Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2563 ส.วชช.

รายงานประจำปี 2563 ส.วชช.

Published by Graphic Graphic, 2021-06-04 13:07:02

Description: รายงานประจำปี 2563 สถาบันวิทยาลัยชุมชน

Search

Read the Text Version

สINถSTITUTาEบOันF CวOิทMยMาUNลIัTยYชCุมOLLEGESชน สถาบันวิทยาลัยชุมชน 13

สถาบันวิทยาลัยชุมชน Institute of Community Colleges สถาบันวิทยาลัยชุมชน 33

งานราชการน้ัน คอื งานของแผน ดิน มีผลเก่ียวเน่ืองถึง ประโยชนข องบา นเมอื งและประชาชนทกุ คน. งานทุกอยาง จงึ ตองมีผูปฏบิ ัตแิ ละมีผูรบั ชว ง เพ่อื ใหง านดำเนนิ ตอ เนอ่ื งไป ไมขาดสาย. ดังน้นั ผปู ฏบิ ตั ิบรหิ ารงานราชการทุกฝายทกุ ระดับ จงึ ไมค วรยกเอาเรื่องใครเปนผทู ำมากอ น หรือใครเปนผรู ับชวงงาน ขึน้ เปน ขอ สำคญั นกั จะตองถอื ประโยชนท่ีจะเกิดจากงาน เปนหลักใหญ แลว รวมกันคิดรว มกันทำ ดวยความอุตสาหะเสยี สละ และดว ยความสจุ ริตจริงใจ. งานทกุ อยางจงึ จะดำเนินไปได อยางราบร่นื ไมต ดิ ขดั และสำเร็จผลเปนประโยชนไดแทจ รงิ และย่งั ยนื ตลอดไป. พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานแก่ขา้ ราชการพลเรือน เน่ืองในโอกาสวนั ข้าราชการพลเรือน 1 เมษายน 2558 ณ อาคารเฉลิมพระเกยี รติ โรงพยาบาลศริ ริ าช วนั ท่ี 31 มนี าคม พทุ ธศักราช 2558

งานราชการนนั้ ตอ งอาศยั ความรู 3 สวนในการปฏิบตั ิ คือความรูใ นการหลักวิชาท่ีถกู ตอ ง แมน ยำ ลึกซ้ึง กวา งขวาง ความรู ในการปฏบิ ตั บิ ริหารงานตามภาระหนา ที่ และความรคู ิดวินจิ ฉัย ทถี่ กู ตองดว ยเหตุผล หลักวิชา และหลกั ธรรม. ขา ราชการ ทุกคนจึงตองสรา งสมอบรมความรทู งั้ สามสวนนี้ ใหส มบรู ณพรอ ม อยาใหบกพรอ งในสวนใดเปน อนั ขาด จะไดส ามารถปฏิบัตงิ าน ใหบ รรลผุ ลเปนประโยชนท ี่แทท้ังแกประเทศชาตแิ ละประชาชน. พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยหู่ ัว เน่ืองในวันข้าราชการพลเรอื น ประจำปี พ.ศ. 2563 ณ พระทน่ี ง่ั อัมพรสถาน พระราชวงั ดุสติ วนั ที่ 5 มีนาคม พทุ ธศกั ราช 2563

สารบญั 74

74 74 75 79 80 84 94 97 111 114 115 115 116 123 127 128 129 130 130 131 132 138 138 139 142 143 สถาบันวิทยาลัยชุมชน 13

“ วิทยาลัยชุมชนเป็นสะพานเชื่อมระหว่างระบบการศึกษา “ การฝึกอบรมกับโลกของการทำงาน มีเป้าหมายในการพัฒนาชีวิตของคนในชุมชน สร้างระบบการศึกษาที่รวมการเปลี่ยนแปลงทั้งสามด้าน คือ ความรู้ ทักษะ และคุณค่า คุณธรรม ซึ่งจะได้เป็นภูมิคุ้มกัน สำหรับปัจเจกบุคคล ครอบครัว และชุมชน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้วางรากฐานวิทยาลัยชุมชน

สารจากนายกสภาสถาบันวิทยาลัยชุมชน สถาบันวิทยาลัยชุมชน ภายใตสังกัดกระทรวง นางสิริกร มณีรินทร การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ยังคง นายกสภาสถาบันวิทยาลัยชุมชน ยดึ มน่ั ใหค วามสำคญั กบั การสรา งโอกาสการเขา ถงึ การศกึ ษา ระดับอุดมศึกษาต่ำกวาปริญญาและการเรียนรูตลอดชีวิต ดวยรูปแบบหลากหลาย ทำงานเชิงรุกเพื่อเขาถึงผูเรียน ในชมุ ชนไดท ว่ั ถงึ รวมทง้ั การตอบสนองตอ ความตอ งการของ ทอ งถิ่นและชมุ ชนท้งั ดา นการศกึ ษา การฝกอบรมวิชาการ หรอื วชิ าชพี ใหส มาชกิ ในชมุ ชนไดพ ฒั นาศกั ยภาพ โดยไมต อ ง จากถิ่นฐาน การดำเนนิ งานของสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนในรอบ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 นอกจากการมีผลงานที่เปนไป ตามวตั ถปุ ระสงคแ ละเปา หมายของการใชจ า ยงบประมาณ แผนดินไดอยางมีประสิทธิภาพในการเสริมสรางโอกาส ทางการศึกษาแกกลุมเปาหมายที่พลาดโอกาสไดเขาถึง การศกึ ษาและบรกิ ารวชิ าการจากวทิ ยาลยั ชมุ ชนทต่ี ง้ั อยใู น พน้ื ท่ี 20 จงั หวดั ทว่ั ประเทศแลว สภาสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน ไดขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการดิจิทัลสถาบันวิทยาลัยชุมชน ระยะ 3 ป (พ.ศ.2563 – 2565) โดยมุงเนนการปรับปรุง และพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานระบบเทคโนโลยี สารสนเทศรองรบั การบริหารจดั การและการจัดการศกึ ษา ในยุคดิจิทัล การจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบ วิธีการใหทันตอการเปลี่ยนแปลง ที่รวดเร็ว รองรับสถานการณการระบาดของโควิด-19 ที่พลเมืองทั่วโลกกำลังเผชิญ ในนามของสภาสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน ขอแสดง ความชน่ื ชมกบั ความสำเรจ็ อนั เปน ผลจากกำลงั กาย กำลงั ใจ และกำลังสติปญญาของผูบริหารและบุคลากรทกุ คน และ ขออวยพรใหสถาบันวิทยาลัยชุมชนประสบความสำเร็จ ยิ่ง ๆ ขึ้นไป

สารจากผู้อำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน (นายนำชัย กฤษณาสกุล) สถาบันวิทยาลัยชุมชนมีปรัชญา เพื่อเสริมสรางโอกาส ผูอำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน ทางการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา เพม่ิ คณุ คา ชวี ติ และศกั ยภาพของบคุ คล และชุมชน มีการดำเนินงานตามพันธกิจสถาบันอุดมศึกษา 5 ดาน คือ การจดั การศกึ ษา การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ การทะนบุ ำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม และการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ที่ตอบสนองยุทธศาสตรสถาบัน วิทยาลัยชุมชน 20 ป และเปนไปตามแผนแมบทยุทธศาสตรชาติ เชน ดา นความมน่ั คง ดา นการสรา งความสามารถในการแขง ขนั ดา นการพฒั นา และเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย ดา นพฒั นาศกั ยภาพคนตลอด ชว งชวี ติ และดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม เปน ตน รายงานประจำป 2563 เปน การนำเสนอผลงานภาพรวมแตล ะ พนั ธกจิ ตามพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา ยประจำป รวม 4 ผลผลติ 9 โครงการ จำนวน 19 ตวั ชว้ี ดั มผี ลการดำเนนิ งานเปน ไปตามเปา หมาย 17 ตวั ชว้ี ดั อาทเิ ชน การผลติ กำลงั คนระดบั อนปุ รญิ ญาและประกาศนยี บตั ร ผลงานวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมชมุ ชน โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา เดก็ ปฐมวยั โครงการขบั เคลอ่ื นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความสขุ ของชมุ ชน โครงการเสริมสรางสังคมพหุวัฒนธรรมที่เขมแข็ง โครงการพัฒนาและ สง เสรมิ การเรยี นรผู า นการเรยี นออนไลน โครงการพฒั นากลมุ ทอ งเทย่ี ว อารยธรรมลา นนาและกลมุ ชาตพิ นั ธุ โครงการการพฒั นาผลติ ภณั ฑแ ปรรปู เพอ่ื เพม่ิ มลู คา สนิ คา เกษตร จงั หวดั ตราด และโครงการสง เสรมิ การทอ งเทย่ี ว เชงิ วฒั นธรรมเพอ่ื สบื สานศลิ ปวฒั นธรรมชมุ ชนจงั หวดั ระนอง นอกจากน้ี ยงั เปน การนำเสนอผลงานการขบั เคลอ่ื นนโยบาย สภาสถาบนั เรอ่ื ง แผนปฏบิ ตั กิ ารดจิ ทิ ลั สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนระยะ 3 ป ใหบรรลุผลสำเร็จภายในป 2565 รวมทั้งนำเสนอผลงานเดนของแตละ วทิ ยาลยั ชมุ ชนทแ่ี สดงใหเ หน็ ถงึ ความมงุ มน่ั รว มแรง รว มใจของบคุ ลากร สถาบันวิทยาลัยชุมชนในการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเจตนารมณ ทว่ี างไว สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนขอขอบคณุ บคุ ลากรทกุ ฝา ยทไ่ี ดท มุ เท พลงั กาย ใจ และสตปิ ญ ญา ในการปฏบิ ตั หิ นา ทอ่ี ยา งเตม็ ท่ี เพอ่ื ใหอ งคก ร เดนิ หนา ตอ ไปอยา งมน่ั คงและมปี ระสทิ ธภิ าพ ยงั ประโยชนแ กป ระเทศชาติ สืบไป

ความเป็นมาและการจัดต้ัง วิทยาลัยชุมชน

Annual Report 2020 ความเป็นมา เสนทางการกอกําเนิดวิทยาลัยชุมชนในประเทศไทยมีศาสตราจารย เกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย เปนผูจุดประกายทางความคิด วางรากฐาน การดาํ เนนิ งาน มงุ ใหว ทิ ยาลยั ชมุ ชนเปน สถาบนั การศกึ ษาของรัฐที่จัดการศึกษา ระดับ ตํ่ากวาปริญญา จัดฝกอบรมท้ังดานวิชาการและวชิ าชพี ทส่ี อดคลอ งกบั ความตอ งการ ของชมุ ชน และใหช มุ ชนเขา มามสี ว นรวม หลักการสําคญั ในการจดั ต้งั วิทยาลัยชุมชน (1) หลกั การกระจายอาํ นาจทแี่ ทจ รงิ โดยการจดั ตงั้ ใหเ กดิ จากความตอ งการของประชาชนและใหป ระชาชนมสี ว นรว มในการดาํ เนนิ งาน ทกุ ขัน้ ตอน (2) ใหใ ชท รพั ยากรทม่ี อี ยทู งั้ ของรฐั และเอกชนและชมุ ชนใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ และในระยะแรกไมม กี ารกอ สรา งสถานศกึ ษาใหม (3) จัดระบบความรวมมอื กบั ภาคเอกชนและชมุ ชน เพือ่ การผลิตกําลงั คนและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ตามความตองการของชุมชน และตลาดแรงงาน พ.ศ. 2513 - 2519 พ.ศ. 2520 - 2540 พ.ศ. 2527 - 2528 พ.ศ. 2533 - 2541 ความคิดใหมีวิทยาลัย ความคิดเสนอการจัดตั้ง จัดตั้งวิทยาลัยชุมชนใน ขยายการจัดตั้งวิทยาลัย ชุมชนในประเทศไทย วทิ ยาลยั ชมุ ชนในแผนพฒั นา วทิ ยาลยั ครู จำนวน 4 แหง ชุมชน โดยจัดตั้งวิทยาลัย การศกึ ษาแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 3 คือ วิทยาลัยชุมชนพิบูล ชุมชนสุราษฎรธานี ของ และความคดิ ของคณะกรรม สงคราม วิทยาลัยชุมชน มหาวทิ ยาลยั สงขลนครนิ ทร การวางพน้ื ฐานเพอ่ื การปฏริ ปู อบุ ลราชธานี วทิ ยาลยั ชมุ ชน และยุติการดำเนินการ การศกึ ษา นครราชสมี า และวทิ ยาลยั เมอ่ื พ.ศ. 2541 จัดตั้งวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต ชมุ ชนนครศรธี รรมราช โดย ของมหาวิทยาลัยสงขลา มีหนวยประสานงาน คือ นครนิ ทร เปน วทิ ยาลยั ชมุ ชน “สำนกั พฒั นาวทิ ยาลยั ชมุ ชน” แหง แรกของประเทศไทย และยุติการดำเนินงานท้งั และยตุ กิ ารดำเนนิ การเมอ่ื 4 แหง พ.ศ. 2540 10 รายงานประจำปี 2563

ปรชั ญา วิสัยทศั น วิทยาลัยชุมชนเช่ือวาบุคคลทุกคนมีศักยภาพอยูในตัว “สถาบันวิทยาลัยชุมชนคุณธรรม ถาเขามีโอกาสและไดรับคาํ แนะนาํ ในทางท่ีถูกตองเหมาะสม สร้างสรรค์นวัตกรรมชุมชน เขาจะสามารถพฒั นาศกั ยภาพของตนเองไดอยางเต็มท่ีและเปน ทรัพยากรที่มี คณุ คายิง่ ตอชุมชนและสงั คม เพื่อพัฒนาคนและสังคมอย่างยั่งยืน” นโยบายหลกั (1) เปดกวางและเขาถึงงายเพอ่ื ใหคนในชุมชนไดเรียนรู และ ฝกทกั ษะอยา งกวา งขวาง (2) มหี ลักสูตรหลากหลายประเภทใหเลือก (3) ตอบสนองตอชุมชนในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม (4) เนนคุณภาพและการใชป ระโยชน (5) เสยี คา ใชจ า ยนอ ย (6) สรางพันธมิตรกบั ธรุ กจิ เอกชน องคกรของรัฐ และชุมชน พ.ศ. 2537 - 2539 พ.ศ. 2544 – 2558 พ.ศ. 2558 – 2562 2 พฤษภาคม 2562 จดั ตง้ั วทิ ยาลยั ชมุ ชน 77 แหง จากนโยบายรัฐบาลในป พ.ศ. 2544 มีพระราชบัญญัติสถาบัน ประกาศใชพระราชบัญญัติ ในสถาบนั การศกึ ษาเฉพาะ ไดมีการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนตั้งแตป วทิ ยาลยั ชมุ ชน พ.ศ. 2558 และ ปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม ในวิทยาลัยเกษตรกรรม พ.ศ. 2545 - 2554 รวม 20 แหง กระจาย ทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ เปน กฎหมายหลกั (ฉบบั ท่ี 19) พ.ศ. 2562 และ วทิ ยาลยั พลศกึ ษา วทิ ยาลยั อยใู นทกุ ภมู ภิ าคทว่ั ประเทศ เพอ่ื ใหเ ขา ถงึ ในการดำเนนิ งาน มกี ารบรหิ าร พระราชบัญญัติระเบียบ นาฏศิลป และวิทยาลัย กลมุ เปา หมายทพ่ี ลาดโอกาส ดงั น้ี จัดการในรูปองคคณะบุคคล บรหิ ารราชการกระทรวงการ ชา งศลิ ป มหี นว ยประสานงาน 17 เมษายน 2545 แมฮองสอน พิจิตร ที่มาจากทั้งภาครัฐและเอกชน อดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั คือ “สำนักงานโครงการ ตาก สระแกว อทุ ยั ธานี บรุ รี มั ย มกุ ดาหาร และบรหิ ารจดั การรว มโดยชมุ ชน และนวัตกรรม พ.ศ. 2562 วิทยาลัยชุมชน” และยุติ หนองบัวลำภู ระนอง และนราธิวาส แบง เปน 2 ระดบั คอื ระดบั ชาติ สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนจงึ เปน การดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 29 กรกฎาคม 2547 ยะลา และปต ตานี ไดแ ก สภาสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน สถาบนั อดุ มศกึ ษาของรฐั ใน 2539 8 ตลุ าคม 2547 สตลู สมทุ รสาคร ตราด และสภาวชิ าการ ระดบั จงั หวดั สงั กดั ของกระทรวงการอดุ ม ยโสธร และพงั งา ไดแ ก สภาวทิ ยาลยั ชมุ ชน และ ศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และ 20 กุมภาพันธ 2549 แพร คณะกรรมการสงเสริมกิจการ นวตั กรรม 24 สิงหาคม 2550 สงขลา วทิ ยาลยั 29 มนี าคม 2554 นาน สถาบันวิทยาลัยชุมชน 11

Annual Report 2020 ตราสญั ลักษณของสถาบันวิทยาลัยชุมชน TUTาEบOันF CวOิทMยMาUNลIัTยYชCุมOLLEสINถSTIนจุดกลาง สอ่ื ถงึ ศูนยร วมความรวมมอื ความเปน นํ้าหนึง่ ใจเดียวกันของชมุ ชน ชองวาง สอ่ื ถึง การศกึ ษา ความรู การเติมเต็มโอกาสทางการศกึ ษา รายนาม ช รปู ทรงทางสถาปต ยกรรมไทย ส่อื ถงึ การบูรณาการ วิถีปญญา และวิถีไทย เสนโคง ที่รองรับดา นลาง สื่อถงึ การศึกษาตลอดชีวติ การสรางบุคลากรที่มีคุณภาพใหแกช มุ ชน ประธานกรรมการวทิ ยาลยั ชมุ ชน/GES นายกสภาสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน และประเทศชาติ 11 พ.ย. 2548 - 10 ม.ิ ย. 2553 นางสริ ิกร มณีรนิ ทร 11 ม.ิ ย. 2553 - 15 ม.ค. 2558 ประธานกรรมการวทิ ยาลยั ชุมชน 16 ม.ค. 2558 - 29 ธ.ค. 2558 นายกฤษณพงศ กรี ตกิ ร 30 ธ.ค. 2558 - 29 ธ.ค. 2562 ประธานกรรมการวิทยาลัยชมุ ชน 30 ธ.ค. 2562 - 5 ธ.ค. 2563 นายสุเมธ แยมนนุ ประธานกรรมการวทิ ยาลยั ชุมชน นางสิริกร มณรี นิ ทร นายกสภาสถาบันวทิ ยาลัยชุมชน นางสริ กิ ร มณรี ินทร ปฏิบัติหนาทีน่ ายกสภาสถาบนั วิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2546 นางสาวสุนันทา แสงทอง รายนาม ผูอำนวยการโครงการสงเสริมวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2546 - 13 ก.ย. 2555 ผูอำนวยการสำนักงานสงเสริมวิทยาลัยชุมชน ผูบริหาร 13 ก.ย. 2555 - 19 พ.ค. 2556 นางสาวสุนันทา แสงทอง 20 พ.ค. 2556 - 10 เม.ย. 2558 ผูอำนวยการสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน 11 เม.ย. 2558 - 30 ก.ย. 2558 นางสาววรรณี สิงโตนาท 1 ต.ค. 2558 - 28 มี.ค. 2559 รกั ษาราชการแทนผอู ำนวยการสำนกั บรหิ ารงานวทิ ยาลยั ชมุ ชน 29 มี.ค. 2559 - 30 ต.ค. 2559 นายสมศักดิ์ ตันติแพทยางกูร 7 พ.ย. 2559 - 24 ก.ค. 2561 ผูอำนวยการสำนักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน 25 ก.ค. 2561 - 30 ก.ย. 2562 นายสมศักดิ์ ตันติแพทยางกูร 1 ต.ค. 2562 - 15 พ.ย. 2562 รักษาราชการแทนผูอำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน 16 พ.ย. 2562 - 30 พ.ย. 2563 นายมานิต วิมุตติสุข รักษาราชการแทนผูอำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน 12 รายงานประจำปี 2563 นายนำชัย กฤษณาสกุล รักษาราชการแทนผูอำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน นายวีระชัย กวีธีระวัฒน รักษาราชการแทนผูอำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน นายวีระชัย กวีธีระวัฒน ผูอำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน ผศ.ประเสริฐ จริยานุกูล รักษาราชการแทนผูอำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน นายคมสัน คูสินทรัพย รักษาราชการแทนผูอำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน

องค์กรและการบริหาร สถาบันวิทยาลัยชุมชน สถาบันวิทยาลัยชุมชน 13

Annual Report 2020 ยุทธศาสตรสถาบันวิทยาลัยชุมชนระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) สถาบันวิทยาลัยชุมชนคุณธรรม มุงเนนการปรับการบริหารจัดการในเชิงรุกใหทันตอการเปล่ียนแปลง โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และสานตอ แนวพระราชดาํ รใิ นการดาํ เนนิ โครงการวทิ ยาลยั ชมุ ชนคณุ ธรรมเปน เครอื่ งมอื ในการพฒั นา สถาบันวิทยาลัยชุมชนคุณธรรมใหเกิดความยั่งยืน สรา งสรรคน วตั กรรมชมุ ชน มุงเนนการใชกลไกการจัดการศึกษาตามพันธกิจของสถาบันวิทยาลัยชุมชนในการสรางชุมชน ตนแบบนวัตกรรมทุกวิทยาลัยชุมชน สรางภาคีเครือขายท้ังในและตางประเทศในการสรรคสราง นวตั กรรมสชู มุ ชน และสรา งชมุ ชน แหง ภมู ปิ ญ ญาเพอื่ เปน รากฐานของการพฒั นาชมุ ชนอยา งยงั่ ยนื พฒั นาคนและสงั คมอยา งยง่ั ยนื มงุ เนน การสง เสรมิ การเรยี นรแู ละพฒั นาตนเองอยา งสมา่ํ เสมอ ควบคกู บั การขยายขอบเขต การดแู ล และพัฒนาไปสูชุมชนและสังคม ดว ยเทคโนโลยีทท่ี ันสมยั เพอื่ ใหเกิดความเทา ทันและยั่งยนื เปา หมายของยทุ ธศาสตรร ะยะ 20 ป พ.ศ. 2561 - 2565 ระยะท่ี 1 พ.ศ. 2566- 2570 ระยะที่ 2 Renovate Community College Community Engagement ปรับการบริหารและ การดําเนินการ ระยะที่ 3 ผนกึ กําลงั ทกุ ภาคสว นเพอ่ื สรา งสรรค ตามพันธกิจในเชิงรุกใหทันตอการ ระยะที่ 4 นวัตกรรม สูชุมชนและเปนวิทยาลัย เปล่ยี นแปลง ชุมชน ท่ีมีความเปนเลิศเฉพาะทาง ที่สอดคลองกับบริบทของชุมชนและ พ.ศ. 2571 - 2575 เปน ทย่ี อมรับ Full Community Innovation พ.ศ. 2576 - 2580 ส ร า ง ชุ ม ช น ต น แ บ บ น วั ต ก ร ร ม ทุกวิทยาลัยชมุ ชนสรา งภาคเี ครอื ขา ย Community Innovative Sustainability ทงั้ ใน/ตา งประเทศในการสรรคส รา ง นวัตกรรมสชู ุมชน และสรางชุมชน พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน แหง ภมู ปิ ญ ญาเพอ่ื เปน รากฐานของ ใหม คี วามมน่ั คง มง่ั คงั่ ยง่ั ยนื การพัฒนาชุมชนอยา งย่งั ยืน วิสัยทัศนระยะ 20 ป “ สถาบันวิทยาลัยชุมชนคุณธรรม สรางสรรคนวัตกรรมชุมชนเพื่อ ”พัฒนาคนและสังคมอยางย่ังยืน 14 รายงานประจำปี 2563

ยทุ ธศาสตรสถาบันวิทยาลัยชุมชนระยะ 5 ป (พ.ศ. 2561 – 2565) สถาบันวิทยาลัยชุมชนเปนสถาบันการศึกษา จัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาท่ีต่ํากวาปริญญา มีวัตถุประสงคเพ่ือให การศกึ ษาวิจัย ใหบริการทางวิชาการ ทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต เพ่ือสรางความเขมแข็ง ของทอ งถน่ิ และชมุ ชน การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื เสรมิ สรา งศกั ยภาพบคุ คล ตอบสนองตอ ความตอ งการและการประกอบอาชพี ของทอ งถน่ิ ซงึ่ นาํ ไปสกู ารพฒั นาประเทศ วิสัยทัศน สถาบันวิทยาลัยชุมชนมุงสงเสริมการ พนั ธกจิ (Vision) : สถาบันธรรมาภิบาลเพ่ือสราง เรียนรูตลอดชีวิต เพ่ือสรางความเขมแข็ง (Mission) : ของทอ งถนิ่ และชมุ ชน การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ความเขมแข็งของชุมชน เสริมสรางศักยภาพบุคคล ตอบสนองตอ ความตอ งการและการประกอบอาชพี ของ คา นยิ มองคก ร ทองถิ่นและชุมชนซ่ึงนําไปสูการพัฒนา (Core Value) : - การมงุ ผลลพั ธแ ละความเปน เลศิ ประเทศ โดยมีพันธกิจ ดังน้ี 1. การจดั การศกึ ษา - การมสี ว นรว มทม่ี งุ ความสาํ เรจ็ 2. การวจิ ยั และนวตั กรรม - ความเปน ธรรมและความซอื่ สตั ยใ น 3. การบรกิ ารทางวชิ าการ สงิ่ ทที่ าํ 4. การทะนบุ าํ รงุ ศลิ ปะ และวฒั นธรรม - ความเปน ผนู าํ และสรา งแรงบนั ดาลใจ เอกลกั ษณของ ทำงานเชิงรุก อตั ลกั ษณข์ อง สถาบันวิทยาลัย สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนคณุ ธรรม ยึดหลักธรรมาภิบาล สถาบนั วทิ ยาลยั ชุมชน สรา งสรรคน วตั กรรมชมุ ชน พัฒนาตนอยางสม่ำเสมอ (Uniqueness) : เพอ่ื พฒั นาคนและสงั คมอยา งยง่ั ยนื ชมุ ชน (Identity) : เปา ประสงค : สถาบันวิทยาลัยชุมชนเปนวิทยาลัยแหงการสรางสรรคและนวัตกรรมชุมชนมีความเปนเลิศเฉพาะทาง ของแตละวิทยาลัยชุนตามบริบทของพ้ืนท่ี (Community Excellence Center) สรางผูประกอบการ รุนใหมใ นชมุ ชน(CommunityStartup)สรา งนวตั กรรมชมุ ชนในการดาํ เนนิ งานตามพนั ธกจิ (Community Innovation) และสรางชุมชนแหงการเรียนรูตลอดชีวิต (Community of Life Long Learning) สถาบันวิทยาลัยชุมชน 15

Annual Report 2020 ยุทธศาสตรท่ี 1 การบริหารจัดการเชิงรุกและธรรมาภิบาล เปา ประสงค (1) ระบบการบริหารจัดการโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนมาตรฐานเดียวทั้งสถาบนั วิทยาลัยชุมชน (2) ระบบและหลักเกณฑค วามกาวหนาสายวิชาการและวิชาชีพของบุคลากรทีช่ ดั เจน (3) กระจายอํานาจการบริหารจดั การ (4) ขยายพื้นที่บรกิ ารของวทิ ยาลัยชมุ ชน ตวั ช้ีวัดและคาเปาหมาย ตวั ชว้ี ัด หนว ยนบั คา เปา หมาย Based-line เปาหมายระยะ 3 ป (1) จํานวนระบบการบริหารจดั การทไ่ี ดร ับการพฒั นาใหเ ปน พ.ศ. 2563-2565 2561 2562 2563 2564 2565 มาตรฐานเดียวกัน 11 1 ระบบ 3 1 1 (2) มรี ะเบียบหรอื หลกั เกณฑความกา วหนาในสายวชิ าการ ระบบ 2 n/a n/a 1 1 - และวชิ าชีพของบุคลากรในสถาบนั วิทยาลยั ชุมชน เรือ่ ง 3 n/a n/a 1 1 1 (3) จาํ นวนเรอื่ งที่มีการกระจายอํานาจ (4) จาํ นวนวทิ ยาลยั ชุมชนทีต่ ัง้ ใหมห รอื จํานวนหนวยจัด แหง 2 - - -11 การศึกษาในพน้ื ท่ใี หม กลยุทธ 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 สรางความเขมแข็ง จดั ระบบบรหิ ารจดั การ ขยายพื้นที่ใหบริการ สงเสริมใหวิทยาลัย เชิงรุก และการให จัดการศึกษาและการ สรางระบบบริหารเงินรายได ชมุ ชน เปน พน้ื ทส่ี รา ง ของวัฒนธรรม ใหมีประสิทธิภาพ ความดี และสราง องคการที่มุงเนน บริการที่ดี บริการวิชาการ มีประสิทธิภาพ /ปรับปรุงระบบการบริหาร คนดีใหชุมชน ผลลัพธ เงินรายไดและทรัพยสินของ สถาบันวิทยาลัยชุมชน มี (1) สงเสริมการพัฒนา (1) สรางคานิยมรวมใน ประสิทธิภาพและเกิดความ สถาบนั ใหม รี ะบบการบรหิ าร ดานการมีสวนรวม การ คลองตัว จดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล ทำงานบนฐานขอ มลู การมี (1) เรงรัดการจดั ระบบการบริหาร (1) จดั ตง้ั วทิ ยาลยั ชมุ ชนใหม (1) เรงรัด ทบทวน จัดทำ (2) สงเสริมใหกรรมการ แผนงาน/โครงการ/ ิกจกรรม แนวทางการดำเ ินนงาน ภาวะผนู ำ การทำงานเปน ทมี งานบคุ คลใหร องรบั พระราชบญั ญตั ิ เพื่อเพิ่มโอกาสการเขาถึง หรอื ปรบั ปรงุ /แกไ ขขอ บงั คบั สภาสถาบนั กรรมการสภา และการมีความรักความ สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน พ.ศ. 2558 การศกึ ษา ระเบยี บ ประกาศฯ ในเรอ่ื ง วทิ ยาลยั ผบู รหิ าร ผกู พนั ในองคกร (2) เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารดา น (2) ขยายพื้นที่บริการเพื่อ ระบบบรหิ ารเงนิ รายไดแ ละ อาจารย บุคลากร ผูเรียน การเงนิ และงบประมาณ ตง้ั แตก ารจัด ทรพั ยส นิ ของสถาบนั วทิ ยาลยั และผูรับบรกิ ารทางการ (1) โครงการพฒั นาบคุ ลากร ทำงบประมาณที่ตอบโจทยเชิง เพิ่มโอกาสการเขาถึงการ ชุมชนใหครอบคลุมมาตรา ศกึ ษามสี ว นรวมสราง เพอ่ื การทำงานเชงิ รกุ พ้นื ที่ และพฒั นาระบบการบริหาร ศกึ ษาในพน้ื ทท่ี เ่ี ปน รอยตอ 12 แหงพระราชบัญญัติ สถาบันวิทยาลัยชุมชน (2) โครงการพฒั นาบคุ ลากร การจดั สรรและการใชจ า ยงบประมาณ หรือชายขอบของจังหวัด สถาบันวิทยาลยั ชมุ ชนและ คณุ ธรรม ดานกระบวนการจัดการ ทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั ระบบรายงานผลของ เกดิ ความคลอ งตวั มากขึ้น ความรู หนวยงานตา งๆ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ ใกลเคียง (1) โครงการยกระดับการบริหาร (3) โครงการพฒั นาระบบ (3) ปรับปรงุ และพฒั นาโครงสราง จัดการสูการเปนสถาบันวิทยาลัย บรหิ ารจดั การทม่ี งุ เนน การ พน้ื ฐานดจิ ทิ ลั ใหค รอบคลมุ ทกุ พน้ื ท่ี ชุมชนคุณธรรม กระจายอำนาจ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ (2) โครงการเสริมสรา งขวัญและ (4) ปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบความ กำลังใจใหแกผูปฏิบัติงานตามหลัก มั่นคงปลอดภัยของคอมพิวเตอร ธรรมาภิบาลดีเดน และเครือขาย (3) โครงการพฒั นากจิ การนกั ศกึ ษา (4) โครงการยกยองเชิดชูศิษยเกา (1) แผนการจัดทำกรอบอตั รา (1) โครงการจดั ทำหลกั เกณฑ (1) ทบทวน จัดทำ หรือปรับปรุง ผูทำคุณประโยชนตอชุมชนหรือ กำลงั ระยะ 5 ป ของสถาบนั การบรหิ ารหนว ยจดั การศกึ ษา /แกไ ขขอ บงั คบั และระเบยี บทเ่ีกย่ี วขอ ง ประเทศ วทิ ยาลยั ชุมชน ของวทิ ยาลยั ชมุ ชน กบั การบรหิ ารเงนิ รายไดแ ละทรพั ยส นิ (5) โครงการสรา งคนดีใหชุมชนไป (2) โครงการพฒั นาสำนกั งาน (2) โครงการสำรวจความ ของสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนให บรู ณาการกบั กระบวนการเรยี นรู และ อจั ฉรยิ ะ (Smart Office) ตอ งการเพอ่ื ขยายการศกึ ษารปู สอดคลอ งกบั บรบิ ทการดำเนนิ งาน การบรกิ ารทางวิชาการแกส งั คม (3) โครงการปรบั ปรงุ ระบบการ แบบวทิ ยาลยั ชมุ ชน ตามพันธกิจวทิ ยาลัยชุมชน ประชมุ ทางไกล (3) โครงการจดั ตง้ั วทิ ยาลยั (2) จดั ทำคมู อื การบรหิ ารเงนิ รายได (4) โครงการปรบั ปรงุ กฎ ระเบยี บ ชมุ ชนใหมเ พอ่ื เพม่ิ โอกาสลด และทรัพยส นิ ของสถาบันวิทยาลยั นโยบาย หรอื แนวปฏบิ ตั ิ ความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศกึ ษา ชมุ ชน (5) โครงการจดั หาและพฒั นาระบบ (3) จดั ทำระบบฐานขอ มลู สารสนเทศ สารสนเทศ การบรหิ ารเงนิ รายไดแ ละทรพั ยส นิ ของสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน 16 รายงานประจำปี 2563

ยุทธศาสตรที่ 2 การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อเสริมสราง และพัฒนาศักยภาพชุมชน เปา ประสงค (1) รปู แบบการจดั การศึกษาท่ีตอบสนองโอกาสและความตองการของคนทกุ ชว งวัย (2) รปู แบบการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ของวทิ ยาลยั ชมุ ชน (3) การเรียนการสอนแบบ e-Learning ทีค่ รอบคลมุ ท้งั การจดั การศกึ ษาและบริการทางวิชาการ (4) ระบบการเรยี นแบบสะสมหนวยกิต และเทยี บโอนผลการเรียนรูห รอื เทียบประสบการณ (5) มี Platform การเรียนรูร ูปแบบออนไลนข องวทิ ยาลยั ชุมชน ตวั ช้วี ัดและคา เปา หมาย ตวั ช้วี ดั หนว ยนับ คา เปา หมาย Based-line เปา หมายระยะ 3 ป (1) จาํ นวนหลกั สูตรที่ปรับปรุง/หลักสูตรใหมทีต่ อบสนอง หหลลักกั สสูตตู รร พ.ศ.2563 - 2565 2561 2562 2563 2564 2565 ความตองการของคนทุกชวงวัย หลักสตู ร - อนุปริญญา แหง 15 89 34 8 - ประกาศนยี บตั รสถาบัน/วิทยาลยั เร่ือง 60 11 4 20 20 20 - สมั ฤทธบิ ัตร 31 n/a 4 6 10 15 60 4 18 20 20 20 (2) จาํ นวนแหลง เรยี นรนู อกหอ งเรยี นทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสามารถ 60 n/a n/a ใหบ ริการแกประชาชาชนหรือผสู นใจไดอยา งทัว่ ถึง 20 20 20 1- - (3) จาํ นวนหลักสูตรหรือสือ่ การเรยี นรูใ นรูปแบบดิจิทัล (4) มรี ะบบการเรยี นแบบสะสมหนวยกิต และเทียบโอน ระบบ 1 n/a n/a 20 20 20 ผลการเรียนรูหรอื เทียบประสบการณ เร่อื ง 60 n/a 20 - - 400 (5) จํานวนนวตั กรรมการจัดการเรยี นรู (6) จาํ นวนแรงงานทไ่ี ดรับการสงเสรมิ อาชีพจากสถานการณ คน 400 -- - - 10 โควดิ - 19 รอ ยละ 10 -- -- 9 (7) รอยละของแรงงานท่ีไดรับผลกระทบจากสถานการณ เครอื ขาย 9 -- --9 โควดิ - 19 มีคุณภาพชวี ติ ทีด่ ี มที กั ษะในการประกอบ คน 9 -- - - 300 อาชพี สามารถนาํ ความรไู ปสรา งรายได และพฒั นางาน 300 -- ท่ที าํ อยู - - 2,000 (8) จํานวนเครอื ขายการผลิตสมุนไพร - - 10 (9) จาํ นวนผลิตภณั ฑสมนุ ไพร (10) จาํ นวนเกษตรกรที่มีรายไดเ พิ่มข้นึ และสามารถนาํ ความรูไปสรางรายได และพัฒนางานท่ที าํ อยู (11) จาํ นวนผูส ูงอายุที่ไดร ับการสง เสรมิ การมีงานทาํ และ คน - -- มรี ายได รอ ยละ - -- (12) รอยละของผสู งู อายุท่ีผานการฝกอบรมสามารถนาํ ความรแู ละทกั ษะไปใชใ นการสรางอาชีพเสรมิ ลดคาใชจา ยในครัวเรือน สถาบันวิทยาลัยชุมชน 17

Annual Report 2020 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 คนในชุมชนมีโอกาส ผูสำเร็จการศึกษามี มีแหลงเรียนรู และ พัฒนาระบบการเรยี น สงเสรมิ โอกาสทางการ กลยุทธ เขาถึงการจัดการ คุณลักษณะตาม นวัตกรรมการเรียนรู รูเชิงรุก (Active ศึกษา พัฒนาคณุ ภาพ ศึกษาตลอดชีวิต มาตรฐานผลการเรียน รูปแบบดิจิทัลใหมี learning) และการ ชีวติ และการมีงาน รูและคุณลักษณะ คุณภาพและ เรียนรูแบบมีสวนรวม ทำใหกบั ผสู งู อายแุ ละ ที่พึงประสงค มาตรฐาน ผูพกิ าร (1) จัดหลักสูตรพัฒนา (1) สรา งผลลพั ธผ เู รยี นใหม ี (1) จัดทำฐานขอมูลและ (1) พัฒนาสมรรถนะครู (1) สง เสรมิ โอกาส การเรยี นรู /ปรบั ปรงุ ใหมและจัดการ ความเปน เลศิ ตามมาตรฐาน พฒั นาแหลงเรยี นรู ดานการเรียนรูเชิงรุก พัฒนาคุณภาพชีวิต และ เรยี นรทู ่หี ลากหลายโดยใช ผลการเรยี นรแู ละคณุ ลกั ษณะ (มิตวิ ฒั นธรรม อาชพี และ (Active learning) การมีงานให กับผูสูงอายุ รปู แบบ e- Learning ทพ่ี งึ ประสงค สิง่ แวดลอ ม) (2) กำหนดมาตรการจงู ใจ และผูพิการ (2) จัดหลกั สตู รการเรยี น (2) พัฒนานวตั กรรมการ เพ่อื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการ แนวทางการดำเ ินนงาน การสอนท่ีตอบโจทยก าร จดั การเรยี นรู จดั การเรียนการสอนแบบ พัฒนาประเทศ เชงิ รุก (active learning) (3) พฒั นาระบบการเทียบ (พัฒนาสมรรถนะผูเรียน โอนผลการเรยี นรแู ละระบบ ใหสรางความรดู ว ยตนเอง สะสมหนวยกติ ท่เี อือ้ ตอ ได หรือสรางความรูรว มกับ การเขาถงึ การจัดการศกึ ษา ผูอ ื่นได) ท่หี ลากหลาย (4) เรง รดั /ปรบั ปรงุ ระเบยี บ กฎหมาย ขอบังคบั ใหเอือ้ ตอวธิ กี ารจดั การศึกษาที่ หลากหลาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (1) โครงการปรบั ปรงุ ระเบยี บ (1) โครงการจัดทำเกณฑ (1) โครงการพฒั นารายวชิ า (1) โครงการพัฒนาครูผู (1) โครงการจัดการศึกษา ใหเอื้อตอวิธีการจัดการ การประเมนิ มาตรฐานผล หรอื สว นหนง่ึ ของรายวชิ าในรปู สอนเพื่อพัฒนาการเรียน /การเรียนรู ศกึ ษาทง้ั ในระบบ นอกระบบ การเรยี นรแู ละคุณลักษณะ แบบดจิ ทิ ลั โดยใชเ ครอ่ื งมอื การสอนแบบ Active (2) โครงการพฒั นาศกั ยภาพ และตามอธั ยาศยั ของวทิ ยาลยั ทพ่ี งึ ประสงคข องวิทยาลยั Thai MOOC / Google Learning บคุ คลในการเขา สอู าชพี ชุมชน ชุมชน Classroom / Moodle / (3) โครงการพฒั นาโครงสรา ง (2) โครงการพัฒนา (2) โครงการพฒั นาคณุ ภาพ Thai OER พื้นฐานสำหรับผูสูงอายุ Platform การเรยี นรรู ปู แบบ การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ผเู รยี น (2) โครงการพฒั นาเครอื ขา ย และผูพิการ ออนไลนข องวทิ ยาลยั ชมุ ชน ในศตวรรษท่ี 21 และตาม การเรยี นรนู อกหอ งเรยี น และ (4) โครงการสงเสริมการ (3) โครงการพฒั นาระบบ นโยบายประเทศไทย 4.0 การเรยี นรตู ลอดชวี ติ ผา น มีงานทำและมีรายไดของ สะสมหนวยกิต และเทยี บ แหลง เรยี นรใู นพน้ื ทแ่ี ละชมุ ชน ผูสูงอายุ โอนผลการเรยี นรหู รอื เทยี บ (3) โครงการสงเสรมิ การ ประสบการณ ปลูกพืชสมุนไพรและการ (4) โครงการพฒั นาเครอื ขา ย สรา งมลู คาเพ่ิมจาก การเรียนรูนอกหอ งเรียน ผลติ ภัณฑส มนุ ไพร และการเรยี นรูตลอดชวี ติ ผา นแหลง เรยี นรใู นพน้ื ทแ่ี ละ ชุมชน (5) โครงการความรวมมือ ในการพัฒนาศกั ยภาพการ จดั การศึกษาดา นปฐมวัย (6) โครงการพฒั นาทักษะ อาชพี ตามความตอ งการใน เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 18 รายงานประจำปี 2563

ยุทธศาสตรที่ 3 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือ การพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตในชุมชน เปา ประสงค (1) แผนการพฒั นาศกั ยภาพครูและคนในชมุ ชนใหสามารถทาํ การวจิ ัยแบบมีสวนรวม และการสรา งนวตั กรรม (2) ผลงานวจิ ยั ทน่ี าํ ไปใชส รา งคณุ คา หรอื มลู คา เพมิ่ เพอ่ื การยกระดบั การพฒั นาอาชพี และคณุ ภาพชวี ติ และอาชพี ของคนในชมุ ชน (3) ผลการจัดการความรูท่ีนาํ ไปสูการพัฒนาโจทยว ิจยั ที่ตรงกบั ความตอ งการของชมุ ชน ตัวช้ีวดั และคา เปาหมาย ตัวช้ีวัด หนว ยนบั คา เปา หมาย Based-line เปาหมายระยะ 3 ป พ.ศ. 2563 - 2565 2561 2562 2563 2564 2565 (1) ระดบั ความสําเร็จของการนําแผนการพัฒนาศกั ยภาพครู ระดับ ระดับ 5 3 3 44 5 และคนในชุมชนใหส ามารถทําการวิจยั แบบมสี วนรวม ความสาํ เร็จ (scale 5 ระดบั ) และการสรางนวัตกรรมไปสูการปฏิบัติ 20 20 20 ระดบั ที่ 1 ไดรับการจัดสรรทรพั ยากร 40 40 40 ระดับที่ 2 มกี ิจกรรม/โครงการพัฒนาศกั ยภาพนักวจิ ัย 20 20 20 ระดบั ท่ี 3 รอ ยละ 70 ของโครงการวจิ ยั ทแ่ี ลว เสรจ็ ใน ระยะเวลาทีก่ ําหนด ระดบั ที่ 4 รอยละ 70 ของผลงานวจิ ัยทแ่ี ลวเสรจ็ นําไปใช ประโยชน ระดับท่ี 5 รอยละ 20 ของผลงานวจิ ยั ท่ีนาํ เสนอในเวที ระดบั ชาต/ิ นานาชาติ 60 24 n/a (2) จํานวนผลงานวิจัยทน่ี ําไปใชส รางคณุ คา หรือมลู คาเพิม่ เร่ือง และยกระดับการพฒั นาอาชีพและคุณภาพชวี ิตและอาชีพ ของคนในชมุ ชน (3) จาํ นวนโจทยว ิจัยที่ตรงกบั ความตองการของชมุ ชนที่ได เรอื่ ง/ 120 n/a n/a จากกระบวนการจัดการความรู โครงการ (4) จาํ นวนผลงานวจิ ยั ทไ่ี ดร บั การตพี มิ พใ นวารสารทางวชิ าการ เรือ่ ง 60 3 n/a ดา นการวจิ ยั ท่ีไดรับการยอมรบั กลยุทธ 3.1 3.2 สรา งศักยภาพการวิจยั และสรางสรรคนวัตกรรม การนาํ ผลงานวจิ ยั ไปใชใ นการสรา งมลู คา เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ โดยใชโจทยวิจยั จากชมุ ชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชมุ ชน แนวทาง โครงการ/กิจกรรม การดำเนินงาน (1) พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การดา นการวจิ ยั ไดแ ก การพฒั นาบคุ ลากร (1) สรา งเครอื ขา ยนกั วจิ ยั ชมุ ชน ดา นการวจิ ยั พฒั นาระบบฐานขอ มลู ดา นการวจิ ยั จดั ทำวารสารวชิ าการ (2) สง เสรมิ การนำผลงานวจิ ยั ภายนอกมาใชป ระโยชนเ พอ่ื สรา งมลู คา เพม่ิ จดั ใหม เี วทนี ำเสนอผลงานวจิ ยั และระบบยกยอ งเชดิ ชเู กยี รตนิ กั วจิ ยั ทางเศรษฐกจิ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน (2) พฒั นาโจทยว จิ ยั ทม่ี าจากความตอ งการของชมุ ชนโดยใชก ระบวนการ จดั การความรู (3) พฒั นางานวจิ ยั เพอ่ื สรา งองคค วามรพู น้ื ฐานของสงั คมและชมุ ชน แผนงาน/ (1) โครงการจดั ทำแผนการพฒั นาศกั ยภาพครแู ละคนในชมุ ชนใหส ามารถทำการวจิ ยั (1) โครงการสง เสรมิ การนำผลงานวจิ ยั มาใชเ พอ่ื เสรมิ สรา งมลู คา เพม่ิ แบบมสี ว นรว ม และการสรา งนวตั กรรม ทางเศรษฐกจิ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน (2) โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรและคนในชมุ ชน ดา นการวจิ ยั เชน การพฒั นา โจทยว จิ ยั จากการจดั การความรรู ว มกบั ชมุ ชน การทำวจิ ยั สายรบั ใชส งั คม การเขยี น โครงการวจิ ยั เพอ่ื ขอทนุ การเขยี นรายงานวจิ ยั การเขยี นบทความทางวชิ าการ การวจิ ยั แบบมสี ว นรว ม การใชโ ปรแกรมวเิ คราะหข อ มลู ฯลฯ (3) โครงการพฒั นาระบบและกลไกการเผยแพรแ ละตพี มิ พผ ลงานวจิ ยั ในวารสารวชิ าการ สถาบันวิทยาลัยชุมชน 19

Annual Report 2020 ยุทธศาสตรท่ี 4 การสรางเครือขายความรวมมือเพ่ือการจัดการศึกษา และพัฒนาความเขมแข็งของชุมชนอยางยั่งยืน เปาประสงค (1) เครือขายความรวมมือเพื่อการจัดการศึกษาในระดับสถาบันและระดับวิทยาลัย (2) เครือขายความรวมมือดานอาชีพและคุณภาพชีวิตของชุมชน (3) โครงการหรือกิจกรรมที่เกิดจากความรวมมือของเครือขายเพ่ือการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชน ตัวช้ีวดั และคาเปา หมาย ตัวชว้ี ดั หนวยนบั คา เปา หมาย Based-line เปา หมายระยะ 3 ป (1) จํานวนเครือขา ยความรว มมอื เพอ่ื การจดั การศึกษา พ.ศ. 2563 - 2565 2561 2562 2563 2564 2565 ในระดับสถาบนั และระดบั วิทยาลยั 2561 = มสธ, ม.ศรปี ทุม เครอื ขาย 3 2 111 1 2562 = DE/ทเี่ กี่ยวเนือ่ งกับ Digital (2) จาํ นวนเครอื ขา ยความรว มมอื ดานอาชีพและคณุ ภาพชีวิต เครือขา ย 60 n/a n/a 20 20 20 ของชมุ ชน (วชช.ละ 1 เครอื ขาย/ป) (3) จาํ นวนโครงการหรือกิจกรรมทเี่ กิดจากความรวมมอื ของ เร่อื ง/ 60 n/a n/a 20 20 20 เครอื ขา ยเพือ่ การพฒั นาความเขมแข็งของชุมชน โครงการ (วชช.ละ 1 เรื่อง/ป) 60 n/a n/a 20 20 20 (4) จาํ นวนโครงการความรว มมอื ดา นอาชพี และคณุ ภาพชวี ติ เรื่อง ของชมุ ชนทป่ี ระสบความสาํ เรจ็ (วชช.ละ 1 เครอื ขา ย/ป) กล ุยท ธ 4.1 สรา งเครอื ขา ยความรว มมือทางวิชาการ การจดั การศกึ ษา และการระดมทรพั ยากรท้ังในและตางประเทศ แนวทางการดำเนินงาน ระดบั สถาบนั วิทยาลัยชุมชน แผนงาน/ (1) ออกระเบียบ ขอบังคับของสถาบันทีเ่ อ้อื ใหเ กิดการจัดการศกึ ษารว มหรอื ที่เชื่อมโยงเครอื ขาย โครงการ/ ิกจกรรม (2) แสวงหาความรว มมอื ทางวชิ าการรว มกบั เครอื ขา ย ในการพฒั นาการศกึ ษาตามทศิ ทางการพฒั นาของประเทศ (3) สง เสรมิ การระดมทรัพยากรเพือ่ การจัดการศึกษารวมกับเครือขา ย (4) สง เสริมการแลกเปลย่ี นเรียนรทู างวิชาการ การจัดการศึกษา วิจยั หรือบริการวิชาการ รว มกับตา งประเทศ ระดับวทิ ยาลยั ชมุ ชน (1) พฒั นาหลักสูตร/จดั การศกึ ษา/บริการวิชาการรว มกบั เครือขา ยสถาบนั องคกรเพ่อื สงเสริมการจัดการศึกษาทเ่ี ช่ือมโยง เครือขายและทักษะอาชพี ที่ไดมาตรฐาน เชน มาตรฐานของกรมพัฒนาฝมอื แรงาน มาตรฐานของสถาบันคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี (สคช.) มาตรฐานท่เี ปนความรวมมือระหวางประเทศ เปน ตน (2) สรางและเชอื่ มโยงเครือขา ยการจดั การศึกษา/บริการวิชาการูปแบบวิทยาลัยชุมชนที่ไดม าตรฐาน เชน มาตรฐานของกรม พฒั นาฝม ือแรงาน มาตรฐานของสถาบนั คุณวุฒวิ ิชาชีพ (สคช.) มาตรฐานท่ีเปนความรว มมือระหวา งประเทศ เปนตน (3) สงเสริมการระดมทรัพยากรเพ่อื การจดั การศึกษารวมกับเครอื ขา ย (1) โครงการความรวมมือการจดั การศกึ ษาตอ เนอ่ื งกบั สถาบันอุดมศึกษาในพน้ื ที่ (2) โครงการความรว มมอื เพื่อพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตของชุมชน (3) โครงการความรว มมือทางวิชาการและการวิจยั 20 รายงานประจำปี 2563

เปา ประสงค ยุทธศาสตรท่ี 5 การสรางผูนําการเปล่ียนแปลงเพ่ือขับเคลื่อน ความเขมแข็งของชุมชน (1) ผูนาํ การเปลย่ี นแปลงท้ังในวทิ ยาลัยและชุมชนท่ีขับเคลื่อนความเขม แขง็ ของชุมชน (2) ผูประกอบการรายใหม (3) ผปู ระกอบการชุมชนมีรายไดเ พิ่มขึน้ ตัวชวี้ ัดและคาเปาหมาย หนว ยนบั คา เปา หมาย Based-line เปาหมายระยะ 3 ป ตวั ชี้วดั พ.ศ. 2563 - 2565 2561 2562 2563 2564 2565 (1) จาํ นวนกิจกรรม/โครงการที่ทาํ ใหเกดิ การเปลี่ยนแปลง ของชุมชนเปา หมาย ชุมชน/พ้นื ที่ 60 60 n/a 20 20 20 (เฉลยี่ วชช.ละ 1 พ้นื ที่/ 1 - 3 ป) ราย 20 n/a n/a 20 - - (2) จาํ นวนผูประกอบการรายใหม (เฉล่ยี วชช.ละ 1 ราย/ 1 - 3 ป) (3) จาํ นวนกลุมอาชีพที่มรี ายไดเพิ่มขึ้น กลุม 20 n/a n/a 20 - - (เฉลี่ย วชช.ละ 1 กลุม/ 1 - 3 ป) (4) จาํ นวนผูนําการเปลี่ยนแปลงและผูประกอบการในชุมชน คน 30 - - - - 30 (5) จํานวนชุมชนทพ่ี ึง่ ตนเองไดจากผลของการสรางผนู าํ ชุมชน 30 - - - - 30 การเปลยี่ นแปลง หมายเหตุ เปนตัวชี้วดั ทีท่ ําตอเนื่องในระยะ 3 ป กลยุทธ 5.1 5.2 5.3 สรา งผนู ําการเปล่ยี นแปลง สงเสริมและพัฒนาศักยภาพ สงเสริมเครือขายความรวมมือ การสรางผูประกอบการชุมชน ของชมุ ชน ผูประกอบการในชุมชน แนวทาง (1) สรางผูนำการเปลี่ยนแปลง (1) สรางผูประกอบการรายใหมที่จะทำให (1) สรา งความรว มมอื กบั เครอื ขา ยผปู ระกอบการ การดำเนินงาน ในชุมชนดวยกระบวนการเรียนรู เกดิ ธรุ กจิ ในการสรา งมลู คา เพม่ิ ทางเศรษฐกจิ ในพื้นที่เพื่อวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ ตลอดชีวิต ของชุมชน (2) พัฒนาผูประกอบการรายเดิมใหสามารถ ดำเนินธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล แผนงาน/ (1) โครงการพัฒนาเกษตรกร (1) โครงการจดั การความรจู ากฐานทรพั ยากร (1) โครงการความรว มมอื พฒั นาผลติ ภณั ฑ โครงการ/กิจกรรม ปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ในชุมชนเพื่อยกระดับสูเศรษฐกิจสรางสรรค จากฐานทรพั ยากรในชมุ ชน (2) โครงการพฒั นาเกษตรกรรมยง่ั ยนื (3) โครงการพัฒนาผูนำการ เปลี่ยนแปลงและผูประกอบการ ในชุมชน สถาบันวิทยาลัยชุมชน 21

Annual Report 2020 โครงสรา งองคก รสถาบันวทิ ยาลัยชมุ ชน ตามพระราชบัญญัติสถาบนั วทิ ยาลัยชมุ ชน พ.ศ. 2558 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม สภาสถาบนั วิทยาลยั ชมุ ชน สถาบนั วทิ ยาลยั ชุมชน สภาวชิ าการ คณะกรรมการสง เสรมิ กจิ การ หนว ยตรวจสอบภายใน สภาวทิ ยาลยั ชมุ ชน วทิ ยาลยั ชมุ ชน สาํ นกั งานสถาบนั วทิ ยาลัยชมุ ชน กองอํานวยการ สํานักงานผอู าํ นวยการ กองบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล กองคลงั และบรหิ ารสนิ ทรพั ย สํานักวิชาการ กองแผนงานและงบประมาณ ศกูนารยเวริจียัยนแรลูตะลสองดเชสีวริติม กองมาตรฐานการศกึ ษาและวจิ ยั กองสง เสรมิ กจิ การวทิ ยาลยั ชมุ ชน หมายเหตุ โครงสรา งองคก รตามประกาศสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน เรอ่ื ง การแบง สว นราชการ ภายในสํานกั งานสถาบนั และวิทยาลยั ชุมชน พ.ศ. 2559 ลงวันท่ี 24 มีนาคม 2559 และ ประกาศสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน เรอ่ื งจดั ตง้ั หนว ยตรวจสอบภายใน สถาบนั วิทยาชุมชน พ.ศ. 2559 ลงวนั ท่ี 24 มีนาคม 2559 22 รายงานประจำปี 2563

สภาสถาบนั วทิ ยาลยั ชุมชน 1. นางสิริกร มณีรนิ ทร นายกสภาสถาบันวิทยาลยั ชุมชน 1 2. รศ.สรนิต ศลิ ธรรม ปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม 2 กรรมการโดยตำแหนง 345 6 7 8 9 10 11 12 3. นายถนอม อินทรกำเนิด 4. นายชมุ พล พรประภา 5. นายแพทยพ เิ ชฐ บัญญตั ิ กรรมการผทู รงคุณวฒุ ิ กรรมการผูทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ 6. นางสลี าภรณ บัวสาย 7. รศ.ฐาปนีย ธรรมเมธา 8. นายเอกศักด์ิ คงตระกูล กรรมการผูท รงคุณวฒุ ิ กรรมการผทู รงคณุ วุฒิ กรรมการผูทรงคณุ วฒุ ิ 9. นายเดชาภวิ ฒั น ณ สงขลา 10. นายประยูร รตั นเสนยี  11. นายคมสนั คูสนิ ทรพั ย ผูอ ำนวยการสำนกั งบประมาณ อธิบดีกรมสง เสริมการปกครองทอ งถ่ิน ผอู ำนวยการวทิ ยาลยั ชมุ ชนแมฮ อ งสอน กรรมการโดยตำแหนง กรรมการโดยตำแหนง รักษาราชการแทนผูอ ำนวยการสถาบนั 12. นายธนภณ วฒั นกุล วทิ ยาลยั ชุมชน กรรมการซ่งึ เลอื กจากผูแทนภาคเอกชน กรรมการโดยตำแหนง สถาบันวิทยาลัยชุมชน 23

Annual Report 2020 13 14 15 16 17 18 13. นายพงษเดช ศรีวชริ ประดิษฐ 14. นางพรทพิ ย หิรญั เกตุ กรรมการซึ่งเลือกจาก กรรมการซึ่งเลือกจาก 17. นายทิวากร เหลาลอื ชา ผแู ทนภาคเอกชน ผแู ทนภาคเอกชน กรรมการซ่งึ เลือกจาก 15. นางสุมามาลย ววิ รรธนดฐิ กุล 16. นายยทุ ธนา พรหมณี ผแู ทนผสู อนประจำ กรรมการซ่งึ เลือกจาก กรรมการซ่ึงเลือกจากผูแทน 19 ผแู ทนประธานสภาวทิ ยาลัยชุมชน ผอู ำนวยการวิทยาลยั ชุมชน 18. นายณัฐวฒุ ิ โพธทิ์ ักษิณ 19. นายเจรญิ ชยั วงษจ ินดา กรรมการซงึ่ เลือกจาก รองผอู ำนวยการสถาบนั ผูแทนผสู อนประจำ วิทยาลยั ชมุ ชน เลขานกุ ารสภาสถาบนั วิทยาลัยชมุ ชน อํานาจหนาที่สภาสถาบันวิทยาลัยชุมชน : 1. กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาสถาบัน กำกับมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ออกระเบียบ ขอบังคับ และประกาศของ สถาบัน พิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ำกวาปริญญา อนุมัติการใหอนุปริญญาและประกาศนียบัตร พจิ ารณาการจัดต้งั การรวม ยุบ เลกิ สว นราชการของสถาบันรวมท้งั การแบงสวนราชการ 2. พิจารณาดำเนินการเพื่อทรงโปรดเกลา แตงตั้ง และถอดถอนนายกสภาสถาบัน กรรมการสภาสถาบันผูทรงคุณวุฒิ และผูอำนวยการ สถาบนั แตง ตง้ั และถอดถอนประธานสภาวทิ ยาลยั กรรมการสภาวทิ ยาลยั รองผอู ำนวยการสถาบนั ผอู ำนวยการวทิ ยาลยั และผดู ำรงตำแหนง ทางวชิ าการ 3. ออกขอ บงั คบั วา ดว ยคณุ สมบตั แิ ละหลกั เกณฑเ กย่ี วกบั ผสู อนพเิ ศษ อนมุ ตั งิ บประมาณรายจา ยจากเงนิ รายไดข องสถาบนั ออกระเบยี บและ ขอ บังคับเก่ยี วกบั การบรหิ ารงาน การเงิน การจัดหารายได และผลประโยชนจากทรัพยสินของสถาบัน 4. สงเสรมิ ความรว มมอื ในการจัดการศึกษา ระดมทรัพยากร และสนบั สนนุ การจดั ตง้ั กองทุนเพ่อื การจดั การศึกษาของสถาบัน 5. ติดตาม และประเมินผลการดำเนนิ งานของผูอำนวยการสถาบัน 6. อนมุ ตั กิ ารจัดการศกึ ษารว ม การยกเลกิ การจดั การศึกษารว มของสถานศึกษาขนั้ สูง หรือสถาบนั อ่ืนในประเทศหรือตา งประเทศ 24 รายงานประจำปี 2563

สภาวชิ าการสถาบันวทิ ยาลยั ชมุ ชน 1. รศ.เปร่ือง กจิ รตั นภร ประธานสภาวชิ าการ 1 2 34 5 67 2. ศ.สัญชัย จตุรสิทธา 3. รศ.นินนาท โอฬารวรวฒุ ิ 4. รศ.รงั สรรค ประเสริฐศรี กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กรรมการผูท รงคณุ วฒุ ิ ซ่ึงแตง ต้งั จากบุคคลภายนอกสถาบนั ซงึ่ แตง ต้ังจากบคุ คลภายนอกสถาบัน ซึ่งแตงต้งั จากบุคคลภายนอกสถาบนั 5. รศ.ไพโรจน สถิรยากร 6. รศ.วิเชยี ร ชตุ มิ าสกลุ 7. นายจริ บูลย วิทยสงิ ห กรรมการผูทรงคุณวฒุ ิ กรรมการผูท รงคณุ วุฒิ กรรมการผูท รงคุณวุฒิ ซ่ึงแตง ตั้งจากบุคคลภายนอกสถาบัน ซ่ึงแตงตัง้ จากบคุ คลภายนอกสถาบัน ซ่งึ แตงตงั้ จากบคุ คลภายนอกสถาบนั สถาบันวิทยาลัยชุมชน 25

Annual Report 2020 8 9 10 11 12 8. รศ.ฐาปนีย ธรรมเมธา 9. นายคมสัน คูสินทรัพย 10. นางกรรณิกา สุภาภา กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนแมฮองสอน ซง่ึ แตง ตง้ั จากบคุ คลภายในสถาบนั ซึ่งแตงตั้งจากบุคคลภายนอกสถาบัน รักษาราชการแทนผูอำนวยการ ผูแทนผูอำวยการวิทยาลัยชุมชน สถาบันวิทยาลัยชุมชน กรรมการโดยตำแหนง กรรมการโดยตำแหนง 11. นายโยธิน บุญเฉลย 12. นายชาญวิทย โตธนะคุณ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ รองผูอำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน ซึ่งแตงตั้งจากบุคคลภายในสถาบัน เลขานุการที่ผูอำนวยการสถาบันมอบหมาย ผูแทนผูสอนประจำ อํานาจหนาที่สภาวิชาการสถาบันวิทยาลัยชุมชน : 1. เสนอแนะการวางนโยบายและแผนพัฒนาทางวิชาการตอสภาสถาบัน 2. เสนอเกณฑมาตรฐานเกี่ยวกับการจัดการศึกษา การเรียนการสอน การประเมินผลการศึกษา และการประกันคุณภาพ การศึกษาตอสภาสถาบัน 3. สงเสริมการบริการทางวิชาการที่สอดคลองกับภารกิจของวิทยาลัย และความตองการของทองถิ่นและชุมชน 4. ประเมินความกาวหนาทางวิชาการ และจัดทำขอเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาทางวิชาการตอสภาสถาบัน 5. เสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรการศึกษา การเปดสอน การปรับปรุง และการยกเลิกหลักสูตรการศึกษา 6. เสนอแนะการจัดการศึกษารวมกับสถานศึกษาชั้นสูง หรือสถาบันอื่นในประเทศหรือตางประเทศ รวมทั้งยกเลิกการจัด การศึกษารวม 7. พิจารณาการเขาสูตำแหนงทางวิชาการเพื่อเสนอสภาสถาบัน 26 รายงานประจำปี 2563

ประธานสภาวทิ ยาลยั ชุมชน 1234 56 78 9 10 11 12 1. นายสเุ ทพ นุชทรวง 2. นายไพศาล นุมนาค 3. นายบัญญัติ พุมพนั ธ ประธานสภาวทิ ยาลยั ชมุ ชนแมฮ อ งสอน ประธานสภาวทิ ยาลยั ชมุ ชนพิจติ ร ประธานสภาวิทยาลยั ชมุ ชนตาก 4. ผศ.นอ ย สุปงคลัด 5. นายสมศกั ดิ์ สีบุญเรือง 6. นายมงกุฎ จำนงคนิต ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย ประธานสภาวทิ ยาลัยชุมชนมกุ ดาหาร ประธานสภาวิทยาลยั ชมุ ชนหนองบัวลำภู 7. นายศานิตย นาคสขุ ศรี 8. นายเผด็จ นุยปรี 9. นายขนบ พูลผล ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนสระแกว ประธานสภาวทิ ยาลัยชมุ ชนอุทยั ธานี ประธานสภาวทิ ยาลัยชมุ ชนระนอง 10. นายธีระ อคั รมาส 11. นายกติ ติ กติ ติโชควัฒนา 12. รศ.สมเกียรติ พวงรอด ประธานสภาวทิ ยาลยั ชุมชนนราธวิ าส ประธานสภาวิทยาลยั ชุมชนยะลา ประธานสภาวทิ ยาลัยชุมชนปตตานี สถาบันวิทยาลัยชุมชน 27

Annual Report 2020 13 14 15 16 17 18 19 20 13. นายวรัตน แสงเจริญ 14. นายวรวุฒิ บญุ เพ็ญ 15. นายบญุ ธรรม เลิศสขุ เี กษม ประธานสภาวิทยาลัยชมุ ชนสตลู ประธานสภาวิทยาลยั ชมุ ชนสมุทรสาคร ประธานสภาวทิ ยาลัยชุมชนยโสธร 17. นายอมฤทธิ์ พลู สวัสดิ์ 18. นางสมุ ามาลย วิวรรธนดฐิ กุล 16. นายประพนั ธ วงศพ านิช ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนตราด ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนแพร ประธานสภาวิทยาลัยชมุ ชนพังงา 20. ผศ.จงเจตต พานชิ กลุ ประธานสภาวิทยาลัยชมุ ชนนาน 19. นายประเสรฐิ แกวเพ็ชร ประธานสภาวิทยาลัยชุมชนสงขลา อํานาจหนาท่ีสภาวิทยาลัยชุมชน : 1. กำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนนิ งานเพอ่ื ใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคข องวทิ ยาลยั และสอดคลอ งกบั นโยบายทส่ี ภาสถาบนั กำหนด 2. ใหความเห็นชอบแผนจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการของวิทยาลัย รวมทั้งแผนการพัฒนาชุมชน เพื่อสนองตอความตองการ และเสรมิ สรางองคความรขู องชมุ ชนใหเ ขมแขง็ 3. สง เสรมิ สนบั สนนุ และประสานความรว มมอื ระหวา งวทิ ยาลยั กบั ชมุ ชน สว นราชการ องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ สถาบนั ศาสนา องคก รทด่ี ำเนนิ งานวฒั นธรรม หรอื หนว ยงานอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ ง ในการจดั การศกึ ษาทง้ั ในประเทศ และตา งประเทศ เพอ่ื การพฒั นาวทิ ยาลยั 4. ระดมทุนและทรัพยากร เพ่อื สงเสริมการศกึ ษาของชมุ ชนในทองถ่นิ 5. ออกระเบียบและขอบงั คบั ของวทิ ยาลยั ตามทีส่ ภาสถาบันมอบหมาย 6. อนมุ ตั หิ ลกั สตู รและการเปด สอนหลกั สตู รฝก อบรมดา นวชิ าการหรอื ดา นวชิ าชพี ตามความตอ งการของทอ งถน่ิ ชมุ ชน และกลมุ อาชพี 7. อนมุ ัติการใหประกาศนียบัตร 8. สงเสรมิ และสนบั สนุนใหมีการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 9. ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของผอู ำนวยการวทิ ยาลยั และการดำเนนิ งานของวทิ ยาลยั เพอ่ื เสนอตอ สภาสถาบนั 10. แตง ตง้ั คณะทำงานหรอื บคุ คลหนง่ึ บคุ คลใด เพอ่ื พจิ ารณาและเสนอความเหน็ ในเรอ่ื งหนง่ึ เรอ่ื งใดหรอื มอบหมายใหป ฏบิ ตั กิ าร อยางหนึง่ อยา งใดอันอยูในอำนาจหนาทข่ี องสภาวทิ ยาลัย 11. ปฏิบตั หิ นาท่อี ่ืนตามท่สี ภาสถาบนั มอบหมาย 28 รายงานประจำปี 2563

ผบู ริหารสถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน 1. นายคมสัน คูสนิ ทรัพย ผอู ำนวยการวิทยาลัยชุมชนแมฮ องสอน รกั ษาราชการแทนผอู ำนวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน 1 2 34 5 67 8 9 10 11 12 2. นายนำชัย กฤษณาสกุล 3. นายชาญวิทย โตธนะคุณ 4. นายเจรญิ ชัย วงษจนิ ดา รองผูอำนวยการสถาบนั วิทยาลัยชุมชน รองผอู ำนวยการสถาบันวทิ ยาลัยชุมชน รองผูอำนวยการสถาบันวทิ ยาลัยชุมชน 5. นายคมสัน คสู ินทรัพย 6. นายวิชยั ชวนรักษาสัตย 7. นายอารกั ษ อนชุ ปรดี า ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนแมฮ อ งสอน ผูอำนวยการวทิ ยาลยั ชมุ ชนพิจิตร ผอู ำนวยการวิทยาลยั ชุมชนตาก 8. ผศ.วุฒนิ นั ท รามฤทธ์ิ 9. นายศศิพงษา จันทรสาขา 10. นายสายศิลป สายนื ผูอำนวยการวิทยาลยั ชมุ ชนบรุ ีรมั ย ผอู ำนวยการวทิ ยาลัยชุมชนมกุ ดาหาร ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนหนองบวั ลำภู 11. นายศิระพจต จรยิ าวฒุ กิ ลุ 12. นายอคั รวงศ บารมีธนเศรษฐ ผอู ำนวยการวิทยาลยั ชมุ ชนสระแกว ผอู ำนวยการวทิ ยาลยั ชมุ ชนอุทยั ธานี สถาบันวิทยาลัยชุมชน 29

Annual Report 2020 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 13. นายปรารมณ นาคบำรุง 14. นายยุทธนา พรหมณี 15. นายวชิ าพร ชนิ ประพัทธ ผูอำนวยการวทิ ยาลัยชุมชนระนอง ผอู ำนวยการวิทยาลัยชมุ ชนนราธิวาส ผอู ำนวยการวิทยาลยั ชุมชนยะลา 17. นางวรรณดี สุธาพาณชิ ย 18. นายพฒั นโ กศล หนสู มแกว 16. ผศ.ประยูร ดำรงรักษ ผูอำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตลู ผูอำนวยการวทิ ยาลัยชุมชนสมุทรสาคร ผูอำนวยการวทิ ยาลยั ชุมชนปต ตานี 20. นายจำรัส ขนาดผล 21. นางกรรณกิ า สภุ าภา ผอู ำนวยการวทิ ยาลัยชมุ ชนพังงา ผอู ำนวยการวิทยาลัยชุมชนตราด 19. นายชยั วิวัฒน วงศสวสั ด์ิ 23. นายนิยม ชูช่ืน 24. นายสุเมษ สายสูง ผอู ำนวยการวิทยาลยั ชุมชนยโสธร ผูอำนวยการวิทยาลยั ชุมชนสงขลา ผอู ำนวยการวิทยาลยั ชมุ ชนนาน 22. นายประทีป บนิ ชยั ผอู ำนวยการวทิ ยาลยั ชุมชนแพร 30 รายงานประจำปี 2563

องคคณะและบุคลากรในสถาบันวิทยาลัยชุมชน คณะกรรมการระดับประเทศ 30 คน สภาสถาบนั วิทยาลยั ชุมชน จาํ นวน 19 คน สภาวิชาการสถาบนั วิทยาลัยชมุ ชน จํานวน 11 คน (องคคณะไมนับรวมฝายเลขานุการ) คณะกรรมการระดับจังหวดั 600 คน สภาวิทยาลัยชุมชน แหง ละ 12 คน คณะกรรมการสง เสรมิ กจิ การวทิ ยาลยั ชมุ ชน แหง ละ 9 คน อนกุ รรมการวชิ าการวทิ ยาลัยชุมชน แหงละ 9 คน (องคค ณะไมนับรวมฝายเลขานกุ าร) บุคลากรประจํา 676 อัตรา ขา ราชการพลเรอื นในสถาบันอุดมศึกษา จํานวน 39 อัตรา ขา ราชการครู จํานวน 319 อัตรา พนักงานราชการ จาํ นวน 317 อตั รา ลูกจา งประจาํ จํานวน 1 อตั รา อาจารยพิเศษในสถาบันวิทยาลัยชุมชน ณ ภาคเรียนที่ 1/2563 จํานวน 1,471 คน เปนผูทรงคุณวุฒิ ผูประกอบอาชีพในชุมชนท่ีมี คุณสมบัติเปนไปตามมาตรฐานฯ อัตรากําลังบุคลากรสถาบันวิทยาลัยชุมชน 350 319 316 294 300 269 250 กรอบอัตรากาํ ลัง 50 มีคนครอง 200 ขาราชการครู อตั ราวา ง 150 100 110 23 50 39 31 8 ลูกจางประจํา พนกั งานราชการ 0 ขา ราชการพลเรือน ในสถาบันอดุ มศึกษา สถาบันวิทยาลัยชุมชน 31

Annual Report 2020 ลําดบั สาํ นักงานสถาบนั / ขา ราชการพลเรอื น ขาราชการครู ูลกจางประ ํจา พนกั งานราชการ อาจารยพิเศษ วทิ ยาลัยชุมชน ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา รวม กรอบ คนครอง วา ง กรอบ คนครอง วาง กรอบ คนครอง วา ง จํานวนคน 1 สํานักงานสถาบนั อตั รา อัตรา อตั รา 2 แมฮ องสอน 3 พจิ ติ ร 39 31 8 319 269 50 1 316 294 23 1,471 4 ตาก 5 บุรีรัมย 39 31 8 - - - 1 22 21 1 - 6 มุกดาหาร 7 หนองบัวลาํ ภู - - - 16 14 2 - 14 14 - 209 8 สระแกว 9 อุทัยธานี - - - 16 16 - - 21 21 - 90 10 ระนอง 11 นราธิวาส - - - 16 12 2 - 14 14 - 71 12 ยะลา - - - 16 15 1 - 14 14 - 115 13 ปตตานี 14 สตูล - - - 16 15 1 - 14 14 - 75 15 สมทุ รสาคร 16 ยโสธร - - - 16 15 1 - 14 14 - 44 17 พังงา 18 ตราด - - - 16 12 4 - 14 13 1 62 19 แพร 20 สงขลา - - - 16 16 - - 21 18 3 24 21 นา น - - - 16 15 1 - 14 13 1 37 - - - 16 12 4 - 14 11 3 80 - - - 16 11 5 - 14 14 - 153 - - - 16 10 6 - 14 12 2 94 - - - 16 15 1 - 14 14 - 71 - - - 16 12 4 - 14 12 2 38 - - - 15 12 3 - 14 14 - 96 - - - 16 14 2 - 14 12 2 52 - - - 16 10 6 - 14 14 - 36 - - - 16 15 1 - 14 14 - 22 - - - 16 13 3 - 14 14 - 60 - - - 16 15 1 - 14 11 3 42 ขอ มลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2563 32 รายงานประจำปี 2563

ผลการดำเนินงาน สถาบันวิทยาลัยชุมชน 33

Annual Report 2020 ผลการดําเนินงานดานงบประมาณ แผนงาน/ผลผลติ /โครงการ งปม. 2562 งปม. 2563 หนวย : ลานบาท เพิ่ม/ลด ผลการใชจาย รอยละ รวมทั้งหมด (หลังโอนเปลี่ยนแปลง) -76.0997 594.5969 93.70 แผนงานบุคลากรภาครัฐ 3.6430 252.2220 99.86 แผนงานพืน้ ฐาน 710.6490 634.5493 291.9652 88.39 248.9260 252.5690 -64.3897 394.7063 330.3166 - - - แผนงานพน้ื ฐานดา นการสรา งความสามารถในการ - - แขงขันของประเทศ โครงการวจิ ัยและพฒั นาเพอ่ื สรางองคค วามรู -- - -- หรอื งานสรา งสรรคเ พอ่ื พฒั นาการเรยี นการสอน แผนงานพื้นฐานดานการพัฒนาและเสริมสราง 330.3166 -64.3897 291.9652 88.39 ศักยภาพคน 394.7063 319.4874 383.7063 -64.2189 281.6111 88.14 ผลผลติ ผูร ับบรกิ ารการศกึ ษาในวิทยาลัยชมุ ชน 9.5000 - 9.0275 95.03 ผลผลิต ผลงานการใหบ ริการวชิ าการ 9.5000 1.3292 1.3266 99.80 ผลผลิต ผลงานทำนุบำรงุ ศิลปวฒั นธรรม 1.5000 - -0.1708 - แผนงานยทุ ธศาสตรพ ฒั นาการศกึ ษาเพอ่ื ความยง่ั ยนื 14.5067 -14.5067 - - โครงการสนับสนุนคา ใชจายในการจัดการศึกษา 14.5067 - -14.5067 - ตั้งแตระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน - 17.3986 แผนงานยทุ ธศาสตรส รา งความเสมอภาคทางการศกึ ษา - 16.0986 17.3986 17.1291 98.45 - 1.3000 16.0986 15.8396 98.39 โครงการสนบั สนนุ คา ใชจ า ยในการจดั การศกึ ษา 1.3000 1.2895 99.19 ตัง้ แตร ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเด็กปฐมวัย 34 รายงานประจำปี 2563

แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ งปม. 2562 งปม. 2563 หนวย : ลานบาท (หลังโอนเปลี่ยนแปลง) เพิ่ม/ลด ผลการใชจา ย รอยละ แผนงานยุทธศาสตรพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและ - 18.1288 18.1288 17.5009 96.54 การเรยี นรู - 16.1288 16.1288 15.6069 96.76 - 2.0000 2.0000 1.8941 94.70 โครงการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา 15.8637 -36.6463 เพอื่ ความสุขของชุมชน 52.5100 12.7120 -5.2880 15.5071 97.75 4.2400 -3.0906 12.3554 97.19 โครงการพฒั นาและสง เสรมิ การเรยี นรผู า น 8.4720 -2.1974 4.2333 99.84 กแผารนเงรายี นนบอรูอณนกไลานร -6.9115 8.1221 95.87 แผนงานบรู ณาการขบั เคลอ่ื นการแกไ ขปญ หาจงั หวดั 18.0000 - ชายแดนภาคใต 7.3306 - -6.9115 - - 10.6694 -- -2.1301 - โครงการพฒั นาการศกึ ษาในเขตพฒั นาพเิ ศษ 6.9115 -2.1301 - - เฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต 6.9115 - - - 2.1301 - - โครงการศกึ ษาและพัฒนาเพอ่ื สรางชมุ ชน 2.1301 ชายแดนใตต นแบบ - -- แผนงานบรู ณาการสรา งรายไดจ ากการทอ งเทย่ี ว กฬี า - -16.7502 -- และวัฒนธรรม 16.7502 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดาน -- การทอ งเที่ยว 3.1517 100.00 แผนงานบรู ณาการวิจยั และนวัตกรรม โครงการการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อ การสรา งองคความรพู ื้นฐานของประเทศ โครงการวจิ ยั และพฒั นาเพอ่ื สรา ง/สะสม องคความรทู ีม่ ศี ักยภาพ แผนงานบรู ณาการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและ การเรยี นรูใ หม คี ณุ ภาพเทาเทียมและท่วั ถงึ โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาเดก็ ปฐมวยั 1.3000 - -1.3000 โครงการพัฒนาเครือขายการเรียนรูนอก 15.4502 - -15.4502 หอ งเรยี น และการเรยี นรตู ลอดชีวติ ผานแหลงเรยี น รูในพ้ืนทีแ่ ละชมุ ชน แผนงานบรู ณาการพัฒนาพนื้ ที่ระดับภาค 8.7182 3.1517 -5.5665 1.0000 100.00 โครงการพฒั นากลมุ ทอ งเทย่ี วอารยธรรม - 1.0000 1.0000 1.2317 100.00 1.2317 -2.4865 ลานนาและกลมุ ชาตพิ ันธุ 3.7182 -3.0000 - - โครงการพัฒนาการผลติ สนิ คา เกษตรและ 3.0000 - -2.0000 2.0000 - 0.9200 - - การคาผลไมภาคตะวันออก 0.9200 0.9200 100.00 โครงการพัฒนาอาชพี และคุณภาพชวี ิตผมู ี - 0.2726 รายไดน อ ยเพอ่ื ลดความเหลอ่ื มลำ้ ทางสงั คม 0.2726 0.2726 100.00 โครงการยกระดับการทอ งเทีย่ วเชงิ ประเพณีวฒั นธรรม โครงการยกระดบั มาตรฐานบรกิ ารและสง เสริมธุรกิจตอเนื่องในแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียง ของภาค งบเงินอุดหนนุ : งบเบกิ จายแทนกันทีไ่ ดรับจากหนว ย งานอืน่ สถาบันวิทยาลัยชุมชน 35

Annual Report 2020 ผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2563 จำแนกตามหน่วยงาน วิทยาลัยชุมชน ผลการใชจายเงิน (ลานบาท) % ไดรับจัดสรร (แผน) ผลการเบิกจาย PO รวมทั้งหมด 37.7542 93.70 สำนกั งานสถาบนั 634.5493 594.5969 9.6520 94.22 รวม 20 วชช. 28.1022 93.48 1. แมฮองสอน 191.3697 180.2992 0.3611 98.23 2. พิจิตร 1.1042 97.09 3. ตาก 443.1796 414.2976 0.0500 99.70 4. บุรีรัมย 0.5096 97.28 5. มุกดาหาร 20.3953 20.0342 99.96 6. หนองบัวลำภู 45.4712 44.1497 - 100.00 7. สระแกว 16.4997 16.4497 - 99.50 8. อุทัยธานี 19.2535 18.7307 0.0800 84.54 9. ระนอง 17.7902 17.7839 5.0005 100.00 10. นราธิวาส 16.1813 16.1813 - 69.24 11. ยะลา 17.5486 17.4617 16.1301 90.81 12. ปตตานี 32.5218 27.4950 2.6017 97.85 13. สตูล 15.1272 15.1272 0.4990 100.00 14. สมุทรสาคร 52.4512 36.3154 - 97.05 15. ยโสธร 28.2974 25.6957 0.0500 99.89 16. พังงา 24.1370 23.6175 - 99.96 17. ตราด 18.1708 18.1708 - 99.75 18. แพร 14.7038 14.2698 0.0300 98.04 19. สงขลา 16.8927 16.8744 0.2377 96.92 20. นาน 15.5048 15.4991 0.8412 96.05 14.2786 14.2422 0.6071 14.6970 14.4088 27.6564 26.8049 15.6012 14.9856 * รวมวงเงินงบบุคลากรของขาราชการครูของ วชช. ที่ตั้งเบิกจากสวนกลาง และรวมกรอบวงเงินที่กันสำรองกรณี ฉุกเฉินหรือดำเนินงานสำคัญที่จำเปนเรงดวน 36 รายงานประจำปี 2563

รายงานผลการรับ-จ่ายเงินรายได้ ประจำปี 2563 จำแนกตามหน่วยงาน หนว ย : ลา นบาท วิทยาลัยชุมชน ยอดยกมา ยอดรวมรายรับ ยอดรวมรายจา ย ยอดคงเหลอื สงู ยอดคงเหลอื สทุ ธิ (ต่ำ) ยอดรวม 56.7883 25.2515 27.5551 54.4846 สำนักงานสถาบนั 3.9116 0.7737 1.8486 (2.3037) 2.8367 รวม 20 วชช. 52.8767 24.4778 25.7065 (1.0749) 51.6480 1. แมฮ องสอน 0.3980 0.4792 0.5082 (1.2288) 0.3690 2. พิจิตร 9.5290 2.3455 1.9238 (0.0290) 9.9507 3. ตาก 3.3307 0.9385 0.7933 0.4217 3.4760 4. บุรรี มั ย 7.3678 1.6602 1.6568 0.1452 7.3713 5. มกุ ดาหาร 0.9757 1.2575 0.9126 0.0034 1.3206 6. หนองบวั ลำภู 2.0535 1.2179 1.6361 0.3449 1.6353 7. สระแกว 1.3660 1.4788 1.8944 (0.4181) 0.9504 8. อุทยั ธานี 1.4035 0.7296 1.2963 (0.4156) 0.8368 9. ระนอง 1.6092 0.6679 1.0434 (0.5668) 1.2336 10. นราธวิ าส 2.5170 2.1450 1.8133 (0.3756) 2.8487 11. ยะลา 5.4636 1.6256 2.3121 0.3318 4.7771 12. ปต ตานี 3.5973 1.6167 1.5178 (0.6865) 3.6962 13. สตลู 3.1682 1.2187 0.8039 0.0989 3.5830 14. สมุทรสาคร 1.6527 0.6316 0.7679 0.4149 1.5164 15. ยโสธร 1.3350 1.7707 1.6387 (0.1363) 1.4670 16. พังงา 2.5743 0.5496 0.7684 0.1320 2.3555 17. ตราด 0.7349 1.2579 0.9586 (0.2188) 1.0342 18. แพร 1.0251 0.9459 0.9825 0.2992 0.9885 19. สงขลา 1.2532 1.3063 1.1543 (0.0366) 1.4053 20. นา น 1.5220 0.6348 1.3243 0.1521 0.8324 (0.6895) เปรียบเทียบการใช้จ่ายงบประมาณกับเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนการใชจาย หนวย : ลานบาท เงินรายได 3% ผลการใชจา ย (รวม PO) 634.5493 632.351 งบประมาณ 30.72 19.5865 เงินงบประมาณ 97% คิดเปนรอ ยละ 99.65 เงินรายได คิดเปนรอยละ 63.76 สถาบันวิทยาลัยชุมชน 37

Annual Report 2020 สถาบันวิทยาลัยชุมชน (หนวย : บาท) งบแสดงสถานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 2562 สินทรัพย หมายเหตุ 2563 67,986,761.20 สินทรพั ยห มนุ เวียน 23,125,750.29 5 70,946,723.81 1,344,020.52 เงินสดและรายการเทยี บเทาเงินสด 6 20,979,384.62 ลกู หนร้ี ะยะสน้ั 7 1,216,562.56 185,026.10 วัสดคุ งเหลอื 8 816,197.00 92,641,558.11 สนิ ทรัพยห มนุ เวียนอนื่ 573,865,237.24 รวมสินทรพั ยห มนุ เวยี น 93,958,867.99 3,175,655.93 สนิ ทรพั ยไมหมุนเวียน 9 606,642,244.57 577,040,893.17 ท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ สุทธิ 10 2,595,170.73 669,682,451.28 สินทรัพยไ มม ีตวั ตน รวมสินทรัพยไ มหมุนเวยี น 609,237,415.30 27,774,713.46 รวมสนิ ทรพั ย 703,196,283.29 6,270,282.77 หน้ีสิน 3,794.00 หนส้ี นิ หมุนเวยี น 34,048,790.23 เจาหนร้ี ะยะสน้ั 11 29,081,117.10 1,754,326.57 เงนิ รบั ฝากระยะสัน้ 12 9,097,561.90 2,300,000.00 หนีส้ นิ หมุนเวียนอ่นื 236.97 รวมหน้ีสินหมุนเวียน 38,178,915.97 553,593.00 หน้สี ินไมหมนุ เวยี น 4,607,919.57 เจาหนีเ้ งนิ โอนและรายการอดุ หนนุ ระยะยาว 13 1,467,868.64 38,656,709.80 เงนิ ทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว 14 2,300,000.00 631,025,741.48 เงนิ รบั ฝากระยะยาว 15 553,593.00 รวมหนีส้ ินไมห มุนเวยี น 4,321,461.64 53,243,649.14 รวมหน้ีสนิ 42,500,377.61 577,782,092.34 สินทรัพยส ทุ ธ/ิ สวนทุน 660,695,905.68 631,025,741.48 สินทรพั ยสุทธ/ิ สวนทนุ 53,243,649.14 ทนุ 607,452,256.54 รายไดส ูง /(ต่ำ) กวาคาใชจ า ยสะสม 660,695,905.68 รวมสนิ ทรัพยส ุทธิ/สวนทุน (นางสาวปารดา ศราธพนั ธุ) (นายนำชยั กฤษณาสกลุ ) นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ รักษาราชการแทนผอู ำนวยการสถาบันวิทยาลยั ชมุ ชน รักษาราชการแทนผูอำนวยการกองอำนวยการ 38 รายงานประจำปี 2563

สถาบนั วิทยาลยั ชุมชน (หนวย : บาท) งบแสดงผลการดำเนนิ งานทางการเงนิ สำหรับปีสิ้นสุดวันท่ี 30 กันยายน 2563 2562 697,513,986.71 รายได หมายเหตุ 2563 14,952,804.57 13,310,728.82 รายไดจากงบประมาณ 18 670,640,599.40 รายไดจากการขายสนิ คา และบรกิ าร 19 14,217,828.00 3,917,664.78 รายไดจ ากการอดุ หนุนและบรจิ าค 20 572,831,618.10 729,695,184.88 รายไดอ นื่ 21 3,479,421.99 240,826,137.15 รวมรายได 1,261,169,467.49 14,021,241.30 99,642,117.48 คาใชจา ย 228,429,073.74 คาใชจ า ยบคุ ลากร 22 254,616,540.11 43,979,156.23 คาบำเหน็จบำนาญ 23 13,792,208.42 20,178,943.06 คา ตอบแทน 24 90,973,097.53 50,577,519.88 คาใชสอย 25 198,637,097.89 คาวัสดุ 26 41,471,949.26 683,850.00 คาสาธารณปู โภค 27 20,229,011.99 158,414.14 คา เสอ่ื มราคาและคา ตัดจำหนาย 28 48,446,743.33 698,496,452.98 คาใชจ ายจากการอุดหนนุ และบรจิ าค 29 42,305.00 คาใชจ า ยอนื่ 30 669,282.95 - รวมคาใชจา ย 31,198,731.90 668,878,236.48 รายไดสูง /(ต่ำ) กวาคาใชจ า ยกอ นตน ทนุ ทางการเงนิ ตน ทุนทางการเงนิ - รายไดสูง /(ต่ำ) กวาคา ใชจายสทุ ธิ 592,291,231.01 (นางสาวปารดา ศราธพันธุ) (นายนำชยั กฤษณาสกุล) นกั วิชาการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ รกั ษาราชการแทนผูอ ำนวยการสถาบันวิทยาลยั ชมุ ชน รกั ษาราชการแทนผอู ำนวยการกองอำนวยการ สถาบันวิทยาลัยชุมชน 39

Annual Report 2020 ผลการดําเนนิ งานตามพันธกจิ การจัดการศกึ ษาและฝกอบรม พนั ธกจิ ดา นการจดั การศกึ ษา สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนมงุ จดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาผเู รยี นใหเ ปน กำลงั คนทม่ี คี วามรสู ำหรบั อนาคต มีสมรรถนะการเรียนรู พรอมปรับตัวเขากับโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและซับซอน มีความสามารถ สรางสรรค การเปลี่ยนแปลงดานบุคลิกภาพและลักษณะนิสัยที่จะรวมกับผูอื่นอยางมีคุณคา สรางสัมมาชีพ และมีสวนรวมสรางสรรค การเปลยี่ นแปลงชุมชนใหพ ัฒนาอยา งย่ังยนื และเรียนรตู ลอดชวี ติ การจดั หลกั สตู ร ไดแ ก หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) และหลกั สตู รประกาศนยี บตั ร วิชาชีพ (ปวช.) หลักสตู รประกาศนยี บตั ร (ระดับสถาบันวทิ ยาลยั ชุมชนและระดับวทิ ยาลยั ชมุ ชน) และหลักสูตรสัมฤทธิบตั ร ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ไดร บั จดั สรรงบประมาณภายใต 1 โครงการ 1 ผลผลติ คือ ผลผลิตผูร บั บริการการศึกษา ในวทิ ยาลยั ชมุ ชน วงเงนิ 321,125,500 บาท และโครงการสนบั สนนุ คา ใชจ า ยในการจดั การศกึ ษาตง้ั แตร ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้น พ้ืนฐาน วงเงิน 14,960,500 บาท ซ่งึ มีผลการดำเนินงานระดบั ผลผลติ ดังน้ี ตัวชว้ี ดั หนวยนับ เปาหมาย ผลการ คิดเปน ดำเนินงาน รอยละ การจัดการศึกษา ผลผลติ ผรู ับบรกิ ารการศึกษาในวิทยาลัยชุมชน คน เชงิ ปรมิ าณ : จำนวนนกั ศกึ ษาทสี่ ำเร็จการศึกษา คน 3,000 2,861 95.37 คน 8,000 7,927 99.09 ระดับอนปุ ริญญา/เทยี บเทา รอ ยละ 5,000 5,100 102.00 เชงิ ปรมิ าณ : จำนวนนกั ศกึ ษาระดับอนปุ ริญญา/ คน 70 83.88 119.83 เทยี บเทา ที่คงอยู รอยละ เชิงปริมาณ : จำนวนนกั ศึกษาระดับอนปุ รญิ ญา/ 1,600 2,094 130.88 100 100 100.00 เทยี บเทาทเี่ ขา ใหม เชงิ คณุ ภาพ : รอยละผสู ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั อนปุ รญิ ญา/เทยี บเทา จากวทิ ยาลยั ชุมชน สามารถศึกษาตอในระดบั ทส่ี งู ข้ึนหรอื ประกอบอาชพี หรอื พัฒนางานท่ีทำอยู โครงการสนบั สนุนคา ใชจายในการจดั การศกึ ษา ตั้งแตระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน เชิงปริมาณ : จำนวนนกั เรียนที่ไดรบั การสนบั สนนุ ตามโครงการ เชิงคณุ ภาพ : รอ ยละของคา ใชจ ายที่ผูปกครอง สามารถลดคาใชจายตามรายการ ที่ไดร ับการสนบั สนุน 40 รายงานประจำปี 2563

ผลการติดตามผสู าํ เร็จการศึกษา ผลการตดิ ตามผสู ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั อนปุ รญิ ญา/เทยี บเทา จากวทิ ยาลยั ชมุ ชนในปก ารศกึ ษา 2562 สามารถศกึ ษาตอ ในระดบั ทีส่ ูงข้นึ หรือประกอบอาชพี หรือพัฒนางานที่ทำอยู ในภาพรวม คดิ เปนรอยละ 83.88 ซึ่งสูงกวา เปา หมายทก่ี ำหนดรอ ยละ 70.00 ซึ่งมรี ายละเอียดจำแนกออก ดงั นี้ ผูสำเร็จการศึกษาห ัลก ูสตรอนุปริญญา 90 83.98 ผูสำเร็จการ ึศกษา 90 82.79 74.64 หลักสูตรประกาศ ีนย ับตร ิวชา ีชพ ้ัชนสูง (ปวส.) 80 80 70 70 60 53.25 60 53.85 50 39.61 50 40.85 40 40 30 30 20 20 10 6.88 10 0 0 นำความรูไป มงี านทำกอ น มรี ายไดเ พมิ่ การประยกุ ต นำความรูไป ไดงานทันที มรี ายไดเ พมิ่ การประยกุ ต ใชพ ัฒนางาน สำเสรจ็ การศกึ ษา หลงั สำเร็จ ความรทู ไ่ี ดไ ป ใชพ ฒั นางาน หลังจบการศกึ ษา หลงั สำเร็จ ความรูท ไ่ี ดไป การศึกษา ใชป ระโยชน การศกึ ษา ใชป ระโยชน ผลการติดตามผูสำเร็จการศึกษา 100 93.83 ผูสำเร็จการ ึศกษาหลัก ูสตรประกาศ ีนยบัตร 100 95.12 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สถา ับน ิวทยาลัยชุมชน จาก ิวทยา ัลย ุชมชน 3 แ หง 90 90 ไ ดแ ก สระแ กว ตาก และ ุมกดาหาร 80 80 68.75 70 71.79 70 60 การประยุกต 50 ความรทู ่ไี ดไป 60 40 ใชประโยชน 30 50 45 20 40 10 0 30 นำความรไู ป 20 ใชพ ฒั นางาน 7.01 มีรายไดเ พ่ิม 10 หลงั สำเร็จ การศึกษา 0 นำความรูไ ป มีงานทำกอ น การประยกุ ต ใชพ ฒั นางาน สำเสร็จการศกึ ษา ความรทู ี่ไดไ ป ใชป ระโยชน ูผสำเ ็รจการ ึศกษาห ัลก ูสตรประกาศ ีนย ับตร 80 ูผ ผานการ ฝกอบรมห ัลก ูสตรพัฒนาอา ีชพ 100 ิวทยา ัลย ุชมชน จาก ิวทยา ัลย ุชมชน 4 แ หง ห ืรอ ัพฒนา ุคณภาพชี ิวต ืคอ ระนอง หนอง ับวลำ ูภ ตราด ุมกดาหาร 70 69.05 98 97.40 60 56.14 96 50 การประยุกต 40 ความรูท ่ไี ดไป 94 30 ใชป ระโยชน 20 92 89.74 10 0 90 88.61 นำความรูไป 88 ใชพฒั นางาน 86 84 นำความรไู ป งานท่ีทำของผูผา น ยายภูมิลำเนา ใชพัฒนางาน หลักสูตรฝกอบรม เพ่อื ไปประกอบอาชีพ สว นใหญเปนงานเดิม หลงั จากฝกอบรม สถาบันวิทยาลัยชุมชน 41

Annual Report 2020 การวจิ ัยและพัฒนา พนั ธกจิ ดา นการวจิ ยั สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนมงุ มน่ั พฒั นากระบวนการวจิ ยั เพอ่ื สรา งความรคู วามเขา ใจใหมอ ยา งเปน ระบบ ทค่ี รอบคลุมถึงการวจิ ยั เพือ่ พฒั นา การวิจัยสถาบัน การวิจยั ทางการศึกษา การวิจัยการเรยี นรู การวจิ ยั ชมุ ชน การวิจัยเพอ่ื พัฒนา นวตั กรรมหรอื การสรา งสรรคส ง่ิ ใหม การวจิ ยั จากการปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในพน้ื ท่ี และการวจิ ยั ดา นภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ และภมู ปิ ญ ญาไทย รวมทง้ั การเสรมิ สรา งศกั ยภาพการวจิ ยั ของบคุ ลากรและชมุ ชน โดยใชร ะเบยี บวธิ วี จิ ยั ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได และคำนงึ ถงึ การนำผลงานการวจิ ยั องคค วามรู และนวัตกรรมทม่ี ีอยไู ปตอยอด หรอื นำไปใชใ หเกดิ ประโยชนตอ ชมุ ชนและทอ งถิ่น สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนไดร บั งบประมาณดา นการวจิ ยั จากสำนกั งานคณะกรรมการสง เสรมิ วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม ใหกับวิทยาลัยชุมชนสระแกว ยโสธร และนาน วงเงิน 2,163,600 บาท และสถาบันวิทยาลัยชุมชนไดสนับสนุน สงเสริมงานวิจัย โดยจดั สรรประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงานดา นการพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพคน ผลผลติ ท่ี 3 : ผลงานการใหบ รกิ าร วชิ าการ งบรายจา ยอน่ื คา ใชจ า ยสำหรบั โครงการใหบ รกิ ารวชิ าการแกช มุ ชน สำหรบั การทำโครงการวจิ ยั ชมุ ชน เพอ่ื พฒั นานวตั กรรม องคความรู คุณภาพชีวิตของคนในชุมชน หรือวิจัยพัฒนาเพื่อตอยอดยกระดับงานบริการวิชาการของสถาบันวิทยาลัยชุมชน ใหกบั วทิ ยาลัยชมุ ชน 16 แหง ดำเนินโครงการวิจยั จำนวน 21 โครงการ การวิจัย ตวั ช้ีวดั หนวยนับ เปาหมาย ผลการ คดิ เปน ดำเนนิ งาน รอ ยละ แผนงานบรู ณาการวิจยั และนวัตกรรม โครงการ 3 โครงการพฒั นาวทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม รอยละ 80 3 100.00 เชงิ ปรมิ าณ : จำนวนโครงการวจิ ยั ทีแ่ ลวเสรจ็ โครงการ 21 100 125.00 เชิงคณุ ภาพ : รอยละจำนวนผลงานวิจัยทม่ี ี 21 100.00 การนำไปใชป ระโยชน ผลผลิต ผลงานการใหบริการวชิ าการ โครงการใหบ ริการวิชาการแกชมุ ชน เชงิ ปรมิ าณ : จำนวนโครงการวจิ ยั ชมุ ชนทแ่ี ลว เสรจ็ 42 รายงานประจำปี 2563

การบรกิ ารวชิ าการและเสริมสรา งการเรียนรูตลอดชวี ติ การดำเนนิ การตามพนั ธกจิ บรกิ ารวชิ าการเพอ่ื พฒั นาชมุ ชน สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนมงุ มน่ั การบรกิ ารวชิ าการเพอ่ื การมี สวนรวมสรางสรรคคุณภาพการเรียนรูและศักยภาพกำลังคนในชุมชน ใหมีสมรรถนะในการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตพื้นฐาน ทักษะอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเนนสมรรถนะดานการใชเทคโนโลยีดิจิทัล การบริหารเงินและการลงทุน ดานเศรษฐกิจ สรา งสรรค ดา นสขุ ภาวะ ดา นภาษา และดา นอน่ื ๆ ตามศกั ยภาพของพน้ื ท่ี บรกิ ารวชิ าการตามความตอ งการของชมุ ชน ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ไดรบั จดั สรรงบประมาณภายใตผลผลิตผลงานการใหบ รกิ ารวิชาการ จำนวน 1 โครงการ คอื โครงการพัฒนาคณุ ภาพ การจัดการศกึ ษาเพื่อเสรมิ สรา งศกั ยภาพคนและชมุ ชนตามนโยบายประเทศไทย 4.0 วงเงิน 9,500,000 บาท โครงการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สรา งศกั ยภาพคนและชมุ ชนตามนโยบายประเทศไทย 4.0 เปน โครงการ ทใ่ี หค วามรดู า นวชิ าการและอาชพี โดยใชร ปู แบบการฝก อบรมหรอื การจดั การเรยี นรู ผา นกจิ กรรมการบรกิ ารวชิ าการทเ่ี ปน หลกั สตู ร ฝกอบรมเพื่อการพัฒนาอาชีพ และกิจกรรมการบริการวิชาการที่เปนการสงเสริมการจัดการความรูเพื่อเสริมสรางความเขมแข็ง ชมุ ชน เพอ่ื พฒั นาทกั ษะและเสรมิ สรา งประสบการณด า นคณุ ภาพชวี ติ ตามความตอ งการของปจ เจกบคุ คลและประชาชนในลกั ษณะ ของการตอบสนอบทร่ี วดเรว็ และสอดคลอ งตามนโยบายประเทศไทย 4.0 เพอ่ื บรกิ ารวชิ าการแกช มุ ชนภายนอกสถาบนั การศกึ ษา และบรกิ ารบคุ คลภายนอกทเ่ี ขา มาใชบ รกิ ารในสถาบนั การศกึ ษา มเี ปา หมายการดำเนนิ การ คอื จำนวนผรู บั บรกิ ารวชิ าการ 8,000 คน และรอ ยละ 80 ของผรู ับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจตอการเขา รว มโครงการ ซึ่งมีผลการดำเนนิ งานระดับผลผลติ ดงั นี้ ผลผลติ : ผลงานการใหบ รกิ ารวชิ าการ ตัวชี้วดั หนวยนบั เปา หมาย ผลการ คดิ เปน ดำเนนิ งาน รอ ยละ โครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพอ่ื เสริมสรางศักยภาพคนและชุมชนตามนโยบายประเทศไทย 4.0 เชงิ ปริมาณ : จำนวนผเู ขา รบั บริการ คน 8,000 12,297 153.71 หลักสูตรฝกอบรม คน - 9,986 - โครงการบริการวชิ าการ คน - 2,311 - เชงิ คณุ ภาพ : รอ ยละความพงึ พอใจของผูรับบริการ รอ ยละ 80 87.68 109.60 ผลการดำเนินงานในป พ.ศ. 2563 ใหบริการ 2,311 คน 9,986 คน ทางวิชาการผานกิจกรรมหลักสูตรฝกอบรมเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิตพื้นฐาน ทักษะอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ผูรับบริการหลักสูตรฝกอบรม มผี รู บั บรกิ าร 9,986 คน และใหบ รกิ ารทางวชิ าการผา นการทำ ผรู บั บรกิ ารโครงการบรกิ ารวชิ าการ โครงการบริการวิชาการ มีผูรับบริการ 2,311 คน รวมทั้งสิ้น 12,297 คน คดิ เปน รอ ยละ 153.71 ของเปา หมาย และผรู บั บรกิ าร มคี วามพงึ พอใจ รอ ยละ 87.68 สถาบันวิทยาลัยชุมชน 43

Annual Report 2020 ผลการดาํ เนนิ งานโครงการนโยบายภายใตแผนงานบรู ณาการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 สถาบันวิทยาลัยชุมชนไดดำเนินโครงการเชิงนโยบาย 3 แผนงานบูรณาการ คือ แผนงาน บูรณาการขับเคลื่อนการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต แผนงานบูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู ใหม คี ณุ ภาพเทา เทยี มและทว่ั ถงึ และแผนงานบรู ณาการพฒั นาพน้ื ทร่ี ะดบั ภาค มผี ลการดำเนนิ งานระดบั ผลผลติ /โครงการ ดงั น้ี แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต ตวั ช้วี ดั หนว ยนับ เปาหมาย ผลการ คดิ เปน ดำเนินงาน รอ ยละ โครงการสง เสรมิ การอยรู วมกนั อยา งสนั ตขิ องสงั คมพหวุ ฒั นธรรมในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต เชิงปริมาณ : จำนวนนกั ศึกษา ประชาชน คน 3,200 6,231 194.72 และภาคีเครือขายท่เี ขารว มโครงการ สังคมพหวุ ัฒนธรรม โครงการสนบั สนนุ บทบาทวทิ ยาลยั ชมุ ชนในการสง เสรมิ อาชพี ในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต เชิงปรมิ าณ : จำนวนนกั ศึกษาและประชาชน คน 2,180 3,781 173.44 ในพ้ืนที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใต ไดร บั การพฒั นาทกั ษะอาชีพ 1.1 โครงการสงเสริมการอยูรวมกันอยางสันตขิ องสังคมพหุวฒั นธรรม ในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต โครงการสงเสริมการอยูรวมกันอยางสันติของสังคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ไดรับงบประมาณ หนวย : คน หลังโอนเปลี่ยนแปลง วงเงิน 4,240,000 บาท มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริม ใหน กั ศกึ ษา ประชาชนในพน้ื ท่ี 4 จงั หวดั ชายแดนภาคใตไ ดม โี อกาสแลกเปลย่ี น 7000 6,231 เรียนรูวัฒนธรรม อาชีพ และความเปนอยูของผูคนในสังคมตางวัฒนธรรม 6000 ไดร บั ประสบการณต รงและเรยี นรจู ากการปฏบิ ตั ใิ นชมุ ชนเขม แขง็ โดยเฉพาะ 5000 การปลูกฝงเชิงคุณธรรม จริยธรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน ใหรูรักสามัคคี และมี 4000 ทัศนคติเชิงบวกตอสถาบันชาติ ศาสน และพระมหากษัตริย มีเปาหมาย ดำเนินการคือนักศึกษาประชาชนและภาคีเครือขาย 4 จังหวัดชายแดน 3,200 ภาคใตท เ่ี ขา รว มโครงการ จำนวน 3,200 คน การเรยี นรใู หม คี ณุ ภาพเทา เทยี ม 3000 และทว่ั ถงึ และแผนงานบรู ณาการพฒั นาพน้ื ทร่ี ะดบั ภาค มผี ลการดำเนนิ งาน 2000 ระดับผลผลิต/โครงการ ดงั น้ี 1000 ผลการดำเนินงานในป พ.ศ. 2563 มีจำนวนนักศึกษาและ ประชาชน ในพน้ื ทว่ี ทิ ยาลยั ชมุ ชน 4 จงั หวดั ชายแดนภาคใตเ ขา รว มโครงการ 0 จำนวน 6,231 คน คดิ เปน รอยละ 194.72 ของเปาหมาย เปาหมาย จำนวนผูเขารวม 44 รายงานประจำปี 2563

1.2 โครงการสนบั สนนุ บทบาทวทิ ยาลัยชุมชนในการสงเสริมอาชพี ในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต หนวย : คน 3,781 โครงการสนบั สนนุ บทบาทวทิ ยาลยั ชมุ ชนในการสง เสรมิ อาชพี ในเขตพฒั นา จำนวนผูเขารวม พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ไดรับงบประมาณวงเงิน 8,472,000 บาท 4,000 มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื สง เสรมิ และสนบั สนนุ วทิ ยาลยั ชมุ ชนใหเ ปน กลไกในการจดั การศกึ ษา 3,500 เพอ่ื สรา งหรอื พฒั นาทกั ษะอาชพี และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ทส่ี อดคลอ งกบั ความตอ งการ 3,000 ของชมุ ชนในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต มเี ปา หมายดำเนนิ การ คือนักศึกษาหรือประชาชนในพื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนภาคใตที่เขารวมโครงการ 2,500 2,180 จำนวน 2,180 คน 2,000 ผลการดำเนนิ งานในป พ.ศ. 2563 มนี กั ศกึ ษาหรอื ประชาชนในพน้ื ท่ี 4 จงั หวดั 1,500 ชายแดนภาคใตท เ่ีขา รว มโครงการ จำนวน 3,781 คน คดิ เปน รอ ยละ 173.44 ของเปา หมาย 1,000 โดยรอยละ 80 ของผูผานการฝกอบรมสามารถนำความรู ทักษะ และประสบการณ ไปประกอบอาชพี และพัฒนางานท่ที ำอยู 500 0 เปาหมาย แผนงานยุทธศาสตรสรา งความเสมอภาคทางการศึกษา ตัวชี้วดั หนว ยนบั เปาหมาย ผลการ คิดเปน ดำเนนิ งาน รอ ยละ โครงการพัฒนาศักยภาพเดก็ ปฐมวยั คน เชงิ ปรมิ าณ : จำนวนเด็กปฐมวัยทไ่ี ดร บั การพัฒนา 400 1,028 257.00 โครงการพัฒนาศกั ยภาพเดก็ ปฐมวัย โครงการพัฒนาศักยภาพเด็กปฐมวัย มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยใชแหลงการเรียนรูในชุมชนเปนฐาน โดยการมสี ว นรว มของชมุ ชน และรวบรวมองคค วามรสู ำหรบั นำไปขยายผลใหก บั ชมุ ชนอน่ื นำไปประยกุ ตใ ช เปา หมาย จำนวนเดก็ ปฐมวยั ทีไ่ ดรบั การพัฒนา 400 คน กจิ กรรมการดำเนนิ งานตามโครงการ อาทิ ทักษะสมองเพื่อวิชิตที่สำเร็จ EF (Executive Functions) : ใชหนังสือนิทานเพื่อการพัฒนาทักษะ EF ของเด็กปฐมวัย หลักสูตรบูรณาการผาทอพื้นเมืองอุทัยธานี (Waldorf) บูรณาการ รวมกับ STEM และรูปแบบการจัดประสบการณก ารเรยี นรแู บบทวิภาษา เปน ตน ผลการดำเนินงานในป พ.ศ. 2563 มจี ำนวนเด็กปฐมวยั ท่ไี ดรับการพัฒนา จำนวน 1,028 คน คิดเปน รอ ยละ 257.00 ของเปา หมาย ผลสมั ฤทธทิ์ ีไ่ ดจากโครงการ คอื เด็กปฐมวัยไดร ับการพัฒนาอยา งถูกตอ ง และเหมาะสมกับวัย ทำใหเด็กเตบิ โตข้ึนมา มคี ณุ ภาพและเปน กำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศตอไป สถาบันวิทยาลัยชุมชน 45

Annual Report 2020 แผนงานบูรณาการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู ตวั ช้วี ัด หนว ยนับ เปาหมาย ผลการ คิดเปน ดำเนนิ งาน รอยละ โครงการจดั การความรูเพอ่ื เสริมสรางความสขุ และความเขม แข็งของชมุ ชน 8,000 เชงิ ปรมิ าณ : จำนวนประชาชนทไ่ี ดร บั การพฒั นาศกั ยภาพ คน 6,000 10,276 128.45 ที่สอดคลอ งกับบรบิ ทท่ีเปลี่ยนแปลง 8,926 148.77 โครงการบทเรยี นออนไลนเพอ่ื ชมุ ชน เชิงปรมิ าณ : จำนวนนักศึกษา และประชาชนทไ่ี ดรับ คน การสง เสรมิ การเรยี นรผู า นการเรยี นออนไลน 3.1 โครงการจดั การความรเู พอ่ื เสรมิ สรา งความสุขและความเขมแขง็ ของชุมชน โครงการขบั เคล่อื นการจัดการศึกษาเพื่อความสุขของชมุ ชน เปนโครงการทดี่ ำเนินการตอเนอื่ งในสว นของแหลง เรียนรู และการจดั การศกึ ษาหลกั สตู รฝก อบรมเพอ่ื สรา งอาชพี และการมงี านทำ โดยมงุ เนน หลกั สตู รตามความตอ งการของชมุ ชน และกจิ กรรม สง เสริมการจดั การความรเู พื่อเสรมิ สรางความเขม แข็งชมุ ชนในลกั ษณะเชงิ พืน้ ที่ (Area-based) โดยตัง้ เปาหมายวา จะมปี ระชาชน ในจงั หวดั ทว่ี ทิ ยาลยั ชมุ ชนตง้ั อยู 20 แหง ไดร บั การพฒั นาศกั ยภาพทส่ี อดคลอ งกบั บรบิ ททเ่ี ปลย่ี นแปลง ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563 วทิ ยาลยั ชมุ ชนทร่ี ว มดำเนนิ การทง้ั 20 แหง โดยมงุ เนน เกย่ี วกบั การเปน แหลง ความรใู นชมุ ชน โดยมกี ารพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอน การฝก อบรม พรอ มทง้ั ใหบ รกิ ารความรดู า นตา ง ๆ โดยมผี รู บั บรกิ ารวชิ าการในการจดั การความรู และการสรา งความเขม แขง็ ใหก บั ชมุ ชนในลักษณะเชิงพนื้ ที่ (Area-based) และลกั ษณะโครงการ (Project-based) ผลการดำเนนิ งานในป พ.ศ. 2563 มจี ำนวนประชาชนทีไ่ ดร ับการพัฒนาศักยภาพทส่ี อดคลองกับบรบิ ทท่เี ปลีย่ นแปลง พัฒนา จำนวน 10,276 คน คิดเปน รอ ยละ 128.45 ของเปา หมาย ผลสมั ฤทธท์ิ ไ่ี ดจ ากโครงการ คอื ประชาชนในชมุ ชน 20 ชมุ ชน จำนวนไมน อ ยกวา 8,000 คน ไดม สี ว นรว มทำแผนแมบ ท ชมุ ชน 20 แผน และสรา งองคค วามรรู ะดบั ชมุ ชน 20 เรอ่ื ง และไดอ บรมองคค วามรทู ห่ี ลากหลาย ตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี ทำใหส ามารถ นำความรู ทไ่ี ดร บั ไปตอ ยอดผลติ ภณั ฑ หรอื สรา งอาชพี ใหม ทำใหเ กดิ รายไดเ พม่ิ ขน้ึ ตามความตอ งการของตนเอง และนำความรนู น้ั ไปใชในการพัฒนาตนเอง ยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของตนเอง 3.2 โครงการบทเรียนออนไลนเ พ่อื ชมุ ชน โครงการพฒั นาและสง เสรมิ การเรยี นรผู า นการเรยี นออนไลน มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื สง เสรมิ กจิ กรรมการเรยี นรผู า นการเรยี น ออนไลนร ปู แบบวทิ ยาลยั ชมุ ชนในรปู แบบทห่ี ลากหลาย ใหแ กก ลมุ เปา หมายใหม คี วามรแู ละทกั ษะในการประกอบอาชพี หรอื การ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สามารถนำไปใชใ นการสรา งงาน สรา งรายไดแ ละพง่ึ พาตนเองได และพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ และผลติ สื่อการเรยี นรู และการจัดการระบบการเรียนออนไลนโดยนำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาชว ยในการจัดการเรียนการสอนทกุ ประเภท หลกั สูตรของวทิ ยาลัยชุมชนไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ผลการดำเนนิ งานในป พ.ศ. 2563 มจี ำนวนนกั ศกึ ษา และประชาชนทไ่ี ดร บั การสง เสรมิ การเรยี นรผู า นการเรยี นออนไลน จำนวน 8,926 คน คิดเปน รอยละ 148.77 ของเปา หมาย ผลสัมฤทธิ์ที่ไดจากโครงการ คือ นักศึกษาและประชาชนที่มีการเรียนรูผานการเรียนออนไลนของวิทยาลัยชุมชน จำนวน 8,926 คน ไดรับการสงเสริม การเรียนรูตลอดชีวิตผานบทเรียนออนไลน สามารถนำไปใชในการสรางงาน สรางรายได และพึ่งพาตนเองได 46 รายงานประจำปี 2563

แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค ตวั ชี้วัด หนวยนับ เปา หมาย ผลการ คิดเปน ดำเนินงาน รอ ยละ โครงการพฒั นาการผลิตสนิ คา ดา นการเกษตรภาคตะวนั ออก 5 10 200.00 เชิงปรมิ าณ : จำนวนตนแบบนวัตกรรมอาหาร ตนแบบ 297.50 และสนิ คาเกษตร โครงการพฒั นากลุมทอ งเท่ยี วอารยธรรมลา นนาและกลุม ชาตพิ นั ธุ 161.67 เชงิ ปรมิ าณ : จำนวนผเู ขารับการอบรมดา น คน 200 595 การทองเทย่ี วกลุมชาตพิ ันธุ โครงการยกระดบั มาตรฐานบรกิ ารและสง เสริมธรุ กจิ ตอเนือ่ งในแหลง ทองเท่ียวที่มีช่อื เสยี งของภาค เชิงปริมาณ : จำนวนผเู ขา อบรมเพอื่ ยกระดบั คน 300 485 การทอ งเทีย่ วของภาค 4.1 โครงการพฒั นาการผลิตสนิ คา ดานการเกษตรภาคตะวันออก โครงการพฒั นาการผลติ สนิ คา ดา นการเกษตรภาคตะวนั ออก มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื พฒั นาตน แบบผลติ ภณั ฑส นิ คา เกษตรจาก ชุมชน และสงเสริม ใหมีการพัฒนาอาชีพและของประชาชนกลุมเปาหมายในชุมชนอยางตอเนื่องตลอดชีวิต เปาหมาย จำนวน ตนแบบนวตั กรรมอาหารและสนิ คา เกษตร 5 ตนแบบ ดำเนนิ การในพน้ื ทข่ี องวทิ ยาลยั ชมุ ชนตราด มผี ลการดำเนนิ งานในป พ.ศ. 2563 จะมงุ เนน ทก่ี ารใหค วามสำคญั กบั ชมุ ชน และการเสริมสรางศักยภาพในการแปรรูปภาคการเกษตรในชุมชนใหเปนผลิตภัณฑตนแบบ เพื่อพัฒนาตนแบบผลิตภัณฑสินคา เกษตรจากชมุ ชน สง เสรมิ ใหม กี ารพฒั นาอาชพี ของประชาชนสกู ลมุ เปา หมายในชมุ ชนอยา งตอ เนอ่ื งตลอดชวี ติ ชมุ ชนมรี ายไดเ สรมิ มีความสามัคคี มีความเขมแข็ง และมีผลิตภัณฑตนแบบในชุมชนอีกทั้งยังเปนการประชาสัมพันธชุมชนดวย มีตนแบบผลิตภัณฑ ชมุ ชน นวตั กรรมอาหารและสนิ คา เกษตร จำนวน 10 ตน แบบ จากเปา หมาย 5 ตน แบบ และมจี ำนวนผรู บั บรกิ ารดา นการผลติ สนิ คา ดา นการเกษตรภาคตะวันออก 300 คน ผลสัมฤทธิ์ที่ไดจากโครงการ คือ ตนแบบอยางนอย 10 ตนแบบ มีการรับรองมาตรฐาน และสามารถนำไปฝกอบรม เพอ่ื สรา งมลู คา เพิม่ ทางการเกษตรใหกับเกษตรกรในภาคตะวันออก สถาบันวิทยาลัยชุมชน 47

Annual Report 2020 4.2 โครงการพฒั นากลุมทอ งเทย่ี วอารยธรรมลา นนาและกลมุ ชาตพิ นั ธุ หนวย : คน 595 โครงการพัฒนากลุมทองเที่ยวอารยธรรมลานนาและกลุมชาติพันธุ มีวัตถุประสงค เพอ่ื ศกึ ษาวถิ ชี วี ติ ภมู ปิ ญ ญาดา นวฒั นธรรมประเพณปี ระจำปข องกลมุ 700 ชาตพิ นั ธุ จำนวน 6 กลมุ ไดแ กก ลมุ ชาตพิ นั ธกุ ะเหรย่ี ง มง อาขา ลาหู ละเวอื ะ และไทใหญ เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวที่มีความเปนเอกลักษณของชาติพันธสูสังคมภายนอกผาน 600 ปฏทิ นิ วฒั นธรรมประเพณปี ระจำปข องกลุมชาติพันธุในรูปแบบสื่อสรางสรรคประเภท ตาง ๆ และเพื่อสงเสริมอาชีพภูมิปญญาและผลิตภัณฑชุมชนที่สามารถรองรับดาน 500 การทองเที่ยว ของกลมุ ชาตพิ นั ธุ ของจงั หวดั แมฮ อ งสอน 400 โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดแมฮองสอน มผี เู ขา รบั การอบรมดา นการทอ งเทย่ี วกลมุ ชาตพิ นั ธุ จำนวน 595 คน จากเปา หมาย 200 คน 300 ผลสมั ฤทธท์ิ ไ่ี ดจ ากโครงการ คอื ผเู ขา รบั การอบรมดา นการทอ งเทย่ี วกลมุ 200 200 ชาตพิ นั ธุ สามารถนำความรจู ากการฝก อบรม และปฏทิ นิ วฒั นธรรมประเพณปี ระจำป ไปใชพ ฒั นาผลติ ภณั ฑก ารทอ งเทย่ี ว อยา งนอ ย 10 ผลติ ภณั ฑ และรปู แบบการทอ งเทย่ี ว 100 ทำใหม รี ายไดเ พ่มิ ขนึ้ รอ ยละ 20 และชุมชนมรี ายไดเ พิ่มขึ้น รอ ยละ 10 0 เปาหมาย จำนวนผูเขารวม 4.3 โครงการยกระดบั มาตรฐานบรกิ ารและสง เสริมธรุ กจิ ตอ เนอื่ ง ในแหลงทองเที่ยวที่มชี อ่ื เสียงของภาค โครงการยกระดบั มาตรฐานบรกิ ารและสง เสรมิ ธรุ กจิ ตอ เนอ่ื งในแหลง ทอ ง 600 หนวย : คน เทย่ี วทม่ี ชี อ่ื เสยี งของภาคมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื เปน ตน แบบเผยแพรส ง เสรมิ ความรคู วาม 500 485 เขาใจในวัฒนธรรมพน้ื เมืองจงั หวัดระนองอยางครบวงจรต้งั แตอดตี จนถงึ ปจ จุบนั โดย 400 300 ยึดวิถีชีวิตดั้งเดิมพัฒนาอยางเรียบงายและยั่งยืน และ เพื่ออนุรักษ และสืบสาน 300 วัฒนธรรมพื้นเมืองจังหวัดระนองดานตางๆ เพื่อใหนักเรียน นักศึกษา เยาวชน และ 200 เปาหมาย จำนวนผูเขารวม ประชาชนในจงั หวดั ไดเ รยี นรวู ฒั นธรรม และเกดิ ความรกั หวงแหนทอ งถน่ิ แหลง กำเนดิ 100 ของตน ผา นกิจกรรมหลัก 3 กจิ กรรม ดังนี้ กิจกรรมพฒั นายกระดับผลติ ภัณฑช ุมชน เพอ่ื เสรมิ สรา งมลู คา เศรษฐกจิ สรา งสรรค กจิ กรรมสง เสรมิ วฒั นธรรมการแตง กายพน้ื เมอื ง 0 จงั หวดั ระนอง และกจิ กรรมสบื สานศลิ ปวฒั นธรรมอาหารพน้ื เมอื งจงั หวดั ระนอง โดย ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ดำเนนิ การในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ระนอง มผี เู ขา อบรมเพอ่ื ยกระดบั การทอ งเท่ียวของภาค 485 คน จากเปา หมาย 300 คน ผลสัมฤทธิ์ที่ไดจากโครงการ นักเรียน นักศึกษา เยาวชน และประชาชน ในจังหวัด ไดเรียนรูวัฒนธรรมดานการแตงกาย อาหารพื้นเมือง ผลิตภัณฑพื้นเมือง และวถิ ชี ีวิตทีเ่ กี่ยวขอ งอื่นๆ ในยคุ อดีตของจังหวัดระนอง 48 รายงานประจำปี 2563

การทาํ นบุ ํารงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม การดำเนนิ งานตามพนั ธกจิ ดว ยการทำนบุ ำรงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรมของสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ภายใตผลผลิตผลงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม วงเงิน 1,500,000 บาท มีวัตถุประสงคเพื่อสรางองคความรูดานศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทส่ี ามารถยกระดบั สเู ศรษฐกจิ สรางสรรค ซึ่งมผี ลการดำเนนิ งานระดบั ผลผลิต ดงั น้ี ผลงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตวั ชว้ี ดั หนวยนบั เปา หมาย ผลการ คดิ เปน ดำเนนิ งาน รอ ยละ ผลผลติ ผลงานทำนบุ ำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรม เชิงปรมิ าณ : จำนวนนกั ศกึ ษา และประชาชน คน 5,000 6,141 122.82 ที่รับบริการโครงการจดั การความรู รอ ยละ 80 100 125.00 ดานศลิ ปวฒั นธรรมและภมู ปิ ญญา เชิงคุณภาพ : รอยละของโครงการทบ่ี รรลผุ ล ตามวตั ถุประสงคของโครงการ สถาบันวิทยาลัยชุมชน 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook