การวิเคราะห์ทศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) 1 .ประติมากรรมรูปคน เปน็ การสรา้ งงานประติมากรรมท่อี าศัยการถ่ายทอดเนอ้ื หาเรื่องราวจากความเป็น จริงของคนครึง่ ตัวและเต็มตวั โดยการแสดงออกของการเน้นสัดส่วนโครงสร้าง กลา้ มเน้อื ถูกตอ้ งตามหลกั กายวิภาค ตั้งแต่ศรี ษะจรดเทา้ รายละเอยี ดตา่ งๆของรา่ งกายจะมลี กั ษณะใกล้เคียงกับความเปน็ จริงของแบบที่ปน้ั หรอื หุ่นจรงิ และอาจจะถ่ายภาพมาปน้ั ก็ได้ โดยจะเน้นความเหมือนจริง (ภาพที่ 3.7,3.8) ภาพที่ 3.7 ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี “สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (เฉพาะเศียร)” ปูนปลาสเตอร์ ภาพที่ 3.8 ศาสตราจารย์ศิลป์ พรี ะศรี “อนสุ าวรยี ์สมเด็จพระนารายณ์มหาราช” ป้นั พระวรกายโดยสน่นั ศลิ ากรณ์ หลอ่ ด้วยโลหะรมดำ� 2.ประติมากรรมรูปสัตว ์ เ ปน็ การถา่ ยทอดรูปทรงของสตั ว์นานาชนิดท่ีเกิดข้นึ และมอี ยใู่ นธรรมชาติสดั สว่ น โครงสร้างกริ ิยาท่าทางถูกตอ้ งตามหลักกายวิภาคไม่วา่ จะปน้ั ตวั เดยี วหรอื เป็นกลุ่มก็ได้ จะแตกตา่ งเฉพาะเทคนคิ กา รข้นึ รูปและการหล่อจะมขี นาดเทา่ จริงหรือขยายและยอ่ กไ็ ด้ (ภาพท่ี 3.9) 46
บทที่ 3 : ประตมิ ากรรม ภาพท่ี 3.9 ไพฑรู ย์ เมอื งสมบูรณ์ “แสดงทักษะการปั้นรูปสัตว์” เทคนคิ บรอนซ์ ภาพท่ี 3.10 นันทวุฒิ สทิ ธิวงั “หนง่ึ ในพระราชดำ�ริ ปา่ รักษน์ ำ�้” เชอ่ื มโลหะ กว้าง 140 สงู 320 ซม. ภาพที่ 3.11 แสดงประติมากรรมเน้อื หาจากธรรมชาติ 3 .ประตมิ ากรรมรปู ธรรมชาติ เปน็ การสรา้ งงานประตมิ ากรรมทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ รปู ทรงเนอ้ื หาทแี่ สดงคณุ ประโยชน์ และโทษของธรรมชาติ เชน่ รูปทิวทัศน์ รปู คลื่นยกั ษถ์ ลม่ บ้านเรือนประชาชน ความงามของธรรมชาติ เช่น พืชตา่ งๆ ดอกไม้ ตน้ ไม้ อาจจะปัน้ ให้เหมอื นจรงิ ตามความเป็นจรงิ และอาจจะได้รบั การลดตดั ทอนรปู ทรงเพื่อใหด้ ู เรียบง่ายกไ็ ด้ (ภาพท่ี 3.10,3.11) 47
การวิเคราะหท์ ศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) 4 .ประตมิ ากรรมรปู สงิ่ แวดลอ้ ม เ ปน็ การแสดงออกของผลงานทมี่ รี ปู แบบทต่ี อ้ งการใหร้ บั รแู้ ละเขา้ ใจใน เหตกุ ารณเ์ รือ่ งราวนนั้ ๆ ท�ำ ไดท้ ้ังเน้ือหาด้านประโยชน์และความเลวรา้ ยแหง่ สงั คมมนุษย์ เช่น รูปทแี่ สดงความเจริญ รงุ่ เรอื งของบ้านเมอื ง รปู ความเสอื่ มโทรมทางความคิด เชน่ ภาพสะท้อนสงั คม (ภาพท่ี 3.12) ภาพที่ 3.12 ธรี ะพล หอสงา่ “การคุกคามของสอ่ื หมายเลข 2” ส่อื ผสม 150 x 200 x 230 ซม. 5.ประติมากรรมรูปจนิ ตนาการ เปน็ เนือ้ หาทีแ่ สดงออกถงึ ผลงานประตมิ ากรรมท่ีดจู ากแบบหรอื หุ่นจรงิ หรือถ่ายภาพ แลว้ น�ำ มาสรา้ งสรรค์ใส่จินตนาการจากการนกึ คดิ สรา้ งองค์ประกอบใหม่ทำ�ให้เกดิ เนื้อหาใหม่ตามจุด มุ่งหมายของศลิ ปนิ ประกอบด้วย 2 รูปแบบ คือ จินตนาการให้เหมือนจรงิ กบั จนิ ตนาการให้ตา่ งจากความเปน็ จริง อาจจะเปน็ จรงิ อย่บู า้ งไมม่ ากก็นอ้ ยหรือลดตัดทอนรปู ทรงที่ดเู รียบงา่ ย (ภาพท่ี 3.13,3.14) ภาพที่ 3.13 เปยี่ มจนั ทร์ บญุ ไตร “ฝันหมายเลข 11” ไฟเบอรก์ ลาส 70 x 115 x 166 ซม. 48
บทท่ี 3 : ประตมิ ากรรม ภาพที่ 3.14 มงคล ฤาชัยราม “สุขในจินตนาการแห่งรัก” ปน้ั หล่อไฟเบอรก์ ลาส 60 x 120 x 150 ซม. 6 . ประตมิ ากรรมรปู ทรงเรขาคณติ และรปู ทรงอิสระ เป็นการสรา้ งสรรค์นอกเหนือจากการอาศยั ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม โดยการคิดประดิษฐเ์ สริมใหเ้ กดิ รูปทรงเรขาคณติ ขึ้นใหม่ เช่น วงกลม วงรี แปดเหลี่ยม สามเหลยี่ ม เปน็ ตน้ ส่วนรปู ทรงอิสระเปน็ การสรา้ งขน้ึ จากการไมม่ ีกฎเกณฑ์ตายตัว อาจจะตง้ั ช่อื หรอื เรยี กชอ่ื ไมถ่ กู ก็ได้ (ภาพท่ี 3.15,3.16) ภาพท่ี 3.15 ปาโบล ปกิ ัสโซ (Pablo Picasso) ค.ศ. 1956 “ครอบครัว” เทคนคิ บรอนซ์ ภาพที่ 3.16 เดวดิ สมธิ (David Smith) ค.ศ. 1964 (Cubi 2-4) สแตนเลส, เหลก็ 294 ซม. 49
การวเิ คราะหท์ ัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) กลวิธีในงานประตมิ ากรรม กลวธิ ใี นงานประตมิ ากรรมเปน็ ลกั ษณะทใ่ี ชจ้ ำ�แนกตามวธิ กี ารวสั ดใุ นการสรา้ งงานประตมิ ากรรมจะนำ�วสั ดุ แต่ละชนดิ เทคนคิ แตล่ ะอยา่ งมาสร้างงานตามความเหมาะสมเพื่อใหเ้ กิดผลงานตามเจตจ�ำ นงเฉพาะตนทีต่ อ้ งการ แสดงออกซง่ึ มคี วามคงทนและความงามของวสั ดุและวธิ ีการแตกต่างกนั ตามแนวความคิดของผลงาน เรม่ิ ตง้ั แต่ขน้ั ตอนพืน้ ฐานถงึ ข้นั ผลงานการตดิ ตั้งกลางแจง้ เช่น ดนิ เหนียว ปูนปลาสเตอร์ ไฟเบอรก์ ลาส โลหะ เหล็ก เปน็ ตน้ สามารถแบ่งงานประตมิ ากรรมตามกระบวนการแสดงออกดงั น้ี 1 . การปั้น (Modeling) การปัน้ ทเี่ นน้ ความสวยงามตามเร่อื งราวทีต่ ้องการแสดงออกอารมณ์ความร้สู กึ ที่ แฝงเรน้ ในผลงานประตมิ ากรรม การป้ันถือว่าอย่ใู นสาขาทศั นศิลป์ ส่วนการสร้างงานทม่ี ุ่งเน้นประโยชน์ใชส้ อยและ การค้าขายเป็นสำ�คญั ความงามเปน็ อนั ดับรองลงไป ถือวา่ เปน็ งานประยกุ ต์ศลิ ป์ เชน่ การป้ันแจกนั โอ่งน�ำ ้ หมอ้ ดิน เป็นต้น สิ่งเหลา่ นป้ี ้ันขึ้นเพ่อื ประโยชนใ์ ช้สอยเป็นหลักมากกว่าความงาม (ภาพท่ี 3.17) ภาพท่ี 3.17 มีเซยี ม ยบิ อนิ ซอย “กระโดดกบ” ทองแดง สูง 60 ซม. ภาพท่ี 3.18 หน้าบนั พระอโุ บสถ วัดหนา้ พระเมรุ ศิลปะอยธุ ยาตอนปลาย 50
บทที่ 3 : ประตมิ ากรรม 2 . การแกะสลัก (Carving)เปน็ กระบวนการท่สี ร้างงานตามลกั ษณะต้ังแต่สมัยโบราณนยิ มเรียกกันว่าแกะ สลักไม้ หน้าบนั โบสถว์ หิ าร เรยี กวา่ จำ�หลัก ซึ่งทำ�กนั มาต้งั แตส่ มยั อยุธยาเร่ือยมาจนถงึ ปจั จบุ นั รวมท้งั งานแกะสลัก ชนิ้ เล็กชิน้ น้อย เป็นของทีร่ ะลึก จำ�หนา่ ยในแตล่ ะทอ้ งถิน่ แกะสลักไม้ลวดลายประดับอาคารบา้ นเรือน ฯลฯ นบั ได้ ว่าเปน็ ผลงานหตั ถศลิ ปแ์ ละประณีตศลิ ป์ ผลงานท่สี ร้างขึ้นมงุ่ เนน้ ความงามและเรอื่ งราวท่ตี อบสนองด้านจติ ใจและ อารมณ์ความรู้สกึ ศรัทธา เชน่ การแกะสลกั ลวดลายหนา้ บันโบสถว์ ิหาร วัสดทุ ี่ใช้อาจจะเป็นไม้ ปูนป้นั ดินเหนียว เปน็ ตน้ (ภาพที่ 3.18) 3 .การฉลุลาย (Fretwork) หรือลายฉลุเป็นการสรา้ งผลงานใหเ้ กดิ ลวดลายเป็นช่องโหว่ตามศลิ ปนิ ตอ้ งการ เกิดเป็นรปู ทรง ลวดลาย สัญลักษณ์ ตวั อกั ษร หรอื เคร่อื งหมายก็ได้ บางทอี าจจะฉลเุ ปน็ รปู ร่างตามตอ้ งการ แลว้ น�ำ ไปตดิ กับตวั วสั ดพุ น้ื ราบ (ภาพท่ี 3.19) ภาพที่ 3.19 วิโชค มกุ ดามณี “พชื พรรณสญั ลกั ษณแ์ ห่งชวี ิต” แผน่ โลหะ 200 x 700 สงู 400 ซม. ภาพที่ 3.20 ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พรี ะศรี “พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ” ปนู ปลาสเตอร์ 51
การวิเคราะหท์ ศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) 4.การหลอ่ (Casting)การหลอ่ ถือว่าเป็นขนั้ ตอนสุดทา้ ยของการปั้นโดยเฉพาะการป้นั ดินเหนียวดินน�ำ ้มัน แกะหรอื อืน่ ๆ เพือ่ ความคงทนในระดับหน่งึ แต่ไม่เท่ากับหลอ่ บรอนซ์ และไฟเบอร์กลาส แตว่ สั ดเุ หลา่ น้ันจะแตกหัก ช�ำ รุดได้งา่ ย จงึ ตอ้ งทำ�พมิ พต์ ้นแบบเพอ่ื ใช้ในการหล่อผลงานช้ินต่อไป จะมขี ัน้ ตอนทีซ่ ับซอ้ นซ่งึ ประกอบไปดว้ ยการ ปั้นแลว้ หลอ่ การแกะสลักแลว้ หล่อ และการฉลลุ ายแล้วหล่อ เปน็ ต้น จะท�ำ ให้คงความเหมอื นจรงิ ตามแบบที่ปัน้ ขนึ้ ในขนั้ ตอนแรก(ภาพที่ 3.20) 5 . การกดพิมพ์ (To press in mold) เป็นกระบวนการประตมิ ากรรมที่ใกล้เคยี งกับการหลอ่ คือ ต้องปน้ั ตน้ แบบก่อน โดยการปนั้ เป็นรปู ตน้ แบบก่อนด้วยดินนำ�ม้ ัน แกะโฟม หรือดินเหนยี ว เสร็จแล้วท�ำ แม่พิมพค์ รอบเม่อื ไดแ้ มพ่ มิ พ์ตน้ แบบส�ำ หรับสร้างผลงาน สามารถทำ�ไดห้ ลายชน้ิ งาน ผลงานท่ีกดพมิ พ์ลงไปบนแม่พมิ พ์จะมรี ูปแบบที่ เหมือนกับต้นแบบ วัสดุทนี่ �ำ มากดพมิ พ์กบั แมพ่ ิมพ์ ได้แก่ ดนิ เหนียว พลาสตกิ แผ่นโลหะ และกระดาษ เป็นตน้ (ภาพ ที่ 3.21) ภาพท่ี 3.21 พระพิมพ์ สมัยศรีวชิ ัย ภาพที่ 3.22 อเลกซานเดอร์ คาลเดอร์ (Alexander Calder) “การเคลอ่ื นไหวของสีแดง 4” (Four Red Systems) Painting metal and wire 195 x 180 x 180 ซม. 6 . การแขวน (Mobile) เป็นผลงานทใี่ หค้ ณุ ค่าทางสนุ ทรียภาพจากการเคลอ่ื นไหว ถือวา่ เป็นงานประตมิ า กรรมอกี ลกั ษณะหนง่ึ เชน่ กนั ฐานของผลงานจะหอ้ ยอยบู่ นเพดานหรอื จากทส่ี งู ตวั ผลงานจะมขี นาดพอดไี มใ่ หญม่ าก ซึ่งผลงานทำ�ดว้ ยวสั ดุต่างๆ เชน่ วัสดธุ รรมชาติ ไม้ ผ้า เหล็ก กระดาษ สงั กะสี เปน็ ตน้ อาจจะมีทง้ั ช้นิ เดียว และ หลายชนิ้ ตดิ เช่อื มกนั จะตอ้ งมกี ารค�ำ นวณสัดสว่ น นำ�้หนัก ทศิ ทางของลม เพ่ือใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นไหว หมุน โยก แกว่งไปมา ทำ�ให้ผลงานดูน่าสนใจกว่าประตมิ ากรรมท่ัวไป (ภาพที่ 3.22,3.23) 52
บทที่ 3 : ประติมากรรม ภาพท่ี 3.23 นนทิวรรธน์ จนั ทนะผลนิ “พลงั จักรวาล” เหลก็ แผ่นสังกะสี 550 x 550 สูง 60 ซม. ภาพที่ 3.24 ภชุ งค์ บุญเอก “จินตนาการรปู ทรงแห่งการเคลอ่ื นไหว” ไฟเบอร์กลาส เหล็กเชอ่ื ม ภาพท่ี 3.25 มานพ เอย่ี มสะอาด (Face of Journey) เชือ่ มโลหะ ไม้ ไฟเบอร์กลาส 350 x 150 น้วิ 53
การวิเคราะห์ทัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) 7 .การสร้างสอ่ื ผสม(Mixedmedia)เป็นการรวบรวมวสั ดหุ ลายอยา่ งทางเทคโนโลยสี มยั ใหม่รวมทั้งกลวิธี อยา่ งอสิ ระ ผสมผสานหลายวสั ดเุ ช่น ไม้ เหล็ก ปนู เขา้ ด้วยกัน ตามความเหมาะสมและเจตจำ�นงของศลิ ปิน เพอื่ ให้ เกิดเรอ่ื งราวอยา่ งไร โดยจะมีอิสระทางความคดิ บางคนใช้คนจริงผสมผสานกบั หุ่นจำ�ลอง หรือวสั ดุเก่าๆ สายไฟ ทีวี เป็นตน้ อาจจะมีการเช่อื ม ออ๊ ก ฉีด เป่า กไ็ ดต้ ามจนิ ตนาการ ซึ่งเปน็ ท่นี ิยมของศิลปินในการสร้างงานประติมากรรม สมัยใหม่ (ภาพที่ 3.24, 3.25) วสั ดทุ ีใ่ ช้ในการสรา้ งงานประตมิ ากรรม ว ัสดุท่ีใช้ในงานประติมากรรมมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับศิลปินจะเลือกใช้วัสดุอะไรบ้างเพื่อให้เกิดความเหมาะ สมกับแนวคิด ชนดิ ของผลงาน และความถนดั ของแตล่ ะบคุ คล ซ่งึ วสั ดตุ ่างๆ ก็จะมีคณุ คา่ ความงามของพน้ื ผวิ และ ความแข็งแรง ตา่ งกันเช่น ผลึก และหนิ ออ่ น ก็จะมคี ณุ ค่ามากกวา่ ปนู ปลาสเตอร์ เป็นตน้ เพราะฉะนัน้ การสร้างงาน ประติมากรรมของแต่ละคนจะต้องพิถีพิถันในการเลือกวัสดุอย่างประณีตเพื่อความงามและความเป็นเอกลักษณ์ ของงานประตมิ ากรรมน้ันๆ 1 .หนิ (Stone)เปน็ วสั ดทุ ใี่ ชใ้ นงานประตมิ ากรรมมาตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ยงั ไดร้ บั ความนยิ มทงั้ ในตะวนั ตก และตะวนั ออก หนิ จะมกี ระบวนการมากกว่าการปัน้ ดิน แต่หินจะมีความสวยงามของพื้นผวิ มากกว่า และคงทนมาก กว่าโดยเฉพาะหนิ ออ่ นมีความเป็นเงามคี วามใส สามารถมองเหน็ ลวดลายสวยงามจากธรรมชาติไดง้ ดงามมากกว่า บรอนซ์ เปน็ วสั ดุทน่ี ำ�มาสรา้ งงาน แล้วดมู ีคณุ คา่ มากกวา่ วัสดอุ ่นื ๆ เน่ืองจากมกี รรมวิธที ่ียุ่งยากกวา่ ดว้ ย เพราะตอ้ ง วางแผน ก่อนที่จะท�ำ การแกะให้เป็นรปู ตามที่ต้องการบนก้อนหิน เพราะถา้ แกะผดิ พลาดจะแก้ไขได้ยาก ส่งิ ทมี่ ี ความงามตามธรรมชาตขิ องหนิ มีหลายสี เช่น ด�ำ ขาว เขียว น�ำ ้ตาล พน้ื ผวิ ของหิน จะให้พลังความงามและความเข้ม แข็ง บางทีศลิ ปนิ ที่ขัดเรยี บละมนุ ละไมเรียบได้เปน็ เงา บางทีกป็ ลอ่ ยให้พนื้ ผวิ หยาบขรขุ ระตามธรรมชาติ (ภาพที่ 3.26,3.27) ภาพท่ี 3.26 นภดล วริ ฬุ หช์ าตะพนั ธ์ “คดิ ถงึ บา้ น จากฟลอเรนซ์ 2000-2003” หินออ่ น คารร์ าร่า 26 x 26 x 16 ซม. 54
บทที่ 3 : ประตมิ ากรรม ภาพท่ี 3.27 ออกสุ ต์ โรแดง “จมู พติ ” หินอ่อน ขนาดใหญก่ ว่าจริงเลก็ นอ้ ย 2 . ทองแดง (Copper) เปน็ วสั ดุที่มนุษยน์ �ำ มาใชต้ ้งั แตส่ มยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ โดยเฉพาะนำ�มาใชท้ �ำ เป็น ประติมากรรม ซง่ึ ทองแดงจะมีความอ่อนตวั กว่าทองเหลอื งและสะดวกในการทำ�งานมากกวา่ และมีความแข็งแรง ทนทานต่อการฝงั ดนิ ด้วย มจี ุดหลอมตวั เทา่ กบั บรอนซ์ ทองแดงใช้ไดด้ ี หรอื ทุบเป็นแผ่น สามารถท�ำ เปน็ รปู รา่ งอดั ม้วนเปน็ แผ่นไดง้ ่าย 3 . บรอนซ์ (Bronze) หรอื สัมฤทธ์ิ เปน็ วสั ดทุ ีน่ �ำ มาใชม้ ากท้งั ในตะวนั ออกและตะวันตก เช่น ในสมยั กรีก รุง่ เรือง และนยิ มตอ่ กนั มาเร่ือยๆ เกิดจากการใช้ทองแดงผสมดีบุก มคี ณุ คา่ ในการหลอ่ ทำ�ประติมากรรม โดยเฉพาะ การหลอ่ พระพุทธรปู เทวรปู ตา่ งๆ ในสมยั อดีตจนถึงปัจจุบันยังไดร้ ับความนิยม ศลิ ปินนยิ มนำ�มาหล่อผลงาน เพราะ วัสดมุ ีความแขง็ แรงคงทน พืน้ ผวิ สวยงาม เหมาะกับการติดตั้งภายนอกและภายใน บรอนซ์ที่นำ�มาใชส้ ามารถท�ำ รปู ลกั ษณะตา่ งๆ ได้หลากหลาย โดยไม่มผี ลเสยี กบั รูปทรง และลักษณะโครงสร้างของผลงาน แตส่ ่งผลทำ�ให้ผลงานนา่ สนใจมากขนึ้ แต่ศิลปนิ จะตอ้ งปั้นดินใหไ้ ดร้ ปู ทรงตามความพอใจกอ่ นแลว้ จงึ นำ�มาท�ำ เปน็ แบบหลอ่ (ภาพที่ 3.28) ภาพที่ 3.28 ชำ�เรือง วิเชียรเขตต์ “ปรมิ าตร” หล่อบรอนซ์ 55 x 75 ซม. 55
การวิเคราะห์ทัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) 4 . เหลก็ และโลหะอ่ืนๆ (Iron) เป็นวสั ดุที่ศิลปนิ น�ำ มาสร้างสรรค์ประตมิ ากรรมเปน็ จ�ำ นวนมาก เพราะมี ความคงทน ทนแดด ทนฝนได้ เหลก็ สามารถท�ำ ให้เกิดรปู ทรงตามท่ีศิลปนิ ต้องการได้หลายวธิ ี เช่น การใช้คอ้ นทบุ ใหเ้ กดิ รปู รา่ งรปู ทรงและท�ำ ใหเ้ กดิ พนื้ ผวิ ได้หรอื น�ำ มาเชอื่ มออ๊ กตดิ กนั ตามทต่ี อ้ งการได้เปน็ ประตมิ ากรรมขนาดใหญ่ บางทใี ชเ้ หลก็ แผน่ หรอื เปน็ เสน้ มาเชอื่ มตอ่ กนั ซง่ึ ผลงานทปี่ รากฏในปจั จบุ นั สว่ นใหญจ่ ะเปน็ รปู แบบกงึ่ นามธรรมและ นามธรรม แสดงออกตามแนวคิดจินตนาการท่ีมีความหลากหลาย (ภาพท่ี 3.29,3.30) ภาพที่ 3.29 ไชยวฒั น์ กดุ พันธ์ (My Ozone) เชอื่ มโลหะ 256 x 400 ซม. ภาพท่ี 3.30 อดุ ร จริ กั ษา“เลก็ สู่ใหญ”่ เชอ่ื มโลหะ 260 x 609 x 250 ซม. 5 . ไฟเบอร์กลาส (Fiberglass) เปน็ วัสดุอกี อยา่ งหนง่ึ ทศี่ ิลปนิ ในปจั จบุ นั นิยมนำ�มาสร้างสรรคผ์ ลงานประติ มากรรม เพราะมีความคงทนใกล้เคียงกับบรอนซ์ เมอ่ื ปัน้ รูปดว้ ยดินเหนยี วตามท่ตี อ้ งการ เพ่ือน�ำ มาทำ�พมิ พ์หล่อไฟ เบอรก์ ลาส เมอ่ื ท�ำ สผี วิ ของวัสดจุ ะมคี วามสวยงาม และข้นั ตอนการหล่อก็จะไมท่ �ำ ให้รูปทรง ปรมิ าตร พ้นื ผิวของผล งานนั้นเสยี ไป ต้นทุนในการหล่อถูกกวา่ บรอนซ์จึงถอื ว่าเป็นวัสดทุ ไ่ี ด้รบั ความนยิ มมากในปัจจบุ นั (ภาพท่ี 3.31) 56
บทท่ี 3 : ประติมากรรม ภาพที่ 3.31 เปยี่ มจันทร์ บญุ ไตร “พอ่ ในความฝนั ” ไฟเบอร์กลาส 50 x 100 x 150 ซม. ภาพท่ี 3.32 ศรทั ธา สนิ สาริตสกุ ลุ “พลัง” เครอื่ งปั้นดินเผา 86 x 90 ซม. ภาพที่ 3.33 อิงอร เพช็ รเขียว “มายา” ดินพ้นื บา้ นดา่ นเกวยี น 57
การวิเคราะห์ทศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) 6 .ดนิ เผา(TerraCotta)เปน็ วสั ดทุ ใี่ ชใ้ นการสรา้ งงานประตมิ ากรรมมาตง้ั แตส่ มยั โบราณทที่ �ำ เปน็ เครอื่ งปน้ั ดินเผา พฒั นาเรอ่ื ยมาส่วนใหญ่เป็นงานประยกุ ต์ศลิ ป์ ช่วงหลังน�ำ มาประดบั อาคารสถาปตั ยกรรม และนำ�มาสรา้ ง ผลงานทางทศั นศลิ ป์มากข้นึ เป็นดนิ เผาท่ีไม่เคลอื บใดๆ ทง้ิ รอ่ งรอยพ้นื ผิวของดินเอาไว้ และคงสีของดินเอาไว้ จะ ใหค้ วามร้สู ึกเปน็ งานฝีมอื และสามารถท�ำ ไดท้ ัง้ ขนาดใหญแ่ ละขนาดเล็ก รวมทง้ั งานที่เป็นเคร่ืองใชส้ อย เชน่ ถว้ ย โถ ชาม โอง่ อ่าง เปน็ ตน้ มีมาตัง้ แตโ่ บราณ แต่สมยั นีน้ �ำ มาสรา้ งเปน็ ผลงานทางทัศนศิลป์ (ภาพท่ี 3.32,3.33) 7 . วสั ดธุ รรมชาติ (Natural) เปน็ อกี วสั ดุที่ศลิ ปินน�ำ ไปสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมและเป็นท่นี ิยมของ ศิลปนิ ในปจั จุบัน โดยเฉพาะไม้ ทง้ั ทเ่ี ป็นแผน่ และท่อน ศลิ ปนิ นำ�มากลงึ ขดั ปรับแต่งรปู ทรงขึ้นใหม่ โดยการจัดองค์ ประกอบจัดสรรให้เกิดโครงสรา้ งใหม่ด้วยการเข้าลมิ่ เชอื่ ม ผสมผสานกนั ตามแนวคิดของศลิ ปินทีต่ ้องการถ่ายทอด เนอ้ื หาอยา่ งไร แตค่ วามคงทนตอ่ ดนิ ฟ้า อากาศ จะไมเ่ ท่ากบั เหล็ก บรอนซ์ แต่ความสวยงามทเ่ี กิดขน้ึ จากพนื้ ผวิ ลวดลายของไม้ อันเป็นเอกลักษณ์และท�ำ ใหผ้ ลงานนั้นๆ มคี วามเป็นเอกลกั ษณ์ และนา่ สนใจมาก (ภาพที่ 3.34,3.35) ภาพท่ี 3.34 อานนท์ เศษขุนทด “ปา่ โกงกาง” ประกอบไม้ 200 x 300 ซม. ภาพท่ี 3.35 จุมพล อทุ โยภาศ “ต้น ราก เมลด็ ” แกะสลกั ไม้ 80 x 40 x 145 x 40 ซม. มูลเหตุในการสรา้ งงานประตมิ ากรรม การสรา้ งสรรคผ์ ลงานประตมิ ากรรมมสี าเหตไุ มแ่ ตกตา่ งจากทศั นศลิ ปแ์ ขนงอน่ื ๆคอื มงุ่ เนน้ ทจี่ ะสรา้ งผลงาน ท่ีถ่ายทอดอารมณ์ความรสู้ ึกนึกคดิ ของศลิ ปินออกมาเปน็ รูปทรงที่มีรูปแบบเหมือนจริงกง่ึ เหมอื นจริงและนามธรรม ข้ึนอย่กู ับแนวความคดิ และการนำ�เสนอตามประสบการณ์ ความชอบของแตล่ ะบคุ คล และตามทสี่ ังคมตอ้ งการให้ เกิดขึ้น ซ่ึงมคี วามหลากหลายโดยมจี ุดมุ่งหมายดังนี้ 58
บทที่ 3 : ประติมากรรม 1 .เพอื่ สนองตอบดา้ นจติ ใจและอารมณ ์น บั วา่ เปน็ สาเหตทุ ส่ี �ำ คญั และเปน็ สาเหตอุ นั ดบั แรกในการสรา้ งสรรค์ ผลงานทศั นศิลป์ ท่ีคำ�นึงถงึ ความสวยงาม ความประณีต ทกั ษะ กระบวนการคิด กลวธิ กี ารสรา้ งงาน เพอ่ื ประสาน กลมกลนื กบั เน้ือหาเรื่องราวในการถา่ ยทอดใหเ้ กิดอารมณ์ความรสู้ ึกในผลงานถือว่าเป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งของ มนษุ ย์ทีเ่ ป็นปกติ ท่ีมนษุ ย์ถา่ ยทอดออกมาอยา่ งอตั โนมัติของมนุษยอ์ ยแู่ ลว้ โดยเกิดจากความประทับใจ สะเทอื นใจ ดใี จ ศรทั ธา เช่อื ถอื อันเป็นผลและมอี ทิ ธพิ ลต่ออารมณ์ ความร้สู กึ ในการสรา้ งผลงานใหเ้ กดิ ขึน้ ฉะนน้ั ความสวยงาม ความประณตี ความยงิ่ ใหญ่พลงั จงึ ถกู บรรจไุ วใ้ นผลงานประตมิ ากรรมทง้ั ทม่ี รี ปู แบบแตกตา่ งกนั ไปขน้ึ อยกู่ บั การแสดง ออกของแต่ละคน 2 .เพอ่ื สนองตอบดา้ นความเชอ่ื เรอื่ งราวความเชอ่ื เปน็ สงิ่ ทคี่ วบคกู่ บั วถิ ชี วี ติ ของมนษุ ยใ์ นสงั คมไทยมาตง้ั แต่ อดตี จนถึงปจั จุบัน รวมท้ังความเชอ่ื ของชาวตะวนั ตกท่ีมอี ิทธิพลต่อการสรา้ งผลงานประตมิ ากรรมของชาวตะวันตก เรือ่ ยมาแตเ่ ป็นการสร้างผลงานในลกั ษณะขอ้ เทจ็ จริง เป็นความจริงทั้งเน้ือหาและรปู ทรงท่ถี า่ ยทอดออกมา สว่ น ความเชอ่ื ของตะวนั ออกเปน็ แนวความคดิ ของความเชอ่ื ดา้ นอดุ มคติความรสู้ กึ ศรทั ธาอนั แรงกลา้ เปน็ จนิ ตนาการโดย ความเชอื่ ฝังรากลกึ ภายใตจ้ ติ ส�ำ นกึ ของมนุษยท์ ุกชนชนั้ มาตัง้ แต่โบราณ เชน่ เรอ่ื งเทพเจา้ เทวดา สง่ิ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ ความ ฝนั ภูตผปี ีศาจ วญิ ญาณ หมอดู เปน็ ตน้ ความเชือ่ เหล่านไี้ ดร้ ับการขัดเกลาให้เกิดปรัชญาและแนวคิดท่เี ป็นแก่น สาระส�ำ คญั ท�ำ ใหผ้ ลงานสมยั ใหมม่ ลี กั ษณะการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทมี่ คี วามหลากหลายทงั้ เทคนคิ วธิ กี ารจะแฝงอยใู่ น ศิลปวฒั นธรรม วถิ ชี วี ติ ของมนุษย์เรื่อยมา 3 .เพอื่ ตอบสนองดา้ นศาสนา เปน็ การสรา้ งผลงานเพอื่ ศาสนามมี าตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั แ ละกอ่ นประวตั ิ ศาสตรไ์ มว่ า่ จะเปน็ ศาสนาดา้ นตะวนั ออกและตะวนั ตก ย อ่ มสรา้ งผลงานประตมิ ากรรมเพอ่ื ศาสนามาตลอด โ ดย เฉพาะความดคี วามชัว่ เป็นการแสดงความศรทั ธา สบื ทอดพระพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะการปั้นพระพุทธรูป ผ้ทู ่ีค้น พบสัจธรรมแหง่ ชวี ติ เปน็ การสบื สานพระพทุ ธศาสนา เชน่ พระเยซู ศาสนาครสิ ต์ พระพทุ ธเจา้ ศาสนาพุทธ เปน็ ต้น ซ่งึ ประติมากรไดจ้ ำ�ลองส่ิงเหลา่ นไี้ ว้กราบไหว้ บชู า เพอื่ เตอื นสติ เน้นย�ำ ้ให้ผูค้ นทำ�ความดี ละเว้นความชัว่ เชน่ การสรา้ งพระพุทธรปู ปางมารวิชัยของศาสนาพุทธ ท่ีนิยมสรา้ งปางน้ีเปน็ การสอนธรรมะใหก้ บั ผ้คู นท่มี ากราบไหว้ เพราะเป็นปางทีพ่ ระพุทธเจา้ เอาชนะมารก่อนตรัสรู้ เป็นการเอาชนะกิเลส ความชว่ั ร้ายทัง้ หลาย เพอ่ื หลดุ พ้น จึงถือ ว่าเปน็ ส่ิงทีท่ �ำ ใหผ้ ู้คนมากราบไหว้ไดร้ ะลึกถงึ สิ่งเหล่าน้ี (ภาพท่ี 3.36, 3.37) ภาพท่ี 3.36 พระโพธสิ ตั ว์อวโลกเิ ตศวร สำ�รดิ สูง 1.15 เมตร ศิลปะสมัยศรีวชิ ัย 59
การวิเคราะหท์ ัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพที่ 3.37 จานโลเรนโซ แบรน์ ิน่ี “ความปลม้ื ปติ ขิ องนกั บญุ เซนตเ์ ทเรซ่า” หนิ ออ่ น เท่าคนจรงิ ภาพที่ 3.38 อำ�นวย กันทะอนิ ทร์ “ทา้ วทัง้ 4” ไฟเบอรก์ ลาส ไม้ ทราย เหล็ก 300 x 220 ซม. 4 .เพอ่ื สนองตอบความประทบั ใจจากสภาพแวดลอ้ มนบั วา่ เปน็ สาเหตทุ ส่ี �ำ คญั ในการสรา้ งผลงานประตมิ า กรรมในปจั จบุ ัน ซงึ่ ศลิ ปนิ แตล่ ะคนจะมีประสบการณท์ ไี่ ด้สมั ผสั รับรจู้ ากสภาพแวดลอ้ มท่ตี ่างกัน เชน่ ชนบท ในเมอื ง ธรรมชาติ วิถีชวี ติ เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ สตั ว์ ล้วนเป็นต้นแบบทางความคดิ ในการสร้างสรรค์ผลงานทถ่ี ่ายทอดผลงาน ในรปู แบบท่ตี า่ งกันตามแนวความคิดของแต่ละบคุ คล เชน่ รปู แบบเหมอื นจริง รูปแบบก่งึ เหมอื นจรงิ และรปู แบบ นามธรรม โดยเลือกวัสดุ กลวธิ ีการจดั องค์ประกอบ การผสมผสานกนั ของวสั ดุ เพอ่ื ให้ผลทางความรู้สกึ ของแต่ละ คนใหเ้ กดิ ขึ้นในผลงานประตมิ ากรรม เช่น เกิดความรสู้ กึ เศร้า คิดถงึ ร�ำ ลึก อบอุ่น ร่าเรงิ ทั้งสะทอ้ นสังคมเป็นเมอื ง และชนบท เปน็ ประเภทท่ีไดร้ บั ความนิยมอย่างแพรห่ ลายในการสร้างสรรคใ์ นปจั จุบัน (ภาพที่ 3.38) 60
บทท่ี 3 : ประตมิ ากรรม 5 .เพ่ือประดับตกแต่งในงานสถาปัตยกรรม เป็นอีกสาเหตทุ ่นี ิยมสรา้ งผลงานประติมากรรมประดบั ตกแตง่ ในงานสถาปตั ยกรรมซงึ่ มมี าตง้ั แตส่ มยั อดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ไมว่ า่ จะเปน็ ทางตะวนั ออกและตะวนั ตกเราจะเหน็ มากมาย เพ่อื เสรมิ สรา้ งความสวยงาม เร่ืองราวก่อให้เกดิ ความเป็นมาของประวัติศาสตรด์ ้วย เช่น การประดบั ลวดลายแบบ เขมรในสมยั ลพบรุ ี หรือการตกแต่งลวดลายประติมากรรมในสมัยรตั นโกสินทร์ ซงึ่ ไดร้ ับความนิยมมากในแต่ละยุคท่ี กระทำ�สบื ทอดกันมาท�ำ ใหเ้ กดิ เรือ่ งราวของอาคารสถาปตั ยกรรม เชน่ โบสถ์ วหิ าร เจดยี ์ ปรางค์ ปราสาทหิน ทบั หลงั รวมทง้ั ใบเสมา ล้วนแลว้ มผี ลงานประตมิ ากรรมทั้งนนู ตำ่� นูนสงู และลอยตวั ถือว่าเป็นสว่ นประกอบที่ ควบคกู่ ันมายาวนาน จะมีกลวิธีที่แตกต่างกันเชน่ การป้ันปนู สด แกะสลกั แกะหิน หล่อ แกะไม้ รวมท้ังสร้างสรรค์ ข้นึ เพ่ือประดบั ตกแตง่ อาคารบ้านเรอื น ทำ�ให้เกิดความสวยงามกลมกลนื (ภาพที่ 3.39) ภาพที่ 3.39 ลายปนู ป้นั นนู สูงพระวหิ ารวดั ไลย์ จังหวัดลพบุรี ศลิ ปะสมยั อยธุ ยาตอนปลาย 6 .เพื่อเปน็ อนุสรณส์ ถานหรอื อนุสรณแ์ ห่งความระลกึ จะสร้างผลงานในสว่ นท่บี ันทึกบุคคลสำ�คญั เพื่อ เชดิ ชู จารึก เพ่อื รำ�ลึกถงึ เพื่อตกแตง่ และเก็บไว้ในสถานท่ีสำ�คญั ภายในอาคารและนอกอาคารได้ แต่มีขนาดเลก็ เช่น การป้นั พระบรมรปู พระเจา้ อย่หู ัวอานนั ทมหดิ ล และการป้ันบคุ คลส�ำ คัญต่อบ้านเมอื งมีขนาดใหญ่ เช่น การปน้ั อนุสาวรีย์ ซึง่ สว่ นใหญ่จะเปน็ การถ่ายทอดตามรปู แบบเหมอื นจรงิ ตามแบบ จะมีสัดสว่ นโครงสรา้ งรายละเอยี ดตาม ความเปน็ จรงิ ของคนหรือสัตว์ทท่ี �ำ คณุ ประโยชนใ์ หก้ ับชาติบา้ นเมอื ง กจ็ ะบันทกึ ไวด้ ้วยงานปนั้ (ภาพท่ี 3.40,3.41) ภาพที่ 3.40 ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี “พระเจา้ อยู่หัวอานันทมหดิ ล” ปูนปลาสเตอร์ 61
การวเิ คราะหท์ ัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 3.41 ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศรี “อนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” หล่อดว้ ยโลหะรมดำ� 7 . เพ่ือประดบั ในส่วนสาธารณะกลางแจง้ จะมจี ดุ ประสงค์ในการสร้างผลงานประติมากรรมใกลเ้ คยี งกนั กับอนสุ รณส์ ถาน ซึ่งมุ่งเน้นคณุ งามความดี บุคคลส�ำ คัญ แต่การสร้างผลงานประติมากรรมทีใ่ ชใ้ นการประดับตกแต่ง ในสถานทต่ี ่างๆ หรือสวนสาธารณะนั้นจะตอ้ งมีแนวความคดิ ของผลงาน และแนวความคดิ ของสถานทนี่ ัน้ ประกอบ กัน เพ่อื เป็นส่วนหนึ่งของอาคารสถานที่ หรอื เน้นยำ�เ้ ตอื น หรือให้อะไรกับสังคม ประชาชนท่ีพบเหน็ และอาคาร ในบริเวณใกลเ้ คยี งกบั ผลงานที่น�ำ มาประดับตกแต่งท้งั ภายในและภายนอกส่วนมากจะมขี นาดใหญ่รูปแบบทน่ี ำ�มา ใชเ้ ปน็ รปู แบบกงึ่ นามธรรมและนามธรรมเปน็ สว่ นใหญ่กลวธิ ใี นการสรา้ งตอ้ งใหม้ คี วามคงทนแขง็ แรงไมเ่ ปน็ อนั ตราย ตอ่ สงั คม เชน่ เหล็ก โลหะ ไฟเบอรก์ ลาส เปน็ ต้น (ภาพท่ี 3.42) ภาพท่ี 3.42 ศราวธุ ดวงจ�ำ ปา “สัมพันธภาพ” แผ่นเหลก็ 600 x 600 สูง 800 ซม. 62
บทท่ี 3 : ประตมิ ากรรม ผ ลงานประตมิ ากรรมทม่ี กี ารพฒั นาและเกดิ การเคลอื่ นไหวอยตู่ ลอดเวลาของการสรา้ งผลงานทเี่ กดิ จากมนษุ ย์ ที่นำ�รูปทรง วสั ดุ วธิ ีการ แนวความคดิ ที่มีความแตกตา่ งกนั ไป ตามจุดมุ่งหมายในการน�ำ ไปใชใ้ นโอกาสต่างๆ ตาม ความเหมาะสม ท�ำ ให้ผลงานมคี วามหลากหลาย ซงึ่ มคี วามเกี่ยวขอ้ งกันกับมนุษยท์ ั้งทางตรงและทางอ้อม ทำ�ให้เกิด ความสวยงามกับสงั คม สภาพแวดลอ้ ม และเป็นการบนั ทึกประวัตศิ าสตรท์ างด้านศิลปกรรมด้วย (ภาพท่ี 3.43) ภาพท่ี 3.43 เดวิด สมิธ (David Smith) ค.ศ. 1963 “Bec-Dida Day “ Steel, polychromiert 230 x 150 ซม. คณุ ค่าในงานประตมิ ากรรม ก ารสร้างสรรคผ์ ลงานประตมิ ากรรมในแตล่ ะประเภท แตล่ ะวสั ดุ แตล่ ะรปู แบบ ซึ่งเปน็ สง่ิ ทศ่ี ลิ ปินมเี จตนา ในการสร้างข้ึนเพอ่ื ให้เกิดความงดงามเปน็ หลักส�ำ คญั ไมว่ า่ จะงามด้านความคิด งามดา้ นรปู ทรง งามด้วยการแสดง ออกข้ึนอยกู่ ับความถนดั ความชอบ ของแตล่ ะบุคคลในการน�ำ เสนอผลงานประติมากรรมทีแ่ ตกต่างกัน โดยผลงาน เหลา่ นนั้ จะต้องมีคุณคา่ ในตัวเองดงั นี้ 1 . คุณคา่ ทางด้านความเชอื่ การสรา้ งผลงานประติมากรรมตั้งแต่อดีตจนถงึ ปัจจุบัน ท้ังในตะวนั ออกและ ตะวันตกยอ่ มมีความเช่ือ ความศรทั ธาตอ่ ศาสนาในแตล่ ะเช้ือชาติท่ตี า่ งกนั เช่น ความเชอ่ื ของชาวตะวนั ตก การ สร้างประติมากรรมจะน�ำ เสนอรูปแบบข้อเท็จจรงิ ส่วนตะวันออกเป็นรูปแบบอุดมคติ ซึง่ ผลงานต่างๆ ไดส้ ะท้อน ออกมาเปน็ ความเชือ่ ความศรัทธาเป็นหลกั เช่น พระพุทธรปู พระเยซู ฯลฯ 2 . คุณค่าทางดา้ นความงาม เปน็ เร่อื งของความพอใจ ชน่ื ชอบ รสู้ ึกดี ร้สู ึกเสียใจ ศรทั ธาในสงิ่ ตา่ งๆ เหล่า น้ี ท�ำ ใหศ้ ิลปินสร้างผลงานทีม่ คี ุณค่าดา้ นความงามท่ีต่างกัน เชน่ ความงามด้านทักษะฝีมือท่มี คี วามประณตี งดงาม ตามวสั ดุ กลวธิ ขี องวสั ดุของผสู้ ร้างงาน ความงามในปริมาตร รูปทรง พื้นผวิ ของวสั ดุ กลวิธีที่ศลิ ปินสรา้ งขน้ึ มคี วาม สอดคลอ้ งกลมกลืนกันเป็นเอกภาพความงามของสสี นั ของวสั ดุเชน่ ปนู ปลาสเตอร์โลหะสงั กะสีทองเหลอื งทองแดง ซ่ึงมีความงดงามต่างกันและความงามของการจัดองค์ประกอบของรูปทรงท่ีมีความเป็นเอกภาพของรูปทรงโดย รวม การจัดวางสัดส่วน การเนน้ จดุ ท่นี า่ สนใจของรูปทรง และความงามทีส่ ร้างองค์ประกอบให้กลมกลืนกับส่งิ แวดลอ้ ม 63
การวิเคราะห์ทศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) 3 .คณุ คา่ ทางดา้ นประโยชนใ์ ชส้ อย นอกจากผลงานประตมิ ากรรมจะมคี วามงามเปน็ หลกั ส�ำ คญั แลว้ จะตอ้ ง มีประโยชน์ใช้สอย ควบคู่ดว้ ยอาจจะมากน้อยต่างกัน เชน่ ใหค้ วามรู้สกึ ทด่ี กี บั ผชู้ ม เปน็ การยำ�้เตือน สร้างจติ ส�ำ นึก ให้กบั ผูช้ ม เปน็ ตน้ บางชน้ิ งานจะมีประโยชนใ์ ช้สอยโดยตรง 4 .คุณค่าทางความร้สู ึก เป็นคุณคา่ ท่ีเกดิ ขนึ้ กับความร้สู กึ ศรัทธา อดึ อดั โหดรา้ ย เศร้าโศก เหล่าน้ีเปน็ แรง บันดาลใจให้กับศิลปินในการถ่ายทอดผลงานจากความเป็นจริงตามธรรมชาติท่ีได้รับการตัดทอนให้เหลือสาระ สำ�คัญภายในผลงาน ผสมผสานกบั ความรสู้ กึ ส่วนตวั ทำ�ใหเ้ กิดผลงานมีความเปน็ เอกลักษณ์ 5 .คณุ ค่าทางประจำ�ชาติ จะบ่งบอกความเป็นชาตนิ ยิ ม เอกลกั ษณ์ วถิ ีชวี ิตของชาตนิ ัน้ ๆ เชน่ พระพทุ ธรูป ปางต่างๆ บ่งบอกถึงขนบธรรมเนยี ม ประเพณี เชอื้ ชาติ การปกครองของประเทศนนั้ ทง้ั ยังสามารถน�ำ ไปตกแตง่ อาคารสถานทเ่ี พอื่ ใหส้ ิ่งกอ่ สรา้ ง มีความเด่นชัด ส่งเสรมิ และเกิดประโยชน์กบั สถานทเ่ี หลา่ นัน้ ได้ เป็นองคค์ วามรู้ ของชา่ งโบราณของแตล่ ะท้องถนิ่ เพื่อพัฒนาผลงานศลิ ปกรรมให้ร่วมสมยั มากข้ึน โดยมีรากฐานจากภมู ปิ ญั ญาท้อง ถนิ่ และเทคนิควธิ ีการ วสั ดุ แนวความคิด สามารถนำ�มาพัฒนาใหเ้ ปน็ ศิลปกรรมรว่ มสมัย เพื่อเชิดชูและปลูกจติ ส�ำ นึก ให้กับคนรุ่นใหมไ่ ด้ 64
บทท่ี 4 : สถาปัตยกรรม สถาปตั ยกรรม ความหมายของสถาปตั ยกรรม ส ถาปตั ยกรรม ( Architecture ) คือศิลปะและวทิ ยาการแหง่ การกอ่ สร้าง ซึ่งอธิบายอีกนัยหนง่ึ วา่ เป็นการ จัดที่ว่าง3มิติ(three-dimensionalSpace)เพ่อื สนองความตอ้ งการของมนุษย์ทั้งทางกายและจติ ใจสถาปตั ยกรรม เปน็ ทงั้ ศิลปะและวิทยาศาสตร์ เป็นเสมือนกระจกเงาทส่ี ะทอ้ นให้เห็นความเจรญิ ของอารยธรรมในสมัยนัน้ ๆ (ราช บณั ฑิตยสถาน,2541:25 ) สถาปตั ยกรรมเปน็ การออกแบบและกอ่ สรา้ งอาคารใหเ้ หมาะสมกบั การใชส้ อยเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการ ของมนุษย์ในการอยูร่ ่วมกนั ในสงั คม เช่น การออกแบบอาคารทพี่ กั อาศัย กอ่ ให้เกดิ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมาชกิ ใน ครอบครวั หรอื การออกแบบโบสถ์วหิ าร ก่อให้เกดิ ความเชอ่ื มนั่ และศรทั ธาในศาสนา สถาปัตยกรรมเปน็ ศลิ ปะของ การก่อสร้างในด้านเก่ียวกับความงามสัมพันธ์กับหน้าท่ีใช้สอยและเป็นวิทยาศาสตร์ของการก่อสร้างในด้านเกี่ยวกับ ความม่ันคงของโครงสร้าง (วิรัตน์ พิชญไพบูลย์,2528 :52) การออกแบบจะค�ำ นงึ ถงึ ประโยชน์ใชส้ อยและความงามควบคูด่ ้วย เพ่อื สนองความต้องการของมนษุ ย์ ทจ่ี ะ ตอ้ งเข้าไปใชป้ ระโยชน์ จากเนอ้ื ท่ีของสถาปตั ยกรรม จะต้องมคี วามสะดวกเหมาะสมในการใช้สอยกับพ้นื ท่ี มคี วาม ม่ันคงแข็งแรง และความชืน่ ชมในความงาม ซง่ึ สถาปนิกมหี น้าที่จะต้องออกแบบสรา้ งสรรค์ใหบ้ รรลุถึงเป้าหมายดงั กลา่ ว ซ่งึ จะตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยที างวทิ ยาศาสตร์เขา้ มาช่วย เช่น การค�ำ นวณโครงสร้าง วสั ดุ การก�ำ หนดของสาย ไฟฟ้า ประปา ท่ใี ช้ภายในอาคาร ส่งิ เหลา่ นี้จะตอ้ งดำ�เนนิ การโดยผมู้ ีความร้สู ะสม ดังค�ำ กล่าวทีว่ ่า “สถาปตั ยกรรม คอื วทิ ยาศาสตร์ของการก่อสรา้ ง” ประเภทของสถาปัตยกรรม 1 .การกอ่ สรา้ งอาคาร (Building and Construction) เปน็ ศลิ ปะการออกแบบอาคารรวมทง้ั ภายในและ ภายนอกเพื่อตอบสนองการอยู่ร่วมกนั ในสังคม ซ่งึ ประกอบด้วยอาคารชนดิ ต่างๆ เชน่ อาคารท่ีพกั อาศัย โรงเรียน โรงพยาบาล อาคารธรุ กจิ และอาคารสาธารณะ (วิรัตน์ พชิ ญไพบูลย,์ 2528:52) ซ่ึงการออกแบบจะต้องจดั สถานที่ ใหเ้ อ้ือตอ่ การอาศัยของมนษุ ย์ เช่น มีแสงสวา่ งพอเหมาะมกี ารระบายอากาศถา่ ยเทได้ดี (ภาพที่ 4.1) ภาพท่ี 4.1 อาคารพกั อาศยั 65
การวิเคราะหท์ ศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 4.2 โบสถ์ วิหาร อ าคารโบสถ์วิหารทางพระพุทธศาสนาจะตอ้ งออกแบบและแสดงใหเ้ หน็ ถึงอดุ มการณ์และการรว่ มมอื ร่วม ใจกนั ของประชาชน เป็นสถานท่ศี ักดส์ิ ทิ ธใิ์ นแตล่ ะศาสนา ยอ่ มต้องแสดงใหเ้ ห็นถึงความเชอ่ื มั่น และความศรทั ธา ของคนในสังคม ซึ่งจะถูกสรา้ งขนึ้ เพอื่ ประโยชนใ์ ช้สอยโดยจดั ระบบแสงสวา่ ง เพือ่ ให้เกดิ บรรยากาศถงึ ความศรัทธา มีผลต่อจติ ใจและจะต้องมีอากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวกสบาย อันเป็นผลต่อร่างกายและจติ ใจมนุษย์ เชน่ ภายในอาจจะ เขยี นภาพจิตรกรรมฝาผนังหรอื ประดับกระจกสี เพอ่ื สรา้ งบรรยากาศใหเ้ กดิ ขนึ้ ภายในอาคารสถาปตั ยกรรม ซ่งึ ใน แตล่ ะยคุ สมยั ไมว่ า่ จะเปน็ ตะวนั ออกหรอื ตะวนั ตกกจ็ ะมกี ารพฒั นารปู แบบความแขง็ แรงคงทนวสั ดทุ ท่ี นั สมยั ความงาม ก็จะแตกต่างกันไป และได้มกี ารผสมผสานรปู แบบเทคนิควิธีการสร้าง แต่จะมุ่งเน้นประโยชน์ใชส้ อยเปน็ หลกั และ ความงามตามมา การผสมผสานของอาคารสถาปตั ยกรรมท�ำ ให้เราเหน็ ถงึ การรบั อทิ ธิพลรว่ มกนั (ภาพที่ 4.2) 2 .ภมู สิ ถาปตั ยกรรม (Landscape Architecture) เป็นศลิ ปะการออกแบบการจดั ระเบยี บของผงั บริเวณ เพื่อสนองตอบ การพกั ผอ่ นรว่ มกนั ในสังคม ซ่งึ ประกอบด้วย ตน้ ไม้ อาคาร ถนน ท่ีพักผอ่ น และการตกแตง่ บรเิ วณ ดว้ ยศิลปะตะวนั ตก และสง่ิ ประกอบอ่นื ๆ ของบริเวณใหม้ คี วามงดงามสัมพนั ธก์ บั ธรรมชาตแิ วดลอ้ ม (วิรัตน์ พชิ ญ ไพบูลย,์ 2528:52) (ภาพที่ 4.3) ภาพที่ 4.3 เลอโนทด์ “อทุ ยานแวรซ์ ายส์” สมัยพระเจา้ หลยุ ส์ที่ 14 กรุงปารีส ฝรัง่ เศส 3.การออกแบบผงั เมือง (City Planning) เปน็ ศิลปะการจดั ระเบียบของเมืองเพ่อื ตอบสนองการอยรู่ ่วมกัน ในสงั คม ซึ่งภายในเมอื ง ประกอบดว้ ยบริเวณต่างๆเป็นสดั ส่วน เช่น บริเวณพักอาศัย บริเวณพักผอ่ น และสวน สาธารณะ บริเวณการศึกษา บรเิ วณธรุ กจิ บริเวณการปกครอง และบริเวณอตุ สาหกรรม โดยมถี นนขนาดตา่ งๆ เช่ือมโยงตดิ ตอ่ กนั (วิรัตน์ พิชญไพบลู ย์,2528:53) 66
บทท่ี 4 : สถาปัตยกรรม การผสมผสานของอาคารสถาปตั ยกรรมพระราชวงั นารายณ์ราชนเิ วศน์และบ้านวชิ าเยนทร์ศิลปะสมัย อยธุ ยาตอนปลาย รบั อทิ ธิพลรว่ มกนั กับสถาปัตยกรรมตะวนั ตก ชาวตะวนั ตกฝรงั่ เศสเปน็ ศนู ยร์ วมของศลิ ปกรรมมากมายไมว่ า่ จะเปน็ จติ รกรรมประตมิ ากรรมสถาปตั ยกรรม มคี วามเจริญรุ่งเรอื งมาต้ังแต่คริสตศ์ ตวรรษท่ี 5 มีความเจรญิ รุง่ เรืองสงู สดุ สมัยพระเจา้ หลุยส์ท่ี 14 ระหวา่ ง ค.ศ. 1792–1804 ตรงกับสมยั อยุธยาตอนปลายและมีความสัมพนั ธไมตรที ด่ี ีตอ่ กนั ระหว่างฝร่ังเศสและสยามในสมยั นัน้ พระนารายณ์ได้โปรดเกลา้ ส่งทตู ไปเจริญสัมพนั ธไมตรีกบั ฝรงั่ เศส โดยมีออกวสิ ูตรสุนทร (ออกญาโกษาธิบดี – ปาน) เป็นอคั รราชทูตเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 พ.ศ. 2227 (ค.ศ. 1684) ณ ห้องโถงหรือห้องกระจกในพระราชวงั แวร์ ซายส์ ฝร่ังเศสก็ได้สง่ คณะทูตมาเขา้ เฝา้ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทพ่ี ระราชวงั นารายณ์ราชนิเวศน์ พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) (อาเดรยี ง โลเนย,์ 2542) ซ่ึงในช่วงเวลาน้ันทัง้ ฝร่ังเศสและสยามกำ�ลังเจริญร่งุ เรอื ง เป็นเอกราชดา้ น เศรษฐกจิ และวัฒนธรรม พ ระราชวงั แวรซ์ ายส์(Versailles) เปน็ สถาปตั ยกรรมทม่ี ชี อื่ เสยี งมโี ครงสรา้ งขนาดใหญเ่ ปน็ อาคารแบบศนู ย์ รวมมปี กี 2 ข้าง ทำ�หนา้ ท่ี โอบลอ้ มลานกว้างภายในบริเวณอาคารไว้ โดยมอี าคารทางเขา้ อาคารหนั หนา้ เขา้ หาถนน ใหญ่ มคี วามงดงามทส่ี ุดในฝรง่ั เศส เดมิ เปน็ ปราสาทเลก็ ๆของพระเจ้าหลยุ สท์ ี่ 13 (ค.ศ.1610 – 1643) ต่อมาพระ เจา้ หลยุ ส์ท่ี 14 (ค.ศ. 1643 – 1715) สร้างต่อเตมิ ระหว่าง ค.ศ. 1661 – 1708 จนเป็นพระราชวัง ขนาด 100 หอ้ ง มีหอ้ งกระจก (Hall of Mirrors) ภายในห้องมีกระจกขนาดใหญ่ 17 บาน ทำ�ให้ห้องโอโ่ ถงเรืองรองดว้ ยแสงที่ลอด ชอ่ งหนา้ ตา่ งเขา้ มาในหอ้ งเกิดความสวยงามมาก ออกแบบโดย เลอบรงั และมอนสาร์ท และมีสวนขนาดใหญ่รอบ นอกพระราชวงั เปน็ แบบฝรงั่ เศสทท่ี ั่งโลกยอมรับ ออกแบบโดย เลอโนทด์ ผลงานอาคารสถาปตั ยกรรมนีแ้ สดงถงึ ความมั่งค่ังและมีรสนิยมศลิ ปะของพระเจา้ หลุยส์ท่ี 14 (ภาพที่ 4.4) ภาพท่ี 4.4 พระราชวงั แวรซ์ ายส์ สรา้ งสมยั พระเจ้าหลยุ ส์ท่ี 14 ค.ศ. 1643 – 1715 ปารสี ฝรัง่ เศส 67
การวิเคราะห์ทัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) การท่ีสยามมีความสัมพันธ์ท่ีดีและสนิทสนมกับฝร่ังเศสทำ�ให้การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยในรูปแบบ เทคนคิ วธิ ีการที่ได้สง่ ผลตอ่ การก่อสร้างสถาปตั ยกรรมตอนปลายท่ปี รากฏ คือพระราชวงั นารายณร์ าชนิเวศน์และ บา้ นวชิ าเยนทร์ ภาพที่ 4.5 พระราชวังนารายณร์ าชนเิ วศน์ อาคารสถาปัตยกรรมในพระราชวงั นารายณ์ราชนเิ วศน์ จะพบช่องอาร์คโคง้ แหลมทว่ั ทกุ หนทุกแห่ง รวม ทงั้ ชอ่ งเล็กๆ เจาะไวต้ ามประทีปปรมิ กำ�แพงดา้ นใน คติการเจาะชอ่ งเล็กๆ บนผนังด้านในนี้ เพ่อื บรรจุตะเกยี งให้แสง สว่างในเวลากลางคนื หลังสมัยพระนารายณ์ลงมายังคงใชก้ ันอย่างแพร่หลาย ซง่ึ มีขนาดทแ่ี ตกตา่ งกนั เพื่อใหเ้ กิด ความสวยงามและประโยชน์ใชส้ อย การเรียงอิฐกรอบชอ่ งอาร์คโคง้ แหลมทม่ี เี อกลักษณ์ สรา้ งความแขง็ แรงของชาว ตะวันตกและการสร้างผนังสงู ก่ออฐิ ฉาบปูนเพื่อรบั โครงสรา้ งหลงั คาไม่มเี สาภายในเพอื่ เน้นพืน้ ทใ่ี ชส้ อย(ภาพที่4.5) ภาพที่ 4.6 พระท่ีนง่ั ดสุ ติ สวรรคธ์ ญั มหาปราสาท พ ระทนี่ ง่ั ดสุ ติ สวรรคธ์ ญั มหาปราสาทประกอบดว้ ยชอ่ งอารค์ โคง้ แหลมแบบกอธคิ ของตะวนั ตกจะยาวจรดพนื้ มีขนาดใหญ่ ผนงั ดา้ นในประดับดว้ ยกระจกโอ่อา่ เพอื่ ให้แสงสาดส่องเข้ามาภายในอาคาร ซงึ่ เป็นเทคนิค แนวคดิ วิธีการในการออกแบบสถาปัตยกรรมทป่ี รากฏของพระราชวังนารายณ์ราชนเิ วศน์ (ภาพที่ 4.6) 68
บทท่ี 4 : สถาปัตยกรรม ภาพท่ี 4.7 บ้านวชิ าเยนทร์ บ า้ นวชิ าเยนทร์ เปน็ สถาปตั ยกรรมทใี่ ชร้ บั รองราชทตู จากฝรง่ั เศสและเปน็ บา้ นพกั ของเจา้ พระยาวชิ าเยนทร์ หนา้ ตา่ งชอ่ งอารค์ โคง้ ยอดแหลมคลา้ ยใบโพธิ์และดา้ นบนโคง้ แบบครง่ึ วงกลม(stiltedarch)เปน็ ทน่ี ยิ มในสมยั กอทคิ (gothic)ราวกลางครสิ ตศ์ ตวรรษที่12–15ผสมกบั หนา้ ตา่ งสเี่ หลยี่ มมหี ลายจว่ั สามเหลย่ี มทรงปา้ นเหนอื หนา้ ตา่ งเปน็ แบบ เรอเนอซองส์ ผสมปนเปกัน และเรม่ิ สร้างอาคารสองช้ันข้ึนเปน็ คร้ังแรก คานและพนื้ คงใช้ไม้ (วบิ ลู ย์ ลส้ี ุวรรณ, 2548) เปน็ การออกแบบผสมกนั ระหวา่ งตะวนั ตกและตะวนั ออกเขา้ กนั ไดอ้ ยา่ งสวยงามเปน็ ชว่ งสมยั อยธุ ยาตอนปลาย ท่ชี า่ งไทยไดน้ ำ�เทคโนโลยี เทคนคิ วธิ คี ดิ รูปแบบ วธิ กี ารของชาวตะวนั ตกมาใช้ คือ การกอ่ อิฐฉาบปนู สกดั ผนงั ทั้งสอง ให้สงู ขึน้ ไปจนสุดเปน็ รปู สามเหล่ียม เพือ่ รบั อกไก่ใชผ้ นงั รบั น�ำ ห้ นักโครงสรา้ งของหลังคาแทนการใชเ้ สาทำ�ให้มีพน้ื ที่ ในอาคารมากขึน้ รวมท้ังการเจาะช่องหนา้ ต่างโคง้ แหลมและการเรยี งอิฐเพือ่ สรา้ งความแข็งแรงของผนงั ไม่ใหก้ ดทบั ลงชอ่ งหนา้ ตา่ งเหมอื นชอ่ งหนา้ ตา่ งสเี่ หลย่ี มและมกี ารตกแตง่ ลวดลายปนู ปน้ั เปน็ ลายฝรง่ั หรอื ลายในศลิ ปะตะวนั ตก แทนหนา้ บันไม้แกะสลกั ลงรกั ปิดทอง ประดบั กระจก เทคนิค วธิ คี ดิ รปู แบบ ดงั กลา่ ว ทำ�ให้ เกิดการเปลีย่ นแปลง รปู แบบสถาปตั ยกรรมใหมข่ น้ึ ในสยามและสืบทอดยาวนานมาถงึ ปจั จุบนั (ภาพที่ 4.7) วัสดุทีใ่ ช้ในการสร้างงานสถาปตั ยกรรม วัสดเุ ป็นสงิ่ ส�ำ คญั ในการน�ำ มาประกอบกันให้เกดิ รปู ทรงเปน็ อาคารสถาปตั ยกรรมท่ีมปี ระโยชน์ใช้สอย และ ความงามทต่ี า่ งกนั ตามแตล่ ะวสั ดทุ นี่ �ำ มาออกแบบขนึ้ ใหใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นประเภทใดซง่ึ จะมคี วามยากงา่ ยตา่ งกนั ในแต่ ละวสั ดทุ นี่ �ำ มาออกแบบซงึ่ จะสง่ ผลตอ่ อายกุ ารใชง้ านไมเ่ ทา่ กนั ขนึ้ อยกู่ บั ภมู ปิ ญั ญาประสบการณข์ องชา่ งและสถาปนกิ ในการแกป้ ญั หาในการกอ่ สร้าง สารารถแยกออกเปน็ 2 ชว่ งเวลาในการใช้วสั ดกุ อ่ สรา้ งอาคารสถาปตั ยกรรม ว สั ดกุ อ่ สรา้ งสถาปัตยกรรมในอดตี 1 .ศิลาแลงและอิฐ จะใชก้ อ่ สร้างปราสาทขอม โดยใชศ้ ลิ าแลงเป็นฐาน ส่วนบนเปน็ อิฐ จะได้รบั ความนิยม ในอดีต ตง้ั แต่สมยั ทวารวดียาวนานถึงสมัยอยธุ ยาจะปรากฏในการกอ่ สร้าง เจดยี ์ พระปรางค์ โบสถ์ วหิ าร เปน็ ตน้ จะมีความคงทนตอ่ สภาพดิน ฟา้ อากาศ เปน็ วัสดุท่ีหาง่ายจะมีอยูต่ ามธรรมชาติสภาพแวดล้อม แตใ่ นปัจจุบันศลิ า แลงจะหายากและมีนำ�ห้ นักมากจึงไม่ไดร้ บั ความนยิ ม แตก่ ารกอ่ อฐิ ฉาบปูนยงั มีปรากฏอยู่ (ภาพท่ี 4.8, 4.9) 69
การวเิ คราะหท์ ศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 4.8 งานก่อศิลาแลง เจดีย์ราย วัดเจดียเ์ จ็ด แถว อ�ำ เภอศรีสชั นาลัย จงั หวัดสโุ ขทัย ภาพที่ 4.9 งานก่ออิฐพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ 2 .ไม้ มีอายุการใชง้ านจ�ำ กัด มีนำ�้หนักเบา นยิ มใชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลายตั้งแต่อดีตจนถึงปจั จบุ ัน เชน่ โครงสรา้ ง หลงั คา เสา งานแกะสลกั ประดับอาคาร และโครงสรา้ งภายใน เปน็ ต้น ภาพที่ 4.10 งานกอ่ สร้างไม้ 70
บทที่ 4 : สถาปัตยกรรม ภาพท่ี 4.11 แกะสลกั ลวดลายปราสาทเมืองตำ่� 3 .หนิ ทราย ในอดตี นิยมนำ�มาประกอบการกอ่ สรา้ งอาคารสถาปตั ยกรรมเพ่อื แกะสลกั ลวดลายให้เกดิ ความ ประณีตสวยงาม และน�ำ มาแกะสลักเจดยี จ์ �ำ ลอง วัสดกุ ่อสร้างอาคารสถาปัตยกรรมใหม่ จากการพฒั นาวสั ดกุ อ่ สรา้ งใหม่ท�ำ ใหป้ จั จบุ นั สามารถออกแบบโครงสรา้ งของอาคารใหญโ่ ตและมอี สิ ระกวา่ เดมิ มาก สามารถประหยดั วัสดุกอ่ สร้าง ชว่ ยให้อาคารมีขนาดเบาขึ้น ปลอดภยั ข้นึ และประการส�ำ คญั คอื มหี นา้ ที่ ใช้สอยมากขึ้น ซ่ึงความกา้ วหน้าในการพัฒนาตามยคุ สมัย ท่มี คี วามเจริญกา้ วหนา้ ไดค้ ้นพบวัสดุใหม่ แทนไม้ หิน ศลิ าแลงเปน็ เหลก็ อะลมู เิ นยี มคอนกรตี อดั แรงแกว้ ไมอ้ ดั ไมอ้ าบน�ำ ย้ าและพลาสตกิ โลหะตา่ งๆ อาคารสถาปตั ยกรรม จงึ สามารถออกแบบสรา้ งไดอ้ ยา่ งอสิ ระกวา่ ทเ่ี คยท�ำ มาในอดตี โดยไดร้ บั การปรบั ปรงุ ความคงทนแขง็ แรงใหเ้ หมาะสม กับขนาดหน้าทีใ่ ชส้ อยของฝาผนังขนาดใหญ่กำ�แพงซ่ึงอาจจะป้องกนั ความรอ้ นได้ยืดหยุ่นกับสภาพภูมิอากาศและ การรบั น�ำ ห้ นกั ไดม้ ากขน้ึ ท�ำ ใหส้ ถาปนกิ ในปจั จบุ นั มคี วามอสิ ระในการออกแบบโดยการน�ำ วสั ดแุ บบใหมม่ าประกอบ กันเป็นโครงสร้าง และตกแตง่ ไดส้ วยงามขน้ึ และกลมกลนื โดยเฉพาะเหล็กถอื วา่ มคี วามสำ�คัญในการกอ่ สร้างอาคาร ขนาดใหญ่ในปจั จุบนั นอกจากนน้ั ยงั มอี ะลมู ิเนียม คอนกรตี อดั แรงทำ�เป็นคานและพ้ืน หลงั คา ก�ำ แพง ในปัจจบุ ัน สถาปนกิ และชา่ งจะออกแบบสรา้ งสรรค์โดยการผสมผสานท้ังวัสดุแบบเดิม และแบบใหม่ การรบั นำ�้หนักของคาน เสา ตง ยงั คงมีอยู่ เพราะเปน็ การเชื่อมโยง และยึดเหน่ยี วโครงสรา้ งใหมใ่ ห้อย่ไู ด้ ภาพที่ 4.12 การกอ่ สร้างอาคารสถาปตั ยกรรม ปอมปดิ ู ปารีส ฝรง่ั เศส 71
การวิเคราะหท์ ัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) กลวิธใี นการสรา้ งงานสถาปตั ยกรรม ในอดีตจะมกี ลวธิ กี ารสรา้ งอาคารสถาปตั ยกรรมด้วยการก่อกำ�แพงขนาดใหญห่ นาแขง็ แรงดว้ ยดิน และหนิ มาเรียงต่อกัน เพ่อื รบั นำ�ห้ นกั ของหลังคาแลว้ มงุ ด้วยใบไมแ้ ละก่งิ ไม้ เพื่อเป็นท่อี ย่อู าศัย และความปลอดภยั ของมนุษย์ 1 .การก่อสร้างแบบก�ำ แพงรบั นำ�ห้ นัก (WallBearing) เปน็ การใชห่ ินเรียงแถวต่อกนั เปน็ อาคารขนาดใหญ่ รองรบั น�ำ ้หนักของหลงั คาทีถ่ ่ายทอดลงมาก�ำ แพง จะปรากฏในการก่อสรา้ งอาคารสถาปัตยกรรมของโบสถ์ วิหาร ของอียิปต์ และสมัยสโุ ขทยั และสมัยอยุธยา การก่อสร้างในลกั ษณะนีป้ ระตูและหน้าตา่ ง จงึ ไมส่ ามารถเปดิ เปน็ ชอ่ ง ขนาดใหญ่ได้ เพราะเกรงวา่ จะฟงั ลงมาได้ (ภาพท่ี 4.13) ภาพที่ 4.13 การก่อสร้างอาคาร แบบกำ�แพงรบั น�ำ ห้ นัก 2.การกอ่ สรา้ งแบบเสาและคาน (Post and Lintel Construction) การกอ่ สร้างโบสถว์ ิหารในสมัย เชยี งแสน จะมีลักษณะการก่อสร้างแบบเสาและคาน แตค่ านมขี นาดใหญใ่ ช้ไมซ้ งุ ในการก่อสร้างแบบนมี้ ีลักษณะ จ�ำ กัดในการสรา้ งอาคารขนาดใหญไ่ ม่ได้ โดยเฉพาะทางตะวนั ตกในสมยั กรกี จะใช้วธิ ีการใชห้ ินเป็นเสาและคานใน การสร้างวหิ าร (ภาพที่ 4.14) ภาพท่ี 4.14 การกอ่ สร้างแบบเสาและคาน 72
บทท่ี 4 : สถาปัตยกรรม 3 .การก่อสร้างแบบโคง้ (Arch) การกอ่ สรา้ งแบบโคง้ รับน�ำ ห้ นกั สว่ นโค้ง คานบนทำ�หน้าท่รี ับนำ�้หนัก ทำ�ให้ ชว่ งเสากวา้ งและยาวข้ึน สว่ นโคง้ จะรบั น�ำ ้หนักได้มากกว่าเดมิ โรมนั เปน็ ผู้คดิ ค้นการกอ่ สร้างแบบน้ี ทำ�ให้โรมันสร้าง อาคารขนาดใหญไ่ ด้ดี (ภาพที่ 4.15) ภาพท่ี 4.15 โคเลเซียม สนามกีฬากลางแจง้ ขนาดใหญ่ ศิลปะโรมนั กรุงโรม อติ าลี 4 .การกอ่ สร้างแบบหลังคาโค้ง (Vault) และหลังคาโดม (Dome) นักก่อสร้างชาวโรมันได้ค้นควา้ ท�ำ หลงั คา โคง้ โดยใช้หลงั คาโคง้ สองอันต้งั ให้ขวางตดั กันบนเนอื้ ทส่ี ีเ่ หลีย่ มแล้วจะไดว้ ่าง4ดา้ นและแข็งแรงกวา่ เดมิ มากเพราะ รับนำ�ห้ นักลงท่ีเสาท้งั ส่แี ทนกำ�แพง เม่อื นำ�มาตอ่ กนั ยาวตอ่ เนื่องเปน็ ช่วงๆ จะเปน็ รูปอาคารทย่ี าวและแขง็ แรง ชาว โรมนั จงึ สามารถสร้างอาคารได้ขนาดใหญ่ และคดิ เพม่ิ เป็นโดม ตอ่ มามีรปู โคง้ ครึง่ วงกลมตง้ั อยบู่ นขอบวงกลม น�ำ ้ หนักของโดมจะลงท่โี คง้ ถ่ายทอดน�ำ ้หนกั ลงทแ่ี ผน่ เสา เชน่ โบสถเ์ ซนทป์ ีเตอร์ (St.Peter) ในกรงุ โรม (ภาพที่ 4.16) ภาพที่ 4.16 ไมเคลิ แองจโิ ล “มหาวิหารเซนทป์ เี ตอร”์ กรุงโรม อิตาลี 73
การวิเคราะหท์ ศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) 5 . การก่อสร้าง แบบโครงสรา้ งรบั น�ำ ห้ นกั (Skeleton Construction) เป็นชว่ งสมัย ต่อมาท่ีได้พฒั นา การใช้คอนกรีตมาเป็นคอนกรตี เสรมิ เหลก็ เชน่ นายไอเฟล(Eiffel)ใช้เทคนคิ นม้ี าหล่อฐานหอคอยไอเฟลและวศิ วกร ชาวฝรัง่ เศส 2 คน คอื แฮนบีค (Hennebique) และกัวเก้ (Goiguet) ใชว้ ิธีการหล่อโครงสร้างของอาคาร และต่อมา นำ�มาก่อสรา้ งสะพาน สามารถลดความหนาของสะพาน ทำ�ให้สะพานส่งิ ก่อสร้างดงั กลา่ วมีคณุ คา่ ทางความงามและ ความเปน็ วิจติ รศิลป์มากข้นึ เทคนคิ การหล่อคอนกรีตนำ�มาเป็นส่วนประกอบในการก่อสร้างอาคารสถาปัตยกรรม มากมายในปัจจบุ ัน ท�ำ ให้รปู ทรงมีความเปน็ อสิ ระ และมปี ระโยชน์ใชส้ อยมากขึน้ (ภาพท่ี 4.17) ภาพที่ 4.17 กสุ ตาฟ ไอเฟล “หอไอเฟล” ค.ศ. 1887 – 1889 ปารสี ฝรงั่ เศส มลู เหตุในการสร้างงานสถาปัตยกรรม ในอดีตการสร้างอาคารสถาปัตยกรรมเพือ่ เป็นทอี่ ย่อู าศัยเปน็ หลกั ใหญ่ เพอื่ ความปลอดภยั จากการคกุ คาม ของธรรมชาติและสภาพแวดล้อม เนน้ ประโยชนใ์ ช้สอย แตใ่ นระยะตอ่ มาจนถงึ ปัจจบุ ันไดม้ ีพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ งจาก หลักฐานทางประวัตศิ าสตรใ์ นยุคตา่ งๆ ทั้งตะวนั ออกและตะวันตก มีการก่อสรา้ งทมี่ ีความอิสระมากขึน้ โดยเฉพาะ รูปแบบรปู ทรงมคี วามงามเป็นสญั ลักษณ์มากขนึ้ ควบคู่ประโยชนใ์ ชส้ อย 1 .เพอื่ สนองตอบดา้ นความเชอ่ื ในพระพทุ ธศาสนาไมว่ า่ จะเปน็ ศาสนาใดในโลกนจี้ ะมคี วามเชอื่ ความศรทั ธา ตอ่ ศาสนาของตนในการสร้างอาคารสถาปตั ยกรรม เช่น โบสถ์วิหาร มสั ยดิ เพอื่ เป็นสญั ลักษณ์ยดึ เหน่ยี วจิตใจ และ ใชป้ ระกอบพธิ กี รรมตา่ งๆท่ีเกีย่ วกบั ศาสนา จะมีการพัฒนารปู แบบรูปทรงการสร้างใหม้ ีความงามความยิ่งใหญอ่ ลงั การมากข้ึนเรื่อยๆซ่ึงเป็นการแสดงออกของความศรัทธาอันแรงกล้าของช่างหรือศิลปินท่ีออกแบบสร้างสรรค์ข้ึน (ภาพท่ี 4.18) 74
บทที่ 4 : สถาปัตยกรรม ภาพท่ี 4.18 มหาวหิ ารโน้ตเตรอะดามแหง่ ปารสี ฝร่งั เศส ศลิ ปะแบบกอธิค ภาพท่ี 4.19 เจดยี ์วัดช้างล้อม อ�ำ เภอศรีสัชนาลยั จงั หวดั สุโขทัย 2 .เพอ่ื การบนั ทกึ เรอื่ งราวทางประวตั ศิ าสตร์ ไมว่ า่ จะแนวคดิ ทางตะวนั ออกแบบอดุ มคตหิ รอื แนวคดิ ตะวนั ออกแบบความจรงิ การก่อสร้างอาคารสถาปัตยกรรมมีการพฒั นาปรับปรงุ การใชว้ สั ดุ กรรมวธิ ี อย่างตอ่ เนื่อง ซ่งึ เกิด ความคิดสร้างสรรค์ มีความอิสระทางความคิดแปลกใหม่ เสมือนเป็นการบนั ทกึ เรอ่ื งราวประวัติศาสตรใ์ นแตล่ ะยุค ทีม่ ีอทิ ธิพล สภาพบ้านเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ ซึง่ สง่ ผลตอ่ การออกแบบสถาปัตยกรรมทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลง อย่างต่อเนื่อง (ภาพที่ 4.19) 3 .เพอ่ื ประโยชนใ์ ชส้ อย การสรา้ งอาคารสถาปตั ยกรรมมเี ปน็ จ�ำ นวนมากทไี่ มค่ �ำ นงึ ถงึ ความงามมากเทา่ ไหร่ นกั แตเ่ นน้ ประโยชนใ์ ช้สอยเปน็ หลกั ส�ำ คญั เน้นถงึ ความคงทน แขง็ แรง มอี ายกุ ารใช้งานยาวนาน ปลอดภยั มีอากาศ ถ่ายเทได้สะดวกเหมาะสมกบั สภาพดนิ ฟา้ อากาศของภูมภิ าค หรอื ประเทศนั้นๆ 75
การวิเคราะห์ทัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) 4.เพอ่ื เปน็ อนสุ รณแ์ หง่ การร�ำ ลกึ เปน็ การสรา้ งอาคารสถาปตั ยกรรมทม่ี งุ่ เนน้ ถงึ เรอื่ งราวเหตกุ ารณท์ ปี่ ระทบั ใจ สลดใจ ชยั ชนะหรือพ่ายแพ้ เพ่อื ให้ประชาชนสังคมคนรนุ่ หลังได้ระลกึ ถงึ เหตุการณเ์ หลา่ นนั้ เพอ่ื เปน็ การเคารพ นับถือ เตือนสติ กบั เหตุการณ์น้นั ๆ (ภาพที่ 4.20) 5.เพอ่ื สรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสถาปตั ยกรรมกบั สง่ิ แวดลอ้ มเปน็ การออกแบบทเี่ นน้ ถงึ ความส�ำ คญั กนั ต้ังแตส่ งิ่ เล็กๆถงึ ขนาดใหญ่โดยเร่มิ จากภายในบ้านท่เี ป็นหอ้ งเลก็ ๆเชน่ ห้องครัวกบั หอ้ งนำ�้ บ้านกบั ชุมชนและเพือ่ น บา้ น ชุมชนกบั ในเมอื งทกุ อย่างมคี วามสมั พนั ธ์กัน ตอ้ งมกี ารพฒั นาตามลำ�ดับข้นั ตอน และดีข้ึน เปน็ ความคิดของ สถาปนิก ช่อื เออโร ซารเิ นน (Erro Sarainen) เป็นการออกแบบทีใ่ ชป้ ญั ญาและความอิสระในการใชท้ ีว่ า่ งสมั พนั ธ์ กับมวลไดอ้ ย่างยอดเย่ียม 6 .เพอื่ สรา้ งความสมั พันธร์ ะหวา่ งสถาปตั ยกรรมละเทคโนโลยี ความเจริญกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยมี ากข้นึ และตอ่ เนื่อง ทำ�ใหม้ นษุ ย์สรา้ งอาคารใหม้ ีขนาดใหญโ่ ต รปู ทรงทแี่ ปลกใหมแ่ ละทนั สมัย ทัง้ วสั ดุ กรรมวิธี ประโยชน์ ใชส้ อย ซับซอ้ น และมมี ากข้ึน มีความสูงระฟ้า รวมทงั้ มีความแขง็ แรงทนทานตอ่ สภาพดนิ ฟา้ อากาศมากขน้ึ โดย สถาปนกิ มคี วามชำ�นาญมากในการคิดค้น ออกแบบสรา้ งสรรค์ให้เหมาะสมกับความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีเป็นท่ี นยิ มสร้างกนั ท่ัวโลกเช่นการความสมั พันธเ์ ชื่อมโยงกันระหวา่ งสถาปัตยกรรมแบบดัง้ เดิมกบั เทคนิควธิ ีการสรา้ งวสั ดุ สมัยใหม่ให้มีความกลมกลืนเป็นเอกภาพเข้ากันได้ถือว่าเป็นงานศิลปะท่ีสำ�คัญท่ีท่ัวโลกนำ�ไปเป็นต้นแนวคิดในการ ออกแบบ ได้แก่ พพิ ิธภณั ฑล์ ูฟว์ และ พิพธิ ภณั ฑ์จอรจ์ ปอมปดิ ู (ภาพท่ี 4.21) (ภาพที่ 4.22) ภาพที่ 4.20 ประตูชยั อารค์ เดอ ตรอี องพ์ สัญลักษณแ์ หง่ ชยั ชนะ จักรพรรดิน์ โปเลยี น สรา้ งขนึ้ ปี ค.ศ.1805 ปารสี ฝรั่งเศส ภาพที่ 4.21 พิพธิ ภณั ฑล์ ูฟว์ (LOVVRE MUSEUM) ค.ศ. 1793 กรงุ ปารีส ฝร่ังเศส 76
บทท่ี 4 : สถาปัตยกรรม ภาพท่ี 4.22 เรนโซ เปียโน (Renzo Piano) และริชารค์ โรเกอร์ (Richard Rogers) “พพิ ธิ ภัณฑจ์ อร์จ ปอมปิดู” ค.ศ. 1969 – 1974 กรงุ ปารสี ฝรั่งเศส คุณคา่ ในงานสถาปตั ยกรรม สถาปัตยกรรมเปน็ ทศั นศลิ ป์ทมี่ ีคุณคา่ มาตั้งแตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจุบันไมว่ า่ จะขนาดใหญ่กลางเลก็ กจ็ ะมีคณุ คา่ ในตวั ซง่ึ มนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ มาควบคกู่ บั ความเจรญิ ดา้ นตา่ งๆของมนษุ ยต์ ามประวตั ศิ าสตร์ทไี่ ดก้ ารพฒั นามาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซง่ึ สถาปนกิ หรอื ชา่ งไดใ้ ชค้ วามรคู้ วามช�ำ นาญดา้ นวสั ดวุ ธิ กี ารใหมๆ่ ท�ำ ใหอ้ าคารสถาปตั ยกรรมมรี ปู แบบรปู ทรงที่ สวยงาม มปี ระโยชนใ์ ชส้ อยมากขน้ึ โดยมีตน้ เค้าการพัฒนาจากภมู ปิ ญั ญา เชิงช่างในอดีต 1 .คุณคา่ ของความเช่อื ไมว่ า่ จะเป็นความเชอื่ ทางตะวันออกหรอื ตะวันตกจะมคี วามเช่ือใกล้เคยี งกนั เรื่อง การท�ำ ดีได้ดี กฎแหง่ กรรม ทำ�ให้เกดิ ความเชอ่ื ความศรัทธา ในการสรา้ งอาคารสถาปตั ยกรรมให้มีความย่งิ ใหญ่ สวยงาม เพื่อในการประกอบพธิ กี รรมทางศาสนาของตน เชน่ โบสถ์ วัด วหิ าร มสั ยดิ เปน็ ต้น 2 .คณุ คา่ ทางความงามและสนุ ทรยี ะ นอกจากการสรา้ งอาคารสถาปตั ยกรรมเพอ่ื ประโยชนใ์ ชส้ อยแลว้ ความ งามแปลกใหม่มคี วามเปน็ ศิลปะน้ันสถาปนกิ หรอื ช่างจะให้ความส�ำ คัญกับรูปแบบรปู ทรงทเ่ี ปน็ เอกภาพนมุ่ นวลของ เสน้ โครงสรา้ งโดยรวมท�ำ ใหเ้ กิดความงามมรี สชาตทิ างศลิ ปะดว้ ย 3 .คณุ คา่ ทางดา้ นประโยชนใ์ ชส้ อย ถอื วา่ มคี วามส�ำ คญั เปน็ สงิ่ ส�ำ คญั อนั ดบั แรกในการกอ่ สรา้ งอาคารสถาปตั ย กรรมต้ังแต่อดีตจนถึงปจั จบุ นั ซึ่งมนุษยจ์ ะต้องเข้าไปใชป้ ระโยชนใ์ นพ้ืนที่นน้ั เพ่อื ใหเ้ กิดความสะดวกสบายปลอดภัย เช่น บ้านพกั โรงเรียน โรงพยาบาล เปน็ ตน้ 4 .คณุ ค่าทางดา้ นศลิ ปะประจำ�ชาติ ทง้ั ศิลปะทางตะวันออกและทางตะวันตก จะมเี อกลกั ษณ์ของวัสดุ รูป แบบรปู ทรง เชิงชา่ ง ท่ีได้ปรับปรงุ พฒั นาตามการได้รับอทิ ธิพล สภาพอากาศ สถานทีต่ ั้ง การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สิง่ เหล่าน้ลี ้วนท�ำ ให้รปู แบบมกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างต่อเน่อื ง เกดิ เป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะของประจ�ำ ชาติ ท่มี ี ความงาม มีความทนั สมัยแตกต่างกัน ซงึ่ ถอื ว่าเป็นผลงานทศั นศลิ ป์แขนงหนง่ึ ทบ่ี นั ทกึ เรื่องราว ประวัตศิ าสตร์ความ เป็นตัวตนของเชงิ ช่าง เป็นสมบัติของชาติ และยังเป็นสถานที่ท่องเทยี่ ว เชงิ อนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรมของชาตนิ ้ันๆ ด้วย 77
การวิเคราะหท์ ศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) ภาพพมิ พ์ ความหมายของภาพพมิ พ์ ภาพพมิ พ์ เปน็ งานศลิ ปกรรมหลกั ของเลขนศลิ ป์ซงึ่ มคี วามส�ำ คญั และคณุ คา่ ศลิ ปะสงู กแ็ ตเ่ ฉพาะงานตน้ แบบ ซึ่งสรา้ งสรรค์โดยศลิ ปนิ เท่านัน้ สว่ นงานจำ�ลองแบบ ซง่ึ ผลิตโดยผพู้ ิมพน์ นั้ มคี ณุ ค่าทางศิลปะเปน็ รอง (ราชบณั ฑิตย สถาน,2541:129) ภาพพมิ พใ์ นปัจจบุ ันมลี กั ษณะของการพิมพข์ ึน้ อยูก่ บั จดุ มุ่งหมายทจ่ี ะทำ� ถ้าเปน็ งานพมิ พท์ คี่ �ำ นงึ ถงึ ความ งามและคณุ คา่ ทางสนุ ทรียภาพ งานพิมพ์น้ันถอื ว่าเป็นแขนงหน่ึงของวจิ ติ รศิลป์ และยงั คงใชม้ อื ในการท�ำ แบบพมิ พ์ และการพมิ พ์เป็นหลกั สำ�คัญ สว่ นภาพพิมพท์ ต่ี ้องการปรมิ าณมากสำ�หรับใชใ้ นการโฆษณากิจการต่างๆน้นั ได้ใช้ กระบวนการผลิตด้วยเครือ่ งจักรแบบทงั้ หมด ภาพพมิ พน์ น้ั ถอื วา่ เปน็ แขนงหนึง่ ของอุตสาหกรรมศลิ ป์ (วริ ตั น์ พิชญ ไพบูลย,์ 2528:15) ศ ลิ ปะภาพพิมพ์ เป็นสาขาหนงึ่ ในทัศนศลิ ป์ เปน็ ทย่ี อมรับกันวา่ เปน็ ศิลปกรรมท่มี ีคุณคา่ ทางด้านความงาม เหมือนกบั จติ รกรรมและประตมิ ากรรม มีกระบวนการสรา้ งสรรค์ โดยท�ำ แม่พมิ พ์ ให้สามารถพิมพไ์ ด้หลายๆ รูป ทงั้ นี้กระบวนการสรา้ งสรรคใ์ นการพมิ พ์ ศลิ ปนิ จะด�ำ เนินการด้วยตนเองหรืออาจมอบหมายใหช้ า่ งฝีมือด�ำ เนนิ การ แทน แต่ทง้ั นศี้ ลิ ปินจะต้องเปน็ ผูค้ วบคุมดแู ลโดยการลงนามกำ�กับในผลงานพิมพ์ทุกชิ้นจึงจะถอื วา่ เป็นผลงาน ที่มคี ณุ คา่ ไมใ่ ช่ผลงานที่พิมพแ์ บบโดยทว่ั ไป ศิลปะภาพพิมพ์เป็นทัศนศิลป์ท่ีมีวิทยาศาสตร์และศิลปะควบคู่กันโดยวัสดุและวิธีการสร้างสรรค์ภาพพิมพ์ มีกฎเกณฑ์ และเหตุผลตามวิทยาศาสตร์ ไมส่ ามารถทำ�ตามอิสระได้ เชน่ สูตรการผสมนำ�้กรด การก�ำ หนดระยะ ของน�ำ ้ยาบางชนิด ซึ่งมีเทคนิคกระบวนการท่ีมีแมพ่ มิ พอ์ ันเดยี วแต่พิมพไ์ ดห้ ลายรปู ลกั ษณะผลงานออกมาคล้ายกับ ภาพจิตรกรรมมี 2 มิติ สรา้ งมิตลิ ึกตื้นดว้ ยน�ำ ้หนกั สี พน้ื ผิวเหมือนกันตา่ งกนั ที่กลวิธีกระบวนการสร้างสรรค์ ถอื ว่า เปน็ ผลงานทมี่ คี ณุ ค่าทางสนุ ทรียภาพ ประเภทและกลวิธขี องภาพพิมพ์ แบ่งเป็น 4 ประเภทใหญๆ่ ตามกระบวนการพมิ พ์ และลกั ษณะของแม่พมิ พด์ งั นี้ 1 . กระบวนการพิมพน์ นู (Relief Process) การพิมพ์ประเภทน้จี ะได้ภาพจากส่วนนูนของแมพ่ มิ พท์ ีค่ งอยู่ สว่ นทไี่ มต่ อ้ งการจะถกู แกะออกซง่ึ หมกึ พมิ พจ์ ะตดิ เฉพาะสว่ นนนู เทา่ นน้ั แมพ่ มิ พม์ กั จะเปน็ แทง่ หรอื เปน็ แผน่ (Plate) ภาพท่พี มิ พอ์ อกมาจะกลบั จากซา้ ยเป็นขวาจากขวาเปน็ ซา้ ยเช่นภาพพมิ พแ์ กะไม้ (Woodcuts) และภาพพิมพ์สลัก ไม้ (Wood engraving) (ภาพที่ 5.1) 78
บทที่ 5 : ภาพพมิ พ์ ภาพท่ี 5.1 มานติ ย์ ภู่อารยี ์ “ตะกร้อ” ภาพพิมพ์แกะไม้ 40 x 60 ซม. ภาพที่ 5.2 ประหยดั พงษด์ ำ� พ.ศ. 2524 “ยามเช้า” ภาพพมิ พ์แกะไม้ ภ าพผลงานการสรา้ งสรรค“์ ยามเชา้ ”แสดงเรอื่ งราวของวถิ ชี วี ติ ในชนบททดี่ เู รยี บงา่ ยสวยงามเปน็ แงม่ มุ หนง่ึ ของไกช่ นท่ีเล้ียงไว้ในชนบทไทย บรรยากาศ แสงสตี อนรุ่งอรณุ ของวนั ใหม่ ซงึ่ เป็นตอนเช้า จะมีไกช่ นโก่งคอขนั บน สุ่มกลางหม่บู ้าน เป็นรปู แบบตามความเปน็ จริงท่เี กิดข้นึ แต่ศิลปนิ ได้ลดตัดทอนรูปทรงให้ดูเรียบง่าย เน้นบรรยากาศ ของสตี อนเช้า โดยมีรูปทรงไกเ่ ป็นจดุ เดน่ ของภาพ (ภาพที่ 5.2) ศลิ ปนิ สรา้ งงานภาพพมิ พแ์ กะไมถ้ า่ ยทอดรปู แบบตามแบบประเพณขี องศลิ ปนิ โบราณกลา่ วคอื จะรจู้ กั สงั เกตุ โลกทสี่ ง่ิ แวดลอ้ มอยโู่ ดยรอบตวั และเปน็ ศลิ ปนิ ทส่ี รา้ งสรรคผ์ ลงานทเ่ี ขา้ ถงึ อารมณข์ บขนั อนั เปน็ เรอื่ งพเิ ศษดเู รยี บงา่ ย ในการจดั องคป์ ระกอบของภาพ มีคุณคา่ ทางการแสดงออกของชวี ิตอันบรสิ ทุ ธิ์ของผู้คนได้เปน็ อย่างดี 2 .กระบวนการพมิ พ์รอ่ งลกึ (Intaglio Process) การพิมพ์ประเภทนจี้ ะได้ภาพจากส่วนลึกของแม่พมิ พ์ที่ถูก แกะเซาะให้เปน็ สว่ นลกึ แลว้ ใชส้ อี ดั เขา้ ไปในรอ่ งเชด็ ผิวหน้าส่วนทน่ี นู ใหส้ ะอาดปราศจากหมกึ พมิ พแ์ ล้วนำ�ไปพิมพ์ กระดาษทใ่ี ชพ้ มิ พจ์ ะตอ้ งมคี วามชน้ื เพอื่ ทจี่ ะยดื หยนุ่ ลงไปซบั หมกึ ในรอ่ งได้เชน่ ภาพพมิ พไ์ ดรพอ้ ยทท์ ใี่ ชเ้ หลก็ แหลมๆ เขียนบนแผน่ แม่พิมพใ์ ห้รอยลึกลงไปเปน็ ภาพพมิ พ์หรือภาพพิมพ์เอ็ชชิ่งโดยการใชน้ ำ�ก้ รดกัดเปน็ แบบพิมพ์ลกั ษณะ ของการพมิ พจ์ ะแตกตา่ งจากกระบวนการพมิ พน์ นู เพราะหมกึ ทพ่ี มิ พล์ งบนกระดาษจะไดม้ าจากรอ่ งลกึ ของแมพ่ มิ พ์ ไมไ่ ด้มาจากสว่ นนนู ของแม่พิมพ์ 79
การวิเคราะหท์ ัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพที่ 5.3 สมพร ธุรี พ.ศ.2538 “จนิ ตนาการ” ภาพพมิ พ์เอ็ชช่ิง 15 x 20 ซม. ภาพท่ี 5.4 ปรชี า ป้ันกล่ำ� “ราชดำ�เนนิ ” แมพ่ ิมพโ์ ลหะ 160 x 280 ซม. ภ าพผลงานการสรา้ งสรรค“์ จินตนาการ” และ“ราชด�ำ เนิน” เป็นภาพผลงานซ่งึ ถ่ายทอดจากจนิ ตนาการ เหนือความเปน็ จรงิ ตามธรรมชาติ โดยจัดองคป์ ระกอบใหมเ่ กดิ เนอื้ หาใหม่ตามที่ผ้สู ร้างงานต้องการทำ�ให้ ผู้ดูเกิดจินตนาการตามผลงาน (ภาพที่ 5.3,5.4) 3 .กระบวนการพิมพ์พืน้ ราบ(Planography Process)ภาพพิมพ์ประเภทน้ีจะไดภ้ าพท่ีพมิ พ์จากแม่พมิ พ์ ผวิ เรยี บไมม่ ีการขดู ขดี แกะสลักใดๆบนผวิ หน้าแม่พิมพ์ แตใ่ ชห้ ลกั การพมิ พแ์ ละการสรา้ งแมพ่ ิมพท์ ่ีว่าไมต่ ิดกบั ไข ไข ไม่ติดกบั น�ำ ้ โดยจะใช้วสั ดผุ สมไขเขียนภาพบนพืน้ แมพ่ มิ พก์ ่อนแลว้ ท�ำ พน้ื แม่พมิ พใ์ ห้เปยี ก น�ำ จ้ ะไมร่ บั ภาพสว่ นทีม่ ี ไขผสม จากน้ันใชล้ กู กล้ิงกลง้ิ หมกึ พมิ พ์ผสมไขลงไป หมกึ จะรบั สว่ นทีเ่ ขยี นไขเทา่ น้ัน ภาพพิมพป์ ระเภทน้ี ไดแ้ ก่ ภาพ พมิ พห์ นิ (Lithography) ภาพพมิ พอ์ อฟเซต (offset printing ;offset photolithography ;offset lithography) 80
บทท่ี 5 : ภาพพิมพ์ ภ าพผลงานการสรา้ งสรรค์“ชา่ งท�ำ เกอื กไมช้ าวเฟลมสิ ”เปน็ ภาพพมิ พห์ นิ ทใี่ นปจั จบุ นั นยิ มใชแ้ ผน่ สงั กะสี แทนแผน่ หนิ เพราะมนี �ำ ห้ นักเบากวา่ และไม่แตกหกั ง่ายเหมอื นแผ่นหนิ ภาพพิมพห์ ินได้รับความนิยมในปัจจุบันโดย นำ�มาพมิ พ์โปสเตอร์พิมพง์ านพาณิชย์ในรปู แบบต่างๆนับว่าเปน็ เทคนิคการพิมพ์ทีม่ ีขีดความสามารถสงู กว่าเทคนิค อน่ื ๆ พมิ พ์ไดไ้ ม่จำ�กัดจ�ำ นวน แมพ่ มิ พ์ไม่สึกเสยี หายเหมือนแม่พิมพ์อ่ืนๆ (ภาพท่ี 5.5) ภาพท่ี 5.5 จีน หลุยส์ องั เดร เยอรโ์ กต์ (Jean Louis Andre Gergote) ค.ศ. 1791-1824 “ชา่ งทำ�เกอื กไม้ชาวเฟลมชิ ” ภาพพิมพห์ นิ ภาพที่ 5.6 เดชนิธิ สงั ขะทรัพย์ “ร่องรอยตามกาลเวลา” ภาพพิมพ์หนิ 56 x 75 ซม. ภ าพผลงานการสรา้ งสรรค์ “รอ่ งรอยตามกลางเวลา” ถือว่าเปน็ เทคนคิ การพมิ พท์ ม่ี ขี ดี ความสามารถสูง กว่าการพิมพเ์ ทคนคิ อ่นื ๆ ทงั้ หมด สามารถพิมพ์ไดห้ ลายๆ รูป โดยแม่พิมพไ์ มส่ ึกเสยี หาย นยิ มนำ�ไปพมิ พ์โปสเตอร์ และพิมพง์ านพาณชิ ย์ในรูปแบบตา่ งๆ อยา่ งแพร่หลายของชาวต่างประเทศ มีความละเอียด สามารถสรา้ งคา่ น�ำ ้ หนกั ไดส้ วยงามเกดิ ระยะมิตลิ กึ ตน้ื ในภาพ (ภาพที่ 5.6) 4 .กระบวนการพมิ พล์ ายฉลุ(StencilProcess)เปน็ กรรมวธิ ที รี่ ปู ภาพทตี่ อ้ งการจะพมิ พจ์ ะตอ้ งฉลลุ วดลาย ใหท้ ะลอุ อกไปจากแม่พิมพ์แลว้ ใชส้ พี ่นหรอื ใช้ลูกประคบหรอื แต่ละสตี ามทตี่ ้องการลงไปตามช่องว่างทฉ่ี ลไุ ว้สจี ะติด เปน็ รปู ภาพบนแผน่ กระดาษท่ีวางไวใ้ ตแ้ ม่พมิ พ์ ตอ่ มาไดม้ กี ารพฒั นาเปน็ กรรมวธิ กี ารพิมพด์ ว้ ยแม่พิมพผ์ า้ ไหม ซงึ่ เรียกวา่ ซลิ ค์สกรีน (Silkscreen) ซ่งึ บางครั้งอาจเรียกว่าภาพพมิ พ์ผา่ นฉาก (Serigraphy) 81
การวิเคราะหท์ ศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) ผา้ ไหมท่ีใชท้ �ำ เปน็ แม่พิมพ์เป็นผ้าไหมละเอยี ดพอประมาณ เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการพิมพ์ คอื ยางกรดี หมึกพิมพ์ (Squeegee) ภาพพิมพ์ผ้าไหมได้ถอื ก�ำ เนดิ ดว้ ยเปา้ หมายเพอื่ ใช้ในงานการคา้ ในปจั จบุ ันทั้งในประเทศและต่าง ประเทศพฒั นาใหม้ เี ทคนิคเรอื่ งราว รปู แบบทดี่ ูซบั ซอ้ น แสดงออกให้เกิดความงามเปน็ หลัก จงึ ถอื วา่ เปน็ งานในกลุ่ม วจิ ติ รศิลป์ เชน่ เดยี วกับ ภาพพิมพห์ ินและภาพพมิ พไ์ ม้ ซ่งึ มีความสะดวกในการสร้างแมพ่ มิ พ์ และการพมิ พไ์ ม่ตอ้ ง อาศยั เครือ่ งจักรกลให้ยุง่ ยาก เหมือนกับเทคนคิ ภาพพิมพอ์ ย่างอื่นดว้ ยเหตุนี้จึงเป็นท่นี ยิ มของเหล่าศลิ ปิน ในปัจจุบนั ไม่เฉพาะแตย่ ุโรป แตน่ ยิ มสรา้ งผลงานภาพพิมพจ์ ากซลิ คส์ กรนี ทวั่ ทกุ มมุ โลก ภาพท่ี 5.7 อภิชาติ แสงไกร “ดงั หยาดฝนชโลมใจ” ภาพพมิ พ์ซิลคส์ กรีน 125 x 200 ซม. ภ าพผลงานการสรา้ งสรรค์“ดงั หยาดฝนชโลมใจ”จากเทคนคิ กลวธิ กี ารทหี่ ลากหลายในการสรา้ งผลงานภาพ พมิ พ์ท�ำ ให้ศลิ ปนิ มีทางเลือกในการเลอื กกระบวนการเทคนคิ ตา่ งๆ เพ่อื นำ�มาสรา้ งสรรค์ผลงานใหม้ เี อกลกั ษณ์และ เกิดอารมณ์ความร้สู กึ ท่ปี รากฏในผลงานให้ผดู้ ูรับรถู้ งึ ความรสู้ กึ เหลา่ น้ันตามความเหมาะสม ทำ�ใหผ้ ลงานภาพพิมพ์ มกี ารพัฒนาและมคี วามหลากหลายของผลงาน ในปัจจบุ นั ศิลปินมากมายท่ีมีความสนใจในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ทศั นศลิ ป์ โดยผา่ นกระบวนการพิมพ์ และเปน็ ท่ียอมรบั ในวงการศิลปกรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ (ภาพ ท่ี 5.7) เนื้อหาสาระในงานภาพพมิ พ์ การแสดงออกของเน้ือหาสาระในงานภาพพิมพ์จะมีการถ่ายทอดเหมือนเน้ือหาสาระของผลงานจิตรกรรม ตา่ งกนั เฉพาะกรรมวธิ ี เทคนิควิธีการเปน็ การประสานสัมพนั ธก์ นั ของทัศนธาตุตา่ งๆ กับเน้ือหา ให้เกดิ ความเป็นเอก ภาพสามารถแยกประเภทดังน้ี 1 .ภาพพิมพ์หุ่นนง่ิ (Still-Life Graphic) ภาพผลงานการสร้างสรรคท์ ่ีแสดงออกของการถา่ ยทอดสี รปู ทรง ของวตั ถุที่ไมส่ ามารถเคลื่อนไหวได้เองเกดิ จากการกำ�หนด จัดวางองคป์ ระกอบตามความพอใจของศิลปิน อาจจะมี วัตถุเดียวหรือหลายวัตถุก็ได้ มกี ารถ่ายทอดส่วนใหญเ่ ปน็ รูปแบบเหมือนจรงิ จะนำ�เสนอรูปแบบทด่ี เู รียบงา่ ย ด้วย โครงสร้าง รปู ทรง โครงสี น�ำ ห้ นกั พ้ืนผวิ และบรรยากาศของภาพ เชน่ ภาพสิง่ ของเครอ่ื งใช้ ดอกไม้ ผลไม้ ผัก และ ภาพวัตถุเทคโนโลยี เป็นต้น (ภาพท่ี 5.8) 82
บทท่ี 5 : ภาพพิมพ์ ภาพที่ 5.8 อัศนยี ์ ชูอรณุ “White Lettuce 5-2002” ภาพพิมพโ์ มโนปริ๊นซ์ 24 x 24 ซม. ภาพท่ี 5.9 วุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรี “Immigration 2002/2” แมพ่ ิมพ์โลหะ 120 x 80 ซม. 2 .ภาพพมิ พ์คน (Figure Graphic) ภาพผลงานการสรา้ งสรรคท์ ถ่ี ่ายทอดรูปคนทั้งเต็มตวั และคร่งึ ตวั โดย มุง่ เนน้ ความงามของโครงสร้าง สดั สว่ นของกายวภิ าค กิรยิ าทา่ ทางตา่ งๆ ทัง้ น่ัง ยนื นอน เคล่ือนไหว มรี ูปแบบ เหมอื นจรงิ และไมเ่ หมอื นจริง คนเดยี วหรือกลุ่มคนกไ็ ด้ เช่น ภาพเด็ก คนผชู้ าย ผ้หู ญิง คนแกช่ รา ฯลฯ ที่ประกอบ อาชพี วถิ ชี ีวติ ทีแ่ ตกตา่ งกนั ไป ตามประสบการณข์ องแต่ละคนในการแสดงออก (ภาพท่ี 5.9) 3 . ภาพพมิ พท์ วิ ทัศน์ (Scenery Graphic) แบง่ เปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี ท ิวทศั นบ์ ก (Landscape Graphic) เปน็ ลักษณะภาพผลงานทแ่ี สดงออกถงึ ทวิ ทัศน์ธรรมชาติ บริเวณท่ี ปรากฏอยู่บนพ้นื ดิน เช่น ต้นไม้ โขดหิน ส่ิงก่อสร้าง แมน่ �ำ ล้ �ำ คลอง หรือทิวทศั น์ปา่ เขา มงุ่ เนน้ สภาพอากาศ ความ สวยงาม ฤดกู าล แสง สขี องธรรมชาติ โดยมีสัดส่วนของความเป็นจรงิ ตามธรรมชาตใิ นการแสดงออก (ภาพท่ี 5.10) ทิวทศั น์ทะเล (Seascape Graphic) เปน็ ผลงานลกั ษณะทแ่ี สดงออกของภมู ปิ ระเทศที่เปน็ ทะเล โดยมีสว่ น ประกอบเชน่ ทะเลหาดทรายโขดหนิ คลนื่ นำ�้หมเู่ รอื หมบู่ า้ นชาวประมงรวมทง้ั บรรยากาศชว่ งเวลาเปน็ สว่ นประกอบ ภายในภาพผลงาน เชน่ ภาพผลงาน “ทะเลและลลี าหมายเลข 2” แสดงบรรยากาศของทะเลตอนกลางคนื ถา่ ยทอด ในรูปแบบเหมือนจรงิ ตามธรรมชาติ โดยจะเน้นจังหวะการเคล่อื นไหวของคล่นื ทะเลทม่ี ีเส้น สี บรรยากาศทม่ี ี อารมณ์ความรสู้ ึกภายในของศิลปนิ ถ่ายทอดให้ผู้ดูเหน็ ถึงการเลอื่ นไหลเคล่ือนท่ีไม่หยุดนิง่ ของคลื่นทะเล (ภาพ ท่ี 5.11) 83
การวิเคราะห์ทศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ท วิ ทัศนส์ ถาปตั ยกรรม (Architecture Graphic) เป็นภาพที่ม่งุ เนน้ สัดส่วน รปู ทรงของสงิ่ กอ่ สรา้ ง เชน่ ตกึ อาคาร บ้านเรือนทงั้ เก่าและใหม่ แสดงออกถึงโครงสร้าง ทีม่ ีความแข็งแรง มั่นคง ประกอบด้วย การวางสัดสว่ น ท่ี วา่ ง ทศั นียวทิ ยา ตลอดจนน�ำ ห้ นัก แสงเงาทมี่ ีความร้สู ึกของศลิ ปินและเหตุการณ์น้ันในการแสดงออก เพอ่ื ใหผ้ ชู้ ม ได้เห็นถงึ สภาพอาคารสถาปัตยกรรมเหล่านั้น มีความพิเศษอยา่ งไร (ภาพที่ 5.12) ภาพที่ 5.10 ไตรรัตน์ ศรบี รุ นิ ทร์ “เงียบเหงา หมายเลข 2” แม่พิมพบ์ นกระดาษ 100 x 140 ซม. ภาพท่ี 5.11 จฑุ ารตั น์ วิทยา พ.ศ. 2532 “ทะเลและลลี าหมายเลข 2” แมพ่ มิ พ์โลหะ ภาพที่ 5.12 นรุ ัตนา หะแว “ความหวาดระแวงจากจิตใตส้ ำ�นกึ หมายเลข 1” แม่พมิ พ์แกะไม้ 100 x 140 ซม. 84
บทที่ 5 : ภาพพิมพ์ 4 .ภาพพิมพ์สัตว์ (Animal Graphic) ภาพผลงานการสร้างสรรคเ์ ปน็ การแสดงออกของภาพสัตว์ทกุ ชนิด เชน่ สัตวป์ กี สตั ว์ 4 ขา สัตวน์ ำ�ต้ ่างๆ เปน็ ต้น การแสดงออกในตัวเดียว และเป็นกลุ่มในการแสดงออกถึงวิถีชวี ิต ทีม่ ี โครงสร้าง สดั ส่วนถูกตอ้ งตามหลักกายวิภาค การวิ่ง บิดเอ้ยี วตวั กิริยาท่าทางต่างๆ ตามความเป็นจริงตามธรรมชาติ ถา่ ยทอดความรสู้ ึกต่อส่งิ น้นั ด้วย บรรยากาศ ความนา่ รัก นา่ กลัว ขึน้ อยู่กับเจตนาของศลิ ปนิ (ภาพที่ 5.13) ภาพที่ 5.13 ประหยดั พงษ์ด�ำ “ความฝันของลูกแมว” Painting Print 60 x 80 ซม. 5 .ภาพพิมพ์ศาสนา (Religion Graphic) เปน็ ผลงานที่แสดงออกในด้านความเชอ่ื ความศรทั ธาต่อศาสนา โดยแสดงออกถึงสัญลกั ษณ์ของความเชอ่ื เชน่ พระพุทธรูป เทพเจา้ พิธีกรรมทเี่ กีย่ วกับศาสนาตา่ งๆ หรืออาคาร สถาปตั ยกรรมที่เกี่ยวกบั ความเชอ่ื ความศรัทธาต่อศาสนา ซึ่งแสดงออกท้ังรูปแบบเหมอื นจริง ก่ึงเหมือนจริง และ สญั ลักษณข์ องความศรทั ธา โดยใชร้ ปู ทรงบรรยากาศ แสงเงา เข้ามามีส่วนทำ�ให้ผลงานแสดงความร้สู ึกเหล่าน้ัน ชดั เจนและมคี วามพเิ ศษในผลงานนั้น เชน่ ภาพผลงาน “ล้านนาในความทรงจำ�” แสดงออกถึงสัญลักษณ์ทางความ เชื่อ ความศรทั ธาต่อพุทธศาสนาท่ีดูลกึ ลับเรียบง่าย แฝงด้วยอารมณค์ วามรู้สึกทม่ี คี วามลกึ ลับ ในพธิ ีกรรมของชาว ลา้ นนา โดยโครงสร้างของรปู ทรงจะเป็นรปู สามเหลยี่ ม ซง่ึ แสดงถึงความม่นั คงและศรทั ธาตอ่ ความเชอื่ ของพิธกี รรม ของชาวล้านนาท่มี ตี อ่ ศิลปินผสู้ รา้ งสรรค์ผลงาน (ภาพท่ี 5.14) ภาพท่ี 5.14 ศรใี จ กนั ทะวงั “ล้านนาในความทรงจำ�” ภาพพมิ พแ์ กะไม้ 56 x 76 ซม. 85
การวิเคราะห์ทศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 5.15 พงษศ์ ิริ คิดดี “สยามดนิ แดนแห่งความปีติ หมายเลข 1” ภาพพิมพซ์ ิสสกรีน 130 x 160 ซม. 6 .ภาพพิมพ์นามธรรม (Abstract Graphic) การสร้างสรรคผ์ ลงานภาพพิมพ์จะแสดงรปู แบบทีใ่ ช้ความรสู้ กึ ภายในของศิลปิน ต่อสิง่ ที่ตอ้ งการน�ำ เสนอ ให้เหลือแต่สาระส�ำ คญั ของเนอ้ื หาน้นั ด้วยการถ่ายทอดออกมาจาก ประสบการณ์ตามสภาพแวดล้อม ประสบการณ์สติปญั ญา ประสบการณ์ทางสนุ ทรยี ะ เกดิ ความประทับใจ สะเทอื น ใจ ทงั้ แง่บวกและแง่ลบ กับความรู้สึกเหล่านัน้ ถ่ายทอดผ่านทศั นธาตุ เสน้ สี เส้น รปู ทรง บรรยากาศ ลกั ษณะ ผสม ผสานใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ตามทต่ี อ้ งการน�ำ เสนอใหผ้ ชู้ มไดร้ บั รถู้ งึ สง่ิ เหลา่ นนั้ เชน่ ภาพผลงาน“สยามดนิ แดนแหง่ ความ ปีติ หมายเลข 1” เปน็ การถา่ ยทอดเรือ่ งราวของความรู้สกึ ทไ่ี ด้รับจากอาคารสถาปัตยกรรม ลดตัดทอนรปู ทรงให้ เหลือสาระสำ�คญั คอื ความรสู้ ึกภายในทมี่ ีต่ออาคารสิ่งก่อสร้าง ทีม่ ีความเจรญิ ร่งุ เรืองท่แี สดงออกเปน็ จุดสรี วมกัน เกิดเปน็ น�ำ ้หนักรปู ทรงสามเหล่ยี มและเปน็ รูปแบบนามธรรม ดว้ ยโครงสเี ย็นให้ความรูส้ กึ อบอุ่น อุดมสมบรู ณ์ เจรญิ รุ่งเรือง (ภาพที่ 5.15) เน้ือหาสาระเหล่าน้ีเกิดจากประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมของศิลปินที่ผสมผสานกับประสบการณ์ ทกั ษะสตปิ ญั ญาของแตล่ ะคนทส่ี งั่ สมมาโดยสามารถน�ำ แรงบนั ดาลใจจากเนอ้ื หาเหลา่ นม้ี สี รา้ งสรรค์จดั การกบั รปู แบบ เน้ือหารูปทรงให้มกี ารประสานสัมผัสได้อย่างกลมกลืนมีเอกภาพเกิดผลงานความร้สู กึ ที่สะทอ้ นออกมาทางรปู แบบ ของความเปน็ จริงกง่ึ ความเปน็ จรงิ และนามธรรมข้นึ อยู่กับเนอื้ หาขบวนการความถนดั เฉพาะแต่ละคนในการเลือก เทคนิค กระบวนการในการนำ�เสนอ เพอื่ ใหผ้ ชู้ มรับรู้ และเขา้ ใจเหน็ คุณค่าของผลงานภาพพิมพ์ในแตล่ ะประเภท มลู เหตใุ นการสร้างงานภาพพิมพ์ ผลงานภาพพมิ พ์ถอื วา่ เป็นแขนงหนง่ึ ของทศั นศิลป์ ท่มี ีการแสดงออกของผลงานท่มี คี วามงามตามทศั นธาตุ ในการจดั องค์ประกอบ ประสานเกดิ ความเปน็ เอกภาพกลมกลืน เพอ่ื ใหเ้ กดิ อารมณค์ วามรสู้ ึกต่อผู้ชม จะมีมูลเหตุ ในการสรา้ งผลงาน ดังน้ี 1 .เพอ่ื บันทกึ ส่ิงแวดลอ้ มและธรรมชาติศลิ ปินสรา้ งผลงานภาพพมิ พ์เพอ่ื บันทึกเรอ่ื งราวความสวยงามของ ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมท่ีเกิดความประทบั ใจ ความทรงจ�ำ ท่ดี ขี องศิลปิน จงึ แสดงออกในรูปแบบทั้งเหมือนจริง กึ่งนามธรรม ผลงานจะบอกเลา่ เรื่องราว วิถีชวี ิต ความอบอุ่น การเป็นอยู่ เครอื่ งใช้ในชวี ิตประจำ�วนั (ภาพที่ 5.16) 86
บทท่ี 5 : ภาพพิมพ์ 2 .เพ่ือความศรัทธาและความเชอ่ื ในศาสนา ผลงานภาพพิมพจ์ ะสร้างผลงานคล้ายกบั จติ รกรรม คือ จะมี ความเชอื่ ศรทั ธาในศาสนา เปน็ แรงบนั ดาลใจทสี่ �ำ คญั อกี อยา่ งทเี่ ปน็ เหตแุ ละแรงบนั ดาลในการสรา้ งงานภาพพมิ พ์ ปรากฏให้เห็นตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจุบัน ทำ�ใหผ้ ลการพฒั นาอย่างต่อเนือ่ ง ซง่ึ อาจจะนำ�เสนอรปู แบบเหมอื นจรงิ และ กงึ่ นามธรรมรวมท้งั ผลงานนามธรรม แสดงออกรูปแบบสัญลกั ษณข์ องรปู ทรง เสน้ สี ท่ีมคี วามศรทั ธา ความเชื่อแฝง อยู่ในผลงาน (ภาพท่ี 5.17) ภาพท่ี 5.16 ทินกร กาษรสุวรรณ “ต้นไมข้ องแผน่ ดนิ ” ภาพพิมพ์โลหะ 175 x 175 ซม. ภาพท่ี 5.17 ศรใี จ กนั ทะวัง “Lanna 1/1996” ภาพพมิ พ์แกะไม้ 56 x 76 ซม. 3 .เพือ่ เปน็ ภาพอนุสรณ์แห่งความรำ�ลึก การสร้างสรรคผ์ ลงานเปน็ ภาพเหตุการณส์ งิ่ แวดล้อมทเี่ กิดขนึ้ กบั เหตบุ า้ นเมอื งการปกครองทง้ั เหตกุ ารณท์ แ่ี งบ่ วกและแงล่ บเปน็ บนั ทกึ เรอ่ื งราวเหลา่ นน้ั เสมอื นเปน็ การบนั ทกึ ขา่ วสาร ที่เกดิ ข้ึนในชว่ งสมยั น้ัน ไม่วา่ จะเปน็ ภาพกลมุ่ คน และภาพบคุ คลส�ำ คัญท่ีมีความส�ำ คัญต่อบา้ นเมอื ง เพื่อระลึกถึง คุณงามความดขี องบุคคลเหล่านนั้ ซึ่งในปัจจบุ ันไดร้ ับความนิยมจากศลิ ปนิ ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานรูปแบบนี้ (ภาพ ที่ 5.18) 87
การวิเคราะหท์ ัศนศิลป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 5.18 ไกรสร ประเสรฐิ บันทึก “ศิลปกรรมหลงั ความตาย” Etching and chine colle 78 x 106 ซม. ภาพท่ี 5.19 สมพร ธุรี พ.ศ. 2538 “ความประทบั ใจในชนบท ” ภาพพมิ พเ์ อช็ ชิง่ 15 x 20 นิ้ว ภาพท่ี 5.20 วราวฒุ ิ อนิ ทร “สง่ิ ทม่ี อี ยู่ในตวั ตน หมายเลข 1” ภาพพมิ พโ์ ลหะ 120 x 165 ซม. 88
บทที่ 5 : ภาพพมิ พ์ 4 .เพอ่ื สนองความตอ้ งการอารมณค์ วามรสู้ กึ สว่ นตวั ก ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานเปน็ ภาพทศ่ี ลิ ปนิ ถา่ ยทอดอารมณ์ ความรสู้ กึ สว่ นตัวของเหตกุ ารณ์ ประสบการณท์ ั้งทางตรงและทางออ้ มของผสู้ ร้างงาน เช่น การได้รับความเจบ็ ปวด ความเศร้า ความเสยี ใจ ดใี จ ทีม่ ากระทบจิตใจ ท้งั กายด้วย เปน็ แรงบันดาลใจ สรา้ งผลงานทมี่ กี ารใช้สี องคป์ ระกอบ เทคนคิ ทมี่ ีผลต่ออารมณ์ ความร้สู ึกเหล่าน้ัน ให้ผชู้ มไดร้ ูส้ ึกถงึ อารมณค์ วามรู้สกึ นน้ั ท�ำ ให้ผลงานเหล่านั้นมคี วาม พเิ ศษกวา่ ผลงานอ่ืน ซึง่ สะท้อนอารมณ์ความรู้สกึ ภายในผา่ นการสรา้ งสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ (ภาพท่ี 5.19) เช่นภาพ ผลงาน “สง่ิ ทม่ี ีอยู่ในตวั ตน หมายเลข 1” ศิลปินถ่ายถอดรปู ทรง องค์ประกอบเสน้ สี จากความรู้สึกภายใน โดย ลองตดั ทอนรปู ทรงจากความเป็นจรงิ สร้างเนอื้ หาเร่ืองราวจากจนิ ตนาการตามเจตจ�ำ นงของผสู้ ร้างงานตามประสบ การณเ์ ฉพาะตน ทีม่ ีความวนุ่ วายสับสนตามท่ีปรากฏในผลงาน (ภาพที่ 5.20) คุณคา่ ในงานภาพพมิ พ์ ผลงานภาพพมิ พถ์ อื วา่ มคี ณุ คา่ ตอ่ วงการศลิ ปกรรมมพี ฒั นาการตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ซงึ่ มมี าควบคกู่ บั ผลงาน แขนงอื่นๆ ของทัศนศิลป์ ท่มี กี ารแสดงออกจากประสบการณ์ ความประทับใจ เป็นแรงบนั ดาลใจใหก้ บั ศลิ ปนิ สร้างสรรค์ผลงานข้ึน เพอื่ ความงามเป็นหลักสำ�คัญ จะแตกตา่ งกันกับแขนงอ่นื ๆ ในสว่ นของกรรมวธิ ี มีคณุ ค่าดงั ตอ่ ไปน้ี 1 .คณุ คา่ ทางความเชอื่ ไ มว่ า่ จะเปน็ ผลงานแขนงอน่ื ๆแมก้ ระทงั่ ผลงานภาพพมิ พก์ จ็ ะมกี ารแสดงออกในเรอ่ื ง ของความเชอ่ื ตอ่ ศาสนาพธิ กี รรมตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในแตล่ ะชมุ ชนทง้ั ตะวนั ตกและตะวนั ออกยอ่ มมกี ารสรา้ งผลงานภาพ พิมพ์ท่ีแสดงออกดา้ นความเชื่อมายาวนานตัง้ แตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบนั เพ่อื ความจรรโลงใจกำ�ลังใจการเชอ่ื มั่นกับความ เชือ่ ทตี่ นเองนบั ถือ ซึง่ เป็นผลดกี บั ชมุ ชนน้ันๆ 2 .คณุ คา่ ทางความงามหรอื สนุ ทรยี ะ ทกุ แขนงยอ่ มสรา้ งสรรคผ์ ลงานขน้ึ โดยมคี วามงามเปน็ หลกั ส�ำ คญั ไมว่ า่ จะเทคนิค กรรมวิธี องค์ประกอบ สสี นั พื้นผิว รปู ทรง เนือ้ หา ซง่ึ จะตอ้ งจัดการกบั ส่ิงเหล่าน้ีให้เกดิ ความเปน็ เอกภาพ เพ่ือน�ำ มาซงึ่ ความงามแบ่งเป็น 2 ประเภท คอื ค วามงามทางกาย (Physical Beauty) ไดแ้ ก่ ความงามดา้ นรูปทรงทกี่ �ำ หนดเรื่องราวหรือเกดิ จากการ ประสานกลมกลืนกนั ของทศั นธาตุตา่ งๆ ใหเ้ กดิ เอกภาพ ทั้งรูปทรงและเนอื้ หา ซงึ่ เป็นผลมาจากการจัดองค์ประกอบ ของสงิ่ เหล่าน้ันให้เกิดผลงานทม่ี คี ณุ คา่ ค วามงามทางใจ (Moral Beauty) ไดแ้ ก่ ความงามทางความรู้สึก หรืออารมณแ์ สดงออกและถา่ ยทอดออก มาเปน็ รูปแบบของผลงานทงั้ แบบเหมือนจริงและก่งึ เหมอื นจริง รวมทงั้ นามธรรม และทำ�ให้ผ้ชู มผลงานไดส้ มั ผสั ถึง ความงามเหล่านั้นตามเจตจำ�นงของศลิ ปนิ ทจี่ ะใหผ้ ู้ชมรสู้ ึกอยา่ งไรบางผลงาน จะเนน้ ความงามทางกายเปน็ หลัก ทางใจเป็นรอง หรอื ควบคกู่ นั ไปขึ้นอยู่กับการรบั รู้ของผูช้ มด้วย ซ่ึงเป็นคณุ คา่ ทส่ี �ำ คัญของผลงานภาพพิมพ์ 3 .คณุ คา่ ทางด้านประโยชน์ใช้สอย ศลิ ปินท่ีสรา้ งงานทกุ แขนงรวมทั้งภาพพิมพ์ จะตอ้ งถ่ายทอดผลงาน เทคนิครูปแบบ เร่อื งราวทีถ่ ่ายทอดตามความรู้สกึ ตามประสบการณ์ เช่น ประทบั ใจ คดิ ถงึ เศร้า น่ากลวั ฯลฯ โดย แนวความคิดเหลา่ น้ีเป็นแรงบนั ดาลใจท�ำ ใหเ้ กดิ การพัฒนา สรา้ งสรรค์ผลงานให้ปรากฏขน้ึ กบั สงั คม และมนุษย์ให้ เห็นถึงเหตุการณ์และอารมณ์ความรู้สึกเหล่านั้นให้ผู้ชมได้รู้สึกคล้อยตามหรือเข้าใจในแง่มุมความคิดของผลงาน ภาพพิมพ์ 89
การวิเคราะห์ทศั นศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) 4 .คุณค่าทางความรสู้ ึก ศลิ ปนิ ทีส่ ร้างงานทุกแขนงรวมท้งั ภาพพมิ พ์ จะต้องถ่ายทอดผลงานเทคนคิ รปู แบบ เรอ่ื งราว ทถี่ า่ ยทอดตามความรสู้ กึ ตามประสบการณ์ เช่น ประทับใจ คดิ ถึง เศร้า น่ากลวั ฯลฯ โดยแนวความคิด เหล่านี้เป็นแรงบันดาลใจทำ�ให้เกิดการพัฒนาสร้างสรรค์ผลงานให้ปรากฏขึ้นกับสังคมและมนุษย์ให้เห็นถึง เหตกุ ารณแ์ ละอารมณค์ วามร้สู กึ เหลา่ น้ันใหผ้ ู้ชมได้รู้สกึ คลอ้ ยตามหรอื เข้าใจในแง่มุมความคิดของผลงานภาพพิมพ์ 5 .คุณค่าทางประวัติศาสตร์ประจ�ำ ชาติ ผลงานภาพพมิ พจ์ ะปรากฏการน�ำ เสนอเร่อื งราวประวตั ศิ าสตร์ มา ตั้งแตอ่ ดตี จนถึงปัจจุบัน เชน่ ภาพประกอบหนงั สอื ทางประวัติศาสตร์ของชาตินนั้ ทั้งตะวนั ออกและตะวันตก จะเปน็ การบนั ทึกเรอ่ื งราวตา่ งๆ ไว้เป็นหลกั ฐานใหอ้ นชุ นรุน่ หลังได้ศึกษาค้นคว้า เพ่อื ใหเ้ กดิ องค์ความร้ใู นการพฒั นาตอ่ ไป ในปัจจุบัน ซงึ่ จะมคี ณุ ค่าท่แี ฝงในผลงานดังนี้ 1.บ่งบอกความเป็นชาตินิยม ด้วยคุณค่าของรูปแบบรปู ทรง เทคนิควธิ ีการทนี่ �ำ เสนอ ซ่ึงมีเอกลักษณ์ของ ศลิ ปะของชาตินัน้ ๆ 2.บง่ บอกลกั ษณะการเมอื ง การปกครองของประเทศน้ันๆ ในอดตี เพื่อศกึ ษาหาความรขู้ องอนชุ นรนุ่ หลงั 3.เกดิ คุณคา่ ในดา้ นความภมู ใิ จ ปีติยินดีกับความเปน็ ศลิ ปะประจ�ำ ชาติตนเอง 4. เป็นการบนั ทกึ เรื่องราวความงามสุนทรียะท่ีปรากฏในงานภาพพิมพ์ ทำ�ให้ประชาชนเห็นคณุ คา่ เหล่านน้ั ของมรดกของชาติ จะได้ช่วยกันอนรุ ักษ์รักษาไว้เป็นการศึกษาหาความรูต้ อ่ ไป 90
บทท่ี 6 : รูปแบบในงานทศั นศลิ ป์ รปู แบบในงานทัศนศิลป์ ร ปู แบบ(Form) สว่ นทเี่ ปน็ รปู ธรรมในงานศลิ ปะซงึ่ ใชเ้ ปน็ สอ่ื แสดงเนอื้ หาหรอื สว่ นทเ่ี ปน็ นามธรรมของงาน เชน่ รูปแบบของงานจิตรกรรม จะหมายถงึ ภาพท้ังภาพท่ปี รากฏแกส่ ายตา ซงึ่ ประกอบด้วยรูปทรงต่างๆ นำ�้หนัก สี ทีว่ ่าง ฯลฯ (ชลดู น่มิ เสมอ,2534:287) รปู แบบถือว่าเปน็ ภาพรวมของผลงาน ทศี่ ิลปนิ ถา่ ยทอดผลงานออกมาใหป้ ระจกั ษ์ต่อสายตาผู้ดู ให้รับรูแ้ ละ เข้าใจในเจตจำ�นงของศิลปนิ ที่เลือกรูปแบบในการถา่ ยทอด ตามความเหมาะสมและตามประสบการณ์ ความถนดั การรบั รู้ ของศิลปนิ ทม่ี ีความแตกตา่ งกัน แตก่ ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานจะต้องใหอ้ ะไรกับคนดู และให้คนดรู ู้สึกถึงอะไรใน ผลงานทตี่ ้องการแสดงออกจงึ จะเปน็ ผลงานที่มีคณุ คา่ ซึง่ สามารถแยกประเภทของรูปแบบในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ทัศนศิลปไ์ ด้ 3 ประเภทดังน้ี 1. รปู แบบศิลปะเหมอื นจรงิ (Realism Art) 2. รปู แบบศลิ ปะกง่ึ นามธรรม (Semi-Abstract Art) 3. รูปแบบศลิ ปะนามธรรม (Abstract Art) การสรา้ งสรรคผ์ ลงานทศั นศลิ ปข์ น้ึ อยกู่ บั ศลิ ปนิ จะเลอื กถา่ ยทอดและแสดงออกมาในรปู แบบใดซง่ึ การสรา้ งสรรค์ ผลงานของแตล่ ะคนจะอยดู่ า้ นไหน เป็นแนวทางที่ให้เลือกวา่ แตล่ ะคนมีพฒั นาการถ่ายทอดผลงานอย่างไร การทศี่ ลิ ปนิ ถา่ ยทอดผลงานการสรา้ งสรรคท์ ม่ี กี ารพฒั นาบนเสน้ ทางรปู แบบศลิ ปะเหมอื นจรงิ ศลิ ปะกงึ่ นาม ธรรม ถึงศิลปะนามธรรม สว่ นประกอบท่สี ำ�คัญศิลปินจะต้องมอี ยูใ่ นผลงานใหผ้ ้ดู ูไดร้ สู้ ึกรบั รูแ้ ละเข้าใจกบั ผลงานที่ แสดงออกนั้นจะต้องเป็นความจริง แบบจิตวสิ ัยและความจริงแบบวตั ถวุ ิสัย (Subjective Reality and Objective Reality) จ ิตวสิ ยั หมายถงึ ส่ิงท่ีเกิดขึน้ ในใจไม่เกี่ยวข้องกบั สงิ่ ท่ีอยู่นอกใจไมเ่ กีย่ วกับวตั ถภุ ายนอกเปน็ ความจริงสว่ น ตวั เปน็ ความรสู้ ึกเปน็ อารมณ์เปน็ ความคิด ความฝัน เป็นความปรารถนาสว่ นตัวศิลปิน (ชลูด นิม่ เสมอ,2534: 312) บางทีศิลปนิ อาจจะอาศัยรปู ทรงของสงิ่ มีชวี ติ หรอื ธรรมชาตเิ ปน็ แนวความคิดและแรงบันดาลใจ เป็นข้อมูล เบอ้ื งตน้ ในการสรา้ งสรรค์ผลงานด้วยการใส่ความร้สู ึกภายในใจ จนิ ตนาการสร้างสรรค์ท่ีมลี ักษณะเฉพาะตัวทเี่ กิด ขึน้ ภายในจิตใจ แสดงออกมาเป็นผลงานจติ รกรรมให้ผ้ดู ไู ดร้ ับรู้ถงึ กบั ความคดิ น้ันๆ ว ตั ถวุ สิ ยั หมายถึง ความจริงภายนอก ไม่ใชส่ ง่ิ ทปี่ รากฏอยู่ในใจ เปน็ สงิ่ ตรงกันข้ามกบั จิตวิสยั เปน็ เรอ่ื งเกย่ี ว กบั ภายนอกเป็นวตั ถุ ไม่เกย่ี วกบั ความคิด ความรสู้ ึก หรอื อารมณ์ของผกู้ ระท�ำ ไมเ่ ปน็ แบบเฉพาะตน เปน็ เหตผุ ล ข้อเท็จจริง (ชลดู นิม่ เสมอ,2534:312) ไมว่ ่าศิลปนิ จะเลือกการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศลิ ปใ์ นรปู แบบใดก็ตาม ผล งานเหลา่ นัน้ กจ็ ะตอ้ งมจี ิตวสิ ัย แฝงอย่ดู ว้ ยท้ังนั้นซงึ่ จะตอ้ งแสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึก ลักษณะพเิ ศษเฉพาะตน 91
การวิเคราะห์ทศั นศิลป์ (Visual Arts Analysis) ทแ่ี ฝงอยใู่ นผลงานอาจจะเกดิ จากประสบการณก์ ารรบั รทู้ างการเหน็ ความถนดั ความชอบหรอื เสน้ ทางของแตล่ ะคน จะท�ำ ใหผ้ ลงานศลิ ปะนน้ั มอี ารมณค์ วามรสู้ กึ ความงามทเี่ กดิ ขน้ึ แตถ่ า้ ผลงานนนั้ มจี ติ วสิ ยั มากเกนิ ไปโดยไมม่ วี ตั ถวุ สิ ยั เข้าไปเกย่ี วข้องก็จะเปน็ ผลงานทย่ี ากแก่ความเขา้ ใจของคนดูหรือผลงานทศั นศลิ ป์ทม่ี วี ัตถุวสิ ยั มากเกนิ ไปก็จะทำ�ให้ ผลงานนัน้ ขาดอารมณ์ บรรยากาศ แกน่ แทข้ องเนือ้ หาสาระของผลงานนนั้ ด้วย กต็ อ้ งขึ้นอยูก่ บั เจตนาแนวคิดทักษะ ความถนัดของแต่ละคน บางคนอาจจะใช้ทกั ษะน�ำ ความคดิ และบางคนใชแ้ นวความคดิ นำ�ทักษะกข็ น้ึ อย่กู บั ความ ต้องการของศิลปินแต่ละคนวา่ จะแสดงออกในลกั ษณะใดเพ่อื ให้คนดูรบั รู้ เจตจำ�นงในการสรา้ งสรรค์ผลงาน 1.รปู แบบศลิ ปะเหมอื นจรงิ (Realistic Art) ร ปู ธรรมในทางศลิ ปะ หมายถงึ งานศลิ ปะทแ่ี สดงออกดว้ ยรปู ทรงทเี่ หมอื นหรอื คลา้ ยของจรงิ ในธรรมชาตหิ รอื ใชร้ ปู ทรงเหล่านัน้ เป็นสื่อในการแสดงออก (ชลดู น่ิมเสมอ,2534:311) การถา่ ยทอดผลงานรปู แบบเหมอื นจรงิ หรอื สจั นยิ มศลิ ปนิ จะยดึ ถอื ธรรมชาตเิ ปน็ แรงบนั ดาลใจในการสรา้ งสรรค์ ผลงานเป็นการบอกเลา่ เร่ืองราวบรรยากาศสัดสว่ นโครงสรา้ งรูปรา่ งรปู ทรงมีความถกู ตอ้ งเหมอื นจริงตามธรรมชาติ เปน็ ตน้ แบบความคิด และการแสดงออก ถือว่าเป็นรูปแบบที่ไดร้ ับความนิยมมากที่สดุ รูปทรงวตั ถุทีเ่ ห็นเป็นอยา่ งไร กจ็ ะถา่ ยทอดตามทต่ี ารับรูม้ องเห็นไดใ้ ช้ความถูกต้อง สดั ส่วน แสงเงา ทัศนียภาพ เปน็ เกณฑม์ าตรฐานในการปฏบิ ัติ งานเพอื่ ให้เกดิ ความช�ำ นาญ รวมทั้งมคี ณุ ค่าทแี่ ฝงไปดว้ ยความรูส้ ึกสะเทือนใจ อารมณ์ ความงาม มชี วี ติ ชีวา มเี ลือด มเี นอ้ื มจี ติ วิญญาณ มีความเปน็ จรงิ สะท้อนสงั คม ความเชอื่ และคุณคา่ อื่นๆ ทแี่ ฝงอย่ใู นผลงานท่ีแสดงออกซง่ึ จะ ลกึ ซง้ึ กวา่ ทเี่ ปน็ ภาพเหมอื นจรงิ เพยี งภายนอกทปี่ รากฏแกส่ ายตาผดู้ เู ปน็ รปู แบบทกี่ ระท�ำ กนั มาแตส่ มยั กรกี ยคุ โบราณ จนกระทั่งยุคศลิ ปะฟนื้ ฟูวทิ ยาการหรอื เรอนาซองส์ จนมาถึงศิลปะสมยั ใหมใ่ นปัจจุบนั กย็ ังไดร้ บั ความนิยมไม่วา่ จะ อย่ใู นยุโรป เอเชีย และประเทศไทย ผ ลงานจิตรกรรมในรปู แบบศิลปะเหมือนจริง เ รมบรานด์เปน็ ศิลปินสมัยคลาสสิคซึมม์ (Classicism) มีวธิ กี ารสร้างสรรคผ์ ลงานสมัยบารอคจะจำ�กดั การ ใชส้ นี �ำ ต้ าลด�ำ เหลอื งทองโดยเทคนคิ การแสดงออกบรรยากาศแสงเงาตามความเปน็ จรงิ สรา้ งบรรยากาศของภาพโดย รวมอยู่ในเงามดื เนน้ สว่ นสวา่ งเฉพาะใบหนา้ และมือ ส่วนแสดงความมืดของภาพจะใชส้ ีแบนเรยี บ และหนาสรา้ งจดุ เด่นดว้ ยการเพ่ิมแสงสวา่ งบนใบหน้า เหมือนแสงสาดมากระทบใบหนา้ ทำ�ใหภ้ าพเกิดอารมณ์ความรู้สึกเกดิ เอกภาพ ของสี และนำ�ห้ นักโดยรวมให้มีการประสานกลมกลนื กนั ทั้งภาพโดยเรมบรานด์จะวาดภาพใหโ้ ครงสร้างสัดสว่ นถูก ต้องตามหลกั กายวภิ าค (ภาพที่ 6.1) ภาพท่ี 6.1 รีจ์น เรมบรานด์ (Rijn Rembrandt) ค.ศ. 1606-1669 “ภาพเหมือนตัวเอง” (Self-Portrait) สนี ำ�ม้ ันบนผา้ ใบ 92
บทที่ 6 : รปู แบบในงานทัศนศลิ ป์ ภาพท่ี 6.2 เมนเดริ ์ต ฮอบเบมา (Maindert Hobbema) ค.ศ.1638-1709 “ถนนกว้างที่มดิ เดลฮานสิ ” (The Avenue at Middelharnis) สีน�ำ ้มนั บนผ้าใบ เ มนเดิร์ต ฮอบเบมา เป็นศิลปนิ สมยั คลาสสิค ทมี่ ีการสร้างสรรค์ผลงานรปู แบบเหมือนจริง ท่ีจำ�กดั การใช้สี คอื สเี ขียว ฟา้ ขาว ดำ� เทา น�ำ ต้ าล โดยการคลมุ บรรยากาศของสใี นโทนสเี ขยี วเข้ม เนน้ จดุ ท่ีน่าสนใจของภาพดว้ ย การใช้สีสว่างระบายภาพด้วยสีขาวเหลืองผสมเสมือนแสงสาดส่องบริเวณตรงกลางภาพและกระจายแสงไปท่ัวทั้ง ภาพเพอื่ สรา้ งอารมณ์บรรยากาศของสีตอนเยน็ แสดงสดั สว่ นบนตน้ ไม้สงิ่ กอ่ สรา้ งทอ้ งฟา้ ตามความจรงิ ตามธรรมชาติ ทมี่ องเห็นบันทึกลงบนพ้ืนภาพมีความงามตามธรรมชาติเปน็ เอกลกั ษณ์ของทวิ ทศั นท์ ีม่ ีอารมณ์ความรสู้ ึกความงาม ท่ีมีอยู่จริงตามธรรมชาติโดยรวมของภาพทิวทัศน์แสดงออกรูปแบบเหมือนจริงลักษณะภาพท่ีเน้นรายละเอียด เหมือนจริงและรกั ษากฎเกณฑก์ ารเขยี นภาพอยา่ งเครง่ ครดั คือเน้นสัดสว่ นโครงสรา้ งมมุ มองทศั นียภาพถกู ต้องตาม ความเปน็ จรงิ ของธรรมชาติ ตามทีศ่ ลิ ปินรบั รู้ด้วยการเห็นในชว่ งเวลาฤดูกาล เหตุการณน์ ้ันๆ ถ่ายทอดผลงาน (ภาพ ท่ี 6.2) รูปแบบศลิ ปะเหมือนจริงเปน็ การสร้างสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมโดยยึดการรับรู้ทางการเหน็ เปน็ หลกั ได้แก่ การบันทึกภาพตรงไปตรงมา ตามทม่ี องเหน็ และเปน็ การบันทึกภาพ ทเ่ี กดิ ข้ึนจริงตามธรรมชาตเิ ก็บรายละเอียดทุก สว่ นตามท่ีมองเห็นและเปน็ จริง เน้นความถูกต้องของสัดส่วนโครงสร้างของสิ่งมชี ีวิต และสง่ิ ก่อสร้าง บรรยากาศ สี แสง เงา ตามจรงิ ผสมผสานกบั ความคดิ ความรสู้ ึก ของศลิ ปนิ ทถี่ ่ายทอดออกมาใหผ้ ้ดู ไู ด้รับรู้และรูส้ ึกตามศิลปิน เช่น ผลงานจติ รกรรม “โลกของครสิ ตนิ า่ ” ของแอนดรูว์ ไวเอธ็ (Andrew Wyeth) ซึ่งเปน็ ผลงานทเี่ ขยี นดว้ ย สีฝนุ่ วาดภาพหญงิ สาวช่ือ ครสิ ตนิ า่ ซงึ่ ป่วยเปน็ โปลิโอ นัง่ อยกู่ ลางทุง่ หญ้า มองเห็นภาพบ้านและโรงนาอย่ไู กลลิบ เส้นขอบพืน้ ดนิ เกอื บชิดกบั ขอบเสน้ กรอบบน มองเหน็ ทอ้ งฟ้าเพยี งนอ้ ยนิด เปน็ ลักษณะการถ่ายทอดรูปแบบแนว เหมอื นจริงทดี่ ูคล้ายกับภาพถา่ ยมาก แสดงความมที กั ษะสูง และถ่ายทอดความรสู้ ึกทีแ่ สดงออกถึงความโดดเดย่ี ว ความเหงาของหญงิ พิการที่ถกู ทอดทง้ิ อยใู่ นโลกเพียงล�ำ พงั แสดงว่าผู้หญิงคนน้ีพยายามจะคอ่ ยๆ ขยบั ตวั ช้าๆ เพอ่ื กลับบา้ น ทำ�ให้คนดูรบั รู้ถึงความสงสารเอน็ ดูใหก้ ำ�ลงั ใจช่วยเธอ (ภาพที่ 6.3) 93
การวิเคราะหท์ ัศนศลิ ป์ (Visual Arts Analysis) ภาพท่ี 6.3 แอนดรวู ์ ไวเอธ็ (Andrew Wyeth) ค.ศ. 1917 “โลกของครสิ ตนิ ่า” (Christina‘s World) สฝี นุ่ บนผ้าใบ ภาพที่ 6.4 อีดูอาร์ด มาเนต์ (Edouard Manet) ค.ศ.1863 “อาหารเช้าบนพื้นหญา้ ” (Le dejener Surl’ herbe) สนี ำ�้มันบนผ้าใบ 84 x 106 นวิ้ ม าเนต์ เปน็ ศลิ ปนิ ทสี่ รา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมแบบลทั ธเิ รยี ลลสิ ม์จะเขยี นตามความเปน็ จรงิ ของธรรมชาติ ความถกู ต้องของสี โครงสรา้ ง สดั ส่วน แสงเงา ทถี่ กู ต้องตามความจริง โดยการถ่ายทอดภาพหญิงเปลือยกายอยู่ ทา่ มกลางชายหน่มุ ในชุดอาภรณ์ครบครนั โดยเขาจะใช้นายแบบ นางแบบจริงเปน็ ต้นแบบในการถา่ ยทอดรูปทรง ท่าทาง ภาพหนุ่ น่งิ รวมท้งั ต้นไม้ บรรยากาศรอบนอกของภาพคนมีความถูกตอ้ งเหมือนจริงตามทตี่ ามองเหน็ เปน็ สง่ิ ท่ีมคี วามงามบริสุทธิ์ และมีคณุ ค่าตามท่ีศิลปินรับร้แู ละแสดงออกในผลงานตามสภาพจริง แต่ศิลปินใส่ความรู้สึก สว่ นตัวเข้าไปในผลงาน คอื การเนน้ นำ�้หนัก แสง เงา และสตี ัดกันในภาพเพือ่ ให้ภาพเกดิ ความสมบูรณช์ ดั เจน (ภาพ ท่ี 6.4) ผ ลงานประติมากรรมในรปู แบบศลิ ปะเหมอื นจริง เ บอรน์ นิ ี่ สรา้ งสรรค์ผลงานในรูปแบบเหมือนจริงสัดสว่ นโครงสรา้ งถูกตอ้ งตามหลกั กายวภิ าค เป็นศิลปินที่ มฝี ีมอื ยอดเยี่ยม จุดเด่นของเขาเป็นการแสดงออกของการจัดลีลาท่าทางเคลอื่ นไหวอย่างรนุ แรงของรปู แกะสลักแต่ ละรปู รายละเอยี ดของรปู ทรงคล้ายกบั ความเป็นจรงิ ของคน (ภาพที่ 6.5) 94
บทที่ 6 : รูปแบบในงานทศั นศิลป์ ภาพที่ 6.5 จานลอเรนโซ เบอรน์ นิ ี่ (Giarnlorenzo Bernini) ค.ศ. 1623 “ดาวดิ ” (David) ประติมากรรมหินอ่อน สูง 67 นว้ิ ภาพท่ี 6.6 ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี พ.ศ. 2473 “ตน้ แบบพระพกั ตร์สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช” ปนู ปลาสเตอร์ ภาพท่ี 6.7 ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี พ.ศ. 2466 “สมเด็จฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานุวัตติวงศ์” เทคนคิ บรอนซ์ ผลงานประติมากรรมท้งั 2ชน้ิ ศิลปินสร้างงานในรูปแบบเหมือนจริงได้เน้นรายละเอียดสัดสว่ นโครงสรา้ งถูก ตอ้ งตามหลักกายวิภาคเปน็ การป้นั ใหเ้ หมือนจริงตามแบบที่ตอ้ งการถ่ายทอดให้ดูมีชีวิตชวี ามอี ารมณ์ความรสู้ กึ แฝง เร้นอยู่ในผลงานประตมิ ากรรม (ภาพที่ 6.6,6.7) 95
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207