Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore History and Style of Thai art

History and Style of Thai art

Published by sriwarinmodel, 2021-08-23 16:38:10

Description: History and Style of Thai art

Keywords: History,Style of Thai art,Thai art

Search

Read the Text Version

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย รปู แบบท่ี๑ เ ปน็ รปู แบบเรยี บๆ แ ละมกี ารตกแตง่ ดว้ ยการเขยี นเสน้ สแี ดงทร่ี อบคอและไหลข่ องภาชนะ เชน่ หม้อพานตะคนั เปน็ ต้นซึง่ ลกั ษณะของภาชนะและการตกแตง่ ด้วยเส้นสีแดงน้จี ะมลี กั ษณะคล้ายคลงึ กนั กบั เครอ่ื งปน้ั ดินเผาของศลิ ปะทวารวดีทางภาคกลาง (ภาพที่ ๔.๑๑o) ภาพที่ ๔.๑๑o เคร่ืองปน้ั ดนิ เผา รปู แบบท่ี ๒ เป็นเครือ่ งป้นั ดนิ เผาท่ีมีการตกแตง่ มากยง่ิ ขึ้น มที ้งั ลักษณะของตวั ภาชนะเองและการ ประดับลวดลาย เช่น หม้ออฐั ิ ตัวหม้อจะมีการตกแต่ง มขี อบหลายชนั้ ตวั หมอ้ จะแบง่ เปน็ ตอนๆ (ภาพที่ ๔.๑๑๑) ภาพที่ ๔.๑๑๑ หม้ออฐั ิ ภาพท่ี ๔.๑๑๒ ภาชนะดินเผา วัดพระธาตหุ ริภุญไชย ๙๖

บทที่ ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย ภาพท่ี ๔.๑๑๓ คนโทดนิ เผา ภ าชนะดินเผา เปน็ ภาชนะใสน่ �ำ ้ ซง่ึ มที รงกลม คอสูง สว่ นใหญเ่ นอื้ แกร่งสีแดงเข้ม หรอื แดงส้ม ขึ้นรปู ดว้ ยแปน้ หมนุ ประดบั ลวดลายเสน้ รอ่ งลกึ และแนวนอนดว้ ยสขี าวหรอื เปน็ ลายดอกมลี กั ษณะเปน็ รปู แบบเหมอื น คนโททางภาคเหนือ ที่เรยี กวา่ “น�ำ ้ตน้ ” (ภาพที่ ๔.๑๑๓) เ มื่อศิลปะหริภุญไชยถูกรวบรวมอยู่ในอำ�นาจการปกครองของแคว้นล้านนาชาวเมืองหริภุญไชยได้ถ่ายทอดศิลป วัฒนธรรมของตนใหก้ บั ผู้ยดึ ครอง แต่นานไปศิลปวัฒนธรรมของชาวหรภิ ญุ ไชยกถ็ ูกผสมผสานกลมกลืนกลาย เปน็ วัฒนธรรมล้านนา สรปุ ศลิ ปะหริภญุ ไชย หรภิ ญุ ไชยเปน็ ชอ่ื ของแควน้ โบราณตงั้ อยใู่ นเขตภาคเหนอื ตอนบนมศี นู ยก์ ลางราชธานอี ยทู่ เ่ี มอื งหรภิ ญุ ไชย จงั หวดั ล�ำ พนู ประวตั ิศาสตร์ตำ�นานที่สำ�คัญ (ต�ำ นานจามเทวี) กลา่ วถงึ ฤๅษีวาสุเทพสรา้ งเมอื งหรภิ ุญไชย โดย ไดอ้ ญั เชญิ พระนางจามเทวจี ากเมอื งละโว้เสดจ็ ขนึ้ มาครองราชย์โดยมคี ณะนกั ปราชญร์ าชบณั ฑติ ตามเสดจ็ มา สรา้ งบรู ณะเมอื งและศาสนสถานด้วย ค ติความเช่ือและศาสนา ผูค้ นส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาพุทธนกิ ายเถรวาท สถาปตั ยกรรม รูปแบบของเจดยี ์มี ๔ แบบ ๑. เจดยี ท์ รงปราสาท เชน่ เจดียก์ กู่ ดุ วดั จามเทวี สุวรรณเจดีย์ พระธาตุหรภิ ญุ ไชย ๒. เจดียแ์ ปดเหล่ียม เช่น รัตนเจดีย์ วดั จามเทวี ๓ . เจดีย์ทรงปราสาทหา้ ยอด เชน่ เจดียเ์ ชยี งยนื พระธาตุหรภิ ุญไชย ๔ . เจดียท์ รงกรวย เช่น สุวรรณเจดยี ์ ประตมิ ากรรม สว่ นใหญเ่ ป็นพระพทุ ธรปู มที งั้ สลักหิน ปนู ปน้ั โดยมศี ิลาแลงเปน็ แกน และงานดนิ เผา ท่ที ำ�ขนึ้ จากแมพ่ มิ พ ์ ร ะยะแรก รับอิทธพิ ลของทวารวดี ระยะที่สอง รบั อทิ ธิพลของศลิ ปะพกุ าม ศลิ ปะขอม ร ะยะที่สาม เป็นยคุ ทองของศลิ ปะหรภิ ุญไชย มีลักษณะเฉพาะตนอย่างชดั เจน ๙๗

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย บทท่ี ๕ สมัยประวตั ิศาสตรไ์ ทย สมยั ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย เรมิ่ ขึน้ ตง้ั แตป่ ลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ในสมัยสุโขทัยยึดเอาเรื่องราวในศลิ า จารึกเปน็ สำ�คญั เปน็ หลกั ฐานการตอ่ สู้รวบรวมกลุม่ ชนชาวไทยต้งั ตวั เปน็ อิสระสบื มาปรากฏพระนามพ่อเมือง พระองคแ์ รกคือพ่อขุนศรนี าวน�ำ ถมสำ�หรบั ด้านประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะและโบราณคดไี ทยได้จดั เอา“ศิลปะสมยั เชยี งแสน”(พทุ ธศตวรรษท่ี๑๖-๑๘) ไ วเ้ ปน็ ศลิ ปะสมยั เรมิ่ แรกของไทยในดนิ แดนลา้ นนาโดยยดึ ถอื พงศาวดาร หรอื ต�ำ นานตา่ งๆ เ ปน็ หลกั และเชอื่ กนั วา่ “เมอื งโยนกนาคพนั ธ”์ุ หรอื เมอื งเชยี งแสนเกา่ มจี รงิ ตามต�ำ นานสงิ หน วตั แิ ละพงศาวดารโยนก ๑. ศลิ ปะเชียงแสน-ลา้ นนา (ศักราชยงั ไมแ่ นน่ อน ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๖ หรอื ๑๘-๒๓) ด นิ แดนท่เี คยเปน็ แคว้นล้านนา หรอื ลานนาไทย คือ บริเวณพื้นทภี่ าคเหนอื ของประเทศไทย ปจั จุบนั ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชยี งราย ล�ำ พนู ล�ำ ปาง แพร่ น่าน แมฮ่ อ่ งสอน และพะเยา ศิลปกรรมทงั้ หมดท่ีสรา้ ง ข้นึ เนอ่ื งในพระพุทธศาสนาฝงั รากลกึ และหลอ่ เล้ียงวัฒนธรรมของแคว้นล้านนามาแต่อดตี กาล ภาพท่ี ๕.๑ แผนทีศ่ ลิ ปะเชยี งแสน-ลา้ นนา ประวตั ิของแควน้ ลา้ นนา ศึกษาได้จากตำ�นานและพงศาวดารพื้นเมอื งทกี่ ลา่ วถงึ ชมุ ชนนยี้ าวนานนับ พันปี จากหลักฐานโบราณคดแี สดงว่าดินแดนภาคเหนือเคยเป็นทต่ี งั้ ของแคว้นที่เจริญรงุ่ เรืองทางพระพุทธ ศาสนา คอื แคว้นหรภิ ุญไชย มอี าณาเขตอย่ทู างทศิ ตะวันตกของแมน่ �ำ ้ปงิ และแมน่ ำ�ว้ งั สว่ นทิศตะวันออกคือ ลมุ่ แม่น�ำ ก้ ก แมน่ �ำ ้องิ ต้นแม่น้ำ�น่านและแมน่ ำ�ย้ ม เป็นทต่ี ั้งนครอิสระขนาดเลก็ ๆ หลายแห่ง เช่น เชียงแสน (เชยี งราย) พะเยา แพร่ และน่าน ดนิ แดนต่างๆ เหลา่ นล้ี ว้ นมคี วามเจริญดา้ นศิลปวฒั นธรรม และมคี วาม สัมพนั ธ์กันเหมือนญาติพน่ี ้อง ราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ผนู้ �ำ แหง่ เมอื งเชียงราย คือ พ่อขนุ มังรายไดร้ วบรวม แควน้ และนครรฐั ตา่ งๆ เหลา่ นเ้ี ขา้ ไวด้ ว้ ยกนั พระองค์ทรงมอี ำ�นาจปกครองดินแดนบริเวณนท้ี ้งั หมด และ ๙๘

บทที่ ๕ : สมัยประวัติศาสตรไ์ ทย สรา้ งเมืองเชยี งใหม่ขึน้ เม่อื พ.ศ. ๑๘๓๙ และเชียงใหมก่ ไ็ ดก้ ลายเปน็ ศูนยก์ ลางการปกครองของแควน้ ลา้ นนา ในระยะตอ่ มา ใ นยคุ สมยั ของแควน้ ลา้ นนา คอื ตลอดพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ เปน็ ยุคของความเจรญิ ทางด้านศลิ ปกรรม ศาสนา วรรณกรรม รวมถึงศิลปวทิ ยาการแขนงอ่นื ๆ คร้ันถึงต้นพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๒ แควน้ ล้านนาบางส่วนโดย เฉพาะเมืองเชยี งใหม่ทเ่ี ป็นศูนย์กลางถูกผนวกให้อยใู่ ตอ้ ำ�นาจของพมา่ และบางส่วน เชน่ เมอื งเชยี งแสน ตกอยู่ ใต้อำ�นาจของแคว้นลา้ นช้างหลวงพระบาง ตลอดจนอ�ำ นาจของกรุงศรีอยธุ ยาทีข่ ยายขึ้นมาทศิ เหนอื ท�ำ ให้ เมืองลา้ นนาประสบความยุ่งยากอย่างหนกั เมอื งตา่ งๆ ทเ่ี คยเป็นแควน้ ลา้ นนา ไดป้ รากฏฟนื้ คนื ตัวอกี ครั้ง ในสมยั กรุงธนบุรีและกรงุ รัตนโกสินทร์ ผนู้ �ำ ชาวพ้ืนเมืองไดฟ้ ื้นฟบู ้านเมืองใหม่ ยอมรับอ�ำ นาจการปกครอง ของกรุงเทพฯ จนกระทั่งถึงรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว โปรดให้ปฏริ ปู การปกครอง ท�ำ ใหก้ ารปกครองของเจ้าผู้ครองนครพน้ื เมืองหมดอำ�นาจไป ลา้ นนาจึงกลายเปน็ ส่วนหนึ่งของประเทศไทย ในปัจจบุ ันและยังคงเห็นร่องรอยของวัฒนธรรมในอดีตทยี่ งั คงเป็นเอกลักษณ์ของลา้ นนาไว้อยา่ งเด่นชดั ศ ลิ ปกรรมของลา้ นนา ระยะแรกวัฒนธรรมทเี่ กิดข้ึน เปน็ การผสมผสานกันระหว่างศลิ ปะดง้ั เดิม ของหรภิ ุญไชยท่ีมคี วามเจรญิ ร่งุ เรือง และศิลปกรรมทีน่ ยิ มในดินแดนเดิมของพ่อขุนมังราย คือ ศลิ ปกรรม เชียงแสน นอกจากนย้ี ังได้รบั อทิ ธพิ ลศลิ ปกรรมแบบพมา่ และแบบสโุ ขทัยในแควน้ ลา้ นนา เปน็ ผมู้ ีความรู้ กวา้ งขวางทไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลของศลิ ปะสุโขทยั ได้แก่ เจดยี แ์ บบสี่เหลีย่ มผสมทรงกลม คอื เป็นเจดียท์ ่ีมีเรือนธาตุ แบบสี่เหล่ยี มยอ่ เกจ็ สว่ นบนมีเจดียท์ รงกลมตัง้ อยู่ เชน่ เจดีย์วัดเชยี งม่ัน จงั หวัดเชยี งใหม่ ส�ำ หรบั ชอื่ เรียก “ศิลปะเชียงแสน” ซ่งึ ปัจจุบันนยิ มเรยี กว่า “ศิลปะลา้ นนา” เกิดข้ึนเมื่อมีการค้น พบพระพุทธรปู เชยี งแสนเป็นคร้งั แรกท่ีอ�ำ เภอเชยี งแสน จงั หวัดเชียงราย เมอ่ื 50 กวา่ ปมี าแลว้ นกั โบราณคดี เรยี กพระพทุ ธรูปแบบนีต้ ามอำ�เภอท่พี บ และไดเ้ รยี กชอื่ ศลิ ปกรรมอ่นื ๆ ท่พี บในเมืองน้ี ปจั จบุ นั เปลีย่ นเปน็ ชอ่ื ศิลปะลา้ นนา เพราะศิลปกรรมท่พี บไม่ไดส้ ร้างทเ่ี มืองเชียงแสนอยา่ งเดียว แตเ่ จอในเมืองตา่ งๆ ด้วย ดังน้นั จึงเรียกชอ่ื เฉพาะพระพทุ ธรูปเทา่ นน้ั ศิลปะเชียงแสน ถือวา่ เปน็ ศลิ ปะไทยอย่างแทจ้ รงิ มีการสร้างศลิ ปกรรม ตามนกิ ายเถรวาทแบบเชยี งแสน และเปน็ เมอื งทสี่ ำ�คญั ด้วย ประติมากรรมสมยั เชียงแสนหรอื ล้านนาไทย เป็นพระพุทธรปู ในนกิ ายเถรวาท พบมากทางภาค เหนอื ของประเทศไทย จะมี ๒ รุน่ สนั นษิ ฐานกนั วา่ ประติมากรรมท่ีสร้างข้นึ โดยไดร้ ับอทิ ธิพลของศิลปะอน่ื สองทาง คอื ทางหนงึ่ รับเอาอิทธพิ ลของศิลปะอนิ เดยี แบบปาละ ซ่ึงอาจจะเข้ามาทางพุกาม ประเทศพมา่ และอีกทางหนึ่งรับเอาอทิ ธิพลศิลปะทมี่ าจากทางใต้ เช่น ศิลปะทวารวดี ลพบุรี และสุโขทัย โดยเฉพาะศิลปะ สโุ ขทัย ให้อิทธิพลแก่ศลิ ปะเชยี งแสน หรอื ลา้ นนาไทยอยา่ งมาก เพราะเหตวุ า่ อาณาจกั รเชียงแสนหรือลา้ น นาไทยเจรญิ ขึ้น ในยคุ ใกล้เคียงกนั กบั ท่ีอาณาจักรสโุ ขทัยก�ำ ลงั เจริญร่งุ เรอื งและยังมีการติดตอ่ กันฉนั ท์มติ ร จึงทำ�ใหแ้ บบอยา่ งและอทิ ธพิ ลทางศลิ ปะถา่ ยทอดซึง่ กนั และกัน จะสงั เกตได้จากรูปแบบของพระพุทธรูป คือ นงั่ ขดั สมาธริ าบเมด็ พระศกเล็ก พระเศยี รมเี ปลวรัศมี และชายสังฆาฏหิ อ้ ยลงมาถึงพระนาภี ร ุ่น ๑ ศิลปะเชียงแสนร่นุ แรก พ.ศ. ๑๖oo รบั อิทธิพลมาจากศิลปะปาละ ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๑๗ เป็นพระพทุ ธรปู ลักษณะคลา้ ยกบั พระพทุ ธรูปแบบปาละของอินเดีย ๙๙

ประวัติและแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๕.๒ พระพทุ ธรปู ปางมารวิชัย สำ�รดิ สูงประมาณ ๗๑ ซม. ศลิ ปะล้านนา (แบบเชยี งแสนรูปแรก) ครง่ึ แรกของพุทธศตวรรษที่ ๑๙ พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ หรภิ ญุ ไชย จังหวัดลำ�พูน ก รอบพระพกั ตรแ์ คบเกดิ จากแนวพระศกโคง้ บรรจบเปน็ มมุ แหลมทก่ี ลางพระนลาฏสอดคลอ้ งกบั พระขนง โกง่ รบั กับเปลือกพระเนตรทห่ี ร่ลี งต่ำ� พระนาสิกคอ่ นขา้ งโด่ง พระโอษฐค์ อ่ นข้างเลก็ ริมพระโอษฐอ์ ิ่ม ดังกลา่ ว นแ้ี ตกต่างจากพระพทุ ธรูปแบบหรภิ ญุ ไชยทมี่ ีพระพกั ตร์ค่อนข้างเหลย่ี ม พระนลาฏกว้างสมั พนั ธ์กบั พระขนง พระเนตร พระนาสกิ รวมทง้ั พระโอษฐ์กวา้ ง มักมพี ระมสั สอุ ยู่ด้วย ความแตกตา่ งของพระพักตรช์ วนใหค้ ิดว่า คอื ความแตกต่างทางเชอื้ สายเผ่าพันธุ์ระหวา่ งสังคมท่ีสร้างพระพุทธรูปสมัยหริภุญไชยกับพระพุทธรูปสมยั ลา้ นนา (สนั ติ เลก็ สุขุม,๒๕๕o:๑๓๒) (ภาพท่ี ๕.๒) ภาพท่ี ๕.๓ พระพทุ ธรูปปางมารวชิ ัย ส�ำ ริดสงู ๗๓ ซ.ม.ศลิ ปะเชยี งแสนรนุ่ แรก ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒o พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร พระองค์ประทบั น่งั บนปทั ามาสน์ ลักษณะพระรศั มีเป็นรปู ดอกบวั ตมู หรือลกู แก้ว ขมวดพระเกศา ใหญ่ พระนาสกิ ค่อนข้างสนั้ พระพักตร์กลมอมยมิ้ พระหน(ุ คาง) เปน็ ปม พระองคอ์ วบอว้ นสมบรู ณ์ สงบนิ่ง พระเนตรเหลอื บลงต่�ำ หางพระเนตรไม่ช้ีขึน้ พระขนงโกง่ เป็นปรกติ หัวพระขนงไมช่ ิดกนั ริมพระโอษฐอ์ ม่ิ พระอรุ ะนูน ชายจวี รเหนอื พระอังสาซ้ายส้ันปลายเปน็ เขี้ยวตะขาบ (ลักษณะของพระพุทธรปู แบบเชยี งแสน ร่นุ คลค่ี ลายมาระยะหนง่ึ แล้ว) ขอบทำ�ปางสมาธมิ ารวชิ ยั ขดั สมาธเิ พชร แลเห็นฝ่าพระบาททัง้ สองข้าง ครอง จวี รเฉียง ชายจวี รส้ัน ฐานมีกลบี บัวควำ�่ และบวั หงายมเี กสรบวั ประกอบ หลอ่ ด้วยส�ำ ริด (ภาพท่ี ๕.๓) ๑๐๐

บทท่ี ๕ : สมยั ประวตั ิศาสตร์ไทย ร นุ่ ท่ี ๒ หรือร่นุ เชยี งใหม่ เป็นอทิ ธพิ ลศลิ ปะสุโขทยั เขา้ มาปน พ ระพทุ ธองคม์ ีลักษณะพระรศั มเี ป็นรปู ดอกบวั ตูมที่สูงขึ้น บางคร้งั เป็นรูปเปลวไฟ ขมวดพระเกศา เล็ก พระพักตรม์ กั เปน็ รูปไข่ ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒o ลงมา อย่ใู นช่วงทเี่ ชียงใหมเ่ ปน็ ราชธานี มีการติดต่อ กันทางดา้ นพระพทุ ธศาสนากับสโุ ขทยั จงึ ทำ�ใหศ้ ิลปะแพรห่ ลาย เกดิ พระพุทธรูปแบบใหม่ขึน้ แม้บางครั้ง พระองคอ์ วบอ้วนและพระอรุ ะนูนตามแบบเดมิ แตช่ ายจวี รกย็ าวลงมาถึงพระนาภี นยิ มประทบั นั่งขดั สมาธิ ราบแลเหน็ ฝา่ พระบาทเพียงขา้ งเดียว ฐานบางครัง้ ไม่มีลวดลาย ราว ๒o ปมี าน้ี ชาวอเมริกนั ชื่อนายกรสิ โวลด์ ได้ค้นพบพระพทุ ธรูปเชยี งแสนรนุ่ แรก ท่จี ารึกว่าสร้างขน้ึ ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒ooo ลงมา เขาได้อธบิ ายว่า พระพุทธ รูปรนุ่ แรกและรุ่นหลงั หล่อข้นึ มาในเวลาเดียวกนั บอกวา่ สมัยพระเจา้ ตโิ ลกราชแหง่ อาณาจักรเชยี งใหม่ ทรง สง่ ขา่ วไปอินเดยี เพอื่ ไปจ�ำ ลอง แบบมหาวิหารโพธทิ ี่พุทธคยามาสร้างที่วดั เจดียย์ อดหรือโพธาราม เพื่อฉลอง พทุ ธศาสนาครบ ๒,ooo ปี พระพุทธรูปแบบปาละจงึ มีมากในแถบภาคเหนอื ของประเทศไทย แตไ่ ม่มีหลกั ฐานวา่ ได้รับอิทธพิ ลจากศลิ ปะศรวี ชิ ยั (ภาพท่ี ๕.๔) ภาพที่ ๕.๔ พระพทุ ธรูปปางมารวิชยั ภาพท่ี ๕.๕ พระพุทธรปู ยนื ปางประทานอภยั ส�ำ รดิ วัดเจดยี ์หลวง จังหวดั เชียงใหม่ สงู ๖ เมตร ศิลปะลา้ นนารุ่นหลงั ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒o ๑๐๑

ประวตั แิ ละแบบอย่างศิลปะไทย ภาพท่ี ๕.๖ พระพทุ ธรูปปางลลี า (ปางกดรอยพระบาท) สำ�ริดสงู ๔๗ ซ.ม. ศลิ ปะเชยี งแสนรนุ่ หลงั หรือเชยี งใหม่ พ.ศ. ๒o๒๕ พระพุทธรปู ยืนปางประทานอภัย เปน็ พระพทุ ธรปู ยนื ขนาดใหญ่ พระหตั ถข์ วายกขน้ึ แสดงปางประ ทานพร ทรงครองจวี รเฉยี ง สงั ฆาฏทิ ่ีพาดพระองั สาซ้ายยาวลงมาจรดพระนาภใี นวหิ ารของพระเจดีย์หลวง เมอื งเชยี งใหม่ พระพทุ ธรปู องค์น้พี ระราชมารดาของพระเจ้าติโลกราชโปรดใหห้ ลอ่ ข้ึนในราว พ.ศ. ๑๙๕o พระพักตรคอ่ นขา้ งเป็นรูปไข่ เครื่องแต่งพระพกั ตรม์ ลี กั ษณะผสมผสานกันระหวา่ งศลิ ปะล้านนาแบบสุโขทยั พระรศั มแี ปลงเหนอื อษุ ณีษะแสดงถึงอทิ ธิพลของศิลปะสโุ ขทยั ด้วย (ภาพที่ ๕.๕) ในศิลปะแบบเชยี งแสนรนุ่ หลงั หรือเชียงใหม่ มพี ระพทุ ธรูปทรงเครอื่ งอยบู่ า้ งเหมือนกัน เหน็ จะหมาย ความวา่ เปน็ พระอนาคตของพทุ ธเจา้ หรอื พระพทุ ธองคป์ างทรงทรมานพระยามหาชมภใู นสมยั นน้ี ยิ มสรา้ งพระ พทุ ธรูปดว้ ยแกว้ และหินสตี า่ งๆ พ ระแก้วมรกตกอ็ าจเป็นพระพทุ ธรปู ทสี่ ลักขนึ้ ทางภาคเหนอื ของประเทศไทย ในระยะน้เี ช่นเดียวกนั พระพุทธรูปแบบเชยี งแสนรุน่ หลงั ไดแ้ พรห่ ลายออกไปจนถงึ เมืองหลวงพระบางเวียง จันทน์ และจ�ำ ปาศกั ดิ์ ตลอดจนถงึ เมอื งเชียงรุ้ง เชียงตุง แต่ฝีมอื สู้แบบเชยี งแสนไม่ได้ พระพิมพ์แบบเชยี งแสน กม็ ีเหมือนกนั สว่ นมากหลอ่ ดว้ ยโลหะ ประติมากรรมรปู เทวดาหรอื บุคคล ก็มีอย่เู ช่นเดยี วกันแตเ่ ป็นจ�ำ นวน นอ้ ยในตอนปลายของศลิ ปะเชยี งแสนรนุ่ หลงั ทเ่ี มอื งพะเยาทางภาคเหนอื ของไทยราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒ ๑–๒๓ มกี ารสลกั พระพทุ ธรูปหรือเร่อื งราวในพทุ ธศาสนาด้วยศลิ าทรายสแี ดงฝมี อื พอใช้ ภาพที่ ๕.๗ พระพทุ ธรปู ทรงเคร่ืองปางมารวิชยั ส�ำ ริดสงู ๖๒ ซ.ม.ศลิ ปะ เชียงแสนรุ่นหลังหรือเชียงใหม่ ครงึ่ หลงั พทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ๑๐๒

บทท่ี ๕ : สมัยประวัตศิ าสตรไ์ ทย พ ระพทุ ธรปู ประทับน่งั ขดั สมาธริ าบ พระหตั ถ์แสดงปางมารวชิ ยั ทรงเคร่ืองนอ้ ย ประทับบนปัทมา สมซ์ ่ึงอยเู่ หนอื ฐานโปรง่ เพราะเจาะชอ่ ง เรียกว่า ชอ่ งกระจก เค้าของพระพักตรย์ งั ใกล้เคียงกบั พระพกั ตรแ์ บบ เชียงแสน โดยทว่ั ไปที่สรา้ งขึ้นต้ังแตพ่ ุทธศตวรรษท่ี ๒๑ จงึ ยังชวนใหน้ ึกถงึ อิทธิพลของพระพทุ ธรปู แบบปาละ อยบู่ ้าง แต่เคร่อื งประดับอย่างอน่ื เชน่ มงกฎุ กรองศอไดพ้ บในงานตัง้ แตพ่ ุทธศตวรรษท่ี ๒๑ ลงมาทัง้ สนิ้ (สนั ติ เล็กสขุ ุม,๒๕๕o:๑๓๒) พ ระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งปางมารวชิ ยั เ ปน็ อนาคตของพระพทุ ธเจา้ ปางทรงทรมานเปน็ สมยั ทน่ี ยิ มสรา้ ง พระพุทธรูปด้วยแกว้ และหนิ สีตา่ งๆ เชน่ พระแกว้ มรกต บางทา่ นก็วา่ เปน็ พระพทุ ธรปู ทีส่ ร้างขึน้ ทีเ่ กาะลังกา หรือประเทศอินเดียทางภาคใต้ แตใ่ นสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก ไดเ้ สด็จยกทพั ไปตี เมืองเวียงจันทนข์ องประเทศลาว เสดจ็ ยกทพั ไปตเี วียงจนั ทนไ์ ดใ้ น พ.ศ. ๒๓๒๑ แลว้ นำ�กลับมาประเทศไทย (ภาพท่ี ๕.๗) ภาพท่ี ๕.๘ พระพุทธรูปปางมารวิชยั ศิลาสงู ๔๑ ซม. จากวัดพระเกิด อ�ำ เภอเทิง จงั หวัดเชียงราย ศิลปะลา้ นนา สกุลช่างพะเยา ราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๑ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ จังหวัดเชยี งใหม่ พระวรกายคอ่ นขา้ งผอมเพรยี วพระโอษฐค์ อ่ นขา้ งกวา้ งมมุ พระโอษฐต์ วดั ขนึ้ และตอ่ แนวกบั พระนาสกิ ดเู หมอื นวา่ ชา่ งสลกั โดยเหลอื รอ่ งแนวตา่ งๆเพอ่ื ไวส้ �ำ หรบั งานตกแตง่ รกั สมกุ เพอื่ ใหเ้ กดิ ปรมิ าตรทกี่ ลมกลนื กนั ยงิ่ ขึ้นตอ่ จากน้ันจึงทารักในข้ันตอนกอ่ นปดิ ทองคำ�เปลวพระรศั มีหักหายไปแลว้ โดยท่ัวไปพระรัศมเี ปน็ ส่วนท่ี ชา่ งสลักขน้ึ ต่างหาก โคนเพอื่ เสยี บลงชอ่ งท่ที ำ�ไวต้ อนบนของอุษณษี ะ (ภาพที่ ๕.๘) การสลักพระพุทธรปู ใน พระพทุ ธศาสนา ดว้ ยศิลาทรายสแี ดง ฝีมอื งดงาม อยใู่ นศตวรรษท่ี ๒๑-๒๓ ภาพที่ ๕.๙ บุคคลน่งั ประนมมือถอื สังข์ หลอ่ โลหะ เป็นศิลปะเชยี งแสนร่นุ หลัง ๑๐๓

ประวัตแิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๕.๑o ฐานพระพุทธรูป ศิลาสงู ๗o ซ.ม. พบทอี่ ำ�เภอพะเยา จังหวัดเชยี งราย ศลิ ปะเชียงแสนรุ่นหลงั หรือเชียงใหม่ ภาพท่ี ๕.๑๑ พระเจ้าแข้งคม หลอ่ ด้วยส�ำ รดิ ประดิษฐานอยู่ท่วี ดั ศรเี กดิ จงั หวดั เชยี งใหม่ พ ระเจ้าแข้งคม เปน็ อทิ ธิพลของศิลปะอยุธยาท่ีเข้ามาผสมผสานสรา้ งข้ึนในราวพ.ศ.๒o๒๗ พระเจ้า ตโิ ลกราชโปรดใหห้ ลอ่ พระพทุ ธรปู มลี กั ษณะเปน็ แบบลวปรุ ะเรยี กอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ “พระเจา้ แขง้ คม”มอี ทิ ธพิ ล มาจากพระพทุ ธรปู แบบอทู่ องรนุ่ ทสี่ ามของกรงุ ศรอี ยธุ ยาพระองคป์ ระทบั นงั่ ขดั สมาธริ าบเหมอื นปางมารวชิ ยั พระชงฆ์ (หนา้ แข้ง) เป็นสนั มีไรพระศก เม็ดพระศกเลก็ เป็นตุ่มแหลม พระรศั มรี ปู เปลว ครองจีวรห่มเฉียงชาย จีวรเป็นแผน่ พาดผ่านจากพระองั สาซ้ายยาวลงจรดพระนาภี (ภาพที่ ๕.๑๑) ๑๐๔

บทที่ ๕ : สมัยประวัตศิ าสตร์ไทย ภาพท่ี ๕.๑๒ พระพทุ ธรูปแบบล้านนาหลอ่ ดว้ ยสำ�รดิ วดั ชัยพระเกียรติ จงั หวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๑๓๕ พระพุทธรปู กลมุ่ เบด็ เตลด็ ของศลิ ปะล้านนา มที ง้ั ท่ีหล่อด้วยส�ำ ริด สลกั จากไม้หรือป้นั ดว้ ยวัสดตุ ่างๆ ไดร้ ับอิทธพิ ลหลายแห่งผสมผสานกนั เช่น ศลิ ปะอยธุ ยา ศลิ ปะลาว ศลิ ปะพมา่ ร่นุ หลัง สบื เนอ่ื งมารบั อทิ ธพิ ลจาก กรงุ เทพฯ (ภาพที่ ๕.๑๓) ภาพที่ ๕.๑๓ พระพุทธรปู ล้านนาไม้ วัดดอกค�ำ จังหวัดเชยี งใหม่ พ.ศ. ๒๓๕๗ ภาพที่ ๕.๑๔ พระพทุ ธรปู (หลวงพ่อนาค) หลอ่ ดว้ ยสำ�รดิ พ.ศ. ๒o๙๑ ๑๐๕

ประวัติและแบบอย่างศิลปะไทย พ ระพุทธรปู หลวงพอ่ นาค เปน็ ประตมิ ากรรมสกุลช่างพะเยา พทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ ปลายรัชกาลของ พระเจ้าติโลกราชมอี ิทธิพลของศิลปะสโุ ขทยั และศลิ ปะอยธุ ยาแฝงอย่กู บั ศลิ ปะสกุลชา่ งเมืองก�ำ แพงเพชรโดย แพรห่ ลายมาทเี่ มือพะเยาครั้งพระยายรุ ิษฐริ ะเจา้ เมืองก�ำ แพงเพชรครองเมอื งพะเยาพระพทุ ธรปู จงึ มีลักษณะ ทเี่ กดิ ข้ึนใหม่ (ภาพท่ี ๕.๑๔) สรปุ ประตมิ ากรรมในศลิ ปะลา้ นนาทง่ี ดงามและมชี อื่ เสยี งเปน็ ทก่ี ลา่ วขวญั กนั ไดแ้ ก่พระพทุ ธรปู เชยี งแสน รนุ่ เก่าหรือลา้ นนาระยะแรกเกิดขน้ึ ราวครง่ึ ของพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ ปลายพทุ ธศตวรรษเดยี วกนั ลกั ษณะพระ พทุ ธรปู แบบศิลปะสโุ ขทยั แพรห่ ลายมาผสมผสานเกิดรูปแบบใหม่ ได้รับความนิยมจนถึงตน้ ศตวรรษที่ ๒๑ รปู แบบพระพทุ ธรูปมคี วามหลากหลายเพิม่ ข้ึน นบั เป็นแบบล้านนาระยะหลงั โดยเกีย่ วข้องกับศลิ ปะอยุธยา ศิลปะล้านช้างและศิลปะพม่ารุ่นหลงั ดว้ ย สถาปัตยกรรมสมยั ศิลปะเชียงแสน สว่ นมากทีย่ ังเหลอื อยูใ่ หเ้ ห็นไดเ้ ปน็ ฝมี ือในสมยั เชียงแสนรนุ่ หลงั ซึง่ แสดงให้เห็นวา่ ได้รบั อทิ ธิพลมาจากศลิ ปะทวารวดีทีว่ ัดกู่กุฏหรอื วัดจามเทวี จังหวดั ล�ำ พนู พระเจดีย์แบบน้ี มีหลายแห่งทางภาคเหนอื ของประเทศไทย เช่น พระธาตลุ ำ�ปางหลวง จงั หวดั ล�ำ ปาง ในบรรดาสถาปัตยกรรม แบบเชยี งแสนทแี่ ปลกอยู่แห่งหน่งึ คือ วัดเจด็ ยอดหรอื วัดโพธาราม ณ จังหวดั เชียงใหม่ เปน็ สถาปตั ยกรรม ทเ่ี ลยี นแบบมหาวหิ ารโพธท์ิ พ่ี ทุ ธคยาในประเทศอนิ เดยี เดมิ เขา้ ใจกนั วา่ เปน็ ของทสี่ รา้ งขนึ้ มาตงั้ แตค่ รงั้ ประเทศ พมา่ สมัยเมอื งพกุ ามได้แผอ่ �ำ นาจเข้ามายังภาคเหนือของประเทศไทยในระหว่างพุทธศตวรรษท่ี ๑๗-๑๘ แต่ ภายหลังมีผพู้ ยายามอธิบายวา่ ไดส้ รา้ งขน้ึ ในรัชกาลของพระเจ้าตโิ ลกราช พ.ศ. ๑๙๘๕-๒o๓๑ เพ่อื เฉลมิ ฉลอง พระพทุ ธศาสนาครบ ๒,ooo ป ี นบั ตงั้ แตเ่ จา้ พญามงั รายทรงสถาปนาอาณาจกั รลา้ นนาขน้ึ เมอื่ ป ีพ .ศ.๑๘๓๙ เ ปน็ ตน้ มาสถาปตั ยกรรม ของเชยี งแสนหรอื ลา้ นนาทเ่ี หลอื อยถู่ งึ ทกุ วนั นไี้ ดร้ บั การปฏสิ งั ขรณม์ าแลว้ ทงั้ สนิ้ มที งั้ การกอ่ เพม่ิ เตมิ เสรมิ ขนาด หรอื เปลี่ยน แบบอาคารเหลา่ น้ี ยังแสดงให้เห็นความสมั พันธก์ บั แคว้นต่างๆ ทั้งท่เี กดิ และร่วมสมยั กันมา เช่น หริภุญไชย มอญ พม่า จนี ตอนใต้ สุโขทยั และลา้ นช้าง อาคารทว่ั ไปมักใชอ้ ิฐเปน็ วัสดุหลกั ในการก่อสรา้ ง และ คงมกี ารใช้ไม้ดว้ ย แต่ไมผ้ ุพงั งา่ ย สว่ นศิลาแลงพบน้อย รวมทงั้ หินก็เช่นกัน ใช้เฉพาะเป็นสว่ นส�ำ คญั สถูปเจดีย์ ในสมยั ลา้ นนานิยมใชก้ ารหอ่ หุ้มดว้ ยแผน่ โลหะผสมแผน่ ทองเรยี กว่า “จังโก” ก่อนลงรักปดิ ทอง วหิ ารขนาด ใหญ่ต้งั อยู่ทางด้านหนา้ ส่วนอุโบสถไม่สำ�คญั นกั มกั มขี นาดเลก็ จะถกู แยกตัวออกไป ส ถาปัตยกรรมสมยั ล้านนา มี ๒ ประเภท คือ ๑. สถูปเจดีย์หรอื พระธาตุ สรา้ งขน้ึ เพ่ือบรรจุท้งั พระบรมสารีรกิ ธาตุ อรหันตธาตุ และอฐั ิธาตุ มี ๒ รปู แบบ คอื ๑.๑ สถปู เจดีย์ทรงมณฑป หรอื ทรงปราสาท ระยะแรกแสดงรูปแบบอทิ ธิพลหริภญุ ไชย ลักษณะ ส�ำ คญั คอื เปน็ เจดยี ส์ เี่ หลย่ี มตง้ั ซอ้ นลดหลน่ั กนั เปน็ ชนั้ เลก็ ๆชนั้ แตล่ ะดา้ นมจี รน�ำ ส�ำ หรบั ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู สว่ นยอดเป็นทรงระฆังหลายลูกซ้อนกันต่อเนอ่ื งกันเป็นชดุ เจดีย์ทีส่ �ำ คัญ เชน่ เจดยี ์ก่คู ำ� ที่วดั เจดีย์สเ่ี หลีย่ ม อำ�เภอสารภีจงั หวดั เชียงใหม่เจดยี ์วดั ปา่ สักอ�ำ เภอเชยี งแสนจงั หวดั เชยี งรายตอ่ มาทรงเจดยี ม์ กี ารปรบั เปลีย่ น เพม่ิ ยกเกจ็ ทเ่ี รอื นธาตแุ ละเปลย่ี นเรอื นธาตุลดชนั้ เปน็ หลงั คาลาดเหนอื ชนั้ หลงั คาลาดเปน็ องคร์ ะฆงั ปลอ้ งไฉน และปลยี อดและพฒั นาการสดุ ทา้ ยเปน็ การผสมระหวา่ งทรงเจดยี ด์ งั กลา่ วกบั เจดยี แ์ บบจนี ทเ่ี รยี กวา่ “ถะ”เกดิ เป็นลักษณะพิเศษ เชน่ วดั ตะโปทาราม และเจดียก์ เู่ ต้า เปน็ ตน้ ๑๐๖

บทที่ ๕ : สมยั ประวัตศิ าสตรไ์ ทย ภาพที่ ๕.๑๕ เจดียก์ ูค่ �ำ วดั เจดยี ส์ ีเ่ หลีย่ ม จังหวัดเชยี งใหม่ เจดยี ก์ คู่ �ำ วดั เจดยี ส์ เ่ี หลยี่ ม ส รา้ งในสมยั เจา้ พญามงั รายอยภู่ ายในเมอื งเกา่ เวยี งกมุ กามกอ่ นทพี่ ระองค์ จะเสดจ็ ไปสร้างเมืองเชยี งใหม่ สร้างรูปทรงจากเจดีย์กกู่ ดุ วัดจามเทวี จงั หวัดล�ำ พนู ลักษณะเปน็ เจดีย์ สเี่ หลยี่ มหา้ ช้ันลดหลนั่ กันในลักษณะเรียวขึ้นไป แต่ละชน้ั มซี ้มุ จรนำ�ด้านละ ๓ ซมุ้ ภายในซมุ้ จะประดิษฐาน พระพุทธรูปประทบั ยนื รวมทัง้ สิ้น ๖o องค์ เป็นฝมี ือสมยั เชยี งแสนรนุ่ หลัง (ภาพที่ ๕.๑๕) ภาพที่ ๕.๑๖ เจดีย์วัดป่าสกั อำ�เภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ๑๐๗

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพท่ี ๕.๑๗ จรนำ�เจดยี ์วดั ปา่ สัก จงั หวัดเชยี งราย เ จดีย์วดั ป่าสัก สร้างขน้ึ ในสมยั พระเจา้ แสนภู กษตั รยิ อ์ งค์ท่ี ๓ แห่งราชวงศเ์ มง็ ราย เม่อื ราว พ.ศ. ๑๘๗๑ เป็นเจดยี ์หา้ ยอดคลา้ ยเจดีย์เชยี งยนื ทวี่ ัดพระธาตหุ ริภุญไชย จงั หวดั ล�ำ พูน มีการคลี่คลายออกมา คือ ผังส่วนล่างเป็นรปู สีเ่ หลย่ี มจัตรุ ัสเตยี้ ๆ ซอ้ นลดหลั่นกัน รองรับช้นั แถวดว้ ยจรนำ� ท้ังสด่ี ้านมีซมุ้ ประดษิ ฐาน พระพทุ ธรปู ยนื ดา้ นละสามองค์ รวมทั้งหมด ๑๒ องค์ ยงั มีจรนำ�ขนาดเลก็ อกี ๔ อนั สลบั สำ�หรับประดษิ ฐาน รปู เทวดายืน เหนอื ข้ึนไปเป็นฐานเขียงลดหล่นั ส่ีชั้น พน้ จากสว่ นน้เี หมอื นเจดยี เ์ ชยี งยนื คอื เปน็ ฐานบัวรองรบั เรอื นธาตุ สี่เหลี่ยมแตล่ ะดา้ นมซี ้มุ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรูปประทบั ยนื ทง้ั สี่ด้าน กรอบซุ้มประดบั ด้วยฝักเพกา สูงแหลมลดหลน่ั กนั แบบศลิ ปะพกุ าม ทมี่ มุ เหนือเรือนธาตปุ ระดับเจดียอ์ งค์เลก็ ๆ เหนือเรือนธาตุตรงกลาง เป็นแท่นแปดเหล่ยี ม มีบัวปากระฆังรองรับองค์ระฆังกลมประดบั ลายรัดอกเหนือองคร์ ะฆังเปน็ บัวกลุม่ ซอ้ น กนั ไปจนถงึ ปลียอด (ภาพท่ี ๕.๑๖) ภาพท่ี ๕.๑๘ เจดีย์ทรงปราสาทยอดวัดโลกโมฬี อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั เชียงใหม่ ศิลปะลา้ นนา รัชกาลพระเมอื งเกษเกล้า พ.ศ. ๒o๗๑ ส่วนฐานที่สงู ขน้ึ เพราะมีช้นั เขียงรองรบั ฐาน ท่ีซ้อนกันถงึ สองฐาน ฐานชั้นบนเพ่ิมจ�ำ นวนยกเกจ็ เพ่ือ ใหส้ ัมพนั ธ์กับจำ�นวนยกเกจ็ ของเรือนธาตุ เม่อื ยกเกจ็ มาก จำ�นวนมุมกจ็ ะเพ่ิมมากดว้ ย มมุ เพมิ่ ขนาดเล็กๆ ดงั กล่าว ต่อเนือ่ งจากเรือนธาตขุ น้ึ ไปทชี่ ้ันหลังคา ลาดลดหล่นั ผา่ นฐานยอดข้ึนไปถึงองค์ระฆงั หรอื ทรงระฆังท่ี ปาดเป็นเหล่ียม เพ่ือให้สอดคล้องกับมมุ เพ่มิ ที่ไล่ล�ำ ดบั ขึน้ มา (สันติ เล็กสขุ ุม,๒๕๕๔:๑๓๙) (ภาพท่ี ๕.๑๘) ๑๐๘

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตร์ไทย ภาพท่ี ๕.๑๙ วดั มหาโพธาราม (วหิ ารเจ็ดยอด) ศิลปะล้านนา รชั กาลพระเจ้าติโลกราช พ.ศ. ๑๙๙๙ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชยี งใหม่ วดั มหาโพธาราม (วหิ ารเจด็ ยอด) เป็นเจดยี ์บรรจุอฐั ิพระเจา้ ติโลกราช สรา้ งข้ึนในสมยั รชั กาลพระเจ้า ยอดเชยี งราย ราชนัดดาของพระเจ้าติโลกราช เมอ่ื พ.ศ. ๒o๕๔ เพอ่ื บรรจอุ ฐั ขิ องพระอยั กา พระเจา้ ตโิ ลก ราชสร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ. ๒ooo เลยี นแบบมหาวิหารท่พี ุทธคยาในอินเดยี สรา้ งเพ่ือฉลองพระพทุ ธศาสนาครบ ๒,ooo ปี โดยใชว้ ดั น้เี ปน็ ทป่ี ระชมุ สังคายนาพระไตรปฎิ ก ครง้ั ที่ ๘ มลี กั ษณะเปน็ เจดยี ์สี่เหลย่ี ม มพี นื้ ท่ี ภายใน คอื ลักษณะของวหิ าร เรือนธาตุยกเก็จเปน็ มุมขนาดเล็กมีจรนำ�ทง้ั สดี่ า้ นเหนอื เรือนธาตุเปน็ หลงั คา เหนือข้นึ ไปเปน็ ชุดฐานบัวในผงั กลมรองรับองคร์ ะฆัง ปล้องไฉนและปลี ยอดกลาง คอื รปู ศิขร ซึ่งจำ�ลองจาก ยอดมหาวิหารพทุ ธคยาในประเทศอนิ เดยี ผนงั ด้านนอกของวิหารประดบั ด้วยรปู เทวดาปูนปนั้ มที ัง้ อริ ิยาบถ ยนื และอริ ิยาบถนัง่ โดยประดับตามความเหมาะสมของพนื้ ท่ี พุทธประวตั กิ ล่าวถึงเทวดาจากหม่นื จักรวาลพา กนั มาชมุ นมุ แสดงความยนิ ดีท่ีพระพทุ ธองคต์ รัสรรู้ ะหว่างนนั้ ดอกไมส้ วรรค์โปรยปรายมาไม่ขาดสาย (ภาพท่ี ๕.๑๙) ๑.๒ เจดยี ์ทรงกลมหรือทรงลงั กา ม ีววิ ัฒนาการมาต้ังแตพ่ ุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถงึ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ และเป็นแบบแผนของเจดีย์ล้านนา โดยเฉพาะระยะแรกปรับปรงุ จากเจดยี ใ์ นศลิ ปะพุกาม มลี ักษณะคอื ฐานบวั ในผังกลมสามฐานซอ้ นลดหลน่ั กนั รองรบั องค์ระฆงั ใหญ่ ถดั ขนึ้ ไปเปน็ บัลลงั ก์สีเ่ หลีย่ ม และสว่ นยอด คือ ปล้องไฉน และปลยี อด เชน่ เจดยี ท์ ่ี วดั อุโมงค์ เชงิ ดอยสุเทพ เมืองเชียงใหม่ ตอ่ มามีการพฒั นา คือ มีฐานเก็จเพมิ่ เพอ่ื รองรับฐานบัวสามช้นั ท่ียืด สงู ขน้ึ และองค์ระฆังเลก็ ลง ซ่ึงลกั ษณะเช่นนี้จะคงอยู่ตลอดไปในศลิ ปะล้านนา เช่น เจดีย์วดั พระบวช เมอื ง เชยี งแสน เจดีย์ทรงลังกาถูกปรับปรงุ รปู แบบสงู สดุ ในรชั กาลของพระเจ้าตโิ ลกราช เจดียท์ รงระฆังทมี่ ชี ดุ บัวรองรับแบบเดมิ ความสูงของทรงเจดยี จ์ ะเพิ่มมากขน้ึ เช่น เจดีย์พระธาตหุ ริ ภญุ ไชย เมอื งลำ�พูน เจดยี ์พระธาตุแชแ่ หง้ เมอื งน่าน ๑๐๙

ประวตั แิ ละแบบอย่างศิลปะไทย ภาพท่ี ๕.๒o เจดยี ์วดั อุโมงค์ (เชงิ ดอยสเุ ทพ) จังหวัดเชียงใหม่ เจดียว์ ดั อุโมงค์ เปน็ เจดียใ์ นระยะแรกของศิลปะล้านนา สร้างในพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ปรบั ปรุงจาก เจดียท์ รงระฆงั แบบหน่งึ ในศิลปะพุกาม คล่คี ลายใหม้ ีรปู ทรงท่สี งู โปร่ง สรา้ งขึ้นในสมัยพระเจ้าเมง็ ราย มีการ ปน้ั ปนู ประดบั เป็นลวดลายทส่ี ว่ นฐาน เจดีย์ทรงระฆงั ปรบั เปลยี่ นเป็นทรงกรวยอันเปน็ สว่ นบนของเจดยี ์ โดย ประดบั รปู กลบี บัวทรงยาวประกอบเป็นบวั คว่ำ�และบัวหงาย ตามแบบอย่างเจดยี ์มอญ (ภาพท่ี ๕.๒o) ภาพที่ ๕.๒๑ เจดยี ว์ ดั พระบวช อำ�เภอเชยี งแสน จังหวัดเชียงราย เจดยี ว์ ดั พระบวช สนั นษิ ฐานว่าพระเจ้ากอื นา ราชบตุ รของพระเจา้ ผายทู รงโปรดให้สร้างราว พ.ศ. ๑๘๘๗ เป็นเจดีย์ทีม่ ีแบบแผนคลา้ ยคลงึ กบั เจดยี ข์ องวัดอโุ มงค์ คอื มีฐานบวั ในผังกลมจ�ำ นวน ๓ ฐาน แต่ชุด ฐานยืดสูงข้ึน ขณะท่ขี นาดของทรงระฆงั เลก็ ลง นับวา่ เปน็ ลักษณะท่สี �ำ คัญทางววิ ฒั นาการ จนกลายเป็นเจดยี ์ ทรงระฆงั แบบลา้ นนา (ภาพที่ ๕.๒๑) ๑๑๐

บทท่ี ๕ : สมัยประวัติศาสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๒๒ เจดียพ์ ระธาตุหริภุญไชย วัดพระธาตุหรภิ ุญไชย จงั หวัดล�ำ พูน ศลิ ปะลา้ นนา ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒o เจดยี ว์ ดั พระธาตุหริภญุ ไชย ถอื วา่ เป็นเจดีย์ทรงระฆังท่ีสืบทอดรูปแบบประเพณีในชว่ งปลายพทุ ธ ศตวรรษที่ ๒o เป็นรูปแบบทถ่ี ึงจุดสมบูรณ์ ในรชั กาลของพระเจา้ ติโลกราช ปัจจุบันเป็นเจดยี ์ทสี่ ร้างครอบ องค์เก่าเป็นเจดีย์ทรงปราสาทได้บูรณะขึ้นใหม่ในรัชกาลของพระเจ้ามังรายปฐมกษัตริย์แห่งแคว้นล้านนา สร้างเพ่ือประดิษฐานพระบรมธาตุ ลกั ษณะเจดยี ์ คลา้ ยวัดพระบวช แตค่ ล่ีคลายให้สงู ชลูดข้ึน ประกอบดว้ ย ฐานยกเกจ็ รองรับฐานบัวในผงั กลมสามช้ันรองรับองค์ระฆงั บลั ลังก์ ปล้องไฉนและปลียอด (ภาพที่ ๕.๒๒) ๒.โบสถ์และวิหารมีลักษณะคล้ายกันแต่จะเนน้ ไปทว่ี หิ ารมากกว่าคือมขี นาดใหญก่ วา่ มกั ต้งั อย่หู นา้ สถูปเจดยี ์หรือพระธาตุ ลกั ษณะโบสถ์วหิ ารเกิดจากการผสมผสานระหว่างรปู แบบศลิ ปะพนื้ บ้าน และรปู แบบ ศลิ ปะตา่ งถิ่นจนกลายเปน็ ลกั ษณะเฉพาะตนโดยทวั่ ไปมักใชไ้ ม้เป็นโครงสร้างหลังคาจงึ มอี ายกุ ารใชง้ านจ�ำ กดั ดังนัน้ โบสถแ์ ละวหิ ารยังคงสภาพใชง้ านตามวัดตา่ งๆ เชน่ วิหารแบบพิเศษทีก่ อ่ ดว้ ยศิลาแลงที่รู้จักกันดี คอื วิหารเจ็ดยอด วัดมหาโพธาราม เมอื งเชียงใหม่ ๒ .๑ โบสถแ์ ละวิหารแบบลา้ นนา จะมรี ปู แบบเฉพาะตวั แยกเป็นหลายสกุลชา่ ง เช่น สกลุ ช่าง พะเยา สกุลช่างลำ�ปาง สกุลชา่ งนา่ น สกุลชา่ งเชียงใหม่ แต่โดยท่วั ไปจะมีลกั ษณะที่ร่วมกนั คอื มีแผนผังเปน็ รปู ส่เี หลย่ี มผนื ผา้ ทอดตามแนวยาว หนั หน้าไปทางทศิ ตะวันออก หลงั คาซ้อนลดหลัน่ กัน ๒-๓ ช้ัน และทงิ้ จังหวะ เปน็ ระยะตามการย่อมุม (ยกเกจ็ ) ของผนงั อาคาร ฐานไมส่ งู นัก มบี ันไดด้านหนา้ ราวบนั ไดเปน็ ตัวพญานาค ประตหู นา้ มักมีประตูเดียว หรอื ประตขู า้ งด้านทิศใต้สำ�หรบั พระสงฆ์เขา้ ภายในวิหาร ประตูหนา้ ท�ำ เปน็ ประตู ยอดปราสาทท่ที างเหนอื เรยี กวา่ “โขง” (ปรบั ปรงุ มาจากโขงประตวู ัดในอดตี ) มชี ่องหนา้ ตา่ งนอ้ ยและมขี นาด เล็ก เพื่อสอดคล้องกบั ภมู ศิ าสตรห์ นาวเยน็ นอกจากนีว้ หิ ารโถงหรือวหิ ารแบบไม่มผี นังกเ็ ปน็ ท่นี ยิ ม เช่นกัน คือ หลังคาโบสถว์ ิหารมงุ ดว้ ยกระเบ้อื งไม้ที่เรยี กว่า แปน้ เกลด็ โครงหลังคาท้ังหมดมักทอดคลมุ ลงมาตวั เตย้ี มาก มีการประดบั ตกแตง่ ภายในอาคารในสว่ นต่างๆ เช่น ประตู หน้าจว่ั ค�้ำ ยันหรอื หชู า้ ง และหนา้ ตา่ งจะสลักไม้ ฉลุลายเป็นลวดลาย เปน็ ลายตามธรรมชาติ ลายประดิษฐแ์ ละรปู สตั ว์ ในความเชื่อ เช่น นาค มงั กร สิงห์ หงส์ เชน่ วิหารวัดพันเตา วหิ ารโถงวัดบุปผาราม (สวนดอก) วิหารลายค�ำ วดั พระสิงห์ จังหวดั เชียงใหม่ วหิ ารนำ�้ แต้ม วิหารโถง พระธาตลุ ำ�ปางหลวง จังหวดั ลำ�ปาง เป็นตน้ ๑๑๑

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพท่ี ๕.๒๓ โขง วดั พระธาตุลำ�ปางหลวง จงั หวดั ลำ�ปาง ภาพที่ ๕.๒๔ โขงอโุ บสถวัดพระสงิ ห์ จงั หวดั เชียงใหม่ ภาพท่ี ๕.๒๕ เจดียว์ ัดบปุ ผาราม (วดั สวนดอก) รัชกาลพระเจ้ากือนา พ.ศ. ๑๙๑๕ จังหวดั เชียงใหม่ ๑๑๒

บทที่ ๕ : สมยั ประวัตศิ าสตร์ไทย เ จดีย์วดั บุปผาราม สร้างข้ึนใน พ.ศ. ๑๙๑๕ หลงั จากขนึ้ ครองราชย์ของพระเจา้ กือนา เพอื่ เป็นทีจ่ �ำ พรรษาของพระสมุ นเถรทช่ี าวสโุ ขทยั อญั เชญิ มาเพอื่ เผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาจะมรี ปู แบบทพี่ เิ ศษคอื ทรงเจดยี ์ ท่ยี ืดสงู คลา้ ยทรงกระบอกทรงระฆังมีขนาดใหญ่ข้นึ และกอ่ ไวบ้ นฐานประทักษิณที่ยกสงู มซี มุ้ ประตทู งั้ ๔ดา้ น ของลานประทักษณิ สำ�หรบั บนั ไดทางขนึ้ สลู่ านประทักษิณทัง้ ส่ีด้าน คงเทปนู เปน็ แนวลาดเรียบเพอ่ื ปอ้ งกนั ไม่ใหผ้ คู้ นขึน้ ไป คาดว่าเปล่ียนแปลงคราวบรู ณะครงั้ ส�ำ คัญสมยั ครบู าศรวี ชิ ยั พ.ศ. ๒๔๗๖ (ภาพที่ ๕.๒๕) ภาพท่ี ๕.๒๖ เจดยี พ์ ระธาตลุ �ำ ปางหลวง วัดพระธาตุล�ำ ปางหลวง อำ�เภอเกาะคา จงั หวดั ลำ�ปาง ศลิ ปะลา้ นนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑ เจดีย์พระธาตุลำ�ปางหลวง ฐานสเี่ หล่ยี มยกเก็จประดบั ด้วยบวั แบบเฉพาะของเจดียท์ างล้านนา เชน่ เดยี วกบั ฐานเจดยี ท์ รงระฆงั โดยทวั่ ไปแตท่ พี่ เิ ศษของพระธาตลุ ปางหลวงคอื ชดุ บวั ถลาอยใู่ ตร้ ะฆงั ชดุ บวั ถลาคง ยืมมาจากส่วนเดยี วกันของเจดีย์ทรงระฆังในศิลปะสโุ ขทยั ชดุ บวั ถลาไม่สูง เมอ่ื เทยี บกับชดุ ฐาน ดงั นั้น รูปทรง ของพระธาตุล�ำ ปางหลวงจงึ ป้อม เหนือทรงระฆงั มีชดุ เขียงกลมแทนบัลลงั ค์รูปสี่เหลย่ี มยอดทรงกรวย มฉี ัตร ประดบั ปลายยอด ทงั้ องค์เจดียห์ ้มุ จงั โกท�ำ ไว้เผอื่ ลงรกั ปดิ ทองค�ำ เปลว (สนั ติ เล็กสขุ ุม,๒๕๕๔:๑๔๒) (ภาพท่ี ๕.๒๖) หลงั จากยคุ ทองของลา้ นนาบา้ นเมอื งกร็ ะส�ำ่ ระสายตกอยใู่ นอ�ำ นาจการปกครองของพมา่ รปู แบบเจดยี ์ ทรงระฆงั ทส่ี รา้ งข้ึนใหมห่ ลายแหง่ จำ�ลองแบบจากเจดยี ข์ องพมา่ ยุคหลงั มาสรา้ งดงั เช่นวดั บปุ ผารามสรา้ งราว พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕ พระธาตแุ ชแ่ หง้ น้อยในวดั พระธาตแุ ชแ่ หง้ จงั หวดั นา่ น สร้างข้ึนใน พ.ศ. ๒๔๕๑ ๑๑๓

ประวัติและแบบอย่างศลิ ปะไทย ภาพที่ ๕.๒๗ เจดยี ว์ ัดตะโปทาราม จงั หวัดเชียงใหม่ ศิลปะลา้ นนา รชั กาลพระยอดเชียงราย พ.ศ. ๒o๓๕ เ จดยี ์วดั ตะโปทาราม เป็นเจดยี ์ทีจ่ ัดอยใู่ นประเภททรงปราสาทอีกแบบหนง่ึ แต่อาจพัฒนาข้ึนโดยมี แรงบันดาลใจจากเจดียท์ รงระฆงั เปน็ สว่ นสำ�คัญ โดยปรบั เปล่ยี นจากเจดยี ท์ รงระฆัง คือ ทำ�ซอ้ นลดหล่นั หลาย ช้ัน แตแ่ ทนท่ีจะทำ�ฐานสามช้นั อย่างเจดยี ์ทรงระฆังกลบั ท�ำ มายิง่ กว่า ตอนบนของแต่ละชัน้ ทำ�เอนลาดคลา้ ย หลงั คา ผนงั ของชนั้ เหล่านนั้ เจาะแถวจรน�ำ สำ�หรบั ประดษิ ฐานพระพทุ ธรูป ตอ่ จากชนั้ บนสดุ มีทรงระฆัง ขนาดเล็กและตอ่ ยอดทรงกรวย (ภาพท่ี ๕.๒๗) ภาพที่ ๕.๒๘ เจดยี ก์ ู่เตา้ วดั กเู่ ตา้ จังหวดั เชียงใหม่ ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๔ เ จดยี ก์ เู่ ตา้ รปู แบบและรปู ทรงจากปรมิ าตรเชงิ ประตมิ ากรรมของเจดยี ท์ รงนน้ี า่ สนใจเพราะวา่ ชน้ิ สว่ น กระเบื้องสีประดับเปน็ ลายโปรง่ แบบทรงกลม ช่วยใหเ้ จดียอ์ งค์นี้เกดิ ความงามในเชิงจิตรกรรม นอกเหนือไป จากความงามดา้ นปรมิ าตรที่มอี ยู่ ส่วนเจดยี ์ทรงระฆัง กอ่ แปลงช้ันทล่ี ดหล่ันใหเ้ ปน็ ลกู กลมซ้อนกัน แต่ละลกู มี จรน�ำ ประจ�ำ ทิศ น่าเสยี ดายความงามผสมผสานแบบนีล้ ดนอ้ ยลง เพราะชน้ิ กระเบื้องร่วงลงมามากแล้ว (ภาพ ท่ี ๕.๒๘) ๑๑๔

บทที่ ๕ : สมยั ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย สรปุ เจดยี ์แบบล้านนา เร่มิ จากลกั ษณะทปี่ รับปรงุ จากศิลปะพกุ าม โดยววิ ฒั นาการมากจากการเปน็ รูปแบบเฉพาะตัว ประมาณกลางพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ สำ�หรับเจดีย์ทรงระฆงั มฐี านรปู สีเ่ หล่ยี มยกเกจ็ ชดุ ฐาน บวั ลกู แก้วอกไก่ในผังกลม ทรงระฆังเลก็ บังลังกเ์ หล่ียม ยอดทรงกรวยซึ่งประกอบดว้ ยปล้องไฉนและปลี ชดุ ฐานบวั ลกู แกว้ อกไกร่ องรบั ทรงระฆงั ทส่ี งู ยง่ิ ขนึ้ ในระยะตอ่ มาท�ำ ใหร้ ปู ทรงของเจดยี ท์ รงสงู เพรยี วจะไดร้ บั ความ นยิ มแพรห่ ลายในพุทธศตวรรษที่ ๒๑ รปู แบบของเจดีย์ท่ีถูกปรบั เปลี่ยนไปอยา่ งรวดเรว็ เชน่ ชุดฐานบัวในผัง กลมรองรบั ทรงระฆงั ไดม้ กี ารพฒั นาเปน็ ชดุ บวั ถลาแทนเพอ่ื รองรบั ทรงระฆงั ปอ้ มดงั เชน่ พระธาตลุ �ำ ปางหลวง จงั หวดั ลำ�ปาง ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งกับเจดยี ์ทรงระฆงั ในศลิ ปะสโุ ขทยั ต่อมาเจดยี ์ทรงระฆังไดป้ รบั ปรงุ ใหอ้ ยู่ในทรง หลายเหลย่ี ม ทำ�ให้ชดุ ฐานบวั หรือชุดบัวถลามคี วามส�ำ คญั เพราะมขี นาดใหญ่ขึ้น และสูงข้นึ ขณะทีท่ รงระฆัง กถ็ ูกลดความส�ำ คญั จงึ มขี นาดเลก็ ลง เช่น เจดยี ์พระธาตุดอยสเุ ทพ จังหวดั เชียงใหม่ ในปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ ระยะตอ่ มามกี ารปรบั เปลี่ยนลักษณะของการยกเก็จท่เี รอื นธาตุ และเปลยี่ นจากเรอื นธาตุ ลดชน้ั กลาย เปน็ หลงั คาลาด มีทรงระฆงั ตั้งเช่นเดียวกับระเบยี บของเจดยี ์ทรงระฆงั ตง้ั ต่อไปจากชนั้ หลังคาลาด ทำ�ให้เกดิ ลกั ษณะเฉพาะของเจดียท์ รงปราสาทของศิลปะล้านนา การผสมผสานอย่รู ะหวา่ งเจดียท์ รงปราสาท กับเจดีย์ ทรงระฆงั อกี แนวหนงึ่ นา่ จะมีส่วนเป็นที่มาของเจดยี ์ แบบพเิ ศษกลุ่มหนึง่ ทไ่ี ด้พบในเมืองเชียงใหม่ เชน่ เจดยี ์ วัดตะโปทาราม และรวมทง้ั ท่ีเป็นการพัฒนามาเปน็ เจดยี ข์ องวดั กู่เตา้ ด้วย ล วดลายปนู ป้ันประดบั สถาปตั ยกรรม รปู เทวดาทกุ องค์ มีพระพักตรแ์ ละพระวรกายท่ไี ด้สัดส่วน สมบรู ณ์ วงพระพักตร์ยาวรีคลา้ ยรูปไข่ อาจจะเก่ยี วขอ้ งกับอทิ ธิพลของศลิ ปะสุโขทัยท่ีแพรห่ ลาย นอกจากนนั้ ยงั มลี ายดอกไม้มใี บไมเ้ ปน็ กลมุ่ พรอ้ มทงั้ ลายประดษิ ฐเ์ ปน็ แถบพลวิ้ ประกอบดว้ ยแสดงถงึ อทิ ธพิ ลของลวดลาย ประดับแบบจีน ซ่ึงมแี พรห่ ลายในศิลปะลา้ นนา ภาพที่ ๕.๒๙ เทวดาปนู ปัน้ ประดับผนัง วหิ ารเจ็ดยอด วิหารมหาโพธาราม จังหวดั เชียงใหม่ ศิลปะล้านนา พ.ศ. ๑๙๙๙ ๑๑๕

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย ซ ้มุ ประตหุ รือโขงทส่ี รา้ งข้ึนในช่วงพุทธศตวรรษที่๒๑มีลวดลายประดับกรอบซุม้ เป็นลายพันธ์พุ ฤกษา ปั้นโดยเนน้ ลกั ษณะท่ีเก่ียวพนั กันของก้าน ใบ ดอก ใหน้ ูนเด่นชัด และมีรายละเอียดมากมาย ซึง่ เปน็ ท่ีนยิ มทำ� เรือ่ ยมา พ้ืนท่ผี นังขา้ งเฉพาะส่วนหนา้ ของวหิ ารเจด็ ยอด คอื พน้ื ที่รปู สี่เหลย่ี มผืนผา้ ตามตง้ั ซ้อนกนั สองตอน แตล่ ะตอนประดบั รปู เทวดายืนประนมกร เครื่องประดับรวมทั้งงานประดับรูปดอกไมส้ วรรค์ทปี่ ระดบั พ้นื หลงั ชวนให้นึกถงึ งานประดบั แนวจนี บ้าง ลังกาบ้าง พม่าบา้ ง ซงึ่ งานประดับแบบนป้ี รากฏอยใู่ นงานประดับศลิ ปะ ล้านนา (ภาพท่ี ๕.๒๙) ภาพท่ี ๕.๓o กายลา่ ง โขงวัดมหาโพธาราม จงั หวัดเชยี งใหม่ ภาพที่ ๕.๓๑ ลวดลายปนู ปั้นประดับเจดีย์แปดเหล่ยี ม วัดอนิ ทขีล-สะดอื เมอื ง (ร้าง) ในบรเิ วณศาลากลางเกา่ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชยี งใหม่ ศลิ ปะลา้ นนา พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ (สมยั บรู ณะ) ลวดลายปูนป้ันประดับซุ้มท่ีเป็นงานคราวบูรณะป้ันนูนลึกมากจนดูคล้ายงานฉลุลายพรรณพฤกษา และลักษณะของการโคง้ บง่ ถงึ ความนยิ มในชว่ งพุทธศตวรรษที่ ๒๑ อน่ึงลวดลายประดับซมุ้ อกี บางด้าน ฝีมือ ชา่ งและลกั ษณะของลวดลายแตกตา่ งออกไปอาจเปน็ งานคราวบรู ณะอกี ครงั้ หนงึ่ ( สนั ติเลก็ สขุ มุ ,๒๕๕๔:๑๔๗) (ภาพท่ี ๕.๓๑) จ ติ รกรรมทเ่ี กา่ แกท่ ส่ี ดุ ของแควน้ ลา้ นนาไดแ้ ก่จติ รกรรมฝาผนงั หอ้ งใตเ้ จดยี ท์ วี่ ดั อโุ มงค์เชงิ ดอยสเุ ทพ จงั หวดั เชียงใหม่ ไดเ้ ขยี นภาพเรื่องอดีตของพระพุทธเจ้า ๑๑๖

บทที่ ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตร์ไทย ภาพท่ี ๕.๓๒ จติ รกรรมฝาผนงั กรุ เจดยี ์วดั อุโมงค์ จังหวัดเชยี งใหม่ จติ รกรรมฝาผนังกรุ เจดียว์ ดั อุโมงค์ ประกอบด้วยภาพอดีตของพระพทุ ธเจา้ ประทบั นง่ั ขดั สมาธิราบ พระหัตถ์ท้ัง ๒ แสดงปางมารวชิ ัย ทรงครองจวี รเฉยี ง ชายจวี รหรอื สังฆาฏทิ ี่พาดบนพระอังสาซา้ ยยาวลงมาถึง ระดบั พระนาภี แสดงถึงการรับอิทธิพลของศลิ ปะสโุ ขทัย พระพกั ตร์ค่อนขา้ งใหญ่ เมด็ พระศกใหญ่ พระรศั มยี งั เป็นทรงดอกบวั ตูมตามทนี่ ิยมทำ� สำ�หรบั พระพทุ ธรปู เชียงแสนรุ่นแรก มปี ระภามณฑลรอบพระวรกาย สว่ น ประภามณฑล มีซมุ้ ไม้โพธิ์ระหว่างภาพอดีตพระพทุ ธเจ้าทปี่ ระทบั เรียงกันมลี ายดอกซีกอยดู่ ้านบน ถดั ลงมา เปน็ ภาพพวงดอกไม้ การวางองค์ประกอบทำ�เป็นแถวคลา้ ยกับจิตรกรรมฝาผนงั ของศลิ ปะสุโขทัยท่ีวดั เจดีย์ เจ็ดแถว เมอื งศรสี ัชนาลัย ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒o การใชล้ ายประจ�ำ ยามก้ามปูท่ีปรากฏในจติ รกรรมฝาผนงั เปน็ ทน่ี ิยมของงานประดบั ตกแต่งของศิลปะอยธุ ยา (ภาพท่ี ๕.๓๒) ตงั้ แตพ่ ุทธศตวรรษท่ี ๒๑ ลงมามีจติ รกรรมเขยี นบนผา้ (พระบฏ) แขวนไวส้ ำ�หรบั กราบไหว้บูชา พบที่ กรพุ ระเจดียว์ ดั ดอกเงิน อำ�เภอฮอด จังหวดั เชียงใหม่ ๑๑๗

ประวตั ิและแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพที่ ๕.๓๓ ภาพพระบฏ จากวัดเจดยี ส์ งู จงั หวดั เชียงใหม่ ภาพพระบฎเป็นผ้าสี่เหล่ียมแนวตง้ั ประกอบดว้ ยพระพุทธองคย์ ืนดว้ ยพระหัตถท์ ้งั ๒ขา้ งทอดลงขา้ ง พระวรกายในปางเปดิ โลกพระอัครสาวกดว้ ยขนาดเลก็ ยืนอญั ชลีขนาบทางซ้ายและขวามภี าพดอกไมส้ วรรค์ หลายแบบเปน็ พื้นหลงั ภาพน้จี งึ หมายถงึ พทุ ธประวตั หิ ลังจากทรงเทศนาโปรดพทุ ธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาว ดึงส์ และเสด็จมาถงึ เมอื งสงั กัสสะแลว้ สที ่ีใช้อย่ใู นประเภทพหุรงค์ มีสแี ดง สีเขียว สเี หลอื งดนิ สดี ำ� สีขาว (ภาพที่ ๕.๓๓) ภาพท่ี ๕.๓๔ จิตรกรรมบนแผน่ ไม้คอสอง วหิ ารนำ�แ้ ต้ม วดั พระธาตุ ลำ�ปางหลวง จงั หวัดลำ�ปาง ๑๑๘

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตรไ์ ทย จติ รกรรมบนแผ่นไมค้ อสอง วหิ ารน�ำ ้แต้ม วดั พระธาตุล�ำ ปางหลวง เขยี นเรื่องนทิ านชาดกพน้ื บ้าน แสดงออกถึงความผูกพันกับธรรมชาติ และขนบธรรมเนียมประเพณีทส่ี บื ทอดกันมาของชาวล้านนา ซง่ึ รกั ษา เอกลักษณ์ไวไ้ ดจ้ นถงึ ปัจจบุ นั นา่ เสียดายที่สภาพลบเลอื นของจิตรกรรมน้ีทำ�ให้การศกึ ษารายละเอียดไดจ้ าก ยาก แ ตก่ ย็ งั พอสงั เกตไดว้ า่ ภาพเขยี นไดใ้ หค้ วามส�ำ คญั แกค่ วามสมจรงิ มากพอใช้บคุ คลหญงิ และชายมอี ากปั กริ ยิ า ตา่ งๆ กนั ไป การแตง่ กายไวผ้ ม กิจกรรมในชีวิตประจ�ำ วัน รวมท้งั ลักษณะของปราสาทบ้านเรือน ฉากประกอบ ทีส่ ะทอ้ นธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม ปา่ ไม้ (สันติ เล็กสุขุม,๒๕๕๔: ๑๔๘) (ภาพที่ ๕.๓๔) ภาพท่ี ๕.๓๕ จิตรกรรมฝาผนงั วหิ ารลายค�ำ วัดพระสิงห์ ศิลปะล้านนา ครึ่งแรกของพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕ (รชั กาลที่ ๕) จงั หวดั เชยี งใหม่ จ ิตรกรรมฝาผนัง วหิ ารลายคำ� เรือ่ งราวในภาพ ได้แก่ เร่ืองสงั ข์ทอง อนั เปน็ นิทานพนื้ บ้านของทาง ภาคกลาง และเรอื่ งสวุ รรณหงสห์ รือชาวเมืองเหนอื เรยี กวา่ หงส์เหิน ได้มีการซอ่ มบรู ณปฏิสงั ขรณ์ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔o๖ ภายในเมอื งของนางยกั ษ์พันธุรัต ยกั ษท์ ุกตนเนรมิตกายเปน็ คนธรรมดา เครื่องแต่งกายแบบภาคกลาง เช่น เครอื่ งทรงมงกฎุ ขณะทีผ่ ้าซน่ิ ลายขวางแบบพนื้ เมืองทางเหนอื หลงั คาปราสาทแบบทางเหนอื ผสมแบบ ภาคกลาง ความพยายามในการเขียนภาพเพื่อเล่าเรอ่ื งให้สมจริงของจติ รกรรมฝาผนงั แหง่ น้สี อดคลอ้ งกบั ท่ีมี อยใู่ นกรงุ เทพฯ ระยะนัน้ (สนั ติ เล็กสขุ ุม,๒๕๕๔:๑๔๙) (ภาพที่ ๕.๓๕) ภาพที่ ๕.๓๖ จิตรกรรมฝาผนงั วหิ ารภูมนิ ทร์ จงั หวดั นา่ น ๑๑๙

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย จิตรกรรมฝาผนังวิหารภูมินทร์เป็นการเขียนภาพเพ่ือเล่าเร่ืองให้สมจริงในวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของ คนในภาคเหนือ แตเ่ คร่ืองแตง่ กายแบบภาคกลาง ขณะทีผ่ ้าซ่ินลายขวางแบบพ้นื เมืองทางเหนอื แสดงถงึ การผสมผสานแบบทางเหนือกับแบบภาคกลาง ลกั ษณะของจติ รกรรมฝาผนงั แห่งนีส้ อดคล้องกับทมี่ ีอยู่ใน กรุงเทพฯ ระยะนนั้ (ภาพท่ี ๕.๓๖) พระพมิ พ์ เปน็ ที่นยิ มกนั มาก สรา้ งไวเ้ พ่อื บรรจลุ งในกรุเจดีย์ มที งั้ แบบทีส่ ร้างกอ่ นพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ เช่น แบบหริภญุ ไชย แบบขอม พุกาม มีท้งั ดนิ เผาและเน้ือดนิ เป็นพระพิมพ์ทีม่ ีชอ่ื เสยี งทางด้านพุทธคณุ ภาพที่ ๕.๓๗ พระพิมพ์เน้ือดนิ พระพิมพ์เน้ือดนิ พบในกรเุ จดียท์ ีเ่ มอื งเชียงแสน หลงั พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ ท�ำ เปน็ รปู พระพทุ ธองค์ ประทับน่ังขัดสมาธริ าบ พระหตั ถแ์ สดงปางมารวิชยั และปางสมาธิ ซมุ้ รอบพระพุทธองค์ มีลักษณะคล้ายกับ พระพมิ พส์ ุโขทยั (ภาพที่ ๕.๓๗) เครือ่ งป้ันดนิ เผา นอกจากภาชนะดนิ เผาที่ท�ำ ขน้ึ เพอื่ เปน็ ของใชพ้ ้นื บ้านแล้วทส่ี �ำ คัญ ภาชนะดินเผา เคลอื บของลา้ นนา ท�ำ ขึ้นเพ่อื ใชใ้ นชีวิตประจ�ำ วนั และส่งออกเปน็ สินคา้ ภาพที่ ๕.๓๘ เครอื่ งเคลือบสนั กำ�แพง จงั หวดั เชียงใหม่ แหลง่ เตาสันก�ำ แพง จังหวดั เชียงใหม่ ถอื เป็นแหล่งท่ีส�ำ คัญในการผลติ เครื่องถว้ ยของล้านนา เริ่มข้ึน ในราวตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๒๑ มีการรับอิทธิพลของถ้วยชามของจนี สมัยราชวงศเ์ หมง็ (พ.ศ. ๑๘๒๒-๑๙๑o) จะมลี กั ษณะพเิ ศษคือ มเี น้อื แกรง่ แตห่ ยาบ สีขาวเข้มหรอื เทาจาง เป็นสีน�ำ ต้ าลแดงกม็ ี มีเคลือบ ๒ สี คือ ๑๒๐

บทที่ ๕ : สมัยประวัติศาสตร์ไทย สเี ขยี วนวลกบั สนี ำ�้ตาล จะผลติ ของใชจ้ �ำ พวก จาน แจกนั ถว้ ยหรือกระปกุ ลวดลายที่เขยี นเป็นภาพดอกไม้ เถาไม้ มที ง้ั ลวดลายหยาบและละเอียด เลียนแบบธรรมชาติ ท่เี ปน็ ลวดลายประดษิ ฐ์มีลายสำ�คญั ไดแ้ ก่ ลายรูป แถวกลบี บวั แต่ละกลีบมลี ายรูปสามเหลี่ยม ประดับอยู่ภายใน ลายนีเ้ กดิ ข้ึนในศลิ ปะจีน และไดร้ บั ความนิยม ตอ่ เนื่องกันมานานมากแลว้ นอกจากน้ีกม็ ีเครื่องถว้ ยจากเตาเผาในอำ�เภอวงั เหนอื จังหวัดล�ำ ปาง เตาเมอื ง พะเยา อยู่บริเวณอำ�เภอเมอื ง และแหล่งเตาหว้ ยนำ�้หยวก อ�ำ เภอขุนยวม จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน เป็นตน้ (ภาพ ท่ี ๕.๓๘) งานโลหะ เชน่ เจดีย์จ�ำ ลอง โคมไฟหลอ่ ด้วยส�ำ ริด รวมทั้งงานเคร่อื งเงนิ เครอื่ งทองทีฉ่ ลุ ดุลหรอื สลักเปน็ ลวดลายพนั ธ์ุพฤกษา ล้วนแสดงถงึ ความประณีตของช่างลา้ นนาในอดตี ท่ีเหลือหลักฐานอยู่ ซึง่ มีอายุ เกินไปกว่าพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ การสืบทอดมาในปจั จบุ นั พยายามทำ�ขึน้ โดยเลียนแบบลวดลายเดมิ และการ ประยุกต์โดยการนำ�แบบเก่ามาผสมผสานขึน้ ใหม่ กม็ ีอยู่ตลอดมา จนถงึ การสร้างสรรคง์ านศลิ ปกรรมสมัย ใหม่ สรปุ ศิลปะเชียงแสนหรอื ศลิ ปะล้านนา ศิลปะเชียงแสนเรยี กตามชอ่ื เมอื งเชยี งแสนทมี่ ีพญามังรายเป็นผู้รวบรวม อาณาจักรตา่ งๆ ทางเหนอื รวม ทงั้ หริภญุ ไชย แล้วลงมาสร้างเมอื งหลวง เวยี งกมุ กาม หรอื เชียงใหม่ในปจั จบุ นั คตคิ วามเชื่อ จากศาสนาพุทธ แบบเถรวาท และวัฒนธรรม ประเพณีอนั งดงาม ตำ�นานพื้นถนิ่ สะทอ้ นความเชือ่ กบั ธรรมชาตแิ วดล้อม เป็น หลกั ส�ำ คญั ส ถาปตั ยกรรมแบบล้านนา ศาสนสถานเป็นวดั วาอารามของชาวลา้ นนากลมกลืนกับธรรมชาติดังคำ� สอนในพุทธศาสนาแบบเถรวาท ส่วนวสั ดุสว่ นมากใช้อิฐและไม้ ว ิหาร แบง่ เป็น วิหารโถง วหิ ารทบึ โครงหลงั คาสรา้ งด้วยไม้ ส่วนหลงั คาซ้อนกันสองถงึ สามชน้ั อโุ บสถ จะมขี นาดเลก็ กว่าวหิ าร สงั เกตมีหลกั เสมาปักรอบอุโบสถ สถปู เจดีย์ มีการก่ออฐิ ฉาบปนู มีลักษณะเฉพาะ คอื การหุ้ม เจดีย์ดว้ ยแผน่ ทองเหลอื ง แล้วปดิ ทองทับ เรียกว่า การห้มุ ทองจงั โก ลักษณะเจดยี ์ ๑. เจดียท์ รงปราสาทยอด สบื ตอ่ มาจาก ศิลปะหริภญุ ไชย เชน่ วดั ปา่ สัก อ�ำ เภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงใหม่ ๒. เจดยี ์ทรงระฆัง พฒั นามาตลอดจากหริภญุ ไชย โดยมีต้นเค้ามาจาก ศิลปะพกุ าม เช่น เจดีย์วัด อโุ มงค์ เจดยี พ์ ระธาตหุ รภิ ญุ ไชย เจดยี ์พระธาตุลำ�ปางหลวง เจดยี ว์ ัดบุปผาราม ๓. เจดียแ์ บบเบด็ เตล็ด เชน่ เจดยี ์กู่เต้า วหิ ารเจด็ ยอด ประติมากรรมทสี่ ำ�คัญในสมยั เชยี งแสนคอื “พระพทุ ธรูปเชยี งแสน” เปน็ พระพทุ ธรปู แบบไทยแท้ ๆ ซงึ่ มีค�ำ กลา่ วถงึ พระพุทธรูปว่า มลี ักษณะพระอรุ ะงาม ด่ังราชสีห์ พระวรกายอวบอ้วน พระนาภเี ป็นลอน พระเศียรกลม พระเนตรมองต่�ำ พระนาสิกง้มุ พระหนเุ ป็นรอย แยก เม็ดพระศกเป็นก้นหอยใหญ่ ยอดรัศมเี ป็นดอกบัวตูม ชายผา้ สงั ฆาฏทิ ี่พาดบนพระพาหา ดา้ นซา้ ยทำ� เปน็ เขยี้ วตะขาบ ๑๒๑

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย ๒. ศลิ ปะสุโขทยั (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๙-๒o) เรม่ิ ต้นต้งั แตเ่ ม่ือพ่อขุนศรีอนิ ทราทติ ยป์ ระกาศตง้ั กรุงสุโขทัยเป็นอสิ ระไมข่ ึ้นแกข่ อม เมื่อราว พ.ศ. ๑๗๘oศลิ ปะแบบสโุ ขทัยจดั ได้ว่าเป็นศลิ ปะทงี่ ดงามที่สดุ และมีลักษณะเป็นของตนเองมากท่ีสุดโดยเฉพาะใน การสร้างพระพุทธรปู ในสมัยน้ีสโุ ขทัยไดต้ ิดตอ่ รับพทุ ธศาสนาลทั ธิเถรวาทลังกาวงศม์ าจากเกาะลงั กาอิทธพิ ล ของศลิ ปะลังกาจึงมผี ลต่อศลิ ปะสโุ ขทัย แต่ส่วนมากปรากฏอย่ทู ส่ี ถาปัตยกรรมยิ่งกว่าประติมากรรม ก ารปกครองสมัยสโุ ขทัย เป็นอาณาจกั รหนง่ึ ทางภาคกลางตอนเหนอื เมอื งประเทศราช เปน็ เมือง หนงึ่ ของอาณาจักรกัมพชู า คอื ผ้ปู กครองชอื่ พอ่ ขุนศรนี าวนำ�ถม ศูนย์กลางการปกครองอยู่ทเี่ มืองศรสี ัชนาลยั เมอ่ื พ่อขุนศรนี าวนำ�ถมสน้ิ พระชนม์แล้ว พอ่ ขุนผาเมือง โอรสขนึ้ ปกครองแทน เป็นที่โปรดปรานของพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 มาก ไดพ้ ระราชทานนามว่า “กมรเต็ง อญั ศรีอินทรตินทราทิตย”์ ประมาณปีพุทธศกั ราช ๑๗๙๒ พอ่ ขนุ ผาเมืองและพ่อขนุ บางกลางหาว เจา้ เมืองบางยาง ได้รวมก�ำ ลงั พลยกมาตีเมืองสุโขทยั จากขอมสมาต โขลญล�ำ พง หลงั จากทข่ี อมสมาตโขลญล�ำ พงสู้ไม่ไดแ้ ละหนีไปแลว้ พอ่ ขุนผาเมอื งจึงอภเิ ษกพอ่ ขนุ บางกลาง หาวผ้เู ป็นสหายและเป็นนอ้ งเขยข้นึ เปน็ เจา้ เมอื งสุโขทยั โดยเอานามพระเจ้าชยั วรมันท่ี ๗ พระราชทานใหต้ น นน้ั ให้แก่พ่อขุนบางกลางหาวว่า “ขนุ ศรีอนิ ทราทติ ย์” พรอ้ มกบั พระราชทานนามพระขรรค์ชัยศรี ให้ข้นึ เปน็ ปฐมกษตั รยิ ์ แห่งราชวงศพ์ ระร่วง ปกครองกรุงสโุ ขทัยมาจนถึงอาณาจักรอยุธยาในราวพทุ ธศกั ราช ๑๙๘๑ การปกครองในสมยั สโุ ขทยั เปน็ การปกครองแบบกระจายอำ�นาจจากนครหลวงไปสหู่ วั เมอื ง นบั ถือ กษตั รยิ ส์ โุ ขทยั เปน็ หลกั ถา้ กษตั รยิ พ์ ระองคไ์ หนเขม้ แขง็ มอี �ำ นาจจะมหี วั เมอื งมาออ่ นนอ้ มมากถา้ กษตั รยิ พ์ ระองค์ ใดออ่ นแอ หัวเมืองขน้ึ กจ็ ะพากนั แยกตวั เป็นอสิ ระสมยั นี้มีการปกครองแบบพ่อปกครองลกู แสดงใหเ้ หน็ วา่ เจา้ เมอื งและพลเมอื งมคี วามสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ กนั มากพลเมอื งสามารถเลา่ เรอื่ งราวรอ้ งทกุ ขก์ บั เจา้ เมอื งได้และมี การปกครองแบบธรรมราชาคอื การน�ำ เอาธรรมะในพระพทุ ธศาสนาเขา้ มาเปน็ หลกั ฐานส�ำ คญั ในการปกครอง แร่ธาตทุ ีส่ �ำ คญั คือ แรเ่ หลก็ ใช้ทำ�เปน็ อาวธุ ยทุ ธภณั ฑแ์ ละเครอื่ งใชใ้ นชวี ติ ประจำ�วัน พบทเ่ี ขาหลวง จังหวัดก�ำ แพงเพชร แร่ทองค�ำ ทำ�เป็นเคร่อื งประดับ พบท่หี ว้ ยผาที อ�ำ เภอวงั ชิน้ จงั หวดั แพร่ แร่ตะก่ัว และ สังกะสี ท�ำ เปน็ พระพิมพ์ และทำ�เครื่องใช้ในชีวิตประจำ�วนั พบที่ถ�ำ ช้ อ่ หว้ ย อำ�เภอลอง จงั หวดั แพร่ แร่ดบี ุก และทองแดง ทำ�เปน็ เครือ่ งใช้ในชวี ิตประจ�ำ วัน การหลอ่ พระพุทธรปู พบท่ีอ�ำ เภอสระเมงิ จังหวดั เชยี งใหม่ ก ารคา้ ขายเสน้ ทางน�ำ แ้ ละทางบกมกี ารคา้ เสรีถอื วา่ เปน็ ศนู ยก์ ลางตลาดการคา้ ขายแมน่ �ำ ป้ งิ แ มน่ �ำ ย้ ม แมน่ ำ�น้ ่าน แม่น�ำ ป้ า่ สกั ติดตอ่ กับแหลมมลายู หมู่เกาะอินโดนีเซีย และฟิลิปปนิ ส์ ตลอดจนญีป่ นุ่ อนิ เดีย และอาหรับ เสน้ ทางการคา้ ขายทสี่ �ำ คัญทสี่ ดุ ในสมยั สุโขทยั คือ สายเมืองเมาะตะมะ สมัยพ่อขนุ รามคำ�แหง มหาราช สนิ ค้าส่งออกทส่ี �ำ คญั คอื เครอ่ื งสงั คโลก เป็นสนิ คา้ ท่ีแทนท่สี ินคา้ จากจนี ในช่วงท่ีจนี มีสงคราม กลางเมอื ง เกิดอุปสรรคในการผลิต จงึ สง่ ไปขายทอี่ าหรับแทน สุโขทยั ถือว่าเปน็ ตลาดสง่ ออกทีส่ �ำ คัญที่สดุ ใน เขตภูมภิ าคน้ี และเงนิ ตราเปน็ ส่ือกลางในการแลกเปลีย่ นสินคา้ เป็นเงนิ พดดว้ ง ท�ำ ดว้ ยโลหะทง้ั สน้ิ ๑๒๒

บทที่ ๕ : สมัยประวัตศิ าสตร์ไทย ภาพท่ี ๕.๓๙ แผนท่อี าณาจักร สุโขทยั เก่า วัฒนธรรมสมัยสุโขทยั วัฒนธรรมด้านความเชอื่ และศาสนาชาวสโุ ขทยั นับถือศาสนาพุทธลทั ธิลังกาวงศ์ ไดน้ มิ นต์พระสงฆ์ มาจากลทั ธิลงั กาวงศ์ คอื เมอื งนครศรธี รรมราชมาเป็นผแู้ นะนำ�ส่งั สอนศาสนากับประชาชน แบ่งออกเป็น ๒ ความเชอ่ื ดงั น้ ี ๑ . ความเชอ่ื เร่อื งผีสาง เทวดาและไสยศาสตร์ ชาวสุโขทัยมกี ารนับถือผบี ้านผีเรือน ผบี รรพบรุ ุษ ซ่ึงหลักฐานในการขุดพบตุก๊ ตาปัน้ ดนิ เผา บางครงั้ และมีตกุ๊ ตาเคลือบไม่มศี ีรษะ เรยี กว่า “ตกุ๊ ตาเสียกบาล” ใน สมยั นั้น การรกั ษาทางการแพทย์ยงั ไมเ่ จริญพอ จงึ ท�ำ ใหม้ ผี ู้คนล้มตายเปน็ จำ�นวนมาก เมื่อมีผปู้ ่วยจงึ มกี าร ปั้นตุ๊กตาแลว้ ตัดศีรษะทงิ้ เพอ่ื หลอกผวี า่ ผ้ปู ว่ ยตายแลว้ ท�ำ ให้ผปู้ ว่ ยหายเจ็บไข้ได้ป่วยได้ ๒. ความเช่ือในทางพุทธศาสนา ชาวสุโขทัยยดึ มนั่ ในพระพุทธศาสนา มักทำ�บุญทอดกฐิน สรา้ ง โบสถ์วิหาร วันพระกจ็ ะเข้าวดั ฟงั เทศนฟ์ งั ธรรม เพ่ือเปน็ บุญกศุ ลในภพหนา้ วัฒนธรรมทางด้านภาษาและวรรณคดี พ่อขนุ รามค�ำ แหงมหาราช ทรงเปน็ ผสู้ รา้ งสรรค์วฒั นธรรม ทางภาษาไทย เร่อื งไตรภูมิพระร่วง ทีท่ รงคณุ ค่าทางปรัชญา และวรรณคดี โดยการสอนให้คนรจู้ กั ความดี ความชวั่ ถอื ว่าเป็นเลม่ แรกของไทยและสภุ าษิตพระร่วง สอนใหร้ ู้จักรกั ษาตัวใหพ้ ้นภยั รอบคอบ การปฏบิ ตั ิ งานตอ่ บุคคลตา่ งๆมีอทิ ธพิ ลตอ่ ความคดิ ความเป็นอยูข่ องคนไทยมากนำ�มาใช้เป็นคติธรรมในการดำ�เนนิ ชวี ิต ทรงคดิ ประดษิ ฐอ์ กั ษรไทยทรงดดั แปลงจากอกั ษรธรรมเพอื่ สะดวกในการเขยี นเมอ่ื ปีพ.ศ.๑๘๒๖ จ ากหลกั ฐาน ศิลาจารกึ ท่สี �ำ คัญ คอื ศิลาจารกึ หลักท่ี 1 ของพ่อขุนรามค�ำ แหง ว ฒั นธรรมทางดา้ นศิลปะ ด้านดนตรี โดยศาสตราจารยม์ นตรี ปราโมท ได้ศึกษาว่า มสี ังข์ แตร บัณเฑาะว์ มโหระทกึ ฯลฯ และมีการแสดง การฟ้อนร�ำ รอ้ งเพลง ส่วนดา้ นสถาปตั ยกรรม ได้แก่ อาคาร มี ๓ ชนิดดงั นี้ อาคารโถงหรืออาคารมีผนัง เชน่ วหิ ารวัดสวนแก้วอทุ ยานนอ้ ย อ�ำ เภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย อาคารท่กี อ่ ด้วยศิลาแลง เชน่ วหิ ารวดั กุฎรี าย อำ�เภอศรีสัชนาลัย จังหวดั สุโขทยั และอาคารทรงส่เี หลย่ี มมี หลังคาเป็นมณฑป เช่น มณฑปวดั ศรชี ุม ศิลปะสุโขทัยสะท้อนรูปแบบผลงานศิลปะด้วยคติความเช่ือจากพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท จากประเทศศรีลังกา โดยเฉพาะจากเมอื งมอญทางตอนใต้ของพม่า เข้ามาสะทอ้ นความคดิ วิถแี หง่ สงั คม วัฒนธรรมของศิลปะสโุ ขทยั เกดิ คณุ ค่าที่เป็นภมู ปิ ญั ญาในชว่ งปรบั เปลย่ี นแรงบนั ดาลใจในศาสนา จากความ ๑๒๓

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย เจรญิ ของพมา่ กมั พชู าและลา้ นนาน�ำ มาปรบั ปรงุ ผสมผสานไดอ้ ยา่ งกลมกลนื และเหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ ม จนกลายเป็นแบบฉบบั เฉพาะตัว จากลักษณะพเิ ศษของศิลปะสุโขทยั ท�ำ ให้เกดิ แรงบันดาลใจทเี่ ปน็ แบบฉบบั กับช่างในแคว้นลา้ นนา กรุงศรีอยุธยาและกรุงรตั นโกสินทร์ โดยเฉพาะการสร้างพระพทุ ธรปู แบบสุโขทยั วสั ดุทใี่ ช้ในการสรา้ งสรรค์งานศลิ ปกรรม ๑ . ศลิ าแลง ใชก้ อ่ สรา้ งปราสาทขอม โดยสรา้ งเปน็ ฐาน ส่วนบนเปน็ อิฐ ๒. ไม้ มอี ายุการใชง้ านจ�ำ กดั มนี �ำ ห้ นักเบา นยิ มใช้กนั อย่างแพรห่ ลาย เชน่ โครงหลงั คา งานแกะสลกั ส�ำ หรับประดับอาคาร ในอาคารสถาปัตยกรรม ๓ . หินทราย ปรากฏอยู่ในการแกะสลัก และเจดยี จ์ �ำ ลอง ๔. งานปูนป้นั ใชใ้ นการตกแตง่ ลวดลายประดับในอาคารสถาปตั ยกรรม ฉาบผิวด้วยปนู และใช้ป้ัน พระพุทธรปู ยุคแรกของศิลปะสโุ ขทยั ๕. หลอ่ ส�ำ รดิ เป็นกรรมวธิ ที ซี่ บั ซอ้ น ใชค้ วามชำ�นาญสงู เจรญิ ขน้ึ หลังงานปนู ปั้น ถอื ว่ามีความส�ำ คญั ที่สุดสมัยหนึง่ ของไทย ๖. ดินเผา เป็นลกั ษณะดนิ เผาเคลอื บ เช่น เคร่ืองสงั คโลก เป็นสินค้าส่งออกท่ีส�ำ คัญ และใช้ประดบั ตกแต่งอาคารสถาปตั ยกรรมด้วย เชน่ กระเบ้ืองดินเผาของบราลีรูปตา่ งๆ เชน่ มงั กร ยกั ษ์ เปน็ ตน้ ภาพที่ ๕.๔๐ งานกอ่ ศิลาแลง เจดียร์ าย วัดเจดยี เ์ จ็ดแถว อ�ำ เภอศรีสัชนาลัย จงั หวัดสุโขทัย ภาพท่ี ๕.๔๑ ดาวเพดานสลกั ดว้ ยไม้ จากปรางคว์ ัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ๑๒๔

บทที่ ๕ : สมยั ประวตั ิศาสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๔๒ พระพทุ ธรูปปนู ปนั้ แกนศิลาแลง วดั เขาพนมเพลงิ และ วัดเจดยี เ์ จ็ดแถว อ�ำ เภอศรสี ัชนาลยั จังหวัดสุโขทยั ป ระตมิ ากรรมสมัยสโุ ขทัย พระพุทธรปู ในศิลปะสุโขทัยสร้างข้นึ ตามแบบแผนของชาวพทุ ธศาสนา นกิ ายเถรวาท ถา่ ยทอดผา่ นรูปทรงเกิดจากสัดสว่ น เส้นนอก และปริมาตร ซ่ึงประสานกลมกลนื กนั อย่าง เรียบงา่ ย ผลงานประติมากรรมท่ีสวยงามจะออกมาในรปู ของพระพุทธรูปมที ั้งพระพุทธรปู ทหี่ ล่อดว้ ยส�ำ รดิ และป้ันด้วยปนู แบบลอยตวั มองเห็นไดร้ อบด้านและภาพนูนแบบนนู สูง และนนู ต่ำ� โดยเฉพาะภาพ ปูน ปน้ั มคี วามสำ�คัญต่อศิลปะไทยมาก เพราะช่างจะแสดงลวดลายละเอียดออ่ น ด้วยการใช้ปูนป้ันเป็นเครื่อง ประดับตามรปู ของมนุษย์ สตั ว์ หรอื อาคารดังตัวอย่าง ประติมากรรมที่สวยงาม เชน่ ภาพพระพุทธรปู นนู สงู ที่ สวยงามและมลี วดลายประดับที่วัดเจดยี เ์ จ็ดแถว เมอื งศรสี ัชนาลัย และพระพทุ ธรูปนนู สูงปางลีลา ในมณฑป วดั ตระพังทองหลาง เปน็ ต้น (ภาพที่ ๕.๔๒) พระพทุ ธรูปสมยั สโุ ขทัย แบง่ ออกไดด้ งั นี้ ๑ . หมวดวดั ตระกวน อยูใ่ นช่วงครง่ึ แรกของพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ มีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั กับรูป แบบเชียงแสนรุน่ แรกของแคว้นล้านนา โดยได้แรงบนั ดาลใจจากเมืองมอญตอนใต้ของพม่า ซึง่ พระพทุ ธรูปรุ่น แรกของสโุ ขทัยเป็นงานปูนป้นั ชว่ งครงึ่ หลงั ของพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เป็นงานหล่อส�ำ ริดเจริญขึ้น จะมคี ณุ ภาพ ของงานหล่อควบคู่กับความสมบูรณ์ทางรูปแบบศิลปะได้บรรลุถึงความงามอย่างมีอุดมคติของพระพุทธรูป หมวดใหญ่ ในศิลปะสโุ ขทัย ภาพที่ ๕.๔๓ เศียรพระพทุ ธรปู ปูนปน้ั สุโขทยั รนุ่ แรก วัดพระพายหลวง จงั หวัดสุโขทยั ๑๒๕

ประวตั ิและแบบอย่างศิลปะไทย ภาพท่ี ๕.๔๔ เทวดาปนู ปน้ั สุโขทยั ร่นุ แรก วัดพระพายหลวง จังหวัดสโุ ขทัย ภาพท่ี ๕.๔๕ พระพุทธรปู ปนู ป้ันระบายสี สูง ๘๓ ซ.ม. สุโขทยั รนุ่ แรก พบที่วัดพระพายหลวง พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาตริ ามค�ำ แหง จงั หวัดสโุ ขทัย พ ระพุทธรูปปูนปั้นระบายสี เปน็ พระพทุ ธรูปรนุ่ แรกของศิลปะสุโขทัย มคี ร่ึงทอ่ น ทรงครองจีวรเฉยี ง เปิดพระองั สาขวาบนพระอังสาซา้ ยมชี ายจวี รสั้นพาดอยู่ชายจีวรหยักแยกสองแฉกคล้ายเขีย้ วตะขาบหักหลดุ ไปบางสว่ น เม็ดพระศกคอ่ นข้างลึก อษุ ณีษะหรอื กะโหลกเศยี รท่โี ป่งนนู อนั เป็นหนง่ึ ในลักษณะมหาบรุ ษุ รศั มี ท่หี กั หายคงเป็นรปู ทรงดอกบัวตูม พระพักตร์กลม พระนลาฏคอ่ นข้างกว้าง แนวเมด็ พระศกหยอ่ นเล็กนอ้ ยท่ี กลางพระนลาฏ พระขนงโกง่ หวั พระขนงไม่ชดิ กนั พระเนตรหรล่ี งต�่ำ พระนาสิกโดง่ แต่คอ่ นข้างสนั้ พระโอษฐ์ อ่ิม พระหนุเป็นปม เทียบเคียงไดก้ บั พระพุทธรูปร่นุ แรกของศลิ ปะล้านนา (เชยี งแสนร่นุ แรก) (ภาพท่ี ๕.๔๕) ๒ . หมวดใหญ่ จะมีอยู่ทั่วไป และมากกว่าหมวดอน่ื ๆ เปน็ ลกั ษณะของศลิ ปะสุโขทัย โดยเฉพาะ มลี ักษณะคือ รศั มเี ปน็ เปลว ขมวดพระเกศาเลก็ แนวพระเกศาโคง้ ท�ำ ใหเ้ กิดวง พระพักตร์รูปไข่ พระขนงโกง่ โคง้ พระนาสิกงมุ้ (ตามแบบมหาบุรษุ ท่มี ีลกั ษณะรปู มาจากอนิ เดยี )ตอ่ เนอ่ื งลงมาที่พระโอษฐอ์ มย้มิ เล็กน้อย พระองั สาใหญ่ บ้ันพระองค์เลก็ ครองจีวรห่มเฉยี ง ชายจวี รยาวลงมาถึงพระนาภี ปลายแยกคล้ายเปน็ ลาย เข้ียวตะขาบ นิยมท�ำ ปางมารวิชยั ประทับน่ังขัดสมาธริ าบฐานเปน็ หนา้ กระดานเกลี้ยง (ภาพที่ ๕.๔๖) ๑๒๖

บทท่ี ๕ : สมยั ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ภาพที่ ๕.๔๖ พระพทุ ธรูปปางมารวชิ ัย สำ�รดิ สูง ๑ เมตร หมวดใหญ่ ศลิ ปะสุโขทัย ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ถงึ ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒o พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ภาพที่ ๕.๔๗ พระพทุ ธรูปลีลา วดั พระศรรี ัตนมหาธาตุ สวรรคโลก พระพุทธรปู ลลี า ปูนปัน้ องค์นี้ อยทู่ ีผ่ นังด้านท้ายของวหิ ารโดยทีเ่ ป็นพระบาทยนื อยบู่ นฐานชุกชีของ พระประธาน (ภาพที่ ๕.๔๗) ภาพท่ี ๕.๔๘ ภาพเสด็จลงจากดาวดงึ ส์ ปูนปัน้ บนผนงั มณฑปดา้ นทิศใต้ วดั ตระพงั ทองหลาง จังหวดั สโุ ขทยั ภาพท่ี ๕.๔๙ พระพทุ ธรปู ปางลลี า สำ�ริดสูง ๑.๑๖ ซ.ม. พระระเบยี งวดั เบญจมบพิตร กรงุ เทพฯ ศิลปะสโุ ขทัย ราวปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ ๑๒๗

ประวัตแิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย พระพกั ตร์รปู ไข่ พระรศั มรี ปู เปลว (ซ่อมใหม)่ ทรงหม่ จีวรเฉยี ง ชายจีวรยาวจรดพระนาภี ปลายจีวร คลา้ ยเขีย้ วตะขาบ จึงอยูใ่ นกล่มุ พระพทุ ธรูปหมวดใหญ่ มมุ มองพระพทุ ธรปู ลีลาท่เี หมาะสมคอื ดา้ นตรงหรอื ดา้ นเฉยี งดงั ในภาพน้ี เพราะหากมองทางดา้ นข้างจะแลเห็นสดั ส่วนท่ีนูนใหญเ่ กินจริง พระอรุ (ุ หน้าขา) และ พระอุระ (หน้าอก) ดงั นเ้ี ช่ือว่า ช่างเจตนาเพ่มิ ความนนู เผ่ือไว้ส�ำ หรบั มุมมองด้านตรง ซงึ่ จะเห็นเกินตา เป็น ความอมิ่ สมบูรณ์ของปรมิ าตร (สันติ เล็กสุขมุ ,๒๕๕๔: ๑o๖) (ภาพท่ี ๕.๔๙) คณุ คา่ ของพระพทุ ธรปู ปางลลี าเปน็ การประสบความส�ำ เรจ็ ในฝมี อื การเนรมติ งานศลิ ปะชน้ั สงู โดยแท้ จะแสดงใหเ้ หน็ วา่ พระพทุ ธองคก์ �ำ ลงั เสดจ็ ด�ำ เนนิ ไปเบอื้ งหนา้ อยา่ งแชม่ ชอ้ ยพรอ้ มดว้ ยอาการกรดี นวิ้ พระหตั ถ์ ซง่ึ แสดงถงึ สญั ลกั ษณข์ องพระธรรมจกั รคอื พระธรรมค�ำ สง่ั สอนพระสรรี ะกายเตม็ ไปดว้ ยอาการออ่ นไหวนมุ่ นวล ท่ีสุดส่วนพระวรกายทรงเอีย้ วนดิ ๆไปทางขา้ งหนา้ แสดงว่าก�ำ ลังอยู่ในท่าทางเยื้องพระบาทพระกรซ่ึงหอ้ ยลง มาสู่เบ้ืองลา่ ง ประสานตามความรู้สกึ ออ่ นไหวของพระวรกาย พระเศยี รคล้ายดอกบวั ตูม พระศอกต็ ้งั ผายไป ตามพระอังสาตดิ ต่อกลมกลืน เส้นรอบนอกอ่อนหวานของใบพระกรรณ งอนออกเลก็ นอ้ ย มขี นาดใหญ่กว่า คนจรงิ เลก็ นอ้ ย สร้างกอ่ นพระพทุ ธรูปปางลีลาของวัดตระพังทองหลาง ภาพท่ี ๕.๕๐ พระพุทธรปู ปางลีลา หนง่ึ ในพระสีอ่ ริ ยิ าบถปูนปนั้ วัดเชตุพน จังหวัดสโุ ขทัย กอ่ น พ.ศ. ๑๙๖o พระพทุ ธรูปปางลลี านิยมสร้างรว่ มกบั พระพุทธรูปในพระอิรยิ าบถอนื่ ๆ เชน่ นั่ง นอน ยืน เดินรวมกัน เรยี กว่า พระสีอ่ ริ ิยาบถ โดยพระพุทธรปู ปางลีลาจะป้นั ไวผ้ นงั ด้านทิศตะวันออก พระพุทธรปู ยืนท่ีผนังดา้ น ทศิ ตะวนั ตกพระพทุ ธรปู นอนอยดู่ า้ นทศิ เหนอื และนง่ั ดา้ นทศิ ใต้ซงึ่ เปน็ แบบแผนของสถาปตั ยกรรมเมอื งพกุ าม ประเทศพมา่ (ภาพท่ี ๕.๕๐) ๑๒๘

บทที่ ๕ : สมัยประวัตศิ าสตรไ์ ทย ภาพที่ ๕.๕๑ พระพทุ ธรูปยนื หน่ึงในพระสีอ่ ริ ิยาบถ ปูนปัน้ วัดสอ่ี ริ ิยาบถ อทุ ยานประวัติศาสตรก์ �ำ แพงเพชร ศลิ ปะสุโขทยั ราวต้นพทุ ธศตวรรษท่ี ๒o จังหวัดกำ�แพงเพชร พ ระพทุ ธรูปยนื สะท้อนสนุ ทรยี ภาพแปลกไปจากพระพุทธรูปปางลีลา เกิดจากทา่ ที่ยืนตรงอย่างสม ดลุ แสดงปางประทานอภยั ดว้ ยพระหตั ถซ์ า้ ยทหี่ กั หายเหมอื นจระน�ำ ของเจดยี ร์ ายบางองคท์ วี่ ดั เจดยี เ์ จด็ แถวเมอื ง ศรสี ัชนาลยั พระพทุ ธรปู ท้งั ส่อี ยูใ่ นสภาพช�ำ รุดมากตอเสาก่อด้วยอฐิ ฉาบปนู ที่เหลอื สั้นบา้ งยาวบา้ งเหลือแนว อยู่ทางด้านหน้าของแตล่ ะด้านของแทง่ ส่เี หล่ียม คอื เสาของจัตรุ มุขทม่ี ีหลงั คาคลมุ เหนือแทง่ สี่เหล่ียม คงมี หลงั คาทรงกรวยและอาจตอ่ ยอดดว้ ยทรงเจดยี ข์ นาดเลก็ การสรา้ งพระพทุ ธรปู สอี่ ริ ยิ าบถของเมอื งก�ำ แพงเพชร ยอ่ มรบั มาจากแมแ่ บบคอื ราชธานีสโุ ขทัย (สนั ติ เลก็ สขุ ุม,๒๕๕๔:๑๑๔) (ภาพท่ี ๕.๕๑) ๓ . หมวดกำ�แพงเพชร มลี กั ษณะดวงพระพกั ตรต์ อนบนกว้าง พระหนุเสี้ยม พระนลาฏกวา้ งอยู่ ในชว่ งตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๒o ค้นพบน้อยได้รับอทิ ธพิ ลจากพระพุทธรูปหมวดใหญ่ของสุโขทยั ภาพท่ี ๕.๕๒ เศยี รพระพทุ ธรูปสมั ฤทธสิ์ ูง ๗o ซ.ม. ๑๒๙

ประวัตแิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย ๔. หมวดพระพุทธชินราช พระพักตร์คอ่ นข้างกลม พระองคค์ ่อนข้างอวบอว้ นแต่สมส่วน น้วิ พระหตั ถท์ ง้ั สมี่ ปี ลายเสมอกนั หมวดน ี้ เ ชอื่ กนั วา่ เรม่ิ สรา้ งครงั้ เมอื่ แผน่ ดนิ พระเจา้ ลไิ ทย ร าวปลายพทุ ธศตวรรษ ท่ี ๑๙ หรอื หลังกว่านัน้ ท�ำ นิว้ พระหตั ถ์ยาวเท่ากันหมดท้ังสน่ี ิว้ เปน็ สัญลักษณ์ความเชอื่ ของศลิ ปะสมัยสุโขทัย พระพกั ตร์ของพระพทุ ธรูปดูสงบทำ�ใหผ้ ูพ้ บเหน็ ไดร้ ับความสงบแล้วมคี วามเขม้ แขง็ ทจี่ ะเอาชนะความเร่ารอ้ น แหง่ มวลกเิ ลสทั้งหลาย เป็นการสร้างพระพทุ ธรูปท่ีมขี นาดใหญ่ มีสดั ส่วนสมบูรณ์งดงามถงึ ข้นั สงู สดุ ของช่าง มีลกั ษณะเคา้ โครงเดยี วกันกบั พระศรีศากยมนุ ีมขี นาดใหญ่ไลเ่ ลยี่ กนั ตา่ งมนี ้วิ พระหตั ถ์ยาวเสมอกัน แตม่ ี ลักษณะอ่อนช้อยกว่าพระศรีศากยมนุ ี จึงอาจสร้างหลังเลก็ นอ้ ย คือในสมัยพญาไสลือไทในสมัยน้ีมีการสร้าง ข้ึนทง้ั ขนาดใหญแ่ ละเล็ก ชว่ งหลังศตวรรษที่ ๒o มีลักษณะแตกตา่ งกันบ้างแตภ่ าพรวมมลี ักษณเหมือนกนั ภาพท่ี ๕.๕๓ พระพทุ ธชนิ ราช สำ�ริดสงู ๑.๑๖ ซม. พระวหิ ารหลวง วัดพระศรีรตั นมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก ศลิ ปะสุโขทยั ปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ หรอื กลางพุทธศตวรรษท่ี ๒o ภาพที่ ๕.๕๔ พระพุทธรปู ส�ำ รดิ ทดิ ไสหอนางแกว้ ผู้สรา้ ง และพระพทุ ธรปู สำ�ริด ทดิ ไสผ้สู รา้ ง พ ระพุทธรูปสำ�ริดทัง้ สองพระองค์ สร้างในสมัยรัชกาลของพระมหาธรรมราชาท่ี ๔ ช่วงปลายของ สมยั สุโขทัย จะมพี ระพกั ตร์แตกต่างกันกบั หมวดใหญ่ คอื จะมพี ระนลาฏคอ่ นขา้ งกว้าง เครือ่ งแตง่ พระพักตร์ เชน่ เปลือกพระเนตร พระโอษฐ์ มีขนาดเลก็ กว่าสว่ นอน่ื ยังคงรกั ษาหมวดใหญไ่ ว้ เชน่ พระองั สากวา้ ง บั้น พระองคเ์ ล็ก ชายจีวรเป็นแถบเลก็ จรดพระอทุ ร และแยกปลายเป็นรปู เขี้ยวตะขาบ (ภาพท่ี ๕.๕๔) ๑๓๐

บทท่ี ๕ : สมยั ประวตั ิศาสตรไ์ ทย ภาพที่ ๕.๕๕ พระศรีศากยมนุ ี สำ�รดิ พระวิหารหลวง วดั สทุ ศั น์ กรงุ เทพฯ พ ระศรศี ากยมนุ ี ใ นรชั กาลของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกไดอ้ ญั เชญิ มาไวท้ วี่ หิ ารหลวง วัดสทุ ัศน์ กรุงเทพฯ มลี ักษณะพระพกั ตร์ค่อนข้างเหลี่ยมหรอื กลมเกินกว่าจะเป็นรปู ไขแ่ บบพระพทุ ธรูปแบบ หมวดใหญ่ เปน็ ฝีมอื ช่างทถี่ นดั แบบหมวดใหญ่แต่สร้างในชว่ งรว่ มสมยั กนั กบั หมวดใหญ่ ในศตวรรษที่ ๒o พระพุทธรปู สมยั สุโขทยั ใหอ้ ทิ ธิพลแก่พระพุทธรูปทางภาคเหนอื ในด้านจิตใจมากขนึ้ ท้งั ฝีมอื การป้นั ให้งดงาม ถกู ตอ้ งตามหลกั กายวภิ าคเกดิ การผสมผสานกนั ระหวา่ งสกลุ ชา่ งสโุ ขทยั กบั สกลุ ชา่ งภาคเหนอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความ พเิ ศษ คอื พระประธานปางสมาธิ (พระศรศี ากยมุน)ี ในพระวหิ ารหลวง วดั สทุ ัศน์เทพวราราม กรงุ เทพฯ ถอื วา่ เป็นศลิ ปะฝมี อื ชัน้ เยี่ยม (ภาพท่ี ๕.๕๕) เ ทวรูป เช่น รูปพระอิศวร พระอุมา พระนารายณ์ พระพรหม และพระหริหระ คอื พระอศิ วร และพระ นารายณ์ หลอ่ ดว้ ยสำ�ริดมที ้ังขนาดกลางและขนาดเท่าคนจริงหรอื ใหญ่กว่า สร้างขึน้ ในการประกอบพิธีกรรม ของพระราชส�ำ นกั เกยี่ วกบั พธิ บี วงสรวงซง่ึ เปน็ ความเชอ่ื ทมี่ น่ั คงในสมยั สโุ ขทยั โดยพระเนตรหรล่ี งต�่ำ พระพกั ตร์ เหมอื นพระพทุ ธรูปหมวดใหญต่ ่างกันแต่เครือ่ งแต่งองค์เคร่อื งทรงอาภรณท์ ำ�ให้รู้วา่ องคไ์ หนหล่อขนึ้ ก่อนหลัง นบั ถอื พทุ ธศาสนาลทั ธลิ งั กาวงศอ์ ยา่ งแนน่ แฟน้ พระเจา้ แผน่ ดนิ แตก่ อ่ นตอ้ งหลอ่ เทวรปู ขน้ึ เพอื่ ทำ�พธิ ใี นศาสนา พราหมณ์เพอื่ ปกครองประเทศกบั การตดั สนิ อรรถคดีเพราะพราหมณเ์ ปน็ ผรู้ กั ษาคมั ภรี ธ์ รรมศาสตร์เปน็ คมั ภรี ์ ทเ่ี กีย่ วกบั การตัดสินคดีในศาสนาพราหมณ์ ทแ่ี พรห่ ลายทีส่ ุดในเอเชียอาคเนย์ โดยเข้าสปู่ ระเทศมอญ ก่อนเข้า สู่ประเทศไทย และพราหมณเ์ ป็นผู้รักษาคัมภรี ์และรูเ้ รื่องมากกว่าพระมหากษัตรยิ จ์ ึงตอ้ งให้พราหมณเ์ ป็นที่ ปรกึ ษา ๑๓๑

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๕.๕๖ เทวรปู พระอศิ วร ส�ำ ริด สูง ๒.๖o เมตร และ เทวรปู พระนารายณ์ สำ�ริดสูง ๗๕ ซ.ม. ศลิ ปะสโุ ขทยั ครึง่ หลงั พทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ ถึงตน้ พุทธศตวรรษที่ ๒o พิพิธภณั ฑ สถานแหง่ ชาติ พระนคร คณุ ภาพทางดา้ นงานประติมากรรม และสนุ ทรยี ภาพของรูปอิศวรและ เทวรูปพระนารายณ์ สององค์ น้ีเทียบได้กบั พระพุทธรปู หมวดใหญ่ ดงั นัน้ ย่อมอธิบายไดว้ า่ ชา่ งสโุ ขทยั มิได้แยกความแตกตา่ งระหว่างพระ พักตร์ของพระพุทธรปู กบั พระพกั ตรข์ องเทวรูป คงเพราะถอื วา่ รูปอุดมคติเชน่ เดยี วกนั (ภาพที่ ๕.๕๖) ภาพท่ี ๕.๕๗ เทวดาปนู ปั้น เจดยี ์ส่ีเหลย่ี ม วัดพระพายหลวง จังหวดั สุโขทยั เ ทวดาปนู ปั้น ไดร้ ับอิทธพิ ลจากขอมแบบบายน ปรากฏอยู่ในเคร่ืองแตง่ กาย สรา้ งในระยะแรกสมัย สุโขทัย เป็นรูปเทวดายนื พนมมือ นุ่งผา้ ซ้อนกันเปน็ ชัน้ เศยี รของเทวดาสวมมงกุฎแบ่งไดเ้ ปน็ ๒ ส่วน คอื สว่ น ที่คาดเป็นกรอบหนา้ เรียกวา่ กระบงั หน้า ประดับลายประจ�ำ ยามหรือประจำ�ทศิ เดน่ อยทู่ างด้านหนา้ ส่วนท่ี เรียกวา่ รดั เกลา้ คือ ทรงกรวยครอบมวยผมเหนอื เศียร ปรากฏอยู่กอ่ นในศิลปะขอม (ภาพที่ ๕.๕๗) ๑๓๒

บทที่ ๕ : สมยั ประวัติศาสตรไ์ ทย ภาพท่ี ๕.๕๘ ภาพพุทธประวตั ิปูนป้นั หน้าบันดา้ นเหนอื ปราสาท แบบขอม วดั พระพายหลวง ศิลปะสโุ ขทัย ภาพท่ี ๕.๕๙ ปูนปั้นประดับฐานเจดียใ์ หญ่ เจดยี ์ทางดา้ นทศิ ใตพ้ ระมหาธาตุ วดั มหาธาตุ ศิลปะสโุ ขทยั พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒o งานปนู ปนั้ ประดบั ฐานขนาดใหญ่ซง่ึ ช�ำ รดุ ลงมากแลว้ รปู สงิ หด์ า้ นหนา้ และลวดลายกระหนกทป่ี ระดบั สว่ นหวั และรปู ชา้ งตลอดจนลวดลายพรรณไมล้ ว้ นเกยี่ วขอ้ งกบั งานประดบั ในศลิ ปะลงั กาเดน่ ชดั มากแหง่ หนง่ึ ของงานประดบั ในงานศลิ ปะสโุ ขทยั (สันติ เลก็ สุขุม,๒๕๕๔:๑๑๕) (ภาพท่ี ๕.๕๙) ภาพท่ี ๕.๖๐ เทวดาปูนปัน้ ประดบั ฐานเจดีย์วัดเจดยี ส์ ่ีห้อง ศิลปะสุโขทยั ส ่วนรวมของงานปนู ปน้ั นนู ตำ่� นนู สงู ที่ใช้ประดบั งานสถาปัตยกรรม ในรปู เทวดาทา่ ยืน อาภรณ์เคร่ือง ประดบั ต่างๆ ไดร้ บั อทิ ธิพลจากขอมแบบบายน และแบบลงั กา และสร้างข้นึ ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ รวมทง้ั งาน ประดับรูปแบบซุม้ มีอทิ ธพิ ลจากศลิ ปะขอม แต่คลี่คลายใหด้ เู รียบงา่ ยขึ้น (ภาพที่ ๕.๖๐) ๑๓๓

ประวตั ิและแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพที่ ๕.๖๑ ซุม้ “กรอบหนา้ นาง” ประดบั หนา้ กากที่ยอดซุ้มเจดยี ท์ รงปราสาท แบบศลิ ปะสุโขทัย ซ มุ้ “กรอบหนา้ นาง” ประจำ�ทศิ ส่ีทศิ ของเจดยี ์พระศรมี หาธาตุ สุโขทยั เป็นกรอบซมุ้ โค้งที่ดเู รียบงา่ ย ยอดซมุ้ ประดบั หนา้ กาลโคนหรอื ปลายกรอบซมุ้ ประดบั รปู ภมรมขี าหางภมรเปน็ กลมุ่ กระหนกอนั เปน็ อทิ ธพิ ล ของศลิ ปะลังกาโคนบางซุ้มก็ประดับด้วยกินรีการเชื่อมโยงของรปู แบบกนกในแบบศลิ ปะพมา่ ลังกาขอมโดย การปรับปรุงคลค่ี ลายให้เกิดเอกลกั ษณ์ของตนเองในสโุ ขทยั เชยี งใหม่ อยธุ ยา ในชว่ งพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒o จะมีรูปแบบเหล่านี้ปรากฏในลวดลายประดับของงานสถาปตั ยกรรม แต่ลวดลายแบบศลิ ปะจนี จะมนี ้อยใน สมยั สโุ ขทัยจะมมี ากในศิลปะลา้ นนาและศลิ ปะในกรงุ ศรีอยุธยา (ภาพที่ ๕.๖๑) ภาพท่ี ๕.๖๒ ลวดลายปูนปนั้ ประดบั ผนงั วิหาร วัดนางพญา อุทยานประวตั ศิ าสตรศ์ รีสชั นาลัย ศิลปะสุโขทยั (ตอนปลาย หรอื หลงั ศลิ ปะสุโขทยั ) พุทธศตวรรษที่ ๒o-๒๑ ไ ด้รับการยกย่องเสมอวา่ ลวดลายปูนปัน้ แบบสุโขทยั ทป่ี ระดับวิหารแห่งนี้ งามนกั แต่พิจารณาไดว้ า่ ลวดลายนอ้ี ยใู่ นระยะปลายหรือพ้นจากสมัยสโุ ขทัยมาแล้ว เพราะแตกต่างไปจากรสนยิ มของชา่ งสมยั สุโขทัย โดยท่วั ไป เชน่ ท่หี ลงเหลอื ประดบั เจดียร์ ายบางองค์ ในวัดเจดยี เ์ จ็ดแถว หรือลวดลายประดบั เจดีย์ประจ�ำ ด้าน ของพระมหาธาตุ วัดมหาธาตุอทุ ยานประวตั ิศาสตรศ์ รสี ชั นาลัย ศลิ ปะสุโขทัย (สันติ เลก็ สขุ ุม,๒๕๕๔:๑๑๖) (ภาพท่ี ๕.๖๒) ๑๓๔

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตร์ไทย ส ถาปตั ยกรรมสมยั สุโขทัย ได้แก่ วหิ าร อโุ บสถ และเจดยี ์ เปน็ ส่ิงกอ่ สรา้ งท่ีสำ�คัญในศิลปะสุโขทยั ภาพท่ี ๕.๖๓ เสาวหิ าร วดั พระพายหลวง ศิลปะสโุ ขทัย ภาพที่ ๕.๖๔ เสาวิหาร และรูปแบบสนั นษิ ฐานวิหารวัดศรชี ุมศลิ ปะสโุ ขทยั ท่มี า: สนั ติ เล็กสุขมุ /มกราคม,๒๕๕๓ ๑.วหิ าร ท่ยี ังเหลือร่องรอยของโครงสรา้ งหลงั คา จะมีฐานเตยี้ ก่อดว้ ยอิฐหรอื ศลิ าแลงสำ�หรับ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ไมค่ ่อยหลงเหลอื ใหเ้ ห็น แนวผนังมักยกพืน้ เล็กนอ้ ย อาจเป็นอาสนสงฆ์ (ภาพท่ ี ๕.๖๓) (ภาพท่ี ๕.๖๔) ๒.อโุ บสถ จะไม่นิยมสร้างในศิลปะสุโขทยั จึงพบน้อยยงั มหี ลักฐานคอื วดั มหาธาตุ จังหวัด สโุ ขทัย จะมแี ผนผังรูปสเ่ี หลีย่ มผืนผ้าเช่นเดยี วกบั วหิ าร มีท่สี ังเกตคอื ใบเสมาปักไวป้ ระจำ�ทศิ ท้ัง ๘ ทศิ ของ อาคาร (ภาพที่ ๕.๖๕) ภาพท่ี ๕.๖๕ อโุ บสถ และรูปแบบสันนิษฐาน วัดมหาธาตุ ศลิ ปะสโุ ขทยั ท่ีมา: สนั ติ เลก็ สขุ มุ /มกราคม,๒๕๕๓ ๑๓๕

ประวตั ิและแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ๓.เจดยี ์เปน็ ส่ิงก่อสรา้ งอันมีคุณค่าแก่การเคารพบูชาโดยเฉพาะเจดยี ม์ หาธาตุอันเปน็ สญั ลักษณ์ แทนพระพุทธองค์หรอื ท่ีสถิตของพระพทุ ธองค์ จะมรี ูปแบบและรปู ทรงร่วมกัน คอื ประกอบกันเปน็ สามสว่ น หลกั เช่น สว่ นลา่ งคือ ฐาน ส่วนกลาง คือ เรอื นธาตุ และส่วนบนคือ ยอดแหลม หรือยอดท่เี ปน็ ชั้นซอ้ นลด หลัน่ กนั เจดียท์ รงปราสาทขอม เปน็ ต้นแบบของเจดีย์สมยั สุโขทัย เรียกว่า เจดยี ท์ รงปราสาทแบบสโุ ขทยั เป็น การผสมผสานกันระหว่างปราสาทขอมกับเจดีย์ทรงปราสาทยอดแบบลา้ นนา เจดีย์ทรงปราสาทยอด คือ แบบที่มียอดแหลมตอ่ เนือ่ งจากเรือนธาตขุ ึน้ ไป ยอดแหลมประกอบดว้ ย ทรงระฆงั ลกู เดียวหรอื หลายลูกเรยี งซอ้ นกนั ขน้ึ ไปและตอ่ ดว้ ยกรวยแหลมเป็นปลายยอดรวมกบั ยอดใหญเ่ ด่น เปน็ ประธานอย่ตู รงกลางช่างจะปรบั ปรุงจากเจดยี ท์ รงเดยี วกนั ในศลิ ปะล้านนาซง่ึ ได้แรงบนั ดาลใจจากศลิ ปะ พกุ าม เจดยี ท์ รงปราสาทยอดทม่ี แี บบอยา่ งผสมผสาน ค อื มชี นั้ ซอ้ นเหนอื เรอื นธาตุตอ่ ขน้ึ ไปจนถงึ ยอดแหลม ประกอบดว้ ยทรงระฆงั และปลายยอดแหลมแยกไดว้ า่ ชนั้ ซอ้ นปรบั ปรงุ จากชน้ั ซอ้ นของปราสาทแบบขอมสว่ น ท่ีเปน็ ยอดแหลม ปรับปรุงจากแบบอยา่ งเจดยี ใ์ นศิลปะล้านนา เ จดีย์ทรงยอดดอกบวั ตมู เรียกว่า เจดยี ์ทรงพุ่มข้าวบิณฑห์ รอื ทรงทะนาน เป็นรูปทรงทีแ่ ปลกจากรูป ทรงอนื่ ๆในอดตี สงู โปรง่ กวา่ ปรบั ปรงุ มาจากทรงปราสาทแบบขอมแตแ่ นบเนยี นกวา่ สว่ นฐานทรงยอดดอกบวั ตูมซอ้ นลดหล่นั เป็นชดุ รองรับชดุ ฐานของเรอื นธาตุทรงแทง่ เพรียว ตอ่ ยอดด้วยทรงดอกบวั ตมู และครอบ ปลายยอดดว้ ยทรงกรวย อันประกอบดว้ ย ปล้องไฉน และปลี เจดียท์ รงระฆงั ลกั ษณะโดยรวมของเจดียป์ ระกอบดว้ ย ฐานสเี่ หล่ยี มจตั ุรสั ลวดลายบัวถลาซอ้ นกนั สามองค์ ต่อกนั ขึ้นไปเปน็ บวั ปากระฆงั รองรบั ทรงระฆังป้อม บัลลงั กส์ ี่เหลีย่ มครอบด้วยทรงกรวย ซ่ึงประกอบ จากปล้องไฉนและปลี องค์ประกอบเหล่าน้ีเปน็ แบบศิลปะพุกาม บางอย่างเป็นแบบลงั กา เชน่ เหนือทรงระฆัง มีบลั ลังก์สเี่ หลย่ี มทมี่ ชี า้ งรอบท่ฐี าน ส่วนบัวปากระฆังซงึ่ รองรบั ทรงระฆังในศิลปะพกุ าม เจดยี ท์ รงมณฑป หมายถงึ เฉพาะอาคารทีม่ ีพ้นื ทส่ี ่เี หล่ยี มจัตุรัส ซงึ่ เป็นห้องประดษิ ฐานพระพุทธรูป สว่ นหลงั คาทรงกรวยสเ่ี หลยี่ มประกอบจากชน้ั ซอ้ นลดหลนั่ ของการซอ้ นหลงั คาคอื ความหมายดงั้ เดมิ ของความ เปน็ ปราสาท มณฑปท�ำ หนา้ ทเี่ ชน่ เดียวกบั วหิ าร ซง่ึ สำ�หรับพระสงฆใ์ ช้ประกอบพธิ กี รรม สถาปัตยกรรมชว่ งกอ่ นสุโขทยั ภาพท่ี ๕.๖๖ ศาลตาผาแดง สุโขทยั ๑๓๖

บทที่ ๕ : สมัยประวัติศาสตรไ์ ทย ศาลตาผาแดง เป็นปราสาทแบบขอม สร้างข้ึนในศาสนาฮินดหู รือศาสนาพทุ ธฝา่ ยมหายาน ส่วนล่าง เร่มิ จากข้นึ เขยี งรองรับ ฐานบวั ลูกฟกั หมายถงึ ฐานที่มีขนาดใหญ่ ชือ่ ลกู ฟัก เหนือขึ้นไปเปน็ เรือนธาตุ หมาย ถงึ ส่วนกลางต่อข้ึนไปคือ ส่วนบนซ่งึ ทลายลงหมด บนมุมเรอื นธาตปุ ระดบั ดว้ ยบันแถลง ที่เรียกว่า กลีบขนุน ทางทศิ ตะวนั ออกมบี นั ไดทางขึน้ อยูห่ นา้ มขุ ตามแบบอยา่ งของขอม โดยชาวสุโขทัยน�ำ มาปรบั ปรุงเปน็ รูป แบบใหม่ (ภาพท่ี ๕.๖๖) สถาปตั ยกรรมท่ีมคี วามเจรญิ ร่งุ เรอื งถงึ ขีดสุดในราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นิยมสรา้ งศาสนสถานเพอื่ การเจรญิ ถึงความศรัทธาแกพ่ ทุ ธศาสนิกชน วดั จงึ เปน็ แหลง่ ศนู ย์รวมศลิ ปกรรมหลายแขนง โดยมสี ถาปัตย กรรมเปน็ หลักส�ำ คัญ มลี ักษณะคาบเกยี่ ว เหลือ่ มลำ�ใ้ นศลิ ปะสมัยเชยี งแสนและอยธุ ยา และได้รบั อิทธิพลของ ศลิ ปะแบบโจฬะในศลิ ปะศรวี ชิ ัย โดยศาสตราจารย์หมอ่ มเจา้ สุภทั รดศิ ดิศกุล ไดท้ รงจ�ำ แนกเจดยี ์ไว้ ๓ แบบ ดังนี้ ๑. เจดีย์แบบสุโขทัยแท้ ท�ำ ฐานเป็นส่ีเหล่ียม และสามชนั้ ตงั้ ซอ้ นกนั ขน้ึ ไปถึงองค์เจดีย์เหลีย่ มยอ่ มุม ยอดเปน็ ทรงพุ่มข้าวบิณฑห์ รอื ดอกบวั ตูม เช่น พระเจดยี ท์ ว่ี ัดมหาธาตกุ ลางเมืองสุโขทัย และเจดีย์เจด็ แถว เมอื งศรีสชั นาลัย อ�ำ เภอศรสี ชั นาลยั จงั หวัดสโุ ขทยั ภาพท่ี ๕.๖๗ เจดยี พ์ ระศรมี หาธาตทุ รงยอดดอกบัวตูม และเจดยี ป์ ระจำ�ทิศประจำ�มมุ / วัดมหาธาตุ อทุ ยานประวตั ศิ าสตร์สโุ ขทัย พุทธศตวรรษที่ ๑๗-๒o เ จดีย์พระศรมี หาธาตุ วดั มหาธาตุ สร้างข้นึ ในระยะแรกของสโุ ขทยั ในรชั กาลของพ่อขนุ ศรอี ินทรา ทิตย์ เป็นเจดยี ์ประธานของวดั คือ เจดยี ย์ อดดอกบัวตูม (เรียกวา่ เจดียท์ รงพ่มุ ข้าวบิณฑ)์ เกดิ จากการปรับปรุง แบบอย่างที่มอี ยกู่ อ่ น เช่น ปรับปรงุ ส่วนประกอบจากปราสาทขอม ไดแ้ ก่ ฐานบวั ลกู ฟกั ซ้อนกนั สองฐาน ต่อเน่ืองกนั ขนึ้ ไปเปน็ ทรงแทง่ ประดบั มุมบนของทรงแท่งดว้ ยลกั ษณะท่เี รยี กวา่ กลบี ขนุน และสำ�หรับทรง ดอกบวั ตมู และ ปลีเชอื่ วา่ เก่ียวข้องกบั สว่ นประกอบของเจดีย์ทรงระฆัง ซ่ึงมีทรงระฆงั ตอ่ ขน้ึ ไปด้วยทรงกรวย คือ ปลอ้ งไฉนและปลี โดยไมม่ บี ลั ลังค์ส่ีเหล่ยี มค่ัน การไม่มีทรงบัลลังค์คน่ั คงเกีย่ วขอ้ งกบั แรงบนั ดาลใจจาก เจดียท์ รงระฆงั หรอื ยอดของศาสนสถานบางแบบในศิลปะพม่าสมัยพกุ าม (สันติ เลก็ สุขุม,๒๕๓๔:๔๗ (ภาพที่ ๕.๖๗) และมีเจดีย์บรวิ ารประจ�ำ ทิศทงั้ แปด ก่อดว้ ยศิลาแลง เจดยี ์ประจำ�ทศิ คือ ประจำ�มุมอีกสม่ี ุมเปน็ ทรง ปราสาทยอด ก่อดว้ ยอิฐ และปรบั ปรงุ ใหมใ่ นรัชกาลของพญาลิไทจนถึงปัจจุบนั เปน็ สัญลกั ษณข์ องสโุ ขทัย ๑๓๗

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๕.๖๘ เจดยี ์ประธานทรงยอดดอกบัวตมู และรปู แบบสันนิษฐานวัดมหาธาตุ วดั เจดยี เ์ จด็ แถว อำ�เภอศรีสัชนาลยั ศิลปะสุโขทัย ทีม่ า: สันติ เล็กสุขมุ /มกราคม,๒๕๕๓ เ จดียป์ ระธานทรงยอดดอกบัวตูมวัดเจดีย์เจ็ดแถว ช ่างผสมผสานท�ำ ใหม้ เี อกภาพสร้างขึน้ กลางพทุ ธ ศตวรรษท่ี ๑๙ พญาลไิ ทบูรณะขึ้นใหม ่ ๒ .เจดยี ท์ รงกลมแบบลงั กา ไ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากเกาะลงั กาพรอ้ มกบั พทุ ธศาสนกิ ชนนกิ ายลงั กาวงศ์ สร้างเป็นเจดีย์รายขนาดเล็กอยู่บนลานด้านข้างของวิหารสร้างข้ึนในระยะแรกของรัชกาลพ่อขุนรามคำ�แหง มหาราช ทรงระฆังคอดส่วนลา่ งโป่ง ในสว่ นบน องคร์ ะฆงั คลา้ ยศลิ ปะพุกาม (ภาพท่ี ๕.๖๙) ภาพท่ี ๕.๖๙ เจดียร์ ายทรงระฆัง วดั พระพายหลวง ศลิ ปะสุโขทยั ภาพท่ี ๕.๗๐ เจดียป์ ระธานวดั ช้างลอ้ ม และพระลีลารอบกา้ นฉัตร วัดช้างลอ้ ม อำ�เภอศรีสชั นาลัย จงั หวดั สโุ ขทัย ครงึ่ หลงั พุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ๑๓๘

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ิศาสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๗๑ รูปแบบสันนิษฐานวัดชา้ งล้อม อ�ำ เภอศรีสัชนาลยั ศลิ ปะสุโขทัย ท่มี า : สันติ เลก็ สขุ ุม/มกราคม,๒๕๕๓ เจดยี ป์ ระธานช้างล้อม วัดชา้ งลอ้ ม เป็นเจดยี ท์ ี่ปรบั ปรุงจากเจดีย์แบบล้านนา เจดยี ป์ ระธานมีขนาด ใหญ่อยถู่ ัดจากเจดยี ์เจด็ แถวไปทางตะวนั ตก มรี ปู ช้างเต็มตัวยืนรายรอบฐาน อาจได้แรงบนั ดาลใจจากเจดีย์ท่ี มีช้างหมอบรอบฐาน จากศลิ ปะลงั กาทเี่ จดยี ส์ ุวันเวฬิ เมืองอนรุ าธปรุ ะ ประเทศลงั กา ทางขึน้ อยูท่ างทศิ ตะวนั ออกมจี ระนำ�ดา้ นละ ๕ จระน�ำ ประดิษฐานพระพทุ ธรปู นั่งขดั สมาธริ าบ (องค์ท่ีสมบูรณ์ท่สี ดุ กรมศิลปากร อัญเชญิ มาไว้ในพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ รามค�ำ แหง สโุ ขทยั ) พระหัตถแ์ สดงปางมารวชิ ัย คลคี่ ลายจากแบบ สุโขทยั ระยะแรก ก่อนทีจ่ ะกลายเปน็ แบบหมวดใหญ่ เหนือขนึ้ ไปเป็นชดุ บัวถลาอันเป็นแบบอยา่ งเฉพาะของ เจดยี ์สโุ ขทยั จ�ำ นวน ๓ เส้น ถัดขึน้ ไปเป็นบัวปากระฆัง ทรงระฆงั บลั ลงั กท์ รงสเ่ี หล่ยี มมปี ลอ้ งไฉน และปลี ตามลำ�ดับ โคนปล้องไฉนมปี นู ป้ันรปู พระสงฆส์ าวกอยโู่ ดยรอบ (ภาพที่ ๕.๗๑) ภาพท่ี ๕.๗๒ เจดยี ว์ ดั ช้างรอบ และรปู แบบสนั นิษฐานวัดชา้ งรอบ กำ�แพงเพชร ศิลปะสุโขทยั ท่มี า : สันติ เลก็ สขุ มุ /มกราคม,๒๕๕๓ ว ดั ช้างรอบ ประกอบดว้ ยเจดียป์ ระธานทรงระฆังขนาดใหญ่ ฐานสี่เหลยี่ มจตั รุ ัสยกสงู ยาวดา้ นละ ๓ เมตร ประดับด้วยชา้ งปนู ป้ันทรงเครอื่ งโผล่ออกมาเพียงคร่งึ ตัว จ�ำ นวน ๖๘ เชือก มบี นั ไดขึน้ ลงสี่ด้านมีสิงห์ และทวารบาลปูนปัน้ ประดับทม่ี มุ ฐานด้านบน หรือลานประทกั ษิณมีสถปู เลก็ ๆ อย่ทู งั้ ส่มี ุม (ภาพที่ ๕.๗๒) ๓ . เจดียแ์ บบศรวี ชิ ัย เจดยี ์ที่มีฐานสูงทำ�เปน็ เหล่ยี ม บางทีกม็ คี ูหาประดิษฐานพระพทุ ธรูป บางที ก็ไม่มี ตอนบนมพี ระเจดยี ท์ รงกลมแบบลงั กา มีเจดยี อ์ งคเ์ ล็กประกอบทงั้ ๔ มมุ ๑๓๙

ประวัตแิ ละแบบอย่างศิลปะไทย ภาพที่ ๕.๗๓ เจดียร์ ายทรงปราสาทห้ายอด วดั เจดยี เ์ จด็ แถว ปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ ถึงต้นพทุ ธศตวรรษท่ี ๒o อุทยานประวัติศาสตรศ์ รสี ัชนาลัย ศิลปะสุโขทัย อำ�เภอศรสี ัชนาลัย จงั หวดั สุโขทยั เ จดยี ร์ ายทรงปราสาทหา้ ยอดวดั เจดยี เ์ จด็ แถว เปน็ เจดยี ท์ อ่ี ยใู่ นสภาพสมบรู ณป์ รบั ปรงุ มาจากปราสาท ขอมตอ่ ขน้ึ ไปช้นั บนเป็นทรงระฆงั อันเปน็ ระเบยี บของเจดยี ์ทรงปราสาทยอดแบบลา้ นนา ชา่ งสุโขทัยไดแ้ รง บนั ดาลใจมาโดยปรับปรงุ ลักษณะเพียงเล็กน้อย เชน่ ฐานบวั ลกู ฟกั ซงึ่ ช่างสโุ ขทยั คุ้นเคยกบั ลกั ษณะของฐาน แบบนใ้ี นศิลปะขอมมาก่อน นอกจากรูปแบบโดยรวมแล้ว งานประดับซมุ้ ของจระน�ำ ซ่ึงมแี ท่งสงู ตงั้ เรียงกนั ทางช่างไทย เรยี กวา่ ซมุ้ ผักเพกาที่ชา่ งสุโขทยั คงได้มาพร้อมกับลักษณะของเจดยี ์ทรงนจ้ี ากล้านนา โดยท่ี ต้นแบบของซุม้ ชนิดนอี้ ยใู่ นศลิ ปะพมา่ สมยั เมืองพุกาม เรียกวา่ เคล็ก ที่ได้กล่าวถึงมาแลว้ ในหัวข้อศิลปะ หรภิ ญุ ไชย (ภาพท่ี ๕.๗๓) และมเี จดยี แ์ บบพเิ ศษเรียกว่าเจดยี ์ทรงวมิ าน ภาพที่ ๕.๗๔ เจดีย์รายทรงวิมานหรือทรงมณฑป วดั เจดีย์เจด็ แถวปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ ถึงตน้ พุทธศตวรรษที่ ๒o อทุ ยานประวัตศิ าสตรศ์ รีสชั นาลยั ศิลปะสโุ ขทัย อำ�เภอศรสี ชั นาลยั จังหวดั สโุ ขทยั ๑๔๐

บทที่ ๕ : สมัยประวัตศิ าสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๗๕ เจดีย์ทรงปราสาทขอม วดั พระพายหลวง / อทุ ยานประวตั ิศาสตรก์ ำ�แพงเพชร ศลิ ปะสุโขทัย ภาพที่ ๕.๗๖ เจดยี ์ทรงปราสาทแบบสโุ ขทัย วัดศรสี วาย จงั หวดั สุโขทยั อทุ ยานประวตั ิศาสตร์สโุ ขทัย พทุ ธศตวรรษที่ ๒o สถาปัตยกรรมท่เี ลียนแบบลพบรุ ี รปู ปรางค์ขอมแก้เปน็ ปรางคไ์ ทย จะสงู ข้ึนกว่าเดมิ เชน่ วัดศรสี วาย ศลิ ปะสโุ ขทัยแบบเก่า สนั นิษฐาน ว่าศิลาแลงข้างลา่ งขอมกอ่ ไว้ และไทยต่อเตมิ จนเสร็จ และเดิมเปน็ เทวาลยั ในศาสนาพราหมณ์ ดดั แปลงเป็น วัดในพระพุทธศาสนา สร้างไวเ้ รียงกนั สามองค์ มีการคลีค่ ลายมากกว่าเจดยี ์ประจำ�ทศิ ของวดั พระศรมี หาธาตุ สร้างในพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ ปราสาทองคก์ ลางสูงกวา่ ปราสาทอกี สององคท์ ่ขี นาบขา้ งส่วนบนคือ ชดุ ชั้นซ้อน ชา่ งสโุ ขทยั ปรบั ปรงุ ชนั้ ซอ้ นแตล่ ะชนั้ ดว้ ยการประดบั ซมุ้ ไวท้ ต่ี รงกลางโดยไมท่ ำ�เสารองรบั ซมุ้ เหลา่ นน้ั ลวดลาย ปูนปนั้ ประดับตกแต่งตามกลีบพรรณพฤกษาทม่ี ตี น้ แบบอยใู่ นศิลปะจนี การที่มชี ั้นซ้อนลดหล่นั กนั มากถงึ ๗ หรอื ๘ ช น้ั ท�ำ ใหเ้ ชอ่ื วา่ เปน็ แบบอยา่ งไมก่ อ่ นรชั กาลของพญาลไิ ทซงึ่ คงไดร้ บั การบรู ณะปรบั ปรงุ ในภายหลงั อกี คือการเปลย่ี นแปลงจากเทวสถานใหเ้ ป็นพทุ ธสถาน (สนั ติ เล็กสุขุม,๒๕๕๔: ๑๑o) (ภาพท่ี ๕.๗๖) ภาพที่ ๕.๗๗ พระอจนะและเจดยี ท์ รงมณฑป วัดศรีชมุ ศิลปะสุโขทัย ๑๔๑

ประวัตแิ ละแบบอย่างศิลปะไทย เจดยี ์ทรงมณฑปวัดศรีชุม ภายในประดิษฐานพระพทุ ธรปู ปนู ป้นั ขนาดใหญ่คอื พระอจนะประทับนง่ั ขดั สมาธริ าบ พระหตั ถแ์ สดงปางมารวิชยั และสรา้ งมณฑปครอบพระพุทธรปู ในกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ผนงั หนามาก เว้นชอ่ งบนั ไดทางเดนิ ภายในผนงั ตอ่ เน่ืองจากผนงั หนงึ่ ไปอกี ผนงั หนึง่ จนขึ้นสู่ลานชน้ั บน ซ่ึงมมี าใน ศิลปะพุกาม (ภาพที่ ๕.๗๗) มณฑปวัดศรชี ุม หลงั คาชำ�รดุ หมดไปแล้ว รอ่ งรอยที่แสดงถึงการบูรณะเปลี่ยนแปลงในอดีต ยังสังเกต ได้ที่ซมุ้ ทางเข้าสู่คหู าของมณฑป พระพุทธรปู ขนาดใหญ่เรียกกันวา่ พระอจนะ เคยช�ำ รดุ มาก ไดร้ บั การบรู ณะ โดยการปั้นใหมจ่ ากแบบทอี่ าจารยเ์ ขียน ยิ้มศิริ ประติมากรผูล้ วงลับไปแล้ว รา่ งแบบจากพระพทุ ธรูปสำ�รดิ ขนาดเลก็ ที่คน้ พบในบริเวณวัดร้างแหง่ น้ี (สนั ติ เลก็ สขุ ุม,๒๕๕๔:๑๑๗) ภาพท่ี ๕.๗๘ เจดียป์ ระธานทรงระฆัง วดั ศรีพิจิตรกิติกัลยาราม และเจดยี ์ทรงระฆัง วัดเจดียส์ ูง ศิลปะสุโขทยั เจดียป์ ระธานทรงระฆัง วัดศรีพิจิตรกิตกิ ลั ยาราม จะมรี ูปแบบพิเศษกว่าเจดยี ท์ รงระฆังทว่ั ไป คือ ส่วนล่างประกอบจากชุดฐานซ้อนกันข้ึนไป สงู กวา่ สว่ นฐานของเจดยี ท์ รงระฆังท่วั ไป ดา้ นหนง่ึ ของฐานช่างจะ กอ่ ใหเ้ วา้ ลึกเปน็ ชอ่ งจระน�ำ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู เพอ่ื หลีกเล่ยี งการทำ�คหู าซึง่ จะท�ำ ใหพ้ ้ืนท่ีผนงั เหลอื น้อย ไม่เพยี งพอกบั การรับนำ�ห้ นักขององค์ระฆงั และทีม่ ลี กั ษณะคลา้ ยกับเจดยี ์วัดพจิ ติ รกิตกิ ลั ยาราม คือ เจดยี ์สูงมี อายไุ ลเ่ ล่ยี กัน (ภาพที่ ๕.๗๘) ส ถาปัตยกรรมมีการผสมผสานกนั และพัฒนาอย่างตอ่ เนื่องและแพรห่ ลายในสุโขทยั โดยเฉพาะเจดีย์ แบบสโุ ขทยั ทม่ี ชี า้ งลอ้ มจะไดร้ บั ความนยิ มและแผอ่ ทิ ธพิ ลไปถงึ สมยั อยธุ ยาในรชั กาลสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าช ที่๒(พ.ศ.๑๙๖๗-๑๙๙๑)มกี ารสร้างวหิ ารมเหยงคณ์ท่ีมีลกั ษณะคล้ายกนั และนำ�ไปปรับปรงุ เป็นเจดียบ์ ริวาร เช่น วัดมหาธาตุ วดั พระราม เป็นต้น จิตรกรรมสมัยสโุ ขทัย วาดข้นึ คร้ังแรกในพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ มหี ลงเหลือเพียงเลก็ น้อย มลี กั ษณะรูป แบบคลา้ ยกนั กับจิตรกรรมสมยั อยธุ ยา และรัตนโกสินทรต์ อนตน้ คอื ระบายสเี รียบและตัดเสน้ เป็นขอบเขต เนน้ รายละเอยี ดของภาพภายในเปน็ ข้นั ตอนสุดท้าย มีลักษณะคล้ายกับศลิ ปะลงั กา และพม่าสมัยเมืองพกุ าม ภาพท่ีปรากฏ เป็นท่ีมาจากความเชื่อเร่อื งการเวียนว่ายตายเกิด กอ่ ให้เกิดการสร้างบญุ กศุ ลโดยการสรา้ งถาวร วตั ถุ เช่น เจดีย์ พระพทุ ธรูป ศาสนสถาน เปน็ ต้น ซ่งึ การสร้างบุญกศุ ล เพ่อื จะได้เกิดใหม่ในสมยั พระพทุ ธเจ้า ในอนาคต คอื พระศรีอาร์น ตามความเช่ือวา่ ในสมัยนั้นทกุ คนจะมคี วามสุขอย่างถ้วนหนา้ ๑๔๒

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ิศาสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๗๙ ภาพคดั ลอก จติ รกรรมฝาผนัง วัดเจดยี เ์ จด็ แถว อำ�เภอศรสี ชั นาลยั จงั หวัดสโุ ขทยั ภาพคดั ลอกจติ รกรรมฝาผนงั วดั เจดยี เ์ จด็ แถว เ ปน็ ภาพอดตี ของพระพทุ ธเจา้ เรยี งแถวแนวนอนเปน็ จติ รกรรมแนวอุดมคตกิ ึง่ สมจริง ท�ำ เชน่ เดยี วกบั ประติมากรรม สดั ส่วนเส้นเล่อื นไหลอย่างตอ่ เน่อื ง สอดคลอ้ ง กับเคา้ โครงพระพทุ ธรปู หมวดใหญ่ และภาพบุคคลชน้ั สูง ส่วนประกอบอืน่ เช่น ภาพต้นโพธิท์ พ่ี ระพุทธเจา้ ตรัสรู้ ภาพดอกไมป้ ระดบั ฉาก และเครอ่ื งฉตั รเป็นแบบที่ใชใ้ นราชส�ำ นกั สโุ ขทัยในระยะน้ัน ซงึ่ เขยี นด้วยสีฝนุ่ และเป็นสเี อกรงค์ คอื สีดำ� แดง ใช้สใี ดสหี น่งึ เปน็ สอี อ่ นแก่อย่างสวยงาม (ภาพท่ี ๕.๗๙) ภาพท่ี ๕.๘o ภาพสลักลายเส้นจารลงบนแผน่ หนิ ชนวน ซ่ึงกรเุ ป็นเพดานของทางเดนิ ภายในผนัง มณฑปวัดศรีชุม ศลิ ปะสโุ ขทยั ตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๒o อุทยานประวตั ิศาสตรส์ โุ ขทัย พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ภาพสลักลายเสน้ จารลงบนหนิ ชนวนที่วัดศรชี ุม เมอื งสโุ ขทัย แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของศลิ ปะลงั กา อย่างเหน็ ไดช้ ดั แสดงถึงคุณภาพอันโดดเดน่ โดยไม่ต้องมกี ารระบายส ี คณุ ภาพไม่ด้อยไปกวา่ การตดั เส้นพ่กู ัน ตลอดจนภาพสตั ว์ ลวดลายประดับภาพดอกไม้ประกอบฉาก คือ หลกั ฐานที่แสดงวา่ ชา่ งสโุ ขทัยไดอ้ ทิ ธพิ ลจาก ภาพดอกไมใ้ นศลิ ปะจีนคอื ดอกโบตัน๋ ซงึ่ นิยมกนั มากและมีวิวัฒนาการท่ียาวนานในศิลปะไทย(สันติเล็กสขุ ุม, ๒๕๓๙:๔๒) ล้วนไดส้ ัดสว่ นเหมาะสมกับตำ�แหนง่ ที่วาด ทีม่ ปี ฏสิ ัมพนั ธ์กนั และแสดงถึงความชำ�นาญอยา่ งย่งิ ของชา่ งลวงตาใหเ้ หน็ วา่ ภาพบคุ คลมมี ติ กิ ลมกลงึ เปน็ ภาพจ�ำ หลกั ลายเสน้ บนแผน่ หนิ ทวี่ ดั ศรชี มุ จงั หวดั สโุ ขทยั ๑๔๓

ประวตั แิ ละแบบอย่างศิลปะไทย จำ�หลักขึ้นโดยพระภกิ ษุสงฆช์ าวลงั กา ท่เี ดินทางมากรงุ สโุ ขทัยเพอ่ื ประกาศพระพุทธศาสนาลัทธมิ หายานแก่ ประชาชนชาวไทย มชี าวไทยไดจ้ ำ�หลกั ดว้ ย เปน็ องค์ประกอบเร่อื งพุทธประวตั แิ ละชาดกตา่ งๆ มลี กั ษณะเป็น แบบอนิ เดยี รูปคนบางรูปแสดงใหเ้ หน็ ถึงแบบไทย จึงเช่อื วา่ ชา่ งไทยร่วมจำ�หลกั ดว้ ย มีใบหนา้ ค่อนข้างกลม เมื่อเทยี บกบั ลกั ษณะประตมิ ากรรมระยะแรกก่อนทจี่ ะคล่ีคลายมาเปน็ หมวดใหญ่ มงกุฎทรี่ ัดเกล้าทรงกรวย ประดบั ด้วยวงแหวนเป็นชัน้ จนถงึ ยอดแหลมจากขอ้ มลู ภาพบุคคลชน้ั สูงนา่ จะเก่ากวา่ รปู เทวดาปนู ป้ันวัดตระ พงั ทองหลาง (ภาพท่ี ๕.๘o) ภาพที่ ๕.๘๑ ภาพสลักลายเสน้ บนแผน่ หนิ ชนวน มณฑปวดั ศรีชมุ ศลิ ปะสุโขทัย ภาพท่ี ๕.๘๒ พระพุทธรูปปางลลี า บนรอยพระพทุ ธรูปส�ำ ริด วดั เสดจ็ จังหวดั ก�ำ แพงเพชร พ ระพทุ ธรปู ปางลลี า บนรอยพระพุทธรูปส�ำ ริด รอยพระพทุ ธบาท ประดับลายเส้นภาพอดีตพระ พุทธเจา้ ในพระอิริยาบถลีลา พระนามแต่ละองค์ก�ำ กบั อยูใ่ ตภ้ าพ สว่ นเทวดานุง่ ส้นั ขอบผ้าน่งุ และมีชาย ไหวท่ีบ่งบอกว่าอยู่ในสมัยหลังภาพเทวดาของพระพุทธบาทวัดตระพังทองอยู่ในปลายรัชกาลของพญาลิไท (ภาพที่ ๕.๘๒) (ภาพที่ ๕.๘๓) ๑๔๔

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัตศิ าสตรไ์ ทย ภาพท่ี ๕.๘๓ ลายเสน้ เทวดารอยพระพทุ ธบาทส�ำ รดิ วัดเสด็จ จงั หวดั ก�ำ แพงเพชร พ ระพิมพ์ การสรา้ งพระพมิ พ์ มวี ตั ถปุ ระสงค์เชน่ เดยี วกับเจดียพ์ ระพุทธรูป คือ เพ่ือสบื ทอดพระพทุ ธ ศาสนา และเป็นการส่งั สมบุญกศุ ลของผู้สรา้ ง มกี ารสรา้ งพระพมิ พ์ประมาณ พ.ศ. ๑๘๘๒ รชั กาลพ่อขุนราม คำ�แหง พระพมิ พส์ มัยสุโขทัย ไดแ้ ก่ วัดพระพายหลวง วัดมหาธาตุ สโุ ขทยั เปน็ ตน้ ซึ่งพบร่วมสมยั กบั พระพมิ พ์ ดินเผาแบบพุกาม แบบหริภญุ ไชยและแบบลพบรุ ี ซงึ่ มีมากอ่ น ภาพท่ี ๕.๘๔ พระพมิ พแ์ บบลพบุรดี นิ เผา ภาพท่ี ๕.๘๕ พระพิมพเ์ นอื้ ชินจากกรพุ ระปรางค์ วดั ราชบูรณะ พระนครศรีอยธุ ยา ๑๔๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook