Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore VISUAL ARTS ANALYSIS

VISUAL ARTS ANALYSIS

Published by sriwarinmodel, 2021-12-12 16:03:46

Description: การวิเคราะห์ทัศนศิลป์

Keywords: VISUAL ARTS ANALYSIS

Search

Read the Text Version

การวเิ คราะหท์ ศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) ศัพทศ์ ลิ ปะองั กฤษ ไทย P Post Impressionism ลทั ธิโพสต์ อมิ เพรสช่ันนิสม์ เปน็ ลทั ธปิ ระทบั ใจยคุ หลัง Plane ระนาบ Perception ความรูส้ กึ ความเข้าใจ Painting จติ รกรรม เป็นผลงาน 2 มิติ ระยะมติ ิสรา้ งข้ึนให้เกิดภาพลวงตาดว้ ยทัศนธาตตุ า่ งๆ Plato ศิลปะ คอื การเลยี นแบบธรรมชาติ ถือว่าเป็นการท�ำ ซำ�ใ้ นรูปลักษณะของสิ่งทีม่ ี อยแู่ ล้ว ไมม่ ีความจรงิ อะไรในศลิ ปะ ความจริง คือ รปู ความคดิ (Ideas) Perspective ทัศนยี มิติ คือ วชิ าหรอื ศลิ ปะทวี่ า่ ด้วยการเขยี นภาพบนพ้นื ระนาบ (2 มติ )ิ ให้ดูเปน็ ภาพสามมติ ิดังที่เห็นจากสิง่ ทป่ี รากฏจรงิ ตามธรรมชาติ Pure Art ศิลปะบริสุทธิ์ คอื ศลิ ปะทส่ี รา้ งขนึ้ เพ่ือคณุ ค่าของศลิ ปะโดยตรง Portrait รูปคนเหมือน ไม่วา่ จะมชี ีวติ อยหู่ รือเสยี ชีวิต โดยเนน้ ทใี่ บหนา้ และครึง่ ตวั เฉพาะ หวั หรอื เต็มตวั อาจอยู่ในทา่ หนา้ ตรงหรอื เอียง Pure Form รูปทรงบริสทุ ธ์ิ เป็นรูปทรงทไ่ี ม่อาศัยเร่อื งราว หรอื รปู ทรงทีท่ ำ�ไปเพอ่ื ประโยชน์ อย่างอื่นเปน็ รูปทรงท่แี สดงออกซึง่ อารมณ์ ปญั ญา และความงามดว้ ยตวั เอง R Realization การส�ำ นกึ การทำ�ใหเ้ ป็นจรงิ ขนึ้ มา Representational art งานศลิ ปะทแ่ี สดงให้เหน็ สว่ นประกอบตามธรรมชาติรูปคน สตั วห์ รือสง่ิ ต่างๆ ท่ีพอ รไู้ ดว้ า่ เปน็ สิง่ ใด ซ่งึ ต่างกับศลิ ปะไร้วัตถุวิสัย หรอื ศิลปะนามธรรม Roger Fry ศิลปะ คือ รูปทรง อนั หมายถงึ โครงสรา้ งทม่ี รี ะเบยี บ มคี วามงาม และความหมาย ประกอบขึ้นด้วยทศั นธาตุ Relief นูน คอื ลกั ษณะความสูงต่ำ�ทางกายภาพของพื้นผวิ งานศลิ ปะ ซง่ึ ทำ�ให้เกดิ แสง และเงา เป็นส่ิงท่ีชว่ ยเนน้ มติ เิ ช่น งานดนุ โลหะ และประตมิ ากรรมนูน Rhythm จงั หวะ คือ การเคล่ือนไหว ทีห่ ยดุ เปน็ ช่วงๆ เชน่ การเคาะ การเน้นความหนักเบา เชน่ แบบรปู ของการเคล่อื นไหวในดนตรี หรอื งานในทัศนศิลป์ Romanticism จินตนยิ ม คือ การแสดงออกทีท่ ำ�ให้เกดิ ความสะเทือนอารมณอ์ ย่างรุนแรง เกี่ยว กบั ศาสนา ความรัก ความชอบ ความโกรธ ความปตี ิยนิ ดี ความเกลยี ดชงั ฯลฯ โดยแสดงอารมณเ์ หลา่ นัน้ อยา่ งคล่งั ไคล้เกินปรกติวสิ ยั S Space ช่องวา่ ง Seascape ภาพทิวทัศน์ทะเล ประกอบด้วย โขดหนิ ทะเล เรอื เปน็ ตน้ Sigmund Freud ศิลปะ คือ ความปรารถนา ทีถ่ กู เกบ็ ไว้ในจิตใตส้ �ำ นกึ มนษุ ย์แสดงออกในเหตุการณ์ หรอื รปู ทรงสญั ลกั ษณ์ จะแสดงออกในความฝนั และในศิลปะ ศลิ ปะ คอื การแสดงออกของจนิ ตนาการเพือ่ สนองความตอ้ งการใหเ้ ต็มตาม ประสงค์ 196

บทที่ 10 : บทสรปุ ศพั ทศ์ ิลปะอังกฤษ ไทย Subconscious จติ ใต้ส�ำ นึก คอื การรับรู้ท่ผี ู้รับรู้มไิ ดส้ ำ�นกึ หรือสำ�นึกนอ้ ยท่สี ุด โดยทั่วไปมคี วาม หมายอยา่ งเดยี วกบั จิตไรส้ ำ�นึก Style แบบอยา่ ง เป็นลกั ษณะพิเศษของการแสดงออกในงานศลิ ปะ มีทงั้ แบบอยา่ งของ แตล่ ะสมยั แบบอย่างของแตบ่ คุ คล Surrealism ศลิ ปะแบบเหนอื ความเป็นจริง เป็นศิลปะท่มี รี ูปทรงท่แี สดงถึงจิตไร้สำ�นึก ความ ฝัน และความคิดฝัน มีจุดม่งุ หมายที่จะปลดปลอ่ ยวญิ ญาณของมนษุ ย์ ใหห้ ลดุ จาก การผกู พันของเหตผุ ล Symbol สัญลกั ษณ์ คอื ลกั ษณะของส่งิ หน่ึงถูกกำ�หนดหรอื เปน็ ที่นิยมกนั ใหใ้ ชห้ มายความ ถงึ อกี ส่ิงหนึง่ Structural line เส้นโครงสร้าง คือ เสน้ ท่เี ปน็ แกนของรูปทรง หรือสง่ิ ต่างๆ เสน้ ทแ่ี สดงรูปนอกท่ีไม่ ตอ่ เนือ่ งของกลมุ่ รูปทรง เปน็ เส้นทมี่ องไม่เห็นด้วยตา แต่เหน็ ด้วยจนิ ตนาการ Sculpture ประตมิ ากรรม เปน็ ผลงานศิลปกรรมทีส่ รา้ งรูปทรง 3 มติ ิ โดยวธิ กี ารแกะสลัก การปั้น หรือการผสมผสาน Silk Screen ภาพพิมพ์ผ้าไหม อยู่ในประเภทกลวธิ พี ิมพล์ ายฉลโุ ดยใชผ้ ้าไหมเปน็ แม่พมิ พ์ Still Life ภาพห่นุ น่งิ เปน็ ภาพเขียนของสง่ิ ไรช้ ีวิต จุดประสงคจ์ ะใหด้ ูงามหรอื สือ่ ความหมาย อย่างใดอย่างหน่งึ ประกอบดว้ ย แจกัน หนังสอื ผลไม้ ฯลฯ Symbolism สญั ลักษณ์นยิ ม คือ ขบวนการศลิ ปะท่มี หี ลกั สำ�คัญ คอื ตอ้ งการแสดงความคดิ และ หลกั ปรัชญา เช่น ความรกั พระเจา้ ความกลัว ฯลฯ T Tempera สฝี ุ่น Transition การประสาน คือ การท�ำ ให้กลมกลืนกนั ท�ำ ให้เขา้ กันได้ สอดแทรกเข้าหากนั เชน่ ทำ�ใหด้ �ำ กบั ขาวกลมกลืนกัน เสน้ เฉียงทำ�ใหเ้ ส้นตง้ั กับเสน้ นอนเขา้ กันได้ Texture ลกั ษณะผวิ คอื ความหยาบ ละเอียด มนั ดา้ น ฯลฯ ที่ปรากฏบนพ้นื ผิวของวตั ถุ Torso รปู ล�ำ ตวั ในงานประติมากรรมทีไ่ มม่ ีศีรษะและแขนขามแี ต่ล�ำ ตัว U Unconscious จิตไรส้ ำ�นึก เปน็ สว่ นของจิตที่อยนู่ อกเหนอื สำ�นึก เป็นกระบวนการหนงึ่ ของจติ ที่ สะสมความคดิ ความดลใจ และประสบการณ์ตา่ งๆ ไวภ้ ายใน โดยจิตส�ำ นึกไมอ่ าจ รู้ได้ ฟรอยด์เช่ือวา่ จิตไรส้ ำ�นกึ นีเ้ ปน็ ตวั ผลักดันให้เกดิ พฤติกรรมตา่ งๆ กัน รวมทัง้ การแสดงออกทางศิลปะ Unity เอกภาพ คือ สภาพท่เี ปน็ อนั หนึ่งอนั เดียวกนั ความสอดคล้องกลมกลนื กัน การ ประสานกนั หรอื การจัดระเบียบของสว่ นต่างๆ เพื่อสรา้ งผลรวมอนั เป็นอันหนึง่ อันเดยี วกนั ทไี่ มอ่ าจแยกออกจากกนั ได้ 197

การวิเคราะห์ทัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ศัพท์ศิลปะอังกฤษ ไทย V Visual Art ทศั นศิลปโ์ ดยทวั่ ไป หมายถึง ศิลปะท่ี แสดงออกทางส่อื ที่ต้องใชก้ ารดู เชน่ จติ รกรรม ประตมิ ากรรม สถาปัตยกรรม ภาพพิมพ์ และงานสรา้ งสรรค์อืน่ ๆ ทร่ี ับ รู้ด้วยการเหน็ Visual Elements ทศั นธาตุ คอื สิง่ ทเ่ี ป็นปจั จัยของการเหน็ ได้แก่ เส้น สี นำ�้หนกั ทว่ี า่ ง รูปทรง และ ลกั ษณะผิว Volume ปริมาตร คือ ปริมาณของทว่ี า่ งทถี่ ูกแทนทด่ี ้วยวตั ถุ 3 มิติ ความโคง้ นูน ความกลม W Water lilies ดอกบวั ในน�ำ ้ Worm Colour สอี ุน่ เปน็ กลุ่มสที ่ชี วนให้เกิดความรสู้ กึ ร้อน ไดแ้ ก่ สแี ดง และสีเหลือง สเี ทาทีอ่ อก ไปทางสนี ำ�้ตาลและสีเหลือง ถอื ว่าเป็นสอี นุ่ ด้วย บรรดาสีอุ่นจะอยู่ในครง่ึ หนงึ่ ของ วงสที ่ีมีสีแดงและสเี หลอื ง Wood cut ภาพพิมพแ์ กะไม้ เปน็ ภาพพมิ พ์ทพ่ี มิ พจ์ ากแม่พมิ พไ์ มท้ ่ีแกะด้วยสว่ิ หนา้ แบน ส่ิว ร่อง และสิ่วรปู ตา่ งๆ สว่ นทตี่ ิดหมึกคือ ส่วนผวิ ไม้ สว่ นทแ่ี กะออกจะไมต่ ดิ หมึก 198

บทที่ 10 : บทสรปุ บรรณานกุ รม กำ�จร สนุ พงษศ์ ร.ี ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. 2551. กำ�จร สุนพงษศ์ ร.ี ศิลปะสมยั ใหม่. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพาณชิ . 2523. จริ ะพฒั น์ พิตรปรชี า. โลกศิลปะศตวรรษท่ี 20. กรงุ เทพฯ: ด่านสุทธาการพมิ พ.์ 2545. ชลูด นิม่ เสมอ. องค์ประกอบของศลิ ปะ. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพาณิช. 2534. ทวเี กียรติ ไชยยงยศ. สนุ ทรียะทางทัศนศิลป.์ กรงุ เทพฯ:สถาบนั ราชภัฏสวนดสุ ิต.2538. นคิ อเละ ระเด่นอาหมัด. ทฤษฎจี ติ รกรรม. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร์. 2543. พรี ะพงษ์ กลุ พิศาล. มโนภาพและการรับรู้ทางศิลปะและศลิ ปศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: ธารอักษร. 2546. มัย ตะติยะ. ประติมากรรมพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: เอม่ี เทรดดิ้ง. 2549. ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานุกรม. กรงุ เทพฯ: ครุ ุสภาลาดพรา้ ว. 2542. ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานุกรมศัพทศ์ ลิ ปะอังกฤษ -ไทย. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. 2541. วิรัตน์ พิชญไพบูลย์. ความเขา้ ใจศิลปะ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. 2528. วบิ ลู ย์ ลีส้ วุ รรณ. ศิลปะในประเทศไทยจากศลิ ปะโบราณในสยามถงึ ศิลปะสมยั ใหม่. กรงุ เทพฯ : ศนู ยห์ นังสือลาดพร้าว. 2548. ศุภพงศ์ ยืนยง. หลักการเขยี นภาพ. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร์. 2547. ศิลป์ พีระศรี. ขอ้ ความ ข้อเขยี น และงานศิลปกรรมของศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พีระศรี. กรุงเทพฯ: หอศิลปม์ หาวทิ ยาลัย ศลิ ปากร. 2545. สงวน รอดบุญ. อภิธานศิลปะ. กรงุ เทพฯ: การศาสนา. 2516. สุชาติ เถาทอง. การวจิ ยั สรา้ งสรรค์ทัศนศลิ ป.์ ชลบุร:ี มหาวิทยาลยั บูรพา.2553. สุเชาวน์ พลอยชมุ . สนุ ทรยี ศาสตร.์ กรงุ เทพฯ: มหามกุฎราชวทิ ยาลัย. 2545. อัศนยี ์ ชอู รุณ. ภาพพิมพเ์ บอ้ื งต้น. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2527. อาเดรียง โลเนย์. สยามและคณะมิชชันนารีฝรง่ั เศส = Siam et les Missionaries Freneau’s . กรุงเทพฯ : กอง วรรณกรรมและประวัตศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร . 2542. เอกชยั สุนทรพงศแ์ ละเสาวนติ ย์ แสงวิเชียร. ความงามของสนุ ทรียศาสตร์สำ�หรับผใู้ ฝ่ร้.ู กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. 2529. อิทธพิ ล ตง้ั โฉลก. แนวทางการสอนและสรา้ งสรรค์จิตรกรรมข้ันสงู . กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ ร้นิ ติ้งแอนด์พับลซิ ชิ่ง. 2550 Basil Taylor. Gezanne. The Hamlyn Publishing Group Ltd. 1961. Benedict Taschen. Vincent Vangoh. Germany: Angelka Muthesius, Cologne. 1993. Hans L.C. Jaff, s. Piet Mondrian. New York: Harr. N. Abrams, Inc. 1990. Ingo F. Walther. Pablo Picasso. Germany: VG Bild kunst, Bonn. 1992. Josephine Cutts. History of Art. Indonesia: Parrogon. 2000-2001. Nicholas Watkins. Matisse. PHAIDON OXFORD: First published. 1984. Richard Mason. Foundations of Art and Design. China: Lorence king Publishing. 2003. Robert Delaunay. Michel Hoog. New York: CROWN PUBLIS hers. Ine. 1976 Sam Hanter and John Jacobus. Modern Art. New York: Harry N Abrams. 1992. 199

การวิเคราะหท์ ัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ประวตั ิและผลงาน น ายสมพร ธุรี ภาควชิ าทศั นศลิ ป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โ ทร. 086-6978327 E-mail: deaw_2007@yahoo.co.th ประวตั กิ ารศึกษา ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพขนั้ สูง วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาอบุ ลราชธานี ศกึ ษาศาสตรบ์ ัณฑิต (จิตรกรรมสากล) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ศลิ ปมหาบัณฑติ สาขาวิชาประยกุ ตศลิ ปศกึ ษา (จิตรกรรม) มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ศึกษาปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาทศั นศิลปแ์ ละออกแบบ มหาวิทยาลยั บรู พา ศกึ ษาดงู านด้านศลิ ปกรรม อติ าลี ฝร่งั เศส จีน กมั พูชา ลาว ผลงานทางวิชาการ บทความ เร่อื ง ปกิ ัสโซกบั การเปลี่ยนแปลงรปู ทรง ตีพิมพ์หนงั สอื นิทรรศการศิลปกรรม ครง้ั ที่ 6 ณ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั สงขลา บ ทความเรอื่ งคนจนี ศลิ ปะจนี มอี ทิ ธพิ ลตอ่ คนไทยศลิ ปะไทยในจงั หวดั สงขลาอยา่ งไร ต พี มิ พล์ งในวารสาร ปารชิ าติ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ บทความ เรอื่ ง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เชือกกลว้ ย คูเตา่ จังหวัดสงขลา ตพี มิ พ์ลงในวารสารประชมุ วิชา การระดับชาตเิ ครือข่ายวจิ ัยอดุ มศกึ ษาทว่ั ประเทศ ประจ�ำ ปี พ.ศ. 2553 มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ บทความ เรื่อง เอกลกั ษณ์ รูปแบบ สี ของจติ รกรรมฝาผนงั ในจังหวดั สงขลา ตีพมิ พล์ งในวารสารประชุม วชิ าการระดบั ชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2553 มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ บทความ เรอ่ื ง ภมู ิปัญญาทกั ษิณ: เอกลกั ษณ์ รูปแบบ จติ รกรรมฝาผนงั ในภาคใต้ (รอบลุ่มทะเลสาบ สงขลา) ตีพิมพ์ลงในวารสารประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2555 มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น 200

บทที่ 10 : บทสรุป งานวิจัย โครงการวิจัยพฒั นาผลิตภัณฑเ์ ชอื กกลว้ ย คเู ตา่ จงั หวัดสงขลา งบทนุ อดุ หนนุ จาก สกอ.เครือข่ายภาคใต้ ตอนล่าง มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ สงขลา ประจำ�ปี 2551 โ ครงการวจิ ยั เอกลกั ษณ ์ ร ปู แบบส ี ข องจติ รกรรมฝาผนงั ในจงั หวดั สงขลา ง บทนุ อดุ หนนุ จากวจิ ยั แหง่ ชาติ งบประมาณแผ่นดนิ ประจ�ำ ปี 2552 โ ครงการวจิ ยั การสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปกรรมดว้ ยการสรา้ งมลู คา่ เพมิ่ จากวสั ดทุ อ้ งถนิ่ ง บทนุ อดุ หนนุ จาก วจิ ยั แหง่ ชาติงบประมาณแผ่นดิน ประจ�ำ ปี 2553 โครงการวิจยั ภูมิปญั ญาทักษิณ : เอกลกั ษณ์ รูปแบบ จติ รกรรมฝาผนงั ในภาคใต้ (รอบลุม่ ทะเลสาบ สงขลา) งบทนุ อดุ หนนุ จากวจิ ัยแห่งชาติงบประมาณแผน่ ดนิ ประจ�ำ ปี 2554 เกยี รติประวัติ รางวลั ที่ 2 การประกวดวาดภาพนกปากห่าง เพอื่ อนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทย ณ วดั ไผล่ อ้ ม จงั หวัดปทมุ ธานี รางวลั ชนะเลิศการประกวดโปสเตอร์ประชาสมั พนั ธ์เฉลิมพระเกยี รติพระเจ้าอยู่หวั ของสำ�นกั งานคณะ กรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ ส�ำ นกั งาน ศึกษาธกิ าร จงั หวัดสงขลา ร างวลั ชนะเลศิ การประกวดวาดภาพเพอื่ ประชาสมั พนั ธส์ ง่ เสรมิ เมอื งสงขลาเพอ่ื พมิ พเ์ ปน็ ปฏทิ นิ ของบรษิ ทั แมนเอ โฟรสเซนฟดู ส์ จำ�กัด สงขลา รางวลั เหรยี ญเงนิ การประกวดภาพวาดจิตรกรรม จากญีป่ ุน่ “The awarded art works are displayed” รางวลั เกยี ติบัตรการประกวดวาดภาพส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย ณ ศนู ยก์ ารเรยี นรกู้ ารเมอื ง ในระบอบ ประชาธปิ ไตยที่ 3 มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ สงขลา ทุนสง่ เสรมิ การผลิตตำ�ราวชิ าการ”กองทุนหลวงบรบิ าล คณบดเี จนจิตร กลุ ฑลบตุ ร” ประวัตกิ ารแสดงผลงาน นทิ รรศการผลงานศลิ ปะต้นแบบสำ�หรับพิมพบ์ นผ้าพันคอเรือ่ ง“ขา้ ว”ณ หอศิลปแ์ ละการออกแบบ คณะ มณั ฑนศิลป์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร วงั ท่าพระ กรงุ เทพฯ The award art works are displayed at this Exhibition at Suzuhive Kamaboko Museum Kanagawa Ken Japan. All the art works entered are displayed at this Exhibition at Uoubu Ikebukro Department Store 10th Floor, Toshion – ku. Tokyo Japan. นิทรรศการศลิ ปกรรมร่วมสมยั นานาชาติ 2551 สงขลา ประเทศไทย ครัง้ ที่ 1 ณ แหลมสมหิ ลา เทศบาล นครสงขลา นิทรรศการจิตรกรรมไทยแบบประเพณี : อิทธิพลจากสมุดภาพไตรภูมิ ณ หอศิลป์ส�ำ นกั งานศลิ ปวฒั น ธรรมรว่ มสมัย กระทรวงวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร นทิ รรศการศลิ ปกรรมรว่ มสมัยไทย มาเลเซยี สิงคโปร์ ครงั้ ท่ี 4 ณ สถาบนั วัฒนธรรมศกึ ษากลั ยานวิ ัฒนา มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ จ.ปัตตานี นิทรรศการ “สาธิตศลิ ปกรรมวาดเส้นอุษาคเนย์ คร้งั ท่ี 3” ณ ศูนยศ์ ิลปวฒั นธรรม จังหวัดนครปฐม นิทรรศการศลิ ปกรรมไทย – เวยี ดนาม ณ. พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ หอศลิ ป์ กรุงเทพฯ 201

การวเิ คราะหท์ ศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) นิทรรศการ”แสง” ณ. หอศลิ ป์ แอด บอง แกลเลอเรีย กรงุ เทพฯ นทิ รรศการกล่มุ หก ครัง้ ท่ี 11 ณ. พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ กรงุ เทพฯ นทิ รรศการศิลปกรรม UNANART UNIVERSITY ณ. ประเทศจีน ประวัตกิ ารท�ำ งาน พ.ศ. 2540-2541 อาจารย์ประจ�ำ โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ปทมุ ธานี พ.ศ. 2541-2552 อาจารยป์ ระจำ�สาขาจิตรกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชยั สงขลา พ.ศ. 2552 – ปัจจุบนั อาจารยป์ ระจำ�คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ปทุมธาน ี การศกึ ษาดูงานศลิ ปกรรม ณ กมั พชู า การศึกษาดงู าน และจัดแสดงผลงานศลิ ปกรรม ณ สาธารณรฐั ประชาชนจีน การศกึ ษาดงู านศลิ ปกรรม ณ กรุงโรม อิตาลี 202