Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore History and Style of Thai art

History and Style of Thai art

Published by sriwarinmodel, 2021-08-23 16:38:10

Description: History and Style of Thai art

Keywords: History,Style of Thai art,Thai art

Search

Read the Text Version

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย พ ระพมิ พ์เนอ้ื ชิน จากกรุพระปรางค์ วัดราชบรู ณะ เป็นพระพิมพ์ภาพพระพุทธองค์ทรงลลี าภายใน อาคารจ�ำ ลองซงึ่ มหี ลงั คาหรอื ซมุ้ โคง้ เหนอื ซมุ้ มกั มฉี ตั รกน้ั ร ปู แจกนั ดอกไมป้ ระดบั ทโี่ คนเสาของซมุ้ เปน็ ภาพพทุ ธ ประวัตติ อนพระพทุ ธองค์เสด็จลงมาจากสวรรคช์ ั้นดาวดงึ ส์เป็นเหตกุ ารณ์หลังตรสั รใู้ นสัปดาหท์ ี่๓สปั ดาหน์ ั้น พระพทุ ธองคท์ รงจงกลมรอบพระศรมี หาโพธท์ิ ท่ี รงตรสั ร ู้( รตั นจงกลม) ส �ำ หรบั พระพกั ตรเ์ ปน็ รปู ไข่พระอริ ยิ าบถ ลีลาได้สดั ส่วนสมบรู ณ์จงึ เปน็ พระพมิ พใ์ นสมยั พญาลิไท(ภาพที่๕.๘๕) พ ระพิมพ์แบบหนึ่งจากกรเุ จดีย์ในสมัย สุโขทยั เปน็ ทรี่ ้จู ัก คือ พระพิมพท์ ่ามะปราง เนอ้ื ชนิ รปู สามเหลยี่ ม พบในกรุวดั มหาธาตุ จงั หวดั สุโขทยั และ วดั พระส่อี ิริยาบถ จังหวัดก�ำ แพงเพชร เครอื่ งสงั คโลก เปน็ งานศลิ ปกรรม ที่สรา้ งขึ้นอยา่ งประณตี บรรจงจนเป็นอุตสาหกรรมท่ีนิยมกันอยา่ ง กวา้ งขวาง คือ เครือ่ งปัน้ ดนิ เผาชนิดเคลอื บแบบเคร่อื งสงั คโลก ทำ�ขน้ึ คร้งั แรกในประเทศจนี สมัยราชวงศ์ฮ่นั (พ.ศ. ๓๓๗-๗๖๓) ตอ่ มาได้ววิ ัฒนาการจนถงึ ราชวงศ์ถงั และราชวงศซ์ ้อง (พ.ศ. ๑๑๖๑-๑๘๒๒) การผลติ ยงั เปน็ ทถี่ กเถยี งวา่ ชา่ งมาจากเมอื งจนี หรอื ชา่ งจนี ทอี่ ยใู่ นเมอื งไทยผลติ ขน้ึ หรอื ผลงานของคนไทยเองแตท่ แ่ี นน่ อน คือการรบั เอาวิทยาการการเคลือบจากจีน แตม่ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ออกแบบรปู ลักษณะให้มคี วามงดงามตาม รสนยิ มของศลิ ปะแบบไทยจงึ มคี วามแตกตา่ งจากของจนี กลายเปน็ ทนี่ ยิ มของตลาดตา่ งประเทศและเปน็ คแู่ ขง่ กบั จนี เ ครือ่ งปัน้ ดินเผาชนิดเคลือบ ผลติ จากดินท่มี ีคณุ ภาพดเี ลศิ เมอ่ื เผากับไฟแรงสูง จึงมคี วามคงทนแขง็ แรง ประกอบกบั เทคนิคการเคลอื บนำ�้ยาจบั ผิวใหแ้ นน่ ท�ำ ใหผ้ วิ มีความสดใสเป็นเงางาม เปน็ สีเอกรงคท์ ่นี ยิ ม คือ สีเขยี วอมฟ้า เรยี กวา่ สเี ขียวไข่กา หรือเซลาดอน ลวดลายเปน็ สีด�ำ หรือน�ำ ้หนักสคี อ่ นข้างแก่ ซ่ึงเป็นสเี ดยี ว กับภาชนะ แจกันบางโพมพี น้ื เป็นสีขาวและเขียนลวดลายเปน็ สดี ำ� แต่ตามปกติสขี าว (ซ่งึ มกั จะแกมเหลอื ง หม่นๆ) ใชเ้ คลือบงานประติมากรรมประเภทตกแตง่ เชน่ ตวั มกร สงิ ห์ ยักษม์ าร และอนื่ ๆ ลายเส้นท่ีเขยี น ลวดลายลงไปจะเปน็ สีด�ำ หรอื สนี �ำ ต้ าล สเี คลือบคือ สดี นิ เหลืองหม่น บางคร้งั กด็ ูลายเส้นตื้นๆ ลงไปบนผิว ของเครอ่ื งปั้นดนิ เผาแทนลวดลายดูคล้ายกบั เครือ่ งปน้ั ดินเผาของจีนสมยั ราชวงศซ์ อ้ ง (ศลิ ป์ พรี ะศร,ี ๒๕o๕ : ๓๙) ในอาณาจกั รสโุ ขทยั มชี อ่ื เสยี งดา้ นเครอื่ งสงั คโลกสง่ ออกทญี่ ป่ี นุ่ ฟลิ ปิ ปนิ ส์อนิ โดนเี ซยี และเกาะบอรเ์ นยี ว ทำ�มาตง้ั แตศ่ ตวรรษที่ ๒๒ แตก่ ม็ ีปัญหาในการขนสง่ เน่ืองจากสโุ ขทัยไม่ติดกับทะเลจึงเสียคา่ ภาษีแพง และ อาณาจกั รอยธุ ยาขยายอ�ำ นาจครอบคลมุ อาณาจกั รสโุ ขทยั และสงครามไทยกบั พมา่ บอ่ ยครงั้ ท�ำ ใหเ้ ปน็ อปุ สรรค ในการค้าขายของเคร่อื งสงั คโลก และมตี ุ๊กตา และของท่เี กยี่ วกับพทุ ธศาสนา เชน่ เศียรนาค และทวารบาล ใช้ ตกแต่งโบสถ์วหิ าร และได้คน้ พบเรือสนิ ค้าหลายล�ำ จมอยนู่ อกฝง่ั ตะวันออกของประเทศไทย มีเคร่ืองสังคโลก กบั เคร่อื งลายครามสมัยราชวงศ์เหมง็ ของจนี (พ.ศ. ๑๙๑๑-๒๑๘๗) อยเู่ ต็ม จงึ เชื่อวา่ อาจท�ำ ใหเ้ ครอ่ื งสงั คโลก ลงมาจนถึงตน้ พุทธศตวรรษที่ ๒๒ แ หล่งผลติ เครอ่ื งปั้นดินเผา มี ๓ แหง่ ท่แี ตกต่างและมสี ีเอกลักษณ์ ดังน้ี เ ตาทเุ รียง อย่บู รเิ วณรมิ แมน่ ำ�้โจน ใกลว้ ัดศรีชมุ อ. เมืองสโุ ขทัย นยิ มผลติ ถว้ ยโถโอชาม (ลวดลาย ดอกไม้ ใบไม้ ลายจกั ร และลายปลา) เ ตาปา่ ยาง ใกลเ้ มอื งเก่าศรีสัชนาลัย อ.สวรรคโลก จะผลิตถว้ ยชามโถ กานำ�้ ผอบ ทส่ี วยงาม และมี คุณภาพ และผลติ เครอื่ งประดบั สถาปัตยกรรมมขี นาดใหญ่ เช่น ยกั ษ์ สิงห์ มกร บราลี กระเบ้ืองมุงหลังคา เป็นตน้ โดยนยิ มเขยี นลวดลายสีด�ำ ลงบนพืน้ สขี าวนวล ๑๔๖

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัตศิ าสตรไ์ ทย เตาเกาะนอ้ ยอยู่บริเวณรมิ แมน่ �ำ ้ยมต.เกาะนอ้ ยอ.สวรรคโลกผลติ เครือ่ งถ้วยสีนำ�้เรยี กว่า“ชะเลียง” และพฒั นาเป็นเซลาดอนประเภทจาน ชาม จานเชิง ขวด กระปุก และแจกนั เปน็ ต้น มคี ณุ ภาพดีสวยงาม เขยี น ลวดลายดว้ ยสดี �ำ หรอื สีนำ�้ตาล ทข่ี ูดขีดเปน็ ลวดลายทนี่ ิยมเรยี กกันอีกอย่างคือ เคลอื บดว้ ยสเี ขยี วไขก่ า สเี ขยี ว อมเหลืองสขี าวสีขาวหม่นสีน�ำ ต้ าลสีฟ้ากม็ ีบา้ งลวดลายทน่ี ยิ มท�ำ คอื ลายภาพปลาภาพจกั รหรอื พระอาทิตย์ ภาพดอกไมต้ ่างๆ รวมทง้ั ลายพันธพุ์ ฤกษา เปน็ ต้น (ภาพที่ ๕.๘๖) แหล่งผลิตเครอ่ื งสงั คโลกที่สำ�คญั อ�ำ เภอ ศรีสชั นาลัย คอื เตาเกาะน้อย และเตาป่ายาง ภาพท่ี ๕.๘๖ จานสงั คโลก อ�ำ เภอศรีสชั นาลยั ภาพท่ี ๕.๘๗ เครือ่ งสงั คโลก ศลิ ปะสโุ ขทัย ภาพที่ ๕.๘๘ ต๊กุ ตาสังคโลก สูงประมาณ ๑o-๓o ซม. ศิลปะสุโขทัย พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ -๒o พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร ๑๔๗

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ต ุ๊กตาสงั คโลกมีท่เี รียกว่า ตุ๊กตาเสียกบาล คงเกิดจากทเ่ี ขา้ ใจกันวา่ เจตนาหักคอเพ่ือใชเ้ ซน่ ไหวผ้ ี แต่ อธิบายอย่างอนื่ ได้อีกวา่ สว่ นท่เี ปราะบางท่สี ุดของประติมากรรม คือ ส่วนคอไมว่ ่าจะขนาดเล็ก เช่น ตกุ๊ ตาท่ี กลา่ วถงึ หรอื ขนาดใหญ่ เช่น พระพทุ ธรปู หรอื รูปใดๆ ก็ตาม เชน่ รูปยกั ษ์ ทวารบาล ดงั น้ันตุก๊ ตาท่คี อหักจึง อาจไมใ่ ช่เพราะถกู หักคอเพือ่ ใช้ในพธิ ีเซ่นไหว้ แต่หกั เองจากการกระทบกระแทกใดๆ โดยไม่เจตนา (สนั ติ เลก็ สขุ มุ ,๒๕๕๔:๑๑๙) (ภาพท่ี ๕.๘๘) ภาพท่ี ๕.๘๙ ลายดอกไม้ ชิ้นส่วนของ สงั คโลก และตกุ๊ ตาสงั คโลก ศิลปะสโุ ขทยั การป้ายหรือตวดั พู่กันของกลมุ่ ชา่ งเตาเกาะนอ้ ย คลา้ ยๆ กบั การใชพ้ ่กู ันของช่างจีน ลวดลายทเี่ ขียน เช่น ภาพดอกไม้ ดอกโบตนั๋ ดอกบวั และลายคดโค้ง ลายลูกคลืน่ กน็ ิยมใช้ในงานประดับเครอื่ งถว้ ยของจนี (ภาพที่ ๕.๘๙) ภาพที่ ๕.๙o หัวมงั กรสังคโลก สงู ประมาณ ๑.๑o เมตร ศลิ ปะสุโขทยั พุทธศตวรรษท่ี ๒o พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ กำ�แพงเพชร มังกรสงั คโลกคงปรับปรงุ จากพญานาคโดยเพ่ิมขา ใชป้ ระดับมมุ ชายคามุมลา่ งของจั่ว คอื ตวั อย่าง ของการผสมงานป้ัน งานวาดและกรรมวธิ ใี นการเผาเคลอื บ กล่าวคอื นอกจากขนั้ ตอนของน�ำ ้ยาเคลอื บและ กรรมวิธีการเผาแล้ว รปู มงั กรทเ่ี กิดจากกรรมวธิ ที างประตมิ ากรรม งานเขยี นลวดลายประดับ คือ จติ รกรรม วธิ กี ารทางช่างทผี่ สมผสานกันน้ี จึงมีแง่มุมท่ีนา่ ศึกษา (สันติ เลก็ สขุ มุ ,๒๕๕๔:๑๑๘) ๑๔๘

บทที่ ๕ : สมัยประวตั ิศาสตรไ์ ทย สรุปศลิ ปะสุโขทยั ร าชธานีสุโขทยั เรมิ่ สถาปนาราชธานีราว พ.ศ. ๑๗๘o โดยมีผนู้ �ำ ๒ คน คอื พ่อขนุ บางกลางหาว และพอ่ ขุนผาเมือง (พ่อขนุ ศรอี ินทราทติ ย)์ ต่อมาในสมัยพ่อขุนรามค�ำ แหง ถอื เป็นยุคทองและมกี ารประดิษฐ์ อกั ษรไทยข้นึ สุโขทยั เรมิ่ อ่อนแอลงในสมัยพระยาลิไท (ผู้ทรงนิพนธ์ ไตรภมู ิพระร่วง) สดุ ทา้ ย สุโขทยั กต็ กอยู่ ใตอ้ ำ�นาจของอยธุ ยา พ.ศ. ๑๙๘๑ ราชธานมี ีเมอื งคูแ่ ฝดคือ ศรสี ชั นาลัย คติความเชือ่ ในงานศลิ ปะสุโขทัย มีแนวคิดทางพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ลังกาวงศ์ ของราชธานี สุโขทยั ท่สี ะท้อนความงามอันเรยี บงา่ ย สงบ สมถะ ส ถาปัตยกรรม ได้แก่ โบสถ์วิหาร นยิ มสร้างเป็นอาคารโถง วิหารมีขนาดใหญก่ ว่า โบสถ์เสากลม หลังคาซ้อนกนั หลายช้ัน มงุ ดว้ ยกระเบ้อื งเคลือบแบบสงั คโลก รปู แบบเจดีย์ ๑ . เจดียส์ ุโขทยั แท้ ไดแ้ ก่ ทรงพุม่ ขา้ วบิณฑ์ ยอดดอกบัวตูม เจดยี ว์ ดั มหาธาตุ และวัดเจดยี ์เจด็ แถว ๒ .เจดีย์ทรงกลมแบบลังกา เจดีย์ประธานช้างลอ้ ม ๓. เจดยี ์ทรงปราสาทหรือแบบศรีวชิ ัย วัดเจดยี เ์ จด็ แถว และเจดียท์ รงวิมาน ป รางค์ อิทธพิ ลขอม เปน็ ทรงฝกั ข้าวโพด ฐานสูง ไดแ้ ก่ วดั ศรสี วาย ม ณฑป ทรงสเี่ หลี่ยม วดั ศรีชมุ สถาปัตยกรรมทีส่ �ำ คญั ได้แก่ ศาลตาผาแดง วดั พระพายหลวง วดั ศรีสวาย วดั มหาธาตุ วดั ศรชี มุ วดั เจดียเ์ จ็ดแถว วดั ชา้ งลอ้ ม วดั ช้างรอบ วัดพระแกว้ ๓. ศลิ ปะอ่ทู อง (ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๘-๒o) ส มยั อทู่ องหรอื อโยธยา ใ นขณะทเี่ กดิ มศี ลิ ปะเชยี งแสนขน้ึ ทางภาคเหนอื สดุ ของประเทศไทยและศลิ ปะ สุโขทัยทางภาคเหนอื ทางภาคกลางของประเทศไทยก็เกดิ มีศิลปะแบบหน่ึงขึน้ คือศิลปะแบบอูท่ อง ดังที่ได้ เคยกล่าวถึงว่า ดินแดนทางภาคกลางของประเทศไทยนนั่ เคยเป็นทีต่ ั้งของอาณาจกั รทวารวดี และตอ่ มาก็ถกู เข้าครอบครอง ศลิ ปะแบบอทู่ องจึงเป็นศลิ ปะที่มีอิทธิพลจากท่ตี ่างๆ มาผสมกนั คอื ลพบรุ ี ทวารวดี และส่ง อิทธิพลในศลิ ปะสุโขทัยด้วย ศลิ ปะอทู่ อง เปน็ รูปแบบของศิลปะไทยยคุ แรกๆ ในระหว่างพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕-๑๗ ทเี่ รม่ิ เป็นตวั ของ ตัวเอง โดยสลดั อทิ ธพิ ลจากอินเดีย แต่ยังคงไดร้ บั อิทธพิ ลครอบง�ำ อย่างเต็มที่ จากศิลปะขอมแบบอาณาจักร นครหลวงด้วย (ในพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๘ อาณาจักรขอมมีความรงุ่ โรจนอ์ ยา่ งสดุ ขีด จึงเป็นศูนยก์ ลาง ที่ส่ง อิทธิพลไปยังนครต่างๆ ท่ใี กล้เคยี งจนท่ัว ท�ำ นองเดยี วกนั กบั ศิลปะอินเดีย ในยคุ รุ่งเรอื งของราชวงศ์ปลั ลวะ และปาละ ท่ีสง่ อิทธพิ ลข้ามน�ำ ้ขา้ มทะเล มาจนถงึ แหลมอินโดจนี ) จงึ ทำ�ใหศ้ ิลปะอู่ทองและศลิ ปะลพบุรีรุน่ แรกๆ มีลกั ษณะใกล้เคยี งไปทางขอมมากกวา่ ชาตอิ น่ื ศิลปะอ่ทู อง จะมีอายุเกา่ แกก่ ่อนการต้ัง “กรงุ ศรีอยุธยา เป็นราชธาน”ี สมเดจ็ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพทรงสนั นษิ ฐานวา่ “เมอื งอโยธยา”อาจตงั้ อยหู่ นา้ บรเิ วณสถานรี ถไฟ อยธุ ยา หรือแถวบรเิ วณถนนอโยธยาในปจั จบุ นั ซ่ึงมวี ดั วาอารามทส่ี ำ�คญั หลายวดั เช่น วดั อโยธยา (วัดเดิม) ๑๔๙

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย วัดสมณโกษธาราม วดั กุฎดี าว วดั มเหยงคณ์ วดั ช้าง วัดเสล่ยี ง วัดนางคำ� วดั สามปลืม้ วัดใหญ่ชยั มงคล (วดั เจา้ แกว้ เจา้ ไท) วดั พนญั เชงิ เปน็ ต้น มีนกั โบราณคดี บางทา่ นมคี วามเหน็ ว่า “อโยธยา” นา่ จะตั้งอยู่ตรงเกาะ เมืองอยุธยา โดยสนั นิษฐานว่า มีวัดเกา่ แก่ มาสร้างก่อนกรุงศรีอยุธยาอย่หู ลายแหง่ เชน่ วดั พนญั เชงิ วัดขนุ เมืองใจ วดั มหาธาตุ และวัดอืน่ ๆ เปน็ ต้น ภาพที่ ๕.๙๑ แผนทขี่ องอาณาจักรอู่ทองหรืออโยธยา พระพทุ ธรูปแบบอู่ทอง อาจแบ่งไดเ้ ปน็ ๓ แบบ คือ แบบที่ ๑ มีอิทธิพลของศิลปะทวารวดีและขอมผสมกนั แบบนี้เปน็ แบบแรกและมอี ยูน่ ้อยอาจเกดิ ขนึ้ ระหว่างพทุ ธศตวรรษที่๑๗–๑๘พบที่เขตเมอื งสวรรคบรุ ีจังหวดั ชยั นาทพระรัศมีมักเป็นรูปดอกบวั ตูมเคร่ือง แต่งพระพักตร์และจีวรยังคงคล้ายแบบทวารวดีอยู่ แต่พระพักตรก์ เ็ ปน็ สีเ่ หลี่ยมตามแบบขอมและมีไรพระศก พระนลาฏกวา้ ง ครองจวี ร ชายจวี รเป็นแผน่ ยาวปลายตดั ประทบั น่งั สมาธริ าบ พระหตั ถแ์ สดงปางมารวชิ ัย สำ�หรบั พระพุทธรูปศลิ าบางครั้งก็สลักพระหตั ถต์ า่ งหาก แล้วนำ�มาตดิ ตอ่ เตมิ เขา้ ภายหลงั ตามแบบทวารวดี สรปุ รปู แบบอทิ ธพิ ลลพบรุ ีม พี ระพกั ตรร์ ปู เหลย่ี มคลา้ ยพระพทุ ธรปู สมยั ลพบรุ ีพระหนเุ ปน็ ลอนเหมอื น มนษุ ย์(คางคนแก)่ ความรสู้ กึ ของพระพกั ตรค์ อ่ นขา้ งเครง่ ขรมึ มไี รพระศกเมด็ พระศกเลก็ บางแบบมนุ่ พระเกศา และพระมาลาเปน็ แบบฝาชี สงั ฆาฏิมีขนาดเลก็ กว่าแบบลพบรุ ี ปลายสงั ฆาฏิตดั เป็นเสน้ ตรง ลักษณะการวาง พระหัตถ์ขวาบนพระเพลาทรงช้ีพระแม่ธรณเี ปน็ พยานเกอื บเปน็ แนวเสน้ ตรง หนา้ ตักค่อนขา้ งแคบเช่นเดียว กบั พระพาหา (ภาพที่ ๕.๙๒) ๑๕๐

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ภาพท่ี ๕.๙๒ พระพุทธรูปยืน ศิลาสูง ๑.๔๘ ม.ได้มาจากวดั กุฎี จงั หวัดปราจีนบรุ ี ศลิ ปะอทู่ องรุน่ ท่ี ๑ บ างแบบมีลกั ษณะทเ่ี รียกว่า มลี กั ษณะคลา้ ยรปู แบบศลิ ปะแบบลพบรุ ี คือ พระพักตร์รปู เหล่ยี มพระ ขนงตอ่ กันคลา้ ยรปู ปกี กา พระโอษฐห์ นา พระนลาฏคอ่ นข้างกว้าง มีไรพระศก เม็ดพระศกเล็ก รศั มีดอกบวั ตมู ประทับน่ังสมาธิราบ พระเนตรหรี่ลงตำ�่ หงายฝา่ พระบาทขา้ งเดยี วแสดงปางมารวิชัย สบื เน่ืองจากวฒั นธรรม ขอม (ภาพท่ี ๕.๙๓) แบบท่ี ๒ มีอทิ ธิพลของศิลปะขอมหรือลพบรุ มี ากยงิ่ ขนึ้ พระรัศมีบนพระเกตมุ าลาหรือเมาลีเป็นเปลว แบบน้ีคงเกดิ ขึ้นหลงั แบบแรก และมอี ายุระหวา่ งพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ภาพที่ ๕.๙๓ พระพุทธรปู แบบอทู่ องรุ่นท่ี ๑ ส�ำ ริด สูง ๔๙ ซม. พบทีอ่ ำ�เภอสวรรคบรุ ี จังหวดั ชยั นาท ศิลปะอ่ทู องรุ่นที่ ๑ ตน้ พุทธศตวรรษที่ ๑๙ พพิ ธิ ภัณฑ สถานแห่งชาติ พระนคร ๑๕๑

ประวัตแิ ละแบบอย่างศิลปะไทย พระพุทธรปู ปางมารวชิ ัย มลี กั ษณะพระนลาฏกวา้ ง มีไรพระศก พระขนง ยงั มีเคา้ รูปปกี กา ชายจวี รปลายตดั พระอิริยาบถและ ปางทชี่ วนใหน้ กึ ถงึ ความสงบนง่ิ เกดิ จากฝมี อื ชา่ งทกี่ �ำ หนดสดั สว่ นของพระสรรี ะจงั หวะและทที า่ ของพระพกั ตร์ ซ่งึ รวมท้ังท่าวางพระหัตถท์ ง้ั สองดา้ น (สนั ติ เลก็ สุขมุ ,๒๕๕๔:๑๑๕) (ภาพที่ ๕.๙๔) ภาพที่ ๕.๙๔ พระพุทธรปู ปางมารวชิ ัย ส�ำ ริด สงู ๗๒ ซ.ม. ศิลปะอ่ทู องร่นุ ท่ี ๒ จากวดั เสาธงทอง ลพบุรี พุทธศตวรรษท่ี ๑๙-๒o พพิ ธิ ภณั ฑสถาณแห่งชาติ พระนคร เศยี รพระพุทธรปู ลักษณะพระพกั ตร์รูปเหลีย่ ม พระนลาฏมีขอบไรพระศก พระขนงรปู ปีกกา แม้พระรศั มหี ักหายไป แต่ คงเปน็ รูปเปลว อาจคาบเก่ียวในระยะแรกของการสถาปนาราชธานีแลว้ (ภาพท่ี ๕.๙๕) แบบท่ี ๓ มอี ทิ ธิพลของศิลปะสโุ ขทยั เข้ามาปะปนอยมู่ าก แต่ลกั ษณะของแบบอู่ทอง คอื มีไรพระศก และฐานเป็นหนา้ กระดานแอน่ เปน็ รอ่ งเขา้ ข้างในยงั คงอยู่ ไมม่ ีประดบั กลีบบวั แบบน้คี งเกิดข้ึนระหวา่ งพทุ ธ ศตวรรษท่ี๑๙–๒oไดค้ ้นพบเป็นจ�ำ นวนมากในกรุพระปรางคว์ ัดราชบูรณะจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ส มเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๒ (เจ้าสามพระยา) ทรงสร้างไวเ้ ม่ือปี พ.ศ.๑๙๖๗ ลกั ษณะท่ยี ังเด่นชัดสบื เนอ่ื งจาก พระพทุ ธรปู แบบอู่ทองรนุ่ ที่ ๒ คือ มไี รพระศก พระวรกายบางเพรียวกวา่ เดิม ฐานเรียบ (ปทั มาสน์) ลกั ษณะท่ี เพิ่มขนึ้ ไดร้ ับอทิ ธพิ ลสุโขทยั (ภาพท่ี ๕.๙๖) ภาพที่ ๕.๙๕ เศียรพระพทุ ธรปู แบบอทู่ องรนุ่ ท่ี ๒ สำ�รดิ วัดธรรมกิ ราช กอ่ นอยุธยา ๑๕๒

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัติศาสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๙๖ พระพทุ ธรปู ปางมารวิชยั ส�ำ ริด สงู ๕๕ ซ.ม. ศลิ ปะอทู่ องรุ่นที่ ๓ พบภายในกรุปรางค์ วดั ราชบรู ณะ พระนครศรีอยุธยา พุทธศตวรรษท่ี ๒o สรปุ รปู แบบอทิ ธพิ ลสุโขทัย มอี ทิ ธพิ ลศิลปะสโุ ขทยั มากข้ึน อทิ ธพิ ลเขมรเรมิ่ หายไป พระพกั ตร์เปน็ รูปไข่คอ่ นขา้ งยาว รูปทรงพระเศยี รแฟบเล็กกวา่ แบบอิทธพิ ลลพบุรี ความรสู้ กึ พระพกั ตร์นมุ่ นวลกวา่ แบบแรก มไี รพระศก เม็ดพระศกเลก็ พระเกตุมาลาเปน็ เปลวคอ่ นข้างใหญ่ และอ่อนไหวขึน้ พระพาหาเล็ก ล�ำ พระกาย คอ่ นขา้ งเลก็ สงั ฆาฏิยาวจรดพระนาภีแบบสโุ ขทัยปลายสังฆาฏิเปน็ แฉกเขยี้ วตะขาบปางมารวิชยั นง่ั ขัดสมาธิ ราบ หน้าตักแคบกวา่ แบบอนื่ ๆ สดั สว่ นไม่สู้งาม ฐานมีลกั ษณะเหมือนอทิ ธิพลลพบรุ ี พระพุทธรูปอทู่ อง นยิ มหลอ่ ด้วยส�ำ รดิ ท้ังขนาดใหญแ่ ละขนาดเล็ก เชน่ พระปฏมิ าปนู ปั้นขนาดใหญ่ ประดษิ ฐานในพระวหิ าร “วัดพนัญเชงิ ” (พระพทุ ธรตั นไตรนายก) อยธุ ยา ถอื วา่ สร้างก่อนกรงุ ศรีอยธุ ยาถึง ๒๖ ปี เป็นพุทธลกั ษณะสกุลช่างอทู่ อง พระพทุ ธประธานปนู ป้นั ขนาดใหญ่อกี องค์หน่ึง ประดษิ ฐานอย่ใู น พระวหิ าร “วัดป่าเลไลย์” จ.สพุ รรณบุรี ประทบั นัง่ หอ้ ยพระบาท มลี ักษณะพระพกั ตรแ์ บบสกุลช่างอูท่ อง นา่ จะเป็นฝมี อื ชา่ งสุพรรณบุรี แตเ่ ดิมและบรู ณะในสมัยกรงุ ศรีอยุธยาและสมัยรตั นโกสนิ ทร์ และพระพุทธ รูปหินทรายที่สุพรรณบุรี มพี ทุ ธลักษณะไม่แตกต่างกบั กรุงศรอี ยธุ ยาและวดั อื่นๆ จะเหน็ ได้จากพระพทุ ธรูป ขนาดใหญ่น้อย ปางมารวชิ ยั ทว่ี ดั พระรปู วัดสนามชัย วัดพระลอย และวดั อน่ื ๆ จะมลี ักษณะพเิ ศษของแบบ สพุ รรณบรุ ี เชน่ พระพุทธรูปทรายแดง (หลวงพ่อทรายแดง) ท่ีวดั มเหยงคณ์ (หน้าตกั กวา้ ง ๒.๑๕ เมตร) มี ลกั ษณะพระพกั ตรแ์ ตกต่างกบั แบบอยุธยา - ๑๕๓

ประวตั ิและแบบอย่างศลิ ปะไทย ภาพที่ ๕.๙๗ พระพุทธรัตนไตรนายก อยู่ท่วี ดั พนญั เชงิ ศิลปะสกุลช่างอ่ทู อง ภาพที่ ๕.๙๘ พระพทุ ธรูปอทู่ องร่นุ ที่ ๓ หนิ ทราย วดั มหาธาตุ ศลิ ปะอยธุ ยาตอนตน้ พระพทุ ธรูปอทู่ องร่นุ ท่ี ๓ มีภาพรวม คอื ส่วนใหญ่จะมีขนาดใหญ่ ประดษิ ฐานทางทิศตะวันตกของ ปรางค์มหาธาตุ วัดมหาธาตุองคห์ นง่ึ ประทับนัง่ ขัดสมาธริ าบบนฐานปทั มาสน์ พระพักตรร์ ูปไข่ พระขนงโก่ง ไมม่ ไี รพระศก รศั มีเป็นรูปเปลว นอกจากพระพกั ตรร์ ูปไขแ่ บบอทู่ องรุ่นท่ี ๓ แล้วพระพกั ตร์ค่อนขา้ งกว้างมน ที่เกดิ จากลกั ษณะเหลย่ี มผสมรปู ไข่ เป็นสนุ ทรยี ภาพของพระพักตร์ทส่ี ืบทอดในยคุ ต่อมา เกดิ จากการผสมกนั ระหว่างรปู เหลยี่ มจากอทิ ธพิ ลของศลิ ปะขอม และรูปไขม่ ีอทิ ธพิ ลศิลปะสโุ ขทัยกลายเปน็ ลกั ษณะโคง้ มน ท่ีมี ลกั ษณะเปล่ียนไปจากเดิม (ภาพท่ี ๕.๙๘) สรปุ ลักษณะของพระพทุ ธรปู แบบอทู่ อง กค็ อื มีไรพระศก ชายจีวรหรือสงั ฆาฏิยาว ปลายตดั เปน็ เส้น ตรง ประทบั นั่งขดั สมาธิราบ ปางมารวิชัย และฐานซง่ึ เรียกว่าฐานหนา้ กระดานแอน่ เป็นร่องเขา้ ขา้ งใน ส�ำ หรับ รัศมีเป็นเปลวเหนือเศยี รพระพุทธรูปในประเทศไทยอาจเรม่ิ เกดิ ขึน้ ในศลิ ปะอทู่ องแบบที่ ๒ (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ – ๑๙) น้กี ไ็ ด้ ถ้าเปน็ จรงิ กอ็ าจหมายความว่าศลิ ปะอทู่ องแบบท่ี ๒ ใหอ้ ิทธิพลรศั มเี ป็นเปลวแก่ศลิ ปะ สโุ ขทยั (พุทธศตวรรษท่ี ๑๙ -๒o) และศิลปะสโุ ขทัยให้อทิ ธพิ ลแกพ่ ระพทุ ธรูปลงั การุ่นหลงั อกี ตอ่ หน่งึ ส ถาปตั ยกรรมสมัยอทู่ อง อาจสงเคราะหเ์ อาพระมหาธาตุ จังหวัดชยั นาท ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นถึงอิทธพิ ล ของศลิ ปะสุโขทัยกบั ศรวี ิชัยผสมเข้าไว้ดว้ ยกัน สำ�หรับศิลปะสโุ ขทัย คือ เจดยี ์ทรงกลม ศิลปะศรวี ชิ ัยก็คือ ฐาน สีเ่ หล่ียมมมี ุขและเจดียเ์ ลก็ ๆ รายรอบเจดียท์ รงกลม นอกจากนี้กม็ ีพระปรางค์ใหญ่ในวดั พระศรรี ัตนมหาธาตุ จงั หวดั ลพบรุ ี ซึ่งศาสตราจารยจ์ นี บอสเซอลีเยร่ ์ (Jean Boisselier) ชาวฝรงั่ เศสกลา่ วว่าอาจสร้างข้ึนราว พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ มีลกั ษณะผดิ แปลกจากปรางคส์ มยั ลพบุรี หรือขอม เพราะยอ่ มมุ มาก และลวดลายบน ฐานพระปรางค์ก็สงู ข้ึนกว่าแต่กอ่ น จนเกือบเทา่ กับระดบั ทับหลังมขุ ทางด้านหน้า อาจจดั ได้วา่ เป็นต้นเค้า ของพระปรางค์ไทยในสมัยตอ่ มา ๑๕๔

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตร์ไทย ส ถาปตั ยกรรมอทู่ อง ยังไม่เปน็ ทแ่ี นน่ อน เช่น พ ุทธปรางค์วดั พระศรรี ัตนมหาธาตลุ พบุรี พทุ ธสถานแหง่ น้ี พงศาวดารเหนอื กลา่ ววา่ สรา้ งในรชั กาลพระ นารายณ์ พระราชโอรส ของพระเจ้าจันทรโชติ เม่ือพุทธศตวรรษที่ ๑๖ และลพบรุ ีเป็นเมืองลกู หลวงของอโยธ ยา แต่นกั โบราณคดฝี รง่ั เศสคือ ศาสตราจารย์จีน บอสเซอลีเย่ร์ (Jean Boisselier) มีความเห็นว่านา่ จะสรา้ ง ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ และอาจเปน็ ปรางค์องคแ์ รกของไทย แต่ยังมกี ารใช้ทบั หลงั ประตูสลกั ลวดลายอยู่ เป็นทบั หลงั ทผี่ ดิ กับแบบเขมร ภาพท่ี ๕.๙๙ พระปรางค์องคใ์ หญ่ ในวดั พระศรีรตั นมหาธาตุ จงั หวัดลพบรุ ีศิลปะอ่ทู อง พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙-๒o ท รวดทรงของปรางค์พระศรรี ัตนมหาธาตุ ยงั ล�ำ่ สันอยู่บา้ ง เชน่ เดยี วกับความเด่นชดั ด้านปริมาตรของ ส่วนต่างๆ แตเ่ ม่อื เทียบกบั ตน้ แบบ คือ ปราสาทแบบขอม สดั สว่ นทรงปรางคข์ องเจดีย์พระศรีรตั นมหาธาตุสงู โปรง่ กวา่ ความซบั ซอ้ นของสว่ นต่างๆ ลดลงมาก ประเดน็ ความแตกต่างที่กล่าวมาท�ำ ใหส้ ามารถแยกเจดยี ์ ทรงปรางค์ในศิลปะไทยจากปราสาทแบบขอมได้ (สันติ เล็กสขุ มุ ,๒๕๕๔:๑๕๗) (ภาพท่ี ๕.๙๙) ภาพท่ี ๕.๑oo พทุ ธปรางคว์ ดั พระศรมี หาธาตุ จังหวดั สุพรรณบุรี ๑๕๕

ประวัตแิ ละแบบอย่างศิลปะไทย พ ทุ ธปรางคว์ ดั พระศรมี หาธาตุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ีซง่ึ เปน็ ปรางค์๓องค์นกั โบราณคดีบางกลมุ่ กลา่ ววา่ สร้างในสมยั อยุธยาตอนต้น แต่บางกลมุ่ มีความเห็นว่า สรา้ งในสมัยอยุธยา สพุ รรณภมู ิ ก่อนกรงุ ศรีอยธุ ยา เป็นปรางคย์ อด ๕ ช้นั ตามแบบปรางคไ์ ทยทค่ี ล่ีคลายมาจากแบบลพบุรซี ง่ึ มีเพยี ง ๔ ชั้น (ภาพที่ ๕.๑oo) ภาพท่ี ๕.๑o๑ พระมหาธาตุเจดยี ์ จังหวัดชยั นาท พระมหาธาตเุ จดีย์ จังหวดั ชยั นาท ซง่ึ เปน็ พระเจดยี ์ทรงกลมมซี ุม้ พระพุทธรปู จตุรทิศ ระหว่างซุ้มมี บรวิ ารรายรอบพระเจดยี พ์ ระประธาน เจดยี พ์ ระประธานไมม่ บี ลั ลงั ก์ แต่ทำ�เป็นรปู ทรงดอกบัวกลมุ่ รองรบั ปลียอด เชอ่ื กันว่าเปน็ พระเจดีย์แบบอ่ทู อง การท�ำ เจดยี บ์ รวิ ารรายลอ้ มเช่นนี้ น่าจะรับอทิ ธพิ ลจากเจดยี พ์ ม่า มากกวา่ แบบเจดยี ศ์ รีวชิ ัย (ภาพที่ ๕.๑o๑) ภาพท่ี ๕.๑o๒ พระเจดีย์แปดเหล่ียม ๑๕๖

บทที่ ๕ : สมยั ประวัติศาสตร์ไทย พระเจดียแ์ ปดเหลี่ยม มีซมุ้ พระพทุ ธรปู ๘ ทิศ ยอดเปน็ ทรงระฆงั เปน็ แบบทไ่ี ดร้ ับอทิ ธิพลจากลพบรุ ี ตอนปลายทกี่ รุงศรีอยุธยามีหลายองค์และสพุ รรณบุรีกม็ หี ลายองค์ การรับอทิ ธิพลแบบอยา่ งมา อาจมอี ายุรนุ่ หลังก็เปน็ ได้ ไม่จ�ำ เปน็ จะตอ้ งอายรุ ว่ มสมยั กันเสมอไป สว่ นลา่ ง ชุดชัน้ เขียงในผนงั สี่เหลยี่ มจัตรุ ัส ส่วนกลาง ทรงแปดเหลีย่ ม ซอ้ นกันสามช้ัน ชั้นล่างของคหู าเพ่อื ประดิษฐานพระพุทธรูป สว่ นบนเป็นบลั ลงั กแ์ ปดเหล่ยี ม ต่อยอดดว้ ยองคร์ ะฆงั ปลอ้ งไฉนและปลีเปน็ ปลายยอด (ภาพที่ ๕.๑o๒) ภาพที่ ๕.๑o๓ ปรางคร์ ายกลีบมะเฟอื ง วัดมหาธาตุ จังหวดั ลพบรุ ี ปรางค์รายกลีบมะเฟอื ง วัดมหาธาตุ จงั หวดั ลพบุรี เปน็ ปรางคก์ อ่ อิฐไม่สอปูน เป็นยอดปรางค์ทรงกลบี มะเฟอื งมกี ารปน้ั รปู เทพนมอยปู่ ระจ�ำ ตามกลบี มะเฟอื งบง่ บอกถงึ ความรงุ่ เรอื งของเมอื งละโวท้ ม่ี ตี อ่ ศลิ ปะทวารวดี และอโยธยาพระพกั ตรป์ นู ปน้ั เปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มพระขนงตอ่ กนั ชฎาทรงสามเหลย่ี มไมส่ งู มพี ระรศั มเี ปน็ สามเหลยี่ ม โดยรอบรบั อทิ ธพิ ลจากศลิ ปะปาละปนู ปนั้ เทพนมเปน็ สญั ลกั ษณข์ องเทพยดาแหง่ สวรรคส์ ขุ าวดีของลทั ธมิ หายาน ตามทัศนคตขิ องชา่ งโบราณ (ภาพท่ี ๕.๑o๓) ภาพที่ ๕.๑o๔ มหาเจดยี ์วดั พระแก้ว จงั หวดั ชัยนาท ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๘- ๑๙ ๑๕๗

ประวตั ิและแบบอย่างศลิ ปะไทย มหาเจดยี ์วัดพระแกว้ จังหวดั ชัยนาท เป็นเจดยี ท์ ี่สวยงามมากอยใู่ นสภาพสมบูรณ์ ระฆงั กลม บัลลงั ก์ แปดเหล่ียม ส่วนฐานสเ่ี หลย่ี ม ศลิ ปะพุทธมหายาน มีศลิ ปะหนิ ยานลงั กา ร่วมสมัยคลาสสิคกบั สุโขทัย ราวพทุ ธ ศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ มรี ูปร่างรองรับฐานซอ้ นขน้ึ ด้วยชั้นประดิษฐานชั้นเขียงส่ีเหลี่ยมจัตรุ สั รองรับฐาน ซ้อนข้ึน ดว้ ยชน้ั ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู เอาไวใ้ นจระน�ำ เรอื นธาตสุ เี่ หลยี่ มและเรอื นธาตแุ ปดเหลยี่ มตามล�ำ ดบั เหนอื ขนึ้ ไปเปน็ ทรงระฆงั ขนาดค่อนขา้ งเล็ก ตอ่ ยอดดว้ ยปลอ้ งไฉน และปลีเป็นปลายยอด (ภาพท่ี ๕.๑o๔) ภาพที่ ๕.๑o๕ ลายปูนป้นั ประดบั องคป์ รางค์ สมยั พระเจ้าชัยวรมนั ที่ ๗ ลวดลายปนู ปน้ั ประดบั องคป์ รางค์สมยั พระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี๗ ล วดลายปนู ปน้ั รบั อทิ ธพิ ลลายกนกของ ขอม เปน็ การผสมผสานศิลปะละโว้กับอโยธยา เปน็ ยคุ อนั ร่งุ โรจนข์ องศลิ ปะไทย ร่วมสมยั กับศลิ ปะคลาสสิค แหง่ อาณาจกั รสโุ ขทัย ลายปนู ปัน้ เปน็ ลายประจ�ำ ยามแบบขอม ลอ้ มกรอบด้วยลายเมด็ ไขป่ ลา เน้นขอบลาย ดว้ ยปนู ป้นั กระจงั ตาอ้อย อันเปน็ กระจังตวั เล็ก (ภาพที่ ๕.๑o๕) ภาพที่ ๕.๑o๖ ใบเสมาหนิ ทรายแกะสลกั ที่วดั เสลีย่ ง จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ๑๕๘

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ใบเสมาหนิ ทรายแกะสลกั จ ากลายขมวดเถาไม้เลอื้ ยแกะสลักทฐี่ านใบเสมานี้เราจะเหน็ หลักฐานการ ปรากฏเค้าของโครงกนก ๓ ตวั ซึ่งตอ่ มาจะไดร้ ับการพฒั นา จนกลายเป็นลายกนก ๓ ตัวทสี่ มบูรณแ์ บบใน สมัยอยุธยา (ภาพท่ี ๕.๑o๖) จติ รกรรม เปน็ สือ่ สะท้อนความเช่อื ความศรทั ธาในพทุ ธศาสนาจึงวาดภาพจิตรกรรมฝาผนังในเจดยี ์ กรุพระปรางค์ มีความเกี่ยวโยงกับศลิ ปะสุโขทยั โดยเร่ิมดว้ ยสีฝุ่นระบายเรียบ ตัดเส้น เนน้ รายละเอียดของ ภาพ รปู พระพุทธเจา้ ประทบั นง่ั บนฐานซุกชี เขยี นดว้ ยสีฝุน่ ผสมกาว ใช้สีแบบธรรมชาติ คือ สีขาวจากปนู ขาว สีแดงจากดินแดง สีเหลืองจากดนิ เหลือง สีด�ำ จากเขมา่ ต่อมาสง่ ผลกับศลิ ปะในสมยั อยุธยา (ภาพท่ี ๕.๑o๗) ภาพที่ ๕.๑o๗ จิตรกรรมฝาผนงั ภายในปรางคร์ าย ในวดั มหาธาตุ จงั หวัดลพบรุ ี ภาพท่ี ๕.๑o๘ จติ รกรรมฝาผนงั ในปรางคร์ าย วดั มหาธาตุ จังหวดั ลพบรุ ี จ ิตรกรรมฝาผนงั ในปรางคร์ าย วดั มหาธาตุ ภายในหอ้ งของปรางค์ราย ทางทศิ ตะวันตกของปรางค์ ใหญ่ วัดมหาธาตุ ลพบุรี มีภาพเขยี นพระพุทธรปู ในซุ้มลกั ษณะพระพักตรเ์ หลย่ี ม เป็นการผสมกนั ของศลิ ปะ ลพบรุ ตี อนปลายกบั อโยธยารปู สาวกหนั หนา้ ดา้ นขา้ งเทคนคิ การเขยี นสฝี นุ่ ผสมกาวเปน็ วธิ กี ารเขยี นแบบกอ่ น กรุงศรอี ยธุ ยาและอยุธยาตอนต้น สีดินแดงเป็นสีจวี ร ใชเ้ ส้นกลมมนอันสละสลวยไมด่ หู ักมุมจนเปน็ เหลีย่ ม (ภาพที่ ๕.๑o๘) ๑๕๙

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย เคร่อื งปน้ั ดินเผา ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๒๓-๒๕๒๗ นกั โบราณคดขี องกรมศลิ ปากรไดพ้ บสระนำ�้ ลานอฐิ ทางฉนวนและทางเดินก่อสร้างด้วยอิฐและศิลาแลงและได้พบเศษภาชนะดินเผาเป็นแบบก้นกลมประเภท เครื่องดนิ มีทงั้ ลายกดหรือลายประทบั และลายขดู ขดี จ�ำ นวนมาก ตลอดจนพบเครื่องถว้ ยสมยั ราชวงศ์เหม็ง (พ.ศ. ๑๙๑๑-๒๑๘๘) และเครอ่ื งถว้ ยสมัยราชวงศเ์ ช็ง (พ.ศ. ๒๑๘๗-๒๓๑o) และพบเศษเครอ่ื งเคลอื บสมยั สุโขทัยจากเตาเผาภาคเหนืออกี ดว้ ย บรเิ วณพระราชวังเดิม (วดั พระศรสี รรเพชญ) สรา้ งแตค่ ร้งั รัชกาลสมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี ๑ ( พระเจ้าอู่ทอง) ไดพ้ บหลกั ฐานวา่ เคยเป็นทีอ่ ยอู่ าศัยหรือชุมชนมาแล้ว ตง้ั แตส่ มยั ศตวรรษ ที่ ๑๙ เพราะไดพ้ บเคร่ืองถ้วยชามจีน สมัยราชวงศห์ ยวนด้วย สรุปศิลปะอู่ทอง เ ป็นศิลปะของกลุ่มชนกล่มุ หนงึ่ ท่ีอยใู่ นภาคกลางของประเทศไทย มศี นู ย์กลางอย่ทู เี่ มืองอ่ทู อง จงั หวัด สพุ รรณบุรี ซ่งึ เช่อื กันวา่ อาจจะเป็นเมืองหนึง่ ของอาณาจกั รทวารวดีก็ได้ และต่อมาถูกพวกขอมเขา้ ปกครอง หรอื อาจจะมคี วามสัมพนั ธ์ใกลช้ ดิ กบั เขมร ซ่งึ ทำ�ใหศ้ ิลปะยคุ นเี้ ป็นศิลปะทม่ี ีอิทธิพลของศิลปะขอมและศลิ ปะ อื่นๆ ผสมกนั อยู่ เช่น สโุ ขทยั ลพบุรี ศรวี ิชยั แตช่ า่ งท้องถิ่น ก็สามารถสร้างศิลปะท่ีมลี กั ษณะใหม่ข้ึน และมี ลกั ษณะเดน่ ทเ่ี ปน็ ของตนเองโดยเฉพาะเรยี กว่า ศิลปะอู่ทอง มีลกั ษณะเดน่ ชดั คือ พระพทุ ธรูป ๓ แบบ คือ ๑ . แบบทไี่ ดร้ บั อิทธิพลของศลิ ปะทวารวดี และขอมผสมผสานกัน สรา้ งราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ๒ . แบบที่ได้รับอทิ ธิพลของศลิ ปะขอม พระรัศมบี นเกตุมาลาเป็นเปลว และได้รับอทิ ธพิ ลจาก ศลิ ปะสโุ ขทัย มอี ายุราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘-๑๙ ๓ . แบบท่ีได้รบั อิทธพิ ลของศิลปะสโุ ขทยั ผสมอยู่มาก มีอายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี ๑๙-๒o โดยรวม พระพุทธรูปมีลกั ษณะแขง็ กรา้ วเส้นรอบพระพักตรค์ ่อนข้างแข็ง คลา้ ยประตมิ ากรรมเขมร สถาปัตยกรรมทีส่ ำ�คญั ได้แก่ มหาเจดยี ์ วดั พระแก้ว จังหวัดชยั นาท พระปรางคอ์ งค์ใหญ่ในวัดพระ ศรรี ตั นมหาธาตุ จ.ลพบุรี และพุทธปรางค์ พระมหาธาตุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ๔. ศิลปะอยุธยา (พทุ ธศตวรรษที่ ๒o-๒๓) เ ริม่ ตง้ั แตส่ มยั สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ ๑ (พระเจ้าอ่ทู อง) เปน็ ราชธานี พ.ศ. ๑๘๙๓ สน้ิ สดุ ลงเมอ่ื พม่า ยกทพั มาตีกรงุ ศรีอยธุ ยาในปี พ.ศ. ๒๓๑o อยธุ ยาเจรญิ รงุ่ เรอื งเป็นราชธานยี าวนานถึงส่รี อ้ ยกว่าปี ลกั ษณะที่ ตัง้ อยบู่ รเิ วณทล่ี ุ่มอนั เกดิ จากแมน่ �ำ ้ ๓ สายไหลมาบรรจบกนั คอื แม่นำ�้เจ้าพระยา แมน่ ำ�้ปา่ สัก แมน่ �ำ ้ลพบุรี ทำ� ใหเ้ ปน็ ทลี่ มุ่ เหมาะสมในการเพาะปลกู มแี มน่ �ำ ล้ อ้ มรอบเกอื บทกุ ดา้ นปอ้ งกนั การโจมตขี องขา้ ศกึ และเหมาะสม กบั การขนสง่ ค้าขาย ท�ำ ใหเ้ จรญิ มง่ั คงั่ ในด้านเศรษฐกจิ สังคม การค้า การทหาร ศาสนา และศลิ ปวัฒนธรรม เปน็ อยา่ งมาก เพราะเปน็ เมอื งเปิด สามารถทำ�การค้าขายกับชาตติ ่างๆ ไดอ้ ยา่ งเสรี ทง้ั ในทวีปเอเชยี และยโุ รป โดยเฉพาะกบั จนี ผลการพา่ ยแพส้ งครามแกพ่ มา่ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความวบิ ตั ติ า่ งๆอยา่ งใหญห่ ลวงปราสาทราชมณเฑยี ร ถูกเผาผลาญ วัดวาอารามบา้ นเรือนถกู ไฟไหม้ เผาวอดวาย ผคู้ นลม้ ตาย ประชาชนทเ่ี หลือบางสว่ นถกู ตอ้ นไป กับกองทพั พม่า พร้อมด้วยทรพั ย์สนิ และของมีค่าตา่ งๆ การปกครองสมยั อยธุ ยา ได้เปลยี่ นการปกครองแบบพ่อปกครองลกู คือพระมหากษัตรยิ ์เป็นผมู้ ี อ�ำ นาจสงู สุดในแผน่ ดิน ไมอ่ ยใู่ นฐานะทป่ี ระชาชนจะวจิ ารณ์ได้ ใช้หลกั ธรรมคอื ทศพธิ ราชธรรมในการปกครอง เน้นการป้องกนั ประเทศเป็นส�ำ คญั แบ่งการปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ออกเป็นหมบู่ ้าน ต�ำ บล แขวง และเมอื ง ๑๖๐

บทท่ี ๕ : สมัยประวตั ิศาสตรไ์ ทย ภาพท่ี ๕.๑o๙ สถานท่ีตั้งของอาณาจักรอยธุ ยา เ ศรษฐกิจสมยั อยธุ ยาประชาชนสว่ นใหญม่ อี าชพี เกษตรกรรมและอน่ื ๆเชน่ การจับสตั ว์นำ�้เลีย้ งสัตว์ ท�ำ การคา้ ขายกบั จนี และประเทศในเอเชยี ไดแ้ ก่ ชวา มลายู อินเดีย ลังกา เปอร์เซีย ญ่ีปนุ่ โปรตเุ กส ฝรง่ั เศส ฮอลันดาและองั กฤษการค้าขายเจริญก้าวหนา้ มกี ารสร้างวัดปราสาทราชวังและนบั ถือศาสนาพทุ ธวดั จึงเป็น สถานท่สี ำ�คญั เปน็ ศนู ยร์ วมแหง่ ความเลอ่ื มใสศรัทธา เป็นศนู ย์กลางแห่งการศึกษา และเปน็ ทพ่ี บปะกันของ ชุมชน พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ พุทธมามกะ ใหก้ ารอปุ ถัมภบ์ �ำ รงุ และค�ำ ้จนุ พระพทุ ธศาสนา ศ ลิ ปะอยธุ ยาท่ีสรา้ งขึ้นในอาณาจกั รอยุธยาชว่ งระยะเวลา ๔๑๗ ปีซึง่ มีศิลปกรรมแขนงต่างๆ เกดิ ข้ึน มากลว้ นมรี ปู แบบเนอ้ื หาทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั และมวี วิ ฒั นาการเปลยี่ นไปตามสภาพบา้ นเมอื งศลิ ปกรรมอยธุ ยาเทา่ ท่มี หี ลักฐานอยู่ ยังเหน็ ววิ ัฒนาการทางรปู แบบ นับตัง้ แตท่ ไ่ี ด้รบั อทิ ธพิ ลจากสกลุ ชา่ งลพบุรี สกุลชา่ งสุโขทยั และสกุลชา่ งจนี (ด้านจิตรกรรม) จนกระท่ังหล่อหลอมเป็นเอกลักษณข์ องศิลปะอยุธยา ศ ลิ ปะอยุธยาแบ่งได้เป็น ๓ ระยะ คอื ร ะยะแรก ศิลปะอยุธยาตอนตน้ (พ.ศ. ๑๘๙๓-๒o๓๑) จะมีลักษณะเริม่ ต้นสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะตาม ประเพณนี ิยมได้รบั อทิ ธพิ ลจากวัฒนธรรมจากอาณาจกั รใกลเ้ คยี ง ต้งั แตร่ ชั กาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ถงึ รัชกาลสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ระยะท่ีสอง ศลิ ปะอยธุ ยาตอนกลาง (พ.ศ. ๒o๓๒ -๒๑๗๒) จัดเป็นยคุ ท่ศี ลิ ปะอยธุ ยาเริม่ แสดง ลกั ษณะรปู แบบที่เปน็ ของตนเอง ในชว่ งรชั กาลสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ ถึงรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม ร ะยะทส่ี าม ศลิ ปะอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.๒๑๗๓ – ๒๓๑o) เป็นศลิ ปะที่แสดงลักษณะเฉพาะ อยา่ งเด่นชัดเป็นต้นแบบศิลปะให้กับศลิ ปะรัตนโกสินทร์ ในช่วงรัชกาลของพระเจา้ ปราสาททองจนถงึ เสยี กรุง ศรีอยุธยา ง านช่างและวัสดุทีใ่ ชก้ ารสร้างงานศิลปกรรม ช่วงต้นชา่ งอยุธยาใชว้ ัสดทุ ้องถ่นิ เปน็ หลกั ในการก่อสร้าง สถาปัตยกรรม คอื อฐิ โดยใช้ศลิ าแลงร่วมดว้ ย ศิลาทรายมีใชน้ ้อย มหาปราสาทมีความสำ�คัญในพระราชพธิ ี เดมิ ปลกู สร้างด้วยไม้ ภายหลังเปลย่ี นเปน็ อฐิ แทน พระตำ�หนักยอ่ มใช้ไม้เป็นวัสดหุ ลักมากอ่ น หลังคาทรงจัว่ ซอ้ นชั้นเป็นเครื่องไม้ มงุ หลงั คาด้วยกระเบอ้ื งดินเผาหรอื กระเบ้ืองเคลอื บ ส่วนบานประตู หน้าต่าง คนั ทวย หน้าบนั โดยเฉพาะกรอบหนา้ บนั ประกอบดว้ ย ช่อฟา้ ใบระกา หางหงส์ ล้วนใชไ้ มเ้ ป็นวัสดุ แกะสลักเปน็ รูปร่าง ลวดลาย และทายางรกั เพือ่ ปดิ ทอง และการประดบั ดว้ ยช้นิ กระจกสใี นชว่ งปลาย เพ่ือเพ่ิมเติมความงดงาม แวววาวให้แกง่ านประตมิ ากรรมและเพม่ิ สีสันรสชาติงานจิตรกรรม งานก่อสร้างอาคารศาสนสถาน เปน็ เจดยี ์ ๑๖๑

ประวัติและแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ทรงต่างๆ และอาคารหลงั คาคลุม เชน่ อุโบสถ วหิ าร ชำ�รดุ มาก ส่วนบา้ นเรือนไมเ่ หลอื ซาก เพราะมีอายใุ ช้งาน จำ�กดั จะสร้างดว้ ยไมก้ ระดานหรือไม้ไผ่ตามฐานะของผ้อู ยอู่ าศยั ประตมิ ากรรมสำ�คัญคอื พระพุทธรปู สลัก จากหิน ชา่ งอยุธยาช่วงแรกนยิ มจะสลักเปน็ สว่ นๆ ของหนิ แล้วน�ำ ไปเรียงประกอบกนั ส่วนพระพุทธรูปหลอ่ ส�ำ รดิ และปูนปนั้ รวมทงั้ ปนู ปนั้ ประดับลวดลายนิยมตลอดมา พระพิมพ์สรา้ งเพือ่ สืบทอดพระพุทธศาสนา คอื พระพิมพ์โลหะหลอ่ จากแมพ่ ิมพ์เป็นที่นิยมในระยะแรก พบมากทีก่ รพุ ระปรางค์วดั ราชบรู ณะ และเคร่ือง ราชปู โภค ไดแ้ ก่ พาน พระเต้า พระสพุ รรณศรี รองพระบาท พระแสงดาบ พาหรุ ัด ทองกร ธ�ำ มรงค์ ล้วนท�ำ ด้วยทองคำ�ประดับอญั มณี งานช่างท่สี �ำ คญั อีกอยา่ งคอื จติ รกรรม วาดด้วยสฝี ุ่นผสมกาวบนผนงั อาคารหรือ บนแผน่ ไม้ เช่นฝาหรือบานประตหู น้าต่าง และวาดจากกระดาษตน้ ขอ่ ย เรียกวา่ สมดุ ขอ่ ย วาดบนผ้าเรียก ว่า พระบฏ และงานประดับมุกบานประตู งานลงรกั ปดิ ทองประดบั ตู้พระธรรม งานดนิ เผามขี นาดเลก็ ท�ำ เปน็ ตุ๊กตารปู คนรูปสตั วแ์ ละไห หม้อ คนโท เป็นต้น งานประดับสถาปตั ยกรรม เชน่ กระเบอ้ื งมงุ กระเบ้ืองเชิงชาย และเครอื่ งมือเครือ่ งใชใ้ นชวี ิตประจำ�วนั ประตมิ ากรรมสมัยอยธุ ยา ส�ำ หรบั งานประตมิ ากรรมสมยั อยธุ ยามคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ตามความรงุ่ เรอื งของพระพทุ ธศาสนา เ ปน็ งานท่ีรบั ใช้พระพุทธศาสนาโดยตรง ทั้งในด้านงานประติมากรรมทส่ี มบรู ณ์ในตัวเอง และงานประตมิ ากรรม ตกแตง่ พทุ ธสถาปตั ยกรรม เชน่ การสร้างพระพุทธรูปดว้ ยศลิ า สำ�รดิ ไม้ การแกะสลักหน้าบนั คันทวย สาหรา่ ย รวงผง้ึ บษุ บก ช่อฟา้ ใบระกา บราลี ธรรมาสน์สวดรับเทศน์ จะสร้างด้วยไม้ลงรักปดิ ทอง รวมทัง้ งานปูนป้นั และดนิ เผา เป็นตน้ พระพุทธรูป คือ สญั ลักษณแ์ ทนพระพุทธองค์ สว่ นทีป่ ระดษิ ฐานพระพุทธรูป คอื พทุ ธเกษตร อัน หมายถงึ ศนู ย์กลางจักรวาล รูปสัญลกั ษณอ์ ันศกั ดิ์สิทธ์ิ คอื เอกภาพอันประกอบจากความสงบสขุ แห่งพทุ ธ ธรรมกบั ความหมายจากเรอ่ื งในพทุ ธประวตั ิ ที่มีตอ่ ความศรทั ธาและคติความเชอื่ สะท้อนออกมาในผลงาน ประตมิ ากรรม ๑. ประติมากรรมศิลปะอยธุ ยาตอนต้น กรุงศรอี ยุธยาในระยะเริ่มแรก มคี วามใกลช้ ิดสนิทสนมกับเมืองลพบุรี ดงั นั้นศิลปวฒั นธรรมลพบุรี ตอนปลาย จึงสง่ อทิ ธิพลต่อกรงุ ศรีอยุธยาตอนต้นมาก โดยเฉพาะพระพุทธรปู แบบศลิ ปะอูท่ อง ซึง่ พบมาก ในแถบนี้ มที ้ังขนาดใหญแ่ ละขนาดเล็ก สว่ นอิทธิพลของศิลปะสุโขทัยเขา้ มาผสมผสานในช่วงท่ีสโุ ขทยั อยู่ ภายใต้อำ�นาจของกรุงศรอี ยุธยา (พ.ศ.๑๙๒๑) ในรชั กาลสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๑ (พ่อขนุ หลวงพะ งวั่ ) อิทธพิ ลของศิลปะลพบรุ คี ่อยจางลงในขณะท่ศี ลิ ปะสโุ ขทัยมีมากข้นึ ในรชั กาลสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าช ที่ ๒ เจ้าสามพระยา (พ.ศ. ๑๙๖๗-๑๙๙๑) เปน็ ชว่ งทม่ี ีการค้นหาตัวเองในการผสมผสานกันของสกุลช่าง ต่างๆท้ังศิลปะลพบุรีหรอื อ่ทู องและสุโขทยั คละกันอยู่ จนกว่าจะเกดิ การอิม่ ตัว จงึ ไดม้ ีการพฒั นาเปน็ รูปแบบ เอกลกั ษณ์ของศลิ ปะอยธุ ยา ๑๖๒

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัตศิ าสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๑๑๐ พระพุทธรตั นไตรนายก (หลวงพอ่ โต) และเศยี รพระพุทธรปู ประดิษฐานอยู่ ทีว่ ดั พนัญเชงิ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ศลิ ปะอยธุ ยาตอนตน้ พระพุทธรัตนไตรนายก (หลวงพ่อโต) อยู่ที่วัดพนัญเชงิ สร้างเม่ือปี พ.ศ. ๑๘๖๗ ในรชั กาลสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๒ เจา้ สามพระยา (พ.ศ. ๑๙๖๗-๑๙๙๑) ศิลปะขอมเส่ือมลงในรัชกาลสมเดจ็ พระบรม ไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑-๒o๓๑) ทรงครองเมอื งพิษณุโลก นำ�เอาศลิ ปะสโุ ขทัยผสมกับศลิ ปะอยธุ ยาแทน พระพทุ ธรูปสว่ นใหญ่ ทีไ่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลของศลิ ปะขอม เศียรพระพุทธรูปมีไรพระศก เมด็ พระศกเปน็ ปนู ปนั้ สง่ิ ท่คี วรสังเกตกค็ ือ มพี รายปาก เปน็ รูปแบบของศิลปะอยุธยาอยา่ งแทจ้ รงิ ซ่ึงเปน็ การผสมผสานระหว่างศลิ ปะ อูท่ องกบั ศิลปะสโุ ขทยั (ภาพที่ ๕.๑๑o) ภาพที่ ๕.๑๑๑ พระโพธสิ ตั วป์ างเสวยพระชาติ เปน็ ฤษี สำ�รดิ สงู ๖๔ ซ.ม. ขุดพบในวัดพระศรสี รรเพชญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระโพธิสตั วป์ างเสวยพระชาต ิ เป็นการหลอ่ หลอมทางพทุ ธศลิ ป์ระหวา่ งสกลุ ชา่ งสุโขทยั และสกุล ช่างอยุธยา ใหเ้ กิดการผสมผสานกลมกลนื กนั มากยง่ิ ขึ้น สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถใหห้ ลอ่ รูปพระโพธสิ ัตว์ ๕oo ชาตหิ นึ่งชุด มีบางรูปอยู่ในวดั พระศรีสรรเพชญ (ภาพท่ี ๕.๑๑๑) ๑๖๓

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย ส มัยอยธุ ยาตอนต้น มีความนิยมในการแกะสลกั พระพทุ ธรปู ด้วยศลิ าตามแบบศลิ ปะลพบรุ ี มีรูปแบบ ทม่ี ีพรายปากและไมม่ พี รายปาก บางแบบมพี ระพกั ตรอ์ วบอ่มิ บางแบบมีพระพักตรเ์ ปน็ รูปไขธ่ รรมดา และ บางแบบมพี ระพักตร์คอ่ นขา้ งยาว เช่น พระพทุ ธรูปหินทรายขนาดค่อนขา้ งใหญ่ ประดษิ ฐานรอบพระระเบียง คด ในวดั มหาธาตุ พระพทุ ธรูปหนิ ทราย ประดษิ ฐานรอบพระระเบยี งคด ในวดั พระราม (วดั รามาวาส) และ พระพุทธรปู หนิ ทราย ในวดั ราชบรู ณะ จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา และอ่ืนๆ อกี มากมาย ๒.ประติมากรรมศิลปะอยธุ ยาตอนกลาง ก รุงศรีอยุธยามีความสัมพันธ์ฉันเครือญาติกับกรุงสุโขทัยและรับอิทธิพลทางศิลปะจากสุโขทัย มากข้นึ เริม่ ในรชั สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑-๒o๓๑) ได้เสดจ็ ขนึ้ ไปเสวยราชสมบตั ิ ณ เมืองพิษณโุ ลก เมือ่ พ.ศ. ๒oo๖ และศิลปะสุโขทัยไดล้ งมาแพรห่ ลายยงั กรงุ ศรีอยธุ ยามากย่ิงข้นึ จังหวัด พษิ ณุโลกจงึ เป็นเมืองทเี่ จรญิ รงุ่ เรืองทางพระพุทธศาสนา และจะปรากฏงานประตมิ ากรรมทรี่ บั อทิ ธิพลสุโขทั ยมากกวา่ เขมรซง่ึ เกดิ จากการปรบั ปรงุ แบบอยา่ งศลิ ปะขอมและศลิ ปะสโุ ขทยั เกดิ ศลิ ปะแบบใหมใ่ นงานประตมิ า กรรมในสมยั น้ีจะมคี ตนิ ยิ มในการสรา้ งปฏมิ ากรรมประธานขนาดใหญ่ทงั้ ทหี่ ลอ่ ดว้ ยส�ำ รดิ หมุ้ ดว้ ยทองค�ำ บดุ ว้ ย สำ�ริด และมกี ารกอ่ อฐิ ปนู ปน้ั แบบอฐั ารส มที งั้ พระนั่ง พระนอน และพระยืน เป็นต้น ภาพที่ ๕.๑๑๒ พระพุทธรูป”พระมงคลบพิตร” ภายในวหิ ารวัดมงคลบพติ ร ศลิ ปะอยธุ ยาตอนกลาง พ ระพุทธรูปพระมงคลบพติ ร เปน็ พระพทุ ธรูปขนาดใหญ่ ปัน้ ดว้ ยปนู สรา้ งในรัชกาลสมเด็จพระเจ้า ทรงธรรม พระพักตร์ค่อนขา้ งกลม พระองค์ขดั สมาธริ าบ พระหตั ถแ์ สดงปางมารวิชยั เคา้ โครงของพระพกั ตร์ มน เครือ่ งแต่งพระพักตรห์ ่างจากสุนทรียภาพของพระพทุ ธรปู แบบสโุ ขทัยมาก (ภาพท่ี ๕.๑๑๒) ๑๖๔

บทที่ ๕ : สมัยประวัติศาสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๑๑๓ พระพุทธรูปทรงเครอื่ งน้อยส�ำ ริด สูงประมาณ ๔o ซม. พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑-๒๒ ศิลปะอยุธยาตอนกลาง พ ระพทุ ธรปู ทรงเครอื่ งนอ้ ย พ บทพี่ ระอรุ ะพระมงคลบพติ รพระองคอ์ ยใู่ นพระอริ ยิ าบถยนื ทรงอาภรณ์ เครอ่ื งประดับอยา่ งนอ้ ยพระกรขวายกขึ้นระดบั ศอก พระหัตถ์แบออกตั้งขน้ึ พระกรซ้ายทอดลงมาดา้ นข้าง พระวรกาย เรียกว่า ปางประทานอภยั สบงมรี ดั ประคดคาดทบั แถบด่งิ ที่เรียกวา่ แถบจีบหน้านาง มงกุฎมกี ระ บังหน้า เนน้ กรอบพระพักตร์ ดา้ นขา้ งของกระบังหนา้ ออกครีบเล็กๆ กลางพระเศยี รคือ รดั เกลา้ ทรงกรวยสั้น ครอบเกลา้ เกศา แสดงถึงอิทธิพลของพระพุทธรูปทรงเคร่อื งแบบลา้ นนา(สนั ติ เล็กสขุ มุ ,๒๕๔๒:๑๔๔) (ภาพ ท่ี ๕.๑๑๓) ภาพท่ี ๕.๑๑๔ พระพทุ ธรปู ขดั สมาธริ าบปางมารวชิ ัย ส�ำ รดิ สงู ๕๔.๕ ซม. ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒ ศลิ ปะอยุธยาตอนกลาง พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ๑๖๕

ประวัตแิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย พระพุทธรปู ขดั สมาธริ าบปางมารวิชัย พระพทุ ธองคป์ ระทับเหนือกองทพั พญามาร ขัดสมาธริ าบ ปางมารวิชัย พระวรกายทว้ ม พระพกั ตร์อ่ิมเอบิ ฐานประดับรปู แม่พระธรณแี ละเหล่ามารไวท้ ่ฐี าน อันเปน็ การเพิ่มเติมรายละเอียดของพทุ ธประวัตติ อนน้ี ทรงชนี้ ว้ิ พระหัตถล์ งสู่พ้นื ดิน เรอ่ื งราวตามคตมิ อี ยวู่ า่ ทรงช้ี อา้ งแมพ่ ระธรณีว่า ในอดีตชาตอิ นั นับไมถ่ ว้ น พระพุทธองคเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระโพธสิ ัตว์ ไดท้ รงหล่ังทักษิโณ ทกทกุ ๆครง้ั ทที่ รงกระท�ำ บญุ บรจิ าคแมธ่ รณไี ดเ้ กบ็ น�ำ จ้ �ำ นวนนบั ไมถ่ ว้ นไวใ้ นมวยผมของนางและบบี ออกมาทว่ ม เหล่ามารผจญ ดงั น้นั พระพทุ ธรปู ปางมารวิชัย จึงเป็นสญั ลักษณอ์ ันมีความหมายสมบรู ณ์ ถือว่ามอี ิทธพิ ลจาก พระพทุ ธรปู แบบลา้ นนา (ภาพท่ี ๕.๑๑๔) นอกจากน้ยี ังพบพระพุทธรปู ตามสถานทต่ี ่างๆ ดังน้ี พระศรสี รรเพชญ (หุม้ ทองคำ�) ในวหิ ารวัดพระศรีสรรเพชญเปน็ พระพทุ ธรปู ยนื สร้างในรัชกาลสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ ๒ ถกู ทำ�ลายเมอื่ ครัง้ ทเ่ี สียกรงุ ศรอี ยธุ ยาในปี พ.ศ. ๒๓๑o (แบบอัฏฐารศ) เศียรพระพุทธรปู สำ�รดิ ขนาดใหญ่ สูงประมาณ ๑.oo เมตรเศษ พบในวดั พระศรสี รรเพชญ ภายในพระราชวัง ปัจจุบันอยู่ใน พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพฯ และรปู พระอิศวร หล่อด้วยสำ�รดิ สงู ๒.๘o เมตร พบในเทวาลัย จังหวดั กำ�แพงเพชร หลอ่ ขึน้ ในรชั กาลสมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี ๒ (พ.ศ.๒o๕๓) อยใู่ นพพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ก�ำ แพง เพชร และท่อี ่นื ๆ ภาพที่ ๕.๑๑๕ พระพุทธรปู ปางมารวชิ ยั มีพระสาวก ประกอบ ๒ ขา้ ง สำ�ริด สูง ๑๙ ซ.ม. พระพทุ ธรูปปางมารวชิ ยั พบในพระเจดยี ใ์ หญ่องค์ด้านตะวันออก วัดพระศรีสรรเพชญ จงั หวัดพระ นครศรอี ยธุ ยา ศลิ ปะอยุธยาตอนกลาง มลี ักษณะแบบอู่ทองปะปนอยบู่ ้าง เชน่ มีไรพระศก ส่วนมากไมง่ ามเท่า สโุ ขทัย ดูมชี วี ิตจติ ใจนอ้ ยกวา่ แตฐ่ านมีเคร่อื งประดบั มากมาย (ภาพที่ ๕.๑๑๕) ๑๖๖

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัติศาสตร์ไทย ภาพท่ี ๕.๑๑๖ รปู พระอิศวร หลอ่ ดว้ ยสำ�ริดสูง ๒.๘o เมตร พบในเทวาลยั จงั หวดั กำ�แพงเพชร อยู่ในพพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ กำ�แพงเพชร ศิลปะอยุธยาตอนกลาง ภาพที่ ๕.๑๑๗ บานประตทู พ่ี ระเจดยี ์สามองค์ วัดพระศรสี รรเพชญ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ศลิ ปะอยธุ ยาตอนกลาง งานแกะสลัก นบั ว่าเจริญสูงมาก เช่น บานประตูทพ่ี ระเจดยี ์สามองค์ วดั พระศรสี รรเพชญจังหวพั ระนครศรอี ยธุ ยา เปน็ เทวรูปยนื ถือพระขรรค์ เหนอื พระเศยี รเปน็ รูปฉตั ร สรา้ งในรชั กาลสมเด็จพระบรม ราชาธิราชท่ี ๔ (พ.ศ.๒o๗๒-๒o๗๖) (ภาพท่ี ๕.๑๑๗) ประตมิ ากรรมศิลปะอยุธยาตอนปลาย ช า่ งอยุธยาตอนปลายราวพุทธศตวรรษท่ี ๒๒-๒๓ นยิ มสร้างพระพทุ ธรูปทรงเครื่องใหญ่ หมายถงึ ทรง เคร่ืองมากยิ่งกว่าพระพุทธรูปทรงเครื่องน้อยที่สร้างกันในยุคกลางและนิยมสร้างท้ังอิริยาบถยืนและอิริยาบถ นง่ั เร่ิมตง้ั แตร่ ชั กาลของพระเจา้ ปราสาททอง (พ.ศ. ๒๑๗๓-๒๑๙๘) ซ่งึ นิยมสร้างพระพุทธรูปศิลาตามคติของ ชาวเขมรเมอ่ื พระองคท์ รงปราบปรามการแขง็ ขอ้ ของเขมรเสรจ็ สนิ้ แลว้ โปรดใหถ้ า่ ยแบบปรางคเ์ ขมรทนี่ ครหลวง แต่ไมป่ รากฏพระพทุ ธรูปศิลา จะเป็นพระพทุ ธรูปปูนปน้ั ทเ่ี รียงรายอย่ใู นระเบยี งคด วัดไชยวฒั นาราม ๑๖๗

ประวตั แิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๕.๑๑๘ พระพุทธรปู ขดั สมาธิราบปางมารวิชัย ปูนปัน้ ประดิษฐานอยทู่ ร่ี ะเบยี งคด วัดไชยวฒั นาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศิลปะอยธุ ยาตอนปลาย รัชกาลสมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง พ.ศ. ๒๑๗๓ พระพุทธรปู ขดั สมาธริ าบปางมารวิชยั ปูนปั้นวัดไชยวฒั นาราม พระพุทธรูปครองจวี รเฉยี งป้นั ดว้ ย ปนู อนั ประดษิ ฐานเปน็ แถวเรยี งภายในระเบยี งคดของวดั ไชยวฒั นารามเศยี รหกั ทกุ องค์สงั ฆาฏทิ ย่ี าวลงมาจรด พระนาภี ชายสังฆาฏเิ ปน็ รปู แหลมคลา้ ยกลบี บวั ชล้ี งและต่อปลาย โดยแยกหยกั ออกสองแฉก ที่นา่ สังเกต คอื ฐานพระพทุ ธรปู สูงกวา่ ยคุ กอ่ น (สันติ เลก็ สขุ มุ ,๒๕๔๒:๑๔๗) (ภาพท่ี ๕.๑๑๘) พ ระพทุ ธรูปก่ออิฐพอกปนู ปน้ั รกั สมกุ สีทหี่ ลงเหลอื ตดิ อย่บู างแห่ง แสดงวา่ พระพุทธรูปเหล่าน้ลี ว้ นปิด ทองคำ�เปลว แตท่ กุ องคช์ �ำ รุดหมด ภาพที่ ๕.๑๑๙ พระพทุ ธรูปทรงเคร่ืองกษตั รยิ ป์ ระทับนง่ั ขดั สมาธิราบ (ปางมารวิชยั ) ปูนป้ันปดิ ทองประดษิ ฐานอย่ทู ่ีวัดหน้าพระเมรุ ศิลปะอยุธยาตอนปลาย พ ระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งใหญป่ างมารวชิ ยั วดั หนา้ พระเมรวุ ดั นสี้ รา้ งขนึ้ ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาท ทอง พ.ศ. ๒๑๗๓ พระพุทธรูปองคน์ ี้ มีขนาดหน้าตักกวา้ ง ๔.๕o เมตร มพี ระพกั ตรค์ ่อนข้างเสย้ี ม พระขนงโกง่ เปลอื กพระเนตรใหญท่ ่ีหรีล่ งต่ำ�พระนาสกิ โดง่ งุม้ ปลายเล็กนอ้ ยพระโอษฐอ์ มิ่ ค่อนขา้ งยาวรูปกระจับเปน็ แบบ ฉบบั ของพระพทุ ธรปู ในสมยั สมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง (ภาพที่ ๕.๑๑๙) ๑๖๘

บทที่ ๕ : สมัยประวัติศาสตรไ์ ทย ใ นรชั กาลของสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชถงึ รชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ บรมโกศนยิ มสรา้ งพระพทุ ธรปู ทรง เครื่องมที ัง้ ทรงเครื่องใหญ่ทรงเครื่องนอ้ ยและแบบปางห้ามญาติปางหา้ มสมทุ รปางมารวชิ ัยเช่นพระพุทธรูป แบบทรงเครอื่ งราชาธิราชมีท้ังทรงเครอ่ื งใหญ่ และทรงเครอ่ื งน้อย มกี ารคิดพระพุทธรปู ขึ้นใหม่ คือ ปางมหา ชมพูบดี ในรัชกาลสมเด็จพระเจา้ ปราสาททองกับสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช (พ.ศ. ๒๑๗๒-๒๒๓๑) มกี าร สรา้ งพระพทุ ธรปู ดว้ ยหนิ โดยเฉพาะทางภาคใต้ เชน่ พระพุทธรปู ท่ีวดั พระบรมธาตไุ ชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี และมีการสรา้ งพระโพธิสตั วศ์ รอี ารยิ เมตไตรย พรอ้ มพระสาวก แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความเช่อื วา่ หมดอายุพระพทุ ธ ศาสนาครบห้าพนั ปี จะมีพระศรีอาริยเมตไตรยมาประกาศศาสนาต่อไป ภาพท่ี ๕.๑๒๐ พระพุทธรูปทรงเคร่อื งน้อย ปางห้ามญาติ สำ�รดิ ปดิ ทองสูง ๗๓ ซ.ม. ศิลปะอยุธยาตอนปลาย พระพุทธรปู ทรงเคร่อื งน้อย มีการตกแตง่ น้อย คือ ทรงมงกฎุ หรือทรงเทรดิ และที่มงกฎุ มักมกี รรเจียก เปน็ ครบี ยื่นออกมาเหนือพระกรรณท้งั สองข้าง ลักษณะเช่นนีเ้ ป็นลกั ษณะแบบอยธุ ยาอยา่ งแท้จริง และมี เครื่องประดับอื่นๆ เชน่ กรองศอ พาหุรดั ทบั ทรวง และทองพระกร บางองค์ไม่มเี ครือ่ งทรงประดับเลย นอก จากทรงเทริด (ภาพท่ี ๕.๑๒๐) ภาพท่ี ๕.๑๒๑ พระพุทธรูปทรงเครื่องใหญ่ ปางหา้ มสมุทร ส�ำ ริด สงู ๑ เมตร ศิลปะอยธุ ยาตอนปลาย ๑๖๙

ประวัตแิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย พระพุทธรูปทรงเครอื่ งใหญ่ พระพุทธรปู ทรงเครอ่ื งอย่างเจา้ จกั รพรรดริ าช เช่น ประดับด้วยมงกุฎ กรองศอสงั วาล ธำ�มะรงค์ และลวดลายตวั กระหนกจนดูรงุ รัง การตกแต่งในลกั ษณะนี้ เปน็ ปางทรมานพระยา มหาชมพตู ามคตมิ หายาน (ภาพท่ี ๕.๑๒๑) ภาพท่ี ๕.๑๒๒ พระพุทธรปู ศลิ าทราย สงู ๕๖ ซ.ม. วดั นครโกษา จังหวดั ลพบรุ ี พระพทุ ธรูปศิลาทราย ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์ (พ.ศ. ๒๑๗๒- ๒๒๓๑) เช่ือกนั วา่ ในรชั กาลสมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง ไทยปราบประเทศกัมพชู าได้ ในระยะน้ี ลักษณะ พระพทุ ธรปู ศลิ าทรายในสมยั สมเด็จพระเจา้ ปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์ มพี ระเนตรและพระโอษฐ์ เปน็ ขอบ ๒ ชนั้ หรือมิฉะน้ันกม็ พี ระมสั สุบางๆ อย่เู หนอื พระโอษฐ์ (สภุ ัทรดิศ ดศิ กุล,๒๕๒๒:๓๕) (ภาพท่ี ๕.๑๒๒) ภาพที่ ๕.๑๒๓ พระพุทธสิหิงค์ สำ�ริด สูง ๔๒ ซ.ม. จังหวัดนครศรีธรรมราช ศิลปะอยธุ ยาตอนปลาย ๑๗๐

บทท่ี ๕ : สมยั ประวตั ิศาสตรไ์ ทย พระพทุ ธสหิ งิ ค ์ พระพุทธรปู ในศลิ ปะอยุธยาตอนปลายอกี แบบ คอื แบบนครศรธี รรมราช มลี ักษณะ คล้ายกบั พระพุทธรปู แบบเชียงแสนมาก แตพ่ ระพกั ตรก์ ลมแปน้ กวา่ ผา้ สังฆาฏสิ ้นั เหนอื พระถนั ซ้อนกันหลายชั้น บางทเี รยี กว่า “แบบขนมต้ม” ชอบเล่นชายจวี ร และพระองคอ์ ว้ นเต้ียกว่า คงไดแ้ บบอยา่ งมาจากศลิ ปะแบบ ปาละของอินเดีย แต่นครศรีธรรมราชอาจได้รับผา่ นทางเกาะชวา อาจมอี ายุราวพทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ (สภุ ัทร ดิศ ดิศกลุ ,๒๕๒๒:๓๕) (ภาพที่ ๕.๑๒๓) สรุปประติมากรรม สว่ นมากสร้างเน่อื งในพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธรูปหลอ่ ดว้ ยสำ�รดิ อาจทำ�ดว้ ย วสั ดุอืน่ เช่น สกดั จากศิลา ทำ�ด้วยไม้ ปนู ปัน้ ดนิ เผาและทองค�ำ พระประธานในโบสถว์ ิหารเป็นพระปูนปัน้ หรอื ส�ำ ริดขนาดใหญโ่ ตคบั โบสถ์ สมยั อยุธยาตอนปลายนิยมสร้างพระพุทธรูปทรงเคร่อื งกนั มาก ท�ำ ดว้ ยดินเผา พบ มากจากกรพุ ระปรางค์ วัดราชบูรณะและกรุตามวดั ตา่ งๆ อนั เปน็ ความนยิ มตามคตมิ หายานแบบพุทธตนั ตระ สว่ นเทวรูปต่างๆ ก็มีบา้ ง ส่วนใหญแ่ สดงให้เหน็ ว่ารับอทิ ธพิ ลของศิลปะขอมสมัยบายน ประตมิ ากรรมเบ็ดเตล็ดและลายปนู ปนั้ ส มยั อยธุ ยานี้ยงั นิยมสร้างงานปูนปัน้ ท้ังทีเ่ ป็นปนู ป้ันเลา่ เร่อื ง และลวดลายประดบั โดยแสดงภาพท่ี เกย่ี วกบั เรอ่ื งชาดกและพทุ ธประวตั หิ รอื ปฐมสมโพธิเปน็ ภาพนนู ประดบั ผนงั เชน่ ภาพปนู ปนั้ เรอ่ื งชาดก ป ระดบั ผนงั หุ้มกลองด้านหน้าพระวหิ ารวัดไลย์ จงั หวัดลพบุรี ภาพปนู ปน้ั พุทธประวตั ิ ประดบั ผนังด้านนอกของเมรุ ทิศพระระเบียงคดรอบพทุ ธปรางค์ วดั ไชยวัฒนารามดา้ นตา่ งๆ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา และภาพปนู ปัน้ ประดบั ผนังช่วงท้ายในพระอุโบสถวัดไผล่ อ้ ม จงั หวัดเพชรบรุ ี โดยแยกออกเปน็ ๓ ยคุ ดังน้ี สมยั อยธุ ยาตอนตน้ ประตมิ ากรรมปูนปน้ั รูปบุคคลตวั อยา่ งเป็นแถวพลแบกปน้ั นนู สูงประดบั ทีผ่ นงั กระเปาะของฐานไพที ด้านใต้ของปรางค์ประธานราชบูรณะ พลแบกรปู รา่ งล่ำ�สนั หวั หักหายไปแล้วทง้ั ส้ิน เขา้ ใจวา่ เปน็ ยักษ์ เครื่อง แตง่ กายทีส่ ำ�คญั ได้แก่ กรองศอ คือ สร้อยคอทเ่ี ป็นแผง และเสน้ เชอื กคาดไขว้ท่ีหน้าอก แสดงถึงงานในยคุ ต้น ท่ีอยใู่ นศิลปะสโุ ขทยั มากอ่ นและกอ่ นหนา้ นนั้ อีกในศลิ ปะขอมได้พบท่คี าดอกรปู ยักษ์รปู ทหารในฉากสงคราม (สันติ เลก็ สุขมุ , ๒๕๕๒:๑๔๘) ภาพที่ ๕.๑๒๔ พลแบก ปนู ป้นั ผนงั กระเปาะของฐานไพทีด้านใต้ของปรางค์ ประธานวัดราชบูรณะ อยุธยาตอนตน้ รชั กาลสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๒ (เจา้ สามพระยา) ๑๗๑

ประวัตแิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย ภาพที่ ๕.๑๒๕ ลวดลายปนู ปนั้ ประดับเสาจรน�ำ และเรอื นธาตุปรางคว์ ัดสม้ นครประวัตศิ าสตร์ พระนครศรอี ยุธยา ศิลปะอยธุ ยา ตอนตน้ พทุ ธศตวรรษที่ ๒o ล วดลายรูปสามเหลยี่ มใหญ่สลับสามเหลยี่ มเลก็ เรียงร้อยกนั ในแนวนอนอย่างมีระเบียบ รายระเอียด ภายในแบง่ ออกสามสว่ นอยา่ งมีระเบยี บ เช่นกนั กระหนกท่ปี ระกอบกนั ภายในรปู สามเหล่ยี มก็มแี บบแผน และลกั ษณะชัดเจน ลวดลายประดษิ ฐ์ เชน่ น้ี คือ งานออกแบบในสายที่สืบทอดมานาน จากวัฒนธรรมขอม หาก ประดับตอนล่างของเรือนธาตุของปรางค์เรยี กวา่ ลายกรวยเชิงประดับตอนบนปลายแหลมของรปู สามเหลีย่ ม ชลี้ งเรยี กวา่ ลายเฟื่องอบุ ะ (สันติ เล็กสุขุม , ๒๕๕๔ : ๑๗๖) (ภาพท่ี ๕.๑๒๕) สมัยอยธุ ยาตอนกลาง ความนิยมลายปูนป้ันประดับประเภทกระหนกผสมลักษณะพฤกษา ซ่ึงสบื เนื่องมา ไดร้ ับความนยิ มใน ยคุ กลางมีอยู่ไม่ก่แี หง่ เชน่ ลวดลายปูนปนั้ ประดบั ช่องผนังลกู กรงวิหารน้อย อยทู่ างดา้ นใตข้ องวิหารหลวง วัดพระศรีสรรเพชญ และอีกเล็กนอ้ ย ท่ีเหลอื ประดับซากเจดยี ร์ ายบางองค์ อนั เปน็ งานสรา้ งใหมค่ ราวบรู ณะ วัดมหาธาตุ ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ หรอื หลงั จากนน้ั (สนั ติ เล็กสุขมุ ,๒๕๕๒ : ๑๕๖) (ภาพที่ ๕.๑๒๖) ภาพที่ ๕.๑๒๖ ลายกรวยเชงิ เรือนธาตุของ ซากเจดยี ์ราย วัดมหาธาตุ อยุธยายคุ กลาง ภาพที่ ๕.๑๒๗ ลายประดบั ชอ่ งลูกกรงปูนปน้ั วหิ ารน้อย วัดพระศรสี รรเพชญ อยธุ ยาตอนกลาง ๑๗๒

บทที่ ๕ : สมัยประวัตศิ าสตร์ไทย สมัยอยธุ ยายุคปลาย ลายปูนปั้นของยุคปลายมีความประณีตปลายแบบปางสะบดั พร้วิ กวา่ กอ่ นรวมท้ังรายระเอยี ดมากขนึ้ คงเกดิ จากสว่ นผสมปูนทีเ่ หมาะสม น่าสงั เกตว่า ปลายสะบดั ของกระหนกที่นยิ มแพรห่ ลายจนเป็นแบบอยา่ ง ของยุคปลายอย่างแท้จริง อาจจะมีความสัมพนั ธก์ บั กรรมวิธีประดบั มุข ซง่ึ เจริญรุ่งเรืองมากในยุคเดยี วกัน ความนยิ มลายประดบั มขุ จงึ อาจมสี ว่ นหนนุ ใหช้ า่ งปน้ั ปน้ั ลายกระหนกใหเ้ รยี วสะบดั งามเทยี มกบั กระหนกจาก งานประดบั มขุ (สนั ติ เล็กสขุ มุ ,๒๕๔๒ : ๑๖๔) (ภาพท่ี ๕.๑๒๗) ภาพที่ ๕.๑๒๘ ลายกรวยเชงิ ประดบั เสาจระนำ�เจดียร์ าย ทรงปราสาทยอด วัดราชบรู ณะ อยธุ ยาตอนปลาย ป ระตมิ ากรรมนอกราชธานี ง านประดบั ผนงั สกัดดา้ นนอกด้านหน้าวิหารแหง่ น้ี คอื แหง่ เดียวท่ีสภาพคอ่ นข้างดี ชว่ ยใหศ้ กึ ษารูป แบบและลักษณะทางศิลปะรวมทั้งความคิดของช่างในการจัดการพ้ืนที่ให้เหมาะสมส�ำ หรับการรวมเรื่องพุทธ ประวัติกับเรอ่ื งทศชาดกไวด้ ้วยกนั ชา่ งป้นั กำ�หนดพน้ื ทสี่ ่วนกลางดว้ ยเร่อื งพุทธประวตั ิ ตอนพระพทุ ธองค์เสดจ็ ลงจากสวรรค์ชน้ั ดาวดงึ ส์ โดยลอ้ มรอบดว้ ยกรอบภาพเหตกุ ารณต์ อนเดยี วของทศชาดกแตล่ ะเรอื่ งลกั ษณะตา่ งๆทป่ี ระกอบอยใู่ นฉากเลา่ เรอ่ื ง เชน่ เครอ่ื งแตง่ กาย หรือ เครื่องสูงประเภทต่างๆลว้ นมีประโยชน์ในการศกึ ษาสงิ่ ทมี่ อี ยูใ่ นสมัยการสร้าง ประตมิ ากรรมตดิ ผนังแหง่ น้ี (สันติ เลก็ สุขุม,๒๕๕๔:๑๗๗) (ภาพท่ี ๕.๑๒๙) ภาพที่ ๕.๑๒๙ ภาพเลา่ เรื่องพุทธประวัติ และนทิ านชาดกปนู ป้ัน วิหารวดั ไลย์ อำ�เภอท่าวงุ้ ลพบรุ ี ศิลปะอยธุ ยา พุทธศตวรรษที่ ๒๑ – ๒๒ ๑๗๓

ประวัติและแบบอย่างศิลปะไทย ภาพที่ ๕.๑๓๐ ลวดลายปนู ป้ันประดับผนัง วิหารวัดไลย์ อ�ำ เอท่าวุ้ง ลพบุรี ศลิ ปะอยุธยา พุทธศตวรรษท่ี ๒๑ - ๒๒ แถวลกู กรงประดบั รปู เหรียญ หยกั มมุ ของวหิ ารหลังน้ี มงี านปูนป้นั ก�ำ หนดอายรุ ะหว่างพุทธศตวรรษ ที่ ๒๑ – ๒๒ ความเช่ือทเี่ คยมีวา่ ลูกกรงลกั ษณะดังกลา่ วเรมิ่ มีในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง เมอื่ ปลาย พุทธศตวรรษที่ ๒๒ จงึ ตอ้ งทบทวนกนั ใหม่ ลวดลายประดบั แผงส่เี หลี่ยมผืนผา้ แนวตัง้ เทียบเคยี งได้กับลวด ลายประดบั ผนังวิหารวดั นางพญา อุทธยานประวัตศิ าสตรศ์ รีสัชนาลัย เม่อื ราวต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๑ การออก แบบลายรปู สี่เหลี่ยมท่มี ีการหยักมมุ หกั เส้น ใหส้ อดสานพันดคู ลา้ ยเฉลวชวนใหน้ กึ ถงึ ลวดลายแบบจีน หรอื แบบมุสลมิ (สันติ เล็กสุขุม,๒๕๕๔:๑๗๘) ( ภาพที่ ๕.๑๓๐) พระพิมพ ์ มีการสรา้ งพระพมิ พท์ ำ�เปน็ พระพทุ ธรปู องคเ์ ลก็ ๆ บนแผ่นเดียวกันเรียกวา่ พระแผง หรือ พระก�ำ แพงห้าร้อย เป็นการสรา้ งเพ่ือเป็นวัตถุมงคล มีท้งั ขนาดใหญ่และเลก็ ทง้ั หล่อโลหะและดนิ เผา มกั นิยม ท�ำ พระพิมพเ์ ป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องประทบั อยู่ภายในเรอื นแกว้ (ภาพที่ ๕.๑๓๑) ภาพท่ี ๕.๑๓๑ พระพมิ พด์ นิ เผา วัดไชยวัฒนาราม จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ศิลปะอยธุ ยาตอนปลาย สถาปตั ยกรรมในสมยั อยุธยา เดิมสถาปัตยกรรมจะก่อสร้างดว้ ยไม้ ต่อมาในสมัยรัชกาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙- ๒๒๓๑) ไดม้ ีสมั พนั ธก์ ับทตู การคา้ และศาสนา กบั ชาตติ า่ งๆ มากขึน้ ท�ำ ให้เกิดการเปล่ียนแปลงการกอ่ สรา้ ง ของไทยมาจากไม้ เป็นวสั ดถุ าวรแข็งแรง เช่น อฐิ อาคารเรมิ่ มีบานประตู หนา้ ตา่ งตามแบบยุโรป เชน่ การ ใชห้ นา้ ตา่ งโคง้ แหลม หรอื โค้งมน ตามแบบโกธิค เช่น พระท่นี ั่งพระนารายณร์ าชนเิ วศน์ จงั หวดั ลพบุรี และ ๑๗๔

บทที่ ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตรไ์ ทย สถาปตั ยกรรมโดยรวมเกีย่ วขอ้ งกับพระพุทธศาสนา สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ และความเป็นอยขู่ องประชาชน ทัว่ ไป สว่ นสงิ่ ก่อสร้างในด้านพทุ ธศาสนา ไม่ว่าจะเปน็ สถูป เจดยี ์ พระปรางค์ โบสถ์ วิหาร มณฑป หอระฆงั ลว้ นสรา้ งด้วยศิลาแลง และกอ่ อฐิ (สอดนิ หรอื สอปูน) เพอื่ ความมั่นคงถาวรมอี ายุยาวนาน จึงนยิ มน�ำ มาสรา้ ง วดั วาอาราม การกอ่ สร้างโบสถว์ ิหารไดม้ ีววิ ัฒนาการตามลำ�ดับการประดบั หน้าบนั สลักลวดลายไมบ้ างแห่งเปล่ยี น เปน็ กอ่ อฐิ ถอื ปนู เช่นพระอโุ บสถวัดมเหยงคณ ์( บูรณะในรัชกาลพระเจา้ ทา้ ยสระ) พ ระวหิ ารวดั กฎุ ีดาว ( บูรณะ ในรชั กาลพระเจา้ ท้ายสระ) พระวหิ าร วัดราชบูรณะ (บรู ณะในรัชกาลพระเจ้าบรมโกศ) สถาปัตยกรรมสมยั อยุธยา แบ่งได้เป็น ๓ ยคุ คอื สถาปตั ยกรรมศิลปะอยุธยาตอนตน้ สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ ทรงสถาปนากรุงศรอี ยธุ ยาเมอื่ พ.ศ. ๑๘๙๓ จนถึงสมยั ของสมเด็จพระ บรมไตรโลกนาถใน พ.ศ.๒o๓๑ ลักษณะสถาปตั ยกรรมเป็นแบบศิลปะลพบุรี หรอื ศลิ ปะเขมร กับศิลปะอทู่ อง จึงกอ่ สร้างเปน็ “พทุ ธปรางค”์ นยิ มสร้างปรางคเ์ ป็นประธานของวัด โดยมีลกั ษณะปรางคเ์ ลยี นแบบเขมรแต่ สูงชะลดู กวา่ ดัดแปลงรูปทรงและแผนผังใหม้ ีลักษณะเปน็ ปรางค์ไทยมากขนึ้ มีมขุ ด้านหนา้ ยาวย่ืนออกมา มี ซุ้มพระพทุ ธรูปหรอื ทา้ วจตั ุโลกบาล ภาพที่ ๕.๑๓๒ ปรางค์ประธานวดั ราชบูรณะ นครประวัติศาสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา ศิลปะอยธุ ยาตอนตน้ รชั กาลสมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๒ (เจ้าสามพระยา) พ.ศ. ๑๙๖๗ เ จดีย์ประธานทรงปรางค์ของวัดราชบูรณะถูกซ่อมเปลี่ยนแปลงน้อยกว่าปรางค์ประธานวัดอ่ืนที่สร้าง ในระยะเวลาไล่เล่ยี กัน รปู แบบ คอื ปรางค์ระยะแรก ได้แก่ ชดุ ฐานบัวลกู ฟกั การเพิ่มมุมที่เรอื นธาตยุ งั ชัดเจน วา่ มุมขนาดใหญค่ อื มุมประธานของมุมประกอบทม่ี ขี นาดเลก็ กว่า ชนั้ ซ้อนลดหลน่ั ท่ีส่วนบนของปรางค์ยงั มี ปรมิ าตรเด่นชดั แม้จะลดความซับซอ้ นลงไปมากแล้ว ชัน้ บนสดุ เคยมียอดนภศลู ทำ�ดว้ ยโลหะ (สนั ติ เล็กสขุ มุ , ๒๕๕๔: ๑๗o) พงศาวดารกลา่ ววา่ วดั แห่งนีส้ รา้ งขน้ึ ณ บรเิ วณท่ถี วายพระเพลิงพระศพเจ้าอ้ายและเจา้ ย่ี ซงึ่ เปน็ พระเชษฐาของพระองค์ทีส่ นิ้ พระชนม์พร้อมกนั จากการรบเพือ่ แยง่ ชิงราชบัลลังก์ (ภาพที่ ๕.๑๓๒) ๑๗๕

ประวตั ิและแบบอย่างศลิ ปะไทย ภาพที่ ๕.๑๓๓ เจดยี ท์ รงปราสาทยอด วัดมหาธาตุ นครประวตั ศิ าสตร์ พระนครศรอี ยุธยา ศลิ ปะอยธุ ยา ตน้ พุทธศตวรรษที่ ๒o ช า่ งอยธุ ยายุคแรกปรบั ปรงุ เจดีย์ทรงปราสาทยอดมาจากเจดยี ์ทรงเดยี วกนั ในศิลปะสุโขทยั แตร่ สนยิ ม ของชา่ งอยธุ ยายงั เดน่ ชดั ทชี่ ดุ ฐานบวั ลกู พกั อยา่ งเจดยี ท์ รงปรางค์นา่ เสยี ดายทง่ี านบรู ณะในปจั จบุ นั ท�ำ ใหส้ งั เกต ชดุ ฐานของเจดยี ท์ รงปราสาทยอดองคน์ ไ้ี ดย้ ากแลว้ เรอื นธาตเุ พมิ่ มมุ โดยมมี มุ ประธานมขี นาดใหญก่ วา่ มมุ ขนาบ เปน็ ลักษณะของปรางค์ รวมถึงเหนอื เรือนตา่ งๆ เป็นชน้ั ซอ้ น และประดบั มุมของชัน้ ซอ้ นตัวกลีบขนนุ ซงึ่ ช�ำ รุด รว่ งลงไปจนเกอื บหมดสว่ นระเบยี บของการตง้ั ทรงระฆงั เหนอื เรอื นธาตชุ นั้ ซอ้ นตอ่ ยอดทรงระฆงั ดว้ ยทรงกรวย คอื ประเด็นส�ำ คญั ท่ีแสดงวา่ ตันแบบของเจดีย์ทรงปราสาทยอดนีม้ าจากสโุ ขทัย (สันตเิ ลก็ สขุ มุ ,๒๕๔๒: ๘๘ – ๙๑) วัดมหาธาตสุ ร้างอยู่ใจกลางเมอื ง เปน็ การสบื ทอดแนวคิดมาจากวฒั นธรรมขอม ซง่ึ นยิ มสรา้ งปราสาทไว้ กลางเมือง เพื่อเปรยี บใหเ้ ป็น “เขาพระสเุ มรุ” ซงึ่ เป็นศูนย์กลางของจักวาลและเป็นสถานท่ีประดิษฐาน “เทวรูป” หรอื ศิวลึงค์ ซ่ึงเปน็ สิ่งแทนองค์กษตั ริย์ สอื่ ความหมายว่า พระมหากษัตรยิ ์ทรงฟื้นฟยู ิ่งใหญ่ และ สถิต ณ ศนู ย์กลางของจักวาล (ภาพท่ี ๕.๑๓๓) ภาพท่ี ๕.๑๓๔ ปรางคป์ ระธาน วดั พระราม จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ศิลปะอยธุ ยาตอนตน้ ๑๗๖

บทที่ ๕ : สมยั ประวัตศิ าสตรไ์ ทย ปรางคป์ ระธาน วัดพระราม สร้างในรัชกาลสมเดจ็ พระราเมศวร ตรมี ขุ ย่นื จากองค์ปรางค์ไปทาง ทิศตะวนั ออก ซ่งึ ไม่เหลือหลังคา มขุ ตรงข้ามก็เช่นกนั ฐานของมุขคืออฐิ ใหม่ กรมศิลปากรบูรณะตามสภาพที่ เหลืออยู่ (สนั ติ เล็กสุขมุ ,๒๕๔๒ : ๖o) (ภาพท่ี ๕.๑๓๔) พทุ ธเจดยี ส์ มยั อยธุ ยาตอนต้น ได้แก่ พระเจดยี ์ ๘ เหลย่ี ม ฐานสงู มซี ้มุ พระพุทธรูปยนื ทง้ั ๘ ทศิ ประดับเรือนธาตุ สว่ นยอดเป็นเจดยี ท์ รงระฆัง เชื่อว่าได้รบั อิทธพิ ลจากเจดีย์ในสมยั ลพบรุ ีตอนปลาย มีรปู ทรง ใกลเ้ คยี งกับ “รัตนเจดยี ”์ ในสมัยหริภุญไชยตอนปลาย ที่วัดกกู่ ดุ เมอื งลำ�พูนได้รับอทิ ธิพลจากเมืองลพบุรเี ชน่ กัน พระเจดีย์แบบนีก้ อ่ ดว้ ยอฐิ ไมส่ อปนู แตส่ อดนิ ผสมยางไม้ ได้รบั อทิ ธิพลจากศลิ ปะแบบปาละ พระเจดยี ์ ๘ เหลีย่ ม มอี ยหู่ ลายแห่ง เชน่ พระเจดยี ์วัดเสาธงทอง พระเจดยี ์รายวัดพระศรรี ตั นมหาธาตุ จงั หวัดลพบุรี พระเจดยี ์วัดสุวรรณาวาส จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา พระเจดยี ว์ ัดมหาธาตุ จังหวดั ชัยนาท และพระเจดีย์ วดั มหาธาตุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ฯลฯ วดั มเหยงคณ์สรา้ งในรชั กาลสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท ี่๒ ( เจา้ สามพระยา) ( พ.ศ.๑๙๖๗-๑๙๙๑) เ ปน็ พระเจดยี ท์ รงระฆงั ทม่ี ลี กั ษณะพเิ ศษมชี า้ งลอ้ มฐานประทกั ษณิ ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งกบั เจดยี ช์ า้ งลอ้ มของศลิ ปะสโุ ขทยั มีช้างคร่ึงตัวประดบั เรยี งรายในซ้มุ จรนำ�ของผนังฐานมากที่สดุ ในประเทศไทย มีถึง ๘o เชือก มีเจดยี ์บรวิ าร ทั้ง ๔ มมุ มีซุ้มพระพุทธรูปศิลาประดบั รองรับฐานองคเ์ จดีย์ประธาน เป็นคติทผ่ี สมผสานระหวา่ งแบบอย่าง ของลงั กากับแบบศิลปะปาละ (ภาพท่ี ๕.๑๓๕) ภาพท่ี ๕.๑๓๕ เจดีย์ชา้ งลอ้ มประธานทรงระฆัง วัดมเหยงคณ์ ภาพท่ี ๕.๑๓๖ เจดียท์ รงระฆัง วดั สมณโกฏฐาราม ๑๗๗

ประวตั แิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย เจดียท์ รงระฆัง วัดสมณโกฏฐาราม ได้แบบอยา่ งของเจดยี ท์ รงระฆังแบบสโุ ขทัย ลวดบวั สามวงคาด รวมกันใต้ทรงระฆงั โครงอิฐของแตล่ ะวงบากเป็นลวดบัวคว่ำ� แต่กลับเรียกตามลกั ษณะเทว่า บวั ถลา เชอื่ ว่า ได้รบั อทิ ธิพลมาจากศลิ ปะสโุ ขทยั (ภาพท่ี ๕.๑๓๖) สถาปัตยกรรมศิลปะอยุธยาตอนกลาง เ ป็นรูปแบบทย่ี อมรับนับถอื ศิลปวฒั นธรรมจากสุโขทยั มากยิ่งขน้ึ ทำ�ให้ทัศนคติการกอ่ สร้างเปล่ยี นไป มีการก่อสรา้ งพุทธเจดยี ์ “ทรงระฆงั ” เป็นประธานวดั แทนการสร้าง “พุทธปรางค์” ทำ�ให้อทิ ธิพลศิลปะลพบรุ ี เสือ่ มลง เนื่องจากสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑-๒o๓๑) เสด็จไปประทับทเ่ี มืองพษิ ณโุ ลก ในพ.ศ. ๒oo๖ จนถงึ สมยั สมเด็จพระเจา้ ปราสาททองในพ.ศ. ๒๑๗๒ อิทธิผลมาจากศิลปะสุโขทัย นิยมเจดยี ์ ทรงลงั กาแบบสุโขทยั แทนปรางค์แบบเขมร เช่น พระมหาสถปู สามองคว์ ดั พระศรสี รรเพชญ พระเจดยี ว์ ัดใหญ่ ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถอื วา่ เปน็ เจดยี ์ทไ่ี ด้รบั อทิ ธิพลจากทรงระฆังแบบสโุ ขทัย ภาพท่ี ๕.๑๓๗ เจดยี ว์ ัดพระศรสี รรเพชญ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ศลิ ปะอยุธยาตอนกลาง ค รึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ ๒๑ เจดีย์ วัดพระศรีสรรเพชญ พระมหาเจดยี ข์ นาดเท่ากัน ๓ องค์ ต้ังเรยี งรายอย่บู นฐานเดยี วกนั เป็น ประธานของวดั ทีส่ �ำ คญั ภายในพระราชวัง พระเจดยี แ์ ต่ละองค์ประดบั ดว้ ยซุ้มจตรุ ทิศมบี ันไดข้ึนสู่ซมุ้ ๔ ทศิ เหนอื ซมุ้ มพี ระเจดียเ์ ล็กๆ ประดับเจดีย์ขนาดใหญ่ ทีช่ ุดลวดบวั เรยี กว่า มาลยั เถา เพราะมีจ�ำ นวนเส้นคาดรอบ ใต้บวั ปากระฆงั ซ่ึงรองรบั องคร์ ะฆังเหนอื ทรงระฆังคือบลั ลงั กส์ ่เี หลยี่ มตงั้ เสาหานรองรบั ทรงกรวยซงึ่ ประกอบ ดว้ ยบัวฝาละมี ปลอ้ งไฉน ปลสี ำ�หรับเม็ดกลมท่ีประดับยอดของปลี สมยั หลงั เรียกว่า เมด็ น�ำ ค้ า้ ง (สนั ติ เลก็ สขุ มุ ,๒๕๕๔:๑๗๒) พระมหาเจดยี อ์ งค์ด้านทิศตะวันออก และองค์กลางสร้างในรชั กาลสมเดจ็ พระรามาธิบดี ท่ี ๒ เม่ือ พ.ศ. ๒o๓๔ เพือ่ บรรจุพระบรมอฐั ิของพระบรมชนกนาถ (สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ) และอัฐธาตุ ของสมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๓ ซึ่งเป็นพระเชษฐา สว่ นองค์ที่ ๓ ซ่งึ อยู่ทางทศิ ตะวนั ตก สรา้ งในรัชกาล สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๔ เม่ือ พ.ศ. ๒o๗๕ หลังองค์แรกประมาณ ๔o ปี (ภาพที่ ๕.๑๓๗) ส มัยอยุธยาตอนกลาง พระเจดีย์ทรงระฆงั ไดค้ ลีค่ ลายรูปแบบบางอย่าง เช่น จากลักษณะฐานวงกลม เปล่ยี นมาเป็นฐาน ๘ เหล่ยี ม สว่ นลกั ษณะบัลลังก์ ๔ เหล่ียม เปลีย่ นเป็นบัลลังกร์ ปู ๘ เหล่ยี ม เช่น พระเจดยี ์ วดั ใหญช่ ัยมงคล พระเจดยี ว์ ดั อโยธยา พระเจดียว์ ดั สามปล้ืมจังหวดั พระนครศรีอยุธยา พระเจดีย์วัดกฎุ ีสงฆ์ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี และวัดอน่ื ๆ อีกมากมาย สว่ นมากจะยดื องคร์ ะฆังสูงกวา่ สมยั แรก โดยเฉพาะวัดอโยธยา (วดั เดิม) ส่วนที่เป็นองคร์ ะฆังประดษิ ฐเ์ ป็นกลีบบวั ซ้อนลดหล่นั กันตลอดในลักษณะแบบ “บัวกลุม่ ” นับเป็น แบบพเิ ศษกว่าเจดยี ์องคอ์ ืน่ ๆ ๑๗๘

บทที่ ๕ : สมัยประวตั ิศาสตรไ์ ทย ภาพท่ี ๕.๑๓๘ เจดยี ป์ ระธานทรง ๘ เหล่ียม วดั ใหญ่ชยั มงคล ศิลปะอยุธยาตอนกลาง เจดยี ป์ ระธานทรง๘เหลย่ี มวดั ใหญช่ ยั มงคลคาดวา่ สรา้ งวดั ขน้ึ ในสมยั พระเจา้ อทู่ องบรู ณะครง้ั ส�ำ คญั ในรชั กาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช พ.ศ. ๒๑๓๖ ภายในเปน็ เจดีย์สูงใหญค่ าดกนั วา่ สมเดจ็ พระนเรศวรโปรด เกล้าฯใหส้ ร้างข้นึ ตามคำ�ทูลของสมเดจ็ พระนพรัตน์ เพ่ือเฉลิมพระเกียรติในการยทุ ธหัตถีและขนานนามวา่ “เจดยี ช์ ยั มงคล”ประกอบดว้ ยผนงั ของฐานประทกั ษณิ สงู ของพระเจดยี อ์ งคน์ ป้ี ระดบั ดว้ ยเสาองิ เดมิ สว่ นนเ้ี คยเปน็ เสาจรน�ำ สำ�หรบั ประดษิ ฐานพระพุทธรปู (ภาพที่ ๕.๑๓๘) ภาพท่ี ๕.๑๓๙ เจดยี ์ประธานทรงแปดเหล่ยี ม วดั อโยธยา จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ศลิ ปะอยธุ ยาตอนกลาง วัดอโยธยา แตก่ ่อนชอื่ วัดเดมิ เป็นวัดโบราณท่คี าดกนั วา่ สร้างข้นึ กอ่ นสรา้ งกรงุ ศรอี ยุธยา และเป็นวัด ท่ีสำ�คัญในพงศาวดารกล่าวว่าเป็นวัดท่ีจำ�พรรษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์สมัยสมเด็จพระนารายน์ (พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) จะเห็นไดว้ ่าเจดยี ข์ องวดั แหง่ นี้มีลักษณะแปลก ตรงท่ปี ระดับองคร์ ะฆงั ดว้ ยปนู ป้นั รูป กลีบบวั จนทั่ว (ช�ำ รดุ เสยี หายมาก) แต่ส่วนฐานดูคลา้ ยกบั ฐานของเจดยี ์วัดใหญ่ชัยมงคล (ภาพท่ี ๕.๑๓๙) ๑๗๙

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย สถาปตั ยกรรมศลิ ปะอยุธยาตอนปลาย ภายหลังพระเจา้ ปราสาททอง (พ.ศ. ๒๑๗๒-๒๑๙๙) ทรงปราบปรามเขมรท่ีแข็งแกร่งจนราบคาบ ได้ โปรดเกลา้ ฯใหน้ ายชา่ งไปท�ำ แบบอยา่ งสถาปตั ยกรรมเมอื งเขมรเพอื่ น�ำ มาสรา้ งต�ำ หนกั พกั รอ้ นทพ่ี ระนครหลวง และสร้างพุทธปรางค์ขึ้นที่วัดไชยวัฒนารามไว้เป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะของพระองค์สถาปัตยกรรมท่ีน่า สนใจในสมยั พระเจา้ ปราสาททองอกี แบบหน่งึ คือ การสรา้ งพทุ ธเจดีย์แบบสเี่ หลย่ี ม “ยอ่ มุมไมส้ ิบสอง” เช่ือ ว่าน่าจะมีการออกแบบสรา้ งพระเจดยี ท์ รงไทย โดยดดั แปลงจากรูปทรงของพระเจดีย์ทรงระฆงั จะผิดแผก กนั ตรงท่ที ำ�เป็นฐานสงิ ห์ ๓ ชน้ั ลดหลน่ั กนั เทา่ น้ัน พระเจดียแ์ บบนที้ �ำ กันสบื มาจนถงึ รัชกาลพระเจ้าบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕-๒๓o๑) ทรงสรา้ งพระเจดียว์ ดั ภเู ขาทอง และถอื เปน็ สถาปตั ยกรรม “แบบอยุธยาแท”้ มกี ารยอ่ มมุ ต้ังแตฐ่ านขน้ึ ไปจนถงึ บลั ลงั ก์ เปน็ การย่อไม้สบิ สองโดยตลอด ภาพท่ี ๕.๑๔๐ ปรางค์ประธาน วัดไชยวฒั นาราม จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา นครประวัตศิ าสตร์ พระนครศรอี ยธุ ยา รชั กาลสมเด็จพระเจ้า ปราสาททอง พ.ศ. ๒๑๗๒ ป รางคป์ ระธานวดั ไชยวฒั นาราม น บั วา่ มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทงั้ ในดา้ นการออกแบบและงานชา่ งฝมี อื โดยเฉพาะในสมยั พระเจา้ ปราสาททองไดเ้ สดจ็ ยกทพั ไปปราบเขมร และไดช้ ยั ชนะ พ.ศ. ๒๑๗๒ โปรดให้ จ�ำ ลองพระปรางคข์ อมไว้ณวดั ไชยวฒั นารามจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาคลา้ ยคลงึ กบั ปรางคว์ ดั วรเชตเุ ทพบ�ำ รงุ และปรางคม์ หาธาตุ โดยปรางคป์ ระธานวัดไชยวฒั นาราม สบื ทอดแบบอยา่ งจากปรางค์ทส่ี รา้ งขึน้ ก่อนเม่อื ราวกลางศตวรรษเดยี วกนั ซง่ึ ยังรกั ษาระเบียบของปรางค์ในระยะแรกของราชธานีอยู่ไม่นอ้ ย เชน่ การท�ำ ชดุ ฐานบัวลกู ฟัก (ภาพท่ี ๕.๑๔๐) ภาพท่ี ๕.๑๔๑ เจดยี ์ศรีสรุ โิ ยทยั นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ศลิ ปะอยธุ ยาปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ ๑๘๐

บทที่ ๕ : สมัยประวตั ศิ าสตร์ไทย ร ูปแบบของเจดียอ์ งคน์ ้ีเรียกว่า เจดยี ส์ เ่ี หล่ียมเพ่มิ มมุ ส่วนส�ำ คัญเหนือฐานขึ้นมาคอื เรอื นธาตุส่เี หลยี่ ม เพ่ิมมมุ จระน�ำ ประจ�ำ ทิศประดับเจดียจ์ ำ�ลองไวท้ ี่สันหลังคา เหนือเรือนธาตมุ ชี น้ั คลา้ ยชุดฐานรองรับทรงระฆัง สี่เหลยี่ มเพิม่ มมุ ตามแนวท่ีข้ึนมาจากเรอื นธาตตุ อ่ จากทรงระฆงั คอื บัลลงั กส์ ี่เหลย่ี มเพิม่ มมุ เช่นกัน และบนสดุ คอื ยอดทรงกรวย (สันติ เล็กสขุ ุม,๒๕๕๔ : ๑๗๓) (ภาพที่ ๕.๑๔๑) ภาพท่ี ๕.๑๔๒ พระเจดีย์วัดภูเขาทอง จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา พระเจดยี ์วัดภเู ขาทอง นยิ มสร้างเจดยี ์ย่อไม้สิบสอง เช่น การบูรณปฏสิ ังขรณ์ พระเจดียภ์ ูเขาทอง ถอื เปน็ ลกั ษณะสถาปตั ยกรรมของไทยแทแ้ บบหนงึ่ นยิ มจนถงึ ทกุ วนั นี้เจดยี ร์ ายองคน์ ม้ี จี �ำ นวนมมุ เพม่ิ ขน้ึ แตข่ นาด ของมมุ เล็กลงท้ังหมด ทำ�ให้ความกว้างของด้านชดั เจนยิง่ ข้นึ เป็นชว่ งการบูรณปฏิสังขรณ์ ในสมยั สมเดจ็ พระ เจ้าบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕-๒๓o๑) (ภาพท่ี ๕.๑๔๒) ภาพที่ ๕.๑๔๓ พระเจดยี ย์ ่อมมุ ไมส้ บิ สอง อฐิ ถอื ปูน วัดชมุ พลนกิ ายาราม อ�ำ เภอปางปะอนิ จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ศิลปะอยุธยา ตอนปลาย ๑๘๑

ประวตั ิและแบบอย่างศิลปะไทย พระเจดยี ์ยอ่ มุมไมส้ บิ สอง วัดชุมพลนกิ ายาราม สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง (พ.ศ. ๒๑๗๒-๒๑๙๙) ยังทรงคดิ แบบพระเจดยี ใ์ หม่ โดยดดั แปลงจากเจดยี ์ทรงกลมมาเป็นเจดยี ์เหลีย่ ม เรยี กวา่ พระเจดีย์ยอ่ มมุ ไม้ สิบสอง สร้างขึน้ แห่งแรกท่ีวดั ชุมพลนกิ ายาราม บรู ณะในสมัยรัชกาลท่ี ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้า อยู่หวั องค์พระเจดยี ์สร้างบนฐานประดับทกั ษณิ และบันไดทางข้ึนทศิ ตะวนั ออก สว่ นล่างขององค์เจดยี เ์ หนือ ลานประทกั ษณิ เป็นฐานบวั ลูกแกว้ อกไกร่ องรบั ชุดลวดบัว โดยมีปากระฆงั รองรบั ทรงระฆงั ส่เี หลยี่ มเพิ่มมุม เหนอื ทรงระฆงั เปน็ บัลลงั ก์รูปสเี่ หล่ยี มด้านเทา่ มีเสาหาน ปลอ้ งไฉน ปลี และเมด็ น�ำ ค้ า้ ง รูปคล้ายหยดนำ�้ ประดับปลายยอดของปลี (ภาพท่ี ๕.๑๔๓) ก ารวางแผนผงั สถาปตั ยกรรมสมัยอยุธยา การวางแผนผงั โบสถ์ วิหาร พระปรางค์หรอื เจดียใ์ นสมยั อยธุ ยาตอนตน้ และตอนกลาง ยดึ ถอื ระบบเดียวกัน ดว้ ยการจดั แผนผังในลักษณะพเิ ศษไม่เหมือนกับสมยั สโุ ขทยั เปน็ การวางผงั ในแนวดง่ิ มแี กนเปน็ เสน้ ตรงจากแนวทศิ ตะวนั ออกไปทศิ ตะวนั ตกในลกั ษณะทพ่ี ระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว ทรงเรียกว่า “พระวหิ ารหลวง” โดยวางแผนผังดงั นี้ พระวหิ ารขนาดใหญต่ ัง้ อยดู่ ้านหน้า (หันหน้าสทู่ ิศตะวนั ออก) พทุ ธปรางค์หรอื พุทธเจดยี อ์ ย่ตู รงกลาง (พระระเบียงคดลอ้ มรอบ) ส่วน พระอุโบสถ ต้งั อยู่ด้านหลัง (หนั หนา้ สทู่ ิศตะวนั ออก) การก่อสรา้ งอาคารทางศาสนา เช่น อโุ บสถ วหิ าร คงลักษณะแบบสมยั อยุธยาตอนต้น คือ อาคารรูป สีเ่ หลี่ยมผืนผ้า ฐานสงู มีประตูหน้าตา่ งเจาะเป็นช่องเลก็ ๆ ตามแนวต้ัง เพอื่ ใหแ้ สงสว่างเขา้ ไปภายในได้พระ อโุ บสถสมัยอยธุ ยาตอนตน้ มีการกำ�หนดเขตในการท�ำ สังฆกรรมเรียกวา่ “พนั ธสมี า” ล้อมรอบด้วยใบสมี า หินชนวนขนาดใหญ่ ไม่มีลวดลายประดบั ตามแบบอยา่ งใบสมี าสมัยสุโขทยั แตม่ ีขนาดใหญ่กว่าสมัยสโุ ขทยั เป็นใบสมี าคู่อยู่ ๘ ทศิ เช่น ใบสีมาวดั พุทไธสวรรย์ ใบสีมาวดั มหาธาตุ ใบสีมาวัดมเหยงคณ์ จังหวดั พระนคร ศรีอยธุ ยา ตอ่ มาในตอนกลางใบสมี าค่อยๆ มีขนาดเลก็ ลงและเปลี่ยนจากการใช้หนิ ชนวนเป็นการใช้หินทราย และหนิ อนื่ ๆการประดบั ลวดลายใบไม้ดอกไม้ผสมลายกระหนกเร่ิมข้ึนจนในสมัยอยุธยาตอนปลายขนาดเล็ก ลงและมลี ักษณะเอวคอด ใบสมี าค่อยๆ งอนข้ึน จนกลายเปน็ ตัวกระหนกหรอื หัวนาค ฐานสมี ามีการประดษิ ฐ์ เป็นฐานสิงหย์ ่อไมส้ ิบสองรองรบั “บวั กลมุ่ ” ส�ำ หรบั ตัง้ ใบสีมาเรยี กวา่ “ใบสมี านง่ั แทน” เช่น พระอุโบสถ วัดมเหยงคณ์ พระอโุ บสถวัดธรรมาราม จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยาพระอุโบสถวัดพระพทุ ธบาท จังหวดั สระบรุ ี และวัดอืน่ ๆ อีกมากมาย ภาพที่ ๕.๑๔๔ ใบสมี าหนิ ชนวนขนาดใหญ่ ไม่มลี วดลายประดบั วัดมเหยงคณ์ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ๑๘๒

บทที่ ๕ : สมยั ประวตั ศิ าสตร์ไทย ภาพที่ ๕.๑๔๕ ใบสีมาหินทราย ประดบั ลวดลาย ดอกไมผ้ สมลายกระหนกวดั สมณโกฏฐาราม จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ส ถาปัตยกรรมแบบอ่ืนๆ โบสถ์ วหิ าร สมยั อยุธยาตอนตน้ นิยมทำ�ขนาดใหญม่ ากเปน็ โถงส่เี หล่ยี ม กอ่ ด้วยอฐิ ผนังอาคารเจาะเปน็ ชอ่ งแคบๆ เรยี กวา่ ลูกฟกั เพ่อื ระบายลมและมีแสงสอ่ งผ่าน ยงั ไม่มกี ารเขยี น ภาพจติ รกรรมฝาผนงั พอถึงสมยั อยุธยาตอนกลาง อาคารมขี นาดเลก็ ลง ก่อผนงั ทึบและอาคารโบสถ์ วหิ าร สมัยอยุธยาตอนปลาย ฐานอาคารนยิ มท�ำ เปน็ รปู โคง้ คลา้ ยทอ้ งเรือ มีการเจาะหนา้ ตา่ งทผี่ นังตกแต่งซุ้มประตู หนา้ ต่างทป่ี ระณีต ใช้กระเบ้ืองเคลือบมุงหลงั คามีการนำ�เอาศลิ ปะการกอ่ สร้างอาคารของยุโรปเข้ามาผสม เกิดการสร้างอาคาร ๒ ชั้น เชน่ ตำ�หนกั พระพุทธโฆษาจารย์ วหิ ารวัดตกึ วิหารวดั เจ้ายา่ จังหวดั พระนคร ศรีอยธุ ยา ภาพท่ี ๕.๑๔๖ วิหารหลวง วัดมหาธาตุ อยธุ ยาตอนต้น รชั กาล สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ (ขุนหลวงพะงวั่ ) ภาพที่ ๕.๑๔๗ วิหารหลวง วดั ราชบรู ณะ อยุธยาตอนตน้ รัชกาลสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๒ (เจา้ สามพระยา) ๑๘๓

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๕.๑๔๘ วิหารหลวง วดั พระศรสี รรเพชญ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา อยธุ ยาตอนกลาง ภาพที่ ๕.๑๔๙ อโุ บสถวดั หน้าพระเมรุราชิการาม ภาพท่ี ๕.๕๐ อุโบสถวัดมเหยงคณ์ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา อยธุ ยาตอนกลาง อยุธยาตอนปลาย รัชกาลสมเดจ็ พระเจ้าท้ายสระ ภาพท่ี ๕.๑๕๑ อโุ บสถวดั กุฎดี าว จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา อยุธยาตอนปลาย รัชกาลสมเด็จพระเจ้าทา้ ยสระ ๑๘๔

บทท่ี ๕ : สมัยประวัตศิ าสตร์ไทย เทคนิคในการกอ่ สร้างแนวใหม่ นบั ตัง้ แตส่ มยั รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙- ๒๒๓๑) มกี ารเปลีย่ นแปลงในรูปแบบ การใช้วสั ดุ เทคโนโลยีในการกอ่ สรา้ งตามอทิ ธิพลแบบอยา่ งของ สถาปัตยกรรมของยโุ รป ทชี่ าวฝรั่งนำ�เขา้ มาท�ำ การกอ่ สรา้ งในเมืองลพบรุ ี เป็นเมอื งท่ีส�ำ คญั รองลงมาจาก เมอื งอยธุ ยา มีอาคารที่สำ�คญั ดังนี้ อาคารรบั รองแขก (บ้านเจ้าพระยาวชิ าเยนทร)์ และพระทีน่ งั่ หรือพระ ตำ�หนัก และพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ ฯลฯ สำ�หรบั อาคารท่ีเคยก่อสร้างดว้ ยไม้ ได้รบั การเปลีย่ นแปลง เปน็ การก่อสรา้ งด้วยอิฐถือปนู ตามแบบยโุ รป และใช้แบบผสมผสานกันระหวา่ งแบบประเพณีกับแบบตะวันตก เทคนคิ เกา่ ผสมเทคนคิ ใหม่ ทั้งวสั ดุ รปู แบบ โครงสร้าง เพอ่ื ใหเ้ กิดรูปทรงแบบใหม่ๆ ภาพท่ี ๕.๑๕๒ บ้านหลวงรับราชทูต (บา้ นวิชาเยนทร์) อยุธยาตอนปลาย จังหวดั ลพบรุ ี รชั กาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภาพท่ี ๕.๑๕๓ พระราชวังนารายณร์ าชนิเวศน์ อยุธยาตอนปลาย จงั หวัดลพบรุ ี รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ส รุปสถาปตั ยกรรมสมยั อยุธยา สถาปตั ยกรรมที่เกยี่ วข้องกบั พระมหากษัตริย์ ได้แกพ่ ระราชวงั และพระตำ�หนกั ตา่ งๆ ของอยธุ ยา ถูกทำ�ลายไปมาก จนยากทจี่ ะหารูปแบบที่แทจ้ รงิ ได ้ มีเพยี งรากฐานเทา่ นัน้ ทพี่ อมีเคา้ โครงใหเ้ ห็นอย่บู ้างเปน็ พระทน่ี ั่งอย่นู อกกรงุ ศรอี ยุธยา เชน่ พระราชวงั นารายณร์ าชนเิ วศน์ จงั หวดั ลพบรุ ี ต�ำ หนักพระนครหลวง จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ต�ำ หนกั ธารเกษม จงั หวัดสระบรุ ี ส ถาปตั ยกรรมที่เกยี่ วกบั การปกครองบ้านเมือง มีป้อมปราการและก�ำ แพงเมืองตอ่ มามีประตเู มอื ง พัฒนาข้นึ ภายหลังมีการตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั ชาวตะวนั ตก สถาปัตยกรรมที่อย่อู าศยั ของประชาชน เรียกวา่ เรือนไทยนยิ มสร้างเปน็ เรอื นช้ันเดียว ยกพื้นสงู ใต้ถนุ โปร่งมี ๒ ลกั ษณะ คอื เรอื นเคร่อื งผูกปลกู ดว้ ยไม้ไผ่ ใช้เสน้ หวายและตอกเปน็ เครอ่ื งผกู รดั เป็นที่อยู่ของ ชาวบ้านทัว่ ไป และเรือนเคร่ืองสบั ปลกู ด้วยไม้อาศัยวิธีเขา้ ปากไมโ้ ดยบากเป็นรอ่ งในตัวไม้แต่ละตวั แล้วนำ� มาสบั ประกบกนั เปน็ ที่อยขู่ องผ้มู ีฐานะดี ๑๘๕

ประวตั ิและแบบอยา่ งศิลปะไทย ศ ลิ ปะอยุธยาเกือบทกุ ประเภทได้เจริญกา้ วหนา้ อยา่ งยิ่ง ในชว่ งปลายของกรงุ ศรีอยุธยาและได้สะดุด ลงเมอ่ื เสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาแกพ่ มา่ ในพ.ศ.๒๓๑o ท �ำ ใหช้ า่ งฝมี อื ตา่ งๆ ช ะงกั ไปชว่ั ระยะหนง่ึ จนถงึ สมยั รตั นโกสนิ ทร์ จึงเริม่ ฟืน้ ฟขู ึน้ อีกครัง้ หน่งึ จติ รกรรมฝาผนังสมยั อยุธยา จ ิตรกรรมฝาผนังมีอยู่มาก แต่เน่ืองจากถูกทำ�ลายหรือมีสภาพปรักหักพังของอาคารเป็นสว่ นใหญ่ จึง ไมป่ รากฏเท่าทคี่ วร โดยเฉพาะในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยาตอนตน้ และตอนกลาง สว่ นตอนปลายก็มบี า้ ง เน้ือหาที่ เขยี นเปน็ เรอ่ื งพระพุทธศาสนา เช่น พุทธประวตั ิ (ปฐมสมโพธิ) ชาดก ไตรภมู ิ และการประกอบพระราชพิธี บำ�เพ็ญงานกุศลของพระมหากษัตริย์ ซึง่ แสดงเร่อื งราวของบ้านเมือง เช่น ขบวนแหพ่ ยหุ ยาตราชลมารค และ แสดงภาพปราสาทราชวังอันงดงาม จิตรกรรมฝาผนังสะทอ้ นความศรทั ธา ความเชื่อในพุทธศาสนา มีการวาด ภาพบนผนงั อุโบสถ วหิ าร และสมดุ ภาพโดยใช้สีฝนุ่ ผสมกาวระบายเรียบ ตัดเส้นขอบและรายละเอียดของ ภาพ การตัดเสน้ แสดงความรูส้ ึกนึกคิดผ่านฝีมืออันแม่นยำ� ท�ำ แบบน้มี าในสมัยสโุ ขทัย ส�ำ หรบั ภาพทเี่ กดิ จาก กรรมวิธอี ืน่ ของชาวอยธุ ยา อนั แสดงถงึ ความประณตี และความเชีย่ วชาญยง่ิ ทางดา้ นจงั หวะชอ่ งไฟ ได้เพ่ิมเตมิ งานลายเสน้ ใหเ้ ดน่ ชัดย่ิงขึ้น คือ ภาพลายรดนำ�้ ภาพประดบั มกุ เปน็ ภาพสองมิตบิ นระนาบเรยี บ ถือว่าเปน็ งาน จิตรกรรมดว้ ย จ ิตรกรรมฝาผนงั สมัยอยุธยาตอนต้น เป็นรปู แบบที่ไดร้ บั อทิ ธิพลมาจากศลิ ปะลพบุรี เชน่ ภาพเขียน ภายในคูหาพระปรางค์ วดั นครโกษา ในศลิ ปะลพบุรี ตอ่ มาได้รบั อิทธิพลจิตรกรรมสโุ ขทยั เชน่ จติ รกรรมใน กรพุ ระปรางค์ วดั ราชบูรณะ ท่ีเขียนขนึ้ ในรชั กาลสมเด็จพระบรมราชาท่ี ๒ (เจ้าสามพระยา พ.ศ. ๑๙๖๗- ๑๙๙๑) เปน็ งานทใี่ ช้โครงสีสวยงาม เช่น การใช้พืน้ หลังสแี ดงสด ตัวคนเปน็ สีเหลอื งอ่อน และเครื่องประดับสี ทองอนั วบั วาว แตก่ ารเขียนลักษณะนข้ี าดช่วงไป เพราะถูกทำ�ลาย ภาพท่ี ๕.๑๕๔ จติ รกรรมฝาผนังในกรุพระปรางค์ วดั ราชบรู ณะ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา รัชกาลสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๒ (เจ้าสามพระยา) พ.ศ. ๑๙๖๗ ศิลปะอยธุ ยาตอนต้น จิตรกรรมฝาผนังกรพุ ระปรางค์ วัดราชบรู ณะ เป็นภาพรูปอดีตพระพุทธเจ้าน่งั เรียงรายซ้อนกันเปน็ ชัน้ ๆซ่ึงชา่ งเขยี นออกแบบเปน็ ช่อง แตล่ ะช่องเขยี นภาพเหตุการณต์ อนเดียว พระพุทธเจา้ อยใู่ นลักษณะท่า ทางแบบปางมารวิชยั ระหวา่ งองค์พระอดตี พระพทุ ธเจ้า ไดป้ ระดิษฐ์ลวดลายดอกไม้ สที ี่ใช้เขยี นเม่ือดูโดย รวมเปน็ สเี อกรงค์ คือ สแี ดง สดี �ำ สเี หลืองหรอื สีทองของแผน่ ทองค�ำ เปลวและสขี าว การจำ�กัดท้งั รายละเอียด ของภาพและจ�ำ นวนสีที่ใช้ คือ ลกั ษณะความสำ�คญั ของจติ รกรรมระยะแรกของกรุงศรีอยธุ ยา (สนั ติ เลก็ สขุ มุ , ๒๕๔๒: ๑๗๕-๑๗๖) ภาพพระพทุ ธองค์ประสานพระหัตถแ์ นบพระอรุ ะ คือ พทุ ธประวัติตอนท่พี ระพทุ ธองค์ ตรสั รู้สัปดาหท์ ี่สอง ตลอดสปั ดาห์น้นั ทรงเพ่งต้นโพธติ์ รสั รู้ ถดั ไปทางขวา คือ พน้ื ทีข่ องผนังต่อเนือ่ ง คอื ๑๘๖

บทที่ ๕ : สมัยประวตั ิศาสตร์ไทย เหตกุ ารณใ์ นสปั ดาหท์ ส่ี าม ตอนพระพทุ ธองค์ทรงจงกรมรอบตน้ โพธิ์ตรัสรู้ (สันติ เล็กสุขมุ ,๒๕๕๔:๑๗๙) (ภาพท่ี ๕.๑๕๔) ภาพที่ ๕.๑๕๕ จติ รกรรมฝาผนังคูหาปรางคม์ หาธาตุ วดั มหาธาตุ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ศลิ ปะอยุธยาตอนตน้ จ ติ รกรรมฝาผนงั คหู าปรางคม์ หาธาตุวดั มหาธาตุ แ สดงใหเ้ หน็ ถงึ อทิ ธพิ ลของศลิ ปะขอมอยา่ งชดั เจน จะมลี กั ษณะแขง็ แรงและหนัก จะเหลอื อยู่น้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นเรื่องพระพทุ ธศาสนา อยธุ ยาตอนตน้ นยิ ม เขียนลงบนผนังคูหาปรางค์และคูหาเจดยี ์ไมม่ กี ารเขียนบนผนงั โบสถ์ วหิ าร วธิ เี ขยี นเปน็ การเขียนบนปูนเปียก สีทีใ่ ชม้ ีเพียง ๓ สี คือ สีด�ำ สีขาว และสแี ดง มกี ารปิดทองบนภาพแตเ่ พยี งเลก็ น้อย ภาพเหล่านี้วาดข้ึนใน แผ่นดินสมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ๒ (พ.ศ. ๒o๓๔-๒o๗๒) ปจั จุบันเกบ็ รักษาอยใู่ นพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนครภาพจติ รกรรมยคุ นี้จะเปน็ ภาพพระพทุ ธองคเ์ รยี งเปน็ แถวซอ้ นกนั ขนึ้ เปน็ ชน้ั ๆ น อกจากนกี้ ม็ ภี าพวาด เป็นซุ้มเรือนแกว้ เพือ่ ประดบั พระพุทธรปู ซง่ึ แต่เดมิ คงความงดงามมากทเี ดียว ภาพ “ซมุ้ เรือนแก้ว” ภายใน ปรางคว์ ดั มหาธาตุ รปู ทรงซุ้มเรอื นแกว้ มีลกั ษณะคลา้ ยกับซุ้มเรือนแก้วของพระพทุ ธชนิ ราช เขียนขึ้นเพอื่ ประกอบงานประติมากรรมป้นั ปนู หรือพระพุทธรูปหล่อสำ�รดิ ซงึ่ ตง้ั อยเู่ บอื้ งหน้า (ภาพที่ ๕.๑๕๕) จิตรกรรมฝาผนงั ในสมยั อยธุ ยาตอนกลาง มีเหลืออยูไ่ มม่ ากนกั เชน่ ภาพเขียนบนฝาผนงั กรใุ นพระ มหาเจดียว์ ดั พระศรีสรรเพชญ ภาพเขยี นในสมุดภาพ “ไตรภมู ิ” ราวพุทธศตวรรษที่ ๒๒ และภาพเขียนใน พระอุโบสถวัดราชประดิษฐ์ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เปน็ ตน้ ภาพท่ี ๕.๑๕๖ ภาพจ�ำ ลองลายเส้น วดั พระศรีสรรเพชญ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ศลิ ปะอยธุ ยาตอนกลาง ๑๘๗

ประวัตแิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย ภ าพจำ�ลองลายเส้น วัดพระศรีสรรเพชญ ภาพแถวพระสงฆ์สาวกในทา่ ยนื พนม มีการระบายสบี น แผน่ โลหะแตจ่ างหายไปเกือบหมดแล้ว จากผนังเจดียป์ ระธานองค์ตะวันออกของวัดพระศรสี รรเพชญ ในสมัย รชั กาลสมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี ๒ (เจา้ สามพระยา) (พ.ศ. ๑๙๖๗-๑๙๙๑) (ภาพที่ ๕.๑๕๖) ภาพที่ ๕.๑๕๗ ภาพเขียนในสมุดข่อย เรื่องไตรภูมิ ขนาด ๔o x ๕๔ ซ.ม. อยทู่ ่ีหอสมดุ แห่งชาติ กรุงเทพฯ ศิลปะอยธุ ยาตอนกลาง ภาพเขียนสมดุ ข่อย เรอ่ื งไตรภูมิ แสดงถึงการเขยี นในลงั กา เป็นสถปู แบบไทย จากสมดุ ภาพไตรภูมิ สมยั อยุธยา คอื ฐานเป็นลำ�แขง้ ของสงิ หร์ องรบั องคร์ ะฆังทรงกรวย เอวคอด บลั ลังก์เปน็ เหลี่ยม รองรับปล้อง ไฉน (ภาพท่ี ๕.๑๕๗) ภาพที่ ๕.๑๕๘ จติ รกรรมบนสมุดภาพ ศิลปะอยุธยาตอนกลาง ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๒๒ เปน็ ภาพเขยี นบนสมดุ ไทย ยังไม่นิยมปิดทองประดบั ภาพ แตใ่ ช้สที ่ีสดใสมากกว่าแบบเก่า เร่ืองราวที่ นำ�มาเขยี นมาจากวรรณคดี เร่ืองไตรภมู ิ ซง่ึ สะทอ้ นโลกทศั น์ของชาวพุทธ เรื่องสณั ฐานจักรวาล เรยี กอีกอยา่ ง หน่ึงว่า สมดุ ภาพไตรภูมิ แต่ภาพพทุ ธประวตั แิ ละภาพชาดกกว็ าดรวมอยดู่ ว้ ย (ภาพท่ี ๕.๑๕๗) ๑๘๘

บทท่ี ๕ : สมยั ประวัติศาสตรไ์ ทย จ ิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยาตอนปลาย ยังมีหลกั ฐานหลงเหลอื อยูห่ ลายแหง่ ส่วนมากเปน็ เนอื้ หา เกยี่ วกบั พระพุทธศาสนา เชน่ ภาพอดีตของพระพุทธเจา้ ๒๔ พระองค์ หรือ ๒๘ พระองค์ ภาพเทพชมุ นมุ นงั่ กระทำ�อัญชลี ภาพพุทธประวัตหิ รอื ปฐมสมโพธิ ภาพชาดก (ทศชาตหิ รือพระเจ้า ๑o ชาติ) ภาพริว้ ขบวน แห่พยหุ ยาตราชลมารค และอืน่ ๆ การจดั องคป์ ระกอบของภาพมกั แสดงภาพทม่ี องจากเบ้ืองสงู แบบมุมมอง ตานก การใช้เสน้ แสดงความลกึ “แบบเส้นขนานหรือแบบโบราณ” มกี ารแบ่งภาพเป็นตอนๆ ด้วยเสน้ สนิ เทา ซ่งึ มีรปู ทรงสามเหลีย่ มใหญน่ ้อย การใชส้ มี มี ากยงิ่ ข้นึ มกี ารใช้พ้นื หลังทมี่ ีลกั ษณะสีเบา ตัวภาพมลี ักษณะเด่น ชดั พ้นื ภาพบางตอนมคี วามโดดเด่นด้วยพนื้ สี เช่น ในปราสาทราชวังต้องใช้สีพืน้ หลงั เบาๆ หรอื สขี าว เนอ่ื ง มาจากแบบแผนของสถาปตั ยกรรม ซ่ึงนิยมใหแ้ สงสวา่ งภายในโบสถ์วหิ ารน่นั เอง เพ่ือให้ผนงั มสี ว่ นชว่ ยใน การสะทอ้ นความสว่าง แม้จะใช้สีสดใสแวววาวแตด่ ไู มข่ ดั ตา จิตรกรรมฝาผนงั ในสมัยอยธุ ยาตอนปลาย ถือวา่ มคี วามเจรญิ สดุ ขีด แมจ้ ะมอี ิทธิพลจากจีนปรากฏ อยูใ่ นส่งิ แวดล้อมของธรรมชาตใิ นลกั ษณะ ๓ มติ ิ แต่ตัวภาพทส่ี �ำ คญั ตลอดจนปราสาทราชวังมีลกั ษณะท่มี ี อดุ มคติของไทยอยูอ่ ยา่ งเด่นชดั และมลี ักษณะแบบ ๒ มติ ิ คอื เปน็ ลกั ษณะผสมผสานระหวา่ งอุดมคตกิ บั ความ เป็นจริงทีป่ รากฏอยู่ ภาพท่ี ๕.๑๕๙ ภาพเขยี นฝาผนังในต�ำ หนกั สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ แสดงเร่อื งมหาชนกชาดกและเตมียก์ ุมารชาดก วดั พุทไธศวรรย์ จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ศิลปะอยุธยาตอนปลาย รชั กาลสมเดจ็ พระเพทราชา ภ าพเขียนฝาผนังตำ�หนกั สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ และวดั พุทไธศวรรย์ ช่วงรชั กาลสมเด็จพระ เพทราชา (พ.ศ. ๒๒๓๑-๒๒๔๕) แสดงให้เห็นถงึ ลกั ษณะของจิตรกรรมไทยบริสุทธ์อิ ย่างแท้จรงิ นยิ มเขยี น ด้วยสีหลายสแี ละปิดทองลงบนรูปและลวดลายด้วย แตก่ ารเขียนภาพตน้ ไม้ ภเู ขา และนำ�้ ยงั คงแสดงให้เหน็ ถงึ อิทธิพลของศลิ ปะอืน่ ปะปนอยู่บ้าง เชน่ จนี แสดงให้เห็นถึงภาพวาดทไี่ ด้รบั การผสมผสานและปรบั ปรุง เทคนิคใหเ้ ป็นของตนเองอยา่ งแท้จริง จะไม่นิยมวาดภาพพระพทุ ธองคเ์ ป็นแถวซอ้ นกนั อกี กลบั หนั มาวาด ภาพเลา่ เรื่องไตรภูมิ ภาพเทพชมุ นมุ เรยี งเป็นแถวซอ้ นกนั เปน็ ชนั้ ๆ (ภาพท๕่ี .๑๕๙) ๑๘๙

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพท่ี ๕.๑๖๐ เทวดาน่ังพนมมอื สลับเจดยี ์ (เจดีย์ หมายถึง อดตี พระพทุ ธเจ้า) จิตรกรรมฝาผนงั วัดใหมป่ ระชมุ พล อำ�เภอนครหลวง จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ศิลปะอยธุ ยาตอนปลายรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง จติ รกรรมฝาผนังวดั ใหมป่ ระชุมพล สร้างขึน้ ในราวครึง่ หลังของพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ รัชกาลสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง (พ.ศ. ๒๑๗๒-๒๑๙๙) เปน็ ภาพเจดียส์ ลบั ด้วยภาพเทวดานงั่ พนมมอื คณุ ภาพอันสูง ยิง่ ของชา่ ง อยู่ในทีท่าอนั งามสง่าของภาพเทวดา การใชส้ ีและตดั เสน้ หลากหลายดว้ ยรายละเอยี ดของภูษา อาภรณ์ของเหล่าเทวดา เทวดาพนมมือนมสั การเจดีย์ ชวนใหเ้ ชอ่ื วา่ เจดีย์คงเป็นสญั ลักษณ์แทนเหล่าพระ อดตี พทุ ธเจ้า แถวเจดยี ์เรียงรายสลับด้วยเทวดานัง่ ในท่านมัสการ สีทใ่ี ชแ้ ม้จะยงั จำ�กดั อยู่บ้าง แต่มีสีเขยี วเพมิ่ มากขน้ึ สีแดง ซง่ึ มีใช้มากอ่ นแล้วใช้ระบายพนื้ หลงั ใหเ้ กดิ บรรยากาศ อดุ มคติอนั ศักด์ิสทิ ธิ์ (ภาพที่ ๕.๑๖๐) ภาพที่ ๕.๑๖๑ จิตรกรรมฝาผนังอุโบสถวดั ช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ศลิ ปะอยุธยาตอนปลายราวตน้ ศตวรรษที่ ๒๓ ๑๙๐

บทท่ี ๕ : สมยั ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย จิตรกรรมฝาผนงั อโุ บสถวดั ชอ่ งนนทรี ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ภายในอโุ บสถทีม่ ีช่องหน้าตา่ งเลก็ ทผ่ี นงั ดา้ นขา้ งดา้ นละสองช่อง บานหนา้ ตา่ งประกบกนั เป็นรูปคล้ายกลีบบัว คอื สอบแหลมทีส่ ว่ นบน สอดคลอ้ งกับความนยิ มในรชั กาลสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) ประกอบด้วยภาพ อดีตพระพทุ ธเจ้าทว่ี าดไวบ้ นผนงั ท้งั สองขา้ งพระประธาน พื้นท่ฝี าผนงั ด้านใตล้ งมา(ภาพดา้ นขวา) คือ ภาพ ชาดก เร่อื งมหาชนกชาดก ตอนนางมณีเมขลาเหาะอุ้มพระมหาชนกมาวางไว้ ณ ชานเมอื งมิถลิ า ซึ่งพระราชา ของเมืองนั้นสวรรคตและไมม่ ีโอรสสบื ราชสมบัติ ช่างให้ความส�ำ คัญกับเหลา่ ปุโรหิตเสี่ยงทายมา้ เทยี มราช รถมาหยุดทพี่ ระมหาชนกอยู่พอดี จึงอญั เชญิ ขน้ึ เป็นกษัตรยิ ์และ(ภาพดา้ นซา้ ย) คอื ภาพวฑิ ูรบณั ฑิตชาดก บรรยากาศของฉากใสกระจา่ งดว้ ยพื้นขาว เป็นตอนที่วิฑรู บณั ฑติ กลา่ วธรรมะส่ังสอนเน้ือความอันกินใจ ก่อน จะต้องจากไปไปกับยกั ษ์ปุณณกะ ซง่ึ ยนื รอกับมา้ วิเศษ (ภาพที่ ๕.๑๖๑) ช ่างในกรุงเทพฯ ในสมัยอยธุ ยา คอื ช่างท้องถิน่ เมอื งทา่ งานดา้ นช่างคงจะมีอสิ ระกว่าช่างเมืองหลวง เชน่ ช่างท้องถ่นิ วาดอริ ิยาบถ อากัปกิริยา ทีท่า และใบหนา้ ของผูค้ นทีแ่ สดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ใหค้ วามสำ�คัญ ในประเด็นความสมจรงิ มากขึน้ คงสอดคล้องกบั สงั คมเปดิ ของเมืองท่า ทมี่ ีการสร้างสรรคข์ องผู้คนต่างชาติ ต่างภาษา เชน่ ฝร่ัง ครสิ เตยี น แขก มสุ ลมิ ชาวจนี พุทธ ท่พี �ำ นักพักพงิ หรอื ผ่านเข้าออกท�ำ มาค้าขาย (สนั ติ เล็กสุขมุ ,๒๕๕๔:๑๘๒) ภาพท่ี ๕.๑๖๒ เทพชมุ นุมในพทุ ธประวัติเม่ือพระพทุ ธองค์ตรสั รู้ จติ รกรรมฝาผนงั ดา้ นใต้อุโบสถวัดใหญ่สุวรรณาราม จงั หวัดเพชรบุรี ศิลปะอยธุ ยาตอนปลาย รชั กาลสมเด็จพระเจ้าเสอื จติ รกรรมฝาผนงั อโุ บสถวดั ใหญส่ วุ รรณาราม ถอื วา่ เปน็ หลกั ฐานส�ำ คญั ของงานชา่ งเพชรบรุ ยี คุ ปลาย ช่วงรชั กาลสมเดจ็ พระเจ้าเสือ(พ.ศ. ๒๒๔๕-๒๒๕๑) เป็นท่ียอมรับในด้านความคดิ และฝีมอื อนั ยอดเยี่ยมของ ส�ำ นกั ชา่ งเพชรบรุ ใี นยคุ ปลายซง่ึ ออกแบบงานจติ รกรรมของผนงั ดา้ นขา้ งใหเ้ ปน็ แถวนอนตลอดฝาผนงั ไลเ่ รยี ง จากตอนบนของฝาผนงั ลงมา แตล่ ะแถวมภี าพอมนุษยน์ ั่งพนมมือ คือ เหล่าเทวดาจากหมน่ื จักรวาลมาชุมนมุ แสดงความชื่นชม นมสั การยนิ ดีในการตรสั รู้ของพระพุทธเจ้า หมายถึง พระพทุ ธรูปประธานในอโุ บสถ ฝีมอื การตัดเส้นภาพของครูช่างทำ�ให้เหล่าเทวดาต่างประเภทต่างวรรณะที่น่ังเรียงเคียงกันดูสมจริงควบคู่กับ ๑๙๑

ประวตั แิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย อดุ มคติ ภาพอมนษุ ย์เหล่านี้ เรียกว่า ภาพเทพชุมนมุ ชา่ งได้วาดเทวดาระดับสูง เชน่ พระพรหม พระอินทร์ และ ผู้มฤี ทธ์เิ ดชระดบั รองลงมา ไดแ้ ก่ ยกั ษ์ อสูร พญานาค คนธรรพ์ วทิ ยาธร ตา่ งนั่งแทรกเรยี งเคียงไหลก่ นั และ กนั โดยไม่มีการแบง่ ฐานนั ดรวา่ สูงหรือต่ำ� นบั วา่ ไดส้ ะท้อนแกน่ วฒั นธรรมพุทธศาสนาทเ่ี ด่นชดั โดยภาพเขียน แสดงการตดั เสน้ อยา่ งอสิ ระและแมน่ ยำ�ดว้ ยความเขา้ ใจสดั สว่ นทแ่ี ทจ้ รงิ ทางสรรี ะผสมผสานกบั ความงามตาม อุดมคตไิ ด้อยา่ งสมบูรณ์ การใชส้ ที องในสว่ นของเครื่องประดบั ตัดเส้นรายละเอียดด้วยสีนำ�้ตาล และสดี ำ� การ จดั ชอ่ งไฟทมี่ จี ังหวะของสี และรูปทรงมีความเหมาะสมและสวยงาม (ภาพท่ี ๕.๑๖๒) น อกจากน้กี ม็ ีจติ รกรรมฝาผนงั ที่สำ�คัญในยุคน้ี คอื วดั ใหมเ่ ทพนิมติ ธนบรุ ี วดั ปราสาท จังหวดั นนทบรุ ี วัดเกาะแก้วสุธาราม จังหวดั เพชรบุรี วดั ประดู่ทรงธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และมีภาพในสมุดข่อยอกี หลายวัดที่สวยงาม ภาพที่ ๕.๑๖๓ กินรี กินนร ในปา่ หมิ พานต์ สมดุ ภาพวดั หัวกระบอื ธนบุรี ศลิ ปะอยุธยาตอนปลาย พ.ศ.๒๒๘๖ สร้างในสมยั พระเจ้าบรมโกศ จิตรกรรมไทยไม่แสดงกาลเวลาเช้าสายบ่ายเยน็ แต่แสดงการแบง่ ชัน้ วรรณะดว้ ยการใช้สีสนั ทตี่ า่ งกนั และไมแ่ สดงความเป็นจริงในสดั ส่วนระหว่างรูปคนกับสง่ิ กอ่ สร้าง แตม่ ีการแสดงพน้ื ทต่ี ่างๆ เพอ่ื แสดงเร่ือง ราวท่ีน่าสนใจให้ชดั เจนย่งิ ขึ้น งานประณีตศิลป์ มีความเจรญิ มากโดยเฉพาะงานสลักไม้ ทำ�ได้ประณีตบรรจง อ่อนช้อยสวยงามรวม ทง้ั การคิดผกู ลวดลายทแ่ี ปลกและผสมกลมกลืนกันดี เช่น หนา้ บนั พระอโุ บสถ วดั หนา้ พระเมรรุ าชกิ าราม จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา สลักเป็นรปู พระนารายณท์ รงครุฑ มีเหล่าทวยเทพหอ้ มล้อม (ภาพท่ี ๕.๑๖๔) ก ารเขียนลายรดนำ�้ เครื่องเงิน เคร่อื งทองเคร่ืองถมและการประดับมกุ ส่วนใหญ่สร้างขนึ้ ปลายสมัย อยุธยา เช่นเครอื่ งใชเ้ ครื่องประดับ และวตั ถทุ างศาสนาท�ำ ดว้ ยทองเป็นผลงานสมยั อยุธยาตอนต้นพบในกรุ พระปรางค์ วัดราชบรู ณะ และประตจู ำ�หลกั ไม้ วดั พระศรสี รรเพชญเป็นผลงานสมัยอยธุ ยาตอนกลาง ห ีบลายรดน�ำ ้ บรรยายเรือ่ งชาดก เรอื่ งรามเกยี รต์ิ ภาพสตั วห์ มิ พานต์ รปู ปราสาท ภาพไตรภูมิ ฝมี อื ที่ สวยทีส่ ุด คอื ลายครูวดั เชิงหวาย เขียนบนตูพ้ ระธรรม ปัจจุบันอยใู่ นพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติพระนคร (ภาพ ท่ี ๕.๑๖๕) นอกจากนีก้ ็มกี ารประดับมุก ท�ำ เคร่ืองถม และเคร่อื งเบญจรงค์ ที่มีชอื่ เสยี งมาก คือ บานประตู ประดบั มุกมณฑปพระพทุ ธบาทจังหวดั สระบรุ ีบานประตูประดบั มกุ วิหารพระพุทธชินราชจังหวดั พิษณโุ ลกเครื่องถม ทส่ี มเดจ็ พระนารายณ์มหาราชส่งไปถวายพระเจา้ หลยุ สท์ ี่ ๑๔ เปน็ พวกสรอ้ ยก�ำ ไล แหวน พาน ขนั กาน�ำ ้ หีบ กระโถน ๑๙๒

บทที่ ๕ : สมยั ประวัตศิ าสตร์ไทย ภาพท่ี ๕.๑๖๔ หนา้ บนั พระอโุ บสถวดั หน้าพระเมรุราชกิ าราม จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา อยธุ ยาตอนกลาง ภาพท่ี ๕.๑๖๕ ตู้ลายทอง (ตลู้ ายรดน�ำ )้ พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตเิ จา้ สามพระยา จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ศิลปะอยธุ ยาตอนปลาย ภาพท่ี ๕.๑๖๖ ตูล้ ายปิดทองรดนำ�้ ส�ำ หรบั ใส่หนงั สือ ฝีมือพระครู วดั เชิงหวาย ศลิ ปะอยุธยาตอนปลาย ตู้ลายปดิ ทองรดน�ำ ้ นยิ มทำ�ไวป้ ระดับต้พู ระธรรมซ่งึ ท�ำ ไว้ในราชสำ�นักสำ�หรบั เกบ็ สงิ่ ของต่อมานำ�ไป ถวายวดั พระทา่ นกใ็ ชเ้ ปน็ ที่เก็บหนังสือ คัมภีร์ต่างๆ ภายหลงั ไดร้ บั การยกย่องว่าช่างทท่ี �ำ ตลู้ ายปิดทองรดนำ�้ เปน็ ชา่ งทม่ี ฝี มี อื เปน็ เลศิ คอื พระครทู ว่ี ดั เชงิ หวายซงึ่ มกี ารผสมผสานลวดลายกนกกบั ธรรมชาตสิ ะบดั พลว้ิ อยา่ ง มรี ะเบียบ มีอสิ ระเต็มไปด้วยความงดงาม มชี ีวติ ชวี า แสดงใหเ้ หน็ ถงึ วิวฒั นาการของลวดลายไทยที่บรรลถุ ึง จดุ สูงสดุ ท่ผี สมผสานกลมกลืนกบั ธรรมชาตเิ ป็นอย่างดี (ภาพท่ี ๕.๑๖๖) ฝีมอื ชา่ งทมี่ ีความเป็นเลิศมาก ซงึ่ ไดร้ ับอิทธิพลมาจากจนี ในสมัยพระเจ้าบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕- ๒๓o๑) มผี ลงานทส่ี �ำ คญั เช่น บานประตพู ระอโุ บสถ วัดพระบรมพทุ ธาราม ต่อมาถูกไฟไหม้ มผี ้นู ำ�มาตดั ทำ� ๑๙๓

ประวตั ิและแบบอยา่ งศิลปะไทย เป็นบานตู้หนังสือในสมัยรัตนโกสินทร์ ปจั จบุ นั อยู่ในพพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ กรงุ เทพฯ บานประตูมณฑป พระพุทธบาท จงั หวดั สระบรุ ี มี ๔ คู่ ถูกไฟไหมเ้ ม่อื ครงั้ เสียกรงุ ศรีอยุธยา จากการเผาของพวกจีนอาสาบา้ น สวนพลู และบานประตูพระวหิ ารพระพุทธชินราช ประดษิ ฐานอย่ทู ี่วดั พระศรีรัตนมหาธาตุ จงั หวดั พิษณโุ ลก เป็นตน้ ลักษณะการประดบั มุก เปน็ การประดษิ ฐล์ ายแบบวงกลมตรงกลางออกลายเป็นรปู สตั วห์ มิ พานต์ บางแบบตรงกลางเปน็ รูปพระอนิ ทร์ พระพรหมอยูภ่ ายใน สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ์ ทรงเรยี กว่า “ลายอแี ปะ” นอกจากนย้ี งั มกี ารประดบั มุก มภี าชนะใชส้ อยอนื่ ๆ อีก เช่น ตะลมุ่ โตก เตียบ ฝาบาตร ต่งั เตยี ง และสิ่งตา่ งๆ เพ่อื ความสวยงาม เคร่อื งทองตา่ งๆ มีมากมาย ภายในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ จงั หวัด พระนครศรีอยธุ ยา เช่น หมากทองคำ� ผอบทองค�ำ รปู ทรงกลม พระแสงขรรคท์ องคำ� และอนื่ ๆ อีกมากมาย ภาพที่ ๕.๑๖๗ เคร่อื งทองจากกรุพระปรางค์ วดั ราชบรู ณะ จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ศิลปะอยธุ ยาตอนต้น เ คร่ืองปั้นดินเผา ท�ำ เคร่ืองปนั้ ดนิ เผาหรอื ถ้วย โถ โอ ชาม โอง่ อ่าง กระถาง ไห ไม่พบหลักฐาน มเี พียงเตาเผาสองแหง่ เท่านน้ั ท้ังทีม่ ปี ระวตั กิ ารท�ำ มายาวนาน กวา่ ๔oo ปี คอื ๑. เตาบา้ นเตาไห วดั ตาปะขาว จงั หวดั พษิ ณุโลก ท�ำ การเผาประเภทเครื่องดิน และเครือ่ งหนิ เป็นสว่ น ใหญ่ เคลอื บสดี �ำ มีเพยี งเลก็ น้อย ๒ . เตาวัดพระปรางคส์ ูง ใกล้แม่นำ�น้ ้อย จงั หวดั สิงห์บุรี เป็นเตาขนาดเลก็ เผาประเภทเครือ่ งดินเท่านัน้ สมยั อยุธยาตอนปลาย การใชเ้ ครอ่ื งลายครามจากจนี เป็นที่แพรห่ ลายในราชส�ำ นกั และชา่ งไทยใน ราชส�ำ นกั ไดอ้ อกแบบภาพและลวดลายสง่ ไปใหช้ าวจนี ท�ำ ถว้ ยชามลายเขยี นสีเรยี กวา่ “เครอ่ื งเบญจรงค”์ เขยี น ดว้ ยสี ๕ สี ไดแ้ ก่ สขี าวสเี ขียว สีเหลือง สแี ดง และสีดำ� มีสีสันทสี่ วยงาม ภาพที่ ๕.๑๖๘ ชามเบญจรงค์ ดนิ เผาเคลือบ ศิลปะอยุธยาตอนปลาย ๑๙๔

บทท่ี ๕ : สมยั ประวตั ศิ าสตร์ไทย นอกจากนยี้ งั มตี ุ๊กตาดินเผาอกี มากมาย ทงั้ รูปสตั ว์ รปู คนแบบง่าย ต๊กุ ตาท่มี ีชื่อเสียง ไดแ้ ก่ ตกุ๊ ตาเจ้า พราหมณ์ มลี กั ษณะเหมอื นงานประติมากรรมสมยั ใหม่ จากตกุ๊ ตาดงั กลา่ วท�ำ ใหเ้ รารวู้ ่าวิถชี วี ติ ความเปน็ อยู่ ดา้ นวฒั นธรรมพ้ืนบ้านของอยุธยาดีขึน้ กวา่ เดมิ ภาพท่ี ๕.๑๖๙ ตกุ๊ ตารูปคนดนิ เผา ช�ำ รุด อยุธยายุคปลาย พบในการขุดค้นในบรเิ วณราชวังโบราณ หลอ่ จากพมิ พ์ช้ิน โดยกรอกนำ้�ดนิ แล้วตากแหง้ จากน้ันจึงนำ�เขา้ เตาเผา หวั ของตุ๊กตาหกั หาย เพราะคอเปน็ สว่ นเปราะบาง ภาพท่ี ๕.๑๗๐ เตาเชิงกรานดินเผา เตาประเภทน้ีบางแบบทำ�เปน็ ขาตงั้ ขึ้นสามขา สว่ นทย่ี ่ืนเปน็ ส่วนหนา้ ส�ำ หรบั ใสฟ่ ืน ภาพท่ี ๕.๑๗๑ หัวกระต่ายขูดมะพร้าวและเหลก็ รูปยาวเรยี วปลาย ซ่ึงยงั สนั นษิ ฐานไม่ไดว้ ่าเปน็ เครอ่ื งมอื อะไร พบจากการ ขุดแต่งในวัดไชยวัฒนาราม ศิลปะอยุธยาตอนปลาย ๕. ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทร์ (พุทธศตวรรษ ท่ี ๒๔-๒๕) สมยั รตั นโกสนิ ทร์เรม่ิ ตน้ ตงั้ แตพ่ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชทรงสถาปนากรงุ เทพมหานคร ขึ้นเปน็ ราชธานตี งั้ แต่ พ.ศ. ๒๓๒๕ ลงมาจนถงึ สมยั ปจั จุบนั เปน็ ยุคทพ่ี ยายามสร้างศลิ ปกรรมเพอ่ื ทดแทน ศลิ ปะทีส่ ญู หายและถูกทำ�ลายในครั้งกรุงศรอี ยธุ ยาแตก พ.ศ. ๒๓๑o พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬา โลก (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) ยา้ ยเมืองธนบรุ ี ไปสร้างทีพ่ ระบรมมหาราชวงั (ในปัจจบุ ัน) ซ่งึ เดมิ เป็นทีช่ ุมชน ชาวจีนตง้ั บา้ นเรือนอยู่ ทรงโปรดย้ายให้ชุมชนชาวจนี ไปอยู่คลองวัดสามปล้ืม (วดั จกั รวรรดิราชาวาส) จนถึง คลองวัดสามเพ็ง ตอ่ มาเรียกส�ำ เพง็ คือ วดั ปทมุ คงคาปัจจบุ นั และโปรดใหพ้ ระยาธรรมาธิกรณ์ และพระยา วิจติ รนาวี เปน็ แมก่ องควบคมุ การสร้างเมืองใหม่ รอ้ื อฐิ ก�ำ แพงเมืองกรุงศรอี ยุธยา มาสรา้ งก�ำ แพงเมืองและ ป้อมปราการทกี่ รุงเทพฯ และขุดคลองหลายๆ คลองในกรงุ เทพฯ เชน่ คลองหลอด สร้างปอ้ มขน้ึ มากมาย เชน่ ๑๙๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook