Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore History and Style of Thai art

History and Style of Thai art

Published by sriwarinmodel, 2021-08-23 16:38:10

Description: History and Style of Thai art

Keywords: History,Style of Thai art,Thai art

Search

Read the Text Version

ประวัตแิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย นอกจากน้ีมีพระเจดีย์ท่มี อี ายุในสมัยเดียวกนั กบั ศลิ ปะทวารวดี แต่มีรูปทรงแปลกออกไปเปน็ ทรงบัว สี่เหล่ียม คอื พระธาตุพนม จังหวดั นครพนม ศาสตราจารย์จีน บอสเซอลเี ย่ร์ (Jean Boisselier) สันนษิ ฐาน ว่าภาพสลักบนแผน่ อฐิ ของพระธาตพุ นม สร้างขึ้นในราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ และองคพ์ ระธาตพุ นม ไดพ้ งั ลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๑๘ จากการขดุ คน้ ภายในปรากฏวา่ เดิมมีปรางค์ขอมอยภู่ ายในซึ่งสร้างขน้ึ ราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ เดิมคงเปน็ เทวาลยั ในศาสนาพราหมณต์ ่อมาดดั แปลงเป็นพุทธสถานสว่ นยอดมาต่อเตมิ ภายหลงั ตน้ พทุ ธศตวรรษที่ ๒๓ ปัจจบุ ันรฐั บาลไทยได้ท�ำ การบูรณะใหมต่ ามแบบเดิม (ภาพที่ ๔.๓๑) ภาพที่ ๔.๓๒ สถูปก่ออิฐ วดั นครโกษา อ�ำ เภอเมือง จังหวดั ลพบรุ ี ศิลปะทวารวดี แสดงรากฐานเกา่ ซง่ึ มมี าตงั้ แตส่ มยั ทวารวดีเปน็ รปู แบบชว่ งแรกๆพทุ ธศตวรรษท่ี๑๓-๑๔ไดร้ บั อทิ ธพิ ล จากศลิ ปะคุปตะของอินเดียอย่างชัดเจน เครอื่ งปนั้ ดนิ เผา ถ ว้ ยชามดนิ เผาคน้ พบทตี่ �ำ บลพงตกึ จงั หวดั กาญจนบรุ ีต�ำ บลคบู วั จงั หวดั ราชบรุ ีและ อ�ำ เภออนิ ทร์บรุ ี จังหวัดสิงห์บุรี พ.ศ. ๒๕o๑ มหาวิทยาลยั เพนซิลเวเนยี ในสหรัฐอเมรกิ า และกรมศลิ ปากร ได้ ร่วมมอื กนั ขดุ คน้ โบราณวตั ถใุ นสมัยทวารวดี ที่อ�ำ เภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค์ บางชน้ิ อยู่ในอาณาจกั รฟนู นั แสดงว่าเมืองทวารวดอี ยู่ในสมยั โลหะ ภาพที่ ๔.๓๓ หมอ้ กน้ กลม เป็นแบบ ทีพ่ บในเมอื งทวารวดี ๔๖

บทท่ี ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย ภาชนะดนิ เผาสมัยทวารวดี ประเภทท่ใี ช้การหุงหาอาหารนั้น สบื ตอ่ รปู แบบจากภาชนะดนิ เผาสมัย หินใหม่ ส่วนภาชนะดนิ เผาประเภทสวยงามนน้ั เปน็ ผลงานของชา่ งทวารวดี เปน็ แบบทเี่ กดิ ขนึ้ ใหม่ ผสมกับ อิทธพิ ลอารยธรรมฟูนัน บางชนดิ เปน็ ภาชนะทรงสงู ปากแจกนั มีการตกแต่งด้วยลายเขียนสี ภาพท่ี ๔.๓๔ กานำ�ด้ ินเผาและภาชนะมสี ันสดี �ำ จากอำ�เภออนิ ทรบ์ ุรี จงั หวัดสิงห์บุรี ภาพท่ี ๔.๓๕ ภาชนะดินเผา มลี วดลายตกแต่ง จากอ�ำ เภอซับจ�ำ ปา จังหวัดลพบรุ ี ภาชนะดินเผา ประเภทหม้อไห ชาม กานำ�้ ตะคนั และตะเกยี งดินดิบ มีทั้งผลติ ด้วยฝมี อื ประณตี มี เนื้อดนิ แบบละเอยี ด แบบทม่ี ีเนือ้ หยาบ แบบผวิ เรยี บ ไมต่ กแตง่ ลวดลาย และแบบท่ีมกี ารตกแต่งลวดลายใน เนื้อหาภาชนะหรอื ลวดลายเขียนสอี ยา่ งงดงาม ลายทีถ่ ือว่าเป็นลกั ษณะเฉพาะของศลิ ปะทวารวดคี อื ลายรปู สเี่ หลีย่ มผืนผา้ ค่ันดว้ ยเสน้ ไข่ปลาแนวต้ัง แตล่ ะกรอบมลี ายประดบั ดว้ ย รปู สัตว์หรือสญั ลักษณต์ า่ งๆ สืบเนอื่ ง จากภาชนะดนิ เผาสมัยหนิ ใหม่ เ คร่ืองประดบั ไดแ้ ก่ ต้มุ หูดบี กุ ขนาดใหญ่ รูปทรงคล้ายกบั พบท่เี มอื งดอกแกว้ (เมืองทา่ ของอาณา จกั รฟนู ัน ปจั จบุ ันอยทู่ างทศิ ตะวันออกเฉยี งใตข้ องเวียดนาม) คอื มีร่องผ่ากลางสำ�หรบั หนบี เข้ากบั ใบหูมีอายุ ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๔ พบท่อี �ำ เภออูท่ อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี และพบลกู ปดั จำ�นวนมากทบ่ี ้านโคกสำ�โรง อำ�เภออ่ทู อง ลกู ปัดบางลกู กม็ ีรปู ทรงและเนือ้ วตั ถคุ ล้ายลูกปดั ยุคสำ�รดิ ตอนปลายหรือยคุ เหลก็ นอกจากนี้ พบแหวน กำ�ไลโลหะ ลกู กระพรวนสำ�รดิ ด้วย เครอ่ื งใชใ้ นบา้ น พบตะเกยี งส�ำ ริดแบบโรมนั และตะเกียงแบบอานธระในศลิ ปะอมราวดนี อกจากน้นั ก็ขุดคน้ พบหลักฐานทางโบราณคดที เี่ มืองอทู่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี และอ�ำ เภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์ พบ หวีแกะสลกั ด้วยงา เป็นรูปม้า และรปู หงสง์ ดงามมีอายเุ ก่าแกร่ ่วมกับสมัยอมราวดี ๔๗

ประวัตแิ ละแบบอย่างศิลปะไทย ภาพท่ี ๔.๓๖ ตะเกยี งโรมันสำ�รดิ (ท�ำ ขน้ึ ท่ีเมอื งอเลก็ ซานเดรีย ในอยี ิปต)์ ส�ำ ริดสงู ๒๗ ซ.ม. พบทตี่ �ำ บลพลตึก อำ�เภอทา่ มะกา จงั หวัดกาญจนบุรี ก่อนพุทธศตวรรษท่ี ๖ พพิ ธิ ภัณฑสถาน แห่งชาติ พระนคร หลอ่ ขึ้นทเี่ มอื งอเล็กซานเดรยี ประเทศอียิปต์ ในชว่ งกอ่ นพทุ ธศตวรรษที่ ๖ พบทต่ี ำ�บลพงตกึ จงั หวัดกาญจนบรุ ี เพราะเป็นจดุ สำ�คญั ในการคมนาคมทางบกสมยั โบราณ สามารถติดตอ่ ไปทางตะวันตก ได้ แสดงออกถงึ การติดต่อสมั พันธก์ บั ชาวตะวันตก เปน็ การออกแบบก่อนพทุ ธศตวรรษที่ ๖ ชาวโรมันไดย้ ึด ครองประเทศ และพ่อค้าอินเดยี นำ�มาประเทศไทย ฝาตะเกยี งรูปเทพเจา้ กรีกชือ่ ไซลนี ัส (Silenus) ผู้ทรงเป็น โอรสแห่งแผ่นดิน ดา้ มส�ำ หรบั ถอื มีลายใบปาล์ม ตอนล่างรูปปลาโลมา หันหัวเข้าหากนั (สุภทั รดศิ ดิศกลุ , ๒๕๓๘: ๒) (ภาพท่ี ๔.๓๖) ภาพท่ี ๔.๓๗ ลกู ปดั หินสี กำ�ไลหนิ พบท่เี มืองอทู่ อง จังหวัดกาญจนบรุ ี ศิลปะทวารวดี น กั วชิ าการเชอ่ื วา่ เปน็ ของทนี่ �ำ มาจากประเทศอนิ เดยี และปจั จบุ นั ไดพ้ บหนิ จ�ำ พวกคารเ์ นเลยี นอาเกต ในประเทศไทย ที่เขาโมกลุ จงั หวดั ลพบรุ ี เหรยี ญกษาปณ์ ช่วงเจริญรงุ่ เรืองของวัฒนธรรมทวารวดี (พุทธศตวรรษท่ี ๑๑-๑๖) เงินตราทใี่ ชอ้ ยู่ มลี กั ษณะเป็นเหรียญแบบทีม่ ลี วดลายและขนาดต่างๆ มหี ลายแบบ เชน่ เหรียญรปู แมว่ วั กบั ลกู ววั เหรียญ รูปบรู ณกลม เหรยี ญรูปธรรมจักรมีเม็ดไข่ปลาลอ้ มรอบ เหรยี ญรูปสงั ข์ (เครอื่ งหมายพระนารายณ์) (ภาพท่ี ๔.๓๘) ๔๘

บทที่ ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย ภาพที่ ๔.๓๘ เหรยี ญเงินตราดนิ เผาเป็นสง่ิ ทพ่ี บทั่วไปในเมอื งโบราณ สมยั ทวารวดีท�ำ เป็นรปู สงิ โตหาวเปน็ ดาวเปน็ เดือน การเสอื่ มสลายของชุมชนทวารวดี อ าณาจกั รทวารวดเี สอ่ื มอำ�นาจลงจากการรกุ รานของพระเจา้ อนรุ ทุ ธมหาราชแหง่ เมอื งพกุ ามซงึ่ นา่ จะ เสด็จมายกทัพมาตเี มืองนครปฐม ราชธานขี องอาณาจกั รทวารวดี แทนทจ่ี ะไปตเี มอื งสะเทิมตามค�ำ กล่าวไว้ใน พงศาวดารพมา่ เพราะนครปฐมเปน็ เมอื งทม่ี วี ตั ถสุ ถานมากกวา่ ทเี่ มอื งสะเทมิ อ กี ประเดน็ หนง่ึ ในการสนั นษิ ฐาน ว่า อาณาจกั รทวารวดีสูญสลายปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ จากการรกุ รานของกองทพั ขอมจากกมั พชู า สมัย พระเจ้าชยั วรมันท่ี ๑ ศิลปะแบบเทวรปู รนุ่ เกา่ (พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๔) ประติมามากรรมอีกรูปแบบหนึ่งที่บ่งว่าวัฒนธรรมศาสนาจากอินเดียแพร่กระจายมาสู่เมืองต่างๆ ตามชายฝงั่ คาบสมุทรภาคใต้ของไทยคอื เทวรูปรนุ่ เก่าสร้างข้นึ ในศาสนาฮินดู โดยร่วมสมัยกับศิลปะทวารวดี ทางภาคกลางหรือภาคตะวันออก ซ่งึ สร้างขึ้นในพุทธศาสนาและมกั ค้นพบร่วมกันด้วย ส่วนใหญอ่ ายรุ ่วมสมัย กับศิลปะทวารวดีตอนต้นและตอนกลาง เป็นลักษณะทางด้านศาสนาพราหมณใ์ นศลิ ปะทวารวดี พบทด่ี งศรี มหาโพธ์ิ จงั หวดั ปราจีนบุรี เทวรปู จะไมม่ ีพระพกั ตรเ์ หมือนกับพระพุทธรปู แบบทวารวดโี ดยเฉพาะสมยั กลาง ซงึ่ เทวรูปทเ่ี กา่ แกท่ ่ีสดุ ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เป็นเทวรปู ทคี่ น้ พบในภาคใต้ของประเทศไทย เช่น เทวรปู พระนารายณศ์ ิลา พบที่อำ�เภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี แตเ่ นื่องจากพระพกั ตรไ์ ม่เหมือนพระพทุ ธรูปแบบ ทวารวดี จึงแยกต่างหากเป็นศลิ ปะแบบเทวรปู รนุ่ เกา่ (สภุ ัทรดศิ ดิศกลุ ,๒๕๓๘: ๑๑) ภาพท่ี ๔.๓๙ พระนารายณ์ ศิลาสูง ๖๙ ซ.ม. พบทอี่ ำ�เภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานศี ิลปะสมัยเทวรปู รุน่ เกา่ พทุ ธศตวรรษท่ี ๙-๑o พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ๔๙

ประวัตแิ ละแบบอย่างศลิ ปะไทย พ ระอริ ิยาบถยนื ตรง แสดงอำ�นาจตามคติศาสนาฮินดู สวมหมวกทรงกระบอกมีลวดลายประดบั กณุ ฑลยาวเป็นพเิ ศษทรงผา้ นุง่ ยาว ผ้าคาดเอวมปี ้นั เหน่งคาดทบั ชายผา้ คาดเอวท้ังสองข้าง สลกั ให้ยาวลง ไปจรดฐานทีช่ ว่ ยใหป้ ระติมากรรมมีความแขง็ แรงน้นั หักชำ�รดุ ไปแลว้ ส่กี รท่ีเคยมีกห็ กั ชำ�รดุ เหลอื เพยี งสองกร ไดแ้ ก่ พระกรขวาหนา้ และหลัง และพระกรซา้ ยหนา้ ซ่งึ มสี ังขอ์ ยู่ในพระหตั ถ์ ซ่ึงยกขึน้ ระดบั พระโสณี พระกร ขวาหนา้ ยกงอขึน้ ชวนให้นกึ ถึงอทิ ธพิ ลศลิ ปะมถุรา อมราวดตี อนปลาย (สุภทั รดศิ ดศิ กลุ ,๒๕๓๘: ๑๑) (ภาพ ที่ ๔.๓๙) สุนทรยี ภาพมลี กั ษณะพืน้ เมืองเด่นชัดยิง่ กว่าตน้ แบบ พระนารายณห์ รอื พระวษิ ณกุ ร แ สดงถงึ อทิ ธพิ ลของศลิ ปะอนิ เดยี ใต้สมยั มถรุ าและอมราวดตี อนปลาย ปรากฏอยู่ นับวา่ มอี ายมุ ากสดุ เทา่ ทเ่ี คยพบในดินแดนเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (Boisselier Jean,๑๙๘๗: ๗๑, สภุ ทั รดิศ ดศิ กุล,๒๕๓๘:๑๑) พระนารายณส์ กี่ ร (สองกรหักหาย) พระพักตรอ์ ่มิ พระองั สากวา้ ง พระอุระเต็ม คอื ความศกั ดส์ิ ทิ ธ์นิ า่ เกรงขามตามแบบฉบับของเทพเจา้ ในศาสนาฮนิ ดู พระองค์ทรงสวมหมวกทรงกระบอก น่งุ ผา้ ยาว คาดดว้ ยผา้ รัดประคด ขมวดเปน็ ปมอย่ทู างเบือ้ งหนา้ พระโสณคี าดผา้ ผูกเฉยี ง เป็นใบทางขวา สว่ น ยดึ ตรึงใหเ้ กดิ ความแข็งแรงแก่ประติมากรรมเหลือเพียงพระภษู าโจง ส่วนคทาทต่ี รึงกบั พระหตั ถซ์ า้ ยล่างได้ หักหายไปแล้ว (สภุ ทั รดิศ ดิศกุล, ๒๕๓๘,๑๑) (ภาพที่ ๔.๔๐) เ ทวรูปพระนารายณ์ ๔ กร อายุตั้งแตพ่ ทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ ลงมาทรงถอื จกั ร (ในพระหตั ถ์ขวาบน) สังข์ (ในพระหัตถ์ซ้ายบน) คทา (ในพระหัตถ์ซ้ายล่าง) และธรณหี รอื ดอกบวั (ในพระหตั ถข์ วาลา่ ง) สวมหมวก ทรงกระบอก นงุ่ ผ้ายาวคลา้ ยผ้าโสร่งมีจบี อยทู่ างด้านหนา้ แบง่ เป็น ๒ หมู่ คอื ๑ . หมคู่ าดผา้ เฉียง มลี ักษณะคลา้ ยคลึงกบั เทวรูปสมยั คปุ ตะ คอื สมัยราชวงศป์ ัลลวะ ทางภาค ตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดีย (ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒) ๒. หม่คู าดผา้ ตรง พบทางภาคใตแ้ ละภาคตะวันออกของประเทศไทย คอื จากหมวกและขอบผม เปน็ เสน้ ตรงคกู่ ันกบั ด้านหนา้ ของศีรษะ ตอ่ มาเปลี่ยนขอบหมวกคอเป็นเส้นตรง แต่ขอบผมวาดเป็นเส้นโคง้ ตรงหนา้ ผากและตอ่ มารวบขอบหมวกและขอบเสน้ ผมเปน็ เส้นเดียวกัน ภาพที่ ๔.๔o พระนารายณ์ ศิลาสูง ๑.๖๙ เมตร พบทเ่ี ขาศรวี ชิ ัย จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ศลิ ปะสมัยเทวรูปรนุ่ เก่า พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ๕๐

บทท่ี ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย ภาพที่ ๔.๔๑ พระนารายณ์ ศิลาสูง ๑.๘๕ เมตร พบทีอ่ ำ�เภอตะกัว่ ปา่ จงั หวดั พังงา ศิลปะสมยั เทวรูปรุน่ เก่า พุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๕ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พัฒนาการของช่างสลักระดับสูงที่สะท้อนความได้สัดส่วนของสรีระความเรียบง่ายของหมวกทรง กระบอกและผ้านุ่งโจงยาวที่แนบพระวรกายเน้นท่ายืนแสดงอ�ำ นาจที่ดูว่าสง่างามที่สุดในบรรดาองค์เทวรูป รุ่นเกา่ (ภาพที่ ๔.๔๑) ภาพที่ ๔.๔๒ พระอาทติ ย์ ศลิ าสูง ๙๒ ซ.ม. พบทเี่ มืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ ศิลปะสมยั เทวรูปร่นุ เกา่ พุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๓ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระอาทติ ย์หรอื พระสรุ ยิ ะ แตเ่ ดิมเปน็ เทวดาสำ�คัญที่สุดองค์หนงึ่ ใน ๓ องค์ในคัมภีรพ์ ระเวท คอื พระ อัคนี (ไฟ) พระอินทร์หรอื พระพาย (ลม) และพระสุริยะ ซึง่ เป็นตน้ กำ�เนดิ แห่งแสงสว่าง และความอบอนุ่ การที่ พระองคท์ รงแตง่ องคผ์ ดิ จากเทวดาอนิ เดยี อนื่ ๆโดยทวั่ ไปคงเพราะดง้ั เดมิ ของศลิ ปะอนิ เดยี โบราณมอี ทิ ธพิ ลจาก ประเทศเปอรเ์ ซยี หรอื อหิ ร่านปนอยู่ด้วย (สุภัทรดศิ ดศิ กุล,๒๕๓๘: ๖๕) พ ระองคส์ วมหมวกทรงกระบอกเหลยี่ ม ซึ่งประดับด้วยลวดลายศิลปะแบบหลงั คปุ ตะ เช่นเดยี วกับ ลกั ษณะของกรองศอแผน่ กลมเบอ้ื งหลงั พระเศยี รชว่ ยยดึ พระศออนั เปน็ สว่ นเปราะบางทส่ี ดุ ของประตมิ ากรรม ในขณะเดยี วกันก็ดูว่าเปน็ ประภามณฑลหรอื สญั ลักษณ์ของพระอาทิตย์ อนง่ึ ดูคล้ายว่าพระองค์นงุ่ โสรง่ แบบ แปลกประหลาดสั้นเพียงพระชงฆ์ (สนั ติ เลก็ สขุ ุม,๒๕๕๔: ๖๓) ๕๑

ประวตั ิและแบบอยา่ งศลิ ปะไทย พระอาทติ ย์ ทเ่ี มืองศรเี ทพอายไุ ลเ่ ลยี่ กันหรอื เก่ากวา่ เล็กนอ้ ย กบั เทวรปู พระนารายณส์ วมหมวก ๘ เหลย่ี มยอดสงู เป็นช้ันๆ และทรงผ้าโจงกระเบนสน้ั ทเ่ี ปน็ รปู พระกฤษณะ และพระอาทิตย์ ซ่ึงสันนิษฐานวา่ ศาสนาพราหมณแ์ ละพทุ ธศาสนาเจรญิ ไปพรอ้ มๆ กนั (ภาพที่ ๔.๔๒) ภาพที่ ๔.๔๓ พระอรรธนารีศวร ศลิ าสูง ๗๑ ซ.ม. พบท่ีจังหวดั อุบลราชธานี ศิลปะสมยั เทวรปู รนุ่ เก่าพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๔ พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี พ ระอรรธนารศี วร เป็นเทวรปู พระอิศวรและพระอมุ า ชายาของพระองค์ ผสมกันเปน็ รปู เดียวกัน พระวรกายซีกขวาเปน็ เพศชาย (พระอศิ วร) ซกี ซ้ายเป็นเพศหญิง (พระอุมา) อกี ท้ังรายละเอียด เชน่ ริม พระโอษฐ์บนของซีกขวามพี ระมัสสุ (เพศชาย) รวมทงั้ อาภรณเ์ คร่อื งประดับ เชน่ ศริ าภรณ์ผา้ ทรงทั้งสองซกี ซึ่งชา่ งเจตนาสลักใหแ้ ตกต่างกันก่อนหน้าน้ัน (ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๓) ชา่ งอนิ เดยี ไดถ้ า่ ยทอดรปู พระ อรรธนารศี วรโดยสลกั ศลิ าทคี่ ูหาพระศวิ ะของถ�้ำ อาชนั ตะหรอื ถ�ำ้ ไอโหเล เป็นตน้ (Loth.๑๙๘๑:๑๙๕ -๑๙๖) (ภาพที่ ๔.๔๓) ภาพท่ี ๔.๔๔ พระคเณศ ศิลาสูง ๑.๗o เมตร พบที่เมอื งพระรถ อำ�เภอดงศรีมหาโพธิ์ จงั หวัดปราจนี บุรี ศลิ ปะเทวรูปรนุ่ เก่า ๕๒

บทท่ี ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ร ูปพระคเณศ เปน็ เทวรปู ศิลาขนาดใหญ่ ประทบั นั่ง แสดงอำ�นาจได้อยา่ งสวยงาม แตเ่ ดิมแตกเป็น ชนิ้ เลก็ ชิน้ น้อย เจ้าหนา้ ทีก่ รมศลิ ปากรไดซ้ อ่ มแซมแล้ว ปัจจุบนั แสดงอยู่ในพพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติพระนคร (ภาพท่ี ๔.๔๔) ภาพท่ี ๔.๔๕ เอกามขุ ลงึ ค์ ศิลาสงู ๑.o๙ เมตร พบที่อ�ำ เภอทา่ ชนะ สรุ าษฎรธ์ านี ศลิ ปะแบบเทวรูปรุ่นเกา่ พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร เอกามุขลึงค์ หมายถงึ ศวิ ลึงค์ทีม่ พี ระพกั ตรพ์ ระอิศวรอยู่ที่ส่วนยอด รูปแบบของพระเกศาเปน็ ท่ีต้ัง ของรปู พระจนั ทรเ์ สยี้ ว ซ่ึงอยูบ่ นด้านข้างพระเศยี ร คือ ประเดน็ สำ�คญั ทใ่ี ช้ในการกำ�หนดอายุจากการเปรียบ เคยี งกับศลิ ปะอนิ เดียแบบคุปตะ (พิรยิ ะ ไกรฤกษ์,๒๕๒๓:๑๓o) ความศักดส์ิ ทิ ธขิ์ องศวิ ลงึ ค์ ท่หี มายถึง ตรมี ู รติ คอื พระผู้เปน็ เจ้าสูงสุดทั้งสามของศาสนาฮินดู คอื เบ้ืองลา่ งสีเ่ หล่ียม หมายถึง พรหมภาค (พระพรหม) ส่วนกลางแปดเหล่ยี ม คือ วษิ ณภุ าค (พระนารายณ์) สว่ นยอดรปู ทรงกระบอก ยอดมนหมายถึง รทุ รภาค (พระอศิ วร) (สนั ติ เล็กสุขมุ ,๒๕๕๔: ๕๒) (ภาพท่ี ๔.๔๕) สรปุ ศลิ ปกรรมสมัยทวารวดี กอ่ นประวัติศาสตร์ (กอ่ นพุทธกาล- พ.ศ.๔oo) กง่ึ กอ่ นประวัตศิ าสตร์ (พ.ศ. ๔oo-พ.ศ. ๑,ooo) คอื ดินแดนๆ นน้ั ยังไม่รู้จกั การบนั ทึกเปน็ ลายลักษณ์ อกั ษรเปน็ ของตนเองแตม่ กี ารบนั ทกึ เรอื่ งราวทกี่ ลา่ วถงึ ดนิ แดนนนั้ ไวใ้ นเอกสารของชนชาตอิ นื่ สมยั ประวตั ศิ าสตร์ (พ.ศ.๑,ooo) เปน็ ต้นมา เมอื่ ใดทชี่ มุ ชนๆ หนึ่ง ได้รูจ้ กั ตวั อักษรในการบันทกึ เร่ืองราว และสามารถอ่านได้ก็ ถือวา่ เข้าสู่ยคุ ประวตั ศิ าสตร์ ส มัยที่ ๑ กอ่ นประวตั ิศาสตร์ ยุคโลหะตอนปลาย จัดเปน็ สังคมเกษตรกรรมใช้เคร่อื งมือเครอ่ื งใช้ สำ�รดิ ยงั มพี ิธกี รรมการฝังศพอยู่ ส มัยที่ ๒ กง่ึ กอ่ นประวัตศิ าสตร์ สมยั เรม่ิ ต้นรับอารยธรรมจากภายนอก (จีน , อนิ เดีย) มีการ รับวัฒนธรรมใหม่ การหลอมเหล็ก เพื่อเปน็ อาวุธ รวมทง้ั เคร่อื งประดบั จ�ำ พวก แก้วครอทซ์ หนิ คารเ์ นเลี่ยน ลกู ปัด และเปลี่ยนพธิ กี รรมการฝังศพมาเปน็ การเผาศพ หลักฐานทางศลิ ปกรรมท่ีสำ�คัญ ไดแ้ ก่ ตุ้มหู (ลิง-ลี โอ) หวีงาชา้ ง ตะเกียงโรมนั ส�ำ รดิ เหรียญกษาปณ ์ ๕๓

ประวตั ิและแบบอยา่ งศิลปะไทย สมยั ที่ ๓ สมัยอาณาจกั รฟนู นั อารยธรรมกอ่ นทวารวดี หลกั ฐานทางศลิ ปกรรมทีร่ บั จากภายนอก ไดแ้ ก่ รูปเคารพในพุทธศาสนาแบบเถรวาท รูปเคารพ ในพุทธศาสนาแบบมหายานและรูปเคารพในศาสนาพราหมณ์ หลกั ฐานทางศิลปกรรมทีส่ รา้ งขึน้ ในดินแดนไทย ได้แก่ พระภิกษุอมุ้ บาตรสามองค์ รูปจ�ำ ลอง พระปฐมเจดียอ์ งค์เดมิ ธรรมจักรและกวางหมอบ พระพทุ ธรปู นาคปรก รูปคนจูงลงิ ฯลฯ สถาปตั ยกรรม สมัยทวารวดี มีขนาดเล็ก สบื เนือ่ งมาจากแนวความคิดแบบเถรวาท ท่ีกล่าวว่า จดุ สงู สดุ คือนพิ พาน สร้างขึน้ เพ่อื เป็นตวั แทนของพระพทุ ธเจ้า และสภาพภมู ิประเทศ ซง่ึ ตั้งอยู่บริเวณทีร่ าบลมุ่ อาคารจึงตอ้ งสรา้ งดว้ ยอิฐ กลา่ วได้วา่ ชาวทวารวดี เปน็ วัฒนธรรมของกลุ่มชนผใู้ ช้อิฐ ประเภทของศาสนสถาน ๑. ศาสนสถานกลางแจง้ ๒. ศาสนสถานทีอ่ ยใู่ นถ�ำ ้ เนือ่ งจากปจั จัยดงั นี้ เปน็ พนื้ ทีธ่ รรมชาติ มวี ัฒนธรรมทีส่ ืบทอดมาจากสมัย กอ่ นประวัติศาสตร์ ตอนปลาย และรับคติ การใชถ้ �ำ ้เปน็ ศาสนสถานมาจากอนิ เดีย ท่เี รยี กวา่ “เจติยสถาน” ร ปู ทรงของเจดยี ์มฐี านเขยี งอยลู่ า่ งสดุ ยกระดบั คอ่ นขา้ งสงู และเปน็ ชอ่ งๆ เ พอ่ื ใชป้ ระดบั ประตมิ ากรรม ดนิ เผา หรอื ปนู ปั้น จำ�พวกคนแคระ ช้างหรอื สงิ ห์ เหนือขน้ึ ไปเป็นสว่ นฐาน มีลกั ษณะคลา้ ยฐานบวั ควำ่� และ โคง้ มนคลา้ ยลูกแก้ว เรยี กว่า “ฐานบัววลัย” เหนอื ข้นึ ไป สนั นษิ ฐานว่า จะเป็นสว่ นของ องค์ระฆงั ประติมากรรมสมัยทวารวดี สมัยทวารวดีตอนต้น มีอิทธพิ ลและการสืบเนอื่ งของศิลปะอนิ เดยี มากท่ีสุดมีลักษณะจวี รเรยี บ,นิยม ปางประทานพร, ปางแสดงธรรม ทา่ ยืนเอยี งตนสามสว่ น (ท่ายืนแบบตรภิ ังค์) ส มัยทวารวดีตอนกลาง มวี ิวัฒนาการจนเกดิ เป็นลักษณะเฉพาะของทวารวดีอยา่ งแท้จรงิ สมยั ทวารวดตี อนปลาย วฒั นธรรมทวารวดีเร่ิมเส่ือมสลาย ๔. ศิลปะศรวี ิชัย (พุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๘) ด นิ แดนในภาคใตข้ องไทยแต่เดิม เคยเป็นที่ตั้งของรัฐต่างๆ แบบอนิ เดยี มาตั้งแตพ่ ุทธศตวรรษท่ี ๗-๘ นบั ต้ังแตเ่ ขตจงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านลี งมาไปจนถงึ เกาะสมุ าตราและชวา ดินแดนแถบบริเวณรอบอา่ วบ้านดอน เข้าใจวา่ เป็นเส้นทางผ่านแหลมอนิ โดจนี และทะเลจนี รัฐตา่ งๆ ท่มี ชี ื่ออย่ใู นบันทกึ ของจนี หลายยคุ หลายสมัย เพราะเปน็ ดนิ แดนทีม่ พี อ่ ค้าชาวโรมนั ชาวอาหรับ ชาวอนิ เดยี และชาวจีนเดินทางโดยเรอื มาทำ�การค้าขายกัน มากมาย เชน่ บริเวณคลองทอ่ ม จงั หวดั กระบี่ ต่อมาในพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ มอี าณาจกั รหนึง่ มีอำ�นาจขน้ึ ใน คาบสมทุ รมลายูรวมทั้งเกาะสมุ าตราและเกาะชวาดังที่ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีเหลืออยู่นกั โบราณคดี ไดจ้ ดั ให้เปน็ “ศิลปะสมัยศรีวิชยั ”หรือ“ศิลปะอนิ เดีย-ชวา”ปกครองโดยราชวงศ์“ไศเลนทร์”แปลวา่ “ซงึ่ สืบ เช้ือสายมาจากอินเดยี ” “ ราชอาณาจักรศรวี ชิ ยั ” (Le Royaume de Crivijaya) โดยได้ช่อื “ศรีวิชยั ” มาจากค�ำ ที่ปรากฏ ในศลิ าจารึกหลักหน่ึง คือ ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง หรือศิลาจารึกหลักท่ี ๒๓ ทม่ี กี ารสลกั ขึน้ ในปี พ.ศ. ๑๓๑๘ และมีการคน้ พบทว่ี ัดเสมาเมือง ในเขตเมืองโบราณนครศรธี รรมราช อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวัด นครศรีธรรมราช ๕๔

บทที่ ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย คำ�ว่า “ศรีวชิ ยั ” เปน็ ชือ่ นามสถานทปี่ รากฏอยูใ่ นศลิ าจารกึ ไทยสุมาตราและอินเดียใต้ในเอกสารจีนสมยั ราชวงศถ์ งั มชี อ่ื นามสถานทีเ่ รยี กว่า ชิลีไฟซิ หรอื ซอื่ ล่ีไศซี่ ซงึ่ ศาสตราจารย์เซเดสก์ ล่าวว่าเป็นชือ่ เดียวกบั ศรี วิชัย ภาพท่ี ๔.๔๖ ตำ�แหนง่ ทีต่ ัง้ ของศิลปะศรีวิชยั ก ารสันนิษฐานท่ตี ัง้ ของศรีวิชัย เป็นประเด็นท่ถี กเถยี งกนั นกั วิชาการค้นควา้ วจิ ยั ต่างยกเหตผุ ลอา้ ง องิ คือ ไทย อินโดนเี ซีย หรือมาเลเซยี ยกตวั อยา่ งเชน่ เซเดส์ (Cedes) อาศัยหลักฐานจากศิลาจารึก เอกสาร จีนและอาหรบั วิเคราะหร์ ่วมกบั สภาพภมู ิประเทศของเกาะสมุ าตรา ไดช้ ้วี ่าศนู ยก์ ลางศรวี ชิ ยั อย่ทู ีป่ าเลม็ บัง โอ. ดับเบิ้ลยู วอลเตอรส์ (O.W. Wolters) แห่งมหาวิทยาลยั คอร์แนล สหรัฐอเมริกา ช้ศี นู ย์กลางของศรวี ชิ ยั อยู่ที่เมอื งปาเล็มบงั สว่ นมาชมุ ดาร์ (Majumdar) ชาวอินเดีย มีความเห็นวา่ ระยะแรกศูนยก์ ลางของศรวี ชิ ยั อยู่บนเกาะชวา ต่อมาย้ายไปยงั เมืองนครศรีธรรมราช (หรอื ไชยา หมายถงึ สถานทีบ่ นจารกึ หลักท่ี ๒๓) และค วอริช เวลส์ (Quaritch Wales) นักโบราณคดชี าวอังกฤษ ชีศ้ ูนย์กลางของศรีวชิ ยั อยูท่ ่ีเมอื งไชยา เนอ่ื งจากพบ โบราณสถานโบราณวตั ถทุ ม่ี อี ายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษท ี่๑ ๒-๑๕ เ ปน็ จ�ำ นวนมากแตต่ อ่ มาเขาไดเ้ ปลยี่ นแปลง ความผดิ พลาดของเรา ที่เข้าใจว่าศรวี ิชัยตัง้ อยู่ไชยา ซึ่งสภาพภมู ปิ ระเทศไชยาไมส่ ามารถคุมชอ่ งแคบอันเปน็ ฐานเศรษฐกิจและการเมืองของศรีวชิ ยั ได้ อีกประเด็นของหมอ่ มเจา้ จันทร์จิรายุ รัชนี ไดศ้ ึกษาเรอ่ื งลมและ สภาพภมู ศิ าสตร์ เชน่ การวดั นาฬิกาแดด เปรยี บเทยี บกบั บนั ทึกการไปสบื ทอดศาสนาของหลวงจนี อีจ้ ิง และ สรปุ ว่าศูนย์กลางของศรวี ิชัยอยูท่ ี่ไชยา จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ประเทศไทย และนายธรรมทาส พานชิ น้องชาย ทา่ นพุทธทาส ภิกขุ ใช้หลกั ฐานครง้ั แรกของควอริช เวลส์ ประกอบกบั การศึกษาโบราณวตั ถุสถานและสภาพ ภมู ิศาสตร์ของไชยาและสรปุ ว่าอาณาจกั รแห่งน้ีชื่อศรีโพธ์ิเป็นสถานที่ทห่ี ลวงจีนอีจ้ ิงมาพ�ำ นัก(อย่างไรก็ดีชอื่ อาณาจักรศรีโพธิ์กม็ ิได้รบั การยอมรบั กวา้ งขวางเพราะไมม่ ีหลกั ฐานจารึกรองรับ ในขณะท่จี ารกึ มชี ื่อศรีวิชยั แม้แต่หม่อมเจ้าจนั ทร์จิรายุ รัชนี ซึง่ เหน็ ดว้ ยในข้อคิดของนายธรรมทาสในหลายๆ เรอ่ื งกย็ งั ไมย่ อมรบั ค�ำ ว่า อาณาจักรศรโี พธ์ิ (โบราณคดีศรวี ชิ ยั ,๒๕๔๓: ๙๔-๙๖) ๕๕

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย สรปุ ทต่ี งั้ ของศรวี ชิ ยั จะตอ้ งเลอื กมองจดุ ใหม่และแหลง่ โบราณคดที สี่ �ำ คญั ซงึ่ สงิ่ เหลา่ นส้ี ามารถวเิ คราะห์ ไดว้ ่าสถานที่ใดเปน็ ศนู ย์กลางของศรวี ชิ ยั ซ่ึงพอจะเรียงลำ�ดับความเป็นไปไดค้ ือ ๑) เกาะสุมาตรา ๒) เกาะ ชวา ๓) คาบสมุทรมลายู และ ๔) สุราษฎรธ์ านี สภาพทางการเมือง สถานภาพทางการเมืองของศรีวชิ ยั จากการศึกษาวิจัยในส่วนของการตรวจสอบ หลกั ฐานจารกึ ประกอบการขดุ คน้ ทางโบราณคดใี หมๆ่ วา่ ศรวี ชิ ยั มไิ ดม้ กี ระบวนการปกครองทถี่ าวรและศนู ยร์ วม เหมอื นดงั เชน่ รฐั นอ้ ยใหญใ่ นบรเิ วณรอบทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นหรอื ในจนี และอนิ เดยี ( อารยธรรมลมุ่ แมน่ �ำ ส้ นิ ธ)ุ ซ่งึ รูปแบบการปกครองประกอบด้วยเมอื งหลักๆและกำ�หนดเสน้ อาณาเขตได้ชัดเจนในดนิ แดนหม่เู กาะมลายู ถึงแมว้ ่าจะเหน็ ว่ามโี ครงสรา้ งการบริหาร ท่มี ีประสิทธภิ าพย่งิ ทางเศรษฐกิจและมีการตดิ ตอ่ สมั พันธท์ างสงั คม อยา่ งกวา้ งขวาง แตเ่ ราไมอ่ าจกำ�หนดอาณาเขตทางภูมิศาสตรท์ แ่ี นน่ อนชดั เจนได้ เพราะลักษณะการจดั ตง้ั ทางการเมอื งเปน็ ไปอยา่ งหลวมๆ โ ดยขนึ้ อยกู่ บั แหลง่ เมอื งทา่ สำ�คญั ๆแตล่ ะแหง่ สภาพทางการเมอื งของศรวี ชิ ยั ไม่สามารถสรปุ วา่ มีลกั ษณะการปกครองแบบใดเพราะการปกครองเมอื งจะขึ้นอยกู่ บั เมอื งท่าสำ�คัญในแถบ ภูมิภาคน้ี สว่ นปัญหาเมอื งหลวงของศรีวชิ ัย เปน็ ที่ถกเถียงขดั แย้งอยใู่ นหมนู่ ักโบราณคดี แบ่งเป็น ๒ กลมุ่ กลุ่ม แรกมคี วามเหน็ ว่า ที่ตัง้ อาณาจักรอยใู่ นเมือง “ปาเลม็ บัง” ในเกาะสุมาตราสว่ นกลุม่ หลงั มีความเหน็ วา่ เมอื ง หลวงของศรวี ชิ ัยอยทู่ ีเ่ มืองไชยาอย่างนอ้ ยก็ชว่ั ระยะหนึ่ง เพราะมีโบราณสถาน และศลิ ปวัตถุมากพอสมควร ดเู หมอื นจะมมี ากกวา่ เมอื งปาเลม็ บัง ศลิ ปะสมัยศรีวิชยั ได้รับอทิ ธิพลจากศิลปะอินเดยี ท้ังอนิ เดยี เหนือและอนิ เดยี ใต้ เช่น ศิลปะคปุ ตะ ปลั ลวะ ปาละ และโจฬะ เปน็ งานศลิ ปะทสี่ ร้างข้นึ ทง้ั ในศาสนาฮินดู และพทุ ธศาสนาลทั ธมิ หายาน (วัชรยาน) แต่ศิลปวตั ถแุ ละโบราณสถานที่พบทางภาคใตข้ องไทย นบั ตงั้ แต่เมอื งไชยา อนั มพี ระบรมธาตุไชยา จังหวดั สุราษฎรธ์ านี ลงไปจนถงึ สทิงพระ ในจังหวัดสงขลา และได้พบเหรียญชาวจนี และของชาวอาหรบั ในบรเิ วณ เมืองเกา่ ของสทงิ พระ ค วามเส่ือมอ�ำ นาจ การล่มสลายของศรวี ิชยั เชอ่ื วา่ จะเปน็ ผลจากการรุกรานของโจฬะ เมื่อ พ.ศ. ๑๕๖๘ ท�ำ ใหอ้ ำ�นาจของกษตั ริย์ศรวี ชิ ยั (ศรโี พธ)ิ์ ออ่ นลง จากการปลน้ สะดม และจากสาเหตุปัญหาโครงสร้าง ภายในของศรีวชิ ัย ซงึ่ อำ�นาจทงั้ หมดจะวางไวเ้ ปน็ ฐานเศรษฐกจิ ท่ีตอ้ งพ่งึ พาระหวา่ งประเทศเปน็ ส�ำ คัญ โดย เฉพาะจนี อนิ เดีย อาหรับ โรมนั ซ่ึงการตดิ ตอ่ ค้าขายซง่ึ กันและกนั จะต้องผ่านศรวี ชิ ัยก่อน จงึ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความ ร�่ำ รวยทางเศรษฐกิจ สว่ นศรวี ชิ ยั เป็นพอ่ ค้าคนกลาง เม่ือควบคมุ การคา้ ขายไมไ่ ด้ จึงเสยี ผลประโยชน์ และ เมือ่ อาณาจักรตามพรลงิ ค์ (นครศรธี รรมราช) ติดต่อค้าขายกับจีนและตะวันตกโดยตรง จงึ ทำ�ให้ศรวี ชิ ัยเสอื่ ม อำ�นาจลง และหมดสภาพลง ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ สมัยมารโ์ คโปโลเดนิ ทางมายังรฐั มลายู ซ่ึงเปน็ รฐั ทสี่ ำ�คญั ของสมุ าตราในปี พ.ศ. ๑๘๓๕ ศรีวชิ ยั ก็ไมม่ ใี ครใชเ้ สน้ ทางการเดินเรอื อกี เลย ร ายการสนิ ค้าท่คี า้ ขายในเมืองเครอื ข่ายของศรวี ชิ ยั จากจดหมายเหตุจีนและอาหรบั ท่ีเข้ามาค้าขาย ในชว่ งเจริญรุง่ เรอื ง ดังน้ี ๑ . เครอ่ื งเทศและเคร่ืองหอม เชน่ กระวาน กานพลู มะพรา้ ว แกน่ จนั ทร์ พรกิ ไทย หมาก ดีปลี ขงิ ข่า ขมน้ิ สารส้ม ฯลฯ ๒. ผลผลติ จากปา่ และสตั ว์ เชน่ งาช้าง เขาสตั ว์ น�ำ ต้ าล นำ�ผ้ งึ้ สมนุ ไพร ฯลฯ ๓. ของแปลกมีคา่ เชน่ แก้วหิน ไขม่ กุ พลอย ปะการัง ฯลฯ ๕๖

บทที่ ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ๔. สินค้าจ�ำ พวกโลหะ เชน่ ทองค�ำ เงนิ ดีบกุ ตะกว่ั ฯลฯ ๕. สนิ ค้าเกษตรกรรม เชน่ ขา้ ว มะพรา้ ว หมาก เปน็ ต้น (ปทุม ชมุ่ เพ็งพันธ์ุ.๒๕๒๕: ๑๕๕-๑๕๖) อาณาจกั รศรีวชิ ยั เช่อื กันวา่ มอี าณาเขตอยู่ในบริเวณ เกาะสมุ าตราและครอบครองแหลมมลายูตอน เหนือ และดนิ แดนบางสว่ นของภาคใตใ้ นประเทศไทย เติบโตและมั่งคั่ง มาจากการควบคุมเสน้ เลอื ดใหญ่ การคา้ ทางทะเล สกลุ ชา่ งศรวี ิชยั จัดเปน็ ศิลปกรรมท่พี บทางภาคใตข้ องประเทศไทย ซ่งึ สร้างขึ้นส�ำ หรบั พุทธ ศาสนามหายานระหว่างกลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ถึงกลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ขณะทด่ี นิ แดนแถบนน้ั ตกอยู่ ใตก้ ารปกครองอาณาจกั รศรวี ชิ ัย ซึ่งมีศูนย์กลางอยูท่ ปี่ าเลม็ บงั ตอนใตข้ องเกาะสุมาตรา สกลุ ช่างศรีวชิ ัย ดจู ะมีมากกวา่ สกุลช่างของแคว้นต่างๆ ในตอนเหนอื เสียอกี งานศิลปะทท่ี �ำ ท่ีเมอื ง ไชยาและทนี่ ครศรธี รรมราชแสดงถงึ ความมงั่ คงั่ สมบรู ณ์ของประเพณที างศลิ ปะ ซ งึ่ ไดร้ บั การปรบั ปรงุ ใหม้ ชี วี ติ ชวี าขึน้ เรือ่ ยๆ โดยได้รบั ความบันดาลใจจากอิทธิพลทั้งภายในและภายนอกประเทศ สกลุ ชา่ งท้ังสองปรากฏมี ศลิ ปกรรมอทิ ธิพลอินเดยี ท่เี กา่ มากในประเทศไทย เป็นต้นว่า เทวรูปในศาสนาพราหมณ์อายุเก่าแก่ประมาณ กลางพทุ ธศตวรรษท่ี ๑o พบทไ่ี ชยา หรือพระพุทธรปู พบท่ีเดียวกัน อายปุ ระมาณกลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ ฝีมือช่างอยใู่ นระดับสงู สว่ นพระวิษณุที่พบท่รี ะโนดจดั เป็นงานฝมี อื ชนั้ เยีย่ มของสกลุ ช่างสทิงพระ และมอี ายุ ประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๓ ในชว่ งกลางพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓ ในช่วงระยะเวลาน้ ี พุทธศาสนามหายาน จากนาลันทา (Nalando) ได้ใหค้ วามบันดาลใจแก่สกุลชา่ งทไี่ ชยา สรา้ งสรรค์ประตมิ ากรรมทมี่ ฝี ีมอื ช่างดเี ลศิ มีสนุ ทรยี ภาพสูง ศิลปะแบบนาลนั ทาได้เข้ามาในลกั ษณะของประตมิ ากรรมชิน้ เลก็ ๆ ที่เคล่ือนย้ายได้ง่ายและ สะดวกเปน็ ตน้ วา่ พระโพธสิ ตั วป์ ทั มปาณิพบทสี่ ทงิ พระแบบศลิ ปะและความเชอ่ื ทางศาสนาซง่ึ มาจากนาลนั ทา ได้แผ่ขยายไปทั่วภาคใต้ของ ประเทศไทย และในหมู่เกาะอนิ โดนเี ชีย และก่อใหเ้ กิดศิลปะชวาภาคกลางข้ึน ในประเทศอนิ โดนีเชีย อิทธิพลของศลิ ปะชวาภาคกลางได้สะท้อนกลบั มาสดู่ ินแดนฝัง่ ตะวันออกของภาคใต้ ตอนปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ หรอื ต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๕ ไชยาดเู หมอื นจะตกอยูใ่ ตอ้ ทิ ธิพลจาม (Cham) ระหว่างกลางพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ ถงึ กลางพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ ก็ดูเหมือนว่าจะตกอยใู่ ตอ้ ทิ ธิพล วัฒนธรรมเขมร ในเวลาเดยี วกนั นนั้ คือ ราวกลางพทุ ธศตวรรษที่ ๑๔ ดินแดนฝั่งตะวนั ตกของภาคใต้ของ ประเทศไทยแถบตะกวั่ ป่าก็ได้รบั อิทธพิ ลศลิ ปะ อนิ เดียแบบปลั ลวะ (Pallava Style) หลังจากนนั้ คือ ราว กลางพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ กไ็ ดร้ บั อทิ ธิพลศลิ ปะอินเดียแบบโจฬะ (Chola Style) เช่น ทีเ่ วยี งสระ และใน ศตวรรษต่อมาอทิ ธพิ ลศิลปะอินเดยี แบบนาคปฏั ฏนิ ัม ( NagaPattinamStyle) ก ็ปรากฏขน้ึ ทนี่ ครศรธี รรมราช จากเรอื่ งราวยอ่ ๆ เกยี่ วกบั ศลิ ปะทส่ี �ำ รวจพบทางภาคใตข้ องประเทศไทยดงั ไดก้ ลา่ วสรปุ มาน้ีเปน็ เครอ่ื งพสิ จู น์ ว่าเราเอาค�ำ วา่ “ศรีวิชยั ” มาใชอ้ ย่างพร่�ำ เพรอ่ื และกว้างเกินไป สว่ นศาสตราจารย์หมอ่ มเจ้าสุภทั รดศิ ดิศกลุ ทรงมีพระดำ�รวิ า่ ศลิ ปะแบบศรวี ชิ ัย ได้รบั อิทธิพลจากศลิ ปะอนิ เดียแบบคปุ ตะ (Gupta Style) ซึง่ มีอายอุ ยู่ใน ระหวา่ งราวพุทธศตวรรษท่ี ๙-๑๑ ศลิ ปแบบหลงั คปุ ตะ (Post-Gupta Style) ซ่งึ มอี ายุอยูใ่ นระหว่างราวพทุ ธ ศตวรรษท่ี ๑๑-๑๓ และศิลปะแบบปาละ-เสนะ (Pala-Sena Style) โดยศลิ ปะแบบปาละมีอายุอยู่ในระหว่าง ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๗ และศิลปะแบบเสนะมอี ายอุ ยใู่ นระหวา่ งราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๗-๑๘ ตามลำ�ดับ นอกจากน้ีโบราณวัตถุในศิลปะแบบน้ีที่ค้นพบในภาคใต้ของประเทศไทยไม่ว่าจะสลักด้วยศิลาหรือหล่อด้วย ส�ำ ริดก็ตาม จะมลี กั ษณะทีค่ ล้ายคลึงกันกบั ของทมี่ ีการค้นพบมากในเกาะชวาภาคกลาง (พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ หรือ ๑๓ – ๑๕) ๕๗

ประวตั ิและแบบอย่างศลิ ปะไทย ค ตแิ ละความเชอ่ื ของอาณาจกั รศรวี ชิ ยั ผคู้ นสว่ นใหญม่ กี ารนบั ถอื พระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานศลิ ป กรรมศรีวชิ ยั จะมแี บบฉบับความงาม ท่ีเกย่ี วข้องกบั ศลิ ปะชวาภาคกลางของอนิ โดนเี ซยี ซ่ึงใกลช้ ิดกบั ศิลปะ อนิ เดยี แบบคุปตะและปาละ สถาปัตยกรรมศรีวชิ ยั เจดีย์หรือจันทิ สร้างข้นึ เพอ่ื ประดษิ ฐานรปู เคารพการ ตกแตง่ ลวดลาย มักจะใช้วธิ ีการแกะสลักแบบเขมร มลี กั ษณะการจำ�ลองอาคารชัน้ ล่าง ลดหล่นั กนั ข้ึนไปเปน็ ช้นั ๆ มักนยิ มประดับดว้ ยสถปู เลก็ ๆ ตามชนั้ ของหลังคา และยอดบนสุดจะเป็นสถปู ใหญ่องคเ์ ดียว ประตมิ ากรรมศรีวิชัย พบส่วนมากเป็นรูปเคารพในพุทธศาสนาลทั ธมิ หายานส่วนใหญ่ สลักดว้ ยศิลา หรือหล่อสำ�ริดในศิลปะแบบศรีวิชัยของคาบสมุทรภาคใต้ของประเทศไทยได้มีการค้นพบประติมากรรม แบบลอยตัวของรปู เคารพในพุทธศาสนา ลทั ธมิ หายาน เปน็ จ�ำ นวนมาก รูปเคารพที่สำ�คญั เปน็ รปู เคารพของ พระพทุ ธเจา้ และพระโพธิสตั ว์หลายองค์ สลักด้วยศลิ าและหล่อส�ำ ริด พระโพธสิ ตั ว์ในพุทธศาสนาลทั ธิมหา ยานท่ีเกดิ จากพระชยานิพุทธเจ้าอมิตาภะ ด้วยเหตนุ ั้นจึงมพี ระอมิตาภะปางสมาธิอยูเ่ หนือศริ าภรณ์พระองค์ ทรงได้รับการเคารพนับถืออย่างมากมายในพุทธศาสนาลัทธิมหายานเพราะเหตุว่าทรงเป็นผู้คุ้มครองผู้ที่ นับถอื พุทธศาสนาลัทธใิ นยคุ ปจั จบุ นั ดงั นัน้ จึงมหี ลายรูปแบบถงึ ๑o๘ มหี ลายพระนาม เช่น อวโลกติ ะ ปทั มะ ปาณี โลเกศวร มหากรณุ า ฯลฯ พระนาม “อวโลกิเตศวร” แปลไดว้ ่า “พระผมู้ องลงต�ำ่ ” หรือ “พระผู้มแี สง สวา่ ง”การนบั ถือจงึ แพร่หลายทกุ แห่งของพทุ ธศาสนาลัทธิมหายานแพร่ไปถงึ ประเทศจนี กลายเปน็ เพศหญงิ คอื เจ้าแม่กวนอมิ เปน็ รปู แบบพระโพธสิ ตั ว์ของจนี ภาพที่ ๔.๔๗ พระโพธสิ ตั วอ์ วโลกเิ ตศวร สูง ๑.๑๕ เมตร พบทวี่ ัดศาลาทงึ อำ�เภอไชยา จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ศลิ ปะศรีวิชัย พทุ ธศตวรรษท่ี 13 พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร และเจ้าแมก่ วนอมิ พระโพธิสตั วอ์ วโลกิเตศวร มี 2 กร อายุเกา่ แกก่ ว่าองค์อืน่ ๆ ประมาณศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ มรี ูปหัวมฤต ประดบั อย่บู นพระอรุ ะดา้ นซา้ ย รบั อทิ ธิพลจากสกุลชา่ งคุปตะและปลั ลวะ ลักษณะกายวิภาคมีสดั ส่วนงดงาม ทางฝีมือของช่างสูง ประทบั ยนื บนดอกบัวชมพู ทรงเกลา้ พระเกศาเป็นรปู ชวามกุ ฏุ มีพระพุทธเจา้ อมิตาภะ ประทบั อยดู่ ้านหน้าพระหัตถข์ วาแสดงปางประทานพรพระหัตถ์ซ้ายถือดอกบัวทรงพระภษู ายาวพระวรกาย ตกแตง่ ด้วยพาหุรัดกรองศอ ทองพระกร แสดงถงึ การรับอทิ ธพิ ลของจาม (ภาพที่ ๔.๔๗) พ ระองั สาซา้ ยมหี นงั กวางพาดสะพายรปู หวั กวางเลก็ ๆยงั สงั เกตเหน็ ไดใ้ นปลายศลิ ปะอนิ เดยี สมยั หลงั คปุ ตะ หนังกวาง (อชนิ ะ) เปน็ เครอื่ งทรงปกติของนกั บวช แตช่ ่างก็สลักหนังกวางถวายรูปพระโพธสิ ัตว์อวโลกิเตศวร ๕๘

บทท่ี ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย เมอื่ พระองค์ไม่สวมเครือ่ งอาภรณอ์ ย่างอืน่ เพือ่ ท�ำ ใหพ้ ระองคม์ ีลกั ษณะคล้ายนักบวชยง่ิ ขึน้ (สุภทั รดิศ ดิศกลุ , ๒๕๕๔: ๒๕๔-๒๖๕) ภาพที่ ๔.๔๘ พระโพธสิ ัตวอ์ วโลกเิ ตศวร สำ�ริดสงู ๖๕ ซม. พบทว่ี ัดพระบรมธาตุ ไชยา อำ�เภอไชยา สุราษฎร์ธานี ศลิ ปะศรีวชิ ยั พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔-๑๕ พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระโพธิสัตวอ์ วโลกเิ ตศวร คือ อนาคตของพระพุทธเจา้ หรือจะเรียกว่าพระพทุ ธเจา้ ตรัสรแู้ ล้วแตไ่ ม่ ถงึ นพิ พานทรงอยตู่ อ่ เพอื่ ชว่ ยมนษุ ยใ์ หพ้ น้ ทกุ ข์ทรงเปน็ ทายาทของชยานพิ ทุ ธอมติ ภะปางสมาธเิ ปน็ เทพประจ�ำ ทิศตะวันออก ซ่งึ มี ๕ พระองค์ เกดิ จากคตคิ วามเชือ่ ของนกิ ายมหายาน คอื ญาณใหญท่ ช่ี ว่ ยให้คนหลุดพน้ ได้คราวละมากๆ เหตนุ ีเ้ องพระโพธสิ ัตว์ จงึ มหี ลายองคจ์ งึ จะได้ช่วยคนไดม้ ากๆ ถอื ว่าเปน็ องค์ที่งดงามท่ีสุด เปน็ หลักฐานทโี่ ดดเดน่ ทส่ี นับสนนุ ศิลปวฒั นธรรมของศลิ ปะศรวี ชิ ยั ไดร้ บั อิทธพิ ลจากอินเดียมีมวยผมสูง มวย ผมมพี ระชยานพิ ุทธอมติ ภะปางสมาธิประทับอยู่ แตง่ กายดว้ ยชดุ ประจ�ำ กาย คือ หนังกวางพาดสะพาย รปู หุม้ กวางเลก็ ๆ ยงั สงั เกตเหน็ ได้ในปลายศิลปะอนิ เดยี สมยั หลงั คปุ ตะ และหนงั กวาง (อชินะ) เป็นเคร่ืองทรงปรกติ ของพระโพธสิ ตั วศ์ รอี ารยี เมตไตรยอทิ ธพิ ลศลิ ปะปาละแหง่ อนิ เดยี เหนอื ชา่ งสลกั หนงั กวางถวายรปู พระโพธสิ ตั ว์ อวโลกเิ ตศวร เมอ่ื พระองค์ไม่สวมเคร่ืองอาภรณอ์ ย่างอน่ื เพอ่ื ท�ำ ใหพ้ ระองค์มีลกั ษณะคล้ายนกั บวช ศริ าภรณ์ สว่ นบนหกั หายไป พระพักตรอ์ ม่ิ เอบิ ทรงยนื ในทา่ ตรภิ ังค์ (เอยี งสะโพก) มีอุณาโลมทพ่ี ระนลาฏ พระเนตร เหลือบมองต่�ำ พระโอษฐ์เต็มฝงั ทองค�ำ ไว้ที่ริมพระโอษฐล์ ่างทรงสวมกระบงั หน้า กุณฑล พาหุรดั (ภาพท่ี ๔.๔๘) จ ากการพบพระโพธสิ ัตว์ ๒ องค์ ท่ีเมืองไชยา ซึง่ มีหวั มฤตปรากฏอยู่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ “เมอื งไชยา” เปน็ ศนู ยก์ ลางพทุ ธศาสนาทสี่ �ำ คญั แหง่ หนง่ึ ของแหลมมลายตู อนบนซงึ่ ลกั ษณะแบบนไี้ มพ่ บทใ่ี ดในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้จงึ สนั นษิ ฐานวา่ เมอื งไชยาอาจเปน็ เมอื งหลวงของอาณาจกั รศรวี ชิ ยั บ รเิ วณเมอื งเกา่ ทอี่ �ำ เภอสทงิ พระจังหวัดสงขลาได้พบประติมากรรมส�ำ รดิ ขนาดเล็กเช่นรูปพระโพธิสตั วอ์ วโลกเิ ตศวรพระคเณศทา้ วกเุ วร (ชมั ภละ) เทพเจา้ แห่งความมั่งคงั่ อาจจะน�ำ มาจากอนิ เดยี ๕๙

ประวัตแิ ละแบบอย่างศิลปะไทย ภาพที่ ๔.๔๙ ทา้ วกเุ วรหรอื ชัมภละ ส�ำ รดิ สงู ๑๖ ซ.ม. พบทีอ่ ำ�เภอสทงิ พระจังหวดั สงขลา มีจารึกคาถาเป็นภาษาสนั สกฤตว่า “เย ธรรมมา” สลกั อย่ดู า้ นหลงั ชัมภละ เป็นเทวดาแหง่ ความมัง่ ค่ังในพทุ ธศาสนาลทั ธิมหายาน คูก่ บั ท้าวกุเวรในศาสนาพราหมณ์ (ภาพที่ ๔.๔๙) ภาพท่ี ๔.๕o พระโพธสิ ตั วอ์ วโลกิเตศวร ๘ กร สำ�รดิ สงู ๗๗ ซม. พบท่วี ัดพระบรมธาตุ อ�ำ เภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ศิลปะศรวี ิชยั พุทธศตวรรษท่ี ๑๔-๑๕ พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวรรปู นีป้ ระทับยนื ตรงพระองคท์ รงศริ าภรณท์ ี่มีพระพทุ ธเจา้ อมติ ภะประทบั อยดู่ า้ นหน้า ทรงมแี ปดกร (ชำ�รุด) กลา่ วกนั วา่ พระโพธิสตั ว์อวโลกเิ ตศวรทรงมรี ูปแบบถึง ๑o๘ และหลาย พระนาม เช่น อวโลกเิ ตศวร ปทั มปาณี โลเกศวรโลกนาถ มหากรุณา เป็นต้น (สุภัทรดศิ ดศิ กุล,๒๕๓๘: ๖๖- ๖๗) อาภรณ์เครอ่ื งประดับอนั งดงามของพระองค์บ่งถงึ สภาวะแหง่ ความงามความสุขอันอุดม พระมหากรุณา ของพระองค์ผู้ทรงฤทธ์ิอ�ำ นาจ นำ�ผคู้ นทีก่ ราบไหว้บูชาพระองคไ์ ปสู่สวรรคห์ รือนพิ พานพรอ้ มพระองค์ (สนั ติ เล็กสุขุม,๒๕๕๔:๕๘) (ภาพท่ี ๔.๕o) ๖๐

บทที่ ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ศลิ ปะศรวี ชิ ยั ทีม่ ีความคลา้ ยคลึงกับศลิ ปะของราชวงศ์ไศเลนทร์ในเกาะชวามพี ระพักตร์กลมพระขนง ต่อกนั เป็นรปู ปีกกา พระกรท้ัง ๘ หกั หายหมด ทรงเกล้าพระเกศาเปน็ รปู ชฎามุกุฎ ตกแตง่ ด้วยศลิ าภรณ์กบั กระบังหน้า สวมกรองศอ กณุ ฑล พาหรุ ัด ทรงสะพายแพรมสี ายยชั โญปวีตลกู ประคำ�ทับ เปน็ เคร่ืองหมาย ของบคุ คลในวรรณะพราหมณ์หรือวรรณะกษัตริย์ แสดงฐานะเปน็ เจ้าแหง่ จักรวาล อายรุ าวศตวรรษท่ี ๑๔ (พริ ิยะ ไกรฤกษ,์ ๒๕๒๘: ๕๒-๕๔) ภาพที่ ๔.๕๑ พระศรอี ารยิ เมตไตรยโพธิสัตว์ ส�ำ ริด สูง ๓๓ ซม. พบที่โกสมุ พสิ ัย จงั หวดั มหาสารคาม ศลิ ปะศรวี ชิ ยั ตอนปลาย พุทธศตวรรษท่ี ๑๔-๑๕ พระศรีอารยิ เมตไตรยโพธสิ ัตว์ มีประภามณฑลรัศมเี ปลง่ เปน็ ศลิ ปะศรวี ชิ ัยแบบอนิ เดยี ปาละ และอิทธพิ ลขอม และลพบรุ ี แสดงถึงพระพุทธเจ้าท่จี ะมาตรัสรใู้ นอนาคต นัง่ ขัดสมาธิตามแบบพุทธศาสนาลทั ธิมหายาน ซ้ายมือ รูปนาง ดารากฤษฎี/ขวามอื รูปนางดารากุรุกุลา (ภาพที่ ๔.๕๑) ภาพท่ี ๔.๕๒ พระพทุ ธรปู นาคปรกปางมารวิชัย สำ�รดิ สงู ๑.๖๕ เมตร พบท่วี ัดเวียง อำ�เภอไชยา สรุ าษฏร์ธานี ศลิ ปะศรวี ิชยั พ.ศ. ๑๗๒๖ ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ พระพุทธรปู นาคปรกปางมารวิชยั สำ�ริด จะปน้ั นาคย่นื ออกมาปกมากกวา่ สมยั ทวารวดี และมีความ ประณตี สวยงามของฝีมอื ชา่ ง มีความแปลก คอื แตกตา่ งจากพระพุทธรปู ปางทวั่ ไปจะเป็นปางสมาธิอนั นเ้ี ป็น ปางมารวชิ ัย อาจจะแยกเปน็ ๓ ช้ัน คือ เศยี รนาคอันหนง่ึ พระพุทธรปู อนั หน่งึ และขนดนาคอกี อันหนึ่ง พระ พทุ ธรูปนาคปรก ตามพทุ ธประวัติกล่าววา่ เมื่อพระพทุ ธเจา้ ตรัสรแู้ ล้วได้ ๓๕ วนั ไดเ้ สดจ็ ไปประทับบ�ำ เพญ็ สมาธิอยู่ใตต้ ้นมจุ ลนิ ท์ (ต้นจิก) ในขณะนัน้ มฝี นตกลงมา พระยานาคมจุ ลินท์ ซ่ึงอาศยั อยใู่ นสระโบกขรณใี กลๆ้ จึงได้มาขดกายลอ้ มรอบพระพุทธองค์มิใหพ้ ระวรกายเปยี กฝนอย่นู าน ๗ วัน พระพทุ ธรปู ปางนาคปรก เกดิ ๖๑

ประวัติและแบบอย่างศลิ ปะไทย ขน้ึ ในสมยั อมราวดีทางทศิ ใตข้ องอนิ เดยี (ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๘-๙) อาจเป็นไดว้ า่ ชนชาตแิ ถบน้ันนบั ถืองู มาแตก่ อ่ น เมือ่ หันมานบั ถอื พทุ ธศาสนา จงึ ได้พยายามรวมเอาความเช่ือทั้งสองอยา่ งมาปนกนั จึงเกิดเปน็ พระพุทธนาคปรกขน้ึ (ภาพท่ี ๔.๕๒) ส นุ ทรยี ภาพของพระพทุ ธรูปนาคปรกองคน์ ้ี เกิดจากสัดสว่ นอนั เหมาะสม จากสว่ นล่างของขนดนาค ทีบ่ านผายข้นึ กอ่ นทจ่ี ะเริม่ สอบเมอื่ ขนึ้ ถึงพระชงฆ์ พระวรกายและพระเศียรของพระองคซ์ ง่ึ เดน่ ชัด เพราะมี พงั พานของพญานาคแผ่ออกเป็นแผ่นหลัง (สันติ เล็กสุขมุ ,๒๕๕๔: ๕๙) สถาปตั ยกรรมศิลปะศรีวิชยั ในประเทศไทยมีความเจรญิ ยาวนานถึงพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ มขี อบเขต ตงั้ แตจ่ งั หวัดสรุ าษฎรธ์ านีถงึ จังหวดั สงขลา ในขณะนนั้ ถอื วา่ ศนู ย์กลางอยู่ที่อ�ำ เภอไชยา สถาปัตยกรรมของศรี วิชัย จะแสดงออกทางพทุ ธศาสนาแบบมหายาน พบมากที่อำ�เภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี มอี ย่หู ลายแหง่ เชน่ พระบรมธาตไุ ชยา วัดเวียง วัดหลง และวัดแก้ว ซงึ่ เปน็ เจดยี ท์ รงมณฑป แบบมยี อดปลายแหลมตามอิทธิ พลสถาปตั ยกรรมปัลลวะ กอ่ ดว้ ยอิฐหนา้ เรียบ โดยเฉพาะวดั แกว้ และวัดหลง ลักษณะลวดลายบัวทฐ่ี านใกล้ เคียงคล้ายคลึงกันมาก ท�ำ ให้เข้าใจว่ามอี ายรุ ว่ มสมัยกัน สถปู ในศลิ ปะแบบศรีวชิ ัย เปน็ สถูปทีม่ ีฐานเปน็ รูปสีเ่ หลีย่ ม เหนอื สว่ นฐานข้นึ ไปเป็นรูปจำ�ลองของ อาคารทรงมณฑปรูปส่ีเหลยี่ ม มซี มุ้ ทัง้ สดี่ ้าน เหนือสว่ นอาคารขน้ึ ไปเปน็ สว่ นยอดของสถปู ซ่งึ ทำ�เป็นสถูปรูป ทรงกลมทีม่ ียอดแหลมขน้ึ ไป จากสถปู ท่มี ีการค้นพบในขณะนี้ สามารถที่จะจัดแบง่ ออกไดเ้ ปน็ สองรปู แบบ ๑. สถปู รูปแบบแรก มีการสรา้ งสรรค์ขึน้ ในระหว่างราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ เปน็ สถูปที่ไดร้ บั อิทธพิ ลของศิลปะแบบปาละของอนิ เดยี ภาพท่ี ๔.๕๓ พระบรมธาตุไชยาราชวรวหิ าร อ�ำ เภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ศลิ ปะศรีวิชัย พทุ ธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ สถปู วดั พระบรมธาตไุ ชยาราชวรวหิ าร โ ครงสร้างทางสถาปัตยกรรมของโบราณสถานแห่งน้ีมีรูปแบบอย่างเดียวกันกับศาสนสถานของจาม จากรายงานในปี พ.ศ. ๒๔๓๙ ได้กลา่ ววา่ ฐานเดมิ ของโบราณสถานแห่งนีอ้ ยู่ลกึ ลงไปจากระดับผิวดิน ๑.oo เมตร รวมทง้ั จากปีดังกล่าวจนถึงปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ไดม้ ีการซ่อมแซมครงั้ ใหญ่ ในรายงานการซ่อมแซมของปี ๖๒

บทที่ ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย พ.ศ.๒๔๓๙ได้กลา่ ววา่ ได้คน้ พบหลกั ฐานของการซ่อมแซมโบราณสถานแหง่ นห้ี ลายคร้ังในอดตี พุทธศตวรรษ ท่ี ๑๓ - พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔ ในสมยั ศรีวิชยั ไดส้ ร้างวดั พระบรมธาตไุ ชยาราชวรวิหาร สรา้ งประมาณ ๑, ๒oo ปี พระบรมธาตุไชยาราชวรวหิ าร เปน็ โบราณสถาน รอบองคพ์ ระธาตมุ ีเจดยี เ์ ล็ก ๔ ทิศ ลอ้ มรอบด้วยวิหารคด ซง่ึ ประดษิ ฐานพระพุทธรปู เก่าแก่ขนาดตา่ งๆ โดยรอบทั้ง ๔ ดา้ น เปน็ สถานที่บรรจพุ ระบรมสารีรกิ ธาตุของ สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ องคเ์ จดีย์มีความสูงจากฐานใตด้ นิ ถึงยอด ๒๔ เมตร สมัยรชั กาลที่ ๕ ได้บรู ณ ปฏสิ งั ขรณ์ยอดเจดยี ์ท่ีเดมิ หกั ลงมาถงึ คอระฆงั ภายในพระบรมธาตุ มีการจำ�ลองเจดีย์ขนาดเล็กซ่งึ เรยี กว่า “สตปู กิ ะ” ประดับเอาไว้ตามด้านขา้ งของเจดีย์ มกี ารซอ้ นทับกันของชั้นหลงั คา เชื่อว่าเปน็ อาคารจ�ำ ลองแบบ ตา่ งๆ และบนสุดคือสวรรค์ หน้าบนั เป็นรูปวงโค้งเรียกวา่ “กุฑ”ุ หลงั คาซอ้ นกันข้ึนไปเปน็ ชั้นๆ ประดบั ด้วย สถูปจำ�ลอง ถอื วา่ เปน็ เมืองหลวงของอาณาจกั รศรีวิชัย คือ ไชยา ภาพเจดียพ์ ระบรมธาตุ เป็นสัญลักษณใ์ น ดวงตราประจ�ำ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี และเป็นสญั ลกั ษณใ์ นธงประจ�ำ กองลูกเสอื จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี เค้าโครงส�ำ คญั ของพระบรมธาตอุ งค์น้ี คอื ฐานรองรบั เรอื นธาตุสเ่ี หล่ียม ซงึ่ ยกเกจ็ เป็นมุขจระน�ำ ออก จากด้านทั้งส่เี หนือหลงั คามขุ ซึ่งอยูต่ รงกลางแตล่ ะดา้ นและมมุ บนทั้งสขี่ องเรอื นธาตุประดบั ด้วยเจดยี ์จำ�ลอง คือ ระเบยี บของการประดบั เจดียจ์ �ำ ลองแบบเดยี วกบั จันทิในศิลปะชวาแตท่ รงกรวยทต่ี อ่ ขน้ึ ไปจากเรือนธาตุ คอื ต้งั แตบ่ วั ทรงคมุ่ ทรี่ องรบั ทรงระฆังขึน้ ไปจนถึงปลายยอด ได้รับการปรับปรุงแบบใหม่ ในสมยั ของการ บูรณปฏสิ ังขรณ์ซ่ึงท�ำ กันหลายคร้งั (สนั ติ เลก็ สุขมุ ,๒๕๕๔: ๖o) (ภาพที่ ๔.๕๓) ภาพที่ ๔.๕๔ พระบรมธาตุเจดีย์ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหาร อำ�เภอเมืองจังหวดั พระนครศรธี รรมราช ศิลปะภาคใต้ พุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ พระบรมธาตเุ จดยี ์ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร ต �ำ นานพระบรมธาตุเจดยี ์ เมืองนครศรธี รรมราช เร่ิมสมัยพุทธกาล มกี ารทำ�นายของพระอรหันต์ วา่ ทีแ่ หง่ นนั้ จะเกดิ เปน็ บา้ นเมอื ง ทำ�ให้บงั เกิดความเช่ือวา่ องคพ์ ระบรมธาตเุ จดยี ์องคเ์ ดิมถกู สรา้ งครอบเอาไว้ ภายในองคท์ เ่ี หน็ อยใู่ นปจั จบุ นั และเจดยี ร์ ายทรงปราสาทขนาดเลก็ ตง้ั อยบู่ นนอกระเบยี งขององคพ์ ระบรมธาตุ เจดีย์ เปน็ องค์พระบรมธาตเุ จดีย์องค์เดมิ ในศิลปะศรีวิชัย (พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔-๑๕) กอ่ นจะถกู สรา้ งครอบเอา ๖๓

ประวัติและแบบอย่างศิลปะไทย ไวใ้ นพทุ ธศตวรรษที่๑๘ดว้ ยเจดยี ท์ รงลงั กาแสดงถงึ แบบอยา่ งทใ่ี กลช้ ดิ กบั เจดยี ส์ มยั เมอื งโปโลนนารวุ ะอนั เปน็ แบบเดยี วกบั เจดยี พ์ ระบรมธาตไุ ชยา ซึง่ มเี หลอื เป็นเจดยี ์รายอยู่ในวดั มหาธาตุนี้ดว้ ย (ภาพท่ี ๔.๕๔) รูปแบบทางศลิ ปกรรมของพระบรมธาตนุ ครศรีธรรมราช เปน็ เจดียท์ รงระฆงั ขนาดใหญ่ ปอ้ มเตย้ี มีบลั ลังกส์ ่ีเหลีย่ มขนาดใหญ่ ซ่ึงยกเก็จเป็นแนวเสาทั้งส่ีดว้ ย แนวเสาหานรอบแกนปลอ้ งไฉน และลกั ษณะของปลอ้ งไฉนทมี่ ีขนาดเลก็ เมอื่ เทียบสัดสว่ นกบั บัลลงั กท์ รี่ องรับ มสี ว่ นฐานประทกั ษณิ สเ่ี หล่ียมรองรบั องคเ์ จดียท์ รงระฆงั บลั ลังกส์ ่ีเหล่ียมมียอดเปน็ ทรงกรวยแหลมสูง ภาพท่ี ๔.๕๕ ภาพลายเส้นพระบรมธาตเุ จดยี น์ ครศรีธรรมราช ร ปู แบบพระบรมธาตเุ จดยี ใ์ นปจั จบุ นั เปน็ เจดยี ท์ ไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากเจดยี ท์ รงลงั กาในพทุ ธศตวรรษที่ ๑ ๘ (ตรงกับศลิ ปะแบบโปลนนารุวะ ช่วงรชั กาลของพระเจ้าปากรมพาหุมหาราช) เช่น เจดยี ก์ ิรวิ ิหาร (Kirivihara) สว่ นประทกั ษิณทป่ี ระดับด้วยช้างล้อมเจดยี ์ ส่อื อิทธพิ ลทางรปู แบบเจดยี ์ทรงลงั กา เปน็ ประเพณดี ้านงานชา่ ง ของชาวลงั กาแต่โบราณ ส�ำ หรับฐานรองรบั องค์ระฆงั เปน็ “ฐานบัวลกู แก้ว” ซ่งึ เปน็ ฐานบวั ทปี่ ระดับลวดลาย ซบั ซ้อนกวา่ เจดีย์ในยุคแรกๆ องค์ระฆงั ทรงระฆงั โอคว�ำ่ ขนาดใหญ่ และบังลงั ก์สเี่ หลยี่ มอันเปน็ เอกลกั ษณข์ อง เจดียใ์ นศิลปะลงั กา สว่ นยอดตัง้ แต่ “พระเวยี น” ขึน้ ไปจนถึงปลอ้ งไฉนและปลี มลี ักษณะเพรยี วสูงกวา่ ยอด แบบเดยี วกันในเจดียข์ องลังกา ปลยี อด ประดับดว้ ยแผ่นทองค�ำ หุ้มไว้ทัง้ หมด มีเครอ่ื งประดบั ที่เป็นทองค�ำ บุ ดลุ ลายดา้ นบนสดุ คอื พมุ่ ขา้ วบิณฑ์ ที่ถักทอจากเสน้ ลวดทองค�ำ รอ้ ยด้วยหินมีคา่ ภายในกรวยปลีเป็นดอกไม้ ทองค�ำ ภาพที่ ๔.๕๖ ปลียอดหมุ้ ทองค�ำ และ พระเวียนของพระบรมธาตเุ จดยี ์ ๖๔

บทท่ี ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ส รปุ รูปแบบขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ สรา้ งข้ึนในพทุ ธศตวรรษที่ 18 รบั อิทธพิ ลจากศิลปะสมัยโปลน นารุวะของลงั กา ยอดเจดยี เ์ คยหักพังลงมา ได้รบั การซอ่ มแซมในสมัยอยธุ ยา ศตวรรษท่ี ๑๙ แนวระเบยี งล้อม รอบพระบรมธาตมุ วี หิ ารท่ยี น่ื ส่วนท้ายเข้าไปในระเบยี งคตตามแบบวัดหลวงทส่ี ร้างขึน้ ในสมยั อยธุ ยาตอนต้น ภาพที่ ๔.๕๗ เจดีย์รายทรงปราสาท ภาพท่ี ๔.๕๘ เจดยี ์ศรสี ุรโิ ยทยั อยุธยา เจดยี ์รายทรงปราสาท จะอยู่ด้านนอกระเบยี งคต เชอ่ื กันว่าเปน็ การจ�ำ ลองพระบรมธาตุเจดยี ์องค์ เดิม ถูกครอบไวด้ ว้ ยเจดยี ท์ รงลงั กา มีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั “เจดยี ์เหลีย่ มยอ่ มมุ ” ในศลิ ปะอยธุ ยา เช่น เจดีย์ ศรสี ุริโยทยั อยธุ ยา (พุทธศตวรรษที่ ๒๑) เปน็ รปู แบบของเรอื นธาตมุ มี ขุ ยนื่ ทั้ง ๔ ทศิ (ยอ่ มมุ ไมส้ ิบสอง) หลังคามเี จดียย์ อดประดบั ส่วนองคร์ ะฆังเป็นทรงกลมตามแบบทอ้ งถิน่ มลี ักษณะคล้ายกับพระบรมธาตไุ ชยา (ย่อมุมไมส้ บิ สอง) (ภาพท่ี ๔.๕๗) เจดียใ์ นภาคใตท้ ่ัวไปทใี่ ชร้ ปู แบบหลักๆขององคพ์ ระบรมธาตเุ จดีย์คอื ฐานสีเ่ หล่ยี ม(ซ่งึ อาจมชี ้างลอ้ ม) รองรับองคเ์ จดยี ใ์ นผังกลม ซึ่งประกอบด้วยฐานรองรับเตย้ี ๆ องค์ระฆงั ทรงโอควำ่�ขนาดใหญ่ บัลลังกใ์ นผัง สเ่ี หลีย่ มยอดทรงกรวยแหลมสงู และบางคร้งั เน้นปลยี อดประดบั ด้วยสที องเช่นวัดราชประดิษฐาน(วัดพะโคะ) (ภาพที่ ๔.๕๙) ภาพที่ ๔.๕๙ วัดราชประดษิ ฐาน (วดั พะโคะ) ๖๕

ประวตั แิ ละแบบอย่างศิลปะไทย ภาพที่ ๔.๖o เจดยี ์ทรงกลมระฆังเอวคอด และเจดยี ท์ รงกลม ๕ ยอด บนลานนอกระเบียงคดของพระบรมธาตุนครศรธี รรมราช ลกั ษณะเจดยี ศ์ รวี ชิ ยั อกี แบบหนงึ่ คอื เจดยี ท์ รงกลมระฆงั เอวคอดตงั้ อยใู่ นบรเิ วณภายในลานระเบยี งคด ของพระบรมธาตไุ ชยา มีลักษณะฐานแบบบวั ลกู แก้วค่ันรับองคเ์ จดยี ์ ระฆังเป็นแบบระฆังเอวคอดตอ่ ดว้ ยยอด แบบปลอ้ งไฉนมคี วามแตกตา่ งกบั เจดยี ท์ รงกลมในชวารปู แบบนไี้ ดข้ ยายอทิ ธพิ ลไปสถาปตั ยกรรมสโุ ขทยั เ ชน่ ที่วดั พระพายหลวง และเจดยี เ์ จ็ดแถวศรีสัชนาลัย (ภาพท่ี ๔.๖๐) เจดยี ์ณวดั เขานอ้ ยจงั หวดั สงขลาเปน็ เจดยี ท์ สี่ รา้ งอยบู่ นภเู ขารปู แบบจะมฐี านสเ่ี หลย่ี มยอ่ แบบยกเกจ็ สว่ นกลางของแต่ละด้านมซี มุ้ โคง้ แบบศรวี ิชัย ทมี่ ุมจะเหน็ แนวเปน็ ฐาน ๔ เหล่ียม ซง่ึ อาจจะเปน็ ท่รี องรบั เจดยี ์ เลก็ แทนท่ีจะยกเก็จออกตรงกลางซุ้มกย็ กเกจ็ ออกตอนมุม สว่ นกลางเปน็ เจดียอ์ งคใ์ หญ่ เพราะยงั มีแนวอิฐท่ี เรียงให้เหน็ รอยลกู แกว้ ของเจดยี ์ตรงทเ่ี ป็นองคร์ ะฆังตรงกลาง (ภาพที่ ๔.๖๑) ภาพท่ี ๔.๖๑ เจดีย์ ณ วัดเขานอ้ ย จงั หวัดสงขลา ๖๖

บทท่ี ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย ๒ .สถูปแบบที่สอง สถปู ในรูปแบบทส่ี องมกี ารสร้างสรรค์ขึ้นในระหว่างราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖- ๑๙ เปน็ สถปู ทไี่ ด้ววิ ัฒนาการออกไปจากสถูปในรปู แบบแรกไปสูร่ ปู แบบทางศลิ ปะท่ีเป็นของทอ้ งถิน่ สถปู วัดเขาหลัก บ้านเขาหลกั ตำ�บลทงุ่ สง อำ�เภอทุง่ ใหญ่ จงั หวัดนครศรีธรรมราช เป็นสถูปทไ่ี ด้มีการ ซ่อมแซมจนรปู แบบกลายเป็นศิลปะแบบพน้ื เมอื งไปมาก เปน็ สถปู ท่ีมีซุ้มยน่ื ออกไปทง้ั ๔ ด้าน สว่ นองคร์ ะฆงั เปน็ รูปสี่เหลีย่ ม ถัดข้นึ ไปเป็นคอระฆงั บลั ลงั ก์รูป ส่ีเหลีย่ ม และสว่ นยอดเปน็ เหล่ียมทม่ี ีปลายแหลมสอบเข้าหากัน ถดั เข้าไปเปน็ ลานประทักษิณทต่ี งั้ อยู่บนฐาน สูง ทม่ี ุมทงั้ ส่มี สี ถปู ในรปู แบบคลา้ ยคลงึ กันกับทก่ี ลา่ วมาทกุ มมุ ตรงกลางมสี ถปู องค์ใหญ่ต้ังอยู่ มมี ขุ ยื่นออก มาตรงกลางทุกด้านของมณฑป ถัดขึ้นไปเปน็ สถปู ทที่ �ำ เป็นทรงเหลีย่ มเช่นเดยี วกัน มซี ้มุ ย่นื ออกมาตรงกลาง ของทุกดา้ น และท่ีมมุ ท้ังส่ที �ำ เป็นสถปู จ�ำ ลองมุมละองค์ ถัดจากคอระฆงั เป็นบัลลงั กแ์ ละส่วนยอดแหลมท่ที �ำ เปน็ สเี่ หลย่ี ม สว่ นยอดสอบเข้าหากนั สันนษิ ฐานวา่ เปน็ สถูปทไี่ ด้รบั การสรา้ งสรรค์ขึ้นในราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ (ภาพที่ ๔.๖๒) ภาพที่ ๔.๖๒ สถูปวัดเขาหลัก บ้านเขาหลัก ตำ�บลท่งุ สง อ�ำ เภอทุ่งใหญ่ จงั หวัดนครศรีธรรมราช เทวรูปพระวษิ ณุ พบ ๒ พระองค์ พ ระวษิ ณหุ รอื พระนารายณ์สก่ี ร ศลิ า (สองกรหลังหกั หาย) พระพักตร์อ่ิมพระวรกายแสดงกล้ามเนอ้ื ใกลเ้ คยี งกับธรรมชาติ พระนาภีแอ่นขึน้ และพระปฤษฎางค์เว้าเข้า แสดงให้เห็นลมปราณของโยคี พระเนตร เบกิ บาน พระโอษฐแ์ ย้มพระสรวล คาดผ้า คาดพระโสณตี ามเฉียงผูกเป็นโบวท์ างขวา ส่วนยึดตรึงให้เกิดความ แขง็ แรงแกป่ ระตมิ ากรรม พระหัตถข์ วาทรงถอื ภู (กอ้ นดิน) พระหตั ถ์ซา้ ยทรงถือคทาแนบพระองค์ ได้หักหาย ไป คือ ความศักดิส์ ทิ ธ์นิ า่ เกรงขามตามแบบฉบบั เทพเจา้ ในศาสนาฮินดู พระองคส์ วมหมวกทรงกระบอกนงุ่ ผา้ ยาวคาดดว้ ยรดั ประคด ซ่งึ ขมวดเปน็ ปมอยู่ทางเบ้ืองหน้าอทิ ธพิ ลของศิลปะอนิ เดีย สกุลชา่ งปัลลวะ (สภุ ัทรดิศ ดิศกลุ ,๒๕๓๘: ๑๑) (ภาพที่ ๔.๖๓) ๖๗

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย ภาพท่ี ๔.๖๓ พระวษิ ณุ อิทธิพลของศลิ ปะอนิ เดยี สกุลช่างปัลลวะ ศิลาสงู ๑.๖๙ เมตร พบทเี่ ขาศรีวชิ ยั อำ�เภอพุนพนิ จังหวดั สุราษฎรธ์ านี พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร พระวษิ ณุ สกุลช่างโจฬะ สูง ๕๓ เซนตเิ มตร อายุราวศตวรรษท่ี ๑๖ เปน็ ประตมิ ากรรมสลักนูนสงู พระวรกายคอ่ นข้างผอม คาดสายชั โญปวตี บั้นพระองคค์ อดสงู พระโสณเี ล็ก พระเนตรมองตรง พระนาสกิ โต พระโอษฐ์หนา พระหัตถข์ วาหลังทรงถือสังข์ พระหตั ถซ์ ้ายหลังทรงถือจกั รวางไวบ้ นพระดชั นี ดา้ นหลงั พระหัตถแ์ ละพระเศยี รเช่ือมด้วยศิลา พระหัตถข์ วาหน้าแสดงปางประทานอภัย พระหัตถ์ซ้ายหนา้ วางไว้ ท่ีพระโสณี ทรงพระภษู าโจงสนั้ สวมกรี ีฎมุกุฏทรงสงู เข้าดา้ นบน (พริ ิยะ ไกรฤกษ์. ๒๕๒๙ เลม่ ๖: ๒๓๘๓- ๒๓๘๕) (ภาพที่ ๔.๖๔) ภาพที่ ๔.๖๔ พระวษิ ณุ อทิ ธิพลของศิลปะอินเดยี สกลุ ชา่ งโจฬะ ๖๘

บทที่ ๔ : ศิลปะในประเทศไทย จิตรกรรมศรวี ชิ ยั พบแหง่ เดยี วได้แก ่ จิตรกรรมผนังถำ�ศ้ ลิ ป์ อ. เมอื ง จ.ยะลา ศ ิลปะศรวี ชิ ัยในบริเวณคาบสมุทรภาคใต้ของประเทศไทย ไดป้ รากฏจิตรกรรมฝาผนงั ทเี่ นอ่ื งในพุทธ ศาสนาทีเ่ จตยิ สถานหรือถำ�ท้ ่ีมีการใช้สอยเน่ืองในพุทธศาสนาแหง่ หนึง่ คอื แหลง่ โบราณคดถี ำ�ศ้ ลิ ป์บ้านบันนงั ลวู า หมูท่ ี่ ๒ ตำ�บลหน้าถำ�้ อำ�เภอเมอื ง จังหวัดยะลา ซ่งึ เปน็ ถำ�้ในภเู ขาหนิ ปนู ในเทอื กเขาถ�ำ ้พระนอน บรเิ วณ ใกล้เคียงมีล�ำ นำ�้ไหลผา่ น เปน็ ถ�ำ ้ที่มขี นาดใหญ่ ปากถำ�อ้ ยสู่ งู กวา่ ระดบั พ้นื ราบในบริเวณใกล้เคียง ๒๘ เมตร ทางเขา้ กว้าง ๒ เมตร สูง ๑.๕o เมตร ถำ�ม้ ีขนาดยาว ๓๒ เมตร สูง ๗ เมตร ไดม้ ีการค้นพบหลักฐานทาง โบราณคดีในถำ�้แห่งนี้เป็นจำ�นวนมากทั้งหลักฐานทางโบราณคดีในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัย ประวัติศาสตร์ ภาพจติ รกรรมฝาผนังทไ่ี ด้มีการค้นพบเม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๘ โดยภาพจิตรกรรมดงั กลา่ วอาจจะ แบง่ ออกได้เป็นสลี่ ักษณะคอื ๑) ภาพพระพุทธเจ้า ประทับน่งั จ�ำ นวน ๓ องค์ มีสาวกประนมมอื ถวายความเคารพอยู่ข้างๆ เปน็ แบบอย่างของศิลปะแบบศรีวิชัยเพราะมีเส้นรอบนอกความอ่อนช้อยของพระพาหาข้างขวากับส่วนบนของ พระเศียรท่ีราบแบน พระเกศามขี นาดยอ่ ม พระรศั มีเป็นรูปวงกลม อันเป็นรูปแบบของศลิ ปะแบบศรวี ชิ ยั ๒) ภาพพระพุทธเจ้า ทรงแสดงปางลีลา จ�ำ นวน ๓ องค์ เปน็ ศลิ ปะทีไ่ ดร้ บั อทิ ธิพลจากศลิ ปะแบบ สโุ ขทยั แต่ลักษณะทีท่ รงแสดงอยู่ในท่าตรงและเป็นจริงตามธรรมชาตมิ ากกว่าของศิลปะแบบสุโขทัย ท่าการ วางพระบาทเป็นอยา่ งคนจริงๆ ร้วิ จีวรมีลลี าของเส้นซำ�้ๆ กนั แบบพระพุทธรูปสลกั หนิ ของศลิ ปะแบบชวา ภาคกลางทส่ี ลกั ไว้ท่ีสถูปบุโรพทุ โธ สรงสนานพระโพธสิ ัตว์ จงึ แสดงวา่ พระพทุ ธรปู ลีลาในเจติยสถานแหง่ นก้ี ับ สโุ ขทยั ได้แบบโดยตรงมาจากแบบพระพทุ ธรปู ของอนิ เดยี ๓) ภาพผหู้ ญงิ ยนื เป็นหมู่ จ�ำ นวน ๓ คน เป็นภาพของธิดาท้งั สามของพระยามาร คือ นางตัณหา นางราคะและนางอรดี ภาพนี้อาจจะมกี ารซ่อมแซมในยคุ ต่อมา ๔ ) ภาพผชู้ ายนั่งราบกบั พืน้ เป็นภาพท่ีน่าจะมีการซ่อมในสมยั หลงั เช่นเดียวกัน ภาพท่ี ๔.๖๕ จิตรกรรมผนังถ�ำ ศ้ ลิ ป์ อ. เมอื ง จ.ยะลา ๖๙

ประวตั แิ ละแบบอย่างศิลปะไทย ภาพที่เขยี น เปน็ ภาพพระพทุ ธเจา้ ปางมารวชิ ยั ภาพพระพุทธเจ้าประทบั น่ัง เปน็ แถวเบื้องซ้ายและ ขวา มสี าวกหรอื าจจะเปน็ อุบาสกอบุ าสิกานง่ั ประนมมอื อยู่ พระพุทธเจา้ ปางลลี าและมีรูปผหู้ ญิงยืนเปน็ หมู่ สามคน สว่ นสีทีเ่ ขยี นเปน็ สีดินเหลอื ง เปน็ หลกั ซ่ึงประกอบด้วยสีนำ�ต้ าลและแดง เพ่อื แยกนำ้�หนักอ่อนแก่ ตัดเสน้ ด้วนสีด�ำ ส่วนสเี ขยี วปรากฏให้เห็นในภาพเปน็ สิง่ ท่ีเกดิ ขน้ึ ภายหลังเนื่องจากปฏิกิริยาทาง เคมขี องสาร ที่ผสมอยู่ในสี ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี และอาจารย์เขยี น ยม้ิ ศิริ นักโบราณคดีได้ สันนิษฐานวา่ ภาพเขยี น สีเหล่าน้ีเปน็ ฝมี อื สกลุ ช่างทอ้ งถ่ิน ท่ไี ดร้ บั อทิ ธิพลด้านรปู แบบของภาพโดยตรงจากอนิ เดีย พิจารณารูปแบบ และควรจะเปน็ ภาพเขียนสมัยศรวี ชิ ยั ตอนปลาย คือราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ – ๒๐ ภาพเขยี นสที ัง้ หมดนีใ้ น ปจั จบุ ันลบเลือนไปตามสภาพธรรมชาติ ซำ�ย้ ังมีการเขียนตอ่ เตมิ มกี ารขดู ขดี ใหส้ ญู หายไปเสยี มาก พื้นถำ�้ก็ถูก ชาวบา้ นขดุ มลู ค้างคาวไปเปน็ ปุ๋ย กอ่ ให้เกิดความเสียหายมาก พระพมิ พ์ ในเรือ่ งของเทคนิคการสร้างน้นั พอจะแยกออกเป็น ๒ เทคนิค คือ พระพมิ พ์ดินเผา และ พระพิมพ์ดินดบิ ดงั ท่มี ีการแบ่งหมวดหมจู่ ะเหน็ วา่ ในหมวดที่ ๒ เป็นพระพิมพด์ นิ ดบิ สร้างในการอทุ ศิ ส่วนกศุ ล หรอื สรา้ งบญุ ใหแ้ กผ่ ทู้ ล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ โดยการน�ำ เอาอฐั ขิ องผตู้ ายมาผสมกนั กบั ดนิ เหนยี วแลว้ พมิ พเ์ ปน็ พระพทุ ธรปู หรอื รูปพระโพธิสัตว์ ทั้งนี้คงสืบเนือ่ งมาจากคตทิ างพุทธศาสนาลทั ธิมหายาน และเน่ืองจากอฐั นิ ั้นได้ผ่านการ เผาแล้ว เมอ่ื มาท�ำ พิมพเ์ รียบรอ้ ยแลว้ จึงมติ อ้ งเผาอีก ส่วนหมวดอนื่ ๆ มีแบบแผนเดียวกันคือ น�ำ ส่วนผสมของ ดินมากดพมิ พ์แล้วจงึ น�ำ ไปเผา เนอ่ื งจากพระพมิ พม์ ขี นาดเลก็ สรา้ งไดเ้ ปน็ จ�ำ นวนมากสามารถไปอยใู่ นทกุ สถานท่ีเปน็ การแผพ่ ระพทุ ธ ศาสนาเพือ่ แสดงให้ทราบวา่ ดินแดนนน้ั ๆนับถอื พระพทุ ธศาสนาโดยมีคาถาอนั เป็นหวั ใจของพระพทุ ธศาสนา จารึกอย่ดู ้านหลงั เป็นการแสดงออกซง่ึ ความศรทั ธาในพระพุทธศาสนาอยา่ งหนึง่ ถงึ แม้วา่ แก่นหลักใจความ นน้ั จะอยทู่ กี่ ารปฏบิ ตั กิ ต็ ามอยา่ งนอ้ ยกเ็ ปน็ เครอื่ งเตอื นใจใหก้ ระทำ�ความดมี ากกวา่ หวงั ผลร�ำ่ รวยหรอื เฝา้ รอ้ ง ขอสิง่ ต่างๆ ดว้ ยการอธษิ ฐานเพยี งอย่างเดียว แหล่งท่ีพบพระพิมพด์ นิ ดิบมอี ย่หู ลายแห่ง เช่น สุราษฎรธ์ านี (อำ�เภอพุนพนิ , อ�ำ เภอนาสาร)จังหวดั นครศรีธรรมราช จังหวดั กระบ ่ี จงั หวัดพงั งา จังหวดั ตรงั จงั หวดั พัทลงุ และจงั หวดั ยะลา มคี ตใิ นการสรา้ งเหมอื นกนั กบั ทเิ บต ๑. พระพมิ พร์ ูปพระโพธิสัตว์ ล กั ษณะรปู กลมรี ประทบั ขัดสมาธเิ พชรบนปัทมาสน์ภายใต้ฉัตร มี ๔ กร พระหตั ถข์ วาหน้า แสดงปางประทานพร พระหัตถข์ วาหลงั ทรงถอื อกั ษมาลา (ลกู ประคำ�) เกสรทงั้ กา้ น เหนือพระองั สาขวามีรปู พระสถูป ใต้สถปู มีคำ�จารึกคาถา “เย ธัมมฺ าฯ” อักษรเทวนาครี อายรุ าวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ พระอริ ยิ า บทน่งั เอียงพระวรกายเล็กน้อย ช่วยใหร้ สู้ ึกถงึ การแสดงออกที่ออ่ นนุม่ ของงานช่างในคติฝ่ายมหายาน (ภาพ ท่ี ๔.๖๖) ภาพท่ี ๔.๖๖ พระพมิ พร์ ูปพระโพธิสตั ว์ ดินดิบสงู ๖.๕ ซ.ม. ศลิ ปะศรีวิชยั พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔-๑๕ ๗๐

บทท่ี ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย ๒. พระพิมพภ์ าพพระพทุ ธเจา้ ศรศี ากยมนุ ี ล กั ษณะวงรยี อดแหลม พระวรกายสมส่วนพระเศยี รมศี ริ จักรลอ้ มรอบ ทรงยืนบนปัทมาสน์ครอง จวี รห่มเฉียง พระหตั ถข์ วาแสดงปางประทานพร พระหัตถ์ซ้ายทรงถอื ชายจวี รไวใ้ นระดบั พระอรุ ะ พระวรกาย มรี ัศมีเปลวเพลงิ อยโู่ ดยรอบ และด้านหลังมีประภาวลีรองรบั อายรุ าวศตวรรษที่ ๑๔ ๓ . พระพมิ พ์ภาพพระพุทธเจ้าศรีศากยมุนี ลกั ษณะพระวรกายผอมสูง พระพกั ตร์กลม อุษณีษะนูนสูง มรี ัศมีรปู ดอกบวั ตมู อยูบ่ นยอด พระ เศยี รมศี ิรจกั รมีลายลูกประคำ�โดยรอบอยู่เบอ้ื งหลงั ประทบั นั่งขัดสมาธริ าบ แสดงปางมารวิชัยบนปทั มาสน์ ด้านหลังมีพนักบลั ลงั ก์ ซง่ึ มลี ายลูกประค�ำ ประดบั ครองจวี รห่มเฉยี งเปดิ พระองั สาซ้าย ลอ้ มรอบพระองค์ดว้ ย จารึก (ภาพที่ ๔.๖๗) ภาพท่ี ๔.๖๗ พระพิมพ์ภาพพระพุทธเจ้าศรศี ากยมนุ ี เคร่ืองป้นั ดนิ เผา พบเครือ่ งปั้นดนิ เผาในทอ้ งถ่นิ และเครือ่ งปนั้ ดินเผาจากจนี ราวศตวรรษท่ี ๑๓- ๑๘ และมีแหล่งโบราณคดที นี่ ่าสนใจมากมาย เช่น เครอ่ื งมือหนิ กะเทาะจากกระบี่ เคร่ืองมือหินขดั ลกั ษณะ เฉพาะตัวทพ่ี บในภาคใต้ ลกู ปดั แบบต่างๆ จากควนลูกปดั และภาชนะดนิ เผา เคร่ืองปน้ั ดนิ เผาทอ้ งถ่นิ เปน็ เคร่ืองดนิ บาง รปู แบบเป็นลายเขยี นสี เช่น หมอ้ ดนิ เผาลายเขยี นสี มี ความสูง ๒๓.๕ ซ.ม. พบทบ่ี า้ นมณฑล อำ�เภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ อยู่ ท่พี พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรธี รรมราช หม้อลายเขียนสี สงู ๓๑ ซ.ม. พบท่ีวัดสวนหลวงตะวันออก (เมือง พระเวยี ง) จังหวัดนครศรีธรรมราช อายรุ าวพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ จงั หวดั นครศรธี รรมราช และหม้อดิน เผาปากผายมีเชิง สูง ๒๖ ซ.ม. อายปุ ระมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๔ พบในระหว่างการกอ่ สร้างพิพิธภณั ฑสถาน แห่งชาตินครศรธี รรมราช ตกแตง่ ดว้ ยลายขูดขีดอย่างสวยงามบนบ่า และลำ�ตัวหม้อเปน็ ลายกา้ นขด ตวั กนก คลา้ ยแบบศลิ ปะอนิ เดยี (ภาพที่ ๔.๖๘) ภาพที่ ๔.๖๘ หม้อดินเผา ศิลปะศรวี ิชัย พิพิธภณั ฑสถานแห่ชาติ จังหวัดนครศรธี รรมราช ๗๑

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย นอกจากนี้ยังพบเคร่ืองปั้นดินเผาของจนี ในสมัยตา่ งๆ ทง้ั แบบเคลอื บและไม่เคลือบ แสดงหลกั ฐาน การเดนิ เรือค้าขายของจีนกบั ดินแดนแถบนี้ เช่น พบเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาของจนี สมยั ราชวงศ์ถังมากมาย ทีบ่ ริเวณ แหลมโพธิ์ อ. พุมเวยี ง จ. สุราษฎร์ธานี เคร่อื งปนั้ ดนิ เผาแบบสามสี (ซานไฉ่) สมยั ราชวงศ์ถงั (พ.ศ. ๑๑๓๒- ๑๑๔๙) เครื่องถ้วยจนี แบบ “ยัว่ ” เคลอื บสเี ขยี วมะกอก เครอ่ื งถว้ ยแบบ “จิงไป๋” มีท้งั แบบตลบั กระปกุ และ แจกนั เคลือบขาวเนื้อดนิ โปร่งแสง เคร่ืองถ้วยจนี จากเตาหลงฉวนเคลือบสเี ขยี วไข่กาหรือเซลดอนและพบเศษ ชนิ้ แตกของถว้ ยชามสมัยราชวงศ์หยวนปะปนอยทู่ ว่ั บรเิ วณเตาเผาทีอ่ ำ�เภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา อายุราว พทุ ธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ถือว่าดนิ แดนแถบน้ี มกี ารเดินเรอื คา้ ขายของจนี อนิ เดยี และอาหรับ มาตงั้ แต่สมยั ราชวงศ์ถงั เป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมทัง้ สามมาบรรจบกันท่ีอาณาจกั รศรวี ิชยั ภาพที่ ๔.๖๙ หม้อน�ำ ้ดินเผา ขุดพบทบี่ ริเวณวัดสวนหลวง ต�ำ บลศาลามีชัย อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั นครศรีธรรมราช ลกู ปัด พบเป็นจำ�นวนมากกว่า ๙o เปอรเ์ ซน็ ต์ เป็นลูกปดั แก้ว นอกนั้นเป็นหินอะเกต (Agate) และ คาร์เนเลียน(Carnelian)รูปทรงเป็นแบบกลองรำ�มะนาเจาะรพู บมากทส่ี ดุ รองลงไปเปน็ แบบวงแหวนทรงรูป ไข่ ทรงกระบอก ส่วนใหญ่มีสีเหลือง น�ำ เ้ งิน ฟา้ และดำ� และพบลูกปัดชนิดแปลกๆ จ�ำ นวนมาก ได้แก่ ลกู ปัด เป็นแบบชนิด ๒ สีสลับกัน มีสเี หลืองสลับสดี �ำ น�ำ ้เงิน สลับขาว หรอื ทเ่ี รียกวา่ ลูกปดั โรมนั (Roman bead) ลกู ปดั เกลียว (Wounded bead) ลกู ปดั ตาหลายชนั้ ลกู ปดั ตาหมากรุก และท่นี ่าสนใจได้พบแก้วหลอมสี ตา่ งๆ และแผน่ แก้วหลากสี ลกู ปดั เหลา่ นน้ี า่ จะเปน็ สนิ คา้ ท่ีสำ�คญั ในการติดต่อซอ้ื ขายกันบรเิ วณแหลมโพธ์ิ (ภาพท่ี ๔.๗o) ภาพที่ ๔.๗o ลูกปัดแก้วแบบต่างๆ ท่แี หลมโพธิ์ ๗๒

บทท่ี ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ศ ลิ ปะแบบศรวี ชิ ยั เปน็ ศลิ ปะแบบหนง่ึ ทไี่ ดม้ กี ารคน้ พบในอาณาบรเิ วณอนั กวา้ งใหญข่ องภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปรากฏขึน้ ท้งั ในบริเวณผืนแผน่ ดนิ ใหญ่และบริเวณหมู่เกาะของภมู ภิ าคนี้ โดยท่วั ไป มักจะเป็นท่ียอมรับกันว่าศิลปะแบบน้ีเป็นศิลปะที่เนื่องในพุทธศาสนาลัทธิมหายานท่ีได้มีการสร้างสรรค์ข้ึน ในระหวา่ งราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๘ ใ นกรณขี องภาคใตข้ องประเทศไทยนนั้ อาจจะดว้ ยเหตทุ ตี่ ง้ั อยใู่ นทำ�เลทเี่ ปน็ จดุ ยทุ ธศาสตรท์ มี่ เี สน้ ทาง การคา้ ทางทะเลสายส�ำ คัญของโลกโบราณสายหนึ่งตดั ผา่ น คือ เส้นทางการคา้ ท่ีเชื่อมระหว่างโลกตะวันออก กับโลกตะวันตกหรอื ทม่ี กั จะเรยี กกนั ในระยะหลงั น้วี ่า “เส้นทางสายไหมสายใต้” (Southern Silk Route) ส่งผลใหด้ นิ แดนแหง่ นีก้ ลายเป็นศนู ย์กลางท่ีส�ำ คญั ส�ำ หรับการแพร่กระจายปรชั ญา ความคดิ และรูปแบบทาง ศลิ ปะของศลิ ปกรรมในศลิ ปะแบบนไี้ ปยงั ดนิ แดนอน่ื ๆทตี่ ง้ั อยใู่ นภมู ภิ าคเดยี วกนั หลงั จากทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจาก อนิ เดยี ซงึ่ เปน็ ตน้ แบบโดยเฉพาะการรบั อทิ ธพิ ลจากศลิ ปะแบบปาละซงึ่ เจรญิ รงุ่ เรอื งขน้ึ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของอนิ เดียในระหวา่ งราวพุทธศตวรรษที่๑๔-๑๗อีกท้ังยังเปน็ ศนู ย์กลางของการแลกเปล่ียนปรัชญาความคิด และรูปแบบทางศลิ ปะทมี่ วี วิ ัฒนาการสบื ต่อไปในท้องถนิ่ ในระหวา่ งศูนย์กลางแห่งอ่ืนๆ ที่ต้งั อยู่ในภมู ภิ าคนท้ี ่ี รว่ มสมยั กนั ดว้ ยไมว่ า่ จะเปน็ ศนู ยก์ ลางทต่ี งั้ อยใู่ นเกาะชวาประเทศอนิ โดนเี ซยี หรอื ศนู ยก์ ลางทต่ี ง้ั อยใู่ นบรเิ วณ ตอนกลางของประเทศเวยี ดนามกต็ ามดว้ ยเหตนุ ศี้ ลิ ปะแบบศรวี ชิ ยั ทมี่ กี ารคน้ พบบนคาบสมทุ รไทยแหง่ นี้จงึ เปน็ รปู แบบทางศลิ ปะทมี่ คี วามเกา่ แก่หลายหลากและพฒั นาการยาวนานมากทส่ี ดุ แหง่ หนง่ึ ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ สรุป ศิลปะศรีวิชยั อ าณาจกั รศรีวชิ ัย เชอื่ กันว่ามอี าณาเขตอยู่ในบรเิ วณเกาะสุสมาตราและครอบครองแหลมมลายูตอน เหนอื และดนิ แดนบางสว่ นของภาคใตใ้ นประเทศไทยเตบิ โตและมงั่ คงั่ มาจากการควบคมุ เสน้ เลอื ดใหญก่ ารคา้ ทางทะเล คตแิ ละความเช่ือของอาณาจกั รศรวี ิชยั ผูค้ นสว่ นใหญม่ กี ารนบั ถอื พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ศ ลิ ปกรรมศรีวชิ ยั มีแบบฉบับความงาม เก่ยี วขอ้ งกบั ศลิ ปะชวาภาคกลางของอนิ โดนเี ซีย ซึ่งใกลช้ ิด กบั ศลิ ปะอินเดียแบบคปุ ตะและปาละสถาปตั ยกรรมศรีวชิ ยั เจดีย์หรอื จนั ทิสร้างขนึ้ เพอื่ ประดิษฐานรปู เคารพ การตกแตง่ ลวดลาย มักจะใชว้ ิธีการแกะสลกั แบบเขมร มลี ักษณะการจ�ำ ลองอาคารชั้นล่าง ลดหลัน่ กนั ขึน้ ไป เปน็ ช้ันๆ มักนิยมประดบั ดว้ ยสถูปเลก็ ๆ ตามช้นั ของหลงั คา และยอดบนสุดจะเปน็ สถปู ใหญอ่ งคเ์ ดียว สถาปตั ยกรรมศรวี ชิ ยั ทสี่ ำ�คญั ไดแ้ ก่วดั พระบรมธาตไุ ชยาวรวหิ ารพระบรมธาตเุ จดยี ์วดั พระมหาธาตุ วัดเวยี ง วดั แก้ว วดั หลง ประติมากรรมศรีวิชยั พบสว่ นมากเปน็ รูปเคารพในพุทธศาสนาลทั ธมิ หายานส่วนใหญ่ สลักด้วยศลิ า หรอื หล่อสำ�ริด เช่น พระโพธิสตั วอ์ วโลกิเตศวร และพระพมิ พ ์ จิตรกรรมศรีวชิ ยั พบแห่งเดียว ท่ีจติ รกรรมฝาผนงั ถ�ำ ้ศลิ ป์ อำ�เภอเมือง จงั หวดั ยะลา ๗๓

ประวตั ิและแบบอย่างศิลปะไทย ๕. ศลิ ปะลพบุรี (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒-๑๙) ในดนิ แดนภาคกลางภาคตะวนั ออกและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทยไดค้ น้ พบศลิ ปกรรม แบบหนง่ึ ซง่ึ มีท้งั ประตมิ ากรรม และสถาปัตยกรรม ลักษณะคลา้ ยกับศิลปะขอมในประเทศเขมร ดงั นัน้ ใน ทางโบราณคดจี ึงสมมตเิ รยี กศลิ ปะแบบนี้วา่ ศิลปะแบบลพบุรี ดว้ ยเหตุที่เมืองละโว้หรอื เมืองลพบรุ ี เปน็ ศูนย์ กลางการปกครองของเขมรในชว่ งนั้น เนื่องจากศิลปกรรมแบบนี้ท่ีประเทศไทยยังค้นคว้าไม่พบอักษรจารึกยืนยันอายุแน่ชัดได้มีการก�ำ หนด อายสุ ว่ นใหญ่จงึ อนโุ ลมตามแบบอย่างศิลปกรรมในประเทศกมั พชู า ซงึ่ ละม้ายคลา้ ยคลงึ กัน ศิลปะลพบรุ สี ่วน ใหญม่ อี ายุระหวา่ งพุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๘ คือ ตรงกบั ศลิ ปะสมยั ต่างๆ ดังนนั้ ศลิ ปะขอมสมัยปาปวน (พทุ ธ ศตวรรษที่ ๑๖-๑๗) สมัยสมโบร์ไพรกุก (ปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒) สมยั ไพรกเมงและก�ำ พงพระ (พุทธ ศตวรรษท่ี ๑๓-๑๔) สมยั พระโค (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๕) สมัยบาแค็ง (ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๕) สมยั แปรรูป (ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๕) สมัยคลงั (ตน้ พุทธศตวรรษที่ ๑๖) และต่อลงมาถงึ สมยั ปาปวน นครวัด และบายน โบราณวัตถแุ บบลพบุรีเทา่ ที่ค้นพบสว่ นใหญ่สลักดว้ ยศิลา หรือหลอ่ ส�ำ รดิ โบราณวตั ถทุ ่ีหลอ่ ด้วยส�ำ รดิ สรา้ ง ข้นึ ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๗ ลงมาอาจเป็นฝมี อื ของชา่ งไทยโดยเฉพาะ อิทธิพลของศิลปะแบบลพบุรีคงมีอยู่ เปน็ เวลานานจนสมยั อยุธยา หากเป็นของเนอื่ งในพระพทุ ธศาสนาจะสรา้ งในลทั ธิมหายานเป็นพืน้ ฐาน ศ ลิ ปะลพบุรมี ีทัง้ ของท่ที �ำ ขึ้นในทอ้ งถน่ิ และของทีน่ ำ�มาจากเขมร งานบางชนิ้ ไม่สามารถจะบอกได้ว่า ชิน้ ใดท�ำ มาจากไหน เพราะลอกเลยี นแบบกนั อย่างใกล้ชดิ ศิลปะท่นี ำ�เข้ามาได้แก่ “สกุลช่างบายน” (Bayon School) ในรัชสมยั พระเจา้ ชัยวรมนั ที่ ๗ เป็นส่วนใหญ่ หรืออยา่ งสงู มอี ายไุ ม่เกนิ คร่งึ หลงั พทุ ธศตวรรษที่ ๑๗ ตรงกับ “สมัยทวารวดีตอนปลาย” (Later Angorian period) ศิลปะลพบรุ ี มีสว่ นให้อทิ ธพิ ลแก่ศลิ ปะสุโขทัย แต่ไมม่ ากนัก จะให้อิทธิพลทางศิลปะแกอ่ ยธุ ยาตอนตน้ มากทงั้ ด้านสถาปัตยกรรม และประติมากรรมในพุทธ ศตวรรษที่ ๒o ศิลปะลพบรุ ี หรือ ศิลปะทีไ่ ด้รับอทิ ธพิ ลจากขอม มคี วามเจรญิ รุง่ เรืองเปน็ เวลากว่า ๓oo ปี ในบรเิ วณ ภาคกลางของประเทศไทยในปจั จุบนั มอี ายรุ าวพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๘ มคี วามเชอื่ ว่าชาวขอมครอบครอง บริเวณนี้ หลังจากมชี ัยเหนอื ทวารวดไี ดใ้ นพทุ ธศตวรรษที่ ๑๖ และเสอื่ มลงราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ แมก้ ระน้นั ศลิ ปะลพบรุ ีกส็ ่งอทิ ธิพลถงึ สโุ ขทัย และอยุธยาเป็นอนั มาก ซึง่ แม้วา่ สุโขทัย ภายหลังไดป้ ระกาศเอกราชจาก อาณาจักรขอม และอาณาจักรขอมกถ็ ูกตีแตก และตกเปน็ เมืองข้ึนของอยธุ ยา ในท่ีสดุ ศิลปะลพบุรีหรอื อาณาจักรลพบุรี (ขอม) ในพทุ ธศตวรรษท่ี๑๖ ซ่งึ เป็นช่วงปลายของอาณาจักรทวารวดี อาณาจกั รทวารวดี เสือ่ มความรุ่งเรอื งหมดอำ�นาจ จากการรุกรานของพระเจ้าอนริ ทุ ธกองทัพขอมจากกัมพชู า ในสมยั พระเจา้ ชัย วรมนั ที่ ๑ โดยอาณาจกั รทางตะวันออกเฉยี งใต้ ทางลมุ่ แม่นำ�้โขงตอนล่าง อ าณาจกั รลพบุรนี ้ีเปน็ ท่ีส�ำ หรบั พระเจา้ แผน่ ดินหรอื ผปู้ กครองแผน่ ดิน คอื เทพเจ้าที่มาจุติ เป็นพระ มหากษตั รยิ ์ คอื ภาคหนงึ่ ของ พระศวิ ะ ผ้มู พี ละก�ำ ลงั อ�ำ นาจเกรยี งไกร และเขาพระสุเมรุ เป็นศูนยก์ ลางของ จกั รวาล อาณาจกั รท่เี รยี กตัวเองว่า เขมร (ผ้มู ใี บหนา้ ส่เี หลีย่ มคิว้ เกอื บเป็นเส้นตรง) ศลิ ปะสมยั ลพบรุ ี พ.ศ. ๑,๖oo-๑,๘oo ข อมเปน็ ค�ำ ทช่ี นชาตไิ ทยเรยี ก ( จารกึ สมยั สโุ ขทยั ) ข อมหรอื เขมรเรยี กตนเองวา่ กมั พชู ( กมั พชู า) ขอมขยายอาณาจกั รครอบครองท่รี าบลุ่มแมน่ ำ�ต้ อนกลางเกือบทัง้ หมด โดยมเี มอื งละโว ้ (จังหวัดลพบรุ ใี น ปัจจุบัน) เปน็ เมอื งหลวง ปกครองแถบล่มุ แม่น�ำ ้เจ้าพระยา และตอนใตข้ องลา้ นนา ศาสนาหลกั คือ ศาสนา ๗๔

บทที่ ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ฮินดู โดยพราหมณ์ มภี ารกิจเปน็ ผรู้ ับใช้เทพเจา้ เพอื่ ติดตอ่ กับเทพเจา้ เหลา่ นน้ั ท่ตี นนับถือ จงึ ต้องมพี ราหมณ์ เปน็ ผู้ประกอบพิธกี รรมตา่ งๆ โดยจะกระทำ�พิธกี รรมในศาสนสถาน เพราะเปน็ ท่ีประทบั ของเทพเจ้าเหล่าน้ัน และใช้หนิ เป็นวสั ดใุ นการกอ่ สร้าง เทวสถานเรียกว่าปราสาทหนิ ภาพท่ี ๔.๗๑ แผนทตี่ ำ�แหน่งอาณาจกั รลพบรุ ี ประตมิ ากรรมสมยั ลพบรุ ี ไดค้ น้ พบศิลปะขอมในประเทศไทยทอ่ี าจมอี ายเุ กา่ แก่ถึงพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ประตมิ ากรรมสมยั ลพบรุ ีมกั มีใบหนา้ สี่เหล่ยี ม คิว้ เกอื บเปน็ เส้นตรง ถา้ มอี ายุต้ังแตพ่ ทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ ลง มาก็มกั มไี รผม (ขอบเป็นเสน้ นูนเล็กๆ) อยูเ่ หนือหน้าผาก พระพทุ ธรูปมักมีพระเกตมุ าลาหรือเมาลที ำ�เปน็ กลีบ บวั ซอ้ นกนั ขึน้ ไป ๓ ชนั้ และมรี ัศมเี ปน็ รูปดอกบัวตมู หรือลูกแก้วอย่ขู า้ งบนและในปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗ สมัยหลงั น้ี มักมพี ระพุทธรปู นาคปรกทรงเครอื่ งพระพกั ตร์ค่อนข้างถมึงทึง ในตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ พระ พทุ ธรปู ในสมยั นมี้ กั มสี พี ระพกั ตรอ์ มยมิ้ แสดงถงึ ความเมตตากรณุ าพระเนตรปดิ สนทิ ตามแบบศลิ ปะขอมสมยั โบราณ พระพทุ ธรปู สมยั ลพบรุ ที หี่ ลอ่ ดว้ ยสมั ฤทธจิ์ ะมขี นาดเลก็ มอี ยเู่ ปน็ จำ�นวนมากสว่ นใหญห่ ลอ่ ขน้ึ ตง้ั แตป่ ลายพทุ ธ ศตวรรษท่ี ๑๗ ลงมา มักนิยมสร้างเปน็ พระพุทธรปู ทรงเครือ่ งองค์เดยี ว หรอื หลายองคอ์ ยเู่ หนือฐานอันเดยี ว ส�ำ หรบั พระพทุ ธรูป ๓ องคน์ น้ั อาจหมายถงึ พระพทุ ธรูปตรีกายในพทุ ธศาสนาลัทธินกิ ายมหายาน คอื นิรมาณกาย (กายท่ีบิดเบือนได)้ ธรรมกาย (พระธรรม) และสัมโภคกาย (กายทีต่ รัสรแู้ ลว้ ) กไ็ ด้ หรือจะท�ำ เป็นรปู พระ รัตนตรยั มหายาน คอื มพี ระพทุ ธรปู นาคปรกอยูก่ ลาง มพี ระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรอยเู่ บื้องขวา นางปญั ญา ปารมิตาอยเู่ บอ้ื งซา้ ย (ภาพท่ี ๔.๙o) สว่ นเทวรูปในศาสนาฮนิ ดู มรี ปู พระอิศวร พระนางปารวตี พระนารายณ์ พระลกั ษม ี พระพรหม พระสรุ ัสวดี เหวัชระ พระคเณศ พระวศิ วกรรม (เทพเจ้าแห่งการช่าง หรือสถาปนิก แหง่ สรวงสวรรค์) และอืน่ ๆ ร ปู จ�ำ หลกั ศิลา มีทงั้ พระพทุ ธรปู ปางนาคปรกทรงเครือ่ ง ปางสมาธิ ปางมารวชิ ัย (นั่งขัดสมาธริ าบ) ปางประทานอภยั นอกจากนยี้ ังมรี ปู เหมอื นของกษตั รยิ ์ คือ รปู เหมือนแบบอดุ มคติ พระเจ้าชัยวรมนั ท่ี ๗ ซ่ึง อวตารมาจากพระโพธสิ ตั วอ์ วโลกเิ ตศวรในท่าประทบั นั่งขดั สมาธิ พบท่ีปราสาทหนิ พิมาย ชาวบ้านเรียกว่า “ท้าวพรหมทตั ” เป็นศลิ ปะแบบบายของขอม (ภาพที่ ๔.๗๑) พทุ ธลกั ษณะสมยั ลพบุรี มกั มลี กั ษณะกายวิภาคแตกต่างกว่าสกุลชา่ งอน่ื ๆ จ�ำ ได้ง่าย เช่น มลี �ำ พระ กายอวบอว้ น สดั สว่ นเตี้ยล�ำ่ พระพกั ตรเ์ ป็นเหล่ียม พระโอษฐ์ยิ้มน้อยๆ มีพรายปาก พระขนงตอ่ เนอ่ื งเปน็ ปีกกา มีไรพระศกมนุ่ พระเกศา มกั เป็นรูปทรงกรวย ประดบั ด้วยกลบี บัว มีกุณฑลเปน็ ต้มุ ถ้าเป็นแบบทรง ๗๕

ประวตั แิ ละแบบอย่างศิลปะไทย เครื่อง ทรงเทริดขนนกหรอื เทรดิ ใบไม้ มีกณุ ฑล กรองศอ พาหุรัด ครองจีวรหม่ เฉียง สังฆาฏิ (ผา้ ซ้อน) เปน็ แผ่นใหญ่ ชายสังฆาฏติ ดั เปน็ เส้นตรงประทบั นัง่ ขัดสมาธริ าบแบบอินเดียใต้ ท่ีน่าสังเกตคอื พระพุทธรปู ปาง นาคปรกทรงมกฏุ สว่ นมากจะมีผอบหรือหม้อน�ำ้ มนตเ์ ล็กๆ อยูใ่ นพระหัตถข์ วา เข้าใจกนั ว่าอาจเป็นพระ พุทธไภสัชยคุรุหรอื พระไภษัชยราช พระผู้ประทานโอกาสทางใจก็เป็นได้ นอกจากน้ยี งั พบพระพมิ พ์ดนิ เผา และพระพิมพโ์ ลหะอกี มากมายในลัทธิมหายาน เชน่ พระหูยาน พระพิมพ์ตา่ งๆ เป็นตน้ ด้านการหล่อส�ำ ริด นอกจากพระพุทธรูปและเทวรูปแลว้ ยังมีเครอื่ งราชปู โภค เครอื่ งใชส้ อย และเครือ่ งประดบั อีกมาก เชน่ เคร่ือง บชู า พาน ขัน สังข์ กระดงิ่ เชงิ เทียน ฐานคันฉอ่ ง และอน่ื ๆ รวมทง้ั เปน็ เครอื่ งราชรถ และคานหามฝีมอื ช่าง ประณีตงดงามทง้ั ในดา้ นรูปทรง ลวดลาย ตลอดจนเทคนิคในการหล่อส�ำ ริด โดยฝมี อื ชา่ งไทยมากกว่าฝมี ือ ช่างเขมร รูปพระโพธสิ ัตวอ์ วโลกิเตศวรและพระโพธสิ ัตว์ศรอี าริยเมตไตรย ๑. พระโพธิสัตว์อวโลกเิ ตศวร จะมพี ระพทุ ธรปู องค์เลก็ เหนอื ศิราภรณ์ และถือดอกบวั ๒. พระโพธิสตั ว์อารยิ เมตไตรยจะมีสถูป หรือเจดียอ์ งคเ์ ล็กๆ เหนอื ศริ าภรณ์ และถอื ดอกชบา ภาพท่ี ๔.๗๒ พระโพธิสตั วศ์ รอี ารยิ เมตไตรย สัมฤทธิส์ ูง ๔๗ ซ.ม. พบท่ีเมอื งฝา้ ย อ�ำ เภอล�ำ ปลายมาศ จงั หวดั บุรรี ัมย์ พระโพธสิ ตั วศ์ รอี ารยิ เมตไตรย เ ปน็ พระโพธสิ ตั วท์ จ่ี ะลงมาตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ในอนาคตอาจจะทรง เคร่ืองเปน็ นักบวช (นงุ่ ผ้าส้ันผืนเดยี วมีเข็มขัดผ้าคาด) เหมือนเทวดา มสี ถูปหรือเจดยี อ์ ยู่เหนือศริ าภรณ์ (ภาพ ท่ี ๔.๗๒) ภาพที่ ๔.๗๓ พระอมุ า ศลิ าสงู ๑.๑o เมตร พบที่อำ�เภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว้ ปัจจุบันอยทู่ พี่ ิพิธภณั ฑสถานวงั สวนผกั กาด กรุงเทพฯ ศลิ ปะลพบุรตี อนตน้ ๗๖

บทที่ ๔ : ศิลปะในประเทศไทย อมุ า แปลวา่ แสงสว่าง นางเป็นชายาของพระอิศวรหรอื พระศวิ ะมหี ลายนาม เช่น เทวปี ารพตี ฯลฯ นางมีลกั ษณะ ๒ ประการ คือ เรยี บร้อย และรุนแรงโหดรา้ ย สำ�หรบั ลักษณะหลังท�ำ ใหม้ ีผคู้ นนบั ถือนางมาก และบูชานาง ด้วยโลหติ ลักษณะโหดร้าย มี ๑o กร และถืออาวธุ ตา่ งๆ กนั มีลกั ษณะตรงกับศลิ ปะขอมสมัย สมโบร์ไพรกกุ (ปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒) (ภาพที่ ๔.๗๓) ภาพท่ี ๔.๗๔ พระพุทธรูปส�ำ รดิ องค์ใหญ่ ทเ่ี มอื งฝ้าย อ�ำ เภอลำ�ปลายมาศ จงั หวัดบุรรี ัมย์ เปน็ ของอาณาจักรศรีวชิ ัย ศิลปะทวารวดีและ ศิลปะขอม ภาพท่ี ๔.๗๕ พระพุทธรูปทรงเคร่ืองนาคปรก ศลิ ปะลพบุรี พบท่วี ดั พระเมรุ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา เปน็ พระพทุ ธรปู ในศตวรรษท่ี ๑๖-๑๗ ป ระติมากรรมศิลปะลพบรุ ีแทจ้ ริง บนกระบงั หน้าหรือรัดเกลา้ มีแนวเล็กๆ แทรกเขา้ มาตรงกลางอกี แนวหน่งึ เชน่ พระพุทธรปู นาคปรกทรงเครอื่ ง สีพระพกั ตรค์ อ่ นข้างถมงึ ทึง (ภาพที่ ๔.๗๕) ภาพที่ ๔.๗๖ พระพุทธรปู ทรงเครือ่ ง ๗๗

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย เศยี รพระพทุ ธรปู ทรงเครอื่ ง มีลกั ษณะเปน็ ศลิ ปะแบบนครวัดของกมั พชู า ซงึ่ อยู่ในราวพุทธศตวรรษ ท่ี ๑๗ มีการทำ�เสน้ ค่นั ระหวา่ งลายบนเทรดิ สว่ นกระจังมลี วดลายด้วย (ภาพท่ี ๔.๗๖) ภาพที่ ๔.๗๗ พระพุทธรูปนาคปรก (เศยี รนาคหายไป) สลกั ดว้ ยศลิ า สูง ๑.๑๓ ม.พบทป่ี ราสาทหินพมิ าย จงั หวดั นครราชสีมา ป ระตมิ ากรรมศิลปะขอมสมยั บายน ประมาณตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ พระพทุ ธรปู จะมสี พี ระพักตร์ อมย้ิมแสดงความเมตตากรุณา พระเนตรปดิ สนิท เปน็ ลกั ษณะพระพทุ ธรปู แบบไมท่ รงเครอ่ื งขดนาคเรียงซอ้ น กัน ปลายดา้ นลา่ งเรียวลง (ภาพท่ี ๔.๗๗) ป ระติมากรรมศิลปะขอมหลังสมัยบายน พระพทุ ธรูปมีไรพระศกเป็นประจำ� พระเศียรมีขมวดพระ เกศา พระเกตุมาลาประกอบดว้ ยกลบี บวั ซอ้ นกนั ๓ ชัน้ และเหนือขึน้ ครอบด้วยเปน็ รปู ดอกบวั ตมู หรือลกู แกว้ เลก็ ๆ พระพกั ตรอ์ มยิม้ เล็กน้อย ครองจวี รห่มเฉยี ง แผน่ ใหญช่ ายจวี รเหนือพระองั สาซา้ ยยาวลงมาถึงพระนาภี ปลายตัดเป็นเส้นตรง ชอบทำ�ปางสมาธิ ขัดสมาธิราบ และฐานมีกลีบบัวหงายประกอบ พระพกั ตรม์ ลี ักษณะ ทอ้ งถน่ิ ชัดเจน เหมาะสมกับช่ือเรียกศลิ ปะลพบุรี โดยจะสบื เนอ่ื งผา่ นพระพทุ ธรปู แบบอทู่ องมาเปน็ พระพทุ ธ รูปของราชธานไี ทยรุ่นต่อมา (ภาพท่ี ๔.๗๘) ภาพท่ี ๔.๗๘ พระพุทธรปู ปางสมาธิ ศลิ าสงู ๑ เมตร พบที่วดั พระศรีรตั นมหาธาตุ อำ�เภอเมือง จงั หวัดลพบุรี ศิลปะลพบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ นารายณร์ าชนิเวศน์ ลพบุรี ๗๘

บทที่ ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย พระพทุ ธรปู ปางสมาธิ เป็นปางกำ�เนดิ องค์สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า เป็นอริ ยิ าบถภายใน คือ วนั ตรสั รเู้ รียกอีกอยา่ งหนึ่งว่า ปางตรสั รู้ สรุปพระพุทธรปู จะได้รบั อิทธิพลจากศาสนาพุทธนกิ ายมหายาน และ ศาสนาพราหมณ์ มลี กั ษณะพระพักตรก์ วา้ ง ส่เี หลย่ี ม พระเนตรกลม พระโอษฐก์ ว้างแบน นยิ มสรา้ งพระเครอ่ื ง นาคปรก พระวรกายเตยี้ ลำ�่ (ภาพที่ ๔.๗๘) ภาพที่ ๔.๗๙ พระพุทธรูปตรกี ายส�ำ ริด สำ�ริด ศลิ ปะลพบุรี พระพุทธรปู ตรีกายส�ำ รดิ มหี ลายองคล์ งฐานเดยี วกนั แตม่ ซี ้มุ แยก อายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘- ๑๙ เป็นการสรา้ งพระพุทธรูป ๓ องคบ์ นฐานเดียวกนั แต่ละองค์ ตรกี าย มี ๓ ชนิด คือ นริ มานกาย คือ กายทีบ่ ดิ เบยี นได้เปน็ กายกอ่ นตรสั รู้ยังคงมีการเกิด แก่ เจบ็ ตาย ธรรมกาย คือ กายท่บี รสิ ทุ ธ์ิพ้นจากกิเลสทง้ั ปวงเป็น กายหลงั จากการตรสั รู้ แตย่ ังคง เกดิ แก่ เจ็บ ตายอยู่ และส�ำ โพธิกาย คือ กายภายหลงั จากเสดจ็ สูป่ รนิ พิ พาน เปน็ กายบรสิ ุทธิ์ ไม่มกี ารเวียนว่ายตายเกดิ อกี ตอ่ ไป (ภาพที่ ๔.๗๙) ภาพท่ี ๔.๘o พระพิมพ์รปู พระรตั นตรัย พทุ ธศาสนานิกายมหายานสำ�ริดสูง ๙.๘ ซม. ศิลปะลพบุรี พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ๗๙

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศลิ ปะไทย พระพมิ พร์ ปู พระรตั นตรัยมหายาน แสดงถึงพระพุทธรปู และรูปเหวชั ระ มีพระปรางคเ์ ขา้ มาเกยี่ ว ขอ้ งพระพทุ ธรปู นาคปรกอยู่กลาง มีพระโพธสิ ัตว์อวโลกิเตศวร นางปัญญาบารมีอยู่เบือ้ งขวาและนางปรชั ญา ปารมติ าอยเู่ บอ้ื งซา้ ยรปู เหวชั ระเปน็ เทวดาทคี่ อยคมุ้ ครองรกั ษาผทู้ น่ี บั ถอื พทุ ธศาสนาลทั ธมิ หายานนกิ ายตนั ตระ นยิ มใชเ้ วทมนตค์ าถามากมายพระพมิ พจ์ ะมกี ารสรา้ งทง้ั ดนิ เผาและโลหะอายรุ าวศตวรรษท ี่๑ ๗ ล งมาพระพทุ ธ รปู และรปู เหวัชระเป็นทน่ี ิยมและมักจะมีพระปรางคเ์ ขา้ มาประกอบด้วย (ภาพท่ี ๔.๘o) ภาพท่ี ๔.๘๑ พระเจ้าชยั วรมันท่ี ๗ ศลิ าสูง ๑.๓๔ เมตร พบทป่ี ราสาทหินพมิ าย อ�ำ เภอพมิ าย จงั หวัดนครราชสีมา ศลิ ปะลพบุรี พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาตพิ มิ าย นครราชสมี า พระเจา้ ชยั วรมันที่ ๗ ทรงโปรดให้สร้างรูปหล่อหรอื รปู เหมอื นของพระองคไ์ ว้สถานท่ีต่างๆ เช่นอโลค ยาศาลา เ พราะพระองคเ์ ปรยี บตวั เองเหมอื นความทกุ ขเ์ ขญ็ ของราษฎรเปน็ ประดจุ ความทกุ ขข์ องพระองค์ชาว บา้ นเชอ่ื วา่ เป็นรูปเหมอื นของพระเจ้าพรหมทตั บญุ บารมที สี่ �ำ คญั ทส่ี ุด คอื ความเมตตา เหลืออยไู่ มก่ ่ีชิน้ ในโลก ศาสตราจารย์จีน บอสเซอลีเยร์ กล่าวว่า ประตมิ ากรรมนี้ คือ ศิลปะขอมอยา่ งแทจ้ รงิ และอาจเปน็ ไปได้วา่ ช่าง ขอมอาจเดินทางเข้ามาเพื่อสลักรูปน้ีเพ่อื ความสมบรู ณก์ ับความส�ำ คัญของปราสาทหินพิมาย (ภาพท่ี ๔.๘๑) เ ทวรปู มพี ระพักตรส์ เ่ี หล่ียมถมึงทึง รมิ พระโอษฐก์ ว้างแบน มีพระกรหลายพระกร เป็นเทวดาผูเ้ ปน็ เจ้าแหง่ การช่าง นามนม้ี มี าแลว้ ตงั้ แตส่ มยั พระเวทในคมั ภีรม์ ฤคเวท ภาพที่ ๔.๘๒ พระวศิ วกรรม หลอ่ ส�ำ ริด สงู ๓o.๕ ซ.ม. ๘๐

บทท่ี ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ภาพที่ ๔.๘๓ เทวสตรี นางปรัชญาปรมติ าสูตร ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ สถาปตั ยกรรมสมัยลพบรุ ี ได้แก่ การสร้างเทวาลยั และพทุ ธาลยั หรอื พุทธปรางค์ตามแบบอยา่ ง ปรางค์ปราสาทขอม และมกี ารพัฒนารูปทรงตามล�ำ ดบั วัสดทุ ่ใี ช้ในการกอ่ สร้างส่วนมากจะใชห้ นิ ทรายและ ศิลาแลง ส่วนอฐิ น้ันใช้กันในสมยั แรกๆ ตอ่ มาในพุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๗ นิยมก่อสร้างดว้ ยศลิ าและท่ีปรากฏ ปรางคต์ ่างๆ ในสมยั น้ี ผลงานดา้ นสถาปัตยกรรม แบ่งออกเปน็ ๔ แหง่ ดังนี้ ๑. ภาคกลาง อย่ทู ีจ่ งั หวัดลพบรุ ี ผลงานที่เกิดจากฝีมอื ของขอม เป็นผลงานดา้ นสถาปตั ยกรรม สิง่ กอ่ สร้างด้วยศิลาแลง หนิ ทรายแดง ไดแ้ ก่ พระปรางคแ์ ขก พระปรางค์สามยอด ๒. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ผลงานดา้ นสถาปัตยกรรม เชน่ ปราสาทหินพมิ าย ปราสาทหิน เขาพนมรุ้ง ๓. ภาคเหนือ ผลงานด้านสถาปตั ยกรรม เชน่ พระปรางคว์ ดั จุฬามณี จังหวดั พิษณโุ ลก พระ ปรางค์วัดศรสี วาย จังหวดั สุโขทยั ๔ . ภาคใต้ ผลงานดา้ นสถาปัตยกรรมท่ีปรากฏเดน่ ชดั อยู่ท่วี ดั ฉมิ พลหี รอื กำ�แพงแลง ปราสาท หมายถงึ อาคารทีม่ ีสว่ นกลางเป็นห้องท่เี รียกว่า “หอ้ งครรภคฤหะ” หรือ “เรอื นธาตุ” มี หลังคาซอ้ นกนั หลายชั้น เรียกวา่ “เรอื นชนั้ ” หลงั คาแต่ละชน้ั ยอ่ ส่วนของปราสาท เปน็ สัญลักษณแ์ ทนความ หมายของเรือนฐานันดรสูง อนั เปน็ ทสี่ ถติ ของเหลา่ เทพเทวดา ดังนั้นปราสาทจงึ เปน็ อาคารที่เปน็ ศาสนสถาน เพ่อื ประดิษฐานรปู เคารพ และการท�ำ พธิ กี รรมทางศาสนา ไม่ใช่เป็นทีป่ ระทบั ของพระมหากษัตรยิ ์ ค ตคิ วามเชอื่ ในการสรา้ งปราสาท มาจากคติความเช่ือของชาวอนิ เดียท่ีวา่ เทพเจ้าทง้ั หลายสถติ อยู่ ณ เขาพระสเุ มรุอนั เปน็ แกนกลางของจักรวาลซ่ึงอย่บู นสวรรค์การสรา้ งปราสาทจงึ เปรยี บเสมือนการจำ�ลอง เขาพระสเุ มรมุ ายงั โลกมนุษย์เพอ่ื เป็นทีส่ ถิตของเทพเจา้ และมกี ารสร้างรูปเคารพของเทพเจา้ เพ่อื ประดิษฐาน ไวภ้ ายใน โดยปราสาทแทนสัญลกั ษณ์ตา่ งๆ ของเขาพระสุเมรุ เชน่ มีปราสาทเปน็ ประธานตรงกลาง มีปราสาท บริวารล้อมรอบ ถดั ออกมามีสระนำ�้ และกำ�แพงล้อมรอบอีกชน้ั หนึ่ง ซึ่งเป็นการจำ�ลองจกั รวาลไวบ้ นโลก มนษุ ย์ ปราสาทจงึ มีขนาดใหญโ่ ต และใช้เวลากอ่ สรา้ งยาวนาน (ภาพท่ี ๔.๙๖) ๘๑

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย ปราสาทที่สรา้ งขึ้นในศาสนาฮนิ ดู มี ๒ ลทั ธิ ไดแ้ ก่ ๑ . ไศวนิกาย คือ การบชู าพระอศิ วรหรอื พระศิวะเปน็ ใหญ่ เชน่ ปราสาทพนมรุ้ง ๒. ไวษณพนกิ าย คือ การบูชาพระนารายณห์ รอื พระวิษณุเปน็ ใหญ่ เช่น ปราสาทนครวัด ส่วนปราสาทหินพิมายและกลุ่มปราสาทรุ่นหลังสร้างข้ึนเน่ืองจากพระพุทธศาสนานิกาย มหายาน เช่น พระปรางคส์ ามยอด จงั หวัดลพบุรี ทบั หลงั ศลิ า ทป่ี ราสาทภมู โิ พน อ�ำ เภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทบา้ นระแงง อ�ำ เภอศรขี รภูมิ จงั หวดั สรุ ินทร์ ภาพที่ ๔.๘๔ ปรางคแ์ ขก จงั หวัดลพบรุ ี เทวสถานปรางคแ์ ขก เป็นเทวสถานท่ีอำ�เภอเมือง จังหวดั ลพบรุ ี เป็นศลิ ปะเขมรแบบพะโค เก่าแก่ ที่สุดของศลิ ปะลพบรุ ี ราวศตวรรษท่ี ๑๕ มลี กั ษณะเปน็ พระปรางค์ ๓ องคเ์ รยี งกัน ไมม่ ีระเบียงเชอื่ มต่อกัน เหมอื นปรางคส์ ามยอด กอ่ ด้วยอฐิ ก้อนใหญ่เรียงซ้อนกัน โดยมีปูนสอ องคก์ ลางจะสงู ใหญ่กวา่ ๒ ปรางค์ ทุก ปรางคม์ ปี ระตศู ิลา เขา้ กรอบเลยี นแบบเคร่อื งไม้ ๔ ประตู มที างเข้าออกไดป้ ระตูเดียว คือ ประตดู า้ นหนา้ ทาง ทศิ ตะวนั ออก อีก ๓ ประตูเปน็ ประตูหลอกเพื่อความสวยงาม สร้างขนึ้ เพอ่ื เป็นศาสนสถานของศาสนาฮนิ ดู มี หลักฐานเปน็ ศวิ ลึงค์ปรากฏอยู่ ในสมยั พระนารายณ์มหาราชสร้างวหิ ารขึ้นทางดา้ นหนา้ ปรางคท์ ิศตะวนั ออก เพือ่ ประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนา และเปน็ หลกั ฐานทแ่ี สดงถึงความเจรญิ รงุ่ เรืองในอดีต (ภาพที่ ๔.๘๔) ภาพท่ี ๔.๘๕ ซุ้มประตทู างเขา้ ปรางค์ ปราสาทลพบุรี แบบบัณแถลง ๘๒

บทท่ี ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ภาพท่ี ๔.๘๖ ปราสาทเมืองต่ำ� จงั หวดั บุรรี ัมย์ ปราสาทเมืองต�ำ่ จะอยูใ่ นทีร่ าบอีกฟากหน่งึ ของเชงิ เขาพนมร้งุ มคี วามงดงามของลวดลายท่สี ลักเสลาและ ลวดลายจ�ำ หลกั บนผนื ทรายอนั วจิ ติ รตระการตาในทกุ สดั สว่ นของปราสาทจะเสมอื นเปน็ บทบนั ทกึ ความรขู้ อง ศิลปะขอม (ภาพท่ี ๔.๘๖) ภาพท่ี ๔.๘๗ ปราสาทหินพิมาย อ�ำ เภอพิมาย จงั หวดั นครราชสมี า ศลิ ปะลพบรุ ี กลางพุทธศตวรรษที ่ ๑๗ ปราสาทหนิ พมิ ายพทุ ธสถานทใี่ หญท่ สี่ ดุ ของประเทศไทยสรา้ งกอ่ นนครวดั เลก็ นอ้ ยมลี กั ษณะผดิ แผก ไปจากขอม เชน่ ลายสลกั ท่ีฐานมลี ักษณะสูงขึ้นมาก และมีขอบอยู่ข้างบน ขอบเชน่ นี้ไดป้ รากฏอยบู่ นสว่ นล่าง ของลายทีส่ ลกั บนยอดผนัง ทบั หนา้ จะหนั ไปทางทศิ ใต้ สนั นิษฐานว่ารบั กับถนนทข่ี น้ึ จากถนนทีม่ าจากทาง ประเทศกมั พูชา ประมาณต้นศตวรรษที่ ๑๘ ซง่ึ ตรงกบั สมัยของพระเจา้ ชัยวรมันที่ ๗ เปน็ กษัตริย์องค์สุดท้าย แห่งอาณาจักรขอม ถือว่ามีความใหญโ่ ตและงดงามแห่งหนึ่ง เปน็ โบราณสถานทเ่ี ก่าแก่ทสี่ ุดของประเทศไทย ต้งั อยใู่ กลแ้ มน่ ำ�ม้ ลู สรา้ งราวศตวรรษท่ี ๑๖-๑๗ ตรงกับรัชกาลของพระเจา้ สุริยวรมนั ที่ ๑ พระเจ้าสุรยิ วรมัน ที่๖และ๗ได้มกี ารสร้างต่อเติมสรา้ งขึ้นในศาสนาพทุ ธลัทธิมหายานและศาสนาพราหมณ์สรา้ งก่อนปราสาท หินพนมรงุ้ และนครวดั จดั เป็นตน้ แบบของปราสาททกุ แหง่ ของภูมิภาคเอเชีย มีกำ�แพงส่เี หล่ยี มลอ้ มรอบด้วย หินทรายแดง มีซุ้มท้งั ๔ ทศิ ตดิ ตอ่ กนั ประตใู หญ่หนั ไปทางทิศใต้ หลังคามงุ ด้วยแผ่นหิน ขา้ งในเปน็ ลานกวา้ ง ทศิ เหนือและทศิ ใต้ กวา้ ง ๕๘ เมตร ทิศตะวนั ออกและทิศตะวนั ตก ยาว ๖๖ เมตร มสี ระนำ�้อย่ทู ง้ั ๔ มมุ ของ ชนั้ นอก รปู แบบศลิ ปะแบบปาปวนมาผสมผสานกับศิลปะแบบนครวดั ซ่ึงหมายถงึ ปราสาทไดถ้ กู ดดั แปลงมา เป็นสถานท่ีทางศาสนาพทุ ธ ในสมัยพระเจ้าชยั วรมันที่ ๗ ปราสาทหินพมิ ายปรับปรุงรูปปราสาทจำ�ลองใหอ้ ยู่ ในทรงสามเหลยี่ ม (บรรพแถลง) และตั้งเอนไล่เรยี งล�ำ ดับช้ันขึ้นไปถึงยอดจึงได้ทรงพมุ่ (ภาพที่ ๔.๘๗) ๘๓

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพท่ี ๔.๘๘ พระปรางค์ (ปราสาท) สามยอด ต้ังอยู่ต�ำ บลทา่ หิน อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ลพบุรี ศิลปะลพบุรี ครง่ึ แรกศตวรรษที่ ๑๘ พ ระปรางค์(ปราสาท)สามยอดปราสาทหนิ ศลิ าแลงแบบเขมรมสี ามหลงั มฉี นวนทางเดนิ ตดิ ตอ่ ถงึ กนั เทยี บเคยี งไดก้ บั ศาสาสถานในประเทศกมั พชู าทส่ี รา้ งขนึ้ มากอ่ นดา้ นในประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช (ครองราชยเ์ มือ่ พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) หันหนา้ สู่ทิศตะวันออก ปราสาททอ่ี ยู่ตรงกลาง สูงใหญก่ ว่า ๒ องค์ ดา้ นขา้ งประดับประดาส่วนตา่ งๆ ดว้ ยปนู ป้ัน เป็นเอกลกั ษณข์ องสถาปตั ยกรรมในสมยั พระเจ้าชยั วรมนั ท่ี 7 (ครองราชยเ์ มือ่ พ.ศ. ๑๗๒๔-๑๗๕๗) นิยมใช้ศิลาแลงเปน็ วัสดกุ ่อสร้าง สว่ นยอดหรือ ศริ ะสรา้ งดว้ ยหนิ ทรายเปน็ รปู บวั คว�ำ่ บวั หงายซอ้ นกนั ๓ชน้ั บางสว่ นท�ำ ปนู ปน้ั เปน็ รปู บคุ คลยนื ในซมุ้ เรอื นแกว้ มีการปน้ั เทพประจำ�ทิศไวท้ ง้ั ๔ ทิศ เชน่ พระอนิ ทรท์ รงชา้ งเอราวณั ประจ�ำ ทศิ ตะวันออก สันหลังคาของมขุ กระสนั ประดบั ด้วยบราลีศิลาแลงเปน็ พระพทุ ธรปู ประทบั นั่งขัดสมาธริ าบ ในซุ้มเรอื นแกว้ แต่ปัจจุบันเสียหาย ท้งั หมด สร้างขึ้นเปน็ พุทธสถานในลทั ธิวัชรยานประจำ�เมอื งละโว้ เพือ่ ประดิษฐานรปู พระโพธิสตั ว์อวโลกเิ ต ศวร พระวชั รสัตวน์ าคปรก และพระนางปรัชญาปารมิตา อันเปน็ รปู เคารพ เป็นลัทธิท่ีมคี วามเจริญรุง่ เรืองมาก ในกัมพชู า สมยั พระเจ้าชัยวรมนั ท่ี ๗ หลงั ครองราชยไ์ ด้ ๑o ปี ทรงให้สร้างพระพุทธรปู ทองคำ�เปน็ ส�ำ ริดและ ศลิ า เพือ่ สง่ ไปยงั เมอื งต่างๆ (ภาพที่ ๔.๘๘) ห ลงั จากการลม่ สลายของพทุ ธศาสนาลทั ธวิ ชั รยานในกมั พชู าพระปรางคส์ ามยอดจงึ ไดร้ บั การดดั แปลง เปน็ พทุ ธศาสนสถานในนกิ ายเถรวาทมกี ารสรา้ งวหิ ารเชอื่ มตอ่ กบั ปราสาทประธานตรงกบั ชว่ งรชั สมยั ของสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช เสด็จแปรพระราชฐานมายงั เมืองลพบรุ ีเกือบตลอดรัชสมยั และได้ให้บูรณปฏิสังขรณ์ วัดวาอารามตา่ งๆ และทรงสร้างพระนารายณร์ าชนิเวศน์ ภาพท่ี ๔.๘๙ ปราสาทหนิ พนมรุ้ง ตง้ั อยทู่ ่อี ำ�เภอนางรอง จงั หวดั บรุ ีรมั ย์ ๘๔

บทที่ ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ป ราสาทหนิ พนมรุง้ พนมรุ้ง มาจากภาษาเขมร ค�ำ ว่า “วนังรงุ ” ซง่ึ แปลวา่ ภูเขาใหญ่ มีอายปุ ระมาณ ๑,ooo ปี ตั้งอยูบ่ นยอดเขาสงู ๑,๓๒o ฟตุ เปน็ ศาสนสถานในศาสนาพราหมณล์ ทั ธไิ ศวนกิ าย ทางข้ึนปราสาท ปดู ้วยหินทราย มเี สานางเรยี งประดบั สองข้าง ราวบนั ไดเปน็ หนิ ทรายรปู พญานาค ๕ เศียร ตัวปราสาทมีซ้มุ ประตูท้ัง ๔ ทศิ มคี ุณค่าทางประวตั ศิ าสตร์ตอ่ มนุษยชาติ มคี วามงดงามท่ีเป็นเอกลักษณ์โดดเดน่ สร้างขึน้ เพอ่ื เปน็ ทปี่ ระทับของพระศิวะ ซ่งึ เปน็ เทพเจา้ สงู สุดในศาสนาฮนิ ดู หนั หนา้ ไปทางด้านทิศตะวนั ออก ซ่ึงเปน็ ทศิ ที่ พระอาทติ ยข์ ้ึน ถือวา่ เปน็ ทศิ ท่ีเจรญิ รุง่ เรือง มแี สงอาทิตยย์ ามเชา้ ที่สาดสอ่ งเข้ามากระทบกนั กับพระศิวลึงค์ ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์แทนพระศิวะเกิดเป็นรัศมีเหลืองอร่ามดุจดังทองถือว่าเป็นการเพ่ิมพลังให้แก่องค์พระ ศวิ ะช่ัวกัลปาวสาน ต้งั อยบู่ นยอดเขาพนมรุ้ง ซ่งึ เคยเปน็ ภเู ขาไฟท่ีดับสนิทแล้ว เป็นภเู ขาที่กว้างใหญ่กวา่ ภูเขา อนื่ ๆประดบั ตกแตง่ ดว้ ยลวดลายแกะสลกั ทวี่ จิ ติ รบรรจงจะท�ำ ใหป้ ราสาทมคี วามอลงั การโดดเดน่ ดงั ทพิ ยพมิ าน แหง่ เทพบนเขาพระสเุ มรุในคมั ภรี ข์ องศาสนาพราหมณ์ฮินดู (ภาพที่ ๔.๘๙) ภาพที่ ๔.๙o ทับหลงั ศลิ า ๖๑ x ๘๕ ซ.ม. วัดทองท่ัว จังหวัดจนั ทบุรี ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๑-๑๒ ศิลปะลพบรุ ตี อนต้น ภาพที่ ๔.๙๑ ทับหลังศิลา ๑๖๗ x ๑๒ x ๔๘ ซ.ม. หน้าพระอุโบสถวัดสุปัฏฏนาราม จงั หวดั อุบลราชธานี ศิลปะลพบรุ ี กลางพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ภาพที่ ๔.๙๒ ทบั หลงั รูปนารายณ์ทรงครุฑ ศิลา ยาว ๑.๘o เมตร พบท่ปี รางคก์ ู่ จงั หวดั ศรีสะเกษ ครง่ึ หลังพุทธศตวรรษท ี่ ๑๗-๑๗ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาตพิ ิมาย จังหวดั นครราชสมี า ๘๕

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย ทบั หลัง เป็นการเรยี กสว่ นทอี่ ยู่เหนอื ประตู หนา้ ตา่ ง มกี ารสลักลวดลายอย่างสวยงามด้วยนูนต่�ำ และ นูนสูง ซึง่ จากลวดลายหรอื ภาพบนทบั หลังสามารถอธิบายเร่ืองราวว่าสรา้ งในลัทธใิ ด และอายปุ ระมาณเทา่ ใด เครือ่ งป้ันดินเผา ในสมยั ลพบุรีมคี วามเจริญกา้ วหนา้ เป็นอันมาก มที ้งั ท�ำ เครอ่ื งดนิ เครื่องหนิ และ เคร่ืองแบบ“เซลาดอน”และพบเตาเผามากมายทางเขตอสี านตอนใต้เชน่ จงั หวดั บุรีรัมย์ในเขตอ�ำ เภอละหาน ทราย และชาวบา้ นไดข้ ดุ ท�ำ ลายไปจ�ำ นวนมาก การขุดคน้ พบโดยนายจอรจ์ โกรสล์ ิเยร์ (George Groslier) ได้แบ่งการกำ�หนดอายุของเคร่อื งปัน้ ดินเผาต่างๆ ดังน ้ี ๑ . แบบกุเลน ประมาณ พ.ศ. ๑๔๒๒ เปน็ เครอ่ื งถว้ ยเคลอื บสเี ขยี วออ่ นมีรอยนำ�้เคลอื บเปน็ ทาง สขี าวๆ ๒ . แบบเครอ่ื งปัน้ ดินเผาไม่เคลอื บ “ลีเดอวนิ ” (Le de Vin) มอี ายุระหว่าง พ.ศ. ๑๔๔๓-๑๕๙๓ เป็นเคร่ืองปน้ั ดินเผา เน้ือดินปั้นสีม่วงอมแดง ๓ . แบบบาปวน อายุระหว่าง พ.ศ. ๑๕๙๓-๑๖๑๑ เปน็ เครือ่ งดินเผาเคลือบด้วยสีเคลือบ ๒ สี คือ สนี �ำ ้ตาล และสเี ขยี วกับมีสเี ขยี วมะกอก ๔ . แบบพระเจ้าชัยวรมันที่ ๖ อายรุ ะหว่าง พ.ศ. ๑๖๑๑-๑๖๕๓ ๕ . แบบนครวัด อายปุ ระมาณ พ.ศ. ๑๖๕๓-๑๗๒o เปน็ เครอื่ งปนั้ ดนิ เผาเคลอื บสดี ำ� และสีนำ�้ ตาลอมเหลืองใสๆ มลี ายจุดและลายแมพ่ ิมพ์บาง เคลอื บ ๒ สี และยงั มีเคลือบสีเขียว และสเี ขยี วมะกอก ๖ . แบบบายน อายุระหว่าง พ.ศ. ๑๗๒o-๑๘๙๓ เปน็ เคร่ืองปัน้ ดินเผาทม่ี ีเน้อื ดินปน้ั หนกั ตัว ภาชนะมขี นาดใหญ่ มนี ำ�้เคลอื บสีดำ�เป็นสว่ นมากและน้ำ�เคลอื บเผา ภาพที่ ๔.๙๓ ไหเท้าช้าง ประดบั รูปหวั ช้าง ดนิ เผามีเคลอื บสนี ำ�ต้ าลสูง ๒๑ ซ.ม. ไดจ้ ากวดั สทุ ธจิ ินดา อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า ศิลปะลพบรุ ี พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๗ พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ภ าชนะใส่น�ำ ้ทรงป้อม คือ ท่ีมาของชือ่ ไหเทา้ ช้าง ประดบั ประดาลายและรูปหัวชา้ ง คงนอกจากเพ่อื ให้ งานแล้ว ยงั ช่วยใหก้ ารหยบิ จบั ไดม้ ั่นมือด้วย อนึ่งภาชนะรปู ทรงอน่ื เคลอื บดว้ ยสเี ขียวกไ็ ด้พบร่วมอยดู่ ้วย แต่ เคลอื บสนี ำ�ต้ าลพบไดม้ ากกว่า (สันติ เล็กสขุ ุม,๒๕๕๔: ๗๓) มกี ารเคลอื บสนี ำ�ต้ าล เปน็ ไหขอม มกี ารปัน้ เปน็ รปู คนหรือสัตว์แบบนครวดั ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ปน้ั ทป่ี ระเทศไทย แลว้ จึงส่งไปใหข้ อม พบซาก เตาเผาท่ีอ�ำ เภอบา้ นกรวด จงั หวดั สุรินทร์ และพบเตาเผาเครอื่ งถว้ ยชาม ซึง่ เป็นเครอื่ งปัน้ ดินเผาเคลือบสีน�ำ ้ เงนิ ออ่ น คลา้ ยกับสงั คโลกสมัยสโุ ขทัย ๘๖

บทที่ ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย ภาพท่ี ๔.๙๔ กระปุกเคลอื บสนี �ำ ต้ าลพุทธศตวรรษท่ี ๑๗-๑๘ ขนาดสูง ๗.๕, ๖.๕, ๘.๕, ซ.ม. ภาพท่ี ๔.๙๕ แจกนั ทรงนำ�้เตา้ สว่ นบนเคลือบสเี ขยี วส่วนล่างเคลือบสีน�ำ ้ตาล แบบบาปวนพทุ ธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ สูง ๑๕.๕ ซ.ม. เ ครอ่ื งใช้สอย มเี ปน็ จำ�นวนมาก ประมาณปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๑๗ ลงมา มีเคร่อื งบชู า เครอื่ งประดบั ราชรถ ช่างไทยหลอ่ ขนึ้ ตามศิลปะขอม ไดแ้ ก ่ ครฑุ เป็นเจ้าแหง่ นก ผูม้ ีร่างกายเป็นครึง่ คนครง่ึ นก คือ มหี นา้ เหมือนคน จมกู เหมือนนก รา่ งกายทอ่ นบนเหมอื นคน ขาเหมือนนก เป็นพาหนะของพระนารายณ์ และเปน็ ศตั รกู บั พญานาค (ภาพท่ี ๔.๖๙) ภาพท่ี ๔.๙๖ ครฑุ ยดุ นาค เครือ่ งประดบั หน้าราชรถ สำ�รดิ สูง ๔๙.๕ ซ.ม. ศลิ ปะลพบุรี ๘๗

ประวัติและแบบอยา่ งศิลปะไทย อิทธพิ ลศลิ ปะสมยั ลพบุรีในปจั จบุ นั เ ปน็ การสรา้ งพระปรางคท์ ดี่ ดั แปลงจากศลิ ปะขอมและพฒั นารปู แบบจนกลายเปน็ สถาปตั ยกรรมสมยั อยุธยา และรัตนโกสนิ ทร์ มดี งั น้ี พระปรางคว์ ดั อรุณฯซึ่งรบั อทิ ธิพลจากศลิ ปะขอมมาประยกุ ตใ์ ช้ ทำ�ให้กลาย เปน็ รปู แบบเฉพาะตัว และพระปรางคว์ ัดไชยวฒั นาราม รับอทิ ธิพลมาจากศลิ ปะขอม ดดั แปลงพฒั นารูปแบบ ศิลปะสมยั อยธุ ยา ภาพที่ ๔.๙๗ พระปรางคว์ ัดไชยวัฒนาราม จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ภาพที่ ๔.๙๘ การพฒั นาลวดลายจากศลิ ปะลพบุรี สรปุ ศลิ ปะลพบุรี ศลิ ปะลพบรุ ี หมายถงึ ศิลปะท่สี รา้ งขน้ึ ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลวัฒนธรรมเขมรในประเทศไทย หลกั ฐานเกา่ แก่ ต้งั แต่สมยั ทวารวดี และแพร่หลายมากในภาคอีสาน และภาคกลาง ปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ จงึ เสื่อมลง หลงั การสวรรคต ของพระเจ้าชัยวรมนั ท่ี ๗ มหาราชองค์สดุ ทา้ ยแหง่ ราชอาณาจกั รเขมร มผี คู้ นอาศัยอยตู่ ้ังแต่ สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ ทวารวดี ลพบรุ ี ปจั จุบนั คตคิ วามเช่อื จากศาสนาพทุ ธแบบมหายาน ฮนิ ดู และพราหมณ์ สถาปัตยกรรม คติการสรา้ งศาสนสถานแบบเขมรใชแ้ ผนผังรูปส่เี หลยี่ มมคี วามเกยี่ วพันกับ คติของ จักรวาล ตามคติพุทธศาสนาและศาสนาฮนิ ดู โดยถือว่ามีเขาพระสุเมรุ เปน็ ศูนย์กลางของโลก โดยศาสนสถาน กลางเมืองนนั้ มคี วามหมายเทียบได้กับ เทววมิ านบนเขาพระสเุ มรุ สถาปตั ยกรรม ทสี่ �ำ คญั ได้แก่ ปราสาทหินพนมรุ้ง ปราสาทหินพมิ าย และปราสาทหนิ เมืองตำ่�ฯลฯ ศิลปกรรม ส่วนมากเป็นประตมิ ากรรมท่ีสร้างจากศลิ าแลง ศลิ าและส�ำ รดิ สว่ นมากใชว้ สั ดคุ งทน สมยั น้ัน การแกะสลกั หนิ และการปน้ั หล่อสำ�รดิ มีความเจริญมาก ๘๘

บทที่ ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย ประตมิ ากรรม ได้รับอทิ ธิพลมาจากอินเดีย คอื การสร้างประตมิ ากรรมเปน็ รปู เคารพทางศาสนา ได้แก่ พระพทุ ธรปู และเทวรปู สร้างข้ึน เพอ่ื ประดิษฐาน ในเทวลยั ทอ่ี งค์พระผเู้ ป็นเจา้ สร้างศาสนสถานนน้ั เคารพ นบั ถอื ลกั ษณะประติมากรรมเทวรปู มกั มีใบหนา้ ส่ีเหลีย่ ม คิว้ เกอื บเป็นเสน้ ตรง ขากรรไกรใหญ่ มักมไี รผม เปน็ เสน้ นนู อยู่เหนอื หน้าผาก เ ครือ่ งป้นั ดินเผา ไหเคลือบ เรียก ไหขอม พระพิมพ์ เรยี ก พระพิมพล์ พบุรี มจี �ำ นวนมาก ๖. ศิลปะหรภิ ญุ ไชย (พุทธศตวรรษท่ี ๑๖-๑๙) ห รภิ ญุ ไชย เปน็ ช่ือแควน้ โบราณ ตง้ั อยู่ในเขตภาคเหนือตอนบน มศี นู ย์กลางราชธานี อยทู่ ี่เมอื งหริภญุ ไชย จังหวัดลำ�พูน มีล�ำ น�ำ ้ ๒ สาย คือ ล�ำ น�้ำ ปิงทางด้านตะวันตกและลำ�นำ�ก้ ง ทศิ ทางตะวันออก มีตำ�นาน กล่าวว่า ฤๅษวี าสเุ ทพได้สร้างเมอื งข้นึ มา และไปอัญเชิญพระนางจามเทวรี าชธิดากษตั รยิ ์เมืองละโว้มาปก ครอง เมอ่ื ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ มีกษัตริย์ปกครองสืบตอ่ กนั มาจนถงึ พุทธศตวรรษท่ี ๑๙ จึงสน้ิ ราชวงศ์ มหี ลักฐานจากศิลาจารกึ ภาษามอญโบราณ เปน็ อกั ษรมอญเจ็ดหลัก กลา่ วถงึ กษัตรยิ ห์ ริภญุ ไชยที่ ครองราชย์ในชว่ งปี พ.ศ. ๑๕๒๙-๑๖๔๑ ทรงบำ�เพ็ญกศุ ลเนอื่ งในพระพทุ ธศาสนา อาณาจกั รหริภญุ ไชย (พ.ศ. ๑๒o๖-๑๘๓๕) ต�ำ นานจามเทวีโบราณได้บันทึกไว้ว่า ฤๅษีวาสเุ ทพเป็น ผูส้ ร้างเมอื งหริภุญไชยขึ้นในปี พ.ศ. ๑๒o๔ แลว้ ต่อมาได้อัญเชญิ พระนางจามเทวี ในครงั้ นัน้ พระนางจามเทวี ได้น�ำ พระสงฆ์ นักปราชญ์ และช่างศลิ ปะต่างๆ ขนึ้ ไปด้วยเป็นจำ�นวนมาก ราวหมืน่ คน พระนางไดท้ ำ�นุบ�ำ รุง และก่อสรา้ งบา้ นเมือง ทำ�ใหเ้ มอื งหรภิ ญุ ไชยนั้นเป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรมท่เี จรญิ รุง่ เรืองยิ่ง ตอ่ มาพระนาง จามเทวีได้สร้างเขลางค์นครหรือเมืองลำ�ปางขึ้นอีกเมืองหนึ่งให้เป็นเมืองสำ�คัญสมัยนั้นปรากฏการใช้ ภาษามอญในศลิ าจารกึ ของหรภิ ุญไชย การเกี่ยวข้องกบั วัฒนธรรมมอญทางตอนใตข้ องประเทศพมา่ ปรากฏ หลักฐานอยูใ่ นตำ�นานซง่ึ ระบุวา่ ชาวเมอื งหรภิ ุญไชยเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชดิ กับชาวมอญหงสาวดีหรือพะโคเกดิ จากชาวเมอื งหรภิ ุญไชยอพยพหนีโรคระบาด ไปอย่ทู ีเ่ มอื งสธุ รรมวดี (สะเทมิ ) ช่วงนัน้ เมืองสะเทมิ ตกอยูใ่ ต้ อำ�นาจของพระเจา้ อนิรุทธแห่งเมอื งพกุ ามคงมีปัญหาจงึ ยา้ ยไปอาศัยเมืองหงสาวดีราว๖ปกี อ่ นกลบั บ้านเกิด ตามหลักฐานถือวา่ มกี ารรกั ใครก่ ลมเกลยี วกนั ดี เพราะการสื่อสารเป็นภาษาเดียวกัน ศลิ ปวัฒนธรรมถือวา่ เจรญิ รงุ่ เรอื งทสี่ ดุ ในชว่ งอพยพปีพ.ศ.๑๖oo จ นถงึ การสญู เสยี อำ�นาจปกครองตนเองแกเ่ จา้ มงั รายปฐมกษตั รยิ ์ แห่งแควน้ ล้านนา (พริ ยิ ะ ไกรฤกษ์,๒๕๒๒: ๙๓-๙๔) ห ลักฐานดา้ นศลิ ปกรรมในสมยั เมอื งหริภุญไชย ถงึ แมจ้ ะมีไม่มากนกั แต่กม็ คี วามหมายอันแสดงวา่ ศลิ ปกรรมทีม่ ีแบบอยา่ งเปน็ ของตนเอง และมคี วามเกีย่ วข้องกับยุคอ่นื ๆ ของภาคกลาง ภาคอีสาน และเมือง มอญหรอื เมอื งพกุ ามท่อี ยู่ทางทิศตะวันตกด้วย ประตมิ ากรรมสมยั หรภิ ญุ ไชย มที ้ังงานแกะสลักหนิ ทราย ท้งั งานปั้นปนู ทีม่ ีแกนด้วยศลิ าแลงและ งานดนิ เผาหลอ่ สำ�หรบั งานดนิ เผามีกรรมวธิ หี ล่อจากแมพ่ ิมพ์ ๒ ช้ินประกบกนั ซ่งึ เปน็ กรรมวิธเี ฉพาะและมี ลักษณะเฉพาะทางศิลปกรรม ส่วนพระพุทธรูปหลอ่ ส�ำ รดิ เหลือตัวอย่างอย่นู ้อยมากมีคติความเชอ่ื ในศาสนา พุทธที่นับถอื ลทั ธิพุทธเถรวาทอย่ใู นช่วงศตวรรษท่ี ๑๓-๑๙ รูปแบบประติมากรรมส่วนใหญเ่ ปน็ พระพุทธรูป แบง่ ได้เป็น ๓ หมวด ดังน ี้ ๘๙

ประวัตแิ ละแบบอย่างศิลปะไทย หมวดท่ี ๑ เศียรพระพทุ ธรปู ขนาดใหญ่ทำ�ดว้ ยศิลาแลงห้มุ ด้วยปูนหยาบๆ พระพักตรค์ ่อนขา้ งหยาบ และคอ่ นข้างกลม พระนลาฏโหนกกวา้ ง พระนาสกิ แบนปลายใหญ่ พระขนงเป็นรปู ปีกกานนู เชอ่ื มตอ่ กัน พระเนตรโปนและเหลือบตาต่ำ�ลง พระโอษฐ์ใหญห่ นาอิ่ม มไี รพระมสั สุ เม็ดพระศกค่อนข้างใหญแ่ ละมขี อบ พระเกศา สีหน้าดถู มงึ ทึงดุรา้ ย มีววิ ัฒนาการสืบเนอ่ื งมาจากพระพุทธรปู ท่ีได้รับอทิ ธิพลศิลปะทวารวดที าง ภาคกลาง ภาพท่ี ๔.๙๙ จระน�ำ ซุ้มรตั นเจดีย์ วดั ก่กู ุด วดั จามเทวี จังหวัดล�ำ พนู ศลิ ปะหริภญุ ไชย พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗ พระพทุ ธรปู ยนื ในเจดยี ว์ ดั กกู่ ดุ ครองจวี รหม่ คลมุ พระกรซา้ ยทอดลงขา้ งพระวรกายและพระกรขวายก ขึ้นชิดพระอุระ โดยฝา่ พระหตั ถย์ น่ื ออกมาจากพระวรกาย เรยี กว่า “ปางประทานอภยั ”(ชำ�รุดหกั หาย) พระ วรกายเปน็ ปูนปั้น พระเศียรทำ�ดว้ ยดนิ เผาหลอ่ จากแม่พมิ พ์ ประดษิ ฐานภายในจระน�ำ ซุ้มรัตนเจดีย์ มีการลง รกั ปิดทอง และทาสีแดงสว่ นทเ่ี ป็นจวี ร ขอบจวี รห้อยลงตรงส่วนขอ้ พระบาทอย่างเปน็ ระเบยี บตามทปี่ รากฏ ของพระพุทธรูปสมัยทวารวดี เศยี รและผิวเนอื้ ส่วนอนื่ ของพระวรกายยงั หลงเหลอื ร่องรอยของยางสีด�ำ ซึง่ ทา ไว้ส�ำ หรบั ปดิ แผ่นทองค�ำ เปลว (ภาพที่ ๔.๙๙) ภาพท่ี ๔.๑๐o เศียรพระพุทธรูป ศลิ าสงู ประมาณ ๓o ซม. ศลิ ปะทวารวดี พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓-๒๕ พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาตหิ รภิ ญุ ไชย จงั หวัดลำ�พนู เศียรพระพุทธรูปนี้ เมด็ พระศกค่อนข้างใหญ่ พระนลาฏกวา้ งเล็กน้อย สมั พนั ธ์กับพระขนงซ่งึ ตอ่ กันคลา้ ยรูปปีกกา พระพักตร์ค่อนขา้ งกลม พระนาสกิ คอ่ นขา้ งใหญ่ พระเนตรหร่ีลงต�่ำ รมิ พระโอษฐอ์ ม่ิ คือ ลกั ษณะท่เี กยี่ วข้องกบั พระพุทธรูปแบบทวารวดที างภาคกลาง (สันติ เลก็ สขุ ุม,๒๕๕๔: ๘๔) (ภาพท่ี ๔.๑๐o) ๙๐

บทท่ี ๔ : ศลิ ปะในประเทศไทย ห มวดท่ี ๒ พระพทุ ธรูปในหมวดนี้มกั ท�ำ ด้วยดินเผาจากแม่พมิ พ์ สว่ นใหญใ่ ช้ประดบั ซุ้มเจดยี ์ พระ พักตรค์ ่อนข้างเหลย่ี ม ใบหนา้ กวา้ ง คอื ส่วนทค่ี งคล้ายคลงึ กบั พระพกั ตร์ของพระพุทธรูป มขี อบพระเกศา เม็ดพระศกเป็นขมวดแหลม รูปพระเศียรแบนและบานออก พระนลาฏกว้าง พระขนงเป็นรูปปกี กาตอ่ กนั พระนาสิกแบนใหญ่ พระโอษฐ์หนา พระมสั สุเปน็ เส้นอยเู่ หนือขอบพระโอษฐบ์ น แต่ความที่เปน็ รปู พระภิกษุ หรอื พระอรหนั ตก์ ต็ าม ตาจึงมกั เบิกโต แต่กต็ า่ งจากพระเนตรทหี่ รีล่ งตำ่�ของพระพทุ ธรูป อนึ่งศรี ษะท่ไี ม่มี อุษณีษะแตกต่างจากพระเศยี รของพระพทุ ธรปู ท่ีมเี สมอมา ท่าพนมมือมีอยเู่ ฉพาะรปู พระภกิ ษหุ รอื รูปเทวดา (สนั ติ เลก็ สขุ มุ ,๒๕๕๔: ๘๖) ภาพที่ ๔.๑๐๑ พระสงฆส์ าวก ดนิ เผา หลอ่ จากแมพ่ มิ พส์ งู ๕o ซม. ศิลปะหรภิ ญุ ไชย พบทพ่ี ระธาตุเชียงใหม่ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ เชยี งใหม่ พระสงฆส์ าวกเปน็ ประตมิ ากรรมรปู พระสาวกรปู เทวดานอกจากจะเปน็ พระพทุ ธรปู แลว้ ประตมิ ากรรม ดินเผาช่วงปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ ถือวา่ เป็นองคท์ ่งี ดงามและมีช่ือเสยี งอยู่ในท่าน่ังขัดสมาธิเพชร มือพนม อยู่ระหวา่ งอก ครองจีวรห่มคลุม อทิ ธิพลศลิ ปะพุกามและขอม (ภาพที่ ๔.๑๐๑) หมวดที่ ๓ เปน็ เศียรพระพุทธรปู ดินเผาทำ�จากแมพ่ มิ พ์ซึ่งมกั จะมสี ีนวลเทา พระเศยี รในหมวดนี้มพี ระ พักตรส์ ้นั พระศกเป็นเมด็ เลก็ ๆ พระขนงเป็นรปู ปีกกาต่อกัน พระเนตรเหลอื บต่�ำ ลง พระนาสกิ เลก็ พระโอษฐ์ บางไม่มีไรพระมสั สุสว่ นประกอบของใบหน้าไม่เทอะทะ ท�ำ ใหพ้ ระพกั ตร์ดูบางและสีพระพกั ตรด์ ูอ่อนน่มุ พระ เกตุมาลา เป็นกรวยแหลมเรยี บๆ ถือว่าเป็นยคุ ทศี่ ลิ ปะหริภญุ ไชยมีลักษณะเฉพาะตวั เดน่ ชดั (ภาพที่ ๔.๑๐๒) ภาพท่ี ๔.๑๐๒ เศียรพระพุทธรูปปูนปนั้ ศิลปะหรภิ ญุ ไชย ๙๑

ประวตั แิ ละแบบอย่างศิลปะไทย เ ศียรพระพุทธรูปดินเผาที่หล่อจากแม่พิมพ์แสดงถึงกรรมวิธีท่ีก้าวหน้าได้พบมากกว่างานปูนปั้น เทคนคิ ดนิ เผาไดร้ บั ความนยิ มในชว่ งระยะเวลานานระหวา่ งครง่ึ หลงั พทุ ธศตวรรษที่ ๑ ๗ ถ งึ กลางพทุ ธศตวรรษ ที่ ๑๘ ถอื ว่าเป็นระยะทศี่ ลิ ปะหรภิ ญุ ไชยเจรญิ ร่งุ เรอื งสูงสุดและมคี วามงดงาม มรี ูปลกั ษณ์อนั สมบูรณ์ สะทอ้ น สนุ ทรียภาพเฉพาะตัวทีแ่ ตกต่างจากศลิ ปะอนื่ ๆ ภาพท่ี ๔.๑๐๓ พระพุทธรูปส�ำ รดิ นนู สงู เศียรและองค์ รวมสงู ประมาณ ๙๕ ซม. ศิลปะหรภิ ุญไชย พทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ จากวดั พระธาตหุ ริภญุ ไชย อำ�เภอเมอื งล�ำ พนู พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตหิ รภิ ญุ ไชย จังหวดั ลำ�พนู พระพุทธรปู ส�ำ ริด มีลักษณะใกล้เคียงกับพระพทุ ธรูปดนิ เผาเป็นท่ีนยิ มในชว่ งน้ัน คณุ ภาพฝมี อื การ ปน้ั หลอ่ อยใู่ นระดบั สงู ท�ำ ใหช้ า่ งหรภิ ญุ ไชยสรา้ งพระพทุ ธรปู สำ�รดิ กนั มากพระพกั ตรแ์ ละเครอื่ งแตง่ พระพกั ตร์ จดั วา่ อย่ใู นกลุม่ เดียวกันกบั เศียรพระพุทธรปู จากจรนำ�ของเจดยี ์แปดเหล่ียม การท่ีเศยี รและองค์พระพทุ ธรูป สรา้ งใหม่ ประเภทนูนสงู จงึ ตอ้ งมีแผ่นรองรับผนงั จรน�ำ ของเจดีย์ (สนั ติ เล็กสขุ ุม,๒๕๕๔: ๘๖) (ภาพที่ ๔.๑๐๓) สถาปัตยกรรมสมัยหริภุญไชย ได้รบั อิทธิพลจากศลิ ปะลพบรุ หี รือกัมโพช และจากพุกาม ผสมผสาน กบั โบราณสถานและศลิ ปวตั ถุซงึ่ มแี บบอยา่ งทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ของมนษุ ยใ์ นยคุ นท้ี ส่ี รา้ งขน้ึ ตามคตพิ ระ พุทธศาสนาแบง่ ออกเป็น ๔ แบบ คือ ๑ . เจดยี ์ก่กู ุด (วดั จามเทว)ี เป็นเจดยี ส์ ่ีเหลี่ยม เจดยี ์กู่กุด ทวี่ ัดจามเทวี และสุวรรณเจดีย์ท่ีวัดพระ ธาตุหริภญุ ไชย เปน็ เจดีย์ทรงปราสาท มีแผนผงั เปน็ รูปสี่เหลย่ี มจตั รุ สั ซอ้ นลดหลั่นกัน ๕ ชัน้ แตล่ ะชนั้ มีซุ้ม ดา้ นละ ๓ ซุ้มทัง้ ๔ ด้านรวมเปน็ ๖o ซุม้ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปยืน ทุกมุมของทุกชน้ั ประดบั ดว้ ย เจดีย์ขนาดเล็ก ซ่งึ รปู แบบของเจดยี ์กู่กดุ ในปจั จุบนั ยอดชำ�รดุ หักหายไปแล้ว แต่ยังทำ�หนา้ ที่เชอื่ มโยงระหวา่ ง ชน้ั ใหเ้ กดิ เส้นรอบนอกทน่ี ุม่ นวล นอกจากยอดทีห่ กั ช�ำ รดุ ของทรงเจดยี ป์ ระจ�ำ มมุ ที่กล่าวมาแล้ว ยอดประธาน ของเจดีย์ก่กู ดุ ซงึ่ ปลายหักหายคงเปน็ ปลีในทรงกรวยเหลี่ยม สว่ นท่เี หลอื จากหักหายคอื ช้ันลวดบัวซอ้ นผาย ลงตามล�ำ ดบั ในทรงกรอบเหลย่ี ม และสน้ิ สุดช้นั ท่ีแถวกลีบบวั ซอ้ นซึง่ หุ้มด้วยจงั โก้ เพ่อื ปดิ ทองคำ�เปลว (สันติ เล็กสขุ มุ ,๒๕๕๔:๘๘) ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ซ่ึงศาสตราจารย์เซเดส์และสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำ รงราชานภุ าพ พบศลิ าจารกึ อยู่ในดนิ ตรงเชงิ พระธาตเุ จดยี ์กู่กดุ ศลิ าจารึกหลักน้กี ล่าวถงึ การ ปฏิสงั ขรณเ์ จดยี ก์ กู่ ุด ซึง่ ไดห้ กั พังเนอ่ื งจากแผน่ ดินไหวคร้งั ใหญ่ เจดียแ์ บบนถี้ ือวา่ เป็นแบบทเี่ ดน่ ทีส่ ุดในศลิ ปะ หรภิ ญุ ไชย และเป็นท่แี พร่หลายกว่าแบบอ่ืนๆ และมกี ารสร้างในสมยั ตอ่ มา พบในศลิ ปะสมยั ลา้ นนาและท่ี สโุ ขทยั ดว้ ย (ภาพท่ี ๔.๑๑๔) ส่วนลายปนู ปน้ั ตามซ้มุ พระพทุ ธรปู มีลกั ษณะคลา้ ยกับ “สัตตมหาปราสาท” ที่ เมอื งโปลนนารวุ ะในลงั กา ซงึ่ มี ๗ ช้นั ลดหลัน่ กนั ซมุ้ พระพทุ ธรูปมี ๔ ซุม้ พงั ท้งั ๔ ทิศ สว่ นยอดเปน็ บัวกลุ่ม ตอนบนหักหายไปหมด ๙๒

บทที่ ๔ : ศิลปะในประเทศไทย ภาพที่ ๔.๑๐๔ เจดีย์ก่กู ดุ วดั จามเทวี จงั หวดั ลำ�พนู ศลิ ปะหริภญุ ไชย พุทธศตวรรษท่ี ๑๗ ๒. รตั นเจดยี ์ (เจดยี ์แปดเหล่ียม) เป็นเจดีย์ทรงปราสาทมีขนาดเล็กฝังอยใู่ นรูปแปดเหลี่ยมกอ่ ดว้ ยอิฐ มีฐานแปดเหล่ียมรองรบั เรอื นฐานแปดเหลย่ี ม เรือนธาตแุ ต่ละด้านมีซมุ้ จรนำ� ซ่ึงภายในประดิษฐาน พระพุทธรปู ยืน รูปแบบซุ้มแบบจรนำ� กรอบซ้มุ ประกอบจากส่วนโค้ง ๓ วง ซ่ึงมีช่อื เรียกซุ้มในลักษณะนวี้ ่า ซุม้ เล็ก เหนอื เรอื นธาตจุ ะมชี ้ันซ้อน ๓ ชนั้ แต่ละช้นั ค่ันดว้ ยหลงั คาเลก็ ๆ ๗ ชั้น บนสดุ ประดิษฐานพระพทุ ธรูป ประทบั นง่ั ในจระน�ำ แตล่ ะดา้ นส่วนบนเปน็ องคร์ ะฆังกลมสว่ นยอดทรงกรวยหกั หายไปเปน็ เจดยี ท์ ่ีรบั อิทธพิ ล ของศิลปะปาละ ซ่งึ รบั ตอ่ จากเมอื งลพบุรี มีลักษณะคล้ายเจดียว์ ัดเสาธงทอง จงั หวดั ลพบุรี (ภาพท่ี ๔.๑๐๕) ภาพที่ ๔.๑๐๕ รัตนเจดยี ์ วดั จามเทวี กอ่ ด้วยอิฐ จงั หวดั ลำ�พูน ศิลปะหรภิ ญุ ไชย พุทธศตวรรษที่ ๑๗ ๓. เจดีย์เชยี งยนื (วดั พระธาตุหริภุญไชย) เปน็ เจดยี ์ห้ายอด เปน็ เจดยี ์ที่กอ่ ดว้ ยอฐิ มีฐานบัวลูก แกว้ สองชน้ั รองรบั เรือนธาตุสเ่ี หล่ยี มยอ่ มมุ ซ่ึงมีการประดับลวดลายบวั ทค่ี ล่ีคลายมาจากลวดลายบนเสาตดิ ผนงั ในสถาปัตยกรรมพม่า พุกาม เรือนธาตมุ ีซมุ้ จรนำ�ท้ัง ๔ ดา้ น แต่ละมุมจะอยู่เหนอื เรอื นธาตปุ ระดับด้วย เจดียข์ นาดเล็ก ถดั ขน้ึ ไปเปน็ องค์ระฆงั กลม มลี ายรัดดอกประดับตั้งอยู่บนฐานแปดเหลีย่ มคน่ั ดว้ ยบวั ท่เี ป็นก ลุ่ม เป็นเจดีย์ทรงมณฑป เรอื นธาตเุ ปน็ เจดียแ์ บบห้ายอด เปน็ แบบระฆังทรงกลม ให้อทิ ธิพลแกพ่ ระเจดยี เ์ จด็ แถว เมืองศรีสัชนาลยั เจดียว์ ัดปา่ สัก เมืองเชียงแสน และเจดียว์ ดั มหาธาตุ เมืองสโุ ขทยั ซ่ึงเปน็ เจดีย์หา้ ยอด ท้ังส้ิน (ภาพที่ ๔.๑๐๖) ๙๓

ประวตั แิ ละแบบอยา่ งศิลปะไทย ภาพที่ ๔.๑๐๖ เจดยี ์เชยี งยืน วัดพระธาตหุ รภิ ญุ ไชย จงั หวดั ล�ำ พูน ๔. สุวรรณเจดยี ์ (วัดพระธาตหุ ริภญุ ไชย) เป็นเจดียส์ ี่เหล่ยี ม แบบเดยี วกนั กบั เจดีย์วดั กกุ ดุ แต่ มขี นาดเลก็ กวา่ ก่อดว้ ยอิฐหน้าเรยี บ ตามประวัติ กลา่ วว่า มีการสรา้ งโดยพระนางปทุมวดีเทวี อคั รมเหสี ของพระเจ้าอาทิตยราช สว่ นยอดเจดยี ค์ งเหลอื รปู ทรงทค่ี รบสมบรู ณ์ เปน็ ทรงกรวยส่เี หล่ียม มกี ลบี บวั หงาย รองรบั เป็นจงั หวะเชน่ เดียวกนั กบั ทเี่ จดยี ว์ ดั กุกุด แตส่ ุวรรณเจดียเ์ หลอื เพยี งสว่ นต่อขึ้นไปจึงถงึ ปลายเจดีย์ คือ ปลนี ่ันเอง (ภาพท่ี ๔.๑๐๗) ภาพท่ี ๔.๑๐๗ สุวรรณเจดยี ์ วดั พระธาตหุ ริภญุ ไชย จงั หวัดล�ำ พนู พระพมิ พ์ การสร้างพระพิมพ์มีข้นึ ในประเทศอนิ เดยี คงเกดิ จากผคู้ นทไี่ ปนมสั การพระบรโิ ภคเจดยี ์ ตอ้ งการไดเ้ ปน็ ของทร่ี ะลกึ การสรา้ งพระพทุ ธรปู แปดปางเปน็ พระพมิ พข์ น้ึ จากความตอ้ งการกลายเปน็ ประเพณี การสร้างพระพิมพ์ เพอื่ สืบทอดอายขุ องพระพทุ ธศาสนาให้คงอยูต่ ลอดไป ปัจจุบันการสะสมพระพมิ พ์เปน็ วตั ถมุ งคลมีอย่หู ลายแบบ ท�ำ ดว้ ยดนิ เผา ฝีมอื ของชา่ งประณีตมีขนาดเลก็ สะทอ้ นแบบทน่ี ยิ มกนั ในศิลปะขอม และทเ่ี กีย่ วข้องกบั ศิลปะทวารวดแี ละศลิ ปะขอม พ ระพิมพ์เป็นแบบหนงึ่ ของศิลปะหริภุญไชยเปน็ รปู ทรงสาม ๙๔

บทที่ ๔ : ศิลปะในประเทศไทย เหล่ียมทรงสูง แสดงภาพพระพุทธเจา้ ปางมารวิชัย ประทับนง่ั บนบัลลงั ค์ ด้านขา้ งทั้งสองของพระองค์ มสี าวก พนมมือด้านละหนง่ึ องค์ถดั ออกไปมีภาพบคุ คลยนื พนมมือเหนอื ขึน้ ไปมีภาพพระพุทธเจ้าประทบั นง่ั ขัดสมาธิ เคยี งขา้ งดว้ ยพระพทุ ธรปู ยืน เบื้องหลงั เป็นรปู ปราสาทท่แี สดงชน้ั ซ้อนลดหลัน่ กนั มมุ ของแต่ละชั้นมสี ถปู ิกะ เปน็ ประจ�ำ สว่ นยอดของปราสาทมลี กั ษณะคลา้ ยทางศขิ รมกี ง่ิ ใบโพธเิ์ ปน็ ฉากหลงั ซงึ่ มอี ยเู่ ปน็ ประจ�ำ ในพระพมิ พ์ ทเ่ี มอื งพกุ าม พ ระพมิ พท์ �ำ ขน้ึ ในระยะเวลาเดยี วกนั กบั เศยี รพระพทุ ธรปู มกั ท�ำ เปน็ พระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งเหนอื สงิ หอาสนะ มีพระพทุ ธรูปอกี ๒ องค์ น่งั เคียงข้าง เบ้ืองหลงั เปน็ ซุ้ม เหนือซุ้มเป็นอาคารทรงปราสาทซ้อนกัน เป็นช้ันๆ (ภาพท่ี ๔.๑๐๘) ภาพที่ ๔.๑๐๘ พระพิมพ์ดินเผา ภาพที่ ๔.๑๐๙ พระพิมพด์ นิ เผา พบท่ีวดั ปันเจิงรา้ ง พ ระพมิ พใ์ นศลิ ปะหรภิ ญุ ไชยมีหลายแบบ ส่วนทีท่ �ำ ดว้ ยดนิ เผาจะมคี วามประณีต ถึงแมจ้ ะมขี นาดเล็ก โดยรวมทคี่ น้ พบมที ง้ั อายเุ กา่ กวา่ และรว่ มสมยั กบั หรภิ ญุ ไชยซง่ึ พบในประเทศไทยมากกวา่ กมั พชู าเชน่ พระพมิ พ์ แบบทวารวดี แบบสมยั ลพบุรี และแบบพุกาม เครอ่ื งปนั้ ดนิ เผาแยกตามการใชง้ านไดเ้ ปน็ ๒ประเภทคอื ภาชนะประเภทใสส่ ง่ิ ของทว่ั ไปและประเภท บรรจุกระดูกผ้ตู าย ภาชนะเหลา่ น้ีมีทง้ั แบบปากกว้าง และแบบปากแบน มกั มรี อยขูดขีดเป็นลวดลายประดับ ผวิ ของเครอื่ งป้นั ดินเผา เครอ่ื งปนั้ ดินเผาแบง่ ออกเป็น ๒ รปู แบบ คอื ๙๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook