเดยี วกนั กับการบันทึกขอ มลู ดาวเทยี ม แตถ า ตางเวลากันจะตองสอบถามถึงขอมูลในชว งเวลาท่ีบันทึก ขอ มลู จากเกษตรกรในทองถ่นิ น้ันๆ 6) การแปลและวเิ คราะหขอมลู ดาวเทียมเพื่อจำแนกเน้ือที่เพาะปลูกขา วนาปรัง โดยใชว ิธีการแปล และ วเิ คราะหดว ยสายตาและคอมพวิ เตอร ประโยชนท ี่คาดวาจะไดรบั ขอมูลเนื้อท่ีเพาะปลูกขาวนาปรัง ตลอดจนแผนที่ อันสามารถเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการติดตามเน้ือ ท่ีเพาะปลกู และวางแผนการผลิตขา วนาปรงั ตอไป
รายงานผลการสำรวจเนอ้ื ทเี่ พาะปลกู ขา วนาปรัง ป 2560 โดยใชเทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศ ในภาคตะวนั ออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนำเทคโนโลยีดาน ภูมิสารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสำรวจเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560 พื้นที่ภาคตะวันออก ดวยการนำขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 มาแปลและวิเคราะห เพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูก ขาวนาปรัง ป 2560 โดยพิจารณาจาก ปจจัยการจำแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุในชวง คลื่นแสงที่ตางกัน ประกอบกับคุณสมบัติ ของวัตถุ ไดแก รูปราง ขนาด รูปแบบ ความหยาบละเอียด สี เงา ตำแหนงที่ตั้งและความสัมพันธกับพื้นท่ีขางเคียง พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตอ งผลการแปลและวิเคราะหเนื้อท่ี เพาะปลกู ขา วนาปรัง ป 2560 เบอ้ื งตน กับภาพถา ยออรโ ธสี มาตราสว น 1:4,000 ขอมลู ดาวเทียมรายละเอียดสูง จาก Google Earth และตำแหนงพิกัดที่ไดจากเครื่อง GPS ในภาคสนาม จากการแปลและวิเคราะหขอมูล ดาวเทียม เพือ่ จำแนกเน้ือทเ่ี พาะปลกู ขาวนาปรงั ป 2560 ทั้งนี้ สศท.6 ไดสรุปผลวิเคราะหขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560 ภาคตะวันออก จำนวน 8 จังหวัด ไดแก ปราจีนบุรี นครนายก สระแกว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ตราด และสมุทรปราการ ผลการ วิเคราะหสรุปวาจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่การเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2560 มากที่สุด จำนวน 448,799 ไร รองลงมาจงั หวดั นครนายก และปราจนี บรุ ี คดิ เปน รอ ยละ 54.20 20.34 และ 15.37 ตามลำดับ รายละเอยี ดตาราง ผลการแปลและวเิ คราะหเนอ้ื ทีเ่ พาะปลูกขา วนาปรัง ป 2560 ภาคตะวันออก ดังน้ี ตารางผลการแปลและวิเคราะหเนือ้ ทเ่ี พาะปลูกขา วนาปรัง ป 2560 ของภาคตะวันออก จากขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ภาค/จงั หวดั ป พ.ศ.2560 รอ ยละ เนอื้ ท่ี (ไร) ภาคตะวนั ออก 827,969 100.00 นครนายก 168,412 20.34 ปราจนี บรุ ี 127,267 15.37 ฉะเชงิ เทรา 448,799 54.20 สระแกว 9,884 1.19 ตราด 2,452 0.30 ระยอง 4,777 0.58 ชลบรุ ี 45,704 5.52 สมุทรปราการ 20,674 2.50
รายงานผลการสาํ รวจเนื้อทย่ี นื ตน ปาลมนำ้ มนั ป 2560 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ
รายงานผลการสํารวจเนื้อที่ยนื ตน ปาลมนำ้ มัน ป 2560 โดยใชเทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศ หลกั การและเหตผุ ล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ไดเนนการสรางความสมดุล ของ การผลิตกับทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบการเกษตรเปนระบบที่ซับซอนประกอบดวยตัวแปรทั้ง ทางดานกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสังคม ซึ่งการพัฒนาการเกษตรจำเปนตองเขาใจภาพรวมของระบบ การเกษตรนั้นๆ เพื่อที่จะสะทอนใหเห็นศักยภาพและปญหาอันจะนำไปสูการแกไข ประกอบกับการเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดดของการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ของเทคโนโลยีหลกั เชน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ทางดา นความกาวหนา ทางเทคโนโลยี ท่ีใชในการ สำรวจและ จัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตที่ถูกตองและรวดเร็ว จึงไดนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo – Information) หรือ GI ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยีรีโมทเซนซิงระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และระบบกำหนดวิเคราะหบนพื้นโลก (GPS) มาใชในการวเิ คราะหแ ละจัดเก็บ เพื่อประเมนิ เน้ือทีเ่ พาะปลูกกอน ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ซึ่งเปนทางเลือกในการวางแผนหรือกำหนดแนวทางการจัดการดานการผลิตไดอยางมี ประสิทธภิ าพ ในปงบประมาณ 2560 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดำเนินงานที่นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาประยุกตใชในการวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกปาลมน้ำมัน ป 2560 ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตอง ผลการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม โดยการ สุมเลือกพื้นที่ตัวอยาง ดวยวิธีการสุมตัวอยาง แบบใชสัดสวนของความนาจะเปนตามขนาดเนื้อที่ (Probability Proportional to Size : PPS) วตั ถปุ ระสงค เพื่อวิเคราะหและจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกปาลมน้ำมันในป 2560 สำหรับจัดทำขอมูลเชิงพื้นที่และแผนที่ แสดงเน้ือทีเ่ พาะปลูกปาลมน้ำมันเปนรายจังหวดั อำเภอ ตำบล ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการแปลและวิเคราะหขอมูลจากภาพถายรายละเอียดสูง ซึ่งบันทึกขอมูลชวง ป 2558 - 2560 ครอบคลุมเน้ือทย่ี นื ตนปาลม น้ำมันในประเทศไทย
เครอ่ื งมือ อปุ กรณ และวิธกี ารดำเนนิ งาน 1. เครือ่ งมือและอุปกรณ 1) ขอมูลดาวเทียมจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียม LANDSAT 8 และขอมูลจาก ภาพถายรายละเอียดสูงครอบคลุมประเทศไทย 2) ภาพ Ortho Photo สี มาตราสวน 1:2,500 และ 1:4,000 3) แผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ ของกรมแผนท่ที หาร มาตราสวน 1 : 50,000 4) เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรม ประกอบดวยโปรแกรมที่สำคัญ คือ โปรแกรมควบคุมระบบ Windows XP และโปรแกรมที่ใชใ นการวเิ คราะหแ ละประมวลผลขอ มลูดาวเทียม โปรแกรม TNTmips โปรแกรม ImageAnalysis โปรแกรม Qgis และโปรแกรม Ecogdition 2. ข้นั ตอนการดำเนินงาน 1) รวบรวมขอมูลและจัดเตรียมเบื้องตน ไดแก ภาพถายดาวเทียม ภาพ Ortho Photo สี และ แผนท่ี ภูมิประเทศมาตราสว น 1 : 50,000 2) เลือกขอมูลดาวเทียม และการคัดเลือกชวงคลื่นขอมูลที่นำมาใชวิเคราะห ที่มีลักษณะเดนใน เรื่อง ความชื้น พืชพรรณ และความแตกตางพื้นที่ระหวางดินและน้ำเพื่อทำภาพสีผสมสำหรับ การจำแนกเนื้อท่ี เพาะปลูกปาลมน้ำมัน 3) การแกไขความผิดพลาดเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) เนื่องจากความ ผิดพลาดทาง วิเคราะห เพื่อใหขอมูลดาวเทียมที่ใชในการวิเคราะหมีวิเคราะหและทิศทางที่ถูกตองตามแผนที่ภูมิประเทศและ ภาพออรโธสี มาตรสวน 1: 4,000 ที่ใชอางอิง โดยใชวิธี Image to Map หรือ Image to Image 4) การตอภาพ (Mosaic) เนื่องจากการวิเคราะหเปนรายจังหวัด และจังหวัดหนึ่งๆ ครอบคลุม ขอมูล หลายภาพ จ าเปน ตองตอภาพใหเช่ือมโยงเปนพื้นที่เดียวกนั กอนนำมาวิเคราะห 5) การเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตนกอนการแปลวิเคราะห โดยตรวจสอบขอมูลในเนื้อที่จริง เปรียบเทียบกับขอมูลดาวเทียม รายละเอียดของขอมูลที่สำรวจ ควรประกอบดวย ตำแหนงของ จุดสำรวจตอง สามารถอางอิงไดบนแผนที่และปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ลักษณะเนื้อที่ ประเภท ของสิ่งปกคลุมดิน ชนิดพืช ระยะการเจรญิ เตบิ โต รวมทงั้ สภาพแวดลอมบริเวณใกลเคียง ถา เปน ไปได ชวงเวลาในการสำรวจควรใกลเคียงหรือ อยใู นฤดูกาลเดียวกนั กับการบนั ทึกขอ มูลดาวเทยี ม แตถ า ตา งเวลากนั จะตองสอบถามถึงขอมลู ในชวงเวลาท่ีบันทึก ขอ มูลจากเกษตรกรในทอ งถ่นิ น้ันๆ 6) การแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียมเพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกปาลมน้ำมัน โดยใชวิธีการแปล และวิเคราะหด ว ยสายตาและคอมพวิ เตอร ประโยชนท่ีคาดวา จะไดรับ ขอมูลเนอ้ื ทย่ี นื ตนปาลมน้ำมัน ตลอดจนแผนท่อี นั สามารถเพ่ือใชเปนขอมลู พื้นฐานในการติดตามเน้ือที่ยืน ตน และ วางแผนการผลติ ปาลมปาลมนำ้ มันตอไป
รายงานผลการสํารวจเน้ือท่ียืนตน ปาลม น้ำมันป 2560 โดยใชเทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศในภาคตะวันออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนําเทคโนโลยีดานภูมิ สารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสํารวจเนื้อที่ยืนตนปาลมน้ำมันป 2560 ดวยการนํา ขอมลู จากภาพถายรายละเอียดสงู มาแปลและวิเคราะห เพอ่ื จําแนกเนื้อที่ยนื ตนปาลมน้ำมันป 2560 โดยพิจารณา จากปจจัยการจําแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุในชวงคลื่นแสงที่ตางกัน ประกอบกับ คุณสมบัติของวัตถุ ไดแก รูปราง ขนาด รูปแบบ ความหยาบ ละเอียด สี เงา ตําแหนงที่ตั้งและความสัมพันธกับ พื้นทีข่ างเคยี ง พรอ มทัง้ ตรวจสอบความถูกตอ งผลการแปลและวเิ คราะหเนื้อท่ยี นื ตน ปาลมนำ้ มันป 2560 เบื้องตน กับภาพถายออรโธสี มาตราสวน 1:4,000 ขอมูลดาวเทียมรายละเอียดสูงจาก Google Earth และตําแหนงพิกดั ที่ ไดจ ากเคร่อื ง GPS ในภาคสนาม ทั้งนี้ สศท.6 ไดสรุปผลวิเคราะหขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกปาลมน้ำมัน ป 2560 ภาคตะวันออก จำนวน 9 จังหวัด ไดแก ปราจีนบุรี นครนายก สระแกว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และสมุทรปราการ ผลการวิเคราะหสรุปวาจังหวัดชลบุรี มีพ้ืนที่การเพาะปลูกปาลมน้ำมัน ป 2560 มากที่สุด จำนวน 127,608 ไร รองลงมาจงั หวดั ตราด และฉะเชงิ เทรา คดิ เปน รอยละ 32.52 22.19 และ 11.09 ตามลำดบั รายละเอยี ดตารางผล การแปลและวเิ คราะหเนอ้ื ท่เี พาะปลกู ปาลมนำ้ มัน ป 2560 ภาคตะวันออก ดังนี้ ตารางผลการแปลและวิเคราะหเน้อื ท่ียืนตน ปาลม น้ำมนั ป 2560 ของภาคตะวนั ออก จากขอ มูลภาพถา ยละเอียดสงู ภาค/จังหวัด เนือ้ ท่ี (ไร) ป พ.ศ.2560 รอยละ ภาคตะวันออก 392,362 100.00 นครนายก 4,506 1.15 ปราจีนบรุ ี 19,875 5.07 ฉะเชงิ เทรา 43,505 11.09 สระแกว 37,518 9.56 จันทบรุ ี 30,868 7.87 ตราด 87,074 22.19 ระยอง 41,402 10.55 ชลบรุ ี 32.52 สมทุ รปราการ 127,608 0.00 6
รายงานผลการสาํ รวจเนอื้ ท่เี พาะปลกู มันสำปะหลงั โรงงาน ป 2560 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ
รายงานผลการสํารวจเนอ้ื ทเ่ี พาะปลกู มันสำปะหลังโรงงาน ป 2560 โดยใชเทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศ หลกั การและเหตุผล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ไดเนนการสรางความสมดุล ของ การผลิตกับทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบการเกษตรเปนระบบที่ซับซอนประกอบดวยตัวแปรทั้ง ทางดานกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสังคม ซึ่งการพัฒนาการเกษตรจำเปนตองเขาใจภาพรวมของระบบ การเกษตรนั้น ๆ เพื่อที่จะสะทอนใหเ ห็นศักยภาพและปญหาอันจะนำไปสูก ารแกไ ข ประกอบกับการเปล่ียนแปลง ทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดดของการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ของเทคโนโลยหี ลกั เชน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ทางดา นความกา วหนา ทางเทคโนโลยี ทีใ่ ชในการ สำรวจและ จัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตที่ถูกตองและรวดเร็ว จึงไดนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo – Information) หรือ GI ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยีรีโมทเซนซิงระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และระบบกำหนดวิเคราะหบ นพื้นโลก (GPS) มาใชในการวเิ คราะหและจัดเก็บ เพื่อประเมนิ เน้ือที่เพาะปลูกกอน ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ซึ่งเปนทางเลือกในการวางแผนหรือกำหนดแนวทางการจัดการดานการผลิตไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ ในปงบประมาณ 2560 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดำเนินงานที่นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาประยุกตใชในการวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2560 ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตอง ผลการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม โดยการสุมเลือกพื้นที่ตัวอยาง ดวยวิธีการสุมตัวอยาง แบบใชสัดสวนของความนาจะเปนตามขนาดเนื้อที่ (Probability Proportional to Size : PPS) วัตถปุ ระสงค เพ่อื วิเคราะหและจำแนกเนือ้ ทีเ่ พาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ในป 2560 สำหรบั จดั ทำขอมูลเชงิ พ้ืนท่แี ละ แผนทีแ่ สดงเน้อื ท่ีเพาะปลกู มันสำปะหลงั โรงงานเปนรายจงั หวดั อำเภอ ตำบล ขอบเขตการศกึ ษา การศึกษาครั้งนีเ้ ปนการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทยี ม LANDSAT 8 ซึ่งบันทกึ ขอมูลชว งเดือนตุลาคม 2559 – กันยายน 2560 ครอบคลุมเนือ้ ทีเ่ พาะปลกู มนั สาํ ปะหลงั โรงงานในประเทศไทย
เครอ่ื งมอื อปุ กรณ และวธิ กี ารดำเนินงาน 1. เครอื่ งมือและอปุ กรณ 1) ขอมูลดาวเทียมจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียม LANDSAT 8 และขอมูลจาก ภาพถา ยรายละเอียดสูงครอบคลุมประเทศไทย 2) ภาพ Ortho Photo สี มาตราสว น 1:2,500 และ 1:4,000 3) แผนทภี่ ูมปิ ระเทศ ของกรมแผนท่ที หาร มาตราสวน 1 : 50,000 4) เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรม ประกอบดวยโปรแกรมที่สำคัญ คือ โปรแกรมควบคุมระบบ Windows XP และโปรแกรมทใี่ ชในการวิเคราะหและประมวลผลขอ มลดู าวเทียม โปรแกรม TNTmips โปรแกรม ImageAnalysis และโปรแกรม Ecogdition 2. ขั้นตอนการดำเนนิ งาน 1) รวบรวมขอมูลและจัดเตรียมเบื้องตน ไดแก ภาพถายดาวเทียม ภาพ Ortho Photo สี และ แผนที่ ภมู ิประเทศมาตราสว น 1 : 50,000 2) เลือกขอมูลดาวเทียม และการคัดเลือกชวงคลื่นขอมูลที่นำมาใชวิเคราะห ที่มีลักษณะเดนใน เรื่อง ความชื้น พืชพรรณ และความแตกตางพื้นที่ระหวางดินและน้ำเพื่อทำภาพสีผสมสำหรับ การจำแนกเนื้อที่ เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน 3) การแกไขความผิดพลาดเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) เนื่องจากความ ผิดพลาดทาง วิเคราะห เพื่อใหขอมูลดาวเทียมที่ใชในการวิเคราะหมีวิเคราะหและทิศทางที่ถูกตองตามแผนที่ภูมิประเทศและ ภาพออรโธสี มาตรสวน 1: 4,000 ที่ใชอางอิง โดยใชวิธี Image to Map หรือ Image to Image 4) การตอภาพ (Mosaic) เนื่องจากการวิเคราะหเปนรายจังหวัด และจังหวัดหนึ่งๆ ครอบคลุม ขอมูล หลายภาพ จ าเปน ตองตอภาพใหเชื่อมโยงเปน พื้นทเ่ี ดียวกนั กอนนำมาวเิ คราะห 5) การเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตนกอนการแปลวิเคราะห โดยตรวจสอบขอมูลในเนื้อที่จริง เปรียบเทียบกับขอมูลดาวเทียม รายละเอียดของขอมูลที่สำรวจ ควรประกอบดวย ตำแหนงของ จุดสำรวจตอง สามารถอางอิงไดบนแผนที่และปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ลักษณะเนื้อที่ ประเภท ของสิ่งปกคลุมดิน ชนิดพืช ระยะการเจริญเตบิ โต รวมทัง้ สภาพแวดลอ มบริเวณใกลเคียง ถาเปน ไปได ชว งเวลาในการสำรวจควรใกลเคียงหรือ อยูในฤดกู าลเดยี วกันกับการบันทึกขอ มลู ดาวเทียม แตถา ตางเวลากันจะตอ งสอบถามถึงขอมลู ในชวงเวลาท่ีบันทึก ขอ มลู จากเกษตรกรในทอ งถนิ่ นั้น ๆ 6) การแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียมเพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน โดยใช วิธกี ารแปล และวิเคราะหด ว ยสายตาและคอมพิวเตอร ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดรับ ขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ตลอดจนแผนที่อันสามารถเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการ ตดิ ตามเนอื้ ทย่ี นื ตน และวางแผนการผลิตมันสำปะหลงั โรงงานตอไป
รายงานผลการสาํ รวจเนื้อทเี่ พาะปลูกมนั สำปะหลงั โรงงาน ป 2560 โดยใชเทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศในภาคตะวันออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนําเทคโนโลยีดานภูมิ สารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสํารวจเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2560 ดว ยการนําขอ มลู จากภาพถายรายละเอยี ดสงู มาแปลและวิเคราะห เพื่อจาํ แนกเน้อื ทเ่ี พาะปลูกมันสำปะหลงั โรงงาน ป 2560 โดยพิจารณาจากปจจัยการจําแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุในชวงคลื่นแสงที่ ตางกนั ประกอบกบั คณุ สมบัติของวตั ถุ ไดแ ก รปู ราง ขนาด รปู แบบ ความหยาบ ละเอยี ด สี เงา ตาํ แหนงท่ีต้ังและ ความสัมพันธกับพื้นที่ขางเคียง พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกมัน สำปะหลังโรงงาน ป 2560 เบื้องตนกับภาพถายออรโธสี มาตราสวน 1:4,000 ขอมูลดาวเทียมรายละเอียดสูงจาก Google Earth และตาํ แหนง พกิ ดั ทไี่ ดจากเครอื่ ง GPS ในภาคสนาม ทั้งนี้ สศท.6 ไดสรุปผลวิเคราะหขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2560 ภาคตะวันออก จำนวน 6 จังหวัด ไดแ ก ปราจีนบรุ ี สระแกว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง และจันทบรุ ี ผลการวิเคราะหส รุปวา จงั หวัด สระแกว มีพื้นที่การเพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2560 มากที่สุด จำนวน 417,413 ไร รองลงมาจังหวัด ฉะเชิงเทรา และชลบุรี คิดเปนรอยละ 33.10 18.70 และ 18.08 ตามลำดับ รายละเอียดตารางผลการแปลและ วิเคราะหเน้อื ที่เพาะปลกู มนั สำปะหลังโรงงาน ป 2560 ภาคตะวันออก ดังน้ี ตารางผลการแปลและวเิ คราะหเนือ้ ทเี่ พาะปลูกมันสำปะหลงั โรงงาน ป 2560 ของภาคตะวนั ออก จากขอมูลภาพถา ยละเอียดสูง ภาค/จังหวดั ป พ.ศ.2560 รอยละ เนอ้ื ท่ี (ไร) 100.00 ภาคตะวันออก 13.50 ปราจีนบรุ ี 1,260,970 ฉะเชงิ เทรา 170,273 18.70 สระแกว 33.10 จันทบุรี 235,838 10.85 ระยอง 417,413 5.76 ชลบุรี 136,833 18.08 72,650 227,963
รายงานการสำรวจดว ยเทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ ป 2561
รายงานผลการสำรวจเน้ือท่ีเพาะปลกู ขาวนาปรงั ป 2561 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ
รายงานผลการสำรวจเน้อื ทเ่ี พาะปลูกขาวนาปรัง ป 2561 โดยใชเทคโนโลยีภูมสิ ารสนเทศ หลกั การและเหตุผล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ไดเนนการสรางความสมดุล ของ การผลิตกับทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบการเกษตรเปนระบบที่ซับซอนประกอบดวยตัวแปรทั้ง ทางดานกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสังคม ซึ่งการพัฒนาการเกษตรจำเปนตองเขาใจภาพรวมของระบบ การเกษตรนั้น ๆ เพื่อที่จะสะทอนใหเ ห็นศักยภาพและปญ หาอันจะนำไปสูก ารแกไข ประกอบกับการเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดดของการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ของเทคโนโลยีหลัก เชน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตระหนักถึงความสำคัญทางดานความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่ใชในการ สำรวจและจัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตที่ถูกตองและรวดเร็ว จึงไดนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo – Information) หรือ GI ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยีรีโมทเซนซิง ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และระบบกำหนดวเิ คราะหบนพื้นโลก (GPS) มาใชในการวิเคราะหแ ละจัดเก็บ เพื่อประเมนิ เน้ือทีเ่ พาะปลกู กอน ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ซึ่งเปนทางเลือกในการวางแผนหรือกำหนดแนวทางการจัดการดานการผลิตไดอยางมี ประสิทธิภาพ ในปงบประมาณ 2561 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดำเนินงานที่นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาประยุกตใชในการวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2561 ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม โดยการ สุมเลือกพื้นที่ตัวอยาง ดวยวิธีการสุมตัวอยา ง แบบใชสัดสวนของความนาจะเปน ตามขนาดเนื้อที่ (Probability Proportional to Size : PPS) วัตถปุ ระสงค เพ่ือวิเคราะหและจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ในป 2561 สำหรับจัดทำขอมูลเชิงพื้นที่และแผนที่ แสดงเนือ้ ทีเ่ พาะปลกู ขาวนาปรงั เปน รายจังหวดั อำเภอ ตำบล ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ซึ่งบันทึกขอมูลชวงเดือน พฤศจกิ ายน 2560 - พฤษภาคม 2561 ครอบคลมุ เน้อื ทีเ่ พาะปลูกขา วนาปรงั ในประเทศไทย
เคร่อื งมอื อปุ กรณ และวธิ ีการดำเนนิ งาน 1. เครือ่ งมอื และอปุ กรณ 1) ขอมูลดาวเทียมจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียม LANDSAT 8 ครอบคลุม ประเทศไทย 2) ภาพ Ortho Photo สี มาตราสวน 1:2,500 และ 1:4,000 3) แผนทีภ่ มู ปิ ระเทศ ของกรมแผนท่ที หาร มาตราสวน 1 : 50,000 4) เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรม ประกอบดวยโปรแกรมที่สำคัญ คือ โปรแกรมควบคุมระบบ Windows XP และโปรแกรมท่ใี ชในการวิเคราะหและประมวลผลขอมลดู าวเทียม โปรแกรม TNTmips โปรแกรม ImageAnalysis และโปรแกรม Ecogdition 2. ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน 1) รวบรวมขอมูลและจัดเตรียมเบื้องตน ไดแก ภาพถายดาวเทียม ภาพOrtho Photo สี และแผนท่ีภมู ิประเทศมาตราสวน 1 : 50,000 2) เลือกขอมูลดาวเทียม และการคัดเลือกชวงคลื่นขอมูลที่นำมาใชวิเคราะห ที่มีลักษณะเดนใน เรื่อง ความชื้น พืชพรรณ และความแตกตางพื้นที่ระหวางดินและน้ำเพื่อทำภาพสีผสมสำหรับ การจำแนกเนื้อที่ เพาะปลูกขาวนาปรงั 3) การแกไขความผิดพลาดเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) เนื่องจากความ ผิดพลาดทาง วิเคราะห เพื่อใหขอมูลดาวเทียมที่ใชในการวิเคราะหมีวิเคราะหและทิศทางที่ถูกตองตามแผนที่ภูมิประเทศและ ภาพออรโธสี มาตรสวน 1: 4,000 ที่ใชอางอิง โดยใชวิธี Image to Map หรือ Image to Image 4) การตอภาพ (Mosaic) เนื่องจากการวิเคราะหเปนรายจังหวัด และจังหวัดหนึ่งๆ ครอบคลุม ขอมูล หลายภาพ จ าเปนตอ งตอภาพใหเ ชอ่ื มโยงเปนพ้ืนทเ่ี ดียวกันกอนนำมาวเิ คราะห 5) การเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตนกอนการแปลวิเคราะห โดยตรวจสอบขอมูลในเนื้อที่จริง เปรียบเทียบกับขอมูลดาวเทียม รายละเอียดของขอมูลท่ีสำรวจ ควรประกอบดวย ตำแหนงของ จุดสำรวจตอง สามารถอางอิงไดบนแผนที่และปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ลักษณะเนื้อที่ ประเภท ของสิ่งปกคลุมดิน ชนิดพืช ระยะการเจรญิ เติบโต รวมทั้งสภาพแวดลอมบรเิ วณใกลเ คียง ถาเปน ไปได ชว งเวลาในการสำรวจควรใกลเคียงหรือ อยูในฤดูกาลเดยี วกันกับการบันทึกขอ มลู ดาวเทียม แตถา ตา งเวลากนั จะตองสอบถามถึงขอมลู ในชวงเวลาที่บันทึก ขอมลู จากเกษตรกรในทอ งถ่ินน้ัน ๆ 6) การแปลและวิเคราะหขอ มูลดาวเทยี มเพ่ือจำแนกเน้ือท่ีเพาะปลูกขา วนาปรัง โดยใชวิธกี ารแปล และ วิเคราะหด วยสายตาและคอมพวิ เตอร ประโยชนท ีค่ าดวา จะไดร บั ขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรงั ตลอดจนแผนที่ อันสามารถเพื่อใชเ ปนขอมูลพืน้ ฐานในการติดตามเนอ้ื ที่เพาะปลกู และวางแผนการผลติ ขาวนาปรงั ตอ ไป
รายงานผลการสำรวจเนือ้ ทเ่ี พาะปลูกขาวนาปรัง ป 2561 โดยใชเทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศ ในภาคตะวันออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนำเทคโนโลยีดาน ภูมิสารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสำรวจเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2561 พื้นที่ภาคตะวันออก ดวยการนำขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 มาแปลและวิเคราะห เพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูก ขาวนาปรัง ป 2561 โดยพิจารณาจากปจจัยการจำแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุในชวง คลื่นแสงที่ตางกัน ประกอบกับคุณสมบัติ ของวัตถุ ไดแก รูปราง ขนาด รูปแบบ ความหยาบละเอียด สี เงา ตำแหนงที่ตั้งและความสัมพันธกับพื้นที่ขางเคียง พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหเนื้อท่ี เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2561 เบ้อื งตน กบั ภาพถายออรโธสี มาตราสว น 1:4,000 ขอมูลดาวเทยี มรายละเอียดสูง จาก Google Earth และตำแหนงพิกัดที่ไดจากเครื่อง GPS ในภาคสนาม จากการแปลและวิเคราะหขอมูล ดาวเทยี ม เพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลกู ขาวนาปรงั ป 2561 ทั้งนี้ สศท.6 ไดสรุปผลวิเคราะหขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2561 ภาคตะวันออก จำนวน 8 จังหวัด ไดแก นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแกว ตราด ระยอง ชลบุรี และสมุทรปราการ ผลการวิเคราะหสรุปวาจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่การเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2561 มากที่สุด จำนวน 395,778 ไร รองลงมาจังหวัดนครนายก และปราจีนบุรี คิดเปนรอยละ 56.47 19.77 และ 11.78 ตามลำดับ รายละเอียดตารางผลการแปลและวิเคราะหเน้อื ท่ีเพาะปลกู ขา วนาปรงั ป 2561 ภาคตะวันออก ดังน้ี ตารางผลการแปลและวิเคราะหเนอ้ื ที่เพาะปลกู ขา วนาปรัง ป 2561 ของภาคตะวนั ออก จากขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ภาค/จังหวดั ป พ.ศ.2561 รอยละ เนอ้ื ท่ี (ไร) ภาคตะวันออก 700,806 100.00 นครนายก 138,555 19.77 ปราจนี บรุ ี 82,555 11.78 ฉะเชิงเทรา 395,778 56.47 สระแกว 17,446 2.49 ตราด 2,328 0.33 ระยอง 1,386 0.20 ชลบรุ ี 43,617 6.22 สมุทรปราการ 19,141 2.73
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176