Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประถม

ประถม

Published by titirat.1990boontip, 2021-12-02 04:17:47

Description: ประถม

Search

Read the Text Version

บทเรยี นออนไลนท่ี 5 298 298 รายวชิ าการอา นเพ่ือความเขาใจ (ทร02009) ประถม เฉลยกจิ กรรมที่ 5 เร่ือง เทคนิคการอานเรว็ 1. จงอธบิ ายเทคนิคการอา นเรว็ และประโยชนจากการอานเพ่อื ความเขาใจ ตอบ เทคนคิ และวธิ ีการอานใหเขาใจและจาํ ไดม ากข้ึน 1. อานบทน้นั ผา นๆกอ น ดยู อหนาแรก และยอหนาสุดทา ย 2. ต้งั คาํ ถามเก่ียวกบั หวั ขอของคุณ ซง่ึ อาจเปน ส่งิ ที่คณุ สงสัยอยูแลว 3. การมคี ําถามในใจเวลาอา น จะทาํ ใหคุณโฟกสั จบั ใจความท่ีสําคญั ไดดขี น้ึ 4. นึกในใจวาคุณอา นอะไรไปแลวบา ง 5. ทบทวนสง่ิ ที่ไดอ า นไปแลว

บทเรยี นออนไลนที่ 5 299 299 รายวชิ าการอานเพอ่ื ความเขา ใจ (ทร02009) ประถม แบบทดสอบหลงั เรยี น เรื่อง เทคนิคการอานเรว็ ช่ือ-นามสกุล………………………………………รหสั นกั ศึกษา………………………………… คําชแี้ จง ใหผ เู รยี นคาํ ตอบทถ่ี ูกตองทส่ี ดุ จํานวน 5 ขอ (5 คะแนน) (ใชข อความตอ ไปน้ที ําขอ 1-3) 4. นักศึกษามีคดิ อยา งไรกบั คาํ วา “รสู ่งิ ใดไมสู “มคี วามรอู ยูกบั ตัวกลวั อะไร รวู ชิ า รรู ักษาตวั รอดเปน ยอดดี” ชวี ติ ไมป ลดปลงคงไดด ”ี (สุนทรภู) ก. ขยัน 1. ขอ ความนเี้ นน ความสาํ คัญเรื่องใด ข. เมตตา ก. ชวี ิตอาน ค. ความรู ข. ความดอี าน ง. ออ นโยน ค. ความรูอา น 5. เมื่ออานบทความท่ีกําหนดมีจุดมุงหมาย ง. การดําเนนิ ชีวิต อยา งไร ก. คติ 2. ขอความน้เี นน ความสาํ คญั เร่ืองใด ข. ปต ิ ก. ข้เี กยี จ ค. ส้นิ หวงั ข. อดทน ง. โศกเศรา ค. อดกลนั้ ง. ขยันเรียน 3. ขอความนีม้ คี วามหมายเหมือนกบั ขอ ใด ก. รสู ิ่งใดไมสูรูวชิ า ข. ทาํ ดไี ดด ี ทาํ ชวั่ ไดช ว่ั ค. บัวไมใหช ํ้าน้ําไมใ หขนุ ง. รูไวใ ชว า ใสบาแบกหาม

บทเรยี นออนไลนท่ี 5 300 300 รายวชิ าการอานเพือ่ ความเขาใจ (ทร02009) ประถม เฉลยแบบทดสอบกอ นเรียน - หลงั เรยี น เรื่อง เทคนิคการอา นเร็ว 1. ข 2. ค 3. ง 4. ง 5. ก

301 301 ตารางวิเคราะหเ นอ้ื หา รายวชิ าการปอ งกันการทุจริต สค12026 ระดับประถมศึกษา จํานวน 2 หนว ยกิต จาํ นวน 80 ช่วั โมง ระดบั ความยากงาย ท่ี หวั เรือ่ ง จํานวน (ช่ัวโมง) งา ย ปาน ยาก กลาง 1 การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนกบั 20  ผลประโยชนส ว นรวม 1. การคดิ แยกแยะ 2. ความแตกตา งระหวางจรยิ ธรรมและการทุจรติ 3. ประโยชนส วนตนและประโยชนส ว นรวม 4. หลักการคดิ เปน - ความหมาย ความสําคญั ของหลกั การคดิ เปน 5. ผลประโยชนทบั ซอ น 6. รปู แบบของผลประโยชนท บั ซอ นศาสตรพ ระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2 ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต 12  การปฏิบัติตนตามกฎ กตกิ า ของสถานศกึ ษา ชมุ ชน สังคม 1. การทาํ งานที่ไดรับมอบหมาย 2. การทําความสะอาดสถานท่พี บกลมุ 3. การสอบ 4. การแตง กาย 5. กิจกรรมผูเรยี น (ในหองเรยี น สถานศกึ ษา ชมุ ชน สงั คม) 6. การเขา แถวรับบริการ

302 302 ที่ เน้อื หา จาํ นวน ระดับความยากงา ย 3 STRONG / จติ พอเพียงตา นการทจุ รติ (ชว่ั โมง) งาย ปาน ยาก 18 กลาง  1. การสรา งจติ สาํ นกึ ความพอเพยี งการปองกนั การทจุ รติ 2. ความโปรง ใส3. ความต่นื รู / ความรู 4. ตา นทจุ รติ 5. มงุ ไปขา งหนา 6. ความเอือ้ อาทร 4 พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบตอ สงั คม 30  1. การเคารพสทิ ธหิ นาทต่ี อ ตนเองและผอู ืน่ ท่ีมตี อ ประเทศชาติ  2. ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย 3. ความรบั ผดิ ชอบ (ตอชมุ ชน) 4. ความเปน พลเมือง รวม 80 การวดั ผลประเมินผล บทเรยี น กจิ กรรม คะแนน ออนไลนท ี่ 1 ใหผูเรยี นศกึ ษาจากบทเรยี นออนไลนท ่ี 1 เรอ่ื ง หลักการคดิ เปน ความ - ละอายและความไมท นตอ การทจุ รติ และการปฏบิ ตั ติ นตามกฎ กติกา ของ สถานศกึ ษา ชมุ ชน สังคม และสรปุ ความรทู ไ่ี ดล งในสมดุ บันทึก 2 กิจกรรมท่ี 2 เรอื่ ง การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนส วนตนกบั 10 ผลประโยชนส ว นรวมโดยใชก ระบวนการคดิ ตามหลักปรัชญาคดิ เปน (5 คะแนน) และแบบทดสอบหลงั เรียน (5 คะแนน) 3 กจิ กรรมท่ี 3 เร่อื ง ปฏบิ ตั ติ นเปน ผูท ่ี STRONG / จิตพอเพยี งตอ ตา นการทจุ ริต 10 โดยใชกระบวนการคดิ ตามหลกั ปรชั ญาคิดเปน (5 คะแนน) และแบบทดสอบ หลงั เรยี น (5 คะแนน) 4 กจิ กรรมท่ี 4 เรือ่ ง ความเปนพลเมอื ง (5 คะแนน) 10 และแบบทดสอบหลงั เรยี น (5 คะแนน) 5 กจิ กรรมที่ 5 เรือ่ ง พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม และความ 10 รบั ผดิ ชอบตอชมุ ชน (5 คะแนน) และแบบทดสอบหลงั เรยี น (5 คะแนน) รวมคะแนนเกบ็ ระหวา งภาค 40 สอบระหวางภาค 20 สอบปลายภาค 40 รวม 100

แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูรายวชิ าออนไลน 303 รายวชิ าการปอ งกันการทุจริต สค12026 จาํ นวน 2 หนวยกิต ระดับประถมศึกษา จํานวน 80 ชว่ั โมง กศน.4 ผลการเรียนรูท่ี บทเรยี น หวั เรอื่ ง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม กิจกรรมการเรียนรู จาํ นวน สื่อการเรียนรู การวดั และ คาดหวงั ออนไลนท ี่ ช่ัวโมง ประเมินผล 1 บทที่ 1 การคดิ 1. เพ่อื ใหผ ูเรียนบอก - ผูเรียนศกึ ษาเรียนรจู ากสื่อ 14 1. หนงั สือเรยี น -สมดุ บันทกึ - 1. ผูเรยี นบอก แยกแยะระหวาง ความหมายความสาํ คญั ของ แบบเรยี นออนไลนท่ี 1 Google ชว่ั โมง วชิ าการปอ งกันการ การเรียนรู ความหมาย ผลประโยชน หลักการคดิ เปน Site วิชาการปอ งกนั การทจุ รติ ทุจรติ -บทเรยี น ความสําคญั ของ สค12026 ออนไลนท ี่ 1 หลักการคิดเปน ได สวนตนกับ 2. เพ่อื ใหผ ูเรยี นมีความรู เรอื่ ง หลักการคิดเปน ความ 2. บทเรียนออนไลน 2. ผเู รียนมีความรู 303 ผลประโยชน ความเขาใจเกี่ยวกบั ความ ละอายและความไมทนตอ การ ที่1 Google Site ความเขาใจเก่ียวกบั สว นรวม ละอายและความไมทนตอการ ทจุ รติ และการปฏิบัตติ นตามกฎ วิชาการปอ งกันการ ความละอายและ ��� 1.หลกั การคิด ทจุ ริต กตกิ า ของสถานศกึ ษา ชุมชน ทุจริต ความไมท นตอการ เปน 3. เพอ่ื ใหผเู รยี นปฏบิ ัตติ น สังคม สค12026 ทุจริต บทที่ 2 ความ เปนผูละอายและไมทนตอการ - ผูเ รียนศกึ ษาใบความรูเ ร่ือง 3. ผเู รยี นมปี ฏบิ ัติ ละอายและความ ทจุ รติ ทุกรปู แบบ โดยใช หลักการคิดเปน ความละอายและ ตนเปน ผลู ะอายและ ไมท นตอการ กระบวนการคิดตามหลัก ความไมท นตอ การทุจริต และการ ไมท นตอการทุจรติ ทุจริตและการ ปรัชญาคิดเปน ปฏิบตั ิตนตามกฎ กติกา ของ ทุกรูปแบบ โดยใช ปฏิบัตติ นตาม สถานศึกษา ชุมชน สังคม กระบวนการคิดตาม กฎ กติกา ของ - ผูเรียนทํากจิ กรรมที่ 1 เร่ือง หลักปรัชญาคดิ เปน สถานศกึ ษา หลักการคิดเปน ความละอายและ ชุมชน สงั คม ความไมทนตอ การทุจริต และการ 1. การทาํ งานท่ี ปฏิบตั ติ นตามกฎ กติกา ของ ไดร บั มอบหมาย สถานศึกษา ชุมชน สังคม 2. การทาํ ความ สะอาดสถานท่ี

304 พบกลมุ 3. การสอบ 4. การแตง กาย 5. กิจกรรม ผูเรียน (ใน หอ งเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชน สังคม) 6. การเขา แถวรบั บรกิ าร 304 ��4

305 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวชิ าออนไลน รายวิชา การปอ งกันการทุจริต สค12026 จํานวน 2 หนวยกติ ระดับประถมศกึ ษา จํานวน 80 ชั่วโมง บทเรียน หวั เรอ่ื ง วตั ถุประสงคเชิง กิจกรรมการเรยี นรู จํานวน สื่อการเรียนรู การวดั และ กศน.4 ผลการเรยี นรูที่ ออนไลนท ี่ พฤตกิ รรม ชั่วโมง ประเมนิ ผล คาดหวงั 2 บทท่ี 1 การคดิ 1. เพือ่ ใหผ ูเรยี นมี -ผูเรียนทาํ แบบทดสอบกอน 18 1. หนังสือเรียน บทเรียน ชอ ง 1 1. ผเู รียนมคี วามรู แยกแยะระหวา ง ความรู ความเขาใจ เรียน ชวั่ โมง วิชาการปอ งกันการ ออนไลน กิจกรรมท่ี 2 ความเขา ใจเกยี่ วกบั ผลประโยชนส ว นตน เกยี่ วกบั การแยกแยะ -ผเู รียนศึกษาเรียนรูจากส่ือ ทจุ ริต ที่ 2 (5 คะแนน) การคิดแยกแยะ กบั ผลประโยชนส ว นรวม บทเรียนออนไลนที่ 2 แบบทดสอบ 1. การคิดแยกแยะ ระหวา งผลประโยชน Google Site วชิ าการ หลงั เรยี น ระหวา งผลประโยชน 2. ความแตกตา ง สว นตน กับ ปอ งกันการทุจรติ (5 คะแนน) สว นตน กบั ระหวา งจริยธรรมและ ผลประโยชน สว นรวม สค12026 ผลประโยชนส ว นรวม การทุจริต 2. เพอื่ ใหผ เู รียน เร่ือง การคดิ แยกแยะ 2. ผเู รียนสามารถคิด 3. ประโยชนสว นตน สามารถคดิ แยกแยะ ระหวา งผลประโยชนสว น 2. บทเรยี นออนไลน แยกแยะระหวา ง 305 และประโยชนส ว นรวม ระหวา งผลประโยชน ตนกับผลประโยชน ที่ 2 Google Site ผลประโยชนส วนตน 5. ผลประโยชนท บั ซอน สวนตน กบั สวนรวมโดยใช วิชาการปองกนั การ กบั ผลประโยชน ��5 6. รปู แบบของ ผลประโยชนส วนรวม กระบวนการคดิ ตามหลัก ทจุ รติ สค12026 สวนรวมได โดยใช ผลประโยชนท ับซอ น ได โดยใช ปรัชญาคิดเปน ศาสตรพ ระราชา หลัก กระบวนการคิดตาม -ผเู รียนศึกษาใบความรู กระบวนการคิดตาม ปรชั ญาของเศรษฐกจิ หลักปรชั ญาคดิ เปน เร่ืองการแยกแยะระหวาง หลกั ปรัชญาคดิ เปน พอเพียง ผลประโยชนสวนตนกบั ผลประโยชนส วนรวมโดย ใชกระบวนการคิดตามหลัก ปรัชญาคิดเปน -ผเู รียนทาํ กิจกรรมท่ี 2

306 เรื่อง การคดิ แยกแยะ ระหวางผลประโยชนสวน ตนกับผลประโยชน สว นรวมโดยใช กระบวนการคดิ ตามหลัก ปรัชญาคิดเปน -ผูเรียนทาํ แบบทดสอบ หลังเรยี น 306 ���

307 แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรูรายวิชาออนไลน รายวิชาการปอ งกนั การทุจริต สค12026 จํานวน 2 หนว ยกติ ระดับประถมศกึ ษา จํานวน 80 ชัว่ โมง บทเรยี น หวั เรอื่ ง วัตถปุ ระสงคเ ชิง กิจกรรมการเรยี นรู จาํ นวน ส่ือการเรยี นรู การวัดและ กศน.4 ผลการเรยี นรทู ่ี ออนไลนท ี่ บทท่ี 3 STRONG พฤตกิ รรม ชัว่ โมง ประเมนิ ผล คาดหวัง / จิตพอเพยี งตา น 1. เพอ่ื ใหผ ูเรียนมี -ผูเรียนทาํ แบบทดสอบกอน 18 ชัว่ โมง 1. หนงั สอื เรยี น บทเรยี น ชอ ง2 3 การทจุ รติ ความรู ความเขาใจ เรยี น วิชาการปองกนั การ ออนไลน กจิ กรรมท่ี 3 1. ผูเรยี นมีความรู 1. การสรา งจติ สํานกึ เก่ียวกบั STRONG / -ผูเรียนศึกษาเรียนรูจากส่ือ ทุจรติ ที่ 3 (5 คะแนน) ความเขาใจเก่ยี วกบั ความพอเพยี งการ จิตพอเพียงตา นการ บทเรียนออนไลนท ี่ 3 2. บทเรยี นออนไลน แบบทดสอบ STRONG /จิตพอเพยี ง ปอ งกันการทจุ ริต ทจุ รติ Google Site วิชาการ ท่ี 3 Google Site หลงั เรยี น ตานการทุจริต 2. ความโปรง ใส 2. เพือ่ ใหผูเ รียน ปอ งกนั การทจุ ริต วชิ าการปองกนั การ (5 คะแนน) 2. ผูเ รยี นปฏิบัตติ นเปน 3. ความตน่ื รู / ปฏิบัตติ นเปน ผทู ่ี สค12026 ทจุ ริต ผทู ่ี STRONG / จติ ความรู STRONG / จติ เร่ือง ปฏิบตั ิตนเปน ผูท่ี สค12026 พอเพยี งตอ ตานการ 307 4. ตา นทจุ รติ พอเพยี งตอ ตานการ STRONG / จิตพอเพียง ทุจริต โดยใช 5. มงุ ไปขา งหนา ทุจรติ โดยใช ตอ ตานการทุจริต โดยใช กระบวนการคิดตาม ��� 6. ความเออ้ื อาทร กระบวนการคิดตาม กระบวนการคิดตามหลัก หลักปรัชญาคิดเปน หลักปรชั ญาคดิ เปน ปรัชญาคิดเปน -ผเู รียนศึกษาใบความรเู รือ่ ง ปฏบิ ตั ติ นเปนผทู ่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอตา นการทุจริต โดยใชกระบวนการคิดตาม หลักปรชั ญาคิดเปน -ผูเรียนทาํ กิจกรรมที่ 3 เร่ืองปฏิบตั ติ นเปนผูที่ STRONG / จติ พอเพียง

308 ตอตานการทุจริต โดยใช กระบวนการคดิ ตามหลัก ปรัชญาคิดเปน -ผูเ รียนทาํ แบบทดสอบ หลังเรียน 308 ���

309 แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูรายวิชาออนไลน รายวิชาการปอ งกนั การทุจริต สค12026 จาํ นวน 2 หนวยกติ ระดับประถมศกึ ษา จาํ นวน 80 ช่ัวโมง บทเรยี น หัวเร่ือง วตั ถุประสงคเชงิ กิจกรรมการเรยี นรู จํานวน สือ่ การเรยี นรู การวดั และ กศน.4 ผลการเรียนรทู ่ี ออนไลนท ี่ บทท่ี 4 พลเมอื งกบั พฤติกรรม ชัว่ โมง ประเมนิ ผล คาดหวัง ความรบั ผดิ ชอบตอ 1. เพอ่ื ใหผเู รียนมี -ผูเรียนทาํ แบบทดสอบกอน 15 ช่ัวโมง 1. หนังสือเรยี นวิชา บทเรียน ชอง3 4 สงั คม ความรู ความเขาใจ เรียน วชิ าการปองกันการ ออนไลนท่ี กจิ กรรมท่ี 4 1. ผูเรยี นมี 1. การเคารพสิทธิ ความรู ความ หนา ที่ตอตนเองและ เกยี่ วกบั พลเมืองและ -ผูเ รียนศึกษาเรียนรูจากส่ือ ทุจรติ 4 (5 คะแนน) เขาใจเกย่ี วกับ ผูอนื่ ทม่ี ีตอ มีความรบั ผดิ ชอบตอ บทเรียนออนไลนท ี่ 4 แบบทดสอบ พลเมืองและมี ประเทศชาติ สังคม Google Site วิชาการ หลงั เรยี น ความรบั ผดิ ชอบ ปองกนั การทุจรติ (5 คะแนน) ตอ สังคม สค12026 บทที่ 4 เรื่องความเปน 2. บทเรยี นออนไลน 309 ��� พลเมือง ที่ 4 Google Site -ผูเ รียนศกึ ษาใบความรู วิชาการปอ งกนั การ เรือ่ งความเปน พลเมอื ง ทจุ รติ -ผูเรียนทํากจิ กรรมที่ 4 สค12026 เร่ืองความเปน พลเมอื ง -ผเู รียนทําแบบทดสอบ หลังเรยี น

310 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวชิ าออนไลน รายวชิ าการปองกนั การทุจริต สค12026 จาํ นวน 2 หนว ยกิต ระดับประถมศึกษา จํานวน 80 ช่วั โมง บทเรียน หัวเรื่อง วตั ถุประสงคเ ชิง กิจกรรมการเรยี นรู จาํ นวน สื่อการเรยี นรู การวัดและ กศน.4 ผลการเรียนรทู ี่ ออนไลน พฤติกรรม ชว่ั โมง ประเมนิ ผล คาดหวัง ท่ี 5 บทท่ี 5 พลเมืองกบั 1. เพอื่ ใหผ ูเรียน -ผเู รียนทําแบบทดสอบกอน 15 1.หนงั สอื เรยี นวิชา บทเรยี น ชอง4 1. ผเู รียนปฏบิ ตั ิ ความรบั ผดิ ชอบตอ ปฏิบัตติ ามหนา ที่ เรียน ช่วั โมง วชิ าการปอ งกนั การ ออนไลน กจิ กรรมที่ 5 ตามหนา ที่ สังคม พลเมอื งและมคี วาม -ผเู รียนศึกษาเรียนรูจากส่ือ ทุจรติ (5 คะแนน) พลเมืองและมี 1. ระเบยี บ กฎ กติกา รับผิดชอบตอ สงั คม บทเรียนออนไลนที่ 5 Google ท่ี 5 แบบทดสอบ ความรับผดิ ชอบ หลงั เรยี น ตอ สงั คม โดยใช กฎหมาย โดยใชกระบวนการคิด Site วิชาการปอ งกนั การ (5 คะแนน) กระบวนการคดิ 2. ความรบั ผดิ ชอบ ตามหลักปรชั ญาคิด ทจุ รติ สค12026 ตอชมุ ชน เปน เรอ่ื ง พลเมอื งกบั ความ ตามหลักปรัชญา 310 3. ความเปน พลเมอื ง 2. เพอ่ื ใหผเู รียน รับผิดชอบตอ สังคม และ 2.บทเรยี นออนไลน คดิ เปน ตระหนักและเหน็ ความรบั ผดิ ชอบตอชมุ ชน ที่ 5 Google Site 2. ผเู รยี น ��0 ความสาํ คญั ของการ -ผเู รียนศกึ ษาใบความรเู รอ่ื ง วิชาการปอ งกนั การ ตระหนักและเหน็ ปองกนั การทุจรติ พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบ ทุจริต สค12026 ความสําคญั ของ การปองกนั การ ตอ สังคม และความ ทจุ ริต รับผิดชอบตอชุมชน -ผเู รียนทํากิจกรรมท่ี 5 เรอ่ื ง พลเมอื งกับความรับผิดชอบ ตอ สังคม และความ รับผิดชอบตอ ชมุ ชน -ผูเรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี น

บทเรยี นออนไลนท่ี 1 311 311 วชิ าการปอ งกนั การทจุ ริต (สค12026) ประถม ใบงาน คาํ สง่ั 1. ใหผเู รยี นศึกษาความรจู ากใบความรบู ทเรยี นออนไลนท ี่ 1 เร่ือง หลกั การคดิ เปน ความ ละอายและความไมท นตอ การทุจรติ และการปฏบิ ตั ติ นตามกฎ กติกา ของสถานศกึ ษา ชมุ ชน สังคม 2. ใหผ เู รยี นทาํ กิจกรรมท่ี 1 เรือ่ ง หลักการคดิ เปน ความละอายและความไมท นตอ การทุจริต และการปฏิบตั ติ นตามกฎ กตกิ า ของสถานศกึ ษา ชุมชน สังคม Google site บทเรยี นออนไลนท ่ี 1 เรื่อง หลกั การคิดเปน ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ และการปฏิบัตติ นตามกฎ กตกิ า ของสถานศกึ ษา ชุมชน สงั คม

บทเรยี นออนไลนท ่ี 1 312 312 วิชาการปอ งกันการทุจรติ (สค12026) ประถม ใบความรู เรอื่ ง หลกั การคิดเปน ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ และการปฏิบัติตนตามกฎ กตกิ า ของ สถานศกึ ษา ชมุ ชน สงั คม หลักการคดิ เปน ในชีวิตประจาํ วนั ทุกคนตองเคยพบกับปญ หาตา ง ๆ ไมวา จะเปน ปญ หาการงาน การเงิน สขุ ภาพ หรือปญ หาอ่ืน ๆ เชน ปญหาขัดแยง ในครอบครวั ปญ หาขดั แยงของเด็ก ปญหาของเพื่อนรว มงาน เปน ตน เม่อื เกิดปญหากเ็ กดิ ทุกข แตละคนก็จะมวี ิธแี กไขปญ หา หรอื แกท ุกขด ว ยวธิ กี ารท่ีแตกตางกนั ไป ซง่ึ แตล ะ คนอาจมีวิธีการเหมือนหรือตา งกนั และอาจใหผลลพั ธท่ีเหมือนกันหรอื ตางกันก็ได ท้งั นี้ขึ้นอยูกับพื้นฐาน ความเช่ือความรู ความสามารถและประสบการณของบุคคล อาจจะขึ้นอยูกับทฤษฎีและหลักการของ ความเช่อื ที่ตางกันเหลา น้นั ดว ย 1. ความหมายของการคดิ เปน “คิดเปน” หมายถึง กระบวนการที่คนเรานํามาใชในการตัดสินใจโดยตองแสวงหาขอมูลของ ตนเอง ขอมูลของสภาพแวดลอมในชุมชนและสังคม และขอมูลทางหลักวิชาการ แลวนํามาวิเคราะห หาทางเลอื ก ในการตดั สินใจทเ่ี หมาะสม มคี วามพอดรี ะหวางตนเองและสังคม สรปุ ความหมายของ “คิดเปน” 1. การวิเคราะหป ญหาและแสวงหาคําตอบหรือทางเลือกเพอ่ื แกป ญหาและดบั ทกุ ข 2. การคิดอยา งรอบคอบเพื่อการแกป ญ หาโดยอาศัยขอมลู ตนเอง ขอ มูลสงั คมสง่ิ แวดลอ ม และขอมลู วชิ าการ 2. ความสาํ คัญของการคดิ เปน ความสําคญั ของการคิดเปน เปน สงิ่ ที่มคี ุณคา เพราะการคิดชวยใหคนไดมองเห็นสภาพปญหา ตา ง ๆ ในอนาคต ซึ่งจะชวยใหบุคคลไดคิดหาแนวทางในการหลีกเลี่ยงหรอื ปอ งกันได และการคิดชวย ขยายความหมายของส่ิงตาง ๆ ในโลกได และผลกระทบท่ีอาจเกิดขน้ึ จากการคิด คือ คนจะมีการปฏบิ ัติ หรือการกระทําตามท่ีเขาคิด ถึงแมว ามันจะถูกหรือผิดก็ตาม เน่อื งจากการคิดมีพลงั อํานาจ จึงตองมี การควบคุม โดยไดแ นะนําวธิ ีการทางวิทยาศาสตรในการชวยรกั ษาความคิดใหเปน ไปอยางถกู ตอง มี การควบคุมเงื่อนไขภายใตการสังเกตสรุปความคิดตามส่ิงท่ีเกิดขึ้น และมีการคิดทบทวนแนวคิด กลา วไดวา สิ่งทีบ่ ุคคลรูจะเปน ส่ิงทก่ี ระตุน ใหเ กดิ กระบวนการคิดครัง้ แรก แลวจงึ นําไปสูการคดิ ในส่งิ อนื่ ๆ ซึ่งสามารถเช่ือมโยงใหเกิดความสมบรู ณข องกระบวนการคิดน้ัน เนอ่ื งจากการคิดมีอิทธิพลอยางมากจาก กิเลสทีอ่ ยูในภายในตัวบคุ คลและสงั คม

บทเรยี นออนไลนท ่ี 1 313 313 วิชาการปอ งกันการทุจริต (สค12026) ประถม 3.ความละอายและความไมทนตอ การทจุ ริต ความละอายและความไมทนตอการทุจริต เปนการสรางสังคมที่ไมทนตอการทุจริต เปนการปรับเปลี่ยน สภาพสงั คม โดยเรม่ิ ตั้งแตกระบวนการกลอมเกลาในทุกชวงวยั เพอ่ื สรา งวัฒนธรรมตอ ดานการทุจรติ และ ปลูกฝงความพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย สุจริต ความเปนพลเมืองดี มีจิตสาธารณะ เพ่ือใหเด็ก เยาวชน ผูใหญ เกดิ พฤติกรรมท่ีละอายตอการกระทําความผิด ดังนั้น เราตอ งแยกแยะใหไดวา พฤติกรรมใดท่ีจะ ตองมีความละอายตอการทุจริตและพฤติกรรมใดท่ีไมควรทนตอการทุจริตแลว นําไปปฏิบัติ เพ่ือใหการ ทุจรติ ลดลงจากสงั คมปจจบุ ัน 1. ความหมายของความละอายและความไมท นตอการทจุ ริต คําวา “ความละอาย” และ “ความไมทน” ไดม ีการใหค วามหมายไว ดงั นี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ใหค วามหมายของคําวา ละอาย หมายถึง การรูสึกอายท่ี จะทําในสงิ่ ที่ไมถกู ไมควร เชน ละอายทจ่ี ะทาํ ผดิ ละอายใจ ความละอาย เปนความละอายและความเกรงกลัวตอสิ่งที่ไมดี ไมถกู ตอ ง ไมเหมาะสม เพราะ เห็นถงึ โทษหรือผลกระทบที่จะไดร บั จากการกระทํานั้น จงึ ไมกลาท่ีจะกระทาํ ทําใหตนเองไมห ลงทาํ ในสิ่ง ทีผ่ ดิ น่นั คอื มีความละอายใจ ละอายตอการทําผดิ ความไมทนตอการทุจริต หมายถึง การแสดงออกตอการกระทําที่เกิดขึ้นกับตนเอง หรือบุคคลที่ เกย่ี วขอ ง หรือสังคมในลักษณะที่ไมยนิ ยอม ไมยอมรับในพฤติกรรมทีเ่ ปนการประพฤติชวั่ ประพฤตไิ มดี ไม ซ่ือตรง คดโกง ฉอโกง 2. ความสําคญั ของความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ ปจ จุบันปญหาการทุจรติ ในประเทศไทย มีแนวโนมหนักหนว ง และรุนแรงมากขึ้น การทุจรติ มี รากฐานมาจากทัศนคติของผูคนในสังคม คานิยมแบบนิยมพวกพอง และเครือญาติ ระบบอุปถัมภ ความสัมพันธในเชิงผลประโยชน จนเกิดการทจุ ริตในรปู แบบตาง ๆ ดงั น้ัน การสรา งสงั คมท่ีไมทนตอการ ทุจริตจึงเปนการปรับเปลี่ยนทัศนคติ วัฒนธรรม เพ่ือสรางความเขมแข็งในทางคุณธรรมของสังคม จาํ เปนตองปลูกฝง คณุ ธรรมใหผ คู นในสงั คมเกดิ ความละอาย และความไมท นตอ การทุจรติ เพ่ือเปนการแก ปญหาสังคมไทยท่ียั่งยืน ในฐานะที่ผูเรียนเปนสวนหนึ่งของสังคม เมื่อพบพฤติกรรมที่เปนการทุจริต ผูเ รยี นควรจะเปนผทู ี่แสดงถึงความเปน ผูมคี วามไมทนตอ การทจุ ริตได เชน กรณีตวั อยางตอ ไปนี้ 1) เม่ือพบวาเพ่ือนปฏิบัติตนเปนผทู ุจริต ตองแจงครู ผูปกครอง หรือผูเกี่ยวของ เพ่ือไมใหเพ่ือน กระทําผิด 2) เม่ือพบบุคคลอืน่ ๆ ไมปฏบิ ตั ิตนในการเขา แถวรับบรกิ ารตาง ๆ ในสงั คม ควรแจง ใหป ฏิบตั ิให ถูกตองดวยวาจาทสี่ ุภาพ การปฏิบัติตนตามกฎ กติกาของสถานศึกษา ชุมชน สังคมเปนการประพฤติและปฏิบัติ หรือ แสดงออกทาง ดา นบคุ ลิกภาพท่ัวไป เพอ่ื ใหถือปฏิบัติ ดังกรณีตอไปน้ี 1. การทาํ งานที่ไดร บั มอบหมาย หมายถึง งานที่ครูไดมอบหมายใหผูเรียนไปศึกษาคนควาเรยี นรู ดว ยวธิ ีการเรียนรูท หี่ ลากหลาย และนาํ เสนอผลการเรยี นรูตามระยะเวลาทกี่ ําหนด

บทเรยี นออนไลนท ี่ 1 314 314 วิชาการปอ งกันการทุจริต (สค12026) ประถม ตัวอยาง เชน ครูมอบหมายใหผูเรยี นทําบัญชีรายรับ – รายจาย และสรุปเปนรายสัปดาห แลว นาํ มาเสนอในกลุมใหญ 2. การทําความสะอาดสถานที่พบกลุม หมายถงึ การผลัดเปล่ียนกันทําความสะอาดของสถานที่ พบกลุมของผูเรียน ตามท่ีไดร ับมอบหมาย โดย อาจกาํ หนดใหทาํ ความสะอาดในพ้ืนที่บรเิ วณตาง ๆของ สถานที่พบกลุม เหตุผลของการใหทําความสะอาดสถานทพี่ บกลมุ เปน การฝกการเสียสละใหสว นรวม มี ความรบั ผดิ ชอบ รักษาความสะอาดของสถานที่พบกลุม 3. การสอบ หมายถึง การวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษา ซ่ึงมีขอปฏิบัติ กฎ ระเบียบของผูเขา สอบ ตองปฏบิ ัตใิ นการสอบดงั ตอไปน้ี 1) การแตงกาย ถาเปนผูเรียนตองแตงเคร่ืองแบบผูเรียนแลวแตกรณี ถาเปนผูเขาสอบ ตอง แตง กายใหส ุภาพเรยี บรอ ยตามประเพณนี ิยมที่สถานศึกษากาํ หนด 2) ไปถงึ สถานที่สอบกอนเวลาเร่ิมสอบ ผูใดไปไมทันเวลา เม่ือลงมือสอบวชิ าใดแลวไมมีสิทธิ เขา สอบในวิชานั้น 3) ไมเขาหองสอบกอนไดร ับอนุญาต 4) ไมนาํ เอกสาร เครือ่ งอิเล็กทรอนิกสหรือเคร่อื งมอื สือ่ สารใด ๆ เขา ไปในหองสอบ 5) นั่งตามท่กี าํ หนดให จะเปลย่ี นทนี่ ่ังกอนไดร ับอนญุ าตไมได 6) ปฏิบัตติ ามระเบียบเกีย่ วกับการสอบ และคาํ สั่งของผูกํากับการสอบ โดยไมท ุจรติ ในการสอบ 7) มใิ หผ ูเขา สอบคนอ่นื คัดลอกคําตอบของตน รวมทั้งไมพดู คยุ กบั ผูใดในเวลาสอบ เมื่อมี ขอ สงสัยหรือมีเหตุจาํ เปนใหแจง ตอ ผกู าํ กับการสอบ 8) ประพฤติตนเปนสุภาพชน 9) ผใู ดสอบเสรจ็ กอน ผนู ้นั ตอ งออกไปหา งจากหองสอบ และไมกระทาํ การใด ๆ อันเปน การรบกวนแกผ ูทยี่ ังสอบอยู 10) ไมนํากระดาษคาํ ตอบท่ีผกู าํ กับการสอบแจกใหอ อกไปจากหองสอบ 4. การแตงกาย เปนส่งิ สําคัญและเปน สงิ่ แรกทค่ี นทั่วไปพบเห็น การแตงกายที่ดีจะชว ยสง เสรมิ บคุ ลิกภาพ เกดิ ความประทับใจ มคี วามนาเชือ่ ถือใหก บั ผทู ี่พบเหน็ แตทางตรงกนั ขา มหากแตง กาย ไมเรียบรอ ย ไมถ กู กาลเทศะก็อาจจะถกู มองในแงล บได โดยผเู รียนควรแตง กายสภุ าพเรยี บรอ ยตาม ประเพณนี ยิ ม 5. กจิ กรรมผูเรียน (ในสถานศึกษา ชุมชน สงั คม) หมายถงึ วธิ ีการ กจิ กรรมท่ีครู หรือผูเก่ียวของ นาํ มาใชเ พ่อื ใหผ เู รียนเกดิ การเรยี นรจู ากประสบการณจรงิ การฝกปฏบิ ตั ใิ หค ิดได คิดเปน ทาํ เปน เพอ่ื ให เกิดการใฝร อู ยางมปี ระสิทธิภาพตามเปาหมาย เชน จัดใหผ ูเรยี นไปคนควา ศึกษานอกสถานที่ เปนตน 6. การเขา แถวรบั บรกิ าร ตามพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใ หความหมาย “บรกิ าร” หมายถึง ปฏิบัตริ ับใช หรอื ใหค วามสะดวกตา ง ๆ การใหบ รกิ ารเปนงานท่ีมีผูคอยชวยอาํ นวย ความสะดวกซ่งึ กค็ ือ“ผใู หบ รกิ าร” และผูมารับความสะดวกกค็ อื “ผมู ารับบริการ”

บทเรยี นออนไลนที่ 1 315 315 วชิ าการปอ งกนั การทจุ ริต (สค12026) ประถม พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหค วามหมายคําวา “เขาแถว” หมายถึง ยนื เรยี งตอ กันเปน แนว เชน เขา แถวหนา กระดาน เขา แถวตอนเรียงหนง่ึ ดังนน้ั การเขาแถวรับบรกิ าร จงึ หมายถงึ การยืนเรียงตอ กนั เปน แถวแนวเรียงหนงึ่ ของผรู ับบรกิ าร เพ่อื รบั บริการ หรอื ความสะดวกอยา งหน่ึงอยา งใดจากผใู หบริการ เชน เขา แถวซื้ออาหาร ใชบ รกิ ารรถ โดยสารประจาํ ทาง จา ยเงินชําระคาน้ํา คาไฟฟา ตามเคานเตอรใหบริการ เปนตน

บทเรยี นออนไลนที่ 1 316 316 วิชาการปองกนั การทจุ รติ (สค12026) ประถม กิจกรรมที่ 1 เรื่อง หลกั การคิดเปน ความละอายและความไมทนตอการทุจริต และการปฏิบตั ิตนตามกฎ กตกิ า ของสถานศึกษา ชุมชน สังคม ชอ่ื -นามสกลุ ………………………………..…........………. รหสั นกั ศึกษา………………………………… คําช้ีแจง : ใหผ เู รยี นอธบิ ายเกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ติ น ใหเ ปน ไปตามกฎ กตกิ าตาง ๆ จากประสบการณจริง ในกิจกรรมตา ง ๆ ใหระบถุ ึงพฤตกิ รรมที่กอ ใหเกดิ การทจุ รติ พฤตกิ รรมท่ี แสดงออกถงึ ความละอาย ตอการทุจริต และพฤตกิ รรมที่แสดงออกถึงความไมทนตอ การทุจริต ลงในแบบฟอรม ทีก่ ําหนด ที่ กิจกรรม พฤติกรรมที่แสดงถงึ พฤติกรรมที่แสดงถึง พฤติกรรมท่แี สดงถึง 1 การทาํ งาน การทุจริต ความละอายตอการทุจรติ ความไมท นตอการทุจริต ท่ไี ดรบั มอบหมาย 2 การทาํ ความสะอาด สถานท่พี บกลุม 3 การสอบ 4 การแตงกาย 5 กจิ กรรมผเู รียน 6 การเขา แถว รับบรกิ าร

บทเรยี นออนไลนที่ 1 317 317 วชิ าการปอ งกนั การทจุ รติ (สค12026) ประถม เฉลยกจิ กรรมที่ 1 เรอ่ื ง หลกั การคิดเปน ความละอายและความไมทนตอการทุจรติ และการปฏิบัตติ นตามกฎ กตกิ า ของสถานศกึ ษา ชมุ ชน สังคม คําชี้แจง : ใหผ ูเรยี นอธิบายเก่ียวกับการปฏิบตั ิตนใหเ ปนไปตามกฎ กติกาตา ง ๆ จากประสบการณจรงิ ใน กจิ กรรมตา ง ๆ ใหระบุถึงพฤติกรรมทกี่ อ ใหเ กดิ การทุจริต พฤตกิ รรมที่ แสดงออกถงึ ความละอายตอ การ ทุจรติ และพฤตกิ รรมท่แี สดงออกถึงความไมท นตอ การทุจรติ ลงในแบบฟอรม ท่กี ําหนด ที่ กจิ กรรม พฤตกิ รรมท่ีแสดงถึง พฤตกิ รรมทแ่ี สดงถึง พฤติกรรมทีแ่ สดงถึง การทุจริต ความละอายตอการทุจริต ความไมท นตอ การทุจริต 1 การทาํ งาน ลอกการบานเพ่ือน การเลิกพฤติกรรมลอก 1. บอกเพอื่ น ทไ่ี ดร บั การบา น บอกเพอ่ื นถือวา 2. บอกครปู ระจํากลุม มอบหมาย เปนการละอาย 2 การทาํ ไมช วยทําความสะอาด ความรวมมอื ทําความ บอกหรือชักชวนเพ่ือนท่ีไม ความสะอาด ถือวา เปนการไม สะอาดกบั เพอ่ื นอยางเตม็ ทําความสะอาดใหม า สถานที่พบ รับผดิ ชอบทจุ ริตตอ ใจ ชว ยกัน กลุม หนา ท่ี 3 การสอบ การทจุ ริตลอก 1. ไมยอมใหเพอื่ นลอก 1. แจง ผูคมุ สอบ ขอ สอบจากเพอ่ื น ขอ สอบ 2. ไมยอมใหเพอื่ นลอก 2. ตอ งทาํ ขอสอบดวย ตนเอง 4 การแตง กาย แตงกายไมสุภาพเขา ควรแตง กายใหถกู 1. ไมยอมใหผ เู รยี นที่ หอ งสอบ กาลเทศะ แตงกาย ไมสุภาพเขาสอบ 2. วา กลาวตกั เตอื น 5 กิจกรรม ครมู อบหมายใหไ ป ผูเ รียนตองไปศกึ ษาเรยี นรู ครูตอ งตดั คะแนนผเู รียน ผูเรียน ศึกษา นอกสถานที่ ดว ยตนเอง ท่ีไมไปศึกษาเรียนรดู วย แตผ เู รยี น ตนเองตามที่ครมู อบหมาย ไมไป 6 การเขา แถว ไมเ ขา แถวรบั สง่ิ ของ ควรเขาแถวตามลําดับมา 1. คนหนาตอ งไมย อม รับบรกิ าร บรจิ าค กอนหลัง ใหม าแทรก 2. ไมแจกสิ่งของใหคนที่ ไมเขา แถว

บทเรยี นออนไลนท ี่ 2 318 318 วิชาการปอ งกนั การทจุ ริต (สค12026) ประถม ใบงาน คาํ สัง่ 1. ใหผ เู รยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี นบทเรียนออนไลนท่ี 2 เร่อื ง การแยกแยะระหวาง ผลประโยชนส วนตนกับผลประโยชนสวนรวมโดยใชก ระบวนการคดิ ตามหลกั ปรัชญาคิดเปน จํานวน 5 ขอ 2. ใหผ เู รยี นศกึ ษาความรูจากใบความรูบ ทเรยี นออนไลนท ่ี 2 เรือ่ ง การแยกแยะระหวา ง ผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชนสวนรวมโดยใชก ระบวนการคดิ ตามหลกั ปรัชญาคิดเปน 3. ใหผ เู รียนทาํ กิจกรรมท่ี 2 เรอื่ ง การแยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชน สว นรวมโดยใชก ระบวนการคดิ ตามหลกั ปรชั ญาคดิ เปน จํานวน 5 ขอ 4. ใหผ เู รียนทําแบบทดสอบหลงั เรยี นบทเรยี นออนไลนท่ี 2 เร่ือง การแยกแยะระหวาง ผลประโยชนส ว นตนกบั ผลประโยชนส วนรวมโดยใชกระบวนการคดิ ตามหลกั ปรัชญาคิดเปน จํานวน 5ขอ Google site บทเรียนออนไลนท ่ี 2 เรือ่ ง การแยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนกบั ผลประโยชนสว นรวมโดยใชก ระบวนการคิดตามหลัก ปรชั ญาคิดเปน

บทเรยี นออนไลนที่ 2 319 319 วชิ าการปอ งกันการทุจรติ (สค12026) ประถม แบบทดสอบกอนเรียน เรือ่ ง การแยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนกบั ผลประโยชนส ว นรวมโดยใชกระบวนการคิด ตามหลกั ปรชั ญาคิดเปน ช่อื - สกุล.......................................................................................รหสั นกั ศึกษา................................. คําชแี้ จง ใหผเู รยี นเลอื กคําตอบทถี่ กู ตอ งทส่ี ดุ 1. ขอใดเปน การนํากระบวนการของการคิดเปนมาใช 4. การคดิ แยกแยะหมายถงึ ขอ ใด ก. นาํ ขอมลู ตนเอง งานวจิ ัย สงิ่ แวดลอมและ ก. เก็บเงินไดน ําไปใหค ุณครู สงั คมมาใช ข. ขายเสอ้ื ผา ตามริมถนนในตวั เมอื ง ข. นําขอ มลู ตนเอง สังคม สง่ิ แวดลอม และ ค. ทาํ การเกษตรในเขตทดี่ ินสาธารณะ วชิ าการมาใช ง. การแซงควิ ซอ้ื อาหารในรานอาหาร ค. นําขอ มลู จากสือ่ อนิ เทอรเ นต็ เอกสารอางอิง และตนเองมาใช 5. นายเหลยี่ ม เปน ขาราชการเกษยี ณ ตอ มาได ง. นําขอ มูลจากเพอื่ นรวมงาน สือ่ อินเทอรเนต็ เปนสมาชกิ สภาเทศบาล รลู ว งหนาจากการ และวชิ าการมาใช ประชมุ สภาวาสภาเทศบาลอนุมตั ิใหต ดั ถนน ผานชมุ ชนแหง หนึ่ง นายเหลยี่ ม จึงไดไปกวาน 2. ถา ตองการอยรู วมกบั ผูอืน่ ในสังคมไดอยางมี ซ้อื ทดี่ ินบริเวณทถ่ี นนตดั ผานนนั้ เพ่ือเก็งกําไร ความสขุ โดยนาํ กระบวนการคิดเปนมาใชเราควรปฏบิ ตั ิ ที่ดนิ พฤติการณข องนายเหลี่ยม เปน ผลประโยชน  ตนตามขอใด ทับซอนรปู แบบใด ก. การปรบั ตวั ก. การรขู อ มลู ภายใน ข. แกป ญหาได ข. การทําธุรกจิ กับตนเอง ค. ความยนิ ยอม ค. การทํางานหลงั เกษยี ณ ง. การมสี ว ยรวม ง. การรบั ผลประโยชนต า ง ๆ 3. ขอใดคอื ความหมายของคาํ วา“ความละอาย” ก. ความมงุ ม่ันในการเอาชนะ ข. ความมงุ มน่ั ในการทําความดี ค. ความเกรงกลวั ตอส่งิ ทีจ่ ะมาทาํ รา ย ง. ความเกรงกลัวตอ สง่ิ ท่ีไมด ี ไมถ ูกตอง

บทเรยี นออนไลนท่ี 2 320 320 วิชาการปอ งกนั การทุจริต (สค12026) ประถม ใบความรู เรือ่ ง การแยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตนกบั ผลประโยชนสว นรวมโดยใช กระบวนการคิด ตามหลักปรัชญาคิดเปน 1. ความหมายของการคดิ แยกแยะ คิด หมายถึง ใครค รวญ ไตรตรอง คาดคะเน คํานวณ นกึ เชน เรื่องน้ียาก ยังคิดไมออก คิดวาเย็นนี้ ฝนอาจจะตก คิดเลขในใจ คิดละอาย แยกแยะ หมายถึง กระจายออกใหเห็นชัดเจน เชน แยกแยะปญหาใหเห็นเปนเร่ือง ๆ หรือ ประเด็น ๆ ไป การคดิ วิเคราะห (Analytical thinking) หมายถึง กระบวนการคิดในรายละเอียดความสามารถ ในการแยกแยะสว นตาง ๆ ออกเปนสวนพน้ื ฐาน หรือสวนยอ ย ๆ เพ่ือตรวจสอบและวิเคราะหค วามเช่ือมโยง หรือความสัมพันธของสวนประกอบตาง ๆ เปนการคิดในเชิงตรรกะทีละข้ันตอนเพื่อแบงระบบขอมูลขนาด ใหญ ออกเปนสวน ๆ เพอื่ มาวิเคราะหหาสาเหตุหรอื เปาหมายทตี่ อ งการ จากขอมูลขางตน การคิดแยกแยะ หมายถึง การคิดวิเคราะห ไตรต รองที่มุงใหมองเห็นความ แตกตา งของขอมูล สามารถแยกแยะหาสาเหตุหรอื เปาหมายที่ตองการไดอ ยางถกู ตอง เปนการคดิ ท่มี ุงให มองและใหร ูจักสิง่ ท้งั หลายตามความเปน จริง โดยอาศัยการแยกแยะออกเปนสว นประกอบตาง ๆ เปนวธิ คี ิด แบบวเิ คราะห นอกจากแยกแยะหรือแจกแจงออกไปเปนสวนประกอบตาง ๆ แลวยังมีการจัดหมวดหมู หรือจดั ประเภทไปดวยพรอ มกัน เชน ผูเรียนมาเรยี นสาย สามารถแยกแยะสาเหตขุ องการมาสายได 2. ระบบคดิ “ฐานสอง Digital” การแกปญหาการทจุ รติ อยางยั่งยืน ตองเร่ิมตนแกไ ขท่ีตัวบคุ คล โดยการปรบั เปลี่ยนระบบการคิด ของคนในสังคม โดยนาํ ระบบความคิดแบบฐานสอง มาใชในการแกป ญหาระบบคิด “ฐานสอง Digital” เปนระบบการคิดวิเคราะหขอมูลท่ีสามารถเลือกได 2 ทางเทานั้น คือ 0 (ศูนย) กับ 1 (หน่ึง) หมายถึง โอกาสทีจ่ ะเลือกไดเพียง 2 ทาง เชน ใช กับ ไมใช, เท็จ กบั จริง, ทําได กบั ทําไมได, ประโยชนส วนตน กับ ประโยชนส วนรวม เปนตน ระบบคิด “ฐานสอง Digital” จึงเหมาะกับการนํามาเปรียบเทียบกับการ ปฏบิ ตั งิ านของเจาหนา ท่ีของรฐั ทีต่ องสามารถแยกเร่ืองตาํ แหนงหนาท่ีกับเรอ่ื งสวนตัวออกจากกนั ไดอยาง เดด็ ขาด และไมก ระทาํ การท่ีเปนการขดั กันระหวางประโยชนสว นตนและประโยชนสวนรวม ตวั อยา งการปฏบิ ัติแบบใช “ฐานสอง Digital” “การปฏิบัติงานแบบใชร ะบบคิดฐานสอง (Digital)” คือ การที่เจาหนา ที่ของรัฐมีระบบการคดิ ท่ี สามารถแยกเรื่องตาํ แหนง หนา ทก่ี บั เร่อื งสวนตนออกจากกนั ไดอ ยางชดั เจน วาสิ่งไหนถกู สิ่งไหนผิดสิ่งไหน ทาํ ได ส่ิงไหนทําไมได ส่ิงไหนคือประโยชนส วนตน สงิ่ ไหนคือประโยชนสว นรวม ไมน ํามาปะปนกัน ไมนํา บุคลากรหรอื ทรพั ยสินของราชการมาใชเพื่อประโยชนสวนตน ไมเบียดบังราชการ เห็นแกประโยชนส ว นรวม

บทเรยี นออนไลนที่ 2 321 321 วชิ าการปอ งกนั การทจุ รติ (สค12026) ประถม ของหนวยงานเหนือกวา ประโยชนข องสวนตน เครือญาติ และพวกพอง ไมแสวงหาประโยชน จากตําแหนง หนาที่ราชการ ไมรับทรัพยสินหรอื ประโยชนอ ื่นใดจากการปฏิบัติหนา ที่ กรณีเกิดการขดั กัน ระหวางประโยชน สวนตนและประโยชนส วนรวม กจ็ ะยึดประโยชนสวนรวมเปน หลกั ประโยชนสว นตนและประโยชนส ว นรวม 1. ประโยชนสวนตน (private interest) การที่คนเรามีความสนใจแตตนเองและคํานึงถึงแตตนเอง จึงสงผลใหเกิดเปน ประโยชนสวนตนดังมคี วามหมายทสี่ รปุ ได ดงั นี้ ประโยชนสวนตน หมายถึง ความสนใจตนเอง การคํานึงถงึ ตนเอง ประโยชนส ว นตน หมายถงึ ผลประโยชนท ีบ่ ุคคลไดรบั โดยอาศยั ตาํ แหนง หนา ที่ของตน หาผล ประโยชนจากบุคคลหรือกลุมบคุ คล ผลประโยชนสวนตนมที งั้ ท่ีเกยี่ วกบั เงินทอง และไมไ ดเก่ยี วกบั เงนิ ทอง เชน ทีด่ ิน หุน ตําแหนง หนาท่ี สัมปทาน สว นลด ของขวัญ หรือสงิ่ ที่แสดงนํ้าใจไมตรีอน่ื ๆ การลาํ เอียง การเลือกปฏบิ ตั ิ เปน ตน กลาวโดยสรุป ประโยชนสว นตน เปนการคํานึงถึงตนเอง เปน การแสวงหาผลประโยชน จากบุคคลหรือกลุมบคุ คล เพือ่ ให้ไดสง่ิ ท่ตี นตองการ ไมว า ส่ิงนั้นจะถูกหรือผดิ 2. ผลประโยชนส ว นตน (private interest) “ผลประโยชน” คือสิ่งใด ๆ ที่มีผลตอบุคคล กลุม บุคคลไมวาในทางบวกหรือลบ “ผลประโยชนส วนตน” ไมได ครอบคลุมเพียงผลประโยชนดานการงาน หรือธุรกจิ ของเจาหนาที่ แตรวมถงึ คนท่ีติดตอสัมพันธดวย เชน เพื่อน ญาติ คูแขง ศัตรู เมอ่ื ใดเจาหนาท่ี ประสงคจะใหคนเหลานไ้ี ดห รอื เสยี ประโยชน เมอ่ื น้นั ก็ถือวามเี รอื่ งผลประโยชนสว นตนมาเก่ียวของ ดงั นน้ั ผลประโยชนสวนตนสามารถแบงได 2 ประเภท คือ ท่ีเกี่ยวกับเงิน (pecuniary) และที่ไมเกี่ยวกับเงิน (non-pecuniary) 2.1 ผลประโยชนสว นตนท่ีเกี่ยวกับเงิน ไมไ ดเกย่ี วกับการไดม าซง่ึ เงินทองเทานั้น แตยัง เกี่ยวกบั การเพ่ิมพนู ประโยชนหรอื ปกปอ งการสญู เสียของสงิ่ ท่ีมอี ยแู ลว เชน ท่ีดิน หุน ตาํ แหนงในบรษิ ัทที่ รบั งานจากหนว ยงาน รวมถึงการไดม าซ่งึ ผลประโยชนอ่ืน ๆ ท่ไี มไดอยูในรูปตวั เงนิ เชน สมั ปทาน สวนลด ของขวัญหรือของทแ่ี สดงน้ําใจไมตรีอืน่ ๆ 2.2 ผลประโยชนที่ไมเ ก่ียวกับเงนิ เกิดจากความสัมพันธร ะหวา งบุคคล ครอบครวั หรือ กิจกรรมทางสังคม วัฒนธรรมอ่ืน ๆ เชน สถาบันการศึกษา สมาคม ลัทธิ์ แนวคิด มักอยูในรูปความ ลาํ เอยี ง อคติเลือกทร่ี ักมักทช่ี ัง และมขี อสงั เกตวาแมแตค วามเชอื่ ความคิดเหน็ สวนตวั ก็จดั อยใู นประเภทนี้ ประโยชนสวนตน กรณที ่ีเปน ประชาชนทัว่ ไป หมายถงึ การที่ตนเองตอ งการผลประโยชน หรือสิทธิ หรือการอํานวยความสะดวกบางประการ จึงไดกระทําการตาง ๆ ผานเจาหนาที่ของรัฐ เชน การติดสินบน การแอบอางตาํ แหนงหนาที่ของเจาหนาทรี่ ัฐเพือ่ ประโยชนสวนตน เปนตน ประโยชนสวนตน กรณีที่เปนเจาหนาท่ีของรัฐ หมายถงึ การท่ีเจาหนาท่ีของรัฐไดกระทํา การตา ง ๆ เพอื่ ประโยชนสวนตนและบคุ คลท่ีเกย่ี วของ ในลกั ษณะตาง ๆ เพ่ือหาประโยชนในทางการเงิน หรอื ธุรกิจจนกระทบตอ การปฏบิ ัติหนาท่ี

บทเรยี นออนไลนที่ 2 322 322 วชิ าการปอ งกนั การทจุ รติ (สค12026) ประถม 2. ประโยชนสว นรวม การที่คนเรามีความสนใจ และคํานึงถงึ ผูอ น่ื หรือสวนรวมมากกวาตนเอง แสดงถึงการเปน ผูที่เห็นแกป ระโยชนสวนรวม ซ่ึงในหนังสือเรียนรายวิชาการปองกันการทุจริตไดใหความหมายของ ประโยชนส วนรวมวา หมายถึง การคาํ นึงถึงผลประโยชนสวนรวมของชาติมากกวาประโยชนของตนเอง ประโยชนส วนรวมหรอื ประโยชนสาธารณะ หมายถึง การท่ีบุคคลใด ๆ ในสถานะที่เปน เจา หนาที่ของรัฐ (ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ หรือเจาหนาที่ของรัฐใน หนว ยงานของรัฐ) ไดก ระทาํ การใด ๆ ตามหนาท่ีหรือไดปฏบิ ัติหนาที่อนั เปนการดาํ เนินการในอีกสว นหนึ่ง ที่แยกออกมาจากการดําเนินการตามหนาที่ในสถานะของเอกชน การกระทาํ การใด ๆ ตามหนาทขี่ องเจาหนาที่ ของรฐั จึงมีวัตถุประสงคหรือมีเปาหมายเพื่อประโยชนของสวนรวม หรือการรักษาประโยชนสว นรวมท่ีเปน ประโยชนของรัฐการทําหนาท่ีของเจาหนาที่ของรัฐจึงมีความเก่ียวเนื่องเช่ือมโยงกับอํานาจหนาที่ตาม กฎหมาย 3. ผลประโยชนทบั ซอน การมผี ลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนส ว นรวมขดั กน สง ผลใหเ กดิ ผลประโยชนท ับซอน ซง่ึ สามารถสรุปความหมายของ ผลประโยชนท ับซอน (Conflict of Interests) ไดวา เปน การขดั กนั ของผลประโยชน สวนตนและผลประโยชนสว นรวม หรือการขัดกันระหวางประโยชนสว นตนและประโยชนสวนรวม หรือ การขัดกันระหวางผลประโยชนสาธารณะและผลประโยชนสว นตน และนอกจากน้ี องคกรสากล Organization for Economic Cooperation and Development (OECD) ใหน ิยามและแบง ประเภท ของผลประโยชนทับซอน (Conflict of Interests) ไววา เปนความทับซอนระหวางผลประโยชนสว นตน และผลประโยชนสว นรวม ผลประโยชนทับซอน มี 3 ประเภท ดังนี้ 1. ผลประโยชนท ับซอนที่เกิดขนึ้ จรงิ (actual) มีความทับซอ นระหวา งผลประโยชนส วนตน และสาธารณะเกิดข้นึ 2. ผลประโยชนทับซอนท่ีเห็น (perceived & apparent) เปนผลประโยชนทับซอนที่ คนเหน็ วามีแตจ รงิ ๆ อาจไมม ีกไ็ ด ถา จัดการผลประโยชนทบั ซอ นประเภทนีอ้ ยางขาดประสิทธิภาพ กอ็ าจ นํามาซึง่ ผลเสียไมน อ ยกวาการจัดการผลประโยชนท ับซอนทีเ่ กดิ ขึน้ จรงิ ขอน้ีแสดงวาเจา หนา ทไี่ มเพยี งแต จะตองประพฤติตนอยางมจี รยิ ธรรมเทา นั้น แตต องทําใหค นอื่น ๆ รบั รู และเห็นดวยวาไมไ ดรับประโยชน เชน น้ันจริง 3. ผลประโยชนท ับซอนท่ีเปนไปได (potential) ผลประโยชนส ว นตนที่มใี นปจจุบันอาจจะ ทับซอน กับผลประโยชนสาธารณะไดในอนาคต การนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช จะชวยใหลดการเกิดผลประโยชนทับซอน จากการทุจริต โดย ดร. อานนท ศักด์ิวรวิชณ คณะสถิติประยุกค สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร กลาวสรุป ศาสตรพระราชา จากปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสูการพัฒนาอยา งยง่ั ยนื ดังน้ี 1. จากปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในฐานะหลักการนาํ ทาง ประกอบดว ย สามหวง สองฐาน คอื ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมีภมู ิคุมกนั ในตน มีฐานความรู และฐานคณุ ธรรม

บทเรยี นออนไลนท ่ี 2 323 323 วิชาการปองกันการทจุ ริต (สค12026) ประถม 2. วิธีการของศาสตรพระราชา คือ เขาใจ เขาถึง พัฒนา โดยตองเขาใจ เขาถึง พัฒนา คน วัตถุ สงั คม ส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรม เขาใจ หมายถึง การใชขอมลู ท่ีมีอยูแลว การใชและแสวงหาขอมูลเชิง ประจักษ การวิเคราะห และการวิจัย การทดลองใชจนไดผลจริงกอนเขาถึง หมายถึง การระเบิดจากขางใน เขาใจ กลุมเปาหมายในการพัฒนา และสรางปญญาสังคม พัฒนา หมายถึง การพัฒนาที่ประชาชนเริ่มตนดวย ตนเอง พงึ่ พาตนเองได และมตี นแบบในการเผยแพรความรใู หป ระชาชนไดเ รยี นรแู ละนําไปประยุกตใช 3. การประยกุ ตแ หงศาสตรพระราชา ตอ งทําดวยความรัก ความปรารถนาและดว ยใจ ตอ งประยกุ ตใ ช อยางย่งั ยนื ไมยึดติดตํารา ปรบั ตามบคุ คล สภาพพน้ื ทีแ่ ละสถานการณ ตวั อยา ง การประยุกตแหง ศาสตร พระราชา ไดแ ก โครงการพระราชดาํ รกิ วา 4,000 โครงการ เกษตรทฤษฎีใหม  แกลงดนิ แกมลงิ ฝนหลวง กงั หนั นํา้ ชยั พฒั นา หญาแฝก เขอ่ื นปาสกั ชลสิทธิ์ สถานวี ทิ ยุ อส. ถนนวงแหวน ถนนรชั ดาภิเษก ทางดวน ลอยฟาถนนบรมราชชนนี สะพานพระราม 8 เปน ตน 4. ผลลัพธของศาสตรพระราชา คอื ตามพระปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพ่อื ประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” ในสวน “ประโยชนส ุขแหง มหาชนชาวสยาม” แสดงใหเ หน็ ถึง ทรงทําเพ่ือสวนรวม คนในสังคมจะไดร ับประโยชนท ่ัวกัน สอนใหประชาชนรูจ ักพออยูพอกิน และรูรัก สามัคคีอันเปนการพัฒนาอยางยั่งยืนทําใหเกิดความพอเพียง พอประมาณ สงผลทําใหไมเกดิ การทุจริต หาประโยชนส ว นตน และไมก อ ใหเกิดเปน ผลประโยชนทบั ซอน

บทเรยี นออนไลนท ่ี 2 324 324 วชิ าการปองกันการทจุ รติ (สค12026) ประถม กิจกรรมที่ 2 เร่อื ง การแยกแยะระหวางผลประโยชนส วนตนกับผลประโยชนส ว นรวมโดยใชก ระบวนการคิด ตามหลกั ปรชั ญาคิดเปน ช่อื - สกุล.............................................................................รหัสนกั ศึกษา......................................... คาํ ชแี้ จง ใหผ เู รยี นอธิบายขอความตอไปนี้ จํานวน 5 ขอ (5 คะแนน) 1. การคิดแยกแยะ หมายถึง ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 2. ประโยชนสว นตนและประโยชนส วนรวม หมายถงึ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 3. จงอธบิ ายความสําคญั ของการคิดเปน ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 4. จงอธิบายวธิ กี ารของศาสตรพ ระราชา ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 5. จงอธิบายผลลัพธข องศาสตรพระราชา ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

บทเรยี นออนไลนที่ 2 325 325 วิชาการปองกนั การทุจริต (สค12026) ประถม เฉลยกจิ กรรมท่ี 2 เรื่อง การแยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมโดยใชก ระบวนการ คิดตามหลักปรัชญาคดิ เปน คาํ ชี้แจง ใหผ เู รยี นอธบิ ายขอความตอไปนี้ 1. การคดิ แยกแยะ หมายถงึ ตอบ การคิดวิเคราะห ไตรตรองท่ีมุงใหมองเห็นความแตกตางของขอมูล สามารถแยกแยะหา สาเหตุหรือเปา หมายทต่ี อ งการไดอ ยา งถกู ตอ ง เปน การคิดที่มุงใหม องและใหร จู กั สงิ่ ท้ังหลายตามความเปน จริง โดยอาศยั การแยกแยะออกเปนสวนประกอบตาง ๆ เปนวิธีคดิ แบบวิเคราะห นอกจากแยกแยะหรือ แจกแจงออกไปเปนสวนประกอบตาง ๆ แลวยังมกี ารจัดหมวดหมูห รือจดั ประเภทไปดวยพรอมกัน เชน ผูเรยี นมาเรียนสาย สามารถแยกแยะสาเหตุของการมาสายได 2. ประโยชนสว นตนและประโยชนสวนรวม หมายถงึ ตอบ ประโยชนสวนตน หมายถึง ผลประโยชนท่บี คุ คลไดรบั โดยอาศัยตาํ แหนงหนาที่ของตนหา ผลประโยชนจ ากบุคคลหรอื กลุมบุคคล ผลประโยชนส ว นตนมีทงั้ ที่เก่ียวกับเงนิ ทองและไมไดเกีย่ วกับเงิน ทอง เชน ที่ดิน หุน ตําแหนง หนาที่ สัมปทาน สว นลด ของขวัญ หรือสิ่งที่แสดงนํ้าใจไมตรีอ่ืน ๆ การ ลําเอยี ง การเลือกปฏิบตั ิ ประโยชนสวนรวมหรือประโยชนสาธารณะ หมายถึง การท่ีบุคคลใด ๆ ในสถานะที่ เปนเจา หนาท่ขี องรัฐ (ผูดาํ รงตําแหนงทางการเมอื ง ขาราชการ พนักงานรฐั วสิ าหกิจ หรือเจา หนาท่ีของรฐั ในหนว ยงานของรัฐ) ไดกระทําการใด ๆ ตามหนาท่ีหรือไดป ฏิบัติหนา ท่ีอันเปนการดําเนินการในอีกสวน หนึ่งท่ีแยกออกมาจากการดาํ เนนิ การตามหนาท่ใี นสถานะของเอกชน การกระทาํ การใด ๆ ตามหนาที่ของ เจา หนา ทข่ี องรฐั จงึ มีวัตถปุ ระสงคห รอื มีเปาหมายเพื่อประโยชนของสวนรวม หรือการรักษาประโยชนส ว น รวมท่ีเปนประโยชนข องรัฐการทําหนาท่ีของเจาหนาท่ีของรัฐจึงมีความเก่ียวเนื่องเช่ือมโยงกับอํานาจ หนาที่ตามกฎหมาย 3. จงอธิบายความสําคญั ของการคดิ เปน คืออะไร ตอบ ความสาํ คัญของการคดิ เปน เปนส่ิงทม่ี ีคุณคา เพราะการคิดชว ยใหค นไดม องเห็นสภาพ ปญ หาตา ง ๆ ในอนาคต ซ่งึ จะชวยใหบุคคลไดคดิ หาแนวทางในการหลีกเล่ยี งหรอื ปองกันได และการคิด ชวยขยายความหมายของส่ิงตาง ๆ ในโลกได และผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นจากการคิด คือ คนจะมีการปฏิบัติหรือ การกระทําตามท่ีเขาคิด ถึงแมวามันจะถูกหรือผิดก็ตาม เน่ืองจากการคิดมีพลังอํานาจ จึงตองมีการ ควบคุม โดยไดแนะนําวิธีการทางวิทยาศาสตรในการชวยรักษาความคิดใหเปนไปอยางถูกตอง มีการ ควบคมุ เงื่อนไขภายใตก ารสังเกตสรปุ ความคิดตามสง่ิ ท่เี กิดขน้ึ และมีการคิดทบทวนแนวคิด กลาวไดว า สิ่ง ท่ีบุคคลรูจ ะเปนส่ิงที่กระตนุ ใหเกิดกระบวนการคิดคร้ังแรก แลวจึงนาํ ไปสูการคดิ ในสิ่งอืน่ ๆ ซ่ึงสามารถ เชอื่ มโยงใหเกดิ ความสมบรู ณข องกระบวนการคดิ น้ัน เนือ่ งจากการคิดมีอทิ ธพิ ลอยางมากจากกเิ ลสท่ีอยูใน

บทเรยี นออนไลนท ่ี 2 326 326 วชิ าการปองกันการทุจรติ (สค12026) ประถม 4. จงอธบิ ายวธิ กี ารของศาสตรพระราชา ตอบ วิธีการของศาสตรพระราชา คือ เขาใจ เขาถึง พัฒนา โดยตองเขาใจ เขาถึง พัฒนา คน วัตถุ สังคม ส่งิ แวดลอมและวัฒนธรรม เขาใจ หมายถึง การใชขอมลู ทมี่ ีอยูแลว การใชและแสวงหาขอมูล เชิงประจักษ การวเิ คราะหและการวิจยั การทดลองใชจนไดผลจริงกอนเขาถึง หมายถึง การระเบิดจาก ขางในเขา ใจกลุมเปาหมายในการพฒั นา และสรางปญญาสังคม พัฒนา หมายถึง การพัฒนาท่ีประชาชน เร่ิมตนดวยตนเอง พ่ึงพาตนเองได และมีตนแบบในการเผยแพรความรูใหประชาชนไดเรียนรูและนําไป ประยกุ ตใช 5. จงอธิบายผลลัพธข องศาสตรพระราชา ตอบ ผลลพั ธข องศาสตรพระราชา คอื ตามพระปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผนดนิ โดย ธรรมเพือ่ ประโยชนส ขุ แหงมหาชนชาวสยาม” ในสวน “ประโยชนสขุ แหง มหาชนชาวสยาม” แสดงใหเหน็ ถงึ ทรงทาํ เพอ่ื สว นรวม คนในสงั คมจะไดรบั ประโยชนท ว่ั กนั สอนใหป ระชาชนรจู กั พออยูพอกิน และรูรัก สามคั คอี นั เปน การพฒั นาอยา งยง่ั ยนื ทําใหเ กดิ ความพอเพยี ง พอประมาณ สง ผลทําใหไมเ กดิ การทจุ ริต หาประโยชนส วนตน และไมกอใหเ กดิ เปน ผลประโยชนทบั ซอ น

บทเรยี นออนไลนท ี่ 2 327 327 วชิ าการปอ งกนั การทุจรติ (สค12026) ประถม แบบทดสอบหลงั เรยี น เรื่อง การแยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนกบั ผลประโยชนสว นรวมโดยใชกระบวนการคิด ตามหลกั ปรัชญาคิดเปน ช่อื - สกลุ ................................................................................รหัสนกั ศกึ ษา........................................ คาํ ชแี้ จง ใหผ เู รยี นเลอื กคาํ ตอบทถี่ กู ตอ งทส่ี ดุ จาํ นวน 5 ขอ (5 คะแนน) 1. ขอใดเปน การนํากระบวนการของการคิดเปนมาใช 4. การคดิ แยกแยะหมายถึงขอใด ก. นําขอมลู ตนเอง งานวิจยั สงิ่ แวดลอมและ ก. เกบ็ เงินไดนําไปใหค ุณครู สงั คมมาใช ข. ขายเสอื้ ผาตามริมถนนในตัวเมอื ง ข. นาํ ขอ มลู ตนเอง สังคม สง่ิ แวดลอม และ ค. ทําการเกษตรในเขตทด่ี ินสาธารณะ วชิ าการมาใช ง. การแซงควิ ซ้อื อาหารในรา นอาหาร ค. นําขอ มลู จากสื่ออินเทอรเ นต็ เอกสารอางองิ และตนเองมาใช 5. นายเหลยี่ ม เปน ขา ราชการเกษยี ณ ตอ มาได ง. นาํ ขอมูลจากเพอื่ นรวมงาน สอ่ื อนิ เทอรเนต็ เปน สมาชิกสภาเทศบาล รลู ว งหนา จากการ และวชิ าการมาใช ประชมุ สภาวา สภาเทศบาลอนมุ ตั ใิ หต ดั ถนน ผา นชมุ ชนแหง หนงึ่ นายเหลยี่ ม จงึ ไดไ ปกวาน 2. ถาตอ งการอยูรว มกับผอู ืน่ ในสงั คมไดอ ยางมี ซื้อท่ีดินบริเวณทถ่ี นนตัดผานนน้ั เพอ่ื เกง็ กําไร ความสุข โดยนํากระบวนการคดิ เปนมาใชเราควรปฏบิ ตั ิ ทด่ี นิ พฤตกิ ารณข องนายเหลี่ยม เปนผลประโยชน ตน ตามขอ ใด ทบั ซอนรปู แบบใด ก. การปรับตัว ก. การรขู อมลู ภายใน ข. แกปญ หาได ข. การทําธุรกจิ กบั ตนเอง ค. ความยนิ ยอม ค. การทํางานหลังเกษยี ณ ง. การมสี วนรว ม ง. การรบั ผลประโยชนต าง ๆ 3. ขอใดคือความหมายของคําวา “ความละอาย” ก. ความมงุ มน่ั ในการเอาชนะ ข. ความมงุ มัน่ ในการทาํ ความดี ค. ความเกรงกลวั ตอส่งิ ทีจ่ ะมาทาํ ราย ง. ความเกรงกลัวตอ สงิ่ ท่ีไมด ี ไมถ ูกตอง

บทเรยี นออนไลนท่ี 2 328 328 วชิ าการปองกันการทุจรติ (สค12026) ประถม เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น – หลงั เรียน เรอ่ื ง การแยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชนส ว นรวมโดยใชกระบวนการคิด ตามหลกั ปรชั ญาคิดเปน 1. ข 2. ค 3. ง 4. ก 5. ง

บทเรยี นออนไลนท ี่ 3 329 329 วชิ าการปองกนั การทุจรติ (สค12026) ประถม ใบงาน คําส่ัง 1. ใหผเู รยี นทําแบบทดสอบกอนเรยี นบทเรยี นออนไลนท่ี 3 เรื่อง ปฏิบตั ิตนเปนผทู ี่ STRONG / จติ พอเพียงตอ ดา นการทุจริต โดยใชก ระบวนการคดิ ตามหลกั ปรัชญาคิดเปน จาํ นวน 5 ขอ 2. ใหผ เู รียนศกึ ษาความรจู ากใบความรบู ทเรยี นออนไลนท ่ี 3 เร่ือง ปฏิบตั ิตนเปนผทู ี่ STRONG / จิตพอเพยี งตอดา นการทุจริต โดยใชกระบวนการคิดตามหลกั ปรชั ญาคดิ เปน 3. ใหผเู รียนทํากจิ กรรมท่ี 3 เร่ือง ปฏบิ ตั ิตนเปนผทู ี่ STRONG / จิตพอเพียงตอดานการทุจริต โดยใช กระบวนการคดิ ตามหลักปรัชญาคิดเปน จํานวน 3 ขอ 4. ใหผเู รียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี นบทเรยี นออนไลนท ี่ 3 เร่ือง ปฏิบตั ติ นเปนผทู ี่ STRONG / จิตพอเพียงตอ ดานการทุจริต โดยใชกระบวนการคดิ ตามหลักปรัชญาคิดเปน จาํ นวน 5 ขอ Google site บทเรียนออนไลนท ่ี 3 บทเรยี นออนไลนท่ี 3 วชิ าการปอ งกนั การทจุ ริต (สค12026) ประถม

330 330 แบบทดสอบกอ นเรยี น เรอื่ ง ปฏบิ ัตติ นเปนผูที่ STRONG / จิตพอเพยี งตอดา นการทจุ รติ โดยใชกระบวนการคดิ ตามหลักปรัชญาคดิ เปน ชือ่ - สกลุ ...............................................................................รหสั นักศกึ ษา....................................... คาํ ช้ีแจง ใหผ ูเ รยี นเลอื กคาํ ตอบทถ่ี ูกตอ งท่ีสดุ 1. ขอ ใดไมใชก ารปฏิบตั ติ นตามกฎกตกิ าของ 4. เหตผุ ลท่ีสถานศกึ ษามอบหมายใหผ ูเรยี นทาํ สถานศกึ ษา ความสะอาดสถานทพ่ี บกลมุ คือขอใด ก. การทํางานตามท่ีไดรบั มอบหมายดวยตนเอง ก. เพ่อื ใหไ ดค ะแนนระหวางเรยี น ข. การซักถามครเู ม่ือเกดิ ปญ หาจากการทํางาน ข. ฝก ความอดทน และความขยนั ค. การนําช้นิ งานเพอื่ นมาคดั ลอกเพื่อสงให ค. เพอ่ื ชวยเหลอื ครูในการทาํ ความสะอาด ง. เพอ่ื ฝกความเสยี สละ และความรับผดิ ชอบ ทนั เวลา 5. หลกั ของจติ พอเพยี งเพ่ือตอดา นการทุจริตคอื ง. การแนะนาํ เพ่อื นใหเขา ใจและสามารถทํางาน อะไร ก. STAR เองได ข. STORM 2. ขอใดไมค วรกระทาํ ในการเขา สอบ ค. STRONG ง. STRANGER ก. ทาํ ขอ สอบดวยตนเอง ข. นงั่ ตามท่ี ๆ กาํ หนดให บทเรยี นออนไลนท่ี 3 ค. ต้ังใจอา นขอ สอบใหเ สยี งดัง ง. ไมเ ขา หอ งสอบกอนไดรับอนญุ าต 3. “การรับเงนิ สินบน” เปน พฤติกรรมตรงกับขอใด ก. ทุจรติ ข. ความไมท น ค. การเพมิ่ รายได ง. การใหค วามชว ยเหลอื วชิ าการป

331 331 ใบความรู เร่อื ง ปฏบิ ัตติ นเปน ผูท ี่ STRONG / จติ พอเพยี งตอ ดา นการทจุ รติ โดยใชกระบวนการคดิ ตามหลักปรชั ญาคิดเปน STRONG : จิตพอเพียงดา นการทจุ รติ การแกปญหาการทุจรติ เปนเร่อื งทท่ี ุกคน ทุกภาคสวนของประเทศ ตองมสี วนรวม เร่มิ จากท่แี ต ละคนสามารถคดิ แยกแยะไดวา อะไรคือ “ผลประโยชนสว นตน” อะไรคือ “ผลประโยชนสวนรวม” จนเกิด “ความละอาย”ในจิตใจท่ีจะไมกระทําการใดท่ีเปนสวนหน่ึงของการทุจริต คําถามตอมาคือแตละคนจะ รกั ษา “ความละอาย”ดงั กลาวใหต อเนอ่ื งยง่ั ยนื ทจ่ี ะไมกระทาํ ทุจรติ ไมย อมรบั การทุจรติ และมีสวนรวมใน การ “ดานการทุจริต”อยา งสรางสรรคไ ดอ ยางไร ความหมาย STRONG : จิตพอเพียงดา นการทจุ รติ จติ พอเพียงดานการทุจริต หมายถึง การมีจิตสํานึกในการดําเนนิ ชีวติ แบบพอเพียงท่จี ะไมกระทํา การทุจริต รวมท้งั ตอดานการทุจรติ ดว ย (ความหมายดังกลาว ที่ประชุมคณะทํางานประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร จัดทําส่ือประกอบการเรยี นรู ดานการปองกนั การทุจรติ หลักสตู รดานทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education)รวมกนั นยิ ามข้ึน) องคป ระกอบการสรางจิตสาํ นึกพอเพยี งดานการทจุ รติ หนวยงานทุกภาคสวนใหความสําคัญในการประยุกตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ประกอบหลักการดานการทจุ ริตตาง ๆ เพอ่ื สรางฐานคิดจิตพอเพียงดานการทุจริตใหเ ปนพนื้ ฐานความคิด ของแตละบุคคล โดยรองศาสตราจารย ดร.มาณี ไชยธรี านวุ ฒั ศริ ิ ไดค ดิ คน โมเดล “STRONG : จติ พอเพยี ง ดานการทุจริต”เมือ่ ป พ.ศ. 2560 ใหเกิดข้ึนในจิตใจของแตละบุคคล ซ่ึงมีองคประกอบของ STRONG : จติ พอเพยี งดานการทจุ รติ ดงั น้ี 1) S (Sufficient) : ความพอเพยี ง 2) T (Transparent) : ความโปรงใส 3) R (Realize) : ความตน่ื รู 4) O (Onward) : มงุ ไปขางหนา 5) N (Knowledge) : ความรู 6) G (Generosity) : ความเออื้ อาทร บทเรยี นออนไลนท ี่ 3 วชิ าการปอ งกันการทจุ ริต (สค12026) ประถม

332 332 “การประยกุ ตห ลกั ความพอเพยี ง ดวยโมเดล STRONG : จิตพอเพยี งดานการทุจรติ ” จากแผนภาพ “การประยุกตหลักความพอเพยี ง ดวยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงดา นการทจุ ริต” ใหเกิดขึน้ ในจติ ใจของแตละบุคคล มีรายละเอียด ดังน้ี 1) ความพอเพยี ง (Sufficient : S) หมายถงึ แตละบุคคลนอ มนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมา เปนหลักในการดําเนินชีวิต กลาวคือ ตองมีความพอประมาณ ในการกระทําส่ิงตาง ๆ ใหไมมาก ไมนอย เกินไป ไมเบยี ดเบียนตนเองหรอื ผอู นื่ มเี หตผุ ล กลาวคอื ส่ิงที่ตัดสนิ ใจทําอยา งพอประมาณน้นั ตองมเี หตมุ ี ผลรองรับ รวมทั้งคํานึงถึงผลท่ีจะเกิดจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ และเตรียมตัวใหพรอมรับ ผลกระทบท่ีเปนความเปลย่ี นแปลง ซึ่งเปน ภูมคิ ุมกัน กลา วคือ ใหสามารถรบั มือและปรบั ตัวเพ่ือรองรับ ความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้นึ ได โดยมีเง่ือนไขท่ีฐานของการตัดสินใจวาตองมีความรู คือ รอบรู รอบคอบ

บทเรยี นออนไลนท ี่ 3 333 333 วชิ าการปอ งกนั การทุจริต (สค12026) ประถม ระมัดระวังและคุณธรรม คือ ซื่อสัตยสุจริต ขยันอดทน สติปญญา แบงปน ตามแผนภาพปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 2) ความโปรงใส (Transparent : T) หมายถงึ การที่ตัวเราตองทําทุกเรอื่ งบนพื้นฐานของความ โปรง ใส เปน ธรรม ตรวจสอบได ตรงไปตรงมา ปฏิบัตติ ามกฎ ระเบยี บ ขอบงั คับและขอกาํ หนดตาง ๆ ท่ีมี ในสังคม ในฐานะท่ีผูเรียนเปน สมาชกิ ของชุมชน สังคม และประเทศชาติ จงึ ควรประพฤติปฏิบตั ใิ นเรื่องตาง ๆ ตามกฎ ระเบยี บ ขอ บังคับ และขอกาํ หนดตาง ๆ ทีม่ ใี นสังคม ซึ่งการประพฤตปิ ฏิบัตดิ งั กลา วถอื วามคี วาม ถกู ตอง โปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได ตรงไปตรงมา สง ผลใหเปน ผูไมกระทาํ การทุจริต หรอื เปน สวน หนึ่งของการทุจริต และสามารถผลักดันใหเกิดความรวมมือดานทุจริตในสังคมได การทําอะไรไม ตรงไปตรงมา พดู จาเชื่อถือไมไ ด ไมพ ดู ความจรงิ โกหกเนอื ง ๆ จะทาํ ใหคนอ่ืนไมเ ชื่อถือ สง ผลใหคนอน่ื ไม ไวใ จในการกระทําตา ง ๆ พฤติกรรมดงั กลาวมักจะเปนเหตุของการกระทาํ ทจุ รติ 3) ความต่ืนรู (Realize : R) / ความรู (Knowledge : N) หมายถึง ผูเรยี นตองมีความรู ความเขาใจ และตระหนกั รูถึงรากเหงาของปญหาจากภัยรา ยแรงของผลกระทบทเี่ กิดจากการกระทําทุจริต ประพฤติมิชอบ ตอสังคมในภาพรวม หากเกิดการทุจริตประพฤติมิชอบขึ้นมาแลว ก็ควรมีสวนรวมในการดานทุจรติ ดังกลาวดวย เพื่อเปนพลังใหคนอ่ืน ๆ ในสังคมเขามามีสวนรวมในการไมกระทําการทุจริต รวมเฝาระวังและดานการ ทจุ รติ 4) มุงไปขางหนา (Onward : O) เราทกุ คนตอ งมคี วามหวงั รวมสราง ปรบั เปล่ยี นตวั เอง และ สวนรวมใหมคี วามเจรญิ กาวหนาบนฐานความโปรงใส ความพอเพียง และรวมกนั สรางวัฒนธรรมสจุ ริตให เกิดขึ้นในสังคมอยางไมท อ 5) ความเอื้ออาทร (Generosity : G) สังคมไทยเปนสังคมที่ผูคนมีความเอื้ออาทรตอกัน ความเอือ้ อาทรนี้ จงึ เปนพลังท่ีเราสามารถนํามาใช ในการกระตุนเพื่อสรางการมีสวนรวมในการทุจริตใหเกดิ ขึ้นใน สงั คม ดังพระราชดํารัสพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี 9) เพ่ืออัญเชิญ ลงพิมพในนิตยสารท่ีระลึกครบ 36 ป ของสโมสรไลออนสกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2538 วา “สงั คมใดก็ตาม ถามคี วามเออ้ื เฟอ เกือ้ กลู กนั ดวยความมงุ ดี มงุ เจรญิ ตอกัน สังคมนั้นยอ มเต็มไปดว ยไมตรจี ิต มิตรภาพ มคี วามรมเย็นเปน สุขนาอยู...” 6) ดานการทุจริต ผูเรยี นเองตองไมเ ปนสวนหนงึ่ ของการทจุ ริต เชน เมือ่ เราทําผดิ กฎจราจรและ ตอ งเสียคาปรับ เราควรไปเสียคาปรับท่ีสถานีตํารวจตามจํานวนท่ีภาครัฐเรียกเก็บ แทนการจายเงินให ตํารวจโดยตรงดวยจํานวนเงินท่ีนอยกวา หรือเมื่อพบเห็นการกระทําทุจริตก็ควรมีสวนรวมในการดาน ทจุ รติ ผานSocial Media ซง่ึ เราพบวาปจ จบุ ันไดผ ลในหลายเรอื่ ง บทเรยี นออนไลนท ่ี 3 วิชาการปอ งกันการทจุ ริต (สค12026) ประถม กิจกรรมท่ี 3

ตองเสียคาปรับ เราควรไปเสียคาปรับท่ีสถานีตํารวจตามจํานวนท่ีภาครัฐเรียกเก็บ แทนการจายเงินให ตํารวจโดยตรงดวยจํานวนเงินที่นอยกวา หรือเมื่อพบเห็นการกระทําทุจริตก็ควรมีสวนรวมในการดาน ทจุ ริตผา นSocial Media ซงึ่ เราพบวาปจ จุบันไดผ ลใน33ห4ลายเรือ่ ง บทเรยี นออนไลนท ่ี 3 วิชาการปอ งกนั การทจุ ริต (สค12026) ประถม 334 กจิ กรรมท่ี 3 เร่ือง ปฏิบตั ติ นเปนผูที่ STRONG / จิตพอเพยี งตอ ดา นการทุจริต โดยใชกระบวนการคิด ตามหลักปรัชญาคดิ เปน ชอ่ื - สกลุ ........................................................................... รหัสนกั ศึกษา........................................... คําชี้แจง ใหผ ูเรยี นอธิบายขอ ความตอไปนี้ จาํ นวน 3 ขอ (5 คะแนน) 1. ใหผเู รียนอธิบายความหมายของคําวา “STRONG” ยอมาจากอะไร อกั ษรแตละตัว คอื S , T , R , O , N , G หมายถงึ อะไร จงอธิบายมาใหเ ขาใจ (1 คะแนน) ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2. STRONG : จิตพอเพยี งดานการทจุ รติ หมายถึง (2 คะแนน) ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 3. การประยกุ ตห ลักความพอเพยี ง ดวยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงดานการทุจรติ ”ใหเ กิดขึน้ ในจติ ใจ ของแตล ะบุคคล มีอะไรบาง (2 คะแนน) ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... บ......ท......เ..ร....ยี ....น......อ....อ......น....ไ....ล....น......ท ....ี่....3............................................................................................................................ว....ชิ ....า....ก....า....ร....ป......อ....ง....ก......นั ....ก......า....ร..ท......จุ....ร....ิต........(..ส......ค....1....2....0......2....6....)......ป....ร....ะ....ถ......ม.... เฉลยกจิ กรรมท่ี 3

...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 335 บทเรยี นออนไลนท่ี 3 วิชาการปอ งกนั การทุจริต (สค12026) ประถม เฉลยกิจกรรมที่ 3 เร่ือง ปฏบิ ตั ติ นเปน ผทู ่ี STRONG / จติ พอเพียงตอดา นการทุจริต โดยใชก ระบวนการคิดตามหลกั ปรัชญาคดิ เปน คาํ ช้ีแจง ใหผ เู รียนอธบิ ายขอความตอไปน้ี 1. ใหผูเรยี นอธิบายความหมายของคําวา “STRONG” ยอมาจากอะไร อกั ษรแตละตัว คือ S , T , R , O , N , G หมายถึงอะไร จงอธบิ ายมาใหเ ขา ใจ ตอบ 1) S (Sufficient) : ความพอเพยี ง 2) T (Transparent) : ความโปรง ใส 3) R (Realize) : ความตน่ื รู 4) O (Onward) : มงุ ไปขางหนา 5) N (Knowledge) : ความรู 6) G (Generosity) : ความเอื้ออาทร 2. STRONG : จติ พอเพยี งดานการทจุ รติ หมายถงึ ตอบ จติ พอเพยี งดานการทุจริต หมายถงึ การมีจิตสํานกึ ในการดาํ เนินชีวติ แบบพอเพยี งที่จะไม กระทําการทจุ ริต รวมทงั้ ตอดานการทจุ รติ ดว ย (ความหมายดงั กลา ว ท่ปี ระชุมคณะทาํ งานประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร จัดทาํ ส่อื ประกอบการเรียนรู ดานการปองกนั การทจุ รติ หลกั สตู รดานทจุ ริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education)รว มกนั นยิ ามขึน้ ) 3. การประยุกตหลักความพอเพียง ดวยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงดานการทุจริต”ใหเกิดขน้ึ ในจติ ใจของ แตละบุคคล มีอะไรบา ง ตอบ 1) ความพอเพียง (Sufficient : S) หมายถึง แตละบุคคลนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาเปนหลักในการดําเนินชวี ิต กลาวคือ ตองมี ความพอประมาณ ในการกระทําสิ่งตาง ๆ ใหไม มาก ไมนอยเกินไป ไมเ บียดเบียนตนเองหรอื ผูอนื่ มีเหตผุ ล กลาวคอื สง่ิ ท่ีตดั สนิ ใจทําอยางพอประมาณน้ัน ตองมีเหตุมีผลรองรบั รวมทั้งคาํ นึงถึงผลท่จี ะเกิดจากการกระทําน้ัน ๆ อยางรอบคอบ และเตรยี มตัวให้ พรอ มรบั ผลกระทบที่เปน ความเปลยี่ นแปลง ซึง่ เปน ภูมคิ ุมกนั กลาวคือ ใหสามารถรับมือและปรับตวั เพื่อ บรอทงเรยัีบนคอวอามนไเลปนลที่ยี่น3แปลงที่เกิดขึ้นได โดยมีเงื่อนไขท่ีฐานวขิชาอกงากราปรอตงัดกสนั ินกใาจรวทาุจตรอิตงม(สีคคว1า2ม0ร2ู 6ค)ือประอถบมรู รอบคอบ ระมดั ระวงั และคณุ ธรรม คอื ซอื่ สตั ยสจุ รติ ขยันอดทน สติปญญา แบงปน ตามแผนภาพปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 2) ความโปรงใส (Transparent : T) หมายถงึ การที่ตวั เราตองทําทกุ เรอ่ื งบนพื้นฐานของความโปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได ตรงไปตรงมา ปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบยี บ ขอบังคับและขอกําหนดตาง ๆ ทมี่ ีในสงั คม ในฐานะท่ีผเู รียนเปน สมาชกิ ของชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ จึงควรประพฤติปฏบิ ตั ใิ นเรอื่ งตาง ๆ ตาม กฎ ระเบียบ ขอบังคับ และขอกาํ หนดตาง ๆ ทม่ี ใี นสังคม ซึง่ การประพฤติปฏบิ ัติดังกลาวถอื วามีความถูก ตอ ง โปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได ตรงไปตรงมา สงผลใหเปนผูไมกระทําการทุจริต หรือเปนสวนหน่ึง ของการทุจริต และสามารถผลักดันใหเกิด ความรวมมือดานทุจริตในสังคมๆได การทําอะไรไม

บทเรยี นออนไลนท ี่ 3 336 336 วิชาการปอ งกันการทจุ รติ (สค12026) ประถม ตรงไปตรงมา พดู จาเชอื่ ถือไมไ ด ไมพ ูดความจรงิ โกหกเนือง ๆ จะทําใหคนอน่ื ไมเชอ่ื ถือ สงผลใหคนอ่ืนไม ไวใ จในการกระทําตาง ๆ พฤตกิ รรมดังกลาวมักจะเปน เหตขุ องการกระทําทจุ ริต 3) ความตน่ื รู (Realize : R) / ความรู (Knowledge : N) หมายถึง ผเู รยี นตอ งมีความรู ความเขา ใจ และตระหนกั รถู งึ รากเหงา ของปญ หาจากภัยรา ยแรงของผลกระทบท่ีเกิดจากการกระทาํ ทุจรติ ประพฤติมิชอบ ตอสงั คมในภาพรวม หากเกดิ การทจุ ริตประพฤติมชิ อบข้ึนมาแลว กค็ วรมีสว นรว มในการดา นทจุ ริตดังกลาว ดวย เพื่อเปนพลังใหคนอ่ืน ๆ ในสังคมเขามามีสวนรวมในการไมกระทําการทจุ ริต รวมเฝาระวังและตาน การทุจริต 4) มุงไปขางหนา (Onward : O) เราทุกคนตองมีความหวัง รว มสราง ปรบั เปลยี่ นตวั เอง และสวนรวม ใหมคี วามเจริญกาวหนาบนฐานความโปรง ใส ความพอเพียง และรวมกนั สรางวฒั นธรรมสุจริตใหเ กิดขน้ึ ใน สังคมอยางไมทอ 5) ความเอื้ออาทร (Generosity : G) สังคมไทยเปนสังคมท่ีผูคนมีความเอื้ออาทรตอกัน ความเอ้ือ อาทรนี้จึงเปนพลังท่ีเราสามารถนํามาใชในการกระตุนเพื่อสรางการมีสวนรวมในการทุจริตใหเกิดขึ้นใน สังคมดังพระราชดํารัสพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราชบรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรชั กาลท่ี 9) เพื่อ อัญเชิญลงพมิ พในนติ ยสารทร่ี ะลกึ ครบ 36 ป ของสโมสรไลออนสกรงุ เทพฯ เมอ่ื วันท่ี 31 มนี าคม 2538 วา “สังคมใดก็ตามถามีความเอ้ือเฟอเก้อื กูลกันดวยความมุงดี มุงเจริญตอกัน สังคมนั้นยอมเต็มไปดวย ไมตรจี ิต มิตรภาพ มคี วามรมเยน็ เปนสุขนาอยู...” 6) ดานการทุจรติ ผเู รยี นเองตองไมเปนสวนหนึ่งของการทุจริต เชน เม่ือเราทาํ ผิดกฎจราจรและ ตองเสียคาปรับ เราควรไปเสียคาปรับท่ีสถานีตํารวจตามจาํ นวนที่ภาครัฐเรียกเก็บ แทนการจายเงินให ตํารวจโดยตรงดวยจํานวนเงินที่นอยกวา หรือเมื่อพบเห็นการกระทําทุจริตก็ควรมีสวนรวมในการดาน ทุจรติ ผานSocial Media ซ่งึ เราพบวา ปจ จุบนั ไดผ ลในหลายเรอ่ื ง บทเรยี นออนไลนท่ี 3 วิชาการปอ งกันการทุจริต (สค12026) ประถม แบบทดสอบหลังเรียน

บทเรยี นออนไลนท่ี 3 337 วชิ าการปอ งกนั การทจุ รติ (สค12026) ปร3ะ3ถ7ม แบบทดสอบหลังเรยี น เรอ่ื ง ปฏบิ ัติตนเปน ผูที่ STRONG / จติ พอเพยี งตอดานการทุจริต โดยใชก ระบวนการคิด ตามหลักปรัชญาคดิ เปน ช่ือ - สกุล..........................................................................รหสั นกั ศึกษา.............................................. คาํ ชแี้ จง ใหผ เู รยี นเลือกคําตอบทถี่ ูกตองทส่ี ดุ จํานวน 5 ขอ (5 คะแนน) 1. ขอใดไมใ ชก ารปฏิบตั ติ นตามกฎกตกิ าของ ความสะอาดสถานที่พบกลมุ คอื ขอ ใด สถานศึกษา ก. เพ่อื ใหไดค ะแนนระหวางเรียน ข. ฝก ความอดทน และความขยัน ก. การทาํ งานตามที่ไดร บั มอบหมายดวยตนเอง ค. เพอ่ื ชวยเหลอื ครใู นการทาํ ความสะอาด ข. การซกั ถามครเู มื่อเกดิ ปญหาจากการทํางาน ง. เพ่อื ฝกความเสยี สละ และความรบั ผดิ ชอบ ค. การนําชิ้นงานเพ่อื นมาคดั ลอกเพ่ือสงให 5. หลกั ของจติ พอเพยี งเพ่ือตอ ตานการทุจริตคือ อะไร ทนั เวลา ก. STAR ง. การแนะนาํ เพ่อื นใหเขาใจ และสามารถทาํ งาน ข. STORM ค. STRONG เองได ง. STRANGER 2. ขอ ใดไมค วรกระทาํ ในการเขา สอบ ก. ทาํ ขอ สอบดวยตนเอง ข. น่งั ตามที่ ๆ กาํ หนดให ค. ตงั้ ใจอา นขอ สอบใหเ สยี งดงั ง. ไมเ ขาหอ งสอบกอนไดร บั อนญุ าต 3. “การรับเงินสนิ บน” เปน พฤติกรรมตรงกบั ขอใด ก. ทจุ ริต ข. ความไมท น ค. การเพมิ่ รายได ง. การใหค วามชว ยเหลือ 4. เหตผุ ลที่สถานศกึ ษามอบหมายใหผ เู รยี นทาํ

บทเรยี นออนไลนท ี่ 3 338 338 วชิ าการปอ งกนั การทุจรติ (สค12026) ประถม เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น – หลังเรียน เรื่อง ปฏิบัตติ นเปนผทู ่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอ ดานการทจุ รติ โดยใชก ระบวนการคดิ ตามหลกั ปรชั ญาคดิ เปน 1. ค 2. ค 3. ก 4. ง 5. ค

บทเรยี นออนไลนท ี่ 4 339 339 วิชาการปองกนั การทจุ ริต (สค12026) ประถม ใบงาน คาํ สง่ั 1. ใหผ เู รยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรียนบทเรยี นออนไลนที่ 4 เรอ่ื ง ความเปนพลเมอื ง จาํ นวน 5 ขอ 2. ใหผ เู รียนศกึ ษาความรูจากใบความรบู ทเรยี นออนไลนท ี่ 4 เร่ือง ความเปนพลเมือง 3. ใหผเู รียนทาํ กิจกรรมที่ 4 เรอื่ ง ความเปน พลเมือง จาํ นวน 3 ขอ 4. ใหผเู รยี นทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี นบทเรียนออนไลนท ี่ 4 เรอ่ื ง ความเปน พลเมือง จํานวน 5 ขอ Google site บทเรียนออนไลนท ่ี 4

บทเรยี นออนไลนท่ี 4 340 340 วชิ าการปองกนั การทุจรติ (สค12026) ประถม แบบทดสอบกอนเรยี น เรือ่ ง ความเปน พลเมือง ชื่อ - สกลุ ............................................................................รหัสนักศกึ ษา............................................ คาํ ช้ีแจง ใหผ เู รยี นเลอื กคําตอบทถ่ี กู ตองที่สดุ 4. ขอใดเปน ผูทมี่ คี วามเอ้อื อาทรตอ เพ่ือนมนษุ ย 1. การประพฤติปฏิบตั ติ นใหถ กู ตอ งตามหลกั ปฏิบตั ิ ก. แบง ปน อาหารใหสนุ ขั เรรอ น ระเบยี บ ขอ ปฏบิ ตั ิ กฎหมาย ซึ่งสามารถตรวจสอบ ข. บริจาคเงนิ ชว ยเหลอื วดั ใกลบ าน ไดโ ดยผทู เี่ กยี่ วขอ งเรยี กวาอะไร ค. จติ อาสาชว ยผปู ระสบภยั นํ้าทวม ง. ปลกู ปาชายเลนเพอ่ื อนรุ กั ษช ายฝง ก. ความต่นื รู (Realize) ข. ความรู (Knowledge) 5. ปรชั ญาทนี่ ํามาประยุกตใ ชใ นการตอ ตานการ ค. ความพอเพยี ง (Sufficient) ทุจรติ ไดด ีทส่ี ดุ คืออะไร ง. ความโปรงใส (Transparent) 2. ขอใดบอกลกั ษณะของบคุ คลทม่ี คี วามตืน่ รูใน ก. ปรชั ญาของทฤษฎีใหม  เร่อื งการทุจรติ ได ข. ปรชั ญาการศึกษาผูใหญ  ก. สมสวน เลา เรื่อง “ผอ.สามเสนถกู สอบ ค. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ง. ปรชั ญาจติ อาสาเพ่ือพฒั นาทอ งถ่นิ แปะ เจีย๊ ะ” ข. สดสวย กลา ววา “เร่อื งคอรร ัปชันเปน เร่ือง ปกติธรรมดามาก” ค. สดสี ใหค วามรวมมอื ในกจิ กรรมตาง ๆ ของหมบู านเปนอยางดี ง. แสนงาม อยูใ นกลมุ ชาวบา นประทว งเรือ่ ง การทจุ รติ จํานาํ ขาวของรัฐบาล 3. ขอใดบอกลักษณะหรอื การกระทาํ ท่ีเปน การต่ืน รไู ด ก. ใชเ วลาทาํ งานอยางเหมาะสม ข. รจู กั แกปญ หาในงานท่ีมอี ปุ สรรค ค. มคี วามรบั ผดิ ชอบในหนา ที่การงาน ง. มงุ มั่นทาํ งานเพื่อใหสําเรจ็ ตามเปาหมาย

บทเรยี นออนไลนท ่ี 4 341 341 วชิ าการปอ งกันการทจุ รติ (สค12026) ประถม ใบความรู เรอื่ งความเปน พลเมือง ความเปน พลเมอื ง 1. ความหมายของความเปนพลเมือง (Citizenship) ประชาชน คือ คนธรรมดาทั่วไปท่ีอาศัยอยูในประเทศใดประเทศหน่ึง ถาอาศัยในประเทศไทย เรยี กวา ประชาชนชาวไทย หรือพลเมืองไทย พลเมือง หมายถึง คนทม่ี ีสทิ ธิและหนาทใ่ี นฐานะประชาชนของประเทศใดประเทศหนึ่ง หรอื ประเทศทอี่ ยภู ายใตผูปกครองเดียวกนั มกั มวี ฒั นธรรมเดียวกนั ความเปน พลเมือง คือ สถานภาพของบคุ คลที่จารีตประเพณีหรือกฎหมายของรัฐรบั รอง ใหสิทธิและหนาที่แหงความเปนพลเมืองแกบุคคล (เรียก พลเมือง) ซึ่งอาจรวมสิทธิออกเสียงเลือกต้ัง การทํางาน และอาศัยอยูในประเทศ สิทธิกลบั ประเทศ สิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย และสิทธิการคุมครองผาน กองทพั หรอื การทตู พลเมอื งยังมหี นา ทีอ่ ื่น เชน หนา ทปี่ ฏิบัติตามกฎหมายของรฐั ชําระภาษี หรือรบั ราชการ ทหาร บุคคลทไี่ มมคี วามเปน พลเมอื ง เรยี กวา ผูไรสัญชาติ (Stateless) คนไทยทง้ั ประเทศ คอื พลเมืองไทยทงั้ หมดท่ีเปน กาํ ลังสําคญั ของประเทศทเี่ ขามามสี วน ในการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ ภายใตกฎหมายอันเปนรฐั ธรรมนูญเดียวกัน มีสิทธิ เสรีภาพ และหนา ทค่ี วามรบั ผิดชอบในการพฒั นาประเทศไทยใหเ จรญิ รงุ เรือง ประเทศทจ่ี ะเจริญกาวหนาและสงบสขุ ไดจ ะตองเปน ประเทศทม่ี ีพลเมอื งท่ดี ี ความหมาย ของพลเมืองที่ดี หมายถงึ ผูท่ีปฏิบัติหนาที่พลเมืองไดครบถวน ทั้งกิจที่ตองทํา และกิจท่ีควรทํา สาํ หรับ ความหมายของหนาท่ี หมายถึง กิจที่ตองทํา หรือควรทํา เปนส่ิงท่ีกําหนดใหทํา หรือหามมิใหกระทํา ถาทําจะกอ ใหเกิดผลดี เกิดประโยชนตอตนเอง ครอบครวั หรือสังคมสวนรวมแลวแตกรณี ถาไมท ําหรือ ละเวนการกระทําตามทก่ี ําหนดจะไดร ับผลเสียโดยตรง คอื ไดรับโทษ หรอื ถูกบงั คับ เชน ปรับ จาํ คกุ หรือ ประหารชีวิต เปนตน โดยทั่วไปสิ่งท่ีระบกุ จิ ท่ตี องทาํ ไดแ ก กฎหมาย เปนตน 2. ความสาํ คัญของพลเมอื งดี 2.1 ดานสังคม 1) พลเมอื งท่ดี ชี วยใหส งั คมมีความสงบเรยี บรอ ย 2) สังคมมกี ารพฒั นาไดอ ยางรวดเร็ว 3) มีการแกไ ขปญ หาตาง ๆ โดยใชห ลักเหตุผล 4) ชวยลดความขดั แยงและการใชค วามรุนแรงในสังคม 2.2 ดา นเศรษฐกจิ 1) พลเมอื งท่ดี จี ะประกอบสัมมาอาชพี สจุ ริต 2) ดาํ เนนิ ชีวติ ประจําวนั อยบู นพน้ื ฐานของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

บทเรยี นออนไลนท ่ี 4 342 342 วชิ าการปองกนั การทุจรติ (สค12026) ประถม 3) มคี วามประหยดั อดออม ไมใ ชจายเกนิ ตัวและไมก อ หน้ี 4) มีความรวมมอื จากทุกฝา ย เพือ่ สรา งความเขมแข็งทางเศรษฐกิจทั้งระดับครอบครวั ชุมชน และประเทศ 2.3 ดานการเมืองการปกครอง 1) พลเมอื งดยี อมเคารพกฎหมาย 2) ปฏบิ ัตติ นตามวถิ ีประชาธิปไตย 3) รูจกั สทิ ธแิ ละหนา ทขี่ องตนเอง 3. คุณลักษณะของพลเมืองดี 3.1 เคารพกฎหมาย 3.2 เคารพสทิ ธแิ ละเสรภี าพของตนเองและผูอ่นื 3.3 มีความรับผิดชอบตอหนา ทท่ี ้งั ในครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก 3.4 มเี หตผุ ล ใจกวาง และรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผูอน่ื 3.5 มคี ุณธรรมและจริยธรรมในการดาํ เนินชีวติ ประจําวัน 3.6 มจี ติ สาธารณะ คาํ นึงถงึ ประโยชนข องสวนรวม 3.7 มีสวนรวมในกระบวนการทางการเมืองการปกครอง 4. คณุ ธรรมจริยธรรมของพลเมอื งดี 4.1 การเหน็ แกป ระโยชนสวนรวม 1) มจี ติ สาธารณะ 2) รูจ กั เสียสละประโยชนส ว นตนเพอ่ื ประโยชนส ว นรวม 3) ใหความชว ยเหลือคนรอบขางและคนในสงั คมอยเู สมอ 4.2 การรบั ฟง ความคิดเห็นของกันและกนั 1) เคารพในความคิดเห็นท่แี ตกตาง 2) เปด โอกาสใหผ อู น่ื ไดแสดงความคดิ เห็นอยางเสรี 3) ยดึ หลักเสียงสว นมากเพื่อหาขอ ยุตแิ ละเคารพเสียงสวนนอ ย 4.3 การมีระเบยี บวนิ ัย รับผดิ ชอบตอหนาที่ 1) เคารพกฎระเบียบ และกตกิ าของสงั คม 2) ไมละเมดิ สิทธผิ อู น่ื และรูจักปกปองคุมครองสทิ ธเิ สรีภาพของตนเอง 3) ปฏิบัติหนาทข่ี องตนเองอยางเตม็ ความสามารถ 4.4 ความซอ่ื สตั ยสุจรติ 1) ไมเบยี ดบงั เอาทรพั ยส นิ ของผูอืน่ มาเปน ของตน 2) มีความซอ่ื ตรงตอ หนา ทท่ี ่ีไดร บั มอบหมาย 4.5 ความกลา หาญและเชื่อมนั่ ในตนเอง 1) มคี วามกลาทจี่ ะแสดงความคิดเหน็ ในเชงิ สรา งสรรค

บทเรยี นออนไลนท่ี 4 343 343 วิชาการปองกันการทุจริต (สค12026) ประถม 2) ไมยอมรับหรือสนบั สนุนการกระทําที่ไมถ กู ตอ ง 4.6 ความสามัคคี 1) มีความรกั ใครกลมเกลยี วตอคนรอบขาง 2) ไมส รางความแตกแยกในสังคม 3) รวมแรงรวมใจกนั ทํางานเพื่อพฒั นาชาติ 4.7 ความละอายและเกรงกลวั ตอการทาํ ชว่ั 1) มีความซอื่ สตั ย 2) ปฏบิ ตั ติ นโดยยึดหลักธรรมในการดําเนนิ ชีวติ 3) ละเวนการทําในสงิ่ ไมดที งั้ หลาย 4.8 สง เสริมใหค นดีปกครองบานเมอื ง 1) ประชาชนควรเลอื กคนดี มคี วามสามารถใหเ ขา ไปบรหิ ารบา นเมอื ง 2) ควบคมุ คนไมด ไี มใหม ีอํานาจทางดา นการปกครอง 5. บทบาทหนา ท่ขี องพลเมืองดี 5.1 ดา นการเมอื งการปกครอง 5.1.1 เคารพกฎหมาย 1) ปฏิบัติตามกรอบของกฎหมายอยางเครงครดั 2) ไมก ระทําการใด ๆ ที่ละเมดิ ตอกฎหมายบานเมอื ง 5.1.2 รูจักใชส ิทธแิ ละหนาทขี่ องตน 1) ปฏบิ ัติตนตามบทบาทหนา ท่ใี หดที ีส่ ดุ 2) รูจกั ปกปอ งคมุ ครองสิทธิของตนเองและผอู ่ืนอยา งเหมาะสม 5.1.3 ออกไปใชส ทิ ธเิ ลือกตง้ั 1) ไปใชส ทิ ธเิ ลือกตงั้ ทกุ คร้ังเพ่อื เลอื กคนดเี ขา ไปบรหิ ารประเทศ 2) ไมน อนหลบั ทบั สิทธิ 3) ไมข ายสทิ ธิขายเสียง 5.2 ดา นเศรษฐกจิ 5.2.1 ประกอบอาชีพสจุ รติ 1) ดํารงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2) รูจกั เก็บออมเงินเพ่ือไวใชจ า ยในยามจําเปน 5.2.2 ใชจ ายอยางประหยัด 1) มีวนิ ยั ทางการเงนิ 2) ไมน ําเงนิ ไปซอื้ สง่ิ ของท่ีไมจ ําเปน 3) ไมอ ยากไดในวัตถสุ ง่ิ ของที่เกินฐานะของตน

บทเรยี นออนไลนที่ 4 344 344 วิชาการปอ งกนั การทจุ รติ (สค12026) ประถม 5.2.3 ชําระภาษี 1) ชําระภาษคี รบตามจํานวน และตรงเวลา 2) ไมก ระทําการใดๆ เพอ่ื เปน การหลบเลยี่ งภาษี 5.3 ดานสงั คมและวฒั นธรรม 5.3.1 รกั ษาความสงบเรียบรอ ย 1) ไมก อ ความวุนวายในสงั คม 2) ปฏิบตั ติ นเปนแบบอยา งทด่ี ีแกค นรอบขาง 3) หลีกเลย่ี งการใชค วามรนุ แรงตัดสินปญหา 5.3.2 ชวยเหลอื คนพกิ ารและผดู อยโอกาส 1) มีเมตตากบั ผูดอยโอกาสทั้งหลาย 2) ไมล ะเมดิ สิทธเิ สรีภาพของผพู กิ ารหรอื ผดู อยโอกาส 3) ใหก ารสนับสนนุ และสงเสรมิ คนพกิ ารและผดู อยโอกาสตามความเหมาะสม 5.3.3 อนรุ ักษวฒั นธรรมไทย 1) อนรุ กั ษและสืบสานวัฒนธรรมอนั ดงี ามของชาติ 2) ถา ยทอดมรดกทางวฒั นธรรมสืบตอไปยงั คนรุนหลงั

บทเรยี นออนไลนท ี่ 4 345 345 วชิ าการปอ งกนั การทจุ ริต (สค12026) ประถม กจิ กรรมที่ 4 เร่อื ง ความเปน พลเมอื ง ชื่อ - สกุล..........................................................................รหสั นักศกึ ษา............................................ คําชี้แจง ใหผ ูเ รยี นอธบิ ายขอ ความตอไปน้ี จํานวน 3 ขอ 5 คะแนน 1. ความเปนพลเมอื ง (Citizenship) หมายถงึ (1 คะแนน) ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2. จงบอกคุณธรรมจรยิ ธรรมของพลเมอื งดี มอี ะไรบา ง (2 คะแนน) ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 3. จงบอกบทบาทหนาทข่ี องพลเมืองดี มอี ะไรบาง (2 คะแนน) ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

บทเรยี นบอทอเนรไยี ลนนอท อี่ น4ไลนที่ 4 346 346 346 วิชาการปวิชอางกานั รกปาอรงทกุจันรกิตา(รสทคุจ1ร2ติ 02(ส6ค)1ป2ร0ะ2ถ6ม) ประถม เฉลย กเิจฉกลรยรมกทจิ กี่ 4รรมที่ 4 เร่ือง คเวรา่อื มงเปคนวพามลเเปมนอื พง ลเมอื ง คําชีแ้ จงคําใหชผแ้ี ูเจรงยี นใหอผธบิเู รายี ยนขออ ธคบิ วายมขตออคไปวานม้ี ตอไปนี้ 1. ความ1เป. คนวพาลมเเมปอื นงพ(ลCiเtiมzeอื nงshi(pC)itหizeมnาshยipถ)งึ หมายถึง ตอบ สถตาอนบภาสพถขานองภบาุคพคขลอทงบี่จุาครคีตลปทรี่จะาเรพีตณปีหรระือเพกณฎหี มรือายกขฎอหงมราัฐยรขับอรงอรงัฐใรหับสริทอธงิแใลหะสหิทนธิาแทลี่แะหงนาท่ีแหง ความเปคน วพาลมเเมปอื น งพแกลบเมคุ อื คงลแก(เบรียคุ กคลพ(ลเรเมยี ือกงพ) ซลึง่เมออืาจง)รวซมงึ่ อสาทิ จธริอวอมกสเิทสธียอิงเอลกือเกสตยี งั้ เลกือารกทตํา้งั งากนารแทลาํะงอาานศแัยลอะยอูใานศยั อยูใน ประเทศปสรทิะเธทกิ ศลับสปิทรธะิกเลทับศปสริทะธเทคิ ศรอสบทิ คธรคิ อรงออบสคังหรอางรอิมสทงั รหัพายริมแทลระัพสทิยธแิกลาะรสคทิ ุมธคิกราอรงคผุมาคนรกอองผทาพั นหกรอืองกทาัพรหทรูตอื การทตู พลเมอื งพยังลมเมีหือนงา ยทัง่ีอมื่นีหนเชา นทีอ่ ห่นื นเาชทน ี่ปฏหิบนตัา ทติ ่ปีามฏกบิ ฎัตหิตมาามยกขฎอหงมราฐั ยชขําอรงะรภัฐาชษําี รหะรภือารษับีรหารชอืกราับรทราหชากราบรทคุ หคาลรท่ีไบมุค คลท่ีไม มีความเปมีคน วพาลมเเมปอื นงพเลรยีเมกอื วงา เผรไูียรกส วญั าชผาไูตริส (Sัญtaชteาleตssิ )(Stateless) 2. จงบอ2ก.คจุณงบธรอรกมคจณุ รยิธรธรมรมจขรยิอธงรพรลมเขมอื งพดลี มเมีอือะไงรดบี มางอี ะไรบา ง ตอบ ต1อ.บการเห1น็. กแากรปเรหะน็ โแยกชปนรส ะวโนยรชวนมสวนรวม 1) มจี ิตส1า)ธมาีจรณิตสะาธารณะ 2) รูจกั เส2)ยี สรูจลักะเปสรียะสโลยะชปนรส ะวโนยตชนนเสพว อื่ นปตรนะเโพย่ือชปนรสะว โนยรชวนมสว นรวม 3) ใหค ว3า)มใชหว คยวเหามลชอื วคยนเรหอลบอื ขคา นงรแอลบะขคานงใแนลสะังคนมใอนยสูเสังคมมออยูเสมอ 2. การร2บั .ฟกงาครวราบั มฟคงดิ คเหวา็นมขคอิดงเกหนั ็นแขลอะงกกันันและกนั 1) เคารพ1)ในเคาวราพมใคนดิ คเหวา็นมทคี่แิดตเกหต็นาทงแี่ ตกตาง 2) เปดโอ2ก) าเปสดใหโอผ กูอ านื่ สไใดหแผสูอด่ืนงไคดวแาสมดคงิดคเหวาน็ มอคยดิ าเงหเสน็ รอี ยางเสรี 3) ยดึ หล3ัก) เยสดึ ียหงสลวักนเสมยี างกสเพว น่ือมหาากขเอพย่ือุตหิแาลขะอเยคุตาริแพลเะสเคียงาสรพวนเสนยี อ งยสวนนอ ย 3. การม3รี .ะกเบายีรมบรีวะินเัยบียรบั วผนิดัยชอรบับตผอดิ หชนอาบทต่ีอหนาที่ 1) เคารพ1)กเฎคราะรเพบกยี ฎบรแะลเบะียกบตกิ แาลขะอกงตสกิังคาขมองสงั คม 2) ไมล ะ2เม) ดิไมสลทิ ะธเิผมูอิด่ืนสิทแธลิผะอูร่ืนูจกั แปลกะปรอูจงักคปุมกคปรอ องงคสุมิทคธริเสอรงีภสิทาพธเิขสอรงภี ตานพเขอองงตนเอง 3) ปฏบิ ตั3)หิ ปนฏาทิบข่ีัตอหิ งนตา นทเข่ีอององตยนางเเอตง็มอคยวาางมเตสม็ าคมวาารมถสามารถ 4. ความ4ซ.่ือคสวัตายมสซจุ ือ่ รสิตตั ยสุจรติ 1) ไมเ บีย1ด) บไมงั เบอียาทดบรพั ังเยอส านิ ทขรอัพงยผส ูอนิ ่นื ขมอางเผปูอน ื่นขมอางเตปนน ของตน 2) มคี วา2ม)ซมอ่ื ีคตวรางมตซอ่อื หตนรางทต่ีทอไี่หดนร าับทมท่ี อไี่ บดหรับมามยอบหมาย 5. ความ5ก.ลคาวหาามญกแลลาะหเาชญ่ือแมล่นั ะในเชต่ือนมเ่นัองในตนเอง บทเรยี นบอทอเนรไยี ลนนอท อ่ี น4ไลน1ท) ่ีม4คี วา1ม)กมลีคา วทา่ีจมะกแลสา ดทงจ่ี คะวแาสมดคงิดคเหววา็นชิ มใาคนกดิเาชเรหิงปวส็นชิอ รใางานกงเานัสชรรกิงปรสาอครงทากงุจนัสรรกิตราค(รสท คจุ 1ร2ิต02(ส6ค)1ป2ร0ะ2ถ6ม) ประถม 2) ไมย อ2ม)รไบั มหย รอือมสรนบั ับหสรนอื ุนสนกาบั รสกนรนุะกทาํ รทก่ีไรมะถทูกาํตทอ ี่ไงมถกู ตอ ง 6. ความ6ส.าคมวัคาคมี สามคั คี 1) มีควา1ม)รมกั ีคใควรามกลรกัมใเคกรลกยี ลวมตเอกคลนยี รวอตบอ ขคานงรอบขาง 2) ไมส ร2า)งคไมวาสมรแางตคกวแายมกแใตนกสแังยคกมในสังคม

347 347 3) รวมแรงรวมใจกันทาํ งานเพ่อื พัฒนาชาติ 7. ความละอายและเกรงกลัวตอการทําช่ัว 1) มีความซือ่ สัตย 2) ปฏิบัตติ นโดยยดึ หลกั ธรรมในการดําเนินชีวิต 3) ละเวนการทําในสงิ่ ไมด ีทัง้ หลาย 8. สงเสรมิ ใหค นดปี กครองบานเมือง 1) ประชาชนควรเลอื กคนดี มคี วามสามารถใหเ ขาไปบริหารบานเมอื ง 2) ควบคมุ คนไมด ีไมใ หมีอาํ นาจทางดา นการปกครอง 3. จงบอกบทบาทหนา ทขี่ องพลเมอื งดี มอี ะไรบาง ตอบ 1. ดานการเมอื งการปกครอง 1.1 เคารพกฎหมาย 1) ปฏบิ ัตติ ามกรอบของกฎหมายอยางเครง ครัด 2) ไมก ระทาํ การใด ๆ ท่ีละเมิดตอกฎหมายบานเมอื ง 1.2 รจู กั ใชส ิทธิและหนา ที่ของตน 1) ปฏิบัตติ นตามบทบาทหนาท่ีใหดที ่ีสดุ 2) รจู ักปกปองคุมครองสิทธิของตนเองและผูอ่ืนอยางเหมาะสม 1.3 ออกไปใชส ิทธิเลือกตั้ง 1) ไปใชส ิทธิเลอื กต้ังทกุ คร้ังเพอื่ เลือกคนดเี ขาไปบริหารประเทศ 2) ไมน อนหลับทบั สิทธิ 3) ไมขายสิทธขิ ายเสยี ง 2. ดานเศรษฐกิจ 1. ประกอบอาชีพสุจรติ 1) ดาํ รงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2) รจู ักเกบ็ ออมเงินเพอื่ ไวใชจ ายในยามจําเปน 2. ใชจ ายอยางประหยดั 1) มวี ินัยทางการเงิน บทเรยี นออนไลนท ่ี 4 2) ไมน าํ เงนิ ไปซอื้ สิ่งของท่ีไมจ ําเปวน ิชาการปองกันการทุจริต (สค12026) ประถม 3) ไมอ ยากไดในวัตถสุ ง่ิ ของทเ่ี กนิ ฐานะของตน 3. ชาํ ระภาษี 1) ชาํ ระภาษคี รบตามจาํ นวน และตรงเวลา 2) ไมกระทาํ การใดๆ เพ่ือเปน การหลบเลยี่ งภาษี 3. ดานสังคมและวัฒนธรรม 1. รกั ษาความสงบเรียบรอย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook