การวิเคราะห์ทัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ผลงานภาพพมิ พใ์ นรูปแบบศลิ ปะเหมือนจริง มกี ารแสดงออกในรปู แบบเหมือนจรงิ มลี กั ษณะคล้ายกันกบั ผลงานจติ รกรรมแตกตา่ งกันในส่วนกลวธิ ีในการสร้างสรรคผ์ ลงาน (ภาพท่ี 6.8) ภาพท่ี 6.8 ปอลไลอูโอไล ค.ศ. 1465-1470 “การส้รู บของผชู้ ายเปลือย” ภาพพมิ พ์ 2.รปู แบบศลิ ปะกึ่งนามธรรม (Semi - Abstract Art) รปู แบบศลิ ปะกงึ่ นามธรรมจะอยรู่ ะหวา่ งกลางเสน้ ทางรปู แบบศลิ ปะธรรมและรปู แบบศลิ ปะนามธรรมถอื วา่ อยเู่ ส้นทางเดียวกนั ศิลปินส่วนมากจะเดนิ ทางในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เพอื่ หาความเหมาะสมกับการ แสดงออกทเี่ หมาะสมและลงตัวให้กับตัวเองไม่ใช่ เปน็ การสร้างสรรคต์ ามยคุ สมยั แตเ่ พอื่ ความเหมาะสมและจำ�เปน็ ของตนเอง ซงึ่ ศลิ ปินสว่ นใหญจ่ ะมีวธิ กี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานจากรูปแบบศลิ ปะเหมอื นจริงเปน็ การสงั เกต บนั ทกึ ซ่ึง หลงใหล ความเหมอื นจริง ความเป็นจริง ในบรรยากาศสัดส่วน มุมมอง สี แสง ทเี่ กิดขึ้นจรงิ ตามการรบั รูท้ างการเห็น เหมอื นการถา่ ยภาพ แล้วมกี ารพัฒนาสสี นั เทคนิค อารมณ์ความรสู้ ึกภายในส่วนตัวโดยเน้นสาระส�ำ คญั เอาแก่นสาร ในธรรมชาติ ลดตัดทอน เพิ่มเติมธรรมชาติ เกดิ เน้ือหาแนวคดิ ใหม่ตามทีศ่ ลิ ปนิ ตอ้ งการและเกดิ ผลงานลทั ธอิ ิมเพรส ชั่นนสิ ม์ (Impressionism) นโี ออิมเพรสช่นั นสิ ม์ (Neo Impressionism) โฟวสิ ม์ (Fauvism) คิวบสิ ม์ (Cubism) เซอเรียลลิสม์ (Surrealism) เป็นตน้ บางกลมุ่ จะพฒั นาผลงานไปถึงรปู แบบศลิ ปะนามธรรม (Abstract Art) เปน็ การสร้างสรรค์โครงสรา้ งของรปู ทรงให้ประสานกนั สมั พันธส์ อดคล้องกบั เร่อื ง เนือ้ หา และตามความร้สู กึ ภายใน ของศิลปนิ ให้แสดงออกเฉพาะเส้นสี รปู ทรง อารมณค์ วามรูส้ กึ ภายในทตี่ อ้ งการถา่ ยทอดออกมาตามเจตนาให้คนดู รับรู้ไดส้ มั ผสั กับปรากฎการณ์ทเ่ี กิดข้ึนในผลงานการสร้างสรรค์ของแตล่ ะบคุ คล การพัฒนาการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมจะเกิดข้ึนจากการอ่ิมตัวของศิลปินในการนำ�เสนอผลงานรูป แบบเหมือนจรงิ อาจจะไดร้ ับความนิยมในช่วงสมัยแรกของการสรา้ งสรรค์ แตเ่ มอ่ื มคี วามเจริญทางดา้ นเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ การเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นศลิ ปะและอิทธพิ ลจากศิลปกรรมตะวนั ตก ท�ำ ให้ศิลปินต้องมกี ารพฒั นาผล งานของตวั เองดว้ ยการลดตดั ทอนเพมิ่ เตมิ เทคนคิ แนวคดิ วธิ กี ารใหม้ คี วามแปลกใหม้ กี ารเปดิ กวา้ งใหก้ บั ตนเองและ วงการศลิ ปะและการแกป้ ญั หาในการพฒั นาผลงานของตนเองโดยจะแสดงออกตามความถนดั ทกั ษะความชอบ ของ แตล่ ะบคุ คลวา่ จะพฒั นาถงึ ระดบั ไหนในเสน้ ทางการพฒั นาศลิ ปะในรปู แบบตา่ งๆโดยใหม้ คี วามแปลกใหม่นอกเหนอื จากความเป็นจริงตามธรรมชาติ ศลิ ปินบางคนเขยี นทวิ ทศั น์จากธรรมชาติ ความจริงในผลงานไมใ่ ชต่ น้ ไม้ แต่ศลิ ปิน ใสจ่ นิ ตนาการส่วนตัวเขา้ ไปในผลงาน อาจจะเหน็ ทิวทัศนท์ ่ีมบี รรยากาศเคลอื่ นไหว หรอื สงบน่งิ มดื หรือสว่าง ความ ยง่ิ ใหญ่ ความอดุ มสมบูรณ์ ความรม่ เยน็ ในทวิ ทัศนจ์ ากความรู้สึกเหล่านท้ี ่ีเกิดขน้ึ ในผลงานทัศนศิลป์เปน็ การแสดง ออกจากจนิ ตนาการของศลิ ปินถอื วา่ เปน็ เนื้อหาในงานทศั นศลิ ป์โดยผา่ นเทคนิคกลวิธที ่ีแตกต่างกนั ไป 96
บทที่ 6 : รปู แบบในงานทศั นศลิ ป์ การพัฒนาผลงานในรูปแบบก่งึ นามธรรมตอ้ งอาศัยการลดตัดทอนรูปทรง สี บรรยากาศ ท่ีเกิดข้ึนจริง ตาม ธรรมชาติ ซงึ่ เป็นการแก้ไข ความจำ�เจนา่ เบื่อของภาพผลงาน ท�ำ ใหบ้ รรยากาศ รปู ทรง สี แบบใหม่ตามการแสดง ออกของศลิ ปินอาจจะทำ�ให้รูปทรงบิดเบีย้ ว ยดื หด เปลี่ยนมุม เพิ่มขนาดลดสัดสว่ นท�ำ ให้เกิดการสร้างสรรค์ขน้ึ ใหม่ ในผลงานจติ รกรรมซง่ึ สง่ิ ตา่ งๆเหลา่ นขี้ น้ึ อยกู่ บั ศลิ ปนิ ทจ่ี ะเลอื กในการพฒั นาทแ่ี ตกตา่ งไมเ่ หมอื นใครจะท�ำ ใหผ้ ลงาน มีความพเิ ศษ เปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะตนในการท่ีจะแสดงออกเฉพาะสว่ นบคุ คล ผลงานจติ รกรรม ในรปู แบบศิลปะก่งึ นามธรรม การพัฒนาและสร้างสรรคผ์ ลงานรปู แบบศลิ ปะกึง่ นามธรรมเป็นจิตรกรรมแบบอิมเพรสชน่ั นสิ ม์ คือ ศิลปนิ จะออกไปวาดภาพสถานทีจ่ รงิ ตามทต่ี อ้ งการ และพยายามแสดงออกในการใชแ้ สง สี บรรยากาศท่ีเกิดขน้ึ ในชว่ ง เวลานั้นๆ ให้ใกลเ้ คยี งกันในช่วงเวลา เพราะจะมีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา และจะถ่ายทอดเทคนิควธิ ีการระบาย สีแบบฉบั พลัน ปลอ่ ยให้เหน็ รอ่ งรอยทแี ปรงไวบ้ นเฟรมผา้ ใบ ผลงานจะดคู ลา้ ยไม่เสร็จ เนื่องจากจะต้องจบั แสงสีใน บรรยากาศนน้ั ไวโ้ ดยยึดหลกั การใชส้ ีตามทฤษฎีสี เคารพสที ปี่ รากฏตอ่ หน้า ขจัดความฝนั จนิ ตนาการ หรืออารมณ์ ส่วนตัวออกไปถือธรรมชาติเป็นสิง่ ส�ำ คญั เรอ่ื งราวไมไ่ ด้เปน็ จุดส�ำ คญั ศลิ ปินจะถา่ ยทอดเนือ้ หาอะไรตามความชอบ ของแต่ละคน สรา้ งมติ ิของอากาศให้เกิดขึน้ ในภาพผลงาน เนน้ รูปทรงทเ่ี กดิ ขึน้ ดว้ ยสี แสง เงา รวมทั้งแสงทส่ี ะทอ้ น และเงาตกทอด และไมเ่ น้นรายละเอยี ดของภาพ เนน้ ความประทับใจ ปิแอร์ ออกุสต์ เรอนัวร์ เป็นศลิ ปนิ ทพี่ ัฒนาผลงานจติ รกรรมแบบกึ่งนามธรรม ทแ่ี สดงออกถงึ การพักผอ่ น สนกุ สนานเพื่อพลานามัยไดอ้ ยา่ งถงึ แกน่ แท้ ถา่ ยทอดภาพผ้คู นดมู ีอารมณร์ ื่นเริงคร้นื เครง สนุกสนาน เป็นมิตรตอ่ กัน และถา่ ยทอดบรรยากาศของช่วงเวลาหนึ่ง ซง่ึ เกิดขนึ้ จรงิ โดยการถ่ายทอดการใชส้ ีที่บริสุทธิ์สะอาด และสอดใส่ อารมณท์ ่ีสนุกสนานของศิลปินเขา้ ไปด้วย ลักษณะเด่นอีกอย่างหนึง่ คอื การมองทศั นยี ภาพแบบบดิ เบยี้ วจากบนลง สเู่ บ้อื งลา่ ง และบรรยากาศในภาพดูยุ่งเหยงิ ระเกะระกะของโต๊ะอาหารกริ ิยาท่าทางของผคู้ นดูเปน็ ธรรมชาติ แสดง พฤตกิ รรม ของมนุษย์ดว้ ยพู่กนั ที่อสิ ระ สีทึม มีความกลมนนู ชดั เจน ผลงานมีความละเอียดออ่ น คลุมบรรยากาศ ของสตี ามหลักทฤษฏีสไี ด้ดี จำ�กัดในทีแปรงมแี สงดยู ุ่งเหยงิ เปน็ การประสานสมั พนั ธก์ นั ดว้ ยรปู ทรง แสง สี องค์ ประกอบ สสี ะอาด บริสทุ ธ์ิ ดสู นกุ สนาน เป็นงานคลาสสิค ซง่ึ ดา้ นหลงั สุดของภาพ มีบรรยากาศดนู มุ่ นวลละเอียด อ่อน (ภาพที่ 6.9) ภาพท่ี 6.9 ปแิ อร์ ออกสุ ต์ เรอนัวร์ (Pierre Auguste Renoir) ค.ศ. 1841-1919 “การเล้ียงอาหารกลางวนั บนเรือ” (Luncheon of the Boating Party) สีนำ�้มนั บนผ้าใบ 97
การวิเคราะห์ทัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 6.10 โคลด์ โมเนต์ (Cloude Monet) ค.ศ. 1871 “สะพานรถไฟทอ่ี าร์จองเตย” (Railway Bridge at Argenteuil) สีน�ำ ม้ ันบนผ้าใบ โ คลด์ โมเนต์ มวี ธิ กี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมโดยจะไปเฝา้ ดศู กึ ษาแสง สังเกตดูการแปรผันของแสงที่ มีตอ่ อารมณก์ ารรบั รู้ สง่ ผลต่อบรรยากาศในผลงาน ซ่งึ จะตอ้ งไปรับร้ภู าพจากสถานที่จรงิ ให้ความสนใจในเร่อื งแสง สี เทคนคิ การใช้สีท่มี ีความสวา่ งดงั แสงอาทิตย์ ซง่ึ ไมไ่ ดม้ าจากการผสมสแี บบสำ�เรจ็ รูปในจานสหี รือคอ่ ยๆ เกล่ียเข้า ดว้ ยกัน หากแต่พจิ ารณาถึงรอยแตม้ ของสที ี่บรสิ ุทธิ์ ใหค้ วามสำ�คญั ของคู่สีปฏปิ ักษ์ ใหค้ วามส�ำ คญั ของสีกวา่ รปู ทรง คล้ายกับว่าแสงสีไดห้ อ่ หมุ้ กอ่ สรา้ งรปู วตั ถุมากกวา่ จะเปน็ รปู ทรงของวตั ถุ ซึง่ มองดูระยะใกลจ้ ะเหน็ รอยแต้มระยิบ ระยับ เป็นรอยทแี ปรงป้ายอยา่ งสนกุ สนาน พอถอยห่างจากภาพจะเห็นการผสมผสานกันของรอยทแี ปรงและสี อยา่ งกลมกลนื กัน ซึ่งเป็นความต้องการใหเ้ กิดการผสมผสานของสดี ้วยตาของผชู้ ม ผสมกนั เองในผนื ผ้าใบ โดยเนน้ การแสดงออกของสีและแสง โดยภาพเร่อื งราวเดยี วกนั แตม่ ีบรรยากาศตา่ งกัน ซึ่งเปน็ ศลิ ปนิ ที่สรา้ งสรรคผ์ ลงาน ลกั ษณะน้ีไดด้ ี แสดงการแปรผันของอารมณ์ของแสงสใี นเวลาตา่ งกนั และฤดกู าลตา่ งกัน(ภาพท่ี 6.10) ก ารพัฒนาผลงานจิตรกรรมแบบนโี อ อิมเพรสชั่นนสิ ม์ (Neo-Impressionism) เป็นวิธกี ารเขยี นภาพตาม ทฤษฎีทางฟสิ กิ ส์ และรปู กับพนื้ ตามทศั นะของการเหน็ ของศิลปินยคุ ใหม่ เร่ืองของแสง นักวทิ ยาศาสตร์ไดก้ �ำ หนด ทฤษฎไี ว้ 2 ทฤษฎี คือ แสงเปน็ พลังงานและแรงเปน็ อนุภาค (Radiant Energy and Corpuscle) ศิลปินกลุ่มนี้เชอื่ ว่า แสงเป็นอนุภาค ดังนัน้ จงึ ไดล้ ดส่วนสำ�คญั ของรปู รา่ ง ศกึ ษาแสงเงาและระบายสีของแสงเงาเป็นจดุ เล็กๆ ทั่วท้ังภาพ การจดั ภาพท�ำ ใหง้ ่ายเข้าโดยลดรายละเอียดอ่นื ๆ ท่ีเห็นวา่ มคี วามสำ�คัญนอ้ ยลง สนใจแตโ่ ครงสรา้ งส่วนใหญ่กับแสง และเงาเท่านั้น ส�ำ หรับการระบายสจี ดุ เลก็ ๆ ท่วั ทง้ั ภาพ เรยี กวธิ กี ารนี้ว่า ลทั ธิจดุ สี (Pointillism) 98
บทที่ 6 : รปู แบบในงานทศั นศิลป์ ภาพท่ี 6.11 จอรจ์ ปแิ อร์ เซอราต์ (Georges Pierre Seurat) ค.ศ. 1850-1891 “ตอนบา่ ยวนั อาทิตยท์ เ่ี กาะลาแกรนด์แจตต์” (Sunday Afternoon on the Island of La Grande Jatte) สีน�ำ ้มนั บนผา้ ใบ จ อร์จ ปิแอร์ เซอราต์ มีวิธีการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมดว้ ยทฤษฎีตามฟิสิกส์ 2 ทฤษฎี คือ แสงเป็น พลังงานและแสงเปน็ อนภุ าค ดังนั้น เซอราต์ จึงลดความสำ�คญั ของรปู ทรงของต้นไม้ คน สิ่งของ อาคาร สง่ิ กอ่ สรา้ ง และระบายสง่ิ เหล่านนั้ เป็นการแสดงออกของสแี สงเงาเปน็ จดุ เล็กๆ ทั่วท้งั ภาพ การจดั องค์ประกอบเป็นมมุ มองทด่ี ู เรยี บงา่ ย ตามความเป็นจรงิ ตามธรรมชาติ ของสัดส่วนรปู ทรงท่ปี รากฏใหเ้ ห็น และเน้นโครงสรา้ งสว่ นใหญ่ของภาพ โดยรวมดว้ ยแสงเงา เท่านั้น ดว้ ยการระบายสเี ป็นจดุ หลายๆ สี ทม่ี บี รรยากาศ เมอ่ื ผชู้ มมองดูภาพจะรบั รูถ้ ึงการ ประสานกันของจุดสตี า่ งๆ เกดิ รูปทรง น�ำ ้หนัก บรรยากาศ ระยะของภาพไดอ้ ย่างกลมกลืน และน่าสนใจ โดยแสดง ออกรปู ทรงท่ีเรยี บงา่ ยสว่ นใหญจ่ ะปรากฏภาพใบหน้าหรือกริ ยิ าท่าทางของคนเปน็ ดา้ นข้างเปน็ การแสดงออกถึงรปู ทรงทม่ี คี วามงา่ ยบรสิ ทุ ธิ์ในงานจิตรกรรมซ่งึ เป็นการพฒั นาสรา้ งสรรค์จากผลงานในรปู แบบเรียลลิสมเ์ พื่อเกดิ ความ เขา้ ใจถึงแกน่ แท้ในรูปแบบนจี้ ึงเกดิ การพฒั นาการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน (ภาพที่ 6.11) การสร้างสรรค์ผลงานรูปแบบกึ่งนามธรรมในลทั ธโิ พสต์ - อิมเพรสชนั่ นสิ ม์ (Post Impressionism) ใน กลมุ่ น้ีจะสรา้ งงานใหด้ งู า่ ยข้นึ ดว้ ยการละทงิ้ รายละเอียดต่างๆ เพง่ เล็งในสิ่งท่ีส�ำ คญั กว่า นนั่ คอื ความสำ�คัญของรปู ทรง และจะไมย่ อมรับความเชื่อที่ว่า การวาดจะตอ้ งให้มีรายละเอียดหรือการเลียนแบบ แตพ่ ยายามสร้างรูปทรงขึ้น ใหม่จะตอ้ งมคี วามสมั พนั ธต์ อ่ ชวี ติ จรงิ ของมนั เองโดยมกี ารลดตดั ทอนรปู ทรงใหเ้ รยี บงา่ ยเพม่ิ ลกั ษณะของพน้ื ผวิ และ สว่ นประกอบอื่นๆ ศิลปนิ จะเนน้ ความส�ำ คญั ของรูปทรงใหม้ ีเอกภาพ มีความสมั พันธ์กนั ทส่ี ำ�คัญคือจะต้องมกี าร แสดงออกที่เก่ียวกบั อารมณเ์ ฉพาะ โดยรับเอาแนวคิดของลัทธิอิมเพรสชนั่ นสิ ม์ เปน็ แนวทางในการพฒั นาต่อมา ว นิ เซนต์แวนโกะ๊ จะพฒั นาการสรา้ งสรรคง์ านแบบอมิ เพรสชน่ั นสิ ม์ตอ้ งการเพมิ่ พนู วธิ กี ารใชพ้ กู่ นั ปา้ ยอยา่ ง รนุ แรงและเดด็ ขาดคน้ หาการวาดภาพใหม้ บี รรยากาศเตม็ ไปดว้ ยความเคลอื่ นไหวและมสี สี กุ สกาวระยบิ ระยบั สะอาด สดใสกวา่ เดมิ และมองสง่ิ ตา่ งๆอยา่ งตรงไปตรงมาอยา่ งหา้ วหาญมคี วามรสู้ กึ ตอ่ สรรพสงิ่ ทเ่ี ขาถา่ ยทอดคลา้ ยกบั การ หลงใหล คล้ายกบั เอาดวงใจเข้าไปประสานเปน็ ส่งิ เดียวกนั เขาสามารถมองเห็นความเคลือ่ นไหว ความเจรญิ เติบโต ของส่ิงต่างๆ ทเ่ี ขาถ่ายทอด ภาพทิวทัศนเ์ กิดความรู้สกึ ในผลงาน ซง่ึ ถ่ายทอดออกมาให้ผ้ชู มรบั ร้คู วามรสู้ กึ ตามเขา 99
การวิเคราะห์ทัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ได้อยา่ งเตม็ ท่ี ดวงตาอันแหลมคมบวกเข้ากับอารมณอ์ นั บรสิ ทุ ธปิ์ ราศจากเคร่ืองยึดเหน่ยี วท�ำ ใหก้ ารมองเหน็ เหนอื จากอมิ เพรสชัน่ นสิ ม์ เปน็ การใช้สที ีอ่ ิสระถกู ตอ้ งตามหลกั ทฤษฎสี ขี องการใช้สีตรงขา้ ม ควบคู่ไปกับการใช้สที ่กี ลม กลืนประสานสมั พันธ์กัน มกี ารใช้สแี ต่ละสใี หม้ ีคุณค่าในตัวของมนั เอง ซึง่ ตรงกบั ความคดิ ของแวนโก๊ะ ท่วี ่า “สแี สดง ออกด้วยตวั ของมันเอง” (ภาพท่ี 6.12) เ ส้นสี ในผลงานจติ รกรรมของแวนโกะ๊ เปน็ สง่ิ สำ�คัญทีเ่ ป็นสิง่ ที่นำ�สายตากับผูช้ มให้โลดเล่น ตามรปู ทรงทั้ง ภาพ สอื่ นำ�ให้ผูด้ ูไปสคู่ วามสั่นสะเทอื นเคล่อื นไหวของบรรยากาศของภาพ ราวกับมีความเตบิ โตอยทู่ ุกขณะ ถอื ว่า การใช้เส้นเปน็ การน�ำ ชีวิตใหส้ รรพสิ่งทง้ั หลายแสดงออกมาให้ปรากฏในผลงาน รปู ทรงกบั ลลี าการปาดปา้ ยพกู่ นั มี ความสมั พนั ธก์ ลมกลนื มเี อกภาพจะเกอ้ื กลู กนั แสดงออกถงึ พลงั สคู่ วามส�ำ เรจ็ ในการถา่ ยทอดผลงาน โดยมคี วามรสู้ กึ ส่วนตวั ของเขาเข้าไปผสมผสานกบั เทคนคิ การป้ายทร่ี นุ แรง และเทคนิคการใชส้ ที ีต่ รงกนั ขา้ มได้อยา่ งสวยงามนา่ สนใจ ภาพที่ 6.12 วินเซนต์ แวนโกะ๊ (Vincent Van Gogh) ค.ศ. 1889 “ดอกไอรสิ ” (Irises) สนี �ำ ้มนั บนผา้ ใบ 71 x 93 ซม. ภาพท่ี 6.13 พอล โกแกง (Paul Gauguin) ค.ศ. 1891 “ขอตอ้ นรับแมร่”ี (IA orana Hai Mary) สีน�ำ ้มันบนผา้ ใบ 113.7 x 87.7 ซม. 100
บทที่ 6 : รปู แบบในงานทศั นศิลป์ พ อล โกแกง นำ�เสนอผลงานดว้ ยการเปรียบเกาะฮิติเสมือนสรวงสวรรค์ทมี่ ีแตค่ วามสงบสขุ ซึ่งผลงานนเ้ี ขา ได้รับแรงบนั ดาลใจจากความงามบริสุทธิ์ของราชินชี าวเกาะ การแสดงออกของเทคนคิ โดยใชก้ ารตดั เสน้ เป็นส่วนที่ กำ�หนดขอบเขตรปู ร่าง รูปทรงและใชส้ ีแบบสดใส อาจจะได้รับอิทธพิ ลภาพประกอบหนงั สือเด็กและภาพพิมพ์ของ ญป่ี ่นุ แต่เขาอาจจะใส่อารมณ์ลงไปในสี เปน็ การแสดงออกถงึ ความรูส้ ึกรุนแรง ประสานกนั กับการจดั สง่ิ ตา่ งๆ ในผล งาน ท�ำ ใหร้ ูปแบบธรรมชาตมิ ีความสมบรู ณ์ และมรี ะเบียบยิง่ ขึ้น นีค่ ือจดุ ก�ำ เนดิ ของลัทธสิ ังเคราะห์ (Synthtism) โดยเขามีความเชอ่ื ในการแสดงออกของอารมณ์เป็นขบวนการเดยี วกบั เสยี งดนตรี จงึ ประสานกลมกลืนกันระหว่างสี เหมือนกับเสยี งดนตรี เพ่อื ใหม้ นุษยร์ ับร้ถู งึ รสชาติของสีทมี่ คี วามงามมจี ังหวะทเ่ี ปน็ เอกภาพ ซ่ึงมาจากทโ่ี กแกงสนใจ ศิลปะของพวกอนารยะศาสนนยิ าย จากนิทานพื้นบา้ นจึงท�ำ ให้เขาแสดงออกถึงเร่ืองราว ความรู้สกึ ออกมาในผลงาน ท่มี คี วามลกึ ลับสรา้ งรูปแบบที่ผดิ แปลกไปจากธรรมชาติโดยแสดงออกในรูปทรงทผี่ ันแปรไปตามความต้องการของ ศลิ ปนิ ซงึ่ วธิ กี ารเหลา่ นน้ี �ำ มาพฒั นารปู ทรงในผลงานของเขา สาระส�ำ คญั ของการสรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมแบบ โพสต์อมิ เพรสชนั่ นิสม์ คือ ศิลปะไมใ่ ช่ธรรมชาติ ศิลปะคอื การเปล่ยี นรูปทรงของธรรมชาตโิ ดยอาศัยปัญญาสร้างข้ึน ด้วยความช่วยเหลอื ของสี ซง่ึ เทคนิคแนวคิดในผลงานของโกแก๊งและแวนโกะ๊ ค้นพบความสามารถในการแสดงออก ทางจติ วญิ ญาณของภาพ โดยใช้เสน้ และสสี ามารถเป็นตวั แทนอารมณ์ของศลิ ปนิ ได้ และนำ�เอาการตอบสนองความ รสู้ กึ ทมี่ ตี อ่ ลลี าของสกี บั เสยี งดนตรีและมเี สนห่ ท์ เ่ี ตม็ ไปดว้ ยความหมายของสีผสมกบั อารมณจ์ นิ ตนาการกบั มโนภาพ ไดป้ ระสานกลมกลนื กัน (ภาพที่ 6.13) ก ารสร้างสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมแบบโฟวสิ ม์ (Fauve) เปน็ ภาษาฝรง่ั เศส แปลวา่ สตั วป์ ่า มีแนวทางในการ สรา้ งสรรค์ผลงานจะมีรปู ทรงอิสระ ใชส้ สี ดใสตัดกนั รุนแรง พวกเขาสร้างงานขน้ึ ตามสัญชาตญาณแห่งการแสดงออก อยา่ งเต็มที่ จะปรากฏความสนกุ สนานในลีลาของรอยแปรงและจังหวะของสีตา่ งๆ มีอารมณ์ จินตนาการแปลกกวา่ อมิ เพรสช่นั นสิ ม์ (ก�ำ จร สุนพงษศ์ ร,ี 2533:124) ศิลปนิ จะน�ำ จงั หวะลีลาการใชเ้ ส้นมาใช้ในรูปแบบใหม่ เชน่ ตดั เสน้ ขอบนอกของสง่ิ ตา่ งๆ เพ่อื เนน้ ใหเ้ ดน่ ชดั มรี ปู แบบการระบายสตี รงกันขา้ ม ท่ีดูงา่ ยๆ เรียบๆ เพอื่ ตอ้ งการแสดงออก ทง้ั รูปทรงและแสงไปพร้อมๆ กนั ภาพที่ 6.14 เฮนรี่ มาตสี ส์ (Henri Matiss) ค.ศ. 1909 “เริงระบำ�” (The Dance) สนี �ำ ม้ นั บนผา้ ใบ 10 x 15 ฟุต เ ฮนรี่ มาตีสส์ สิง่ ทีน่ ยิ มใชใ้ นการสร้างสรรค์ผลงานแบบโฟวิสม์ มีสีเขียว ส้ม นำ�เ้ งิน สีแดงของอิฐ และสีมว่ ง จะใช้สีตัดกันรนุ แรง จะอย่ดู ้วยกนั ไดอ้ ยา่ งประสานสัมพนั ธ์ มีความขดั แยง้ ภายในสว่ นรวม ผลออกมาจะดนู ุ่มนวล จงั หวะลีลาของสีจะท�ำ หน้าทมี่ ากกวา่ สง่ิ ใดทง้ั หมด คอื ทศั นยี ภาพและรปู ทรง ซ่ึงภาพน้ี มาตสี สจ์ ะปลอ่ ยรูปทรงและ วิธีการวาดภาพคนเป็นอสิ ระจากกรอบประเพณีอันจำ�กัด ศลิ ปะอนารยชน และทว่ งทำ�นองดนตรีมีบทบาทส�ำ คัญใน 101
การวิเคราะห์ทศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) การสร้างสรรคผ์ ลงานนโี้ ดยจะใชค้ วามรสู้ กึ สว่ นตวั ออกมาใช้ทนั ที ไม่วา่ จะเปน็ เรอื่ ง สี เสน้ องคป์ ระกอบ และมกั จะ ตัดเส้นรอบนอบดว้ ยสีเขม้ และสดใส ซงึ่ แนวทางในกลมุ่ นจี้ ะระบายสตี ามอารมณ์ แตท่ ีเ่ ดน่ สุดคอื การแสดงออกจะ ท�ำ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทำ�อยา่ งฉลาดมเี หตผุ ลทุกส่ิงทกุ อย่าง ถูกลดตดั ทอนเหลือเพยี งการรับรู้ของแกว้ ตาพ้นื ผิว ของภาพถูกท�ำ ลายไป มีเพยี งสีสดใสแต้มลงไปในรปู ร่าง มีความงามคลา้ ยศิลปะการตกแตง่ แตป่ ระกอบด้วยความ รู้สึกแสดงออกอยา่ งรุนแรงแสดงออกดว้ ยความรูส้ กึ ภายในของตน ดว้ ยการใชส้ ีแท้ สสี ดใส บางทีอาจจะบบี สีออก จากหลอดโดยตรง โดยมผี ลต่อความรสู้ ึกมากกวา่ การใช้สที ่ผี สมกลมกลนื ให้เกิดนำ�้หนกั การใช้เส้นจะแสดงรปู ร่าง หยาบๆ โดยไม่คำ�นงึ ถงึ ความเหมอื นจรงิ (ภาพที่ 6.14) อ นั เดรเดอเรน การสรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมจะแสดงออกถงึ องคป์ ระกอบของภาพทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยสสี นั ทสี่ ดใส เคลือ่ นไหว สีรุนแรง ตามลักษณะของโฟวสิ ม์อยา่ งแทจ้ รงิ ใช้หลักการทม่ี คี วามเป็นอิสรภาพของการตดั ทอนของรูป ทรงและการใช้สีแบนเรยี บ การใช้สตี รงกนั ขา้ ม เชน่ สเี หลอื งและน�ำ ้เงนิ สรา้ งความกลมกลืนของงานดว้ ยการผสม สขี าวและสใี กล้เคียง เพอ่ื ใหเ้ กดิ บรรยากาศของสีและมกี ารประสานสมั พนั ธก์ ลมกลืนกันทงั้ ภาพ ลดตดั ทอนรูปทรง โดยรวมของภาพ เหลอื เพียงเส้นและรปู รา่ ง และตัดเส้นรอบนอกของรปู ร่างทีอ่ ยูด่ ้านหนา้ ด้วยความรุนแรงและสตี รงกนั ข้ามทีม่ ีการเคล่ือนไหวอย่างรนุ แรง ก ารสร้างสรรค์ผลงานจติ รกรรมแบบเอกซ์เพรสชัน่ นสิ ม์ (Expressionism) มาจากภาษาละตนิ ว่า Expressare ซง่ึ ประกอบด้วยคำ� 2 คำ�คือ ex = ออกมา, Pressare = กด, ดนั , ค้ัน, บีบ การสรา้ งงานเป็นแบบอยา่ งที่มีอทิ ธพิ ลจากการใชส้ ีจากโฟวิสม์ การใชป้ ริมาตรและการใช้เสน้ เรขาคณิตจาก ควิ บสิ ม์และฟิวเจอรร์ ิสม์ผสมกับความร้สู ึกอารมณ์การแสดงออกรุนแรงคลา้ ยกับกลุ่ม“ดี บรูคเกอร”์ (กำ�จร สุนพงษ์ ศร,ี 2523: 138) การสรา้ งสรรค์งานจติ รกรรมจะแสดงออกอย่างรุนแรงเกินความจรงิ ทเ่ี ห็นตามธรรมชาติ เป็นการรวมแนว คิดหลายๆ อย่าง เขา้ ดว้ ยกัน จะผันแปรรูปทรงตา่ งๆ ในธรรมชาติ ให้ผิดปกติ เสน้ จะมคี วามแนน่ อน หนกั แนน่ สี จะสดรนุ แรง ตัดกนั ยงิ่ กวา่ ธรรมชาติ ซ่ึงจะมีเจตนาหลีกเลีย่ ง ความเปน็ ธรรมชาตลิ ดตัดทอนรูปทรงให้ดงู ่ายเพ่ือจะ สรา้ งอารมณ์ให้ถงึ สดุ ขีด ผสมผสานกบั ความรสู้ กึ ส่วนตัวของศิลปนิ แสดงออกในรูปแบบเทคนิค เปน็ ของส่วนตัว โดยไมม่ ีทฤษฎหี รอื กฎเกณฑใ์ ดมาบงั คบั มีความเปน็ อิสระในการวางองคป์ ระกอบใชส้ เี สน้ ตามความถนัด แต่จะมี รูปแบบท่ีเตม็ ไปดว้ ยอารมณอ์ ันรนุ แรงมีสญั ชาตญาณในการแสดงออกอย่างฉบั พลัน (ภาพท่ี 6.15) ภาพท่ี 6.15 อังเดร เดอเรน (Andre Derain) ค.ศ. 1880-1954 “การเดินทางขา้ มสะพาน” (Charring Gross Bridge) สีนำ�้มนั บนผ้าใบ 102
บทที่ 6 : รปู แบบในงานทัศนศลิ ป์ ภาพท่ี 6.16 เอด็ วาร์ด มันช์ (Edward Munch) ค.ศ.1893 “หวีดร้อง” (The Scream) สนี �ำ ม้ นั , สฝี นุ่ บนแผน่ กระดาษ เ อด็ วารด์ มนั ช์ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมจะแสดงรปู ทรงคลา้ ยอาการของคนโรคประสาทเปน็ อารมณ์ ผิดปกตขิ องสามัญชน เปน็ การผสมผสานของการไดร้ ับอิทธิพลของศิลปะทห่ี ลากหลายเชน่ โฟวสิ ม์ อิมเพรสชน่ั นสิ ม์ ของแวนโกะ๊ และไดพ้ บกับเหตุการณ์เจบ็ ปว่ ยของคนรอบข้าง ทำ�ให้การแสดงออกของผลงานจติ รกรรมเปน็ การใชส้ ี ที่รุนแรง ซง่ึ หลายภาพท่เี ขานำ�เสนอภาพแสดงอารมณแ์ ละความตาย มีการใช้สที แี ปรงท่ดี ูเคล่ือนไหวทง้ั ภาพ(ภาพที่ 6.16) พอล คลี การสรา้ งสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมมีกระบวนการในการวาดภาพมคี วามประณีตซบั ซอ้ น เช่น การ ลงสซี อ้ นทับกนั หลายช้นั คลเี ปน็ ศิลปินมีความสามารถสูงย่ิงในการใช้สี ซึ่งกอ่ นหน้าน้ีคลมี ีเส้นเปน็ เครื่องมืออนั ทรง พลังในการแสดงออก จะใช้เสน้ อย่างสดๆ และได้รับอิทธิพลการสรา้ งสรรค์ผลงานจากคานดนิ สกแี้ ละมารค์ และ การใช้สีจากเดอลัวเนย่ ์ และความรสู้ กึ เคลื่อนไหวในงานแบบกลุม่ อติ าเลยี น ฟิวเจอร์รสิ ม์ ทำ�ให้เขาคน้ พบบทกวใี น ตวั เขา คือ กระบวนการพฒั นาการของพชื พันธต์ุ ่างๆ ในธรรมชาติ รปู ร่างพื้นฐานตามธรรมชาติน�ำ มาสร้างสรรค์ ผลงานศิลปะของเขา นอกจากนี้คลียังได้รวบรวมความรู้ ความคดิ การสรา้ งปรมิ าตรของรปู ทรงดว้ ยสีของเซซานน์ การใชร้ ะนาบสมมตขิ องศลิ ปนิ ควิ บสิ ม์รวมเขา้ กบั ลวดลายธรรมชาตแิ ละรวมถงึ สภาวะทเี่ ปน็ นามธรรมทม่ี อี ยใู่ นธรรมชาติ (ภาพท่ี 6.17) ภาพที่ 6.17 พอล คลี (Paul Klee) ค.ศ. 1930 “การอพยพ” (Refuge) สีนำ�้มันและสนี �ำ ้มันบนกระดาษปะบน แผ่นไม้ 22.3 x 15 น้ิว 103
การวิเคราะหท์ ัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 6.18 จอรจ์ บราค (Georges Braque) ค.ศ. 1882-1963 “ไวนแ์ ละองุ่น” (Wine and Grapes) สนี ำ�้มันบนผ้าใบ ก ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมรูปแบบควิ บิสม์ (Cubism) หรอื ลัทธบิ าร์คนิยม เป็นผลสบื ต่อความคดิ มาจากภาพเขยี นเซซานน์ ทพ่ี ยายามคน้ หารปู ทรงง่ายๆ ปรมิ าตรและบรเิ วณสว่ รวมของสรี ปู ทรงเกิดขึ้นจากการรวม ตวั ของรปู เรขาคณติ โดยการแยกรปู ออกไปและรวมตวั กนั เปน็ โครงสรา้ งใหม่ปรมิ าตรเกดิ จากการผสมผสานกนั ของทกุ แงม่ ุมบนพนื้ (ก�ำ จร สุนพงษ์ศร,ี 2523:159) ลัทธินี้จะมคี วามเช่อื วา่ สจั ธรรมของสรรพส่ิงนนั้ คือ โครงสร้าง ปริมาตร รปู ทรง ไม่ใช่การสลดั สีสวยๆ ให้เปรอะเป้ือนลงในภาพ การใชส้ มี ากๆ ไม่ได้อยู่ในความสนใจของศิลปินกลุ่มน้ี ยิ่งพวก แม่สีหรือสีที่รนุ แรงด้วยแลว้ จะถกู จำ�กดั มิให้ปรากฏบนจานสีเลย พวกเขาจะใชส้ มี วั ซวั สีเทา สีดำ� สนี ำ�ต้ าล หรอื สีอม เขยี ว เทา่ น้ันสงิ่ ท่ีต้องพจิ ารณาอนั ดับแรกกอ่ นลงมอื สรา้ งงานก็คอื รปู ทรง พ้ืนแบนราบง่ายๆ ทถ่ี กู สร้างขึน้ ดว้ ยการ ใช้เสน้ เรขาคณิต รูปทรงต่างๆ จะถูกทำ�ใหด้ ูแขง็ แน่นทบึ และเต็มไปดว้ ยปรมิ าตร สว่ นมติ ิทีส่ าม คือความลกึ ศิลปิน ท�ำ ใหเ้ กิดข้ึนดว้ ยการเล่นหกั เหลยี่ มมุมดจุ เพชรและเอาเป็นส่วนชว่ ยสร้างใหภ้ าพบงั เกิดความสงบแน่วแน่มุมเหลี่ยม ท่ยี นื่ ออกมาหรือขอบเขตของรปู ทรงจะถูกเนน้ ให้ชัดเจนยิง่ ขึ้น จ อรจ์ บราค มีวิธีการสรา้ งสรรคผ์ ลงานด้วยการลดตดั ทอนรูปทรงให้เป็นพ้ืนแบนราบงา่ ยๆ จากตน้ แบบ รปู แบบจรงิ ตามธรรมชาติ โดยสร้างขนึ้ ด้วยเส้นเรขาคณิต ระบายสีแบนเรียบสร้างมิตริ ะยะของภาพดว้ ยการวางน�ำ ้ หนกั สีให้มนี ำ�ห้ นักอ่อนแก่ตา่ งกัน ใหม้ ีความกลมกลนื กนั ขอบเขตของรปู ทรงถกู เนน้ ดว้ ยนำ�ห้ นกั สที ีต่ า่ งกัน ซ่ึงดสู งบ นิ่งคงที่ เกดิ จากการปรงุ แตง่ ของศลิ ปินให้มเี หลย่ี มมมุ คลา้ ยกบั เพชรทไ่ี ดร้ ับการเจยี ระไน ให้เกดิ เหลีย่ มเปน็ แง่เปน็ มุม ถือว่าผลงานจติ รกรรมของบราคเป็นตน้ ก�ำ เนดิ การสร้างสรรคผ์ ลงานแบบคิวบสิ ม์ท่สี �ำ คัญอีกคนหนึ่ง (ภาพที่ 6.18) ป าโบล ปกิ ัสโซ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลการสร้างงานผลงานจิตรกรรมของเซซานน์ ในเรอ่ื งการศึกษาโครงสร้างรปู ทรงในธรรมชาติ ปิกัสโซถอื ว่าเปน็ ผูป้ ฏวิ ตั ิข้นึ ในการเขยี นภาพจติ รกรรมท่ีน�ำ รูปทรงทีม่ อี ยูใ่ นธรรมชาติ มาแปรเป็น รูปแบบกงึ่ นามธรรม (Semi- Abstract) และไม่ยอมรบั กฎเกณฑก์ ารสร้างงานศลิ ปะแบบนามธรรม (Abstract Art) โดยปกิ สั โซจะนำ�เอาธรรมชาตเิ ปน็ จุดแห่งความบนั ดาลใจ จากนน้ั ค่อยๆ เพิ่มตดั ทอนรูปทรงตา่ งๆ ให้ดูละเอียดข้นึ การใชส้ อี ยา่ งระมดั ระวงั เปน็ สที บึ ๆคลา้ ยสเี อกรงค์จะพฒั นาขน้ึ เรอ่ื ยๆจะจดั ภาพยงุ่ ยากขน้ึ เปน็ ชน้ิ เลก็ ชน้ิ นอ้ ยน�ำ มา ปะตดิ ปะต่อกนั แลว้ น�ำ มาประกอบกันใหม่ ทบั ซ้อนกนั หรอื เหลอื่ มล�ำ ด้ ้วยสีและรปู ทรงเพื่อแสดงมิติของธรรมชาติที่ ไม่มีมิติเดยี วทต่ี ามองเหน็ จะมีลักษณะหลายมิติ จะเน้นการสรา้ งรูปทรงและดดั แปลงธรรมชาติทง้ั สแี ละรปู ทรงแบน ราบดว้ ยเส้นเรขาคณติ จะถกู ท�ำ ให้แข็งแนน่ เตม็ ไปดว้ ยปรมิ าตรมิติความลกึ ถูกทำ�ใหเ้ กิดข้นึ ด้วยการหักเหล่ยี มมมุ ดจุ เพชร ท�ำ ให้รูปทรงบดิ เบีย้ ว ทับซอ้ นกนั สีท่ีใช้ประกอบด้วยสี ด�ำ ขาว นำ�ต้ าล เทาเปน็ ส่วนใหญ่ สรา้ งมติ ิระยะดว้ ย น�ำ ห้ นกั ของสแี ละทับซอ้ นกันของรูปทรงโดยรวม (ภาพที่ 6.19) 104
บทที่ 6 : รปู แบบในงานทัศนศิลป์ ภาพท่ี 6.19 ปาโบล ปิกัสโซ (Pablo Picasso) ค.ศ. 1910 “ภาพเหมือนของแอมโบส วอลลาด” (Portrait of Ambroise Vollard) สีน�ำ ม้ นั บนผา้ ใบ 36 x 25 นว้ิ ภาพท่ี 6.20 อุมเบอรโ์ ต บ๊อคซีน่ี (Umberto Boccini) ค.ศ. 1882-1916 “ความเจรญิ เฟอ่ื งฟูของเมือง” (The City Rises) สีนำ�ม้ ันบนผ้าใบ 6 x 9 ฟุต การสร้างสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมรปู แบบฟิวเจอรร์ ิสม์ (Futurism) ตามความคิดของลัทธิ “ฟวิ เจอร์รสิ ม”์ ไม่เกีย่ วกับเรอ่ื งของสตรเี พศ การศกึ ษาภาพเปลือยไม่อยใู่ นหลกั สนุ ทรยี ภาพ ความงามอยูท่ คี่ วามเรว็ วิทยาศาสตร์ เทคนิควชิ าการตา่ งๆ พวกศลิ ปินลทั ธิน้ีจะชงิ ชังความคดิ อันเพ้อฝนั หรอื การหยุดนงิ่ อยู่กับที่ พวกเขามคี วามดลใจ ในความงามจากเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า รถยนต์ หรือเคร่ืองบิน (ก�ำ จร สุนพงษศ์ รี,2533:186) ซึ่งเปน็ เทคนคิ วิธกี ารดว้ ยการ หยบิ ยมื เทคนิคการใช้จดุ แบบนโี อ อิมเพรสชัน่ นิสม์ ในเร่ืองการแต้มจดุ ทวั่ ทั้งภาพมาขยายใหใ้ หญข่ ้นึ เพอื่ ให้ภาพเกดิ การเคลอ่ื นไหว ทำ�ให้เกิดการพร่ามวั แก่นัยนต์ าใหด้ เู คลอ่ื นไหว ทำ�ใหภ้ าพดนู ่าสนใจตนื่ เตน้ กับการน�ำ เสนอเทคนคิ วิธีการท่สี ัมพันธ์กบั เร่อื งราวในภาพ ซึ่งจะลดตดั ทอนรูปทรงใหเ้ กิดอารมณค์ วามรู้สกึ ของจุดเสน้ สี บรรยากาศแทน รูปทรงต่างๆ ตามความเป็นจริง อมุ เบอร์โต บอ๊ คซนี ่ี สร้างสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมจากแนวคดิ ของลทั ธินีโอ อิมเพรสชน่ั นสิ ม์ ด้วยวธิ กี ารใช้ จุดระบายสี แตเ่ ขาไดน้ �ำ มาขยายให้ใหญข่ น้ึ เป็นเส้นมสี หี ลากหลายเพื่อใหเ้ กิดการเคลอ่ื นไหวของรูปทรงทั้งภาพโดย จะมีวิธีการเคลอ่ื นไหวอยา่ งรนุ แรง จะไมห่ ยุดน่ิงกบั ท่ขี องรูปทรงและสี เตม็ ไปดว้ ยความชุลมนุ วนุ่ วายของสงั คมยคุ ใหม่ สงั คมของเคร่ืองจกั รกล แต่มีความสมั พันธก์ ลมกลนื กนั ท้ังภาพด้วยรปู ทรง เส้น สี (ภาพที่ 6.20) การสรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมรปู แบบเซอเรยี ลลสิ ม์(Surrealism) เปน็ รปู แบบของผลงานกงึ่ นามธรรม จะมีรูปแบบการสร้างสรรค์ผลงานคือเป็นการแสดงออกให้เห็นถึงอารมณ์บุคลิกภาพและความเช่ียวชาญในฝีมือ แต่โครงเรอ่ื งยงั คงหยบิ ยืมวธิ ีการแบบเหมอื นจริงตามธรรมชาติ แล้วนำ�มาผสมผสาน กับเรื่องความฝนั รปู ร่างรปู ทรงจะแฝงไปด้วยจินตนาการ จากโลกแหง่ ความจรงิ ของสรรพส่งิ ตา่ งๆ ในธรรมชาตเิ ปล่ียนรูปมาเป็นความฝนั จาก 105
การวิเคราะหท์ ศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) จิตใต้สำ�นกึ และถกู ผันแปรในเรื่องราวตามประสบการณ์ของศลิ ปนิ ท่ีถูกสร้างขึ้นควบคู่กับจติ ใจและความ คิดของศิลปนิ เปน็ มมุ มองในการมองโลกเปน็ ภาพมายา ซึ่งเปน็ การมองโลกในแง่รา้ ยของจิตใจ ศิลปนิ ท่มี กี ารสร้า งาสรรค์ผลงานรูปแบบเซอเรียลลิสม์ เช่น มารค์ ชากาล (Mark Chagall) ซลั วาดอร์ ดาลี (Salvador Dali) แมกซ์ เอริ น์ ส์ (Max Ernst) ซลั วาดอร์ ดาลี จะมวี ธิ กี ารสร้างสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมดว้ ยเทคนคิ การใช้ “ทฤษฎอี ันฉับพลันของความ เขา้ ใจอนั ไรเ้ หตผุ ล” จะแสดงออกถงึ ปรากฏการณ์ของจิตอันแปรปรวน เขาสร้างระบบการใช้พลังของความคิดฝัน ตามใจชอบและประสบการณส์ ว่ นตวั ของศิลปนิ ด้วยการผสมผสานความพเิ ศษของรปู ทรงที่มีทรวดทรงท่ปี ระหลาด หลายๆ อยา่ ง ให้มกี ารอ่อนตัว ไหลเหยม้ิ ผิดแปลกไปจากธรรมชาติ แตก่ ารไล่นำ�ห้ นกั ของสี ความถกู ตอ้ งจะเหมือน จรงิ ตามธรรมชาติ แต่จะใส่จติ ใต้ส�ำ นกึ ความคดิ ค้น ประสบการณ์ ความทรงจำ� ลงไปผลงานทำ�ใหผ้ ลงานมกี าร ประสานกลมกลนื ดว้ ยน�ำ ้หนักของสี บรรยากาศดูเป็นเอกภาพกลมกลืนในบรรยากาศและเหตกุ ารณ์เดียวกัน (ภาพ ที่ 6.21) ภาพท่ี 6.21 ซลั วาดอร์ ดาลี (Salvador Dali) ค.ศ. 1931“ความทรงจำ�ที่ไม่เคยลมื ” (The Perris Tence of Memory) สนี ำ�้มันบนผ้าใบ 9 x 13 นิ้ว ภาพที่ 6.22 โจอนั มิโร (Joan Miro) ค.ศ. 1924-1925 “ขบวนแหต่ ัวตลก” (Harlequin Carnival) สีนำ�ม้ นั บนผา้ ใบ 26 x 36 นว้ิ 106
บทท่ี 6 : รูปแบบในงานทัศนศลิ ป์ โ จอนั มโิ ร มวี ธิ กี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ยการน�ำ รปู ทรงของเซลลต์ า่ งๆทม่ี กี ารเคลอ่ื นไหวมาจดั องคป์ ระกอบ เขา้ ด้วยกัน รูปทรงตา่ ง ๆ น�ำ มาจากส่ิงมชี ีวิต ศิลปนิ จะลดตดั ทอน จนเหลอื แกน่ แท้บรสิ ทุ ธิ์ นำ�มาสร้างสรรค์เรื่องราว ตามประสบการณ์ จินตนาการความคดิ ศลิ ปนิ โดยการสร้าง สี นำ�ห้ นกั ความกลมกลืน เอกภาพใหเ้ กิดขนึ้ ในผลงาน ได้อยา่ งสนกุ สนาน ดมู ีชีวติ ตามความตอ้ งการของศิลปิน เป็นผลงานจติ รกรรมของเขาท่ีไดม้ ีสว่ นร่วมอย่างเต็มตวั ในกระแสการเคลอ่ื นไหวของกลุ่มเซอเรียลลสิ ม์ (ภาพที่ 6.22) ผลงานประตมิ ากรรมในรปู แบบศลิ ปะกง่ึ นามธรรม เปน็ ผลงานการสรา้ งสรรคท์ ถ่ี า่ ยทอดเนอ้ื หาจากความ เปน็ จรงิ และพัฒนาผลงานต่างจากความเปน็ จริงคือเป็นการสรา้ งผลงานจากรูปทรงธรรมชาติและรปู ทรงเรขาคณิต ให้เป็นรปู ทรงตามจินตนาการของศิลปนิ โดยการตดั ทอนดดั แปลงเพม่ิ เตมิ รายละเอยี ดของรปู ทรงปรมิ าตรใหด้ ูเรียบ ง่ายให้มีความรู้สกึ จินตนาการเกิดขึน้ กบั ผลงาน อาจจะครึ่งจินตนาการหรอื คร่งึ ความจรงิ คร่ึงความฝัน (ภาพท่ี 6.23) ภาพที่ 6.23 สหเทพ เทพบุรี “เบิกบาน” เทคนคิ บรอนซ์ ภาพท่ี 6.24 พระพทุ ธรปู ส�ำ รดิ ศลิ ปะสมัยสุโขทัย ภาพท่ี 6.25 สุรพงษ์ สมสขุ พ.ศ. 2548 “มนษุ ยเ์ มอื ง” แมพ่ มิ พโ์ ลหะ 101 x 156 ชม. 107
การวเิ คราะหท์ ศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ผลงานภาพพมิ พ์ ในรูปแบบศลิ ปะกึง่ นามธรรม ศลิ ปินนำ�รปู ทรงจากความเปน็ จรงิ ตามธรรมชาติ มาลด ตดั ทอนเพม่ิ เติมใหม้ คี วามเรยี บงา่ ยของรูปทรง ผสมผสานสรา้ งสรรค์เนอื้ หาชีวติ สงั คมในปัจจุบัน ทีม่ คี วามวุน่ วาย ยอ้ื แย่งแขง่ ขัน จดั องคป์ ระกอบใหม่ ยืดหด ขยายรูปทรงให้มคี วามน่าสนใจ (ภาพท่ี 6.24) 3. รูปแบบศิลปะนามธรรม (Abstract Art) เป็นรูปแบบการสร้างสรรค์ผลงานท่ีเกิดจากการท่ีถ่ายทอดผลงานผ่านการสะสมทักษะกระบวนการวิธีคิด แสดงออกในการใชส้ ี รปู ทรง เทคนคิ วิธีการ ท่ผี ิดแผกไปจากการเขยี นธรรมชาติ หรือการถา่ ยภาพ ซึ่งแตกตา่ ง จากการเขียนภาพจากความจริงตามธรรมชาติโดยส้ินเชงิ เป็นลักษณะคล้ายศลิ ปะบรสิ ทุ ธิ์ เปน็ การแสดงออกของ ศลิ ปินที่มีความอสิ ระจากส่ิงแวดลอ้ มสังคม จะหา่ งไกลจากความเป็นจริงตามธรรมชาติ ถือวา่ เปน็ ผลงานศลิ ปะแบบ นามธรรม น ามธรรมหรือแอบสแตรก หมายถงึ รปู แบบศลิ ปะทถี่ อื ความส�ำ คัญของภาพ จากการทศ่ี ิลปนิ แสดงภาวะ ของการเขา้ ใจเลือกสรุปรวบรวมส่วนท่สี ำ�คญั มาท�ำ ให้งา่ ยขนึ้ โดยไม่พยายามลอกเลยี นแบบจากรปู ทรงหรือเรือ่ งราว ทลี่ อกแบบมาจากธรรมชาติ (สงวนรอดบญุ ,2516:38) ศลิ ปะนามธรรมถอื วา่ เปน็ ผลงานการสรา้ งสรรคท์ ศี่ ลิ ปนิ เลอื ก เอาหลกั ส�ำ คัญที่เปน็ สาระแกน่ สารของสื่อนนั้ ๆ มาถา่ ยทอดผลงานทมี่ ีเทคนิคทีเ่ รียบงา่ ยผสมผสานอารมณ์ความรสู้ ึก ส่วนตวั ซ่งึ จะหา่ งไกลจากความเป็นจริงตามธรรมชาติมากขน้ึ เรือ่ ยๆ ผ ลงานจิตรกรรม ในรปู แบบศิลปะนามธรรม 3.1 ศิลปะนามธรรมทใี่ ช้จดุ เส้นเป็นหลกั คอื การผสมผสานกันของศิลปะนามธรรมโดยใช้จดุ และเสน้ เป็น สว่ นรวมของภาพโดยแสดงออกแบบเอกซเ์ พรสชนั่ นสิ ม์เปน็ ลกั ษณะของจติ รกรรมอตั โนมตั ิมงุ่ การสนองอารมณจ์ ติ ใต้ สำ�นกึ ซึ่งคลา้ ยกับแนวคิดของเซอเรียลลิสม์ โดยใช้เทคนคิ วธิ กี ารสรา้ งรูปทรงจากจุดเสน้ โดยไม่ตัง้ ใจ เกิดจากประสบ การณ์ความรสู้ กึ ส่วนตวั ของศิลปนิ เชน่ การหยอดสี สลัดสี หรอื ปา้ ยสอี ย่างแปะปะ มกี ารเคลอื่ นไหวในผลงาน แ จค๊ สนั พอลล็อค สร้างสรรค์ผลงานจติ รกรรมที่ได้รบั แรงบนั ดาลใจจากปิกัสโซและพวกเซอเรียลลสิ ม์ และ เรียนรเู้ ทคนคิ การหยดสีจากแอนส์ ถือวา่ มเี ทคนคิ การวาดภาพที่แหวกแนวทส่ี ุดในยุคนน้ั เขาไมช่ อบใช้แปรงหรอื พกู่ นั แตใ่ ชก้ ระปอ๋ งสหี ยอดลาดสลี งบนผา้ ใบทว่ี างราบกบั พน้ื หอ้ งโดยไมต่ อ้ งขงึ เฟรมผลงานของพอลลอ็ คจะแสดงออก มาทางความรสู้ กึ ตรงๆ และสามารถควบคุมการไหลของสไี ด้ ทำ�ใหผ้ ลงานเต็มไปด้วยลลี า ของการประสานสมั พนั ธ์ กนั ของสเี ส้นได้อย่างงดงาม และพอลลอ็ คนำ�สีทีม่ โี ลหะผสมสีจ�ำ พวกอลมู เิ นยี ม รวมทง้ั สีสังเคราะห์ด้วย จงั หวะลีลา การใชส้ เี ทคนคิ วิธกี ารของพอลลอ็ คเตม็ ไปดว้ ยชีวติ บรรยากาศท่ีดูคลุมเครือ และถกู ลดความส�ำ คญั พน้ื ผิวของภาพ ทงั้ หมดและถกู บรรจดุ ว้ ยภาพเตม็ ไปหมดเลยเป็นสิ่งแนน่ ทึบ เปน็ รูปรา่ งท่ีแขง็ แรง มีส่วนประกอบตา่ งๆ ทสี่ มบูรณ์ ท�ำ ใหเ้ กิดรูปทรงท่ีเอกภาพท่เี กิดข้ึนบนพนื้ ผิวภาพทงั้ หมด ผลงานของพอลลอ็ คเต็มไปความรนุ แรง มีความอิสระ เด็ดขาดในการแสดงออกความรู้สึกภายในถ่ายทอดออกมาด้วยเส้นจุดสีที่มีการทับซ้อนบังกันด้วยเทคนิคที่ถูกโรย หยดสลัดสบี นผนื ผ้าใบ ก่อให้เกิดความฝนั ทตี่ กตะกอนภายใน แลว้ จ�ำ ลองภาพจนิ ตนาการออกมา ใหก้ ารแสดงออก เป็นสากลจักรวาลมากท่ีสดุ โดยภาพผลงานการสรา้ งสรรค์ เตม็ ไปดว้ ยจินตนาการท่เี ป็นนามธรรมถา่ ยทอดความ รู้สึกภายในให้เหลือแต่ความเรียบง่ายและแก่นแท้ของส่ิงน้ันที่ศิลปินด้วยการนำ�เสนอเป็นจินตภาพที่เกิดความเป็น เอกภาพกลมกลนื กันในผลงานจิตรกรรม (ภาพท่ี 6.26) 108
บทท่ี 6 : รปู แบบในงานทศั นศลิ ป์ ภาพท่ี 6.26 แจ๊คสัน พอลลอ็ ค (Jackson Pollock) ค.ศ. 1950 “หนึ่ง” (one) สีน�ำ ม้ ันบนผ้าใบ 110 x 211 นิว้ ภาพที่ 6. 27 มารค์ โทเบ (Mark Tobey) ค.ศ. 1944 “เมอื งที่สวา่ งโชติชว่ ง” (City Radiance) สนี ำ�ม้ ันบนผ้าใบ 19 x 1 นวิ้ ภาพที่ 6.28 ฮานส์ ฮาร์ตุง (Hans Hartung) ค.ศ.1951 “จังหวะของเส้น” “T 1951-12” 38 x 57 นิ้ว 109
การวิเคราะหท์ ศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) 3 .2 ศิลปะนามธรรมท่ีใชเ้ สน้ เป็นหลัก มาร์ค โทเบ ศกึ ษาวิธกี ารใชพ้ ่กู นั เขียนหนังสือแบบจนี กบั เตง็ ไกว่ จิตรกรทม่ี ชี ่ือเสียงของในยุคนนั้ และไป ศึกษางานทญี่ ปี่ ุ่นซง่ึ เขามคี วามสนใจในพุทธปรชั ญานกิ ายเซ็น ถึงกับใชเ้ วลาฝกึ ฝนสมาธิในวดั ประมาณ หน่ึงเดือน และนำ�วิธีการเขียนหนังสือและความคิดจากนิกายเซ็นมาพัฒนาศิลปะแนวใหม่ในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยการ วาดภาพผลงานดว้ ยสขี าว แสดงโครงสร้างของเมอื งสมยั ใหม่ เปน็ ลายเสน้ ทมี่ วี ิธีการเขยี นแบบจีน ท่ศี กึ ษามา และ ไดน้ �ำ แนวคิดบางอย่างจากศลิ ปะของพวกอินเดียนแดง และศิลปะมนษุ ยก์ ่อนประวัติศาสตร์ผสมด้วย ผลงานโทเบ แสดงความเด็ดขาดของพลังจิตและสมาธิและแสดงถงึ เรอ่ื งความมีปริมาตร สร้างสรรคว์ ธิ กี ารใชเ้ ส้นที่สลับซับซ้อน ขน้ึ เส้นท่ีเขาชอบใช้สว่ นมากเปน็ สีขาว ซ่ึงทำ�ให้บังเกดิ ผลของแสงและความส่นั สะเทอื นของบรรยากาศได้เป็นอย่าง ดี (ภาพท่ี 6.27) ฮ านส์ ฮาร์ตุง เป็นศลิ ปินทปี่ ระสบความสำ�เร็จในการใชเ้ สน้ มีรูปแบบการใชเ้ ส้นแบบนามธรรม คลา้ ยกบั งานวาดเสน้ ซงึ่ ถูกวาดขนึ้ อยา่ งฉบั พลัน และมีแรงผลักดนั ภายในทห่ี ลงั่ ไหลออกมาโดยปราศจากการควบคุมบังคับ ตามปกตเิ ขาชอบใช้สีดำ�ปาดปา้ ยระบายเป็นเสน้ หนาทบึ บนพน้ื สอี อ่ น โดยนักวิจารณ์กล่าวชมเชยวา่ “คือการผสม กนั ระหวา่ งกฎเกณฑอ์ นั เขม้ งวดทค่ี รอบง�ำ จติ รกรรมฝรงั่ เศสเข้ากับสว่ นที่ดแี ละเดน่ ท่สี ดุ ของกวีนิพนธ์เยอรมนั ” ฮาร์ ตุงจัดองค์ประกอบของภาพขึ้นอย่างรอบคอบและไตร่ตรองและร่างภาพเป็นภาพลายเส้นอันเป็นส่วนสำ�คัญของ ภาพกอ่ น จากนัน้ จะสรา้ งสงิ่ ที่อยู่เบอ้ื งหลงั เส้นและน�ำ ทั้งสองมาผสมกัน เทา่ กับอยู่ภายในของตวั ศิลปิน โดยค้นหา ภาพมิติ เกิดลลี า ทำ�ให้เร้าอารมณค์ นดไู ด้เป็นอยา่ งดี จงึ เปน็ แนวทางของการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมกบั ศลิ ปิน นักศึกษาน�ำ มาพัฒนาต่อได้เปน็ อย่างดี (ภาพท่ี 6.28) 3 .3 ศลิ ปะนามธรรมที่ใชส้ เี ปน็ หลัก รอธโกเปน็ ศลิ ปินในกลุม่ นามธรรม เอกซ์เพรสชนั่ นสิ ม์ ท่มี ีเอกลักษณส์ ว่ นตวั และเด่นชดั ในการสร้างสรรค์ ผลงานข้ึนอย่างเรยี บง่ายแตเ่ ตม็ ไปด้วยจงั หวะลีลาความกล้าหาญเขาชอบจัดองค์ประกอบภาพด้วยรปู แถบสี่เหลยี่ ม ขนาดตา่ งๆ บรรจใุ นภาพ และตรงบริเวณขอบของแตล่ ะแถบส่เี หลีย่ มนน้ั ชอบท�ำ ใหพ้ รา่ มวั ไมค่ มชัด นิยมใช้สีซดี หม่นหมอง เชน่ สชี มพูอ่อน สีเหลอื งทอง สีน�ำ ต้ าลอมเหลือง สีแดงคลำ�้ เปน็ ต้น ในการสรา้ งสรรค์ผลงานรอธโก จะปฏบิ ตั งิ านของเขาอย่างมีพิถพี ถิ ัน ในการระบายสที ุกจุดของภาพเพ่อื ใหเ้ กดิ บรรยากาศทไี่ มแ่ บนราบ มีความรู้สกึ เหมอื นกับการเคล่ือนไหวซง่ึ เป็นการสร้างสรรค์เพ่ือดงึ ดดู ตนเองและผู้ชมใหเ้ ขา้ ไปสใู่ นโลกแหง่ สีสนั และจิตวญิ ญาณ ภายใน ดังน้นั ในผลงานของรอธโก จะมีเรอื่ งราวในตัวเอง ไม่หยดุ น่ิง ซึ่งมนี ักวจิ ารณ์กลา่ วไว้วา่ “ผลงานของรอธ โกเสมอื นกบั ลมท่พี ักเอื่อยเฉื่อยผา่ นทะเลทรายอยา่ งอ้อยอง่ิ เป็นศิลปะอนั เตม็ ไปด้วยความบริสทุ ธยิ์ ิง่ ภาพของเขา แสดงความเร่าร้อน แต่เปล่าเปลี่ยว” (ภาพที่ 6.29) ภาพท่ี 6.29 มาร์ค รอธโก (Mark Rothko) ค.ศ. 1950 “ไม่มีช่อื ” (Untitled) สนี �ำ ้มนั บนผา้ ใบ 110
บทท่ี 6 : รปู แบบในงานทัศนศลิ ป์ ภาพท่ี 6.30 ฟรานซ์ ไคลน์ (Franz Kline) ค.ศ. 1956 “มาโฮนง่ิ “(Mahoning) สนี ำ�้มนั บนผ้าใบ 80 x 100 นิ้ว 3 .4 ศลิ ปะนามธรรมท่ใี ช้ทวี่ ่างเป็นหลกั ฟ รานซ์ไคลน์สรา้ งสรรคผ์ ลงานทม่ี กี ารแสดงออกถงึ ลลี าทา่ ทางคลา้ ยคลงึ กบั การเขยี นตวั หนงั สอื ของตะวนั ออก เช่น จนี และญี่ปนุ่ ผดิ แปลกไปคือ เขาใช้แปรงขนาดใหญ่บนผนื ผ้าใบขนาดมหมึ า เขานยิ มใชส้ ีด�ำ ขาวและเทา ด้วย เหตุท่เี ขาตอ้ งการแสดงความวุ่นวายของสีต่างออกไป รอยทแ่ี ปรงของเขาดูใหญโ่ ตมหึมา ดว้ ยวธิ ีการเหมือนดงั การ พฒั นาตวั หนังสือจีนจงึ กอ่ ใหเ้ กิดความรู้สึกที่หา้ วหาญเดด็ ขาด รนุ แรงและเต็มไปดว้ ยสมาธอิ นั ดเี ลศิ การใชส้ ขี าว ของไคลน์นน้ั มใิ ช่เปน็ เพียงพ้ืนของภาพ หรอื ไมไ่ ดต้ อ้ งการใหเ้ ป็นความวา่ งเปลา่ แตต่ ้องการใหเ้ ป็นสว่ นหนึง่ ของ ภาพ และแสดงความขดั แย้งโดยตรงกับสดี �ำ โดยถือว่าผลงานมคี วามจรงิ อันเปลอื ยเปลา่ เต็มไปด้วยลีลาและแสดง อารมณข์ องความขัดแย้งท่ีแสดงออกมาอยา่ งรนุ แรงดงั คำ�กลา่ วของไคลนว์ า่ “ฉันไมไ่ ด้เหน็ ในสิ่งท่สี ายตาสมั ผัส แต่ อารมณท์ ี่ดูโชตชิ ่วงอยภู่ ายในอันเกิดจากการเห็นนนั่ แหละคือสง่ิ ที่ฉันเขยี นออกมา” เป็นผลงานการแสดงออกในรูป แบบนามธรรมทใ่ี ชค้ วามรสู้ กึ สว่ นตวั ภายในผสมผสานกบั ประสบการณแ์ บบตะวนั ออกแสดงออกมาดว้ ยทแี ปรงพกู่ นั ทแี่ ฝงไปดว้ ยความเดด็ ขาดรนุ แรงของสดี �ำ และขาวทท่ี �ำ งานรว่ มกนั เกดิ บรรยากาศทม่ี คี วามเปน็ เอกภาพกลมกลนื กนั (ภาพท่ี 6.30) ภาพที่ 6.31 แอนโธนีโอ ทาปสี ์ (Anthonio Tapies) ค.ศ. 1962 “เทา ดำ� พรอ้ มด้ายสอยตัดแดง” (Gray Black with Red Cuts) สนี �ำ ม้ ันบนผา้ ใบ 111
การวิเคราะห์ทัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) 3 .5 ศลิ ปะนามธรรมทีใ่ ชพ้ ้นื ผิวเปน็ หลกั แ อนโธนโี อ ทาปสี ์ เปน็ ศลิ ปนิ ทีส่ รา้ งผลงานแบบนามธรรมที่ใชพ้ นื้ ผิวเป็นหลักในการสร้างสรรคผ์ ลงาน เขา ใช้ผงหินออ่ นผสมกับกาวลาเทก็ ซ์ เตรียมพ้นื กอ่ น จากนั้นทาด้วยน�ำ ้มันวานิชลงไป เพื่อใหม้ ีการเกาะยดึ ดขี ึน้ ระหวา่ ง เตรียมพื้นเขาจะร่างภาพดว้ ยการฝน ขดี เป็นเสน้ ทำ�ให้แตกร้าว หรอื ปัน้ เป็นรปู รา่ งตามความต้องการ เม่อื พนื้ ที่ เตรยี มแห้งดแี ลว้ จึงระบายสีทบั ลงไป สที ช่ี อบระบายคอื สีทบึ ๆ เชน่ สีเทา สีด�ำ สีนำ�เ้ งิน สีน�ำ ต้ าลแดง สนี ำ�้ตาล เหลอื ง สนี �ำ ต้ าลไหม้ และทำ�ใหพ้ ้นื ผิวขรุขระดสู ะดุดตาไดด้ มี าก ดงั น้นั ภาพของเขาดเู หมือนผนังตึกหรอื โบสถเ์ กา่ ๆ ซ่ึงมรี อยแตกกะเทาะหรอื รอยขดู ขดี เปน็ ร่องลกึ มอี ารมณ์วงั เวง วา้ เหว่ ชวนให้นึกฝันถึงอดตี ซ่ึงการใชพ้ น้ื ผิวมาใช้ ในการแสดงออกผลงานจะต้องให้สอดคล้องกับรูปทรงเนื้อหาท่ีต้องการนำ�เสนอจะส่งผลทางความรู้สึกของคนดูให้ เกิดอารมณส์ ะเทือนใจหรือประทับใจนา่ สนใจกับผู้ดูไดเ้ ป็นอย่างดี (ภาพท่ี 6.31) 3 .6 ศิลปะนามธรรมทีใ่ ช้การจดั องค์ประกอบเป็นหลกั ว าสซลิ ี คานดนิ สก้ี เป็นศิลปนิ ท่ีสรา้ งสรรค์ผลงานจิตรกรรมในรปู แบบนามธรรมโดยการจัดองค์ประกอบ ดว้ ยการใชเ้ สน้ สีรปู ทรงเปน็ ส�ำ คญั โดยสลดั เนอื้ หาของภาพทวั่ ไปโดยคานดนิ สกไี้ ดก้ ระตนุ้ มโนภาพในการสรา้ งสรรค์ ผลงานจากบทเพลงของว๊ากเนอร์ (Wagner) จนิ ตนาการออกมาเป็นเส้นและสใี ห้บงั เกิดอยา่ งมหศั จรรยแ์ ละอารมณ์ ของสีทีส่ ัมพนั ธก์ บั จติ วิญญาณของมนษุ ยใ์ นแง่มุมต่างๆ ซง่ึ การจัดองคป์ ระกอบของเขาเปน็ การแสดงพลังความรสู้ ึก ไดด้ ุจดงั ดนตรี ตลอดจนความฝนั เฟื่องและจนิ ตนาการในวัยเดก็ ซ่งึ เตม็ ไปดว้ ยความเคลื่อนไหวเร้าใจดว้ ยสีสัน ลวดลาย และจงั หวะอันสนุกสนานผสมผสานรูปทรงเรขาคณิตและรปู ร่างของสิ่งมีชวี ติ เล็กๆ เขา้ ดว้ ยกัน ซงึ่ เป็นตน้ แบบในการพัฒนาศิลปะแนวนามธรรมท่ีมีการผสมผสานของรูปทรงและเนื้อหาและความรู้สึกภายในของศิลปินได้ อยา่ งมีเอกภาพและกลมกลืนกันเป็นอย่างดี (ภาพที่ 6.32) ภาพท่ี 6.32 วาสซิลี คานดินสกี้ (Wassily Kandinsky) ค.ศ. 1913 “องคป์ ระกอบ หมายเลข 6” (Composition VI) สนี ำ�้มันบนผ้าใบ 72 x 120 นิว้ 112
บทท่ี 6 : รปู แบบในงานทศั นศิลป์ ภาพท่ี 6.33 เพียท มอนเดรียน (Piet Mondrian) ค.ศ. 1942- 1943 “บรอดเวย์ บกู ้ี – วูก้ี” (Broadway Boogie – Woogie) สีน�ำ ้มนั บนผา้ ใบ 3 .7 ศลิ ปะนามธรรมบริสทุ ธ์ิ เ พียท มอนเดรยี น ศลิ ปนิ ที่สรา้ งสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมที่ปลอดจากความสบั สนอนั เกยี่ วกับอารมณค์ วาม รสู้ ึกขน้ึ อยกู่ ับปจั เจกชน โดยใชร้ ปู ทรงเรขาคณิต ส่เี หลีย่ ม และสแี บบเรยี บ เขามคี วามคดิ ว่างานจิตรกรรมคอื ความ จรงิ ที่เปน็ จริงกว่าสิ่งใดๆ ไมต่ ้องการรปู ทรงแสดงมติ ิลวงตา หรอื สิง่ ใดในโลกธรรมชาติมาช่วยในการแสดงออก สีที่ ใชจ้ งึ แบนเรยี บการจดั องคป์ ระกอบภาพดว้ ยรปู สเ่ี หลยี่ มและเสน้ หนาทบึ คลา้ ยงานออกแบบถอื วา่ เปน็ ผลงานรปู แบบ นามธรรมบริสทุ ธทิ์ ใี่ ชเ้ ส้นและสขี น้ั ท่ี 1 ตามทฤษฎี คอื เหลอื งแดง น�ำ เ้ งิน ขาว และด�ำ ซึ่งการสรา้ งสรรค์ผลงาน เลยข้ามผา่ นการตัดทอนรปู ทรงตามธรรมชาตผิ า่ นข้ามาถึงสภาวะเรียบง่าย โดยไดแ้ รงบนั ดาลใจจากสภาพแวดล้อม จงั หวะแสงสี และดนตรแี จส๊ ในมหานครนวิ ยอร์ก ของรูปทรงสีท่บี รสิ ุทธ์ิ (ภาพที่ 6.33) ผ ลงานประตมิ ากรรมในรปู แบบศิลปะนามธรรม เป็นผลงานรูปแบบนามธรรมทไี่ ดถ้ ่ายทอดเร่อื งราวจาก ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมทางออ้ ม คือ เป็นการอาศยั เนือ้ หาเร่ืองราวจากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมคอื ต้นไม้ แต่ นำ�มาแสดงออกรูปแบบไม่เหมือนจริงตามเน้ือหานั้นโดยใช้รูปทรงเรขาคณิตและรูปทรงอิสระเป็นหลักสำ�คัญในการ ถ่ายทอด โดยตัดทอนเพิม่ เตมิ ความอสิ ระของศิลปนิ จะมีรปู ทรงทีด่ ูรเู้ รือ่ งบา้ งและไมร่ เู้ รอ่ื งบ้างไม่มีกฎเกณฑ์ โดย ใช้ความรู้สกึ ของตวั เองเป็นทตี่ ้ัง ผดู้ จู ะต้องอ่านความรสู้ กึ ของผูส้ ร้างวา่ มีเจตนานำ�เสนอรปู ทรงเน้ือหาตามเป้าหมาย อย่างไร (ภาพที่ 6.34) ภาพที่ 6.34 ยนี ดบู ัฟเฟท (Jean Dubuffet) ค.ศ. 1971 “กลุม่ ต้นไม้ 4 ต้น” (Group of Four Trees) ไฟเบอรก์ ลาส 40 x 16 x 16 ฟตุ 113
การวิเคราะหท์ ัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 6.35 สาโรจน์ โหเ้ พชร พ.ศ. 2548 “รูปทรงในจินตนาการและจติ ใตส้ �ำ นึก หมายเลข 2” แมพ่ มิ พ์ตะแกรงไหม 110 x 226 ซม. ผลงานภาพพมิ พ์ ในรปู แบบศลิ ปะนามธรรมศลิ ปนิ ไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานโดยการลดตดั ทอนรปู ทรงตามธรรม ชาตดิ ว้ ยการใชร้ ปู ทรงเรขาคณติ และรูปทรงอิสระ เส้น สี ผสมผสานเกิดเป็นรปู ทรงในจนิ ตนาการและจิตใตส้ ำ�นกึ ตามอสิ ระของศลิ ปิน ซ่งึ เปน็ การถ่ายทอดความลกึ ลับจากภายในที่มีจนิ ตนาการในการสรา้ งสรรค์ (ภาพท่ี 6.35) ภาพที่ 6.36 เฟอรน์ ันโด โบเตโร (Fernando Botero) ค.ศ. 1932-1988 “ส�ำ นกั ของราเควล เวกา” (The House of Raquel Vega) สนี ำ�ม้ ันบนผา้ ใบ 195 x 246.5 ซม. ภาพท่ี 6.37 ศุภชยั ศรีขวัญแกว้ “มงคลชีวติ ” สอี ะครลิ ิคบนผ้าใบ 80 x 90 ซม. 114
บทท่ี 6 : รปู แบบในงานทศั นศลิ ป์ ภาพที่ 6.38 กูสตาฟว์ คลิมท์ (Gustav Klimt) ค.ศ. 1862-1918 “สาวพรหมจรรย”์ (The Virgin) สนี ำ�ม้ ันบนผา้ ใบ 190 x 200 ซม. ภาพท่ี 6.39 เดวดิ ฮอคนยี ์ (David Hockney) ค.ศ. 1937 “ภายในบ้านแคลฟิ อรเ์ นยี ” (California home Interior) สนี ำ�ม้ นั บนผ้าใบ ภาพที่ 6.40 “ไกรสร ประเสริฐ” ค.ศ. 1998 บนั ทกึ “ศิลปกรรมหลังความตาย” Etching and chine colle 78 x 106 ซม. 115
การวเิ คราะห์ทศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพที่ 6.41 ช�ำ เรอื ง วิเชยี รเขตต์ “ท่วงท�ำ นองแห่งมิตรภาพ” สแตนเลส, เหล็ก 650 x 650 สงู 550 ซม. ภาพที่ 6.42 เขยี น ยม้ิ ศิริ “ขล่ยุ ทิพย์” สำ�รดิ 55 x 38 ซม. 116
บทท่ี 7 : การจัดองค์ประกอบทศั นศลิ ป์ การจัดองคป์ ระกอบทศั นศลิ ป์ การจดั องค์ประกอบทัศนศิลป ์ ถือวา่ มสี ว่ นสำ�คญั ในการสร้างผลงานซึง่ จะทำ�ให้ผลงานเหล่านม้ี ีความ เปน็ เอกภาพเป็นอันหนึ่งอันเดยี วกัน โดยมีสว่ นประกอบระหวา่ งรปู ทรงกับเน้อื หา ท่มี กี ารประสานกลมกลืนกนั ซึง่ รูปทรง (Form) เป็นองคป์ ระกอบรูปธรรม เนอ้ื หา (Content) เป็นองคป์ ระกอบนามธรรม ดังนัน้ องคป์ ระกอบที่ เปน็ โครงสรา้ งหลักของงานศลิ ปะ คือ รูปทรงกบั เน้อื หา (ชลูด น่ิมเสมอ,2534:18) และสว่ นทส่ี ำ�คัญที่สดุ ในการ สรา้ งสรรคผ์ ลงานทศั นศิลป์ คือ การประสานสมั พันธ์กันอย่างมเี อกภาพของทศั นธาตุ ได้แก่ เส้น สี รูปทรง นำ�ห้ นกั พ้ืนผิว ทว่ี า่ ง ปริมาตร มวล ฯลฯ ถา้ ผลงานใดสร้างรปู ทรงไม่มีเอกภาพ ถือว่าผลงานไมส่ มบูรณ์ ผลงานขาดชีวติ ขาดเน้ือหา ไม่สามารถแปลหรือสือ่ ความหมายได้ซง่ึ ความงามความนา่ สนใจ ความประทบั ใจ แก่ผ้ดู ู สง่ิ เหลา่ นี้ทเี่ กดิ ข้ึนภายในผลงาน จะตอ้ งน�ำ องค์ประกอบทง้ั หลายท้งั ปวง มาจดั วางประสานเพือ่ ใหเ้ กิดความงามขนึ้ เรียกว่า การ ประสานองค์ประกอบ (Organization of Elements) มหี ลักเกณฑด์ งั ต่อไปนี้ 1.เอกภาพ (Unity) เอกภาพ คอื ความเปน็ อนั หนึง่ อันเดยี วกัน ความกลมกลืน กลมเกลยี ว เขา้ กนั ได้ ความเป็นอนั หน่ึงอัน เดียวกนั ท่เี กิดจากการเชื่อมโยงสมั พนั ธก์ นั ของส่วนตา่ งๆ (ชลูด นมิ่ เสมอ,2534:101) การทจ่ี ะสรา้ งสรรคผ์ ลงานใหม้ ี เอกภาพจะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจความหมายหนา้ ทก่ี ารเลอื กทางทศั นธาตตุ า่ งๆทจ่ี ะเลอื กหรอื น�ำ มาผสมผสานกบั เนอื้ หา เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ของโครงสร้างของรูปทรงโดยรวมและมีความสอดคล้องกลมกลืนกับเนื้อหาโดยทำ�หน้าท่ี แสดงอารมณค์ วามรู้สึก แสดงผลในการผสมผสานออกมาให้ปรากฎในผลงาน โ จอนั มิโร ผลงานจติ รกรรมมรี ปู แบบนามธรรม ที่มคี วามเป็นเอกภาพ ไดพ้ ัฒนาการสรา้ งงานจากลทั ธคิ วิ บสิ ม์โดยนำ�รปู ทรงของเซลลต์ า่ งๆทมี่ กี ารเคล่ือนไหวได้ลดตดั ทอนรปู ทรงจากจลุ นิ ทรีย์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์น�ำ มา ประกอบเขา้ ด้วยกันเป็นรูปทรงของสิง่ มีชวี ติ ตดั ทอนเหลอื แกน่ แท้อนั บรสิ ทุ ธมิ์ ีความเปน็ เอกภาพของรปู ทรงโดยมี การเคลอื่ นไหวทง้ั ภาพมโิ รไดใ้ ชเ้ นอื้ หาของขบวนตวั ตลกมหี นา้ ตาอากปั กริ ยิ ายม้ิ แยม้ เคลอื่ นไหวกลมกลนื กนั ทงั้ ภาพ มรี ปู ทรงที่ใกลเ้ คยี งกันไดแ้ ก่ ใหญ่กลางเล็กมที ้งั รูปทรงท่ปี ระสานทับซ้อนบงั กันมคี วามกลมกลืนของเส้นสีด้วยการ ลดความเขม้ ของสนี ำ�เ้ งินดว้ ยสขี าว และกระจายไปท่ัวภาพ เพ่อื สร้างความกลมกลนื รวมท้ังสีน�ำ ต้ าล เหลือง ดำ� แดง สอดแทรก อยู่ทุกพน้ื ทขี่ องภาพโดยรวม ท�ำ ใหภ้ าพเกิดความเป็นเอกภาพนา่ สนใจ ดว้ ยการเคลอ่ื นไหว และจนิ ตนา การของรูปทรงท่เี ปน็ แบบเซอเรียลสิ ม์ ถอื วา่ เป็นผลงานทม่ี คี วามเป็นเอกภาพ ประสานความกลมกลนื ของรปู ทรง เสน้ สี น้ำ�หนัก ที่มคี วามสวยงาม เปน็ อนั หนึง่ อนั เดียวกัน (ภาพที่ 7.1) 117
การวิเคราะห์ทศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพที่ 7.1 โจอัน มิโร (Joan Miro) ค.ศ. 1924 – 1925 “ขบวนแห่ตัวตลก” (Harlequin’s Carnival.) สนี ำ�้มันบนผา้ ใบ 26 x 36 นว้ิ ภาพที่ 7.2 มารค์ ชากาล (Mark Chagall) “วันเกิด” (Birthday) สนี �ำ ้มันบนผ้าใบ 13 x 39 นิ้ว ม ารค์ ชากาล เปน็ ศลิ ปนิ สรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมทไ่ี ดส้ รา้ งสรรคร์ ปู ทรงของคนและสงิ่ ของทเี่ ปน็ การแสดง ออกอยา่ งพสิ ดารซ่งึ ศิลปนิ เปน็ คนทมี่ ีความคิดเห็นสว่ นตัว จึงสรา้ งงานในรปู แบบเซอเรยี ลิสม์ โดยจนิ ตนาการ รูปทรงใหเ้ กิดการเคลือ่ นไหวล่องลอย สมั พันธก์ ลมกลืนกันท้ังภาพ เครื่องใชต้ ่างๆ ภายในภาพท่ีมีการเคลอื่ นไหว บิดเบี้ยว สัมพนั ธก์ นั สอดคล้องกบั เนื้อหาท่ีต้องการแสดงออก ท�ำ ให้ภาพผลงานจติ รกรรมทม่ี ีเอกภาพทางดา้ น แสดงออกของรูปทรงทีเ่ ตม็ ไปดว้ ยความฝันและจนิ ตนาการเหมือนอยใู่ นเทพนิยาย (ภาพที่ 7.2) ภาพที่ 7.3 รชั รชั นีกร “เกดิ จากดนิ เกิดจากไฟ เกิดจากใจ เกิดจากสขุ ” ส่อื ผสม 244 x 244 x 150 ซม. 118
บทท่ี 7 : การจัดองค์ประกอบทศั นศิลป์ ร ชั รชั นกี ร เปน็ ศลิ ปนิ สรา้ งสรรคผ์ ลงานประตมิ ากรรมใหม้ คี วามเปน็ เอกภาพดว้ ยรปู ทรงทลี่ ดตดั ทอนเพม่ิ เตมิ จากรูปทรงธรรมชาติ ผสมผสานกบั รปู ทรงเรขาคณติ และอสิ ระเกดิ เนือ้ หาทมี่ คี วามสัมพนั ธก์ ันเปน็ เอกภาพ (ภาพที่ 7.3) ว ิธกี ารทีท่ �ำ ให้ เกดิ เอกภาพในงานทศั นศลิ ป์ การเน้นความส�ำ คัญ (Emphasis) หลักการจัดองค์ประกอบศลิ ปะของการเนน้ ความสำ�คัญ โดยการน�ำ ทศั น ธาตุต่างๆ มาประกอบกนั เชน่ สี รปู ร่าง รูปทรง พ้นื ผวิ ใหเ้ กดิ ผลงานท่ีมีจุดเด่น และความน่าสนใจในผลงาน 1.1 การเน้นความส�ำ คัญด้วยทิศทางของเส้น (Convergence of Line) เน้นความส�ำ คัญในเอกภาพของ เสน้ ทเี่ ปน็ โครงสรา้ งของรปู ทรงทมี่ กี ารเลอ่ื นไหลสมั พนั ธก์ ลมกลนื ทงั้ ภาพเชอ่ื มโยงสมั พนั ธข์ องรปู ทรงท�ำ ใหภ้ าพคนมี ความน่าสนใจ เป็นการบงั คับการมองของคนดูให้เพง่ มองไปทั่วภาพ เน้นจดุ เด่นของรูปทรงเลาคณู ทม่ี กี ารบิดเบี้ยว ของรปู ทรงและเส้นของส่วนรองของจุดเด่นเกี่ยวโยงสมั พันธ์ เปน็ ผลงานทมี่ ีเอกภาพของเส้น จงั หวะของรูปทรงที่ สวยงาม (ภาพท่ี 7.4) ภาพที่ 7.4 ลีโอนารโ์ ด ดา วินซี (Leonardo da Vinci) “เลาคณู พพิ ธิ ภณั ฑ์วาตกิ ัน โรม” (Laocoon) สงู 244 ซม. ภาพท่ี 7.5 ตนิ ตอเรตโต (Tintoretto) ค.ศ. 1592-1594 “อาหารมอ้ื สดุ ทา้ ย” (The Last Supper) จิตรกรรมบนผนงั 4.6 x 8.6 เมตร 119
การวิเคราะห์ทศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) 1 .2 การเนน้ ความสำ�คัญดว้ ยทศิ ทางทัศนยี ภาพ (Perspective) เปน็ การเน้นจุดท่นี ่าสนใจด้วยทศิ ทาง ของ ทศั นยี วิทยา (Perspective) ของอาคาร สง่ิ กอ่ สร้าง กลุม่ คนโดยใชห้ ลักทัศนียภาพไปส่ศู นู ยก์ ลาง ท�ำ ให้ภาพเกิด จดุ เดน่ ของภาพโดยมหี นว่ ยตา่ งๆทเี่ ปน็ สว่ นประกอบของภาพทงั้ หมดคอื ภาพคนพงุ่ เขา้ หาและออกจากจดุ ศนู ยก์ ลาง แตม่ ีการเชื่อมโยงสมั พันธเ์ น้นเกดิ ความเปน็ เอกภาพ (ภาพที่ 7.5) ต นิ ตอเรตโต ใช้เส้นทัศนยี วิทยา (Perspective) เขา้ สู่สดุ มมุ หอ้ ง เพื่อน�ำ สายตาของผู้ชมไปสูจ่ ุดเดน่ ของ ภาพคอื ภาพพระเยซูและแสงตะเกยี งท�ำ ใหภ้ าพมบี รรยากาศดสู บั สนและตงึ เครยี ดโดยเสน้ ทศั นยี ภาพ(perspective) 2 จดุ ดงั เช่นค�ำ กล่าวของพระเยซูที่วา่ “ฉนั รวู้ า่ คนใดคนหนง่ึ ในพวกทา่ นนีแ้ หละทที่ รยศต่อฉนั ” ซ่ึงการเน้นความ สำ�คัญของทศิ ทางทางทศั นยี ภาพเปน็ สว่ นทำ�ให้ภาพเกดิ ความรสู้ ึกกับผู้ดูไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 1 .3 การเน้นความส�ำ คญั ด้วยความแตกต่าง (Contrast) เป็นการสรา้ งสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมท่ีเน้นความ แตกตา่ งกันให้เกดิ ขึ้นในผลงานทำ�ใหผ้ ลงานดนู ่าสนใจ เกิดจุดเดน่ ของภาพ เช่น การวางรปู สามเหลยี่ มในกลุ่มรปู ทรงส่ีเหลยี่ ม การวางนำ�ห้ นักสว่างทา่ มกลาง นำ�ห้ นกั เข้ม การวางสตี รงกนั ขา้ มในกล่มุ สีใกลเ้ คียงกัน ฮ านส์ ฮอล์ฟแมน เนน้ ความสำ�คัญของสีทมี่ คี วามแตกตา่ งกันดว้ ยสตี รงข้ามคือ สีเขยี ววางคู่กันกับสีใกล้ เคยี งของสีเหลอื ง สม้ นำ�้ตาล ทำ�ให้ภาพเกิดความสนใจ มีการสะท้อนของสแี ดง สีเขียวที่แสดงตวั ออกมาและระยะ ลึกเข้าไปภายในด้วยการผสมสีเขียวและแดงและสีใกล้เคียงสร้างความสัมพันธ์กลมกลืนกันอย่างมีเอกภาพในความ ขัดแย้งทแี่ ตกต่างกนั ของสี (ภาพท่ี 7.6) ภาพที่ 7.6 ฮานส์ ฮอลฟ์ แมน (Hans Holfman) ค.ศ. 1959 “ปอมเปอ”ี (Pompeii) สีนำ�ม้ นั บนผา้ ใบ 2.14 x 1.3 ม. ซาลวาดอร์ ดาลี ศลิ ปนิ สร้างสรรคผ์ ลงานเนน้ ความส�ำ คัญด้วยการระบายสี และเพ่ิมขนาดของรปู ทรง โทรศพั ท์กุ้ง และมีความเปน็ จริงท่แี ตกต่างกันจากโทรศัพท์ท่ีมหี นา้ ทป่ี ระโยชน์ใชส้ อยตา่ งไปจากความเป็นจริงทำ�ให้ ผลงานเกิดความน่าสนใจ (ภาพท่ี 7.7) 120
บทที่ 7 : การจดั องคป์ ระกอบทัศนศิลป์ ภาพท่ี 7.7 ซาลวาดอร์ ดาลี (Salvador Dali) ค.ศ. 1936 “โทรศพั ท์ ก้งุ ” (Telephone Homard) Assemblage 18 x 2.5 x 30.5 ซม. ภาพที่ 7.8 คริสติน่า ลู (Christina Lue) ค.ศ. 2000 “ลูกขนไก่” (Shuttlecock) สนี ำ�ม้ ันบนผ้าใบ 48 x 35 ซม. 1 .4 การเน้นความส�ำ คัญดว้ ยการแยกตวั (Isolation) ค รสิ ตนิ า่ ลูใชว้ ธิ กี ารเนน้ ความส�ำ คญั ของผลงานจติ รกรรมดว้ ยการเนน้ รปู ทรงของดอกไมท้ ม่ี สี แี ดงมรี ายละเอยี ด ของกลีบดอก แสงเงาท่ีดูเหมอื นจรงิ ตามธรรมชาตแิ ละเพิ่มขนาดของรปู ทรงให้มขี นาดใหญเ่ กือบเต็มพ้ืนทีข่ องเฟรม ภาพแลว้ เน้นเสน้ รอบนอกบนพืน้ สีขาวสะอาดเพ่อื เน้นรปู ทรงใหม้ ีความสำ�คัญและน่าสนใจ โดยให้พ้นื ขาวท�ำ หนา้ ที่ เปน็ บรรยากาศ และอากาศทหี่ อ่ หมุ้ ส่วนของรปู ทรงใหม้ ีความสมั พนั ธก์ ันมีชวี ิตชวี า (ภาพท่ี 7.8) โ จอนั มิโร สรา้ งความส�ำ คัญและน่าสนใจของผลงานการสร้างสรรคจ์ ติ รกรรมของเขาดว้ ยเนน้ สีขาวและแดง ใหเ้ ด่นชดั บงั คบั สายตาใหม้ องไปในจุดเด่นของภาพ โดยสแี ดงจะแยกตวั ออกจากกลุ่มสี เพราะสีส่วนรวมเปน็ สีทึบๆ เชน่ สีเขยี ว น�ำ ต้ าล นำ�เ้ งินเขม้ ด�ำ ทำ�ให้เกดิ ความขัดแยง้ ในผลงาน สร้างความสมดุลของภาพดว้ ยการกระจาย สขี าวอยตู่ �ำ แหน่งดา้ นบน และด้านลา่ งของภาพท�ำ ให้ผลงานมีความเปน็ เอกภาพเชอ่ื มโยงกัน (ภาพที่ 7.9) ภาพที่ 7.9 โจอัน มโิ ร (Joan Miro) ค.ศ.1933 “การระบายส”ี (Painting) สนี ำ�้มนั บนผา้ ใบ 174 x 196.2 ซม. 121
การวิเคราะหท์ ัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 7.10 นาม กาโบ (Naum Gabo) ค.ศ. 1923 “Column” ไม้ เหลก็ แก้ว 105.3 x 73.6 x 73.6 ซ.ม. น าม กาโบ ศลิ ปนิ ใช้วธิ ีการเนน้ ความส�ำ คญั ดว้ ยสีแดงของรปู ทรงในรายละเอียดของรูปทรงโดยรวมของผล งานประตมิ ากรรมอยู่ในส่วนของสีกลมกลืนขาวกบั เทา เป็นการบังคับสายตาของผ้ดู ใู หม้ องไปทส่ี แี ดงเพื่อเปน็ จุดท่ี น่าสนใจของภาพ ทำ�ใหเ้ กดิ ความขัดแย้งในผลงาน แตส่ รา้ งความกลมกลนื ดว้ ยรปู ทรงส่ีเหลีย่ มของสี และใหเ้ กิด ความกลมกลนื เปน็ เอกภาพกับรูปทรงอนื่ ๆ โดยรวมดว้ ยรปู ทรงเรขาคณติ (ภาพท่ี 7.10) ผลงานการสรา้ งสรรค์ภาพพิมพ์ มีการสร้างความเปน็ เอกภาพดว้ ยวิธีการตา่ งๆ คลา้ ยกับผลงานจิตรกรรม เพราะเป็นผลงาน 2 มิติ ในการสรา้ งความเด่นมวี ิธีเดียวกนั จะตา่ งกันในส่วนของกระบวนการสร้างสรรค์ (ภาพที่ 7.11) ภาพที่ 7.11 ชวนชม บญุ มเี กิดทรพั ย์ (Mindless No.1) แม่พมิ พ์หนิ 80 x 98 ซม. 122
บทท่ี 7 : การจดั องคป์ ระกอบทัศนศลิ ป์ ภาพท่ี 7.12 ไมเคลิ แองเจลโล โบเนอรโ์ รต้ี (Michel Angelo Buonerroti) ค.ศ. 1510 “การก�ำ เนิดของอดัม” (Creation of Adum) สเี ฟรสโกบ้ นผนงั ปนู 1 .5 การเน้นความสำ�คญั ด้วยการกำ�หนด (Placement) ไ มเคิล แองเจลโล เน้นความส�ำ คญั ของรูปทรงมนษุ ย์ที่เปน็ จดุ เด่นของภาพดว้ ยการก�ำ หนดรูปทรงท่ีมกี าร เชอื่ มโยงกนั ดว้ ยทศิ ทางของกลมุ่ รปู ทรงทงั้ สองขา้ งใหม้ คี วามส�ำ คญั เทา่ กนั โดยการจงใจของศลิ ปนิ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเปน็ เอกภาพและเน้นความส�ำ คัญ ส่วนประกอบรอบนอกของรปู ทรงเป็นสว่ นประกอบแต่ไดว้ างทศิ ทางท่ีแตกต่างกนั แต่ มีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกันเพอ่ื ให้เกิดภาพโดยรวมมคี วามเป็นเอกภาพสัมพนั ธก์ นั (ภาพที่ 7.12) 1 .6 การเน้นความสำ�คัญดว้ ยการไม่มจี ุดศนู ย์รวมของภาพ (Absence of Focal Paint) เปน็ การจัด องค์ประกอบของทัศนธาตุต่างๆ ที่ไม่มจี ุดท่ีนา่ สนใจมีความส�ำ คัญเทา่ กนั ของเสน้ สี รูปทรง ทีว่ ่าง พืน้ ผิว ปรมิ าตร จดุ เด่นของภาพ อยู่ท่ัวทงั้ ภาพโดยบงั คับให้สายตาคนดสู ามารถดไู ด้ท้ังภาพและเกดิ ความเปน็ เอกภาพเชอ่ื มโยงของ ทศั นธาตโุ ดยรวม ท่ีมคี วามกลมกลนื กัน ร ิชาร์ด ดอด สรา้ งความส�ำ คญั ของผลงานจิตรกรรมด้วยการสรา้ งสรรคผ์ ลงานโดยไมม่ ีจดุ ศูนยร์ วมของภาพ ประกอบดว้ ยรูปทรง สี พ้นื ผวิ เสน้ นำ�้หนกั ประสานเชื่อมโยงสมั พนั ธ์เคลื่อนไหวทั้งภาพ มคี วามสำ�คัญเทา่ กนั ท�ำ ให้ เกิดความเป็นเอกภาพกลมกลืนกนั สรา้ งมติ ลิ กึ ตน้ื ของภาพด้วยการลดขนาดของรปู ทรงและการทบั ซอ้ นบังกันของ รูปทรงและสี (ภาพที่ 7.13) ภาพท่ี 7.13 รชิ าร์ด ดอด (Richard Dodd) ค.ศ. 1855-1864 “ความกลมกลนื ” (The Fairy Feller’s Masterstroke) สีน�ำ ้มนั บนผ้าใบ 54 x 39.4 ซม. 123
การวเิ คราะห์ทศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 7.14 แกร่ี ฮูม (Gary Hume) ค.ศ. 1999 “สมาชกิ ในครอบครัว” (Household) สนี ำ�้บนกระดาษ 24.2 x 30.3 ซม. แ กรี่ ฮูม สร้างสรรคผ์ ลงานโดยให้ความสำ�คัญของภาพด้วยเส้น โครงสรา้ งของคนในครอบครวั มีความซับ ซอ้ นบงั กนั ล่นื ไหลท้ังภาพสร้างความเป็นเอกภาพกลมกลืนสมั พนั ธ์กันทงั้ ภาพ โดยให้ความส�ำ คัญ เทา่ กัน ไม่มจี ุด ที่นา่ สนใจให้คนดูสามารถดูไดท้ ั้งภาพ และใหเ้ หน็ ถงึ ความส�ำ คญั ในรายละเอยี ดของภาพเท่ากัน (ภาพท่ี 7.14) ภาพที่ 7.15 แนนซี กราเวส (Nancy Graves) ค.ศ. 1979 “Variability and Repetition” เทคนิคบรอนซบ์ นฐานหลกั 12 x 16 x 6 ฟตุ 124
บทท่ี 7 : การจดั องค์ประกอบทัศนศิลป์ ส รา้ งสรรคผ์ ลงานประติมากรรม ศิลปินไมเ่ นน้ จดุ ที่น่าสนใจเพยี งจุดใดจุดหน่ึงจะให้ความสำ�คัญเท่ากนั ท้ัง หมดดว้ ยรูปทรง ปรมิ าตร มิติ อยูท่ ่ัวทง้ั ภาพเกดิ ความเชอื่ มโยงของรปู ทรงและเน้อื หาทที่ �ำ ให้เกดิ ความเป็นเอกภาพ (ภาพที่ 7.15) 2. สัดสว่ น (Proportion) เปน็ กฎของเอกภาพที่เกย่ี วข้องกับความสมสว่ นซงึ่ กนั และกันของขนาด (Dimensions) ในสว่ นตา่ งๆ ของ รูปทรง และระหวา่ งรูปทรง ทเ่ี ราเหน็ คนหวั โต คนเตี้ย คนขายาว หรือคนขาสั้นเกนิ ไป เพราะเขามีสัดสว่ นผดิ ไป จากธรรมชาติ ของคนทวั่ ไป สดั ส่วนเปน็ เรื่องราวของความร้สู ึก ทางสนุ ทรยี ภาพและอดุ มคติ การสมสัดสว่ นน้ี หมายความรวมไปถึง ความสัมพันธ์กันอยา่ งเหมาะสม กลมกลนื ของแสง เงา และทศั นธาตุ อ่ืนๆ ด้วย(ชลดู น่ิมเสมอ, 2534 :161) การสรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมของศิลปนิ แตล่ ะชนิ้ งานจะไม่เพียงแตส่ ร้างข้นึ เพ่อื ความงามและสนอง ความตอ้ งการ ตามความถนดั ประสบการณ์ และลักษณะเฉพาะตัวของแตล่ ะคนเทา่ นั้น สง่ิ ทส่ี ำ�คัญท่ีปรากฏภายใน ผลงานแต่ละผลงานจะตอ้ งมีสัดส่วน ของรูปทรง เส้น สี น�ำ ห้ นกั ทัศนธาตุต่างๆ ผสมกลมกลนื ตามสัดส่วนท่มี ี เอกภาพ ซึง่ สดั สว่ นจะชว่ ยใหเ้ กดิ อารมณค์ วามรสู้ กึ ของผลงานศลิ ปะน้นั ไดส้ มบูรณล์ งตัว 2 .1 สดั ส่วนมนุษย์ (Human Scale) สัดสว่ นมคี วามส�ำ คญั ในการสรา้ งสรรค์ผลงานทัศนศลิ ป์และการออก แบบอืน่ ๆ ด้วยซึ่งต้องมคี วามสัมพันธ์กลมกลืนท้งั หมดของภาพโดยรวม จะพจิ ารณาทั้งส่วนกว้าง ยาว สงู หนา โดย เฉพาะสดั สว่ นของมนษุ ยถ์ อื วา่ มคี วามส�ำ คญั กวา่ สว่ นอนื่ ๆทปี่ รากฏในภาพผลงานการสรา้ งสรรคจ์ ะท�ำ ใหก้ ารก�ำ หนด สดั ส่วนของต้นไม้ อาคาร สงิ่ ก่อสรา้ งอนื่ ๆ เพ่ือใหเ้ กดิ ความเปน็ เอกภาพร่วมกนั ซงึ่ ดาวินซไี ด้ศึกษาหาอตั ราส่วนเฉล่ยี ของสดั สว่ นมนษุ ย์เพอ่ื น�ำ มาใชใ้ นการสรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมออกแบบอาคารสถาปตั ยกรรมซงึ่ ในการวดั สดั สว่ น ของมนษุ ยก์ ็จะวัดจากศีรษะของมนษุ ย์เป็นสว่ นแรก แล้ววดั สัดส่วนตอ่ ลงมาตามลำ�ดบั ก็จะได้ 7 ส่วนคร่งึ ซงึ่ เป็น มาตรฐานของสดั ส่วนของมนษุ ย์ สำ�หรบั ผ้ชู าย สว่ นผ้หู ญิงหกส่วนคร่ึง และเม่ือกางแขนออกท้ังสองขา้ งจะมีความ กวา้ งเท่ากับความสูงของล�ำ ตวั เพราะฉะนน้ั ไม่วา่ คนจะมขี นาดใหญ่ เลก็ กต็ ้องวัดสดั สว่ นของศรี ษะ เป็นเกณฑเ์ สมอ (ภาพที่ 7.16) ก ารนำ�สัดส่วนของมนุษย์มาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมจึงต้องคำ�นึงถึงสัดส่วนมนุษย์เป็น เกณฑก์ ่อนเพ่อื เปรยี บเทียบกับธรรมชาตสิ ่งิ กอ่ สรา้ งเพือ่ ใหเ้ หน็ ถงึ ความยงิ่ ใหญ่ ความกวา้ งยาว หนา ของสิ่งเหลา่ น้ี ไมว่ า่ จะอยดู่ ้านหนา้ ดา้ นหลัง กลางไกลก็จะลดหล่ันตามมุมมองทัศนียวิทยา เพ่อื ให้เกดิ ความมีสดั สว่ นทเี่ หมาะสม ประสานกลมกลนื กันเป็นเอกภาพทงั้ ภาพ ผ ลงานจติ รกรรมของเบอรล์ นิ ี ก�ำ หนดสดั สว่ นมนุษยท์ ีถ่ ูกต้องตามความเปน็ จริงในธรรมชาติในระยะดา้ น หนา้ ของภาพท�ำ ใหก้ �ำ หนดสดั สว่ นของมนษุ ยใ์ นระยะกลางไกลตามล�ำ ดบั ไดอ้ ยา่ งกลมกลนื เหมาะสมเปน็ ความสมั พนั ธ์ ในการก�ำ หนดสัดส่วนของสะพาน อาคารและสดั สว่ นของมนุษย์ท่มี ีขนาดแตกตา่ งกันตามล�ำ ดับ เกิดการประสาน กลมกลืนกนั ของรปู ทรงอยา่ งมเี อกภาพ เสมอื นการถา่ ยภาพหรอื มุมมองของศลิ ปินในการถา่ ยทอดจากมุมมองบน ตึก ท�ำ ให้ภาพผลงานมคี วามถูกต้องตามความเปน็ จริง ของเจตนาของศิลปนิ ในการถ่ายทอดผลงาน (ภาพที่ 7.17) 125
การวิเคราะห์ทัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพที่ 7.16 ลโี อนาร์โด ดาวนิ ซี (Leonardo Davinci) ค.ศ. 1485-1490 “วาดเส้นศึกษาสัดสว่ นของมนุษย์” (Drawing relates the human body to the Golden) ปากกาและหมึก 34.3 x 24.5 ซม. ภาพท่ี 7.17 เจนติลี เบลลนิ ี (Gentile Bellini) ค.ศ. 1429-1507 “อภนิ หิ ารของชีวิต จรงิ ใกลส้ ะพานซานลอเรนซ์” (The Miracle of the true Cross near Sanlorence Bridge) สนี ำ�้มนั บนผ้าใบ ภาพท่ี 7.18 ดัคซโิ อ ดี โบนินเซกนา (Duccio di Buoninsegna) ค.ศ. 1255-1318“เมสตา้ ” (Mesta) 126
บทที่ 7 : การจัดองคป์ ระกอบทศั นศิลป์ ด คั ซิโอ ดี โบนนิ เซกนา สร้างสรรค์ผลงานทใี่ ชใ้ นการวัดสดั ส่วนในแตล่ ะสว่ นของพ้นื ทที่ ่ถี กู ตอ้ งเหมือนจรงิ แต่เม่อื น�ำ มารวมกนั ท้ังภาพจะไมไ่ ด้ใช้การสร้างภาพแบบทัศนียวิทยา(Perspective)ทต่ี ามหลกั ความเปน็ จริงขนาด สดั ส่วนของมนุษยท์ มี่ ีขนาดใหญ่ จะเปน็ ส่วนของจดุ เดน่ ของภาพ คอื ภาพพระแมอ่ ยู่ตรงกลางภาพ แตม่ คี วามถกู ตอ้ งตามสดั ส่วนของความเป็นจริงแต่ไมม่ ีความสมั พนั ธ์กับส่วนอ่นื ๆ ในการลดหลัน่ ของรปู ทรงทเ่ี ปน็ จรงิ จะลดขนาด ของรปู ทรงมนุษย์เป็นส่วนรองหรือระยะท่ี2ของภาพด้วยรปู ทรงขนาดเล็กลงจนเห็นไดช้ ดั รวมท้งั สว่ นประกอบของ ภาพท่มี ีขนาดแตกตา่ งอย่างชัดเจนในแตล่ ะสว่ นจะมคี วามถูกต้องตามความเป็นจริง แต่เมอ่ื รวมกนั จะมีความ แตกตา่ งกันอย่างเห็นได้ชดั จะมคี วามสัมพันธภาพกลมกลืนด้วยบรรยากาศ เน้ือหาที่มเี กีย่ วพนั ธก์ ัน ทิศทางม่งุ เขา้ หาจดุ เดน่ ของภาพ (ภาพที่ 7.18) อ าคมิ โบลโด สรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมโดยใชส้ ดั สว่ นของใบหนา้ มนษุ ยใ์ นการแสดงออกเปน็ ภาพคนเหมอื น คร่ึงตัวที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์เป็นโครงสร้างหลักของการสร้างสรรค์ผลงานโดยประยุกต์สร้างสรรค์ด้วยการนำ�รูป ทรง ผลไม้ ผกั และดอกไม้ เข้าไปแทนทีร่ ูปทรงมนษุ ยโ์ ดยน�ำ สิ่งเหลา่ น้ีแทนคา่ เปน็ สดั ส่วน รายละเอยี ดของมนษุ ย์ ทำ�ให้ภาพดนู ่าสนใจซ่ึงเขามคี วามคดิ เปน็ ฤดใู บไม้ผลิชวี ิตหลังความตายของศลิ ปนิ ซง่ึ มีความคิดสรา้ งสรรค์ในผลงาน มีจดุ เด่นนา่ สนใจเปน็ ทีม่ าของแนวความคดิ พฒั นาผลงานของลทั ธเิ ซอเรยี ลิสม์ (ภาพท่ี 7.19) ภาพที่ 7.19 กนิ เซฟเป อาคมิ โบลโด (Ginseppe Arcimboldo) ค.ศ. 1527-1593 “ฤดูใบไม้ผล”ิ (spring) ภาพท่ี 7.20 เนติ ถงั รตั นกุล “แสดงขนาดสดั สว่ นของคน” ไฟเบอร์กลาสขนาดเทา่ จรงิ 127
การวิเคราะหท์ ัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ศิลปินสร้างผลงานประติมากรรมด้วยการกำ�หนดขนาดสัดส่วนของมนุษย์ที่มีความถูกต้องตามหลักกาย วิภาค การเพ่ิมขนาดสดั ส่วนความสูง ความกว้าง จะต้องเพมิ่ รายละเอียดสว่ นอ่นื ๆ ไปดว้ ย เช่น ตา หู จมูก ส่วน ตา่ งๆ ของร่างกาย ส่วนประกอบอนื่ ๆ ที่อยู่ ส่ิงแวดล้อมจะตอ้ งเพม่ิ หรอื ลด เพื่อใหเ้ กิดความสมั พันธก์ ลมกลนื กนั และเพอ่ื ให้สะดวกในการก�ำ หนดสัดส่วนอยา่ งอืน่ ด้วย (ภาพที่ 7.20) ภาพท่ี 7.21 ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พีระศรี พ.ศ. 2499 “อนสุ าวรียส์ มเด็จพระนเรศวรมหาราช” หล่อดว้ ยโลหะรมดำ� ศิลปินใช้สัดส่วนของคนเป็นพ้นื ฐาน ถา้ ขยายสดั ส่วนของคนให้มีขนาดใหญ่ไปอีก 1 เท่า กจ็ ะตอ้ งเพม่ิ สดั ส่วน ของสง่ิ ของเครือ่ งใชแ้ ละช้างรวมท้งั อื่นๆเพม่ิ ดว้ ย เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเหมาะสมและกลมกลืนกนั เปน็ เอกภาพ (ภาพท่ี 7.21) สว่ นผลงานการสรา้ งสรรคภ์ าพพมิ พจ์ ะมวี ธิ กี ารวางสดั สว่ นและจนิ ตนาการรปู ทรงใหม้ กี ารก�ำ หนดสดั สว่ นเหมอื น กับภาพผลงานจติ รกรรมตา่ งกันเฉพาะในส่วนของขบวนการสรา้ งสรรค์ 2 .2 ความแตกต่างและความสับสน (Contrast and Confusion) เปน็ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ อกี รปู แบบหนงึ่ ทเ่ี กยี่ วกบั การก�ำ หนดสดั สว่ นของรปู ทรงใหม้ ขี นาดที่ แตกต่างไปจากปกติตามธรรมชาติ ขยายสดั ส่วนท่ีมีความแตกตา่ งและตรงข้ามกันของรูปทรงท�ำ ใหผ้ ลงานน่าสนใจ ซงึ่ เปน็ ไปตามความคิดเห็นสว่ นตวั ของศิลปิน เช่น ตวั อยา่ งผลงานเพิม่ ขนาดของลกู แอบเปลิ้ ใหม้ ีขนาดใหญ่เตม็ หอ้ ง เล็กสวที สดั ส่วนของขนาดให้มคี วามแตกตา่ งกัน แตส่ ัดสว่ นของหุน่ นนั้ ๆ มคี วามถกู ต้องตามความเปน็ จริง แต่เม่ือน�ำ มาประกอบกันจะมขี นาดแตกตา่ งกนั เป็นแนวความคิดแบบเซอเรยี ลสิ ม์ท่มี คี วามสับสนย่งุ เหยงิ ในบรเิ วณท่เี ปน็ ปกติ แตเ่ พิ่มขนาดของบางสงิ่ บางอยา่ งในพ้ืนทีม่ ีความผิดปกตทิ �ำ ให้ภาพผลงานดึงดูดเกดิ ความนา่ สนใจ และสร้างความ กลมกลนื ดว้ ยนำ�ห้ นกั สี และบรรยากาศโดยรวม (ภาพที่ 7.22) เ อกภาพของสัดส่วนที่สมบูรณจ์ ะตอ้ งอยู่ในกฎของเอกภาพ มีความขัดแย้ง ความซ�ำ ้ มีการแปรเปลยี่ น ปรมิ าณทเ่ี หมาะสม มีพลงั การเคล่อื นไหว แต่จะตอ้ งมีความสัมพนั ธ์กลมกลืนกนั ของรูปทรงและทศั นธาตุทั้งหลาย และต้องมีการแสดงออกของอารมณค์ วามรสู้ ึกออกมาในผลงาน บางอยา่ งกจ็ ะมสี ัดสว่ นท่ีผดิ แปลกไปจากความจริง ของธรรมชาติ ถือว่าเป็นความงามตามอุดมคตซิ งึ่ ขนึ้ กับเจตนา ความคิดสรา้ งสรรค์ การนำ�เสนอของแต่ละคน เพอ่ื ให้เกิดผลการรบั รทู้ างความรู้สึกทแ่ี ตกต่างกนั ออกไป 128
บทที่ 7 : การจดั องคป์ ระกอบทศั นศิลป์ ภาพท่ี 7.22 เรเน มากริตเต้ (Rene Magritte) ค.ศ. 1958 “ฟังเสียงในหอ้ งพกั ” (The Listening Chamber) . สนี ำ�ม้ นั บนผา้ ใบ 34 x 46 ซม ภาพที่ 7.23 เคลย์ โอเดนเบริ ก์ (Clay Oldenburg) ค.ศ. 1971 (Trowel) เหลก็ 1170 x 365 ซม. เ คลย์ โอเดนเบริ ์ก สรา้ งสรรคผ์ ลงานประติมากรรมท่กี ินเนอ้ื ทใี่ นอากาศ โดยน�ำ สิง่ แวดลอ้ มรปู ทรงสินคา้ สำ�เร็จรูปมาสร้างใหม่ให้มีขนาดใหญ่โตกว่าปกติหลายเท่าโดยไม่คำ�นึงถึงสัดส่วนแสดงออกโดยผสมกันระหว่าง จติ รกรรมและประตมิ ากรรม คือ มีการระบายสีบนรปู ดว้ ย แตส่ จี ะมกี ารออกแบบและสร้างรปู ทรงขึ้นใหม่ เปน็ การ แสดงออกในการหาคณุ คา่ ในเรื่องความประทับใจให้กบั ผชู้ มรบั ร้อู ย่างรุนแรงตามคตเิ อกซ์เพรสช่นั นสิ ม์ โดยบรรจุ อารมณส์ นกุ สนานในผลงานนกั วจิ ารณค์ ดิ วา่ ผลงานประตมิ ากรรมของโอเดนเบริ ก์ ไดส้ รา้ งผลงานเขา้ ใกลก้ บั แนวคดิ แนวเซอเรยี ลิสมเ์ ขา้ ไปทุกทคี ือ เขาชอบสรา้ งงานให้เกิดอารมณป์ ระหลาด พสิ ดารเกินความจรงิ (ภาพที่ 7.23) 3. ความสมดลุ (Balance) เปน็ คุณลักษณะส�ำ คัญของเอกภาพ ดุลยภาพโดยท่ัวไปหมายถึง การถ่วงนำ�้หนกั หรอื แรงปะทะที่เทา่ กัน แต่ ในทางศลิ ปะ ดุลยภาพมีความหมายรวมไปถึงความประสานกลมกลนื ความพอเหมาะพอดีของสว่ นต่างๆ ในรูปทรง หนง่ึ หรือในงานทัศนศลิ ป์ชนิ้ หน่ึง 129
การวิเคราะหท์ ัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ค วามสมดลุ ถอื วา่ มคี วามส�ำ คญั ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทศั นศลิ ปเ์ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของความเปน็ เอกภาพท�ำ ให้ ผลงานมคี วามสมบรู ณ์ น่าสนใจ และจะต้องประสานสมั พนั ธก์ นั ของทศั นธาตุตา่ งๆ อย่างเป็นเอกภาพ ผลงานบางชิ้น งานอาจจะสร้างสรรคใ์ หท้ ้งั สองข้างเท่ากนั ด้วยนำ�้หนกั ของสี เส้น แตบ่ างช้ินงานสิ่งเหลา่ นน้ั อาจจะไมเ่ ท่ากนั และ ศิลปินสามารถใช้วิธีการตา่ งๆ สร้างความสมดุลใหเ้ กดิ ขึ้นในผลงาน แลว้ แตว่ ธิ ีการแบบไหนจะเหมาะสมกบั ประเภท ของผลงานท่ศี ลิ ปนิ ต้องการแสดงออกมา ตอ้ งอาศยั ความรู้สึกในการตดั สนิ ว่าผลงานนนั้ ๆ มีความสมดลุ ไดด้ ว้ ยการ ผสมผสานกนั ของคนดูซง่ึ เปน็ สงิ่ ทศ่ี ลิ ปนิ จะตอ้ งใชป้ ระสบการณค์ วามเขา้ ใจทกั ษะในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทศั นศลิ ป์ ซึ่งมวี ธิ กี ารและรปู แบบดงั ตอ่ ไปนี้ 3 .1 ความสมดุลแบบซ้ายขวาเทา่ กนั (Symmetrical Balance) การสรา้ งผลงานทมี่ คี วามสมดลุ ดว้ ยเสน้ แกนกลางและมหี นว่ ยซา้ ยขวาเทา่ กนั หรอื ใกลเ้ คยี งกนั ปรมิ าณขนาด ใกล้เคียงกนั ตัวอยา่ งเช่น ผลงานจติ รกรรม”อาหารมอ้ื สุดทา้ ย” ของลโี อนาโด ดาวนิ ซี โดยมเี สน้ ทัศนยี วิทยา (Perspective) พงุ่ เข้าหาจดุ ศูนย์กลางของเสน้ แกนกลาง หนว่ ยท่อี ยูท่ ัง้ 2 ข้าง เหมอื นกนั ทงั้ ซ้ายขวา ท�ำ ให้ภาพมี ความสมดลุ และมเี อกภาพ ประสานสมั พนั ธ์กันทัง้ ภาพ ทำ�ให้ภาพมคี วามสม�่ำ เสมอเป็นการเน้นจดุ ที่น่าสนใจของ ภาพได้เป็นอย่างดี (ภาพที่ 7.24) ภาพที่ 7.24 ลีโอนาร์โด ดาวินซี (Leonardo Davinci) ค.ศ. 1495-1498“อาหารมือ้ สดุ ทา้ ย” (The Last Supper) สีฝุน่ บนฝาผนัง 4.6 x 8.8 ม. ภาพท่ี 7.25 พระพทุ ธชินราช จังหวัดพษิ ณโุ ลก ศลิ ปะสมยั สุโขทัย พทุ ธศตวรรษที่ 21 130
บทที่ 7 : การจดั องค์ประกอบทัศนศิลป์ ภาพท่ี 7.26 วรี ะพงษ์ ศรีตระกูลกิจการ (Mutant GMO) แมพ่ มิ พแ์ กะไม้ 280 x 400 ซม. ก ารสรา้ งผลงานประตมิ ากรรม ท่ีมีความสมดุลดว้ ยเส้นแกนกลาง หนว่ ยพื้นทหี่ รือรายละเอียดทั้งสองขา้ ง เท่ากนั ขนาด ปรมิ าตรมวลของรูปทรงมีสัดสว่ นเทา่ กนั เปน็ ประตมิ ากรรมในสมยั สุโขทยั ทม่ี ีความสวยงาม เน้น ความสมดุลซา้ ยขวาเทา่ กันโครงสร้างรปู ทรงโดยรวมเป็นรูปสามเหล่ียม เพื่อแสดงออกถึงความศรทั ธา มน่ั คง สงบ นงิ่ ทำ�ใหภ้ าพโดยรวมมีความเป็นเอกภาพแตจ่ ุดเด่นเปน็ รูปทรงพระพุทธรูป สว่ นเรอื นแก้วและส่วนอื่นๆ เปน็ สว่ น รองรวมทัง้ ผลงานจติ รกรรมทนี่ ำ�มาผสมผสานกัน ความสมดุลแบบซ้ายขวาเท่ากนั (ภาพท่ี 7.25) ผ ลงานภาพพมิ พ์ จะมวี ธิ กี ารจดั ภาพแบบสมดลุ เหมอื นกนั โดยการแทนคา่ ความสมดลุ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ดว้ ยรปู ทรง สี น�ำ ้หนกั พื้นผิว ท่วี า่ ง ให้มขี นาดจ�ำ นวนเหมือนกนั ท้ังสองข้างเหมอื นผลงานจิตรกรรม แต่ศลิ ปนิ เพิ่มขนาดสัดส่วน เนอ้ื หาใหผ้ ดิ แปลกจากความเปน็ จรงิ ตามธรรมชาติเพอ่ื เนน้ รปู ทรงและความแปลกใหมข่ องเรอื่ งราวทศี่ ลิ ปนิ ก�ำ หนดให้ ผู้ชมเกดิ ความรูส้ กึ ทีแ่ ปลกไปจากเดิม (ภาพท่ี 7.26) 3 .2 ความสมดลุ แบบซ้ายขวาไม่เทา่ กนั (Asymmetrical Balance) การสรา้ งความสมดุลในผลงานท่ีมีความซบั ซ้อนมากขน้ึ โดยหนว่ ย ขนาด ปริมาณท้ัง 2 ข้าง ดแู ลว้ ไมเ่ ทา่ กนั แตศ่ ิลปนิ ต้องสร้างงานด้วยความรู้สกึ ใหเ้ กิดข้นึ ถงึ ความสมดลุ ซึง่ ศิลปินจะตอ้ งมคี วามเข้าใจในองค์ประกอบและวิธี การตา่ งๆ ในการสร้างความสมดุลใหเ้ กดิ ขึ้นในผลงานการสร้างสรรคด์ ังต่อไปนี้ ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมให้มีความซับซ้อนมากข้ึนด้วยขนาดสัดส่วนรายละเอียดของรูปทรง จากเส้นแกนกลางจะไม่เทา่ กนั ท้ังสองข้าง แต่ศิลปนิ นำ�เสนอโดยใหผ้ ดู้ ูใชค้ วามรสู้ กึ ในการรับรรู้ ่วมกับศลิ ปนิ ในการ สร้างความสมดุลใหเ้ กิดข้นึ ด้วยขนาดสดั สว่ นและจำ�นวนปรมิ าตรของรปู ทรงให้มคี วามสมดลุ ทำ�ให้ผลงานดูน่าสนใจ มากขนึ้ (ภาพที่ 7.28) ส่วนการสรา้ งสรรคผ์ ลงานภาพพมิ พส์ รา้ งความสมดลุ แบบ 2 ข้าง ไม่เท่ากนั แต่เกดิ ความสมดลุ ดว้ ยสรี ูปทรง พ้นื ผวิ ช่องวา่ ง ทำ�ใหภ้ าพเกิดความสมดลุ ของเนือ้ หาที่มีความสมั พันธ์เกดิ เอกภาพ (ภาพที่ 7.29) 131
การวิเคราะห์ทศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพที่ 7.27 วนิ สโลว์ โฮเมอร์ (Winslow Homer) ค.ศ. 1836-1910 “คนื หนึ่งในฤดรู ้อน” (A Summer Night) สีน�ำ ้มนั บนผา้ ใบ 29 x 39 นิ้ว ภาพท่ี 7.28 ธุดงค์ สุขเกษม “คดิ ถึง” ปั้นดนิ หล่อปูน สงู 200 ซม. ภาพที่ 7.29 ชวนชม บุญมเี กิดทรัพย์ “Mindless No.2” แม่พิมพ์หิน 112 x 79 ซม. 132
บทท่ี 7 : การจัดองคป์ ระกอบทศั นศลิ ป์ 3 .3 การสรา้ งความสมดุลด้วยรปู ทรงและพ้ืนผวิ (Balance by Shape and Texture) การสรา้ งสรรคผ์ ลงานทศั นศิลป์ ทศ่ี ลิ ปนิ เลือกองคป์ ระกอบหรือทศั นธาตตุ า่ งๆ มาผสมผสานเกดิ ผลงาน ให้ ประสานสัมพันธ์กลมกลนื เปน็ เอกภาพ โดยใชค้ วามร้สู ึกของศิลปินและการรับรู้ผู้ดูซึ่งเกิดความรสู้ ึกความพอดหี รอื เกดิ จากความเขา้ ใจ หยง่ั รูใ้ นทักษะความคดิ จินตนาการของศลิ ปนิ ท่ถี ่ายทอดผลงานสรา้ งสรรคอ์ อกมา ผลงานจติ รกรรมของเทอรเ์ นอร์ เปน็ ภาพการลากเรอื เกา่ ของเรอื ลากทอี่ อกแรงอยา่ งเตม็ ที่โดยการสรา้ งสรรค์ ผลงานของเทอร์เนอรส์ รา้ งความสมดุลของภาพด้วยการวางรปู ทรงของจดุ เด่นคือภาพการลากเรือเกา่ ไว้ฝง่ั ซา้ ยของ ภาพ ท้องฟา้ สีโทนเย็นระบายสีเกลย่ี เรียบ สดี ูนมุ่ นวล เนน้ นำ�ห้ นักเข้มของสีทเ่ี รือและเงาตกทอดเปน็ ผวิ เรียบ สว่ น ภาพฝ่ังขวารูปทรงไม่สำ�คัญแต่เน้นแสงสว่างของดวงอาทิตย์ที่แผ่รังสีไปอีกฟากฝ่ังมีความน่าสนใจกว่าด้วยการ ระบายสที ่ีหนาทบึ มพี ้นื ผิวหยาบในสว่ นของทอ้ งฟ้าและพ้นื ผวิ น�ำ ้ทำ�ให้ภาพโดยรวมมคี วามสมดลุ ด้วยรปู ทรงกับพนื้ ผวิ ทหี่ ยาบและการระบายสที ห่ี นาทึบ ทำ�ใหเ้ กดิ ความสมดุลและเป็นเอกภาพกลมกลนื กันของสองส่วนได้ดี (ภาพที่ 7.30) ย นี พาพตสี ท์ ซิมมอน สร้างความสมดลุ ดว้ ยการวางหนุ่ น่งิ ภาพเหยือก และแก้วไวเ้ ลยแกนกลางด้านขวา มจี ำ�นวนมากกว่า และน่าสนใจมากกว่าดว้ ยแสงสาดส่องสวา่ งมากกวา่ สว่ นอ่นื แต่ศลิ ปนิ สรา้ งความสมดลุ ดว้ ยการ กระจายแสงเงาไปทวั่ ท้งั ภาพท่กี ระทบกับหนุ่ อ่นื ๆ เชน่ แกว้ ขวด อกี ฝง่ั เพ่ือสร้างความสมดลุ และอีกฝ่งั หนึง่ จะมนี �ำ ้ หนักเข้มมากกว่า และสร้างความสมดุลอกี อยา่ ง คือ พ้ืนผวิ ท่ีมคี วามหนาทึบและหยาบกระจายไปท่ัวท้งั ภาพให้เกิด ความเปน็ เอกภาพและเม่อื ใชค้ วามรู้สกึ ในการดูแลว้ มีความสมดลุ กัน (ภาพท่ี 7.31) ภาพที่ 7.30 โจเซฟ แมลลอร์ด วลิ เลีย่ ม เทอรเ์ นอร์ (Turner) ค.ศ. 1838 (The Fighting “Temeraire” Tugged To her Last Berth to be broken up) สนี ำ�ม้ ันบนผา้ ใบ 90.8 x 121.9 ซม. 133
การวเิ คราะห์ทศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) ภาพที่ 7.31 ยนี พาพตีสท์ ซมิ มอน (Jean Paptiste Simeon) (Charding, Pipe and Jug) สนี ำ�ม้ นั บนผ้าใบ 32.5 x 42 ซม. ภาพท่ี 7.32 เฮนร่ี รุสโซ (Henri Rousseau) ค.ศ. 1907 “งู – เวทมนต์” (The Snake – Charmer) สีน�ำ ม้ นั บนผา้ ใบ 169 x 189.5 ซม. รุสโซ สร้างความสมดุลในผลงานจติ รกรรมด้วยการสรา้ งรปู ทรงธรรมชาติ เชน่ ใบไม้ ตน้ ไม้ เถาวลั ย์ งู และ สัตวต์ า่ งๆ และภาพคนด้วยการลดตัดทอนรายละเอียดของส่ิงเหลา่ น้ลี งเพอ่ื ให้เกดิ ความเปน็ เอกภาพ ถึงแม้การจัด วางภาพจากกง่ึ กลางภาพด้านซา้ ยจะมีความหนาแน่นของรูปทรงธรรมชาติ มากกวา่ ดา้ นขวาจะมีพื้นที่วา่ งมากกวา่ เปน็ ภาพทอ้ งฟา้ ท้องน�ำ ้ ทวิ ป่า สร้างความสมดุลดว้ ยการวางจดุ เด่นของภาพ คอื ภาพคนกำ�ลงั เป่าเวทมนต์อยูฝ่ ่งั ขวาของเสน้ แกนกลางและสร้างความสมดุลด้วย รปู ทรงของงู และธรรมชาติท่พี งุ่ เข้าหาจดุ ทีน่ า่ สนใจ กระจายพน้ื ผวิ เรยี บสว่างของท้องฟา้ ไปอยู่กับพืชในระยะดา้ นหน้า และตวั นก และบางส่วนของธรรมชาติเพือ่ ใหเ้ กิดความสมดุล จุดเด่นจะมีนำ�้หนักเข้มเพ่ือกระจายนำ�้หนักเข้มให้ทั่วภาพด้วยนำ�้หนักของงูทำ�ให้เกิดความสมดุลทางความรู้สึก และมีเอกภาพประสานสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี (ภาพที่ 7.32) ศิลปนิ สร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพด์ ้วยการสร้างความสมดุลรูปทรงของคนฝงั่ ขวามอื เป็นจดุ เด่นของภาพฝ่ัง ซา้ ยมอื สร้างรปู ทรงที่มลี กั ษณะรายละเอียดใกลเ้ คยี งกนั เพอื่ ใหเ้ กิดความสมดุลของภาพและสรา้ งพืน้ ผวิ ให้เกดิ ความ กลมกลืนและมเี อกภาพกระจายไปท่ีทวั่ ท้งั ภาพ มมี ิติระยะด้วยนำ�ห้ นักของสีที่แตกตา่ งกนั (ภาพที่ 7.33) 134
บทที่ 7 : การจัดองคป์ ระกอบทศั นศิลป์ ภาพที่ 7.33 วชั รพล รัตนะ “Deep inside My Mind” แมพ่ ิมพโ์ ลหะ 135 x 110 ซม. ภาพท่ี 7.34 จสั เป้ ดี รีเบรา (Jusepe de Ribera) ค.ศ. 1616-1620 “เซนต์ เจโรมี” (St. Jerome) สนี �ำ ้มนั บนผ้าใบ 179 x 139 ซม. 3 .4 การสรา้ งความสมดลุ ด้วยต�ำ แหนง่ และการช้ีน�ำ ดว้ ยสายตา (Balance by Position and Eye Direction) จ ัสเป้ ดี รีเบรา สร้างความสมดุลโดยใช้วิธกี ารมองดว้ ยสายตาของจดุ เด่นของภาพ คอื ผชู้ ายแก่ โดยใหแ้ สง สว่างสอ่ งไปบรเิ วณใบหนา้ ของจดุ เด่นและกระจายไปทว่ั ร่างกายของคนแกแ่ ละส่วนประกอบต่างๆเช่นหนังสือที่อยู่ รอบขา้ ง ภายในพื้นสว่ นหลงั สีเข้มซงึ่ เป็นกล่มุ ของรูปทรง เนน้ จดุ ท่นี ่าสนใจของภาพ และนำ�สายตาการมองของคน แกไ่ ปทีค่ นเป่าปีด่ ้านบนของภาพท่หี นั ทิศทางเพื่อสอดคล้องรบั กนั ของสายตา และน�ำ ้หนกั แสงทกี่ ระทบกบั ผู้ชาย ด้านบน จะไมเ่ ดน่ หรอื สว่างเทา่ กบั จดุ เด่น แต่จะมที ศิ ทางที่ประสานกนั กลมกลนื เป็นเอกภาพ เม่อื มองดูแล้วจะให้ ความรสู้ กึ ถงึ ความสมดลุ กนั ในภาพ ถึงแมก้ ารวางภาพรปู ทรงต่างๆ ท่ีศิลปนิ จะนำ�เสนอด้วยการเน้นนำ�้หนกั ไปทาง ด้านใดดา้ นหนึ่ง รวมท้ังนำ�ห้ นัก รายละเอยี ดของรูปทรงจะดไู ม่มีความสมดุล แตศ่ ลิ ปนิ สามารถเลอื กทศิ ทางการมอง เพือ่ ช้นี �ำ สายตาของรูปทรงขนาดใหญ่ ไปทีร่ ปู ทรงต่างๆ ทม่ี ีขนาดเล็กกวา่ และเพิม่ แสงสว่างรายละเอยี ดมากข้ึน ซึง่ จะท�ำ ให้ภาพมีความเช่ือมโยงสัมพันธ์ เกิดความสมดลุ ของนำ�ห้ นักและทิศทางการช้ีน�ำ ดว้ ยสายตาท�ำ ให้มเี อกภาพ (ภาพท่ี 7.34) ภาพท่ี 7.35 . พอล เซซานน์ (Paul Cezanne) ค.ศ. 1890-1895 “แม่ของเซซานน”์ (Madame Cezanne) สีนำ�้มันบนผา้ ใบ 130.5 x 96.5 ซม 135
การวิเคราะห์ทัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 7.36 ซ.ี อาร.์ ดบั เบลิ ยู เนวนิ สัน (C.R.W Nevinson) ค.ศ. 1915 . “การระเบดิ ของเปลอื กนอก” (Bursting Shell) สนี �ำ ้มนั บนผ้าใบ 76 x 56 ซม. 3 .5 การสร้างความสมดลุ ด้วยการแผ่ออกจากศูนยก์ ลาง (Radial Balance) ซ .ี อาร.์ ดับเบิลยู เนวนิ สัน การสร้างความสมดลุ ในผลงานจติ รกรรม แสดงออกดว้ ยเสน้ หมนุ เวยี นเหมอื น ขดหอยเชือ่ มโยงและเปน็ จุดทส่ี นใจของภาพทีม่ แี สงสวา่ งมีทศิ ทางแผ่รศั มี ออกจากตรงกลางภาพ ทำ�ให้เกิดความ สมดลุ กลมกลืนทง้ั ภาพด้วยทศิ ทางของเปลือกอะไรบางอย่างทีเ่ ปน็ รูปทรงสามเหล่ียมแตกแยกอยา่ งรุนแรงออกจาก จดุ ศนู ย์กลางมนี �ำ ้หนักเข้มแตกตา่ ง จากจดุ ทนี่ ่าสนใจของภาพท่มี นี ำ�ห้ นักอ่อนแตส่ รา้ งความสมดุลด้วยทศิ ทางทพ่ี ุ่ง ออกจากข้างในสขู่ า้ งนอก และมีซากไมอ้ ฐิ โครงสร้างตา่ งๆ แตกกระจายออกมาจากข้างในโดยมี ทศิ ทางแผ่รัศมี ออกมาท�ำ ให้เกดิ ความสมดุลลายขด หมายถึงชีวติ ท่แี ตกสลาย โดยแสดงออกถงึ ความรุนแรงสูญเสยี นา่ กลัว ของ สงครามโลกครั้งที่ 1 อนั เป็นประสบการณ์ ที่เนวินสนั ต้องการถา่ ยทอดใหผ้ ชู้ มไดเ้ ห็นถงึ ความสูญเสียอย่างรนุ แรง ของสงคราม (ภาพท่ี 7.36) เ จยี โคโม บอลลา สร้างความสมดุลในผลงานด้วยทศิ ทางของเส้นน�ำ ห้ นักแสงเงาทแ่ี ผ่ออกจากจดุ ศูนยก์ ลาง ท�ำ ใหภ้ าพมคี วามสมดลุ เปน็ เอกภาพเชอ่ื มโยงดว้ ยทศิ ทางของเสน้ เนอ้ื หารปู ทรงเกดิ จนิ ตนาการและความรสู้ กึ ทป่ี รากฏ ได้ดี (ภาพที่ 7.37) ภาพท่ี 7.37 เจยี โคโม บอลลา (Giocomo Balla) ค.ศ. 1909 “แสงสว่างของเส้นทาง” (Street Light) สีนำ�้มนั บนผ้าใบ 5.8 x 3.9 นว้ิ 136
บทท่ี 7 : การจดั องคป์ ระกอบทศั นศลิ ป์ ภาพท่ี 7.38 ปเี ตอร์ พอล รูเบนส์ (Peter Paul Rubens) ค.ศ. 1636 “Autumn Landscape with a View of Met Steen in the Early Morning) สนี ำ�้มันบนแผ่นไม้ 132 x 229 ซม. 3 .6 การสร้างความสมดลุ ดว้ ยน�ำ ้หนกั และสี (Balance by Value and Color) ป เี ตอร์พอลรเู บนส ์ ส รา้ งความสมดลุ ของภาพดว้ ยการวางองคป์ ระกอบรปู ทรงทมี่ นี �ำ ห้ นกั เขม้ และหนาแนน่ ฝงั่ ซ้ายของภาพ ฝ่ังขวาจากเส้นแกนกลางรปู ทรงนอ้ ยและพื้นทวี่ า่ งทอ้ งฟา้ สวา่ งความเขม้ ของสนี อ้ ย นำ�ห้ นกั ของสี นอ้ ยกวา่ แตม่ ีพ้นื ทกี่ วา้ งกวา่ รปู ทรงในฝัง่ ซ้าย จะมีอัตราส่วน 40 : 60 ทอ้ งฟ้าในส่วนทีม่ ีรูปทรง น�ำ ้หนกั สี มีสเี ข้มกวา่ อกี ฝง่ั จะมีน�ำ ้หนักออ่ นแตเ่ มือ่ มองดูภาพรวมของภาพจะมีความสมดุลกันดว้ ยน�ำ ห้ นักของสีรปู ทรงรายละเอียดเกิด ความสมดลุ เปน็ เอกภาพสัมพนั ธ์กนั และเทคนิควธิ ีการด้วย (ภาพที่ 7.38) ฟ รานซ์ มารค์ หลังจากสรา้ งสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมทมี่ ีความสมดุลของสี ภาพสตั วต์ ่างๆ และมารค์ กม็ า พัฒนารูปทรงสีในแนวคิดของศิลปะนามธรรมโดยการแสดงออกของรูปทรงท่ีมีการเคล่ือนไหวของลัทธิฟิวเจอร์ริสม์ ตามเทคโนโลยสี มยั ใหม่ที่มีการเจรญิ เคลือ่ นไหวอยา่ งไม่หยดุ นิ่งมาร์คจะสรา้ งความสมดลุ ของสแี ละน�ำ ้หนักด้วยการ วางองคป์ ระกอบของน�ำ ห้ นกั และสใี นขนาดปรมิ าณจากเสน้ แกนกลางใกลเ้ คยี งกนั รปู ทรงคลา้ ยกนั คอื รปู ทรงนามธรรม ขนาดปรมิ าตรจากเสน้ แกนกลางใกลเ้ คยี งกนั รปู ทรงคลา้ ยกนั คอื รปู ทรงนามธรรมแตส่ แี ดงจะมปี รมิ าณมากกวา่ สดี �ำ แตด่ ว้ ยน�ำ ห้ นกั ของสดี �ำ มากกวา่ จงึ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ทสี่ มดลุ กนั ทง้ั ยงั กระจายสแี ดงไปทวั่ ทง้ั ภาพและลดคา่ ของสแี ดง ลงดว้ ยการผสมสใี กลเ้ คยี งและมปี รมิ าณนอ้ ยกวา่ เพอื่ สรา้ งความเปน็ เอกภาพของสีและกระจายน�ำ ห้ นกั สดี �ำ กระจาย ไปท่ัวภาพ แตป่ ริมาณน้อยลงเพอื่ สรา้ งความสัมพนั ธ์กลมกลืนของสี น�ำ ้หนัก รวมทัง้ ลลี าของเส้น รปู ทรง มีการ ประสานกลมกลนื เกิดเป็นเอกภาพและกระจายสีตา่ งๆเช่นเขียวเหลืองน�ำ ้เงนิ ส้มทัว่ ท้งั ภาพในปริมาณที่ต่างกันเพ่ือ ใหเ้ กิดความเป็นเอกภาพของบรรยากาศของสีในการตอ่ สู้กนั ของรปู ทรง และสี ใหค้ วามรสู้ ึกต่ืนเตน้ เร้าใจโดยรวม เกดิ ระยะมิติในผลงาน (ภาพท่ี 7.39) . 137
การวิเคราะห์ทัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพที่ 7.39 ฟรานซ์ มารค์ (Franz Mark) ค.ศ. 1914 “การต่อสูข้ องรปู ทรง” (Fighting Forms) สนี ำ�้มันบนผ้าใบ 91 x 131.5 ซม ภาพที่ 7.40 อนุพงษ์ คชาชีวะ “การกำ�เนิด” แมพ่ มิ พ์โมหะ 100 x 125 ซม. อ นุพงษ์ คชาชีวะ สร้างความสมดลุ ดว้ ยนำ�ห้ นักและสี ดว้ ยการกระจายนำ�้หนักเขม้ ส่วนใหญ่ฝง่ั ซา้ ยมอื และ กระจายไปอยู่ฝั่งขวามือและกระจายสีขาวส่วนใหญ่ฝ่ังขวามือไปอยู่ซ้ายมือเพ่ือสร้างความสัมพันธ์กลมกลืนเกิด เอกภาพในผลงานซง่ึ น�ำ ้หนักและสใี นภาพเกดิ ความรู้สึกท่ีสอดคลอ้ งกบั เนือ้ หาการกำ�เนิด (ภาพท่ี 7.40) 4.จังหวะลีลา (Rhythm) จังหวะ คอื การซ้�ำ ของทศั นธาตใุ นงานทศั นศิลป์หรอื การซ�ำ ้ของเสียงในดนตรใี นชว่ งท่ีเทา่ กันหรือแตกตา่ ง กันในจังหวะของการเห็นเป็นเคร่ืองมือสำ�คัญสำ�หรับการแสดงออกให้ความรู้สึกหรือความพอใจทางสุนทรียภาพใน งานศลิ ปะ จงั หวะในงานศิลปะคอื การซ�ำ อ้ ย่างมเี อกภาพและความหมาย จังหวะเปน็ กฎอนั หน่ึงของเอกภาพทีเ่ กิด จากการซำ�ข้ องรูปทรง (ชลูด น่มิ เสมอ,2534:145) จงั หวะลีลาท่ีปรากฏในผลงานจิตรกรรมทศ่ี ลิ ปนิ มเี จตจำ�นงสร้างขึ้น ถอื ว่ามสี ว่ นสำ�คัญในผลงานท�ำ ให้เกิด เอกภาพ การประสานกลมกลนื ของรูปทรงต่างๆ แสง เงา การเก่ยี วเนื่อง เล่ือนไหล ตื่นเต้น น่าสนใจ ในผลงานตาม ต้องการและทำ�ใหผ้ ลงานสามารถกระตุน้ สายตาของผู้ดูใหต้ ิดตามสนใจทั้งภาพ เพ่ือให้เกดิ ความรูส้ กึ ทางความงาม ของผลงานนัน้ ๆ ซึ่งอาจจะมีการซ�ำ ้กันของนำ�้หนัก รปู ทรงสี ขนาด ท่มี ขี นาด ปริมาณใกล้เคียงกนั เกิดจงั หวะลลี าท่ี มีความเปน็ เอกภาพในผลงาน 138
บทท่ี 7 : การจัดองค์ประกอบทศั นศลิ ป์ ภาพ ท่ี 7.41 เกรียงไกร กงกะนนั ทน์ (Night mare) แมพ่ มิ พแ์ กะไม้ 120 x 220 ซม. เกรยี งไกร กงกะนนั ทน์ สรา้ งสรรคผ์ ลงานเพม่ิ ความน่าสนใจของภาพด้วยการสรา้ งความเคล่อื นไหว่ให้เกดิ ขึ้นในผลงานภาพพิมพ์ดว้ ยรูปทรง เน้อื หา พนื้ ผวิ นำ�้หนกั ดว้ ยเรื่องราวการซำ�้ของรปู ทรง มีการเปลี่ยนแปลงรปู ทรงรายละเอียด ท�ำ ให้ผลงานมีความสนกุ สนาน เรา้ ใจ กระตุ้นความรู้สกึ ของคนดไู ดม้ ากขนึ้ มคี วามเปน็ เอกภาพ แต่รูปทรงได้ถูกเพมิ่ ขนาดสดั สว่ น ให้มคี วามน่าสนใจมากขน้ึ ท�ำ ใหภ้ าพดไู ม่นา่ เบือ่ (ภาพที่ 7.41) 4.1 จงั หวะลีลาแบบซำ�้กัน (Repetitive Rhythm) การจดั องค์ประกอบ ไม่วา่ จะเปน็ เสน้ สี แสง เงา รปู ทรง พน้ื ผิว หรอื ทิศทางทมี่ ลี กั ษณะเหมือนกนั และซำ�้ กนั การจัดองค์ประกอบลักษณะน้ีจะดูแลว้ ไมน่ ่าสนใจ ไม่ตื่นเตน้ นา่ เบอื่ ส่วนใหญจ่ ะปรากฏการจดั องคป์ ระกอบ แบบนีใ้ นงานออกแบบลวดลายผ้า และลวดลายสถาปตั ยกรรมโบสถ์วหิ ารลายไทย จะมีการสรา้ งลลี าแบบซ�ำ ้กัน จะ ไมน่ ยิ มน�ำ วธิ นี ไ้ี ปสรา้ งสรรคผ์ ลงานทัศนศิลป์ ช ริ ิโก สรา้ งสรรคผ์ ลงานจิตรกรรรมจงั หวะลีลาการซ�ำ ้กันเหมอื นกันด้วยส่วนโคง้ ของประตทู ม่ี รี ปู ทรง การ ระบายสี ทิศทาง แสง เงา รายละเอียดเหมอื นกนั ซ�ำ ก้ ัน ขนาดใกลเ้ คียงกนั ทำ�ให้เกิดความนา่ เบ่ือ และไม่นา่ สนใจ แต่ซิริโกไ้ ด้แก้ความน่าเบือ่ ดว้ ยการสรา้ งเน้อื หาทแ่ี ปลกกว่าช่องอ่ืนๆ คือจะมมี ติ ทิ ะลุออกไปด้านนอกอาคารทเ่ี หน็ รถไฟกำ�ลงั วง่ิ เพอ่ื ลดความน่าเบ่อื ของการซำ�ท้ ่ีเหมอื นกนั ส่วนความเป็นเอกภาพกลมกลนื กัน คอื การซ�ำ ้ของกรอบ ประตทู มี่ รี ูปทรงเหมอื นกัน (ภาพที่ 7.42) ภาพท่ี 7.42 จอี อจโิ อ ดี ชิรโิ ก (Giorgio de Chirico) ค.ศ. 1913 (The Anrious Journey) สีนำ�้มันบนผ้าใบ 78.4 x 106.7 ซม. 139
การวเิ คราะหท์ ัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 7.43 โคลด์ โมเนต์ (Cloude Monet) ค.ศ. 1891 (Poplars on the Epte) สีนำ�้มันบนผ้าใบ 92.4 x 73.7 ซม. โ คลด์ โมเนต์ สร้างสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมด้วยการซ�ำ ้ภาพทวิ ทัศนข์ องต้นไมซ้ �ำ ้กนั เหมือนกนั ดว้ ยรูปทรง น�ำ ห้ นกั ขนาดทใี่ กลเ้ คียงกนั ทำ�ให้ภาพดูไม่นา่ สนใจนา่ เบอื่ แต่โมเนต์ได้ลดขนาดของตน้ ไม้ใหส้ ูงตำ�่ ไม่เท่ากนั จึงท�ำ ให้ ผลงานมีความนา่ สนใจมากยง่ิ ข้นึ และพ้ืนหลังมรี ายละเอียดที่ต่างกนั ไม่เรยี บจนเกินไปด้วยเน้ือหาของก้อนเมฆ ทอ้ ง ฟา้ ท�ำ ใหผ้ ลงานมคี วามตน่ื เตน้ ในบรรยากาศของภาพมากข้ึนและมคี วามสัมพนั ธ์ การเคลื่อนไหวของรูปทรงพุ่มไมท้ ่ี ดเู ลือ่ นไหลต่อเน่อื งทว่ั ทั้งภาพท�ำ ให้เกิดความเป็นเอกภาพของงาน (ภาพที่ 7.43) ศลิ ปินจดั องคป์ ระกอบของภาพด้วยการใชร้ ูปทรง ส่วนประกอบ สี แสง เงา พ้ืนผิว ทิศทางของรูปทรง มี ลกั ษณะซำ�้กนั และเหมอื นกัน จะทำ�ใหภ้ าพดไู ม่นา่ สนใจ แต่เจตจำ�นงของศิลปินอาจจะนำ�เสนอถึงความมน่ั คงสงบ ก็ได้ แต่เป็นการจดั องคป์ ระกอบทซ่ี �ำ ้กันจนเกินไปขาดความนา่ สนใจของผลงาน (ภาพที่ 7.44) ภาพที่ 7.44 อลงกรณ์ ศรปี ระเสริฐ “ไม่มชี ือ่ ” (Untitled) สื่อผสม 400 x 400 ซม. 140
บทที่ 7 : การจดั องคป์ ระกอบทศั นศลิ ป์ 4 .2 จังหวะลลี าแบบเคลอื่ นท่ี (Motion Rhythm) เปน็ การจดั องคป์ ระกอบทีต่ อ้ งการแกค้ วามไมน่ ่าสนใจความนา่ เบ่อื ของภาพผลงานจิตรกรรมดว้ ยการสร้าง ความเคลื่อนไหว เคลอื่ นท่ีของสนี ำ�้หนัก ความซ�ำ ซ้ าก รูปทรง ใหม้ ีความสนกุ สนาน เรา้ ใจ กระตนุ้ การมองของคนดู ได้มากขึ้น แต่ภาพยงั มีความเปน็ เอกภาพ อาจจะมีการเพม่ิ เสน้ เฉยี งในหมเู่ ส้นตงั้ กับเส้นนอนใหม้ คี วามหลากหลาย เคล่อื นไหวข้นึ เปน็ การแกป้ ญั หาการซำ�ข้ องรูปทรง สี และทศิ ทาง เ ดวดิ บมู เบริ ก์ สรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมใหม้ จี งั หวะลลี าทมี่ กี ารเคลอื่ นที่เคลอ่ื นไหวดนู า่ สนใจตนื่ เตน้ ของ ภาพ การอาบน�ำ โ้ คลน ท่ีไม่มีความม่ันคงแน่นอนมีการลื่นไหลด้วยเสน้ เฉยี งมากน้อยต่างกนั ซึ่งไดล้ ดตดั ทอนจากรูป ทรงของคนใหเ้ หลอื รปู ทรงทเี่ รยี บงา่ ยเนน้ ความส�ำ คญั ของรปู รา่ งของเสน้ ทตี่ ดั กนั รนุ แรงของน�ำ ห้ นกั ขาวด�ำ มนี �ำ ห้ นกั เทาเป็นพนื้ หลังเพ่อื สร้างความกลมกลนื ของรูปและพื้นเสน้ เฉียงที่ตดั กันไปมาท�ำ ใหภ้ าพเกิดความเป็นเอกภาพกลม กลืนบนเส้นตรงของความขดั แย้งของสิ่งก่อสร้างท�ำ ให้ภาพมีการแสดงตวั ของรูปทรงทดี่ ูสัมพันธก์ บั เนอ้ื หา ได้อยา่ ง สมบรู ณ์ (ภาพที่ 7.45) ภาพที่ 7.45 เดวดิ บูมเบิรก์ (David Bomeberg) ค.ศ. 1914 “อาบนำ�โ้ คลน” (The Mud Bath) สนี ำ�้มนั บนผ้าใบ 152.4 x 224.2 ซม. ภาพที่ 7.46 ลิซา่ มลิ รอย (Lisa Milroy) ค.ศ. 1988 “รองเทา้ ” (Shoes) สนี �ำ ้มนั บนผ้าใบ 170 x 202 ซม. ล ซิ า่ มิลรอย ใชว้ ิธกี ารแกค้ วามนา่ เบ่ือของผลงานการสรา้ งสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมของเขาดว้ ยการจัดรปู ทรง ของรองเท้าให้มีการเคล่อื นไหว เคลอื่ นที่ในแตล่ ะกลมุ่ ของรูปทรงอาจจะมีการสลบั ขา้ งของรปู ทรง จบั ตะแคง หงาย แยก เพอ่ื ให้เกดิ ความรูส้ กึ เน้อื หา ที่มีการเคล่อื นที่ เพ่ือกระตุ้นการรับร้ผู ดู้ ูใหส้ นใจในผลงานศลิ ปะของตนเอง และ ดูไม่ซำ�ซ้ ากจนเกินไป (ภาพที่ 7.46) 141
การวิเคราะหท์ ัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ศลิ ปินสรา้ งสรรค์ผลงานประตมิ ากรรมทมี่ ีการจัดองคป์ ระกอบของภาพโดยรวมดว้ ยการแกไ้ ขปัญหาการซำ�้ ซากน่าเบ่อื ของรปู ทรงม้า ท�ำ ใหเ้ กดิ ความนา่ สนใจของผลงาน ด้วยการสลับสับเปลีย่ นรายละเอยี ดของรูปทรงมา้ ใน ชอ่ งสีเ่ หลี่ยมท่กี �ำ หนดข้นึ จะมรี ายละเอยี ดท่ตี า่ งกนั มากบา้ งน้อยบ้าง ผสมผสานกันขนึ้ ใหม่ โดยการลดตัดทอนของ รปู ทรงน�ำ เสน้ เรขาคณิตมาผสมผสานท่มี คี วามผดิ แปลกไป แต่อย่ใู นโครงสร้างของรูปม้า ท�ำ ให้ภาพผลงานมีความ เปน็ เอกภาพกลมกลนื กัน (ภาพที่ 7.47) ผลงานภาพพมิ พจ์ ะมลี ักษณะการสรา้ งจบั จงั หวะลีลาสลบั กนั เหมอื นกันกับการสร้างผลงานจติ รกรรม เช่น ผลงานปยิ ะ เจริญเมือง สรา้ งผลงานทม่ี จี ังหวะลลี าสลบั กนั ด้วยการเพ่ิมน�ำ ้หนกั ของสเี ขม้ บ้าง กลาง ออ่ นบ้าง ด้วย วธิ กี ารสลบั คา่ น�ำ ห้ นักของสี ใหญส่ ลบั กับเลก็ มืดสลบั กับสวา่ ง แตภ่ าพผลงานยงั มีความเปน็ เอกภาพ (ภาพท่ี 7.48) ภาพท่ี 7.47 อริยะ กิตติเจรญิ ววิ ัฒน์ “ม้าเร็ว มา้ แรง มา้ รวย” สแตนเลส แผน่ พลาสติก 180 x 150 x 240 ซม. ภาพท่ี 7.48 ปยิ ะ เจรญิ เมือง “Land No.1” หลอ่ ดว้ ยเยอ่ื กระดาษท�ำ เอง กดพิมพ์ดว้ ยเหลก็ รอ้ น 150 x 200 ซม. 142
บทท่ี 7 : การจัดองค์ประกอบทัศนศลิ ป์ 4 .3 จังหวะลีลาแบบเพิ่มพัฒนากา้ วหน้า (Progressive Rhythm) เป็นการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในการใช้จังหวะลีลาที่เกิดจากการพัฒนาก้าวหน้าของแสงเงาจากจุด เด่นของภาพค่อยๆ กระจายไปทว่ั ทัง้ ภาพด้วยเคลอื่ นไหว ที่เลือ่ นไหลไปท่วั ท้ังภาพแลว้ คอ่ ยวกมาทจี่ ุดนีน้ า่ สนใจ โดย เปน็ การซำ�ข้ องนำ�้หนักสี พ้นื ผวิ รูปทรง ท่มี ขี นาดใกลเ้ คยี งกนั คลา้ ยกบั เชอื่ มโยงเปลีย่ นแปลงระหว่างหน่วยของ องคป์ ระกอบท่มี กี ารพฒั นาขึน้ ไปอาจจะจากดา้ นล่างสู่ดา้ นบนหรอื จากตรงกลางภาพไปรอบๆ ภายในรปู หรอื จาก มืดสู่สว่างจากตนื้ สู่ลกึ ขึ้นอยกู่ บั แนวทางของศลิ ปินที่จะเลือกใชว้ ิธกี ารใดให้สอดคลอ้ งกับเนอ้ื หาและลกั ษณะเฉพาะ ตน ร เู บนสส์ รา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมดว้ ยจังหวะลีลาการเพิม่ พฒั นากา้ วหนา้ ของแสงและเงา สี จากจุดที่น่า สนใจของภาพ คือ กลุม่ รปู ทรงทีม่ ขี นาดใหญ่ ของชาวยิวผมู้ ีก�ำ ลังมหาศาลและภรรยาผูท้ รยศ จะมจี งั หวะการใช้แสง ที่มากระทบตอ่ รา่ งกายของผคู้ นในภาพ ท่มี ีการเคล่อื นไหว และคอ่ ยๆ คลคี่ ลายพัฒนาไปตามสว่ นต่างๆ ของรา่ งกาย ของตวั เองและคนอน่ื ๆ รวมทง้ั ไดเ้ คลอ่ื นไหวไปตามผา้ มา่ น ผ้าห่ม และผ้คู นท่ีอยนู่ อกประตแู ล้ววกกลับมาหาจดุ เด่น ของภาพ ซ่ึงเกิดความเช่อื มโยงของน�ำ ห้ นกั แสงเงาของภาพ ประสานสมั พนั ธด์ นู า่ สนใจไม่นา่ เบ่อื และน�ำ สายตาให้ คนดทู ัว่ ท้ังภาพ โดยเจตนาของศิลปนิ ที่ต้องการแสดงออก ซ่ึงในแต่ละหนว่ ยของรปู ทรงทแี่ สงสวา่ งกระทบคอ่ ยตอ่ เน่ืองไปในแต่ละมมุ ของภาพให้ความสำ�คญั ของกลุม่ รปู ทรงจากซา้ ยไปขวา ทำ�ให้ภาพเกดิ ความสมบรู ณใ์ นการวาง จงั หวะลลี าของรปู ทรง แสง เงา (ภาพท่ี 7.49) ภาพที่ 7.49 พอล รูเบนส์ (Paul Rubens) ค.ศ. 1577- 1640 “แซมซันและภรรยาผทู้ รยศ” (Samson and Delilah) สนี �ำ ้มันบนผ้าใบ ภาพที่ 7.50 มานพ สวุ รรณปินฑะ “บทสนทนายามรงุ่ อรณุ ” โลหะ ไฟเบอร์กลาส 456 x 600 ซม. 143
การวิเคราะหท์ ัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ศลิ ปนิ สรา้ งสรรคผ์ ลงานประตมิ ากรรมใหเ้ กดิ จงั หวะลลี าการเคลอ่ื นไหวของรปู ทรงคนทถี่ กู ลดตดั ทอนเพมิ่ เตมิ ใหม้ คี วามเปน็ เซอเรยี ลสิ ม์เปน็ รปู ทรงกงึ่ จรงิ กง่ึ จนิ ตนาการเปน็ จดุ เดน่ ของภาพสรา้ งการเคลอ่ื นไหวดว้ ยบนั ไดทเ่ี ชอ่ื ม โยงของเนื้อหาดว้ ยการน�ำ รปู ทรงคนทก่ี �ำ ลงั ปีนป่ายข้ึนตามบนั ไดทุกด้าน เพื่อนำ�สายตาคนดูไปทัว่ ทั้งภาพ จากล่าง สูบ่ น จากบนสลู่ ่าง จากจุดเดน่ และสู่ภาพรวมของผลงาน ทำ�ใหภ้ าพดนู า่ สนใจ กระต้นุ อารมณก์ ารรับรู้ความรู้สึกของ ผชู้ มได้เปน็ อย่างดี โดยการกระจายรูปทรงคน บันได สี ทศิ ทาง ท่นี ่าสนใจ ภาพพมิ พจ์ ะมีลักษณะการสร้างจังหวะ ลีลาคล้ายกับผลงานการสร้างสรรคข์ องจติ รกรรม (ภาพท่ี 7.50) 4 .4 จังหวะลีลาแบบสลับกัน (Alternating Rhythm) การสร้างสรรค์ผลงานทศั นศลิ ป์ ด้วยการจดั องคป์ ระกอบทีแ่ กป้ ญั หาการซำ�ซ้ าก นา่ เบ่ือ ทำ�ใหเ้ กดิ ความนา่ สนใจของผลงาน โดยการสลบั สบั เปล่ยี น ของนำ�้หนกั เข้มและสวา่ ง โทนสรี ้อนและโทนสีเย็น เส้นต้งั และเส้นนอน วงกลมกบั ส่เี หล่ยี มทีม่ กี ารผสมผสานอย่ใู นภาพเดยี วกนั แต่ใหเ้ กดิ ความเป็นเอกภาพเช่ือมโยงกนั ล โู บฟ โปโปว่า สรา้ งจงั หวะลีลาในผลงานจิตรกรรมด้วยการสลับกันของสตี รงขา้ มของแดง-เขียว, เหลือง- น�ำ เ้ งิน, ขาว - ดำ� แตไ่ ด้ลดค่าของสลี งด้วยการผสมสขี าวและสใี กลเ้ คยี งเพ่ือสร้างความกลมกลนื จะกระจายจังหวะ ของสเี หล่านที้ ั่วท้งั ภาพและสลบั น�ำ ห้ นักเขม้ ออ่ นท่ัวทงั้ ภาพ และสลบั เสน้ เฉียง สลับโทนสีร้อน เย็น สลับวงกลม- สี เหล่ียม ทั่วทง้ั ภาพ เปน็ ภาพผลงานจติ รกรรมทใ่ี ช้วธิ กี ารแก้ปญั หาความน่าเบอื่ ของภาพได้เป็นอยา่ งดี ทำ�ใหภ้ าพดู น่าสนใจโดยมีการประสานสัมพันธ์กันท้งั ภาพมีความเป็นเอกภาพของรปู ทรงสี น�ำ ้หนัก มติ ิได้เปน็ อย่างดี (ภาพท่ี 7.51) ภาพท่ี 7.51 ลูโบฟ โปโปวา่ (Liubov Popova) ค.ศ. 1915 “การเดนิ ทาง” (The Traveler) สนี ำ�ม้ ันบนผา้ ใบ 4.8 x 3.5 น้วิ 4 .5 จงั หวะลีลาแบบความรู้สึกสัมผัส (Sensation Rhythm) การสรา้ งจงั หวะลลี าทม่ี แี นวคดิ จากลทั ธนิ ามธรรม ไดต้ ดั ทอนรปู ทรงต่างๆ เหลือแต่แกน่ สาระสำ�คัญของ ภาพนน้ั ๆ จะมีรูปแบบเสน้ รปู ทรงสี ท่ีเรยี บงา่ ย ให้ผู้ดไู ด้จินตนาการใชค้ วามรูส้ ึกสัมผสั ถึงการแสดงออกของศลิ ปนิ แตล่ ะคนโดยลดตัดทอนรายละเอียดของสีรูปทรงใหเ้ กดิ ความรูส้ ึกสัมผัสภายในจนิ ตนาการของศลิ ปิน 144
บทท่ี 7 : การจัดองคป์ ระกอบทัศนศิลป์ ม อนเดรยี น สร้างจงั หวะลลี าของเสน้ จากจติ รกรรมนามธรรมด้วยรปู แบบทด่ี ูเรยี บง่ายด้วยเส้นโคง้ เสน้ ตง้ั เสน้ นอน เสน้ เฉยี ง ทเ่ี กดิ จากการลดตดั ทอนของรปู ทรง ตน้ ไม้ สี จากธรรมชาติ เหลอื แกน่ สาระสำ�คญั ของเน้อื หา เป็นการเน้นจงั หวะของเส้นท่เี กิดจากความรู้สึก ทีด่ เู ป็นเอกภาพของเส้นท่ดี ูเรียบงา่ ยสดี �ำ บนพนื้ สขี าว ทำ�ใหภ้ าพมี เอกภาพประสานสมั พันธ์กนั เกดิ ความน่าสนใจในผลงานจิตรกรรม (ภาพท่ี 7.52) พ งศศ์ ริ ิ คิดดี สร้างจังหวะลลี าทเ่ี กดิ จากแนวคิดลทั ธินามธรรมดว้ ยการตดั ทอนรูปทรงสี ให้เหลือแก่นสาระ ส�ำ คญั ที่เกิดจากความรู้สึก การจนิ ตนาการของศลิ ปนิ ท่ตี อ้ งการถา่ ยทอดให้เหลือจดุ สที ่เี รยี บงา่ ย บริสทุ ธิ์ แสดงออก ใหผ้ ดู้ ไู ดจ้ นิ ตนาการโดยการใชค้ วามรสู้ กึ ไปกบั ผลงานอาจจะมคี วามเหน็ ทแี่ ตกตา่ งไปกบั ศลิ ปนิ กเ็ ปน็ ได้(ภาพท่ี7.53) ภาพที่ 7.52 เพียท มอนเดรยี น (Piet Mondrian) ค.ศ. 1915 “องคป์ ระกอบ 10 ในสีดำ�และขาว” (Composition 10 in Black and White) สีนำ�ม้ ันบนผ้าใบ 85 x 108 ซม. ภาพที่ 7.53 พงศ์ศริ ิ คดิ ดี “ความดี ความงาม ความปีติ” แมพ่ มิ พ์ตะแกรงไหม 170 x 180 ซม. ภาพที่ 7.54 นอร์เบิรต์ คริคก้ี (Norbert Kricke) “การเคลอ่ื นไหวรูปทรงนามธรรม” (Ground Peur) สแตนเลส เหลก็ สูง 750 ซม. 145
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207