Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 3 การดำรงชีวิตของพืช

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 3 การดำรงชีวิตของพืช

Published by Jiab Chanchira, 2021-05-08 04:51:33

Description: แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 3 การดำรงชีวิตของพืช

Search

Read the Text Version

ม.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 3 การดารงชีวิตของพืช โดย นางสาวจนั จิรา ธนนั ชยั ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย โรงเรยี นรำชประชำนุเครำะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ สำนักบริหำรงำนกำรศึกษำพิเศษ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 26 ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 การดำรงชีวติ ของพืช เวลา 1 ชัว่ โมง แผนการจดั การเรียนร้เู รื่อง การถ่ายละอองเรณู โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ผสู้ อนนางสาวจันจิรา ธนนั ชยั 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สัมพันธก์ นั รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วนทำให้เกิดการถ่ายเรณู รวมทั้งบรรยายการ ว 1.2 ม.1/12 ปฏิสนธิของพืชดอก การเกดิ ผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมลด็ 3. สาระสำคญั ดอกมีสว่ นประกอบ 4 สว่ น ไดแ้ ก่ กลบี เลย้ี ง กลีบดอก เกสรตวั ผู้ และเกสรตวั เมีย การถา่ ยละอองเรณู เป็นกระบวนการสืบพันธ์ของพืชดอก หมายถึง ปรากฏการณ์ท่ีละอองเรณูของเกสรตัวผปู้ ลิวมาตกบนยอดเกสร ตัวเมียของดอกชนดิ เดียวกนั ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียแตกต่างกัน ลักษณะต่างๆเหล่านีล้ ว้ นมี ผลต่อการถา่ ยเรณูของพชื ทั้งสิน้ 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (1) นักเรยี นสามารถอธบิ ายการถา่ ยละอองเรณูของพชื ดอกได้ (K) (2) นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมตามท่กี ำหนดให้ได้ (P) (3) นกั เรยี นใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มั่นในการทำงาน และมวี ินยั ในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (1) ความสามารถในการส่ือสาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสังเกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสร้างคำอธบิ าย การอภปิ ราย การส่ือความหมาย การทำกิจกรรมโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื คน้ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแก้ไขปัญหา - สามารถแกป้ ญั หาทเ่ี กิดขนึ้ ได้อย่างเหมาะสม

6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ - มวี ินัย - ม่งุ มน่ั ในการทำงาน - ใฝ่เรียนรู้ 7. สาระการเรียนรู้ ดอกมีส่วนประกอบ 4 ส่วน ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมีย ทุกส่วนจะติดอยู่ บนฐานรองดอก แตล่ ะส่วนของดอกมหี นา้ ท่ีแตกตา่ งกัน ดอกของพืชสว่ นใหญ่มกี ลีบเล้ียงสเี ขยี วกลีบดอกมีสีสัน เกสรตัวผู้ประกอบด้วยก้านชอู ับเรณูและอับเรณูภายในอับเรณูมีเรณูซึ่งมีหน้าทีส่ ร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ เกสร เพศเมียประกอบด้วยยอดเกสรเพศเมีย ก้านเกสรเพศเมีย รังไข่ และมีออวุ้นอยู่ในรังไข่ภายในออวุ้นมีถุง เอ็มบริโอ ซึ่งทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกจะมีการถ่ายเรณู ซึ่ง เป็นการเคลื่อนย้ายเรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย เพื่อให้เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้มีโอกาสไปผสมกับเซลล์ สบื พันธุเ์ พศเมยี ดอกของพืชแต่ละชนิดมีรูปร่างขนาด สี กลิ่น ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียแตกต่างกัน ลักษณะต่างๆเหลา่ น้ีลว้ นมผี ลต่อการถ่ายเรณูของพืชทั้งสิน้ ดอกของพืชบางชนิดมีอัพเรณูและยอดเกสรเพศเมียอยู่ในตำแหน่งทีเ่ อื้อให้เรณูสามารถสัมผัสหรือตก ลงบนยอดเกสรเพศเมยี ได้โดยตรง ไม่ต้องอาศัยพาหะหรือตวั กลางใดชว่ ยในการถ่ายเรณู ดอกของพืชบางชนดิ ที่มีเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียอยู่ในดอกเดียวกันและอยู่ห่างกัน เช่น เกสรเพศผู้มีตำแหน่งต่ำกว่าเกสรเพศ เมีย หรือพืชบางชนิดมีดอกที่มีเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียอยู่ต่างดอกหรือตั้งต้นกัน จำเป็นต้องมีพาหะหรือ ตวั กลางชว่ ยให้เกิดการถ่ายเรณู ซ่งึ พาหะเหลา่ น้ีอาจเปน็ สัตว์ เช่นแมลง นก ค้างคาว หรือเปน็ ส่ิงไม่มีชีวิต เช่น ลม น้ำ ดอกที่มีสัตว์เป็นพาหะมักจะมีสี กลิ่น ดึงดูดความสนใจให้สัตว์เข้ามาหา และยังมีสิ่งที่ให้ประโยชน์กับ สัตว์นั้นด้วย เช่น น้ำหวาน หรือเรณูที่สัตว์ใช้เป็นอาหารได้ เพื่อทำให้สัตว์จดจำและกลับหรือยังดอกของพืช ชนิดน้นั อีก นอกจากสี และกล่ินแล้วลักษณะ รปู ร่าง และขนาดของดอกยังสัมพนั ธ์กบั ชนิดของสตั ว์ที่เป็นพาหะ ช่วยถ่ายละอองเรณูด้วยส่วนดอกที่มีลักษณะรูปร่างไม่สะดุดตา ไม่มีทั้งสี กลิ่น หรือน้ำหวานเพื่อใช้ดึงดูดสัตว์ จึงต้องอาศัยลมหรือน้ำเป็นตัวกลางในการถ่ายเรณู ดอกของพืชเหล่านี้มีขนาดเล็กแต่มีอับเรณูขนาดใหญ่ยื่น โผล่พน้ ดอกออกมา อาจมีกา้ นชอู บั เรณูท่ขี ยบั ไดง้ ่ายเมือ่ ปะทะกับลม ทำใหเ้ รณปู ลวิ ไปกับลมได้ง่าย นอกจากนี้มนุษย์สามารถถ่ายเรณูให้พืชได้โดยใช้วิธีที่หลากหลาย เช่น การใช้พู่กันแตะเรณูหรือใช้ปากคีมคีบ เรณูมาป้ายหรอื วางบนยอดเกสรเพศเมยี 8. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ใชร้ ูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) (5 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยการทบทวนความรู้เดิมเรื่องการสืบพันธ์ของพืชที่ เรยี นรทู้ ่ผี า่ นมาแล้วโดยใช้คำถามกระตนุ้ ดงั น้ี - ดอกไมม้ สี ่วนประกอบใดบา้ ง และส่วนไหนท่ใี ชใ้ นการสบื พนั ธ์ - สว่ นประกอบดงั กลา่ วมคี วามสำคญั อย่างไร (2) ครูชีแ้ จงให้นกั เรยี นวา่ วันนคี้ รูจะสอนเกีย่ วกบั การถ่ายละอองเรณู

8.2 ข้นั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (40 นาที) (1) ครูอธบิ ายความรูเ้ ร่ืองการถ่ายละอองเรณูใหน้ ักเรียนฟัง โดยใชส้ อ่ื การสอน PowerPoint และให้ศกึ ษาเน้ือหาความรเู้ พิ่มเตมิ ในหนงั สือเรยี นหนา้ (2) นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 6 กลุ่ม แล้วรับใบกิจกรรม เรื่องการถ่ายละอองเรณูเกิดขึ้นได้ อยา่ งไรจากครู อ่านข้ันตอนการทำให้เข้าใจ และลงมือทำตามขั้นตอน (3) ตวั แทนนักเรียน 2 คน ออกมาอภปิ รายและสรุปความรู้ทีไ่ ด้ทำกิจกรรมไป 8.3 ขัน้ อภปิ รายและลงขอ้ สรุป (Explain) (5 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (ดอกมีส่วนประกอบ 4 ส่วน ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมีย การถ่ายละอองเรณูเป็นกระบวนการสืบพันธ์ของพืชดอก หมายถงึ ปรากฏการณท์ ่ลี ะอองเรณขู องเกสรตวั ผู้ปลวิ มาตกบนยอดเกสรตวั เมยี ของดอกชนดิ เดยี วกนั ตำแหน่ง ของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียแตกต่างกัน ลักษณะต่างๆเหล่านี้ล้วนมีผลต่อการถ่ายเรณูของพืชทั้งสิ้น การ สืบพันธุแ์ บบอาศัยเพศของพืชดอกเกิดขึ้นทีด่ อก มีการถ่ายเรณูจากอบั เรณูไปยังยอดเกสรเพศเมียโดยมสี ่งิ ต่าง ๆ ช่วยในการถ่ายเรณู จากนั้นสเปิร์มในเรณูจะเข้าไปปฏิสนธิกับเซลล์ไข่และโพลาร์นิวคลีไอในถุงเอ็มบริโอ ได้ ไซโกตและเอนโดสเปิรม์ สว่ น ออวลุ จะพฒั นาและเจริญเติบโตไปเปน็ เมล็ด รงั ไขจ่ ะพัฒนาและเจรญิ เติบโตเป็น ผล) 8.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาท)ี (1) ครูเพิ่มเติมความรู้ให้นักเรียนโดยเปิดวีดีโอ เรื่องการถ่ายละอองเรณู จาก https://www.youtube.com/watch?v=jwod_Kgm294 ใหน้ ักเรียนฟงั 8.5 ข้ันประเมิน (Evaluation) (5 นาที) (1)ครูตั้งคำถามเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน (2) นกั เรยี นถามในสิ่งท่ีสงสยั และยงั ไม่รแู้ ละครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ 9. สือ่ การเรียนรู้ (1) ส่อื การสอน PowerPoint (2) หนงั สอื วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) ใบกิจกรรม เร่ืองการถ่ายละอองเรณูเกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร (4) วีดโี อ เร่ืองการถ่ายละอองเรณู (5) วัสดุ/อุปกรณ์ ได้แก่ 1.ดอกบวั หลวง 2. ดอกกลว้ ยไม้ 3.ดอกชบา 4.ดอกแก้ว 5. ดอกมะละกอ 6. แว่นขยาย 7. ใบมดี โกน 8. วดี ีทศั นก์ ารถา่ ยละอองเรณู

10. การวดั ผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวัดผล เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมิน ผูป้ ระเมิน ครูผู้สอน 1.ด้านความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบกจิ กรรม ผู้เรียนผา่ นเกณฑ์ ครูผสู้ อน ระดบั พอใช้ขึ้นไป นักเรียนสามารถอธิบาย คำตอบในใบกจิ กรรม ครูผ้สู อน ผู้เรียนผา่ นเกณฑ์ การถ่ายละอองเรณูของ ระดบั พอใช้ขน้ึ ไป พชื ดอกได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะการปฏ ิบ ัติ แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) ก ิ จ ก ร ร ม ต า ม ที่ การปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนสามารถปฏิบัติ กำหนดให้ ตามทกี่ ำหนดให้ กิจกรรมตามทีก่ ำหนดให้ ได้ 3.ด้านคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผูเ้ รียนผา่ นเกณฑ์ ระดับพอใชข้ ึ้นไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมีวินยั ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรียน ต่อเวลาในการส่งงาน ประสงค์

เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑป์ ระเมินด้าน K รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนอธิบายการถ่าย นักเรียนอธิบายการถ่าย อ ธ ิ บ า ย ก า ร ถ ่ า ย การถ่ายละอองเรณูของพืช ละอองเรณูของพืชดอกได้ ละอองเรณูของพืชดอกได้ ละอองเรณูของพืช ดอกได้อย่างถูกต้องและ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- เพียงส่วนน้อย(ต่ำกว่า5 ดอกได้ ครบถว้ น(8-10คะแนน) 7คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ขึน้ ไป เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (K) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดบั 1 หมายถึง ปรับปรงุ เกณฑป์ ระเมินดา้ น P รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถปฏิบัติ นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ กิจกรรมตามท่ีกำหนดให้ได้ ตามที่กำหนดให้ได้ถูกต้อง ตามที่กำหนดให้ได้เพียง กำหนดให้ได้ ถูกต้องและครบถ้วน ( 8- เปน็ ส่วนใหญ่ ( 5-7 คะแนน) ส ่ ว น น ้ อ ย ( ต ่ ำ ก ว ่ า 5 10 คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตัดสินระดบั คุณภาพด้านคุณลักษณะ (P) 8-10 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดบั 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ

เกณฑป์ ระเมินด้าน A รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมวี ินัยในการเรียน เวลาทกุ ครัง้ (4คะแนน) เวลาบางครัง้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ข้ึนไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยูใ่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 2-3 คะแนน อย่ใู นระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ

วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

11. ผลการประเมิน นักเรียนทง้ั หมด………………คน ดา้ น (K) นกั เรียนสามารถอธบิ ายการถา่ ยละอองเรณขู องพชื ดอกได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยูใ่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ด้าน (P) นักเรียนสามารถปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามท่กี ำหนดให้ได้ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ด้าน (A) นกั เรยี นใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมัน่ ในการทำงาน และมีวินยั ในการเรียน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. รายชอ่ื นักเรยี นที่ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแก้ไข ลำดับ ช่อื -สกุล ลงช่ือ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)

ใบกจิ กรรม เร่อื งการถ่ายละอองเรณเู กดิ ขน้ึ ได้อย่างไร จุดประสงค์ สังเกต รวบรวมข้อมูล และอธบิ ายวิธกี ารถา่ ยเรณขู องพชื ดอก วสั ดุและอุปกรณ์ 1.ดอกบวั หลวง 2. ดอกกลว้ ยไม้ 3.ดอกชบา 4.ดอกแกว้ 5. ดอกมะละกอ 6. แวน่ ขยาย 7. ใบมีดโกน 8. วดี ีทัศน์การถ่ายละอองเรณู วธิ กี ารดำเนินกิจกรรม 1.สงั เกตรปู ร่าง ลักษณะ สี กลิ่น และเปรียบเทียบตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี ของพชื ดอกแตล่ ะชนดิ วาดภาพและบรรยายสง่ิ ทส่ี งั เกตได้ 2. ร่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั ลักษณะของพืชดอกที่ช่วยใหเ้ กิดการถา่ ยเรณู และคาดคะเนเก่ียวกับปัจจยั ภายนอกที่ช่วยให้เกดิ การถ่ายเรณขู องดอกที่ศึกษา พร้อมบอกเหตุผล 3. รวบรวมขอ้ มลู เก่ยี วกบั วธิ กี ารถ่ายเรณขู องพชื ดอก 4. นำขอ้ มูลการถา่ ยเรณูของพชื ดอกที่ไดจ้ ากการรวบรวมเปรยี บเทียบกบั ขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการอภิปราย บนั ทกึ ผล ตารางบันทึกผล เกสรตวั ผู้ เกสรตวั เมีย กลน่ิ ชอ่ื พืช รปู ร่างลักษณะ กลบี เล้ยี ง กลีบดอก

สรปุ ผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................... ...................................................................... คำถามท้ายกิจกรรม 1. ลักษณะต่างๆ ของดอกมสี ่วนชว่ ยในการถา่ ยเรณขู องพชื ดอกหรือไม่ อยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ........................................................... 2. ปัจจัยภายนอกทช่ี ่วยในการถา่ ยเรณูของพืชดอกมีอะไรบ้าง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................................ 3. วิธกี ารถา่ ยเรณูจากการอภิปรายเหมอื นหรือแตกตา่ งจากข้อมลู ท่ีได้จากการศกึ ษา อยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ............................................................. 4. การถ่ายละอองเรณมู ปี ระโยชน์อย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ 5. ใหน้ กั เรียนวาดรูปโครงสร้างของดอก เขียนช่ือและหนา้ ท่ีของส่วนประกอบของดอกท่ีนักเรยี นสนใจ

เฉลยใบกิจกรรม จุดประสงค์ สังเกต รวบรวมข้อมูล และอธบิ ายวิธีการถ่ายเรณูของพชื ดอก วสั ดแุ ละอุปกรณ์ 1.ดอกบวั หลวง 2. ดอกกล้วยไม้ 3.ดอกชบา 4.ดอกแกว้ 5. ดอกมะละกอ 6. แวน่ ขยาย 7. ใบมดี โกน 8. วดี ีทัศนก์ ารถา่ ยละอองเรณู วธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรม 1.สังเกตรปู ร่าง ลกั ษณะ สี กล่นิ และเปรียบเทยี บตำแหน่งของเกสรเพศผูแ้ ละเกสรเพศเมยี ของพืช ดอกแต่ละชนดิ วาดภาพและบรรยายสง่ิ ทีส่ ังเกตได้ 2. ร่วมกันอภปิ รายเกย่ี วกับลักษณะของพืชดอกทช่ี ่วยให้เกิดการถา่ ยเรณู และคาดคะเนเกยี่ วกับปจั จัย ภายนอกท่ชี ว่ ยใหเ้ กิดการถ่ายเรณูของดอกท่ีศึกษา พร้อมบอกเหตุผล 3. รวบรวมขอ้ มลู เก่ยี วกับวิธกี ารถ่ายเรณูของพชื ดอก 4. นำขอ้ มลู การถ่ายเรณูของพชื ดอกที่ไดจ้ ากการรวบรวมเปรียบเทยี บกับข้อมูลทไี่ ด้จากการอภปิ ราย บนั ทกึ ผล ตารางบันทกึ ผล ช่อื พืช รูปร่าง กลบี กลีบดอก เกสรตวั ผู้ เกสรตัว กลน่ิ ลักษณะ เลี้ยง เมยี ข้นึ อย่กู บั ผลการทดลอง สรปุ ผลการทดลอง วิธกี ารถ่ายเรณูของพชื แตล่ ะชนิดเก่ียวข้องกับลกั ษณะ รปู ร่างของดอก โดยมีสิ่งที่ช่วยถ่ายละอองเรณู เช่น ลม น้ำ สตั ว์

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 27 ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 การดำรงชวี ติ ของพชื เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจัดการเรยี นรูเ้ ร่อื ง การงอกของเมล็ด โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ผู้สอนนางสาวจนั จริ า ธนันชยั 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สัมพนั ธก์ นั รวมทงั้ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวช้ีวดั อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วนทำให้เกิดการถ่ายเรณู รวมทั้งบรรยายการ ว 1.2 ม.1/12 ปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด การกระจายเมลด็ และการงอกของเมลด็ 3. สาระสำคญั การงอกของเมล็ด เกิดขึ้นเมื่อเอ็มบริโองอกออกจากเมล็ด จากนั้นจะเจริญเติบโตไปเป็นพืชต้นใหม่ ต่อไป เมื่อเมล็ดพืชแก่เต็มที่ผลก็จะสุกไปพร้อมกัน เมล็ดจะกระจายออกจากต้นเดิมและถ้าอยู่ใน สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเมลด็ กจ็ ะงอกได้ 4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (1) นกั เรียนสามารถระบุสว่ นประกอบและหน้าทีข่ องสว่ นประกอบของเมลด็ พชื ได้ (K) (2) นกั เรียนสามารถปฏบิ ัติกิจกรรมตามที่กำหนดใหไ้ ด้ (P) (3) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ ม่งุ มนั่ ในการทำงาน และมีวินยั ในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (1) ความสามารถในการส่ือสาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสังเกต การสำรวจ การคิดวเิ คราะห์ การสร้างคำอธิบาย การอภิปราย การสื่อความหมาย การทำกจิ กรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบค้นโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา - สามารถแกป้ ญั หาท่ีเกดิ ขึ้นได้อยา่ งเหมาะสม

6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - มีวินยั - มุ่งมัน่ ในการทำงาน - ใฝ่เรยี นรู้ 7. สาระการเรยี นรู้ การงอกของเมล็ด เกิดขึ้นเมื่อเอ็มบริโองอกออกจากเมล็ด จากนั้นจะเจริญเติบโตไปเป็นพืชต้นใหม่ ต่อไป เมื่อเมล็ดพืชแก่เต็มที่ผลก็จะสุกไปพร้อมกัน เมล็ดจะกระจายออกจากต้นเดิมและถ้าอยู่ใน สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเมล็ดก็จะงอกได้ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการงอก ได้แก่ มีความชื้นและแก๊ส ออกซิเจน ตลอดจนมีอุณหภูมิที่เหมาะสม โดยน้ำหรือความชื้นช่วยให้เมล็ดพืชการพับตัวและพองขยายขนาด ขึ้น เปลือกหุ้มเมล็ดอ่อนตัวลง ทำให้รากแรกเกิดงอกออกจากเมล็ดได้ นอกจากนั้นยังช่วยให้เนื้อเย่ือ endosperm อ่อนนุ่มทำให้ต้นอ่อนนำอาหารที่สะสมไว้มาใช้ได้ และต้องมีแก๊สออกซิเจนสำหรับใช้ใน กระบวนการสร้างพลังงานเพื่อนำไปใช้ในการงอก แต่อย่างไรก็ตามถ้ามีน้ำมากเกินไปจนท่วมเมล็ดจะทำให้ เมล็ดได้รับปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำ เมล็ดจะงอกได้ไม่ดี และอาจเน่าได้นอกจากน้ำและแก๊สออกซิเจนแล้ว เมล็ดต้องอยู่ในสภาพแวดลอ้ มที่มีอุณหภูมิที่เหมาะสมเพื่อให้กระบวนการทำงานภายในเซลล์ของเมล็ดเกิดข้ึน ได้ ซงึ่ อุณหภมู ทิ ี่เหมาะสมตอ่ การงอกของเมล็ดพืชแต่ละชนดิ ไมเ่ ท่ากนั เมล็ดพืชส่วนใหญ่ต้องการน้ำ แก๊สออกซิเจน และอุณหภูมิที่เหมาะสมในการงอก กระบวนการงอก ของพืชบางชนิด เช่น ยาสูบ หญ้าบางชนิด ยังต้องการแวงในระยะเวลาที่เพียงพอเพื่อกระตุ้นการงอกอีกด้วย เมื่อมีการงอกส่วนประกอบต่างๆ ของเมล็ด จะมีการเปลี่ยนแปลง จากการสังเกตการงอกของเมล็ดถั่วแดง เมลด็ ขา้ วโพดพบการเปลี่ยนแปลงทแี่ ตกตา่ งกัน ขณะทเ่ี มลด็ ข้าวโพดงอกใบเลี้ยงยังคงอยู่ในเมลด็ ในระยะแรก รากแรกเกดิ งอกออกจากเมลด็ แลว้ งอกลงมาตามแรงโน้มถว่ งของโลกตอ่ มาเย่ือหุ้มยอดแรกเกดิ จะงอกออกจาก เมล็ดในทิศทางตรงกันข้าม เมื่อใบแท้ไปแรกเจริญเติบโตขึ้นพ้นดนิ และสามารถสร้างอาหารได้ตัวอ่อนจะหยุด ใช้อาหารจาก endosperm ส่วนการงอกของเมล็ดถั่วแดงนั้นรากแรกเกิดจะงอกออกจากเมล็ดก่อนที่ส่วนต้น อ่อนและเจริญออกจากเมล็ด จากนั้นต้องต้นอ่อนจะเจริญงอตัวดึงใบเลี้ยงและยอดอ่อนออกมาด้วย เมื่อต้น อ่อนส่วนใต้ใบลี้ยงตั้งตรง ต้นอ่อนเหนือใบเลี้ยงจะยืดตัว ใบเลี้ยงจะกางออกทำให้เห็นใบแท้ เมื่อใบแท้เจริญ เต็มที่จะสร้างอาหารได้ ต้นอ่อนจะหยุดการใช้อาหารที่สะสมไว้ในใบเลี้ยง และใบเลี้ยงจะเหี่ยวหลุดร่วงไปใน ท่สี ุด หลังจากปฏิสนธิแล้ว รังไข่ (ovary ) เจรญิ เป็น ผล ผนงั รังไข่ (ovary wall ) เจริญเปน็ เปลือกและเนอื้ ของผลไม้ ออวุล (ovule ) เจริญเปน็ เมลด็ เซลลไ์ ข่ (egg ) เจรญิ เป็น ตน้ ออ่ นอยูภ่ ายในเมล็ด โพลาร์นิวเคลยี ส (polar nucleus ) เจริญเป็น เอนโดสเปิร์ม เยื่อหุ้มออวลุ (integument ) เจรญิ เป็น เปลอื กหุม้ เมลด็ สำหรับส่วนประกอบอน่ื ๆ ของดอกจะเหี่ยวแห้งและสลายตัวไป

สงิ่ สำคญั ทจ่ี ำเปน็ ตอ่ การงอกของเมล็ด 1.1 เมลด็ ตอ้ งมีชีวิตอยู่ หมายความว่า เมล็ดนัน้ ยังมีชีวิตอยู่และสามารถที่จะงอกได้ ในการเก็บเมล็ด พืชไว้นานๆ เมล็ดพชื จะหมดอายุทำให้เพาะไม่งอก หรือมีอตั ราการงอกต่ำ เปลือกชน้ั นอกสดุ เน้อื เมล็ด 1.2 นำ้ หรอื ความชน้ื เมื่อเมล็ดได้รับน้ำ เปลือกห้มุ เมล็ดจะอ่อนตวั ลง ทำใหน้ ้ำและออกซิเจนผ่านเข้า ไปในเมล็ดได้มากขึ้น เมล็ดจะดูดน้ำเข้าไปทำให้เมล็ดพองตัวขยายขนาด และมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น น้ำจะเป็น ตัวกระตุ้นปฏิกิริยาทางชีวเคมีต่างๆ ภายในเมล็ดมีการกระตุ้นการสร้างเอนไซม์เพื่อย่อยสลายสารอาหารท่ี สะสมในเมล็ด เอนไซม์ที่เกิดขึ้นในเมล็ดเช่น อะไมเลส จะย่อยแป้งให้เป็นมอลโทส โปรตีนเอส จะย่อยโปรตีน ให้ เป็นกรดอะมิโน ทั้งมอลโทสและกรดอะมิโนละลายน้ำได้ และแพร่เข้าไปในเอ็มบริโอเพื่อใช้ในการหายใจ และ การเจริญเติบโต นอกจากนี้น้ำยังเป็นตัวทำละลายสารอื่นๆที่สะสมในเมล็ดและช่วยในการลำเลียง สารอาหารไปใช้ตัวอ่อนใชใ้ นการงอก 1.3 ออกซิเจน เมล็ดขณะงอกมีอัตราการหายใจสูง ต้องการออกซิเจนไปใช้ในกระบวนการสลาย สารอาหารเพื่อให้ได้พลังงานซึ่งจะนำไปใช้ในกระบวนการเมแทบอลิซึมต่างๆของเซลล์ แต่มีพืชบางชนิด เช่น พืชน้ำสามารถงอกได้ดีในออกซิเจนต่ำ ความชื้นสูง เพราะสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนได้ แต่เมล็ด หลายชนิดจะไม่งอกเลย ถ้าออกซิเจนไม่เพียงพอแม้ความชื้นจะสูง เช่น เมล็ดวัชพืชหลายชนิดท่ีฝังอยู่ในดิน ลึกๆเมือ่ ไถพรวนดนิ ให้เมล็ดข้นึ มาอยู่ใกล้ผิวดิน จึงจะงอกได้ 1.4 อุณหภมู ิ เมล็ดพชื แต่ละชนดิ ตอ้ งการอุณหภูมิ ที่เหมาะสมในการงอกแตกต่างกัน เช่น เมล็ดพืชเขตหนาวจะงอกได้ดีในช่วงอุณหภูมิ 10-20 องศาเซลเซียส เช่น หอมหัวใหญ่และผกั กาดหัว งอกได้ดี ที่อุณหภูมิ20 องศาเซลเซียส แต่ก็มีบางชนิดต้องการอุณหภูมิในช่วง กลางวันและกลางคืนที่ตา่ งกนั หรือให้ อณุ หภูมิตำ่ สลบั กับอณุ หภูมิสูง การงอกจะเกดิ ดี เชน่ บวบเหลี่ยม ถ้าให้ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 16 ชั่วโมง สลับกับอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 ชั่วโมงเมลด็ จงึ จะงอกไดด้ ี 1.5 แสง เปน็ ปัจจัยหนึ่งทค่ี วบคมุ การงอกของเมล็ด เมล็ดพืชบางชนิดจะงอกไดต้ อ่ เม่อื มีแสง เชน่ วัชพืชต่างๆหญ้า ยาสูบ ผักกาดหอม สาบเสือ ปอต่างๆ เป็นต้น เมล็ดพืชอีกหลายชนิดไม่ต้องการแสงในขณะ งอก เช่น กระเจยี๊ บแตงกวา ผักบ้งุ จนี ฝา้ ย ข้าวโพด เปน็ ต้น พชื บางชนิด เชน่ มะม่วง ลำไย ขนุน ทุเรยี น ระกำ ฯลฯ เม่อื ผลเหล่านีแ้ กเ่ ต็มที่แลว้ น า เมล็ดไปเพาะในสภาพแวดล้อมท่เี หมาะสม ก็จะงอกเป็นต้นใหม่ได้ แต่บาง ชนดิ เชน่ แตงโม เมื่อผลแก่ เตม็ ที่แลว้ น าเมลด็ ไปเพาะถึงแม้สภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการงอกแต่เมล็ดก็ไม่ สามารถงอกเป็นต้นใหม่ได้ เรียกวา่ มกี ารพักตัวของเมล็ด (seed dormancy)

8. กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ใชร้ ูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) (5 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยครูนำต้นพืชมาแสดงให้นักเรียนดูและใช้คำถาม กระตนุ้ ใหน้ กั เรียนสนใจในการเรยี น ดงั นี้ - พืชทีค่ รนู ำมาน้ีมสี ว่ นประกอบอะไรบา้ ง (แนวคำตอบ ราก ลำต้น ใบดอก) - ครูถามตอ่ วา่ ทนี่ ักเรยี นตอบนนั้ ใช้ประสาทสัมผัสใด (แนวคำตอบ ตา) (2) ครนู ำเมล็ดถั่วเขยี วและเมล็ดข้าวโพดมาแสดงให้นกั เรียนดู - ถ้าเราเพาะเมล็ดพืชทั้ง 2 ชนิดนี้ นักเรียนคิดว่าส่วนใดของพืชจะงอกออกจากเมล็ดเป็น อันดับแรก(ใหน้ กั เรยี นตอบตามความคดิ ของตัวเอง) 8.2 ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (35 นาที) (1) ครูอธิบายความรู้เรื่องการงอกของเมล็ดให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint และให้ศึกษาเนอ้ื หาความรเู้ พมิ่ เตมิ ในหนงั สือเรียนหนา้ (2) นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่มกลุ่มละ 6 คน จากนั้นให้สมาชิกแต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้าและตั้งช่ือ กล่มุ ตาม ชือ่ พชื ทีส่ มาชกิ ในกลุม่ ชนื่ ชอบ (3) ให้นักเรียนศึกษาวิธีการทดลอง และทำการทดลอง ตามกิจกรรม เรื่องเมล็ดงอกได้ อยา่ งไร (4) ตัวแทนนกั เรียน 1 คน ออกมาอภิปรายและสรุปผลการทำกิจกรรม 8.3 ขน้ั อภปิ รายและลงข้อสรุป (Explain) (5 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (การงอกของเมล็ด เกิดขึ้นเมื่อ เอ็มบริโองอกออกจากเมล็ด จากนั้นจะเจรญิ เตบิ โตไปเป็นพืชต้นใหม่ต่อไป เมื่อเมล็ดพืชแก่เต็มที่ผลก็จะสกุ ไป พร้อมกัน เมล็ดจะกระจายออกจากต้นเดมิ และถ้าอยู่ในสภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมเมลด็ กจ็ ะงอกได้) 8.4 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาที) (1) ครูเพิ่มเติมความรู้ให้นักเรียนโดยเปิดวีดีโอ เรื่องการงอกของเมล็ดถั่วเขียว จาก https://www.youtube.com/watch?v=OT7R_dNyqiI ให้นกั เรยี นฟัง 8.5 ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) (5 นาที) (1) ครตู ง้ั คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี น (2) นักเรยี นถามในสิ่งทสี่ งสัยและยงั ไม่รแู้ ละครูอธบิ ายเพิ่มเติม

9. ส่อื การเรียนรู้ (1) สอ่ื การสอน PowerPoint (2) หนังสอื วทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน ม.1 เล่ม 1 (สสวท) (3) ใบกิจกรรม เร่อื งเมล็ดงอกไดอ้ ยา่ งไร (4) วีดีโอ เร่ืองการงอกของเมล็ดถ่ัวเขียว 10. การวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัดผล เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมนิ ผู้ประเมนิ ครผู ูส้ อน 1.ดา้ นความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบกิจกรรม ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ระดบั พอใชข้ นึ้ ไป ครผู ู้สอน นักเรียนสามารถระบุ คำตอบในใบกิจกรรม ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์ ครูผสู้ อน ส่วนประกอบและหน้าท่ี ระดบั พอใช้ข้ึนไป ของส่วนประกอบของ เมลด็ พืชได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะการปฏ ิบ ัติ แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) ก ิ จ ก ร ร ม ต า ม ท่ี การปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนสามารถปฏิบัติ กำหนดให้ ตามทก่ี ำหนดให้ กิจกรรมตามที่กำหนดให้ ได้ 3.ด้านคณุ ลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ้เู รียนผ่านเกณฑ์ ระดบั พอใช้ข้นึ ไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ชี้ ในการทำงาน และมีวินยั ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรยี น ต่อเวลาในการสง่ งาน ประสงค์

เกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์ประเมินดา้ น K รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามาร ถ ร ะ บุ นักเรียนระบุส่วนประกอบ นักเรียนระบุส่วนประกอบ ส่ว นประกอบแ ล ะ ส่วนประกอบและหน้าท่ี และหน้าที่ของส่วนประกอบ แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ข อ ง ห น ้ า ท ี ่ ข อ ง ของส่วนประกอบของเมล็ด ของเมล็ดพืชได้ ถูกต้องเป็น ส่วนประกอบของเมล็ดพืช ส ่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง พืชได้อย่างถูกต้องและ ส่วนใหญ(่ 5-7คะแนน) ได้ เพียงส่วนน้อย(ต่ำกวา่ 5 เมล็ดพชื ได้ ครบถ้วน(8-10คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ขนึ้ ไป เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (K) 8-10 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 5 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถึง ปรบั ปรุง เกณฑ์ประเมินด้าน P รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถปฏิบัติ นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมตามท่ี กจิ กรรมตามที่กำหนดให้ได้ ตามที่กำหนดให้ได้ถูกต้อง ตามที่กำหนดให้ได้เพียง กำหนดให้ได้ ถูกต้องและครบถ้วน ( 8- เป็นสว่ นใหญ่ ( 5-7 คะแนน) ส ่ ว น น ้ อ ย ( ต ่ ำ ก ว ่ า 5 10 คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ข้ึนไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คุณภาพด้านคณุ ลักษณะ (P) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดบั 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกวา่ 5 คะแนน อยูใ่ นระดับ 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง

เกณฑป์ ระเมินด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมวี นิ ัยในการเรยี น เวลาทกุ ครง้ั (4คะแนน) เวลาบางครั้ง (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ตำ่ กวา่ 2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง

วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

11. ผลการประเมนิ นกั เรียนท้ังหมด………………คน ด้าน (K) นักเรยี นสามารถระบสุ ่วนประกอบและหนา้ ท่ีของส่วนประกอบของเมลด็ พชื ได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยู่ในระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ด้าน (P) นกั เรยี นสามารถปฏิบตั กิ ิจกรรมตามท่กี ำหนดใหไ้ ด้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ด้าน (A) นักเรยี นใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มน่ั ในการทำงาน และมวี ินยั ในการเรยี น ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. รายชอ่ื นักเรียนท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแก้ไข ลำดับ ช่อื -สกุล ลงชื่อ...............................................(ผู้สอน) (..............................................)

ใบกิจกรรม เร่อื งเมล็ดงอกได้อย่างไร สมาชิกกลุ่มท.ี่ ........................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… จดุ ประสงค์ 1. สังเกต รวบรวมข้อมลู และระบสุ ่วนประกอบและหน้าที่ของส่วนประกอบของเมล็ดพชื 2. อภิปราย และลงมือปฏิบัติเพ่ือสงั เกตการณเ์ ปล่ียนแปลงของเมล็ดขณะงอก 3. รวบรวมขอ้ มลู และระบุปจั จัยในการงอกของเมล็ด วัสดุและอุปกรณ์ 1. เมล็ดข้าวโพด 2. เมลด็ ถวั่ แดง 3. ใบมดี โกน 4. แวน่ ขยาย 5. น้ำ วิธีการทดลองตอนที่ 1 1. สังเกตลักษณะภายนอก และภายในของเมล็ดถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพด โดยใช้ใบมีดโกนผ่าเมล็ด ตามยาว บันทกึ ผลโดยการวาดภาพส่วนประกอบของเมล็ด 2. สืบค้นข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบและหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของเมล็ด ถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพด เปรียบเทียบส่วนประกอบของเมล็ดกับภาพวาดในข้อที่ 1 เพิ่มเติมหรือแก้ไขภาพที่ วาดไว้ใหถ้ กู ตอ้ ง และระบุส่วนประกอบของเมล็ด

ผลการทดลอง ลักษณะภายนอก ลักษณะภายใน เมลด็ ถว่ั แดง เมล็ดข้าวโพด สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

วิธีการทดลองตอนท่ี 2 1.รวบรวมข้อมูลปัจจัยในการงอกของเมล็ด ออกแบบวิธีการเพาะเมล็ดและตารางบันทึกผลการ เปล่ยี นแปลงในขณะทเ่ี มลด็ พชื แต่ละชนดิ กำลงั งอก 2. เพาะเมล็ดถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพดตามวิธีที่ออกแบบสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเมล็ดตั้งแต่เริ่ ม เพาะจนต้นถวั่ แดงและตน้ ข้าวโพดมีใบแท้งอกจากเมล็ด บนั ทกึ ผล วิธีการเพาะเมลด็ 1. เลอื กเมล็ดถ่วั แดง โดยนำเมลด็ ถวั แดงไปแช่นำ้ 1 คืน แล้วเลอื กเมลด็ ถ่วั แดงที่จมนำ้ 10 เมล็ด 2. เลือกเมลด็ ขา้ วโพดท่ีสมบรู ณ์ โดยไม่มรี อยกดั แทะ จำนวน 10 เมลด็ 3. นำเมล็ดที่เลือกมาเพาะในขวดพลาสติกใสตัดครึ่ง เจาะรูที่ก้นขวด ใส่ทรายหยาบสูงประมาณ 2 เซนติเมตร วางเมลด็ ถวั่ แดงและเมล็ดข้าวโพดใหต้ ิดผนังด้านในของขวดและใสท่ รายปิดทับเมล็ดหนาประมาณ 2 เซนตเิ มตร 4. นำขวดไปวางไว้ในที่แดดส่องถึง อุณหภูมิกลางวันประมาณ 30 องศาเซลเซียส รดน้ำทุกวัน ปรมิ าตร 5 ชอ้ นโตะ๊ 5.สังเกตการเปลย่ี นแปลงของเมลด็ หลังรดนำ้ ทุกวัน บนั ทกึ ผลโดยการถ่ายภาพ ตารางบันทกึ ผล ภาพวาด/ภาพถา่ ย การเปลีย่ นแปลง วันที่ 1 2 3

วนั ที่ ภาพวาด/ภาพถา่ ย การเปลย่ี นแปลง 4 5 6 7

ตารางบนั ทึกผลการงอกของเมล็ดขา้ วโพดในแตล่ ะวัน วันท่ี ภาพวาด/ภาพถ่าย การเปลย่ี นแปลง 1 2 3 4 5 6 7 สรปุ ผลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ................................................................ ........................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................

คำถามทา้ ยกิจกรรม 1. เมลด็ ถ่ัวแดงและเมลด็ ข้าวโพดมีสว่ นประกอบเหมือนหรือแตกต่างกัน อยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2. สว่ นประกอบตา่ งๆ ของเมลด็ มีหน้าท่ีอย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................... ....................................... ............................................................................................ .................................................................................. 3.ปัจจัยในการงอกของเมลด็ มีอะไรบา้ ง และปัจจยั เหล่านน้ั มีสว่ นชว่ ยในการงอกได้อยา่ งไร ........................................................................................... ................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................... .................................................................................... 4. วิธีการเพาะเมล็ดของนกั เรียน จดั ให้มีปัจจยั ใดบา้ งทช่ี ่วยในการงอก เพราะเหตุใด ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. 5. การเปล่ยี นแปลงขณะงอกของเมล็ดถ่วั แดงและเมลด็ ข้าวโพดเหมอื นหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................

เฉลยใบกิจกรรม สมาชิกกลุ่มท.ี่ ........................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… จดุ ประสงค์ 1. สังเกต รวบรวมขอ้ มูล และระบุส่วนประกอบและหนา้ ที่ของสว่ นประกอบของเมล็ดพชื 2. อภปิ ราย และลงมอื ปฏิบตั ิเพอ่ื สังเกตการณเ์ ปล่ยี นแปลงของเมล็ดขณะงอก 3. รวบรวมขอ้ มูล และระบปุ จั จัยในการงอกของเมลด็ วัสดแุ ละอุปกรณ์ 1. เมลด็ ขา้ วโพด 2. เมล็ดถั่วแดง 3. ใบมีดโกน 4. แวน่ ขยาย 5. น้ำ วิธกี ารทดลองตอนท่ี 1 1. สังเกตลักษณะภายนอก และภายในของเมล็ดถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพด โดยใช้ใบมีดโกนผ่าเมล็ด ตามยาว บนั ทกึ ผลโดยการวาดภาพสว่ นประกอบของเมลด็ 2. สืบค้นข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบและหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของเมล็ด ถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพด เปรียบเทียบส่วนประกอบของเมล็ดกับภาพวาดในข้อที่ 1 เพิ่มเติมหรือแก้ไขภาพที่ วาดไวใ้ หถ้ กู ต้อง และระบสุ ว่ นประกอบของเมล็ด

ผลการทดลอง ลกั ษณะภายนอก ลกั ษณะภายใน เมลด็ ถวั่ แดง เมล็ด ขา้ วโพด สรุปผลการทดลอง เมล็ดพืชประกอบไปดว้ ย เปลือกหมุ้ เมลด็ เอ็มบริโอ และเอนโดรสเปิรม์ ซง่ึ แตล่ ะส่วนมหี นา้ ทแ่ี ตกต่าง กัน

วธิ ีการทดลองตอนที่ 2 1.รวบรวมข้อมูลปัจจัยในการงอกของเมล็ด ออกแบบวิธีการเพาะเมล็ดและตารางบันทึกผลการ เปลี่ยนแปลงในขณะทเี่ มลด็ พืชแตล่ ะชนิดกำลงั งอก 2. เพาะเมล็ดถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพดตามวิธีที่ออกแบบสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเมล็ดตั้งแต่เริ่ม เพาะจนตน้ ถ่วั แดงและตน้ ขา้ วโพดมใี บแท้งอกจากเมลด็ บนั ทึกผล วิธีการเพาะเมล็ด 1. เลอื กเมลด็ ถ่ัวแดง โดยนำเมล็ดถัวแดงไปแชน่ ้ำ 1 คืน แลว้ เลอื กเมล็ดถ่ัวแดงท่ีจมน้ำ 10 เมล็ด 2. เลอื กเมลด็ ข้าวโพดท่ีสมบรู ณ์ โดยไมม่ ีรอยกดั แทะ จำนวน 10 เมลด็ 3. นำเมล็ดที่เลือกมาเพาะในขวดพลาสติกใสตัดครึ่ง เจาะรูที่ก้นขวด ใส่ทรายหยาบสูงประมาณ 2 เซนติเมตร วางเมล็ดถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพดให้ติดผนังด้านในของขวดและใส่ทรายปิดทับเมล็ดหนาประมาณ 2 เซนติเมตร 4. นำขวดไปวางไว้ในทีแ่ ดดสอ่ งถงึ อุณหภูมิกลางวันประมาณ 30 องศาเซลเซียส รดน้ำทุกวัน ปริมาตร 5 ช้อน โตะ๊ 5.สงั เกตการเปล่ียนแปลงของเมลด็ หลังรดน้ำทกุ วนั บนั ทกึ ผลโดยการถา่ ยภาพ ตารางบนั ทกึ ผล การเปล่ียนแปลง ตารางบนั ทึกผลการงอกของเมล็ดถ่วั แดงในแต่ละวนั เมล็ดยงั ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง วันที่ ภาพวาด/ภาพถ่าย 1 2 เมล็ดขยายขนาดขน้ึ มีรากสีขาวแทงออกจาก เมลด็ แทงฝงั ในทราย 3 เมล็ดขยายขนาดขึน้ เปลอื กหุ้มเมล็ดแตก ราก เจรญิ เตบิ โตยาวข้ึน และมรี ากแขนง

วนั ที่ ภาพวาด/ภาพถา่ ย การเปลี่ยนแปลง รากเจรญิ เตบิ โตยาวข้ึน เมลด็ ดนั ทรายขึน้ ไป ด้านบน เร่มิ เหน็ ใบเลยี้ งสีเขยี ว 4 5 รากเจริญเตบิ โตยาวขน้ึ มาก เมล็ดโผล่ขนึ้ เหนือ ทราย เห็นลำต้นโคง้ งอ เปลือกหุม้ เมล็ดหลุดออก ใบเลย้ี ง 2 ใบ เหน็ ใบแท้ 6 ลำต้นเจริญเติบโตสูงขึ้น และมลี ำตน้ ส่วนเหนอื ใบ เลย้ี ง ใบเลี้ยงแยกออกจากกนั 2 ใบ มีใบแท้ 2 ใบ 7 ลำตน้ เจริญเติบโตสงู ขึ้น ใบเล้ียงเล็กลง ใบแท้ 2 ใบกางออก เรม่ิ มีใบแท้คูท่ ี่ 2

ตารางบนั ทึกผลการงอกของเมล็ดข้าวโพดในแตล่ ะวัน วนั ท่ี ภาพวาด/ภาพถา่ ย การเปลีย่ นแปลง 1 เมล็ดยังไม่มกี ารเปลยี่ นแปลง 2 เมล็ดขยายขนาดข้ึน 3 มรี ากสีขาวแทงออกจากขว้ั ผลและแทงลงกน้ ขวด 4 รากเจรญิ เตบิ โตยาวข้นึ และมีจำนวนรากเพิม่ ขึน้ ส่วนยอดเจรญิ เติบโตพน้ ทราย 5 รากยาวข้นึ และจำนวนมากข้ึน สว่ นยอด เจริญเตบิ โตยาวขน้ึ เหน็ ใบแท้สเี ขยี ว 6 ลำตน้ เจรญิ เติบโตข้นึ มใี บแท้ 2 ใบ แผน่ ใบขยาย ขนาดและเร่ิมกางออก 7 ลำต้นเจรญิ เตบิ โตขึ้น มใี บแท้ 2 ใบ ขนาดใหญ่ ขึ้นและแยกจากกันชัดเจน สรปุ ผลการทดลอง ปจั จัยในการงอกเมลด็ ไดแ้ ก่ นำ้ แก๊สออกซเิ จน และอุณหภมู ทิ เี่ หมาะสม ซ่ึงขณะท่ี งอกเมลด็ ข้าวโพดและเมลด็ ถั่วแดงมกี ารเปลีย่ นแปลงท่ีต่างกัน

คำถามทา้ ยกจิ กรรม (เฉลย) 1. เมลด็ ถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพดมสี ว่ นประกอบเหมอื นหรือแตกต่างกนั อย่างไร เมล็ดถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพดมีเปลือกหุ้มเมล็ด และเอ็มบริโอเหมือนกัน แต่เมล็ดข้าวโพดมีเอนโด สเปิรม์ ซึ่งเมลด็ ถวั่ แดงไมม่ ี 2. ส่วนประกอบต่างๆ ของเมลด็ มหี น้าทอี่ ย่างไร - เปลอื กหมุ้ เมล็ดเป็นส่วนทีอ่ ยู่ช้นั นอกสดุ ทำหนา้ ที่หอ่ หมุ้ ส่วนประกอบอื่นๆของเมล็ด - เอ็มบริโอจะประกอบไปด้วย 3 ส่วน ได้แก่ รากแรกเกิด จะเจริญเติบโตไปเป็นรากแก้ว ต้นอ่อนจะ เจริญไปเป็นลำตน้ และใบเลี้ยง ทำหนา้ ที่เปน็ แหล่งอาหารใหแ้ กต่ น้ อ่อนขณะงอก - เอนโดสเปริ ์ม มีหน้าทีส่ ะสมอาหารสำหรบั ต้นออ่ นท่กี ำลังงอก 3.ปจั จัยในการงอกของเมล็ดมอี ะไรบ้าง และปัจจยั เหล่านน้ั มสี ่วนชว่ ยในการงอกไดอ้ ย่างไร ปัจจัยในการงอกของเมล็ดมีดงั น้ี -น้ำหรือความชื้น ช่วยให้เมล็ดหยุดการพักตัวและพองขยายขนาดใหญ่ขึ้น เปลือกหุ้มเมล็ดอ่อนตัวลง ทำให้รากแรกเกิดงอกแทงออกจากเมล็ดได้ -แกส๊ ออกซิเจน เมล็ดใชแ้ ก๊สออกซเิ จนในการสรา้ งพลงั งานในการงอก -อณุ หภมู ิ อณุ หภูมิที่เหมาะสมจะส่งผลต่อกระบวนการทำงานภายในเซลลข์ องเมลด็ 4. วธิ กี ารเพาะเมลด็ ของนกั เรียน จดั ให้มีปจั จยั ใดบ้างทชี่ ว่ ยในการงอก เพราะเหตุใด นักเรียนตอบตามความเป็นจริงที่นักเรียนออกแบบ เช่น จัดให้มีความชื้น และอุณหภูมิตลอดทั้งวัน ประมาณ 30 องศาเซลเซียส และมีแก๊สออกซิเจน 5. การเปล่ียนแปลงขณะงอกของเมล็ดถั่วแดงและเมลด็ ข้าวโพดเหมือนหรือแตกตา่ งกัน อยา่ งไร แตกตา่ งกัน โดยขณะท่ีเมล็ดข้าวโพดงอก รากแรกเกดิ แทงออกจาดเมล็ดในเวลาไลเ่ ล่ยี กับตน้ อ่อน เม่ือ ใบแท้ใบแรกเจริญเติบโตขึ้นพ้นดิน เมล็ดจะเหี่ยวและลีบไป ส่วนการงอกของเมล็ดถั่วแดงรากแรกเกิดจะงอก ออกจากเมล็ดก่อนจากนั้นต้นอ่อนจะเจริญเติบโตและโผล่ออกจากเมล็ด ต้นอ่อนจะงอตัวดึงใบเลี้ยงและยอด อ่อนออกจากเปลือกหุ้มเมล็ด เมื่อต้นอ่อนส่วนใต้ใบเลี้ยงตัง้ ตรง ต้นอ่อนเหนือใบเลี้ยงยืดตัว ใบเลี้ยงจะกางใบ ทำให้เห็นใบแท้และยอดออ่ น

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 28 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 การดำรงชีวิตของพืช เวลา 1 ช่วั โมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การขยายพนั ธ์พุ ืชดอก โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ผู้สอนนางสาวจนั จิรา ธนนั ชัย 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สมั พนั ธก์ ัน รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตัวชี้วดั เลือกวิธีการขยายพันธุพ์ ืชให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกบั ว 1.2 ม.1/16 การสบื พันธุ์ของพชื 3. สาระสำคญั การขยายพันธ์ุพืชเปน็ การท่มี นุษย์นำความรู้เร่ืองการสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศยั เพศของ พชื มาใช้ เพอ่ื เพ่มิ จำนวนพชื การขยายพันธพ์ุ ืชมหี ลายวธิ ี แต่ละวิธีมขี ัน้ ตอน ข้อดแี ละขอ้ จำกดั แตกต่างกนั 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (1) นกั เรียนสามารถอธบิ ายวธิ ีการขยายพันธุ์พชื ดอกได้ (K) (2) นักเรียนมีทักษะในการเขยี นอธิบายวิธกี ารขยายพันธุ์พืชดอกได้ (P) (3) นกั เรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และมีวนิ ัยในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น (1) ความสามารถในการส่ือสาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสงั เกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสร้างคำอธบิ าย การอภปิ ราย การส่ือความหมาย การทำกจิ กรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา - สามารถแก้ปญั หาท่ีเกิดขน้ึ ได้อย่างเหมาะสม 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - มีวนิ ยั - มุง่ มนั่ ในการทำงาน - ใฝเ่ รยี นรู้

7. สาระการเรียนรู้ วิธกี ารขยายพนั ธ์ุพชื ทเี่ กีย่ วข้องกับการสบื พนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ คือ การเพาะเมลด็ โดยนำเมลด็ มาเพาะ ในวัสดุต่างๆ วิธีนี้ไม่ยุ่งยาก ต้นทุนต่ำ และเครื่องมือน้อย เหมาะกับพืชที่ต้องการปลูกในปริมาณมากและเป็น พืชที่มีเมล็ดสมบูรณ์ การเพาะเมล็ดจะมีรากแข็งแรง แต่อาจมีลักษณะบางอย่างแตกต่างไปจากต้นเดิม พืชที่ นิยมขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด เช่น มะเขือ ข้าว ข้าวโพด มะละกอ สักมะพร้าว พืชบางชนิดมีข้อจำกัดใน การขยายพันธ์โุ ดยวธิ ีเพาะเมลด็ เช่น สร้างเมล็ดน้อย เมลด็ งอกจากเมล็ดไม่สมบรู ณ์ หรือตน้ ทเี่ กดิ จากการเพาะ เมลด็ เจรญิ เติบโตชา้ มนษุ ย์จงึ ใชค้ วามรเู้ กยี่ วกบั การสบื พันธุ์แบบไม่อาศยั เพศในการขยายพนั ธ์พุ ชื ดงั นี้ 1. การปกั ชำสามารถทำไดโ้ ดยการตัดก่งิ ใบ ราก มาปกั ลงในวสั ดุปลูก เป็นวธิ ีทก่ี ระตุ้นให้ส่วนที่ตัดมา ปักชำสร้างรากพืชดูดนำ้ และธาตุอาหาร ทำให้ส่วนยอดเจริญเติบโตต่อไป การปักชำต้องคำนึงถึงชนิดพืช อายุ และความสมบูรณ์ของส่วนที่นำมาปักชำ ถ้าเป็นการปักชำกิ่งหรือรากสิ่งสำคัญคือส่วนต่างๆเหล่านี้ต้องมีตาท่ี จะแตกเปน็ ตน้ ใหมไ่ ด้ เช่น กหุ ลาบ วาสนา 2. การตอนกงิ่ กเ็ ปน็ อีกวิธีทเี่ ป็นการกระต้นุ ให้พชื สร้างรากขน้ึ มาใหม่ ทำโดยคั่วเนือ้ เย่ือลำเลียงอาหาร ของพืชออก และหุ้มด้วยตุ้มตอนที่มีความชื้น ส่วนที่อยู่เหนือรอยควั่นซึ่งหุ้มไว้ด้วยตุม้ ตอนจะสร้างรากออกมา วิธีนีเ้ หมาะกับการขยายพันธ์ุพืชท่ีมีเนื้อไม้ค่อนข้างแข็ง เช่น ชะอม ส้มโอมะนาว นอกจากนี้ยงั สามารถตอนก่ิง พืชที่มีข้อชัดเจน เช่น ไผ่ จันทน์ผา โดยหุ้มข้อด้วยตุ้มตอนโดยไม่ต้องควักเนื้อเยื่อ บริเวณข้อของพืชจะสร้าง รากออกมาได้ 3. การทาบกิ่ง เป็นการนำต้นตอท่ีมีรากแข็งแรงไปทาบกับกิ่งของต้นพืชที่ต้องการเพิ่มจำนวนต้นตอ และกิง่ สว่ นใหญ่เป็นพืชจำพวกเดยี วกันแต่มลี ักษณะเด่นแตกต่างกนั จึงสามารถนำกิ่งมาทาบกันได้ เม่ือเนื้อเยื่อ ตรงรอยทาบประสานกันจะไดต้ น้ พืชท่ีมรี ากแขง็ แรงและส่วนบนเปน็ พชื พนั ธ์ุที่ต้องการพชื ทีน่ ิยมมาทาบกิ่ง เช่น นอ้ ยหนา่ มะมว่ ง มะขาม 4. การต่อกิ่งหรือการเสียบยอด เป็นการนำกิ่งของพืชที่ต้องการขยายพันธุ์มาต่อหรือเสียบบนลำต้น หรอื ก่ิงพืชต้นอ่นื พืชทนี่ ยิ มต่อก่งิ เชน่ ชวนชม ขนุน เงาะ สาเก เฟอ่ื งฟ้า 5. การติดตา เป็นการนำตาของต้นที่ต้องการขยายพันธุ์มาติดบนต้นตอ วิธีการนี้ทำให้ได้ต้นที่มี ลักษณะแตกตา่ งไปจากตน้ เดมิ มีดอกหลายสีอย่บู นต้นเดียวกัน พืชท่ีนิยมติดตา เชน่ เฟ่ืองฟา้ กุหลาบ 6.การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืช เป็นการบูรณาการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการขยายพันธุ์พืชเป็นวิธีที่มี ประสิทธิภาพสูง โดยนำส่วนของพืชที่มีเนื้อเยื่อที่สามารถเจริญเติบโตได้ เช่น ลำต้น ยอด ตาก้านช่อดอก ใบ ก้านใบ อบั เรณู เอ็มบริโอ มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ท่ีมธี าตุอาหารท่จี าํ เป็นต่อการเจริญเตบิ โตและช่วย ให้พืชเพิ่มจำนวนได้ ภายใต้สภาวะที่ควบคุมความสะอาด อุณหภูมิ และแสง เมื่อชิ้นส่วนพืชเจริญเติบโตและ พัฒนาเป็นต้นพืชที่สมบูรณ์ มีลำต้น และราก จึงจะนำออกปลูกในสภาพธรรมชาติ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สามารถผลิตต้นพืชได้ปริมาณมากในระยะเวลาอันรวดเร็ว มีขนาดสม่ำเสมอผลผลิตได้มาตรฐาน ได้ต้นพืชที่ ปลอดโรค และมีลักษณะเหมือนกับต้นเดมิ จึงนยิ มใชใ้ นการขยายพันธ์ุพืชเศรษฐกจิ เช่น กล้วย กล้วยไม้ ปาล์ม น้ำมัน

8. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ใช้รปู แบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) (5 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรยี นโดยครนู ำกลว้ ยไม้มาให้นักเรียนศึกษาและตงั้ คำถามวา่ ถ้า ต้องการกล้วยไมใ้ นปริมาณที่มากเพ่ือให้ทนั ความต้องการของตลาดควรใช้วิธีการขยายพันธแ์ุ บบใด (เปดิ โอกาส ใหน้ กั เรียนได้เสนอความคิดเหน็ เพื่อกระต้นุ ใหน้ กั เรียนแสดงความรเู้ ดมิ ออกมา) (2) ครูชแ้ี จงใหน้ กั เรยี นวา่ วนั น้ีครูจะสอนเก่ียวกบั การขยายพนั ธพุ์ ชื ดอก 8.2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (35 นาท)ี (1) ครูอธิบายความรู้เรื่องการขยายพันธุ์พืชดอกให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint และใหศ้ ึกษาเนอ้ื หาความรูเ้ พ่มิ เตมิ ในหนงั สือเรยี นหนา้ (2) นักเรียนรับใบงานท่ี 1 เร่ืองการขยายพันธุพ์ ชื ดอกจากครู และลงมอื ทำใบงาน 8.3 ขน้ั อภปิ รายและลงข้อสรปุ (Explain) (5 นาท)ี (1) นักเรยี นและครูรว่ มกันอภปิ รายและสรุปความรู้ดังน้ี (มนุษยม์ ีความจำเป็นต้องขยายพันธ์ุ พืช ให้เพิ่มจำนวนมากขึ้นให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ประโยชน์ของตนเอง การขยายพันธุ์พืชมีหลายวิธีแต่ ละวิธีมีข้อดีและข้อจำกัดที่แตกต่างกัน บางวิธีมีหลักการที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งเหมาะกับพืชต่างชนิดกันการเลือก วธิ ีขยาย พันธ์พุ ชื กับพืชท่ตี อ้ งการขยายพันธุ์ควรเลอื กให้มีความเหมาะสมกับชนิดของพชื จำนวนและลกั ษณะที่ ต้องการ) 8.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาที) (1) ครูเพิ่มเติมความรู้ให้นักเรียนโดยเปิดวีดีโอ เรื่องการปฏิสนธิของพืชดอก จาก https://www.youtube.com/watch?v=4WQqYhfOUzY&t=95s ให้นกั เรียนฟัง (2) นักเรยี นรับใบงานที่ 2 เรื่องการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่อื จากครู และเอาไปทำเปน็ การบ้าน 8.5 ขนั้ ประเมิน (Evaluation) (5 นาท)ี (1) ครตู ง้ั คำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี น (2) นกั เรยี นถามในสิ่งท่ีสงสัยและยงั ไมร่ แู้ ละครูอธิบายเพ่ิมเติม 9. ส่ือการเรยี นรู้ (1) สอื่ การสอน PowerPoint (2) หนงั สือวิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) ใบงานท่ี 1 เรือ่ งการขยายพนั ธพุ์ ืชดอก (4) ใบงานที่ 2 เรื่องการเพาะเลี้ยงเนอ้ื เยือ่

10. การวัดผลและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธกี ารวัดผล เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ผปู้ ระเมิน ครูผสู้ อน 1.ด้านความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบงาน ผู้เรียนผ่านเกณฑ์ ครูผ้สู อน ระดบั พอใช้ขนึ้ ไป นักเรียนสามารถอธิบาย คำตอบในใบงาน ครผู สู้ อน ผเู้ รยี นผา่ นเกณฑ์ วิธีการขยายพันธ์ุพืชดอก ระดับพอใชข้ ้นึ ไป ได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะในการเขียน แบบประเมินทักษะใน กระบวนการ (P) อธิบายวิธีกา ร การเขียนอธิบาย นักเรียนมีทักษะในการ ขยายพันธุ์พืชดอกในใบ วิธีการขยายพันธุ์พืช เขียนอธิบายวิธีการ งาน ดอกในใบงาน ขยายพนั ธพุ์ ชื ดอกได้ 3.ด้านคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผู้เรียนผ่านเกณฑ์ ระดบั พอใชข้ น้ึ ไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมีวินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรยี น ตอ่ เวลาในการสง่ งาน ประสงค์

เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑป์ ระเมินด้าน K รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนอธิบายวิธีการ นักเรียนอธิบายวิธีการ อ ธ ิ บ า ย ว ิ ธ ี ก า ร วธิ กี ารขยายพันธุ์พืชดอกได้ ขยายพันธ์ุพืชดอกได้ถูกต้อง ขยายพันธุ์พืชดอกได้เพียง ขยายพันธุ์พชื ดอกได้ อย่างถูกต้องและครบถ้วน เปน็ สว่ นใหญ(่ 5-7คะแนน) ส่วนน้อย(ตำ่ กวา่ 5คะแนน) (8-10คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพด้านคุณลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อย่ใู นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง เกณฑ์ประเมินดา้ น P รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนมีทักษะใน นักเรียนมีทักษะในการ นักเรียนมีทักษะในการเขียน นักเรียนมีทักษะในการ ก า ร เ ข ี ย น อ ธ ิ บ า ย เ ข ี ย น อ ธ ิ บ า ย ว ิ ธ ี ก า ร อธิบายวิธีการขยายพันธุ์พืช เ ข ี ย น อ ธ ิ บ า ย ว ิ ธ ี ก า ร วิธีการขยายพันธุ์พืช ขยายพันธ ุ์พืช ดอ ก ไ ด้ ดอกได้ถูกต้องเปน็ สว่ นใหญ่ ( ขยายพันธุ์พืชดอกได้เพียง ดอกได้ ถูกต้องและครบถ้วน ( 8- 5-7 คะแนน) ส่วนน้อย (ต่ำกว่า 5 10 คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตดั สินระดบั คณุ ภาพด้านคณุ ลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยูใ่ นระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดบั 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง

เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวนิ ัยในการเรยี น เวลาทกุ ครงั้ (4คะแนน) เวลาบางครั้ง (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ขึน้ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคณุ ภาพด้านคุณลักษณะ (A) 4 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกวา่ 2 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถึง ปรับปรงุ

วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

11. ผลการประเมนิ นักเรยี นทงั้ หมด………………คน ดา้ น (K) นกั เรยี นสามารถอธิบายวธิ ีการขยายพันธ์ุพชื ดอกได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยูใ่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ด้าน (P) นกั เรยี นมที กั ษะในการเขียนอธิบายวธิ กี ารขยายพนั ธ์พุ ืชดอกได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ด้าน (A) นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มัน่ ในการทำงาน และมวี ินยั ในการเรียน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. รายชอ่ื นกั เรียนที่ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ สาเหตุ-ปัญหา แนวทางแก้ไข ลำดบั ชอื่ -สกุล ลงช่ือ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)

ใบงานท่ี 1 เรื่องการขยายพันธ์พุ ืชดอก ชื่อ.........................................................สกลุ .....................................ชนั้ ............เลขท่.ี ........ คำช้แี จง : จงตอบคำถามต่อไปน้ี 1. การขยายพันธพุ์ ืชวิธีใดบ้างทเี่ กี่ยวข้องกบั การสบื พนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ เพราะเหตใุ ด ........................................................................................................................................ ...................................... ............................................................................................. ................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................... ....................................................................... 2. การขยายพันธุ์พชื วธิ ีใดบา้ งทใ่ี ช้หลกั การคลา้ ยคลึงกนั และคล้ายคลงึ กันอย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... .......................................................................................... .................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................... 3. อธบิ ายวิธีการขยายพันธุพ์ ืชท่ีนกั เรียนสนใจมา 1 วิธี ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... .............................................................................................. ................................................................................ ...................................................................................................................... ....................................................................... 4. การเลอื กใชว้ ิธีการขยายพันธ์ุพชื ควรคำนงึ ถงึ สงิ่ ใดบ้าง เพราะเหตุใด ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................... ....................................................................... 5. การขยายพันธ์ุพชื หมายความวา่ อย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................... .......................................................................

ใบงานที่ 2 เร่ืองการเพาะเล้ียงเนอ้ื เย่ือ 1. จงอธิบายความหมายของการเพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือ ............................................................................................................ .................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................. ................................. .................................................................................................. ........................................................................................... 2. นกั เรยี นคดิ ว่าพืชดอกท้องถน่ิ ชนดิ ใดน่าจะเหมาะสมตอ่ การเพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือ เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................................. 3. จงอธิบายประโยชนข์ องการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ ....................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................. ......................................... ...................................................................... 4. เพราะเหตุใดการเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยื่อพชื จึงได้รบั ความนยิ มเพมิ่ มากข้นึ เรื่อยๆ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................... ...................................................................... 5. เพราะเหตุใด จงึ ต้องมีการนำเทคโนโลยีเพาะเลยี้ งเน้ือเยื่อมาใชใ้ นการเพาะพันธ์พุ ืช ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................... ......................................................................

ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง การเพาะเล้ียงเนือ้ เย่ือ คำชแี้ จง : จงตอบคำถามต่อไปน้ี 1. การขยายพันธุ์พืชวธิ ีใดบา้ งทเี่ กย่ี วข้องกบั การสืบพนั ธแุ์ บบอาศัยเพศ เพราะเหตใุ ด การเพาะเมล็ด เพราะ เมล็ดเกดิ จากการสบื พันธ์แุ บบอาศยั เพศ 2. การขยายพนั ธ์ุพืชวธิ ใี ดบ้างท่ใี ชห้ ลักการคล้ายคลึงกนั และคล้ายคลงึ กันอย่างไร การปกั ชำ การตอนก่งิ เปน็ วธิ ที ่ีทำใหเ้ น้อื เย่อื ของพชื ขาด และมีการกระตนุ้ ให้ส่วนท่ีขาดสร้างรากเพื่อดูดน้ำ และแรธ่ าตุ การทาบกิ่ง การติดตา เป็นการทำให้เนื้อเยื่อของพืชต้นตอและเนื้อเยื่อของกิ่ง หรือตา ที่นำมาต่อกันน้ัน ประสานตดิ กัน และทำใหพ้ ืชตน้ ใหม่สามารุลำเลยี งน้ำ ธาตุอาหาร และอาหารไปทัว่ ลำตน้ ได้ 3. อธิบายวธิ กี ารขยายพันธพ์ุ ชื ท่ีนกั เรยี นสนใจมา 1 วิธีการติดตา เป็นการนำตาของต้นที่ต้องการขยายพันธุ์มาติดบนต้นตอ วิธีการนี้ทำให้ได้ต้นที่มีลักษณะ แตกต่างไปจากต้นเดิม มดี อกหลายสีอย่บู นตน้ เดยี วกนั พชื ทีน่ ิยมตดิ ตา เชน่ เฟ่ืองฟา้ กหุ ลาบ 4. การเลือกใชว้ ิธีการขยายพนั ธ์พุ ชื ควรคำนงึ ถงึ สิง่ ใดบ้าง เพราะเหตุใด การเลอื กใชว้ ิธกี ารขยายพนั ธพ์ุ ืชควรคำนึงถงึ จำนวนพืชท่ีตอ้ งการ ลกั ษณะทตี่ ้องการ และชนดิ ของพชื 5. การขยายพนั ธ์พุ ืช หมายความวา่ อย่างไร การขยายพันธุ์พืชเป็นการที่มนุษย์นำความรู้เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศของ พชื มาใช้ เพ่อื เพ่มิ จำนวนพืช การขยายพันธ์ุพชื มีหลายวิธี แต่ละวิธีมขี น้ั ตอน ข้อดแี ละข้อจำกดั แตกต่างกนั

ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง การเพาะเลี้ยงเนอื้ เยื่อ 1. จงอธบิ ายความหมายของการเพาะเลีย้ งเนือ้ เย่ือ คือการนำเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช เช่น อวัยวะ เนื้อเยื่อ และเซลล์มาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ ซึ่ง ประกอบด้วยแร่ธาตุ น้ำตาล ไวตามินและสารควบคุมการเจริญเติบโต ในสภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย์ โดยมี การควบคุมสภาพแวดล้อม เชน่ อณุ หภมู ิ แสง และความช้ืน 2. นักเรยี นคดิ ว่าพืชดอกท้องถ่ินชนิดใดน่าจะเหมาะสมตอ่ การเพาะเล้ยี งเนื้อเยื่อ เพราะเหตใุ ด กล้วยไม้ เพราะเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีราคาสูง เนื่องจากปลูกยาก ออกดอกยาก ถ้าใช้วิธีการเพาะเลี้ยง เน้ือเย่อื จะทำใหไ้ ด้กล้วยไมท้ ม่ี ีคุณภาพ จำนวนมาก และใชเ้ วลานอ้ ย 3. จงอธบิ ายประโยชนข์ องการเพาะเล้ยี งเนื้อเย่อื 1.เพื่อการผลิตต้นพันธุ์พชื ปริมาณมากในระยะเวลาอันรวดเร็ว 2.เพื่อเป็นการผลิตพืชที่ปราศจากโรค เพราะการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจะใช้ส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญที่อยู่ท่ี บริเวณปลายยอดของลำตน้ ซึ่งถือวา่ ปลอดจากเชือ้ ไวรัสมากทส่ี ุด 3.เพอื่ เปน็ การปรบั ปรงุ พันธ์พุ ชื โดยการชักนำให้เกิดการกลายพนั ธ์ุ แล้วคัดเลือกเอาสารพนั ธุท์ ่ีดีไว้ 4.เพื่อการผลติ พันธ์พุ ืชทนทาน โดยการคดั สายพนั ธุ์ทนทาน 5.เพื่อการเก็บรักษาพันธุ์พืช วิธีการเก็บรักษาพืชพรรณต่างๆ ไว้ในหลอดทดลองจะทำให้พืชมีอัตราการ เจรญิ เตบิ โตทชี่ ้ามาก ทำใหป้ ระหยดั เวลา แรงงาน และอาหาร 4. เพราะเหตุใดการเพาะเลี้ยงเนอ้ื เยือ่ พชื จึงได้รับความนยิ มเพิ่มมากขน้ึ เร่ือยๆ การเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือสามารถผลิตตน้ พืชได้ปริมาณมากในระยะเวลาอนั รวดเร็ว มีขนาดสม่ำเสมอผลผลิต ได้มาตรฐาน ได้ต้นพืชที่ปลอดโรค และมลี กั ษณะเหมือนกับต้นเดิมจึงนิยมใช้ในการขยายพนั ธพ์ุ ชื เศรษฐกจิ เชน่ กลว้ ย กล้วยไม้ ปาลม์ น้ำมัน 5. เพราะเหตใุ ด จงึ ตอ้ งมีการนำเทคโนโลยีเพาะเลย้ี งเนื้อเยือ่ มาใช้ในการเพาะพนั ธุ์พืช เพราะพืชบางชนิดมีการจำกัดในการขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีอื่น เช่น สร้างเมล็ดน้อย ใช้เวลาค่อนข้างนานใน การเจริญเติบโต ได้จำนวนต้นน้อย ส่วนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อทำให้ได้พืชจำนวนมากในเวลาที่รวดเร็ว และ สามารถควบคุมการผลิตได้

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 29 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 การดำรงชวี ิตของพืช เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรยี นร้เู ร่อื ง ปจั จยั ในการสงั เคราะห์ด้วยแสง 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ผู้สอนนางสาวจนั จริ า ธนันชัย 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสตั ว์และมนุษย์ท่ีทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สมั พันธ์กัน รวมทงั้ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตัวชี้วดั ระบปุ จั จัยท่ีจำเปน็ ในการสังเคราะหด์ ้วยแสง และผลผลติ ทีเ่ กิดข้ึนจากการสังเคราะห์ด้วย ว 1.2 ม.1/6 แสงโดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ 3. สาระสำคัญ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขึ้นในคลอโรพลาสต์จำเป็นต้องใช้แสง แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟิลล์ และน้ำ ผลผลิตที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ น้ำตาล และแก๊ส ออกซิเจน 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (1) นักเรยี นสามารถระบุปจั จยั ที่จำเป็นในการสงั เคราะหด์ ้วยแสงได้ (K) (2) นกั เรียนสามารถวาดภาพกระบวนการสังเคราะห์แสงได้ (P) (3) นกั เรียนใฝเ่ รียนรู้ มุง่ ม่ันในการทำงาน และมวี ินัยในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน (1) ความสามารถในการส่ือสาร - การอธิบาย การเขียน การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสงั เกต การสำรวจ การคิดวิเคราะห์ การสรา้ งคำอธบิ าย การอภิปราย การสอื่ ความหมาย การทำกจิ กรรมโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื คน้ โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา - สามารถแกป้ ญั หาท่ีเกิดขึน้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - มีวินัย - มุ่งมัน่ ในการทำงาน - ใฝ่เรยี นรู้ 7. สาระการเรียนรู้ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (PHOTOSYNTHESIS) เป็น กระบวนการสร้างอาหารของพืชสีเขียว โดยมีคลอโรฟิลล์ทำหน้าที่ดูดพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์แล้วเปลี่ยนสารวัตถุดิบคือน้ำและแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ให้เป็น น้ำตาลกลูโคส น้ำ และ แก๊สออกซิเจน กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช น้ำตาลเป็นสารชนิดแรกที่พืชสร้างขึ้นได้เองก่อนที่จะเปลี่ยนรูปไปเป็นแป้งและสารประกอบอื่นๆ ต่อไปกระบวนการสร้างน้ำตาลของพืชเราเรียกว่า กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) ซึ่งพืช ตอ้ งอาศยั ปัจจัยหลายอยา่ งในกระบวนการน้ี ปจั จัยสำคัญท่ีพืชจำเป็นตอ้ งนำไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ได้แก่ 1) คลอโรฟลิ ล์ มอี ยใู่ นคลอโรพลาสต์ เป็นออรแ์ กเนลท์ ี่พบได้ในเซลล์พืช 2) แสง คลอโรฟิลล์จะดูดซับพลังงานแสงเข้ามาในใบพืช เพื่อเป็นตัวกระตุ้นการเ กิดปฏิกิริยา สังเคราะห์แสง 3) แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ พืชจะรบั เข้ามาทางปากใบท่เี ปิดในเวลากลางวนั เพื่อเป็นสารต้ังตน้ ในการ ผลิตนำ้ ตาล 4) น้ำ รากพืชจะดูดน้ำขึ้นมาแล้วลำเลียงต่อไปยังใบโดยผ่านทางท่อลำเลียงที่มีอยู่ในรากและลำต้น จนถึงใบ องคป์ ระกอบและสมการ การเปล่ยี นรปู พลงั งานและการเปลีย่ นแปลงของผลิตภณั ฑท์ ี่เกิดจากกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง 1. พลังงานแสงจะเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานเคมีสะสมอยู่ในผลิตภัณฑ์คือ น้ำตาลกลูโคส น้ำ และแก๊ส ออกซิเจน 2. น้ำตาลกลูโคสจะถูกเปลี่ยนไปเป็นแป้งทันที และสะสมไว้ในเซลล์สีและแป้งจะเปลี่ยนกลับเป็น นำ้ ตาลกลโู คสอกี ครงั้ เม่ือพชื ต้องการสลายน้ำตาลกลูโคสเปน็ พลงั งาน 3. พืชคายน้ำและแกส๊ ออกซิเจนจะถูกพืชคายออกมาทางปากใบกลับคืนสสู่ ิง่ แวดล้อม ความสำคญั ของกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชทม่ี ีต่อส่งิ มีชีวติ และสิ่งแวดล้อม 1. เป็นแหล่งอาหารและแหล่งพลังงานที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เนื่องจากพืชสีเขียวได้รับน้ำ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ และพลังงานแสง จากดวงอาทิตย์ ไปสร้างสารอาหารพวกน้ำตาลและสารอาหารน้ี

สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารอาหารอื่น ๆ ได้ เช่น แป้ง โปรตีน ไขมัน ซึ่งสิ่งมีชีวิตได้นำไปใช้ประโยชน์ใน กระบวนการตา่ ง ๆ ของชีวิต จึงถอื ว่าสารอาหารเหลา่ นี้เปน็ แหล่งพลังงานท่สี ำคญั ของสิง่ มชี ีวิตทกุ ชนดิ 2. เป็นแหล่งผลิตแก๊สออกซิเจนที่สำคัญของระบบนิเวศ โดยแก๊สออกซิเจน เป็นผลที่เกิดจาก กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ซึ่งแก๊สออกซิเจน เป็นแก๊สที่สิ่งมีชีวิตใช้ในการสลายอาหาร เพื่อสร้าง พลังงานหรอื ใช้ในกระบวนการหายใจนนั่ เอง 3. ช่วยลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ เพราะพืชต้องใช้แก๊สนี้เป็นวัตถุดิบในการ สังเคราะห์ด้วยแสง โดยปกติแกส๊ ชนิดนี้เป็นแก๊สที่ไมม่ ีสี ไม่มีกลิ่น มีอยู่ในบรรยากาศประมาณ 0.03% เท่านนั้ แต่เนื่องจากในปัจจุบันการเผาไหม้เชื้อเพลิงเพื่อการอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์มีมากขึ้น จึงทำให้มีแก๊ส ชนิดนี้เพิ่มมากขึ้นสัดส่วนของอากาศที่หายใจจึงเสียไป ทำให้ได้รับแก๊สออกซิเจนน้อยลง จึงเกิดอาการ อ่อนเพลยี สง่ ผลทำใหโ้ ลกของเรามีอุณหภมู ิสูงขึ้นเรื่อย ๆ เรยี กวา่ \" ปรากฏการณ์เรอื นกระจก (green house effect) \" เนื่องจาก คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศเป็นเสมือนกระจกที่ปิดกั้นการกระจายความร้อนออก จากผิวโลกดังนั้นจึงควรช่วยกันปลูกพืช และรักษาพื้นที่ป่า เพื่อดูดซับปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ใน บรรยากาศใหน้ ้อยลง 8. กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (15 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนดูภาพต้นพืชในหนังสือเรียนบทที่ 2 การ สังเคราะห์ด้วยแสงและใชค้ ำถามกระตุ้นความสนใจดงั ต่อไปนี้ - จากภาพนกั เรยี นเห็นรปู อะไร (แนวคำตอบ ตน้ พืช) - นักเรียนรหู้ รอื ไมข่ ณะท่ีเมล็ดงอกพชื จะใช้อาหารทส่ี ะสมไวจ้ ากสว่ นไหน (แนวคำตอบ เมล็ด พชื ) - พชื สรา้ งอาหารได้อยา่ งไร (แนวคำตอบ นักเรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) - การสงั เคราะห์แสง หมายถึงอะไร (แนวคำตอบ นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง) (2) นกั เรยี นทำกิจกรรมทบทวนความรกู้ อ่ นเรียนในหนังสอื เรียน(คำตอบดงั ภาพ)

8.2 ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (60 นาที) (1) ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการ สอน PowerPoint และใหศ้ ึกษาเนอื้ หาความรู้เพิ่มเติมในหนงั สือเรียนหนา้ (2) นักเรียนรับใบงาน เร่อื งปัจจยั ในการสังเคราะห์ด้วยแสงจากครู และลงมอื ทำใบงาน 8.3 ขัน้ อภิปรายและลงข้อสรปุ (Explain) (15 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น กระบวนการทางชีวเคมีที่สำคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งทำให้พืชสามารถเปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์ให้กลายเป็น พลังงานทางเคมีได้ สิ่งมีชีวิตแทบทั้งหมดล้วนอาศัยพลังงานที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อการ เจริญเติบโตทั้งทางตรงและทางอ้อม สิ่งมีชีวิตที่สร้างพลังงานจากกระบวนการสังเคราะห์แสงได้ เรียกว่า \"phototrophs\" โดยมีปัจจัยท่ีสำคัญในการสร้างอาหารของพืชมี 4 อย่างคือ คลอโรฟิลล์ แสงสว่าง ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ) 8.4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) (15 นาที) (1) ครเู พมิ่ เตมิ ความรใู้ หน้ ักเรียนโดยเปิดวดี ีโอ เรอ่ื งปัจจัยและผลผลิตของการสังเคราะห์ด้วย แสง จาก https://www.youtube.com/watch?v=WuQcPVQgn8Y&pbjreload=10 ใหน้ ักเรียนฟัง 8.5 ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) (15 นาที) (1) ครตู ้งั คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียน (2) นักเรียนถามในส่ิงทสี่ งสยั และยงั ไมร่ ู้และครูอธิบายเพิ่มเติม 9. ส่ือการเรียนรู้ (1) สอื่ การสอน PowerPoint (2) หนังสือวิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน ม.1 เล่ม 1 (สสวท) (3) ใบงาน เรอ่ื งปจั จัยในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง (4) วีดีโอ เรือ่ งปัจจยั และผลผลติ ของการสังเคราะหด์ ้วยแสง

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธกี ารวดั ผล เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน ผู้ประเมิน ครูผสู้ อน 1.ด้านความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบงาน ผ้เู รียนผา่ นเกณฑ์ ครผู ู้สอน ระดับพอใช้ข้ึนไป นักเรียนสามารถระบุ คำตอบในใบงาน ครผู ู้สอน ผเู้ รยี นผา่ นเกณฑ์ ปัจจัยที่จำเป็นในการ ระดับพอใช้ขน้ึ ไป สังเคราะหด์ ้วยแสงได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะการวาดภาพ แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) กระบวนการสังเคราะห์ ก า ร ว า ด ภ า พ นักเรียนสามารถวาด แสงในใบงาน กระบวนการ ภาพกระบวนการ สังเคราะห์แสงในใบ สังเคราะหแ์ สงได้ งาน 3.ด้านคณุ ลักษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์ ระดับพอใชข้ ึ้นไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ชี้ ในการทำงาน และมีวินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรียน ตอ่ เวลาในการสง่ งาน ประสงค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook