๑๔๒ สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา,ช่อื เร่ือง การจัดทาแผนการเรียนรหู้ รือการสอน ๒๕๔๕ : หน้า ๑๐๘-๑๑๖. สาลี รักสุทธี และคณะ, ๒๕๔๑ : หนา้ ๑๓๖ – ๑๓๗, เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com/site/prapasara/535 สืบคน้ เมื่อ วนั ที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗. อาภรณ์ ใจเที่ยง, ๒๕๔๐ : หน้า ๒๑๙, เข้าถึงได้จาก archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/emath0451 aj_ch2.pdf สืบค้นเมื่อ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗. บทท่ี ๗ การใชส้ ่อื และเทคโนโลยกี ารประเมินผลการเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นประจาบท เมอ่ื ศึกษาเนอื้ หาในบทนี้แลว้ ผเู้ รียนสามารถ ๑. อธบิ ายความหมายของสื่อ เทคโนโลยี การประเมนิ ผล และการเรยี นรู้ได้ ๒. อธิบายความสาคญั ของสื่อ เทคโนโลยี การประเมนิ ผล และการเรยี นรไู้ ด้ ๓. ระบุประเภทของสือ่ เทคโนโลยี การประเมินผล และการเรียนรู้ได้ ๔. อธิบายการใชส้ ื่อ เทคโนโลยี การประเมนิ ผล และการเรยี นร้ไู ด้ ๕. ประยกุ ตก์ ารใชส้ อ่ื เทคโนโลยี การประเมินผล และการเรยี นรู้ได้ ขอบขา่ ยเนอื้ หา ความหมายของสอื่ เทคโนโลยี การประเมินผล และการเรยี นรู้ ความสาคญั ของสือ่ เทคโนโลยี การประเมินผล และการเรยี นรู้ ประเภทของสื่อ เทคโนโลยี การประเมินผล และการเรียนรู้ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยี การประเมินผล และการเรียนรู้ ประยุกต์ใชส้ ่ือ เทคโนโลยี การประเมนิ ผล และการเรยี นรู้
๑๔๓
๑๔๔ ๗.๑ ความนา การเรียนการสอนในยุคปัจจุบันไม่สามารถจะจากัดอยู่เพียงแต่ในห้องเรียนเท่าน้ันอีกต่อไปแล้ว พฤตกิ รรมการเรียนรู้และการจดั สถานการณเ์ พ่ือให้เกิดการเรียนรู้อาจจัดขึ้น ณ ท่ีใดก็ได้ข้ึนอยู่กับสถานการณ์ และโอกาส เครอ่ื งมือที่สาคัญทีจ่ ะช่วยให้การจัดสถานการณ์ทางการเรียนรู้มีประสิทธิภาพท่ีจาเป็นก็คือส่ือการ สอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา หากขาดส่ิงดังกล่าวน้ีแล้ว การจัดสถานการณ์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ย่อมจะ ขีดวงจากัดเข้ามาเป็นอย่างมาก ส่ือการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษาน้ันสามารถสร้างสถานการณ์เพ่ือให้ เกิดการเรียนรู้ได้เป็นอันมาก อาจกล่าวได้ว่า โดยปกติจากขอบเขตกจากัดทั้งเวลาและสถานท่ีถ้าหากว่ามี อุปกรณ์และเครื่องมือที่พร้อมก็จะช่วยให้ข้อจากัดดังกล่าวหมดไป ดังนั้นส่ือการสอนและเทคโนโลยีทางการ ศกึ ษาจึงเปรยี บเสมือนมือไม้ของครูทีส่ าคัญจะขาดเสยี ไมไ่ ดใ้ นการจดั การเรยี นการสอนในปัจจุบัน ไม่ว่าจะสอน ในระดบั ใดกต็ ามจะต้องมสี ื่อการสอน ๑๒๔ การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เป็นกระบวนการ ตรวจสอบการเรียนรู้ และพัฒนาการต่างๆ ของผู้เรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร เพ่ือนาผลไปใช้ ปรับปรุงการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานที่กาหนดไว้และใช้เป็นข้อมูลตัดสินผลการเรียน เพ่ือให้ การวดั ผลประเมนิ ผลการเรยี นเป็นไปอยา่ งเหมาะสม มคี ุณภาพและประสิทธภิ าพ ๑๒๕ ๗.๒ ความหมาย ๗.๒.๑ ความหมายของสอ่ื เมอ่ื พิจารณาคาวา่ \"สอื่ \" ในภาษาไทยกบั คาในภาษาอังกฤษ พบว่ามีความหมายตรงกับคาว่า \"media\" (ในกรณีที่มีความหมายเป็นเอกพจน์จะใช้คาว่า \"medium\") สื่อ (กริยา) หมายถึง ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อ ความหมาย, ชักนาให้รู้จักกัน ส่ือ (นาม) หมายถึง ผู้หรือสิ่งท่ีติดต่อให้ถึงกันหรือชักนาให้รู้จักกัน เช่น เขาใช้ จดหมายเป็นสื่อติดต่อกัน, เรียกผู้ที่ทาหน้าที่ชักนาให้ชายหญิงได้แต่งงานกันว่า พ่อสื่อ หรือ แม่สื่อ; (ศิลปะ) วัสดุต่างๆ ท่ีนามาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความหมายตามแนวคิด ซ่ึงศิลปินประสงค์แสดงออกเช่นน้ัน เช่น สือ่ ผสม\" ๑๒๖ นกั เทคโนโลยีการศกึ ษาไดม้ ีการนยิ ามความหมายของคาว่า \"ส่ือ\" ไวด้ งั ตอ่ ไปนี้ Heinich และคณะ ๑๒๗ เป็นศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีระบบการเรียนการสอน ของ มหาวิทยาลัยอนิ เดียนา่ (Indiana University) ให้คาจากัดความคาว่า \"media\" ไว้ดังน้ี \"Media is a channel of communication.\" ซง่ึ สรุปความเปน็ ภาษาไทยได้ดังน้ี \"สื่อ คือช่องทางในการติดต่อส่ือสาร\" Heinich และ คณะยังได้ขยายความเพิ่มเติมอีกว่า \"media มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมายว่า ระหว่าง ๑๒๔ พระมหาประเสริฐ สุเมโธ, การสอนแบบโยนิโสมนสิการ, พิมพ์ครั้งท่ี ๒, (บุรีรัมย์ : วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๕๔), หน้า ๑๑๐. ๑๒๕ พระมหาประเสริฐ สเุ มโธ, อ้างแลว้ เร่ืองเดยี วกนั . ๑๒๖ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพฯ: บริษัทนานมีบุ๊คส์ พบั ลิเคช่นั ส์ จากัด, ๒๕๔๒). ๑๒๗ Heinich และคณะ, ความหมายของสอ่ื การเรยี นการสอน, ศาสตราจารยภ์ าควิชาเทคโนโลยีระบบการเรยี นการ สอน ของมหาวิทยาลัยอินเดียนา่ , (๑๙๙๖).
๑๔๕ (between) หมายถึง อะไรก็ตามซึ่งทาการบรรทุกหรือนาพาข้อมูลหรือสารสนเทศ สื่อเป็นสิ่งที่อยู่ระหว่าง แหลง่ กาเนิดสารกับผู้รับสาร\" A. J. Romiszowski ๑๒๘ ศาสตราจารย์ทางด้านการออกแบบ การพัฒนา และการประเมินผลส่ือการ เรียนการสอน ของมหาวิทยาลัยซีราคิวส์ (Syracuse University) ให้คาจากัดความคาว่า \"media\" ไว้ดังน้ี \"the carriers of messages, from some transmitting source (which may be a human being or an inanimate object) to the receiver of the message (which in our case is the learner)\" ซึ่งสรุป ความเป็นภาษาไทยได้ดังน้ี \"ตัวนาสารจากแหล่งกาเนิดของการส่ือสาร (ซึ่งอาจจะเป็นมนุษย์ หรือวัตถุท่ีไม่มี ชวี ิต ) ไปยังผ้รู ับสาร (ซง่ึ ในกรณีของการเรยี นการสอนก็คือ ผู้เรียน)\" ดงั น้นั จึงสรุปได้ว่า สื่อ หมายถึง ส่ิงใดๆ ก็ตามที่เป็นตัวกลางระหว่างแหล่งกาเนิดของสารกับผู้รับสาร เปน็ สิ่งท่ีนาพาสารจากแหลง่ กาเนนิ ไปยงั ผรู้ ับสาร เพื่อให้เกิดผลใดๆ ตามวัตถุประสงคข์ องการส่อื สาร ๗.๒.๒ ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยี เทกนอโลจี ๑๒๙ หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึง การนา ความรู้ทางธรรมชาติวิทยาและต่อเน่ืองมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพ่ือช่วยในการ ทางานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร แม้กระท่ังองค์ความรู้นามธรรม เช่น ระบบหรือกระบวนการตา่ ง ๆ เพ่อื ให้การดารงชีวิตของมนุษยง์ ่ายและสะดวกยิง่ ข้ึน คาว่า เทคโนโลยี ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า \"Technology\" ซึ่งมาจากภาษากรีกว่า \"Technologia\" แปลว่า การกระทาท่ีมีระบบ อย่างไรก็ตามคาว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบคู่กับคาว่า วิทยาศาสตร์ โดยเรียก รวม ๆ ว่า \"วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย\"ี เทคโนโลยี คือ \"วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนาเอาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัตแิ ละอุตสาหกรรม\" นอกจากนน้ั ยงั มผี ู้ให้ความหมายของเทคโนโลยไี วห้ ลากหลาย ดังน้ี คือ ผดุงยศ ดวงมาลา ๑๓๐ ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยีว่าปัจจุบันมีความหมายกว้างกว่ารากศัพท์เดิม คือ หมายถึงกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับเคร่ืองจักรกล ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทาง อุตสาหกรรม ถ้าในแง่ของความรู้ เทคโนโลยีจะหมายถึง ความรู้หรือศาสตร์ที่เกี่ยวกับเทคนิคการผลิตในอุตสาหกรรม และกิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีจะ เอื้ออานวยต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ หรืออาจสรุปว่า เทคโนโลยี คือ ความรู้ท่ีมนุษย์ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้ เกิดประโยชนแ์ ก่มนษุ ยเ์ อง ท้งั ในแงค่ วามเปน็ อยแู่ ละการควบคมุ ส่ิงแวดล้อม ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ ๑๓๑ กล่าวว่า เทคโนโลยี คือ ความรู้วิชาการรวมกับความรู้วิธีการ และ ความชานาญที่สามารถนาไปปฏิบัติภารกิจให้มีประสิทธิภาพสูง โดยปกติเทคโนโลยีน้ันมีความรู้วิทยาศาสตร์ รวมอยู่ด้วย นั้นคือวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ เทคโนโลยีเป็นการนาความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติ จึงมักนิยมใช้สอง ๑๒๘ A. J. Romiszowski. ความหมายของสื่อการเรียนการสอน, ทางด้านการออกแบบ การพัฒนา และการ ประเมนิ ผลสือ่ การเรียนการสอนของมหาวทิ ยาลยั ซีราคิวส์, ๑๙๙๒. ๑๒๙ เทคโนโลย,ี เขา้ ถงึ จาก. http://www.tpa.or.th/tpawbs/viewtopic.php?id=622, สืบค้นเมื่อ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗. ๑๓๐ ผดงุ ยศ ดวงมาลา. การสอนวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั มัธยมศึกษา ปัตตานี : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์, (๒๕๒๓), หน้า ๑๖. ๑๓๑ ธรรมนญู โรจนะบรุ านนท์. ธรรมชาตวิ ทิ ยา, พิมพ์ครง้ั ท่ี ๒, (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ วนพิมพ,์ ๒๕๓๑), หน้า ๑๗๐.
๑๔๖ คาด้วยกัน คือ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเน้นให้เข้าใจว่า ทั้งสองอย่างน้ีต้องควบคู่กันไปจึงจะมี ประสทิ ธภิ าพสงู จากการท่ีมีผู้ให้ความหมายของเทคโนโลยีไว้หลากหลาย สรุปได้ว่า เทคโนโลยี หมายถึง วิชาที่นาเอา วิทยาการทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อ่ืน ๆ มาประยุกต์ใช้ตามความต้องการของมนุษย์ เช่น โรงงาน อุตสาหกรรม เป็นตน้ ๗.๒.๓ ความหมายของการประเมนิ ผล ความหมายของคาว่า การประเมินผล (Evaluation) ได้มีผ้ใู หค้ วามหมายไว้ ดังน้ี กรอนลนั ด์ ๑๓๒ กล่าววา่ การประเมนิ ผลเปน็ กระบวนการที่เป็นระบบในการตัดสินใจในขอบเขตของ วตั ถุประสงค์ของการสอนทเ่ี ป็นสมั ฤทธผิ ลของนักเรยี น เมเรนส์ และเลแมนส์ ๑๓๓ สรุปว่าการประเมินผลเป็นการวางแผน การรวบรวมและการใช้ข้อมูลที่ เป็นประโยชน์สาหรับเปน็ ทางเลอื กเปน็ การตัดสนิ ใจ อีเบลและไฟร์สไบย์ ๑๓๔ กล่าวว่าการประเมินผลเป็นการตัดสินเก่ียวกับคุณภาพหรือคุณค่าของสิ่งท่ี ต้องการประเมนิ แซค ๑๓๕ กลา่ วว่าการประเมินผลเปน็ กระบวนการตัดสนิ คณุ ค่าหรือตัดสินใจที่เกิดจากการสังเกตจาก ประสบการณ์และจากการฝึกฝนของผ้ปู ระเมิน ไวร์สมาและเจอรส์ ๑๓๖ กล่าววา่ การประเมินผลเป็นการตัดสินคุณค่าและในทางการศึกษาจะเป็นการ ตดั สนิ บนพ้นื ฐานข้อมูลท่ีเป็นวัตถุประสงค์โดยมีการตีความหมายคะแนนเพ่ือตัดสินว่า ยอดเยี่ยม ดี ปานกลาง หรือตา่ อุทุมพร จามรมาน ๑๓๗ กล่าวว่าการประเมินผลเป็นการตัดสินคุณค่าของส่ิงที่วัดตามเกณฑ์ภายใน และภายนอก บุญธรรม กิตปรีดาบริสุทธิ์ ๑๓๘ กล่าวว่าการประเมินผลเป็นกระบวนการในการตัดสินคุณค่าของสิ่ง หนึง่ สงิ่ ใดอย่างมีหลกั เกณฑเ์ พือ่ สรุปว่าสงิ่ นั้นดี-เลว ปานใด จากความหมายดังกล่าวข้างตน้ สรุปได้วา่ ๑๓๒ Gronlund, Norman E. Measurement and Evaluation in Teaching, 3rd ed. New York : McMillan, 1976 p. 6. ๑๓๓ Mehrens, William A. Measurement and Evaluation in Education and Psychology, 3nd ed. New York : Holt, Rinehart and Winston, Inc., 1978 p. 16. ๑๓๔ Ebel, Robert L. and Frisbie, David A. Essentials of Educational Measurement, New Jersey : Perntice-Hall, Inc., 1986 p. 13. ๑๓๕ Sax, Gilbert. Principles of Educational and Psychological Measurement and Evaluation, 3rd ed. United States : Wadsworth Publishing Company, Inc., 1989 p. 24. ๑๓๖ Wiersma, William and Jus, Stephen G. Educational Measurement and Testing, 2nd ed. Massachusetts : A Division of Simon & Schuster, Inc., 1990 p. 9. ๑๓๗ อุทุมพร จามรมาน. การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา, (กรุงเทพฯ : ฟันนี่พับลิชช่ิง, ๒๕๓๐), หนา้ ๖. ๑๓๘ บญุ ธรรม กิจปรดี ดี าบรสิ ุทธ์.ิ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอน, (กรงุ เทพฯ : สามเจริญพานิช, ๒๕๓๕), หน้า ๑๗.
๑๔๗ การประเมินผล (evaluation) ๑๓๙ หมายถึงการตัดสินคุณค่าหรือคุณภาพของผลท่ีได้จากการวัดโดย เปรยี บเทียบกบั ผลการวดั อื่นๆ หรือเกณฑ์ทต่ี ้งั ไว้ ๗.๒.๔ ความหมายของการเรียนรู้ นกั จติ วิทยาหลายทา่ นใหค้ วามหมายของการเรยี นรูไ้ ว้ เชน่ คิมเบิล ( Kimble) ๑๔๐ \"การเรียนรู้ เป็นการเปล่ียนแปลงค่อนข้างถาวรในพฤติกรรม อันเป็นผลมา การฝึกทไ่ี ด้รบั การเสรมิ แรง\" ฮิลการด์ และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower)๑๔๑ \"การเรียนรู้ เป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการเปล่ียนแปลงของพฤติกรรมท่ีเกิดจากการ ตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธขิ์ องยา หรอื สารเคมี หรอื ปฏกิ ริ ิยาสะทอ้ นตามธรรมชาตขิ องมนษุ ย์\" พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) ๑๔๒ \"การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพ่ิมพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากส่ิง กระตนุ้ อนิ ทรียโ์ ดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบตั ิ หรือการฝกึ ฝน\" ประดินันท์ อุปรมัย ๑๔๓ การเรียนรู้คือการเปล่ียนแปลงของบุคคลอันมีผลเนื่องมาจากการได้รับ ประสบการณ์ โดยการเปล่ียนแปลงนั้นเป็นเหตุทาให้บุคคลเผชิญสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ประสบการณ์ท่ีก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหมายถึงทั้งประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ ทางออ้ ม ๗.๒.๕ ความหมายของสอื่ การสอน ได้มีนักวิชาการ และนักเทคโนโลยีการศึกษา ทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ให้ความหมายของ “ สือ่ การสอน” ไวห้ ลายทา่ น พอสรุปได้ ดังนี้ เชอรส์ ๑๔๔ กลา่ ววา่ สือ่ การสอนเป็นเคร่ืองมือช่วยส่ือความหมายใด ๆ ก็ตามที่จัดโดยครูและนักเรียน เพ่ือเสริมการเรียนรู้ เคร่ืองมือการสอนทุกชนิดเป็นสื่อการสอน เช่น หนังสือในห้องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ ทรพั ยากรจากชมุ ชน เปน็ ต้น ฮาส และแพคเกอร์๑๔๕ กล่าวว่า สื่อการสอน คือ เคร่ืองมือที่ช่วยในการถ่ายทอดส่ิงต่าง ๆ ท่ีเป็นจริง ไดแ้ ก่ ทกั ษะ ทัศนะคติ ความรู้ ความเข้าใจ และความซาบซ้ึงไปยังผู้เรียน หรือเป็นเครื่องมือประกอบการสอน ทเ่ี ราสามารถได้ยนิ และมองเห็นไดเ้ ท่า ๆ กัน ๑๓๙ ผู้ชว่ ยศาสตร์ตราจารย์ ดร. พชิ ติ ฤทธ์ิจรูญ หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา, พิมพ์ครั้งท่ี ๔. (กรุงเทพฯ : เฮ้าส์ ออฟ เคอรม์ ิสท์, ๒๕๕๐), หน้า ๕. ๑๔๐ Kimble, B. B. A student of the relationship of principal perceived self-concept and 1986.principle perceived communication Style. Dissertation Abstracts International 33, (7), p. 366. ๑๔๑ Bower, Gordon H. and Ernest R. Hilgard. Theorise of Learning. Pertice – Hall Inc., 1981. ๑๔๒ Webster, Noah Webster’s Third New International Dictionary of the English Language. Springfield, Massachusette, Merrian-Webster.1981. ๑๔๓ ประดนิ ันท์ อุปรมัย. ชุดวชิ าพนื้ ฐานการศึกษา, (มนษุ ยก์ บั การเรยี นรู้), (นนทบุรี, พิมพ์คร้งั ท่ี ๑๕, ๒๕๔๐), หนา้ ๑๒๑. ๑๔๔ Shores, Louis. .Instructtional Materials. New York : The Ronald Press Company, 1960 p. 1.
๑๔๘ บราวน์ และคนอ่ืน ๆ ๑๔๖ กล่าวว่า สื่อการสอนหมายถึง จาพวกอุปกรณ์ท้ังหลายท่ีสามารถเสนอ ความรู้ใหแ้ ก่ผ้เู รยี น จนเกิดผลการเรยี นทด่ี ที ้งั นีร้ วมถงึ กจิ กรรมต่าง ๆ ไม่เฉพาะท่ีเป็นวัสดุหรือเคร่ืองมือเท่าน้ัน เช่น การศึกษานอกสถานท่ี การสาธิต การทดลอง ตลอดจนการ สัมภาษณ์ เป็นตน้ เกอร์ลัช และอีลี ๑๔๗ ได้ให้คาจากัดความของสื่อการสอนไว้ว่า ส่ือการสอน คือ บุคคล วัสดุหรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ ซ่ึงทาให้นักเรียนได้รับความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ครู หนังสือ และส่ิงแวดล้อมของโรงเรียน จัดเป็นสื่อการสอนท้งั ส้ิน ไฮนคิ ส์ โมเลนดาและรัสเซล ๑๔๘ ใหท้ ศั นะเกี่ยวกับส่ือการสอนไว้ว่า สื่อการสอน หมายถึง สื่อชนิดใด ก็ตามไมว่ า่ จะเป็นสไลด์โทรทัศน์วิทยเุ ทปบันทึกเสียงภาพถ่ายวัสดุ ฉายและวัตถุส่ิงตีพิมพ์ซึ่งเป็นพาหนะในการ นาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลไปยังผู้ รับ เม่ือนามาใช้กับการเรียนการสอน หรือส่งเน้ือหาความรู้ไปยังผู้เรียนใน กระบวนการเรียนการสอน เรียกว่า สอ่ื การสอน เปรื่อง กมุ ทุ ๑๔๙ กล่าวว่า ส่ือการสอน หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ท่ีเป็นเคร่ืองมือ หรือช่องทางสาหรับทาให้ การสอนของครถู งึ ผู้เรียน และทาใหผ้ เู้ รียนเรยี นรตู้ ามวตั ถุประสงคห์ รอื จุดมงุ่ หมายท่ีวางไวอ้ ยา่ งดี วาสนา ชาวหา ๑๕๐ กลา่ วว่าสื่อการสอนหมายถึงส่ิงใดๆก็ตามท่ีเป็นตัวกลางนาความรู้ไปสู่ผู้เรียนและ ทาให้การเรียนการสอนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่วี างไว้ ไชยยศ เรืองสุวรรณ ๑๕๑ กล่าวว่า สื่อการสอน หมายถึง สิ่งที่ช่วยให้การเรียนรู้ ซ่ึงครูและนักเรียน ผใู้ ช้เพอ่ื ให้การเรียนการสอนมีประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน ชม ภูมิภาค ๑๕๒ กล่าวว่า สื่อการสอนน้ันเป็นส่วนหน่ึงของเทคโนโลยีการสอน เป็นพาหนะท่ีจะนา สารหรอื ความรไู้ ปยังผ้เู รยี น เพื่อให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ๑๕๓ ให้ความหมายของส่อื การสอนวา่ คอื วัสดุ (สิ้นเปลือง) อุปกรณ์ (เคร่ืองมือท่ีใช้ ไม่ผุพังง่าย) วิธีการ (กิจกรรม เกม การทดลอง ฯลฯ) ที่ใช้ส่ือกลางให้ผู้สอนสามารถส่ง หรือถ่ายทอดความรู้ เจตคติ (อารมณ์ ความรสู้ กึ ความสนใจ ทศั นคติ และคา่ นยิ ม) และทักษะไปยงั ผู้เรยี น ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๑๔๕ Hass, Kenneth B. and Herry Q. Packer. Preparation and Use of Audio Visual Aids. 3rd ed. New York : Prentice Hall, Inc.1964 p. 11. ๑๔๖ Brown, Radcliffe. Structure and Function in Primitive Society. United States of America : Pearson Education, 1964 p. 584. ๑๔๗ อ้างองิ มาจาก Gerlach and Ely. ไชยยศ เรืองสวุ รรณ, เทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศึกษา, มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช, พมิ พค์ ร้ังท่ี ๒, (กรุงเทพฯ ๒๕๒๖), หน้า ๑๔๑. ๑๔๘ Heinich, Robert, Michael Molenda & James D. Russel. Instructional Media and the New Technologies Instruction. New York: John Wiley & Son, 1985 p. 5. ๑๔๙ เปร่ือง กุมทุ , การวิจัยสอ่ื และนวกรรมสอน, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร, ๒๕๑๙), หน้า ๑. ๑๕๐ วาสนา ชาวหา, เทคโนโลยที างการศกึ ษา, (กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร, ๒๕๒๒), หน้า ๕๙. ๑๕๑ ไชยยศ เรืองสุวรรณ, เทคโนโลยีทางการศึกษา, (หลกั การและแนวปฏิบัต)ิ , (กรุงเทพฯ : วัฒนาพานชิ , ๒๕๒๖), หน้า ๔. ๑๕๒ ชม ภูมิภาค, เทคโนโลยกี ารสอนและการศึกษา, (กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พ์ประสานมติ ร, ๒๕๒๖), หนา้ ๕.
๑๔๙ พิมพพ์ รรณ เทพสุมาธานนท์ ๑๕๔ กล่าวว่าส่อื การสอนหมายถงึ สิ่งต่างๆที่ใช้เป็นเคร่ืองมือหรือช่องทาง สาหรับใหก้ ารสอนของครูกับผูเ้ รยี น และทาให้ผู้เรยี นเรียนรู้ได้ตามวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายท่ีผู้สอนวางไว้ เป็นอย่างดี สรุปได้ว่า ส่ือการสอน หมายถึงวัสดุ เคร่ืองมือและเทคนิควิธีการท่ีผู้สอนนามาใช้ประกอบการเรียน การสอนเพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๗.๓ ความสาคญั ๗.๓.๑ ความสาคญั ของสอ่ื ความสาคัญของสื่อการสอน ๑๕๕ ไชยยศ เรืองสุวรรณ กล่าวว่า ปัญหาอย่างหน่ึงในการสอนก็คือ แนวทางการตัดสินใจจัดดาเนินการให้ผู้เรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมขึ้นตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งการสอน โดยท่วั ไป ครมู ักมีบทบาทในการจัดประสบการณต์ ่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านเนื้อหาสาระ หรือทักษะและมีบทบาท ในการจัดประสบการณ์เพ่ือการเรียนการสอน ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับตัวผู้เรียนแต่ละคนด้วยว่า ผู้เรียนมีความต้องการ อย่างไร ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบน้ี การจัดสภาพแวดล้อมที่ดีเพ่ือการเรียนการสอนจึงมี ความสาคัญมาก ทั้งนี้เพื่อสร้างบรรยากาศและแรงจูงใจผู้เรียนให้เกิดความอยากเรียนรู้และเพ่ือเป็นแหล่ง ศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้ของผู้เรียนได้ตามจุดมุ่งหมาย สภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ทั้งมวลที่จัดขึ้นมาเพื่อการ เรยี นการสอนนั้น ก็คอื การเรยี นการสอนน่ันเอง เอด็ การ์ เดล ๑๕๖ ไดก้ ล่าวสรปุ ถึงความสาคัญของสื่อการสอน ดงั น้ี ๑. ส่ือการสอน ช่วยสร้างรากฐานท่ีเป็นรูปธรรมข้ึนในความคิดของผู้เรียน การฟังเพียงอย่างเดียวน้ัน ผู้เรียนจะตอ้ งใชจ้ นิ ตนาการเขา้ ชว่ ยด้วย เพอื่ ให้ส่งิ ทเ่ี ป็นนามธรรมเกิดเป็นรูปธรรมข้นึ ในความคิด แต่สาหรับส่ิง ท่ยี ุ่งยากซบั ซ้อน ผเู้ รยี นยอ่ มไมม่ คี วามสามารถจะทาได้ การใช้อปุ กรณเ์ ข้าช่วยจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและ สรา้ งรูปธรรมข้ึนในใจได้ ๒. ส่ือการสอน ช่วยเร้าความสนใจของผู้เรียน เพราะผู้เรียนสามารถใช้ประสาทสัมผัสได้ด้วยตา หู และการเคลื่อนไหวจับตอ้ งได้แทนการฟังหรือดูเพยี งอยา่ งเดียว ๓. เป็นรากฐานในการพัฒนาการเรียนรู้และช่วยความทรงจาอย่างถาวร ผู้เรียนจะสามารถนา ประสบการณ์เดมิ ไปสมั พนั ธก์ ับประสบการณใ์ หม่ ๆ ได้ เมอื่ มีพ้นื ฐานประสบการณเ์ ดิมทด่ี อี ยแู่ ล้ว ๔. ช่วยให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการทางความคิด ซึ่งต่อเน่ืองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทาให้เห็น ความสมั พันธเ์ ก่ียวขอ้ งกับส่ิงต่าง ๆ เช่น เวลา สถานท่ี วัฏจกั รของส่ิงมชี ีวิต ๑๕๓ ชัยยงค์ พรหมวงศ,์ การวางแผนการสอนและเขยี นแผนการสอน เอกสารการสอนชุดวิชาวทิ ยาการสอน หน่วยที่ ๘ – ๑๕, พมิ พค์ ร้ังที่ ๗, (นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช, ๒๕๒๙), หน้า ๑๑๒. ๑๕๔ พิมพพ์ รรณ เทพสเุ มธานนท์, เทคโนโลยที างการศึกษา, พิมพ์ครัง้ ท่ี ๒, (กรงุ เทพฯ : บริษัทรุ่งศิลป์การพิมพ์, ๒๕๓๑), หนา้ ๒๙. ๑๕๕ ไชยยศ เรืองสุวรรณ, เข้าถึงจาก. https://www.gotoknow.org/posts/231418, สืบค้นเมื่อ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๘. ๑๕๖ เอ็ดการ์ เดล, เข้าถึงจาก. https://www.gotoknow.org/posts/231418, สบื คน้ เม่ือ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๘.
๑๕๐ ๕. ช่วยเพิ่มทักษะในการอ่านและเสรมิ สรา้ งความเข้าใจในความหมายของคาใหม่ ๆ ให้มากข้ึน ผู้เรียน ที่อ่านหนังสือชา้ ก็จะสามารถอา่ นได้ทันพวกที่อ่านเร็วได้ เพราะไดย้ ินเสียงและได้เหน็ ภาพประกอบกนั จะสามารถอา่ นไดท้ ันพวกท่อี า่ นเรว็ ได้ เพราะไดย้ นิ เสยี งและได้เห็นภาพประกอบกัน เปรื่อง กมุ ุท ใหค้ วามสาคัญของส่อื การสอน ดังนี้ ๑. ชว่ ยให้คณุ ภาพการเรยี นรู้ดขี ้นึ เพราะมีความจรงิ จังและมีความหมายชัดเจนตอ่ ผเู้ รียน ๒. ชว่ ยใหน้ ักเรยี นรู้ไดใ้ นปรมิ าณมากข้นึ ในเวลาทกี่ าหนดไว้จานวนหนึ่ง ๓. ช่วยให้ผู้เรยี นสนใจและมสี ่วนรว่ มอย่างแข็งขนั ในกระบวนการเรียนการสอน ๔. ช่วยให้ผ้เู รียนจา ประทบั ความรู้สกึ และทาอะไรเปน็ เรว็ ข้ึนและดีขึน้ ๕. ชว่ ยส่งเสริมการคดิ และการแกป้ ญั หาในขบวนการเรียนรขู้ องนกั เรียน ๖. ช่วยใหส้ ามารถเรยี นรูใ้ นส่งิ ทเี่ รยี นไดล้ าบากโดยการชว่ ยแก้ปญั หา หรอื ข้อจากดั ต่าง ๆ ได้ดงั น้ี - ทาสงิ่ ทซ่ี บั ซ้อนใหง้ า่ ยขึน้ - ทานามธรรมให้มรี ูปธรรมขึ้น - ทาสงิ่ ท่ีเคลือ่ นไหวเร็วให้ดชู า้ ลง - ทาสง่ิ ทใ่ี หญ่มากใหย้ อ่ ยขนาดลง - ทาสิง่ ท่เี ล็กมากใหข้ ยายขนาดข้นึ - นาอดตี มาศกึ ษาได้ - นาสิ่งทอ่ี ยู่ไกลหรือล้ลี ับมาศกึ ษาได้ ๗. ช่วยใหน้ กั เรยี น เรยี นสาเรจ็ ง่ายขน้ึ และสอบไดม้ ากขนึ้ ๗.๓.๒ ความสาคญั ของเทคโนโลยี ปัจจบุ นั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑๕๗ เป็นสิ่งสาคัญสาหรับองค์กรที่เข้ามาช่วยอานวยความสะดวก ในการดาเนินงาน ทาให้การเข้าถึงข้อมูลมีความรวดเร็ว การติดต่อสื่อสารมีประสิทธิภาพ และช่วยประหยัด ต้นทุนในการดาเนินงานด้านต่างๆ ของหน่วยงานท่ีเชื่อมต่อในระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การรับส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ การมีเว็บไซต์สาหรับเป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆ เป็นต้น แม้ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีประโยชน์และสามารถช่วยอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ แต่ในขณะเดียวกันก็มี ความเส่ยี งสงู และอาจกอ่ ให้เกิดภยั อันตรายหรอื สร้างความเสยี หายต่อการปฏบิ ัติราชการไดเ้ ช่นกนั เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศทาให้ระบบ เศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลกที่ทาให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชอ่ื มโยงของเครอื ข่ายสารสนเทศทาให้เกดิ สงั คมโลกาภวิ ัฒนเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศทาให้องค์กรมีลักษณะ ผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากข้ึน หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอ่ืน เป็นเครือข่าย การดาเนินธุรกิจมีการแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการส่ือสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนนุ เพ่ือให้เกดิ การแลกเปลยี่ นข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาคิดค้นส่ิงอานวยความ สะดวกสบายต่อการดารงชีวิตเป็นอันมาก เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสรา้ งท่ีพักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐานสามารถผลิตสินค้าและให้บริการต่างๆ เพ่ือตอบสนอง ความตอ้ งการของมนุษย์มากข้ึน เทคโนโลยีทาให้ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้าได้เป็นจานวนมาก มีราคา ๑๕๗ วนดิ า บตุ ตะมา, เขา้ ถึงจาก. https://www.gotoknow.org/posts/503459, สบื ค้นเม่ือ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๘.
๑๕๑ ถกู ลง สนิ คา้ ได้คณุ ภาพ เทคโนโลยสี ารสนเทศซง่ึ ใหบ้ ริการด้านข้อมูล ข่าวสารด้วยกลไกอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ มกี ารตดิ ตอ่ ส่อื สารกันไดส้ ะดวก รวดเร็วตลอดเวลา จะเหน็ วา่ ชวี ติ ปจั จบุ ันเกย่ี วขอ้ ง กับเทคโนโลยีเป็นอันมาก ซ่งึ สว่ นใหญใ่ ชร้ ะบบคอมพิวเตอรใ์ นการทางาน ๗.๓.๓ ความสาคญั ของการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นองค์ประกอบสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทาใหไ้ ดข้ อ้ มลู สารสนเทศทีจ่ าเป็นในการพิจารณาว่าผู้เรียนเกิดคุณภาพการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และมาตรฐานการเรยี นรู้ ๑๕๘ จากประเภทของการประเมินโดยเฉพาะการแบง่ ประเภทโดยใชจ้ ดุ ประสงค์ของการประเมินเป็นเกณฑ์ ในการแบ่งประเภท จะเห็นว่า การวัดและประเมินผลการเรียนนอกจากจะมีประโยชน์โดยตรงต่อผู้เรียนแล้ว ยังสะท้อนถึงประสิทธิภาพการการสอนของครู และเป็นข้อมูลสาคัญที่สะท้อนคุณภาพการดาเนินงานการจัด การศึกษาของสถานศึกษาด้วย ดังนั้นครูและสถานศึกษาต้องมีข้อมูลผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ทั้งจากการ ประเมินในระดบั ช้นั เรียน ระดบั สถานศกึ ษา และระดับอ่ืนท่ีสูงข้ึน ประโยชน์ของการวัดและการประเมินผล การเรียนรู้จาแนกเปน็ ดา้ นๆ ดงั นี้ ๑. ดา้ นการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนมีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการเรียนการ สอนดังนี้ ๑.๑ เพื่อจัดตาแหน่ง (Placement) ผลจากการวัดบอกได้ว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ อยใู่ นระดบั ใดของกลมุ่ หรือเปรียบเทียบกับเกณฑแ์ ล้วอย่ใู นระดับใด การวัดและประเมินเพ่ือจัดตาแหน่งน้ี มัก ใชใ้ นวตั ถปุ ระสงค์ ๒ ประการคอื ๑) เพ่ือคัดเลือก (Selection) เป็นการใช้ผลการวัดเพื่อคัดเลือกเพ่ือเข้าเรียน เข้า ร่วมกจิ กรรม-โครงการ หรือเป็นตัวแทน(เช่นของช้ันเรียนหรือสถานศึกษา) เพื่อการทากิจกรรม หรือการให้ ทนุ ผล การวัดและประเมนิ ผลลกั ษณะนค้ี านึงถงึ การจัดอนั ดบั ทเ่ี ป็นสาคญั ๒) เพื่อแยกประเภท (Classification) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมินเพ่ือ แบ่งกลุ่มผู้เรียน เช่น แบ่งเป็นกลุ่มอ่อน ปานกลาง และเก่ง แบ่งกลุ่มผ่าน-ไม่ผ่านเกณฑ์ หรือตัดสินได้-ตก เป็นต้น เป็นการวดั และประเมนิ ท่ยี ึดเกณฑ์ท่ใี ช้ในการแบง่ กล่มุ เปน็ สาคัญ ๑.๒ เพื่อวินิจฉัย (Diagnostic) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมินเพื่อค้นหาจุดเด่น-จุดด้อย ของผู้เรียนว่ามีปัญหาในเรื่องใด จุดใด มากน้อยแค่ไหน เพ่ือนาไปสู่การตัดสินใจการวางแผนการจัดการ เรียนรู้และการปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น เครื่องมือท่ีใช้วัดเพื่อการวินิจฉับ เรียกว่า แบบทดสอบวนิ จิ ฉัย (Diagnostic Test) หรือแบบทดสอบวนิ จิ ฉัยการเรยี น ประโยชน์ของการวัดและประเมิน ประเภทนนี้ าไปใช้ในวตั ถปุ ระสงค์ ๒ ประการดังน้ี ๑) เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลการวัดผู้เรียนด้วยแบบทดสอบวินิจฉัย การเรียนจะทาให้ทราบว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องจุดใด มากน้อยเพียงใด ซึ่งครูผู้สอนสามารถแก้ไขปรับปรุงโดย ๑๕๘ ทวิ ัตถ์ มณโี ชติ, การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน, (กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ ศนู ย์ส่งเสรมิ วชิ าการ, ๒๕๔๙).
๑๕๒ การสอนซ่อมเสริม (Remedial Teaching) ได้ตรงจุด เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ี คาดหวงั ไว้ ๒) เพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ผลการวัดด้วยแบบทดสอบวินิจฉัยการเรียน นอกจากจะช่วยให้เห็นว่าผู้เรียนมีจุดบกพร่องเร่ืองใดแล้ว ยังช่วยให้เห็นจุดบกพร่องของกระบวนการจัดการ เรียนรู้อกี ดว้ ย เชน่ ผูเ้ รยี นส่วนใหญม่ ีจดุ บกพรอ่ งจุดเดียวกัน ครูผู้สอนต้องทบทวนว่าอาจจะเป็นเพราะวิธีการ จดั การเรียนรู้ไมเ่ หมาะสมตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขให้เหมาะสม ๑.๓ เพื่อตรวจสอบและปรับปรุง การประเมินเพื่อพัฒนา (Formative Evaluation) เป็น การประเมนิ เพ่ือตรวจสอบผลการเรียนรูเ้ ทยี บกับจุดประสงค์หรือผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง ผลจากการประเมิน ใช้พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน โดยอาจจะปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนวิธีการสอน (Teaching Method) ปรับเปลย่ี นสอื่ การสอน (Teaching Media) ใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ (Teaching Innovation) เพื่อนาไปสกู่ ารพัฒนาการจัดการเรยี นร้ทู ่ีมีประสิทธิภาพ ๑.๔ เพื่อการเปรียบเทียบ (Assessment) เป็นการใช้ผลการวัดและประเมินเปรียบเทียบว่า ผเู้ รยี นมีพัฒนาการจากเดิมเพียงใด และอยู่ในระดับท่พี งึ พอใจหรือไม่ ๑.๕ เพ่ือการตัดสิน การประเมินเพื่อการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นการประเมินรวม (Summative Evaluation) คือใช้ข้อมูลท่ีได้จากการวัดเทียบกับเกณฑ์เพื่อตัดสินผลการเรียนว่าผ่าน-ไม่ผ่าน หรือให้ระดบั คะแนน ๒. ดา้ นการแนะแนว ผลจากการวดั และประเมินผู้เรียน ช่วยให้ทราบว่าผเู้ รยี นมีปัญหาและข้อบกพร่องในเรื่องใด มากน้อย เพยี งใด ซึ่งสามารถแนะนาและช่วยเหลือผู้เรียนให้แก้ปัญหา มีการปรับตัวได้ถูกต้องตรงประเด็น นอกจากนี้ ผลการวัดและประเมินยังบ่งบอกความรู้ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ซ่ึงสามารถ นาไปใชแ้ นะแนวการศึกษาต่อและแนะแนวการเลือกอาชพี ใหแ้ ก่ผูเ้ รียนได้ ๓. ดา้ นการบรหิ าร ข้อมลู จากการวดั และประเมนิ ผู้เรยี น ช่วยใหผ้ ูบ้ รหิ ารเหน็ ข้อบกพรอ่ งต่างๆ ของการจดั การเรียนรู้ เป็น การประเมินผลการปฏิบัติงานของครู และบ่งบอกถึงคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ผู้บริหาร สถานศกึ ษามกั ใช้ข้อมลู ไดจ้ ากการวดั และประเมินใช้ในการตัดสินใจหลายอย่าง เช่น การพัฒนาบุคลากร การ จัดครูเข้าสอน การจัดโครงการ การเปลี่ยนแปลงโปรแกรมการเรียน นอกจากนี้การวัดและประเมินผลยังให้ ข้อมลู ที่สาคัญใน การจดั ทารายงานการประเมินตนเอง (SSR) เพอ่ื รายงานผลการจัดการศกึ ษาสผู่ ู้ปกครอง สาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัด และนาไปสู่การรองรับการประเมินภายนอก จะเห็นว่าการวัดและประเมินผลการศึกษา เป็นหัวใจสาคัญของระบบการประกันคณุ ภาพท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา ๔. ดา้ นการวิจยั การวดั และประเมินผลมปี ระโยชนต์ ่อการวิจยั หลายประการดังนี้ ๔.๑ ขอ้ มลู จาการวัดและประเมินผลนาไปสู่ปัญหาการวิจัย เช่น ผลจากการวัดและประเมิน พบว่า ผู้เรี ยนมีจุดบ กพร่ องห รือมีจุดท่ีควร พัฒน ากา รแก้ไขจุด บกพร่องหรื อการ พัฒน าดังกล่า วโด ยกา ร ปรับเปลี่ยนเทคนคิ วิธีสอนหรือทดลองใช้นวัตกรรมโดยใช้กระบวนการวิจัย การวิจัยดังกล่าวเรียกว่า การวิจัย
๑๕๓ ในช้ันเรียน (Classroom Research) นอกจากน้ีผลจากการวัดและประเมินยังนาไปสู่การวิจัยในด้านอื่น ระดับอ่ืน เช่น การวิจัยของสถานศึกษาเกี่ยวกับการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน เป็น ต้น ๔.๒ การวัดและประเมินเป็นเครื่องมือของการวิจัย การวิจัยใช้การวัดในการรวบรวมข้อมูล เพอื่ ศกึ ษาผลการวิจัย ขนั้ ตอนนเี้ รมิ่ จากการหาหรือสร้างเคร่อื งมอื วดั การทดลองใช้เครื่องมือ การหาคุณภาพ เครอ่ื งมือ จนถงึ การใช้เครื่องมือที่มคี ณุ ภาพแล้วรวบรวมข้อมูลการวัดตัวแปรที่ศึกษา หรืออาจต้องตีค่าข้อมูล จะเห็นว่าการวัดและประเมินผลมีบทบาทสาคัญมากในการวิจัย เพราะการวัดไม่ดี ใช้เคร่ืองมือไม่มีคุณภาพ ผลของการวจิ ยั กข็ าดความนา่ เช่ือถอื ๗.๓.๔ ความสาคัญของการเรยี นรู้ ๑๕๙ เปูาหมายของการรับประทานอาหารของคนเราก็คือความรู้สึกอ่ิม หากได้รับประทานอิ่มคนเราก็จะ สบายใจหรือมคี วามสุข สว่ นเปูาหมายในการปูอนอาหารเด็กทารกก็คล้าย ๆ กัน นั่นคือทาให้เด็กทารกรู้สึกอิ่ม แต่ความยากความง่ายของกิจกรรมรับประทานด้วยตนเองกับการปูอนเด็กทารกน้ันแตก ต่างอยู่พอสมควร กลา่ วคอื การรับประทานอาหารด้วยตนเองเราย่อมรู้ตัวเองอยู่ตลอดเวลาว่าเราอิ่มแล้วหรือยัง แต่การปูอนเด็ก ทารกนั้นเราต้องคาดการณห์ รอื ประเมนิ เอาว่าเขาอม่ิ แล้วหรอื ยัง หากเราจะเปรียบเทยี บเปาู หมายของการรับประทานอาหารด้วยตนเอง และการปูอนอาหารเด็กทารก กับการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง และการสอนใหผ้ ้อู ่นื เกดิ การเรียนรู้ จะเห็นว่ามีความคล้ายคลึงกันอยู่ ไม่น้อยเลย นั่น กค็ อื ถา้ เราพยายามจะเรียนรสู้ ่ิงใดด้วยตนเองเราก็จะรู้ตัวเองอยู่ตลอดเวลาว่าเราเกิดการเรียนรู้แล้วหรือยัง แต่ ถ้าเราสอนเพือ่ ให้ผอู้ ่นื เกิดการเรียนรู้เราจะต้องคาดการณ์ หรือประเมินว่าเขาเกิดการเรียนรู้แล้วหรือยัง ความ แตกต่างอีกประการหน่ึงระหว่างการเรียนรู้ด้วยตนเองกับการสอนให้ผู้อ่ืนเกิดการเรียนรู้ก็คือ เรารู้ตัวเราดีว่า เราควรจะทาอย่างไร เราชอบอะไร เราเข้าใจหรือไมเ่ ขา้ ใจอะไร มนั กเ็ ลยทาให้การเรียนรู้ด้วยตนเองไม่ค่อยยาก นกั (ถา้ เราอยากจะเรียนรู้) แตใ่ นการสอนผู้อื่นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้นั้น เราไม่ค่อยรู้อะไรเก่ียวกับคนท่ีเราสอน มากนัก เช่น ไม่รู้ว่าเขามีความพร้อมในการเรียนมากน้อยเพียงใด ไม่รู้ว่าเขาอยากเรียนรู้หรือไม่ ไม่รู้ว่าเขา อยากเรียนรูอ้ ะไร ไม่รู้ว่าทาอยา่ งไรเขาจงึ จะเกดิ การเรยี นรู้ และไม่รู้วา่ เขาเกิดการเรียนรบู้ า้ งแลว้ หรอื ยงั ถ้าเราหวังผลในการสอนว่าเขาจะต้องเกิดการเรียนรู้จากการสอนของเรา เราก็ต้องรู้ในส่ิงที่เราไม่รู้ เหลา่ น้ใี หไ้ ดม้ ากท่สี ุด แต่ถา้ เราไมร่ ู้ในสิ่งทเ่ี ราควรรมู้ ากเท่าไร เรายังหวังผลการสอนของเราได้น้อยเทา่ นน้ั สิ่งท่ีคนเป็นครูควรจะต้องรู้เป็นเรื่องแรก ก็คือ หลักการสาคัญของการเรียนรู้น่ันเอง ซึ่งหลักการน้ันมีอยู่ ๔ ประการดังตอ่ ไปนี้ ๑. ผู้เรียนควรจะมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างจริงจัง (Active Participation) หมายความว่า เมื่อครู สอนนักเรียนก็จะต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมการสอนของครูท้ังกายและใจ นักเรียนท่ีน่ังเหม่อลอยหรือน่ังหลับ ในขณะที่ครูสอนถือว่าไม่มีส่วนร่วมมากนัก นักเรียนท่ีไม่ยอมคิดเม่ือครูถามคาถามก็ถือว่า ไม่มีส่วนร่วมในการ เรียนการสอน นักเรียนท่ีลอกการบ้านเพ่ือนแทนที่จะทาเอง ถือว่ามีส่วนร่วมเหมือนกันแต่ไม่เข้าข้ัน active นักเรียนที่เข้าห้องปฏิบัติการแต่ไม่ยอมทาอะไรเองคอยอาศัยแต่เพ่ือน ก็ถือว่าไม่มีส่วนร่วมอย่างจริงจังเช่นกัน ด้วยเหตุนี้เองผู้หลักผู้ใหญ่สมัยก่อนเขาจึงสอนเด็ก ๆ ว่า “จะต้องเป็นคนเอาตาดู เอาหูฟัง และเอาใจใส่” กับ เรอื่ งรอบ ๆ ตัว จึงจะเฉลยี วฉลาดทันคน ๑๕๙ รองศาสตราจารย์ ดร.ชาญชัย อินทรประวัติ. มหาวิทยาลัยสุรนารี, เขา้ ถงึ จาก. http://www.kroobannok.com/blog/45566, สบื ค้นเม่ือ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘.
๑๕๔ เพราะฉะนัน้ คาถามสาหรับคนเป็นครใู นหลักการขอ้ นี้ กค็ ือ - ทาอยา่ งไรจึงจะทาให้นักเรยี นเขา้ เรียนโดยเอาตาดู เอาหูฟัง และเอาใจใส่ - ทาอย่างไรจึงจะทาใหน้ กั เรียนเขา้ ห้องปฏิบัติการและลงมือทาการทดลองดว้ ยตนเอง - ทาอยา่ งไรจึงจะทาใหน้ ักเรียนคดิ เมอื่ ครถู ามคาถาม - ทาอยา่ งไรจึงจะทาให้นกั เรียนทาการบ้านดว้ ยตนเอง ฯลฯ ครูจานวนไม่น้อยที่ชอบคิดว่าพฤติกรรมการมีส่วนร่วมอย่างจริงจังน้ีเป็นหน้าที่ของผู้เรียนโดยตรง เพราะครูมีหน้าท่ีสอนเท่าน้ัน เข้าทานองท่ีว่า “น่ีคือเร่ืองของเธอ” “เร่ืองของฉันคือสอน เร่ืองของเธอคือ เรยี น” แทท้ ี่จรงิ แล้ว สว่ นหน่งึ ของการสอนกค็ อื การทาให้นักเรียนมสี ่วนรว่ มอยา่ งจรงิ จงั น่นั เอง ๒. ผู้เรียนควรจะได้เรียนรู้ทีละข้ันทีละตอนจากง่ายไปสู่ยากและจากไม่ซับซ้อนไปสู่รูปที่ซับซ้อน (Gradual approximation) ตัวอย่างเชน่ เดก็ ๆ ตอ้ งบวกลบเลขเป็นเสียก่อนจึงจะสามารถเรียนรู้การคูณและ การหาร คนเราต้องพูดเป็นคา ๆ ได้เสียก่อนจึงจะสามารถพูดเป็นประโยคได้ หรือต้องเดินให้ได้เสียก่อน แล้ว จึงวิ่งค่อยเหยาะ ๆ จากนั้นจงึ วง่ิ เรว็ ๆ เช่นนี้เป็นตน้ ครูท่ีหวังจะสอนนักเรียนให้เกิดการเรียนรู้จึงต้อง รู้จักแบ่ง เนอื้ หา และจัดลาดับเนอ้ื หาตามความยากงา่ ย แลว้ จึงนามาสอนทลี ะข้นั ทีละตอนอยา่ งเหมาะสม ๓. หลักการท่ีสามคือ ให้นักเรียนได้รับข้อมูลย้อนกลับที่เหมาะสมและไม่เนิ่นนานจนเกินไป (Immediate feedback) เม่ือนักเรียนได้ทากิจกรรมตามคาแนะนาหรือคาส่ังของครูไป แล้วเขาก็มักอยากจะ รวู้ ่าสง่ิ ทเี่ ขาทานน้ั ถูกต้องแลว้ หรือยัง ถา้ เขาไดร้ ับข้อมลู ย้อนกลับทนั การและเหมาะสมเขาก็จะเกิดการเรียนรู้ ที่ ดรี วมทง้ั เกิดความกระตอื รอื รน้ ทจ่ี ะเรยี นรตู้ อ่ ไป แต่ถา้ เขาไม่ได้รบั ขอ้ มูลยอ้ นกลับหรือต้องคอยเป็นเวลานานจึง จะได้รบั เขาจะเกดิ การเรียนรูน้ ้อย และในขณะเดียวกันความกระตือรอื ร้นในการเรียนร้กู จ็ ะมีไม่มาก หลักการสาคญั ของการเรยี นรู้ ๑. ผู้เรียนควรจะมสี ว่ นร่วมในการเรียนรู้อยา่ งจริงจงั ๒. ผเู้ รียนควรจะไดเ้ รียนรทู้ ีละขัน้ ทีละตอนจากง่ายไปส่ยู ากและจากไม่ซบั ซ้อนไปสู่รปู ท่ีซับซ้อน ๓. ให้นักเรยี นได้รับขอ้ มูลย้อนกลับท่ีเหมาะสมและไมเ่ นิน่ นานจนเกนิ ไป ๔. การเสริมแรงหรือใหก้ าลงั ใจที่เหมาะสม ๗.๔ ประเภท ๗.๔.๑ ประเภทของส่ือการเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้สามารถจาแนกออกตามลักษณะไดเ้ ป็น ๓ ประเภท ๑๖๐ คือ ๑. ส่ือส่ิงพิมพ์ หมายถึง หนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ท่ีแสดงหรือเรียบเรียงสาระความรู้ต่าง ๆ โดยใช้ตัวหนังสือที่เป็นตัวเขียน หรือ ตัวพิมพ์ เป็นส่ือในการแสดงความหมาย สื่อส่ิงพิมพ์มีหลายชนิด ได้แก่ เอกสาร หนังสือเรยี น หนงั สอื พิมพ์ นิตยสาร วารสาร บนั ทึก รายงาน ฯลฯ ๒. สือ่ เทคโนโลยี หมายถึง สื่อการเรียนรู้ที่ผลิตขึ้นใช้ควบคู่กับเคร่ืองมือโสตทัศนวัสดุ หรือเครื่องมือท่ี เป็น เทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น แถบบันทึกภาพพร้อมเสียง (วิดีทัศน์) แถบบันทึกเสียง ภาพนิ่ง ส่ือคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน นอกจากน้ีส่ือเทคโนโลยี ยังหมายรวมถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการนาเทคโนโลยีมา ๑๖๐ เขา้ ถงึ จาก. http://www.st.ac.th/av/media_kind.htm, สบื คน้ เมอื่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘.
๑๕๕ ประยกุ ตใ์ ช้ในกระบวนการเรยี นรู้ เช่น การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเพือ่ การเรียนรู้ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็น ตน้ ๓. ส่อื อน่ื ๆ นอกเหนือจากส่ือ ๒ ประเภททีก่ ล่าวไปแลว้ ยังมีส่ืออื่น ๆ ที่ส่งเสรมิ การเรียนรู้ของผู้เรียน ซ่ึงมีความสาคญั ไมย่ ิง่ หย่อนไปกว่าสื่อสงิ่ พิมพ์และสอื่ เทคโนโลยี สื่อทกี่ ลา่ วน้ี ได้แก่ ๓.๑ บุคคล หมายถึง บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ซ่ึง สามารถถ่ายทอด สาระความรู้ แนวคิดและ ประสบการณ์ไปสู่บุคคลอื่น เชน่ บคุ ลากรในทอ้ งถ่ิน แพทย์ ตารวจ นกั ธรุ กจิ เปน็ ต้น ๓.๒ ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หมายถึง ส่ิงมีอยู่ตามธรรมชาติและสภาพแวดล้อมตัวผู้เรียน เช่น พืชผักผลไม้ ปรากฏการณ์ ห้องปฏิบตั ิการ เปน็ ต้น ๓.๓ กิจกรรม / กระบวนการ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการที่ผู้สอนและผู้เรียนกาหนด ข้ึนเพ่ือสร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ ใช้ในการฝึกทักษะซ่ึงต้องใช้กระบวนการคิด การปฏิบัติ การเผชิญ สถานการณ์และ การประยุกต์ความรู้ของผู้เรียน เช่น บทบาทสมมติ การสาธิต การจัดนิทรรศการ การทา โครงงาน เกม เพลง เป็นตน้ ๓.๔ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ หมายถึง วัสดุท่ีประดิษฐ์ขึ้นใช้เพ่ือประกอบการเรียนรู้ เช่น หุ่นจาลอง แผนภูมิ แผนท่ี ตาราง สถิติ รวมถึงส่ือประเภทเคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่จาเป็ นต้องใช้ในการ ปฏิบัตงิ านต่าง ๆ เช่น อปุ กรณ์ทดลองวิทยาศาสตร์ เครอื่ งมือชา่ ง เปน็ ต้น ๗.๔.๒ ประเภทของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๖๑ (IT: information technology types) เทคโนโลยี สารสนเทศท่มี อี ยใู่ นโลก ณ ปัจจุบนั สามารถแบ่งออกได้ เปน็ ๔ ประเภท คือ ๑. เทคโนโลยีด้านการรับข้อมูล (Sensing Technology) เป็นอุปกรณ์ท่ีช่วยให้เราสามารถเก็บ รวบรวมข้อมูลข่าวสารท่ีอยู่รอบตัวเราแล้วเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบท่ีคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ เหล่านี้ได้แก่ เคร่ืองสแกนภาพ (image scanners) เคร่ืองอ่านรหัสแถบ (bar code scanners) และ อุปกรณ์ รับสญั ญาณ(Sensors) เป็นต้น ๒. เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) เช่น โทรสาร โทรศัพท์ไร้สาย เครือข่าย ท้องถ่ิน (LAN) ๓. เทคโนโลยีวิเคราะห์ (Analyzing Technology) ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ท้ังส่วนท่ีเป็น Hardware และ Software ๔. เทคโนโลยีการแสดงผล (Display Technology) ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาอย่าง รวดเร็ว เป็นผลให้การคมนาคมและการสื่อสารแม้กระทั่งโลกแห่งธุรกิจต่างๆหมุนเปล่ียนตาม เราจึงจาเป็น อยา่ งย่ิงที่ต้องพัฒนาตนเองเพื่อกา้ วให้ทนั การพัฒนาทางเทคโนโลยดี งั กลา่ วก่อนที่จะเป็นคนล้าหลัง ๗.๔.๓ ประเภทของการประเมนิ ผล การประเมินผลสามารถจาแนกได้หลายประเภท ท้ังน้ีขึ้นอยู่ที่ว่าจะยึดอะไรเป็นหลักในการแบ่ง ประเภท การประเมินผลสามารถจาแนกได้ดังนี้ ๑๖๒ ๑๖๑ เขา้ ถึงจาก. https://www.gotoknow.org/posts/403465, สบื คน้ เมอื่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘.
๑๕๖ ๑. จาแนกตามระบบการวัด แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คอื ๑.๑ การประเมินแบบอิงตน (self referenced evaluation) เป็นการประเมินเพื่อท่ีจะดูว่า ตนเองมีความกา้ วหน้าหรอื ไม่ อย่างไร เชน่ การสอบกอ่ นเรียน-สอบหลังเรียน ๑.๒ การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ (criterion referenced evaluation) เป็นการ ประเมนิ ผลโดยเอาคะแนนท่ไี ด้จากการสอบไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑท์ ่ีกาหนดไว้ แลว้ พิจารณาตดั สินไปตามนั้น ๑.๓ การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม (norm referenced evaluation) เป็นการประเมินผลโดย เอาคะแนนทไี่ ด้จากการสอบไปเปรียบเทียบกบั ความสามารถของกลมุ่ ๒. จาแนกตามจุดประสงค์ของการประเมิน แบ่งออกเปน็ ๓ ประเภท คอื ๒.๑ การประเมินผลกอ่ นเรียน (pre-assessment or pre-evaluation) เป็นการประเมินผล เพื่อค้นหาข้อบกพร่องของความรู้พื้นฐานของผู้เรียน ทั้งนี้เพราะว่าทุกคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคล การ ประเมินผลก่อนเรียนน้ีมีประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน หรือจัดสถานการณ์การเรียนการสอนให้ เหมาะสมกบั สภาพพ้นื ฐานของผูเ้ รียนแต่ละบุคคล ๒.๒ การประเมินผลระหว่างเรียน (formative evaluation) การประเมินผลวิธีนี้ มี จุดมุ่งหมายเพ่ือปรับปรุง หรือแก้ไขการเรียนการสอนระหว่างเรียนเพื่อให้นักเรียนบรรลุหน่วยการเรียนใด ๆ หรือจดุ ประสงค์ของเรอื่ งน้ัน ๆ ทั้งนอ้ี าจจะทาโดยการสอนซอ่ มเสริม ๒.๓ การประเมนิ ผลหลังสน้ิ สดุ การเรยี นหรือการประเมินผลรวม (summative evaluation) เปน็ การประเมินผลภายหลังที่ครูได้สอนจบกระบวนการเรียนการสอนทั้งวิชาแล้ว หรือท่ีเรียกว่า การประเมิน ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น โดยมีจดุ มุง่ หมายเพ่ือตัดสนิ ผลการเรียน อาจกล่าวไดว้ ่าการประเมินผลการศกึ ษาเป็นกระบวนการทจ่ี ะตรวจสอบคุณภาพการเรียน การสอนว่า นักเรียนบรรลุจุดมุ่งหมายท่ีวางไว้หรือไม่ ถ้าหากพบว่านักเรียนมีข้อบกพร่องก็จะพิจารณาว่าบกพร่องในเรื่อง ใด เพือ่ ทจี่ ะปรบั ปรงุ แก้ไขได้อย่างถูกต้อง ๗.๔.๔ ประเภทของการเรียนรู้ การเรียนรู้ขององค์การมี ๓ ประเภท ได้แก่ การเรียนรู้เชิงปรับตัว การเรียนรู้เชิงคาดการณ์ และ การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการซ่ึงไม่ได้แยกจากกันโดยเด็ดขาด ทั้งน้ี อาจใช้การเรียนรู้มากกว่า ๑ ประเภท ไป พรอ้ มๆ กันได้ ๑๖๓ ๑. การเรยี นรูเ้ ชงิ ปรับตัว (Adaptive Learning) เกิดข้ึนเม่ือบุคคล ทีมหรือองค์การ ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ที่กระทาไป โดยอาศัยผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้น เปน็ หลัก ไปสู่การประเมนิ ผล และสู่การพิจารณาไตร่ตรอง เพื่อจดั การกับปัญหาความยากลาบาก John Browne CEO ของ British Petroleum (BP) ๑๖๔ ได้อธิบายถึงปรัชญาเกี่ยวกับการเรียนรู้เชิง ปรบั ตัวของเขาเอาไว้ว่า ๑๖๒ เขา้ ถึงจาก. http://netra.lpru.ac.th/~phaitoon/UNIT1/unit1/unit14.html, สบื คน้ เมื่อ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘. ๑๖๓ ทม่ี า : หนงั สอื การพฒั นาองค์การแห่งการเรยี นรู้, (Building the Learning Organization), เข้าถงึ จาก. http://www.km.nida.ac.th/home/index.php?option=com_content&view=article&id=116:2009-06-09-09-16- 24&catid=51:km-around-the-world&Itemid=93, สืบคน้ เมอ่ื ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘
๑๕๗ \"ทกุ ครง้ั ท่ีเราลงมอื ทาอกี ครั้ง เราควรทาให้มันดีกว่าคร้ังก่อน ตัวอย่างเช่น ถ้าการขุดเจาะแต่ละคร้ังมี ประสทิ ธิผลมากกวา่ ครั้งก่อน บริษัทก็จะสามารถปรับปรุงการใช้เงิน ๒ พันล้านดอลลาร์สหรัฐ กับการขุดเจาะ น้ามนั ไดด้ ยี ิ่งข้ึน\" และตั้งแต่ปี ค.ศ.๑๙๙๕ เป็นต้นมา BP ก็ใช้เวลาเฉล่ียในการขุดบ่อน้ามันในทะเลลึกลงจาก ๑๐๐ วนั เหลอื เพียง ๔๒ วัน ๒. การเรียนรเู้ ชิงคาดการณ์ (Anticipatory Learning) เกิดขน้ึ เมอ่ื องค์การเรยี นรู้จากการคาดการณ์ถึงอนาคตในหลากหลายรูปแบบ โดยพยายามหลีกเลี่ยง ผลลัพธ์และประสบการณ์ในทางลบ ด้วยการระบุโอกาสที่ดีที่สุดในอนาคต พร้อมๆ กับการค้นหาหนทางที่จะ บรรลุผลสาเร็จใหไ้ ด้ทาให้เราสามารถรับมือกับสถานการณ์ที่จะเกิดข้ึนในอนาคตได้ ซึ่งเป็นการเรียนรู้ในเชิงรุก และสร้างสรรค์ ๓. การเรยี นรเู้ ชงิ ปฏบิ ัติ (Action Learning) เกย่ี วขอ้ งกับการแก้ปัญหาจรงิ ๆ เนน้ ไปที่การแสวงหาความรู้จริง และดาเนินการตามหนทางของการ แก้ปัญหาให้เกิดผลสาเร็จซ่ึงเป็นวิธีเร่งการเรียนรู้วิธีหนึ่ง ทาให้คนและองค์การสามารถเรียนรู้ได้ดีขึ้น ทั้งยัง สามารถประเมินและแก้ปัญหายากๆ ในชีวิตจริงได้เป็นอย่างดี โดยนาเอาการสร้างและการตั้งคาถามใหม่ๆ เกี่ยวกับความรู้ท่ีมีอยู่ และการพิจารณาไตร่ตรองเกี่ยวกับการกระทาท่ีเกิดขึ้น ท้ังระหว่างและหลังการ แกป้ ญั หามารวมเขา้ ดว้ ยกัน ๑๖๕ ๗.๕ การใช้ ๗.๕.๑ การใช้ส่อื เม่ือเลือกส่ือการจัดการเรียนรู้ให้มีความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและเน้ือหาท่ีกระบวนการจัดการ เรียนรู้ แล้วการใช้สอื่ การเรียนรูท้ ี่มปี ระสิทธิภาพเป็นสิ่งสาคัญท่ีผู้สอนควรจะได้ศึกษาหลักการใช้ส่ือการจัดการ เรียนรู้ดังน้ี ๑๖๖ ๑. การเตรียมตัวของผู้สอน ผู้สอนจาเป็นต้องเตรียมการในด้านต่างๆ ก่อนที่จะนาส่ือการเรียนรู้ไปใช้ กลา่ วคอื ๑.๑ ศึกษาเนื้อหาในสื่อการเรียนรู้ท่ีได้เลือกไว้ เพ่ือตรวจสอบดูว่าเน้ือหามีความสมบูรณ์ ตามทต่ี ้องการหรือไม่ จะจัดหาหรือจดั ทาสอ่ื ชนดิ อื่นเพมิ่ เติม ๑.๒ ทดลองใชส้ ่ือการเรียนรู้บางประเภทซ่งึ อาจมีความยุ่งยากในการใช้ หรือต้องการทดสอบ ประสิทธิภาพของส่ือชนิดน้ันๆเช่นลาดับขั้นตอนการนาเสนอสร้างความเข้าใจให้กับผู้เรียนเพีย งพอหรือไม่ เหมาะสมกบั เวลาเรยี นเพียงใด มีสว่ นไหนท่ีตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขบา้ ง ๑๖๔ Prokesch, S. Unleashing the Power of Learning : An Interview With John Browne. Fortune, 1997 p. 148. ๑๖๕ Marquardt, M.J. Building the Learning Organization : A Systems Approach to Quantum Improvement and Global Success. New York : McGraw-Hill. 1996. ๑๖๖ กระทรวงศึกษาธกิ าร. ค่มู อื พฒั นาสอื่ การเรยี นร้,ู กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การรับส่งสินค้าและพสั ดภุ ณั ฑ์ (ร.ส.พ.). ๒๕๔๔ หนา้ ๘ - ๙.
๑๕๘ ๑.๓ จัดเตรียมอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เพื่อจะได้ไม่เสียเวลาในขณะท่ีใช้ เพราะการใช้เวลานาน เกินไป การจัดเตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณ์จะมีผลให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียนรู้น้อยลง นอกจากนี้ควร ตรวจสอบอปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมอื ต่างๆ ใหค้ รบถว้ นให้อยู่ในสภาพทพ่ี ร้อมใชง้ านด้วย ๒. การเตรียมจัดสภาพแวดล้อมการใช้ส่ือการเรียนรู้บางประเภทจะต้องมีการจัดเตรียมสถานที่หรือ ห้องเรียน ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสม กับการใช้สื่อการเรียนรู้ ประเภทน้ันๆไม่ว่าจะเป็นตาแหน่งท่ีเหมาะสม ของเครื่องมอื และวสั ดุอปุ กรณ์ระยะทนี่ ั่งท่เี หมาะสมของผเู้ รยี นหรือแสงภายในห้อง ๓. การเตรียมพรอ้ มของผู้เรียน การใชส้ อื่ การเรยี นรบู้ างอย่างจาเป็นต้องช้ีแจงให้ผู้เรียนรู้วัตถุประสงค์ การเรียนรู้โดยใช้สื่อนั้นๆ เป็นการให้ผู้เรียนจะได้เตรียมความพร้อมในการเรียนรู้สื่อน้ันๆ เป็นการให้ผู้เรียน เรยี นรู้อย่างมีเปูาหมาย และเรียนรจู้ ะไดเ้ ตรียมพรอ้ มในการเรยี นรู้จากส่ือน้ัน หากไม่มีการช้ีแจงให้รู้ผู้เรียนอาจ ได้เพียงความเพลิดเพลินหรือเรียนรู้ไม่ตรงตามเปูาหมาย ย่อมเป็นการใช้ส่ือที่ไม่คุ้มค่าและเสียเวลาโดยเปล่า ประโยชน์ หรอื ในกรณที ี่ผ้เู รยี นจะต้องใช้ส่ือด้วยตนเอง ผ้สู อนกต็ อ้ งแนะนาวิธกี ารใช้ส่ือน้ันด้วย ท่ีสาคัญจะต้อง บอกวา่ ผู้เรียนตอ้ งทากจิ กรรมใดบ้างเพอ่ื จะได้เตรียมตวั ได้ถูกต้อง ๔. การใช้สอื่ การเรยี นรู้ ผสู้ อนจะตอ้ งใชส้ ือ่ การเรียนรู้ตามแผนทกี่ าหนดไว้ เพ่ือให้การจัดการเรียนการ สอนครั้งนั้นดาเนินไปได้อย่างราบรื่น และให้เกิดการเรียนรู้ท่ีต้องการในขณะท่ีใช้สื่อใดๆก็ตามจะต้องพิจารณา ว่าผู้เรียนมีปฏิกิริยาอย่างไร ผู้เรียนศึกษาด้วยความสนใจและกระตือรือร้น หรือไม่ ปฏิกิริยาของผู้เรียนท่ีมีต่อ สื่อการเรียนรู้สามารถใช้เป็นเคร่ืองช้ีวัดได้ว่า ส่ือการเรียนรู้น้ันมีความเหมาะสมกับกิจกรรมและผู้เรียนเพียงใด นอกจากนี้ควรมีการใช้เครื่องมือหรือวิธีการต่างๆ ที่จะตรวจสอบว่าส่ือการเรียนรู้น้ันมีประสิทธิภาพหรือไม่ เพยี งใด ซ่ึงอาจใช้วธิ กี ารสังเกต การตั้งคาถามการใช้แบบทดสอบหรอื การสอบถามโดยตรง ๕. การประเมินโดยใช้ส่ือการเรียนรู้ เป็นการนาข้อมูลที่ได้จากการใช้สื่อมาวิเคราะห์ให้เกิดความ ชัดเจนวา่ มีอุปสรรคปญั หาจากการใชอ้ ยา่ งไร มคี วามเหมาะสมกับกิจกรรมและกลุ่มผู้เรียนในระดับใด โดยต้อง พิจารณาลักษณะทางกายภาพของส่ือและสาระท่ีสื่อสารออกไปยังผู้เรียน บางครั้งสื่อการเรียนรู้ที่นามาใช้น้ัน อาจมีความเหมาะสมด้านกายภาพ แต่คุณค่าในด้านสาระยังไม่สามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตาม เปูาหมาย การประเมินจะช่วยในการตัดสินใจและใช้ส่ือการเรียนรู้สาหรับการจัดการเรียนการสอนในคร้ัง ตอ่ ๆไปหรอื พัฒนาโดยการดดั แปลง ปรบั ปรงุ แกไ้ ข จัดทาเพิม่ เติมให้มีความเหมาะสมย่ิงข้ึน ๗.๕.๒ การใช้เทคโนโลยี ๑๖๗ การผสมผสานเทคโนโลยีให้เข้ากับการศึกษาเป็นส่ิงจาเป็น ในโลกที่ต้องอาศัยการหาข้อมูลและการ สือ่ สาร ทันที ฮาร์ดแวร์มีการปรับปรุงอยู่ตลอดเวลาพร้อมกับความก้าวหน้าในการพัฒนาของซอฟแวร์ ซึ่งเพิ่ม คณุ ค่าให้แกก่ ารเรยี นรู้ แต่เทคโนโลยีในการศึกษาไม่ได้ส้นิ สุดอยเู่ พยี งแค่นี้ แต่มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาทักษะ ท่ีช่วยให้นักเรียนแต่ละคนใช้ทรัพยากรท่ีมีอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน เทคโนโลยีซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของวิธีการ เรยี นรู้แบบบรู ณาการได้ทาให้มาตรฐานการเรยี นการสอนและการเรยี นรดู้ ีขึ้นอย่างมาก เทคโนโลยีในห้องเรียนตอนนี้กลายเป็นส่วนสาคัญของการสร้างการศึกษาที่สมดุลท่ีจะให้คนรุ่นใหม่มี ส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพในโลกสมัยใหม่ ท่ีโรงเรียนนานาชาติ Stamford หลักสูตรของเรามีโปรแกรมสอง แบบท่ีเข้มงวดและการศึกษาที่เสริมการเรียนด้วยเทคโนโลยี โปรแกรมIBช่วยส่งเสริมการสอบสวนท่ี สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานอเมรกิ ัน การผสมผสานเทคโนโลยีในการคน้ ควา้ ขอ้ มูลของนักเรียนช่วยส่งเสริมการวิจัย ๑๖๗ เขา้ ถึงจาก. http://www.cognitaschools.com/th/use-of-technology-1.htm, สบื คน้ เมอ่ื ๒๔ มกราคม ๒๕๕๘.
๑๕๙ โดยวิธีการพัฒนาคาถามที่สาคัญและขั้นตอนที่จะสนับสนุนการตอบของคาถามเหล่าน้ัน ในความเป็นจริงการ เชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้แบบค้นคว้าข้อมูลและการใช้ทรัพยากรท่ีเก่ียวข้องกับเทคโนโลยีในห้องเรียนใน ชีวติ ประจาวันไม่สามารถจะแขง็ แกร่งไปมากกว่าน้ี นอกจากน้ียังสะทอ้ นให้เหน็ การใช้เทคโนโลยีในชีวิตจริงการ ท่ปี ระสบความสาเร็จไม่ไดข้ น้ึ อยูก่ ับวธิ ีท่ีคุณใช้คอมพิวเตอร์ได้ดี แต่จากวธิ ีการทคี่ ุณสามารถประสบความสาเร็จ ในโครงการอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เราโชคดีมากที่โรงเรียนนานาชาติ Stamfordที่จะเปิดสิงหาคมนี้ มีวิธีการบูรณาการเทคโนโลยีใน ห้องเรยี นและสามารถสร้างโรงเรียนท่เี พยี บพร้อมไปดว้ ยเทคโนโลยีท่ที ันสมัย ทมี งานการศึกษาของเราสามารถ รวมเทคโนโลยีนี่ในช้ันเรียนอย่างเต็มรูปแบบและใช้เทคโนโลยีเพ่ือเสริมสร้างการเรียนรู้ คุณสมบัติบางส่วนท่ี เป็นเอกลักษณ์ถาวรของโรงเรียนรวมถึงศนู ย์ Media Library ศูนย์การเรียนรูแ้ บบโต้ตอบทีม่ ีสามารถเข้าถึงโลก ผ่านการประชมุ ทางวดิ ีโอ real time และพ้นื ทีอ่ า่ นดว้ ย iPad ขณะนเ้ี รามีคอมพิวเตอร์สาหรบั นกั เรยี นใชท้ ุกคน โปรแกรมเน็ตบ๊กุ ๑ ต่อ ๑ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยม และโรงเรียนมัธยมตอนปลายของเรา มีแผง Promethean โต้ตอบในห้องเรียนทุกห้องเพ่ือสร้างความ สะดวกสบายให้นักเรียนและเพิ่มประสบการณ์เก่ียวกับเทคโนโลยีและการพัฒนาทักษะของพวกเขาต่อไปใน อนาคต นักเรียนยังสามารถทางานกับเนื้อหาดิจิตอลที่เป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ของโปรแกรม iPad Learning ที่ใชแ้ ท็บเล็ตสาหรบั กจิ กรรมในชัน้ เรียนสาหรับชั้นอนบุ าลข้ึนไป ๗.๕.๓ การใช้การประเมนิ ผล การประเมนิ ผลผเู้ รียนตามสภาพจรงิ ไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน มแี นวปฏบิ ตั ิ ๑๖๘ ดังนี้ ๑. ก่อนนาไปใช้ ครูต้องเรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการประเมินตามสภาพจริง ท่ีสาคัญที่สุด คือ การศึกษาดว้ ยตนเองและลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ พัฒนาความรู้จากการลงมือปฏิบัติ ๒. การแนะนาให้ผู้เรียนจัดทาแฟูมสะสมงาน แฟูมสะสมงานของผู้เรียน นอกจากจะแสดงพัฒนาการ ของผ้เู รยี นแล้ว ยงั เปน็ การสะทอ้ นการสอนของครู เพ่อื จะนาไปปรบั ปรุงการเรยี นการสอนต่อไป ๒.๑ หลกั การเบ้อื งต้นของการจดั ทาแฟูมสะสมงาน มดี งั น้ี ๑) รวบรวมผลงานทแ่ี สดงถงึ พฒั นาการดา้ นต่าง ๆ ๒) รวบรวมผลงานที่แสดงลกั ษณะเฉพาะของผู้เรียน ๓) ดาเนนิ การควบคกู่ บั การเรยี นการสอน ๔) เกบ็ หลักฐานทีเ่ ปน็ ตวั อยา่ งท่ีแสดงความสามารถในดา้ นกระบวนการและผลผลติ ๕) ม่งุ เนน้ ในสิ่งทีผ่ เู้ รยี นเรยี นรู้ ๒.๒ ความสาคัญของแฟูมสะสมงาน คือ การรวบรวมข้อมูลของผู้เรียน ทาให้ครูได้ข้อมูลที่มี ประโยชน์เกี่ยวกับพัฒนาการการเรียนรู้ของผู้เรียนรายบุคคล และนาเอาข้อมูลดังกล่าวมาใช้ปรับปรุงการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ของผู้เรยี น เพื่อพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนไดเ้ ต็มศักยภาพของตนเอง ๗.๕.๔ การใช้การเรยี นรู้ ๑๖๘ เข้าถงึ จาก. http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/ww521/joemsiit/joemsiit- web1/ChildCent/Child_Center4_3.htm, สบื คน้ เมือ่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๘.
๑๖๐ ตามความหมายของการเรียนรู้ที่แท้จริง๑๖๙ คือ ผู้เรียนต้องมีโอกาสนาความรู้ที่เรียนรู้มาไปใช้ในการ ดาเนินชีวิต ส่ิงที่เรียนรู้กับชีวิตจริงจึงต้องเป็นเร่ืองเดียวกัน ครูสามารถจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียน ประยุกต์ใช้ความรู้ได้โดยสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนต้องแก้ปัญหาและนาความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ใช้ หรือให้ ผู้เรียนแสดงความรู้นั้นออกมาในลักษณะต่างๆ เช่น ให้วาดภาพแสดงรายละเอียดท่ีเรียนรู้จากการอ่านบท ประพันธ์ในวิชาวรรณคดี เม่ือครูได้สอนให้เข้าใจโดยการตีความและแปลความแล้ว หรือในวิชาท่ีมีเน้ือหาของ การปฏิบัติ เมอ่ื ผ่านกจิ กรรม การเรยี นรู้แล้ว ครูควรให้ผู้เรียนได้ฝึกให้ทางาน ปฏิบัติซ้าอีกครั้งเพ่ือให้เกิดความ ชานาญ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนนาความรู้ไปประยุกต์ใช้น้ี ครูควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนแสดง ความสามารถในลักษณะต่าง ๆ และเปิดโอกาสให้มีความหลากหลาย เพ่ือตอบสนองความสามารถเฉพาะที่ ผู้เรียนแต่ละคนมีแตกต่างกัน ตามท่ีกล่าวไว้ในทฤษฎีพหุปัญญา (multiple intelligence) ของ การ์ดเนอร์ ๑๗๐ทวี่ ่า มนษุ ย์มีความสามารถในดา้ นตา่ ง ๆ ๘ ด้าน ไดแ้ ก่ ๑. ความสามารถดา้ นภาษา เป็นความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อแสดงความคิดเห็น แสดงความรู้สึก สามารถใช้ภาษาเพื่ออธิบายเร่ืองยากให้เป็นเร่ืองง่าย เข้าใจชัดเจน สามารถใช้ภาษาในการโน้มน้าวจิตใจของ ผอู้ ืน่ ๒. ความสามารถด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้ตัวเลข ปริมาณ การ คิดคาดการณใ์ นการจาแนก จดั หมวดหมู่ คดิ คานวณ และต้งั สมมตุ ฐิ าน มีความไวต่อการเห็นความสัมพันธ์ตาม แบบแผนทางตรรกวทิ ยาในการคิดท่ีเป็นเหตุเปน็ ผล ๓. ความสามารถด้านภาพมิติสัมพันธ์ เป็นความสามารถด้านการสร้างแบบจาลอง 3 มิติของ สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ในจินตนาการของตน สามารถคิดและปรับปรุงการใช้พื้นท่ีได้ดี มีความไวต่อสี เส้น รูปร่าง เนอื้ ที่และมองเห็นความสมั พนั ธ์ของสง่ิ เหลา่ นนั้ และสามารถแสดงออกเปน็ รปู รา่ ง/รปู ทรงในสง่ิ ทเ่ี ห็นได้ ๔. ความสามารถด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว เป็นความสามารถในการใช้ร่างกายท้ังหมดหรือ บางส่วน แสดงถึงความรู้สึกนึกคิด มีทักษะทางกายที่แข็งแรง รวดเร็ว คล่องแคล่ว ยืดหยุ่น มีความไวทาง ประสาทสมั ผสั ๕. ความสามารถดา้ นดนตรี เป็นความสามารถในเร่อื งของจงั หวะ ทานองเพลง มีความสามารถในการ แต่งเพลง เรยี นรู้จังหวะดนตรไี ด้ จาดนตรไี ดง้ ่ายและไม่ลมื ๖. ความสามารถด้านมนุษยสัมพันธ์ เป็นความสามารถในการเรียนรู้และเข้าใจถึงอารมณ์ ความรู้สึก นกึ คิด ตลอดจนเจตนาของผู้อน่ื เปน็ ผูท้ ี่ชอบสังเกตน้าเสียง ใบหน้ากริยาท่าทาง และการสร้างสัมพันธภาพกับ บคุ คลอน่ื ใหค้ วามสาคัญกับบคุ คลอน่ื มคี วามสามารถในการเปน็ ผนู้ า สามารถส่ือสารเพ่อื ลดความขดั แยง้ ได้ ๗. ความสามารถในการเข้าใจตนเอง เป็นความสามารถในการรู้จักและเข้าใจอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ของตนเองไดด้ ี ฝึกฝนควบคมุ ตนเองไดท้ งั้ กายและจิต ตดิ ตามส่ิงทตี่ นเองสนใจและแสวงหาผลสาเร็จได้ ๘. ความสามารถในด้านความเข้าใจสภาพธรรมชาติ เป็นความสามารถในการรู้จักธรรมชาติและ เขา้ ใจลักษณะตา่ ง ๆ ของส่งิ แวดล้อม รกั ธรรมชาติ ชอบศึกษาชวี ิตพชื สตั ว์ และรกั สงบ ๑๖๙ เขา้ ถึงจาก. http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/ww521/joemsiit/joemsiit- web1/ChildCent/Child_Center3_3.htm, สืบค้นเมอ่ื ๒๔ มกราคม ๒๕๕๘. ๑๗๐ Howard Gardner. อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี และคณะ ๒๕๔๐.
๑๖๑ ๗.๖ การประยุกต์ ๗.๖.๑ การประยุกตก์ ารใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานดา้ นการศึกษา ๑๗๑ เทคโนโลยีสารสนเทศที่นามาใช้สาหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่ออุปกรณ์ท่ีทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่ มีอุปกรณ์วิดีโอโปรเจคเตอร์ (Video Projector)มีเคร่ือง คอมพิวเตอร์ มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รูปแบบของส่ือที่นามาใช้ในด้านการเรียนการ สอน ก็มีหลากหลาย ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมในการนามาใช้ เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน อิเล็กทรอนิกส์บุค วดิ ีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวดิ ีโอออนดมี านด์ การสืบค้นข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และระบบอินเทอร์เน็ต เป็น ต้น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนาเอาเทคโนโลยี รวมกับการออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วย สอน ซ่ึงเรียกกันโดยท่ัวไปว่าบทเรียน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) การจัดโปรแกรมการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสื่อประสม (Multimedia) ซึ่งหมายถึงนาเสนอได้ท้ัง ภาพ ขอ้ ความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบ กับบทเรียนได้ตลอด จนมีผลปูอนกลับเพ่ือให้ผู้เรียนรู้ บทเรียนได้อย่างถูกต้อง และ เขา้ ใจในเนอื้ หาวชิ าของบทเรยี นน้ันๆ การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก เป็นการจัดการเรียน ที่มีสภาพการเรียนต่างไปจากรูปแบบเดิม การเรยี นการสอนแบบน้ี อาศัยศกั ยภาพและความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการนาเอาส่ือการ เรียนการสอน ท่ีเป็นเทคโนโลยี มาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดการเรียนรู้ การสืบค้นข้อมูล และ เชื่อมโยงเครือข่าย ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกสถานที่และทุกเวลา การจัดการเรียนการสอนลักษณะนี้ มี ช่ือเรียกหลายชื่อ ได้แก่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-based Instruction) การฝึกอบรมผ่านเว็บ (Web- based Trainning) การเรียนการสอนผ่านเวิล์ดไวด์เว็บ (www-based Instruction) การสอนผ่านส่ือทาง อิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) เปน็ ตน้ อิเล็กทรอนิกส์บุค คือการเก็บข้อมูลจานวนมากด้วยซีดีรอม หนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลตัวอักษรได้ มากถึง ๖๐๐ ล้านตัวอักษร ดังน้ันซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลหนังสือ หรือเอกสารได้มากกว่าหนังสือ หนึง่ เล่ม และท่ีสาคญั คือการใชก้ บั คอมพวิ เตอร์ ทาให้สามารถเรียกค้นหาข้อมูลภายในซีดีรอม ได้อย่างรวดเร็ว โดยใช้ดชั นี สบื ค้นหรอื สารบญั เรื่อง ซดี ีรอมจงึ เป็นสือ่ ทมี่ ีบทบาทตอ่ การศึกษาอย่างย่ิง เพราะในอนาคตหนังสือ ต่าง ๆ จะจัดเก็บอยู่ในรูปซีดีรอม และเรียกอ่านด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่าอิเล็กทรอนิกส์บุค ซีดีรอมมี ข้อดีคือสามารถจัดเก็บ ข้อมูลในรูปของมัลติมีเดีย และเมื่อนาซีดีรอมหลายแผ่นใส่ไว้ในเครื่องอ่านชุดเดียวกัน ทาใหซ้ ดี ีรอมสามารถขยายการเก็บขอ้ มูลจานวนมากย่งิ ข้ึนได้ วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ หมายถึงการประชุมทางจอภาพ โดยใช้เทคโนโลยีการส่ือสารที่ทันสมัย เป็น การประชุมรว่ มกนั ระหวา่ งบุคคล หรอื คณะบคุ คลทีอ่ ยู่ตา่ งสถานท่ี และห่างไกลกันโดยใช้สื่อทางด้านมัลติมีเดีย ที่ให้ทั้งภาพเคล่ือนไหว ภาพน่ิง เสียง และข้อมูลตัวอักษร ในการประชุมเวลาเดียวกัน และเป็นการสื่อสาร 2 ทาง จึงทาให้ ดูเหมือนว่าได้เข้าร่วมประชุมร่วมกันตามปกติ ด้านการศึกษาวิดีโอเทคเลคอนเฟอเรนซ์ ทา ให้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อส่ือสารกันได้ ผ่านทางจอภาพ โทรทัศน์และเสียง นักเรียนในห้องเรียน ท่ีอยู่ ๑๗๑ เขา้ ถงึ จาก. https://sites.google.com/site/krunoptechno/kar-prayukt/kar-prayukt-dan-kar-suksa, สบื ค้นเม่อื ๒๔ มกราคม ๒๕๕๘.
๑๖๒ ห่างไกลสามารถเห็นภาพและเสียง ของผู้สอนสามารถเห็นอากับกิริยาของ ผู้สอน เห็นการเคลื่อนไหวและสี หน้าของผู้สอนในขณะเรียน คุณภาพของภาพและเสียง ขึ้นอยู่กับความเร็วของช่องทางการส่ือสาร ท่ีใช้ เชื่อมต่อระหว่างสองฝั่งที่มีการประชุมกัน ได้แก่ จอโทรทัศน์หรือจอคอมพิวเตอร์ ลาโพง ไมโครโฟน กล้อง อุปกรณเ์ ข้ารหสั และถอดรหัส ผา่ นเครอื ขา่ ยการสอื่ สารความเร็วสูงแบบไอเอสดีเอ็น (ISDN) ระบบวิดีโอออนดีมานด์ (Video on Demand) เป็นระบบใหม่ท่ีกาลังได้รับความนิยมนามาใช้ ใน หลายประเทศเช่น ญี่ปุนและสหรัฐอเมริกา โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทาให้ผู้ชมตาม บ้านเรือนตา่ ง ๆ สามารถเลือกรายการวิดีทัศน์ ทต่ี นเองตอ้ งการชมได้โดยเลือกตามรายการ (Menu) และเลือก ชมไดต้ ลอดเวลา วดิ ีโอออนดีมานด์ เป็นระบบทม่ี ีศนู ยก์ ลาง การเก็บข้อมูลวีดิทัศน์ไว้จานวนมาก โดยจัดเก็บใน รูปแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ (Video Server) เมื่อผู้ใช้ต้องการเลือกชมรายการใด ก็เลือกได้จากฐานข้อมูลที่ ต้องการ ระบบวิดีโอ ออนดีมานด์จึงเป็นระบบท่ีจะนามาใช้ ในเรื่องการเรียนการสอนทางไกลได้ โดยไม่มี ข้อจากดั ด้านเวลา ผ้เู รยี นสามารถเลือกเรียน ในส่งิ ทีต่ นเองต้องการเรียนหรอื สนใจได้ การสืบค้นข้อมูล (Search Engine) ปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงระบบการสืบค้นข้อมูลกันมาก แม้แต่ใน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก็มีการประยุกต์ใช้ไฮเปอร์เท็กซ์ในการสืบค้นข้อมูล จนมีโปรโตคอลชนิดพิเศษท่ีใช้กัน คอื World Wide Web หรอื เรียกว่า www. โดยผู้ใช้สามารถเรยี กใชโ้ ปรโตคอล http เพ่ือเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบ ไฮเปอร์เท็กซ์ ซ่งึ เปน็ ฐานขอ้ มลู ในอินเทอรเ์ น็ต ไฮเปอร์เท็กซ์มีลักษณะเป็นแบบมัลติมีเดีย เพราะสามารถสร้าง เป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ที่เก็บได้ทั้งภาพ เสียง และตัวอักษร มีระบบการเรียกค้นที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้ โครงสร้างดัชนีแบบลาดับช้ันภูมิ โดยท่ัวไป ไฮเปอร์เท็กซ์จะเป็นฐานข้อมูลที่มีดัชนีสืบค้นแบบเดินหน้า ถอย หลัง และบันทึกร่องรอยของการสืบค้นไว้ โปรแกรมท่ีใช้ในการสร้างไฮเปอร์เท็กซ์มีเป็นจานวนมาก ส่วน โปรแกรมท่ีมีช่ือเสียงได้แก่ HTML Compossor FrontPage Marcromedia DreaWeaver เป็นต้น ปัจจุบัน เราใช้วิธกี ารสบื ค้นข้อมูล เพ่ือนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ประกอบในการทาเอกสารรายงานต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและ รวดเร็ว อินเทอร์เน็ต คอื เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงประกอบด้วยเครือข่ายย่อย และเครือข่ายใหญ่สลับซับซ้อน มากมาย เช่ือมต่อกันมากกว่า ๓๐๐ ล้านเคร่ืองในปัจจุบัน โดยใช้ในการติดต่อสื่อสาร ข้อความรูปภาพ เสียง และอ่ืน ๆ โดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท่ีมีผู้ใช้งานกระจายกันอยู่ท่ัวโลก ปัจจุบันได้มีการนาระบบ อนิ เทอรเ์ น็ต เขา้ มาใชใ้ นวงการศึกษากันท่วั โลก ซงึ่ มีประโยชนใ์ นดา้ นการเรียนการสอนเปน็ อย่างมาก ๗.๖.๒ ประยกุ ตก์ ารใชก้ ารประเมินผล และการเรยี นรู้ การบูรณาการ หมายถึง การนาศาสตรส์ าขาวชิ าต่าง ๆ ทมี่ ีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกันมาผสมผสานเข้า ด้วยกัน สาเหตทุ ต่ี อ้ งจดั ให้มกี ารบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอนคือ ๑๗๒ ๑. ในชีวติ ของคนเรามเี รอ่ื งราวตา่ ง ๆ ทีส่ ัมพันธ์ซ่งึ กันและกันไมไ่ ด้แยกออกจากกันเปน็ เร่อื งๆ ๒. เมื่อมีการบูรณาการเข้ากับชีวิตจริงโดยการเรียนรู้ในสิ่งที่ใกล้ตัวแล้วขยายกว้างออกไป ผู้เรียนจะ เรยี นรูไ้ ดด้ ีขนึ้ และเรียนรู้อยา่ งมีความหมาย ๓. เน้ือหาวิชาต่าง ๆ ท่ีใกล้เคียงกันหรือเกี่ยวข้องกันควรนามาเช่ือมโยงกัน เพื่อให้เรียนรู้อย่างมี ความหมาย ลดความซ้าซ้อนเชงิ เนือ้ หาวชิ า ลดเวลา แบ่งเบาภาระของครู ๑๗๒ เขา้ ถึงจาก. http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/ww521/joemsiit/joemsiit- web1/ChildCent/Child_Center3_3.htm, สบื คน้ เมอ่ื ๒๕ มกราคม ๒๕๕๘
๑๖๓ ๔. เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนไดใ้ ชค้ วามรู้ ความคิด ความสามารถและทักษะท่ีหลากหลาย โรงเรยี นที่สนบั สนนุ ใหม้ ีการจดั การเรยี นร้แู บบบูรณาการมลี ักษณะ ดงั นี้ ๑) มกี ารจัดการเรียนการสอนเปน็ หนว่ ย ๒) เชื่อมโยงการเรียนรูส้ ทู่ อ้ งถ่นิ ๓) จัดตารางการเรียนรู้แบบยืดหย่นุ ๔) นักเรียนมีส่วนรว่ มในการประเมนิ และมกี ารประเมินผลตามสภาพจรงิ ๕) ใชก้ ิจกรรมเชอื่ มโยงสกู่ ารฝกึ ทักษะและเนอ้ื หาสาระวิชาตา่ ง ๆ ๖) การเรยี นร้แู บบบรู ณาการเชือ่ มโยงสู่การประเมินทุกรายวิชาหรือทุกกลุ่มประสบการณ์ ๗) สร้างการทางานเป็นทีม เพราะต้องอาศัยครูเจ้าของวิชาหลายวิชาร่วมกันวางแผนและทา การสอน ประเภทของการบูรณาการ มดี ังน้ี ๑. บรู ณาการภายในวชิ า เช่น ภาษาไทย จัดการเรยี นรโู้ ดยบูรณาการทกั ษะฟงั ดู พูด อ่าน เขียน หลัก ภาษา และการใช้ภาษา หรือวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง จานวนและตัวเลข ๐-๒๐ จัดการเรียนการสอนโดยบูรณา การการบวก ลบ ชงั่ ตวง วัด สถติ ิ แผนภูมิ โจทย์ปัญหา เป็นต้น ๒. บรู ณาการเช่ือมโยงกบั กลุม่ ประสบการณห์ รือวชิ าอนื่ ๆ ทาได้ ๒ ลักษณะคอื ๑) ผู้สอนคนเดียวกัน สอนหลายเร่ือง สามารถนาเน้ือหาสาระท่ีคล้ายกัน หรือเหมือนกันมา บูรณาการดว้ ยกัน ๒) ผู้สอนหลายคน สอนในเน้ือหาวิชาที่สัมพันธ์กัน แต่มีชั่วโมงสอนต่างกัน สามารถช่วยกัน จดั ทาหน่วยการสอนโดยการบูรณาการเนือ้ หาเขา้ ดว้ ยกัน ๓. บรู ณาการเช่ือมโยงและสอนเป็นคณะ คอื การทคี่ รผู สู้ อนในวิชาหรือกลุม่ ตา่ งๆ ร่วมกนั กาหนดเรื่อง เป็นหน่วย กาหนดหัวเรื่องใหญ่ (theme) หัวเรื่องย่อย (topic) ประเด็นในการสอน (sub topic) กาหนด กิจกรรม และร่วมกันจัดกิจกรรม ตลอดจนรว่ มกันประเมินผล สรปุ ท้ายบท ส่ือ คือ สิ่งใดๆ ก็ตามที่เป็นตัวกลางระหว่างแหล่งกาเนิดของสารกับผู้รับสาร เป็นส่ิงท่ีนาพาสารจาก แหล่งกาเนินไปยังผู้รับสาร เพื่อให้เกิดผลใดๆ ตามวัตถุประสงค์ของการส่ือสาร เทคโนโลยี คือ วิชาท่ีนาเอา วิทยาการทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ตามความต้องการของมนุษย์ เช่น โรงงานอุตสาห กรรม เป็นต้น การประเมินผล (evaluation) คือ การตัดสินคุณค่าหรือคุณภาพของผลท่ีได้จากการวัดโดย เปรยี บเทยี บกับผลการวัดอน่ื ๆ หรอื เกณฑ์ท่ตี ง้ั ไว้ การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพ่ิมพนู และปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือ การฝึกฝน สื่อการสอน คือ วัสดุ เคร่ืองมือและเทคนิควิธีการที่ผู้สอนนามาใช้ประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบน้ี การจัดสภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อการเรียนการสอนจึงมีความสาคัญมาก ท้ังนี้เพื่อสร้างบรรยากาศและแรงจูงใจผู้เรียนให้เกิดความอยาก เรียนรู้และเพ่อื เปน็ แหล่งศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้ของผเู้ รยี นได้ตามจดุ มุง่ หมาย สภาพแวดลอ้ มเพื่อการเรียนรู้ท้ัง
๑๖๔ มวลท่ีจัดขนึ้ มาเพอ่ื การเรียนการสอนนนั้ ความกา้ วหน้าทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนา คิดค้นสิ่งอานวยความสะดวกสบายต่อการดารงชีวิตเป็นอันมาก เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพ้ืนฐานการ ดารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทาให้การสร้างท่ีพักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐานสามารถผลิตสินค้าและ ใหบ้ รกิ ารต่างๆ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์มากข้ึน การวัดและประเมินผลการเรียนนอกจากจะมีประโยชน์โดยตรงต่อผู้เรียนแล้ว ยังสะท้อนถึง ประสิทธิภาพการการสอนของครู และเป็นข้อมูลสาคัญท่ีสะท้อนคุณภาพการดาเนินงานการจัดการศึกษาของ สถานศกึ ษาดว้ ย ถา้ เราหวงั ผลในการสอนว่าเขาจะตอ้ งเกิดการเรยี นรู้จากการสอนของเรา เราก็ต้องรู้ในสิ่งท่ีเรา ไม่รู้เหล่านี้ให้ได้มากที่สุด แต่ถ้าเราไม่รู้ในสิ่งท่ีเราควรรู้มากเท่าไร เรายังหวังผลการสอนของเราได้น้อยเท่าน้ัน สง่ิ ทค่ี นเปน็ ครคู วรจะต้องรู้เปน็ เรือ่ งแรก กค็ ือ หลักการสาคัญของการเรยี นร้นู นั่ เอง การประเมนิ ผลการศกึ ษาเปน็ กระบวนการที่จะตรวจสอบคุณภาพการเรียน การสอนว่านักเรียนบรรลุ จุดมุ่งหมายที่วางไว้หรือไม่ ถ้าหากพบว่านักเรียนมีข้อบกพร่องก็จะพิจารณาว่าบกพร่องในเร่ืองใด เพ่ือที่จะ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขได้อย่างถูกต้อง การเรียนรู้ขององค์การมี ๓ ประเภท ได้แก่ การเรียนรู้เชิงปรับตัว การเรียนรู้ เชิงคาดการณ์ และการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เทคโนโลยีสารสนเทศที่นามาใช้สาหรับการเรียนการสอน เป็น การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยส่ืออุปกรณ์ท่ีทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่ มีอุปกรณ์วิดีโอ โปรเจคเตอร์ (Video Projector)มีเครื่องคอมพิวเตอร์ มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รูปแบบของสือ่ ที่นามาใช้ในดา้ นการเรียนการสอน ก็มีหลากหลาย ขึน้ อยู่กับความเหมาะสมในการนามาใช้ เช่น คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน อิเลก็ ทรอนกิ ส์บุค วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวิดีโอออนดีมานด์ การสืบค้นข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ และระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น การบูรณาการ คือ การนาศาสตร์สาขาวิชาต่าง ๆ ท่ีมี ความสมั พนั ธเ์ ก่ียวข้องกันมาผสมผสานเข้าดว้ ยกัน
๑๖๕ คาถามทา้ ยบท ๑. จงบอกความหมายของสื่อ เทคโนโลยี การประเมนิ ผล และการเรียนรู้ ฯ ๒. นักวิชาการได้ให้ความหมายของส่อื การสอนวา่ อยา่ งไร ยกมาสกั ๓ ทา่ น ฯ ๓. จงบอกความสาคัญของสือ่ เทคโนโลยี ฯ ๔. ความสาคัญของการประเมนิ ผล การเรียนรู้ มีอะไรบ้างจงอธิบาย ฯ ๕. จงระบปุ ระเภทของสือ่ เทคโนโลยี ฯ ๖. ประเภทของการประเมนิ ผล การเรยี นรู้ มีอะไรบ้างจงอธบิ าย ฯ ๗. จงอธิบายการใช้ส่อื เทคโนโลยี ฯ ๘. จงอธิบายการประเมินผล การเรยี นรู้ ฯ ๙. จงอธิบายการประยุกตก์ ารใชส้ ื่อ เทคโนโลยี ฯ ๑๐.จงอธบิ ายการประยุกต์การใช้การประเมนิ ผล การเรยี นรู้ ฯ
๑๖๖ เอกสารอา้ งองิ ประจาบท กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือพัฒนาส่ือการเรียนรู้, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.), ๒๕๔๔. ชม ภูมิภาค. เทคโนโลยกี ารสอนและการศึกษา, กรุงเทพฯ : สานักพิมพประสานมติ ร. ๒๕๒๖. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ การวางแผนการสอนและเขียนแผนการสอน เอกสารการสอนชุดวิชาวิทยาการสอน หนว่ ยที่ ๘ – ๑๕ (พมิ พ์ครั้งท่ี ๗), นนทบรุ ี : มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๙. ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ. เทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา, (หลักการและแนวปฏิบัติ), กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, ๒๕๒๖. ทิวัตถ์ มณีโชติ. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศูนยส์ ง่ เสริมวชิ าการ, ๒๕๔๙. ธรรมนูญ โรจนะบรุ านนท์. ธรรมชาติวทิ ยา, พมิ พค์ ร้งั ที่ ๒, กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชวนพิมพ,์ ๒๕๓๑. บญุ ธรรม กิจปรดี ดี าบรสิ ทุ ธ์.ิ การวดั และประเมินผลการเรยี นการสอน, กรุงเทพฯ : สามเจริญพานชิ , ๒๕๓๕. ประดนิ ันท์ อปุ รมัย. ชดุ วชิ าพนื้ ฐานการศึกษา (มนษุ ย์กับการเรียนรู้) : นนทบุรี, พิมพ์ครัง้ ที่ ๑๕, ๒๕๔๐. เปร่ือง กุมุท. การวิจัยส่ือและนวกรรมสอน, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, ๒๕๑๙. ผดุงยศ ดวงมาลา. การสอนวทิ ยาศาสตร์ระดับมธั ยมศกึ ษา ปตั ตานี : คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์, ๒๕๒๓. ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์ ดร. พิชิต ฤทธ์ิจรูญ หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา, พิมพ์ครั้งท่ี๔, กรุงเทพฯ : เฮา้ ส์ ออฟ เคอร์มิสท์, ๒๕๕๐. พระมหาประเสริฐ สุเมโธ. การสอนแบบโยนโิ สมนสิการ, พมิ พค์ รัง้ ที่ ๒. บุรีรัมย์ : วทิ ยาลัยสงฆ์บรุ รี ัมย์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๔. พมิ พพ์ รรณ เทพสุเมธานนท์. เทคโนโลยีทางการศึกษา, พมิ พ์ครงั้ ที่ ๒, กรงุ เทพฯ:บรษิ ทั รุ่งศิลปก์ ารพิมพ์, ๒๕๓๑. ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, กรงุ เทพฯ: บริษัทนานมบี ุ๊คส์ พบั ลเิ คช่นั ส์ จากดั , ๒๕๔๒. วาสนา ชาวหา. เทคโนโลยที างการศึกษา, กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร, ๒๕๒๒. อุทุมพร จามรมาน. การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา, กรุงเทพฯ : ฟันนี่พับลิชชิ่ง, ๒๕๓๐. A. J. Romiszowski. ความหมายของสื่อการเรียนการสอน, ทางด้านการออกแบบ การพัฒนา และการ - ประเมินผลส่อื การเรยี นการสอนของมหาวทิ ยาลัยซรี าคิวส.์ ๑๙๙๒. Brown, Radcliffe. Structure and Function in Primitive Society. United States of America : Pearson Education, 1964. Bower, Gordon H. and Ernest R. Hilgard. Theorise of Learning. Pertice – Hall Inc., 1981.
๑๖๗ Ebel, Robert L. and Frisbie, David A. Essentials of Educational Measurement, New Jersey : Perntice-Hall, Inc., 1986. Gerlach and Ely. ไชยยศ เรืองสวุ รรณ. เทคโนโลยีและสอ่ื สารการศึกษา, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, (พมิ พค์ ร้ังที่ ๒) กรงุ เทพฯ ๒๕๒๖. Gronlund, Norman E. Measurement and Evaluation in Teaching, 3rd ed. New York : McMillan, 1976. Hass, Kenneth B. and Herry Q. Packer. Preparation and Use of Audio Visual Aids. 3rd ed. New York : Prentice Hall, Inc. 1964. Heinich, Robert, Michael Molenda & James D. Russel. Instructional Media and the New Technologies Instruction. New York: John Wiley & Son, 1985. Kimble, B. B. A student of the relationship of principal perceived self-concept and 1986. principle perceived communication Style. Dissertation Abstracts International 33, (7). Marquardt, M.J. Building the Learning Organization : A Systems Approach to Quantum Improvement and Global Success. New York : McGraw-Hill. 1996. Mehrens, William A. Measurement and Evaluation in Education and Psychology, 2nd ed. New York : Holt, Rinehart and Winston, Inc., 1978. Prokesch, S. Unleashing the Power of Learning : An Interview With John Browne. Fortune, 1997. Sax, Gilbert. Principles of Educational and Psychological Measurement and Evaluation, 3rd ed. United States : Wadsworth Publishing Company, Inc., 1989. Shores, Louis. .Instructtional Materials. New York : The Ronald Press Company. 1960. Webster, Noah Webster’s Third New International Dictionary of the English Language. Springfield, Massachusette, Merrian-Webster. 1981. Wiersma, William and Jus, Stephen G. Educational Measurement and Testing, 2nd ed. Massachusetts : A Division of Simon & Schuster, Inc., 1990.
๑๖๘
๑๖๙ บทที่ ๘ การประเมนิ การเรียนการสอน วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ประจาบท เม่ือไดศ้ ึกษาเน้อื หาในบทนแี้ ล้ว ผ้เู รยี นสามารถ ๑.อธบิ ายธรรมชาติ ความหมาย และความสาคัญของความคดิ ได้ ๒.บอกประเภทของความคิดได้ ๓.บอกลักษณะต่างๆของความคิดได้ ๔.อธิบายการพฒั นาทักษะกระบวนการทางความคดิ ได้ ๕.จดั กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาความคิดได้ ขอบขา่ ยเนื้อหา ธรรมชาติ ความหมาย และความสาคญั ของความคิด ประเภทของความคดิ ลักษณะตา่ งๆของความคดิ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางความคดิ จัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนาความคิด
๑๗๐ ๘.๑ ความนา การประเมินการเรียนการสอนเป็นขั้นตอนสุดท้ายในกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนการ ดาเนินงานในข้ันตอนนี้จะทาให้ผู้ออกแบบการเรียนการสอนได้สารสนเทศที่นาไปใช้ในการตัดสินว่าการเรียน การสอนประสบความสาเร็จตามเปูาหมายที่กาหนดไว้หรือไม่ สิ่งท่ีเป็นผลิตภัณฑ์การเรียนการสอนท่ีเกิดจาก การพัฒนาหรือการออกแบบการเรียนการสอน เช่น ชุดการเรียนการสอน แบบฝึกหัดบทเรียนสาเร็จรูป รูปแบบการเรียนการสอน คู่มือครูและแผนการเรียนการสอน เป็นต้น มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับได้หรือไม่ การ ประเมินการเรียนการสอนเป็นกระบวนการที่ต้องทาอย่างต่อเน่ืองท้ังก่อนดาเนินการ ในระหว่างดาเนินการ และหลังเสร็จส้ินการดาเนินการ ในบทนี้จะได้กล่าวถึงแนวคิดและหลักการของการประเมินการเรียนการสอน การประเมนิ ความก้าวหนา้ การประเมินผลรวม เกณฑ์ในการประเมิน และการออกแบบการประเมินการเรียน การสอน ๘.๒ แนวคดิ และหลกั การของการประเมินการเรยี นการสอน ๘.๒.๑ ความหมายของการประเมินการเรียนการสอน สมหวัง พิธิยานุวัฒน์๑๗๓ สรปุ ความหมายของการประเมิน (evaluation) ที่มีผนู้ ิยามออกเป็น ๒ ลักษณะที่สาคัญ คอื ลักษณะท่ี ๑ การประเมินในความหมายท่เี ปน็ การดาเนินการที่ประกอบด้วยการวัด (measurement) และการใชด้ ลุ ยพินิจ (judgement) การประเมนิ ในลักษณะนหี้ มายถึง กระบวนการใช้ดุลยพนิ จิ และ/หรอื ค่านิยมและข้อจากดั ต่าง ๆ ในการพิจารณาตดั สินคุณค่าของสง่ิ ใดสิง่ หนง่ึ โดยการเปรียบเทียบผลท่ีวัดได้กับ เกณฑ์ที่กาหนดไว้ ลักษณะที่ ๒ การประเมนิ หมายถึง กระบวนการที่ก่อใหเ้ กิดสารสนเทศ (เชงิ คณุ ค่า) เพื่อชว่ ย ให้ผ้มู ีอานาจตัดสนิ ใจเลือกทางเลอื กอย่างมีประสทิ ธภิ าพสูงสดู ดังน้นั ผ้ปู ระเมินจึงต้องศึกษาความต้องการ ของผบู้ รหิ ารและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชนจ์ ากผลการประเมนิ อย่างครบถว้ นเพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทาง ในการวางแผนการประเมนิ ไทเลอร์ (Tyler)๑๗๔ นักการศึกษาคนสาคญั ของสหรฐั อเมริกาเป็นผบู้ ัญญัตศิ พั ท์ การประเมินผลเปน็ ครงั้ แรกว่า “ระดับการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องการสอน”โดยไดเ้ ขยี นหมายเหตุไว้ว่า ใน อนาคตควรนิยามการประเมินผลในเชงิ ระบบ ซง่ึ ต่อมาไทเลอร์ได้ หมายถงึ การประเมินระบบการเรยี นการ สอน ซ่ึงประกอบด้วยการประเมนิ ความต้องการจาเปน็ ในการจัดการเรียนการสอน ความเหมาะสมของผลการ เรียนร้คู อื สมรรถนะและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ กลยทุ ธก์ ารจดั การเรยี นการสอน พฤติกรรมการเรียนการ สอน อปุ กรณแ์ ละสง่ิ อานวยความสะดวกในการเรียนการสอนบรรยากาศทส่ี ง่ เสริมการเรียนการสอน ตลอดจน ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการเรียนการสอนดงั นน้ั การประเมินการเรยี นการสอนท่จี ะกล่าวถึงใน ๑๗๓ สมหวงั พธิ ยิ านุวฒั น์,วธิ วี ิทยาการประเมิน ศาสตร์แห่งคณุ ค่า, พมิ พ์คร้ังที่ ๔, (กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย,๒๕๕๑).หน้า ๒๐-๒๒. ๑๗๔ Tyler, อ้างถงึ ใน ราชบณั ฑติ ยสถาน, พจนานุกรมศพั ทศ์ กึ ษาศาสตร์ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน, (กรงุ เทพฯ : อรณุ การพมิ พ,์ ๒๕๕๕), หนา้ ๒๐๖.
๑๗๑ รายละเอียดในบทนจ้ี ึงสอดคล้องกับแนวคดิ ของไทเลอร์ คอื การประเมินองคป์ ระกอบเชิงระบบของการเรยี น การสอนทป่ี ระกอบด้วยปัจจยั นาเขา้ (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output) และการควบคมุ (control) ภาพ : องค์ประกอบของการประเมินการเรียนการสอนตามแนวคิดเชิงระบบ ๘.๓ วิธีการประเมนิ การเรยี นการสอน ในยคุ แรก การประเมนิ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการวัด และการวดั ก็เป็นส่วนหน่งึ ของการวจิ ัย ต่อมา การประเมินไดร้ ับการพฒั นาเปน็ ศาสตร์ ซ่งึ มีส่วนท่ีแตกตา่ งและสว่ นทเี่ หมือนกบั การวิจัย โดยท่ีการวัด กลบั เป็นสว่ นหนึ่งของการประเมิน๑๗๕ ดังนนั้ ในการออกแบบการประเมินเพื่อรวบรวมข้อมูลที่ตอ้ งการน้นั จงึ ได้ นาวธิ ีการและเทคนิคตา่ ง ๆ ท่ีนักวจิ ัยใช้ในการแสวงหาความรู้ เช่น การกาหนดปัญหาในการวิจัยหรือการตั้งคา ถามวจิ ยั การสร้างกรอบความคิดเชงิ ทฤษฎี การตั้งสมมตฐิ าน การออกแบบวจิ ยั การรวบรวมขอ้ มูล การสุ่ม ตัวอย่าง การวิเคราะหข์ ้อมูลและการตีความหมายข้อมลู เป็นต้น นกั ทฤษฎีการประเมนิ แบง่ วิธีการประเมินเปน็ ๒ ขว้ั ทต่ี า่ งกัน คือ วิธเี ชิงระบบ และวธิ ีเชิงธรรมชาติ ซึ่งทงั้ สองวิธมี คี วามแตกตา่ งกันในดา้ นของเคร่ืองมือ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และการวเิ คราะห์ข้อมูล ดงั น้ี๑๗๖ ๑) วิธเี ชิงระบบ (systematic approach) เป็นการประเมินทีย่ ึดมาตรการเข้าถึงคุณคา่ และเกณฑ์ตัดสินคุณค่าตามแนวคิดปรัชญาปรนัยนิยม (objectivism) ซ่ึงมีความเชื่อว่าวิธีเชิงระบบเป็นวิธีที่ เหมาะสมในการประเมิน นักทฤษฎีในกลุ่มนี้พยายามเสนอรูปแบบการประเมินท่ีแสดงถึงการวางแผนการดา ๑๗๕ สมหวัง พธิ ยิ านุวัฒน์, อ้างแล้ว เรอื่ งเดยี วกัน, หนา้ ๒๒-๒๓. ๑๗๖ ศิรชิ ัย กาญจนวาส,ี ทฤษฎีการประเมิน, พิมพ์ครั้งท่ี ๗, (กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย,๒๕๕๒), หน้า ๑๐๙-๑๑๐.
๑๗๒ เนนิ งานและวิธีดาเนินงานอยา่ งชดั เจน รัดกมุ และเปน็ ระบบ สนบั สนุนการใช้เคร่อื งมอื ทีไ่ ดม้ าตรฐานในการเก็บ รวบรวมข้อมูล พยายามควบคุมสถานการณ์และตัวแปรแทรกซ้อนท่ีอาจส่งผลกระทบต่อผลการประเมิน ทา การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตามแผนการท่กี าหนด และสรุปผลการประเมนิ ตามเกณฑม์ าตรฐานที่ประกาศไวล้ ่วงหนา้ ๒) วธิ เี ชิงธรรมชาติ (naturalistic approach) เปน็ การประเมินท่ยี ึดมาตรการเข้าถงึ คุณค่า และเกณฑต์ ัดสินคุณค่าตามแนวคิดปรัชญาอตั นิยม (subjectivism) ซง่ึ มีความเชื่อวา่ วธิ เี ชงิ ธรรมชาติเปน็ วธิ ที ่ี เหมาะสมในการประเมนิ นกั ทฤษฎีในกลมุ่ น้ีพยายามเสนอรูปแบบการประเมนิ ที่มลี ักษณะทยี่ ดื หยนุ่ สนบั สนุน การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในสภาพธรรมชาติ โดยเน้นการสงั เกตแบบไม่มีโครงสร้าง พยายามวเิ คราะห์ข้อมูลโดย อาศยั หลักการเชื่อมโยงเหตุผล การสังเกตและการวิเคราะห์เบอ้ื งต้นจะนาไปสู่การสังเกตและวิเคราะห์ในขัน้ ลึก ๆ ถัดไป จนไดข้ ้อสรปุ เกีย่ วกับคณุ คา่ ของสิ่งทีป่ ระเมนิ โดยอาศยั ความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เป็น เกณฑส์ าคญั ในการสรุป สาหรับการประเมนิ การเรยี นการสอนนน้ั จะใช้ท้ังสองวธิ รี ่วมกนั โดยใชว้ ิธเี ชงิ ระบบเป็นหลกั โดยองิ เปูาหมายหรือวตั ถปุ ระสงค์ของสงิ่ ที่ประเมินเปน็ หลัก (gold-based) และข้อมลู ท่ีรวบรวมเป็นข้อมูลเชิง ปรมิ าณ การประเมินโดยมุ่งเน้นวัตถปุ ระสงค์เป็นหลักและใชว้ ิธีเชิงระบบเพ่อื ให้ไดค้ าตอบทถ่ี กู ต้องเชื่อถือได้ ทาใหน้ ักประเมินจาเป็นต้องจากดั ตัวแปรที่ศึกษาเฉพาะทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั เปูาหมายที่เปน็ วัตถุประสงค์หลกั ของ การประเมินเทา่ นน้ั โดยไม่นาปัจจัยอ่นื ๆ ที่อาจมผี ลกระทบตอ่ ผลการประเมินแต่ไม่ได้อยู่ในเปูาหมายของการ ประเมินมาพิจารณา ดงั นั้นวธิ ีเชงิ ธรรมชาตจิ ึงนามาใชเ้ พ่ือเสริมจุดดอ้ ยของวิธีเชงิ ระบบ การประเมินดว้ ยวิธเี ชงิ ธรรมชาตจิ ะมคี วามยืดหยุน่ มากกวา่ เปน็ การประเมนิ ที่เปน็ อสิ ระจากเปาู หมายและวตั ถุประสงค์ของโครงการ ประเมนิ (gold-free) ขอ้ มลู ที่รวบรวมเปน็ ข้อมูลเชิงคุณภาพทใ่ี ช้ในการตรวจสอบผลลัพธท์ งั้ ผลทางตรงและ ทางอ้อม และการประเมินผลกระทบท่ีเกิดขน้ึ โดยไม่ได้คาดหมายซึง่ อาจจะเปน็ ไดท้ ้ังทางบวกและทางลบ การ ใชว้ ิธเี ชิงธรรมชาตจิ งึ เปน็ การตดั สนิ คณุ คา่ ของการเรยี นการสอนนอกเหนอื จากเปูาหมายท่กี าหนดไว้ได้อย่าง รอบดา้ นและครอบคลุม ๘.๓.๑ จดุ มุง่ หมายของการประเมินการเรยี นการสอน ในปัจจุบนั แนวคิดในการประเมนิ มุ่งเน้นการประเมนิ เพ่ือปรับปรงุ งานหรอื โครงการที่วางแผนไวใ้ หม้ ี ประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ และช่วยให้ผูบ้ รหิ ารตดั สนิ ใจเก่ียวกบั โครงการหรอื งานท่รี ับผิดชอบ สาหรับการประเมนิ การเรียนการสอนนั้นมจี ดุ มุ่งหมายเพ่ือ ๑) การประเมนิ ความต้องการจาเป็นทาใหท้ ราบว่าอะไรคือปญั หาทแี่ ท้จริง และมีความสาคัญในลาดบั ก่อนหลังอย่างไร ๒) ช่วยในการตัดสนิ ใจเลอื กวิธกี ารในการรวบรวมข้อมลู การวิเคราะห์และแปลผลขอ้ มูลทาใหไ้ ด้ สารสนเทศในการตัดสินใจเก่ียวกับโครงการ ๓) ทาใหท้ ราบว่าการแก้ปัญหาบรรลุเปาู หมายหรอื ผลการเรยี นรูท้ ่ีตอ้ งการหรือไม่ ๔) ชว่ ยตดั สินคณุ ภาพของกระบวนการเรียนการสอนและสอ่ื การเรียนการสอน ๘.๓.๒ ประโยชนข์ องการประเมนิ การเรียนการสอน ผทู้ เ่ี กีย่ วขอ้ งในกระบวนการประเมนิ ซง่ึ ประกอบดว้ ย ผู้เรยี น ครู ผูบ้ ริหารและผู้เก่ียวข้องไดร้ ับ ประโยชนจ์ ากการประเมนิ การเรียนการสอน ดังนี้
๑๗๓ ๑) ผู้เรียนไดร้ ับประโยชน์ดงั นี้ (๑) ชว่ ยพัฒนาและปรบั ปรุงการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี นทั้งในด้านความร้แู ละการปฏิบตั ิ (๒) ได้สื่อการเรียนรู้ท่ีมคี ณุ ภาพซึ่งช่วยส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องผู้เรียนและตอบสนอง ความตอ้ งการของผเู้ รียน ๒) ครไู ด้รับประโยชน์ ดงั นี้ (๑) รวู้ า่ อะไรเป็นความตอ้ งการจาเปน็ และสามารถจัดลาดับความสาคัญกอ่ นหลงั ของปัญหาและความต้องการที่เกย่ี วกบั การเรียนการสอนได้ (๒) ชว่ ยครใู นการเลอื กวิธีสอนและสือ่ การเรียนการสอน (๓) ชว่ ยครใู นการพัฒนาคณุ ภาพของการเรียนการสอน ทาให้การเรยี นการสอน น่าสนใจ (๔) ชว่ ยให้ครสู ามารถปรบั ปรุงและพฒั นาการเรียนการสอน ๓) ผู้บริหารและผูเ้ ก่ียวข้อง ได้รับประโยชน์ ดงั น้ี (๑) ช่วยให้ผ้บู รหิ ารได้ทราบผลการดาเนินงานวา่ อยู่ในสภาพใดเปน็ ทน่ี ่าพอใจหรือไม่ (๒) ช่วยใหผ้ ูบ้ รหิ ารได้สารสนเทศในการวางแผนและพฒั นาการเรียนการสอน (๓) ชว่ ยให้ผู้บรหิ ารตัดสินใจเกย่ี วกบั อนาคตของโครงการว่าจะยตุ หิ รือดาเนนิ การ ตอ่ ไปหรือไม่ อยา่ งไร ๘.๓.๓ ตวั ชี้วดั ผลสัมฤทธข์ิ องการประเมนิ การเรียนการสอน การประเมินการเรียนการสอนเพื่อพิจารณาว่าเปูาหมายท่ีกาหนดไว้บรรลุผลสัมฤทธิ์หรือไม่ควร พิจารณาจากตัวชี้วัดที่สะท้อนคุณภาพหรือความสาเร็จของการดาเนินงาน ๒ ด้าน คือ ด้านประสิทธิผล (effectiveness) และประสทิ ธภิ าพ (efficiency)๑๗๗ ประสิทธผิ ล หมายถงึ การบรรลผุ ลสมั ฤทธิ์ตามเปาู หมายหรอื วตั ถุประสงค์ที่พงึ ปรารถนา นัน่ คอื ผล การปฏิบัตงิ านไม่ว่าจะเปน็ ผลผลติ ผลกระทบ ผลลพั ธ์ ไดผ้ ลตรงตามทค่ี าดหวงั ไวแ้ ละเป็นที่พึงพอใจหรอื ไม่ สว่ นประสิทธิภาพ หมายถงึ ความสามารถของการใชท้ รพั ยากรและกระบวนการปฏบิ ตั ิงานใน การสร้างผลผลติ ซึง่ มลี ักษณะทส่ี าคัญคอื การประหยัดหรือการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ก่อให้เกิดผลสูงสุดและ ความสามารถในการลดคา่ ใช้จ่ายในการผลิต ในการประเมนิ การเรยี นการสอนนัน้ ตัวช้ีวดั ด้านประสทิ ธิผลและประสิทธภิ าพได้จากการประเมินท้ัง ในระหวา่ งการดาเนนิ งานหรอื การประเมินความก้าวหน้า (formative evaluation) และเม่อื ส้นิ สุดการเนิน งานหรือการประเมินผลรวม (summative evaluation) ตัวชว้ี ดั ทัง้ สองไดม้ าจากการรวบรวมขอ้ มูลทั้งเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพอยา่ งเป็นระบบ ๘.๔ ขอบเขตของการประเมินการเรยี นการสอน การประเมินการเรยี นการสอนสามารถแบ่งตามจุดมุ่งหมายและกรอบระยะเวลาของการดาเนนิ งาน ๑๗๗ ศริ ชิ ัย กาญจนวาส,ี อา้ งแลว้ เรื่องเดยี วกัน, หน้า ๑๔๗-๑๔๘.
๑๗๔ ออกเป็น ๒ ประเภท ไดแ้ ก่๑๗๘ ๑. การประเมินความก้าวหน้า (formative evaluation) ซึ่งเป็นการประเมินในระหว่าง ดาเนินงานโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้สารสนเทศที่นาไปใช้ในการปรับปรุง แก้ไขจุดบกพร่องของการออกแบบ การเรยี นการสอน สิ่งท่ีประเมิน ได้แก่ แผนการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอนท่ีเกิดขึ้นจากการ ออกแบบและพัฒนา เพ่ือดูความเหมาะสมและสอดคล้องขององค์ประกอบของการเรียนการสอนว่ามี ความสัมพันธ์เช่ือมโยงกันอย่างเป็นระบบหรือไม่อย่างไร ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร สื่อการเรียนการสอนท่ี พัฒนาข้ึนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นอย่างไรเม่ือไปทดลองใช้ ก่อนจะนาไปใช้จริงกับประชากร กลุม่ เปูาหมาย ๒. การประเมินผลรวม (summative evaluation) เป็นการประเมินเมื่อส้ินสุดโครงการ โดย มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้สารสนเทศท่ีนาไปใช้ในการตัดสินคุณค่า ความสาเร็จหรือล้มเหลวของโครงการท้ังหมด โดยภาพรวม โดยพิจารณาจากประสิทธผิ ลและประสิทธภิ าพของโครงการ ๘.๔.๑ การประเมนิ ความก้าวหน้า การประเมินความก้าวหน้ามักจะดาเนนิ การโดยทีมผู้ออกแบบการเรียนการสอนและบุคคลท่ีเก่ียวข้อง กับการเรียนการสอน ได้แก่ ครู นักเรียน และการรับฟังความคิดเห็นของผู้ประเมินจากภายนอก ได้แก่ ผู้เช่ียวชาญด้านเนื้อหา ผู้เชี่ยวชาญด้านส่ือการเรียนการสอน และผู้ที่มีประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ พัฒนา เป็นต้น การประเมินความกา้ วหน้าประกอบด้วยขัน้ ตอนในการดาเนนิ การ ๔ ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ ขน้ั ท่ี ๑ การประเมินการออกแบบ เปน็ การประเมินก่อนเร่ิมต้นโครงการพัฒนาการเรียนการสอน ข้ันที่ ๒ การประเมินโดยผู้เช่ียวชาญ เป็นการประเมินหลังจากการพัฒนาการเรียนการสอนเรียบร้อย แลว้ แตย่ ังไมไ่ ดน้ าไปทดลองใช้กับผเู้ รียน ขั้นที่ ๓ การประเมินโดยผู้เรียน เป็นการทดลองการเรียนการสอนที่ออกแบบและพัฒนากับผู้เรียนที่ เป็นตัวแทนของกลุ่มเปูาหมายหรือประชากรขั้นที่ ๔ การประเมินต่อเนื่อง เป็นการประเมินเพื่อติดตาม ผลกระทบตอ่ เน่อื งจากการทดลองใช้การเรยี นการสอนโดยผู้เกีย่ วข้องและได้รบั ผลได้ผลเสยี จากโครงการ ๑. การประเมินการออกแบบ หมายถึง การประเมนิ ผลผลติ (output)ทเ่ี กดิ จากการออกแบบ การเรียนการสอนในแตล่ ะขนั้ ตอน เร่ิมต้ังแต่ขัน้ การวเิ คราะห์ ผลการประเมินท่ีได้ในขั้นน้ี คอื เปาู หมายการ เรยี นรู้ การวิเคราะหผ์ เู้ รยี นและบรบิ ทการเรยี น การวิเคราะห์งาน เป็นต้น ก่อนทจ่ี ะไปสู่ขนั้ การออกแบบการ เรยี นการสอน ผลผลติ ท่ีได้ควรได้รบั การตรวจสอบ คาถามที่ใช้เปน็ แนวทางในการรวบรวมสารสนเทศในการ ประเมินในข้นั น้ี ไดแ้ ก่ ๑) เปูาหมายการเรียนรตู้ อบสนองปญั หาทวี่ ิเคราะหจ์ ากความต้องการจาเปน็ หรือไม่ ๒) การวิเคราะห์ผเู้ รยี นและส่ิงแวดล้อมการเรยี นรู้มีความถูกตอ้ งตรงตามเปูาหมาย การเรียนร้หู รอื ไม่ ๓) การวเิ คราะหง์ านได้ระบคุ วามรู้และทักษะพื้นฐานที่ตอ้ งมมี าก่อนซง่ึ จาเป็นต่อ การเรียนรเู้ ร่ืองใหมท่ ี่เป็นเปูาหมายการเรียนการสอนท่ีกาหนดหรอื ไม่ ความรแู้ ละทกั ษะพืน้ ฐานที่ระบุมคี วาม ๑๗๘ Smith & Ragan, T. J. Instructional design (2nd ed.), (New Jersey: Prentice- Hall, 1999), p.๓๓๘.
๑๗๕ ถกู ต้อง และเป็นตวั แทนทแ่ี ท้จริงหรอื ไม่ ๔) แบบทดสอบทสี่ รา้ งขึ้นเพ่ือประเมนิ ผลการเรียนรมู้ ีความตรงและความเช่อื มนั่ ตามจุดประสงค์การเรียนร้หู รือไม่ ๕) เครือ่ งมือการวัดประเมนิ ผลผูเ้ รียนและเกณฑก์ ารประเมินสามารถจาแนกผู้เรียน ไดอ้ ยา่ งแนน่ อนหรือไม่ ๒. การประเมินโดยผ้เู ชยี่ วชาญ ก่อนทจี่ ะนาผลติ ภณั ฑ์ทเ่ี กิดจากการออกแบบการเรียนการ สอน เชน่ ส่ือการเรียนการสอนทีพ่ ฒั นาขึ้นไปทดลองใช้กับผูเ้ รียน ควรนาส่ือไปใหผ้ ูเ้ ชี่ยวชาญประเมนิ เพอื่ ตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของส่ือ ผู้เช่ียวชาญที่ทาหน้าท่ีประเมินควรมีอย่างน้อย ๓ คน ได้แก่ ผู้เชยี่ วชาญดา้ นเน้ือหา ผู้เชีย่ วชาญดา้ นการเรียนการสอน ผู้เช่ียวชาญด้านผู้เรียนหรือครูผู้สอน นอกจากนี้อาจ เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาเพ่ือตรวจสอบความถูกต้อง และความชัดเจนของภาษาที่ใช้ในส่ือการเรียนการสอน และผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านอื่น ๆ ที่จาเป็น เช่น ผู้เช่ียวชาญด้านส่ืออิเล็กทรอนิกส์เป็นต้น คาถามท่ีใช้เป็น แนวทางในการรวบรวมสารสนเทศในการประเมนิ ไดแ้ ก่ ๑) เน้อื หามคี วามถูกต้องและทนั สมยั หรือไม่ ๒) ตัวอยา่ ง แบบฝึกหดั มีความถูกต้องและสมจริงหรือไม่ ๓) แนวทางและวิธกี ารเรยี นการสอนมคี วามเหมาะสม สอดคล้องกับทฤษฎีหรือ หลักการเรียนร้ตู ามธรรมชาติของเนื้อหาหรือไม่ ๔) แนวทางและวิธกี ารเรียนการสอนมคี วามเหมาะสมกับผเู้ รียนทเี่ ป็นกล่มุ เปูาหมาย หรอื ไม่ ๕) กลวธิ ีการเรยี นการสอนที่ใช้สอดคล้องกับหลกั การและรูปแบบการเรียนการสอน ที่ใชห้ รอื ไม่ ๓. การประเมินโดยผู้เรียน ตัวช้ีวัดที่ดีที่สุดในการประเมินว่าผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้หรือไม่ จากการเรียนการสอนท่ีนาเสนอ ก็คือการทดลองใช้กับผู้เรียนท่ีเป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มเปูาหมาย เพื่อ ศึกษาว่าผู้เรียนสามารถเรียนรู้หรือไม่และประสบปัญหาอะไรในการเรียนรู้ การประเมินโดยผู้เรียนจะทาใน ๓ ลักษณะ ได้แก่ ๓.๑ การประเมินแบบ ๑:๑ (one-to-one evaluation) หมายถงึ การประเมินที่ผู้ ประเมินทาการประเมนิ ผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล คร้ังละ ๑ คน แบบตวั ตอ่ ตวั ผู้เรยี นที่รว่ มในการประเมินนี้ควรมี ลักษณะที่เป็นตัวแทนของผู้เรียนที่เป็นกลุ่มเปูาหมาย และมีจานวนอย่างน้อย ๓ คน คือผู้เรียนที่เป็นตัวแทน ของผ้เู รียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิการเรียนต่า ปานกลาง และสูง ตามลาดับ สารสนเทศที่ต้องการในขั้นน้ีคือการค้นหา ข้อบกพร่องที่เก่ียวกับการเรียนการสอน และส่ือท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอน คาถามที่ใช้เป็นแนวทางใน การรวบรวมสารสนเทศในการประเมนิ ได้แก่ ๑) ผูเ้ รยี นเข้าใจภาษาทส่ี ื่อสารในการเรียนการสอนได้ชดั เจนหรือไม่ ๒) ผ้เู รยี นรู้หรอื ไมว่ า่ จะต้องทาอะไรในระหว่างฝึกปฏิบตั แิ ละทดสอบ ๓) ผู้เรยี นเข้าใจภาพที่ใช้ในสือ่ การเรยี นการสอนได้ตรงกับทผี่ อู้ อกแบบ ต้องการส่อื สารหรอื ไม่ ๔) ผเู้ รียนสามารถอ่านขอ้ ความที่ปรากฏในสื่อการเรียนรู้ได้ถูกต้องครบถว้ น หรอื ไม่ บทบาทของผู้ออกแบบการเรียนการสอนคือรวบรวมปัญหาที่เกิดข้ึนจากการทดลองสอนและ ใช้ส่ือการเรียนการสอนและพยายามซักถามคาถามจากผู้เรียนเพ่ือหาคาตอบในการแก้ไขปัญหาที่พบ การซัก
๑๗๖ ถามนคี้ วรกระทาหลังจากการทดลองได้เสร็จส้ินแล้ว เพื่อมิให้เป็นการขัดจังหวะการทดลองสอนและใช้ส่ือการ เรียนการสอน ๓.๒ การประเมนิ กลุ่มเล็ก (small group) หมายถึง การประเมินการเรียนการสอน กบั ผู้เรียนกลุม่ เล็กซึ่งเปน็ ตวั แทนของประชากรกลุ่มเปูาหมาย ขนาดของกล่มุ คอื ประมาณ ๘-๑๒ คน เปน็ การ ทดลองหลังจากท่ีได้นาข้อบกพร่องทพ่ี บในการประเมินแบบ ๑:๑ มาปรบั ปรุงแก้ไขเรียบร้อยแลว้ โดยมี จุดม่งุ หมายเพ่อื ตรวจสอบว่าผลการปรับปรงุ การเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอนหลังการนาไปใช้กับ กลุ่มเล็กมีคุณภาพดีขนึ้ หรือไม่ คาถามทใ่ี ชเ้ ป็นแนวทางในการรวบรวมสารสนเทศในการประเมนิ ไดแ้ ก่ ๑) ผูเ้ รยี นมีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานสาหรบั การเรียนรู้หรอื ไม่ ๒) ถา้ ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานอยแู่ ลว้ ผู้เรยี นประสบความสาเร็จใน การเรียนรหู้ รือไม่ ถ้าไมป่ ระสบความสาเร็จจะต้องปรบั ปรุงการเรยี นการสอนอยา่ งไร ๓) ถ้าผเู้ รยี นไม่มีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการเรยี นรู้ ผู้เรียนขาดความรู้ ทกั ษะพื้นฐานในเรอ่ื งใด ๔) ผู้เรยี นควรไดร้ ับการพัฒนาทกั ษะเพม่ิ เติมในเรอ่ื งใด ๕) ในการจัดการเรียนการสอนให้เสรจ็ สมบรู ณ์จะต้องใช้เวลานานเทา่ ใด ๖) ผเู้ รยี นมีความร้สู ึกอยา่ งไรกบั การเรียนการสอน ถ้าผเู้ รยี นมีความรสู้ กึ ใน ด้านลบจะมีผลตอ่ การปฏบิ ัติของผเู้ รียนหรอื ไม่ ๗) จาเปน็ ตอ้ งปรับปรุงสิ่งใดเพอ่ื สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมีเจตคติท่ีดีตอ่ การเรียน ๘) ผลการปรบั ปรงุ ภายหลังการทดลองใชแ้ บบ ๑: ๑ ไดผ้ ลนา่ พอใจหรือไม่ ๙) มีปญั หาและขอ้ บกพรอ่ งของส่ือการเรียนการสอนเพิ่มเติมอีกหรือไม่ ในการทดลองกับกลุ่มเล็ก ผู้ประเมินจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนอยู่ในสิ่งแวดล้อมการ เรียนรู้ที่เหมือนการใช้จริงทุกประการ โดยจัดให้มีการวัดผลก่อนเรียน (pretest) เพ่ือวัดความรู้ทักษะพ้ืนฐาน ในการเรียนรู้ และวัดผลหลังการเรียนเสร็จส้ินแล้ว (posttest) หากเกรงว่าการทดสอบจะทาให้ผู้เรียนอ่อนล้า ควรทาการทดสอบหนึ่งวันก่อนจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามแผนการเรียนการสอนท่ีได้ออกแบบไว้ ผู้ออกแบบ การเรียนการสอนทาหน้าท่ีสังเกตสิ่งท่ีเกิดข้ึนในระหว่างการทดลองโดยไม่แทรกแซงกระบวนการจัดการเรียน การสอน นอกเสียจากผู้สอนไม่สามารถดาเนินการต่อถ้าไม่เข้าช่วยเหลือ ในขั้นนี้หากเป็นไปได้ผู้ออกแบบการ เรียนการสอนควรมกี ารบันทึกเทปเหตกุ ารณท์ ่เี กิดข้ึนเพอ่ื ใหส้ ามารถย้อนกลบั มาดูใหม่ได้ ควรมีการบันทึกเวลา ท่ีใช้ในการเรียนการสอน หลังการทดลองจะต้องมีการอภิปรายร่วมกับผู้เรียนเพื่อหาข้อบกพร่องท่ีพบในการ ทดลอง ๓.๓ การประเมินภาคสนาม (field trials) หมายถึง การประเมินการเรียนการสอน กับผู้เรียน ซ่ึงเป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มเปูาหมายในสภาพแวดล้อมท่ีใช้จริง โดยจุดมุ่งหมายของการ ประเมนิ ภาคสนาม คอื ๑) การตรวจสอบประสทิ ธิผลการเรียนร้ขู องผเู้ รียนภายหลงั จากท่ีได้นา ข้อบกพร่องท่ีพบในการประเมินแบบกลุ่มเล็กมาปรบั ปรุงแกไ้ ขใหม้ ีความสมบูรณ์ก่อนนาไปทดลองใช้ภาคสนาม ๒) เพอื่ ศึกษาปัญหาทเ่ี กิดข้ึนจากการจัดการเรยี นการสอนและใชส้ ่อื การ เรยี นการสอนในสภาพแวดลอ้ มจริง ๓) ทดลองใชก้ ับกล่มุ ตวั อย่างท่มี ขี นาดใหญ่ขน้ึ เพื่อสรา้ งความม่นั ใจใน ประสทิ ธผิ ลและประสิทธภิ าพของการเรยี นการสอน
๑๗๗ ๔) นาผลการทดลองใช้มาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนและสือ่ การ เรียนการสอนให้มคี วามสมบรู ณใ์ นขั้นสุดท้ายก่อนที่จะนาไปใช้จริง การประเมินภาคสนามนีผ้ ู้ประเมนิ จัดสภาพการทดลองให้อยู่ในบริบทท่ีนาไปใช้จริง คัดเลือก กลุ่มตัวอย่างผู้เรียนท่ีเป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มเปูาหมายเข้าร่วมในการทดลองภาคสนามอย่างน้อย ๑ กลุ่ม หรือมากกว่าน้ัน โดยมีจานวนผู้เรียนในกลุ่ม ๓๐ คน เป็นอย่างน้อยในแต่ละคร้ังของการทดลอง ผู้ทา หน้าที่จัดการเรียนการสอนโดยปกติ คือ ครูผู้สอน ผู้ออกแบบการเรียนการสอนมีหน้าที่สังเกตและบันทึก เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างการทดลอง เพ่ือตรวจสอบว่าการทดลองเป็นไปตามที่ออกแบบไว้หรือไม่ ผู้ออกแบบทาหน้าที่ประสานงาน รวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือที่พัฒนาให้มีคุณภาพและสะดวกต่อการใช้งาน เมือ่ รวบรวมขอ้ มลู ได้แลว้ ทาการวเิ คราะหแ์ ละแปลผลข้อมูลนอกจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ในระหว่างการทดลอง แลว้ ผู้ออกแบบการทดลองยงั เกบ็ ข้อมลู เพม่ิ หลงั การทดลองด้วยวิธกี ารสมั ภาษณ์ สอบถามความคิดเห็นของครู และผเู้ รียนเพ่ิมเติม คาถามท่ีใชเ้ ป็นแนวทางในการรวบรวมสารสนเทศในการประเมิน ไดแ้ ก่ ๑) การเรียนการสอนและส่ือการเรียนการสอนทพ่ี ัฒนาขน้ึ สามารถนาไปใชต้ ามที่ได้ ออกแบบไว้หรอื ไม่ ๒) ปัญหาทป่ี ระสบในการจัดการเรียนการสอนมอี ะไรบ้าง ๓) ผสู้ อนสามารถดาเนินการนาเสนอสารสนเทศตามที่ไดอ้ อกแบบไวไ้ ด้อยา่ งสะดวก ราบรืน่ ในการใช้หรอื ไม่ ๔) ผู้เรียนบรรลจุ ุดประสงค์การเรียนการสอนตามทีก่ าหนดไวห้ รือไม่ ๕) เวลาทก่ี าหนดไว้ในการเรยี นการสอน/การใช้สอ่ื การเรียนการสอนมีความ เหมาะสมพอเพยี งหรือไม่ ๖) ผู้เรยี นมคี วามรสู้ ึกอยา่ งไรกับการเรียนการสอน/สื่อการเรียนการสอน ๗) ผลการปรบั ปรุงภายหลงั การประเมนิ แบบกลมุ่ ได้ผลนา่ พอใจหรือไม่ ๘) ผ้สู อนรู้สกึ อย่างไรกบั การเรยี นการสอนและสอ่ื การเรยี นการสอน ๙) ผสู้ อนและผเู้ รียนสามารถปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามทไ่ี ด้ออกแบบไว้ หรือไม่ ๑๐) ผสู้ อนไดเ้ ปลี่ยนแปลงหรือปรับปรงุ การเรียนการสอนอะไรบา้ ง ๔. การประเมินต่อเนื่อง (ongoing evaluation) การประเมินผลเพ่ือพัฒนาน้ีจะดาเนินการ อย่างต่อเน่ืองแม้ว่าจะมีการทดลองการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอนที่พัฒน าข้ึนไปใช้กับ กลุ่มเปูาหมายแล้วก็ตาม โดยเฉพาะโครงการออกแบบการเรียนการสอนขนาดใหญ่ การทดลองใช้กับ กลุ่มเปูาหมายอาจกระทาต่อเน่ืองหลายครั้งในบริบทการเรียนการสอนที่แตกต่างกันออกไป เพื่อนาข้อมูลมา ปรับปรุงแก้ไขการเรียนการสอนและส่ือจนกว่าจะมีความม่ันใจว่าการเรียนการสอนหรือสื่อท่ีพัฒนาข้ึนนั้ นมี คณุ ภาพและประสิทธภิ าพในการนาไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในการวางแผนการประเมนิ ความกา้ วหนา้ ผูอ้ อกแบบควรตัง้ คาถามเพ่ือเป็นแนวทางสาหรับการค้นหา คาตอบ ดงั นี้ ๑) ใครเปน็ ผ้ปู ระเมนิ ๒) จะใช้เกณฑ์อะไรในการประเมิน ๓) จะรวบรวมขอ้ มูลและสรุปข้อมูลอยา่ งไร ๔) จะประเมินเมื่อไร ดังแสดงในตารางดังน้ี
๑๗๘ ตารางแผนการประเมนิ ความก้าวหนา้ ใคร (ผู้ใหข้ ้อมูล) อะไร (สิง่ ท่ปี ระเมนิ ) เมอื่ ไร (ชว่ งเวลา) อยา่ งไร(วธิ กี าร/ ขน้ึ กับผู้เชย่ี วชาญ ผูเ้ ช่ียวชาญ - เนอ้ื หา เคร่ืองมือที่ใช้) - คุณภาพทางเทคนิควิธี ชว่ งแรกของ การออกแบบ - แบบตรวจสอบรายการ ผูเ้ รียน ความสามารถ - การอภิปรายเปน็ กลุ่ม การประเมนิ แบบ ๑:๑ ในการเรยี นรู้ เรมิ่ เป็นรูปเป็นร่าง - สัมภาษณ์ ผ้เู รยี น ความสามารถ หลงั เสรจ็ สิน้ - คดิ ดัง ๆ การประเมนิ กลุ่มเล็ก ในการเรียนรู้ การออกแบบ - สัมภาษณ์ ตลอดโครงการ - แบบสอบถาม ผเู้ รียน ความสามารถ - ตรวจการใชภ้ าษา - สมั ภาษณ์ การประเมินภาคสนาม ในการเรียนรู้ - แบบสอบถาม - การสังเกต ผู้ทรงคุณวฒุ ิ บริบทการเรยี นรู้ - แบบทดสอบ - แบบทดสอบ - แบบสอบถาม - การสมั มนา - การสมั ภาษณ์ - การสงั เกต ท่มี า: Shambaugh & Magliaro, 1997, p. 224 ๘.๔.๒ การประเมินผลรวม (summative evaluation) จุดมุ่งหมายของการประเมนิ ผลรวมคอื การรวบรวม วิเคราะห์ สรุปข้อมูลเพ่ือนาเสนอและพิจารณา ตดั สนิ เก่ียวกับประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ความพึงพอใจของผเู้ รยี น และความคุ้มคา่ ของค่าใช้จ่าย ๑. การประเมินประสิทธผิ ล (effectiveness) ของการเรยี นการสอน คอื การประเมินผลการ เรยี นรทู้ ี่เกดิ ข้นึ ว่าตรงกบั เปาู หมายทีก่ าหนดไวห้ รอื ไม่ ขอ้ มลู ท่ีนามาใช้ในการประเมินได้จากการรวบรวมตลอด การประเมินผลจากเครื่องมือ เช่น แบบทดสอบ ผลผลิต แฟูมสะสมงาน การประเมินตนเอง การสัมภาษณ์ และการแสดงความคิดเหน็ เป็นต้น คาถามทใ่ี ช้เป็นแนวทางในการรวบรวมสารสนเทศในการประเมนิ ไดแ้ ก่ ๑) ผู้เรยี นบรรลุเปูาหมายการเรยี นรูห้ รือไม่ ๒) การออกแบบการเรียนการสอนประสบผลสาเร็จตามที่กาหนดไว้หรอื ไม่ ๓) ผ้เู รียนเกดิ การเรยี นรู้หรือไม่ ๔) องคป์ ระกอบการเรยี นการสอนมคี วามสอดคล้องกนั หรือไม่ ๒. การประเมินประสิทธิภาพ (efficiency) ของการเรียนการสอน คือการประเมินท่ีเก่ียวกับ ความค้มุ ค่าของราคา ความสะดวกใชแ้ ละประโยชน์ของโครงการออกแบบการเรียนการสอน ข้อมูลรวบรวมได้ จากแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ และการสังเกต คาถามท่ีใช้เป็นแนวทางในการรวบรวมสารสนเทศในการ ประเมิน ไดแ้ ก่
๑๗๙ ๑) การออกแบบสอดคล้องกับความจรงิ หรอื ไม่ ๒) เอกสาร คู่มอื ที่เขียนมีความชัดเจน อา่ นเข้าใจง่าย เหมาะกบั ผ้เู รยี นหรอื ไม่ ๓) สง่ิ ท่อี อกแบบมคี วามยดื หยุ่น สามารถปรับให้เหมาะกับความต้องการหรือไม่ ๔) ค้มุ ราคาหรือไม่ ๕) คานงึ ถงึ ข้อจากดั ด้านเวลาของผ้สู อนหรือไม่ ๖) เหมาะสมกับการใชจ้ ริง เช่น ไม่เพิ่มภาระงานของผสู้ อน ๗) การออกแบบมคี วามสมบรู ณ์หรือไม่ ๘) การเรียนการสอนดาเนินไปตามที่ไดอ้ อกแบบไวห้ รือไม่ ๙) ผลที่คาดไม่ถงึ จากการออกแบบการเรยี นการสอนมีอะไรบา้ ง ๓. การประเมนิ ความพงึ พอใจ (appeal) ของผู้เรียนทม่ี ีตอ่ การเรยี นการสอน คือการค้นหาว่า ผเู้ รยี นชอบการเรียนการสอนทอ่ี อกแบบหรือไม่ หลังเสร็จสิ้นการทดลองใช้แล้ว ผู้สอนและผู้เรียนยังคงนาส่ิงที่ ออกแบบน้ีไปใช้ต่อหรือไม่ ข้อมูลด้านความพึงพอใจรวบรวมได้จาก แบบสอบถาม การสัมภาษณ์การสังเกต และข้อเสนอแนะของผ้เู รยี น ๔. ความคุ้มค่าของคา่ ใช้จ่าย การพจิ ารณาในประเด็นท่เี กี่ยวกับความคมุ้ ค่าของคา่ ใช้จา่ ย พิจารณาได้ ๓ แบบ ไดแ้ ก่ ๑) คา่ ใช้จรงิ ทเ่ี กิดข้ึนจริง (cost feasibility) พจิ ารณาจากค่าใชจ้ ่ายของการ ดาเนินการต่อหวั ของผเู้ รยี น ๒) ประสิทธิภาพของการใช้จ่าย (cost effectiveness) พิจารณาจากสัดสว่ นของ คา่ ใช้จา่ ยในโครงการเทยี บกับคา่ ใช้จา่ ยมาตรฐานในโครงการทมี่ เี ปาู หมายเดียวกนั ๓) ประโยชน์ที่ได้รับ (cost benefit) พจิ ารณาจากคา่ ของเงินกับประโยชนท์ ่ีได้รับ เช่น ความพงึ พอใจของผเู้ รยี น การประหยดั ค่าใช้จ่าย และทรพั ยากรอ่นื ๆ ผทู้ ี่ใชส้ ารสนเทศจากการประเมินผลรวม ไดแ้ ก่ หน่วยงาน องค์กรที่เปน็ ภาครัฐและภาคธุรกจิ ที่ดาเนิน การในดา้ นการศึกษา สารสนเทศเหล่านจี้ ะชว่ ยให้หน่วยงานหรือองค์กรเหลา่ นใ้ี นการตดั สินใจวา่ จะสนับสนุน การดาเนนิ กิจกรรมของโครงการตอ่ ไปหรือไมอ่ ย่างไร ถ้าเป็นครูดาเนนิ การในระดับชั้นเรียนสารสนเทศเหล่านีก้ ็ จะชว่ ยให้ครูตัดสินใจว่าจะดาเนินการเรียนการสอนตามท่ีได้ออกแบบน้ีไวก้ บั กลมุ่ เปาู หมายหรือไม่ ๘.๕ เกณฑ์ในการประเมิน ในการออกแบบการเรียนการสอนเชิงระบบนั้น การประเมินจะใชก้ ารประเมนิ แบบองิ เกณฑโ์ ดยผล การประเมินต้องตอบคาถามวา่ ผลการเรยี นการสอนสามารถตอบปญั หาท่เี ป็นความตอ้ งการจาเป็นในระดบั ที่ เป็นท่ียอมรบั หรือไม่ แผนการจัดการเรยี นการสอนและส่ือการเรยี นการสอนท่ีพัฒนามีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ท่ยี อมรบั หรือไม่ เกณฑท์ ีน่ ิยมใชเ้ ปน็ เกณฑ์ซึ่งใช้หลกั การเรียนแบบรอบรู้ (mastery learning) คอื กาหนดค่า ซ่งึ เป็นท่ยี อมรับไวท้ ่ีร้อยละตั้งแต่ ๘๐ โดยพิจารณาจากองค์ประกอบ ๒ ดา้ น ซง่ึ สามารถแบ่งได้ ๒ แบบ๑๗๙ ๑) เกณฑ์มาตรฐาน ๙๐/๙๐ พจิ ารณา จากองค์ประกอบ ๒ ดา้ น คือ ๑๗๙ เปรือ่ ง โกมทุ , เทคนิคการเขยี นบทเรยี นโปรแกรม, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร,๒๕๑๙), หนา้ ๑๒๙.
๑๘๐ (๑) เกณฑ์ ๙๐ ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉล่ียของนักเรียนทุกคนท่ีได้จากการทดสอบหลัง เรยี นหาได้จากการนาคะแนนหลงั สอบท้ังหมดมาหาค่ารอ้ ยละเฉลยี่ ของทั้งกล่มุ คา่ ร้อยละเฉลี่ยของทงั้ กลมุ่ จะต้องเปน็ ๙๐ หรือสงู กวา่ (๒) เกณฑ์ ๙๐ ตวั หลงั หมายถึง ร้อยละ ๙๐ ของผู้เรยี นทัง้ หมดที่สามารถทาแบบทดสอบ ผ่านทกุ จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒) เกณฑป์ ระสทิ ธิภาพ ๘๐/๘๐ พจิ ารณาจากองค์ประกอบของประสิทธภิ าพ ๒ ดา้ น คอื ดา้ น กระบวนการ (process) และดา้ นผลลพั ธ์ (product) ดังนี้ (๑) เกณฑ์ ๘๐ ตวั แรก มาจากประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (E๑)คือการประเมินพฤติกรรม ของผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอน โดยพิจารณาจากร้อยละของค่าเฉล่ียของการปฏิบัติกิจกรรมท่ีได้รับ มอบหมายในระหว่างการเรยี นการสอนตลอดกระบวนการ (๒) เกณฑ์ ๘๐ ตัวหลงั มาจากประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์ (E๒) คอื การประเมนิ พฤตกิ รรม ขั้นสุดท้ายของผู้เรียนหลังได้รับการจัดการเรียนการสอน โดยพิจารณาจากร้อยละของค่าเฉลี่ยท่ีได้จากการ ทดสอบหลังเรยี น ดงั นน้ั สตู รทใี่ ช้ในการพิจารณาเกณฑ์การยอมรบั ในด้านประสิทธภิ าพของการเรยี นการสอนหรอื ผลติ ภัณฑ์การเรยี นการสอน จงึ กาหนดไว้ว่า E๑/E๒ เทา่ กับ ๘๐/๘๐ เกณฑ์ ๘๐/๘๐ นี้อาจมีผู้ต้ังข้อสงสัยว่าจาเป็นต้องยึดถือตามนี้เท่าน้ันหรือสามารถกาหนดตามท่ีเห็น ว่าเหมาะสม๑๘๐ ให้ความเห็นว่าประสิทธิภาพของบทเรียนท่ีเกี่ยวกับเน้ือหาท่ีเป็นความรู้ ความเข้าใจ ควรใช้ เกณฑ์ ๙๐/๙๐ สาหรบั เนื้อหาท่เี ป็นวชิ าทักษะควรใช้เกณฑ์ ๘๐/๘๐ การจะยอมรับประสิทธิภาพของบทเรียน หรอื ไมน่ ั้น ใหถ้ ือค่าแปรปรวน ๒.๕–๕% คือประสทิ ธิภาพของบทเรียนไม่ควรต่ากว่าเกณฑ์ ๕% แต่โดยปกติจะ กาหนดไว้ ๒.๕% เช่น ตั้งเกณฑ์ประสิทธิภาพไว้ ๙๐/๙๐ เม่ือทดลองแบบ ๑:๑๐๐ แล้วบทเรียนน้ันมี ประสิทธิภาพ ๘๗.๕/๘๗.๕ ก็สามารถยอมรับได้ว่าบทเรียนนั้นมีประสิทธิภาพ การยอมรับประสิทธิภาพของ บทเรยี นมี ๓ ระดับ ไดแ้ ก่ ๑) สูงกวา่ เกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของบทเรยี นสูงกวา่ เกณฑ์ท่ตี ั้งไวค้ อื มีคา่ เกนิ ๒.๕% ข้นึ ไป ๒) เท่าเกณฑ์ เมอื่ ประสิทธิภาพของบทเรียนเทา่ กบั หรือสูงกว่าเกณฑ์ท่ตี ้งั ไว้ แต่ไมเ่ กนิ ๒.๕% ๓) ตา่ กว่าเกณฑ์ เมือ่ ประสิทธภิ าพของบทเรยี นต่ากวา่ เกณฑท์ ีต่ ั้งไว้ แต่ไม่ต่ากวา่ ๒.๕% ยงั ถือวา่ มีประสิทธภิ าพทีย่ อมรบั ได้ ๘.๕.๑ การออกแบบการประเมินการเรียนการสอน ผูอ้ อกแบบการประเมินควรวางแผนการประเมินตั้งแต่เริ่มต้นของกระบวนการออกแบบการเรียนการ สอน กล่าวคือในข้ันตอนการวิเคราะห์การเรียนการสอน เมื่อได้วิเคราะห์ความต้องการจาเป็น จนได้ทราบ ปัญหาที่แท้จริงและสามารถกาหนดเปูาหมายการเรียนรู้ท่ีต้องการชัดเจนแล้วผู้ออกแบบจะต้องคา นึงถึงการ ออกแบบการประเมินผลเพื่อใช้เป็นแผนงานในการรวบรวมข้อมูลและคิดถึงวิธีการในการรวบรวม การ วิเคราะห์และการสรปุ ผลขอ้ มลู การวางแผนการประเมนิ นี้จาเป็นต้องมีการออกแบบการประเมิน ซึ่งมีลักษณะ เช่นเดียวกับการออกแบบการวิจัย (a research design) หมายถึงการวางแผนในลักษณะของเค้าโครง หรือ ๑๘๐ ไชยยศ เรืองสุวรรณ,เทคโนโลยกี ารศกึ ษาทฤษฎีการวิจัย, (กรงุ เทพฯ : โอเอส พริ้นต้ิงเฮ้าส์, ๒๕๓๓), หน้า ๑๒๗-๑๓๓.
๑๘๑ แบบจาลองการจัดกระทาตัวแปรในการวิจัยโดยเฉพาะการจัดเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือให้ได้ คาตอบของการวิจัยท่ีถูกต้องสมบรู ณ์๑๘๑ ๘.๕.๒ จดุ ม่งุ หมายของการออกแบบการประเมินการเรยี นการสอน สาหรับการออกแบบการประเมนิ การเรยี นการสอนนนั้ ตัวแปรที่เป็นตัวแปรตน้ หรือตัวแปรสาเหตุหรือ ตวั แปรจดั กระทา (treatment) คอื การเรียนการสอนท่ีนาไปทดลองใช้กับผู้เรียน ส่วนตัวแปรตามหรือตัวแปร ผล คอื ผลการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น ในการออกแบบการประเมินการเรยี นการสอนนัน้ มีจุดมุ่งหมายสาคัญ คือ ๑) เพื่อควบคุมความแปรปรวนที่เกิดข้ึนในสภาพการทดลองการเรียนการสอน ซ่ึงทาให้ผลการเรียนรู้ ไม่ใช่ผลจากการเรียนการสอนท่ีแท้จริง จึงต้องขจัดอิทธิพลของตัวแปรเกินซึ่งเป็นตัวแปรอิสระอื่น ๆ ไม่ให้ ส่งผลมายงั ตวั แปรตามได้ ๒) เพ่ือใหผ้ ลการประเมินมีความถกู ต้อง แมน่ ตรง เปน็ ปรนัยและประหยดั ๓) เพ่อื ตอบคาถามวา่ ผลการประเมินการเรียนการสอนทน่ี าไปใช้กบั ผู้เรยี นท่ีทาการทดลองน้ัน สามารถสรุปอา้ งอิงไปยงั ผูเ้ รยี นกลมุ่ อ่ืน ๆ ได้หรอื ไม่ ๘.๕.๓ คุณลกั ษณะของการออกแบบการประเมินการเรียนการสอน การออกแบบการประเมนิ ท่ีดีจะตอ้ งมีลักษณะสาคญั ๒ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) ความตรงภายใน (internal validity)หมายถงึ ผลการประเมินเป็นผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปร สาเหตทุ ่ีแท้จริง หรือผลการเรยี นร้ทู ี่เกิดกบั ผู้เรยี นน้ันมาจากการจัดการเรียนการสอนท่ีแท้จริง ไม่ใช่เพราะเหตุ ภายในอ่ืน ๆ ของผู้เรียน เช่น อายุท่ีเพ่ิมขึ้น ทาให้มีวุฒิภาวะมากขึ้นจึงทาให้มีพฤติกรรมเปล่ียนแปลงไปหรือ การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ จากภายนอกซ่ึงไม่ใช่การเรียนการสอนท่ีจัดให้ การทดสอบก่อนเรียนทาให้ ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนได้ดีกว่าเพราะจาได้ ส่ิงเหล่านี้ต้องหาทางควบคุมหรือกาจัดออกไปเพื่อให้ผล การทดลองมาจากตัวแปรสาเหตเุ ท่าน้นั ๒) ความตรงภายนอก (external validity) หมายถึง ผลการประเมินนี้สามารถอ้างองิ ไปยงั กลุ่มผูเ้ รียนกลุ่มอน่ื ๆ ที่เปน็ ประชากรเปูาหมายได้ ตัวแปรทที่ าให้แบบการประเมินขาดความตรงภายนอกท่ี สาคญั มี ๓ ประการ ได้แก่ (๑) การทดสอบก่อนเรียน ทาใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความตื่นตัวและต้งั ใจเรยี นมากขึ้น ตวั แปรน้ีอาจไม่เปน็ ปัญหาหากมีการประเมินก่อนเรยี นทง้ั กลุ่มควบคุมและกลมุ่ ทดลอง (๒) การเป็นตัวแทนของผู้เรียน ผู้เรียนท่ีเข้าร่วมโครงการทดลองหากไม่ใช่ตัวแทน ของประชากรกล่มุ เปูาหมาย ผลการทดลองจะไมส่ ามารถอ้างองิ ถึงประชากรได้ ผเู้ รียนทเี่ ปน็ ประชากรอาจมี ผลการเรียนรหู้ รอื พฤติกรรมท่ีแตกตา่ งไปจากกลมุ่ ทดลอง ซ่งึ อาจดีกว่าหรือด้อยกวา่ ก็ได้ (๓) การตอบสนองของผู้เรยี นท่เี ขา้ ร่วมการประเมินนี้อาจแสดงพฤติกรรมที่แตกต่าง ไปจากผเู้ รยี นประชากรกลุม่ เปาู หมายในอนาคตเพราะรู้ว่าตนเองเป็นกลุ่มทดลอง การควบคุมตัวแปรอิสระตา่ ง ๆ ไมใ่ ห้ส่งผลต่อความตรงภายในและความตรงภายนอกมีวิธีการทาได้ ๒ วิธี คอื ๑) การใช้กลุ่มเปรียบเทียบ (comparison group) เป็นวิธีท่ีช่วยขจัดสาเหตุต่าง ๆ ท่ีไม่ใช่ สาเหตุหลักของการทดลอง โดยเปรยี บเทยี บกับผลการเรยี นรู้ของกลมุ่ ทไี่ มไ่ ด้รับการจัดการเรียนการสอนตามท่ี ได้ออกแบบหรือท่ีเรียกว่ากลุ่มควบคุม กับผลการเรียนรู้ของกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนตามท่ีได้ ออกแบบไว้ที่เรียกว่ากลุ่มทดลอง โดยท้ังสองกลุ่มมีลักษณะอื่นที่เท่าเทียมกัน ยกเว้นได้รับการจัดกระทาด้าน ๑๘๑ สมหวงั พธิ ยิ านวุ ัฒน์, อา้ งแล้ว เรือ่ งเดยี วกัน, หน้า ๕๒.
๑๘๒ การเรียนการสอนเท่าน้นั ทต่ี ่างกัน ทาให้ม่ันใจว่าความแตกต่างของผลการเรียนรู้น้ันมาจากตัวแปรจัดกระทาที่ เปน็ การเรียนการสอน ๒) การสุ่มตัวอย่าง (randomization) เป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้เรียนในกลุ่มทดลองมีลักษณะเป็น ตวั แทนของประชากร เพราะใช้วิธีสุ่มที่สามารถขจัดอคติในการเลือกอย่างจงใจ หลีกเล่ียงโอกาสท่ีกลุ่มทดลอง จะมีลักษณะพิเศษทแ่ี ตกต่างจากประชากร เช่น เปน็ ผ้เู รยี นท่ีเรยี นดีกวา่ หรอื ดอ้ ยกว่า มีวธิ ใี นการสุ่ม ๒ วธิ ี คือ (๑) การคัดเลือกผู้เรียนอย่างสุ่ม (randomly selected) คือ การให้ผู้เรียนในกลุ่ม ประชากรทุกคนมโี อกาสได้รบั การคดั เลอื กเข้ากล่มุ อย่างส่มุ เชน่ การจบั ฉลากรายชื่อผเู้ รยี นจากกลุ่มประชากร เขา้ กลุม่ ทดลอง หรือการจับฉลากห้องเรียนใดหอ้ งเรยี นหน่ึงเป็นกลุม่ ทดลองซงึ่ เปน็ วิธสี ่มุ แบบกลุม่ (๒) การดาเนนิ การแบบสมุ่ (randomly assigned) คือ การสมุ่ วธิ ดี าเนินการใหก้ บั กลุ่มผูเ้ รียนเพื่อให้การควบคุมสาเหตแุ ทรกซ้อนเปน็ ไปอยา่ งเป็นระบบ ๘.๕.๔ รปู แบบการประเมินการเรียนการสอน แคมเบลและสแตนเลย์๑๘๒ ไดอ้ อกแบบการทดลองไว้หลายรปู แบบ ซงึ่ ผู้ประเมนิ สามารถเลือกนาไปใช้ ใหเ้ หมาะกับบรบิ ทได้ในการประเมิน ซง่ึ สมธิ และราแกน๑๘๓ได้คัดเลือกแบบการทดลองของแคมเบลและสแตน เลย์ ทนี่ ิยมใชใ้ นการประเมนิ การเรียนการสอน โดยแบ่งออกเปน็ ๓ แบบ ไดแ้ ก่ แบบท่ี ๑ จัดกระทาใหม้ ีการเรยี นการสอนและทดสอบหลงั เรยี น (instruction, posttest) รูปแบบน้ีมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การศึกษารายกรณี (case study design) เป็นแบบที่มีกลุ่มทดลองกลุ่ม เดียวท่ไี ดร้ บั การจัดการเรียนการสอน จากน้ันทาการทดสอบหลังเรียน รูปแบบนี้ไม่สามารถที่จะอ้างได้ว่าผลท่ี เกิดข้ึนมาจากตัวแปรสาเหตุคือการเรียนการสอน และไม่สามารถอ้างอิงผลการทดลองไปสู่ประชากรได้ แต่ หากการทดลองไม่ไดม้ ุ่งหวงั ผลเพือ่ การอา้ งอิงและการสรปุ สาเหตุ แตม่ ่งุ หวังในแง่ของการแก้ปัญหาเฉพาะกรณี การเลอื กใชร้ ูปแบบน้ีกม็ ีความเหมาะสม และเปน็ รูปแบบท่ีมีข้อดคี อื ง่ายและสะดวกใช้ แบบท่ี ๒ จดั ใหม้ กี ารทดสอบกอ่ นเรยี น จดั กระทาการเรียนการสอนและทดสอบหลงั เรยี น (pretest, instruction, posttest) แบบการทดลองในกลุม่ น้มี ีได้หลายรูปแบบ ได้แก่ ๑) กลุ่มทดลองกลุ่มเดียวมีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (one-group pretest posttest design) เป็นแบบการทดลองท่ีมีกลุ่มทดลองกลุ่มเดียวไม่มีการสุ่มผู้เรียนเข้ากลุ่ม มีการ ทดสอบก่อนไดร้ ับการจดั การเรียนการสอนและมีการทดสอบหลังได้รบั การจัดการเรยี นการสอนแล้ว นาผลการ วัดก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนมาเปรียบเทียบกันทาให้ทราบความก้าวหน้า รูปแบบน้ีมี ข้อดี มากกว่ารูปแบบการศึกษารายกรณี แต่ก็มีข้อจากัดท่ีไม่อาจสรุปผลได้อย่างแน่นอนว่าการท่ีผู้เรียนพัฒนาข้ึน ไมไ่ ด้เป็นผลมาจากตัวแปรแทรกซ้อนอ่ืนจากที่ผู้เรียนเกิดความตื่นตัวอันเป็นผลจากการทดสอบก่อนเรียนและ ร้ตู ัววา่ เปน็ กลุ่มทดลอง ภาพ : กล่มุ ทดลองกลุ่มเดยี วมีการทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน ๑๘๒ Campbell & Stanley, Experimental and quasi-experimental designs for research (10th ed.). Chicago: Rand McNally. 1973. ๑๘๓ Smith & Ragan, อา้ งแลว้ เรื่องเดยี วกัน, p. 357.
๑๘๓ (one-group pretest posttest design) ทม่ี า: Smith & Ragan, 1999, p. 357 ๒) การมีกลมุ่ ควบคุมเปน็ รปู แบบการทดลองท่ีมุ่งแก้ไขจุดอ่อนของการมีกล่มุ ทดลองแบบกลมุ่ เดียว โดยให้มกี ลุ่มควบคุมแต่เปน็ กลมุ่ ควบคมุ ท่ีไม่อาจกลา่ วได้วา่ เท่าเทียมกบั กลมุ่ ทดลอง (nonequivalent control group) เพราะไมม่ ีการส่มุ ผเู้ รยี นเข้ากลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคุม แบบการทดลองนส้ี ามารถทา ได้ ๒ ลักษณะ ดังแสดงในแผนภาพ ภาพ : การทดลองท่ีมีกลุ่มควบคุม/คู่เปรียบเทียบท่ีไมเ่ ท่าเทียมกับกลมุ่ ทดลอง (nonequivalent control group) ทม่ี า: Smith & Ragan, 1999, p. 357 รูปแบบการทดลองน้ีเป็นรูปแบบที่ใช้กันท่ัวไป เนื่องจากตามสภาพจริงไม่สามารถท่ีจะสุ่มผู้เรียนเข้า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมได้ ดังน้ันจึงให้ผู้เรียนห้องหน่ึงได้รับการเรียนการสอน และผู้เรียนอีกห้องหนึ่ง ไม่ได้รับการเรียนการสอน มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนท้ังสองห้อง หากท้ังสองกลุ่มมีผลการทดสอบ ก่อนเรียนไม่ต่างกัน อย่างน้อยก็สามารถช้ีได้ว่าทั้งสองกลุ่มมีความรู้พ้ืนฐานเหมือนกันแม้ว่าจะไม่มีการสุ่ม ผูเ้ รยี นเข้ากลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคุมก็ตาม วธิ นี สี้ ามารถขจัดจุดอ่อนท่ีพบในแบบแรกที่เกิดจากตัวแปรแทรก ซ้อนของการทดสอบก่อนเรียน สาหรบั รูปแบบทส่ี องท่ใี ห้กลมุ่ ทดลองกลุ่มหนึ่งจัดกระทาด้วยการเรียนการสอน รูปแบบหนึ่ง (X) และอกี กลุม่ หน่ึงจัดด้วยรูปแบบการเรียนการสอนอีกรูปแบบหนึ่ง (Y) น้ัน แทนที่จะเรียกกลุ่ม หลงั นี้ว่ากลมุ่ ควบคุม นยิ มเรียกวา่ ค่เู ปรียบเทยี บ (comparison group) ๓) การจัดให้มีกลุ่มควบคุมหรือคู่เปรียบเทียบในแบบการวิจัยน้ีเรียกช่ือรูปแบบการทดลองนี้ว่า แบบ การทดสอบก่อน-หลังมีกลุ่มควบคุม (pretest-posttest control group) แม้ว่าจะไม่มีการสุ่มผู้เรียนเข้ากลุ่ม แต่มีการสมุ่ การจัดกระทาใหก้ บั กลมุ่ เพ่ือแก้ไขจุดอ่อนทเี่ กดิ จากอคตทิ ่ใี ห้กล่มุ ใดกล่มุ หน่งึ เปน็ กลุ่มทดลอง
๑๘๔ ภาพ : แบบการทดสอบก่อน-หลงั มีกลมุ่ ควบคุม (pretest-posttest control group) ทีม่ า: Smith & Ragan, 1999, p. 357 ๔) กลุ่มควบคุมมีการทดสอบหลังเรียนเท่านั้น (posttest-only control group) รูปแบบน้ีใช้ในกรณี ที่เห็นว่าไม่มีความเหมาะสมที่จะจัดให้มีการทดสอบก่อนเรียน แต่ก็ทาให้มีจุดอ่อนในการ สรุปผลได้ว่าผลท่ี เกิดขึน้ อาจไม่ได้มาจากการจดั กระทาการเรยี นการสอน ภาพ : กลุ่มควบคมุ มีการทดสอบหลังเรียนเท่าน้นั (posttest-only control group) ทม่ี า: Smith & Ragan, 1999, p. 357 แบบท่ี ๓ จดั ให้มกี ารทดสอบก่อนเรยี น จดั กระทาการเรยี นการสอนและทดสอบหลังเรียนเป็นระยะ ๆ (pretest, instruction, posttest, posttest, posttest) เปน็ รูปแบบการทดลองทใี่ ชก้ บั กลุ่มทดลองกลุ่มเดียว จุดมงุ่ หมายของการประเมินเพอ่ื ดูแนวโนม้ ของผลท่ีเกิดจากการเรยี นการสอนตั้งแต่เร่ิมต้นเป็นระยะ ๆ รูปแบบ นจ้ี ะมคี ุณคา่ มาก หากได้มีการตง้ั เกณฑใ์ นการศกึ ษาแนวโน้มอย่างชัดเจน เช่น การทดลองรูปแบบการฝึกอบรม ทักษะการพิมพด์ ีดให้กับพนักงาน การตรวจสอบคาผิดของผู้ฝึกอบรมเป็นระยะ ๆ ตลอดการฝึกว่าเป็นอย่างไร ลดลงหรอื ไม่ จะชว่ ยในการพฒั นาการฝกึ อบรมให้มีคณุ ภาพไดด้ ีขึ้นอย่างชดั เจน รูปแบบน้จี ะมีความแม่นตรงใน การสรุปผลมากขึ้นเม่ือจัดให้มีกลุ่มควบคุมหรือกลุ่มเปรียบเทียบ ทาให้สามารถสรุปสาเหตุได้อย่างแน่นอน รูปแบบต่าง ๆ ของการออกแบบการทดลองเพื่อให้ได้ผลการวัดมาใช้ในการประเมินการเรียนการสอนน้ัน จะ พบว่ารูปแบบท่ีมีกลุ่มควบคุมหรือมีกลุ่มที่เป็นคู่เปรียบเทียบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าสุ่มผู้เรียนเข้ากลุ่มทาให้ กลุ่มควบคุมหรือกลุ่มท่ีเป็นคู่เปรียบเทียบมีความเท่าเทียมกับกลุ่มทดลอง(equivalent control group design) เป็นรปู แบบทม่ี จี ดุ ออ่ นนอ้ ยทีส่ ดุ หากสามารถดาเนินการได้จะดีที่สุด แต่หากไม่สามารถดาเนินการได้ ด้วยข้อจากัดต่าง ๆ ในสภาพจริง ผู้ออกแบบก็อาจใช้รูปแบบที่เป็นกลุ่มไม่เท่ากัน (nonequivalent control group design) หลายรูปแบบร่วมกันเพื่อขจัดจุดอ่อนที่มีอยู่ของแต่ละรูปแบบ และนาไปสู่การสรุปผลที่ น่าเช่ือถือไดม้ ากที่สดุ การประเมินรวมสามารถสรปุ ให้เหน็ แนวทางในการดาเนนิ งานไดด้ งั นี้
๑๘๕ เม่ือไร ใคร อะไร อยา่ งไร หลงั เสรจ็ สน้ิ โครงการ แหลง่ ภายนอก ประสิทธิผล ผลสมั ฤทธ์ิ - แบบทดสอบ - การออกแบบสามารถแกป้ ัญหา - ผลผลิต การเรียนการสอนไดห้ รือไม่ - แฟมู สะสมงาน - เกณฑก์ ารประเมินคืออะไร - วัดเวลาทใี่ ช้ - การออกแบบสามารถปรับปรงุ - ประเมินตนเอง สิง่ ที่เป็นอยู่แลว้ ให้ดีขนึ้ หรอื ไม่ - สัมภาษณ์ - ผเู้ รยี นบรรลจุ ุดประสงค์ - คิดดงั ๆ การเรยี นรู้หรอื ไม่ เจตคติ - การจัดการเรียนการสอนเป็นไป - แบบสอบถาม ตามท่ีออกแบบไว้หรือไม่ - บนั ทกึ ผู้เรียน - การออกแบบการเรยี นการสอน - สัมภาษณ์ กอ่ ให้เกดิ ผลทีไ่ ม่ได้คาดหวังหรือไม่ - สังเกต ความพึงพอใจ การนาไปใช้ - ผู้เรยี นมีความรูส้ ึกอย่างไรต่อ - แบบสอบถาม การเรียนการสอน - สมั ภาษณ์ - เจตคตแิ ละพฤติกรรมของครูเป็น - สังเกต อย่างไร ประสิทธิภาพ - ความคุ้มค่า - เวลาทใี่ ชม้ ีความเหมาะสม - ความเป็นไปได้ในการนาไปใชจ้ รงิ - ความยดื หยนุ่ และความทันสมยั ของการเรียนการสอนท่ีออกแบบ ท่มี า: Shambaugh & Magliaro, 1997, p. 229 สรปุ ทา้ ยบท การประเมินการเรียนการสอนเป็นขั้นตอนสุดท้ายในกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน จุดมุง่ หมายเพือ่ รวบรวมสารสนเทศไปใช้ในการปรับปรงุ และตัดสินคุณภาพของโครงการหรือแผนการเรียนการ สอน การประเมนิ การเรียนการสอนจะเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้เกย่ี วขอ้ งดงั นี้ ๑) ช่วยพัฒนาและปรับปรุงผู้เรียนท้ังด้านความรู้และการปฏิบัติ และการพัฒนาส่ือการเรียนรู้ของ ผู้เรียนให้มีคุณภาพ ๒) ชว่ ยให้ทราบปัญหาการเรียนการสอน และเลอื กวธิ ีสอนและสอื่ การเรยี นการสอน ๓) ช่วยให้ผู้บริหารทราบผลการดาเนินงานและได้สารสนเทศในการวางแผนพัฒนาและตัดสินใจ เกี่ยวกบั โครงการหรือแผนการจดั การศึกษา
๑๘๖ การประเมนิ การเรยี นการสอน แบง่ เป็น ๒ ประเภท คอื ๑) การประเมินความก้าวหน้า (formative evaluation) เป็นการประเมินระหว่างดาเนิน การมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ได้สารสนเทศในการพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอน ผู้ทาหน้าท่ีประเมินได้แก่ ทีม ผู้ออกแบบการเรียนการสอน บุคคลที่เกี่ยวข้อง และการรับฟังความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ การ ประเมินความก้าวหน้า มี ๔ ข้ันตอน ได้แก่ ๑) การประเมินก่อนเริ่มโครงการพัฒนาโดยผเู้ ช่ียวชาญ ๒) การประเมินหลงั การพฒั นาแล้วแตย่ ังไม่ได้นาไปใช้โดยผ้เู ช่ยี วชาญ ๓) การนาไปทดลองใชก้ บั ผเู้ รียน ๔) การประเมินตอ่ เน่ือง เพื่อศกึ ษาผลกระทบจากการทดลองใชจ้ ากผู้เกี่ยวขอ้ ง ๒) การประเมินผลรวม (summative evaluation) เป็นการประเมินเม่ือสิ้นสุดโครงการมี จดุ มุง่ หมายเพ่อื ให้ไดส้ ารสนเทศไปใช้ในการตัดสินประสิทธิผล ประสิทธิภาพและความพึงพอใจของผู้เรียน ท่ีมี ต่อการเรยี นการสอน การประเมินเป็นการนาผลการวัดที่รวบรวมได้ไปเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ลักษณะที่สาคัญของการ ประเมิน คือความถูกต้อง แม่นตรง เป็นปรนัยและประหยัด สามารถสรุปอ้างอิงผลการประเมินไปสู่กลุ่ม ประชากร สามารถควบคุมความแปรปรวนของการวัด คุณลักษณะท่ีสาคัญของการประเมิน คือ ความตรง ภายในและความตรงภายนอก รูปแบบการประเมินการเรียนการสอน ใช้แบบแผนเช่นเดียวกับการออกแบบ การทดลอง แบบแผนการทดลองมีหลายรูปแบบให้เลือกใช้ แต่ละรูปแบบมีทั้งข้อดีและข้อจากัด ผู้ประเมิน จะต้องเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะกบั บริบทของการประเมิน
๑๘๗ คาถามทา้ ยบท ๑. จดุ มงุ่ หมายของการประเมินการเรยี นการสอนคืออะไร ฯ ๒. จงอธิบายวธิ กี ารเชงิ ระบบและวธิ กี ารเชงิ คุณภาพทีใ่ ชใ้ นการประเมินการเรียนการสอน ฯ ๓. จงเปรียบเทียบการประเมินความก้าวหนา้ (formative evaluation) และการประเมินผลรวม (summative evaluation) ฯ ๔. จงอธบิ ายความหมายของการประเมินประสิทธภิ าพการเรยี นการสอน และแนวทางในการ ดาเนนิ การ ฯ ๕. จงอธบิ ายความหมายของการประเมนิ ประสิทธิผลของการเรียนการสอน และแนวทาง ในการดาเนนิ การ ฯ ๖. จงอธิบายความแตกต่างของการประเมนิ แบบ ๑: ๑ การประเมินกลุ่มเล็ก และการประเมิน ภาคสนาม ฯ ๗. เกณฑ์มาตรฐาน ๙๐/ ๙๐ หมายความวา่ อย่างไร ฯ ๘. เกณฑ์ประสิทธิภาพ ๘๐/ ๘๐ หมายความวา่ อยา่ งไร ฯ ๙. จงเปรยี บเทยี บความแตกต่างระหวา่ งความตรงภายในและความตรงภายนอก ฯ ๑๐. จงบอกวิธีการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนในการประเมินการเรยี นการสอน ฯ
๑๘๘ เอกสารอ้างองิ ประจาบท ไชยยศ เรืองสวุ รรณ, เทคโนโลยกี ารศึกษาทฤษฎีการวจิ ัย, กรุงเทพฯ : โอเอส พริ้นต้ิงเฮ้าส์, ๒๕๓๓. เปรื่อง โกมุท, เทคนิคการเขยี นบทเรียนโปรแกรม, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร,๒๕๑๙. ราชบณั ฑติ ยสถาน, พจนานุกรมศัพทศ์ ึกษาศาสตร์ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน, กรงุ เทพฯ: อรณุ การพมิ พ์, ๒๕๕๕. ศริ ิชัย กาญจนวาสี, ทฤษฎีการประเมิน, พมิ พ์ครง้ั ที่ ๗, กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ,๒๕๕๒. สมหวัง พธิ ยิ านวุ ัฒน์, วธิ ีวทิ ยาการประเมิน ศาสตร์แห่งคณุ ค่า, พมิ พ์ครั้งที่ ๔, กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ,๒๕๕๑. ________, “การออกแบบวิจัย” ในการวิจัยทางการศึกษา : หลักและวธิ กี ารสาหรบั นักวจิ ัย, กรุงเทพฯ : สานกั พิมพจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๗. Campbell, D. T. & Stanley, J. C. Experimental and quasi-experimental designs for research (10th ed.). Chicago: Rand McNally. 1973. Shambaugh, R. N. & Magliaro, S. L. Mastering the possibilities, Massachusetts: Allyn and Bacon, 1997. Smith, P. L. & Ragan, T. J. Instructional design (2nd ed.), New Jersey: Prentice- Hall, 1999.
๑๘๙ บรรณานกุ รม กมล ภูประเสรฐิ , การบริหารงานวิชาการในสถานศกึ ษา, พิมพครง้ั ที่ ๓, กรุงเทพมหานคร : เสรมิ สินพรี เพรส ซิสเท็ม, ๒๕๔๗. กระทรวงศึกษาธกิ าร, คูมอื การบรหิ ารสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานท่เี ปนนิตบิ ุคคล, กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๗. กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือพัฒนาส่ือการเรียนรู้, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.), ๒๕๔๔. กลุ ยา ตันติผลาชวี ะ,การกระตุ้นใหเ้ ด็กคิด, วารสารการศึกษาปฐมวยั , ๒๕๔๘. , การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย, กรุงเทพฯ : เอดิสัน เพรส โปรดักส์ จากัด, ๒๕๔๗. ,เทคนิคการสรา้ งเสรมิ ปัญญาเด็กปฐมวัย, วารสารการศึกษาปฐมวัย, ๒๕๔๘. โกวิท ประวาลพฤกษ์, รปู แบบการสอนคิด คา่ นิยม จรยิ ธรรมและทกั ษะการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา กระบวนการคดิ , กรุงเทพฯ:สานกั นายกรัฐมนตร,ี ๒๕๔๐. จุฑารตั น อินทะแสน, “การศึกษาการบริหารงานวชิ าการของโรงเรียนนารองการใชหลักสตู รการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหงชาติ เขต การศึกษา ๕”, วิทยานพิ นธครศุ าสตรมหาบณั ฑิต, บัณฑติ วิทยาลยั : จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั , ๒๕๔๕. ชม ภมู ภิ าค. เทคโนโลยีการสอนและการศึกษา, กรงุ เทพฯ : สานักพิมพประสานมิตร. ๒๕๒๖. ชัยยงค์ พรหมวงศ์ การวางแผนการสอนและเขียนแผนการสอน เอกสารการสอนชุดวิชาวิทยาการสอน หนว่ ยท่ี ๘ – ๑๕ (พมิ พ์ครง้ั ที่ ๗), นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๒๙. ไชยยศ เรอื งสุวรรณ. เทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา, (หลักการและแนวปฏิบัติ), กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, ๒๕๒๖. ,, เทคโนโลยกี ารศึกษาทฤษฎีการวจิ ัย, กรุงเทพฯ : โอเอส พริ้นต้ิงเฮ้าส,์ ๒๕๓๓. ทิวัตถ์ มณีโชติ. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน, กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พ์ศูนยส์ ง่ เสรมิ วิชาการ, ๒๕๔๙. ทิศนา แขมมณี, ศาสตรการสอน องคความรูเพือ่ การจดั กระบวนการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพ, กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั , ๒๕๔๕. ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท.์ ธรรมชาติวิทยา, พิมพค์ รั้งท่ี ๒, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, ๒๕๓๑. บรูโน (Bruno ), อ้างใน จันทร์ฉาย พิทักษ์ศิริกุล, ผลของการจัดโปรแกรมการฝึกการกล้าแสดงออกต่อ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒, อัดสาเนา.
๑๙๐ บุญธรรม กจิ ปรดี ดี าบรสิ ุทธ์ิ. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นการสอน, กรงุ เทพฯ : สามเจรญิ พานิช, ๒๕๓๕. บุญเลี้ยง ทุมทอง, “การวัดและประเมินผลสาหรบั ครมู ืออาชพี ”, วารสารวชิ าการ กรมวิชาการ,๒๕๔๕. ประดนิ นั ท์ อุปรมัย. ชดุ วิชาพ้ืนฐานการศกึ ษา (มนุษย์กับการเรียนรู้) : นนทบุรี, พิมพค์ รงั้ ท่ี ๑๕, ๒๕๔๐. ปรียาพร วงศอ์ นตุ รโรจน์, จติ วทิ ยาการศึกษา, กรงุ เทพมหานคร : พิมพ์ด,ี ๒๕๕๑. , การบริหารงานวิชาการ, กรุงเทพมหานคร : ศูนยสอ่ื เสริมกรงุ เทพ, ๒๕๔๖. เปร่ือง กุมุท. การวิจัยสื่อและนวกรรมสอน, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, ๒๕๑๙. , เทคนิคการเขยี นบทเรียนโปรแกรม, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร,๒๕๑๙. ผดุงยศ ดวงมาลา. การสอนวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั มัธยมศึกษา ปตั ตานี : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์, ๒๕๒๓. ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์ ดร. พิชิต ฤทธ์ิจรูญ หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา, พิมพ์ครั้งที่๔, กรุงเทพฯ : เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มิสท์, ๒๕๕๐. พรเพ็ญ ศรีวิรัตน์, การคิดอย่างมีวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยท่ีได้รับการเล่นเกม ฝึกทักษะการคิด, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย), กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, ๒๕๔๖, ถา่ ยเอกสาร. พระมหาวรวรรธน์ นภภูริสิริ (อัตถาพร), การศึกษาวิเคราะห์วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการของตัวละครที่ ปรากฏในเวสสันดรชาดก, ปริญญานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา), กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . พมิ พพ์ รรณ เทพสุเมธานนท์. เทคโนโลยีทางการศึกษา, พิมพ์ครัง้ ท่ี ๒, กรงุ เทพฯ:บริษทั รงุ่ ศิลปก์ ารพิมพ์, ๒๕๓๑. ราชบณั ฑติ ยสถาน, พจนานกุ รมศัพทศ์ กึ ษาศาสตร์ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน, กรงุ เทพฯ: อรุณการพิมพ์, ๒๕๕๕. , พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, กรงุ เทพฯ: บริษทั นานมีบุ๊คส์ พับลเิ คช่ันส์ จากดั , ๒๕๔๒. รุจิร ภสู าระ และจันทรานี สงวนนาม, การบรหิ ารหลักสูตรสถานศึกษา, กรงุ เทพมหานคร : บุค พอยท, ๒๕๔๕. วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยธุ ยา, การพัฒนาการเรยี นการสอนทางอดุ มศึกษา, กรงุ เทพมหานคร: ภาควชิ า อดุ มศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั , ๒๕๔๓. วาสนา ชาวหา. เทคโนโลยีทางการศกึ ษา, กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร, ๒๕๒๒. ศรสี รุ างค์ ทีนะกลุ ; และคณะ, การคดิ และการตัดสินใจ, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน่ , ๒๕๔๒. ศิริกาญจน์ โกสมุ ภ์; และดารณี คาวจั นัง, สอนเดก็ ให้คิดเปน็ , กรุงเทพฯ: ทปิ ส์ พับบลเิ คชัน่ , ๒๕๔๔. ศริ ิชยั กาญจนวาส,ี ทฤษฎกี ารประเมิน, พมิ พ์ครั้งที่ ๗, กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ,๒๕๕๒.
๑๙๑ สมศักดิ์ สินธรุ ะเวชญ, การวัดและประเมินผลการเรียนรู, กรงุ เทพมหานคร : วัฒนาพานิช, ๒๕๔๕. สมหวงั พิธยิ านวุ ัฒน์ “การออกแบบวิจยั ” ในการวิจัยทางการศึกษา : หลักและวิธกี ารสาหรับนกั วิจยั , กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ๒๕๒๗. , วิธีวิทยาการประเมิน ศาสตรแ์ หง่ คุณคา่ , พิมพ์ครัง้ ท่ี ๔, กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ,๒๕๕๑. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการ เรยี นรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ชมุ นุมสหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย จากัด, ๒๕๕๑. สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, รายงานการติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษาระดบั การศึกษา ขนั้ พน้ื ฐาน, กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท เพลินสตูดโิ อ จากัด, ๒๕๕๑. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด : ต้นแบบการ เรียนรทู้ างดา้ นหลักทฤษฎแี ละแนวปฏิบตั ิ, กรุงเทพฯ: สานักนายกรฐั มนตร,ี ๒๕๔๓. สานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องคการมหาชน), พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา แหงชาติ พ.ศ ๒๕๔๒, แกไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี ๓) ๒๕๔๕, กรุงเทพมหานคร : ๒๕๕๓. สพุ ิศ บุญชูวงศ, หลกั การสอน, กรุงเทพมหานคร: ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน คณะวิชาครศุ าสตร สถาบนั ราชภัฏเพชรบุรวี ทิ ยาลงกรณ ในพระบรมราชปุ ถมั ภ, ๒๕๓๖. สมุ าลี จันทรชลอ, การวดั ผลและประเมนิ ผล, กรงุ เทพมหานคร: ศนู ยสอ่ื เสริมกรุงเทพ, ๒๕๔๒. สมุ ติ ร คณุ านุกร, หลกั สตู รและการสอน, กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พชวนพมิ พ, ๒๕๒๘. สวุ ิทย มลู คา และอรทัย มลู คา, ๒๐ วธิ จี ัดการเรยี นร,ู กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ, ๒๕๔๕. ,, วธิ ีจัดการเรียนรูเพอื่ พัฒนากระบวนการคิด, กรงุ เทพมหานคร : ภาพพิมพ, ๒๕๔๕. สวุ ิมล วองวาณิช. การประเมนิ การปฏบิ ัติงาน. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พแหงจุฬาลงกรณ, ๒๕๕๐. อรจรยี ณ ตะก่วั ทุง อางถึงใน ปรชี ยั โลหชยั , “การบรหิ ารงานวิชาการของผูบริหารสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ตามทัศนะของหัวหนางานวิชาการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษายะลาเขต ๒”, วทิ ยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑติ , บณั ฑิตวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา, ๒๕๕๒. อรพรรณ พรสีมา, การคิด, ภาควชิ าเทคโนโลยที างการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิ โรฒ. กรงุ เทพฯ:สถาบนั พัฒนาทกั ษะการคิด, ๒๕๔๓. อารี พนั ธ์มณ,ี คิดอยา่ งสรา้ งสรรค์, กรุงเทพฯ: ตน้ อ้อ ๑๙๙๙ จากัด, ๒๕๔๓. อุทุมพร จามรมาน. การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา, กรุงเทพฯ : ฟันนี่พับลิชชิ่ง, ๒๕๓๐. ฮิลการ์ด (Hilgard ), อ้างใน ชนิสรา ใจชัยภูมิ,ความคิดคล่องแคล่วของเด็กปฐมวัยด้วยการบริหารสมอง, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การศึกษาปฐมวัย),กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๕๒.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217