๑๙๒ A. J. Romiszowski. ความหมายของสื่อการเรียนการสอน, ทางด้านการออกแบบ การพัฒนา และการ - ประเมนิ ผลสือ่ การเรยี นการสอนของมหาวิทยาลยั ซีราควิ ส์. ๑๙๙๒. Bower, Gordon H. and Ernest R. Hilgard. Theorise of Learning. Pertice – Hall Inc., 1981. Brown, Radcliffe. Structure and Function in Primitive Society. United States of America : Pearson Education, 1964. Campbell, D. T. & Stanley, J. C. Experimental and quasi-experimental designs for research (10th ed.). Chicago: Rand McNally. 1973. Ebel, Robert L. and Frisbie, David A. Essentials of Educational Measurement, New Jersey : Perntice-Hall, Inc., 1986. Gerlach and Ely. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, (พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๒) กรุงเทพฯ ๒๕๒๖. Gronlund, Norman E. Measurement and Evaluation in Teaching, 3rd ed. New York : McMillan, 1976. Hass, Kenneth B. and Herry Q. Packer. Preparation and Use of Audio Visual Aids. 3rd ed. New York : Prentice Hall, Inc. 1964. Heinich, Robert, Michael Molenda & James D. Russel. Instructional Media and the New Technologies Instruction. New York: John Wiley & Son, 1985. Kimble, B. B. A student of the relationship of principal perceived self-concept and 1986. principle perceived communication Style. Dissertation Abstracts International 33, (7). Marquardt, M.J. Building the Learning Organization : A Systems Approach to Quantum Improvement and Global Success. New York : McGraw-Hill. 1996. Mehrens, William A. Measurement and Evaluation in Education and Psychology,2nd ed. New York : Holt, Rinehart and Winston, Inc., 1978. Prokesch, S. Unleashing the Power of Learning : An Interview With John Browne. Fortune, 1997. Sax, Gilbert. Principles of Educational and Psychological Measurement and Evaluation, 3rd ed. United States : Wadsworth Publishing Company, Inc., 1989. Shambaugh, R. N. & Magliaro, S. L. Mastering the possibilities, Massachusetts: Allyn and Bacon, 1997. Shores, Louis. .Instructtional Materials. New York : The Ronald Press Company. 1960. Smith, P. L. & Ragan, T. J. Instructional design (2nd ed.), New Jersey: Prentice- Hall, 1999. Webster, Noah Webster’s Third New International Dictionary of the English Language. Springfield, Massachusette, Merrian-Webster. 1981.
๑๙๓ Wiersma, William and Jus, Stephen G. Educational Measurement and Testing, 2nd ed. Massachusetts : A Division of Simon & Schuster, Inc., 1990.
๑๙๔ ประวัติผเู้ ขยี น นายทิพย์ ขันแก้ว การศึกษา ทางธรรม : นกั ธรรมชน้ั เอก, เปรียญธรรม ๙ ประโยค ทางโลก : การศกึ ษามหาบัณฑติ (การบริหารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร : กาลงั ศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาพทุ ธจติ วทิ ยา มจร. ประสบการณ์การสอน : รายวชิ าบาลไี วยากรณ์ sp101-112 : รายวชิ าพระสตุ ตนั ตปฎิ ก : รายวิชาพระอภธิ รรมปิฎก : รายวิชาความรเู้ บอื้ งต้นการบริหารจดั การ : รายวิชานิเวศวิทยาในพระไตรปฎิ ก : รายวิชาคอมพิวเตอรเ์ บื้องต้น : รายวิชาแตง่ แปลบาลี (กรรมการออกขอ้ สอบกลาง) : รายวิชาพระวินัยปฎิ ก ปัจจุบัน : อาจารย์ประจาวทิ ยาลัยสงฆ์บรุ รี ัมย์ สาขาการสอนวชิ าพระพทุ ธศาสนาและจิตวิทยาแนะแนว การสอน :รายวิชาการสอนแบบโยนิโสมนสิการ :รายวิชาฉันทลักษณ์ :รายวิชาบาลไี วยากรณ์ชน้ั สงู :รายวชิ าพุทธวิธีการสอน :รายวิชาแนวโน้มการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา : รายวิชาบรหิ ารจดั การในห้องเรยี น :รายวิชาพระสงฆ์กบั ภาวะผนู้ า :รายวชิ าบาลไี วยากรณ์เบ้ืองต้น :รายวิชานวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา :รายวชิ าการบรหิ ารงบประมาณ :รายวิชาภาษาศาสตรเ์ บื้องตน้ :รายวิชาพระพทุ ธศาสนากบั การศึกษา :รายวิชาหลักสูตรและสาระการเรยี นร้พู ระพทุ ธศาสนา :รายวิชาแตง่ แปลบาลี เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา หลกั สูตรประกาศนียบตั รบริหารกิจการคณะสงฆ์ หลกั สูตรพทุ ธศาสตรบัณฑิต ๑.พทุ ธวิธีการสอน ๑.การบรหิ ารจัดการห้องเรยี น ๒.พระสงฆ์กับภาวะผนู้ า ๒.แนวโน้มการศกึ ษาทางพระพุทธศาสนา ๓.การบริหารงานสาธารณูปการ ๓.นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศการศึกษา ๔.การบริหารศาสนสมบัติ ๔.พฒั นาการศึกษาคณะสงฆไ์ ทย ๕.การบรหิ ารการศกึ ษาคณะสงฆ์ ๕.ฉนั ทลักษณ์บาลีศกึ ษา ๖.การบรหิ ารงานธรุ การ ๖.การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสาหรบั ครู ๗.การปกครองคณะสงฆ์ ๗.แต่งแปลบาลี ๘.การสมั มนากิจการคณะสงฆ์ ๘.บาลไี วยากรณ์ชัน้ สูง ๙.การบรหิ ารงบประมาณ ๙.พุทธปรชั ญาการศึกษา ๑๐.หลักสูตรและสาระการเรียนร้พู ระพุทธศาสนา
๑๙๕ [email protected] ๑๑.การสอนแบบโยนโิ สมนสกิ าร ๑๒.พุทธวธิ กี ารสอน โทร.082-180-4576
รายละเอยี ดของรายวชิ า (แบบ มคอ.๓) ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควชิ า คณะครศุ าสตร์ วทิ ยาลัยสงฆ์บุรรี มั ย์ หมวดที่ ๑ ข้อมลู โดยท่วั ไป ๑.รหสั และชอ่ื รายวชิ า ๒๐๙ ๓๐๖ การสอนแบบโยนโิ สมนสกิ าร ๒.จานวนหน่วยกติ (Teaching Reasoned Attention) ๓ หนว่ ยกิต (๓-๐-๖) ๓.หลกั สตู รและประเภทของรายวิชา พทุ ธศาสตรบัณฑติ ๔.อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบรายวิชาและอาจารยผ์ สู้ อน อาจารยท์ ิพย์ ขนั แกว้ ป.ธ.๙ ๕.ภาคการศึกษา / ช้ันปที ่เี รยี น - ภาคการศกึ ษาที่ ๒ / ช้ันปที ี่ ๓ ๖.รายวชิ าทตี่ ้องเรยี นมาก่อน (Pre-requisite) - ๗.รายวชิ าทีต่ ้องเรยี นพร้อมกนั (Co-requisites) - ๘.สถานที่เรยี น วิทยาลัยสงฆบ์ ุรีรัมย์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๙.วนั ท่ีจดั ทาหรือปรบั ปรุงรายละเอียดของรายวิชาครง้ั ลา่ สุด - วันท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗
หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวตั ถุประสงค์ ๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา ๑.๑ เพื่อให้นสิ ิตทราบถงึ หลกั และวิธีการสอนแบบโยนโิ สมนสกิ ารการ ๑.๒ เพื่อให้นิสิตทราบถึงหลักและวิธีการออกแบบการสอน การจัดกระบวนการสอนแบบโยนิโส มนสกิ ารการ ๑.๓ เพ่ือให้นิสิตทราบถึงหลักและวิธีการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความคิด และการกาหนดแผนการสอนตามแนวของโยนิโสมนสิการ ๑.๔ เพอ่ื ให้นิสิตทราบถงึ หลกั และวธิ ีการใชส้ อื่ และเทคโนโลยี ทางการศึกษาตามแบบโยนิโสมนสกิ าร ๑.๕ เพอ่ื ให้นสิ ติ รู้หลักและวธิ ีการการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตามแนวของโยนโิ สมนสกิ าร ๒. วตั ถุประสงคใ์ นการพฒั นา/ปรับปรุงรายวิชา ๒.๑ เพื่อพฒั นาและปรับปรุงหลกั สตู รให้เปน็ ไปตามมาตรฐาน สกอ. ๒.๒ เพอื่ ให้มเี นื้อหาสาระและความทนั สมยั มากย่ิงข้นึ ๒.๓ เพ่ือให้สอดคล้องกับความเปลยี่ นแปลงเกย่ี วกับกระบวนการเรยี นการสอน ๒.๔ เพื่อให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์และปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลยั หมวดท่ี ๓ ลกั ษณะและการดาเนนิ การ ๑. คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาหลักและวิธกี ารสอนแบบโยนโิ สมนสกิ าร การออกแบบการสอน การจัดกระบวนการ สอน การเรยี นร้เู ชิงสรา้ งสรรค์ การจัดกจิ กรรมเพอื่ พฒั นาความคดิ การกาหนดแผนการสอน การใชส้ ่ือและ เทคโนโลยี การประเมินผลการเรยี นรู้ ๒. จานวนช่วั โมงทใี่ ชต้ ่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝกึ ปฏิบัติ/งาน การศกึ ษาด้วยตนเอง ภาคสนาม/การฝึกงาน บรรยาย ๓๒ ช่วั โมง สอนเสรมิ ตามความต้องการ การศึกษาดว้ ยตนเอง ต่อภาคการศึกษา ของนสิ ิตเฉพาะราย ไมม่ ีการฝึกปฏบิ ัตงิ าน ๔ ช่วั โมงต่อสปั ดาห์ ภาคสนาม ๓. จานวนชว่ั โมงต่อสัปดาห์ท่ีอาจารยใ์ หค้ าปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นิสติ เป็นรายบคุ คล - อาจารยจ์ ดั เวลาใหค้ าปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลมุ่ ตามความตอ้ งการ ๑ ชั่วโมงตอ่ สัปดาห์
(เฉพาะรายท่ีตอ้ งการ) - อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ / วิทยาเขต / วทิ ยาลัยสงฆ์ หรอื เครอื ข่ายสงั คมออนไลน์สว่ นบุคคล
หมวดท่ี ๔ การพัฒนาการเรียนรูข้ องนิสติ ๑. คุณธรรม จรยิ ธรรม ๑.๑ คุณธรรม จรยิ ธรรมทีต่ ้องพัฒนา พฒั นาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมและสอดคล้องกับ ธรรมชาติ ได้อย่างราบร่ืน และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม โดยผู้สอนต้องพยายามสอดแทรกเร่ืองที่เกี่ยวกับ คุณธรรมจริยธรรม เพ่อื ให้นิสิตสามารถพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับการศึกษาพุทธปรัชญาการศึกษา โดยมีคุณธรรมจรยิ ธรรมตามคณุ สมบัติของหลักสูตร ดังนี้ (๑) มพี ัฒนาการทางดา้ นจติ ใจในแนวทางท่ถี กู ต้องประกอบด้วยศรัทธา คอื ความเช่อื ท่มี เี หตผุ ล (๒) มพี ฒั นาการทางด้านจิตใจในแนวทางท่ีถูกต้องประกอบด้วยศีล คือความประพฤติถูกต้องดีงาม ไม่ผิด ระเบยี บ ไมผ่ ดิ ศีลธรรม (๓) มีพัฒนาการทางด้านจิตใจในแนวทางที่ถูกต้องประกอบด้วยพาหุสัจจะ คือเป็นผู้ได้รับการศึกษา เล่า เรียนมามาก (๔) มพี ฒั นาการทางดา้ นจติ ใจในแนวทางทถี่ กู ต้องประกอบด้วยวิริยารัมภะ คือการที่ได้เร่ิมลงมือทาในกิจ น้นั ๆ อยา่ งตอ่ เนื่อง (๕) มีพัฒนาการทางด้านจิตใจในแนวทางท่ีถูกต้องประกอบด้วยปัญญา คือความเข้าใจเหตุผลดี-ชั่ว ประโยชน์มใิ ชป่ ระโยชน์ รูค้ ดิ ร้วู นิ ิจฉยั รูท้ ี่จะจดั การ ๑.๒ วธิ กี ารสอน - ฟงั บรรยายในชนั้ เรียน - ทารายงาน อภิปรายกลุ่ม - การใช้ส่อื ประกอบการสอน - การทดสอบ ๑.๓ วธิ กี ารประเมนิ ผล - พฤตกิ รรมการเขา้ เรยี น และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ใหแ้ ละตรงเวลา - มกี ารอา้ งองิ เอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม - ประเมินผลการนาเสนอรายงานท่ีมอบหมาย ๒. ความรู้ ๒.๑ ความรู้ที่ต้องไดร้ ับ นิสิตมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั ศึกษาหลักและวธิ ีการสอนแบบโยนิโสมนสกิ าร การออกแบบ การสอน การจดั กระบวนการสอน การเรียนรู้เชงิ สรา้ งสรรค์ การจัดกิจกรรมเพ่อื พฒั นาความคดิ การกาหนด แผนการสอน การใช้สอื่ และเทคโนโลยี การประเมินผลการเรยี นรู้
๒.๒ วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม การนาเสนอรายงานและมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลท่ี เก่ียวขอ้ ง โดยนามาสรปุ และนาเสนอ โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ๒.๓ วิธีการประเมินผล - ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบทีเ่ น้นการวดั หลกั การและทฤษฎี - นาเสนอสรุปการอา่ นจากการค้นควา้ ข้อมูลทเ่ี กยี่ วข้อง ๓. ทักษะทางปัญญา ๓.๑ ทกั ษะทางปญั ญาที่ตอ้ งพฒั นา พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพ่ือการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิด จากผลกระทบของการใชพ้ ุทธปรัชญาการศกึ ษา ๓.๒ วธิ ีการสอน - การมอบหมายให้นสิ ติ ทาการศึกษาคน้ คว้า และนาเสนอผลการศกึ ษา - อภปิ รายกลุ่ม ๓.๓ วิธกี ารประเมนิ ผล สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบในดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ ๔.๑ ทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบทีต่ ้องพัฒนา - พัฒนาทกั ษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน - พัฒนาความเปน็ ผูน้ าและผตู้ ามในการทางานเป็นทีม - พัฒนาการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง และมีความรบั ผดิ ชอบในงานท่มี อบหมายให้ครบถ้วนตามกาหนดเวลา
๔.๒ วธิ ีการสอน - จัดกิจกรรมกลุม่ ในการวเิ คราะหก์ รณีศึกษา - มอบหมายงานรายกลมุ่ และรายบุคคล หรอื อ่านบทความทีเ่ กยี่ วข้องกับรายวิชา - การนาเสนอรายงาน ๔.๓ วิธกี ารประเมินผล - ประเมนิ ตนเอง และเพ่ือน ด้วยแบบฟอรม์ ท่ีกาหนด - รายงานทนี่ าเสนอ พฤติกรรมการทางานเปน็ ทมี - รายงานการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ๕. ทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕.๑ ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศที่ตอ้ งพฒั นา - พัฒนาทักษะในการสื่อสารท้ังการพูด การฟัง การเขียน โดยการทารายงาน และนาเสนอในช้ัน เรียน - พฒั นาทักษะในการสบื ค้น ขอ้ มูลทางอนิ เทอรเ์ น็ต - ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการส่ือสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดง ความคดิ เหน็ ในเร่ืองต่างๆ - ทกั ษะในการนาเสนอรายงานโดยใชร้ ูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม ๕.๒ วธิ ีการสอน - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทา รายงาน โดยเนน้ แหลง่ ทมี่ าและขอ้ มลู ทีน่ า่ เชือ่ ถือ - นาเสนอโดยใชร้ ปู แบบและเทคโนโลยที ี่เหมาะสม ๕.๓ วธิ กี ารประเมนิ ผล - การจัดทารายงาน และนาเสนอด้วยส่ือเทคโนโลยี - การมีสว่ นรว่ มในการอภิปรายและวธิ ีการอภปิ ราย
หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมนิ ผล ๑. แผนการสอน หัวข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ผสู้ อน สัปดาห์ที่ ช่ัวโมง ส่ือท่ใี ช้ (ถา้ มี) -แนะนาขอบข่ายรายวชิ า ประกอบการเรียนการสอน อ.ประจาวิชา -กิจกรรมการเรียนการสอน - Power Point -วิธกี ารวดั และประเมินผล -บรรยาย/อภิปราย/ซกั ถาม/ ๑ -แหล่งการศึกษาคน้ คว้า ๒ สนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ -มอบหมายงานศึกษา คน้ ควา้ -สรุปสาระสาคัญ บทท่ี ๑ หลกั การสอน -Power Point, สอื่ ผสม อ.ประจาวิชา -บรรยาย -ความหมายของการสอน ๒ -อภปิ ราย/ซักถาม -ลักษณะของการสอน -สรุปสาระสาคญั -ตอบคาถามท้ายบท ๒ -องค์ประกอบของการสอน -หลกั พนื้ ฐานในการสอน -หลกั การสอนของพระพุทธเจ้า บทที่ ๒ ศกึ ษาหลักและวธิ ีการสอนแบบ -Power Point, ส่อื ผสม อ.ประจาวิชา โยนโิ สมนสิการ -บรรยาย ๑. ความนา -อภปิ ราย/ซกั ถาม ๒. อธบิ ายหลักการและความหมายของโยนิโส -สรุปสาระสาคญั มนสกิ าร -ตอบคาถามทา้ ยบท ๔ ๓-๔ ๓. บอกความสาคัญของโยนโิ สมนสกิ ารได้ ๔. บอกจุดม่งุ หมายของการสอนแบบโยนโิ ส มนสิการ ๕. วเิ คราะห์รูปแบบการสอนแบบโยนิโส มนสกิ าร ๖. สรปุ รปู แบบและวิธกี ารสอนแบบโยนโิ ส มนสกิ าร
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอยี ด จานวน กิจกรรมการเรยี นการสอน ผู้สอน ๕-๖ ช่วั โมง ส่ือท่ใี ช้ (ถ้าม)ี ๗ บทที่ ๓ การออกแบบการสอน ๘-๙ ๔ -Power Point, ส่อื ผสม อ.ประจาวิชา ๑. ความนา ๒ -บรรยาย ๒. อธบิ ายความเป็นมาและพัฒนาการการ -อภิปราย/ตอบขอ้ ซักถาม ออกแบบการสอน ๔ ๓. บอกความหมายของการออกแบบการสอน -สรุปสาระสาคัญ ๔. อธบิ ายขน้ั ตอนการออกแบบการสอน -ตอบคาถามท้ายบท ๕. วิเคราะหก์ ารออกแบบการสอน ๖. สรปุ การออกแบบการสอน เน้ือหาบทที่ ๑-๔ อ.ประจาวิชา สอบกลางภาค -Power Point, สื่อผสม อ.ประจาวชิ า -บรรยาย บทท่ี ๔ การจัดกระบวนการสอน -น า เ ส น อ ง า น / อ ภิ ป ร า ย / ตอบข้อซกั ถาม ๑. ความนา -สรปุ สาระสาคญั ๒. อธิบายความหมายของการจดั -ตอบคาถามท้ายบท กระบวนการสอน ๓. บอกความสาคัญของการจัดกระบวนการ สอน ๔. บอกจุดม่งุ หมายของการจัดกระบวนการ สอน ๕. วเิ คราะห์การจัดกระบวนการสอน ๖. สรปุ การการจดั กระบวนการสอน บทที่ ๕ การเรียนร้เู ชิงสรา้ งสรรค์ ๔ -Power Point, สื่อผสม อ.ประจาวิชา ๑. ความนา -บรรยาย ๑๐-๑๑ ๒. ระบุความเป็นมาและอธบิ ายความหมาย -น า เ ส น อ ง า น / อ ภิ ป ร า ย / การเรียนรู้เชงิ สร้างสรรค์ ตอบขอ้ ซกั ถาม ๓. บอกความสาคัญของการเรยี นรเู้ ชิง สร้างสรรค์ -สรุปสาระสาคญั ๔. บอกจดุ มุ่งหมายของการเรียนรูเ้ ชงิ -ตอบคาถามทา้ ยบท สรา้ งสรรค์ ๕. วเิ คราะห์รปู แบบและวธิ ีการของการเรยี นรู้ เชงิ สร้างสรรค์ ๖. สรุปรปู แบบและวธิ ีการของการเรยี นร้เู ชิง สร้างสรรค์
สปั ดาหท์ ี่ หวั ข้อ/รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน ชั่วโมง สือ่ ท่ใี ช้ (ถ้ามี) บทที่ ๖ การจดั กิจกรรมเพ่อื พฒั นา ๔ -Power Point, สื่อผสม อ.ประจาวิชา -บรรยาย ความคดิ ๑๒-๑๓ -น า เ ส น อ ง า น / อ ภิ ป ร า ย / ๑๔ ๑. ความนา ตอบข้อซกั ถาม ๒. อธิบายธรรมชาตแิ ละประเภทของ ๑๕ ความคิด -สรุปสาระสาคญั ๑๖ ๓. บอกลักษณะต่างๆของความคดิ ๔. อธิบายการพัฒนาทักษะกระบวนการ -ตอบคาถามท้ายบท ทางความคดิ ๕. จัดกจิ กรรมเพื่อพฒั นาความคดิ -Power Point, สอ่ื ผสม อ.ประจาวิชา -บรรยาย ๖. สรุปการจัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาความคดิ -อภปิ ราย/ซกั ถาม บทที่ ๗ การกาหนดแผนการสอน ๒ -สรปุ สาระสาคญั -ตอบคาถามทา้ ยบท ๑. ความนา ๒. อธบิ ายความหมายของแผนการสอน -Power Point, สอ่ื ผสม ๓. อธบิ ายความสาคัญของแผนการสอน -บรรยาย ๔. อธิบายรูปแบบของแผนการสอน -อภิปราย/ซักถาม ๕. วเิ คราะหล์ ักษณะของแผนการสอน -สรปุ สาระสาคัญ -ตอบคาถามท้ายบท ๖. สรปุ การแผนการสอน บทที่ ๘ การใชส้ ่ือและเทคโนโลยี ๒ การประเมินผลการเรียนรู้ ๒ ๑. ความนา ๒. อธิบายความหมายของส่ือ เทคโนโลยี การประเมนิ ผลและการเรียนร้ไู ด้ ๓. อธิบายความสาคัญของสอ่ื เทคโนโลยี การประเมินผลและการเรยี นรู้ได้ ๔. ระบุประเภทของส่ือ เทคโนโลยี การประเมินผลและการเรยี นรู้ ได้ ๕. อธบิ ายการใชส้ ือ่ และเทคโนโลยี การประเมนิ ผลการเรียนรไู้ ด้ ๖. ประยกุ ตก์ ารใชส้ ่ือและเทคโนโลยี การประเมนิ ผลการเรียนรู้ สอบปลายภาค
๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ที่ ผลการเรียนรู้* วธิ ีการประเมิน สปั ดาหท์ ป่ี ระเมิน สัดสว่ นของการ ประเมนิ ผล ๑ ๑.๑, ๒.๑, ๓.๑ สอบปลายภาค ๑๖ ๖๐% ๑.๑, ๑.๖, ๑.๗, -การนาเสนอรายงาน ๒.๑, ๒.๔-๒.๖, -การทางานกลุม่ และผลงาน ๒ ๓.๒, ๔.๑- -ทกั ษะการนาเสนอ ตลอดภาคการศึกษา ๓๐% ตลอดภาคการศกึ ษา ๑๐% ๔.๖,๕.๓-๕.๔ -การสง่ งานตามทีม่ อบหมาย -การเขา้ ช้นั เรยี น ๓ ๑.๑-๑.๗, ๓.๑ -การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอ ความคดิ เหน็ ในช้นั เรยี น การวัดและประเมนิ ผล (ตามหนงั สือเล่มทเี่ คยพิมพ์มาแล้ว) (๑) จิตพสิ ยั (ความตั้งใจ รว่ มมือ มารยาท ๑๐ คะแนน มนุษยสมั พนั ธ์ ซ่ือสตั ย์ รบั ผิดชอบ) ๑๐ คะแนน (๒) ทกั ษะพิสัย (ความพร้อม ความเชีย่ วชาญ ในการนาเสนอหรือแสดงออกในวชิ าการ) ๒๐ คะแนน ๖๐ คะแนน (๓) พุทธิพสิ ยั (ความรู้ ความเขา้ ใจ การประยกุ ต์ใช้ ๑๐๐ คะแนน เอกสาร รายงาน สอบกลางภาค) (๔) สอบปลายภาค รวม เกณฑก์ ารประเมนิ ผล และระดบั คะแนน (ตามหนังสือเล่มทเี่ คยพิมพ์มาแล้ว) เกณฑ์คะแนน ความหมาย ระดบั คา่ ระดบั ๙๐-๑๐๐ ดเี ยีย่ ม A ๔.๐ ๘๕-๘๙ ดีมาก B+ ๓.๕ ๘๐-๘๔ B ๓.๐ ๗๕-๗๙ ดี C+ ๒.๕ ๗๐-๗๔ พอใช้ C ๒.๐ ๖๕-๖๙ ค่อนข้างพอใช้ D+ ๑.๕ ๖๐-๖๔ คอ่ นข้างอ่อน D ๑.๐ ตา่ กว่า ๖๐ อ่อน F ๐ ไม่ผ่าน
หมวดท่ี ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ๑. เอกสารและตาราหลกั คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พุทธปรัชญาการศึกษา (๒๐๐ ๒๒๔). กรุงเทพฯ : มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๕ ๒. เอกสารและข้อมูลสาคัญ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . โรงพมิ พ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๙. ๓. เอกสารและข้อมูลแนะนา กรมวชิ าการ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ.คมู่ ือการจัดการ เรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ ร.ส.พ., ๒๕๔๔. กาญจนา เกยี รตปิ ระวัติ. วิธีสอนทวั่ ไปและทกั ษะการสอน. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, ๒๕๓๔. จรยิ า เหนียนเฉลย. เทคโนโลยีการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : พมิ พด์ ,ี ๒๕๔๙. ชนาธปิ พรกุล แคทส.์ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนท่ผี เู้ รยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๔. ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. การวางแผนการสอน ในเอกสารการสอนชดุ วชิ าประสบการณว์ ชิ าชีพศกึ ษาศาสตร์ หน่วย ที่ ๑-๘. พมี พ์คร้ังที่ ๗.นนทบุรี : มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมธริ าช. ๒๕๒๕. ___________. การวางแผนการสอนและเขียนการสอน ในเอกสารการสอนชดุ วิชาวิทยาการ การสอน หน่วยที่ ๘- ๑๕. พิมพ์ครั้งที่ ๗. นนทบุรี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมธริ าช. ๒๕๓๒. ณรงค์ โวหารเสาวภาคย์. บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน(CAI) รายวชิ าพุทธวิธกี ารสอน. พเยาะ : ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทลัย วิทยาเขตพะเยา. ๒๕๔๖. ถวลยั ์ มาศจรสั . PDCA : นวัตกรรมการเขยี นแผน การจัดการเรยี นรโู้ ดยเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ และ การเขียนหนังสอื สาหรับครูและผ้บู รหิ าร. กรุงเทพมหานคร : ๒๑ เซน็ จรู ่.ี ๒๕๔๖. ทศิ นา แขมมณี. ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพ่ือการจัดกระบวนการเรยี นรูท้ มี่ ีประสิทธภิ าพ. พิมพ์ครงั้ ท่ี ๘. กรงุ เทพมหานคร : ดา่ นสุทธาการพิมพ์. ๒๕๔๘. ทองคณู หงสพ์ ันธ์. สอนดตี อ้ งมีหลัก : บัญญัติ ๒๐ ประการของการสอน. กรุงเทพมหานคร : แสงสวา่ ง การพมิ พ.์ ๒๕๔๒. ปรยี าพร วงศ์อนุตรโรจน์. จิตวทิ ยาการศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร : พมิ พ์ดี. ๒๕๕๑. พิสณุ ฟองศรี. การประเมินทางการศึกษา : แนวคดิ ส่กู ารปฏบิ ัต.ิ พิมพ์ครง้ั ท่ี ๓. กรุงเทพมหานคร : เทียนฝ่าการพมิ พ.์ ๒๕๕๐. พนั ทิพา อทุ ยั สุข. การสอนโดยยดึ ผ้เู รียนเป็นศูนย์กลาง ในเอกสารการสอนชดุ วิทยาการการสอน หนว่ ยที่ ๘- ๑๕. พิมพค์ รง้ั ท่ี ๗. นนทบุรี : มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมธริ าช. ๒๕๓๒.
ไพฑูรย์ สินลารัตน.์ องคป์ ระกอบของการเรียนการสอน ในเอกสารการสอนชุด วิชาภาษาไทย หน่วยท่ี ๑-๘. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๓. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมธริ าช. ๒๕๒๖. พระธรรมโกษาจารย์ (ประยูร ธมมฺ จติ ฺโต). พทุ ธวิธบี ริหาร. กรุงเทพมหานคร : พุทธศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ลัย. ๒๕๔๙. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต). พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์คร้ังที่ ๑๖. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทลยั . ๒๕๔๖. หมวดท่ี ๗ การประเมนิ และปรับปรุงการดาเนินการของรายวชิ า ๑. กลยทุ ธ์การประเมนิ ประสทิ ธิผลของรายวิชาโดยนิสติ การประเมนิ ประสทิ ธิผลในรายวิชาน้ี ทจ่ี ดั ทาโดยนิสิต ไดจ้ ัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนิสติ ได้ดงั นี้ - การสนทนากลุม่ ระหว่างผสู้ อนและผู้เรียน - การสงั เกตการณจ์ ากพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น - แบบประเมินผูส้ อน และแบบประเมินรายวิชา - ขอเสนอแนะผา่ นเวบ็ บอร์ด ท่อี าจารย์ผูส้ อนไดจ้ ัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนิสิต ๒. กลยุทธก์ ารประเมินการสอน ในการเก็บขอ้ มลู เพื่อประเมินการสอน ได้มกี ลยทุ ธ์ ดงั นี้ - การสังเกตการณ์สอนของผ้รู ว่ มทีมการสอน - ผลการสอบ - การทวนสอบผลประเมินการเรยี นรู้ ๓. การปรบั ปรงุ การสอน หลังจากผลการประเมนิ การสอนในขอ้ ๒ จึงมกี ารปรับปรุงการสอน โดยการจดั กจิ กรรมในการระดม สมอง และหาข้อมลู เพ่มิ เตมิ ในการปรับปรงุ การสอน ดงั นี้ - สมั มนาการจัดการเรยี นการสอน - การวิจยั ในและนอกชัน้ เรยี น ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนิสติ ในรายวิชา ในระหวา่ งกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิในรายหัวข้อ ตามท่ีคาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนิสิต หรือการสุ่มตรวจผลงานของนิสิต รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบยอ่ ย และหลงั การออกผลการเรยี นรายวิชา มีการทวนสอบผลสมั ฤทธโ์ิ ดยรวมในวชิ าได้ดงั น้ี - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนิสิตโดยอาจารย์อื่น หรือ ผ้ทู รงคุณวุฒิ ทไ่ี มใ่ ชอ่ าจารย์ประจาหลกั สตู ร
- มีการต้ังคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม ๕. การดาเนนิ การทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสทิ ธิผลของรายวชิ า จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ สอน และรายละเอยี ดวิชา เพอ่ื ใหเ้ กิดคณุ ภาพมากขนึ้ ดงั น้ี - ปรบั ปรงุ รายวชิ าทกุ ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม ขอ้ ๔ - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นิสิตมีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือบทความวิชาการตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217