Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore History and Style of Thai art

History and Style of Thai art

Published by sriwarinmodel, 2021-08-23 16:38:10

Description: History and Style of Thai art

Keywords: History,Style of Thai art,Thai art

Search

Read the Text Version

ประวตั ิและแบบอย่างศิลปะไทย ป้อมพระสเุ มรุ ปอ้ มมหาปราบ ป้อมมหากาฬ ฯลฯ สว่ นประตูในรัชกาลท่ี ๑ เป็นประตยู อดไมท้ รงมณฑปทา ดนิ แดง แบบเดียวกบั อยธุ ยาเปล่ยี นเป็นยอดแบบหอรบในสมยั รชั กาลที่ ๓ และสมยั ตน้ รชั กาลท่ี ๕ เปลยี่ น เปน็ ประตยู อดแบบประตพู ฤตบิ าศข้างป้อมมหากาฬศลิ ปกรรมสมยั รชั กาลท่ี๕ทุกอย่างจะเปลี่ยนโฉมหนา้ ใน การพัฒนาบา้ นเมืองเพ่ือใหเ้ จรญิ รดุ หน้า ศิลปกรรมไทยได้ปฏิวตั ิหมดในสมัยนี้ เช่น การแต่งกาย การปกครอง จิตรกรรม ประตมิ ากรรม สถาปัตยกรรม เป็นแบบยุโรป การสร้างสรรค์ผลงานศลิ ปกรรม โดยรวมอยู่บนพ้นื ฐานของศิลปะอยุธยาตอนปลาย อนั มสี มัย กรุงธนบรุ ีเป็นช่วงตอ่ เนอื่ ง และมคี วามเจรญิ รุ่งเรืองสบื มาตามแบบนานาอารยะประเทศ จนกระทัง่ สมัย เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาสู่ระบอบประชาธิปไตยในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอย่หู วั เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ นบั เปน็ เวลายาวนานถึง ๑๕o ปี ซง่ึ ในชว่ งต้นรัตนโกสนิ ทร์ บรรดาชา่ งสบิ หมู่ หรือชา่ งหลวงในราชส�ำ นกั กรงุ ศรีอยุธยาและชา่ งพืน้ บา้ นยังคงเหลืออยู่ ยังคงความอลังการ ใหญโ่ ต ดังน้ันรูปแบบและแผนผังการกอ่ สรา้ งปราสาทราชมณเฑียร วัดวาอาราม บ้านเรอื น จึงมลี ักษณะ คลา้ ยคลึงกบั แบบอย่างดั้งเดิม พรอ้ มทงั้ เตมิ แนวความคิดใหมๆ่ เพอ่ื ช่วยให้การสรา้ งสรรค์กรงุ เทพมหานคร มคี วามยงิ่ ใหญ่ตระการตาดว้ ยศิลปกรรมยิ่งขนึ้ ประติมากรรมสมัยรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) เป็นการ เริม่ ต้นสรา้ งบา้ นเมืองให้มน่ั คง เป็นช่วงท่ีประสบปญั หาสงคราม ปญั หาเศรษฐกิจ การปกครองและศาสนา ที่เสอื่ มโทรมลงใน พ.ศ. ๒๓๓๑ ทรงโปรดเกล้าฯ ใหก้ ระทำ�การสงั คายนาพระไตรปฎิ ก เพื่อฟ้ืนฟพู ระพุทธ ศาสนาให้บริสทุ ธ์ิมน่ั คงตอ่ ไป ส่วนพระพทุ ธรูปในสมัยรชั กาลที่ ๑ ไมส่ รา้ งข้ึนใหม่ จะนำ�พระพุทธรปู ส�ำ ริด โบราณทที่ ิ้งชำ�รุดทรุดโทรมมาบูรณะขน้ึ ใหม่ สว่ นใหญ่เป็นแบบสุโขทัย แบบอทู่ อง และอยุธยากม็ บี า้ ง นำ� พระพุทธรูปสำ�ริดมาพอกปูนปั้น เพอ่ื ป้องกันไมใ่ หพ้ ม่าทราบวา่ เป็นพระพุทธรปู สำ�ริดดั้งเดิม ที่สรา้ งขึ้นใหม่ มีนอ้ ย เช่น พระประธานในพระวหิ ารและพระอุโบสถวดั มหาธาตุ กรุงเทพฯ เปน็ พระปูนป้ัน ลกั ษณะคลา้ ย พระพุทธรปู สมยั อยุธยาปนอ่ทู อง มีลกั ษณะมีชีวติ จิตใจน้อยลง เชน่ พระคันธาราฐปางของฝนซ่งึ โปรดฯ ให้ หล่อขน้ึ ใหม่ มีลักษณะการครองจวี รคล้ายแบบจีน พระหตั ถ์ขวากวักเรยี กเมล็ดฝน (ภาพที่ ๕.๑๗๔) ทรงพระ ราชศรทั ธาใหเ้ ชิญพระพุทธรูปสำ�ริดโบราณซึง่ ทิง้ ทรุดโทรมอยูท่ เี่ มอื งเหนือลงมาบูรณปฏสิ งั ขรณถ์ ึง ๑,๒oo องคเ์ ศษ จนมีสภาพสมบรู ณ์ โปรดใหแ้ จกจา่ ยไปเปน็ พระปฏมิ าตามพระอารามหลวง และอารามทพ่ี ระบรม วงศานวุ งศ์ทรงปฏิสงั ขรณ์ จะพบได้จากพระระเบียงคดท้ัง ๒ ชัน้ รอบพระอโุ บสถ วดั พระเชตพุ นฯ อันเปน็ แหล่งศนู ยร์ วมทสี่ ำ�คัญ พ ระพุทธรูปท่สี รา้ งขึน้ ใหม่ในรชั กาลที่ ๑ ทรงสร้างไว้ ๒ องค์ เป็นพระพทุ ธรปู ประทับยนื ทรงเครอ่ื ง ต้นอยา่ งจักรพรรดริ าช แบบเดียวกนั กับศิลปะอยุธยาตอนปลายเป็น “ปางห้ามสมุทรหรอื ปางทรมานพระยา มหาชมพู” องค์พระพุทธรูปหุม้ ด้วยทองคำ� สว่ นเครือ่ งตน้ เปน็ ทองค�ำ ประดับเนาวรตั น์ แต่ละองค์มคี วามสงู ๒.๑๔ เมตร ดงั น้ี องคแ์ รกถวายพระนามว่า “พระพุทธจุลจักร” ทรงอทุ ิศพระราชกศุ ลถวายสมเดจ็ พระบรม ชนกนาถ(ซา้ ยมอื ดา้ นหลัง) ส่วนองคท์ ่สี องถวายพระนามวา่ “พระพุทธจักรพรรดิ” ทรงสรา้ งขึ้นเพือ่ บำ�เพ็ญ พระราชกศุ ลสว่ นพระองค์ (ขวามือด้านหลงั ) (ภาพท่ี ๕.๑๗๒) ๑๙๖

บทที่ ๕ : สมัยประวตั ิศาสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๑๗๒ พระพุทธจลุ จกั ร (ยืนซ้ายดา้ นหลัง) และพระพุทธจักรพรรดิ (ยืนขวาดา้ นหลัง) พระพทุ ธนฤมิตร และพระพทุ ธรังสฤษด์ิ (ยนื ดา้ นหน้า) ภาพที่ ๕.๑๗๓ พระพทุ ธรูปปางมารวิชัย ปูนป้ัน พระประธานในพระอโุ บสถวัดมหาธาตุกรุงเทพฯ ศลิ ปะรัตนโกสินทรร์ ัชกาลท่ี ๑ ตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๒๔ พระพุทธรูปปางมารวชิ ัย ประดิษฐานอยภู่ ายในพระอุโบสถวดั มหาธาตุ เป็นพระอารามท่ีสมเด็จกรม พระราชวงั บวรมหาสรุ สหี นาถ ทรงปฏสิ ังขรณเ์ ป็นวดั ของวงั หนา้ เป็นฝมี ือการสร้างสรรค์โดยพระยาจนิ ดา รงั สรรค์ เป็นช่างคนสำ�คัญของชา่ งสิบหมู่ พระพุทธรปู มพี ุทธลกั ษณะเคร่งขรึม พระพักตรห์ น้าหุ่น พระวรกาย อวบลำ�่ พระองค์นั่งขดั สมาธริ าบ พระหตั ถแ์ สดงปางมารวิชัย ทรงครองจวี รเฉียง ชายจีวรพาดจากพระองั สา ซา้ ยผ่านกลางพระอรุ ะลงมาจรดพระนาภชี ายจวี รรูปเขี้ยวตะขาบ (ภาพที่ ๕.๑๗๓) ๑๙๗

ประวตั ิและแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพที่ ๕.๑๗๔ พระคันธาราฐปางขอฝน สำ�รดิ สงู เฉพาะองค์พระ ๖๕ ซ.ม. อยู่ท่หี อคนั ธาราฐวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม กรงุ เทพฯ ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์รชั กาลท่ี ๑ ตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๒๔ พระคนั ธาราฐปางขอฝน ทรงยกพระหตั ถข์ วาเสมอพระอุระกวกั เรยี กฝน พระหตั ถซ์ า้ ยรบั เมด็ ฝน พระรัศมเี ปน็ รปู ดอกบัวตมู ทรงโปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งในพระราชพธิ พี ืชมงคล ห่มจวี รเฉยี ง แบบอย่างของจวี ร และจีบริ้วนีท้ �ำ ใหน้ ึกถงึ ลกั ษณะศลิ ปะจนี พระพักตรเ์ รยี บนิ่งลกั ษณะดูออ่ นเยาว์จะต่อเนื่องในสมัยรัชกาลท่ี๓ และช่อื คนั ธาราฐมไิ ด้ หมายถงึ แบบอย่างศลิ ปะอนิ เดีย แต่หมายถึงปางหน่ึงของพระพทุ ธรูปซ่งึ การผสมผสาน ของพระพทุ ธรูปในสมัยรชั กาลที่ ๑ มีอิทธพิ ลศิลปะจีนปรากฏจวี รมจี บี มีรวิ้ อยา่ งพเิ ศษ และพระรัศมรี ูปดอก บัวตูม เลอื กเอาจากพระพุทธรูปเชียงแสนร่นุ แรก สว่ นพระพกั ตรห์ น้าหนุ่ คอื ลักษณะของรชั กาลที่ 1 ยุคเกา่ ๆ (สนั ติ เลก็ สุขุม,๒๕๕๔:๑๙๙) (ภาพที่ ๕.๑๗๔) ภาพที่ ๕.๑๗๕ พระพุทธมหามณีรัตนปฏมิ ากร (พระแกว้ มรกต) วัดพระศรีรตั นศาสดาราม กรงุ เทพฯ ศลิ ปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ พ ระพทุ ธมหามณรี ัตนปฏมิ ากร เปน็ พระพุทธรูปทีร่ ับอทิ ธพิ ลมาจากศลิ ปะทางภาคเหนอื หม่อมเจา้ สุภทั รดิศ ดิศกุล สนั นิษฐานวา่ ลกั ษณะพระพทุ ธรปู มาจากสกลุ ช่างล้านนาหรอื เชยี งแสนตอนปลายและมรี ูป แบบคลา้ ยกบั พระพทุ ธรูปทางตอนใต้ของอนิ เดียลงั กา ซึง่ แถบนน้ั นิยมทำ�พระพุทธรปู ปางสมาธิมากกวา่ ประเทศไทย ในรัชกาลที่ ๑ โปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ นั เชญิ กลบั คืนมาจากกรุงเวยี งจันทน์ เป็นพระพุทธรูปที่ส�ำ คัญ ท่ีสดุ ของบ้านเมืองเลยกว็ า่ ได้ เปน็ พระพุทธรปู ประธานในพระอโุ บสถ ประดษิ ฐานอยใู่ นบษุ บกแทน่ เบญจา ซึง่ ตง้ั อยูเ่ หนือฐานแว่นฟ้า ซง่ึ ตอนบนเปน็ เครือ่ งยอดทรงปราสาทจำ�นวน ๕ ช้ัน (ภาพที่ ๕.๑๗๕) ๑๙๘

บทที่ ๕ : สมัยประวตั ิศาสตรไ์ ทย รัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย (พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๓๖๗) มพี ระราชหฤทยั ฝักใฝ่ทางการช่าง โดยเฉพาะด้านประติมากรรม กลา่ ววา่ พระพทุ ธธรรมมิกราชโลกธาตดุ ิลก พระประธานใน พระอโุ บสถวดั อรุณราชวราราม และพระปฏมิ าประธานในพระอโุ บสถวัดราชโอรสาราม (ภาพท่ี ๕.๑๗๖) เป็น ฝพี ระหัตถข์ องพระองค์ นอกจากน้ียังมบี านประตพู ระวิหารวดั สทุ ัศน์เทพวราราม สว่ นหนึง่ เป็นฝพี ระหตั ถ์ ของพระองค์ ซ่งึ มคี วามสวยงามมาก ไม่มผี ลงานในสมยั ตอ่ มาเทียบเทยี มได้ ภาพท่ี ๕.๑๗๖ พระพทุ ธอนนั ตคุณอดลุ ยญาณบพิตร วัดราชโอรสาราม กรงุ เทพฯ ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๒ พระพทุ ธอนนั ตคณุ อดลุ ยญาณบพติ ร เป็นพระพทุ ธรูปประธานภายในพระอุโบสถ มลี กั ษณะตาม จารีตประเพณที สี่ ำ�คัญอนั เปน็ แบบอยา่ งของรตั นโกสินทรต์ อนต้น คอื พระพักตรห์ น้าหุ่นไมแ่ สดงอารมณ์ (รงุ่ โรจน์ ธรรมรุง่ เรอื ง,๒๕๕๓:๑๔๙) (ภาพท่ี ๕.๑๗๖) รชั กาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว (พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔) มีสภาวะทางเศรษฐกิจ เจรญิ รุง่ เรอื ง การคา้ ขายกบั จนี มีความก้าวหน้าอยา่ งต่อเนอ่ื งมาตัง้ แตป่ ลายรัชกาลที่ ๒ ในชว่ งสมัยพระบาท สมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อยู่หัวทรงได้อปุ ถัมภค์ �ำ ้ชูพระพทุ ธศาสนาเป็นอันมาก ทรงปฏสิ งั ขรณพ์ ระอารามต่างๆ ท่ีชำ�รุดทรดุ โทรมตามหัวเมอื งในกรงุ เทพฯ อย่างมากมาย และทรงใหส้ รา้ งพระปฏิมาประธานในพระอาราม หลวงหลายองค์ เชน่ พระปฏิมาประธานในพระอุโบสถวดั เทพธิดาราม พระปฏิมาประธานในพระอุโบสถ วดั สุทัศนเ์ ทพวราราม พระปฏมิ าประธานในพระอุโบสถวัดกัลยาณมติ ร พระปฏิมาประธานในพระอุโบสถ วดั อรณุ ราชวราราม พระพทุ ธไสยาสณ์ วดั เชตุพนวิมลมังคลาราม กรงุ เทพฯ และพระปฏิมาประธานในพระ อุโบสถวดั เฉลิมพระเกียรติ จังหวดั นนทบุรี และทรงสรา้ งพระพทุ ธรูปทรงเครอื่ งอย่างกษตั ราธิราชคือ เปน็ แบบทรงเคร่อื งใหญ่ ตามแบบศิลปะอยธุ ยา มีลวดลายประดับอยา่ งวิจิตรบรรจง ซ่งึ มงุ่ แสดงความสวยงาม ของการตกแตง่ มากกว่าแสดงความรสู้ ึกของพระพักตร์ คอื ความงามของพระวรกายในด้านศลิ ปะ ๑๙๙

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๕.๑๗๗ พระพุทธรปู ทรงเคร่อื งพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก สำ�รดิ มุมหนา้ ดา้ นเหนือของฐานชุกชี อโุ บสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลที่ ๓ พระพุทธรูปฉลองพระองค์รชั กาลท่ี ๑ (พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก) พระอริ ยิ าบถยนื พระหัตถ์ท้งั สองแสดงปางห้ามสมุทร (หรือปางประทานอภยั ทงั้ สองพระหัตถ์) พระพักตรเ์ ปรยี บเทียบวา่ สวย แบบหุ่น เคร่อื งทรงมากมาย วจิ ติ รพิสดารยง่ิ กวา่ สมยั กรงุ ศรอี ยุธยา (สนั ติ เลก็ สุขุม,๒๕๕๔ : ๒oo) (ภาพท่ี ๕.๑๗๗) ภาพท่ี ๕.๑๗๘ พระพทุ ธตรโี ลกเชษฐ์ พระพทุ ธรปู ประธานวดั สุทศั นเทพวราราม สมยั รชั กาลที่ ๓ ๒๐๐

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัติศาสตร์ไทย พุทธลักษณะของพระพุทธรูป สมยั รตั นโกสินทร์ รชั กาลที่ ๓ นี้พระพักตรห์ น้าหุ่นไม่แสดงอารมณ์ สงั ฆาฏิเป็นแถบใหญ่ แสดงใหเ้ ห็นถึงรปู แบบตามแนวจารีตทส่ี ืบเนื่องมาจากรัชกาลที่ ๑ และ ๒ (ร่งุ โรจน ์ ธรรมรงุ่ เรือง,๒๕๕๓:๑๕๑) (ภาพท่ี ๕.๑๗๘) ร ัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) ทรงคดิ แบบอย่างพทุ ธ ลกั ษณะของพระพุทธรูปขึน้ ใหม่ ใหม้ ีลักษณะคล้ายธรรมชาตมิ ากยงิ่ ข้นึ เช่น มกี ารจัดริว้ จีวรยน่ ยับตามความ เป็นจริง แทนลักษณะสบงจวี รทบ่ี างแนบพระวรกาย สังฆาฏิหรือผ้าซ้อน มลี กั ษณะเหมือนจรงิ พระพักตรม์ ี ลักษณะอุดมคตนิ อ้ ยลง พระกรรณสนั้ คลา้ ยหมู นุษย์ธรรมดา การจดั ท่าทางประทบั แบบขัดสมาธเิ พชร (วัชร อาสน์) ในปางสมาธิ ไมม่ ีมนุ่ พระเกศา เช่น พระพุทธสมั พรรณี พระนริ ันตราย พระชัยวฒั น์ และพระชยั เนาว โลหะ เป็นต้น ภาพท่ี ๕.๑๗๙ พระพุทธสัมพรรณี ศลิ ปะรตั นโกสินทร์ สมัยรชั กาลที่ ๔ ภาพท่ี ๕.๑๙๐ พระนิรันตรายทองคำ� ฐานส�ำ ริดกะไหล่ทอง สูงเฉพาะองค์พระ ๒๗.๘ ซ.ม. หอพระสรุ าลยั พมิ าน พระบรมมหาราชวัง กรุงเทพฯ ศิลปะรัตนโกสินทร์ สมยั รชั กาลท่ี ๔ ต้นพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔ ๒๐๑

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย พ ระนริ นั ตรายทองค�ำ ป น้ั โดยพระองคเ์ จา้ ประดษิ ฐว์ รการเจา้ กรมชา่ งสบิ หมู่พระพทุ ธรปู แบบนไ้ี มเ่ ปน็ ทน่ี ิยมมากนกั เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบอยา่ งจากพระพุทธรูปใหใ้ กลเ้ คียงความเป็นจริงของมนษุ ย์ โดยไม่ โปรดให้ทำ�เกตมุ าลา ซ่ึงมีความแตกตา่ งจากแบบโบราณ แตม่ ีความสมจริงเพมิ่ ขึ้นแทนพระพักตร์รูปหนุ่ ทรง ปรบั รปู แบบของพระพุทธรปู ใหเ้ ขา้ กบั วธิ ีคดิ แนวสัจนยิ ม ตามทฤษฎที างวทิ ยาศาสตรด์ งั กล่าวน้ี คือ ทีม่ าของ การสรา้ งพระพุทธรูปแนวสมจรงิ แตกตา่ งจากแนวอดุ มคติโบราณ โปรดให้สร้างทุกส่วนของพทุ ธสรรี ะอย่าง มนุษยธรรมดาโดยสอดคล้องกับลกั ษณะของจบี ร้ิวจวี รเหมือนจริงดว้ ย (สนั ติ เลก็ สุขุม,๒๕๕๔:๒o๑) (ภาพท่ี ๕.๑๙๐) นอกจากน้ีทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งรูปเทพประติมากรรมท่สี ำ�คญั ของชาติ คือ พระสยามเทวาธริ าช ผปู้ กปกั รกั ษาคมุ้ ครองบา้ นเมอื งใหร้ ม่ เยน็ เปน็ เทพเจา้ ประทบั ยนื ถอื พระแสงขรรค์หลอ่ ดว้ ยทองค�ำ ประดษิ ฐาน อยใู่ นพระทนี่ ง่ั ไพศาลทกั ษณิ ในพระบรมมหาราชวงั เปน็ ฝพี ระหตั ถข์ องพระเจา้ ประดษิ ฐว์ รการประตมิ ากรเอก ในสมัยรชั กาลที่ ๔-๕ ร ชั กาลที่ ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) จะไม่นิยมทำ�ตาม แบบอยา่ งสมยั รัชกาลที่ ๔ แตห่ ันกลับไปสู่พระพทุ ธรปู ท่ีมีลักษณะพระเกศาตามแบบเดิม และมกี ารสรา้ ง พระพทุ ธรูปแบบพเิ ศษ เปน็ พระพทุ ธรูปปางขอฝนไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากพระพทุ ธรูปแบบคันธาราฐของอินเดยี มี พทุ ธลกั ษณะคลา้ ยมนุษย์มากขึ้นเชน่ พระเกศาเปน็ ลอนดจุ ทรงผมสตรีพระกรพระหตั ถ์และพระบาทเหมือน คนธรรมดา ไมย่ ึดมหาบุรษุ ลักษณะ พระหตั ถข์ วาอยู่ในลกั ษณะขอฝน พระหตั ถซ์ ้ายอยใู่ นลักษณะแบรับน�ำ ้ ฝน สำ�หรบั ใช้ในพิธขี อฝน และแรกนา การห่มจีวรมีรอยยบั เปน็ แบบธรรมชาติ สังฆาฏิ (ผ้าซ้อน) เปน็ แถบ ใหญ่ โดยเป็นฝพี ระหตั ถ์ของพระองค์เจา้ ประดิษฐ์วรการ เปน็ ชว่ งทีร่ ัชกาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๑๔ เสดจ็ ประเทศ อนิ เดยี ทรงเสาะหาเค้าเง่อื นจากประเทศนัน้ อนั เป็นต้นแบบจริงแท้ดงั้ เดมิ ของพุทธศาสนาแทนทแี่ บบอยา่ ง แต่ก่อน ซง่ึ ทรงคิดค้นกันแต่ทางลังกา (สันติ เลก็ สขุ มุ ,๒๕๕๔:๒o๑) (ภาพท่ี ๕.๑๙๑) ภาพท่ี ๕.๑๙๑ พระพุทธรปู ปางขอฝน ทองเหลอื งสงู ๘๖ ซ.ม. พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร ศลิ ปะรัตนโกสนิ ทร์ สมัยรัชกาลที่ ๕ ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ๒๐๒

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตร์ไทย นอกจากนีท้ รงโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ้นั พระบรมรูปท้ัง ๔ รัชกาล แล้วอญั เชิญประดษิ ฐานท่พี ระท่ีน่งั ศวิ า ลัยมหาปราสาท พระราชพิธีสมโภชพระนครครบ ๑oo ปี (พ.ศ.๒๔๒๕) และทรงโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระองคเ์ จา้ ประดษิ ฐว์ รการทำ�การปั้นและหลอ่ ส�ำ รดิ รูป “อมนษุ ยห์ รอื สัตวห์ มิ พานต์” เปน็ ประตมิ ากรรมทีง่ ดงาม เช่น รูปคนธรรพ์ กนิ นร กนิ นรี อปั สรสีห์ เทพนรสงิ ห์ อสูรวายพุ กั ตร์ อสูรปกั ษา สงิ หพานร เป็นตน้ เปน็ การ ผสมผสานระหวา่ งคนและสตั ว์ โดยน�ำ ไปประดษิ ฐานไวบ้ นฐานไพทปี ราสาทพระเทพบิดร และนิยมถา่ ยแบบ จากพระพทุ ธรูปท่งี ดงามสมัยโบราณ เชน่ จำ�ลองแบบพระพุทธชนิ ราชทเ่ี มืองพิษณุโลก มาเป็นพระปฏมิ า ประธานในพระอุโบสถวดั เบญจมบพติ รดสุ ิตวนาราม กรุงเทพฯ โดยการจ�ำ ลองของหลวงประสิทธ์ปิ ฏมิ า เป็น ชา่ งท่จี ำ�ลองแบบ รัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘) และรัชกาลท่ี ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั (พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๔๗๗) การสร้างพระพทุ ธปฏิมาเกือบจะไมม่ เี ลย เพราะคตนิ ยิ มในการสรา้ งวัดประจำ�รชั กาลได้หมดสิ้นไป ทรงเปลยี่ นมาสรา้ งโรงเรียนแทน ด้วยทรงเห็นว่ามี วัดมากมายแลว้ จึงทำ�ใหร้ ูปแบบประตมิ ากรรมหยุดชะงักไป สมยั การปกครองระบอบพระมหากษัตรยิ อ์ ยู่ ภายใตร้ ัฐธรรมนญู หรอื สมยั ระบอบประชาธิปไตย ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้มีการเปล่ยี นแปลงระบบเศรษฐกจิ การเมือง การปกครอง และการศึกษา การสรา้ งวดั วาอารามจึงไมค่ ่อยปรากฏ จะมีการบรู ณปฏิสงั ขรณ์ที่ ชำ�รดุ เทา่ นนั้ การศกึ ษาจากวดั เปลย่ี นเปน็ การสอนในมหาวทิ ยาลัย และวิทยาลยั สถาบนั ตามแบบอย่างอารย ประเทศ จงึ เกิดผลงานประติมากรรมขนึ้ ในชว่ งน้ี ได้แก่ การป้นั อนุสาวรีย์บุคคลส�ำ คัญขึ้นมากมาย เชน่ พระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยฝมี อื ศาสตราจารยศ์ ิลป์ พรี ะศรี (คอโรโด เฟโรจ)ี ชาวอิตาเลยี นเขา้ มารับราชการในสมัยรชั กาลท่ี ๖ และเปลย่ี นแปลงสัญชาติเปน็ สญั ชาติไทย ซ่ึงเป็นผรู้ ิเร่มิ สร้างสรรคผ์ ลงาน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕oo รัฐบาลไทยได้จดั ใหม้ งี านเฉลมิ ฉลองพระพุทธศาสนา ครบรอบ ๒๕ พุทธศตวรรษ ได้มกี ารคิดแบบพระพทุ ธรูปขน้ึ ใหม่ เพ่ือเปน็ พทุ ธานุสรณ์ และประดษิ ฐานท่ี บริเวณพทุ ธมณฑล ตำ�บลศาลายา อ�ำ เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เปน็ พระพุทธปฏิมาที่คดิ ขึน้ ใหมค่ อื พระพุทธรูปปางลีลา โดยแก้ไขใหเ้ ปน็ แบบธรรมชาตมิ ากยง่ิ ข้ึน แต่ยงั คงรกั ษาแบบพระพทุ ธรูปปางลลี าสมยั สโุ ขทยั ไดร้ บั การปรบั ปรงุ ให้สอดคล้องกับรสนยิ มใหมท่ ใ่ี ห้ความสำ�คัญแกค่ วามจรงิ โดยองิ อุดมคติความงาม อย่างไทย ออกแบบโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พรี ะศรี (ภาพท่ี ๕.๑๙๒) ภาพที่ ๕.๑๙๒ พระพุทธรปู ปางลลี า ปูนป้นั ปิดทองสูง ๒.๓o ซ.ม. ฝมี อื การออกแบบและปน้ั พ.ศ. ๒๕oo โดยศาสตราจารย์ศลิ ป์ พรี ะศรี ศลิ ปะรัตนโกสนิ ทร์ สมัยรชั กาลท่ี ๙ ๒๐๓

ประวตั แิ ละแบบอย่างศิลปะไทย ภาพที่ ๕.๑๙๓ พระพุทธศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสทุ รรศน์ สูง ๒,๕oo กระเบยี ด (ประมาณ ๑๖.๒๕ เมตร) หล่อดว้ ยโลหะรมด�ำ ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ สมยั รัชกาลท่ี ๙ พระพุทธศรศี ากยะทศพลญาณ ถอื ว่าเป็นพระพทุ ธรปู ท่ใี หญท่ สี่ ุดในโลก สร้างเสรจ็ ทันงานสมโภช กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ๒oo ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภูมิพลอดลุ ยเดช (พ.ศ. ๒๔๘๙- ปจั จุบัน) ทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชดำ�เนนิ ทรง ประกอบพิธีสมโภชเมอ่ื วันท่ี๒๑ธนั วาคมพ.ศ.๒๕๒๕นอกจากนใ้ี นปัจจุบันมีคตนิ ิยมในการสร้างพระพทุ ธรูป และประตมิ ากรรมรูปเคารพให้มีขนาดใหญ่ เช่น หลวงพอ่ โตอย่างแพรห่ ลาย โดยแข่งขันกันว่าใครจะสร้างได้ ใหญ่โตกวา่ กันหรือขนาดใหญท่ ่สี ดุ ในโลก โดยไมค่ ำ�นึงถงึ สภาพเศรษฐกจิ และสภาวะจติ ใจของผคู้ นทนี่ ับวันจะ เสื่อมถอยลงทกุ วัน (ภาพท่ี ๕.๑๙๓) สถาปตั ยกรรมสมยั รัตนโกสนิ ทร์ ร ชั กาลท่ี ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ตอนตน้ ยังไมค่ อ่ ยมีสถาปัตยกรรมมากเนือ่ งจากเป็นช่วงระยะของการสรา้ งและปรบั ปรุงบา้ นเมือง ที่มีการ สร้างใหมไ่ ด้แก่ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เพอ่ื เป็นทีป่ ระดษิ ฐานพระแก้วมรกต และส�ำ หรับกระทำ�พิธีกรรม ทางศาสนาของพระมหากษตั รยิ ์ พระอารามท่บี ูรณปฏสิ ังขรณใ์ นรชั กาลท่ี ๑ มีหลายแห่ง เช่น วัดพระศรีรัตน ศาสดาราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วดั โพธาราม) วัดระฆงั โฆษิตาราม (วดั บางหว้าใหญ)่ วัดราชสทิ ธา ราม (วดั พลับ) วดั สงั ขก์ ระจาย วดั คูหาสวรรค์ (วดั ศาลาส่หี น้า) วัดสุวรรณาราม (วดั ทอง) วัดสทุ ศั นเ์ ทพวราราม และวดั อืน่ ๆ ๒๐๔

บทท่ี ๕ : สมยั ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ภาพท่ี ๕.๑๙๔ พระอโุ บสถวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม สมยั รตั นโกสินทรต์ อนต้น สมยั รชั กาลท่ี ๑ พ ระอุโบสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ลกั ษณะรูปทรงโบสถว์ หิ าร เลยี แบบสมัยอยธุ ยาตอนปลาย คอื ฐานออ่ นโคง้ แบบโคง้ ทอ้ งชา้ งเชน่ ฐานพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดารามฐานพระอโุ บสถวดั สวุ รรณาราม ฐานวหิ ารวดั อรณุ ราชวราราม และฐานวหิ ารวัดสทุ ศั น์เทพวราราม เป็นตน้ รวมท้งั ลวดลายโดยเฉพาะหน้าบัน อุโบสถวหิ ารเหมือนกบั ศลิ ปะอยธุ ยาตอนปลาย และมีระเบียงคดต่อทา้ ยวิหารแบบศิลปะอยุธยาด้วย การ สรา้ งพระเจดยี ์หรอื พระปรางค์ มีอิทธิพลศลิ ปะอยธุ ยา แต่มีรูปทรงสูงชะลูดกวา่ มีการตกแตง่ ลวดลายด้วย กระเบอ้ื งถว้ ยจีน รวมทงั้ การวางผังท่แี ปลกตาขึน้ เชน่ พระปรางค์วัดระฆงั ในสมยั รัชกาลที่ ๑ (เดมิ หมุ้ ด้วย แผ่นดีบุก) พระปรางคว์ ัดอรุณราชวราราม เริม่ ขดุ รากฐาน สมัยรชั กาลที่ ๒ เสรจ็ ภายในรัชกาลที่ ๓ พระปรางค์ วัดราชบรู ณะ (วัดเลยี บ) สร้างในสมยั รชั กาลที่ ๓ และท่อี ืน่ ๆ (ภาพท่ี ๕.๑๙๔) ภาพที่ ๕.๑๙๕ พระปรางค์วดั อรุณราชวรารามวรมหาวหิ าร เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ ศิลปะรัตนโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๓ พระปรางคว์ ดั อรณุ ราชวรารามวรมหาวหิ าร เ ดมิ เปน็ วดั โบราณสมยั กรงุ เกา่ ชอื่ “วดั มะกอก”ในสมยั พระเจ้ากรงุ ธนบุรเี ปลยี่ นช่อื เรียกว่า “วัดแจง้ ” ตอ่ มาในรชั กาลที่ ๒ พระองค์มีพระราชศรัทธาสรา้ งเสรมิ ใหส้ ูง ใหญ่เปน็ พระมหาธาตสุ ำ�หรบั พระนครและยังไม่เสรจ็ พระองค์กส็ วรรคตเสียกอ่ น รัชกาลท่ี ๓ จงึ สรา้ งตอ่ เตมิ ๒๐๕

ประวตั ิและแบบอยา่ งศิลปะไทย เปน็ มหาเจดยี ์ทรงปรางค์ท่มี ีความงดงามและโปรดเกล้าฯให้เขยี นภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถขึ้นใหม่ เรอื่ งพระเวสสนั ดรชาดก และพุทธประวัติ ป รางคป์ ระธานต้งั อยู่บนฐานไพที ฐานปรางคผ์ ายกวา้ งสอบขึน้ สเู่ รือนธาตดุ ว้ ยช้ันลดหลั่นของชดุ ฐาน ซ่งึ แต่ละชน้ั ประดบั ดว้ ยมารแบก เทวดาแบก เขา้ ใจวา่ ฐานซึง่ มีรูปมาร รปู เทวดา หมายถงึ ป่าหมิ พานต์ และ สวรรค์ชน้ั ตน้ ๆ ขึ้นไปตามลำ�ดบั จนถึงเรือนธาตุ จงึ หมายถงึ สวรรคช์ ้ันดาวดงึ ส์ ภายในเรือนธาตคุ งประดษิ ฐาน พระบรมธาตุ จงึ มรี ูปเทพผู้พทิ กั ษป์ ระดษิ ฐานทจี่ ระนำ� จระน�ำ ในท่ีนี่ หมายถงึ ประตทู างเขา้ ด้วย ตามทเ่ี ข้าใจ ดงั กล่าวจึงเชื่อว่า ปรางค์ประธานวดั อรุณราชวรารามสร้างขึน้ ด้วยคติความเชื่อพระมหาธาตเุ จดยี ์อันเป็นศนู ย์ กลางจักรวาลโดยเทยี บกับมหาธาตุจฬุ ามณี เจดีย์บนสวรรคช์ ัน้ ดาวดึงส์ (สนั ติ เลก็ สุขุม,๒๕๕๔:๒o๕) (ภาพ ที่ ๕.๑๙๕) ภาพท่ี ๕.๑๙๖ พระปรางคว์ ดั ระฆังโฆษิตาราม จังหวดั ธนบุรี ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ สมยั รัชกาลที่ ๑ ภาพที่ ๕.๑๙๗ เจดียท์ อง (เจดยี ท์ รงเครือ่ ง) อยดู่ ้านหนา้ (ตะวนั ออก) ทางขวาปราสาทพระเทพบิดร วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม กรงุ เทพฯ ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลที่ ๑ พระเจดยี แ์ บบเจดยี ์เหลย่ี มยอ่ ไม้สบิ สอง หรอื เรยี กวา่ “พระเจดยี ์ทอง ๒ องค์” หน้าปราสาทพระเทพ บดิ รหมุ้ ด้วยทองแดงลงรกั ปิดทอง เจดีย์ทองมอี ย ู่ ๒ องค์ สร้างในรัชกาลท่ี ๑ ท้งั สององค์ถูกเคลือ่ นยา้ ย ต�ำ แหน่งทีต่ ั้งจากเดิมซึง่ อยู่ทางทิศตะวันตกและผ่านการบูรณะคร้งั สำ�คญั คราวเตรียมงานฉลองพระนครครบ ๑๐๐ ปี ในรัชกาลท่ี ๕ คราวนั้นได้สรา้ งรูปพลแบกพระเจดยี ข์ น้ึ ใหม่ รปู แบบของเจดียอ์ ยใู่ นประเภท ๒๐๖

บทที่ ๕ : สมยั ประวัตศิ าสตร์ไทย ทรงเครือ่ ง สบื ทอดแบบอยา่ ง จากสมยั อยธุ ยา มาคือ ชุดฐานสีเ่ หลยี่ มเพ่มิ มมุ ล้วนเป็นฐานสงิ ห์ ตั้งต่อดว้ ย บัวทรงคลุม่ เพิม่ มมุ สอดคล้องกับทรงระฆังเพิ่มมมุ ที่อยถู่ ดั ไปทรงระฆังดังกล่าวมีลวดลายปูนป้นั ประดบั เหนอื บัลลังกส์ ่ีเหลย่ี มเพ่ิมมมุ ตามทขี่ ึน้ มาจากเบือ้ งลา่ ง คือ บวั ทองคลุ่มเถาและปลี (สันติ เล็กสขุ ุม,๒๕๕๔:๒o๔) (ภาพที่ ๕.๑๙๗) นอกจากน้ยี ังมีพระเจดยี เ์ หล่ยี มยอ่ ไม้สบิ สอง ในวัดพระเชตุพนฯ สรา้ งในสมัยรชั กาลท่ี ๑ รัชกาลที่ ๓ และรชั กาลท่ี ๔ (เปน็ กลมุ่ ๔ องค)์ รชั กาลที่ ๑ ทรงโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งพระที่นัง่ ดุสิตมหาปราสาทข้นึ ในปี พ.ศ. ๒๓๒๖ แทนทพ่ี ระท่นี ั่ง สรรเพชญปราสาทในพระราชวังหลวงกรุงเก่าทถี่ ูกไฟไหม้ ซงึ่ เปน็ การย้อนกลบั ไปเอาแบบอยา่ งสมัยราชธานี เก่ามาปรบั ใช้ เปน็ ทีเ่ สดจ็ ออกราชการของรัชกาลที่ ๑ เมือ่ สวรรคตจึงได้อัญเชญิ พระบรมศพมาประดษิ ฐาน จนกลายเป็นธรรมเนียมจนถึงพระบรมศพของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีก็อัญเชิญมาประดิษฐาน บนพระมหาปราสาทองค์นเ้ี ช่นกัน ภาพท่ี ๕.๑๙๘ พระท่นี งั่ ดุสติ มหาปราสาทในพระบรมมหาราชวงั ศลิ ปะรตั นโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๑ รัชกาลท่ี ๒ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย (พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๓๖๗) ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ วัดเกา่ และวัดท่สี รา้ งคา้ งอย่ใู นรัชกาลท่ี ๑ เชน่ วัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) วัดโมฬีโลกยาราม (วดั พุทไธ สวรรยาวาส) วัดสทุ ศั นเ์ ทพวราราม (วัดมหาสทุ ธาวาส) วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร (วัดจอมทอง) เป็นตน้ วดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร เดิมช่ือวดั จอมทอง สร้างมาต้งั แต่สมัยอยธุ ยาตอนปลาย พระราชโอรส ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย ทรงรอื้ และสถาปนาใหมท่ งั้ วดั เปน็ สถาปัตยกรรมแบบจีนปน ไทย ไมม่ ีช่อฟา้ ใบระกา และหางหงส์ นบั เป็นตน้ แบบของศลิ ปะแบบพระราชนยิ มสืบตอ่ มาในสมัยรชั กาลที่ ๓ ซง่ึ มีมากมายหลายวัดในเขตธนบรุ ี (ภาพที่ ๕.๑๙๙) ภาพท่ี ๕.๑๙๙ หนา้ บัน กรอบประตวู ดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๒ ๒๐๗

ประวตั ิและแบบอยา่ งศลิ ปะไทย รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว (พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔) ทรงบูรณปฏิสังขรณว์ ดั ตา่ งๆ มากมายทัง้ วดั ในเมืองหลวงและวัดตามต่างจงั หวดั ประมาณ ๔o-๕o วดั ส่วนทส่ี ถาปนาใหม่ ได้แก่ วัดเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวัดนนทบรุ ี วัดเทพธิดาราม กรุงเทพฯ และวดั ราชนดั ดาราม กรงุ เทพฯ เปน็ ต้น ภาพที่ ๕.๒๐๐ วดั ราชนดั ดาราม กรุงเทพฯ ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๓ ว ดั ราชนดั ดาราม รัชกาลที่ ๓ ทรงสร้างพระราชทานสมเด็จพระนางเจา้ โสมนสั วฒั นาวดีและได้โปรด เกล้าฯ ใหเ้ จ้าพระยายมราชเชญิ พระพทุ ธรูปไปประดิษฐานเปน็ พระประธานวัด และไดส้ ร้างเสรมิ ต่อมาใน รัชกาลที่ ๔ จนส�ำ เรจ็ และบรู ณะเรือ่ ยมาสำ�เรจ็ ในรัชกาลปัจจบุ ัน โดยสรา้ งแบบอย่างปราสาทเป็นแบบไทย คือ ยอดเหนือหลังคามณฑปประธานสูงเด่นเป็นประธานของยอดหลงั คามณฑปบรวิ ารทรี่ ายลอ้ มลดหลัน่ กนั รวม ๓๖ ยอด รวมประธานเปน็ ๓๗ ยอด (ภาพท่ี ๕.๒๐๐) ภาพที่ ๕.๒๐๑ พระวิหารและพระเจดีย์ทรงระฆงั วัดพระเฉลมิ พระเกียรตวิ รวิหาร ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๓ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร สมัยรัชกาลท่ี ๓ ทรงสร้างพระราชทานพระชนกและพระชนนี กรม สมเด็จพระสลุ าไลย สรา้ งต่อมาในรัชกาลที่ ๔ ทรงสร้างพระเจดีย์องคใ์ หญแ่ ละทรงพระราชศรทั ธาปิดทอง พระประธานในพระอโุ บสถด้วย และมกี ารประดบั ซุ้มประตูผสมผสานลักษณะจนี ฝรง่ั ไทย อย่างกลมกลนื กันสวยงาม (ภาพที่ ๕.๒๐๑) ๒๐๘

บทที่ ๕ : สมยั ประวตั ิศาสตรไ์ ทย ภาพท่ี ๕.๒๐๒ วดั พระเชตุพนวมิ ัลมงั คลาราม และหนา้ ตา่ งซมุ้ ยอดมงกฎุ ศลิ ปะรัตนโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๓ ร ชั กาลท่ี๓ ทรงสรา้ งพระสถูปกลมทรงลังกาดเู หมอื นจะเริม่ นยิ มสร้างกนั เหตุดว้ ยเมือ่ พระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัวยงั ทรงผนวช ได้เสด็จข้ึนไปธดุ งค์ถึงเมืองเหนือ ทรงตรวจค้นและศกึ ษาเร่ืองพระพุทธ เจดีย์ครงั้ สมยั สโุ ขทยั ได้ทรงจำ�ลองแบบพระสถูปราชวงศ์พระรว่ งลงมาสร้างในกรงุ เทพฯ ดเู หมอื นไดส้ ร้าง พระสถปู ท่วี ัดบวรนิเวศวิหารก่อนทอี่ นื่ เปล่ยี นโฉมจากแบบประเพณนี ิยม เปน็ การผสมทง้ั ยโุ รปและจีน โดย ออกแบบผสมระหวา่ งไทยและจนี โดยยึดรูปแบบวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร เป็นหลักการสรา้ งอาคารที่ เปน็ กระเบ้ืองเคลอื บสี ตามหนา้ บัน ชั้นหลังคาไม่มีช่อฟา้ ใบระกา ซมุ้ ประตู หนา้ ตา่ งเปลีย่ นจากเดมิ เปน็ แบบ ซุ้มทรงมณฑปและทรงบนั แถลงทง่ี ดงาม เชน่ ซมุ้ ยอดมงกุฎพระวิหารพระพทุ ธไสยาสน์ วดั พระเชตพุ นฯ และ วดั บวรนิเวศฯ อาคารเปน็ อาคารก่ออิฐถือปนู เกิดข้ึนมากมายมีเจดยี ์แบบจนี นิยมตกแต่งสถาปัตยกรรมเป็น สวนหนิ และไมด้ ัด (ภาพที่ ๕.๒๐๒) รปู สลักเกี่ยวกบั สตั ว์หมิ พานต์ และรปู บุคคลประดับสถาปตั ยกรรมไทยจากทีว่ ดั อรุณฯ มเี จดยี ห์ ลังคา แบบจีน มีภาพจำ�หลักแบบไทยเปน็ หินทรายท่ีสวยงาม รอบระเบยี งพระอุโบสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เปน็ ภาพมจั ฉานุ สงั ข์ทอง ไกรทอง พระสุธน เปน็ ฝมี อื ชนั้ เลิศของไทยสถาปัตยกรรม ทท่ี ำ�ใหเ้ กดิ การกอ่ สรา้ ง แบบใหม่มีคตินิยมอีกแบบ คือ โลหะปราสาทที่วดั ราชนดั ดาราม และรูปเรือสำ�เภาจนี ท่ีวัดยานนาวาและ ปรางคว์ ดั อรุณราชวราราม เป็นปรางคท์ ม่ี ีทรวดทรงสมบูรณ์ที่สดุ โดยกอ่ ขยายฐาน ให้กว้างเพอื่ รับองคป์ รางค์ รวมท้ังการใช้กระเบ้อื งมงุ หลงั คาโบสถว์ หิ ารและพระท่ีนัง่ อนั แวววาว เชน่ สีขาว สีเขยี ว สเี หลอื ง และสีสม้ รวมทง้ั กระเบือ้ งปรุ เริ่มทำ�ข้นึ ในรชั กาลน้ี โดยส่งั ท่ที �ำ จากจนี ตอ่ มาไดท้ ำ�เตาเผาในเมอื งไทย ที่วดั สระเกศ โบสถ์วหิ าร มักสร้างเลียนแบบกรงุ ศรีอยธุ ยา เปน็ ตน้ วา่ พระอุโบสถวัดพระศรีรตั นศาสดารามก็ ยงั คงมฐี านโคง้ อยู่ ฐานอ่อนโค้งน้ีในสมยั ต่อมากห็ ายไป หอพระไตรปฎิ กกม็ ักสร้างข้นึ มาแทนทขี่ องเก่า ณ พระพุทธบาท จงั หวัดสระบรุ ี ก็เหมือนกบั พระมณฑปในวัดพระศรีรัตนศาสดารามทุกอยา่ ง ในสมยั รชั กาลท่ี ๓ เกดิ นยิ มแบบอย่างศลิ ปะจีน วัดที่สร้างในรชั กาลนี้บางแห่ง เป็นต้นว่า วัดราชโอรส วดั เทพธดิ าฯลฯ โบสถ์ วหิ ารก็ยกั ย้ายสรา้ งคลา้ ยแบบจนี คอื ยกเอาชอ่ ฟา้ ใบระกา หางหงส์ ออกเสีย หนา้ บนั หรอื หนา้ จ่ัว แทนท่จี ะ เป็นไมส้ ลกั อยา่ งแต่ก่อน กเ็ ปลยี่ นเปน็ ก่ออฐิ ถอื ปนู และใช้ลวดลายดนิ เผาเคลือบประดบั เสาก็มักเป็นสเ่ี หล่ียม ทึบใหญ่ ดูเรยี บง่าย ไมม่ ีบัวหวั เสา ในรัชกาลน้ไี ดท้ รงสรา้ งวัดขึน้ เปน็ จ�ำ นวนมาก (ภาพท่ี ๕.๒๐๓) ๒๐๙

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพท่ี ๕.๒๐๓ อุโบสถวัดราชโอรส จงั หวดั ธนบรุ ี ศิลปะรตั นโกสินทร์ สมัยรชั กาลที่ ๓ กลางพุทธศตวรรษที่ ๒๔ สมัยรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) กลับนิยมสร้างแบบ ดงั้ เดมิ ศลิ ปะแบบขนบนยิ ม เช่น การสรา้ งวัดมวี หิ ารอยู่ดา้ นหน้า มรี ะเบียงคตตอ่ จากวิหารลอ้ มเจดีย์ โบสถ์ ตั้งอยู่ทางด้านหลงั เชน่ วดั มกฎุ กษัตริยาราม และวัดโสมนสั วิหาร เจดีย์ทรงกลม อย่ใู นระเบยี งคต ซมุ้ ประตู หน้าต่างท�ำ ลวดลายดอกไม้ มีการทำ�แบบพระปรมาภิไธย คอื ทำ�เป็นมงกุฎท่ปี ราสาทพระเทพบดิ ร และ วัดราชประดิษฐ์ ฯลฯ ถอื วา่ มที รวดทรงงดงาม โดยท�ำ เป็นชน้ั ปรางค์ชั้นยอดปราสาทแทนทจ่ี ะมีไขรา และ พระท่นี งั่ อาภรณภ์ ิโมกข์ เปน็ พลบั พลาแบบมยี อด เปน็ ทเ่ี สดจ็ ข้นึ ประทบั ในราชพิธี มสี ถาปตั ยกรรมยุโรปเขา้ มามากมาย และแบบอย่างจากเมอื งสิงคโปร์ เชน่ การสร้างตกึ ๒ ช้ัน ๓ ชน้ั มีบันไดทางดา้ นนอกลดหลน่ั กันไป เชน่ พระบรมมหาราชวงั พระนารายณ์ราชนิเวศนท์ ล่ี พบรุ ี (ภาพท่ี ๕.๒๐๔) ภาพท่ี ๕.๒๐๔ พิพธิ ภณั ฑ์พระราชวังนารายณร์ าชนิเวศน์ ศิลปะรตั นโกสินทร์ สมยั รชั กาลที่ ๔ ภาพที่ ๕.๒๐๕ พระที่นง่ั อาภรณ์ภิโมกขป์ ราสาท ในพระบรมมหาราชวงั ศลิ ปะสมัยรชั กาลที่ ๔ ต้นพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔ ๒๑๐

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัติศาสตร์ไทย พระที่นง่ั อาภรณ์ภโิ มกข์ปราสาท สร้างบริเวณก�ำ แพงแก้วด้านทิศตะวนั ออกของพระทีน่ งั่ ดสุ ิตมหา ปราสาท เพ่อื เปน็ พลบั พลาส�ำ หรบั ประทับพระราชทาน เปน็ ที่พระทน่ี งั่ โถงขนาดเลก็ สร้างบนฐานสงู หลงั คา จัว่ จตั ุรมุขซอ้ นช้นั ลดหลนั่ โดยประดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงสห์ รอื นาคเบอื นยอดแหลมที่ดงู ามพร้อมด้วย ความหมายต้ังต่อขึ้นไปจากจุดตัดของหลังคาช้ันซ้อนยอดแหลมดังกล่าวเป็นสัญลักษณ์ของเรือนฐานันดร สูง อนั มีตน้ เคา้ มาจากคำ�วา่ ปราสาทยอด (เรอื นยอด) ส่วนลา่ งของยอดมรี ูปหงส์รับแทนรูปครฑุ ยคุ นาค สำ�หรบั ปลายท�ำ นาคเบอื นแทนหางหงส์ (สนั ติ เล็กสขุ มุ , ๒๕๕๔ : ๒๐๑) (ภาพที่ ๕.๒๐๕) สมัยรชั กาลที่ ๔ นยิ มสรา้ งพระเจดีย์ทรงระฆงั ตามแบบเจดยี ์สโุ ขทยั และอยธุ ยาแทนพระเจดยี ย์ อ่ ไม้ สิบสอง เช่น พระปฐมเจดยี ์ นครปฐม พระเจดยี ์วดั มกุฎกษัตริยาราม พระเจดีย์รตั นเจดีย์ วัดพระศรรี ัตนศาส ดาราม และพระเจดียร์ าชประดิษฐ์สถติ มหาสีมาราม และอนื่ ๆ ทัง้ ยงั ทรงนิยมจ�ำ ลองแบบพระเจดยี ์สมัย อยธุ ยามาสรา้ งดว้ ย เปน็ ต้นวา่ พระเจดยี ไ์ มส้ บิ สององคท์ ี่ ๔ ในวัดพระเชตุพนฯ ทรงถา่ ยแบบมาต้งั แต่พระเจดยี ์ พระศรีสรุ ิโยทยั ในพระนครศรีอยุธยา และพระศรีรตั นเจดยี ใ์ นวัดพระศรรี ตั นศาสดารามถ่ายแบบมาจากพระ มหาสถปู ในวัดพระศรสี รรเพชญ พระนครศรีอยุธยา พระศรรี ัตนเจดยี ์ ในวดั พระศรีรตั นศาสดารามถา่ ยแบบมาจากพระมหาสถปู ในวัดพระศรสี รรเพชญ พระนครศรอี ยธุ ยาคือ เจดยี ท์ รงระฆงั ท่ี รัชกาลที่ ๔ โปรดเกลา้ ฯให้สรา้ ง แต่มไิ ด้หมายความวา่ ถ่ายจ�ำ ลอง มาตรงตามแบบเดิมทกุ ประการ เพราะมกี ารปรับปรงุ ตามเงื่อนไขของวัสดุ ฝมี อื ตลอดจนรสนยิ มของยคุ สมัย เชน่ มขุ จระน�ำ ทแี่ ตกต่างจากตน้ แบบ ทรงขององคร์ ะฆงั ทรงสูงโปรง่ กว่าต้นแบบ ท�ำ ให้บลั ลังก์ทีต่ ัง้ เหนือทรง ระฆงั ดูคล้ายกบั ว่าขนาดใหญ่เกนิ กวา่ ปรกติ ปลยี าวกว่าสดั สว่ นของตน้ แบบ ส�ำ หรบั งานปดิ ทองกระเบอ้ื งทอง ท่วั ทั้งองค์เจดยี ์ กระท�ำ ในรชั กาลที่ ๕ (สันติ เลก็ สขุ มุ ,๒๕๕๔:๒๐๖) (ภาพท่ี ๕.๒๐๖) ภาพท่ี ๕.๒๐๖ พระศรรี ตั นเจดยี ์ วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม กรงุ เทพฯ ศลิ ปะรัตนโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๔ ภาพที่ ๕.๒๐๗ พระปฐมเจดยี ์ จังหวัดนครปฐม ศลิ ปะรตั นโกสินทร์ สมยั รัชกาลท่ี ๔ ๒๑๑

ประวัติและแบบอยา่ งศลิ ปะไทย พ ระปฐมเจดยี จ์ งั หวดั นครปฐม เดมิ พระเจดยี อ์ งคเ์ ดมิ เปน็ รปู ทรงบาตรคว�่ำ ตอ่ มาไดซ้ อ่ มแซมดดั แปลง ไปและมกี ารกอ่ สรา้ งเจดียใ์ หม่ครอบองค์เดิม ในสมยั รัชกาลท่ี ๔ สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาประยรู วงศ์ เปน็ ผคู้ วบคุมการสรา้ งดำ�เนนิ ไป ๒ ปี กถ็ ึงแกพ่ ิราลยั จงึ โปรดเกลา้ ฯ รบั ส่ังใหพ้ ระยาทิพากรวงศ์มหาโกศาธบิ ดี เปน็ ผคู้ วบคุมการสร้างสืบตอ่ มา ขนาดส่วนสงู ของพระปฐมเจดียจ์ ากฐานถึงยอดไดป้ ระมาณ ๓ เสน้ ๑ คืบ ๖ น้ิว รอบฐานวัดได้ ๕ เส้น ๑๗ วา ๓ ศอก กระเบื้องเคลอื บสเี หลอื งสดประดับทวั่ ท้งั องคส์ ะท้อนแสงวบั วาว ราวทองคำ� เมอื่ ตอ้ งแสงตะวัน ถือว่าเป็นพระเจดียอ์ งคใ์ หญ่ที่สดุ ในสยาม (ภาพท่ี ๕.๒๐๗) ส มยั รัชกาลท่ี ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) เป็นชว่ งที่พระ องคท์ รงครองราชย์เป็นเวลานาน อทิ ธพิ ลของศิลปวฒั นธรรมของยโุ รปหลงั่ ใหลเขา้ มามากมาย แม้กระท่ังยงั ทรงสรา้ งตามแบบตา่ งประเทศพระทนี่ ั่งบางองคเ์ ป็นการผสมผสานระหว่างศลิ ปะไทยกับศิลปะยุโรป และ พระที่น่ังบางองค์สรา้ งตามสถาปตั ยกรรมของยโุ รปโดยตรง การรับอทิ ธพิ ลต่างๆ มาไมใ่ ชค่ วามหลงใหลใน ศิลปวัฒนธรรมตา่ งชาติ แตม่ ีเหตุผลทางการเมอื งทใ่ี ห้ประชาชนได้เห็นรปู แบบใหมๆ่ ซง่ึ ทรงสถาปนาวดั และ สรา้ งข้ึนใหม่ ดังนี้ วัดราชบพิธสถิตมหาสมี าราม วดั เบญจมบพติ รดสุ ิตวนาราม (รือ้ ของเดิมแล้วสร้างใหม)่ วดั เทพศริ ินทราวาส วัดราชาธวิ าส (ร้ือของเดิมแล้วสรา้ งใหม่) วัดนิเวศธรรมประวตั ิ (เกาะลอย อ�ำ เภอปาง ปะอิน) วัดจุฑาทิศราชธรรมสภา เกาะสีชัง วดั อัษฎางคนิมติ เกาะสชี งั ส มยั รัชกาลท่ี ๕ ทรงสรา้ งวดั น้อย แตบ่ างแห่งเปน็ ต้นวา่ วดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี ารามได้หนั กลับมา เป็นคติแบบเกา่ คือยึดพระเจดยี ์เป็นประธานของวดั อยา่ งแตก่ ่อน สรา้ งพระระเบียงและวิหารล้อมรอบพระ เจดีย์ วดั นเิ วศธรรมประวัติ อ�ำ เภอบางปะอนิ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา สรา้ งเลียนแบบศลิ ปะโกธคิ ในทวปี ยโุ รปตอ่ มาทรงสรา้ งวดั เบญจมบพติ รดว้ ยหนิ ออ่ นจากประเทศอติ าลีกน็ บั วา่ เปน็ การผสมกนั ระหวา่ งวฒั นธรรม ตะวนั ออกและตะวนั ตก มีการสรา้ งสถาปัตยกรรมแบบไทยๆ ทีม่ ีชอื่ เสียง คือ พระท่นี ัง่ จักรีมหาปราสาทผสม กบั ยโุ รป วดั ราชบพิธเปน็ วัดไทยประจ�ำ ราชการบุดว้ ยกระเบ้ืองเบญจรงค์ท้ังวัด บานประตูโบสถป์ ระดบั มุก วดั เบญจมบพติ ร เปน็ การออกแบบของศลิ ปะดงั้ เดิมมาดัดแปลงมีระเบยี งคดอยู่รอบนอก ภาพที่ ๕.๒๐๘ พระอุโบสถวัดเบญจมบพติ รดุสติ วนาราม กรงุ เทพฯ ศิลปะสมยั รชั กาลท่ี ๕ ราว พ.ศ. ๒๔๔๑ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ทรงออกแบบ ๒๑๒

บทที่ ๕ : สมัยประวัติศาสตรไ์ ทย พระอุโบสถวัดเบญจมบพติ รดสุ ติ วนาราม เดิมช่อื วดั แหลมหรอื วดั ไทรทอง คร้นั ถึงรัชกาลท่ี ๔ พระราชทานนามใหมว่ า่ “วัดเบญจมบพิตร” เพราะวดั น้มี ีพระบรมวงศ์เธอ ๕ พระองค์ รว่ มอุปถัมภโ์ ดย สมัยรัชกาลที่ ๕ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอกรมพระยานรศิ รานุวัดติวงศท์ รงออกแบบ และ เปน็ ประธานในการก่อสรา้ ง หนา้ บนั ด้านหนา้ สลกั ไม้ ลงรักปดิ ทอง ประดบั กระจกเปน็ รปู พระนารายณ์ ทรงครฑุ ดา้ นหลงั เป็นอณุ าโลม ประตู หนา้ ต่าง ซมุ้ สะท้อนแรงบันดาลใจจากศิลปะขอม เชน่ เดียวกับ ประตมิ ากรรมรปู สิงหค์ สู่ ลกั จากหินออ่ น ประดับดา้ นหน้าของพระอุโบสถ พระระเบียงคด มุงกระเบือ้ งเคลือบ สเี หลอื งอมส้ม ซ่งึ เกดิ ข้ึนทา่ มกลางกระแสความคดิ วทิ ยาการตะวันตกอโุ บสถตามแบบแผนประเพณีไดม้ กี าร ปรบั ปรงุ ใหส้ มสมยั โดยใชว้ สั ดใุ หญเ่ ขา้ มาประกอบคอื บผุ นงั ดว้ ยแผน่ หนิ ออ่ นจากประเทศอติ าล ี แ ละผสมแบบ อย่างศิลปะตะวันตก คอื หน้าตา่ งกระจกสี แตอ่ อกแบบโดยประยุกต์ให้เข้ากบั ลกั ษณะไทย (ภาพที่ ๕.๒๐๘) ภาพที่ ๕.๒๐๙ พระท่นี ัง่ จกั รีมหาปราสาท ศลิ ปะ รตั นโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ ๕ พ ระที่นงั่ จักรมี หาปราสาท เดิมพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงต้ังพระราชหฤทัยท่จี ะ สร้างในแบบศลิ ปะตะวนั ตกทั้งองค์ โดยให้มสิ เตอร์จอห์น คลูนชิ สถาปนกิ ชาวอังกฤษออกแบบตามสถาปัตย กรรมสมัยพระนางวิคตอเรียต่อมาสมเด็จพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ได้กราบทูลขอเปล่ียนเคร่ืองบนเป็น ยอดปราสาทไทย จึงกลายเปน็ รปู แบบ “ฝรงั่ สวมชฎา” ถงึ ทุกวันน้ี รูปแบบสถาปตั ยกรรมผสมผสานแบบ ยโุ รป หลังคาและเครื่องยอดเป็นแบบไทยด้วยปราสาทสามยอด ยอดกลางสงู กวา่ ซ้ายและขวา หลงั คาซอ้ น กัน ๒ ช้นั มีหนา้ บนั จตรุ ทศิ องค์กลางมีมขุ ยื่นออกมาด้านหนา้ (ภาพที่ ๕.๒๐๙) ภาพท่ี ๕.๒๑๐ พระท่นี งั่ บรมพมิ านในพระบรมมหาราชวัง ศิลปะรัตนโกสินทร์ สมยั รชั กาลท่ี ๕ ๒๑๓

ประวัติและแบบอย่างศลิ ปะไทย พระทน่ี ัง่ บรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง รปู แบบสถาปัตยกรรมยุโรป อาคาร ๒ ช้นั หลงั คา โคง้ มุงด้วยกระเบื้องหนิ ชนวนรัชกาลท่ี๕ ทรงโปรดเกลา้ ฯใหส้ ร้างขึน้ เพือ่ เป็นทป่ี ระทับของสมเดจ็ พระโอรสา ธิราช สยามมกุฎราชกุมาร (พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หัว) ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ รชั กาลที่ ๖ ทรงกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ปลย่ี นนามพระท่ีน่ังนพมาศจำ�รญู เป็น “พระท่นี ง่ั บรมพมิ าน” ซ่อมแซมหอ้ งบรรทม เป็นห้องพระสำ�ราญ โดยเขยี นภาพจติ รกรรมสีเฟรสโกบนเพดานโดม ไดแ้ ก่ โดมฝ่ายตะวันออก เขียนภาพ พระอินทร์ เทพเจ้าแหง่ สวรรค์ โดมฝา่ ยตะวนั ตก เขียนภาพพระวิรณุ เทพเจ้าแหง่ น�ำ ห้ รอื แหง่ ฝน โดยฝ่าย เหนือ เขยี นภาพพระอัคนี เทพเจา้ แห่งไฟ และโดมฝา่ ยใต้ เขยี นภาพพระยมโลก เทพเจ้าแหง่ ความตาย ปัจจุบนั พระทีน่ ั่งองค์นี้ จัดเป็นสถานทส่ี �ำ หรับต้อนรบั พระราชอาคันตกุ ะหรือแขกเมอื งที่สำ�คญั (ภาพท่ี ๕.๒๑๐) ร ัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอย่หู ัว (พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘) และรชั กาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยูห่ วั (พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๔๗๗) และรชั กาลที่ ๘ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมน ทรมหาอานนั ทมหิดล (พ.ศ. ๒๔๗๗-๒๔๘๙) ไมน่ ิยมการสรา้ งวัดประจ�ำ รชั กาลจงึ ไดแ้ ต่บรู ณปฏิสังขรณ์ ตามพระราชประเพณีในฐานะทพ่ี ระองค์ทรงเปน็ เอกอคั รศาสนูปถมั ภกสำ�หรับรัชกาลปัจจุบนั รชั กาล ที่ ๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. ๒๔๘๙-ปัจจุบัน) มีการบูรณปฏสิ ังขรณ์วัดเก่า เช่น สร้างพระอโุ บสถใหมแ่ ทนหลงั เก่าที่ทรดุ โทรม และมีการสรา้ งใหมบ่ ้างตามชนบท รปู แบบพุทธศลิ ป์ เร่ิมเปล่ียนแปลงไปตามความเจริญของบา้ นเมอื ง ซง่ึ ได้ออกแบบโบสถว์ หิ ารในแนวทางใหม่ เช่น อโุ บสถวดั ศาลาลอย จังหวัดนครราชสมี า อุโบสถวดั พระธรรมกาย จงั หวดั ปทมุ ธานี การกอ่ สร้างพุทธศิลป์มีความเปน็ อสิ ระดา้ นรูปแบบตามสมยั ประชาธปิ ไตย ที่สามารถดำ�เนินการไปตามสภาพความเจริญก้าวหนา้ ของสังคม และเทคโนโลยี แตย่ งั คงรักษาเอกลักษณข์ องความเปน็ ไทยไว้ได้เป็ยอย่างดี จิตรกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ภ าพเขยี นในสมัยรัตนโกสินทรต์ อนต้นยังคงท�ำ ตามแบบศิลปะอยุธยาตอนปลาย และมอี ิทธพิ ลของ ศลิ ปะจีนอย่บู ้างการจัดองคป์ ระกอบของภาพและการใชโ้ ครงสีทไ่ี ด้มีการคลีค่ ลายตามลำ�ดับ คอื การจดั ภาพ แบง่ เรอ่ื งราวเป็นตอนๆ ดว้ ยเสน้ กรอบ “สินเทาหรือเส้นแผลง” ต่อมาไดค้ ลค่ี ลายมาเปน็ ภาพการใช้เสน้ หรือ แนวอาคาร และกำ�แพงเมอื งเปน็ เครื่องแบง่ หรอื ใช้กลุ่มเขามอ เส้นล�ำ นำ�ห้ รอื แนวต้นไมใ้ นการแบ่งตอนของ เรือ่ ง การจดั ภาพใหม้ คี วามหนาแน่นทึบมากขนึ้ การใชส้ ีพื้นของภาพด้วยสอี ่อนๆ แบบศิลปะอยธุ ยา ได้เปลยี่ น มาเป็นแบบพ้ืนหนกั ๆ ในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ การระบายสแี บนๆ แลว้ ตดั เสน้ แบบ ๒ มติ ิ กลบั กลายเปน็ การ ระบายสีดว้ ยแบบการกระทงุ้ ด้วยแปรงท่ที ำ�จากเปลือกไม้หรอื รากไม้ ทำ�ให้เกิดมิติข้นึ โดยเฉพาะจติ รกรรม ฝาผนังในสมัยรชั กาลที่ ๓ ได้แก่ การใชเ้ สน้ แสดงทัศนยี วิสัยแบบโบราณหรือแบบเส้นขนาน ตามแบบศิลปะ อยุธยาตอนปลาย ร ปู แบบภาพเขียนบนฝาผนงั โบสถต์ งั้ แตส่ มยั รัชกาลท่ี ๑ ถงึ รัชกาลท่ี ๓ ได้แก่ ตอนบนเขียนภาพเทพ ชุมนมุ ตอนลา่ งแถวเดียวกับหน้าต่างมกั เขยี นเปน็ ภาพพุทธประวัติหรือทศชาติ ด้านหลังพระประธานเขียน ภาพไตรภมู ิ ดา้ นหนา้ มักเขยี นเปน็ ภาพพทุ ธประวตั ิตอนมารวชิ ัย ภาพเขียนในสมยั นล้ี ้วนใชห้ ลากสี และปิด ทองลงบนภาพทง้ั สิ้น ภาพเขียนที่สำ�คญั ในสมยั รัชกาลที่ ๑ และไดร้ บั การบูรณะซ่อมแซมในสมัยรัชกาลที่ ๓ คือ พระอโุ บสถวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม (ผนงั หุ้มกลองดา้ นหนา้ เรอื่ ง มารผจญ ผนังหมุ้ กลองด้านหลังเขียน ภาพไตรภมู )ิ ฝมี อื พระอาจารยน์ าค แต่ไดร้ บั การรับซอ่ มแซมในรัชกาลที่ ๓ และรชั กาลต่อมา พระท่ีนงั่ พทุ ไธ ๒๑๔

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัติศาสตร์ไทย สวรรย์ ฝีมอื ชา่ งวังหน้าอยูใ่ นพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพฯ ส่วนหอไตรวัดระฆงั โฆษติ าราม ธนบุรี ฝีมอื พระอาจารย์นาค และพระอโุ บสถวัดดุสติ ดาราม ธนบรุ ี ไดร้ ับการซ่อมแซมในสมัยรชั กาลที่ ๓ และอยู่ใน สภาพชำ�รุดทรดุ โทรม พระอโุ บสถวัดสุวรรณาราม ธนบุรี ได้รบั การซ่อมแซมในรชั กาลที่ ๓ มีฝีมือของอาจารย์ ทองอยูแ่ ละอาจารยค์ งแปะ๊ ซง่ึ เขียนประชนั ฝีมอื กนั ภาพท่ี ๕.๒๑๑ พระพุทธองคเ์ สด็จลงจากสวรรคช์ ั้นดาวดึงส์ จติ รกรรมฝาผนัง พระทนี่ งั่ พุทไธสวรรย์ ในพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติพระนคร ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลที่ ๑ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔ จ ิตรกรรมฝาผนงั แห่งน้กี ลา่ วกนั วา่ เขียนขึ้นในรชั กาลที่ ๑ โดยได้รบั การบรู ณะบางสว่ นในรชั กาลที่ ๓ และสมัยหลงั จากนัน้ ดว้ ย นอกจากนัน้ จิตรกรรมบางแหง่ กไ็ ดร้ ับการบรู ณะ ท�ำ ใหล้ ังเลระหวา่ งฝมี อื รัชกาล ท่ี ๑ หรอื รัชกาลที่ ๓ ทีเ่ ขยี นซอ่ ม (สันติ เล็กสุขุม,๒๕๕๔:๒๑๐) ภาพจิตรกรรมมีความละเอยี ด อันออ่ น หวาน ประณีตของเส้น นยิ มใชส้ สี ด และมพี ลงั แรงกล้า เพิ่ม ความงาม เดน่ ดว้ ยการปิดทองท่ีตวั ภาพ (ภาพท่ี ๕.๒๑๑) ภาพที่ ๕.๒๑๒ จติ รกรรมฝาผนังภายในพระอโุ บสถ วดั สุวรรณารามราชวรวิหาร ศิลปะรัตนโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๓ ภาพท่ี ๕.๒๑๓ เนมยี ช์ าดกและสวุ รรณาสามชาดก จติ รกรรมฝาผนังในพระอโุ บสถ วัดสุวรรณารามราชวรวหิ าร ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๓ ครึ่งหลังของพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔ ๒๑๕

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย จิตรกรรมฝาผนงั วดั สวุ รรณารามราชวรวหิ าร คงเป็นวดั ในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยามาก่อน ต่อมาได้รบั การบูรณะจากพระเจา้ กรุงธนบรุ ี รชั กาลที่ ๑ เรอื่ ยมา เป็นฝีมือช่างเขยี นในสมัยรัชกาลท่ี ๓ ประกอบดว้ ย ดา้ น หลงั พระประธานเขยี นเรอื่ งไตรภมู ิ พน้ื ท่ีผนังระหวา่ งช่องเขยี นภาพพระเวสสันดร ด้านขา้ งเปน็ เทพชมุ นมุ หมายถงึ ทวยเทพจากหมนื่ จักรวาลมาชมุ นมุ กัน คราวทีพ่ ระโพธสิ ตั วต์ รัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ผนัง ช่องหน้าต่างเขยี นเรื่องทศชาดก เร่อื งสวุ รรณสามชาดก และฉากเด่นของเนมยี ์ชาดก คือ เนมยี ์ราชโพธสิ ตั ว์ ประทับอยู่ในสธุ รรมสภาปราสาทของพระอินทร์ ณ แดนสวรรค์ชนั้ ดาวดงึ ส์ ชา่ งเขยี นจงึ เขียนภาพปราสาท อยา่ งวิมานท่อี ิงลักษณะสมจริง (ภาพที่ ๕.๒๑๒ และภาพท่ี ๕.๒๑๓) สมัยตอนปลายรชั กาลที่ ๒ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัย ถงึ ต้นรชั กาลท่ี ๓ พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าเจา้ อย่หู วั ไมม่ ีหลกั ฐานปรากฏเนื่องจากท�ำ เพ่มิ มากข้ึนในสมยั รชั กาลท่ี ๑ ยงั ไม่ ชำ�รุดเสียหาย แต่มปี รากฏมากในสมยั รชั กาลที่ ๓ ฝมี อื ชา่ งสูงสง่ มาก เพราะงานพทุ ธศิลป์มคี วามเจริญ รุง่ เรืองมาก ได้แก่ พระท่นี ่งั พุทไธสวรรย์ วงั หนา้ พระอโุ บสถวัดดุสิตดาราม พระอโุ บสถวัดราชสิทธาราม พระอโุ บสถวัดอรุณราชวราราม พระอโุ บสถวัดบางยี่ขัน พระอุโบสถวัดดาวดึงส์ พระอโุ บสถวดั ไชยทศิ ธนบุรี และพระอุโบสถวหิ ารวดั สทุ ัศนเ์ ทพวราราม กรุงเทพฯ ร ูปแบบการวาดภาพจิตรกรรมฝาผนงั มคี ตเิ หมือนกับอยธุ ยาตอนปลาย คือ ไมค่ ำ�นงึ ถึงภาพบุคคล มขี นาดใหญพ่ อๆ กับสถาปตั ยกรรม สีทีใ่ ชเ้ ขยี นภาพมมี ากขนึ้ นิยมการปิดทองทภี่ าพมากข้ึน พืน้ ของภาพมี ความหนักแน่นมากกวา่ พ้นื ภาพสีของศิลปะสมัยอยธุ ยานิยมเขียนภาพวรรณกรรมเป็นเร่ืองต่อเนอื่ งกันตลอด ท้ังฝาผนงั โดยใช้เสน้ ลำ�นำ�้ ถนน ต้นไม้ ภูเขา แนวก�ำ แพง เป็นส่วนประกอบของภาพ โดยแบง่ ภาพเป็นตอนๆ แต่มคี วามสัมพันธก์ ันตลอด ต้ังแต่พนื้ จรดเพดาน เชน่ จิตรกรรมฝาผนังวหิ ารและพระอโุ บสถวดั สุทัศนเทพ วราราม วดั เชตพุ ลวิมลมังคลารามกรงุ เทพฯ วัดสุวรรณครี ี สงขลา วัดอ่างศลิ า ชลบุรี เป็นตน้ ภาพที่ ๕.๒๑๔ ภาพจติ รกรรมฝาผนังวดั สวุ รรณคีรี ศิลปะรตั นโกสินทร์ ตอนปลายรชั กาลท่ี ๒ ตน้ รัชกาลท่ี ๓ จติ รกรรมฝาผนงั วดั สุวรรณครี ี มรี ูปแบบการเขยี นเน้อื หา องค์ประกอบ การใชส้ ีตามแบบช่างหลวง กรงุ เทพฯ โดยฝมี ือชา่ งหลวงและช่างพ้นื ถนิ่ ทีไ่ ดไ้ ปศกึ ษางานจากชา่ งหลวง จะปรากฏการได้รบั อทิ ธพิ ล ตะวนั ตก ค อื การใชท้ ศั นยี วทิ ยามาเปน็ สว่ นประกอบในการเขยี นภาพและสอดแทรกวถิ ชี วี ติ วฒั นธรรมเหตกุ ารณ์ บ้านเมืองในอดีต ที่มกี ารคา้ ขาย เชอื่ มโยงวฒั นธรรมดา้ นศลิ ปกรรมรว่ มกันของจนี ตะวนั ตก โดยมสี ภาพ แวดล้อมทีส่ มบรู ณ์ มคี วามสงบสขุ พ่ึงพาอาศัยซง่ึ กันและกนั มคี วามอบอนุ่ จะแทรกอยแู่ ทบทุกพืน้ ที่ของ ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ซ่งึ มแี บบแผนในการเขยี นภาพจิตรกรรมฝาผนงั คอื ดา้ นหน้าพระประธานเขียนภาพ ๒๑๖

บทที่ ๕ : สมยั ประวัติศาสตร์ไทย มารผจญ ด้านหลังเขียนภาพไตรภูมิ ดา้ นขา้ งทั้งสองด้านเหนือกรอบหนา้ ตา่ งเขียนภาพเทพชุมนุม ภายใน ห้องภาพ เขียนภาพพทุ ธประวัติ และทศชาติชาดก ตามแบบแผนของฝีมอื ช่างหลวง และสอดแทรกวถิ ชี วี ติ วฒั นธรรมไทย จีน ตะวันตก เขา้ ด้วยกัน มีเทคนคิ การวาด คือ การเกลย่ี สเี รียบสีเดียวไม่ไล่นำ�ห้ นักสี และ การไลน่ �ำ ห้ นักสใี หเ้ กดิ ความเข้มกลางออ่ น สุดท้ายจะตัดเสน้ เพ่อื แสดงรายละเอยี ด ทำ�ให้เกิดความสมบรู ณ์ ของภาพ ท่ีแฝงอุดมคตเิ รื่องความงามตามจินตนาการ (ภาพท่ี ๕.๒๑๔) ภาพที่ ๕.๒๑๕ จติ รกรรมฝาผนงั ในพระวิหาร วัดสุทศั น์เทพวราราม กรุงเทพฯ ศลิ ปะรตั นโกสินทร์ สมยั รชั กาลที่ ๒ จิตรกรรมฝาผนังวดั สุทศั นเ์ ทพวราราม กรุงเทพฯ วดั สร้างข้นึ ในสมยั รชั กาลที่ ๑ มขี นาดสงู ใหญ่ เทา่ เทียมกบั วดั พนญั เชิงทกี่ รุงเกา่ ถอื ว่าเปน็ วัดประจ�ำ รัชกาลท่ี ๘ สรา้ งข้นึ เพอื่ ประดษิ ฐานพระศรีศากยมุนี ท่โี ปรดเกลา้ ฯ อนั เชิญมาจากสโุ ขทัยเมอื งเก่า ภาพจิตรกรรมฝาผนงั เขียนบนผนังระหวา่ งชอ่ งประตูและชอ่ ง หนา้ ต่าง เปน็ ภาพประวตั ิของพระพทุ ธเจ้าเป็นงานบูรณะในรชั กาลท่ี ๓ รปู แบบความคิด ลกั ษณะของภาพ และวธิ กี ารเขยี นภาพตามแบบอยา่ งตะวนั ตกเขา้ มาผสมผสานอยา่ งเตม็ ที่โดยมลี กั ษณะทป่ี ระณตี ของฝมี อื ชา่ ง กบั แบบแผนประเพณี โดยเฉพาะเรื่องไตรภูมิ และมีการซ่อมแซมในรัชกาลที่ ๔ และรชั กาลที่ ๕ (ภาพที่ ๕.๒๑๕) จ ติ รกรรมฝาผนงั บางวัดเป็นจิตรกรรมแบบจีน ตามศิลปะพระราชนยิ ม มีภาพแสดงโตะ๊ หมบู่ ูชาแบบ ตา่ งๆ และภาพทแี่ สดงความเป็นส่งิ มงคลของจนี เชน่ ฮก ลก ซิ่วหรอื ภาพวรรณคดจี ีน ได้แก่ พระอโุ บสถ วัด ราชโอรสาราม พระอโุ บสถ วดั นางรอง ธนบรุ ีและพระอโุ บสถ วัดมหรรณพาราม พระนคร ฯลฯ ตอนปลายสมัยรชั กาลที่ ๓ ถึงต้น รชั กาลที่ ๔ สบื ทอดในอดตี มคี วามหลากหลายมากข้ึน คือ การจัดองค์ประกอบตามแบบแผนเดิมโดยภาพฝาผนังด้านข้างตอนบนเป็นเทพชุมนุมระหว่างช่องหน้าต่าง เป็นภาพวรรณกรรม ผนังหุม้ กลองเปน็ ภาพพทุ ธประวตั ิ เช่น วัดระฆังโฆสิตาราม กรงุ เทพฯ และวัดสระเกศ ฝาผนงั สด่ี า้ นเปน็ วรรณกรรมตอ่ เนอื่ งกนั ไมม่ เี สน้ กนั้ เชน่ วดั หนา้ พระเมรรุ าชกิ ารามอยธุ ยาและวดั ชลธารสงิ เห นราธิวาส สว่ นผนังตอนบนเป็นลวดลาย และฝาผนงั ชอ่ งบนเป็นพระอดตี พุทธเจา้ หรอื เทพชมุ นุม มารผจญ ไตรภูมิ หรือ เสด็จลงจากดาวดงึ ส์ เช่น มชั ฌมิ าวาสวรวิหาร สงขลา และในระหวา่ งท่ีพระบาทสมเดจ็ พระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัวทรงผนวชอยู่ในวัดบวรนิเวศวิหารทรงคิดปริศนาธรรมและโปรดให้ขรัวอินโข่งทำ�การเขียน ภาพประกอบในลักษณะ ๓ มติ ิ แบบจติ รกรรมตะวันตกคอื มแี สงเงา และแสดงทัศนียวสิ ยั ตามหลกั วชิ าการ หรอื ตามความเป็นจรงิ ๒๑๗

ประวัติและแบบอย่างศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๕.๒๑๖ จิตรกรรมฝาผนังอุโบสถวดั มชั ฌิมาวาสวรวิหาร สงขลา ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ สมัยรชั กาลที่ ๔ วัดมัชฌิมาวาส วรวหิ าร มรี ูปแบบการเขยี นเนือ้ หา องคป์ ระกอบ การใชส้ ีตามแบบชา่ งหลวง กรุงเทพฯ โดยฝีมือชา่ งหลวงและชา่ งท้องถิ่น ทีไ่ ด้รับอทิ ธพิ ลตะวนั ตก คอื การใช้ทศั นียวิทยามาเปน็ ส่วน ประกอบในการเขียนภาพและสอดแทรกวถิ ชี ีวติ วัฒนธรรมการละเล่นต่างๆ การปลกู สร้างอาคาร ทีอ่ ยอู่ าศัย การปกครอง เศรษฐกจิ เหตกุ ารณ์บ้านเมืองในอดีต ทีม่ ีการค้าขาย เช่อื มโยงวัฒนธรรมด้านศิลปกรรมร่วม กันของ ตะวันตก ชาวพทุ ธ จนี อิสลาม เกดิ การผสมผสานของวัฒนธรรมได้อยา่ งกลมกลืน เกดิ ความสามัคคี พ่งึ พาอาศัยซ่งึ กนั และกนั โดยมสี ภาพแวดลอ้ มที่สมบูรณ์ มีความสงบสุข มีความอบอนุ่ ในวถิ ีชีวิตพอเพยี ง ของชุมชนรอบลมุ่ ทะเลสาบสงขลา จะแทรกอยแู่ ทบทกุ พนื้ ท่ีของภาพจติ รกรรมฝาผนงั (ภาพที่ ๕.๒๑๖) สมัยรชั กาลที่ ๔ งานจิตรกรรมฝาผนงั เริ่มมีอทิ ธิพลศิลปะตะวันตกเขา้ มาเจอื ปน ท�ำ ให้งานจติ รกรรม เริ่มคลีค่ ลายแบบอยา่ งจากแบบ “อุดมคต”ิ มาสแู่ บบ “ความเปน็ จริง” มากยงิ่ ข้นึ ดงั นน้ั ผลงานแบบ ๓ มิติ ของอาจารยข์ รวั อินโข่งหรอื อาจารย์อนิ แหง่ วดั เลียบ (วัดราชบูรณะ) เปน็ ผู้บกุ เบกิ ผลงานแนวใหม่ อนั เป็นการ พัฒนาจติ รกรรมไทยให้ก้าวไปอีกระดบั หนึง่ โดยใชเ้ ส้นแสดงทศั นียวิสยั แบบวชิ าการ และการใชค้ ่าของสีแสง แสดงระยะใกลไ้ กล ใหเ้ กดิ บรรยากาศดีข้นึ ผลงานของทา่ นอย่ทู ว่ี ัดบรมนิวาสและวัดบวรนิเวศวหิ าร พระนคร วดั ชิโนรสาราม ธนบุรี เปน็ ตน้ เนอ่ื งจากสมยั รัชกาลที่ 4 เปน็ ต้นมา มกี ารตดิ ต่อกับตา่ งประเทศทางตะวันตก มากข้นึ อทิ ธิพลของจิตรกรรมตา่ งประเทศทางตะวันตกกเ็ ข้ามาปนอย่ใู นจิตรกรรมฝาผนงั ของไทย จะเหน็ ได้ จากภาพเขียนภาพบนผนังพระอโุ บสถท่วี ัดมหาพฤฒาราม วัดบวรนิเวศวหิ าร เป็นตน้ และท่ีในหอราชกรมา นสุ รณใ์ นวดั พระศรีรัตนศาสดาราม บางแหง่ มภี าพชาวตา่ งประเทศ และบางครง้ั กม็ ีการวาดทศั นียวิสยั (perspective) ตามแบบตะวันตกด้วย รูปแบบการเขยี นภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ชว่ งล่างเปน็ เร่ืองกจิ ของพระสงฆ์ หรือ วรรณกรรม ช่วงบนเปน็ ภาพปรศิ นาธรรม เชน่ วดั บวรนิเวศวหิ าร และวดั บรมนวิ าส กรุงเทพฯ ระหวา่ งชอ่ ง ประตู หน้าตา่ งเปน็ เร่อื งวรรณกรรม หรอื ปรศิ นาธรรม ช่วงบนเป็นพทุ ธประวตั ิ กจิ ของพระสงฆ์ หรอื ตำ�นาน เชน่ วดั มหาพฤฒาราม กรงุ เทพฯ ผนงั ชว่ งบนเป็นภาพเทวดา เหาะบนก้อนเมฆ ระหว่างช่องหน้าตา่ งเป็น ภาพเรอื่ งหรือลาย เช่น วดั สวุ รรณาดาราราม อยุธยา ชว่ งลา่ งระหวา่ งช่วงหน้าต่างเป็นภาพพระราชพธิ ี ๑๒ เดือน และชว่ งบนเป็นเทพชมุ นมุ เหาะบนกอ้ นเมฆ เชน่ วดั อโุ บสถวดั โพธน์ิ ิมิตร กรุงทพฯ และภาพเหตกุ ารณ์ สำ�คญั ในประวตั ศิ าสตร์ เช่น หอพงศานุสรณ์ ในวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม สิ่งท่พี ิเศษเข้ามา คอื มคี วาม เหมือนจริง มีแสงเงา มีความลึกแบบทศั น์วิสัย (perspective) โดยผสมอทิ ธพิ ลตา่ งประเทศ เช่น วัดโพธ์ปิ ฐมา วาส สงขลา ๒๑๘

บทที่ ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๒๑๗ จติ รกรรมฝาผนังอโุ บสถวัดบวรนเิ วศวหิ าร กรงุ เทพฯ ศลิ ปะรัตนโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๔ ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ จ ิตกรรมแนวตะวนั ตก กลา่ วว่าฝีมือวาดของขรัวอินโข่ง เขยี นตามปรศิ นาธรรม ซึ่งรัชกาลท่ี ๔ ทรงคิด ขึ้นเมอื่ ทรงผนวชและครองวัดนี้ จติ รกรรมน้ีวาดบนพน้ื ที่เหนอื ช่องผนงั หนา้ ต่างแสดงถึงวิถชี ีวิตหรอื กจิ กรรม ต่างๆ ของชาวตะวันตก เช่น การพักผอ่ นด้วยการชมกีฬาแข่งม้า นับว่าเป็นการเปล่ียนจากจติ รกรรมแบบแผน อดุ มคตมิ าสแู่ บบอย่างตะวันตกครงั้ สำ�คญั (สนั ติ เลก็ สขุ ุม,๒๕๕๔:๒๑๒) (ภาพท่ี ๕.๒๑๗) ภาพท่ี ๕.๒๑๘ จติ รกรรมฝาผนงั ในพระอุโบสถ วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๔ ๒๑๙

ประวัตแิ ละแบบอย่างศิลปะไทย จติ รกรรมฝาผนงั ในพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม จติ รกรรมฝาผนงั ในดา้ นเหนอื และดา้ นใต้ ถกู เขียนขนึ้ ใหม่ ในรชั กาลท่ี ๔ ถือวา่ เป็นตวั อย่างของจิตรกรรมแบบแผนประเพณีไทยรุน่ ใหม่ทีผ่ สมผสาน ทงั้ ความคดิ และกรรมวธิ แี สดงออกอยา่ งตะวันตกเข้าไวใ้ นเรือ่ งปรมั ปราของไทยได้อย่างแนบเนยี น เชน่ การ เขยี นภาพสถาปัตยกรรมประกอบอยู่ในฉาก อันมปี ระตูยอดซ่งึ เป็นประตแู บบพระบรมมหาราชวงั โดยอาศยั หลกั วิชาทัศนยี วทิ ยาจากตะวันตก รวมทง้ั การระบายสแี สงเงาประกอบดว้ ย จากการเขยี นภาพแบบอทิ ธิพล ตะวันตกนเี้ อง ทำ�ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ การเขยี นแบบขนบธรรมเนยี มประเพณีนยิ มอยู่บ้าง ท�ำ ให้ผลงานแบบ ดั้งเดมิ หรอื แบบประเพณีเร่ิมเส่อื มคลายลง (ภาพที่ ๕.๒๑๘) ภาพที่ ๕.๒๑๙ จติ รกรรมฝาผนงั ในพระอุโบสถ วัดโพธ์ปิ ฐมาวาส สงขลา ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ สมัยรชั กาลที่ ๔ จ ิตรกรรมฝาผนงั แบบรชั กาลที่ ๔ พระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว เปน็ ชว่ งหัวเลี้ยวหวั ต่อทีศ่ ลิ ปะตะวันตก เข้ามา แต่ช่างไทยก็ยงั มวี ธิ ีการรูปแบบประเพณไี ทยด�ำ รงไว้ เชน่ วดั โพธ์ิปฐมาวาส โดยน�ำ เอาแนวความคดิ และการแสดงออกท่อี ยู่นอกกรอบแบบแผนประเพณเี ดมิ แตกตา่ งไปจากจติ รกรรมที่พบในภาคใต้ เปน็ ภาพท่ี สะทอ้ นความคิด ความเชือ่ สภาพสังคม และวัฒนธรรมของชุมชนในจังหวดั สงขลา ถือว่าเป็นแหลง่ ทดลอง จิตรกรรมแบบรชั กาลที่ ๔ โดยการนำ�นโยบายของเจ้าพระยาวิเชยี รคีรี (บุญสงั ข์ ณ สงขลา) ใหน้ ำ�เรอื่ ง ศาสนาอื่นๆ คอื ศาสนาพุทธ อสิ ลาม จีน มาบอกเล่าเรอื่ งราวชวี ิตคน ปรศิ นาธรรม หลกั ธรรมคำ�สอนเพอ่ื การปกครองในเรอ่ื งความขดั แย้งของเชือ้ ชาติ ศาสนาเพ่ือความสมานฉันท์ภายในชุมชนและท้องถน่ิ นี้ (ภาพที่ ๕.๒๑๙) สมัยรัชกาลท่ี ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) จิตรกรรมฝาผนงั ยังคงดำ�เนนิ ต่อไป พรอ้ มกับอทิ ธิพลของศิลปะตะวนั ตก เข้ามาผสมผสานและละทิ้งเทคนิคแบบประเพณีท�ำ ใหว้ ชิ าการด้านนส้ี ูญหาย เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผนังระเบยี งวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม (รามเกียรต์ิ) พระทน่ี ่งั ทรงผนวช วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม พระอุโบสถวดั อรณุ ราชวราราม (เขียนซอ่ มในสมยั รชั กาลที่ ๕) พระอโุ บสถวดั ภาวนา ธนบุรี และวัดอืน่ ๆ ในรชั กาลนี้ เรม่ิ มีการเขยี นภาพเหมือนของกษตั ริย์ และบคุ คลส�ำ คญั ในงานจิตรกรรมฝาผนัง เช่น ภาพเขยี นในพระทนี่ ง่ั ทรงผนวชท่ีวดั เบญจมบพิตรดสุ ิตวนาราม นอกจากเขียนภาพฝาผนังแบบไทย ยงั มกี าร เขยี นภาพแบบตะวันตก เรยี กวา่ “แบบปูนเปียก” เปน็ ชว่ งที่ศิลปนิ ตะวนั ตกเดินทางมารบั ราชการในพระราช สำ�นักหลายทา่ น ทัง้ ศลิ ปนิ ชาวอิตาเลียน อังกฤษ และชาวเยอรมนั ท�ำ ใหศ้ ลิ ปะตะวันตกแพรห่ ลายมากข้นึ ๒๒๐

บทท่ี ๕ : สมัยประวัติศาสตรไ์ ทย ภาพท่ี ๕.๒๒๐ เวสสันดรชาดก จิตรกรรมฝุน่ บนผ้าใบขึงสะดึง ในกรอบ ณ หอศิลป์ กรมศลิ ปากร ถนนเจ้าฟา้ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ฉ ากท้องพระโรงแบบตะวนั ตก วาดด้วยวธิ กี ารของเส้นนำ�สายตา มีวิธีการใหม่ที่ช่างไทย เรียนร้จู าก ภาพเขยี นของชาวตะวันตก มกี ารผลักระยะใกล้ไกลของฉากทิวทศั น์ โดยอาศัยบรรยากาศของสที ีใ่ ช้ อันเป็น วธิ ีการใหมเ่ ชน่ กนั แตภ่ าพที่ยงั ร่างเปน็ ลายเสน้ โดยทยี่ งั ไมไ่ ด้ลงสี คอื ภาพอุดมคติจากเร่อื ง เวสสันดรชาดก ตอน ฉกษัตรยิ ์ ภาพตัวละครไทยผสมฉากฝรง่ั ทำ�นองน้ี สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอเจา้ ฟ้ากรมพระยานรศิ รา นวุ ัคติวงศ์ กเ็ คยทรงเขยี นไว้ด้วยเช่นกัน (สันติ เลก็ สุขุม,๒๕๕๔:๒๑๔) (ภาพท่ี ๕.๒๒๐) ส มัยรัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เจ้าอยู่หวั (พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘) ยงั มีการเขียนภาพ “เฟรสโก”้ ภายในโดมคือพระทนี่ ัง่ อนนั ตสมาคมโดยศิลปนิ ชาวอิตาเลียนเป็นเร่อื งเก่ยี วกับพระราชกรณียกิจ ทสี่ ำ�คญั ของกษัตริยไ์ ทยทัง้ ๖ รัชกาล ซงึ่ กรรมวธิ ีแบบ “ปูนเปียก” ของชาวตะวนั ตก มีความคงทนถาวรดีกว่า การเขยี นภาพแบบสฝี นุ่ ของไทยมาก ในรชั กาลท่ี ๖ ทรงสนพระทยั ในงานศิลปกรรมและงานชา่ งเป็นอันมาก ทรงก่อตัง้ “โรงเรียนเพาะ ชา่ ง” ข้ึนเป็นแหง่ แรก มีการศึกษาแบบอย่างศลิ ปะไทย และศลิ ปะตะวนั ตก ดังนัน้ งานศลิ ปะจงึ เริม่ ด�ำ เนนิ การตามแนวสากลมากยงิ่ ขึน้ ตามล�ำ ดบั ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๔๕๖ เปน็ ตน้ มา การเขียนภาพในลกั ษณะความเป็น จรงิ ทป่ี รากฏในรัชกาลนี้ ไดแ้ ก่ การเขียนภาพฝาผนังวหิ ารทิศตะวันออกขององค์พระปฐมเจดยี ์ เชน่ ภาพ ทวยเทพ และเทพเจ้าในศาสนาลทั ธติ ่างๆ ฝมี ือพระยาอนุศาสน์จติ รกร (จนั ทร์ จิตรกร) จติ รกรฝีมอื ดีในสมัย รชั กาลที่ ๖ และรชั กาลท่ี ๗ ซ่งึ ท่านได้เขยี นภาพพระราชประวตั ิสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นภาพฝาผนงั ในพระวิหารวัดสุวรรณาราม จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา เปน็ ภาพเขยี นในลักษณะเหมอื นจรงิ นับเปน็ ภาพที่มี ความรสู้ กึ และบรรยากาศท่งี ดงามตามแบบสากลนิยม ภาพพระบฏ คอื ภาพเขียนเก่ยี วกบั พุทธศาสนาเขียนลงบนผ้าน้ัน อาจกล่าวได้ว่าทีย่ งั มตี ัวอยา่ งเหลือ อยู่ไมม่ ากน้นั มีตั้งแต่คร้ังรัชกาลที่ ๓ ลงมา แตภ่ าพเขียนเช่นนี้ก็มีมาแลว้ ต้งั แตค่ รั้งกรงุ ศรอี ยุธยา ส่วนใหญ่ นิยมวาดเปน็ พระพทุ ธองค์ประทบั ยืนอยตู่ รงกลางมีพระสาวกประกอบ ๒ ขา้ ง แต่ทวี่ าดเป็นภาพพทุ ธประวตั ิ และทศชาตกิ ม็ บี ้าง (ภาพท่ี ๕.๒๒๑) ๒๒๑

ประวัติและแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๕.๒๒๑ ภาพพระบฏ ศิลปะรตั นโกสนิ ทร์ เครือ่ งป้ันดนิ เผา ในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ไมค่ อ่ ยมีการเปลย่ี นแปลงความกา้ วหน้า นอกจากจะมีการ ผลติ กนั ตามชนบทมที ั้งเครื่องดนิ (แบบเนอ้ื อ่อน) และเครอื่ งหิน (แบบเนอื้ แกรง่ ) ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วนั เช่น โอ่ง อา่ ง กระถาง ไห ส่วนถ้วยชามในพระราชสำ�นักกลุ่มเจ้านายชน้ั สูง และราษฎรยงั คงใช้ถ้วยชามจากจนี เปน็ ส่วนใหญ่ โดยราชส�ำ นักออกแบบลวดลายแล้วสง่ ไปขายท่ีจนี ท�ำ ให้เหมอื นสมยั อยุธยา โดยเฉพาะในสมยั รชั กาลที่ ๒ สง่ั ท�ำ มากท่ีสุด รวมท้งั เคร่ืองลายคราม ซงึ่ นยิ มท�ำ กนั มาจนถึงปจั จุบัน และในสมัยรชั กาลที่ ๕ ซึ่ง ไดต้ ิดตอ่ ค้าขายกับชาวยโุ รป งานประณตี ศลิ ป์ ในสมยั รัตนโกสินทร์ ก็คงท�ำ ตามแบบศิลปะอยธุ ยา เป็นตน้ วา่ ตู้ บานประตู หน้าตา่ ง และหีบใส่หนังสือทำ�ท้ังแบบอย่างเขียนลายรดนำ�ป้ ดิ ทอง ประดับด้วยมุกและแบบอยา่ งจำ�หลกั ฝีมืองดงาม เทยี บเทา่ สมัยอยุธยาไดม้ ปี รากฏอยูใ่ นสมัยรัชกาลท่ี ๑ ถงึ ๓ ต่อจากน้ันก็คลายลงมา อาจเปน็ เพราะได้รับ อิทธพิ ลจากศิลปะตะวันตก แตก่ ็ยงั มีความงดงามอยู่ เช่น ลับแลประดบั มุก หนงั สอื ใบลาน ในพพิ ิธภณั ฑสถาน แห่งชาติ พระนคร วัตถเุ หล่านค้ี งท�ำ ขนึ้ ครงั้ รัชกาลท่ี ๔ ส่วนพดั รองต่างๆ และ พัดรองตรานพรัตนน์ ้นั สร้าง ข้ึนครง้ั รัชกาลท่ี ๕ ส่วนในสมยั รชั กาลที่ ๒ นาฏศลิ ป์เจรญิ รุ่งเรืองถึงขดี สุด เหตนุ จ้ี ึงมีหนุ่ หัวโขนและหนงั ใหญ่ ท่สี ร้างขนึ้ อยา่ งประณตี บรรจง เครื่องถ้วยชาม กย็ ังคงนยิ มโดยสั่งเครื่องเบญจรงค์รวมทงั้ เครอื่ งลายน�ำ ท้ อง เข้ามาจากเมืองจนี ใน สมยั รชั กาลท่ี ๒ ส่ังเข้ามามากที่สุด สีภายในเครื่องเบญจรงคเ์ ปน็ สขี าว แต่ในสมยั ต่อมา เมอื่ คบค้ากับฝรง่ั มากขน้ึ กน็ ิยมสัง่ ถว้ ยชามเขา้ มาจากตา่ งประเทศ โดยเฉพาะในทวีปยุโรป ความนิยมใชถ้ ้วยชามจากยุโรปมี มากขึ้นตามล�ำ ดบั แต่ในปจั จุบันการทำ�เคร่อื งปัน้ ดินเผามคี วามเจรญิ กา้ วหน้ามาก สามารถสง่ ไปขายต่าง ประเทศได้ นอกจากเปน็ การเผยแพร่วัฒนธรรมแล้วยงั เปน็ ผลดีกบั เศรษฐกิจของชาตดิ ว้ ย และการประดบั ตกแต่ง สมัยรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น (รัชกาลท่ี ๑-๒) นิยมสร้างถ้วยเบญจรงคจ์ ากจนี แตกตา่ งจากของสมยั อยธุ ยา พน้ื สีภายนอกมสี มี ากกว่า มรี ปู ทรงทดี่ ีกว่าชา่ งในสมยั รัชกาลที่ ๒ และมีลายนำ�้ทอง คือ พน้ื ชามสี ทอง ลวดลายมที งั้ จีนและไทยปนกนั เคลือบใสแล้วมาเขียนลายสที บั เผาไฟออ่ น และเขียนจานเชงิ ประดบั ๒๒๒

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัติศาสตร์ไทย ปรางค์วัดอรณุ ราชวราราม สมัยรชั กาลที่ ๒ ฟน้ื ฟศู ลิ ปะอกี อยา่ งคอื เคร่อื งถม นยิ มถมดำ� และทอง ขยายไป ท่ีนครศรีธรรมราช เพราะเจา้ พระยานครศรธี รรมราช (น้อย) ถอื เป็นธรุ ะอยา่ งจรงิ จัง และไดพ้ ัฒนาให้มคี วาม สวยงามดีถึงท่ีสุดในสว่ นรชั กาลท่ี ๓ สมยั รัชกาลที่ ๔ สง่ิ ของเครือ่ งใช้ โดยเฉพาะชามส่ังมาจากจนี และยุโรป ห มเู่ รอื พระราชพธิ ตี า่ งๆ ราชรถตา่ งๆ เครอื่ งราชปู โภคตา่ ง ได้แก่ พระมหามงกุฎ พระแสงขรรคช์ ัยศรี ฉลองพระบาทเชงิ งอน พานขนั หมาก พระชฎาต่างๆ และเคร่อื งประดับตกแตง่ วัดวาอาราม เชน่ บานประตู มกุ ณ วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม และอื่นๆ อกี มากมาย ภาพท่ี ๕.๒๒๒ ราชรถต่างๆ และหมู่เรือในพระราชพิธีตา่ งๆ ศลิ ปะสมยั รัตนโกสินทร ์ ภาพท่ี ๕.๒๒๓ บานทวารบาลประดบั มุก วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม ศิลปะอยุธยาตอนกลาง สร้างสมยั รัชกาลท่ี ๑ ภาพท่ี ๕.๒๒๔ หนังใหญ่ และหุ่นหวั โขน ศลิ ปะรัชกาลท่ี ๒ ๒๒๓

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพที่ ๕.๒๒๕ ฉลองพระบาทเชงิ งอน และพระแสจ้ ามรี และพัดวาลวิชนี ภาพที่ ๕.๒๒๖ พระแสงขรรคช์ ยั ศรี และพระมหาพชิ ัยมงกฎุ ภาพท่ี ๕.๒๒๗ กินนร ยักษ์ กินรี สมยั รชั กาลท่ี ๕ ภาพที่ ๕.๒๒๘ ห่นุ เล็ก ชดุ รามเกียรติ์ สมยั รชั กาลที่ ๕ ๒๒๔

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตร์ไทย อ าคารบ้านเรือนในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ บา้ นไมแ้ บบไทยแท้ก็ยังคงมีอย่ตู ่อไป ต้ังแต่สมัยรชั กาลที่ ๓ ลงมา นิยมสรา้ งอาคารด้วยอฐิ เปน็ แบบไทยบ้างแบบจนี บา้ ง ต้งั แตส่ มัยรัชกาลที่ ๔ ลงมา นิยมสร้างอาคาร แบบฝร่ัง ในสมัยน้ีมีการกอ่ สรา้ งพระท่ีน่งั แบบไทยแท้ท่สี วยงามอย่างย่ิงขึ้นองคห์ นง่ึ คอื พระที่นั่ง อาภรณพ์ โิ มกขป์ ราสาทในพระบรมมหาราชวงั ในสมยั รชั กาลที่ ๕ นิยมสร้างอาคารแบบฝรง่ั เชน่ พระทนี่ งั่ จักรีมหาปราสาท เดมิ กะจะสร้างเปน็ ยอดฝร่ังทง้ั องค์ แตต่ อ่ มาสมเดจ็ เจ้าพระยาบรมมหาศรสี ุริยวงศ์ได้กราบ บงั คมทูลขอใหเ้ ปลี่ยนเครื่องบนเป็นยอดปราสาท จึงคงรูปดงั ที่เหน็ อย่ใู นปัจจบุ ันน้ี มแี ปลกอย่แู ห่งหนง่ึ คือ พระท่นี ่ังเวหาสจำ�รูญในพระราชวงั บางปะอนิ สรา้ งเป็นแบบจนี เลยี นแบบพระท่นี ัง่ ในกรงุ ปักกิง่ วา่ กันว่า สว่ นต่างๆ สง่ั ใหก้ อ่ สร้างในประเทศจีน แล้วขนย้ายมาประกอบในประเทศไทย เป็นสถาปตั ยกรรมทีข่ นุ นาง จีนในสมยั รัชกาลท่ี ๕ สร้างถวาย ส่วนพระราชวงั บางปะอิน สร้างเลยี นแบบพระราชวงั แวร์ซาย (Versailles) ในประเทศฝร่ังเศส และพระท่ีนัง่ กลางสระ คือ พระทน่ี ัง่ ไอศวรรยท์ พิ ยอาสน์น้ันเป็นแบบไทยแท้อยา่ งงดงาม ในปจั จุบนั นิยมบา้ นไม้แบบไทยแตโ่ บราณกันมากยงิ่ ขึน้ จะเหน็ ไดจ้ ากบา้ นเอกชนต่างๆ มหี ลากหลายมากขึ้น สรุปประติมากรรมสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากอยุธยา เช่น การป้นั พระพทุ ธรปู พระประธานที่วดั มหาธาตุ รชั กาลที่ ๒ งานปนั้ ท่ีวัดอรณุ ราชวราราม รัชกาลที่ ๓ ภาพสงิ ห์ท่ีหล่อใหมอ่ ยบู่ นระเบยี งโบสถด์ ้านหนา้ วัดพระแกว้ และ หล่อชา้ ง วดั อรุณฯ ภาพม้าวัดสทุ ัศน์ และพระพทุ ธรูปทรงเครอื่ งปางหา้ มสมุทร ถือว่าสวยงาม รัชกาลท่ี ๔ มี การป้นั รูปเหมอื น คือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ขนุ ) วัดท้ายตลาดหรอื วัดโมฬโี ลกยาราม มีงานปั้นพระพุทธรปู รัชกาลที่ ๔ พระพทุ ธรูปทรงพระมาลาแบบสกอ็ ต ปั้นดว้ ยปนู นำ�้มัน มีการแก้แบบพระพุทธรูป เปน็ แบบไมม่ ี จอมเมาฬี ทำ�พระเศียรกลม แตม่ เี มด็ พระศก ใสร่ ศั มกี ลางพระเศียร พระกรรณเปน็ แบบมนษุ ย์ ครองจีวรเป็น รว้ิ แบบจรงิ เช่น พระนริ ันตราย และพระประธานวดั มงกุฎกษตั ริยาราม และวัดโสมนสั วิหาร ส่วนรัชกาลที่ ๕ ปน้ั หลอ่ นิยมแบบยุโรป ส่ังงานศลิ ปะเข้ามาปั้นหล่อแบบไทย หล่อพุทธชินราชจำ�ลอง รปู ยักษ์ นรสิงห์ เทวดา ท่ีประดับบริเวณวัดพระแกว้ มกี ารปัน้ หลอ่ ชิ้นเลก็ ช้ินน้อยมากมาย สรุปสถาปัตยกรรมสมยั รัตนโกสินทร์ ศ ลิ ปกรรมทกุ แขนงในรัชกาลท่ี ๑-๒ นยิ มแบบศลิ ปะอยุธยา เช่น การก่อสร้าง อาคารตา่ งๆ และเปลี่ยน หนา้ ตา่ งท�ำ ใหอ้ าคารดโู ปรง่ มแี สงสวา่ งมาก เปลีย่ นตอ่ เนอ่ื งจนถึงรัชกาลที่ ๓ เปล่ยี นการตกแต่งจากการใช้ ไมเ้ ป็นหน้าบัน ชอ่ ฟา้ ใบระกาหางหงส์ เป็นการใชล้ วดลายปนู ป้นั และประดบั กระเบื้องสตี ่างๆ แทน ซ่งึ เป็น ช่วงเศรษฐกิจของสยามดมี าก และไดเ้ ปลีย่ นจากการใชซ้ ุ้มแบบมณฑปและทรงบรรณแถลงเปน็ ซมุ้ แบบฝร่ัง รัชกาลท่ี ๔ มกี ารติดต่อกับตา่ งประเทศมาก รับเอาอารยธรรมมามาก มกี ารตัดถนนและมีเรือกลไฟแบบ จกั รขา้ ง กอ่ สร้างอาคารแบบยโุ รป เช่น พระนครคีรี เพชรบรุ ี พระนารายณร์ าชนิเวศน์ ลพบรุ ี รชั กาลที่ ๕ ได้ รบั อทิ ธพิ ลแบบยโุ รปเขา้ มาอย่างเตม็ ที่ แบบวคิ ตอเรยี ตอนปลาย แบบเยอรมนั แบบอติ าลเี รอนาซองส์จนถึง รชั กาลที่ ๖ สว่ นรัชกาลท่ี ๖ มกี ารก่อสรา้ งแบบยโุ รป เชน่ ศาลากลางจังหวัด อ�ำ เภอ หอทะเบยี น สถานี ตำ�รวจ ทเ่ี ด่นชดั คอื สถานีรถไฟสายเหนือและสายตะวนั ออก แบบอย่างคลา้ ยอทิ ธพิ ลเยอรมนั ส่วนสายใต้ อทิ ธิพลแบบองั กฤษ สถาปัตยกรรมที่เด่นๆ เชน่ โบสถ์วัดพระแก้ว หอไตรปฎิ ก วหิ ารวดั สทุ ัศน์ ปรางค์และ อโุ บสถวัดอรุณราชวราราม วัดพระเชตุพนฯ วัดเบญจมบพิตร ตกึ ธนาคารชาติ ทำ�เนียบรัฐบาล ฯลฯ ๒๒๕

หนังสือ : ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย สรปุ จิตรกรรมสมยั รตั นโกสินทร์ ตอนต้นรชั กาลที่ ๑ ถึงรชั กาลท่ี ๓ นยิ มแบบอยธุ ยา คอื มภี าพเทพชุมนมุ อยู่ตอนบนตอนล่าง ระหว่างแนวหน้าตา่ ง เชน่ ภาพปฐมสมโพธ์ิ ภาพชาดก ปริศนาธรรม ฯลฯ รชั กาลท่ี ๔ นยิ มมรี ะยะใกลไ้ กล ค�ำ นึงสถาปตั ยกรรม และสัดสว่ นบุคคลเปน็ ยคุ บกุ เบกิ จิตรกรทา่ นแรก คือ ขรัวอินโขง่ การใช้สี คำ�นึงถงึ ความรสู้ ึก ความใกลไ้ กล อันเปน็ ผลของานภาพจิตรกรรมฝาผนงั ไทยในวัดพระแกว้ ทค่ี ำ�นงึ ถงึ สงิ่ เหลา่ นี้ การเขียนภาพเมืองยักษ์ ภาพเมือง และภาพบุคคลขัดกนั อยา่ งแจ่มแจง้ รชั กาลท่ี ๕ นำ�วธิ กี ารเขียนแบบ ใหม่ เชน่ ภาพประดับโดมพระที่นง่ั อนันตสมาคม และโบสถว์ ดั ราชาธวิ าส นำ�แบบเก่าและใหมผ่ สมกัน เป็น แบบฉบบั ช่างเขยี นยึดตอ่ กันมาคอื เจ้าฟ้ากรมพระยานรศิ รานวุ ดั ติวงศ์ ปรากฏ ณ วิหารพระรว่ งโรจนฤทธิ์ นครปฐม ภาพประดับ ณ พระทน่ี ่งั วัชรีรมยา ณ พระราชวังสนามจันทร์เปน็ แบบฉบับในการเขยี นแบบตา่ งๆ เชน่ ในงานพระเมรมุ าศ รัชกาลท่ี ๖ รัชกาลที่ ๘ สมเดจ็ พระพนั วัสสาอยั ยกิ าเจา้ ในรชั กาลปัจจุบัน งานประณตี ศลิ ป์ เก่ยี วกับงานแกะสลกั ไดแ้ ก่ ราชรถ หมเู่ รอื พระทีน่ ั่งต่างๆ บานประตแู กะไม้ สมยั รชั กาลท่ี ๒ คือ บานประตูวดั สุทัศน์เทพวราราม เครอ่ื งราชูปโภค ไดแ้ ก่ พระมหามงกุฎ พระแสงขรรค์ชยั ศรี ฉลองพระบาทเชิงงอน พานพระขนั หมาก และพระชฎาตา่ ง ๆ ๒๒๖ Page Number

ภาคผนวก คำ�อธิบายศพั ท์ กะไหล่ คือ เอาทองมาละลายดว้ ยปรอทบริสุทธ์ิ ทาภาชนะทเี่ ป็นเงินเปน็ วธิ เี ดียวกบั ถมทอง ซึ่งเรียกว่า “ตาทอง” ก รุ คือ ห้องภายในของปรางค์ เจดีย์ สมยั โบราณจะเป็นคูหาอยตู่ ามปกี เจดีย์รอบๆ หอ้ งใหญ่ เพ่ือบรรจุพระพ มิ พ์ หรือพระพุทธรปู บชู าขนาดย่อม ๆ กู่ คือ อาคารในศลิ ปะเชยี งแสนรุน่ หลงั หรอื เชียงใหม่ สรา้ งด้วยอฐิ ปั้นปูนประกอบนิยมสร้างในวหิ ารโถง ใช้สำ�หรับ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรูปพระสารีริกธาตขุ องพระพุทธเจา้ เกจ็ คอื การยอ่ ชนดิ หนงึ่ เชน่ หนา้ กระดานมสี ว่ นยอดยกออกมาเรยี กวา่ ยอ่ เกจ็ จะเหน็ ไดจ้ ากหนา้ กระดานธรรมาสน์ หรือสว่ นบนของยอด เข้ยี วตะขาบ คือ ชายผ้าสงั ฆาฏิพระพทุ ธรูปในสมัยสุโขทัย ท�ำ เปน็ ลายผา้ ห้อยเหมอื นเขี้ยวตะขาบ ชายผ้าสังฆาฏิ สมยั ลพบุรี หรอื ขอม หรืออทู่ อง มักนยิ มท�ำ เปน็ ชายผา้ ตัด และพาดทับมาปิดพระนาภี ต่อมาประดิษฐ์เปน็ รูปเขี้ยวตะขาบ ในสมยั อ่ทู องรุ่นท่ี ๓ และสมัยสุโขทยั ครุฑ คอื เจ้าแห่งนกผมู้ รี า่ งกายเปน็ ครงึ่ คนคร่งึ นก คอื มหี น้าเหมอื นคน จมูกเหมอื นนก รา่ งกายทอ่ นบนเปน็ คน ขาเหมือนนก เปน็ พาหนะของพระนารายณเ์ ปน็ ศัตรกู บั นาค จนั ทิ คอื เป็นศาสนสถานนำ�หนา้ ช่อื ในอนิ โดนีเซีย เ จดยี ์ เปน็ ท่ีเคารพนบั ถอื มรี ปู ทรงสูง ยอดแหลม ถ้ามีทรงระฆังใหญ่ เรียกวา่ เจดียแ์ บบลงั กา ถา้ เปน็ เจดีย์ สี่เหลยี่ มมียอ่ มมุ ๑๒ เรียกวา่ เจดยี ย์ อ่ มมุ ๑๒ ถา้ เปน็ เหลี่ยม ๘ ทศิ เรียกวา่ เจดีย์แปดเหล่ียม ฉ ัตร เป็นรม่ หลายช้นั อยู่ในจำ�พวกเคร่อื งสงู ชมั ภละ คอื เป็นเทวดาแหง่ ความม่งั ค่งั ในพทุ ธศาสนาลัทธมิ หายานค่กู บั ทา้ วกเุ วรในศาสนาพราหมณ์ ชาดก เป็นชาตติ ่าง ๆ ของพระพุทธเจ้ากอ่ นตรัสรู้ มี ๕๕o ชาติ ที่ส�ำ คัญ คือ ๑o ชาติ เรยี กว่า ทศชาติ ชุกชี คอื ฐานปูน ตง้ั รองรับพระประธานในโบสถห์ รือในวิหาร ไ ตรภมู ิ ทงั้ สามโลก ได้แก่ กามภมู ิ โลกที่เก่ียวกับกาม รปู ภูมิ โลกท่ีหลดุ พ้นจากกามแต่ยังมีรปู และอรูปภูมิ โลกท่ี หลุดพน้ จากกามและรูป ถะ เปน็ เจดียแ์ บบจนี ส่วนมากเป็นรปู ๘ เหล่ียม หมายถงึ ๘ ทศิ มซี มุ้ พระรอบ ๘ ทศิ ตรงฐานลา่ ง ดังเช่น วดั อรณุ ราชวราราม ซ่งึ ตง้ั อยูร่ อบพระอโุ บสถ ส่วนถะท่ีตัง้ รอบพระวิหารพระศรีศากยมนุ ี วดั สุทศั น์ฯ เป็นเจดียซ์ ้อนเปน็ ชน้ั มหี ลังคา ซอ้ นธรรมดา ทบั หลงั แผ่นศลิ าอันเปน็ คาน เหนือประตูองคป์ รางค์ตง้ั ขนึ้ บนเสาทั้งสองข้างจะบอกอายุของอาคารในลวดลาย ท่จี �ำ หลักบนทับหลงั ใหร้ วู้ า่ เปน็ ของพราหมณห์ รือพุทธเปน็ แบบใด เช่น แบบนครวดั แบบบายน ท่เี กา่ แก่ทส่ี ดุ ของสยามอยู่ ท่ีอุบลราชธานี พทุ ธศตวรรษที่ ๑๑ ทวารบาล คอื รูปเขยี นหรือรปู จำ�หลักท่ปี ระตูทางเข้าอโุ บสถวิหาร จำ�หลกั บนเน้อื ไมป้ ระตู เปน็ รปู เทวดาถอื อาวุธ หรือรปู เชี่ยวกง รูปนักรบจีนหรอื รปู อนื่ ๆ ๒๒๗

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ทา้ วกเุ วรคอื เทพเจา้ แหง่ ความมงั่ คงั่ และผรู้ กั ษาทศิ เหนอื ในศาสนาพราหมณม์ ยี กั ษห์ รอื รากษสเปน็ บรวิ ารธรรมจกั ร ส่วนใหญ่ท�ำ ด้วยศิลา พบในสมัยทวารวดี เช่น นครปฐม อ่ทู อง เพชรบรุ ี และท่ีต่าง ๆ สมัยโบราณ หมายถงึ ปฐมเทศนา จงึ อยู่คกู่ ับกวางหมอบเสมอ กวางหมอบ หมายถึง อิสิปตนมฤคทายวัน ธรรมจักร หมายถงึ ธรรมจักรกัปวัตนสตู ร อนั เป็นพระ สูตรแรก ทพ่ี ระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนากบั ปัญจวัคคีย์ปฐมสาวก นาค คอื งู เป็นศตั รขู องครุฑ ในศิลปะขอมนิยมใช้มาก เพราะถือวา่ ปฐมกษัตรยิ ์ของขอมเกิดจากนางนาคสมสู่กบั ชาวอินเดยี ด้วยเหตนุ ้นั พญานาคผเู้ ป็นอัยกา (ตา) จงึ เป็นผู้ปกปกั รักษาราชอาณาจกั รขอมและผู้รกั ษาศาสนสถานดว้ ย นาคเบอื น คือ นาค ๓ เศียร เหมอื นขอบหน้าต่างสองขา้ งตรงทีค่ วรเป็นหางหงส์มักใชก้ ับหน้าตา่ งประตู หรือ ยอดปราสาท ในสมยั รชั กาลท่ี ๑ บนั แถลง คือ สว่ นที่เรยี กวา่ ซุ้มรงั ไก่ ตดิ ต้งั อยูบ่ นยอดมณฑปยอดปราสาทและยอดธรรมาสน์ รูปทรงเป็นจัว่ เล็กๆ สมมตเิ หมอื นปราสาทเล็ก ๆ ประดิษฐานอยูบ่ นเครอ่ื งยอด เชน่ เดียวกับสถาปตั ยกรรมอนิ เดีย บษุ บก เป็นอาคารทรงมณฑปขนาดเล็ก ยอดทรงปราสาท คอื รูปเจดียย์ ่อมุมสบิ สอง จอมแหผายออก เบญจรงค์ คือ สสี ำ�คัญ ๕ สี มดี ังนี้ ขาว ดำ� เหลือง เขียว แดง ถว้ ยชามเบญจรงค์ คอื ถ้วยชามออกแบบเปน็ ลายไทย สง่ ไป ท�ำ ทเี่ มอื งจีน โบสถ์ คอื ทพี่ ระสงฆท์ �ำ สังฆกรรม ทางเหนือมักนยิ มท�ำ ใหโ้ บสถเ์ ล็กกวา่ วหิ าร ผดิ กับทางใต้ และภาคกลางนยิ ม ท�ำ โบสถ์ใหญก่ วา่ ส่ิงกอ่ สร้างอ่นื ๆ ประทกั ษิณ คือ การเวียนขวา มักนิยมท�ำ พระระเบียงไวร้ อบพระอโุ บสถ หรือพระสถปู เจดีย์ ปรางค์พระธาตุ เพ่ือ ใหค้ นทำ�การเดินประทกั ษณิ โดยรอบ เปน็ การแสดงความเคารพแบบหนงึ่ จะมีฐานชัน้ ล่างของปรางค์องค์ใหญ่ มีกำ�แพง แกว้ เตยี้ ๆ เรยี กว่า ฐานประทกั ษณิ ให้คนข้นึ ไปเดินเวียนขวาทำ�ความเคารพโดยรอบ ปรางค์ เปน็ สถาปตั ยกรรมท่ีสรา้ งเลยี นแบบปราสาทขอม แต่สงู กวา่ ยอดสงู เรยี ว เรียกว่า ทรงขา้ วโพด และกลบี ขนุน ไมม่ ีภาพสลกั ประกอบเหมอื นของขอม จะสรา้ งยอดซอ้ นกันหลายช้นั กว่าปรางค์ ปราสาทขอม เป็นพุทธสถาน หรอื เทวาลัยท่ีสรา้ งดว้ ยอิฐหรือหิน เป็นทป่ี ระทับของเทพตา่ ง ๆ ปางประทานพร คือ ใชไ้ ดส้ ำ�หรับพระพทุ ธรูปนั่งและยืน พระกรขวาห้อยลง หนั ฝา่ พระหัตถอ์ อกข้างนอก ถา้ เปน็ พระพทุ ธรูปยืน พระหัตถซ์ ้ายมักยดึ ชายจวี ร สำ�หรับพระพทุ ธรปู นั่ง พระหตั ถซ์ า้ ยมักวางหงายอยู่เหนอื พระเพลา หรอื ยกข้ึนเพ่อื ยดึ ชายจีวร ปางประทานอภยั ใช้ไดท้ ั้งพระพทุ ธรูปยนื และนง่ั พระพทุ ธรูปยนื พระหตั ถ์ซา้ ยมักยึดชายจวี ร หรอื หอ้ ยลงทาง ดา้ นซา้ ยของพระองค์ พระพทุ ธรูปนัง่ พระหัตถ์ซ้ายมกั วางหงายอยเู่ หนอื พระเพลาประทานอภัยดว้ ยพระหัตถข์ วา เรียก วา่ ปางห้ามญาติ และประทานอภยั ด้วยพระหตั ถซ์ า้ ยเรยี กว่า ปางหา้ มพระแกน่ จันทน์ ปางมหาชมพูบดี พระมหาชมพูบดมี อี ทิ ธิฤทธิส์ ูง ไม่เชอ่ื และไม่ยอมรับพระพทุ ธเจา้ พระองค์ทรงจำ�แลงเป็น พระมหาจกั รพรรดเิ หน็ จงึ ยอมรับ เกิดพระพทุ ธรูปทรงเครอื่ งข้ึน เปน็ การทำ�เลยี นแบบเทวรูปแบบพราหมณ์ ทางพุทธ ถือวา่ เป็นปางทรมานทา้ วมหาชมพบู ดี โปลนนารวุ ะ คอื ราชธานีของเกาะลังกา มพี ระเจ้าแผน่ ดนิ ทีส่ �ำ คัญ คอื เทพเจา้ ปรากรมพาหทุ ี่ ๑ มหาราช ใน พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ ทรงฟ้นื ฟูพุทธศาสนาลทั ธิเถรวาทอยา่ งกวา้ งขวาง เรียกว่า พุทธศาสนาลทั ธิลังกาวงศ์ พน สั บดี คอื พาหนะของพระพทุ ธเจ้าตามคติของพทุ ธศาสนาฝา่ ยมหายาน โดยท�ำ เป็นรูปหน้าสตั ว์ประหลาดผสม ระหวา่ งโค ครุฑ หงส์ เปน็ การรวมตัวของสตั วท์ เี่ ปน็ พาหนะของเทพเจ้าทง้ั ๓ ของพราหมณ์ คือ โคเปน็ พาหนะของพระ อิศวร ครุฑพาหนะของพระนารายณ์ และหงส์ของพระพรหม ๒๒๘

พระนารายณ์ คือ เปน็ ผู้รักษาอยู่ดา้ นขวาพระพรหม พระพรหมเป็นผูส้ รา้ งอยู่ตรงกลาง พระอศิ วรหรือพระศวิ ะ ผทู้ �ำ ลายอยูซ่ ้าย พระนารายณ์เปน็ เทพเจ้าสูงสดุ ในศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไวษณพนิกาย มผี วิ คล�ำ ้มี ๔ กร ถอื สงั ข์ จักร คทา และดอกบวั ทรงครฑุ เป็นพาหนะ พระบฏ คอื แผน่ ผ้าที่จิตรกรไทยโบราณเขยี นภาพพระพทุ ธเจา้ ไวบ้ ูชาแทนรปู ประติมากรรม ภาพพระบฏโบราณ มกั เขียนพระพุทธเจ้าประทบั ยืนบนแท่นดอกบวั มีอคั รสาวกยนื พนมมือสองขา้ งพระบฏรุน่ หลังอาจเขียนเรื่องราวพุทธ ประวัติ แบบเดียวกบั จิตรกรรมฝาผนังเป็นฝมี ือชา่ งในสมยั รัตนโกสินทรท์ ัง้ ส้ิน กรรมวิธีในการเขียนภาพพระบฏก็เชน่ เดียว กับภาพบนฝาผนัง คอื ใชส้ ฝี ุน่ ผสมกาวเพยี งแตพ่ ยายามใชส้ ีบาง ๆ เพอื่ สะดวกแกก่ ารม้วนจะได้ไมก่ ะเทาะงา่ ย พระพิมพ์ เรยี กกนั ว่าพระเคร่อื ง ทำ�ขน้ึ เพือ่ ไวส้ ำ�หรบั เคารพบูชา สมัยกอ่ นสนั นิษฐานวา่ ท�ำ ข้นึ เพ่ือระลกึ ในการ เอาดนิ มาจากสังเวชนียสถานท้งั ๔ จากประเทศอินเดีย อันเป็นรปู พระกลบั มาเคารพบูชา ณ บ้านเมืองตน คือ จากสถานที่ ประสตู ิ ตรสั รู้ ปฐมเทศนา และปรินิพพาน พระพฆิ เนศวร คอื เป็นเทพเจ้าแห่งปญั ญา เปน็ เทวดาส�ำ คญั บรรดาช่างและกวีนิพนธ์ ถือวา่ เป็นเทพเจา้ ผ้กู ้าว พ้นความขดั ขอ้ งทั้งปวง บรรดาช่างจึงนับถอื เพราะจะทำ�ใหอ้ ปุ สรรคผ่านพ้นไป จงึ ตอ้ งมเี ทพนใ้ี นพิธกี รรมเสมอ ถา้ ไม่มี พิธกี รรมจะไม่สมบูรณ์ ท่านยงั มีอำ�นาจเหนอื ภตู ิ วิญญาณทง้ั ปวง พระพุทธบาท เป็นสง่ิ ทชี่ าวพุทธศาสนกิ ชนสรา้ งขึน้ เพอ่ื เปน็ พุทธบชู า ระลึกถงึ สมเดจ็ พระบรมศาสดา โดยท�ำ กันในสมัยเมอื่ ยังไมม่ คี ติสรา้ งพระพุทธรูป แม้เมอ่ื มพี ระพุทธรปู กันแล้วก็ยงั ได้สรา้ งสบื กนั มาไม่เปลี่ยนแปลง พระพทุ ธบาท ท่ีงดงามที่สดุ คือ สมยั สุโขทยั พระพทุ ธรปู นาคปรก ตามพุทธประวัติกลา่ วว่าเม่ือพระพทุ ธองค์ทรงตรสั รแู้ ล้วได้ ๓๕ วัน ได้เสดจ็ ไปประทบั อยูภ่ ายใตต้ น้ มจุ ลนิ ท์ (ตน้ จกิ ) ในขณะน้นั มีฝนตกลงมา พญานาคมจุ ลินท์ ซ่งึ อาศัยอยใู่ นสระโบกขรณใี กล้ ๆ จงึ ได้มาขด กายล้อมรอบพระพุทธองค์มใิ ห้พระวรกายต้องฝนอยู่นาน ๗ วนั พระพทุ ธรปู ปางนาคปรก เกิดขึ้นในสมยั อมราวดี ทางทิศ ใต้ของอินเดยี (ราวพุทธศตวรรษท่ี ๘-๙) อาจเป็นไปไดว้ า่ ชนชาตแิ ถบนน้ั นับถืองมู าแต่กอ่ น เม่อื หันมานบั ถอื พทุ ธศาสนา จงึ ได้พยายามรวมเอาความเช่อื ท้งั สองอย่างมาปนกนั จึงเกดิ เปน็ พระพทุ ธรูปนาคปรกขนึ้ พระพรหม เปน็ ผ้สู รา้ งโลกในศาสนาพราหมณ์ ทรงมสี กี ายเป็นสแี ดง ทรงถอื คฑา หรอื ซ้อนหรือลูกประค�ำ หรือ คันศร หรือหม้อน�ำ ม้ นต์ และคัมภรี พ์ ระเวท ชายาคอื พระสรัสวดี เทพีแหง่ ความรู้ ทรงหงส์เป็นพาหนะ พระโพธิสตั ว์ คอื พระพทุ ธเจา้ ก่อนท่ีจะตรสั รู้ โดยเฉพาะในชาดกคอื ชาตปิ างก่อนๆ ของพระองค์ ในสมยั พทุ ธศาสนาลัทธิ มหายาน พระโพธสิ ัตวม์ ีจ�ำ นวนมาก ลว้ นทรงฤทธิอ์ ำ�นาจ คอยปกปกั รักษาค้มุ ครอง และช่วยเหลือผ้ทู นี่ บั ถือศาสนาพุทธ ลัทธิมหายาน และน�ำ พาผทู้ ี่เคารพนบั ถือไปสวรรคพ์ ร้อมกบั พระองค์ พ ระโพธสิ ัตวศ์ รีอารยิ เมตไตรย เปน็ พระโพธสิ ัตว์ทีจ่ ะลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจา้ ในอนาคต อาจทรงเคร่อื ง เป็นนกั บวช (นุง่ ผ้าสน้ั ผืนเดยี วมีเข็มขดั ผา้ คาด) หรอื เหมือนเทวดา มีสถปู หรือเจดีย์อยู่เหนือศริ าภรณ์ พระโพธสิ ตั วอ์ วโลกเิ ตศวร คอื พระโพธสิ ตั วใ์ นพทุ ธศาสนาลทั ธมิ หายานทเ่ี กดิ จากการพระธยานพิ ทุ ธเจา้ อมติ า ภะ ดว้ ยเหตุนัน้ จึงมพี ระอมิตาภะปางสมาธิอย่เู หนอื ศิราภรณ์ พระองค์ทรงได้รับการเคารพนบั ถอื อยา่ งมากมายในพระพทุ ธ ศาสนาลัทธมิ หายานเปน็ ผู้คมุ้ ครองผู้ทีน่ ับถอื ลทั ธนิ ้ี ดงั น้ันจึงมีหลายรูปแบบมีถึง ๑o๘ หลายพระนามเช่น อวโลกิตะ ปัทม ปาณีโลเกศวรโลกนาถมหากรุณาฯลฯพระนาม“อวโลกิเตศวร”แปลได้วา่ “พระผู้มองลงตำ�่ ”หรือ“พระผู้มแี สงสวา่ ง”การ นับถอื จงึ แพรห่ ลายทกุ หนทกุ แห่งของพทุ ธศาสนาลัทธิมหายาน แพรถ่ งึ ประเทศจีนกลายเป็นเพศหญงิ คือ เจ้าแม่กวนอมิ พระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร มี ๒ กร (พระหตั ถ์ขวามกั แสดงปางประทานพร พระหัตถซ์ า้ ยทรงถอื บวั ชมพู (ปทั มะ) ถ้ามี ๔ กร มักทรงถอื ลกู ประค�ำ หนังสอื ดอกบวั และหม้อน�ำ ้มนต์ชายาของพระองค์คอื นางตารา พระมาลยั เปน็ พระสาวกในพระพุทธศาสนาทลี่ งไปเทศนาโปรดสตั วน์ รก และขึ้นสวรรคไ์ ปเทศนาบนสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ เป็นคัมภรี ์ทแ่ี ตง่ ข้นึ ในเกาะลงั กา เพอ่ื สอนถึงบาปบญุ คุณโทษแห่งการกระท�ำ เมือ่ ยงั มชี ีวิตอยู่ ๒๒๙

ประวตั ิและแบบอย่างศิลปะไทย พระวศิ วกรรม คอื เทวดาผู้เปน็ เจา้ แห่งชา่ ง นามน้มี ีมาแลว้ ตัง้ แตส่ มัยพระเวทในคมั ภรี ์ฤคเวท พ ระสรุ ิยะ คือ พระอาทิตย์ เดมิ เป็นเทวดาทสี่ ำ�คญั ท่ีสดุ องคห์ นง่ึ ใน ๓ องค์ ในคมั ภรี พ์ ระเวท คอื พระอัคนี (ไฟ) พระอินทรห์ รอื พระพาย (ลม) และพระสุรยิ ะ(เทพแห่งแสงสว่างและความอบอุน่ ) พระอนิ ทร์ คือ ในคมั ภรี พ์ ระเวท เป็นเทพทีส่ �ำ คญั ทสี่ ดุ ทรงมีผิวกายเปน็ สที องถอื วชั ระในหัตถข์ วา โปรดดม่ื น�ำ ้ โสม (น�ำ ้เมา) เป็นเจ้าแหง่ ฝน ทรงบนั ดาลใหฟ้ ้าร้องและฟ้าผ่า เป็นเจา้ แหง่ สงคราม เปน็ หัวหนา้ เทวดา รักษาทศิ ตะวันออก ประพฤตชิ ่ัวทางด้านการเป็นชู้กบั ภรรยาผู้อื่น ราชธานขี องพระองคช์ ่อื อมราวดที รงช้างเอราวณั เปน็ พาหนะ ในพทุ ธศาสนา พระอนิ ทรท์ รงมผี วิ กายสีเขยี ว ประทับบนสวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์บนยอดเขาพระสุเมรุกลางมนษุ ยโลก เปน็ ประมุขแห่งเทพ ๓๒ องค์ นับถือศาสนาพทุ ธคอยช่วยเหลอื พระพทุ ธเจ้า ราชธานีของพระองคช์ ่อื สุทศั น์ พระอิศวร หรอื พระศิวะ เปน็ เทพองคท์ ี่ ๓ (พระพรหม พระนารายณ์ พระอิศวร) ถือวา่ เปน็ ผูท้ ำ�ลาย เพื่อสร้างข้นึ ใหม่(การเวยี นวา่ ยตายเกดิ )เปน็ เทพบนั ดาลใหเ้ กดิ สง่ิ ดขี นึ้ ในโลกทสี่ ำ�คญั โดยเฉพาะประตมิ ากรรมพระศวิ ะทรงฟอ้ นรำ�หรอื พระศวิ นาฏราช ยกย่องนับถือพระองคเ์ ป็นใหญจ่ ะถอื ว่าการฟอ้ นรำ�ของพระองคอ์ าจบันดาลเหตุดหี รือรา้ ยให้เกดิ แกโ่ ลกได้ ทรงโคเป็นพาหนะ มารวชิ ัย นยิ มเขียนภาพมารวิชยั หรอื มารผจญไวบ้ นผนังด้านหนา้ ของพระอุโบสถ พระพุทธรปู อนั เป็นพระประ ธานในพระอโุ บสถมักนิยมทำ�รูปปางมารวิชัยแทบทงั้ ส้ิน เพราะเปน็ ตอนทีก่ �ำ ลงั ตรสั รู้ อนั เปน็ ปางส�ำ คัญทีส่ ดุ ของพระพุทธ องค์ มณฑป เปน็ อาคารฐานสี่เหลยี่ มมเี ครือ่ งยอดเปน็ ยอดปราสาท รปู ทรงแบบบษุ บกแตเ่ ป็นขนาดใหญ่ หรอื ทรง เจดีย์ยอ่ มมุ สบิ สอง ผายออกและมรี ายละเอียดมาก เช่น ย่อเก็จ และบนั แถลง มณฑปพระพทุ ธบาท คือ ศิลปะสมยั รชั กาลที่ ๑ มเี สานางเรียงรอบ ๔ ดา้ น และมณฑปในวัดพระแก้ว สรา้ งใน สมัยรชั กาลที่ ๔ กเ็ ช่นเดยี วกนั มหายานแปลวา่ ยานอนั กวา้ งใหญส่ ามารถขนผูท้ ่ีนบั ถอื ข้ามหว้ งแหง่ วัฏสงสารไปได้เปน็ จำ�นวนมากในทางศิลปะ ฝ่ายมหายานมีผิดแผกไปจากฝ่ายหนิ ยานคอื ยานอนั คับแคบเช่นมีรูปพระโพธสิ ัตวต์ า่ งๆแทนทีจ่ ะมีรูปพระพุทธเจา้ แต่อยา่ ง เดียว ระเบียง มกั เรยี กกับวดั วา่ พระระเบยี ง ซ่งึ มชี ายคาคลมุ อยู่รอบๆ อุโบสถ วหิ าร หรอื สถปู เจดีย์ เป็นทไ่ี วพ้ ระพุทธ รูปราย และเดินประทกั ษณิ เรอื นแก้ว คอื ลวดลายอันเป็นซ้มุ ประดับพระเศยี รพระพทุ ธรปู ทำ�เปน็ ทรงหลงั คาครอบ เชน่ เรือนแกว้ พระพุทธ ชนิ ราช พิษณโุ ลก เรอื นแก้ว ภาพเขียนในซุม้ ปรางค์ในวัดมหาธาตุ เปน็ ภาพเขยี น เหนอื เรอื นแก้วเปน็ ซ้มุ ตน้ โพธิ์ สมยั อยุธยา ลัทธิเถรวาท ถอื ว่าเปน็ พุทธศาสนาดั้งเดมิ ซ่งึ ตรงตามค�ำ สอนแต่แรกของพระพุทธองค์ นบั ถอื พระศรีศากยมุนี เปน็ พระพุทธเจ้าแต่เพยี งพระองคเ์ ดยี ว ปจั จบุ นั นบั ถอื กันในประเทศศรลี งั กา พมา่ ไทย ลาว กมั พูชา ลายน�ำ ้ทอง เป็นลายรูปทีเ่ ขียนลงบนกระเบ้ืองสตี า่ งๆ แลว้ ทาสีทองตรงส่วนทีไ่ ม่ได้เขียนลาย สว่ นมากเป็นศลิ ปะ ท่ีประดิษฐ์ขึ้นในสมยั รัตนโกสินทรต์ อนตน้ ว ิหาร เดิมเป็นทอี่ ยขู่ องพระสงฆ์ ปจั จุบันเป็นอาคารภายในวดั เปน็ ที่ประดษิ ฐานพระพทุ ธรูปเปน็ สถานท่พี ทุ ธศาส นกิ ชนทำ�บญุ ท�ำ พธิ กี รรมต่างๆ ศ ิวลงึ ค์ คอื องค์ก�ำ เนดิ ของเพศชาย ใชเ้ ปน็ สญั ลกั ษณ์แทนองคพ์ ระอศิ วรหรือพระศวิ ะ หมายถงึ การสร้างสรรค์ ความมัง่ คงั่ ความเจริญรงุ่ เรือง นบั ถือและเคารพโดยท่วั ไป และหมายถงึ ตรีมรู ติ คอื ส่วนสเ่ี หล่ยี มเบอ้ื งล่างเรยี กว่าพรหม ภาค (พระพรหม)สว่ นกลางแปดเหล่ยี มเรยี กวา่ วษิ ณุภาค (พระนารายณ)์ สว่ นยอดรูปทรงกระบอกเรยี กว่ารทุ รภาค (พระ อิศวร) ๒๓๐

สถูป-เจดีย์ สถปู เปน็ สิง่ กอ่ สรา้ งของพระพุทธศาสนา มาจากเนนิ ดินท่ฝี ังศพ ตอ่ มาก่อฐานล้อมรอบเนินดนิ ยก ฐานให้สงู ขึน้ กลายเปน็ ส่วนกลางองคร์ ะฆังสอบเขา้ และเลก็ ลงยอดสงู ข้นึ กลายเป็นเจดีย์ในปัจจบุ นั หมายถึง ส่ิงทคี่ วรแก่ การเคารพสกั การะ สถูปเจดียย์ ่อไม้สิบสอง คอื นบั มมุ ละสาม ๔ มมุ กเ็ ปน็ ๑๒ ปรากฏหลักฐานครั้งแรกในสมัยพระเจา้ ปราสาททอง ดงั เจดยี ท์ ีว่ ัดใหมป่ ระชมุ พล วัดชุมพลนกิ ายาราม วัดไชยวัฒนาราม สนิ เทา คอื เสน้ ขอบก้นั ภาพทปี่ รากฏในจติ รกรรมฝาผนงั เป็นเสน้ หยกั คล้ายพันปลา ลักษณะคลา้ ยนากเรยี กว่า สินเทา สินเทาลกั ษณะโค้งกลมกม็ ี คอื เป็นรูปขมวดคล้ายคล่นื หรือเมฆบดิ เป็นเกลยี ว เขา้ ใจว่า เอาแบบจากจีน ส่วนเส้น สินเทาเป็นหยกั พนั ปลา เป็นของไทยแท้ ส ฝี ุน่ คือ สที ่ีได้จากธรรมชาติเอามาปน่ ให้เป็นผง เชน่ สีแดงคลำ�้ มาจากดนิ แดง สีเหลอื งหม่นมาจากดนิ เหลอื ง สี ขาวมาจากดินขาวหรอื ปนู ขาว เสมา เป็นเครือ่ งหมายปักเขตอโุ บสถ นิยมปกั ไวร้ อบอุโบสถทัง้ ๘ ทิศ ถ้ามีเสมาคู่ ถอื ว่าเปน็ วัดหลวง ถา้ อยหู่ น้า อุโบสถอันเดยี วเรียกเสมาเอก ผู้มาอุปสมบทต้องไหวก้ ่อน โดยสลกั ลวดลายวิจิตรพศิ วง จะต้งั อย่บู นซมุ้ ตั้งอยู่บนกำ�แพง หรอื แทง่ หนิ ธรรมชาติ เสานางเรยี งคอื เสาดา้ นขา้ งของอาคารอโุ บสถและวหิ ารสมยั โบราณรนุ่ อยธุ ยาตอนตน้ ขน้ึ ไปมหี นา้ ทแี่ ทนคนั ทวย รับชายคาปกี นก เช่น วดั หนา้ พระเมรุ เสาองิ คอื เป็นเสาทีก่ อ่ ปนู นนู ออกมาจากผนังโบสถ์ตรงกลางขนาบระหว่างหน้าต่าง เปน็ เสาประดบั เทา่ นน้ั เช่น อุโบสถวดั กุฎีดาว สมัยพระเจ้าท้ายสระ หงส์ คอื ศัพท์เดิมใชเ้ รียกห่านป่า เป็นพาหนะของพระพรหม ในวรรณคดีไทย ถอื วา่ เป็นนกใหญ่ตระกูลสูงมเี สียง ไพเราะ และอา้ งการเดนิ ทงี่ ดงามออ่ นชอ้ ยเทยี บด่งั หงส์ อาณาจกั รฟูนัน คือ เปน็ อาณาจกั รแรกสดุ ที่รู้จักกันบนภาคพนื้ เอเชยี อาคเนย์ไดร้ บั วัฒนธรรมอนิ เดีย ราชธานีอยู่ ทางทศิ ใต้ของกมั พูชา แถบแมน่ �ำ ้โขง พทุ ธศตวรรษที่ ๖-๑๑ รายละเอยี ดในจดหมายเหตุจนี อ ุษณีษะ กะโหลกศีรษะทโ่ี ปร่งนูนกวา่ ปรกติ คอื หนึ่งในสัญลกั ษณข์ องมหาบรุ ษุ สรุปลักษณะพระพุทธรปู สมยั ต่างๆ ลกั ษณะพระพทุ ธรปู สมยั คนั ธาราฐพระพกั ตรแ์ บบหนา้ เทวรปู ของกรกี สว่ นลดั พระวรกายตลอดจนรว้ิ จวี รปรากฏ ตามแบบภาพสลกั ของกรกี กระหมวดมุน่ พระเมาลีไว้เหนอื เศยี รอยา่ งเศียรกษตั รยิ ์แต่ไม่มีศิราภรณ์ เพราะเมือ่ สลักภาพ พระพทุ ธองคใ์ นหมู่สงฆ์ก็จะสงั เกตได้ สมยั ตอ่ มาแก้ไขเป็นพระเกตมุ าลา (รศั มีเปลวอยเู่ หนือพระเศยี รของพระพุทธเจา้ ) ล กั ษณะพระพทุ ธรปู สมยั อมราวดีพระพกั ตรแ์ ละพระวรกายมอี ทิ ธพิ ลกรกี แฝงอยู่ศลิ ปนิ อนิ เดยี ดดั แปลงการครอง จวี รจากวธิ ีหม่ ท้งั องค์เป็นห่มเฉยี ง ปล่อยพาหาเบ้อื งขวาไว้ มีลกั ษณะทางจิตนิยมไมใ่ ชธ่ รรมชาตินยิ ม ล ักษณะพระพุทธรูปสมยั คุปตะ เป็นศิลปะแบบอดุ มคติอย่างสมบรู ณ์ จีวรบางแบบเนอ้ื เพอ่ื ใหเ้ ห็นพระวรกายและ ท่าทางอันงดงาม พระพกั ตร์สงบมสี มาธิ การแสดงออกมคี ณุ คา่ เหนอื กวา่ สกลุ ช่างศลิ ปะอน่ื ใด ลกั ษณะพระพุทธรปู สมยั ทวารวดี พระวรกายกลมกลงึ พระเศยี รมีกะโหลกกวา้ งพระนลาฏแคบพระเนตรโตโปน พระโขนงตอ่ กนั เปน็ รปู ปกี กา พระโอษฐ์กวา้ ง พระนาสิกค่อนข้างแบน พระวรกายอยู่ภายใตจ้ วี รที่แนบเนือ้ ลักษณะพระพทุ ธรปู สมยั ศรีวิชัย พระพกั ตรเ์ ปน็ รูปไขย่ าวมน พระวรกายสูงสะโอดสะอง ประกอบด้วยเสน้ โค้ง มาก พระพาหาแคบ พยายามเนน้ ดว้ ยเสน้ เชน่ พระโขนง พระเนตร พระนาสิก พระโอษฐ์ ๒๓๑

ประวัติและแบบอย่างศลิ ปะไทย ลักษณะพระพุทธรปู สมยั ลพบรุ ีรปู ร่างเต้ียหน้าผากกว้างคางเป็นเหลี่ยมปากแบะริมฝปี ากหนานยิ มพระพุทธรูป นั่งสมาธินาคปรกและนยิ มพระทรงเคร่อื ง ตกแต่งด้วยอาภรณ์ เป็นแบบพระโพธสิ ัตว์ ให้ความรู้สกึ มอี ำ�นาจมากกวา่ ความ หลุดพ้นจากกิเลสตัณหา ลกั ษณะพระพุทธรูปสมยั เชยี งแสน ได้รบั อทิ ธพิ ลจากอนิ เดียใต้ พระวรกายบึกบึน อวบอว้ น กำ�ยำ�ลำ�่ สนั พระพา หากวา้ ง พระอรุ ะนนู พระหัตถ์อูมคลา้ ยมอื เดก็ พระพักตรม์ ีลักษณะกลมอูม พระเนตรโต พระนาสิกค่อนข้างใหญ่ พระโอษฐ์ หนา แสดงความเครง่ ขรมึ มาก พระหนุสองชัน้ พระรัศมเี ปน็ ต่อมกลม เมด็ พระศกเป็นต่อมกลมใหญ่ ไมม่ ีไรพระศก งดงาม ตามลักษณะชาย ลกั ษณะพระพุทธรปู สมัยสโุ ขทัย ทรวดทรงค่อนขา้ งอวบ พระอุระนนู ขึ้นมาก ตน้ พระพาหา อวบกลม พระพักตร์ คล้ายผลมะตูมหรอื รปู ไข่ พระนลาฏกว้างสมสดั สว่ นกับพระปรางค์ บนพระเมาลที �ำ พระเกตุมาลาเปน็ เปลวไฟสงู ขน้ึ ไป พระองั สากว้างดูผง่ึ ผาย พระขนงโกง่ โคง้ พระนาสิกโดง่ และงุม้ พระเนตรเหลอื บลงตำ่� พระโอษฐย์ ม้ิ ละไม พระกรรณยาว ชายสงั ฆาฏยิ าวและท�ำ ปลายเป็นสองแฉกขมวดคลา้ ยเขย้ี วตะขาบ จดั ว่าเปน็ ศลิ ปะท่ีมีอุดมคติสงู สุด ลกั ษณะพระพุทธรูปสมยั อยุธยา เรียกกนั ว่า แบบอทู่ อง มีลกั ษณะผสมผสานระหวา่ งสมยั ทวารวดีและลพบรุ ี รุ่น หลังจึงเป็นแบบอยุธยาโดยตรง พระพักตร์เป็นเหลยี่ ม พระนลาฏกว้าง มีไรพระศก พระเนตรถมึงทงึ พระโอษฐ์แบะแต่ไม่ มากเทา่ ขอม คลา้ ยยม้ิ แสยะ พระหนปุ ้านเปน็ รูปคางคน พระเกตุมาลาท�ำ เป็นต่อมแบบลพบรุ กี ม็ ี เป็นเปลวไฟแบบสุโขทัย กม็ ี เม็ดพระศกละเอยี ด นิยมพระทรงเครอื่ งจนดูรงุ รงั เรยี กวา่ พระทรงเครอ่ื งใหญ่ ชายสงั ฆาฏยิ าว ลักษณะพระพุทธรปู สมยั รัตนโกสินทร์ ในตอนต้นยึดรูปแบบสมัยสโุ ขทยั และสมยั อยธุ ยา นำ�มาผสมผสานกนั สมยั รชั กาลที่ ๔ แก้ไขลกั ษณะพระพทุ ธรูปใหค้ ล้ายมนษุ ย์สามญั ยิ่งข้ึน คือ ไม่มีพระเกตมุ าลา มีจวี รเปน็ ร้วิ แต่พระพุทธรูป แบบนี้ไมเ่ ปน็ ทนี่ ิยมกัน ปางมารวชิ ัยประทบั นง่ั ขดั สมาธิ พระหัตถ์ซ้ายหงายบนพระเพลา พระหตั ถข์ วาคว่�ำ ลงทีพ่ ระชานุ น้วิ ชพ้ี ระธรณี เรยี กเป็นสามัญว่า “พระปางสะดงุ้ มาร” ส�ำ คญั กว่าปางอื่นๆ เพราะแสดงถึงการตรัสรู้ นิยมสรา้ งเปน็ พระ ประธานตามวัด ปางสมาธปิ ระทับน่ังขดั สมาธิ หงายพระหตั ถท์ ัง้ สอง พระหัตถ์ขวาวางซ้อนบนพระหตั ถ์ซ้ายวางอยู่บน พระเพลา เป็นพระบชู าของคนเกดิ วนั พฤหัสบดี และนยิ มสร้างเปน็ พระประธานตามวดั เชน่ เดียวกัน ปางจึงเปน็ ช่อื เรยี ก ลกั ษณะพทุ ธกจิ ของพระพทุ ธปฏิมากรทนี่ ิยมสร้างกนั ความแตกตา่ งของพระเจดีย์ทรงระฆังระหวา่ งสมยั อยธุ ยากับสมัยสโุ ขทัย พระเจดยี ์สมยั อยุธยา มเี สาหานหรือลูกมะหวดคำ�้ยนั ระหวา่ งบัลลังกแ์ ละบวั ฝาละมี (ยกเว้นเจดีย์รายวดั พระศรี สรรเพชญไม่มีเสาหาน) สว่ นพระเจดียส์ มยั สโุ ขทัยไมม่ เี สาหาน บลั ลังก์สมยั อยธุ ยา มคี วามกวา้ งมากกว่า และความสูงน้อยกว่า ๑ แบบ บลั ลังกส์ มยั สโุ ขทัยมีขนาดเล็กกวา่ และสงู กว่าแบบสมยั อยธุ ยา บัลลงั ก์สมยั อยธุ ยามที งั้ แบบ ๔ เหล่ียม ๘ เหล่ยี ม และแบบยอ่ ไม้สิบสอง ส่วนบัลลังก์สุโขทยั มี ๔ เหลยี่ ม อยา่ งเดียว เหมือนแบบศิลปะลังกา มาลัยลกู แกว้ สมยั อยธุ ยา เปน็ บวั แบบครง่ึ วงกลมหรือแบบหวายผา่ ซกี ซ้อนลดหล่นั กนั ๓ ช้ัน (มาลัยเถา) สว่ น มาลัยลกู แก้วสมัยสุโขทัย เปน็ แบบบัวถลาหรือบวั ฝาละมีเถาซอ้ นลดหล่ันกัน ๓ ชัน้ ผังพระเจดียส์ มยั อยุธยา นิยมวางผังเจดีย์ ๕ ยอด มฐี านสูง มีพระเจดียท์ ิศหรอื พระอัคนยี เ์ จดยี ์ตามมมุ ทง้ั ๔ ผิดกับ พระเจดยี ์สมัยสโุ ขทัยนยิ มวางผงั เจดีย์เพียงองค์เดยี ว แตน่ ิยมท�ำ รปู ชา้ งยืนล้อมฐานเจดยี ์ ท่เี รยี กวา่ พระเจดียว์ ัดช้างล้อม และพระเจดยี ว์ ดั ชา้ งรอบ เป็นตน้ ๒๓๒

ค�ำ ราชาศพั ท์ พระ เกตมุ าลา พระรัศมีซ่ึงเปลง่ อยูเ่ หนือพระเศยี รของพระพุทธรูป พระเมาล ี ยอด ผมจกุ มวยผม พระเศยี ร ศรี ษะ เมด็ พระศก ปมุ่ นูนของขมวดผมบนพระเศยี รของพระพุทธรูป พระพกั ตร ์ หนา้ พระนลาฏ หน้าผาก พระขนง คิ้ว พระเนตร ตา พระนาสิก จมกู พระโอษฐ ์ ปาก พระกรรณ หู พระหนุ คาง พระปราง แก้ม แย้มพระสรวล อมย้ิม พระอังสา บา่ พระอุระ อก พระวรกาย ล�ำ ตัว ยอดพระถนั หัวนม พระกร แขน ต้นพระกร ต้นแขน พระหัตถ์ มือ พระองคุลี นว้ิ บนั้ พระองค์ เอว พระนาภี ทอ้ ง พระโสณี สะโพก พระชานุ เข่า พระชงฆ์ หนา้ แขง้ พระบาท เทา้ พระศอ คอ พระแสง เคร่ืองมคี ม อาวุธ พาหุรัด เคร่อื งประดับต้นแขน ทับทรวง เครื่องประดับอก เครื่องราชูปโภค เครือ่ งใช้ พระพาหา ตน้ แขน พระเพลา ตัก พลบั พลา ท่พี กั ชว่ั คราว ๒๓๓

ประวตั ิและแบบอย่างศลิ ปะไทย พระผนวช บวช พระโอรส บตุ รชาย พระบฏ ผ้าที่มรี ูปพระพุทธเจ้า ไรพระเกศา ไรผม โบกขรณี สระน�ำ ้ (มีบัว) พระมาลา หมวก พระอัฐิ กระดกู ๒๓๔

บรรณานกุ รม ธิดา สาระยา. (ศรี) ทวารวดี ประวตั ิศาสตรย์ คุ ต้นของสยามประเทศ. กรงุ เทพฯ : เมืองโบราณ.๒๕๓๘. น.ณ ปากนำ�้ (นามแฝงของ ประยูร อุลชุ าฎะ). ความเขา้ ใจในศิลปะ. กรงุ เทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ.์ ๒๓๔๓. น.ณ ปากนำ�้ (นามแฝงของ ประยูร อุลุชาฎะ). สยามศลิ ปะ จิตรกรรม และสถูปเจดีย์. กรุงเทพฯ : ด่านสทุ ธาการ พมิ พ.์ ๒๕๓๘. น.ณ ปากน�ำ ้ (นามแฝงของ ประยูร อลุ ชุ าฎะ). สมดุ ภาพประวัติศาสตรศ์ ลิ ปะสยามประเทศ ศลิ ปะกอ่ นกรงุ ศรี อยุธยา.กรงุ เทพฯ: เมอื งโบราณ.๒๕๔๑. แ น่งน้อย ศกั ดศิ์ ร,ี หม่อมราชวงศ์. พระบรมมหาราชวังและวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม. กรุงเทพฯ : ริเวอร์ บุ๊ค ๒๕๔๓. โบราณคดีและพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ ๑๑ นครศรธี รรมราช,ส�ำ นัก. โบราณคดีศรีวชิ ยั .นครศรธี รรมราช: เมด็ ทราย. ๒๕๔๓. ประภสั สร์ ชวู ิเชียร. ๕ มหาเจดีย์สยาม. กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพรส.๒๕๕๔. ปญั ญา เทพสงิ ห์. ศิลปะเอเชีย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .๒๕๔๘. พิริยะ ไกรฤกษ.์ ศิลปวัตถุส�ำ คัญในพพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาตหิ ริภญุ ชัย. กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากร.๒๕๒๒. ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรมศัพทศ์ ิลปะองั กฤษ-ไทย. กรงุ เทพฯ : ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว.๒๕๔๑. รงุ่ โรจน์ ธรรมรงุ่ เรอื ง. พระพุทธปฏมิ าสยาม. กรุงเทพฯ : มวิ เซียมเพรส.๒๕๕๓. วบิ ูลย์ ลส้ี ุวรรณ. ๕ นาทีกับศลิ ปะไทย. กรงุ เทพฯ : ปาณยาการพิมพ.์ ๒๕๒๓. ศิลป์พรี ะศร.ี บทความขอ้ เขยี นและงานศลิ ปกรรมของศาสตราจารยศ์ ิลป์พรี ะศร.ี กรงุ เทพฯ:อมรนิ ทร์การพิมพ.์ ๒๕๔๕. ศิลป์ พรี ะศร.ี ศลิ ปวิชาการ. กรงุ เทพฯ : มลู นิธศิ าสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรีอนสุ รณ.์ ๒๕๔๖. ศลิ ปากร,กรม. เคร่ืองถ้วยในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ.์ ๒๕๒๓. สงวน รอดบุญ. ศิลปกรรมไทย. กรงุ เทพฯ : การศาสนา.๒๕๒๙. สุภทั รดศิ ดิศกลุ ,หมอ่ มเจ้า. ศลิ ปะในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ.์ ๒๕๒๒. สภุ ทั รดศิ ดิศกลุ ,หมอ่ มเจา้ . ศลิ ปะอินเดีย. กรุงเทพฯ : องคก์ ารค้าของครุ ุสภา.๒๕๔๕. สภุ ัทรดศิ ดิศกุล,หม่อมเจา้ . ศิลปะสมยั ลพบรุ ี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.๒๕๔๗. สันติ เล็กสุขุม. งานช่าง-คำ�ช่างโบราณ. กรงุ เทพฯ : รุ่งศลิ ป์การพิมพ.์ ๒๕๕๒. สันติ เล็กสุขมุ . งานชา่ งไทยโบราณ. กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ.๒๕๔๘. สันติ เล็กสุขมุ และ กมล ฉายาวฒั นะ. จิตรกรรมฝาผนงั สมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ: เจรญิ วทิ ยก์ ารพมิ พ์.๒๕๒๔. สันติ เล็กสุขุม. ประวตั ศิ าสตรศ์ ิลปะไทย(ฉบบั ยอ่ ). กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.๒๕๕๔. สนั ติ เลก็ สุขุม. ศิลปะภาคเหนือ หริภุญชยั -ล้านนา. กรงุ เทพฯ : เมอื งโบราณ.๒๕๓๘. สนั ติ เล็กสุขมุ . ขอ้ มลู กบั มมุ มองศลิ ปะรตั นโกสินทร.์ กรงุ เทพฯ : ดา่ นสทุ ธาการพมิ พ์.๒๕๔๘. สนั ติ เล็กสุขุม. ศิลปะอยธุ ยา. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.๒๕๔๒. สนั ติ เล็กสขุ ุม. ศิลปะสุโขทยั . กรงุ เทพฯ : เมอื งโบราณ.๒๕๔๙. เสนอ นลิ เดช. ประวัตศิ าสตร์ สถาปตั ยกรรมไทย. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.๒๕๔๑. อภยั นาคคง. ศลิ ปะไทย. กรงุ เทพฯ : สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล วิทยาเขตเพาะช่าง.๒๕๔๓. ๒๓๕

ประวตั แิ ละแบบอย่างศิลปะไทย ประวัติและผลงาน นายสมพร ธรุ ี ภาควชิ าทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี โ ทร. o๘๖-๖๙๗๘๓๒๗ E-mail: [email protected] ประวตั กิ ารศึกษา ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ขนั้ สูง วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอุบลราชธานี ศกึ ษาศาสตรบ์ ัณฑิต (จติ รกรรมสากล) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ศลิ ปมหาบัณฑิต สาขาวิชาประยกุ ตศิลปศึกษา (จิตรกรรม) มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ศ กึ ษาดูงานดา้ นศิลปกรรม อติ าลี ฝรง่ั เศส จีน กมั พชู า ลาว ผลงานทางวิชาการ บทความ เรื่อง ปิกัสโซก่ ับการเปลี่ยนแปลงรปู ทรง ตีพิมพห์ นงั สอื นทิ รรศการศลิ ปกรรม ครงั้ ที่ 6 ณ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย สงขลา บทความเรอ่ื งคนจนี ศลิ ปะจนี มอี ทิ ธพิ ลตอ่ คนไทยศลิ ปะไทยในจงั หวดั สงขลาอยา่ งไรตพี มิ พล์ งในวารสารปารชิ าติ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ บทความ เรื่อง การพฒั นาผลิตภณั ฑเ์ ชอื กกล้วย คูเตา่ จังหวัดสงขลา ตีพิมพ์ลงในวารสารประชุมวชิ าการระดับ ชาติเครือข่ายวจิ ยั อดุ มศึกษาทว่ั ประเทศ ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บทความ เร่อื ง เอกลักษณ์ รูปแบบ สี ของจิตรกรรมฝาผนงั ในจังหวัดสงขลา ตพี มิ พล์ งในวารสารประชุมวิชาการ ระดับชาติ ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บทความ เรอื่ ง ภมู ปิ ญั ญาทักษิณ: เอกลักษณ์ รปู แบบ จิตรกรรมฝาผนังในภาคใต้ (รอบลุม่ ทะเลสาบสงขลา) ตีพมิ พล์ งในวารสารประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น งานวจิ ัย โครงการวจิ ยั พฒั นาผลิตภณั ฑ์เชอื กกลว้ ย คูเตา่ จังหวัดสงขลา งบทนุ อุดหนนุ จาก สกอ.เครือขา่ ยภาคใต้ตอนล่าง มหาวิทยาลัยทักษิณ สงขลา ประจำ�ปี ๒๕๕๑ โครงการวจิ ัยเอกลกั ษณ์ รูปแบบ สี ของจติ รกรรมฝาผนงั ในจงั หวัดภาคใต(้ กรณีศกึ ษาจังหวัดสงขลา) งบทนุ อุด หนนุ จากวิจัยแหง่ ชาติงบประมาณแผน่ ดนิ ประจำ�ปี ๒๕๕๒ โครงการวจิ ัยการสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปกรรมดว้ ยการสร้างมลู คา่ เพิ่มจากวัสดทุ อ้ งถ่นิ งบทนุ อดุ หนุนจากวิจยั แหง่ ชาตงิ บประมาณแผน่ ดนิ ประจำ�ปี ๒๕๕๓ โครงการวิจัยภมู ปิ ญั ญาทกั ษณิ : เอกลกั ษณ์ รูปแบบ จติ รกรรมฝาผนังในภาคใต้(รอบลุ่มทะเลสาบสงขลา) งบ ทนุ อุดหนนุ จากวิจัยแหง่ ชาติงบประมาณแผน่ ดนิ ประจ�ำ ปี ๒๕๕๔ ๒๓๖

เกยี รติประวตั ิ รางวลั ที่ ๒ การประกวดวาดภาพนกปากห่าง เพอ่ื อนรุ กั ษ์วัฒนธรรมไทย ณ วดั ไผล่ อ้ ม จังหวัดปทมุ ธานี รางวลั ชนะเลศิ การประกวดโปสเตอรป์ ระชาสมั พนั ธเ์ ฉลมิ พระเกยี รตพิ ระเจา้ อยหู่ วั ของสำ�นกั งานคณะกรรมการ วฒั นธรรมแห่งชาติ ส�ำ นักงาน ศึกษาธิการ จังหวดั สงขลา รางวลั ชนะเลศิ การประกวดวาดภาพเพอ่ื ประชาสมั พนั ธส์ ง่ เสรมิ เมอื งสงขลาเพอื่ พมิ พเ์ ปน็ ปฏทิ นิ ของบรษิ ทั แมนเอ โฟรสเซนฟดู ส์ จ�ำ กัด สงขลา รางวัลเหรยี ญเงินการประกวดภาพวาดจิตรกรรม จากญ่ปี นุ่ “The awarded art works are displayed” รางวลั เกยี ตบิ ตั รการประกวดวาดภาพสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยณศนู ยก์ ารเรยี นรกู้ ารเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตยที่ ๓ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ สงขลา ทนุ ส่งเสรมิ การผลติ ตำ�ราวชิ าการ”กองทุนหลวงบริบาล คณบดีเจนจติ ร กลุ ฑลบุตร” ประวตั ิการแสดงผลงาน นิทรรศการผลงานศิลปะต้นแบบส�ำ หรบั พมิ พ์บนผา้ พนั คอเร่ือง“ขา้ ว”ณ หอศิลป์และการออกแบบ คณะมณั ฑน ศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร วังท่าพระ กรงุ เทพฯ The award art works are displayed at this Exhibition at Suzuhive Kamaboko Museum Kanagawa Ken Japan. All the art works entered are displayed at this Exhibition at Uoubu Ikebukro Department Store 10th Floor, Toshion – ku. Tokyo Japan. นทิ รรศการศิลปกรรมรว่ มสมัยนานาชาติ ๒๕๕๑ สงขลา ประเทศไทย คร้ังท่ี ๑ ณ แหลมสมหิ ลา เทศบาลนคร สงขลา นทิ รรศการจิตรกรรมไทยแบบประเพณี:อิทธพิ ลจากสมดุ ภาพไตรภมู ิณหอศิลป์สำ�นักงานศลิ ปวฒั นธรรม ร่วมสมัย กระทรวงวฒั นธรรม กรุงเทพมหานคร นทิ รรศการศลิ ปกรรมรว่ มสมยั ไทยมาเลเซยี สงิ คโปร์ครงั้ ท่ี๔ ณสถาบนั วฒั นธรรมศกึ ษากลั ยานวิ ฒั นามหาวทิ ยา ลัยสงขลานครินทรจ์ .ปัตตานี นิทรรศการ “สาธติ ศลิ ปกรรมวาดเส้นอษุ าคเนย์ ครั้งที่ ๓” ณ ศนู ยศ์ ิลปวฒั นธรรม จังหวดั นครปฐม นทิ รรศการศลิ ปกรรมไทย – เวยี ดนาม ณ. พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ หอศลิ ป์ กรงุ เทพฯ นิทรรศการ”แสง” ณ. หอศิลป์ แอด บอง แกลเลอเรีย กรงุ เทพฯ นทิ รรศการกลุ่มหก ครัง้ ท่ี ๑๑ ณ. พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ หอศลิ ป์ กรงุ เทพฯ นทิ รรศการศลิ ปกรรม UNANART UNIVERSITY ณ. ประเทศจีน ประวตั ิการทำ�งาน พ.ศ. ๒๕๔o-๒๕๔๑ อาจารยป์ ระจำ�โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั วไลยอลงกรณ์ ปทุมธานี พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๕๒ อาจารย์ประจ�ำ สาขาจิตรกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย สงขลา พ.ศ. ๒๕๕๒ – ปัจจุบนั อาจารยป์ ระจำ�คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ปทุมธานี ๒๓๗






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook