Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอนแบบโยนิโสมนสิการ

การสอนแบบโยนิโสมนสิการ

Description: ๑. อุบายมนสิการ เป็น การคิดหรือพิจารณาโดยอุบาย
๒. ปถมนสิการ เป็น การคิดถูกทาง ต่อเนื่องเป็นลำดับ
๓. การณมนสิการ เป็น การคิดอย่างมีเหตุผล
๔. อุปปาทกมนสิการ การคิดการพิจารณาให้เกิดกุศลธรรม

Keywords: โยนิโสมนสิการ

Search

Read the Text Version

๙๒ คาถามท้ายบท ๑.จงอธิบายความหมายของกระบวนการเรียนรตู้ ามทีไ่ ดศ้ ึกษามาพอเข้าใจ ฯ ๒.จงอธิบายเปูาหมายของกระบวนการเรียนรู้ พอไดใ้ จความ ฯ ๓.จงบอกลักษณะของกระบวนการเรยี นร้ทู ่มี ีคณุ ภาพ พอไดใ้ จความฯ ๔.จากที่ไดศ้ กึ ษามา สามารถนากระบวนการดงั กล่าวไปประยุกตใ์ ชไ้ ดอ้ ย่างไรฯ ๕.จุฑารตั น อนิ ทะแสน รุจิร ภสู าระ และจันทรานี สงวนนาม ได้กล่าวแนวทางการ วดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้อย่างไรฯ ๖.สวุ มิ ล วองวาณชิ กล่าวถึงปญหาการวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ไวก้ ี่ประเด็น อะไรบา้ งฯ ๗.ความหมายการวดั ผลและประเมนิ ผลการการเรยี นตามท่ี ปรยี าพร วงศอนตุ รโรจน์ และบญุ เล้ยี ง ทมุ ทอง ความหมายอย่างไรฯ ๘.แนวการจดั กระบวนการเรียนรูต้ ามหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ มแี นวการจดั กระบวนการเรียนอย่างไรฯ ๙.ลกั ษณะของกระบวนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ได้กาหนดแนวทางการจดั กระบวนการเรียนรูท้ ่ีมีคุณภาพไว้อย่างไร จงอธิบายฯ ๑๐.การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ นาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั อย่างไรได้ฯ

๙๓ เอกสารอา้ งองิ ประจาบท กมล ภูประเสริฐ, การบรหิ ารงานวชิ าการในสถานศึกษา, พมิ พคร้งั ที่ ๓, กรุงเทพมหานคร : เสรมิ สินพรี เพรส ซิสเท็ม, ๒๕๔๗. กระทรวงศึกษาธิการ, คูมือการบริหารสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐานท่ีเปนนติ บิ ุคคล, กรงุ เทพมหานคร : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๔๗. จฑุ ารตั น อนิ ทะแสน, “การศึกษาการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรยี นนารองการใชหลักสูตรการศกึ ษา ขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ สังกดั สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ เขตการศึกษา ๕”, วทิ ยานิพนธครศุ าสตรมหาบัณฑติ , บณั ฑติ วทิ ยาลยั : จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕. ทศิ นา แขมมณี, ศาสตรการสอน องคความรูเพือ่ การจัดกระบวนการเรยี นรูทมี่ ีประสิทธภิ าพ, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั , ๒๕๔๕. บุญเลยี้ ง ทุมทอง, “การวดั และประเมินผลสาหรบั ครมู ืออาชีพ”, วารสารวชิ าการ กรมวชิ าการ,๒๕๔๕. ปรยี าพร วงศอนุตรโรจน, การบรหิ ารงานวิชาการ, กรุงเทพมหานคร : ศนู ยส่อื เสรมิ กรุงเทพ, ๒๕๔๖. รุจิร ภสู าระ และจนั ทรานี สงวนนาม, การบริหารหลกั สตู รสถานศกึ ษา, กรุงเทพมหานคร : บุค พอยท, ๒๕๔๕. วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา, การพฒั นาการเรยี นการสอนทางอดุ มศึกษา, กรุงเทพมหานคร: ภาควชิ า อุดมศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓. สมศกั ดิ์ สินธรุ ะเวชญ, การวดั และประเมินผลการเรยี นรู, กรงุ เทพมหานคร : วฒั นาพานิช, ๒๕๔๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผล การเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ชุมนุมสหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย จากดั , ๒๕๕๑. สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, รายงานการตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน, กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั เพลนิ สตูดโิ อ จากดั , ๒๕๕๑. สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องคการมหาชน), พระราชบัญญัติการศกึ ษา แหงชาติ พ.ศ ๒๕๔๒, แกไขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ ๓) ๒๕๔๕, กรงุ เทพมหานคร : ๒๕๕๓. สุพศิ บญุ ชูวงศ, หลักการสอน, กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาหลกั สูตรและการสอน คณะวิชาครุศาสตร สถาบนั ราชภัฏเพชรบรุ วี ิทยาลงกรณ ในพระบรมราชปุ ถมั ภ, ๒๕๓๖. สุมาลี จันทรชลอ, การวัดผลและประเมินผล, กรุงเทพมหานคร: ศนู ยส่ือเสริมกรงุ เทพ, ๒๕๔๒. สุมติ ร คุณานกุ ร, หลักสตู รและการสอน, กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พชวนพิมพ, ๒๕๒๘. สวุ ิทย มลู คา และอรทยั มูลคา, ๒๐ วธิ ีจดั การเรยี นร,ู กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ, ๒๕๔๕. , วิธจี ดั การเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคดิ , กรงุ เทพมหานคร : ภาพพิมพ, ๒๕๔๕.

๙๔ สวุ ิมล วองวาณชิ . การประเมนิ การปฏิบัติงาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ, ๒๕๕๐. อรจรยี ณ ตะกว่ั ทุง อางถงึ ใน ปรีชยั โลหชัย, “การบริหารงานวชิ าการของผูบริหารสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ตามทศั นะของหัวหนางานวิชาการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษายะลาเขต ๒”, วทิ ยานพิ นธครุศาสตรมหาบัณฑิต, บณั ฑติ วทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา, ๒๕๕๒. บทที่ ๕ การจดั กิจกรรมเพอ่ื พฒั นาความคิด วตั ถปุ ระสงค์การเรียนร้ปู ระจาบท เมื่อได้ศกึ ษาเนื้อหาในบทน้ีแลว้ ผู้เรียนสามารถ ๑.อธบิ ายธรรมชาติ ความหมาย และความสาคญั ของความคิดได้ ๒.บอกประเภทของความคิดได้ ๓.บอกลกั ษณะต่างๆของความคดิ ได้ ๔.อธบิ ายการพฒั นาทักษะกระบวนการทางความคิดได้ ๕.จดั กิจกรรมเพื่อพัฒนาความคดิ ได้ ขอบข่ายเนอ้ื หา  ธรรมชาติ ความหมาย และความสาคัญของความคิด  ประเภทของความคิด  ลกั ษณะตา่ งๆของความคดิ  การพฒั นาทักษะกระบวนการทางความคดิ  จัดกิจกรรมเพอ่ื พัฒนาความคิด

๙๕

๙๖ ๕.๑ ความนา ครูเป็นผู้ทม่ี บี ทบาทสาคัญในการส่งเสริมความคิดของผู้เรียน องค์ประกอบที่จะพัฒนาความคิดในตัว ผู้เรียนอยู่ท่ีเทคนิคและวิธีการสอนของครูผู้สอน ที่จะช่วยกระตุ้น ส่งเสริม และการพัฒนาความคิดของ ผเู้ รยี นให้งอกงามขึ้น ครูก็ควรจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความเหมาะสม ความต้องการของผู้เรียน โดยหา เทคนิควิธีการสอนใหม่ๆ แปลกๆ มุ่งให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง คอยตามจินตนาการ และความพึง พอใจของผู้เรียน ก็จะช่วยพัฒนาความคิดของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ความคิดเป็นกระบวนการทางสมองของ มนุษย์ที่มีศักยภาพสูงมากเป็นส่วนท่ีมนุษย์มีแตกต่างกับสัตว์ต่างๆ ความคิดเป็นการแฝงอยู่ในเร่ืองของการ เรียนรขู้ องมนุษยไ์ วอ้ ยา่ งหลากหลาย ๕.๒ ธรรมชาติ ความหมาย และความสาคญั ของความคดิ ๕.๒.๑ ธรรมชาติของความคดิ ความคิดเป็นกระบวนการทางสมองของมนุษย์ท่ีมีศักยภาพสูงมากเป็นส่วนที่มนุษย์มีแตกต่างกับสัตว์ ต่างๆ ความคิดเป็นการแฝงอยู่ในเรื่องของการเรียนรู้ของมนุษย์ไว้อย่างหลากหลาย กระบวนความคิด เป็นความคิดที่ต้องดาเนินการไปเป็นลาดับข้ันตอน ท่ีจะช่วยให้ความคิดนั้นประสบความสาเร็จตาม จุดมุ่งหมายของความคิดนั้นๆ ซ่ึงในแต่ละลาดับข้ันตอนต้องอาศัยทักษะความคิด หรือลักษณะความคิด จานวนมาก กระบวนการท่สี าคญั ท่ีหลากหลายกระบวนการ ความแตกต่างระหว่างมนุษย์กับสัตว์ก็คือ มนุษย์รู้จักคิดด้วยเหตุผล ความคิดเกิดข้ึนได้ตลอดเวลา และมีหลายรูปแบบ ซึ่งขึ้นอยู่กับสถานการณ์นั้นๆ ว่าเป็นอย่างไร โดยท่ัวไปแล้วความคิดจะเกิดขึ้นเมื่อกาลัง จะทาอะไรอย่างหนึ่ง หรือกาลงั ทาอยู่ไมส่ าเร็จ ความคิดเป็นพฤติกรรมท่ีแสดงออกโดยอาศัยส่ิงอื่น หรือสัญลักษณ์ต่างๆ โดยเฉพาะภาษาซ่ึงจะเป็น สื่อในสงิ่ ทีเ่ ราคิด หรอื เปน็ กิจกรรมอ่ืนท่ีออกมาในรูปของการกระทา ความคิดจึงมีส่วนสัมพันธ์กับการกระทา และสัมพันธ์กับความจาการลืม เน่ืองจากความคิดเป็นส่ิงที่เป็นเหตุการณ์ท่ีอยู่ในใจ เนื้อหาที่แสดงออกอาจ ยาวนานหรือต่อเน่ืองกันไปเรื่อยๆ จนบางครั้งไม่สามารถท่ีจะวัดได้ว่าส้ินสุดลงเม่ือไร รวมท้ังเป็นกิจกรรมที่ ซับซ้อน และไม่ตรงกับส่ิงที่เราคิด เช่น เม่ือคิดถึงงานท่ีแสดงออกด้วยการไปติดต่อด้วยการเขียน การพูด เป็นต้น ความคิดเป็นการแสดงออกของความเจริญของมนุษย์เป็นสิ่งสาคัญในการดารงชีวิต ทาให้เกิด วิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ ขึ้น เนื่องจากมนุษย์รู้จักคิด และนาสิ่งท่ีคิดมาใช้ในการประดิษฐ์ ดัดแปลง เปล่ยี นแปลงใหก้ ้าวหนา้ ทาใหโ้ ลกเจริญรุดหน้าไปอยา่ งรวดเร็ว๘๖ ๕.๒.๒ ความหมายของความคิด ฮิลการ์ด (Hilgard)๘๗ กล่าวว่า ความคิดเป็นพฤติกรรมที่เกิดข้ึนในสมองอันเน่ืองมาจากการใช้ สัญลักษณ์แทนสง่ิ ของ เหตุการณห์ รอื สถานการณ์ ตา่ ง ๆ ๘๖ ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน,์ จิตวิทยาการศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : พิมพด์ ี, ๒๕๕๑), หนา้ ๑๖๗. ๘๗ ฮิลการ์ด (Hilgard ), อ้างใน ชนิสรา ใจชัยภูมิ, ความคิดคล่องแคล่วของเด็กปฐมวัยด้วยการบริหารสมอง, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวยั ), (กรงุ เทพฯ: บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนคริทรวโิ รฒ, ๒๕๕๒) .

๙๗ บรูโน (Bruno)๘๘ กลา่ ววา่ ความคดิ เปน็ กระบวนการทางสมองที่ใช้สัญลกั ษณจ์ นิ ตภาพ ความคิดเห็น และความคิด รวบยอด แทนประสบการณ์ในอดีต ความเป็นไปได้ในอนาคต และความเป็นจริงท่ีปรากฏ ความคิดจึงทาให้คนเรามีกระบวนการทางสมองในระดับสูง กระบวนการเหล่านี้ได้แก่ ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา จินตนาการ ความใสใ่ จ เชาวนป์ ัญญา ความคดิ สร้างสรรค์และอ่นื ๆ อาจสรุปได้ว่าความคิดเป็นกระบวนการท่ีเกิดขึ้นในสมองท่ีใช้สัญลักษณ์หรือภาพแทนส่ิงของ เหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่าง ๆ โดยมีการจัดระบบความรู้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่งเป็นประสบการณ์เดิมกับ ประสบการณ์ใหม่หรือสิ่งเร้าใหม่ท่ีไปได้ทั้งในรูปแบบธรรมดาและสลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบสามารถ แสดงออกได้หลายลักษณะ เช่น การให้เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เน่ืองจากความคิดเป็นกระบวนการท่ี เกดิ ขน้ึ ในสมอง เราจึงควรทจ่ี ะทราบเกย่ี วกบั สมอง เช่น โครงสรา้ งทางสมอง และพจิ ารณาว่ามีความสัมพันธ์ กับความคดิ ในลกั ษณะใดบ้าง ศรีสุรางค์ ทีนะกุลและคณะ๘๙ ให้ความหมายของความคิดว่าเป็นกระบวนการทางสมองหรือการ จัดระบบและรูปแบบใหม่ของประสบการณ์ท่ีผ่านมาแล้วให้เข้ากับสภาพการณ์ปัจจุบัน ความคิดมี ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับกิจกรรมภายในอย่างอ่ืนโดยเฉพาะ การจา การรับรู้ และเชาว์ปัญญา นักจิตวิทยาได้กล่าวถึงลักษณะเหล่านี้โดยรวม ๆ ว่าการรู้คิด (Cognition) เม่ือรับรู้ (Perception) ซ่ึงเน้น ความสัมพันธ์ของการตอบสนองต่อส่ิงเร้าในขณะนั้น ความคิดจะเก่ียวข้องกับประสบการณ์ในอดีต ความคิด และการรบั ร้กู ไ็ ม่สามารถแยกออกจากกนั ความคิดจงึ เปน็ การปรุงแต่งขัน้ สูงต่อจากการรบั รู้ อรพรรณ พรสมี า๙๐ ได้ใหค้ วามหมายของความคิดว่า ความคิดเป็นส่ิงท่ีจับต้องไม่ได้แต่แสดงให้ผู้อ่ืน รับรู้ได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ความคิดเป็นปฏิกิริยาภายในสมองท่ีโต้ตอบต่อสิ่งเร้า ความคิดเป็นกิจกรรมเพื่อ ส่งเสรมิ การพัฒนาสมอง ความคดิ เปน็ ทกั ษะทพี่ ฒั นาได้และจาเป็นต้องพัฒนาโดยเรง่ ดว่ น ศิริกาญจน์ โกสุมภ์และดารณี คาวัจนัง๙๑ ได้กล่าวว่า ความคิดเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีตัวปัญหาแล้ว พิจารณายอ้ นไตรต่ รองถงึ ข้อมูล ๓ ประเภท คือ ข้อมูลด้านตนเอง ชุมชน สังคมส่ิงแวดล้อม และข้อมูลทาง วิชาการ ต่อจากนั้นก็ลงมือกระทาการ ถ้าหากการกระทา ทาให้ปัญหาและความไม่พอใจของบุคคลหายไป กระบวนความคิดจะยุติลง แต่ถ้าหากบุคคลยังรู้สึกไม่พอใจ ปัญหายังคงอยู่ บุคคลก็จะเริ่มกระบวนการใหม่ อกี ครง้ั พรเพ็ญ ศรีวิรัตน์๙๒ ได้กล่าวว่า ความคิดเป็นกระบวนการทางานของสมองและปฏิกิริยาของจิตท่ี ดาเนินไปอย่างมีวัตถุประสงค์และเปน็ การค้นหาหลกั การโดยการจาแนก แยกแยะความแตกต่าง จัดหมวดหมู่ และคณุ สมบัตขิ องสิ่งต่าง ๆ หรือข้อความจริงที่ได้รับแลว้ ทาการแปลความหมายข้อมูล เช่ือมโยงความสัมพันธ์ ของข้อมูลผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินอย่างมีระบบและเหตุผล เพ่ือหาข้อสรุปที่เป็นหลักการ ๘๘ บรูโน (Bruno ), อ้างใน จันทร์ฉาย พิทักษ์ศิริกุล, ผลของการจัดโปรแกรมการฝึกการกล้าแสดงออกต่อ ความร้สู ึกมคี ุณค่าในตนเองของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒), อดั สาเนา. ๘๙ ศรสี ุรางค์ ทีนะกุล; และคณะ, การคิดและการตัดสนิ ใจ, (กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยเู คชนั่ , ๒๕๔๒), หน้า ๘. ๙๐ อรพรรณ พรสมี า, การคดิ , ภาควิชาเทคโนโลยที างการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ , (กรุงเทพฯ: สถาบนั พัฒนาทกั ษะการคิด, ๒๕๔๓), หน้า ๓-๔. ๙๑ ศิริกาญจน์ โกสมุ ภ์; และดารณี คาวจั นัง, สอนเด็กให้คิดเปน็ , (กรุงเทพฯ: ทิปส์ พับบลิเคชนั่ , ๒๕๔๔), หน้า ๙๗. ๙๒ พรเพญ็ ศรวี ิรตั น์, การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณของเด็กปฐมวัยท่ีได้รับการเล่นเกม ฝึกทักษะการคิด, ปริญญา นิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย), (กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๔๖), หน้า ๑๐, ถ่าย เอกสาร.

๙๘ ของขอ้ ความจริงน้นั รวมถงึ การนาหลกั การและกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง เหมาะสม สาหรับเด็กปฐมวัยนั้น ความคิดเป็นพ้ืนฐานในการพัฒนาสติปัญญาให้กับเด็กต่อไป ซ่ึงความคิด ของเด็กขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และการให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดจนการฝึกฝน และกระตุ้น สง่ เสรมิ ความคิดใหเ้ ดก็ อยา่ งตอ่ เนื่องสม่าเสมอ กลุ ยา ตันติผลาชีวะ๙๓ ได้ให้ความหมายของความคิดว่า ความคิดเป็นกระบวนการทางานของสมอง ในการซึมซบั ขอ้ มลู สารสนเทศ ประสบการณแ์ ละเหตผุ ลเขา้ ด้วยกัน แล้วกาหนดเปน็ มโนทศั น์ (Concept) สรุปไดว้ ่า ความคิดเป็นปฏกิ ริ ิยาทางสมองที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางานของจิตใจมนุษย์ เป็นการ ทางานที่มีความต่อเน่ือง ในความคิดอาจมีการวางแผน จัดระบบ ค้นหาหลักความจริง หรืออาจใช้ ประสบการณ์เดิมเพื่อให้เกิดการรับรู้ และตอบสนองโดยอาศัยสิ่งแวดล้อมเป็นตัวช่วยในขณะเดียวกันก็ผ่าน กระบวนความคิดการตัดสินใจ และการแก้ปัญหา ๕.๒.๓ โครงสร้างทางสมองกับความคดิ สมองเป็นอวัยวะหนึ่งของร่างกายที่เป็นศูนย์รวมของระบบประสาท เป็นศูนย์กลางในการควบคุม และจัดระเบียบ การทางานทุกชนิดของร่างกาย สมองของมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์สมองประมาณร้อยล้าน ล้านเซลล์ ซึ่งเป็นจานวนที่ไม่แตกต่างกันระหว่างทารกแรกเกิดกับผู้ใหญ่ แต่ในผู้ใหญ่เซลล์สมองจะมีขนาด ใหญ่และยาวกวา่ และจะมีจานวน เดนไดรท์ (dendrite) ของเซลล์สมองมากข้ึน ทาให้การเชื่อมโยงระหว่าง เซลล์สมองมากขึ้น โดยเซลล์สมองเซลล์หนึ่ง ๆ จะเช่ือมโยงไปยังเซลล์สมองเซลล์อ่ืน ๆ อีกสองหมื่นห้าพัน เซลล์ เพ่ือส่งข่าวสารกันโดยกระแสประสาทจะเกิดปฏิกิริยาเรียกว่า synapse แล้วแต่ว่าจะเป็นด้านรับ-ส่ง สัมผัสต่าง ๆ เช่น ปฏิกิริยาการเคล่ือนไหวกล้ามเน้ือ ความรู้สึก ความจา อารมณ์ทั้งหลาย ฯลฯ จึง ผสมผสานกนั ขึ้นกลายเป็นการเรยี นรู้นาไปสกู่ ารปรบั ตวั อย่างเฉลยี วฉลาดของมนุษยแ์ ต่ละคน สมองของคนเราแบ่งออกเป็น ๒ ซีก คือสมองซีกซ้าย (Left Hemisphere) กับสมองซีกขวา (Right Hemisphere) และแต่ละซีกมหี น้าที่ทีแ่ ตกตา่ งกนั ดงั น้ี สมองซกี ซา้ ย สมองซกี ซ้ายจะควบคุมดแู ลพฤติกรรมของมนุษย์ในเรอ่ื งต่างๆ ต่อไปนี้ ๑. ความคิดในทางเดียว ( คิดเรือ่ งใดเรอ่ื งหนึ่ง) ๒. ความคดิ วิเคราะห์ ( แยกแยะ) ๓. การใช้ตรรกศาสตร์ และการใช้เหตผุ ลเชิงคณิตศาสตร์ ๔. การใชภ้ าษา มที ัง้ การอ่านและการเขยี น สรุปได้ว่า สมองซีกซ้ายจะควบคุมดูแลพฤติกรรมของมนุษย์ท่ีเกี่ยวกับการใช้เหตุผล ความคิด วเิ คราะห์ ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะการทางานในสายของวชิ าทางวิทยาศาสตร์ ( Sciences ) เป็นส่วนใหญ่ นอกจากนี้ สมองซีกซา้ ยยังเปน็ ตวั ควบคมุ การกระทา การฟัง การเหน็ และการสัมผัสต่าง ๆ ของรา่ งกายทางซีกขวา สมองซกี ขวา สมองซีกขวาจะควบคุมดแู ลพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ในเร่ืองตา่ งๆ ต่อไปนี้ ๑. ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking ) ๒. ความคดิ แบบเส้นขนาน ( คิดหลายเร่อื ง แตล่ ะเร่อื งจะไมเ่ ก่ยี วข้องกัน) ๓. ความคดิ สงั เคราะห์ ( สรา้ งส่งิ ใหม่) ๔. การเหน็ เชิงมติ ิ ( กว้าง ยาว ลึก) ๙๓ กุลยา ตันตผิ ลาชีวะ,เทคนิคการสรา้ งเสริมปัญญาเด็กปฐมวัย, วารสารการศึกษาปฐมวัย ๑(๑):(๒๕๔๘), หน้า ๒๗.

๙๙ ๕. การเคลอ่ื นไหวของร่างกาย ความรกั ความเมตตารวมถึงสญั ชาติญาณและลางสงั หรณต์ ่าง ๆ สรุปได้ว่าสมองซีกขวาจะควบคุมดูแลพฤติกรรมของมนุษย์ที่เก่ียวกับความคิดสร้างสรรค์ จริยธรรม อารมณ์ ซึ่งเป็นลักษณะการทางานในสายของวิชาการทางศิลปศาสตร์ ( Arts ) เป็นส่วนใหญ่ และยังเป็นตัว ควบคมุ การทางานของรา่ งกายทางซีกซ้ายดว้ ย การศึกษาในโรงเรียนในระบบเดิมให้ความสาคัญกับการใช้สมองซีกซ้าย ส่งเสริมให้เด็กผู้เรียนได้รับ การฝึกฝนความสามารถในการใช้ เหตุผล การใช้ภาษาอย่างมาก อยากให้เด็ก ๆ มีอาชีพเป็นแพทย์ เป็น นักวิทยาศาสตร์ ส่วนการส่งเสริมทางด้านความคิดสร้างสรรค์มีน้อย ดังเช่น \" ว่านอนสอนง่าย\" \" เดินตาม ผู้ใหญ่หมาไม่กัด\" ตอ่ มาเห็นความสาคญั กับการใชส้ มองซกี ขวา เช่นการส่งเสริมการแสดงออกแบบต่าง ๆ การ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ ด็กเรียนทางด้านการออกแบบ การแสดง การประชาสัมพันธ์ จากการท่ีสมองท้ัง ๒ ซีก ทาหน้าท่ีต่างกัน เราจึงสามารถสรุปเก่ียวกับลักษณะของบุคคลซ่ึงใช้สมองด้านใดด้านหน่ึงมากกว่าอีกด้าน หนง่ึ ได้ดงั น้ี สาหรบั คนที่ทางานโดยใช้สมองซีกขวามากกว่าซีกซ้าย จะมีลักษณะเด่นที่แสดงออกคือ เป็นคน ท่ีทาอะไรตามอารมณ์ตนเอง อาจมีอารมณ์อ่อนไหวได้ง่าย แต่จะเป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์สูงเหมาะ สาหรับการเปน็ นักออกแบบ เปน็ ศิลปิน สาหรับคนที่ทางานโดยใช้สมองซีกซ้ายมากกว่าซีกขวา จะมีลักษณะเด่นท่ีแสดงออกมาดังนี้คือ ทางานอย่างเป็นระบบเป็นขั้นเป็นตอน เป็นเหตุเป็นผล ด้วยความคิดเชิงวิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหมาะ สาหรบั งานทางดา้ นวิทยาศาสตร์ การออกแบบระบบงานต่าง ๆ แต่อาจทาให้ไม่ได้คานึงถึงจิตใจของคนรอบ ขา้ งมากนกั จากขอ้ สรุปดังกล่าว จะเหน็ วา่ ถ้าเราใช้สมองด้านใดด้านหนึ่งมากกว่าอีกด้านหน่ึงอาจจะทาให้เกิดผล เสียได้ ดังน้ันเราทุกคนควรใช้สมองท้ังสองซีก เมื่อเจอปัญหาการหาทางแก้ปัญหาเราใช้สมองซีกขวาใช้ จินตนาการในการหาหนทางแก้ปัญหา โดยคิดถึงผลท่ีได้โดยรวมซ่ึงคิดได้หลายวิธี แต่ในขณะเดียวกันเราก็ใช้ สมองซีกซ้าย เพราะว่าเราจาเป็นต้องรู้ว่าอะไรคือความจริงเพ่ือใช้ความสามารถในการวิเคราะห์และการ จัดการเพอื่ ใหส้ ามารถดารงชีวติ ไดอ้ ย่างมีความสุข ๕.๒.๔ ความสาคัญของความคดิ ความคิดเป็นธรรมชาติของมนุษย์ท่ีสาคัญท่ีสุดท่ีจะมีผลและรากฐานของการเปลี่ยนแปลงในชีวิต แตล่ ะบุคคลในการดาเนินงาน ของสังคม ถ้าคนแตล่ ะคนคดิ ดี คดิ ถกู ตอ้ ง คิดเหมาะสม การดาเนินชีวิตของ คน และความเป็นไปของสังคมก็จะดาเนินไปอย่างมีคุณค่าสูง ความคิดจึงเป็นเร่ืองสาคัญของมนุษย์ ความคิดเป็นสง่ิ จาเปน็ สาหรับการดารงชวี ิตในสงั คมทซ่ี ับซ้อน สังคมจะก้าวหน้าต่อไปได้ก็เมื่อบุคคลในสังคมมี ความคิด รู้จักคิดปูองกัน หรือคิดแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน และพัฒนาปรับปรุงภาวะต่างๆให้ดีขึ้น บุคคลท่ี เก่ียวข้องกับเด็กจึงต้องช่วยพัฒนาความสามารถในความคิดให้แก่เด็กอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้เป็นคนท่ีมี ความคิดกว้างไกล สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างราบร่ืน คนต้องคิดเป็น คนที่ไม่ชอบคิด หรือคิดไม่เป็น ย่อมตกเป็นเหยื่อของคนช่างคิด คนต้องอาศัยความคิดเป็นส่ิงนาไปสู่การดาเนินชีวิต การดาเนินงานที่มี ประสทิ ธิภาพและสัมฤทธิ์ผล ความคดิ เปน็ กระบวนการทางจิตใจมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ แม้ว่าทุกคนจะมีความคิดแต่ก็มองไม่ เห็นได้โดยตรง ต้องอาศยั การสงั เกตพฤตกิ รรม การแสดงออกและการกระทา ๕.๒.๔.๑ กระบวนการของความคิด

๑๐๐ ความคิดเป็นกระบวนการของจิตใจหรือกระบวนการทางสมอง ซึ่งมีความสาคัญต่อการ เรยี นรู้ ความคิดไมม่ ีขอบเขตจากัด กระบวนความคิดของมนุษย์เปน็ กระบวนการท่ีมขี ั้นตอนที่เริ่มจากสิ่งเร้ามา กระตุ้นทาให้จิตใส่ใจกับสิ่งเร้า และสมองนาข้อมูล หรือความรู้ที่มีอยู่มาประมวล เพื่อให้ได้ผลของความคิด ออกมา เหตขุ องความคิด ต้นเหตุของความคดิ คอื สิ่งเรา้ ท่เี ปน็ ปัญหา หรอื สิง่ เร้าท่ีเป็นความต้องการ หรือสิ่งเร้า ทช่ี วนสงสัย ซึ่งมีรายละเอยี ดดงั น้ี สิ่งเรา้ ทเ่ี ปน็ ปัญหา เปน็ สิ่งเรา้ ประเภทสถานการณ์ เหตกุ ารณ์ หรือสภาวะที่มากระทบแล้ว จาเป็นต้อง คดิ ( Have to think) เพื่อกระทาส่งิ หน่งึ ส่งิ ใดที่จะทาใหป้ ญั หานน้ั ลดไปหรอื หมดไป สิ่งเร้าที่เป็นความต้องการ เป็นความต้องการส่ิงท่ีดีขึ้นกว่าเดิมในแง่ต่าง ๆ เช่น ต้องการลดต้นทุนใน การผลิตสินค้า ต้องการทางานโดยใช้เวลาน้อยลง ต้องการความปลอดภัยมากขึ้น จึงต้องการความคิด (Want to think ) มาเพอื่ ทาให้ความต้องการหมดไป ส่งิ เรา้ ทช่ี วนสงสัย เป็นส่ิงเร้าแปลก ๆ ใหม่ ๆ ที่มากระตุ้นให้สงสัย อยากรู้ ซึ่งในสภาพการณ์เดียวกัน สิ่งเร้าเดยี วกัน บางคนอาจไมอ่ ยากรู้ก็ไมเ่ กดิ ความคิด แต่บางคนก็อยากรู้ซึ่งอาจเกิดจากบุคลิกภาพประจาตัวท่ี เป็นคนช่างคิด ช่างสงสัย ทาให้ต้องการคาตอบเพ่ือตอบข้อสงสัย น้ัน ๆ ซึ่งลักษณะเช่นนี้ควรได้รับการฝึกฝน และพัฒนาตอ่ ๆ ไป ผลของความคิด คือคาตอบหรือวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อนาไปแก้ปัญหาท่ีพบ หรือเพ่ือให้ความ ต้องการ หรือความสงสยั ลดลง หรอื หมดไป ผลของความคดิ ไดแ้ ก่ คาตอบของปัญหาที่พบ หรือคาตอบที่สนองต่อความต้องการของตน ซึ่งรวมไปถึงวิธีการในการ แกป้ ญั หา ข้นั ตอนในการปฏบิ ัตงิ าน เพอื่ ให้ได้คาตอบนั้น ๆ แนวคิด ความรู้ ทางเลือก และสิ่งประดิษฐ์ ซ่ึงเป็น ส่ิงใหม่ ๆ ๕.๒.๔.๒ ปจั จัยพนื้ ฐานของความคิด ปจั จัยพื้นฐานของความคิดประกอบด้วย ๓ องคป์ ระกอบท่สี าคัญ คือ ๑. คณุ ลกั ษณะของผคู้ ดิ การทมี่ นุษย์เรามสี ามารถ ในความคิดท่ีแตกต่างกัน ต้องอาศัยปัจจัย ที่เปน็ พ้นื ฐานเริ่มจากตัวผู้คิดเองจะต้อง มคี ุณลักษณะ ที่เอื้อต่อความคิดได้แก่ ความปกติของสมอง ความมีวุฒิ ภาวะทางอารมณ์ และอาศัยขอ้ มูลทม่ี อี ยู่ ประสบการณต์ า่ งๆ ที่ผ่านมาแลว้ ๒. ส่ิงเรา้ เป็นตัวกระตนุ้ ให้ผคู้ ิดเกดิ ความสนใจเอาใจใส่ สงั เกต พจิ ารณาไตรต่ รอง เพอ่ื ให้เกดิ กระบวนความคดิ ความคิดจะเกดิ ขน้ึ เม่ือประสาทรับรไู้ ด้รับ การกระตนุ้ จากสง่ิ เรา้ ซ่งึ สมองจะเลือกรบั รูส้ ิ่งที่มา กระต้นุ นนั้ สงิ่ เร้าที่เกิดข้ึนอาจเปน็ สภาพแวดลอ้ มต่างๆ ท่ีไดจ้ าก คน สัตว์ สง่ิ ของความตอ้ งการและเหตุการณ์ ๓. สอื่ และอุปกรณ์สาหรับช่วยคิด จินตนาการตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีช่วยสนับสนุนให้เกิด ความคิดขึ้นมา เช่น รูปทรงของเรขาคณิต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็น การสนับสนุน ทางด้านที่ทาให้เกิด ทักษะความคดิ เปน็ ตน้ ในขณะท่ีคดิ เครื่องมอื ท่ใี ช้ในความคิดของมนษุ ยป์ ระกอบดว้ ย ๓ ส่วน คอื ๑. ภาพพจนใ์ นความคดิ ๒. ภาษา ๓. สญั ลักษณ์ ภาพพจน์ เป็นสิ่งท่ีเกิดแทนวัตถุต่างๆ หรือแทน ประสบการณ์ของผู้คิดซึ่งอาจจะเกิดขึ้นทางตาหรือ ทางหู

๑๐๑ ภาษา เปน็ สง่ิ สาคัญของกระบวนความคิดการแกป้ ญั หา เพราะภาษาเปน็ สอ่ื กลางความคิดของมนษุ ย์ สัญลักษณ์ ส่ิงท่ีใช้เป็นเคร่ืองหมายหรือตัวแทนวัตถุเหตุการณ์ และการกระทาต่างๆ เช่น สัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์กริยาทา่ ทาง การพยกั หน้า การส่นั หน้า ๕.๓ ประเภทของความคิด ความคิดของคนเราย่อมแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นประจาวันตลอดจน สภาพแวดลอ้ ม จึงจดั ประเภทของความคดิ ไวอ้ ย่างเป็นหมวดหมู่ ดังตอ่ ไปน้ี ๕.๓.๑ แบ่งตามขอบเขตความคิด ๑. ความคดิ ในระบบปิด คือ ความคดิ ทีม่ ีขอบเขตจากดั มแี นวความคดิ ไม่เปลี่ยนแปลง ๒. ความคิดในระบบเปิด เป็นความคิดในขอบเขตของความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคล ซงึ่ แตกต่างกนั ตามส่งิ แวดล้อมและประสบการณ์ ๕.๓.๒ แบ่งตามความแตกต่างของเพศ ๑. ความคิดแบบวิเคราะห์ (Analytical Style ) เป็นความคิดโดยอาศัยสิ่งเร้าที่เป็นจริงเป็น เกณฑ์ ความคิดแบบนี้เป็นความคิดของผู้มีอารมณ์ม่ันคง มองส่ิงต่างๆ โดยไม่ถือเอาความคิดของตนเป็นใหญ่ เป็นความคิดซ่ึงเป็นพน้ื ฐานของความคิดแบบวิทยาศาสตร์ เปน็ ลกั ษณะความคิดของผู้ชายเป็นสว่ นใหญ่ ๒. ความคิดแบบโยงความสัมพันธ์ (Relational Style) เป็นความคิดท่ีเกิดจากการมองหา ความสัมพนั ธข์ องส่ิงเรา้ ตัง้ แต่ ๒ ชนิดข้ึนไป โดยสัมพันธ์กันทางด้านหน้าที่ สถานท่ีหรือกาลเวลา เป็นความคิด ท่สี ัมพันธ์กบั อารมณ์ มกั ยึดตนเองเปน็ ใหญ่ เป็นความคิดของผหู้ ญงิ ๕.๓.๓ แบง่ ตามความสนใจของนักจิตวิทยา ๑. ความคิดรวบยอด (Concept ) เป็นความคิดได้จากการรับรู้โดยจัดเอาของอย่างเดียวกัน ไวด้ ้วยกัน มกี ารเปรียบเทียบลกั ษณะ ท่เี หมอื นและแตกตา่ งกัน ๒.ความคิดหาเหตุผล (Reasoning) ความคิดหาเหตุผลแบบนี้เป็นความคิดทางวิทยาศาสตร์ และจะต้องมีการทดสอบก่อน ดังนั้นความคิดหาเหตุผลจะต้องเร่ิมต้นจากการตั้งสมมติฐานและการทดสอบ สมมติฐานเสมอ ๓. ความคิดสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) เป็นความคิดเพ่ือสร้างส่ิงใหม่ๆ ขึ้นมาโดยอาศัย การหยั่งเห็นเป็นสาคัญ หรือเป็นการค้นหา ความสัมพันธ์ใหม่ๆ ระหว่างสิ่งต่างๆ ทาให้สามารถแก้ปัญหา คิด ประดิษฐเ์ คร่ืองมอื หรอื คดิ หาวิธีการใหม่ๆ มาแกป้ ญั หา ๕.๓.๔ แบง่ ตามลกั ษณะทว่ั ๆไป ๑. ความคิดประเภทสัมพันธ์ (Associative Thinking) เป็นความคิดที่ไม่มีจุดมุ่งหมายแต่เกิด จากสง่ิ เร้ามากระตนุ้ ใหเ้ กดิ สัญลักษณ์ในสมอง แทนเหตกุ ารณ์หรอื วตั ถตุ ่างๆ มี ๕ ลักษณะ คือ ๑.๑ การสร้างวิมานในอากาศ (Day Dreaming) เป็นความคิดเพ้อฝันในขณะท่ียัง ต่นื อยู่ ฝนั โดยร้ตู ัว เชน่ ขณะทีก่ าลังนง่ั เรียนอยู่ นักศกึ ษาอาจคดิ ฝนั ไปว่าตนเองกาลงั เดินเล่นตามชายหาด

๑๐๒ ๑.๒ การฝนั (Night Dreaming) เป็นการฝนั โดยไมร่ ้ตู วั มกั เกดิ ในขณะหลบั เช่น ฝัน ถึงเรื่องราวต่าง ๆ ซึ่งบางเรื่องเก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีพบในเวลากลางวัน บางเรื่องเป็นเรื่องท่ีติดค้างอยู่ในใจ เมื่อ ต่นื ขึ้นบางทอี าจจาความฝนั ได้หรอื บางทกี ็จาไม่ได้ ๑.๓ ความคดิ เกี่ยวกับเร่อื งสว่ นตวั (Autistic Thinking) ๑.๔ ความคิดท่ีเป็นอิสระ (Free Association) เป็นความคิดที่ไม่มีจุดมุ่งหมาย เม่ือเกิดขึ้นแล้วจะทาให้คิดถึงเร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ ความคิดประเภทนี้ ซิกมันด์ ฟรอยด์นามาใช้โดยใหค้ นไข้โรคประสาทได้ระบายความปรารถนาหรือปัญหา ซึ่งอยู่ในระดับจิตใต้สานึก เพ่ือ จิตแพทย์จะไดใ้ ช้เป็นขอ้ มูลสาหรับวิเคราะห์และหาทางแก้ไขปญั หาใหก้ บั คนไข้ สาหรับวิธกี ารให้คนไข้คิดแบบ อิสระนี้ จิตแพทย์จะใหค้ นไขไ้ ด้ผอ่ นคลายความตึงเครียดเสียก่อน โดยให้นอนพักผ่อนบนเก้าอ้ีนอนแล้วจึงให้ พูดเล่าเร่ืองและเหตุการณต์ า่ ง ๆ ตลอดจนความฝันท่ีเกิดขึ้น จิตแพทย์จะพยายามค้นหาความปรารถนาหรือ ความต้องการ และปัญหาของคนไข้จากสงิ่ ท่เี ขาพดู ใหฟ้ ัง น่นั เอง ๑.๕ ความคิดท่ถี ูกควบคุม (Controlled Thinking) ๒. ความคิดโดยตรงท่ีใช้ในการแกป้ ัญหา (Directive Thinking) มี ๒ แบบ คือ ๒.๑ ความคิดเชิงวิจารณ์ (Critical Thinking) เป็นความคิดพิจารณาข้อเท็จจริง ต่างๆ หรือสภาพการณต์ ่างๆ วา่ ถูกหรือผิด ใช้เหตุผลประกอบ คือ มีการพิจารณาว่าอะไรเป็นเหตุอะไรเป็นผล ซ่ึงจาแนกเปน็ ๒ ประเภท คือ ก. Deductive Thinking เป็นการพิจารณาเหตุผลจากเร่ืองทั่วไปนาไปสู่ เรื่องเฉพาะและทาการสรปุ ข. Inductive Thinking เป็นการพิจารณาจากเหตุผลย่อยๆนามาสรุป เปน็ เร่ือง ๒.๒ ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นความคิดพิจารณาถึงสิ่งใหม่ๆว่า มีความสมั พนั ธ์กับการแก้ปัญหามากน้อยเพียงใด รวมทั้งความสามารถในความคิดและแสดงออกของความคิด ท่แี ปลกๆใหม่ๆก็ได้ ๕.๔ ลกั ษณะตา่ งๆของความคิด ลกั ษณะความคดิ หมายถึง แบบแผนในความคิด ลักษณะความคิดแบบใดแบบหน่ึงจะมีแบบแผนหรือ กระบวนการ หรือขัน้ ตอนในความคิดท่ีเป็นเอกลกั ษณข์ องตนซง่ึ มุ่งเนน้ มาตรฐานของความคิด ทิศนา แขมมณี และคณะได้เสนอ ๙ ลักษณะความคดิ ทค่ี วรพฒั นา ได้แก่ ๕.๔.๑ คดิ คล่อง ( liquidity think ) เพื่อใหไ้ ด้ความคิดจานวนมากและคดิ ได้อย่างรวดเร็ว ๑. วิธีคิด ๑.๑ คดิ เก่ียวกบั เร่ืองท่ีคิดให้ได้จานวนมากและอยา่ งรวดเร็ว ๑.๒ จัดหมวดหมขู่ องความคดิ ๒. เกณฑ์ความสามารถในความคดิ คล่อง ๒.๑ สามารถบอกความคดิ ได้จานวนมาก ๒.๒ สามารถบอกความคิดไดจ้ านวนมาก และในเวลาท่ีรวดเร็ว ๒.๓ สามารถจัดหมวดหม่ขู องความคดิ ได้

๑๐๓ ๕.๔.๒ คดิ หลากหลาย ( various ideas ) เพ่อื ให้ได้ความคิดท่ีมลี ักษณะหรือรปู แบบตา่ งๆกัน ๑. วิธีคิด ๑.๑ คดิ เกย่ี วกบั เรอ่ื งท่ีคดิ ให้ได้รูปแบบ/ลกั ษณะ/ประเภททหี่ ลากหลายแตกต่างกนั ๑.๒ จัดหมวดหมูข่ องความคดิ ๒. เกณฑค์ วามสามารถในการ คิดหลากหลาย ๒.๑ สามารถให้ความคดิ ท่มี ลี กั ษณะ/รปู แบบ/ประเภททีห่ ลากหลาย ๒.๒ สามารถจดั หมวดหม่ขู องความคดิ ได้ ๕.๔.๓ คิดละเอียด( profile think )เพ่ือให้ความคิดที่ผ่านการพิจาณาถึงรายละเอียดของสิ่ง นน้ั ๑. วธิ คี ดิ ๑.๑ คดิ ใหไ้ ด้รายละเอียดหลกั ทีเ่ กยี่ วข้องกับเรื่องที่คิด ๑.๒ คดิ ใหไ้ ดร้ ายละเอยี ดย่อยทเี่ กย่ี วข้องกับเร่อื งทคี่ ิด ๒. เกณฑ์ความสามารถในความคดิ ระเอียด ๒.๑ สามารถให้รายละเอยี ดหลกั เกยี่ วกบั เร่อื งท่คี ิดได้ ๒.๒ สามารถใหร้ ายละเอียดยอ่ ยเกยี่ วกบั เรอื่ งท่คี ดิ ได้ ๕.๔.๔ คิดชัดเจน ( clear thinking ) เพ่ือให้ความรู้ว่าความคิด/ความรู้ของคนส่วนไหนท่ีตน ยังไมเ่ ขา้ ใจ/สงสัย/และส่วนไหนที่ตนเขา้ ใจสามารถอธิบายได้ ๑. วธิ ีคิด ๑.๑ พิจารณาถงึ ทคี่ ิดแลว้ หาว่า ก. ตนรู/้ เข้าใจอะไร ข. ตนเองไม่เข้าใจอะไร ๑.๒ ในสว่ นที่เขา้ ใจใหล้ องคดิ อธบิ ายขยายความดว้ ยคาพูดของตน ๒. เกณฑแ์ ละความสามารถในความคดิ ชดั เจน ๒.๑ สามารถบอกได้ว่าในเร่ืองท่ีคิด ตนเองรู้/เข้าใจอะไรบ้างและไม่รู้/เข้าใจ อะไรบ้าง ๒.๒ สามารถอธิบาย ขยายความหรือยกตวั อยา่ ง ในเรอ่ื งทีต่ นเองร/ู้ เขา้ ใจได้ ๕.๔.๕ คิดอย่างมีเหตุผล ( rationally think ) เพ่ือให้ได้ความคิดที่สามารถอธิบายได้ด้วย หลกั ของเหตุผล ๑. วิธีคิด ๑.๑ จาแนกข้อมูลทเ่ี ป็นขอ้ เท็จจรงิ และความคดิ เหน็ ออกจากกนั ๑.๒ พจิ ารณาเร่อื งท่ีคดิ บนพ้นื ฐานของขอ้ เท็จจรงิ โดยใช้หลกั เหตผุ ล ก. แบบนริ นยั คอื คดิ จากหลกั การท่ัวไปไปสขู่ อ้ เทจ็ จริงย่อยๆ ข. แบบอปุ นัยคอื คิดจากขอ้ เท็จจริงย่อยๆไปสหู่ ลักการทว่ั ไป ๒. เกณฑ์ความสามารถในความคิดอยา่ งมีเหตผุ ล ๒.๑ สามารถแยกข้อเทจ็ จรงิ และความคิดเหน็ ออกจากกนั ได้

๑๐๔ ๒.๒ สามารถใช้เหตุผลแบบ นริ นยั หรืออปุ นัยในการพจิ ารณาขอ้ เทจ็ จริง ๒.๓ สามารถใชเ้ หตุผลทัง้ แบบ นริ นยั หรอื อปุ นยั ในการพจิ าณา ข้อเทจ็ จรงิ ๕.๔.๖ คิดถูกทาง ( Just begin ) เพอ่ื ให้ได้ความคดิ ทเ่ี ป็นประโยชนใ์ นทางทดี่ ีตอ่ สงั คม ๑. วิธคี ดิ ๑.๑ ตั้งเปูาหมายของความคิดไปในทางที่จะเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากว่า ประโยชน์ส่วนตวั ๑.๒ คิดถึงประโยชนร์ ะยะยาวมากกวา่ ประโยชน์ระยะสั้น ๒. เกณฑ์ความสามารถในความคดิ ถูกทาง ๒.๑ เกณฑ์ประโยชน์ส่วนตนสว่ นรวม ก. เกดิ ประโยชน์แกต่ นเอง โดยไม่กอ่ ความเดอื ดร้อนแก่ผูอ้ ื่น ข. เกดิ ประโยชน์ท้ังแกต่ นเองและผอู้ ื่น ค. เกดิ ประโยชนแ์ กต่ นเองและผอู้ ืน่ โดยเน้นสว่ นรวมเปน็ สาคญั ๒.๒ เกณฑป์ ระโยชนร์ ะยะสนั้ ระยะยาว ก. เกดิ ประโยชน์ระยะสั้น ข. เกิดประโยชน์ระยะยาว ๕.๔.๗ คดิ กวา้ ง ( broad idea ) เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลเก่ยี วกับเรอ่ื งทีค่ ิดอย่างครอบคลุม ๑. วิธีคิด ๑.๑ คดิ ถงึ องค์ประกอบที่เก่ียวข้องกับเรื่องที่คิดให้ครอบคลุมสิ่งที่มีความสาคัญหรือ มีอทิ ธิพลตอ่ เร่ืองท่ีคดิ ๑.๒ คดิ ถึงความสาคญั ขององค์ประกอบแตล่ ะองค์ประกอบที่มีต่อเรื่องทคี่ ิด ๑.๓ คิดถงึ จุดสาคัญทั้งท่ีเป็นจุดเด่น จุดด้อย และจุดท่ีน่าสนใจขององค์ประกอบท่ีมี ความสาคัญตอ่ เร่ืองทคี่ ิด ๒. เกณฑ์ความสามารถในความคดิ กวา้ ง ๒.๑ สามารถระบุองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองท่ีคิดได้ครอบคลุมส่ิงที่มี ความสาคญั หรอื มีอิทธิพลต่อเร่อื งทีค่ ดิ ๒.๒ สามารถระบุได้ว่าองค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องกับเรื่องที่คิดมี ความสาคัญมากน้อย เพียงใดตอ่ เรื่องท่คี ดิ ๒.๓ สามารถวิเคราะห์จุดสาคัญท้ังท่ีเป็นจุดเด่น จุดด้อยและจุดที่น่าสนใจของ องค์ประกอบสาคัญทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับเรื่องทคี่ ดิ ๕.๔.๘ คิดลึกซ้ึง ( pensive ) เพ่ือให้เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริงในสิ่งที่คิด โดยเข้าใจถึงความ ซับซอ้ นของโครงสรา้ ง และระบบความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุ ในโครงสร้างนั้น รวมท้ังความหมายหรือคุณค่าของ สิง่ ทคี่ ิด ๑. วธิ คี ดิ ๑.๑ วิเคราะห์ให้เห็นองค์ประกอบหลักและองค์ประกอบย่อยท่ี โยงใยและสัมพันธ์ กันอยา่ งซบั ซอ้ น จนประกอบกนั เป็นโครงสรา้ ง หรือภาพรวมของส่งิ น้นั

๑๐๕ ๑.๒ วิเคราะหใ์ หเ้ ข้าใจถึงระบบความสมั พนั ธเ์ ชงิ สาเหตุที่อยภู่ ายในโครงสรา้ งนัน้ ๑.๓ วเิ คราะห์ถึงสาเหตุของปัญหาหรอื ความหมายหรือคณุ ค่าท่ีแทจ้ รงิ ของสิ่งทีค่ ดิ ได้ ๒. เกณฑ์ความสามารถในความคดิ ลึกซ้ึง ๒.๑ สามารถอธบิ ายโครงสรา้ งและความสมั พันธข์ ององค์ประกอบต่างๆในโครงสร้าง ของเรอื่ งท่ีคิดได้ ๒.๒ สามารถบอกสาเหตุของปัญหาหรือความหมายหรือ คุณค่าท่ีแท้จริงของสิ่งท่ี คิดได้ ๕.๔.๙ คิดไกล ( So think ) เพื่อให้ได้ความคิดที่เช่ือมโยงไปในอนาคต สามารถนาไปใช้ในการ วางแผนและเตรยี มการเพอื่ อนาคตท่ดี ี ๑. วธิ คี ิด ๑.๑ นาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองท่ีคิดท้ังทางกว้างและทางลึกมาวิเคราะห์ ความสมั พนั ธ์เชิงสาเหตุ ๑.๒ ทานายความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยต่างๆอย่างต่อเนื่องเป็นชั้น ๆไปโดย อาศัยขอ้ มลู และข้อเท็จจริงตา่ งๆเป็น ฐานในการทานาย ๒. เกณฑ์ความสามารถในการ คดิ ไกล ๒.๑ สามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตขุ องปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ เร่ืองที่คิดทั้ง ทางกวา้ งและทางลึก ๒.๒ สามารถใช้ข้อมูลและข้อเท็จจริงต่าง ๆทานายความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ ปจั จัยต่างๆท่เี กี่ยวขอ้ ง กบั เรอ่ื งท่ีคดิ ท้งั ทางกวา้ ง และทางลึก การคิดของมนุษย์มีมากมายหลายรูปแบบที่มีลักษณะที่แตกต่างกันข้ึนอยู่กับระดับความคิดของแต่ละ บคุ คล ซง่ึ ลกั ษณะของการคดิ นั้นมนี ักวิชาการหลายท่านได้ใหค้ วามหมาย ดังน้ี กลุ ยา ตนั ติผลาชีวะ๙๔ กลา่ ววา่ การคดิ มหี ลายรูปแบบ และมลี ักษณะทแี่ ตกต่างกนั ไป ดังน้ี การคิดอเนกนัยหรือนิรนัย (Divergent thinking) หมายถึงความสามารถในการผลิตวิธีการแก้ปัญหา ได้อยา่ งหลากหลายในการแสดงออกของเด็กในการคดิ จะปรากฏแบบอเนกนยั ร่วมกับการคดิ อื่นๆด้วยเสมอ การคิดเอกนัย (Convergent thinking) เป็นความคิดด่ิงเดียว แง่มุมเดียว หาคาตอบเพียงคาตอบ เดียว ทีถ่ กู ตอ้ งตามสภาพข้อมูลเพยี งข้อเดยี ว การคดิ สร้างสรรค์ (Creative thinking) เป็นกระบวนการทางานของสมองท่ีคิดในลักษณะอเนกนัย ท่ี ทาให้เกดิ การค้นพบสิง่ แปลกใหม่ ด้วยการดัดแปลง ปรุงผสมผสานรวมถึงการประดิษฐ์และค้นพบสิ่งต่างๆเป็น การคิดท้ังเหตุผล และจินตนาการจนเกิดผลงานมีองค์ประกอบสาคัญ ๔ ประการ คือ ความคิดริเร่ิม ความคิด คลอ่ งแคล่ว ความคดิ ยดื หยนุ่ ความคดิ ละเอยี ดลออ การคิดแบบอุปมาน (Inductive thinking) เป็นการคิดโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศต่างๆ มาประมวล สรุปเป็นกฎหรือหลักการ เป็นการคิดที่ใช้เหตุผลในการไตร่ตรอง สิ่งที่เกิดในเหตุการณ์หรือเร่ืองอย่างเดียวกัน หลายๆครงั้ แล้วจงึ สรปุ ความโดยการสงั เกตจากสง่ิ ท่สี ัมพันธก์ ันท่ีมคี วามเหมือน ๙๔ กลุ ยา ตนั ตผิ ลาชีวะ, เทคนิคการสรา้ งเสริมปัญญาเด็กปฐมวัย, วารสารการศึกษาปฐมวยั ๑(๑): (๒๕๔๘), หนา้ ๓๒-๓๕.

๑๐๖ การคิดแบบอนุมาน (Deductive thinking) เปน็ การคดิ จากกฎ หลักการ หรือส่ิงท่ีกาหนดไว้ก่อนแล้ว มาเป็นข้อสรุป เป็นการประยุกต์ใช้หลักการท่ัวไปกับกรณี เป็นการสรุปจากเหตุการณ์ท่ัวไปกับกรณีเฉพาะ เป็นการสรปุ จากเหตผุ ลทเ่ี ป็นหลกั การมาก่อนความเป็นจรงิ การคิดอย่างมีวิจารณาญาณ (Critical thinking) เป็นการคิดเชิงวิเคราะห์ เพ่ือค้นหาหลักเกณฑ์แล้ว มาเปน็ แนวทาง ท่ีนาไปสู่การสรปุ เป็นลกั ษณะของการคิดเชิงเหตผุ ลอย่างหนึ่ง เป็นกระบวนการทางสติปัญญา ท่ใี ช้การประยกุ ต์ ไตรต่ รองหาเหตุผลเพือ่ นาไปสู่การตัดสินใจอย่างถูกต้องเหมาะสม การคิดเชิงเหตุผล (Logical thinking) เป็นกระบวนการทางสมองที่นาเอาความรู้ ข้อเท็จจริง และ ประสบการณ์มาวิเคราะห์เรื่องราวต่างๆที่นามาตัดสินใจหรือแก้ปัญหา และประเมินได้ถึงความพอใจและการ ยอมรับการตดั สินใจในคร้ังนั้นถงึ ความพอใจและการยอมรบั การตดั สนิ ใจในครั้งนัน้ ถึงเหตผุ ลต้องอาศัยหลักการ หรอื ขอ้ เทจ็ จริงทถ่ี ูกตอ้ ง สนับสนุนอยา่ งเพียงพอ ๕.๕ การพฒั นาทักษะกระบวนการทางความคดิ การคิดเป็นการสร้างองค์ความรู้ในตนเพราะสามารถริเร่ิม คิดคล่อง คิดยืดหยุ่นและคิดละเอียดลออ ซ่ึงวิธีการพัฒนาทักษะการคดิ มีหลักการดังนี้ ๕.๕.๑ หลกั การสง่ เสรมิ การคิด มอสรอสัน๙๕ กล่าวว่า การคิดเป็นทักษะที่ฝึกได้ สอนได้มีหลายกระบวนการที่จะพัฒนาทักษะการคิด ของเด็ก มอรสิ นั ได้เสนอวิธีการสง่ เสรมิ การคิดไว้ดงั น้ี ๑. ให้อสิ ระเด็กและความปลอดภัยแก่เดก็ ในการเป็นนักคิดสรา้ งสรรค์ ๒. กระตุ้นและให้กาลังใจเด็กในการค้นหาคาตอบในการแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ไม่ใช่หาแต่เฉพาะ คาตอบทถี่ ูกเพียงคาตอบเดียว ๓. สรา้ งวัฒนธรรมชน้ั เรียนทีท่ าให้เดก็ มีเวลา มีโอกาสและมีอปุ กรณใ์ นการสร้างสรรคส์ ่งิ ต่างๆ ๔. บูรณาการการคดิ ในทุกหลักสตู รทเี่ ดก็ เรยี นตลอดช่วงเวลาแห่งการเรียนท่ีโรงเรียนส่ิงที่ครูและผู้ฝึก เด็กให้พัฒนาทักษะการคิดส่ิงหน่ึงต้องรับรู้ คือ พัฒนาการคิดของเด็กแต่ละช่วงวัยว่าไม่เท่ากัน ข้อสาคัญเด็ก อาจคิดได้ทั้งทางบวกและทางลบ การฝึกคิดจึงต้องเน้นท่ีสอนคิดเชิงบวก เป็นการสอนและเตรียมให้เด็ก ไม่ เพียงแต่รู้จักคิดแต่ยังช่วยให้เด็กรู้สึกต่อสังคมในทางดีและมีความสุข การสอนให้เด็กได้คิดเชิงบวก อาจทาได้ หลายวธิ ีและมีผลดหี ลายประการ ข้อดีที่น่าสนใจคือ การสอนให้เกิดความคิดในทางบวกหรือคิดสร้างสรรค์นั้น เป็นการอบรมบ่มนิสัยให้เป็นคนดี มองโลกในแง่ดี มิใช่การสอนเพื่อให้อ่านออก เขียนได้เพียงอย่างเดียว แต่ เป็นการสอนให้เป็นคนท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจอย่างแท้จริง เด็กควรได้รับการปลูกฝังที่จะทาให้คนอ่ืน รู้สึกสบายใจ เช่น ให้แสดงความคิดเห็นทางบวก ช่วยเหลือคนอื่น ข้อสาคัญตัวครูเองต้องแสดงความคิดเห็น เป็นตัวอย่างในการคิดเชิงบวกด้วย การฝึกทักษะเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องฝึกประจาสาหรับเด็กปฐมวัย การใช้ คาถามปลายเปดิ การใช้สื่อปลายเปดิ ในการเรยี นรจู้ ะเป็นตัวกระตุ้นการคิดที่สาคัญสาหรับเดก็ นอกจากน้ี กลุ ยา ตันตผิ ลาชวี ะ๙๖ กล่าววา่ การคดิ เปน็ สิง่ ที่ต้องสร้างเสริมและพัฒนา เพราะหมายถึง การสร้างความงอกงามทางปัญญา การสอนให้เด็กคิด สามารถทาได้ทุกโอกาส โดยเฉพาะการสร้างสรรค์ ซึ่ง ๙๕ กลุ ยา ตันตผิ ลาชีวะ; (๒๕๔๘), หน้า ๓๕. อา้ งอิงจาก Morrison, 2003 หน้า 260.

๑๐๗ เป็นความสามารถของการมีความคิดใหม่ ๆ การจินตนาการและสร้างข้ึนมาด้วยการเป็นผู้ริเร่ิมด้วยตนเอง รวมถึงการปรับปรุงความคดิ เดมิ ท่มี ีอย่ใู หก้ า้ วหน้าดว้ ยการเป็นผู้ประดิษฐ์ ผู้ออกแบบหรือผู้สร้างข้ึนมา เรียกว่า เป็นผู้สร้างสรรค์ลักษณะของคนท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ คือ ตื่นตัว สามารถใช้สมาธิในการคิดสืบค้น รายละเอยี ด ไวต่อปัญหา มองการณไ์ กล เป็นตวั ของตัวเอง รักท่ีจะกา้ วไปขา้ งหน้าและคิดคล่องแคล่ว อารี พันธม์ ณี๙๗เดก็ ปฐมวัยสามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์โดยผู้ใหญ่ให้โอกาส แก่เด็ก ได้ประดิษฐ์ คดิ ค้นทา ดดั แปลงจากสิง่ ของที่มีอยู่ เดก็ ที่สรา้ งสรรค์จะพอใจและยินดีกับความสาเร็จของตน มีกิจกรรมหลาย กิจกรรมที่พฒั นาความคดิ ซึ่งผ้ใู หญ่ควรนามาใชอ้ ย่างต่อเนื่อง การสอนการคิดให้กับเด็กปฐมวัย ลาดับแรก คือ ตอ้ งเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ มสี ว่ นร่วม คาดการณ์และมีพฤติกรรมสืบค้นด้วยการให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง การเปิด โอกาสให้เด็กได้ใช้กลไกสัมผัส จากกิจกรรมที่กระตุ้นท้าทายให้เด็กเกิดการค้นคว้าและจินตนาการ ผู้มีทักษะ การคิดสว่ นใหญม่ กั ไดร้ บั การฝึกฝน อาจเปน็ การฝึกฝนโดยพ่อแม่ ครูอาจารย์หรือเกิดจากการฝึกฝนตนเองจาก สภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ อรพรรณ พรสีมา๙๘ประสบการณ์เป็นสิง่ สร้างให้เด็กเกิดความคิด การถ่ายทอดความรู้หรือการส่ังสอน ไม่ได้เป็นสิ่งท่ีบอกให้เด็กคิด แต่การคิดต้องเกิดจากการให้โอกาสเด็กแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ มีการ ตัดสนิ ใจอย่างไตร่ตรองหรือกลา้ แสดงออกของความคดิ เดก็ ควรได้รบั การสนับสนุนให้คิดและฝึกคิด โดยเฉพาะ การคิดระดับพื้นฐาน จาเป็นสาหรับเด็กทุกคน โดยเฉพาะปฐมวัยและประถมศึกษาเพ่ือฝึกให้คิดคล่อง คิด หลากหลาย ละเอียดลออและชัดเจน ความคิดมีหลายประเภท ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา การคิดเชิงเหตผุ ล การคิดแบบนริ นยั หรือการคิดแบบอปุ มัย ลักษณะของการคิดต่าง ๆ สามารถฝึกให้กับเด็กได้ วธิ ีสอนใหเ้ ดก็ ปฐมวัยคิดมีดังน้ี ๑. ฝึกการแก้ปัญหา ในการเรียนการสอน ครูต้องตั้งประเด็นปัญหาให้เด็กคิดและหาข้อสรุปอย่าง สม่าเสมอและเปิดโอกาสใหเ้ ดก็ คดิ แก้ปญั หาดว้ ยตนเอง ๒. ฝึกใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นการฝึกให้เด็กเรียนรู้ปัญหา ต้ังสมมติฐาน ทดสอบและ หาข้อสรุป ๓. ฝกึ การสบื คน้ เปน็ กระบวนการจัดประสบการณท์ ่ใี หเ้ ดก็ ค้นหาคาตอบด้วยตนเอง ๔. ฝึกทักษะพื้นฐานการคิดเชื่อมโยงและเหตุผล เป็นการจัดประสบการณ์ท่ีเน้น การสังเกต การจาแนก การจัดการสอื่ สาร การถ่ายโยงและการสรุป และ กุลยา ตันติผลาชีวะ๙๙ กล่าวว่า การคิดตามหลักการของเดอโบโน เน้นการสร้างสรรค์และการ สร้างความรู้ในตน เพราะสามารถทาให้คนคิดลื่นไหล คิดถี่ถ้วนและคิดได้กว้างขวางมากกว่าการคิดอย่างมี วิจารณญาณอย่างเดียว ซ่ึงในกลวิธีการท่ีจะพัฒนาทักษะการคิดน้ีมีหลักการ ๓ ประการ ซึ่งสามารถนามา พัฒนาเป็นหลักการสอนคิดสาหรับเด็กปฐมวัยได้โดยการทาให้ขั้นตอนง่ายขึ้น คนเราฝึกคิดได้ทุกอายุ แตล่ ะอายมุ วี ิธกี ารฝึกทแ่ี ตกต่างกัน ถา้ เปน็ การฝึกเดก็ ปฐมวัยให้คิด จะต้องใช้ขนั้ ตอนที่ง่าย เหมาะกับวัยโดยทา ใหเ้ ดก็ รู้สึกสนกุ กับการฝกึ และใช้ความคดิ ๙๖ กุลยา ตนั ตผิ ลาชีวะ, เทคนคิ การสรา้ งเสรมิ ปญั ญาเดก็ ปฐมวยั , วารสารการศกึ ษาปฐมวยั ๑(๑): (๒๕๔๐), หนา้ ๔๐-๔๑. ๙๗ อารี พันธ์มณี, คิดอย่างสร้างสรรค์, (กรุงเทพฯ: ตน้ ออ้ ๑๙๙๙ จากัด, ๒๕๔๓), หนา้ ๑๖. ๙๘ อรพรรณ พรสีมา, การคดิ , ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. (กรงุ เทพฯ: สถาบนั พัฒนาทักษะการคดิ , ๒๕๔๓), หน้า ๓๐. ๙๙ กลุ ยา ตนั ติผลาชวี ะ, การจดั กิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเดก็ ปฐมวัย, (กรงุ เทพฯ : เอดิสัน เพรส โปรดักส์ จากัด, ๒๕๔๗), หนา้ ๔๗-๔๘.

๑๐๘ ๑.การจงู ใจ การจงู ใจเปน็ หัวใจสาคญั ของการฝึกเด็กให้คิด การบอกเหตุผลถึงประโยชน์ของการฝึกคิด ไม่มีผลกับเด็ก เด็กไม่เข้าใจ แต่เด็กชอบที่จะมีการฝึกอย่างมีชีวิตชีวา สนุกและเพลิดเพลิน เหมือนกับการเล่น เกม เด็กสนกุ ทีจ่ ะคดิ จินตนาการ แตผ่ ลทตี่ ามมาคือการรบั รอู้ ยา่ งมีความหมาย อารมณ์ที่สบายจะไม่ไปรบกวน ความคดิ ของเดก็ ดังนน้ั การสอนใหเ้ ด็กคิดจึงตอ้ งทาให้เด็กสนกุ และเพลดิ เพลนิ กบั การคดิ โดยไม่รตู้ วั ๒.วธิ ีการฝึก ในการสอนและฝึกเด็กคิดนั้น ในข้ันการฝึกส่ิงท่ีครูจะต้องตระหนักถึงเปูาหมายที่ต้องการ เด็กต้องรู้เปูาหมายของการคิดจะทาให้เด็กสนุกกับการใช้ความคิด ดังนั้นครูต้องทาให้ส่ิงที่คิดน้ันง่าย ไม่ ซับซอ้ น หลกี เลี่ยงความสบั สน โดยต้องทาให้เด็กรู้อยู่เสมอว่า กาลังทาอะไรอยู่ เรื่องท่ีนามาให้เด็กฝึกคิดแต่ละ เร่ืองต้องง่ายและน่าสนใจ ให้เวลาคิดอย่างช้า ๆ และพยายามทาสิ่งที่คิดให้ง่ายเพ่ือช่วยให้เด็กคิดได้ดี ไม่ล้าง สมอง ในขณะเดียวกันครูต้องให้โอกาสหรือช่วยให้เด็กหาทางเลือกใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ใหม่และแนวคิด ใหมด่ ว้ ยวธิ กี ารสอนใหเ้ ด็กคดิ ทส่ี าคัญ คอื ๑) มีเปูาหมายความคดิ ๒) เคร่ืองช่วยคิด เช่น คาถามปลายเปิดประเดน็ ปัญหาสถานการณ์ การมีตัวอยา่ งและการ อภปิ ราย ๓) ผลลพั ธ์ทเี่ กดิ ขึ้นจากการคิดเพอ่ื เพิม่ พูนทักษะความคดิ ๔) ตอ้ งฝกึ ปฏบิ ตั หิ ลายๆ ครั้ง หลายสถานการณ์ เพ่ือการคิดทงี่ อกงามและมน่ั ใจวา่ มที ักษะ ความคดิ ๕) ใหฝ้ ึกทางอ้อมเป็นการซ้อมนอกเวลาเรียน ๖) ฝกึ ให้ปรับกลไกการคดิ วา่ เมอื่ ใดการคดิ นัน้ ต้องใชเ้ หตผุ ลและเมอ่ื ใดจะใชส้ ร้างสรรค์และ เมือ่ ใดจะใช้สรา้ งสรรค์และเมื่อใดต้องใชข้ ้อมลู สารสนเทศ ๗) ให้มกี ารทบทวนสะท้อนคิด (reflective) ตลอดเวลาทง้ั การคิดในแนวกวา้ งและใน รายละเอยี ด ๘) ฝึกการคิดในทางบวกทกุ ครง้ั ๓. การเสนอผลความคิด การคดิ เป็นการประมวลการรับรู้ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องเพ่ือสร้างเป็นองค์ความรู้ ในตนและการสรา้ งสรรคใ์ หเ้ กิดขน้ึ อย่าพยายามใหเ้ ด็กใช้ความคิดวิจารณญาณแต่เพยี งอยา่ งเดยี ว ต้องให้เด็ก มองข้อมูลท่ีนอกเหนือออกไปจากตน น่ันคือการปลดปล่อยจิตตน (Ego) จากความคิด แต่ให้มองการคิดของ ตนอย่างเข้าใจ คนไทยมักคิดโดยใช้จิตตนเสมอ การเสนอผลความคิดอาจแสดงออกมาด้วยคาพูด การ กระทาหรือผลติ ผลอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ กไ็ ด้ โกวิท ประวาลพฤกษ์๑๐๐กล่าววา่ การพัฒนาด้านความคดิ แบง่ องคป์ ระกอบ ๒ แนวทาง คอื ๑. โครงสร้างของความรู้ เป็นตัวความรู้เรียกว่า ปม จะอยู่ในรูปของความคิด รวบยอดของส่ิงต่าง ๆ ความคิดรวบยอดกระจายออกไป ๓ แนวทาง คอื ๑.๑ สภาพ ไดแ้ ก่ ของจริง ภาพและภาษา ๑.๒ ความซับซ้อนของปม คือ ปมเชิงซ้อนหรือปมคู่ เรียกว่า หลักการ มีปม ต้ังแต่ ๒ ตัวขึ้นไปมา สัมพันธ์กัน ๑.๓ ศักยภาพของปม คอื ปมนง่ิ เคล่อื นที่หรอื อยู่ในจินตนาการการเรียนรู้ที่ดี จะต้องใกล้เคียงกับส่ิงท่ี มีอยู่เดิม ๑๐๐โกวิท ประวาลพฤกษ์, รูปแบบการสอนคิด ค่านิยม จริยธรรมและทักษะการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนากระบวนการ คิด, (กรงุ เทพฯ: สานกั นายกรฐั มนตรี, ๒๕๔๐), หน้า ๒๐๘.

๑๐๙ ๒. กระบวนความคิด เร่ิมจากการรับ การค้นหา การเทียบ การปรับและการส่งออก การสอนควรให้ ผเู้ รยี นใชก้ ระบวนการน้เี ปน็ ข้ันตอน เรม่ิ ตงั้ แต่นาเสนอสงิ่ ใหม่ การใหน้ ักเรียนค้นหาสงิ่ เดมิ และเปรียบเทียบว่ามี อะไรเหมือน ไม่เหมือน ควรจะอยู่กลุ่มเดียวกันหรือคนละกลุ่ม การตอบสนองของนักเรียนทีละข้ัน ตอนนี้จะ สร้างความเป็นระบบในความคิดให้เกิดพัฒนาการทั้งกระบวนการและความรู้ แต่อย่าลืมว่าครูต้องให้การ เสรมิ แรงอยู่เสมอ ให้นักเรียนประสบผลสาเร็จ ทาได้และการกระตุ้นให้นักเรียนทาได้ก็อยู่ท่ีคาถามชี้นาของครู ใหเ้ ทยี บในลักษณะใด อรพรรณ พรสีมา๑๐๑กล่าวว่า ครูสามารถเลือกวิธีท่ีตนถนัดหรือสนใจเป็นพิเศษไปทดลองใช้กับ นกั เรียน เพอ่ื ใหง้ า่ ยแกก่ ารศึกษา ผู้เขียนได้กาหนดวิธีสอนคดิ ออกเปน็ ๒ ลกั ษณะใหญ่ ๆ คือ ๑.การสอนให้คดิ เปน็ โดยแทรกวิธกี ารคิดอยใู่ นการสอนวิชาต่าง ๆ ท่ีนักเรียน เรียนตามหลักสูตรปกติ ผู้สอนต้องจัดสภาพแวดล้อมท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นหาคาตอบด้วยตนเอง ผู้สอนควรใช้คาถามกระตุ้นให้ นกั เรียนใช้จนิ ตนาการ ได้คดิ ไดท้ ดลองปฏบิ ัติ รวมท้งั การศึกษาคน้ ควา้ จากตารา ๒. การสอนวิชาความคดิ เป็นวชิ าหน่งึ ในหลกั สูตร ในปัจจบุ นั หลกั สตู รของประเทศไทย ยังไม่มีการคิด ในระดับอนุบาล ประถมหรือมัธยม แต่เริ่มมีวิชาการคิดในระดับอุดมศึกษา บางแห่งการเรียนการสอนวิชาการ คิดควรเร่มิ ตั้งแต่เดก็ ๆ วชิ าการคดิ มีเปาู หมายเพ่ือพัฒนานักเรียนให้เข้าใจหลักการ กระบวนการคิดและฝึกฝน ทักษะที่จาเป็นสาหรับการคิดลักษณะต่าง ๆ ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาวิชาอ่ืนและการนาไปใช้ ในชีวิตประจาวัน การสอนท้ัง ๒ ลักษณะมีท้ังข้อดีและข้อจากัดต่างกัน การสอนคิดแทรกในวิชาอ่ืน ๆ ครูและ นักเรียนอาจกังวลกับเน้ือหาในหลักสูตรจนกลายเป็นการสอนจาหรือการสอนคิดระดับพ้ืนฐาน สามารถ เปล่ียนแปลงตามความสนใจของผู้เรียน ปัญหาก็คือ การขาดแคลนครูที่มีความสามารถในการสอนคิดและการ นาทักษะการคิดไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาวิชาต่าง ๆ จะทาได้ดีเพียงใด วิธีการสอนคิดที่ผสมผสานทั้ง ๒ วิธี เข้าด้วยกันจึงจะเป็นวิธีปฏิบัติที่เหมาะสม เพราะจะช่วยให้การพัฒนาทักษะการคิดเกิดผลท่ีสมบูรณ์ เป็นการ ลดข้อจากัดของการสอนแต่ละวธิ ี สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ๑๐๒กล่าวว่า แนวการสอนเพื่อพัฒนาการคิดมี ๓ แนวทาง คอื ๑. การสอนเพื่อพัฒนาการคิดโดยตรงโดยใช้โปรแกรมส่ือสาเร็จรูปบทเรียนหรือ กิจกรรมสาเร็จรูป ขณะนม้ี ีผ้จู ัดทาสอ่ื เหลา่ น้ไี วแ้ ลว้ ๒. การสอนเน้ือหาสาระต่าง ๆ โดยใช้รูปแบบหรือกระบวนการสอนที่เน้นการพัฒนา การคิดที่ได้มีผู้ พฒั นาข้นึ การสอนลักษณะนม้ี ุ่งรวมเน้ือหาสาระตามวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร แตเ่ พ่ือให้การสอนเป็นการช่วย พัฒนาความสามารถทางการคิดของผู้เรียนไปในตัว ครูสามารถนารูปแบบการสอนต่าง ๆ ท่ีเน้นกระบวนการ คดิ มาใชเ้ ป็นกระบวนการสอน ซ่ึงจะช่วยให้ครสู ามารถพัฒนาผู้เรียนได้ท้ังด้านเน้ือหาสาระและการคิดไปพร้อม ๆ กนั ๓. การสอนเน้ือหาสาระต่าง ๆ โดยพยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาลักษณะการคิดแบบต่าง ๆ รวมทั้งทักษะการคิดท้ังทักษะย่อยและทักษะผสมผสานในกิจกรรมการเรียนการสอน แนวทางที่ ๓ นี้ น่าจะ เป็นแนวทางท่คี รสู ามารถทาได้มากทีส่ ดุ และสะดวกทส่ี ุด เนื่องจากครูสอนเน้ือหาสาระและมีกิจกรรมการเรียน ๑๐๑อรพรรณ พรสมี า, การคิด, ภาควชิ าเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ, (กรงุ เทพฯ: สถาบนั พัฒนาทักษะการคดิ , ๒๕๔๓), หน้า ๒๕-๒๗. ๑๐๒สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาต,ิ ทฤษฎีการเรียนรู้เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด : ต้นแบบการเรียนรู้ ทางด้านหลกั ทฤษฎแี ละแนวปฏบิ ตั ิ, (กรงุ เทพฯ: สานกั นายกรัฐมนตร,ี ๒๕๔๓), หน้า ๖๔.

๑๑๐ การสอนอยู่แลว้ เม่ือครมู ีความเข้าใจเก่ียวกับความคดิ ตามกรอบความคดิ ต่าง ๆ ครูก็สามารถนาความเข้าใจน้ัน มาใช้ในการปรับกิจกรรมการสอนท่ีมีอยู่แล้วให้มีลักษณะท่ีให้โอกาสผู้เรียนได้พัฒนาความคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิดท่ีหลากหลาย ๕.๖ กจิ กรรมเพื่อพฒั นาความคิด ๕.๖.๑ การจดั การเรียนการสอนความคดิ การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นการคิดเป็นน้ันเป็นส่ิงที่สาคัญเพราะการคิดเป็นส่ิงท่ีจาเป็นในการทา กิจกรรมต่างๆ บรเู นอร์ (Bruner.๑๙๕๖)๑๐๓ กล่าวว่า แนวทางการจัดการเรียนการสอนน้ัน ผู้เรียนควรคานึงถึงเรื่อง ต่อไปนี้ ๑. การจัดลาดบั ขัน้ ของการเรยี นรแู้ ละการนาเสนอให้สอดคล้องกบั ระดับของการรับรู้ เขา้ ใจ ๒. ในการเรียนการสอนนัน้ ทง้ั ผู้เรียนและผู้สอนและผู้สอนต้องมคี วามพร้อมแรงจูงใจและความสนใจ ๓. ลักษณะและชนิดของกิจกรรมการเรียนการสอนทเี่ หมาะสมกับความสามารถของ ผู้เรียนจะช่วยให้ มคี วามรคู้ งทนและถา่ ยโยงความรูไ้ ดด้ ว้ ย นอกจากน้ี บรเู นอร์ ได้ใชว้ ิธกี ารคน้ พบ โดยยดึ หลักการสอนดงั น้ี ๑. ผเู้ รียนต้องมีแรงจงู ใจภายในและมีความอยากรอู้ ยากเหน็ อยากค้นพบสิง่ ท่ีอยู่รอบตัวเอง ๒. โครงสร้างของบทเรยี นตอ้ งจัดใหเ้ หมาะสมกบั วยั ของผู้เรียน ๓. การจดั ลาดับความยากงา่ ย ต้องคานึงถงึ สติปญั ญาของผเู้ รียน ๔. แรงเสริมด้วยตนเอง ครูต้องให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียน เพ่ือทราบว่าทาผิดหรือ ทาถูกต้อง เปน็ การสรา้ งแรงเสริมด้วยตนเอง พิอาเจท์ (Piaget.๑๙๖๔)๑๐๔ กล่าวว่า ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนมีหน้าท่ีควรคานึงในเร่ือง ตอ่ ไปน้ี ๑. เมอื่ ทางานกบั นกั เรยี น ผสู้ อนตอ้ งคานึงถงึ พัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียน ตอ่ ไปนี้ ๑.๑ เมอื่ ทางานกับนักเรียน ผู้สอนควรคานึงถึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาทั้งส่ีขั้นตามลาดับ นักเรียนที่มีอายุเท่ากัน อาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาต่างกัน ขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาท่ีแตกต่างกัน เป็นเคร่ืองช้ีแบบการให้เหตุผลท่ีต่างกัน พัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนแต่ละคนเป็นเคร่ืองแสดง ความสามารถของบุคคล ๑.๒ นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์ ๒ แบบ คือ ประสบการณ์ทางกายภาพและ ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ ประสบการณ์ทางกายภาพจะเกิดขึ้นเม่ือนักเรียนได้ปฏิสัมพันธ์กับวัตถุต่าง ๆ ในสภาพแวดล้อมโดยตรง ส่วนประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์เกิดขึ้นเม่ือนักเรียนได้พัฒนาโครงสร้างทาง สติปัญญา ใช้ความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม นักเรียนแต่ละคนจะพัฒนาแบบการให้เหตุผลเมื่อมี ประสบการณท์ ี่กระตุน้ ใหเ้ กิดความคดิ ๒. หลักสตู รทส่ี ร้างข้ึนบนพื้นฐานทฤษฎพี ัฒนาการทางสตปิ ัญญาของพอิ าเจทค์ วรมลี กั ษณะดังนี้ ๑๐๓ Bruner, J.S. Toward a Theory of Instruction. (New York : Norton 1956). ๑๐๔ Piaget, J. and Inhelder, B. The Growth of Logic : from Childhood to Adolescence. (New York : Basic Hal,. 1964).

๑๑๑ ๒.๑ เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนโดยที่การสอนต้องเน้นการใช้ศักยภาพของ ตนเองใหม้ ากท่ีสดุ ๒.๒ เสนอการเรียนการสอนทใ่ี ห้ผ้เู รียนพบกับความแปลกใหม่ ๒.๓ เน้นการเรียนรู้ที่ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบเพราะนักเรียนจะเกิดการเรียนรู้ โดยผ่าน การกระทาทางสมองต่อสงิ่ ทีก่ าลังค้นพบ การเรียนการสอนท่ีเน้นการค้นพบสืบเสาะและความคิดสร้างสรรค์จะ ชว่ ยใหน้ ักเรยี นมพี ฒั นาการดขี นึ้ ๒.๔ เน้นกิจกรรมการสารวจและการเพิ่มขยายความคิดในระหว่างการเรียน การสอนแทนท่ี จะนัง่ ฟังเฉย ๆ ๒.๕ ใช้กิจกรรมการขัดแย้งเพ่ือให้นักเรียนมีโอกาสพัฒนาสติปัญญาของตนเอง นักเรียนจะ ร่วมมอื กนั แกค้ วามขดั แย้งทเี่ กิดขึ้นภายในกลมุ่ โดยการรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น นอกเหนือจากความคิดเห็น ของตนเอง ๓. การสอนทสี่ ง่ เสริมพัฒนาการทางสตปิ ญั ญาของผูเ้ รยี นควรดาเนนิ การ ดงั น้ี ๓.๑ ถามคาถามมากกว่าการให้คาตอบ โดยเฉพาะคาถามปลายเปิด เพราะคาถามประเภทนี้ จะกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์และความคดิ วเิ คราะห์ของนักเรยี น ๓.๒ ครูผู้สอนควรจะพูดให้น้อยลงและฟังให้มากข้ึน เม่ือถามคาถามแล้วควรให้เวลารอ คาตอบของนักเรียนสัก ๕ นาทีเพราะนักเรียนต้องการเวลาที่จะดูดซับคาถามและปรับเปล่ียนขยายโครงสร้าง ของสมองเพอ่ื ตอบคาถามน้ัน ๆ ๓.๓ ควรให้เสรีภาพแก่นักเรียนท่ีจะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ เพราะนักเรียนจะได้ มีโอกาส ใช้สติปญั ญาในการตดั สินวา่ จะเรียนอะไรดี ๓.๔ เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด อย่าพยายามแก้ไขข้อผิดพลาดในการให้เหตุผลของนักเรียน ควรถามคาถามหรอื จัดประสบการณน์ ักเรยี นใหม่ เพ่ือนกั เรยี นจะได้แกไ้ ขข้อผดิ พลาดด้วยตนเอง ๓.๕ ช้ีระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนจากงานพัฒนาการทางสติปัญญาขั้น นามธรรมหรอื จากงานการอนุรกั ษ์ เพ่อื ดูวา่ นักเรยี นคดิ อยา่ งไร ๓.๖ ยอมรับความจริงท่ีว่า นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการทางสติปัญญาท่ีแตกต่างกัน เด็กที่มีพัฒนาการทางสติปัญญาล้าหลังเพื่อนในช่วงเวลาหน่ึง อาจมีพัฒนาการทางสติปัญญาอยู่ในระดับ เดยี วกันกบั เพือ่ นคนนนั้ ในเวลาต่อมากไ็ ด้ ๓.๗ ผูส้ อนต้องเขา้ ใจว่านกั เรียนมคี วามสามารถเพม่ิ ข้นึ ในระดบั ความคิดขนั้ ตอ่ ไป ๓.๘ ตระหนกั ว่าการเรียนรู้ที่เกิดขึน้ เพราะจดจามากกวา่ ท่ีจะเข้าใจเปน็ การเรียนรทู้ ่ีไมแ่ ท้จริง ๔. ในข้นั ประเมินผล ควรดาเนินการสอนดงั นี้ ๔.๑ มีการทดสอบแบบการให้เหตุผลของนักเรียนประเมินกระบวนการคิดด้วยเช่นเดียวกับ ทดสอบเน้อื หาวชิ า ๔.๒ พยายามใหน้ กั เรียนแสดงเหตุผลในการตอบคาถามนัน้ ๆ ๔.๓ ตอ้ งชว่ ยเหลอื นกั เรยี นที่มพี ัฒนาการทางสตปิ ญั ญาตา่ กวา่ เพื่อนร่วมชน้ั กุลยา ตันติผลาชีวะ๑๐๕ กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนความคิด ครูต้องมีขั้นตอนการสอน โดย บรู ณาการเทคนิคการกระต้นุ ให้เดก็ คิดตามข้ันตอนการสอน ดงั น้ี ๑๐๕ กุลยา ตนั ตผิ ลาชีวะ,การกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ คดิ , วารสารการศึกษาปฐมวัย, ๙(๓) : (๒๕๔๘), หนา้ ๒๙-๓๑.

๑๑๒ ๑. กาหนดจุดประสงค์การสอน ในการสอนให้เด็กคิดต้องเริ่มจากโจทย์เสมอ ถ้าครูมีโจทย์ง่าย การคิด จะไม่ซับซ้อน การใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์ของสมองจะน้อยตามไปด้วย แต่ถ้าครูต้องการให้คิดโจทย์ที่ให้เด็ก คิดต้องซับซ้อนไปด้วย ส่ิงที่ต้องคานึงสาหรับกาหนดจุดประสงค์ของการสอนว่าต้องการให้เด็กคิดแบบใด เช่น คิดแบบอเนกนัย คดิ สร้างสรรค์หรือคิดแบบวิจารณญาณและความชัดเจนของจุดประสงค์จะเป็นตัวทาให้ครูตั้ง โจทย์และจัดกิจกรรมท่ีนาไปสู่การคิดท่ีต้องการจากการวิจัย (Baer.๑๙๙๖) เก่ียวกับผลของการฝึกคิดแบบ อเนกนยั พบว่า ถ้าต้องการใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมพฒั นาการคิดอเนกนยั กต็ ้องให้ผู้เรยี นฝกึ ทักษะในงานท่ีสัมพันธ์ ๒. แจ้งประเด็นปัญหา ขั้นท่ี ๒ เป็นขั้นของการสร้างประเด็นปัญหาตามจุดประสงค์ให้หลากหลาย เพือ่ ใหเ้ ดก็ เกิดการคิดในแงต่ า่ ง ๆ โดยประเดน็ ปัญหาต้องเป็นตวั นาความคดิ ๓. ปฏิบัติความคิด เป็นขั้นของการให้เด็กใช้ความคิดของตนด้วยการนาข้อมูลท่ีรู้ไปประสานกับข้อมูล ทร่ี บั ร้ใู หม่ เพอ่ื ให้ความคดิ เหน็ หรือมโนทศั น์ท่เี ปน็ ผลมาจากความคิด ๔. การสะท้อนคิด เป็นข้ันท่ีครูประเมินความสามารถในการคิดและการใช้ความคิดของเด็ก ด้วยการ กระตุ้นให้เด็กเกิดการสะท้อนคิดในสิ่งท่ีตนพูดหรือกระทาว่าทาไม อย่างไร เพราะอะไร ในการติดตามผล สะท้อนคิดน้ี ครูตอ้ งเนน้ ถงึ จุดประสงคข์ องครูท่ตี ้องการฝึกใหเ้ ด็กคิดวา่ เป็นแบบใดดว้ ย ๕.๖.๑ ตัวอย่างการจดั กจิ กรรมเพอื่ พฒั นาความคิด ๑. วิธีคิดแบบอรยิ สจั ๑๐๖ วิธีคิดแบบอริยสัจ ๔ เป็นวิธีคิดท่ีต่อเน่ืองจากวิธีคิดแบบสามัญลักษณ์หรือรู้เท่าทันธรรมดา คือ เม่ือเข้าใจคติธรรมดาของส่ิงท้ังหลายวางใจได้และตกลงใจว่าจะแก้ปัญหาท่ีตัวเหตุตัวปัจจัย จากน้ันก็ ดาเนินความคดิ ต่อไปตามวิธคี ิดแบบอรยิ สัจสน่ี ีม้ ีหลกั การสาคัญ คอื การเริ่มต้นจากปัญหาหรือทุกข์โดยกาหนด รู้ ทาความเข้าใจปัญหา หรือความทุกข์ให้ชัดเจน แล้วสืบค้นหาสาเหตุเพ่ือเตรียมแก้ปัญหา พร้อมกันน้ันก็ กาหนดเปาู หมายของตนให้แนช่ ดั ว่าคอื อะไร จะเปน็ ไปได้หรือไม่ จะเป็นไปได้อย่างไร แล้วคิดวางวิธีปฏิบัติที่จะ กาจัดสาเหตขุ องปญั หาโดยสอดคล้องกับการที่จะบรรลุจุดหมายท่ีได้กาหนดไว้นั้น ทั้งนี้อาจจัดวางเป็นข้ันตอน ดงั น้ี ข้นั ที่ ๑ กาหนดรู้ แจกแจงแถลงปัญหา ทาความเข้าใจปัญหา สภาพและขอบเขตของปัญหา ให้เข้าใจชัดเจนว่าเป็นอะไร คืออะไร เป็นที่ตรงไหนเหมือนแพทย์ตรวจดูอาการของโรค ดูความผิดปกติของ ร่างกาย วินิจฉัยให้รู้ว่าเป็นอะไร ท่ีตรงไหน รู้เข้าใจโรคและร่างกายเฉพาะอย่างยิ่งส่วนซ่ึงเป็นท่ีต้ังของโรคให้ ชัดเจน (ทุกข์) ขั้นที่ ๒ สืบสวนเหตุแห่งทุกข์ที่จะพึงละ วิเคราะห์ค้นหามูลเหตุหรือต้นตอของปัญหาซึ่งจะ แก้ไขกาจัดหรือทาให้หมดสิ้นไป ตามปกติขั้นน้ีตรงกับวิธีคิดแบบท่ี ๑ คือ วิธีคิดแบบปัจจัยการน่ันเอง เหมือน แพทย์ค้นหาสมมุติฐานของโรคหาสาเหตุของโรคซ่ึงจะนาไปสู่การรักษาท่ีถู กต้องตรงจุดมิใช่รักษาแต่เพียง อาการ(สมทุ ยั ) ข้ันที่ ๓ เล็งหมายขดั ซงึ่ การดบั ทุกขท์ จ่ี ะทาให้สาเร็จ เล็งเห็นชัดเจนถึงภาวะปราศจากปัญญา ซึง่ มงุ่ หมายว่าคอื อะไร เปน็ ไปไดจ้ ริงหรือไมอ่ ยา่ งไร มีความชดั เจนเก่ยี วกับเปูาหมายและหลักการท่ัวไป หรือตัว ๑๐๖ พระมหาวรวรรธน์ นภภูรสิ ริ ิ (อตั ถาพร), การศึกษาวเิ คราะห์วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการของตัวละครที่ปรากฏ ในเวสสันดรชาดก, ปรญิ ญานพิ นธ์ พทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพทุ ธศาสนา), กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย.

๑๑๓ กระบวนการของการแก้ปญั หาก่อนทจ่ี ะวางรายละเอียดและกลวิธีปลีกย่อยในขั้นดาเนินการ เหมือนแพทย์รู้ว่า โรคน้ันๆรกั ษาได้มองเห็นกระบวนการของโรคชดั เจนวา่ จะหายไปได้อย่างไร (นิโรธ) ข้ันที่ ๔ จัดวางวิธีการดับทุกข์ที่จะต้องปฏิบัติ เม่ือมีความชัดเจนเก่ียวกับเปูาหมายและ หลักการท่ัวไปแล้ว ก็กาหนดวางวิธีการ แผนการและรายการท่ีจะต้องทาในการที่จะแก้ไขกาจัดสาเหตุของ ปัญหาใหส้ าเร็จ โดยสอดคล้องกบั เปาู หมายและหลกั การทวั่ ไปนั้นเพื่อเตรยี มแก้ไขปญั หาต่อไป (มรรค) สรุปท้ายบท ความคิดเป็นกระบวนการทางสมองของมนุษย์ท่ีมีศักยภาพสูงมากเป็นส่วนท่ีมนุษย์มีแตกต่างกั บสัตว์ ต่างๆ ความคิดเป็นการแฝงอยู่ในเรื่องของการเรียนรู้ของมนุษย์ไว้อย่างหลากหลาย กระบวนความคิด เป็นความคิดท่ีต้องดาเนินการไปเป็นลาดับขั้นตอน ท่ีจะช่วยให้ความคิดนั้นประสบความสาเร็จตาม จุดมุ่งหมายของความคิดนั้นๆ ซึ่งในแต่ละลาดับข้ันตอนต้องอาศัยทักษะความคิด หรือลักษณะความคิด จานวนมาก กระบวนการทีส่ าคัญทีห่ ลากหลายกระบวนการ อาจสรุปได้ว่าความคิดเป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนในสมองท่ีใช้สัญลักษณ์หรือภาพแทนสิ่งของ เหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่าง ๆ โดยมีการจัดระบบความรู้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่งเป็นประสบการณ์เดิมกับ ประสบการณ์ใหม่หรือสิ่งเร้าใหม่ท่ีไปได้ท้ังในรูปแบบธรรมดาและสลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบสามารถ แสดงออกได้หลายลักษณะ เช่น การให้เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เน่ืองจากความคิดเป็นกระบวนการที่ เกดิ ขึน้ ในสมอง เราจงึ ควรท่ีจะทราบเกยี่ วกับสมอง เชน่ โครงสรา้ งทางสมอง และพิจารณาว่ามีความสัมพันธ์ กับความคิดในลกั ษณะใดบ้าง สรุปไดว้ า่ ความคดิ เปน็ ปฏิกริ ยิ าทางสมองที่สัมพันธ์กับกระบวนการทางานของจิตใจมนุษย์ เป็นการ ทางานที่มีความต่อเนื่อง ในความคิดอาจมีการวางแผน จัดระบบ ค้นหาหลักความจริง หรืออาจใช้ ประสบการณ์เดิมเพื่อให้เกิดการรับรู้ และตอบสนองโดยอาศัยสิ่งแวดล้อมเป็นตัวช่วยในขณะเดียวกันก็ผ่าน กระบวนความคดิ การตดั สนิ ใจ และการแก้ปัญหา

๑๑๔ คาถามทา้ ยบท ๑.จงอธบิ ายความหมายของความคิดมาดู ๒.จงบอกความสาคัญของความคดิ ๓.ปจั จยั พ้ืนฐานของความคิดประกอบด้วยองค์ประกอบทสี่ าคญั มีก่อี งคป์ ระกอบ อะไรบ้าง ๔.ในขณะที่คิด เคร่ืองมือที่ใชใ้ นความคิดของมนุษย์ประกอบดว้ ย ๓ สว่ น คืออะไรบา้ งจงอธิบาย ๕.ประเภทของความคิดมีอะไรบา้ ง ๖.ประเภทของความคดิ ทีแ่ บ่งตามความแตกตา่ งของเพศมีกี่แบบ จงอธบิ ายมาพอสังเขป ๗.จงอธิบายลกั ษณะต่างๆของความคดิ ๘.จงอธิบายการพัฒนาทักษะกระบวนการทางความคิด ๙.สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาตกิ ลา่ วว่า แนวการสอนเพอ่ื พฒั นาการคิด มี ๓ แนวทาง คืออะไรบ้างจงอธบิ ายมาดู ๑๐.ใหน้ ิสติ ออกแบบกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาความคิด

๑๑๕

๑๑๖ เอกสารอา้ งองิ ประจาบท กุลยา ตันติผลาชีวะ, การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย, กรุงเทพฯ : เอดิสัน เพรส โปรดักส์ จากัด, ๒๕๔๗. ,เทคนิคการสรา้ งเสรมิ ปัญญาเดก็ ปฐมวยั , วารสารการศึกษาปฐมวยั , ๒๕๔๘. ,การกระตุ้นให้เด็กคิด, วารสารการศกึ ษาปฐมวัย, ๒๕๔๘. โกวิท ประวาลพฤกษ์, รปู แบบการสอนคดิ คา่ นิยม จริยธรรมและทกั ษะการเรียนรู้เพื่อพฒั นา กระบวนการคิด, กรุงเทพฯ:สานกั นายกรฐั มนตรี, ๒๕๔๐. บรูโน (Bruno ), อ้างใน จันทร์ฉาย พิทักษ์ศิริกุล, ผลของการจัดโปรแกรมการฝึกการกล้าแสดงออก ต่อความรสู้ ึกมีคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๒, อดั สาเนา. ปรยี าพร วงศ์อนุตรโรจน์, จิตวิทยาการศึกษา, กรุงเทพมหานคร : พมิ พด์ ,ี ๒๕๕๑. พรเพ็ญ ศรีวิรัตน์, การคิดอย่างมีวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการเล่นเกม ฝึกทักษะการคิด, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย), กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรนี ครินทรวิโรฒ, ๒๕๔๖, ถา่ ยเอกสาร. พระมหาวรวรรธน์ นภภูริสิริ (อัตถาพร), การศึกษาวิเคราะห์วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการของตัวละคร ที่ปรากฏในเวสสันดรชาดก, ปริญญานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา), กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . ศริ กิ าญจน์ โกสุมภ์; และดารณี คาวจั นงั , สอนเดก็ ใหค้ ดิ เปน็ , กรงุ เทพฯ: ทปิ ส์ พบั บลิเคช่ัน, ๒๕๔๔. ศรสี ุรางค์ ทนี ะกุล; และคณะ, การคดิ และการตัดสินใจ, กรงุ เทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชนั่ , ๒๕๔๒. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, ทฤษฎีการเรียนรู้เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด : ต้นแบบการเรียนร้ทู างดา้ นหลกั ทฤษฎีและแนวปฏบิ ตั ิ, กรงุ เทพฯ: สานักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๓. อารี พนั ธม์ ณี, คิดอย่างสร้างสรรค์, กรงุ เทพฯ: ต้นอ้อ ๑๙๙๙ จากัด, ๒๕๔๓. อรพรรณ พรสมี า, การคิด, ภาควชิ าเทคโนโลยที างการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ:สถาบนั พัฒนาทักษะการคิด, ๒๕๔๓. ฮิลการ์ด (Hilgard ), อ้างใน ชนิสรา ใจชัยภูมิ,ความคิดคล่องแคล่วของเด็กปฐมวัยด้วยการบริหารสมอง, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การศึกษาปฐมวัย),กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๕๒. Bruner, J.S. Toward a Theory of Instruction. New York : Norton. 1956. Piaget, J. and Inhelder, B. The Growth of Logic: from Childhood to Adolescence. New York : Basic Hall. 1964.

๑๑๗

๑๑๘ บทที่ ๖ การกาหนดแผนการสอน วัตถปุ ระสงค์ประจาบทเรยี น เม่อื ศกึ ษาเนอ้ื หาในบทน้ีแล้ว ผู้เรียนสามารถ ๑. เขา้ ใจความหมายของแผนการสอนได้ ๒. อธบิ ายความสาคัญของแผนการสอนได้ ๓. อธบิ ายรปู แบบของแผนการสอนได้ ๔. บอกลักษณะของแผนการสอนได้ ๕. สรปุ แผนการสอนได้ ขอบขา่ ยเนอื้ หา  ความหมายของแผนการสอน  ความสาคญั ของแผนการสอน  รูปแบบของแผนการสอน  ลกั ษณะของแผนการสอน  สรปุ แผนการสอน

๑๑๙ ๖.๑ ความนา การพฒั นาผ้เู รยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ แผนการสอนเป็นส่ิงท่ีจาเป็นและสาคัญย่ิง ความเป็นมืออาชีพของผู้สอนดูได้จากแผนการสอนท่ีเป็น ขั้นตอนแตล่ ะขั้นตอนใชก้ ลยุทธ์ตา่ งๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามผลการ เรยี นรูอ้ ยา่ งเปน็ ระบบและจดั ทาไว้เป็นลายลกั ษณอ์ ักษร โดยมีการรวบรวมข้อมูลต่างๆ มากาหนดกิจกรรมการ เรียนการสอน เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนบรรลุจดุ มุ่งหมายทกี่ าหนดไว้ และเปน็ เคร่ืองมือที่ช่วยให้ครูพัฒนาการจัดการเรียน การสอนไปสู่จุดประสงค์การเรียนรู้และจุดมงุ่ หมายของหลักสูตรได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ แผนการสอน คือ การนาวิชาหรือกลุ่มประสบการณ์ท่ีต้องทาการสอนตลอดภาคเรียนมาสร้างเป็น แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้ส่ือ อุปกรณ์การสอน การวัดและการประเมินผล สาหรับเน้ือหา สาระและจุดประสงค์การเรียนการสอนย่อยๆ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือจุดเน้นของหลักสูตร สภาพ ผู้เรียน ความพร้อมของโรงเรียนในด้านวัสดุอุปกรณ์ และตรงกับชีวิตจริงในท้องถิ่น ซ่ึงถ้ากล่าวอีกนัยหน่ึง แผนการสอนคือ การวางแผนการสอนเป็นการจัดวางโปรแกรมการสอนทั้งหมดในวิชาใดวิชาหน่ึงไว้ล่วงหน้า เพื่อช่วยให้ครูผู้สอนได้จัดดาเนินกระบวนการเรียนการสอนให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายข องหลักสูตรท่ีวางไว้ ดงั นน้ั ในแผนการสอนจะต้องประกอบไปด้วยรายละเอียดตามท่ีหลักสูตรกาหนดไว้ เช่น มีจุดประสงค์ความคิด รวบยอด/หลักการ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน การวัดผล/ประเมินผล และ จานวนคาบเวลาทใี่ ชส้ อน ทุกสิ่งทกุ อยา่ งจะต้องจัดรวมไว้อย่างมรี ะบบระเบยี บในแผนการสอน การวางแผนการสอนเป็นการเตรียมตัวล่วงหน้าก่อนสอนเพื่อให้การเรียนการสอนบรรลุจุดมุ่งหมายท่ี กาหนดไว้ โดยใช้ขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการสารวจปัญหาการสารวจทรัพยากรการวิเคราะห์เนื้อหาการวิเคราะห์ผู้เรียน การกาหนดมโนมติ วตั ถปุ ระสงค์ กิจกรรมการเรียน สื่อการสอน และการประเมินผล แล้วเขียนแผนออกมาใน รปู ของแผนการสอน ๖.๒ ความหมายของแผนการสอน การวางแผนการสอน คอื กิจกรรมในการคดิ และการทาของครูก่อนที่จะเริ่มดาเนินการสอนวิชาใดวิชา หนึ่ง ซึ่งโดยทั่วไปจะประกอบด้วยการกาหนดจุดมุ่งหมาย การคัดเลือกเนื้อหา การกาหนดกิจกรรมการเรียน การสอน การเลอื กตารา เอกสาร อุปกรณ์ การประเมินผล และการพิมพป์ ระมวลการสอนรายวิชา

๑๒๐ นคิ ม ชมภหู ลง๑๐๗ ใหค้ วามหมายของแผนการสอนว่าแผนการสอน หมายถึง แผนการหรือโครงการท่ี จัดทาเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อใช้ในการปฏิบัติการสอนในรายวิชาใดวิชาหนึ่งเป็นการเตรียมการสอนอย่างมี ระบบและเปน็ เครอ่ื งมอื ช่วยใหค้ รพู ฒั นาการจัดการเรียนการสอนไปสู่จุดประสงค์และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ วัฒนาพร ระงับทุกข์๑๐๘ ให้ความหมายของแผนการสอนว่าแผนการสอน หมายถึง แผนการหรือ โครงการที่จัดทาเป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือใช้ในการปฏิบัติการสอนในรายวิชาใดวิชาหน่ึงเป็นการเตรียมการ สอนอย่างมรี ะบบและเปน็ เครอ่ื งมอื ท่ชี ่วยให้ครพู ฒั นาการจัดการเรียนการสอนไปสู่จุดประสงค์การเรียนรู้ และ จุดหมายของหลักสูตรไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ สงบ ลักษณะ๑๐๙ ให้ความหมายของแผนการสอนไว้ว่า แผนการสอนคือ การนาวิชาหรือกลุ่ม ประสบการณท์ ีจ่ ะตอ้ งทาการสอนตลอดภาคเรยี นมาสร้างเป็นแผนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน การใช้ส่ือ อุปกรณ์การสอน และการวัดผลประเมินผล โดยการจัดเน้ือหาสาระและจุดประสงค์การเรียนย่อยๆ ให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือจุดเน้นของหลักสูตร สภาพของผู้เรียน ความพร้อมของโรงเรียนในด้านวัสดุ๓ อุปกรณ์ และตรงกับชีวิตจรงิ ในหอ้ งเรียน สุกัญญา ธารีวรรณ๑๑๐ อธิบายความหมายของแผนการสอนไว้ว่าเป็นส่วนขยายของหลักสูตรซึ่ง กาหนดแนวทางการสอนและการจัดกิจกรรมเสนอแนะแก่ครูโดยยึดถือจุดประสงค์ของการเรียนรู้และความคิด รวบยอดในหลกั สตู รไวเ้ ป็นหลัก อาภรณ์ ใจเที่ยง๑๑๑ ให้ความหมายของแผนการสอนไว้ว่า แผนการสอนคือ แผนการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน การใชส้ อื่ การสอน การวัดผลประเมินผลให้สอดคล้องกับเน้ือหาและจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ ในหลกั สตู ร จากความหมายของแผนการสอนที่นักการศึกษาไว้ให้ไว้พอสรุปได้ว่า แผนการสอน หมายถึ ง แผนการที่จัดทาเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้ในการปฏิบัติการสอนในรายวิชาใดวิชาหนึ่งที่ระบุรายละเอียด เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน เช่น ช่ือเร่ือง ระยะเวลาในการสอน สาระสาคัญ จุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อ๓อุปกรณ์ การวัดและการประเมินผลเป็นการเตรียมการสอนอย่างมีระบบและ เป็นเครือ่ งมอื ทชี่ ว่ ยให้ครูพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนไปสู่จุดประสงค์การเรียนรู้ และจุดหมายของหลักสูตร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑๐๗ นิคม ชมพหู ลง, ชือ่ เร่อื ง การจดั ทาแผนการเรยี นรู้หรอื แผนการสอน,(ออนไลน์) เข้าถึงไดจ้ าก (https://www.gotoknow.org/posts/๕๕๑๐๐๙) สืบค้นเม่ือ วนั ที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗. ๑๐๘ วัฒนาพร ระงับทกุ ข์, ๒๕๔๒ : หนา้ ๑ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก(https://sites.google.com/site/prapasara/๕๓๔) สืบค้นเมอื่ วนั ที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗. ๑๐๙ สงบ ลกั ษณะ, ชอ่ื เรอ่ื ง แนวการทาแผนการสอน, (กรงุ เทพมหานคร : กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๒๕๓๓), หน้า ๑. ๑๑๐ สุกญั ญา ธารวี รรณ, ชื่อเรือ่ ง หลักการสอนและเตรยี มประสบการณ,์ (กรุงเทพมหานคร : ภาควชิ าหลักสตู ร และการสอนวทิ ยาลยั สวนสนุ ันทา, ๒๕๕๑), หน้า ๒๐๙. ๑๑๑ อาภรณ์ ใจเที่ยง, ช่อื เรอ่ื ง แนวการทาแผนการสอน, (กรุงเทพมหานคร : กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒๕๕๐), หนา้ ๒๐๕-๒๐๖.

๑๒๑ ๖.๓ ความสาคัญของแผนการสอน แผนการสอนเปน็ หลักฐานเอกสารที่แสดงถึงการวางแผนเตรียมการล่วงหน้า ในการจัดการเรียน การสอนอย่างเป็นระบบซ่ึงเป็นหน้าท่ีรับผิดชอบโดยตรงของครูผู้สอนที่จะให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และบรรลุ ตามจุดหมายของของหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพในเน้ือหาวิชานั้นที่ยังบ่งชี้ถึงความเป็นมืออาชีพ ความ เชี่ยวชาญในการจดั การเรียนการสอน ดงั นัน้ แผนการสอนจึงมคี วามสาคัญมากสาหรับผู้ที่เป็นครู ซึ่งมีผู้กล่าวถึง ความสาคัญดังน้ี ๑. เป็นเคร่ืองมือประกอบการจัดกิจกรรมแผนการสอนให้สามารถบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ี กาหนด ๒. เป็นเครื่องมือสาหรับผู้ปฏิบัติการสอนแทนสามารถจัดกิจกรรมแผนการสอนตามสาระท่ี กาหนดได้อย่างเหมาะสม ๓. เป็นเคร่ืองมือวัดประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมแผนการสอน เพื่อทราบความเหมาะสมในการ จัดกิจกรรมแตล่ ะเน้ือหา และเป็นขอ้ มูลพน้ื ฐานในการพัฒนากิจกรรมใหม้ ีประสิทธิภาพย่ิงขน้ึ ๔. ช่วยให้ผู้สอนมีโอกาสศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้การจัดกิจกรรมแผนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือประกอบการเขยี นแผนการเรียนรทู้ เี่ หมาะสมกับเน้ือหาและผูเ้ รียน ๕. ชว่ ยให้ผ้สู อนสามารถจัดกจิ กรรมแผนการสอนอย่างเป็นระบบตามขัน้ ตอนทีก่ าหนดไว้ ๖. ชว่ ยใหผ้ ู้สอนได้ทบทวนประสบการณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๗. เป็นหลักฐานทางวิชาการในดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ สงบ ลกั ษณะ๑๑๒ ไดก้ ลา่ วถึงผลดขี องการทาแผนการสอนไวด้ ังนี้ ๑. ทาให้เกิดการวางแผนวิธีสอนวิธีเรียนที่มีความหมายย่ิงขึ้น เพราะเป็นการจัดทาอย่างมี หลักการทถ่ี ูกต้อง ๒. ชว่ ยใหค้ รมู คี มู่ ือในการสอนทท่ี าขึ้นด้วยตนเอง ทาให้เกิดความสะดวกในการจัดการเรียนการ สอน ทาให้สอนครบถว้ นตรงตามหลกั สูตร และสอนได้ทันเวลา ๓. เปน็ ผลงานทางวิชาการที่สามารถเผยแพร่เปน็ ตัวอย่างได้ ๔. ชว่ ยให้ความสะดวกแก่ครทู สี่ อนแทนในกรณผี สู้ อนไมส่ ามารถเข้าสอนได้ สมศักดิ์ วนั สุดล๑๑๓ กล่าวว่า สาระสาคัญของแผนการสอนสามารถสรุปเปน็ ขอ้ ๆดังน้ี ๑. แผนการสอนเป็นสิ่งที่ช่วยให้ครูมีคู่มือเตรียมไว้แก่ตังเองล่วงหน้า เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด ความรู้ครบถว้ นสอดคล้องกบั เวลาในแตล่ ะภาคเรียน ชว่ ยใหค้ รมู คี วามมัน่ ใจในการสอนมากขน้ึ ๒. แผนการสอนสง่ เสริมให้ครูไปศึกษาหาความรู้ในเร่ืองหลกั สตู ร แนวการสอน การจัดทาจัดหา สอ่ื ประกอบการสอน ตลอดจนวธิ ีการวดั ผลประเมนิ ผล ๓. แผนการสอนใช้เปน็ คูม่ อื สาหรับครใู ช้ทาการสอนได้ ๑๑๒ สงบ ลักษณะ, ช่ือเร่ือง แนวการทาแผนการสอน, (กรุงเทพมหานคร : กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒๕๓๓๗, หน้า ๓๓๔. ๑๑๓ สมศกั ด์ิ วนั สดุ ล, ช่ือเรอ่ื ง แนวการทาแผนการสอน, (กรุงเทพมหานคร : กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร ๒๕๔๕), หน้า ๑๒.

๑๒๒ ๔. แผนการสอนใช้เป็นหลักฐานแสดงข้อมูลท่ีถูกต้อง เที่ยงตรง เสนอบุคลากร และหน่วยงานที่ เก่ยี วข้อง เชน่ ผ้บู ริหาร ศึกษานิเทศก์ เปน็ ตน้ ๕. เป็นผลงานทางวิชาการแสดงความชานาญการชานาญการ ความเช่ียวชาญในการสอนของ ครผู ู้สอนได้ สุพล วังสินธ์๑๑๔ กล่าวว่า แผนการสอนเป็นกุญแจดอกสาคัญที่ทาให้การเรียนการสอนมี ประสทิ ธภิ าพมากขึ้นซ่ึงสรุปความไว้ ดงั นี้ ๑. ทาให้เกิดการวางแผนวธิ ีเรียนทด่ี ี ผสมผสานความรู้และจติ วทิ ยาการศึกษา ๒. ชว่ ยให้ครมู คี ู่มอื การสอนทที่ าด้วยตนเองล่วงหน้ามีความมั่นใจในการสอน ๓. ส่งเสริมใหค้ รูมีความร้คู วามเขา้ ใจในด้านของหลกั สูตร วธิ สี อนการวดั ผลและประเมนิ ผล ๔. เป็นคู่มือสาหรบั ผู้มาสอนแทน ๕. เป็นหลกั ฐานแสดงข้อมูลที่ถูกตอ้ งเทย่ี งตรง เปน็ ประโยชนต์ ่อวงการศกึ ษา ๖. เป็นผลงานทางวชิ าการแสดงความชานาญความเช่ียวชาญของผู้ทา จากทไ่ี ด้กลา่ วมาพอสรุปได้ว่าแผนการสอนนั้นมีความสาคัญมากจนเป็นที่ยอมรับกันโดยท่ัวไปว่า ผลของการปฏิบตั ิภารกจิ ตา่ งๆ จะดีหรือไมน่ ้ันข้ึนอยกู่ ับการวางแผนเปน็ สาคัญ ถ้ามีการวางแผนดีผลที่ได้รับมัก สาเร็จลงด้วยดีเสมอ ดังน้ัน นักบริหารและบุคคลต่างๆที่ได้รับความสาเร็จในอาชีพของตนมักมีการเตรียมการ ล่วงหนา้ หรอื วางแผนกันอยา่ งรอบคอบ จึงทาใหผ้ ลการดาเนินงานสาเรจ็ ลงด้วยดีสมความตั้งใจที่มุ่งไว้ เช่น ผู้ ฝึกสอนกฬี าจะใชเ้ วลาอันยาวนานเพอื่ ทาการวางแผน และฝกึ ซ้อมตลอดจนเฝูาดูการเล่นของนักกีฬาในทีมของ ตน เพ่ือแกไ้ ขและปรบั ปรงุ วิธีการเลน่ ก่อนจะถึงกาหนดการแข่งขันนัดสาคัญ ทนายความที่มีชื่อเสียงจะใช้เวลา ไม่น้อยเลยในการเตรียมการหาพยานและหลักฐาน เพ่ือวางแผนอย่างรอบคอบในการที่จะทาให้ชนะคดี ใน เร่ืองของกระบวนการเรียนการสอนก็เช่นกัน ครูที่ดีจะต้องสละท้ังเวลา กาลังกาย กาลังใจ และกาลังความคิด เพื่อวางแผนก่อนสอนและเตรียมบทเรยี นแต่ละบทอย่างรอบคอบ ไม่ว่าบทเรียนน้ันจะใช้เวลาในการสอนเพียง ชั่วโมงเดียวหรือหลายชั่วโมง ท้ังนี้เพราะการทาแผนการสอนน้ันเพื่อต้องการให้ผ็เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ยุ่งยาก ซบั ซ้อน ซึ่งแผนการสอนน้นั จะเป็นแนวทางท่ีครูจะใช้นาผู้เรียนไปสู่จุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ของบทเรียน ได้ ส่วนอีกทางหน่งึ อาจจะเปรยี บเทยี บให้เห็นถึงความสาคัญของแผนการสอนว่ามีความสาคัญมากเพียงใด ครู ท่ีใช้แผนการสอนซ่ึงไดต้ ระเตรยี มไวแ้ ล้วอยา่ งรอบคอบและรัดกุม ย่อมจะมีผลทาให้กระบวนการเรียนการสอน ไปอย่างราบร่ืนมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และการ สอนเป็นไปตามกาหนดระยะเวลา ในทางตรงกันข้ามกับครูที่สอนโดยไม่มีแผนการสอน การสอนจะไม่บรรลุ วัตถปุ ระสงค์ของบทเรยี น ผู้เรียนมักไม่เกิดการเรียนรู้ การสอนมักไม่เป็นตามกาหนดระยะเวลาและไม่ทันตาม หลักสูตร ๖.๔ รูปแบบแผนการสอน แผนการสอน ประกอบด้วย ๙ หัวข้อ โดยการบูรณาการของหน่วยศึกษานเิ ทศก์๑๑๕ ๑๑๔ สุพล วังสินธ,์ ๒๕๓๖ : หนา้ ๕–๖ เขา้ ถงึ จาก https://www.gotoknow.org/posts/๕๕๑๐๐๙ สบื คน้ เมอื่ วนั ท่ี ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗.

๑๒๓ ๑. สาระสาคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอดหรือหลักการของเร่ืองหน่ึงที่ต้องการให้เกิดกับ นักเรียน เม่อื เรยี นตามแผนกาสอนแลว้ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (Learning Objective) เป็นการกาหนดจุดประสงค์ท่ีต้องการให้เกิดกับ ผู้เรียน เมอ่ื เรียนจบตามแผนการสอนแล้ว ๓. เน้อื หา (Content) เป็นเนอื้ หาที่จัดกิจกรรมและต้องการใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรียนรู้ ๔. กจิ กรรมการเรียนการสอน (Instructional Activities) เป็นการสอนข้ันตอนหรือกระบวนการ จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนซ่ึงนาไปสจู่ ุดประสงค์ทกี่ าหนด ๕. ส่ือและอุปกรณ์ (Instructional Media) เป็นสื่อ และอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนการ สอน ทก่ี าหนดไว้ในแผนการสอน ๖. การวัดผลและประเมินผล (Measurement and Evaluation) เป็นการกาหนดขั้นตอนหรือ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล ว่านักเรียนบรรลจุ ดุ ประสงคต์ ามที่ระบไุ ว้ในกิจกรรมการเรียนการสอน แยกเป็นก่อน สอน ระหว่างสอน และหลังสอน ๗. กิจกรรมเสนอแนะ เปน็ กิจกรรมทีบ่ นั ทกึ การตรวจแผนการสอน ๘. ข้อเสนอแนะของผู้บังคับบัญชา เป็นการบันทึกตรวจแผนการสอนเพ่ือเสนอแนะหลังจากได้ ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง การกาหนดรายละเอยี ดในหัวขอ้ ตา่ งๆ ในแผนการสอน ๙. บันทึกการสอน เป็นการบันทึกของผู้สอน หลังจากนาแผนการสอนไปใช้แล้วเพื่อเป็นการ ปรบั ปรุงและใช้ในคราวต่อไป มี ๓ หวั ขอ้ คือ ๙.๑ ผลการเรียน เป็นการบันทึกผลการเรียนด้านสุขภาพและปริมาณท้ัง ๓ ด้าน คือด้าน พทุ ธพิ ิสัย จติ พิสัย และทักษะพสิ ัย ซ่งึ กาหนดในขน้ั กิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมนิ ๙.๒ ปัญหาและอุปสรรค เป็นการบันทึก ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนในขณะสอน ก่อน สอน และหลังทาการสอน ๙.๓ ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข เป็นการบันทึกข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปรับปรุงการเรียน การสอน ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ บรรลจุ ดุ ประสงคข์ องบทเรยี นที่หลกั สูตรกาหนด ๖.๔.๑ รูปแบบของแผนการเรยี นรู้๑๑๖ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ เรอื่ ง พระรัตนตรัย เวลา ๑ ชว่ั โมง ๑.สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด ๑๑๕ สาลี รกั สุทธี และคณะ, ๒๕๔๑ : หนา้ ๑๓๖ – ๑๓๗, เข้าถงึ จาก https://sites.google.com/site/prapasara/๕๓๔ สืบค้นเมอ่ื วันท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗. ๑๑๖ สาลี รักสุทธี และคณะ, ๒๕๔๑ : หนา้ ๑๓๖ – ๑๓๗, เขา้ ถงึ จาก https://sites.google.com/site/prapasara/๕๓๔ สืบค้นเมือ่ วันท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗.

๑๒๔ พระรัตนตรัย ประกอบดว้ ย พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ ซง่ึ มคี วามสาคัญในการเปน็ ศูนย์ รวมจติ ใจพุทธศาสนิกชนให้ดาเนินชวี ติ ไปในทางท่ีถกู ตอ้ ง ๒.ตวั ช้ีวัด / จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ตัวชว้ี ัด ส ๑.๑ ม.๔๓๖/๑๓ วเิ คราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสจั ๔ หรือหลกั คาสอนของศาสนาท่ีตน นบั ถอื จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วเิ คราะหค์ วามหมายและคณุ คา่ ของพุทธะได้ สาระการเรียนรู้ พระรัตนตรัย สาระการเรยี นรู้แกนกลาง วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุทธะ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ความสามารถในการคิด กระบวนการปฏิบัติ /กระบวนการทางานกล่มุ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. มวี ินยั ๒. ใฝเุ รียนรู้ ๓. มงุ่ มั่นในการทางาน ๔. มจี ิตสาธารณะ กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกล่มุ ) นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เร่อื ง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๑. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ของการสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและความหมาย ของพระรตั นตรยั ๒. นักเรียนช่วยกันอธิบายความหมายของพระรัตนตรัย ซึ่งแปลว่า แก้วอันประเสริฐ ประกอบด้วย พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ๓. นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน ให้แต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง พระรัตนตรัย จากหนังสือ เรยี น และชว่ ยกันทาใบงานท่ี ๑.๑ เร่อื ง คณุ คา่ ของพระพทุ ธ ๔. ครูสุ่มเรียกนักเรียน ๒๓๓ กลุ่ม ออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน และให้กลุ่มท่ีมีผลงาน แตกต่างกนั นาเสนอเพิม่ เตมิ โดยครตู รวจสอบความถูกต้อง ๕. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปคุณคา่ ของพระพุทธ ๓ ประการ คอื พระปญั ญาคุณ เป็นผทู้ รงมีพระปรีชาญาณอันลึกซ้งึ ทรงแสวงหาปัญญาจนพบคาตอบที ชดั เจน

๑๒๕ พระวิสุทธิคุณ ทรงเปน็ ผู้มคี วามบรสิ ทุ ธิป์ ราศจากกเิ ลสเคร่ืองเศรา้ หมองทั้งปวง พระกรณุ าคุณ ทรงโปรดสงั่ สอนแสดงธรรมแกม่ วลมนุษยโ์ ดยไม่จากัดชาติ ช้ัน วรรณะ การวดั และประเมินผล วิธีการ เคร่อื งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยการ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เรื่อง เรยี นรู้ที่ ๓ เร่อื งหลักธรรมทาง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา พระพทุ ธศาสนา ตรวจใบงานท่ี ๑.๑ สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ใบงานท่ี ๑.๑ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ เศวต ไชยโสภาพ๑๑๗ ไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ การแบ่งรูปแบบของแผนการเรียนรู้ออกเปน็ ๓ แบบ ดังน้ี ๑. แบบบรรยาย เป็นแบบฟอร์มที่คณะกรรมการขา้ ราชการครู เสนอแนะไว้ดงั ตวั อยา่ ง แผนการเรยี นรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา เวลา ๑ คาบ วชิ า พระพุทธศาสนา ชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๗ สอนวันท่ี………….เดอื น…………………พ.ศ………….ชื่อผ้สู อน………………………………… ๑. สาระสาคัญ พระพุทธศาสนาได้เผยแผเ่ ขา้ มาสปู่ ระเทศไทยและประเทศเพอื่ นบ้านทั้งฝาุ ยเถรวาทและฝุาย มหายาน มกี ารยอมรบั นับถือสืบตอ่ กนั มาจนมอี ิทธพิ ลต่อการดาเนนิ ชวี ติ ของประชาชนในแต่ละประเทศ ทั้งนี้ เพราะความเสียสละของพทุ ธสาวกสาวกิ าและด้วยการสง่ เสรมิ ของพระมหากษตั รยิ ์และความสนใจเคารพนับ ถือจากประชาชนทวั่ ไป ๒. จดุ ประสงค์การเรียนร้ทู ่ีคาดหวัง ๑. บอกเส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศเพ่ือนบ้านได้ ๒. อธบิ ายประวตั ิความเปน็ มาของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขา้ สู่ประเทศเพ่อื นบา้ นได้ ๓. บอกอทิ ธิพลของพระพุทธศาสนาในประเทศเพือ่ นบ้านได้ ๓. เนอ้ื หาสาระ หลังจากพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานได้เพียง ๓ เดือน ก็ได้มีการรวบรวมพระธรรมวินัยให้ เป็นหมวดหมู่ เรียกว่า “สังคายนา” ซ่ึงถือว่าเป็นการสังคายนาครั้งท่ี ๑ และภายหลังการสังคายนาครั้ง ๑๑๗ เศวต ไชยโสภาพ, ๒๕๔๕ : หน้า ๔๒, เขา้ ถึงจาก https://sites.google.com/site/prapasara/๕๓๔ สบื ค้น เม่อื วันท่ี ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗.

๑๒๖ ที่ ๒ คณะสงฆ์ในอินเดียได้เกิดความแตกแยกกันออกเป็น ๒ นิกาย คือ นิกายเถรวาทหรือหินยาน เป็น นิกายด้ังเดิมและนิกายอาจริยวาทหรือนิกายมหายานเป็นนิกายใหม่ต่อล่วงถึงสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก พระองค์ทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาด้วยราชศรัทธาอย่างแรง กล้า ทรงมีพระราชกรณียกิจท่ีสาคัญโดยได้ส่งสมณฑูตเดินทางไปประกาศพระพุทธศาสนายังดินแดนต่าง ๆ รว่ ม ๙ สายด้วยกนั โดยสายที่ ๘ มีพระโสณเถระและอุตตรเถระเป็นหวั หน้าคณะ ไดเ้ ดินทางเข้ามาเผยแผ่ พระพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิ อันได้แก่ บริเวณปรเทศไทย พม่า กัมพูชา ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ มาเลเซยี อนิ โดนีเซีย ในปจั จบุ นั ซ่งึ สง่ ผลให้พระพุทธศาสนาได้เผยแผม่ าจนถงึ ปจั จุบันน้ี ๔. กิจกรรมการเรียนการสอน ๑. ทาสมาธิ ๓ นาที ๒. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น ๓. แจง้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๔. ให้นกั เรยี นดภู าพสถานที่สาคัญของพระพุทธศาสนาในประเทศเพ่ือนบา้ น แลว้ ซกั ถาม เกย่ี วกับความรู้ความเปน็ มาของพระพุทธศาสนาในประเทศเพ่อื นบ้านโดยย่อ ๆ ๕. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายถงึ เหตผุ ลท่ีต้องมกี ารเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในประเทศ ต่าง ๆ ๖. แบง่ นักเรยี น เปน็ ๕ กลมุ่ ๆ ละ ๑๐ คน ศกึ ษาหวั ข้อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ ประเทศเพื่อนบ้าน ๗ ประเทศ โดยศึกษาเป็นรายงานเพื่อนาเสนอในครงั้ ต่อไป ๗. ใหน้ ักเรียนศกึ ษาเสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียง ใต้ แล้วบอกชื่อประเทศที่นบั ถอื พระพุทธศาสนา ๘. รว่ มกันอภิปรายหัวขอ้ การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา อิทธิพลของพระพทุ ธศาสนาในประเทศ เพอื่ นบา้ นทัง้ ๗ ประเทศ คอื ๑. ประเทศสหภาพพมา่ ๒. ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ๓. ประเทศสาธารณรัฐสงั คมเวียดนาม ๔. ประเทศกมั พชู าประชาธิปไตย ๕. ประเทศมาเลเซีย ๖. ประเทศสิงคโปร์ ๗. ประเทศสาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย ๘. นักเรยี นตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาสรุปสาระสาคัญตามหัวขอ้ ประเทศท่ี ศกึ ษา ให้เพือ่ นในหอ้ งซักถามข้อสงสยั ครูชว่ ยเหลือแนะนาเพ่มิ เติม ๙. ครูสรปุ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในแตล่ ะประเทศอีกครง้ั หน่งึ แลว้ ให้นักเรยี น บนั ทกึ เน้ือหาโดยย่อลงในสมุดเพื่อตรวจดคู วามเรียบรอ้ ย ๑๐. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น ๕. สือ่ การเรียนการสอน ๑. หนังสือเรยี นรายวชิ า ส ๐๑๑๐ พระพทุ ธศาสนา ๒. แผน่ ภาพสถานทส่ี าคัญของพระพุทธศาสนาในประเทศตา่ ง ๆ

๑๒๗ ๓. แบบทดสอบก่อนหลงั เรียน ๖. การวดั และประเมินผล ๑. จากแบบทดสอบ ๒. การสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ๓. การซักถามและตอบคาถาม ๔. ผลของการทางานกล่มุ ๗. กิจกรรมเสนอแนะ ๑. ใหน้ กั เรียนจดั นิทรรศการหรือทาปาู ยนเิ ทศเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในเอเชยี ตะวนั ออก เฉยี งใต้ ๒. ให้นกั เรียนรวบรวมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านท่ปี รากฏใน เอกสาร โดยจดั ทาเปน็ กลุ่ม ๓. ควรเชญิ วิทยากรที่มีคุณวุฒมิ าเลา่ ประสบการณก์ ารเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาจาก ประสบการณ์ตรงใหน้ กั เรียนฟังเมื่อมโี อกาส ๘. ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ สถานศกึ ษา หรือผทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ / นเิ ทศ / เสนอแนะ / รับรอง) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื ………………………………………………. (…………………………...……………….) ตาแหน่ง…………………………………………... วนั ที่………เดอื น…………..พ.ศ……. บนั ทึกหลังสอน ๑. ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… … ๒. ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๑๒๘ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… … ๓. ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. (………………………………………) ตาแหนง่ ……………………………………. วนั ท่ี……….เดือน……………พ.ศ…….

๑๒๙ ๒. แผนการเรียนรู้แบบตาราง ตัวอยา่ ง เช่น แผนการเรียนรูท้ ่ี…๑……. เรือ่ ง อรยิ สจั ๔ เวลา ๑ คาบ วชิ า พระพุทธศาสนา ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๕๗ สอนวนั ที่…………..เดอื น………………………….พ.ศ…………ชอ่ื ผ้สู อน……….......……………. สาระสาคญั จุดประสงค์ เน้ือหา กิจกรรมการเรยี นการสอน สือ่ การสอน การวัดผล ความจริงอนั เพือ่ ให้นกั เรยี น อรยิ สัจสี่ ขั้นนา ๑.รปู ภาพการ ๑.สงั เกตจาก ๑.๑การบอก ประเสรฐิ ๔ สามารถ ๑.ความจรงิ ๑.ครพู ดู คยุ กับนักเรยี นเก่ยี วกับความ ตรสั ร้ขู องพระ คณุ คา่ และ คอื ทุกข์ พุทธเจ้า ความสาคัญ สมุทยั นิโรธ ๑.บอกคุณค่า เรอื่ งทุกข์ ทกุ ข์ที่คนเราทุกคนเผชิญอยู่ ของอริยสัจสี่ และมรรค และความสาคญั ๒.ความจริง ๒.ครถู ามนักเรียนว่าเคยมคี วามทกุ ข์ ๒.แผนภูมิ ๓ ๑.๒การบอก เม่ือผ้ใู ดปฏบิ ตั ิ ของอริยสจั สี่ได้ เร่ืองสมทุ ัย อริยสจั ส่ี ความหมาย ตามจะพบกบั ๒.บอกความ ๓ ๒.ความจริง (ปญั หา)บ้างไหมแล้วนกั เรียนมีวิธี ของอรยิ สัจสี่ ความจรงิ ท่ี หมายของอริสัจ เรื่องนโิ รธ ๒.รปู ภาพ – ๑.๒การ สามารถดับ สไ่ี ด้ ๔.ความจรงิ แกป้ ญั หานัน้ อย่างไร อธิบายความ ทกุ ข์ได้ ๒.อธิบายความ เรื่องมรรค ขนั้ สอน บคุ คลทม่ี ีปัญ จริงเร่ืองทุกข์ จรงิ เรอื่ ง ทุกข์ สมทุ ัย นโิ รธ ๑.ครูอธิบายถึงคุณคา่ และความหมายขอ ๓ หาต่างๆ มรรค สมทุ ัย นิโรธ อริยสัจสี่พระพุทธเจา้ ทรงตรัสรู้มา ๔.วดี ที ัศน์ ๑.๔การสรปุ ๒.ครอู ธบิ ายถงึ ความหมายของทกุ ข์ เกีย่ วกบั ปญั ๓ วธิ ีการแกไ้ ข และมรรค ได้ สมทุ ัย นิโรธ และ มรรค หาต่างๆใน ปัญหาตาม ๒.ครอู ธิบายหลกั การแกป้ ัญหาตามหลกั สังคม หลกั อริยสัจส่ี ๔.สรุปวธิ ีการ อริยสัจส่ี ทกุ ข์คือตวั ปญั หา เราจะ ๕.แบบฟอรม์ ๒.จากการ แก้ปญั หาได้กต็ ้องหาเหตุของปัญหา( การเขยี น ตรวจผลงาน แก้ปัญหาตาม สมทุ ยั ) หลงั จากนั้นกร็ วบรวมหลกั ฐาน โครงงาน โครงงาน และ อภปิ รายกลุ่ม หลกั การอริยสจั สไี่ ด้ ตรวจสอบ แลว้ ดบั ปัญหานน้ั ( นิโรธ ) ๕.เขยี น เม่ือดาเนินการตามกระบวนการเราจะได้ โครงงานเรื่อง แนวทางดับทุกข์ (มรรค ) การแก้ปัญหา ๔.ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่มอภปิ รายเก่ียวกับ ตามหลักอริยสัจ ปญั หาปญั หาที่พบบอ่ ยๆแล้วชว่ ยกนั หา สไ่ี ด้ แนวทางแก้ไขปัญหาน้ันๆตามหลัก อรยิ สัจสี่ ๕.ใหต้ วั แทนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอ หน้าชน้ั เรียน ๖.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนเขียน โครงงานเรื่องการแก้ปญั หาตามหลัก อรยิ สัจส่ี โดยเขียนลงแบบฟอรม์ การ

๑๓๐ เขยี นโครงงานที่ครแู จกใหเ้ พ่ือนาเสนอ ในชว่ั โมงตอ่ ไป ขั้นสรุป ๑.ให้นักเรียนสรุปคณุ ค่าและความสาคัญ ของอรยิ สัจส่ี ๒.ให้นักเรยี นสรุปการแก้ปัญหาตามหลกั อรยิ สจั สี่ กจิ กรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๑๓๑ ๓. แผนการเรยี นร้แู บบกึง่ ตาราง ดงั ตวั อยา่ ง แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรื่อง วนั พ่อ(พระราชาผูเ้ ป็นนึ่งในโลก) เวลา ๑ คาบ วชิ า พระพทุ ธศาสนา ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๕๗ สอนวันที่……..เดอื น………......……..พ.ศ………..ช่อื ผสู้ อน………………........…………………. จดุ ประสงค์ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ประสบการณ์ กจิ กรรม ส่ือ การประเมนิ ผล สาคัญ ๑.เด็กบอกไดว้ า่ เนื้อหา ขั้นนา ๑.นาหนงั สอื เรือ่ ง หนงั สือเรอ่ื ง สังเกตการตอบ ๑.การฟงั เรอ่ื งราว พระราชาผู้ คาถามของเด็ก วันเฉลมิ พระ ๑.วันที่ ๕ ธนั วาคม จากนิทาน พระราชาผเู้ ปน็ หนึง่ ในโลก เปน็ หนึ่งใน ชนมพรรษาของ เป็นวันเฉลมิ พระ ๒.การคาดเดา มาใหเ้ ด็กดูเก่ียวกบั ภาพที่ โลก พระบาทสมเดจ็ ชนมพรรษาของ เรื่องราวและ ปก อ่านชื่อเร่ืองให้เด็กฟัง พระเจ้าอยู่หวั พระบาทสมเด็จ ตรวจสอบความ และใหเ้ ด็กคาดเดาเรื่องจาก ตรงกบั วันท่ี พระเจ้าอยู่หัว เข้าใจของคน ชื่อเรือ่ ง เทา่ ไหร่ ๒.พระบาทสมเด็จ ๓.การเลา่ เรื่องซา้ ขั้นสอน ๒.อา่ นหนงั สือ ๒.เดก็ บอกพระ พระเจา้ อยู่หวั มี เร่อื งพระราชาผ้เู ปน็ หน่ึงใน นามของ โลกใหเ้ ด็กฟัง พระนามว่าภูมิพล ๓.ใหเ้ ดก็ ชว่ ยกันเลา่ เร่ืองซา้ พระบาทสมเด็จ แนวคดิ และครสู รุปเกีย่ วกับ พระเจา้ อยู่หวั ได้ พระบาทสมเดจ็ พระราชาประวตั ิใหเ้ ดก็ ฟงั อยา่ งย่อๆ โดยครเู ปดิ ดู พระเจ้าอยู่หัวทรง หนังสือทีละหน้า ขัน้ สรุป ๔.ครถู ามคาถาม เป็นพระราชาท่ี ใหเ้ ดก็ รว่ มกนั แสดงความ ยง่ิ ใหญท่ ี่ทรง คดิ เห็น ประกอบความดี เพ่อื ประชาชนของ พระองค์ กจิ กรรมเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. รปู แบบของแผนการสอนทงั้ ๓ แบบ ได้แก่ แบบไมใ่ ชต้ าราง แบบตาราง และแบบกงึ่ ตาราง สามารถ ยึดหย่นุ เรอื่ ง การแบง่ ชอ่ งและเรยี กชอ่ื ดังน้ี

๑๓๒ ๑. หัวเรื่อง ๒. จานวนคาบ / ชั่วโมงของแตล่ ะหัวข้อ ๓. สาระสาคญั โดยสรปุ ๔. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (กระบวนการท่ใี ช้) ๕. กิจกรรมการเรียนการสอน ๖. การใชส้ ่อื /อปุ กรณ์การเรียนการสอน ๗. การวดั ผลประเมินผล ๖.๔.๒ แนวทางการตรวจสอบคุณภาพของแผนการจดั การเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ที่เขียนเสร็จแล้ว ผู้เขียนควรตรวจสอบย้อนกลับไปดูอีกคร้ังว่าแผนที่เขียนขึ้นนั้นยังมี ขอ้ ใดท่ียังบกพร่องควรปรบั ปรุงโดยมีหลักการ ดังนี้๑๑๘ ๑. จดุ ประสงคก์ ารเรียนการสอน จุดประสงคท์ ดี่ นี นั้ จะตอ้ งมีคณุ สมบตั ิ ๓ ประการ ความครอบคลุม หมายถึง ความครอบคลุมมวลพฤติกรรม ๓ ด้าน คือ ด้านความรู้ ความ เข้าใจ ทักษะ เจตคติ เพราะทงั้ ๓ ด้านเป็นองค์ประกอบเพื่อการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอันเป็นจุดหมายสูงสุด ของการศึกษา อย่างไรก็ตามในแผนการเรียนรู้ หรือบันทึกการสอนหน่ึงๆ อาจไม่จาเป็นครบ องค์ประกอบ ๓ ด้านนเ้ี สมอไป ทงั้ นี้ขนึ้ อยกู่ ับเวลา เนอ้ื หา และวัยของผู้เรยี น ความชัดเจน หมายถึง จุดประสงค์น้ันมีความเป็นพฤติกรรมมากพอท่ีจะตรวจสอบว่ามีการ บรรลุแล้วหรือไม่ เช่น ถ้าเขียนเพื่อให้ “รู้” กับเพ่ือให้ “ตอบได้” คาว่า “รู้”เป็นความคิดรวบยอดมากกว่า พฤติกรรม ถือว่าไม่ชัดเจน แต่คาว่า “ตอบ” มีลักษณะเป็นพฤติกรรมมากขึ้นโดยผู้เรียนอาจจะพูดตอบ หรือ เขยี นตอบกไ็ ด้ ความเหมาะสม หมายถึง จุดประสงค์น้ันไม่สูงหรือต่าเกินไป ท้ังน้ีเมื่อคานึงถึงเวลา เนื้อหา และวัยของผู้เรียน ๒. เนื้อหาสาระ เนอ้ื หาในแผนการเรยี นรู้ หรือบันทกึ การสอนทีด่ นี ้นั จะต้องมีคณุ สมบัติ ๓ ประการคอื ความถูกต้อง ความครอบคลุม และความชัดเจน ดงั นี้ ๒.๑ ความถูกต้อง หมายถึง เน้ือหาสาระตรงกับหลักวิชา โดยทั้งน้ีอาจยึดตามคู่มือ วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ ๓ ๒.๒ ความครอบคลุม หมายถึง ปริมาณเนื้อหาตามหัวข้อน้ันมีมากพอท่ีจะก่อให้เกิด ความคดิ รวบยอดได้หรือไม่ ๒.๓ ความชัดเจน หมายถึง การที่เนื้อหามีแบบแผนของการนาเสนอสาระที่ไม่สับสน เข้าใจงา่ ย ๑๑๘ สวุ ิทย์ มูลคา และอรทัย มลู คา, ช่อื เรื่อง การจัดทาแผนการเรยี นรู้หรอื การสอน, (๒๕๔๕), หน้า ๑๐๘-๑๑๖.

๑๓๓ ๓. กจิ กรรมการเรียนการสอน (เนน้ ผเู้ รยี น) กจิ กรรมการเรียนการสอนที่ดีจะต้องมีคุณสมบตั ินา่ สนใจความเหมาะสมและความริเรมิ่ ดังน้ี ๓.๑ ความนา่ สนใจ หมายถงึ กิจกรรมท่นี ามาใช้ชวนให้นา่ ติดตามไม่เบอื่ หน่าย จุดประสงคไ์ ดจ้ รงิ ๓.๒ ความเหมาะสม หมายถึง กิจกรรมท่ีนามาใช้จะต้องทาให้เกิดการเรียนรู้ตาม ๓.๓ ความคิดริเร่ิม หมายถึง การที่นาเอากิจกรรมใหม่ๆ ที่ท้าทายมาสอดแทรกช่วย ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ ๔. สอ่ื การเรียนการสอน ส่ือการเรียนการสอนท่ีดีจะต้องมีคุณสมบัติของความน่าสนใจ ความประหยัดและการช่วยให้ เกิดการเรยี นรู้ได้เร็ว ดังนี้ ๔.๑ ความน่าสนใจ หมายถึง สื่อน้ันช่วยให้น่าติดตาม ไม่น่าเบ่ือ ช่วยให้เกิดการ เรียนรู้ไดเ้ รว็ หมายถึง สอ่ื นั้นจะต้องใช้ไดผ้ ลในการทาใหผ้ ู้เรยี นรู้ไดจ้ ริง และตรงกบั เน้ือหาท่ใี ช้เรียน ๔.๒ ความประหยัด หมายถึง สื่อท่ีใช้น้ันราคาแพง อยู่ในระดับสถานศึกษา รับผดิ ชอบได้ ๕. การวดั และประเมินผล การวัดและประเมินผลทีร่ ะบุไวใ้ นแผนการเรยี นรู้ท่ีดีควรมีคุณสมบัติของความเที่ยงตรง ความ เชอื่ ถอื ได้ และความสามารถประยกุ ตไ์ ด้ ดงั นี้ ๕.๑ ความเทยี่ งตรง หมายถึง เครื่องมือ วิธีการท่ีใช้ในการวัดผลของแต่ละแผนนั้นๆ ต้องสอดคล้องและตรงตามจุดประสงค์ท่ีระบุไว้ในแผนการเรียนรู้น้ันๆ และรวมท้ังตรงตามเน้ือหาที่ใช้ ประกอบการสอน ๕.๒ ความเชื่อถอื ได้ หมายถงึ เคร่ืองมือ วิธีการท่ีใช้ในการวัดผลของแต่ละแผนน้ันๆ ต้องสอดคล้อง และตรงตามจุดประสงค์ท่ีระบุไว้ในแผนการเรียนรู้น้ันๆ และรวมทั้งตรงตามเนื้อหาท่ีใช้ ประกอบการสอน ๕.๓ ความสามารถประยุกต์ได้ หมายถึง การที่ประเมินท่ีระบุไว้สามารถประเมินได้ จรงิ มิใช่แต่ระบุไว้เฉย ๆ ๖. ความสอดคล้องขององค์ประกอบต่างๆ ของแผนการเรียนรู้ความสอดคล้องของ แผนการเรียนรู้ ให้พิจารณาความสอดคล้องของเรื่องจุดประสงค์การเรียนการสอน เนื้อหาสาระกิจกรรมการ เรียนการสอน สอื่ การเรยี นการสอน ประเมินผลตลอดท้ังแผนนั้นๆ ๖.๔.๓ แนวทางการประเมนิ แผนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง หลังจากครผู สู้ อนวทิ ยาศาสตรไ์ ด้เขียนแผนการเรยี นรู้เสร็จเรยี บรอ้ ยแล้วควรมกี ารตรวจสอบแผนการ เรียนรู้ และประเมินแผนการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง เพ่ือเป็นแนวทางใหค้ รผู เู้ ขยี นแผนการเรยี นรู้นาผลการประเมิน

๑๓๔ ไปปรับปรงุ แผนการเรียนรตู้ ามแนวทางการตรวจสอบคณุ ภาพของแผนการเรียนรู้เพื่อให้ไดแ้ ผนการเรยี นรู้มี คุณภาพ อนั ส่งผลถึงประสิทธภิ าพการสอนจากการใช้แผนการเรียนรูน้ ัน้ ๆ๑๑๙ ตวั อย่าง แบบประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง คาช้แี จง ๑.ให้ท่านประเมินแผนการเรียนรู้ที่เขียนขึ้นมาโดยตัวท่านเองว่าในรายการประเมินอยู่ใน ระดบั ใด โดยทาเคร่อื งหมาย / ลงในช่องทกี่ าหนดให้ และการให้นาหนกั ของคะแนนตามความหมาย ดงั นี้ ๕ หมายถงึ ดมี าก ๔ หมายถึง ดี ๓ หมายถึง พอใช้ ๒ หมายถึง ปรบั ปรุง ๑ หมายถึง ใช้ไมไ่ ด้ การแปลผลของการประเมินผล แผนการเรยี นรู้ ๘๐ – ๑๐๐ อยู่ในระดบั ดีมาก ๖๐ – ๗๙ อยู่ในระดับดี ๔๐ – ๕๙ อยใู่ นระดบั พอใช้ ๒๐ – ๓๙ อยู่ในระดบั ปรบั ปรุง ตา่ กว่า ๒๐ อย่ใู นระดับใชไ้ ม่ได้ ตารางท่ี แบบประเมนิ แผนการจัดการเรียนรดู้ ้วยตนเอง รายการประเมนิ ดี ดี ระดบั หมายเหตุ มาก ๑. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ พอ ปรับ ใช้ ความครอบคลุมและชัดเจน ใช้ ปรุง ไมไ่ ด้ ความเหมาะสม ๒. เนื้อหาสาระ ความถกู ตอ้ งและชัดเจน ความครอบคลมุ ๓. กจิ กรรมการเรียนการสอน ความน่าสนใจ ความเหมาะสม ความริเรม่ิ ๔. สือ่ การเรยี นการสอน ความน่าสนใจ ชว่ ยให้เกดิ การเรยี นรไู้ ดเ้ รว็ ความประหยดั ๑๑๙ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย,ี ชือ่ เรอ่ื ง การสอนและการจัดการเรยี นรู้, (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์คุรสุ ภา, ลาดพรา้ ว, สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย,ี ๒๕๔๖), หน้า ๙๘- ๑๐๑,

๑๓๕ ๕. ตรงกบั เน้อื หา ๖. การประเมนิ ผล ความเทีย่ งตรง ความเชอื่ ถอื ได้ ความสามารถประยกุ ตไ์ ด้ ๗. ความสอดคลอ้ ง จุดประสงคก์ ับกิจกรรมการเรยี นการสอน เนื้อหากิจกรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมการเรยี นการสอนกบั สือ่ การเรียนการสอน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ กับการวัดและประเมินผล เนื้อหากับการวดั และประเมนิ ผล รวม แนวทางการรวบรวมและสรุปรายงานผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้การรวบรวมแผนการเรียนรู้เป็น รูปเล่ม แผนการเรียนรู้ท่ีใช้ประกอบการสอนตลอดปีการศึกษาน้ัน เมื่อสิ้นปีการศึกษาแล้วควรจัดเก็บรวบรวม แผนการจัดการเรียนรู้ไว้เป็นรูปเล่มเพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาแผนการที่มีท่ีมีประสิทธิภาพต่อไป ซึ่งการ รวบรวมแผนการจดั การเรยี นรเู้ ปน็ รูปเลม่ นั้น ควรประกอบด้วยดังนี้ ส่วนที่ ๑ คาอธิบายรายวิชา และผลการวิเคราะห์หลักสูตร โดยจาแนกให้เห็นได้ว่าแยกแยะ จุดประสงค์ เนื้อหา และเวลาที่ใชส้ อนแต่ละเน้อื หาอยา่ งไร ส่วนที่ ๒ ตารางสอนของครผู ทู้ าการสอน ส่วนท่ี ๓ แผนการเรยี นรู้ หรือบนั ทกึ การสอนท้งั หมด ส่วนท่ี ๔ ภาคผนวก ประกอบดว้ ยเอกสารหรอื สือ่ ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้ประกอบการสอนแตล่ ะครงั้ ๖.๔.๔ การจัดทารายงานผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ เม่ือส้ินปีการศึกษา ครูผู้สอนควรมีการสรุปผลการสอนของตนเอง โดยสรุปผลการสอนในรูปของ เอกสาร “รายงานผลการใช้แผนการเรียนรู้” เพื่อที่จะเป็นแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน ของตนเองได้อย่างเปน็ ระบบในเอกสารการรายงานผลการเรยี นรคู้ วร ประกอบดว้ ย ตอนที่ ๑ เกรนิ่ นา จะประกอบด้วย หลักสูตร คาอธิบายรายวิชา จุดหมายหลักการสอน แนวการนา หลกั สูตรไปใชก้ ับผเู้ รยี น ตอนที่ ๒ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ ๓ (ม.๑๓ม.๓) โครงสร้าง เน้ือหา จุดหมาย คาอธิบายรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ ขอบข่ายเน้ือหาท่ีใช้ประกอบการสอนกิจกรรมการเรียน การสอน ส่อื การเรียนการสอน เครอื่ งมือวดั ผลอืน่ ๆ ตอนที่ ๓ ผลการสอน เป็นส่ิงที่ได้จากการใช้แผนการเรียนรู้ที่ผลการสอนอาจจะเป็นผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนท้ังภาคความรู้ ภาคปฏิบัติ ความสามารถทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เจตคติทาง วิทยาศาสตร์ หรือความสามารถทางวิทยาศาสตร์ในสมรรถภาพอ่ืนๆ ระหว่างเรียน ปลายภาค หรือปลายปี เป็นของผู้เรียนเป็นรายบุคคล รายหอ้ งเรยี น หรอื รายชัน้ เรยี น เป็นต้น

๑๓๖ ตอนที่ ๔ สรุปผลการเรียน อภิปรายผล และข้อเสนอแนะการจัดทาแผนการเรียนรู้การใช้แผนการ เรยี นรู้ แผนการสอนท่ดี คี วรยดึ หลกั การเขียน ดงั น้ี ภาษาเข้าใจง่าย และสามารถส่ือได้ตรงกันไม่ว่าใครใช้สอน ก็เข้าใจตรงกนั ชยั ยงค์ พรหมวงศ์๑๒๐ ได้ให้ทัศนะว่า การเขียนแผนท่ีดีนั้น ควรเขียนครอบคลุมเน้ือหาและต้องไม่ เขียนพฤติกรรมของครูลงในแผนการสอน พึงระลึกเสมอว่านักเรียนเป็นผู้แสดง ครูเป็นเพียงผู้แนะนา แบบเรยี นหรอื แผนใดๆ มิใช่คัมภีร์หรือกฎหมายที่ครูต้องปฏิบัติตามไปเสียหมด จะต้องนาไปพิจารณาถึงความ เหมาะสม ปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสมแกบ่ ุคคล โอกาสและสถานท่จี งึ นบั วา่ เปน็ ครทู ่ีมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริงการทา แผนการสอน ไม่วา่ จะเปน็ ลักษณะและรูปแบบใด จะตอ้ งคานงึ ถงึ สงิ่ ต่อไปนี้เป็นสาคัญ ๑. จุดประสงค์การเรยี นรู้ต้องชดั เจน ๒. กิจกรรมควรนาไปสูผ่ ลการเรียนตามจดุ ประสงค์ไดจ้ รงิ ๓. ระบุพฤติกรรมนักเรียนและพฤติกรรมครูผู้สอนอย่างชัดเจน ในการอานวยความสะดวกแก่ นกั เรยี นให้เกิดการเรียนรู้ ๔. ส่ือการเรียนการสอนจะต้องมคี ุณค่า มีความหลากหลาย ท้ังของจริง ภาพ แผนภมู ิ เอกสาร ใบความรู้ ๕. วิธีการวัดผลควรชัดเจนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ แผนการสอนที่มีคุณภาพ จะแสดงถึงการ เตรียมความพร้อมของครูในการพัฒนาอาชีพอีกด้วย ส่ิงสาคัญควรเร่ิมลงมือศึกษาและทาแผนการสอนตลอด ทงั้ นาไปใชแ้ ลว้ บันทึกผลลงด้วยจงึ จะเกดิ ประโยชน์ตอ่ ตัวนักเรียนอย่างสูงสดุ ๖.๕ ลกั ษณะของแผนการสอนท่ดี ี ลกั ษณะของแผนการสอนทีด่ ี ควรมดี ังน้ี ๑. มีความละเอยี ด ชัดเจน มีหวั ข้อและสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ครอบคลุมตามศาสตร์ของการสอนโดย สามารถตอบคาถามต่อไปนี้ ๑.๑ สอนอะไร (หน่วย หวั เรอ่ื ง ความคดิ รวบยอดหรอื สาระสาคัญ) ๑.๒ เพื่อจดุ ประสงค์อะไร (จุดประสงค์การเรียนรู้ ซ่งึ ควรเขยี นเป็นจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม) ๑.๓ ดว้ ยสาระอะไร (เนื้อหา / โครงรา่ งเนอื้ หา) ๑.๔ ใช้วธิ กี ารใด (กิจกรรมการเรียนรู้ซงึ่ ใชก้ จิ กรรมการเรียนร้ทู ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ) ๑.๕ ใชเ้ ครอื่ งมืออะไร (วัสดุอุปกรณ์ ส่อื และแหล่งการเรยี นร้)ู ๑.๖ ทราบได้อยา่ งไรว่าประสบความสาเรจ็ (การวัดผลและประเมินผล) ๒. แผนการจดั การเรียนร้สู ามารถนาไปปฏบิ ตั ิได้จริง ๓. ส่วนประกอบต่าง ๆ ของแผนการจดั การเรยี นรมู้ ีความสอดคล้องสมั พนั ธ์เช่ือมโยงสัมพนั ธ์กัน เชน่ ๓.๑ จดุ ประสงค์การเรียนรคู้ รอบคลมุ สาระ / เน้อื หา และเปน็ จดุ ท่พี ัฒนาผ้เู รียนในด้าน ความรทู้ กั ษะ กระบวนการและเจตคติ ๓.๒ กิจกรรมการเรียนรู้ ควรสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคแ์ ละเน้อื หา / สาระ ๓.๓ วัสดอุ ุปกรณ์ ส่ือ และแหลง่ การเรียนรู้ ควรสอดคล้องสัมพันธก์ บั กิจกรรมการเรียนรู้ ๑๒๐ ชัยยงค์ พรหมวงศ,์ ๒๕๓๗ : หนา้ ๒๐๑ – ๒๐๘, เขา้ ถงึ ได้จาก https://sites.google.com/site/prapasara/ ๕๓๔ สบื คน้ เมือ่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗.

๑๓๗ ๓.๔ การวัดผลและประเมินผล ควรสอดคล้องกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ แผนการจัดการสอนที่ดีและสอดคล้องกบั หลักเกณฑใ์ นการขอเล่ือนวทิ ยฐานะ ต้องเป็นแผนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ดงั น้ี ๑. มกี ารวิเคราะห์หลักสตู ร จดั ทาตารางวิเคราะหค์ าอธบิ ายรายวิชา หรือวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรู้ จดั ทาหนว่ ยการเรยี นรู้ และจัดทากาหนดการสอนหรือโครงการสอน ๒. มีการวิเคราะห์ผูเ้ รียน โดยการจดั กลุ่มผ้เู รียนตามความรู้ ความสามารถ ความสนใจ และความ ถนดั แลว้ นาไปเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ตามศกั ยภาพของผู้เรียนเพ่อื เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๓. มีการกาหนดเนื้อหา สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรสู้ อดคล้องกบั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง ศักยภาพของผเู้ รยี น และความตอ้ งการของท้องถิน่ รวมทงั้ การบูรณาการระหว่างวิชา ๔. มีการกาหนดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย เหมาะสมและสอดคล้องกบั ศักยภาพของผเู้ รียน มี การบรู ณาการ เนน้ การคิด (ทักษะการคิด ลักษณะการคดิ และกระบวนการคิด) การฝกึ ทักษะ การปฏิบตั จิ รงิ และการสร้างองคค์ วามรูด้ ว้ ยตนเอง ๕. มกี ารกาหนดส่อื /นวตั กรรม/แหลง่ เรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย สอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรยี นร/ู้ ผล การเรียนรู้ทคี่ าดหวงั กจิ กรรมการเรยี นรู้ วัยและความสามารถของผู้เรยี น และใหผ้ เู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการเลือก จดั หาและจดั ทาส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ ๖. มีการกาหนดการวดั ผลและประเมินผล สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรยี นรู้/ผลการเรยี นรูท้ ี่ คาดหวังและกจิ กรรมการเรยี นรู้ มีการวดั ผลตามสภาพจรงิ ให้ครอบคลุมทั้งดา้ นความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ ๗. มีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วน เน้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั สอดคล้องกับความต้องการของทอ้ งถิ่น เนน้ คุณธรรม จริยธรรม และมีการบรู ณาการตามความเหมาะสม ๘. มคี วามสมบรู ณถ์ ูกตอ้ ง มีความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ เปน็ ประโยชน์ต่อผ้เู รียน ทาให้ผู้เรียนไดพ้ ฒั นา ด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ แผนการสอนท่ีดีจะชว่ ยใหก้ ารเรยี นการสอนประสบผลสาเร็จ ลกั ษณะของแผนการสอนท่ีดี อาภรณ์ ใจเที่ยง๑๒๑ ไดก้ ล่าวไว้มีดงั นี้ ๑. สอดคล้องกบั หลักสูตร ๒. นาไปใชไ้ ด้จรงิ และมีประสิทธิภาพ ๓. เขยี นอย่างถูกต้องตามหลักวิชา เหมาะสมกบั ผู้เรยี นและระยะเวลาที่กาหนด ๔. มีความกระจา่ งชัดเจน ทาให้ผูอ้ า่ นเข้าใจง่ายและเข้าใจไดต้ รงกนั ๕. มีรายละเอียดมากพอท่ีทาให้ผอู้ ่านสามารถนาไปใชส้ อนได้ ๖. ทกุ หวั ข้อในแผนการสอนมีความสอดคล้องสัมพันธ์กนั วลั ลภ กนั ทรพั ย์๑๒๒ ยงั ไดเ้ สนอแนะว่าแผนการสอนทีด่ ีควรมีกจิ กรรมการเรียนรู้ท่มี ีลักษณะ ๓ ประการ ดังนี้ ๑. เปน็ แผนการสอนท่มี ีกิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ ปน็ ผ้ลู งมือปฏิบตั ใิ หม้ ากท่ีสดุ โดยครูเปน็ เพียงผู้ คอยชแ้ี นะหรอื สง่ เสรมิ หรือกระตุ้นให้กิจกรรมท่ผี ู้เรียนดาเนินการเปน็ ไปตามความมุ่งหมาย ๑๒๑ อาภรณ์ ใจเที่ยง, ๒๕๔๐ : หน้า ๒๑๙, เข้าถงึ จาก archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/emath0451aj_ch2.pdf สบื ค้นเมอ่ื ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗. ๑๒๒ วัลลภ กันทรพั ย,์ ๒๕๓๔ : หน้า ๔๔-๔๕, เขา้ ถงึ จาก archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/emath0451aj_ch2.pdf สบื คน้ เมอื่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗.

๑๓๘ ๒. เป็นแผนการสอนทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นคน้ พบคาตอบหรอื ทาเสรจ็ ด้วยตนเอง โดยครู พยายามลดบทบาทจากผู้บอกคาตอบมาเป็นผู้คอยกระตุ้นดว้ ยคาถามหรือปญั หา ๓. เป็นแผนการสอนทเ่ี น้นทักษะกระบวนการใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ทส่ี ามารถจัดหาได้ในท้องถิ่น หลกี เล่ยี งการใช้วสั ดุอุปกรณ์สาเร็จรปู ราคาสงู สมนึก ภทั ทยิ ธนี๑๒๓ ไดก้ ลา่ วถึงลกั ษณะที่ดีของแผนต้องมีขั้นตอน ดังน้ี ๑. เน้อื หาต้องเขียนเป็นรายคาบ หรอื รายชัว่ โมงตารางสอน โดยเขียนให้สอดคล้องกับช่ือ เร่อื งให้อยู่ในโครงการสอน และเขยี นเฉพาะเนอื้ หาสาระสาคญั พอสังเขป (ไม่ควรบันทึกแผนการสอนอย่าง ละเอยี ดมาก ๆ เพราะจะทาให้เกดิ ความเบ่ือหน่าย) ๒. ความคดิ รวบยอด (Concept) หรอื หลกั การสาคัญ ต้องเขียนให้ตรงกบั เน้ือหาที่จะสอน สว่ นนถ้ี ือว่าเปน็ หัวใจของเรื่องครตู ้องทาความเข้าใจในเน้ือหาทจี่ ะสอนจนสามารถเขยี นความคดิ รวบยอดได้ อยา่ งมีคุณภาพ ๓. จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ตอ้ งเขยี นให้สอดคล้อง กลมกลนื กับความคิดรวบยอด มใิ ชเ่ ขยี น ตามอาเภอใจไม่ใช่เขยี นสอดคลอ้ งเฉพาะเน้ือหาทจี่ ะสอนเท่านน้ั เพราะจะไดเ้ ฉพาะพฤติกรรมทเ่ี กีย่ วกับความรู้ ความจา สมองหรือการพัฒนาของนักเรยี นจะไม่ได้รบั การพัฒนาเท่าท่ีควร ๔. กิจกรรมการเรียนการสอน โดยยดึ เทคนคิ การสอนตา่ งๆ ทจี่ ะช่วยให้นักเรยี นเกิดการ เรยี นรู้ ๕. สื่อทใ่ี ชค้ วรเลือกให้สอดคลอ้ งกับเน้อื หา ส่ือดงั กล่าวต้องช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจใน หลักการได้งา่ ย ๖. วดั ผลโดยคานึงถึงเนือ้ หา ความคดิ รวบยอด จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมและช่วงที่ทาการวัด (ก่อนเรียน ระหวา่ งเรียน หลงั เรียน) เพ่อื ตรวจสอบว่าการสอนของครบู รรลจุ ุดมุ่งหมายท่ีตั้งไว้หรือไม่ สาระสาคัญ จุดประสงค์ เนอ้ื หา กิจกรรมการเรยี นการสอน ส่ือการสอน การวดั ผล ความจรงิ อนั เพื่อใหน้ ักเรยี น อรยิ สัจส่ี ขน้ั นา ๑.รปู ภาพการ ๑.สงั เกตจาก ๑.๑การบอก ประเสริฐ ๔ สามารถ ๑.ความจริง ๑.ครูพูดคุยกับนักเรียนเกี่ยวกับความ ตรสั รู้ของพระ คุณค่าและ คอื ทุกข์ พุทธเจ้า ความสาคญั สมุทัย นโิ รธ ๑.บอกคณุ ค่า เรื่องทุกข์ ทุกขท์ ี่คนเราทุกคนเผชิญอยู่ ของอริยสัจสี่ และมรรค และความสาคญั ๒.ความจรงิ ๒.ครูถามนักเรียนว่าเคยมีความทุกข์ ๒.แผนภมู ิ ๓ ๑.๒การบอก เมอ่ื ผใู้ ดปฏิบตั ิ ของอริยสัจสไ่ี ด้ เร่ืองสมุทัย (ปัญหา)บ้างไหมแล้วนักเรียนมีวิธี อริยสัจส่ี ความหมาย ตามจะพบกับ ๒.บอกความ ๒.ความจริง ๓.รูปภาพ – ของอริยสจั ส่ี ความจริงท่ี หมายของอริสจั เรื่องนโิ รธ แกป้ ญั หานนั้ อย่างไร ๑.๓ การ สามารถดบั สไี่ ด้ ๔.ความจรงิ บุคคลทม่ี ี อธบิ ายความ ทกุ ข์ได้ ๓.อธบิ ายความ เรอ่ื งมรรค ขัน้ สอน จริงเรื่อง ทกุ ข์ ปัญหาต่างๆ ๑.ครูอธิบายถึงคุณค่าและความหมายขอ ๔.วีดที ัศน์ อริยสัจสพี่ ระพุทธเจา้ ทรงตรสั รู้มา เกยี่ วกับ ๒.ครูอธบิ ายถึงความหมายของทุกข์ ๑๒๓ สมนึก ภัททิยธน,ี ๒๕๔๖: หนา้ ๕, เขา้ ถงึ จาก https://sites.google.com/site/prapasara/534 สบื คน้ เมื่อ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗.

๑๓๙ สมทุ ัย นิโรธ สมุทยั นิโรธ และ มรรค ปัญหาต่างๆใน จรงิ เร่อื งทุกข์ และมรรค ได้ ๔.สรปุ วิธกี าร ๓.ครูอธบิ ายหลักการแก้ปัญหาตามหลัก สงั คม สมุทัย นิโรธ แก้ปญั หาตาม หลกั การอรยิ สัจ อริยสัจส่ี ทุกข์คือตวั ปญั หา เราจะ ๕.แบบฟอร์ม มรรค ส่ีได้ ๕.เขียน แก้ปัญหาไดก้ ต็ ้องหาเหตุของปญั หา( การเขียน ๑.๔การสรุป โครงงานเรอื่ ง การแก้ปัญหา สมุทยั ) หลงั จากนน้ั กร็ วบรวมหลักฐาน โครงงาน วิธีการแกไ้ ข ตามหลักอริยสจั ส่ีได้ ตรวจสอบ แลว้ ดบั ปญั หาน้นั ( นิโรธ ) ปญั หาตาม สรุปท้ายบท เมอื่ ดาเนินการตามกระบวนการเราจะได้ หลักอริยสจั สี่ แนวทางดบั ทุกข์ (มรรค ) ๒.จากการ ๔.ให้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ อภิปรายเกย่ี วกับ ตรวจผลงาน ปญั หาปญั หาที่พบบ่อยๆแลว้ ช่วยกนั หา โครงงาน และ แนวทางแก้ไขปัญหานัน้ ๆตามหลกั อภปิ รายกลุ่ม อริยสัจสี่ ๕.ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอ หนา้ ช้ัน เรยี น ๖.ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มวางแผนเขยี น โครงงานเร่ืองการแก้ปญั หาตามหลัก อริยสจั สี่ โดยเขียนลงแบบฟอรม์ การ เขยี นโครงงานที่ครแู จกให้เพ่ือนาเสนอ ในชัว่ โมงตอ่ ไป ข้นั สรุป ๑.ให้นกั เรยี นสรุปคุณคา่ และความสาคญั ของอริยสัจสี่ ๒.ใหน้ ักเรียนสรุปการแก้ปัญหาตามหลกั อรยิ สจั สี่ การกาหนดแผนการสอนเป็นภารกิจสาคัญของครูผู้สอนทาให้ผู้สอนทราบล่วงหน้าว่าจะ สอนอะไร เพอื่ จุดประสงค์ใด สอนอยา่ งใด ใช้สอ่ื อะไร และวดั ผลประเมนิ ผลโดยวิธีใดเป็นการเตรียมตัวให้พร้อมก่อนสอน การท่ีผู้สอนได้วางแผนการสอนอย่างถูกต้องตามหลักการย่อมช่วยให้เกิดความมั่นในใจในการสอน ทาให้สอน ได้ครอบคลุมเน้ือหา สอนอย่างมีแนวทางและมีเปูาหมาย และเป็นการสอนที่ให้คุณค่าแก่ผู้เรียน ดังนั้น ผู้สอน จึงจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ ลักษณะ ขั้นตอนการจัดทาและหลักการ วางแผนการสอน ตลอดจนลักษณะของแผนการสอนท่ีดี เพ่ือส่งผลให้การเรียนการสอนดาเนินไปสู่จุดหมาย ปลายทางทีก่ าหนดไว้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และเป็นการสอนที่ตรงตามหลักสูตร เพราะในการวางแผนการสอน ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรท้ังด้านจุดประสงค์การสอนเนื้อหาสาระที่จะสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อการสอน และการวัดผลประเมินผล แล้วจัดทาออกมาเป็นแผนการสอน เมื่อผู้สอนสอนตามแผนการ สอนกย็ ่อมทาใหเ้ ปน็ การสอนทต่ี รงตามจดุ หมายและทิศทางของหลักสูตร และผู้สอนจาเป็นต้องมีเอกสารเตือน

๑๔๐ ความจาท่ีสามารถนามาใช้เป็นแนวทางในการสอนต่อไป ทาให้ไม่เกิดความซ้าซ้อน และเป็นแนวทางในการ ทบทวน หรือการออกขอ้ ทดสอบเพื่อวดั ผลประเมินผูเ้ รยี นได้ คาถามทา้ ยบท ๑. สงบ ลักษณะ ให้ความหมายของแผนการสอนวา่ อยา่ งไร อธบิ ายฯ ๒. แผนการสอน มีความสาคัญสาหรบั ครู อย่างไร อธิบายฯ ๓. การวดั และประเมนิ ผลทีร่ ะบไุ วใ้ นแผนการสอนการเรยี นรทู้ ดี่ ี มีคุณสมบตั อิ ยา่ งไรบ้าง อธบิ ายฯ ๔. ลักษณะของแผนการสอนท่ดี ี อาภรณ์ ใจเที่ยง กลา่ วไว้ว่าอย่าไร อธบิ ายฯ ๕. ยกตวั อย่างการเขียนแผนการสอนในรายวิชาพระพทุ ธศาสนา มา ๑ ตวั อยา่ ง (เรื่องอะไรกไ็ ด้) ฯ ๖. อธิบายแผนการสอนท่ีทาใหก้ ารเรียนการสอนมีประสิทธภิ าพมากขึ้น มอี ะไรบา้ ง ฯ ๗. อธบิ ายลกั ษณะของแผนการสอนที่ดีมาพอสงั เขปฯ ๘. สมนึก ภัททยิ ธนี ได้กล่าวถึงลกั ษณะทดี่ ีของแผนการสอนไว้มกี ขี่ ั้นตอน อะไรบ้าง อธิบายฯ ๙. ยกตัวอยา่ งเก่ียวกับรูปแบบของแผนการเรยี นรู้มา ๑ เร่ืองฯ ๑๐. การจัดทารายงานผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ประกอบด้วยอะไรบ้าง อธิบายฯ

๑๔๑ เอกสารอ้างอิงประจาบท ชยั ยงค์ พรหมวงศ์, ๒๕๓๗ : หนา้ ๒๐๑ – ๒๐๘, เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/prapasara/๕๓๔ สืบคน้ เม่ือ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗. นิคม ชมพูหลง, ชื่อเรื่อง การจดั ทาแผนการเรียนรู้หรอื แผนการสอน,(ออนไลน์) เขา้ ถงึ ได้จาก (https://www.gotoknow.org/posts/๕๕๑๐๐๙) สืบค้นเมอ่ื วันที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗. วัฒนาพร ระงับทุกข์, ๒๕๔๒ : หนา้ ๑ เข้าถึงได้จาก (https://sites.google.com/site/prapasara/๕๓๔) สืบคน้ เมอ่ื วันท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗. วัลลภ กันทรพั ย์, ๒๕๓๔ : หน้า ๔๔-๔๕, เข้าถงึ ไดจ้ าก archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/emath Emath0451aj_ch2.pdf สบื คน้ เมื่อ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗. สงบ ลกั ษณะ, ช่ือเรือ่ ง แนวการทาแผนการสอน, กรงุ เทพมหานคร : กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๒๕๓๓, หน้า ๑. สงบ ลกั ษณะ, ชอ่ื เรื่อง แนวการทาแผนการสอน, กรุงเทพมหานคร : กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร ๒๕๓๓, หน้า ๓๓๔. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ชอ่ื เรือ่ ง การสอนและการจัดการเรยี นรู้ ๒๕๔๖ : หน้า ๙๘-๑๐๑, กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ครุ ุสภา, ลาดพร้าว, สถาบนั สง่ เสริมการสอน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. สมนกึ ภทั ทิยธนี, ๒๕๔๖: หน้า ๕, เข้าถึงจาก https://sites.google.com/site/prapasara/535 สืบคน้ เมอ่ื ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗. สมศักดิ์ วนั สดุ ล, ชื่อเร่ือง แนวการทาแผนการสอน, กรงุ เทพมหานคร : กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๔๕, หน้า ๑๒. สกุ ญั ญา ธารวี รรณ, ชอื่ เร่ือง หลกั การสอนและเตรยี มประสบการณ์, กรุงเทพมหานคร : ภาควชิ าหลักสตู ร และการสอนวทิ ยาลยั สวนสนุ นั ทา, ๒๕๕๑ หนา้ ๒๐๙. สุพล วงั สนิ ธ,์ ๒๕๓๖ : หนา้ ๕–๖ เขา้ ถึงจาก https://www.gotoknow.org/posts/551009 สบื คน้ เมื่อ วนั ที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗.