Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอนแบบโยนิโสมนสิการ

การสอนแบบโยนิโสมนสิการ

Description: ๑. อุบายมนสิการ เป็น การคิดหรือพิจารณาโดยอุบาย
๒. ปถมนสิการ เป็น การคิดถูกทาง ต่อเนื่องเป็นลำดับ
๓. การณมนสิการ เป็น การคิดอย่างมีเหตุผล
๔. อุปปาทกมนสิการ การคิดการพิจารณาให้เกิดกุศลธรรม

Keywords: โยนิโสมนสิการ

Search

Read the Text Version

๔๒

๔๓ บทท่ี ๓ การออกแบบการสอน วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนประจาบท เมือ่ ได้ศึกษาเนื้อหาในบทนีแ้ ล้ว ผู้เรียนสามารถ ๑.บอกความหมายของการออกแบบการสอนได้ ๒.บอกความเปน็ มาและพฒั นาการการออกแบบการสอนได้ ๓.อธิบายหลักการข้นั ตอนการออกแบบการสอนได้ ๔.อธิบายหลกั การการออกแบบการจัดการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการได้ ๕.บอกประโยชน์การออกแบบการสอนได้ ขอบข่ายเนื้อหา  ความหมายการออกแบบการสอน  ความเป็นมาและพฒั นาการออกแบบการสอน  หลกั การขนั้ ตอนของการออกแบบการสอน  หลักการการออกแบบการจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการ  ประโยชน์ของการออกแบบการสอน

๔๔ ๓.๑ ความนา การออกแบบระบบการสอนขึ้นอยู่กับหลักการท่ีว่า การเรียนรู้ไม่บังเกิดขึ้น ถ้าเป็นลักษณะด้อย คณุ ภาพ แตจ่ ะพฒั นาไดด้ ว้ ยกระบวนการท่เี ป็นระเบียบแบบแผนทด่ี ี และมีผลลัพธ์ท่ีสามารถวัดผลได้ โดยปกติ การออกแบบระบบการสอนมขี อ้ กาหนดการกาหนดส่ิงท่ีเรียน การวางแผน การสอดแทรกการดาเนินการที่จะ ทาใหเ้ กิดการเรยี นรไู้ ด้ การวัดผลการเรยี นเพ่อื วนิ ิจฉัยวา่ บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ และปรับปรุงการสอดแทรก การดาเนินการ จนกระท่ังบรรลุวัตถุประสงค์ การออกแบบการสอนในอดีตท่ีผ่านมาเริ่มจากการนาคาอธิบาย รายวิชาของวิชาที่ ทาการสอนมาวเิ คราะห์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ กจิ กรรมการสอนท่ีจะต้องนึกถึงสื่อการสอน ทส่ี อดคลอ้ งกบั กิจกรรม เวลาที่ทาการสอนต้องพอเหมาะกับกิจกรรม เนื้อหาท่ีสอน วิธีการวัดผลประเมินผลที่ อยู่ในรูปแบบรวม ๆ ว่าต้องมีการประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน ข้อบกพร่อง มีบ้าง บางคร้ังครู เพลินกับการใส่กิจกรรมลงไปทาให้หลงลืมการประเมนิ ในแต่ละกิจกรรม ทาให้เกิดการเปล่าประโยชน์กับการที่ เราใส่กิจกรรมการสอนลงไปแล้วเราไม่รู้ว่าผู้เรียนบรรลุในส่ิงท่ีคาดหวังจากการทากิจกรรมหรือไม่ แต่การ ออกแบบการสอนจะช่วยอุดช่องว่างตรงนี้เพราะจะมีการประเมินกากับทุกข้ันตอนที่เรียกว่า Timeline Assessment และแต่ละขั้นตอนก่อนจะลงสู่แผนการสอน จะต้องขั้นตอนของการวิเคราะห์มาตรฐานการ เรียนรู้ ทาให้ม่ันใจได้ว่าผู้เรียนจะมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้กาหนด การสอนเพียงแค่ ๑-๒ หรือ ๓-๔ แผน ไม่ได้เป็นเครื่องการรันตีว่าผู้เรียนบรรลุผลตามมาตรฐาน อยู่ท่ีความสามารถของคุณครูท่ีจะเฟูนหา กิจกรรมท่ีจะสร้างให้ผู้เรียนเกิดความรู้ที่ลุ่มลึก ฝังแน่น ดังน้ัน การออกแบบการสอนเป็นหัวใจสาคัญของการ จดั การศกึ ษาการสอน๒๘ ๓.๒ ความเปน็ มาของการออกแบบการเรียนการสอน ยุคประวัติศาสตร์ช่วงต้นของ การออกแบบการสอน คือ ธอร์นไดท์ (Edward L.Thomlike ) ในปี 1898 ได้ทาการศึกษาทอดลองเกี่ยวกับการเรียนรู้ โดยเร่ิมแรกทอลองกับสัตว์ต่อมาทดลองกับมนุษย์ จากผล การทดลองน้ันเขาได้พัฒนาทฤษฎีการเรียนรู้อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สร้างความรู้ขั้นพื้นฐานที่ว่า อินทรีย์สร้าง ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างส่ิงเร้า และการตอบสนอง การกระทาต่างๆกัน และในทางตรงกันข้ามการ กระทาน้ันเป็นผลที่ทาให้ไม่ประสบความสาเร็จหรือไม่เป็นท่ีพึงพอใจ การกระทาซ้าก็มีความถ่ีน้อยลงได้ เสนอแนะว่า (ตัวอย่างส่ิงเร้า ๒+๒ และการตอบสนอง ๔ ) โดยให้รางวัลสาหรับผู้เรียนท่ีสามารถสร้างการ ๒๘ พระมหาประเสรฐิ สุเมโธ, การสอนแบบโยนโิ สมนสิการ, พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒,(บุรรี ัมย์ : วิทยาลัยสงฆ์บรุ รี มั ย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๕๔), หน้า ๕๗.

๔๕ เชือ่ มโยงอย่างถูกตอ้ ง และไม่สง่ เสริมสาหรบั การเชอ่ื มโยงท่ไี ม่เหมาะสม ธอร์นไดท์ ได้สร้างผลงานเกี่ยวกับการ ประเมินผลเช่นเดียวกัน ธอร์นไดท์ได้รับการยกย่องเป็นบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสาขาการ ออกแบบการสอน ทีส่ ามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การสอนแบบโปรแกรม ในปี 1920-1930 Franklin Bobbilt ได้แนะนาแนวคิดของธอร์นไดท์ ไปประยุกต์ใช้กับปัญหา ทางด้านการศึกษา โดยสนับสนุนเปูาหมายเชิงปฏิบัติ และได้แนะนาว่า เปูาหมายของโรงเรียน ควรมาจาก พ้ืนฐานของการวิเคราะห์ทักษะที่จาเป็นสาหรับการมีชีวิตท่ีประสบความสาเร็จส่วนน้ีเป็นพื้นฐานสาหรับการ วิเคราะห์ภารกิจการเรียนในการออกแบบการสอน และสร้างความเช่ือมโยงระหว่างผลการสอนและการ ปฏิบัติการสอน ในช่วงต้นๆ ของศตวรรษที่ ๑๙ ได้ปรากฏผลงานเกี่ยวกับการสอนรายบุคคล (individualize instruction ) ซง่ึ FredeRic Burk ) และผรู้ ว่ มงานได้พัฒนาการสอนรายบุคคลซง่ึ เป็นพื้นฐานของงานด้านน้ีใน ระยะต่อมา ในปี 1930 Ralph W. Tyler แห่งมหาวิทยาลัย โอไฮโอ (Ohio state University ) ได้เน้นศึกษา การ ใช้วตั ถปุ ระสงคใ์ นการอธิบาย เก่ียวสง่ิ ทผ่ี เู้ รยี นคาดหวังเก่ียวกบั การเรยี น Tyler ได้ปรับปรุงกระบวนการในการ เขียนจุดประสงค์การสอน (Student Behaviors ) และการใช้วัตถุประสงค์เฉพาะนี้เป็นผลที่ทาการประเมิน เพ่ือปรับปรุงได้ ในช่วงต่อมา คือ ช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ มีการวิจัยด้านการศึกษาอย่างมาก อันเนื่องมาจากสาเหตุ ของความจาเป็นในการฝึกอบรมบุคลากรในกอองทัพ ทาให้สามารถประยุกต์การวิจัยทางการศึกษาอย่างเป็น ระบบ ในระหว่างสงครามโลกครง้ั ที่ ๒ ผลของความพยายามนี้จะปรากฏออกมาในรูปแบบการใช้ส่ือการศึกษา ในการฝึกอบรมต่างๆ ของกองทัพ อย่างไรก็ตามภายหลังสงครามโลกครั้งท่ี ๒ การออกแบการสอน ( Instructional design ) ได้รับความสนจะเพ่ิมมากข้ึนในช่วงปี 1950-1960 เป็นช่วงที่สาคัญของสาขาวิชา การออกแบบการสอน( Instructional design ) ในปี 1956 เบนจามิน บลูม (Benjamin Bloom ) และ เพี่อนรว่ มงานได้ตีพิมพผ์ ลงานการจาแนกจุดประสงค์การศึกษาศาสตรม์ าจนถึงปัจจบุ นั ในขณะเดียวกนั บี เอฟ สกนิ เนอร์ (B .F.Skinner) ทฤษฎีการวางเง่ือนไข (Operant Conditionning) ซ่ึงมีรากฐานมาจากทฤษฎีพฤติกรรมนิยม(Behaviorism)ซึ่งเป็นแนวคิดท่ีสาคัญในการออกแบบการสอน โดยสกินเนอร์ได้นาแนวคิดของ ธอร์นไดท์ มาขยายเพิ่มเติมโดยเน้นบทบาทของการเสริมแรงได้ (Reinfoorcement)ในการเชื่อมโยงระหว่างส่ิงเร้า กับ การตอบสนอง โดยสกินเนอร์ได้กล่าวว่า อาจมีการ รักษาสภาพการเรียนรู้ได้โดยการควบคุมการให้แรงเสริม แนวคิดเหล่าน้ีเป็นท่ีมาวิธีระบบ( Systematic Approach)ในการออกแบบ การพฒั นา การประเมนิ และการปรับปรงุ แกไ้ ข ในปี ค.ศ.1960 สาขาวิชาน้ีได้ก้าวหน้าไปในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gaya) และกลุ่มทางพุทธิปัญญา ซึ่งช่วยให้การนาแนวคิดทางพุทธิปัญญา(Cognitive Theories)มาใช้ในการ ออกแบบการสอน และให้ความสนใจเพ่ิมข้ึนเกี่ยวกับความเข้าใจ(Understanding)ท่ีเกิดข้ึนในจิตใจ (Mind)หรือในสมองของผู้เรียน นอกจากน้ีคาว่า Instructional System เริ่มถูกนามาใช้ในการออกแบบการ อย่างเปน็ ระบบเพราะว่ารัฐบาลไดใ้ ห้การสนบั สนนุ เกย่ี วกับวจิ ยั และพัฒนาสาขาวิชาน้ี ในช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่ง ทาให้มีการออกแบบการสอนได้มีการนามาใช้และทาการศึกษากันอย่างกว้างขวางในช่วงปลาย ค.ศ. 1960

๔๖ การออกแบบการสอนได้มีการยอมรับว่าเป็นสาขาวิชาหน่ึงโดยตัวเอง และหลังจากทศวรรษ 1960 ได้มีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและขยายขอบเขตสาขาวิชาให้กว้างขวางยิ่งข้ึนโดยการนาทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา นิยม(Cognitive Theory)และเข้ามามีอิทธิพลมากข้ึน และสาขาวิชาการออกแบบการสอนได้เปิดทาการสอน ในระดบั ปริญญาโทและเอก รูปแบบของการออกแบบการสอนได้ถูกพัฒนาขึ้น และมีการทดสอบโดยใช้ทฤษฎี ตา่ ง ๆ การออกแบบการสอนได้แพร่หลายในกองทัพ ในการฝึกอบรมด้านธุรกิจและเร่ิมแผ่อิทธิพลเข้ามาสู่การ สอนในโครงการ K ๑๒ ในช่วงปี ค.ศ.1970 เป็นต้นมา ทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ของกลุ่มพุทธิปัญญานิยม โดยเฉพาะทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) ได้เข้ามามีบทบาท และในปัจจุบันทฤษฎี รงั สรรคนิยม (Constructivism)ได้มีผูศ้ ึกษาวิจยั กันอยา่ งกวา้ งขวาง แนวคิดพ้ืนฐานของทฤษฎีนี้คือ ผู้เรียนต้อง สร้างความรู้ข้ึนด้วยตนเองในบริบทของสังคม อย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้ว่าผลงานส่วนใหญ่ของนักเทคโนโลยี การศึกษา (Instructional Ttechonlogists)ในปัจจุบันมีการยอมรับแนวคิดของกลุ่มพุทธิปัญญานิยม และ กลมุ่ รงั สรรคนิยม ซึง่ ปรากฏผลงานวิจัยโดยสว่ นมาก เป็นส่วนหน่ึงทีส่ าคญั ของการพฒั นาสาขาวิชา๒๙ การออกแบบการเรียนการสอนมีจุดเร่ิมต้นจากความต้องการในการวิจัยและพัฒนาสื่อที่ใช้สาหรับ ฝึกอบรมกาลังคนท่ีทางานในด้านต่าง ๆ ในช่วงสงครามโลกคร้ังที่สอง และต่อมามีความต่ืนตัวในการพัฒนา บทเรียนแบบโปรแกรมทาให้งานด้านการออกแบบการเรียนการสอนเป็นงานที่ได้รับความสนใจมากขึ้น ผู้ที่ ทางานในด้านการออกแบบการเรียนการสอนในช่วงปี ค.ศ. 1970 ได้แก่ บุคคลท่ีเรียกตัวเองว่า นักจิตวิทยา การศึกษา ผ้เู ชย่ี วชาญด้านสื่อ หรือนักออกแบบการฝึกอบรม คาว่า “การออกแบบการเรียนการสอน” เพิ่งจะ นามาใช้เมื่อช่วงปี ค.ศ. 1980 และเริ่มต้นในภาคเอกชนท่ีอยู่ในสายธุรกิจและอุตสาหกรรม ก่อนที่จะเข้ามาสู่ ภาครัฐ เช่น ในงานด้านการสาธารณสุข การศึกษาและการทหาร สาหรับประเทศไทย คาว่า “การออกแบบ การเรียนการสอน” เป็นคาที่มีการนามาใช้อย่างกว้างขวางในช่วงของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรก (พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๕๐) และต่อเน่ืองมาจนถึงปัจจุบัน โดยคุรุสภา (๒๕๕๖) ได้กาหนดให้การออกแบบและการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้เป็นมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพของครูจะเห็นว่าการออกแบบการ เรียนการสอนได้มีความสาคัญมากข้ึน ซ่ึงเป็นไปในทิศทางเดียวกันท้ังการศึกษาของไทยและสากล ดังท่ี ริชี เคลน และเทรซี (Richey, Klein, & Tracy)๓๐ กล่าวว่า การออกแบบการเรียนการสอนได้กลายเป็นวิชาชีพ หนงึ่ เชน่ เดยี วกบั ท่เี ป็นศาสตร์การศึกษา๓๑ ๓.๒.๑ พฒั นาการออกแบบการสอน ID1 พน้ื ฐานมาจากกลุม่ พฤตกิ รรมนิยม ID2 พนื้ ฐานมาจากกลุ่มพุทธปิ ญั ญานิยม พื้นฐานจาก Constructivism การออกแบบการสอนในยคุ ที่ ๑ ๒๙ พระมหาประเสริฐ สุเมโธ, อา้ งแล้ว เรอื่ งเดียวกนั , ๒๕๕๔ หนา้ ๕๗-๕๙. ๓๐ Richey, R. C., Klein, J. D., & Tracey, M. W. (2011). The instructional design knowledge base. New York: Taylor & Francis. ๓๑ ผ.ศ.ดร.สมจติ จนั ทรฉ์ าย, การออกแบบและพฒั นาการเรียนการสอน, พิมพ์คร้งั ที่ ๑, บรษิ ัท เพชรเกษมพริ้น ติง้ กรปุ๊ จากัด, (๒๕๕๗).

๔๗ ID1 พืน้ ฐานมาจากกลุ่มพฤตกิ รรมนิยม ตามแนวคิดนกี้ ารเรียนรู้ หมายถึง การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลอันเนื่องมาจากประสบการณ์ท่ีคนเรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม หรือจากการฝึกหัด การออกแบบ การสอนในยุคแรก (ID1)ที่พบในปัจจุบัน ได้แก่ บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน เปน็ ตน้ -ลักษณะสาคญั ของการออกแบบการสอนในยคุ ID 1 ๑. ระบวุ ตั ถุประสงค์การสอนท่ชี ดั เจน ๒. การสอนในแต่ละขัน้ ตอนนาไปสูก่ ารเรยี นแบบรอบรู้ในหน่วยการสอนรวม ๓. ใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นตามอตั ราการเรยี นรขู้ องตนเอง ๔. ดาเนนิ การไปตามโปรแกรมหรอื ลาดบั ขนั้ ท่กี าหนดไว้ -การออกแบบการสอนในยุคท่ี ๒ ID2 พ้ืนฐานมาจากกลุ่มพุทธิปัญญานิยม ตามแนวคิดนี้ การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนเกิดจาก การจัดระเบียบ ขยายความคิด และจัดหมวดหมู่ของความจาลง สู่โครงสร้างทางปัญญา โดยให้ความสนใจ เก่ียวกบั กระบวน การคิด การให้เหตุผลของผู้เรียนซ่ึงมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่ิงเร้าภายนอกกับสิ่งเร้าภายใน คือ ส่งผา่ นส่ือไปยงั ความรูค้ วามเขา้ ใจ กระบวนการรู้ การคิดทีช่ ่วยสง่ เสริมการเรียนรู้ -การออกแบบการสอนในยุคที่ ๓ -พ้ืนฐานจาก คอนสตัคติวิสต์ ๓๒( Constructivism ) ตามแนวคิดนี้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยการ สร้างความร้จู ะเกิดข้นึ เมื่อ ผู้เรียนได้สร้างสิ่งท่ีแทนความรู้ความจาในระยะทางานอย่างต่ืนตัวพื้นฐานจาก คอน สตัคติวิสต์ ( Constructivism )ครูผู้สอนเป็นเพียงผู้ชี้แนะแนวทางหรือโมเดลในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเรียนรู้ในยุคนี้จะเน้นการพัฒนากระบวนการ คดิ อย่างอิสระใหผ้ เู้ รียน สรา้ งความรูไ้ ด้ ดว้ ยตนเอง ตลอดจนเรียนรู้จากการปฏิบัติของตนเองโดยวิธีการเรียนรู้ ทห่ี ลากหลาย สามารถคดิ แบบองคร์ วมได้ -พัฒนาการออกแบบการสอน การใช้วิธีระบบในการฝึกทหารของกองทัพบกอเมริกันช่วงสงครามโลก ครั้งที่ ๒ เช่ือว่า “การเรียนรู้ใด ๆ ไม่ควรเกิดอย่างบังเอิญ แต่ควรเกิดจากการพัฒนาสิ่งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม มีกระบวนการข้ันตอน และสามารถวัดผลจากการเรียนรู้ได้อย่างชัดเจน”การออกแบบการเรียนการสอนต้อง อาศัยความรู้ศาสตร์ สาขา ต่าง ๆ ได้แก่ จิตวิทยาการศึกษา การสื่อความหมาย การศึกษาศาสตร์ เทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์เขา้ มารว่ ม ๓.๓ ความหมายการออกแบบการสอน ๓๒ https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/constructivist-theory/ สืบค้นเมอื่ ๒๗ ม.ค. ๕๗

๔๘ การออกแบบ( Design )๓๓ หมายถงึ การวางแผนหารปู แบบการแก้ปัญหา ซึ่งอาจมีมากกว่าหน่ึงรูปแบบ รูปแบบของการแก้ปัญหาหมายรวมถึงการวางแผนการสอนท่ีจะต้องมีกิจกรรม ส่ือการสอน แนวทางการ ดาเนินการเรียนการสอน การประเมินผล ท่ีสอดคล้องกับเน้ือหา จุดประสงค์ และรูปแบบการแก้ปัญหา ต้อง สรา้ งจากหลกั การท่คี วรจะเป็นไปได้ ประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย และเวลา เหมาะสมกับสถานการณ์ โดยคานึงถึงปัจจัย ดา้ นมนุษย์ และดา้ นที่เปน็ วัสดุสงิ่ ของดว้ ย๓๔ การออกแบบการสอน หมายถงึ การนาวิธีระบบมาประยุกตใ์ ชก้ าหนดรูปแบบ ของการวางแผนจัดการ เรียน การสอน ซ่ึงในการวางแผนจัดการเรียนการสอนแต่ละครั้ง ต้องพิจารณาที่ปัจจัย Input๓๕ กระบวนการ Process ผลผลิต๓๖ Output และผลกระทบ๓๗ Impact ความหมายของการออกแบบ การออกแบบ คืออะไร ซ่ึงความหมายของคาว่า \"ออกแบบ\" นั้นถูกให้ คานิยาม หรือคาจากัดความ ไว้หลายรูปแบบมากมาย ตามความเข้าใจ การตีความหมาย และการส่ือสาร ออกมาด้วยตัวอกั ษรของแตล่ ะคน ตัวอยา่ งความหมายของการออกแบบ เช่น - การออกแบบ หมายถึง การรู้จักวางแผนจัดตั้งข้ันตอน และรู้จักเลือกใช้วัสดุวิธีการเพ่ือทาตามที่ ต้องการน้ัน โดยให้สอดคล้องกับลักษณะรูปแบบ และคุณสมบัติของวัสดุแต่ละชนิด ตามความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างสรรค์สิง่ ใหม่ขน้ึ มา เชน่ การจะทาโต๊ะขึ้นมาซักหน่ึงตวั เราจะตอ้ งวางแผนไว้เป็นข้ันตอน โดยต้อง เร่ิมต้นจากการเลือกวัสดุท่ีจะใช้ในการทาโต๊ะน้ัน ว่าจะใช้วัสดุอะไรท่ีเหมาะสม ในการยึดต่อระหว่างจุดต่างๆ น้ันควรใช้ กาว ตะปู สกรู หรือใช้ข้อต่อแบบใด รู้ถึงวัตถุประสงค์ของการนาไปใช้งาน ความแข็งแรงและการ รองรบั นา้ หนกั ของโต๊ะสามารถรองรบั ไดม้ ากน้อยเพียงใด สีสนั ควรใช้สีอะไรจงึ จะสวยงาม เป็นตน้ - การออกแบบ หมายถงึ การปรับปรุงแบบ ผลงานหรือสิง่ ต่างๆ ท่ีมีอยู่แล้วให้เหมาะสม และดูมีความ แปลกใหม่ขึ้น เช่น โต๊ะท่ีเราทาขึ้นมาใช้ เม่ือใช้ไปนานๆก็เกิดความเบื่อหน่ายในรูปทรง หรือสี เราก็จัดการ ปรับปรุงให้เป็น รูปแบบใหม่ให้สวยกว่าเดิม ทั้งความเหมาะสม ความสะดวกสบายในการใช้งานยังคง เหมอื นเดมิ หรอื ดีกว่าเดิม เปน็ ตน้ - การออกแบบ หมายถงึ การรวบรวมหรอื การจัดองค์ประกอบทัง้ ท่ีเป็น ๒ มิติ และ ๓ มิติ เข้าด้วยกัน อยา่ งมหี ลกั เกณฑ์ การนาองค์ประกอบของการออกแบบมาจัดรวมกันน้ัน ผู้ออกแบบจะต้องคานึงถึงประโยชน์ ในการใช้สอยและความสวยงาม อันเป็นคุณลักษณะสาคัญของการออกแบบ เป็นศิลปะของมนุษย์เน่ืองจาก เปน็ การสร้างคา่ นิยมทางความงาม และสนองคณุ ประโยชนท์ างกายภาพให้แกม่ นุษย์ด้วย ๓๓ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั นานมบี ุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์ จากดั ,๒๕๔๒). ๓๔รศ.สมชาย รัตนทองคา, เอกสารประกอบการสอน ๔๗๕ ๗๗๘, การสอนทางกายภาพบาบดั ภาคตน้ ปีการศกึ ษา (๒๕๕๔). ๓๕ ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ, ๒๕๔๒, กรุงเทพฯ : บริษัทนานมบี คุ๊ ส์ พับลิเคช่นั ส์ จากดั , (๒๕๔๒). ๓๖ อ้างแลว้ เรอ่ื งเดียวกนั , หน้า. ๓๗ อ้างแลว้ เรื่องเดยี วกนั , หน้า.

๔๙ - การออกแบบ หมายถึง กระบวนการที่สนองความต้องการในสิ่งใหม่ๆของมนุษย์ ซ่ึงส่วนใหญ่เพ่ือ การดารงชีวิตให้อยู่รอด และสรา้ งความสะดวกสบายมากย่ิงขนึ้ การออกแบบ ( Design ) คือศาสตร์แห่งความคิด และต้องใช้ศิลป์ร่วมด้วย เป็นการสร้างสรรค์ และ การแกไ้ ขปัญหาที่มีอยู่ เพอ่ื สนองตอ่ จดุ ม่งุ หมาย และนากลับมาใช้งานได้อย่างน่าพอใจ ความน่าพอใจน้ัน แบ่ง ออกเปน็ ๓ ขอ้ หลักๆ ได้ดงั น้ี ๑. ความสวยงาม เป็นส่ิงแรกที่เราได้สัมผัสก่อน คนเราแต่ละคนต่างมีความรับรู้เร่ือง ความสวยงาม กับความพอใจ ในท้ัง ๒ เรื่องน้ีไม่เท่ากัน จึงเป็นส่ิงท่ีถกเถียงกันอย่างมาก และไม่มีเกณฑ์ ในการตัดสินใดๆ เป็นตัวท่ีกาหนดอย่างชัดเจน ดังน้ันงานที่เราได้มีการจัดองค์ประกอบท่ีเหมาะสมนั้น ก็จะมองว่าสวยงามได้ เหมือนกนั ๒. มีประโยชน์ใช้สอยท่ีดี เป็นเรื่องท่ีสาคัญมากในงานออกแบบทุกประเภท เช่นถ้าเป็นการออกแบบ ส่ิงของ เช่น เก้าอ้ี,โซฟา น้ันจะต้องออกแบบมาให้นั่งสบาย ไม่ปวดเม่ือย ถ้าเป็นงานกราฟฟิค เช่น งานส่ือ สิง่ พิมพน์ ัน้ ตวั หนังสือจะต้องอ่านงา่ ย เขา้ ใจง่าย ถงึ จะได้ชอ่ื วา่ เป็นงานออกแบบทม่ี ีประโยชน์ใชส้ อยทดี่ ีได้ ๓. มีแนวความคิดในการออกแบบที่ดี เป็นหนทางความคิด ที่ทาให้งานออกแบบสามารถตอบสนอง ตอ่ ความรสู้ ึกพอใจ ชืน่ ชม มีคุณค่า บางคนอาจให้ความสาคัญมากหรือน้อย หรืออาจไม่ให้ความสาคัญเลยก็ได้ ดังนน้ั บางคร้งั ในการออกแบบ โดยใชแ้ นวความคิดท่ดี ี อาจจะทาให้ผลงาน หรือสิ่งที่ออกแบบมีคุณค่ามากขึ้นก็ ได้ ดังนั้นนักออกแบบ๓๘ ( Designer ) คือ ผู้ท่ีพยายามค้นหา และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หาวิธีแก้ไข หรือหา คาตอบใหมๆ่ สาหรับปัญหาตา่ งๆ๓๙ การออกแบบการสอน หมายถึง หลักการหรือศาสตร์ในการกาหนดรายละเอียด ของรายการต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนา ประเมิน และทานุบารุง รักษาให้คงไว้ของสภาวะต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ต่อไป ระบบการสอน หรือระบบการเรียนการสอน (IS : Instructional System) เปนการนาเอาวิธีการ ระบบ (System Approach) หรือวิธีระบบมาใชในการเรียนการสอน โดยท่ีระบบจะหมายถึง สวนตาง ๆ ท่ี สัมพันธกัน ไดแก สวนนาเขา๔๐ (Input) สวนดาเนินการ๔๑ (Process) และสวนผลลัพธ๔๒ Output) ระบบการสอนจึงประกอบดวยองคประกอบยอย ๆ ท่ีสัมพันธกัน เพ่ือชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุ ประสงคท่ีกาหนดไว ประกอบดวยสวนตาง ๆ ไดแก ผูเรียน ผูสอน ส่ือการเรียนการสอน และการวัดและ ประเมินผลเปนตน องคประกอบยอย ๆ ของระบบจะมีหนาที่อยางอิสระซ่ึงมีความสัมพันธซ่ึงกันและกัน ถามี การเปล่ยี นแปลงใดๆ เกิดขึ้นภายในองคประกอบยอย ๆ ก็จะสงผลกระทบถึงระบบดวย เชน ถาผูเรียนมีความ ๓๘ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั นานมบี คุ๊ ส์ พับลเิ คชน่ั ส์ จากดั . (๒๕๔๒ ๓๙ http://allalike-design.blogspot.com/2010/12/blog-post.html สืบคน้ เม่อื ๒๗ ม.ค. ๕๘. ๔๐ ราชบัณฑิตยสถาน. อ้างแลว้ เร่ืองเดยี วกนั . ๔๑ ราชบัณฑติ ยสถาน. อ้างแล้ว เร่ืองเดยี วกัน. ๔๒ ราชบัณฑิตยสถาน. อ้างแล้ว เร่ืองเดยี วกัน.

๕๐ รพู ้นื ฐานไมเพียงพอ ก็อาจจะสงผลกระทบตอผลลัพธทาใหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไมผานเกณฑเปนตนระบบ การสอนที่ออกแบบโดยใชวิธีการระบบ ไดมีการประยุกตใชงานอยางกวางขวาง โดยการกาหนดขั้นตอนการ สอน ประกอบดวยการกาหนดวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูโดยอาศัยสื่อตาง ๆ และการใชแหลงความรูตาง ๆโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลางเปนตน เพื่อตอบสนองตอความแตกตางระหวาง บุคคลของผูเรียน ไมวาจะเปน เพศ วัย อัตราการเรียนรูความสนใจ ความถนัด และประสบการณเดิม รวมทั้ง พื้นฐานทางประเพณีและวัฒนธรรมซ่ึงผู้สอนและผู ที่เกี่ยวของจะมีบทบาทในการออกแบบพัฒนาระบบการ สอน เพ่ือวางแผนการบูรณาการเกี่ยวกับองคประกอบตาง ๆ ของระบบการสอน ใหเหมาะสมกับพัฒนาการ การเรียนรูของผูเรียน ใหบรรลุความสาเร็จตามวัตถุประสงคที่กาหนดไวเนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรเก่ียวข องกับการเรียนรูของผูเรียนโดยตรง ในการท่ีจะทาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูขึ้น ภายใตการจัดการของ คอมพวิ เตอรท่ีนาเสนอเนือ้ หาอยางตอเน่อื งทีละขั้น ๆ ผสมผสานกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับ พฒั นาการของผูเรียน การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร จึงตองอาศัยการออกแบบระบบการสอนท่ีใชวิธีการ ระบบเปนหลักในการออกแบบเชนเดียวกัน กับการออกแบบบทเรียนหรือการออกแบบระบบการสอนทั่ว ๆ ไป๔๓ การออกแบบการสอนเป็นวิธีการระบบ เพอ่ื การวิเคราะห์, การออกแบบ, การพัฒนา, การดาเนินการ ให้เปน็ ผล และการประเมินผลของสารปัจจยั และกจิ กรรมการเรียน การออกแบบการสอนมุ่งหมายเพอ่ื วธิ กี ารสอนที่ยึดถือผเู้ รยี นเป็นศูนย์กลาง มากกวา่ วธิ กี ารที่ยดึ ถือ ผูส้ อนเป็นศนู ยก์ ลาง จนกระทงั่ การเรียนรู้อยา่ งมปี ระสทิ ธิผลเกิดขึ้นได้นหี่ มายความว่าจะต้องควบคมุ กากับ การองคป์ ระกอบการสอนทกุ ชนดิ ด้วยผลลัพธ์ทางการเรียนซึง่ ไดร้ บั การวนิ จิ ฉัยภายหลงั การวิเคราะห์ความ ต้องการ(ความจาเปน็ )ของผ้เู รียน อยา่ งตอ่ เนื่องสมบูรณ์๔๔ ๓.๔ หลักการและขนั้ ตอนการออกแบบการสอน ๓.๔.๑ แนวคิดของ ADDIE ๑. ข้นั การวิเคราะห์ (Analysis) - กาหนดหวั เร่อื งและวัตถปุ ระสงค์ท่ัวไป - วเิ คราะห์ผู้เรยี น ๔๓ http://home.dsd.go.th/kamphaengphet/km/information/WBI/04Instructional_System_Design.pdf สบื ค้นเม่ือ ๒๗ ม.ค. ๕๘. ๔๔ http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/ww521/joemsiit/ สบื ค้นเม่อื ๒๗ ม.ค. ๕๘.

๕๑ - วเิ คราะหว์ ัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - วเิ คราะหเ์ น้ือหา ๒. ขัน้ การออกแบบ (Design Phase) - การออกแบบบทเรียน - การออกแบบผงั งาน (Flowchart) - การออกแบบบทดาเนนิ เร่ือง (Story board) - การออกแบบหนา้ จอภาพ (Screen Design) ๓. ขั้นพฒั นา (Development) - การเตรยี มการ - การสร้างบทเรียน - การสร้างเอกสารประกอบการเรยี น ๔.ข้ันการนาไปทดลอง ใช้ (Imprementation)การนาบทเรียนไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง เพ่ือ ตรวจสอบ ความเหมาะสมของบทเรียนในขั้นต้น ปรับปรุงแก้ไขก่อนนาไปใช้ กับกลุ่มเปูาหมายจริง เพื่อหา ประสทิ ธภิ าพของบทเรยี น และนาไป ใหผ้ ้เู ชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสมและประสิทธภิ าพ ๕. ขั้นการประเมินผล (Evaluation)การประเมินผล คือ การเปรียบเทียบกับการเรียน การ สอนแบบปกติ โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม เรียนด้วยบทเรียน ที่สร้างข้ึน ๑ กลุ่ม และเรียนด้วยการสอน ปกติอกี 1กลมุ่ หลงั จากนัน้ จงึ ให้ผูเ้ รยี นทั้งสองกลุ่ม ทาแบบทดสอบชุดเดียวกัน และแปลผล คะแนนท่ีได้ สรุป เป็นประสิทธภิ าพของบทเรยี น ๓.๔.๒ แนวคิดของคอนสตัคตวิ ิสต์ ๑. การสรา้ งการเรียนรู้ (Learning Constructed) ความร้จู ะถกู สรา้ งจากประสบการณ์การเรียนรู้เป็น กระบวนการสร้างส่ิงแทนความรู้ในสมองที่ผเู้ รียนเปน็ ผู้สร้างข้ึน ๒. การแปลความหมายของแตล่ ะคน(Interpretation personal) การเรียนรู้เป็นการแปลความหมาย ตามสภาพจรงิ หรือประสบการณ์ของแตล่ ะคน ๓. การเรียนรู้เกิดจาการลงมือกระทา (Learning Active) การเรียนรู้เป็นการท่ีผู้เรียนได้ลงมือกระทา ซ่งึ เป็นการสรา้ งความหมายโดย อาศยั พืน้ ฐานของประสบการณ์ ๔. การเรียนรู้ท่ีเกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative) เกิดจากแนวคิดที่หลากหลายในกลุ่ม และปรับเปลี่ยนสร้างเป็นส่ิงแทนความรู้ในสมอง ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกับคนอ่ืนจากการร่วมแสดง แนวคิดท่ีหลากหลายท่ีจะ ทาให้เกิดปัญหาเฉพาะนาไปสู่การเลือกจุดหรือสถานการณ์ที่ทุกคนยอมรับใน ระหวา่ งกัน\" ๕. การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated) ควรเกิดข้ึนในสภาพช้ันเรียนจริง (Situated or anchored) \" การเรยี นร้ตู ้องเหมาะสมกับบริบทของสภาพจริง หรอื สะทอ้ นบรบิ ทท่ีเป็นสภาพจรงิ \"

๕๒ ๖. การทดสอบเชิงการบรู ณาการ (Testing Integrated) การทดสอบควรจะเป็นการบูรณาการเข้ากับ ภารกิจการเรยี น (Task) ไมค่ วรเปน็ กจิ กรรมทแี่ ยกออกจากบริบท การเรียนรู้ \" การวัดการเรียนรู้ เป็นวิธีการท่ี ผูเ้ รียนใชโ้ ครงสร้างความรู้เป็นเคร่ืองมือในการส่งเสรมิ ให้ เกิดการคิดในเนอื้ หาการเรยี นร้นู ้นั ๆ \" ๓.๔.๓ แนวคดิ ของโรเบริ ต์ กาเย่ (Robert Gange') ๑. เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention) กระตุ้นหรือเร้าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจกับบทเรียนและ เนอื้ หาที่จะเรยี น การเร้าความสนใจผู้เรียนน้ีอาจทาได้โดย การจัดสภาพแวดล้อมให้ดึงดูดความสนใจ เช่นการ ใชภ้ าพกราฟกิ ภาพเคล่อื นไหว และการใช้เสยี งประกอบบทเรยี น ๒. บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) การบอกให้ผู้เรียนทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรียนนี้มี ความสาคัญเปน็ อย่างย่งิ ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้โดยการเลือกศึกษาเน้ือหาที่ต้อง การศึกษาได้เอง ดังน้ันการที่ ผู้เรียนได้ทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรียนล่วงหน้าทาให้ผู้เรียน สามารถมุ่งความสนใจไปที่เนื้อหาบทเรียนท่ี เกย่ี วขอ้ ง ๓. ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knoeledge) การทบทวนความรู้เดิมช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียน สามารถเรยี นรูเ้ นือ้ หาใหมไ่ ด้รวด เร็วยิ่งขน้ึ รปู แบบการทบทวนความรู้เดิมในบทเรียนบนเว็บทาได้หลายวิธีเช่น กจิ กรรมการถาม-ตอบคาถาม หรือการแบ่งกลมุ่ ใหผ้ ู้เรยี นอภิปรายหรอื สรปุ เนื้อหาท่ไี ด้เคยเรียนมาแล้ว เปน็ ตน้ ๔. นาเสนอเนื้อหาใหม่ (Present New Information) การนาเสนอบทเรียนสามารถทาได้หลาย รูปแบบด้วยกันคือ การนาเสนอด้วยข้อความ รูปภาพ เสียง หรือแม้กระทั่งวิดิทัศน์ อย่างไรก็ตามสิ่งสาคัญท่ี ผู้สอนควรให้ความสาคัญก็คือผู้เรียน ผู้สอนควรพิจารณาลักษณะของผู้เรียนเป็นสาคัญเพื่อให้การนาเสนอ บทเรยี นเหมาะ สมกบั ผเู้ รียนมากทสี่ ดุ ๕. ชแ้ี นะแนวทางการเรยี นรู้ (Guide Learning) การชีแ้ นวทางการเรยี นรู้หมายถึงการชี้แนะให้ผู้เรียน สามารถนาความรู้ที่ได้ เรียนใหม่ผสมผสานกับความรู้เก่าที่เคยได้เรียนไปแล้ว เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ท่ี รวดเรว็ และมคี วามแม่นยามากยง่ิ ขึ้น ๖. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน นักการศึกษา ต่างทราบดีว่าการเรียนรู้เกิดข้ึนจากการที่ผู้เรียนได้มีโอกาสมี ส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนโดยตรง ดังนน้ั ในการจดั การเรยี นการสอน จึงควรเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรียน ๗. ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback) การท่ีผู้สอนสามารถติดต่อส่ือสารกับผู้เรียนได้โดยตรง อย่างใกล้ชิด เนื่องจากบทบาทของผู้สอนนั้น เปลี่ยนจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แต่เพียงผู้เดียว มาเป็นผู้ให้ คาแนะนาและชว่ ยกากับการเรยี นของผู้เรียนรายบุคคล ทาให้ผสู้ อนสามารถติดตามก้าวหน้าและสามารถให้ผล ยอ้ นกลับแก่ผเู้ รยี นแตล่ ะคน ได้ดว้ ยความสะดวก ๘. ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance) การทดสอบความรู้ใหม่หลังจากศึกษาบทเรียน เรียกว่า การทดสอบหลังบทเรียน เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทดสอบความรู้ของตนเอง นอกจากนี้จะยัง

๕๓ เป็นการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนว่าผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดหรือไม่ เพ่ือที่จะไปศึกษาในบทเรียนต่อไปหรือต้อง กลบั ไปศกึ ษาเน้อื หาใหม่ ๙. สรุปละนาไปใช้ (Review and Transfer) การสรุปและนาไปใช้ จัดว่าเป็นส่วนสาคัญในขั้นตอน สุดท้ายที่บทเรียนจะต้องสรุปมโนคติของเนื้อหา เฉพาะประเด็นสาคัญๆ รวมท้ังข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทบทวนความรู้ของตนเองหลังจากศึกษา เนื้อหาผ่านมาแล้ว ในขณะเดียวกัน บทเรียนต้องช้ีแนะเนื้อหาท่ีเกี่ยวข้องหรือให้ข้อมูลอ้างอิงเพิ่มเติม เพื่อแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ศึกษาต่อใน บทเรยี นถัดไป หรือนาไปประยุกต์ใช้กับงานอืน่ ตอ่ ไป๔๕ ๓.๔.๔ แนวคิดของดคิ ค์และคาเรย์ (Dick and Carey model) ๑. การกาหนดเปูาหมายของการสอน (Identify Instructional Goals) เป็นการกาหนด ความมุ่งหมายการสอน ซึ่งต้องพัฒนาให้สอดคล้องกับความมุ่งหมายทางการศึกษา วิเคราะห์ความจาเป็น (Needs Analysis) และวิเคราะหผ์ เู้ รียน ๒. ดาเนินการวิเคราะห์การเรียนการสอน (Conduct Instructional Analysis) เป็นการ วิเคราะห์ภารกิจ หรือวิเคราะห์ข้ันตอนการดาเนินการสอน ผลการวิเคราะห์การสอนท่ีได้ จะเป็นการจัด หมวดหมขู่ องภารกิจ (Task Classification) ตามลกั ษณะของจุดม่งุ หมายการสอน ๓.กาหนดพฤติกรรมก่อนเรียนและลักษณะผู้เรียน (Identify Entry Behaviors, Characteristics) การศึกษาพฤติกรรมเบื้องต้นและคุณลักษณะของผู้เรียน (Identify EntryBehaviors) ว่า เปน็ ผเู้ รยี นระดบั ใด มีพน้ื ความรมู้ ากนอ้ ยเพียงใด ๔.เขียนจุดมุง่ หมายเชิงพฤตกิ รรม (Write Performance Objective) เป็นจดุ มุ่งหมายเฉพาะ หรือจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม และสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการสอน เพ่ือช่วยให้มองเห็นแนวทาง การเรียน การสอน เป็นแนวทางในการวางแผนการจัดสภาพแวดล้อมการเรียน ช่วยให้เห็นแนวทางในการสร้าง แบบทดสอบ ช่วยผเู้ รยี นให้เรียนอยา่ งมจี ดุ มงุ่ หมาย ๕.พัฒนาข้อสอบอิงเกณฑ์ (Develop Criterion – Referenced Test Items) เป็นการสร้าง แบบทดสอบแบบ อิงเกณฑ์ เพอ่ื ประเมินการเรยี นการสอน ๖.พัฒนายุทธวิธีการสอน (DevelopInstructional Strategies) เป็นแผนการสอนหรือ เหตกุ ารณ์การสอน ทชี่ ว่ ยให้ ผเู้ รยี นสามารถเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพตามจุดมุ่ง หม ๗.พัฒนาและเลือกวัสดุการเรียนการสอน (Develop and Select Instructional Materials) เป็นการพัฒนาและเลอื กสอ่ื การเรยี นการสอนท้งั ส่ือสง่ิ พมิ พ์และสื่อโสตทัศน์ ๘. ออกแบบและดาเนินการประเมินเพื่อการปรับปรุง (Design and Conduct Formative Evaluation) ๙. การปรบั ปรุงการสอน (Revise Instruction) ๔๕ https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/constructivist-theory/ สืบคน้ เมื่อ ๒๗ ม.ค. ๕๗

๕๔ ๑๐. การออกแบบและดาเนินการประเมินระบบการสอน (Design and Conduct Summative E valuation) เปน็ ข้นั การแก้ไขและปรบั ปรงุ การสอน ตงั้ แต่ขนั้ ที่ ๒ ถึงขน้ั ที่ ๘ ๓.๔.๕ แนวคดิ ของเกอร์ลาชและอลี าย (Ger lach and Ely Model) ๑. การกาหนด เป็นการกาหนดว่าตอ้ งการใหผ้ ้เู รียน ได้ร้อู ะไร แค่ไหน อย่างไร ๒. การกาหนดเนื้อหา (Specify Content) เป็นการกาหนดว่าผู้เรียน ต้องเรียนอะไรบ้างจึง จะสามารถบรรลุเปูาหมายท่ตี ้งั ไว้ ๓. การวิเคราะห์ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน (Analyze Learner Background Knowledge) เป็นการวิเคราะห์เพ่อื ใหท้ ราบ ความสามารถพื้นฐานของผเู้ รยี น ๔. เลือกวิธีสอน (Select Teaching Method) ทาการเลือกวิธีสอนให้สอดคล้องกับ จุดมุง่ หมาย ๕. กาหนดขนาดของกลุ่ม (Determine Group Size) เลือกว่าจะสอนเป็นกลุ่มย่อยหรือกลุ่ม ใหญ่อยา่ งไร ๖. กาหนดเวลา (Time Allocation) กาหนดวา่ จะใช้ ในการสอนมากน้อยเพียงใด ๗. ประเมนิ ผล (Evaluation) การสอนตรงตามจุดมุ่งหมายหรอื ไม่ ๘. วิเคราะห์ข้อมูลปูอนกลับเพ่ือการปรับปรุงแก้ไข (Analyze Feedback for Revision) เปน็ การวเิ คราะหว์ า่ ถา้ การสอนไม่ไดผ้ ลตามจุดมุ่งหมายจะปรับปรงุ แก้ไขตรงไหน อย่างไร ๓.๔.๖ ปัญหาหลกั ของการออกแบบการสอน ๑. ปญั หาด้านทิศทาง (Direction) - ผู้เรยี นไม่ทราบวา่ จะเรียนไปเพอ่ื อะไร - ไม่ร้วู า่ จะต้องเรียนอะไร - ต้องสนใจจุดไหน ๒. เกิดข้ึนกับทั้งผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะมีปัญหา เช่น จะรู้ได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้หรอื ไม่ วธิ ีที่ใช้อยู่ใช้ได้ผลดไี หม ถ้าจะปรับปรุงเนื้อหาจะปรับปรุงตรงไหน จะให้คะแนนอย่างยุติธรรมได้ อย่างไร ผู้เรยี นจะมีปัญหา เช่น ฉนั เรียนร้อู ะไรบ้าง ๓. ปัญหาด้านเน้ือหาและการลาดับเน้ือหา (Content and Sequence) ครูอาจสอนเนื้อหา ทไ่ี มต่ อ่ เนื่องกัน เนือ้ หายากเกินไป เน้ือหาไม่ตรงกับจุดมงุ่ หมาย เนือ้ หาไม่สัมพันธ์กัน สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี น เกดิ ความไม่เข้าใจ และสับสนในเน้อื หาที่เรยี น ฯลฯ ๔. ปัญหาด้านวิธีการ (Method) การสอนหรือวิธีสอนของครูอาจทาให้ผู้เรียนเกิดความเบ่ือ หน่าย ไม่อยากเข้าห้องเรียน มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเรียน หรือปัญหาการสอนที่ไม่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ท่ตี ้ังเอาไว้ ๕. ปญั หาขอ้ จากดั ตา่ ง ๆ (Constraint) การสอนหรือการฝึกอบรมน้ันต้องใช้แหล่งทรัพยากร ๓ ลักษณะ คอื บคุ ลากร ครูผู้สอน และสถาบันตา่ ง ๆ

๕๕ - บุคลาการที่ว่านี้อาจจะเป็นวิทยากร ผู้ช่วยเหลือต่าง ๆ เช่น พนักงานพิมพ์ ผู้ ควบคุมเครือ่ งไม้เคร่อื งมือ หรืออนื่ ๆ - สถาบันต่าง ๆ หมายถึง แหล่งที่เป็นความรู้ แหล่งท่ีจะให้ความร่วมมือสนับสนุน ต่าง ๆ อาจเปน็ ห้องสมุด หน่วยงานตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ๓.๕ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การออกแบบการจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ มีขอบขา่ ยเน้ือหา คือ ๑. ขัน้ ตอนการบรู ณาการและ วธิ กี ารสอนแบบบูรณาการ ๒. หลักการการออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการ ขั้นตอนและวธิ กี าร การจัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการ ทงั้ การบรู ณาการภายในวิชาและบรู ณาการระหว่างวิชา มีหลักการเช่นเดยี วกัน โดยมีข้นั ตอนและวธิ ีการดงั ตอ่ ไปน้ี สาลี รักสุทธิ และคณะ๔๖ กล่าวถึงข้ันตอนการจัดทาการบูรณาการเน้ือหาและการจัดการเรียนการ สอนว่า ประกอบด้วย ๖ ขน้ั ตอน คือ ขั้นตอนที่ ๑ ศึกษาหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร เป็นการหาความสัมพันธ์ของเน้ือหาที่มี ความเก่ียวขอ้ งกัน เพอื่ นามากาหนดเป็นปญั หาหรือหวั เรือ่ งในการเรียนการสอน ขั้นตอนท่ี ๒ วิเคราะห์หลักสูตร เป็นการศึกษาจุดประสงค์ของวิชาหลักและวิชารองท่ีจะนามาบูรณา การ จะทาใหเ้ หน็ ภาพทีช่ ดั เจนในการดาเนนิ การเรยี นการสอน รวมท้ังการวดั และประเมนิ ผล ขั้นตอนท่ี ๓ จดั ทากาหนดการสอน เปน็ การวางแผนการสอนแบบกว้างๆ โดยนารายละเอียดท่ีได้จาก การวเิ คราะห์คาอธบิ ายในหลักสตู รมาแยกยอ่ ยเน้ือหา จุดประสงค์ กิจกรรม รวมท้ังกาหนดคาบในการสอน ซ่ึง กาหนดการสอนแบบบูรณาการจะเพ่มิ ช่องบูรณาการและมีเนื้อหาบูรณาการแบบภายในวิชาหรือเนื้อหาบูรณา การระหวา่ งวิชาตา่ งๆ เขา้ ไปด้วย ข้ันตอนที่ ๔ เขียนแผนการสอน เป็นการกาหนดรายละเอียดของการสอนต้ังแต่ต้นจนจบ ประกอบด้วย สาระสาคัญ จุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล โดยยึดหลัก ความสอดคลอ้ งของแตล่ ะวชิ าในการเรยี นการสอนในชว่ งเวลาเดยี วกัน ข้ันตอนท่ี ๕ ปฏิบัติการสอน เป็นการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีกาหนดไว้ในแผนการสอน โดยมีการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียน ความสอดคล้องสัมพันธ์กันของการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน รวมทั้งผลสาเรจ็ ของการสอนตามจดุ ประสงค์ เป็นต้น โดยมีการบันทึกจุดเด่นและข้อปรับปรุงเพื่อนาไปสู่ การพัฒนาต่อไป ๔๖ สาลี รักสทุ ธิ และคณะ,เทคนิคการพัฒนาหลักสตู รแบบบูรณาการ,กรงุ เทพ : พฒั นศึกษานคร ๒๕๔๔, หนา้ ๕๗.

๕๖ ข้ันตอนที่ ๖ ประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาการสอน เป็นการนาผลที่ได้จากการบันทึกรวบรวมไว้ ในขณะปฏิบัตกิ ารสอนมาวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการสอนแบบบูรณาการให้มีความสมบูรณ์ ยิ่งข้ึน ชาตรี เกดิ ธรรม๔๗ กล่าวไวว้ า่ การจัดการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการมีข้ันตอนดังน้ี ๑. กาหนดหวั ข้อสาระการเรียนรู้ โดยเริ่มจากโครงสรา้ งของหลักสูตรในระดับท้องถิ่น หรือท่ีใช้อยู่ด้วย การระดมสมองจากผู้เรียนและครูเป็นการดึงให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้มากขึ้น หัวข้อที่ จะนามาสอนแบบบูรณาการได้ดีควรเปน็ เรือ่ งที่มีความสัมพนั ธ์กบั ความเปน็ อยใู่ นชีวิตประจาวันมากทสี่ ดุ ๒. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ครูต้องกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ให้ชัดเจน ว่าเมื่อเรียนรู้เรื่องน้ี จบแล้วผู้เรียนควรจะได้อะไรบ้าง ซ่ึงควรจะสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามช่วงชั้นด้วย ถ้าจัดการเรียน การสอนตามหลักสตู รใหมท่ ่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ ๓. กาหนดเนื้อเร่ือง โดยขยายเนื้อหาให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ในแต่ละช่วงชั้น แต่ละวชิ า ๔. กาหนดขอบเขตการเรยี นรู้ กาหนดกจิ กรรมการเรยี นร้รู ่วมกับผู้เรียน และจัดคาบเวลาให้เหมาะสม กบั เนื้อหา กิจกรรม และต้องมคี วามยดื หยุน่ ตามกิจกรรมการเรยี นรแู้ ละเน้อื หาโดยเฉพาะถ้าเป็นการบูรณาการ ระหวา่ งวชิ า การจัดเวลาใหเ้ หมาะสมเปน็ เรอ่ื งสาคัญมาก ๕.ดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายและให้มีการศึกษาค้นคว้าจาก แหล่งข้อมลู ตา่ งๆ ทงั้ ภายในท้องถนิ่ และชุมชนและจากแหล่งข้อมูลภายนอก ๖. ประเมินผล โดยเน้นการประเมินผลตามสภาพจริงและประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย อาจจะ ประเมนิ ในลักษณะของการใชแ้ ฟมู สะสมผลงานของนกั เรียน การสังเกตกิจกรรมการปฏิบัติจริง การสนองตอบ ตอ่ การเรยี นรขู้ องผู้เรยี นและการพฒั นาความรู้ของผู้เรยี นได้ ทิศนา แขมมณี และคณะ๔๘ ได้กล่าวถึงแนวทางนาเสนอขั้นตอนวิธีการการสอนแบบบูรณาการไว้ ดังนี้ ข้ันท่ี ๑ เลือกเรื่องท่ีจะสอนแบบบูรณาการ โดยพิจารณาความเหมาะสมกับท้องถิ่นและความเป็น ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียน ขั้นที่ ๒ กาหนดจุดประสงค์การสอน เนื้อหาสาระและความคิดรวบยอดในเรื่องน้ันตามความคิดเห็น ของผู้สอน โดยพิจารณาถงึ ความเป็นประโยชน์ตอ่ ผู้เรียนของตน และปญั หาความต้องการของทอ้ งถิน่ ขนั้ ท่ี ๓ ตรวจสอบจดุ ประสงค์ เน้ือหาสาระ และความคิดรวบยอดที่ผู้สอนกาหนดกับจุดประสงค์และ กรอบเนือ้ หาสาระทกี่ าหนดไว้ในหลักสูตร หากทีก่ าหนดไวม้ ไี ม่ครบตามท่หี ลกั สูตรกาหนดให้เพิ่มใหค้ รบ ๔๗ ชาตรเี กดิ ธรรม,เทคนิคการสอนทเี่ นนผเู รียนเปนสาคัญ, กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทยวัฒนพานชิ . ๒๕๔๕, หน้า ๓๙- ๔๐. ๔๘ ทศิ นา แขมมณี และคณะ, รปู แบบการเรยี นการสอนทางเลอื กท่หี ลากหลาย, พมิ พ์คร้ังท่ี ๓, (กรงุ เทพ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย,๒๕๔๘), หนา้ ๑๙๒-๑๙๔.

๕๗ ขั้นที่ ๔ สารวจพ้นื ฐานเดิมของผู้เรียน เพื่อจะได้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ใหม่ให้เช่ือมโยงกับความรู้ เดิม และไม่สอนซา้ ในสงิ่ ทผ่ี เู้ รยี นร้แู ล้ว ขน้ั ท่ี ๕ กาหนดแนวการสอนหรือวางยุทธศาสตร์ในการสอนท่ีจะทาให้การสอนไม่หลงทาง และบรรลุ ตามจดุ ประสงคค์ รบถว้ น ข้นั ที่ ๖ กาหนดกจิ กรรมการเรียนการสอนในรายละเอียดโดยอาศัยหลักการเรยี นรู้วธิ ีสอน และเทคนิค การสอนตา่ งๆ ขั้นที่ ๗ บูรณาการความรู้/สาระ ทักษะ เจตคติ และอื่นๆ ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรหรือโครงการ หรือ กิจกรรมต่างๆทีม่ ีสว่ นสัมพันธ์เก่ยี วข้องกันกับสาระและกิจกรรมที่กาหนดไว้ ๓.๗ ข้ันตอนในการจัดการเรยี นร้เู พอื่ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการบูรณาการ Lardizabal and others๔๙ ได้นาเสนอขนั้ ตอนในการสอนบรู ณาการ ไวด้ ังน้ี ๑. ขัน้ นา (Initiating the unit) เปน็ ขน้ั ทค่ี รูเรา้ ความสนใจหรือนาทางใหผ้ เู้ รยี นได้ตระหนักถึงปัญหาท่ี ผ้เู รยี นประสบอยู่ ครูอาจมีวธิ ีเรมิ่ หนว่ ยได้หลายวิธี เช่นการจัดสภาพห้องเรียนให้เร้าความสนใจใคร่รู้ ใช้โอกาส พเิ ศษและเหตุการณส์ าคญั เป็นการเร่ิมหน่วยการศกึ ษานอกสถานท่ปี ญั หาต่างๆในครอบครัวหรือโรงเรียน อาจ นาการเรมิ่ ตน้ หน่วย การใช้ส่อื ตา่ งๆ เช่น ภาพยนตร์ สไลด์ เทปบันทกึ เสยี ง เทปโทรทศั น์ การเลา่ เร่ืองบทความ หรือบทประพันธ์นามาใช้เร่ิมต้นหน่วยได้ หน่วยการเรียนอาจเริ่มต้นจากข้อเสนอแนะบางด้านของโรงเรียน ท้องถ่ิน ปัญหาดังกล่าวนาไปสู่การกระทา ครูอาจตั้งคาถามว่าเราจะแก้ปัญหานี้อย่างไร เราจะต้องใช้อุปกรณ์ อะไรบา้ ง และอะไรเปน็ ปัญหาย่อยทเ่ี ราต้องแก้ไขกอ่ นปัญหาใหญ่ ๒. ขนั้ ปฏิบตั ิ (Point of experience) เป็นขั้นท่ีครูเสนอแนะกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียน ได้วางแผนตั้งจุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหาตามกิจกรรมต่างๆที่ครูเสนอแนะ การทากิจกรรมอยู่ภายใต้การให้ คาแนะนาจากครูมกี ารแบ่งกลุม่ และหน้าที่กัน ในข้ันนี้ การแนะนาของครูเป็นส่ิงจาเป็น ครูจะต้องมีทักษะและ ความสามารถในการแนะนากิจกรรมตา่ งๆ ได้แก่ การค้นคว้า การเก็บรวบรวมข้อมูล การรวบรวมวัสดุอุปกรณ์ การอา่ น การทัศนศึกษา การเขยี นและการแปลความจากภาพสถิติ การสมั ภาษณ์ เป็นต้น ๓. ขั้นสรุปกิจกรรม (Culminating Activities) ข้ันน้ีครูเน้นที่บูรณาการ (Integration) หน่วย ผู้เรียน สรุปกิจกรรม โดยครูเป็นผู้ให้คาปรึกษาแนะนาในการทากิจกรรมแบบหน่วย ผู้เรียนต่างแบ่งงานกันทาดังนั้น การผสมผสานทุกด้านเข้าด้วยกันเป็น ส่ิงสาคัญยิ่ง ผู้เรียนควรได้รับคาแนะนาให้สังเกตค้นคว้าหาว่ากิจกรรม ของตนเอง สามารถตอบคาถามของกลุ่มใหญ่ได้อย่างไร และการเสนอผลงานของตนเองให้ เพื่อนๆที่ไม่ได้ทา กิจกรรมตรง ส่วนน้ันได้เข้าใจอย่างลึกซ้ึง การใช้การส่ือความหมายอย่างไรจึงจะมีประสิทธิภาพ วิธีการกลุ่ม แลกเปลี่ยนหรือการรายงานการค้นคว้าของตนเป็นโอกาสของการเรียนรู้ที่มีคุณค่า ฝึกการแสดงออกในทาง ๔๙ Lardizabal, Amparo S. and others. Methods and Principles of Teaching. Quezon City: Alemar – Phoenix .1970 P.142.

๕๘ สร้างสรรค์ (Creative Expression) การท่ีผู้เรียนโยงความสัมพันธ์ของกิจกรรมหน่วยย่อยเข้ากันเป็นงานของ กลุ่มใหญ่ ทาให้ผ้เู รียนได้รบั ความร้ดู ้านเน้อื หา ฝกึ ทักษะความสามารถในการพัฒนาเจตคติ ในการเสนอผลงาน ของผูเ้ รียนสามารถทาได้หลายวธิ ี เช่น จัดแสดงนิทรรศการ การสาธติ การทดลอง การแสดงละคร การรายงาน เปน็ ต้น อยา่ งไรก็ตามผลงานเหล่านี้ จะตอ้ งมกี ารอภปิ รายกลุม่ ตามมา ๔. ข้นั ประเมินผล (Evaluation) การประเมินผลถือเป็นกระบวนการต่อเนื่องในทุกระยะของการเรียน การสอนไม่ได้หมายถึงการวัดผลข้ันสุดท้ายเท่าน้ัน การประเมินผลอาจแบ่งออกเป็นการวัดความรู้ความเข้าใจ ด้านวิชาการ ประเมินความสามารถในการทางานร่วมกันภายในกลุ่ม และความสามารถระหว่างกลุ่ม ผู้เรียน จะต้องได้รบั การกระตุ้นให้ตระหนักว่าการประเมินผลของกลุ่ม เป็นสิ่งที่มีคุณค่ายิ่ง กว่าสิ่งที่ครูประเมินเพราะ ในขณะท่ีผู้เรียนต้องประเมินผลการทางานของตน จะช่วยให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึง จุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ซ่ึง จะเปน็ การตรวจสอบ และเป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ การดาเนนิ งานของตนและกลุ่มได้ จากขั้นตอน และวิธีการในการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการบูรณาการท้ังหมดท่ีกล่าวมาพอสรุปเป็น ขั้นตอนได้ ๔ ข้นั ตอน ดังน้ี ๑. ขั้นนา ครูเป็นผู้สร้างประเด็นหรือนานักเรียนเข้าสู่ปัญหา โดยนานักเรียนเข้าสู่สถานการณ์จริงที่ เกย่ี วขอ้ งกบั ชีวติ ประจาวันของตวั นักเรยี นเอง ๒. ข้ันปฏิบัติ นักเรียนนาผลจากการได้รับ ประสบการณ์จริง ท่ีได้จากขั้นนามาวิเคราะห์เพ่ือหาแนว ทางแกไ้ ขปญั หา หรือพัฒนางานโดยกระบวนการกลุ่ม แล้วบรู ณาการเนื้อหาวชิ าอน่ื ๆที่เกย่ี วข้องกนั ไวด้ ้วยกัน ๓. ขั้นสรุป นักเรียนแต่ละกลุ่มนาผลการวิเคราะห์ มาแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาน้ันไปสู่การปฏิบัติ จริงตามขน้ั ตอนการแก้ไข หรอื พฒั นาจนเป็นท่ียอมรับของกลมุ่ โดยมีผสู้ อนเป็นผู้แนะแนวทาง ๔. ขั้นประเมนิ ผล ทุกกล่มุ นาเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาชิ้นงานที่ได้รับการแก้ไขหรือ ปรับปรุงแล้วตอ่ ทกุ กลุม่ ร่วมกนั ผู้สอนเป็นผู้ช้ีแนะแนวทาง ที่ถูกต้อง และเช่ือมโยงการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนา งานแต่ละกลุม่ ใหเ้ กดิ การบูรณาการระหว่างกัน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยการบูรณาการ เป็นส่วนท่ีสาคัญของหลักสูตรแบบบูรณาการ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนจะต้องคานึงถึงหลักของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งมีผู้เสนอ แนวคดิ ไว้ ดงั ต่อไปน้ี อรทยั มลู คา และคณะ๕๐ได้เสนอ หลักในการจดั การเรียนการสอนในหลักสตู รบูรณาการ ได้แก่ ๑. จัดการเรียนการสอนโดยเนน้ นกั เรยี นเปน็ สาคัญ ใหผ้ ู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการ เรยี นการสอนอยา่ งกระตอื รอื ร้น ๒. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ร่วมกันทางานกลุ่มด้วยตนเอง โดยส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่ม ลักษณะ ตา่ งๆ หลากหลายในการเรียนการสอน และสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมโี อกาสได้ลงมือทา ๓. จัดประสบการณ์ตรงให้แก่ผ้เู รยี น ใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้สงิ่ ท่ีเป็นรูปธรรมเข้าใจง่ายตรง กับความ จริง สามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล ๕๐ อรทยั มูลคา และคณะ,การบูรณาการหลักสูตรการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ, (กรงุ เทพมหานคร : ภาพพมิ พ์, ๒๕๔๒), หนา้ ๑๓.

๕๙ ๔. จัดบรรยากาศในช้ันเรียนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกกล้าคิดกล้าทา ส่งเสริมให้ ผู้เรียน ได้แสดงออกซ่งึ ความร้สู ึกนกึ คดิ ของตนเองต่อสาธารณะชนหรือเพื่อนร่วมชน้ั เรียน ๕. เน้นการปลูกฝังจิตสานึก ค่านิยม และจริยธรรมที่ถูกต้องดีงาม ให้ผู้เรียนสามารถวางแผน แยกแยะความถูกต้องดีงามและความเหมาะสมได้ สามารถขจัดความขัดแย้งได้ด้วยเหตุผล มีความกล้าหาญ ทางจรยิ ธรรม และแกไ้ ขปัญหาด้วยปัญญาและสามัคคี สาลี รักสุทธิ และคณะ๕๑ ได้เสนอ หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในหลักสูตรแบบ บูรณาการ ดงั น้ี ๑. จัดกิจกรรมทใ่ี ชใ้ ห้ผู้เรยี นมีส่วนรว่ มทกุ ด้าน ไดแ้ ก่ รา่ งกาย สตปิ ญั ญา สังคม และ อารมณ์ ๒. ยึดการบูรณาการวิชาเป็นสาคัญ โดยการบูรณาการท้ังภายในวิชาเดียวกันหรือระหว่าง วิชา เชือ่ มโยงหรอื บูรณาการเข้าด้วยกันให้เป็นความรูแ้ บบองคร์ วม ๓. ยึดกลุ่มเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญ โดยให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่ม ปรึกษาหารือ และแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น ประสบการณ์ซึง่ กนั และกนั ๔. ยดึ การค้นพบดว้ ยตนเองเป็นสาคัญ ๕. เนน้ กระบวนการควบคไู่ ปกบั ผลงานโดยการส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนวเิ คราะห์ถงึ กระบวนการต่างๆ ที่ ทาใหเ้ กดิ ผลงาน โดยคานึงถงึ ประสิทธิผลของงานดว้ ย ๖. เน้นการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติจริงและ การ ตดิ ตามผลการปฏิบตั ขิ องผเู้ รียน ๗. เนน้ การเรยี นรู้อย่างมคี วามสขุ และมคี วามหมาย ๘. เน้นการเป็นคนดีและมีคุณค่า ต่อสังคม ประเทศชาติ เห็นคุณค่าของสรรพสิ่งหรือ ส่วนรวม มากกว่าสว่ นตน วลัย พาณิช๕๒ ได้เสนอแนวทางการออกแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการออกเป็น 2 ลักษณะ ๑. ลกั ษณะท่เี ป็นหวั เรือ่ ง (Theme) แบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื ๑.๑. การจัดการเรียนการสอนแบบจัดหน่วยบูรณาการ (Integrated Unit)ซ่ึงจะต้องมี เน้ือหาและ กระบวนการ วธิ ีการ และเนื้อหาวิชาทีจ่ ะบรู ณาการตงั้ แต่ 2 วชิ าขนึ้ ไป ๑.๒. การจัดการเรยี นการสอนแบบมหี วั เรือ่ ง (Theme) จะไม่มีการบูรณาการเชิง เนื้อหาวิชา เรียกว่า เป็นการบรู ณาการแบบหนว่ ยการเรียนหรอื หนว่ ยรายวชิ า ๕๑ สาลี รกั สทุ ธิ และคณะ,เทคนคิ การพฒั นาหลกั สตู รแบบบรู ณาการ,(กรุงเทพ : พฒั นศึกษานคร, ๒๕๔๔), หน้า ๑๘-๒๗. ๕๒ วลยั พานิช,การจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการสาหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา,แนวคิดและแนวปฏบิ ัติสาหรบั ครมู ัธยมเพือ่ การปฏิรูปการศกึ ษา,(กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๔๔), หนา้ ๑๖๗-๑๖๙.

๖๐ ๒. ลักษณะท่ีเป็นโครงการ เป็นการสอนตั้งแต่ 2 วิชาข้ึนไป ให้ผู้เรียนสามารถจัดในรูป ของ โครงการที่บูรณาการเช่ือมโยงเน้ือหา ความรู้จากหลายหลากวิชาในเรื่องเดียวกัน มอบหมายให้ผู้เรียนทา โครงการรว่ มกัน ครวู างแผนการสอนรว่ มกนั และกาหนดงานหรือโครงการรว่ มกัน จากท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ สรุปว่า กระบวนการจดั การเรียนการสอนในหลักสูตรบูรณาการน้ัน จะต้องมีการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นการสอนที่เป็นบูรณาการ (Integrative Teaching Styles) ซึ่งต้องมีวิธีการที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ใช้เทคนิคการเรียนการสอนที่ผสมผสานกัน ฝึกให้ ผู้เรียนค้นหาคาตอบด้วยวิธีสืบสอบ (Inquiry) หรือใช้วิธีการแก้ปัญหา (Problem Solving) เน้นการทางาน ร่วมกัน มีงานกลุ่มหรืองานเด่ียวผสมผสานกันไป เน้นการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในประสบการณ์จริง ประสบการณ์การเรียนรู้ควรอยู่ในขอบเขตสมรรถภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียน จึงต้องพิจารณาขอบเขตการ เรียงลาดับของเนื้อหาของลักษณะวิชารวมทั้งลักษณะของผู้เรียนด้วยและให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติในสถานการณ์ จรงิ ๓.๘ ประโยชนข์ องการออกแบบการสอน ๑.การออกแบบมีความสาคญั ตอ่ การดาเนนิ ชีวติ ของเรา ๑.๑ การวางแผนการการทางาน งานออกแบบจะช่วยให้การทางานเป็นไปตามขั้นตอนอย่าง เหมาะสมและประหยดั เวลา ดงั นัน้ อาจถอื ว่าการออกแบบ คือ การวาง แผนการทางานทีด่ ี ๑.๒ การนาเสนอผลงาน ผลงานออกแบบจะช่วยให้ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจตรงกันอย่าง ชัดเจน ดังนั้น ความสาคญั ในด้านน้ี คอื เปน็ ส่ือความหมายเพื่อความเขา้ ใจ ระหว่างกนั ๑.๓ สามารถอธิบายรายละเอียดเก่ียวกับงาน งานบางประเภท อาจมีรายละเอียดมากมาย ซับซ้อน ผลงานออกแบบ จะช่วยให้ผู้เก่ียวข้อง และผู้พบเห็นมีความเข้าใจที่ชัดเจนขึ้น หรืออาจกล่าวได้ว่า ผลงานออกแบบ คอื ตวั แทนความคดิ ของผูอ้ อกแบบไดท้ ง้ั หมด ๑.๔ แบบจะมีความสาคัญมาก ถ้าผู้ออกแบบกับผู้สร้างงานหรือผู้ผลิต เป็นคนละคนกัน เช่น สถาปนกิ กับชา่ งกอ่ สร้าง นักออกแบบกบั ผูผ้ ลติ ในโรงงาน หรือถ้าจะเปรียบไปแล้ว นักออกแบบก็เหมือนกับคน เขียนบทละครน่ันเอง ๒.ประโยชนท์ ไี่ ดจ้ ากการออกแบบ ๒.๑ ช่วยผอ่ นคลายความตึงเครยี ด ๒.๒ เพอื่ ประโยชน์ใชส้ อยตามสภาพ ๒.๓ เพอ่ื ยกระดบั ใหช้ ้นิ งานผลิตภณั ฑ์ที่ออกแบบมคี วามหรู และความงามเฉพาะตัว

๖๑ ๒.๔ เพ่ือให้ไดผ้ ลิตภณั ฑท์ ่ีมรี ะดบั และได้มาตรฐานเหมาะสมกับราคา ๒.๕ เพอ่ื ความสะดวกสบายในการใช้งาน๕๓ ๓.ประโยชน์ของการออกแบบการสอน ๓.๑ ชว่ ยให้จดั ทาหลกั สตู รวิชาชีพทกุ สาขาวิชางา่ ยข้ึน ๓.๒ ชว่ ยให้ครูและนักเรยี นมีปฏสิ ัมพนั ธ์ท่ดี ตี ่อกัน ๓.๓ ชว่ ยใหน้ ักเรยี นมคี วามตั้งใจ สนกุ กับเนอื้ หา เกิดประสบการณ์การเรียนรไู้ ด้งา่ ยขน้ึ ๓.๔ ช่วยให้จัดทาส่ือการเรียนการสอนได้ถูกต้องเหมาะสมตาม ความต้องการของผู้เรียน และนาไปใชไ้ ด้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๓.๕ ช่วยใหผ้ ้ทู ส่ี นใจเกดิ แรงกระตนุ้ ทจี่ ะพัฒนาและออกแบบการ๕๔ สรุปคือการออกแบบ หมายถึง การรู้จักวางแผนจัดตั้งขั้นตอน และรู้จักเลือกใช้วัสดุวิธีการเพื่อทา ตามที่ต้องการน้ัน โดยให้สอดคล้องกับลักษณะรูปแบบและคุณสมบัติของวัสดุแต่ละชนิดตามความคิด สร้างสรรค์ และการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมา หรืออาจหมายถึง การปรับปรุงแบบ ผลงานหรือสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ แลว้ ให้เหมาะสมมคี วามแปลกใหมข่ น้ึ มา๕๕ สรปุ ทา้ ยบท การออกแบบการสอน หมายถึง หลักการหรือศาสตร์ในการกาหนดรายละเอียด ของรายการต่าง ๆ อย่างเป็นระบบเพอ่ื พัฒนา ประเมนิ และทานบุ ารุง รกั ษาใหค้ งไว้ของสภาวะต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ต่อไป ระบบการสอน หรอื ระบบการเรียนการสอน เปนการนาเอาวิธีระบบมาใชในการเรียนการสอน โดยที่ระบบจะ หมายถึง สวนตาง ๆ ที่สัมพันธกัน ไดแก สวนนาเขา สวนดาเนินการและสวนผลลัพธ ระบบการสอนจึง ประกอบดวยองคประกอบยอย ๆ ที่สัมพันธกันเพ่ือชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่กาหนดไว ซง่ึ ประกอบดวยสวนตาง ๆ ไดแก ผูเรียน ผูสอน ส่ือการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลเปนตน องค ประกอบยอย ๆ ของระบบจะมีหนาท่ีอยางอิสระซึ่งมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน ถามีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกดิ ขน้ึ ภายในองคประกอบยอย ๆ ก็จะสงผลกระทบถึงระบบดวย เชน ถาผูเรียนมีความรูพื้นฐานไมเพียงพอ ก็ อาจจะสงผลกระทบตอผลลพั ธทาใหผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนไมผานเกณฑเปนตนระบบการสอนที่ออกแบบโดย ใชวิธีการระบบ ไดมีการประยุกตใชงานอยางกวางขวาง โดยการกาหนดข้ันตอนการสอนประกอบดวยการ กาหนดวตั ถปุ ระสงคเชิงพฤตกิ รรมการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูโดยอาศัยสือ่ ตาง ๆ และการใชแหลงความรู ตาง ๆ โดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลางเปนตน เพื่อตอบสนองตอความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน ไมว ๕๓ www.kkw.ac.th/kkwweb/teacherhead/thepnarin/com%201.htm สืบค้นเมอื่ ๒๗ ม.ค. ๕๘ ๕๔http://hidharma06.igetweb.com/index.php?mo=59&action=page&id=715750 สืบค้นเมอ่ื ๒๐ ธ.ค. ๕๗ ๕๕ www.slideshare.net/max2505/ss-3879932 สืบค้นเมอ่ื ๒๗ ม.ค. ๕๘

๖๒ าจะเปน เพศ วัย อัตราการเรียนรูความสนใจ ความถนัด และประสบการณเดิม รวมทั้งพื้นฐานทางประเพณี และวัฒนธรรมซึ่งผู้สอนและผูที่เก่ียวของจะมีบทบาทในการออกแบบพัฒนาระบบการสอน เพ่ือวางแผนการ บรู ณาการเก่ียวกบั องคประกอบตาง ๆ ของระบบการสอน ใหเหมาะสมกับพัฒนาการการเรียนรูของผูเรียน ให บรรลุความสาเร็จตามวัตถุประสงคท่ีกาหนดไวเนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรเกี่ยวของกับการเรียนรูของผู เรียนโดยตรง ในการที่จะทาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูขึ้น ภายใตการจัดการของคอมพิวเตอรท่ีนาเสนอเนื้อหา อยางตอเนื่องทีละขั้น ๆ ผสมผสานกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับพัฒนาการของผูเรียน การ ออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร จึงตองอาศัยการออกแบบระบบการสอนที่ใชวิธีการระบบเปนหลักในการ ออกแบบเชนเดยี วกัน กบั การออกแบบบทเรียนหรอื การออกแบบระบบการสอนทวั่ ๆ ไป อีกอย่างหน่ึง การออกแบบการสอนเป็นวิธีการระบบ เพื่อการวิเคราะห์, การออกแบบ, การพัฒนา, การดาเนินการให้เป็นผล และการประเมินผลของสารปจั จยั และกจิ กรรมการเรยี นการสอนมุ่งหมายเพ่ือวิธีการ สอนท่ียึดถือผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมากกว่าวิธีการที่ยึดถือผู้สอนเป็นศูนย์กลางจนกระทั่งการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิผลเกิดข้ึนได้นี่หมายความว่าจะต้องควบคุมกากับการองค์ประกอบการสอนทุกชนิดด้วยผลลัพธ์ ทางการเรียนซ่ึงได้รับการวินิจฉัยภายหลังการวิเคราะห์ความต้องการ(ความจาเป็น)ของผู้เรียน อย่างต่อเนื่อง สมบูรณ์เป็นกระบวนการที่มีข้ันตอนโดยใช้วิธีการระบบตามหลักการศึกษาและทฤษฎีการเรียนการสอน เพ่ือ ออกแบบบทเรยี นให้มีคณุ ภาพ แต่ละข้ันตอนจึงมีความสัมพันธ์กันท้ังวัสดุการเรียนและกิจกรรมการเรียน ใน ขนั้ ตอนสุดท้ายจะเปน็ ขน้ั ตอนของการประเมนิ ผล การออกแบบการเรียนการสอนเปน็ ส่วนหนึ่งของความรทู้ ี่เกย่ี วกับการวิจัยและทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ซึ่งมีข้ันตอนการดาเนินการอย่างเป็นระบบและถูกต้อง และการออกแบบการเรียนการสอนเป็นวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยขั้นตอนการออกแบบ การพัฒนา การทดลองใช้ การประเมินผล และการบารุงรักษา ภายใต้ สถานการณท์ ่กี าหนดไว้ ซง่ึ เป็นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่เปน็ เหตเุ ปน็ ผลซง่ึ กันและกัน

๖๓ คาถามท้ายบท ๑.จงนิยามความหมายของคาวา่ “การออกแบบ” ตามแนวนกั วชิ าการสกั ๓ ทา่ นฯ ๒.จงนิยามความหมายของคาว่า “Design และ Designer” ท้ังสองคามีความหมาย หรือต่างกันอย่างไรฯ ๓.การออกแบบการเรียนการสอน โดยธอรน์ ไดท์ เริ่มทดลองกบั อะไรและผลเปน็ อย่างไร ฯ ๔.B.F Skinner ได้สรา้ งทฤษฎชี ื่อว่าอะไร แล้วมีวธิ ีการทดลองอย่างไรฯ ๕.ทฤษฎีพุทธิปัญญา เริ่มแต่ปีค.ศ.ไหน มีแนวคิดมาจากใคร ประยุกต์การสอนทาง การศกึ ษาอย่างไรฯ ๖.พ้นื ฐานของการพัฒนาการออกแบบการสอน มีพนื้ ฐานจากอะไร และมีเท่าไรฯ ๗.หลักการและขน้ั ตอนการออกแบบการสอนตามแนวคิดของ ADDIE มอี ยา่ งไรฯ ๘.จงอธิบายแนวคิดของคอนสตัคติวสิ ต์ มีเทา่ ไร อะไรบ้างฯ ๙.จงอธิบายแนวคดิ ของโรเบิร์ต กาเย่ มกี ่ขี ้ันตอน อะไรบา้ ง ฯ ๑๐.ในการจัดการเรยี นรเู้ พ่ือใหผ้ ้เู รยี นเกิดการบูรณาการ Lardizabal ไดน้ าเสนอ ขั้นตอนเทา่ ไร อะไรบา้ งฯ

๖๔ เอกสารอ้างองิ ประจาบท ทิศนา แขมมณี และคณะ, รปู แบบการเรียนการสอนทางเลือกท่หี ลากหลาย,พิมพ์ครั้งที่ ๓,กรุงเทพ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๔๘. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมจติ จันทร์ฉาย, การออกแบบและพัฒนาการเรยี นการสอน, พิมพ์ครั้งที่ ๑, บรษิ ัท เพชรเกษมพร้ินติ้ง กรุป๊ จากดั ,๒๕๕๗. พระมหาประเสรฐิ สุเมโธ, การสอนแบบโยนิโสมนสกิ าร, พมิ พค์ รั้งท่ี ๒, บรุ รี มั ย์ : วทิ ยาลัยสงฆ์ บุรีรมั ย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๔. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, กรุงเทพฯ: บริษัทนานมี บคุ๊ ส์พับลเิ คชน่ั ส์ จากัด, ๒๕๔๒. วลัย พานิช, การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสาหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา แนวคิดและแนว ปฏิบัติสาหรับครูมัธยมเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ,๒๕๔๔. สาลี รักสุทธิ และคณะ, เทคนิคการพัฒนาหลักสูตรแบบบูรณาการ, กรุงเทพ : พัฒนศึกษานคร ๒๕๔๔. อรทัย มูลคา และคณะ,การบูรณาการหลักสูตรการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ, กรุงเทพมหานคร : ภาพพมิ พ์ ๒๕๔๒. เอกสารประกอบการสอน ๔๗๕ ๗๗๘ การสอนทางกายภาพบาบัด ภาคต้นปีการศึกษา ๒๕๕๔ โดย รศ.สมชาย รัตนทองคา Lardizabal, Amparo S. and others, Methods and Principles of Teaching. Quezon City: Alemar – Phoenix .1970. Richey, R. C., Klein, J. D., & Tracey, M. W. The instructional design knowledge base, New York: Taylor & Francis, 2011.

๖๕ บทที่ ๔ กระบวนการจดั การสอน วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ประจาบท เมอื่ ไดศ้ ึกษาเนอ้ื หาในบทนแี้ ล้ว ผู้เรยี นสามารถ ๑.สามารถอธบิ ายความหมายของกระบวนการเรียนรู้ได้ ๒.สามารถอธบิ ายเปาู หมายของกระบวนการเรียนรู้ได้ ๓.สามารถบอกลักษณะของกระบวนการเรยี นรูท้ ่ีมีคุณภาพได้ ๔.อธบิ ายแนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ด้ ๕.อธิบายหลกั การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู ขอบขา่ ยเน้ือหา  ความหมายของกระบวนการเรียนรู้  เปูาหมายของกระบวนการเรียนรู้  ลักษณะของกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีมคี ุณภาพ  แนวทางการวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้  หลกั การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู

๖๖ ๔.๑ ความนา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ได้กาหนดความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษาไว้ ในมาตรา ๖ ว่า การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ท้ังร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ความสุข หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ ซ่งึ เป็นหลกั สูตรแกนกลางของประเทศ ประกาศใช้ โดยอาศยั มาตรา ๒๗ แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ก็ได้กาหนดจุดหมายของหลักสูตรว่า มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มีศักยภาพใน การศึกษาต่อและประกอบอาชีพโดยมีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นข้อกาหนดคุณภาพของผู้เรียน ท้ังด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม อีกท้ังกาหนดสาระการเรียนรู้ท่ีเป็นองค์ความรู้ ครอบคลุม การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานตลอดทั้งหลักสตู ร ๑๒ ปี หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จะเป็นหลักสูตรท่ีมีส่วนสาคัญอย่างย่ิงในการ ผลักดันให้เกิดการเปล่ียนแปลงใหม่ๆ ในเร่ืองวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ของคนไทย กล่าวคือในหลักสูตร ประถมศึกษา พ.ศ.๒๕๐๓ หลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ.๒๕๒๑ และหลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ.๒๕๒๑ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๓๓) บทบาทของครูจะเน้นหนักในเร่ืองของการเป็น \"ผู้สอน\" มากเป็นพิเศษ ซึ่งจะสังเกตได้ จากการจดั ประสบการณใ์ หเ้ ด็กเกดิ การเรียนรู้นัน้ ครจู ะตอ้ งทา \"บนั ทึกการสอน\" และ \"แผนการสอน\" ซ่ึงบ่งชัด ถึงบทบาทของครูว่ามีหน้าที่ในการ \"สอน\" เป็นหลัก แต่ในหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ดงั กลา่ ว คาว่า \"บันทึกการสอน\" หรือ \"แผนการสอน\" จะหายไป กลายมาเป็น \"แผนการจัดการเรียนรู้\" เข้ามา แทนที่ คาว่า \"แผนการจัดการเรียนรู้\" มีความหมายที่สะท้อนให้เห็นถึงการปฏิรูปการเรียนรู้ใหม่ว่า นับแต่น้ี ต่อไป ครูมิได้ทาหน้าท่ีสอนแต่เพียงอย่างเดียวอีกต่อไปแล้ว หากแต่ครูมีบทบาทใหม่ในเรื่องของ \"การจัด กระบวนการเรียนรู้\" ให้เกิดข้ึนร่วมกับผู้เรียนของตน โดยเปล่ียนบทบาทจากผู้สอนมาเป็นผู้อานวยการให้เกิด การเรยี นรูซ้ ่ึงมีมิตทิ กี่ วา้ งใหญ่ไพศาลและมีความสาคัญยิ่งต่อวิถีการเรยี นรูใ้ หม่ของสงั คมไทย ๔.๒ ความหมายของกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ (learning process) เกิดจากคาหลัก ๒ คา ได้แก่ ๑) กระบวนการ และ ๒) การ เรียนรู้ ๑.กระบวนการ หมายถึง ลาดับการของการกระทา ซง่ึ ดาเนนิ ตอ่ เนอ่ื งกนั จนสาเร็จลง๕๖ ๒.การเรยี นรู้ หมายถงึ การเปล่ยี นพฤติกรรมหรอื ศกั ยภาพของพฤติกรรมท่ีคอ่ นข้าง ถาวร ซง่ึ การ เปลี่ยนนม้ี สี าเหตุมาจากการไดร้ ับประสบการณ์ ๕๖ พจนานุกรรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕, กระบวนการเรยี นรู้, หน้า ๓๔.

๖๗ ทศิ นา แขมมณี๕๗ ไดกลาววา กระบวนการเรยี นรู หมายถึง การดาเนนิ การอยางเปนขัน้ ตอน หรือการ ใชวิธกี ารตางๆ ท่ีชวยใหบคุ คลเกิดการเรียนรู สมุ ิตร คณุ านกุ ร๕๘ ไดกลาววา การจัดการเรยี นรู หมายถงึ กระบวนการจัดประสบการณใหกับผู เรยี นเพอ่ื ใหผูเรียนเกดิ การเรียนรูตามความมุงหมายของหลักสตู รทีไ่ ดกาหนด ไวดวยวิธีการตางๆ สพุ ศิ บญุ ชวุ งศ๕๙ ไดกลาววา การจดั การเรียนรู หมายถงึ กระบวนการนาหลักสูตร ไปสูการสอน ซ่ึงมี ระบบกระบวนการเรียนการสอน กิจกรรมและมกี ารกาหนดแผนงานสงเสรมิ การเรียนการสอนโดยผูสอนและผู เรยี น สุมาลี จันทรชลอ๖๐ กลาวถึงการจัดการเรียนรูไววา การจัดการเรียนรู Learning) เปนการ ดาเนนิ การหรอื การจัดประสบการณ โดยใชกจิ กรรมในรูปแบบตางๆ เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรยี นรูและบรรลุตาม วัตถุ ประสงคที่กาหนด การเรียนการสอนจะมีประสิทธิภาพผูสอนจะตองจัดทาแผนการสอนเปนอยางดี และดาเนินการสอนตามแผนการสอนที่เตรียมไว วลั ลภา เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา๖๑ ไดกลาววา การจัดการเรียนรู หมายถึง กระบวนการ ดาเนินงานดาน การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษาเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรยี นรูตามเปาหมายทีก่ าหนดซ่ึงองคประกอบการเรียน การสอนจะประกอบไปดวย หลักสูตร วิธีการเรียนการสอนและการประเมิน สุวิทย มูลคา และอรทัย มูลคา๖๒ กลาววา กระบวนการเรียนรู หมายถึง การที่ สถานศึกษาจัดมวล ประสบการณใหกับผูเรยี น เพื่อใหผูเรยี นไดรบั ความรูและประสบการณตางๆ ตามความคาดหวัง ดังน้นั เม่อื รวมคาวา่ กระบวนการ และการเรียนรู้เขา้ ด้วยกัน กระบวนการเรยี นรจู้ ะ หมายถึง \"ลาดบั ขัน้ ตอนท่ีทาใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้\" กระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) หมายถงึ การดาเนนิ การอยา่ งเป็นขั้นตอน หรอื การใช้ วธิ ีการต่างๆ ที่จะชว่ ยใหบ้ ุคคลเกดิ การเรียนรู้ การเรียนรเู้ ป็นกระบวนการท่ีทาใหพ้ ฤตกิ รรมเปล่ยี นแปลงไปจากเดิม อนั เปน็ ผลจาก การฝึกและ ประสบการณ์ แต่มใิ ช่ผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติ เชน่ สัญชาตญาณหรอื วฒุ ิ ภาวะ หรือจากการ เปลย่ี นแปลงช่วั คราวของร่างกาย๖๓ บลูม๖๔ กล่าวถึง การเกิดการเรียนร้ใู นแต่ละคร้ังจะต้องมีการเปล่ียนแปลง เกดิ ขึ้น ๓ ประการ จงึ จะ เรยี กว่าเปน็ การเรยี นรทู้ สี่ มบรู ณ์ คอื ๕๗ ทศิ นา แขมมณ,ี ศาสตรการสอน องคความรเู พอ่ื การจัดกระบวนการเรยี นรูที่มีประสทิ ธภิ าพ,(กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๕), หนา ๒. ๕๘ สมุ ติ ร คณุ านกุ ร, หลักสตู รและการสอน, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พชวนพมิ พ, ๒๕๒๘), หนา ๑๔๖. ๕๙ สุพศิ บญุ ชวู งศ, หลกั การสอน, (กรงุ เทพมหานคร: ภาควชิ าหลักสตู รและการสอน คณะวิชาครศุ าสตร สถาบัน ราชภัฏเพชรบรุ ีวทิ ยาลงกรณ ในพระบรมราชปุ ถมั ภ, ๒๕๓๖), หนา ๖. ๖๐ สมุ าลี จันทรชลอ, การวัดผลและประเมนิ ผล, (กรงุ เทพมหานคร: ศนู ยส่อื เสริมกรุงเทพ, ๒๕๔๒), หนา ๑๑. ๖๑ วัลลภา เทพหสั ดนิ ณ อยุธยา, การพฒั นาการเรียนการสอนทางอุดมศึกษา, (กรงุ เทพมหานคร: ภาควชิ า อุดมศกึ ษา จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั , ๒๕๔๓), หนา ๑๐. ๖๒ สุวทิ ย มลู คา และอรทยั มลู คา, ๒๐ วธิ ีจัดการเรยี นร,ู (กรงุ เทพมหานคร : ภาพพิมพ, ๒๕๔๕), หนา ๑๔-๑๕. ๖๓ Hilgard and Bower 1975 ๖๔ Bloom 1976 Bloom, B. S. (1976). Human characteristics and school learning. New York: McGraw- Hill

๖๘ ก. การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นความรู้ ความคิด ความเข้าใจ (Cognitive Domain) หมายถึง การ เปลย่ี นแปลงที่เกดิ ขึน้ ในสมอง เช่น ความคิดรวบยอด ข. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์หรือความรสู้ กึ (Affective Domain) หมายถึง การ เปล่ยี นแปลง ทางดา้ นจิตใจ เช่น ความเช่ือเจตคติ คา่ นิยม ค. การเปลยี่ นทางการเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย เพื่อใหเ้ กิดทักษะ และความชานาญ เชน่ (Psychomotor Domain) การวา่ ยน้า เล่นกฬี า กระบวนการเรียนรู้ต่างกับกระบวนการสอน (Instructional Process) กล่าวคือ กระบวนการเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่แต่ละบุคคลใช้เพ่ือช่วยให้ตนเองเกิดการเรียนรู้ โดยผลท่ีเกิดจากกระบวนการเรียนรู้จะตก แก่ผู้เรียน และโดยผู้เรียนเท่าน้ันแต่กระบวนการสอนเป็นกระบวนการที่บุคคลช่วยให้ผู้อ่ืนเกิดการเรียนรู้ โดย ผ้สู อนมีหน้าทีส่ รา้ งส่ิงแวดล้อม เพื่อเร่งเรา้ ชี้แนะ และคอยชว่ ยเหลอื เกือ้ กูลให้ผ้เู รยี นเกดิ การเรยี นรู้ ๔.๓ องคป์ ระกอบของกระบวนการเรยี นรู้ เนื่องจากกระบวนการเรียนรู้เป็นวิธีการดังนั้น กระบวนการเรียนรู้จึงเกิดขึ้นลอยๆ ไม่ได้จาเป็นต้องมี สาระที่เรียนรู้ควบคู่ไปด้วยกันเสมอเปรียบเสมือนฝาแฝดท่ีต้องอยู่ติดกันตลอดเวลาตัวอย่างเช่น ผู้เรียนอาจใช้ วธิ กี ารเรียนรู้โดยการถาม การอา่ น หรือการคดิ แตผ่ ู้เรียนไม่สามารถ ถาม อ่าน หรือคิดลอยๆ ได้ จาเป็นต้องมี เร่อื งทถ่ี าม เร่อื งทอี่ า่ น หรือเร่ืองที่คิดดว้ ย ดังน้ันกระบวนการเรียนรู้ หรือวิธีการเรียนรู้ กับสาระการเรียนรู้ จึง ต้องอยู่ควบคู่ไปดว้ ยกันเสมอ เมื่อผู้เรียนใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นวิธีการเรียนรู้ในการเรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆ แล้ว ผลท่ีเกิดข้ึน ตามมาก็คือ ผู้เรียนเกิดความเข้าใจหรือไม่เข้าใจสิ่งท่ีเรียน นอกจากน้ัน ส่ิงท่ีมักเกิดข้ึนควบคู่ไปด้วยกันเสมอ โดยผู้เรียนอาจไม่ร้ตู วั ก็คือกระบวนการในการเรียนรูน้ ัน่ เอง เช่น ผู้เรียนอาจพบว่าถ้าเขากล้าถามและใช้คาถาม ทเ่ี หมาะสม เขากจ็ ะไดค้ าตอบทีต่ ้องการเปน็ ตน้ \"หลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ จะเปน็ หลกั สตู รทม่ี สี ่วนสาคัญอย่างย่ิง ในการผลักดันใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงใหมๆ่ ในเรื่องวัฒนธรรมการเรยี นรู้ใหมข่ องคนไทย\" ดังนัน้ เม่อื พูดถงึ ผลการเรยี นรู้ จึงมีองคป์ ระกอบสาคญั ท่มี าเกีย่ วข้อง ๒ ส่วน คอื ๑. ส่วนท่ีเป็นสาระการเรียนรู้ คือ ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคติเกี่ยวกับสาระ เรยี นรู้ ๒. ส่วนที่เป็นกระบวนการการเรียนรู้ หรือวิธีการเรียนรู้ อันเป็นเครื่องมือสาคัญในการ เรยี นรู้คร้ังต่อไป จากประเดน็ ท่ีกลา่ วมาแลว้ ข้างตน้ พอสรุปไดด้ ังแสดงในแผนภาพขา้ งลา่ ง

๖๙ หากพิจารณาถงึ องค์ประกอบของกระบวนการเรียนรูจ้ ากตัวอย่างดงั กลา่ วแล้วจะมี ๓ องคป์ ระกอบ ดงั นี้ ๑) ข้ันตอนของกิจกรรม (syntax) ในกระบวนการเรียนรู้ ผู้เรียนจะมีข้ันตอนท่ีทาให้ เกิดการเรียนรู้ เช่น จากตัวอย่างการเรียนรู้ \"การเรียกคาว่าแม่\" จะมี ๕ ข้ันตอน และเราจะพบ เสมอว่าการเรียนรู้ในแต่ละ ประเภทจะกาหนดข้ันตอนของการเรียนรู้ไว้ด้วย เช่น กระบวนการ เรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์มีข้ันตอน เร่ิมจาก การกาหนดปัญหา การตั้งสมมุติฐาน การรวบรวม ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลจากข้อมูล หรือ ในทางศาสนาพุทธได้กาหนดข้ันตอน แก้ปัญหา (การดับทุกข์) ไว้ ๔ ข้ันตอน ได้แก่ ข้ันกาหนดทุกข์ ข้ันการ แสวงหาสมทุ ัย ข้ันกาหนดนโิ รธ และข้ันแสวงหามรรค เป็นต้น ๒) การกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างผเู้ รยี นกับผ้สู อน (social system) หรอื การ กาหนดบทบาทใน แตล่ ะขัน้ ตอนวา่ ผู้เรยี นต้องทาอะไร ผสู้ อนต้องทาอะไร ดังเช่น การเรียนรกู้ าร เรยี กคาว่าแมน่ ัน้ บทบาทของ แมค่ ือเป็นตัวแบบด้วยการพูดเปน็ แบบอย่าง แลว้ ใหล้ ูกพดู ตาม และเม่ือลกู พดู ได้ถูกต้อง แม่มบี ทบาทในการให้ การเสรมิ แรง เปน็ ต้น ดงั น้ัน ในกระบวนการ เรยี นรู้ จงึ ตอ้ งกาหนดบทบาทของผู้เรยี นและผสู้ อนในทุกขั้นตอน ของกิจกรรม ๓) สิง่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ (supporting system) ในการจดั กจิ กรรมแต่ละข้ันตอนอาจ จาต้องใช้ส่ือ หรอื จัดสภาพแวดล้อมเฉพาะอย่างใดอยา่ งหน่งึ เพอื่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้ง่ายและ รวดเร็ว เช่น มีสื่อท่ีเปล่ียนจาก สภาพนามธรรมให้เป็นรูปธรรม สิ่งสนับสนุนนั้นอาจเป็นตัวบุคคล เป็นสื่อทางกายภาพ หรือส่ือทางจิตภาพ เป็นต้น ๔.๓.๑ ประเภทของการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ การจาแนกประเภทของกระบวนการเรยี นรูว้ ่าเป็นประเภทใดบ้าง ขนึ้ อยู่กับเกณฑ์ทีใ่ ช้ จาแนก เช่น อาจจาแนกเปน็ เรยี นรูเ้ กีย่ วกับพุทธพิ สิ ัย เจตพิสยั หรือทักษะพสิ ัย หรือจาแนกเป็น การเรียนร้วู ิชาภาษาไทย การเรียนรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์ การเรยี นรู้วชิ าสังคมศึกษา หรอื จาแนก เปน็ การเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย การเรยี นรู้ ของเด็กประถมศกึ ษา การเรยี นรขู้ องเด็กมธั ยมศึกษา กานเย๖๕ ไดเ้ สนอว่า การเรยี นรขู้ ้ันสงู สดุ ของมนุษย์ ได้แก่ \"การเรยี นรู้การแกป้ ญั หา\" และไดจ้ าแนกประเภทของการเรียนร้ตู ามกระบวนการเรียนเปน็ ๘ ประเภท ดงั ต่อไปน้ี ๑. การเรยี นรูส้ ญั ญาณ ๒. การเรียนรู้การเช่ือมโยงสิง่ เรา้ กับการตอบสนอง ๖๕ Gagné, Briggs, & Wager, 1992, pp. 43-48) Principles of instructional design (4thed.). New York: Holt, Rinehart and Winston.

๗๐ ๓. การเรยี นรแู้ บบลกู โซ่ ๔. การเรยี นรเู้ ช่ือมโยงถอ้ ยคา ๕. การเรยี นรูแ้ ยกแยะสิง่ เร้า ๖. การเรียนรูม้ โนมติ ๗. การเรียนรู้หลกั การ ๘. การเรียนรูก้ ารแก้ปญั หา ๔.๔ เปา้ หมายของกระบวนการเรยี นรู้ พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ได้กาหนดเปูาหมายในการจัดกระบวนการเรียนรู้ไว้ใน มาตรา ๗ ดังน้ี มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ เ์ ป็นประมขุ ร้จู กั รกั ษาและส่งเสริมสิทธิหน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพ กฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษา ผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมท้ังส่งเสริม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิ ปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ใฝุรู้ และเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนอื่ ง ๔.๔.๑ ลักษณะของกระบวนการเรยี นรู้ท่ีมคี ณุ ภาพ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ได้กาหนดแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี คุณภาพไว้ในมาตรา ๒๔ ดังน้ี มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ใหส้ ถานศกึ ษาและหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งดาเนินการดังต่อไปน้ี ๑. จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล หากสถานศกึ ษาใหค้ วามสาคญั แกผ่ ูเ้ รียนเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล เข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ และจติ วทิ ยาพัฒนาการ ก็จะสามารถจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนได้ โดย พิจารณาความเหมาะสมเปน็ รายวชิ า รายกจิ กรรม ว่าวิชาใด เรื่องใด กิจกรรมใด สามารถจะมอบหมายงานแก่ ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คลหรือรายกลุม่ ตามความสนใจหรือความถนดั การทาเช่นนจี้ ะทาใหผ้ ูเ้ รยี นประสบผล สาเร็จ ในการทากจิ กรรม มีกาลงั ใจ และม่ันใจทจ่ี ะเรียนรตู้ ่อไป \"หากสถานศกึ ษาให้ความสาคัญแก่ผู้เรยี น เขา้ ใจความแตกต่างระหว่างบุคคล เข้าใจจติ วทิ ยาการเรียนรูแ้ ละจติ วทิ ยาพฒั นาการ กจ็ ะสามารถจดั กจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกบั ความสนใจ

๗๑ และความถนดั ของผูเ้ รียนได้\" ๒. ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ มาใช้เพื่อ ปอู งกนั และแกไ้ ขปญั หา ความในข้อนเี้ นน้ การฝกึ ทกั ษะ ซง่ึ ประกอบด้วยการฝกึ หดั และฝกึ ฝน ทักษะทตี่ อ้ งฝกึ ได้แก่  กระบวนการคิด เช่น ฝึกคิดอย่างเสรี คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดหาความสัมพันธ์ เชือ่ มโยง คดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ คิดสรา้ งทางเลอื ก คดิ ตัดสนิ ใจ และคิดแก้ปัญหาได้  การจัดการ เชน่ การวางแผนการทาโครงงาน การบันทึกผล การประมวลผล การประเมินผล การประสานและร่วมมอื ปฏบิ ัตกิ าร การสรุปผล การรายงานผล การปรับปรุงแก้ไข  การเผชิญสถานการณ์ เช่น การรับรู้สถานการณ์ การวิเคราะห์สถานการณ์ การควบคุม อารมณ์ของตนเอง การควบคุมสถานการณ์ โดยใช้ข้อมูล เหตุผล และความรู้มาประกอบการ คดิ และตดั สนิ ใจเผชญิ และแก้ไขสถานการณ์ได้อยา่ งร้เู ท่าทนั  การประยุกต์ความรู้ เช่น การนาความรู้ไปจัดทาเป็นแผนผังความคิด ทาเป็นโครงงาน นาไป จดั นิทรรศการหรอื นาไปใช้แกป้ ญั หาในชีวติ ประจาวนั ๓. จดั กจิ กรรมให้ผ้เู รียนไดเ้ รียนรจู้ ากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการ อ่าน และเกดิ การใฝุรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง ความในข้อนีเ้ น้นการเรียนรดู้ ้วยการปฏิบัตจิ รงิ ซงึ่ เชื่อมโยงและสืบต่อเน่ืองจากการฝึกทักษะในหัวข้อที่ ผ่านมา การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริงมีหลายวิธี เช่น การอ่าน การพูด การร้องเพลง การเขียน การวาดภาพ การค้นคว้าเอกสาร การศึกษานอกสถานท่ี การสัมภาษณ์ การสังเกตและการบันทึก การสังเกตและการ วเิ คราะห์ การทดลอง การสาธิต การแสดงบทบาทสมมุติ การแสดงละคร การจัดนิทรรศการ การทาโครงงาน การทาแฟูมสะสมงาน การปฏิบัติงาน ฯลฯ และการปฏิบัติกิจกรรมใดๆ ก็ตาม ต้องเน้นการคิดเป็น ทาได้ ทา เป็น และสามารถแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนได้ รักการอ่านและใฝุรู้ใฝุเรียนอย่างต่อเน่ือง ไม่เฉพาะในขณะที่เรียน เพือ่ ใหส้ อบไดห้ รอื สอบผา่ นเท่านั้น ๔. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วน สมดุลกัน รวมทั้ง ปลกู ฝังคุณธรรม ค่านยิ มทีด่ ีงามและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ความหมายในข้อน้ีคือการบูรณาการจุดมุ่งหมายและเน้ือหาตามความเหมาะสม หมายความว่าในแต่ ละกิจกรรมหรือแต่ละคาบเวลา ต้องมีเน้ือหาวิชาและจุดมุ่งหมายหลัก และมีการผสมผสานวิชาอ่ืนเป็น องค์ประกอบ โดยเฉพาะด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมสามารถนามาบรูณาการเข้าไปในเนื้อหาและ กิจกรรมวิชาอ่ืนๆ ได้ โดยถือหลักว่าคุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์สามารถจะปลูกฝังและ สอดแทรกในกระบวนการเรยี นการสอนไดท้ ุกวชิ า ๕. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียนและอานวยความ สะดวก เพ่อื ให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรูแ้ ละมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ เรียนรูท้ ัง้ น้ี ผูส้ อนและผ้เู รยี นอาจเรยี นรไู้ ปพร้อมกนั จากส่ือการเรียนการสอนและแหล่งวทิ ยาการประเภทต่างๆ ความในข้อน้ี หมายถึงสถานศึกษาและครูต้องจัดสิ่งแวดล้อม ปัจจัย และบรรยากาศให้เอ้ือต่อการ เรียนรู้ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เช่น มีความสงบ สะอาด ร่มรื่น ร่มเย็น มีที่กันแดดกันฝน มีน้าดื่ม มี ห้องน้าหอ้ งสว้ มเพยี งพอและสะอาด มหี นงั สือ วารสาร สื่อ อุปกรณ์ วัสดุฝึกงาน มีบรรยากาศของกัลยาณมิตร และอีกประเด็นหนึ่ง คือ การแสวงหาความรู้ในลักษณะของการวิจัยโดยเฉพาะการวิจัยในชั้นเรียนหรือการ ค้นหาความรอู้ ยา่ งเป็นระบบ ทง้ั ผู้สอนและผ้เู รียน โดยกระทาไปในงานปกติ

๗๒ ๖. จัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลาทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝุายเพือ่ ร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ ความในข้อน้ี หมายถึงผู้จัดการเรียนรู้ไม่ใช่ครูฝุายเดียว แต่ต้องอาศัยความร่วมมือจากบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝุาย ท่ีจะร่วมมือกันพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพในทุกเวลาและทุก สถานท่ี ๔.๔.๒ แนวคิดจากพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แนวคิดการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ถอื ว่าเป็นความพยายามที่จะทาการปฏิรูปการศึกษาคร้ังสาคัญ ซ่ึงดาเนินการจัดทาข้ึนด้วยความร่วมมือ จากหลายฝุาย ไม่ว่าจะเป็นฝุายการเมือง ฝุายข้าราชการ ครู อาจารย์ บุคคลท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชน องค์กร และสถาบนั ต่างๆ มกี ารศกึ ษาปัญหา ประมวลองค์ความรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ มีการ ระดมผู้รู้ นกั ปราชญม์ าช่วยกันคดิ ชว่ ยกันสร้างเปาู หมายของการศกึ ษาไทย พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นกฎหมายที่กาหนดขึ้นเพื่อแก้ไขหรือแก้ปัญหาทาง การศึกษา และถอื ได้วา่ เปน็ เคร่อื งมือสาคัญในการปฏิรปู การศึกษา อาจสรปุ หลกั การสาคัญได้ ๗ ดา้ น ดงั น้ี ๑. ด้านความเสมอภาคของโอกาสทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปรากฏตามนัย มาตรา ๑๐ วรรค ๑ คือ การจัดการศึกษาตอ้ งจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย มาตรา ๘ (๑) การจัดการศึกษาให้ยึดหลักว่าเป็น การศึกษาตลอดชีวติ สาหรบั ประชาชน ๒. ด้านมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ปรากฏตาม มาตรา ๙ (๓) กาหนดมาตรฐานการศึกษาและ จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา และ มาตรา ๔๗ ให้มีระบบประกัน คุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบประกันคุณภาพ ภายในและระบบประกนั คุณภาพภายนอก ๓. ด้านระบบบริหารและการสนับสนุนทางการศึกษา ปรากฏตาม มาตรา ๙ (๒) การจัดระบบ โครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังน้ี (๑) มีเอกภาพด้านนโยบายและหลากหลายในการ ปฏบิ ัติ (๒) มีการกระจายอานาจไปสเู่ ขตพ้นื ที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (๓) ระดม ทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้จัดการศึกษา (๔) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน สงั คมอ่นื ๆ มาตรา ๔๓ การบรหิ ารและการจดั การศึกษาของเอกชน ให้มีความเป็นอิสระ โดยมีการกากับ ติดตาม การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาเชน่ เดยี วกับการศึกษาของรฐั ๔. ด้านครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ปรากฏตาม มาตรา ๙ (๔) มีหลักการส่งเสริม มาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาอย่างต่อเนอื่ ง มาตรา ๕๒ ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาให้มีคุณภาพ และมาตรฐานท่ีเหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพช้ันสูง โดยการกากับและประสานให้ สถาบันที่ทาหน้าท่ีผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมและมีความ

๗๓ เข้มแข็งในการเตรียมบุคลากรใหม่และการพัฒนาบุคลากรประจาการอย่างต่อเนื่อง รัฐพึงจัดสรรงบประมาณ และจดั ต้งั กองทนุ พฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาอย่างเพยี งพอ ๕. ด้านหลักสูตร ปรากฏตาม มาตรา ๘ (๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกาหนดหลักสูตรภาคบังคับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือความเปน็ ไทย ความเปน็ พลเมืองท่ีดีของชาติ การดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพ่ือการศึกษา ต่อ ให้สถานศึกษาข้ันพื้นฐานมีหน้าท่ีจัดทาสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรคหน่ึง ในส่วนท่ีเก่ียวกับ สภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพ่ือเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ มาตรา ๒๘ หลกั สูตรสถานศึกษาต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับบุคคลพิการ ต้องมีลักษณะ หลากหลาย ทั้งน้ีให้จัดตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสม แก่วัยและศักยภาพ สาระของหลักสูตรท้ังที่เป็นวิชาการและวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดีงาม และความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม สาหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา นอกจากคุณลักษณะในวรรคหนึ่งและวรรคสองแล้ว ยังมี ความมุ่งหมายเฉพาะที่จะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูง และด้านการค้นคว้า วิจัย เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และ พฒั นาทางสงั คม มาตรา ๒๔ (๑) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด โดยคานึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล ๖. ด้านกระบวนการเรียนรู้ ปรากฏตาม มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้อง ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องดาเนินการ ดงั นี้ (๑) จดั เน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ ความรู้มาใช้เพ่ือปูองกันและแก้ไขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการ ปฏิบัติให้คิดได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝุรู้อย่างต่อเนื่อง (๔) จัดการเรียนการสอนโดย ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงามและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมส่ือ การเรียน และอานวยความสะดวกเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วน หนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้ครูและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกัน จากสื่อการเรียนการสอนและ แหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือ กับบดิ า มารดา ผ้ปู กครอง และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝุาย เพ่ือร่วมกนั พัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ มาตรา ๒๕ รัฐต้องเร่งส่งเสริมการดาเนินงาน และการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภณั ฑ์ หอศิลป์ สวนสตั ว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้อื่น อย่างพอเพียงและมี ประสทิ ธิภาพ

๗๔ มาตรา ๒๖ ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความ ประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการ สอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดบั และรูปแบบการศึกษา มาตรา ๘ (๑) และ (๓) การจัดการศึกษายึดหลักดังนี้ (๑) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับ ประชาชน (๓) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรยี นรใู้ ห้เป็นไปอย่างตอ่ เนื่อง ๗. ดา้ นทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา ปรากฏตาม มาตรา ๙ (๕) การจัดระบบ โครงสร้างและ กระบวนการจดั การศึกษา ให้ยึดหลกั ดงั นี้ (๕) ระดมทรพั ยากรจากแหลง่ ต่างๆ มาใช้ในการจดั การศกึ ษา มาตรา ๕๘ ให้มีการระดมทรัพยากรการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ท้ังจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร วิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบนั สงั คมอน่ื และต่างประเทศ มาใชใ้ นการจัดการศึกษา มาตรา ๖๐ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษา ในฐานะที่มีความสาคัญสูงสุดต่อความ มัน่ คงย่งั ยืนของประเทศ โดยจดั สรรเปน็ เงนิ งบประมาณเพอื่ การศกึ ษา จากหลักการสาคญั ดงั กลา่ วข้างตน้ มีสว่ นเกยี่ วข้องกบั การจดั การเรยี นรทู้ เี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั คือ ๑. ด้านหลักสูตร กล่าวถึงการปฏิรูปหลักสูตรให้ต่อเน่ือง เชื่อมโยง มีความสมดุลในเนื้อหาสาระ ทั้งที่ เป็นวิชาการ วิชาชีพ และวิชาว่าด้วยความเป็นมนุษย์ และให้มีการบูรณาการเนื้อหาหลากหลายที่มีประโยชน์ ต่อการดารงชวี ติ ไดแ้ ก่ ๑.๑ เนอ้ื หาเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธร์ ะหวา่ งตนเองกับสังคม ๑.๒ เน้อื หาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี การบารุงรักษา ใชป้ ระโยชนจ์ ากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๑.๓ เนอ้ื หาเกี่ยวกับศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาไทย ๑.๔ เนือ้ หาความรแู้ ละทกั ษะดา้ นคณิตศาสตรแ์ ละภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอยา่ งถกู ต้อง ๑.๕ เนื้อหาความรแู้ ละทกั ษะในการประกอบอาชพี และการดารงชวี ิตอย่างมีความสขุ ๒. ด้านกระบวนการเรียนรู้ กล่าวถึง กระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ โดยถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ดังข้อมูลท่ีระบุไว้เป็น หัวใจของการปฏิรูปการศึกษาท่ีสานักนโยบายและแผนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สานั กงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(๒๕๔๓) ได้สรุปถึงลักษณะกระบวนการจัดการเรียนรู้ในสาระของพระราชบัญญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ ไวด้ ังน้ี ๒.๑ มกี ารจัดเนอ้ื หาทีส่ อดคลอ้ งกบั ความสนใจ ความถนัดของผเู้ รยี น ๒.๒ ให้มีการเรียนรู้จากประสบการณ์และฝึกนิสยั รักการอา่ น ๒.๓ จดั ให้มกี ารฝกึ ทกั ษะกระบวนการและการจดั การ ๒.๔ มีการผสมผสานเน้ือหาสาระดา้ นตา่ งๆ อย่างสมดลุ ปลูกฝังคณุ ธรรม ๒.๕ จัดการส่งเสริมบรรยากาศการเรยี นเพ่ือให้เกิดการเรยี นรแู้ ละรอบรู้ ๒.๖ จดั ใหม้ กี ารเรยี นรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ และใหช้ มุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัดการเรียนรู้ด้วย ๓. ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพ่ือให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นสาคัญ จะต้องประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง โดยการใช้วิธีการประเมินผู้เรียนหลายๆ วิธี ได้แก่ การสังเกตพฤติกรรม การเรียนและการร่วมกิจกรรม การใช้แฟูมสะสมงาน การทดสอบ การสัมภาษณ์ ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียน การสอน ผู้เรียนจะมีโอกาสแสดงผลการเรียนรู้ได้หลายแบบ ไม่เพียงแต่ความสามารถทางผลสัมฤทธิ์การเรียน ซึ่งวัดได้โดยแบบทดสอบเท่านั้น การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้แบบนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างอันเกิด

๗๕ จากผลการพัฒนาตนเองของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ได้ชัดเจนมากขึ้น รายละเอียดเก่ียวกับเร่ืองน้ีจะได้กล่าวใน ตอนตอ่ ไป ๔.๔.๓ แนวคิดการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ จากข้อมูลนโยบายเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ นามาสู่การทาความเข้าใจเร่ือง หลักการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หรือท่ีรู้จักในช่ือเดิมว่า การจัดการเรียนการสอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง(student centered หรือ child centered) เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการ สอนท่ีรู้จักกันมานานในวงการศึกษาไทย แต่ไม่ประสบความสาเร็จในการปฏิบัติ รวมกับความเคยชินท่ีได้รับ การอบรมสั่งสอนมาด้วยรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยยึดครูเป็นศูนย์กลาง (teacher centered) มา ตลอด เมื่อเป็นครูก็เคยชินกับการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมๆ ที่เคยรู้จัก จึงทาให้ไม่ประสบความสาเร็จใน การจัดการเรียนการสอนโดยยดึ ผู้เรียนเปน็ สาคัญเท่าที่ควร แต่ในยุคของการปฏิรูปการศึกษาน้ีได้มีการกาหนด เป็นกฎหมายแล้วว่า ครูทุกคนจะต้องใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญได้ จึงเป็น ความจาเป็นที่ครูทุกคนจะต้องให้ความสนใจกับรายละเอียดในส่วนน้ี โดยการศึกษา ทาความเข้าใจ และหา แนวทางมาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านของตนให้ประสบผลสาเร็จ แนวคิดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งกล่าวถึงการจัดการเรียนรู้ ท่ียอมรับว่า บุคคลหรือผู้เรียนมีความแตกต่างกัน และทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ครหู รือผจู้ ัดการเรยี นรคู้ วรมคี วามเช่ือพืน้ ฐานอย่างนอ้ ย ๓ ประการ คือ ๑. เชอ่ื วา่ ทกุ คนมีความแตกตา่ งกนั ๒. เช่ือว่าทกุ คนสามารถเรียนรไู้ ด้ ๓. เช่อื วา่ การเรียนรูเ้ กิดได้ทุกท่ี ทกุ เวลา ดังนั้น การจัดการเรียนรู้จึงเป็นการจัดการบรรยากาศ จัดกิจกรรม จัดส่ือ จัดสถานการณ์ ฯลฯ ให้ ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ได้เต็มตามศักยภาพ ครูจึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องรู้จักผู้เรียนครอบคลุมอย่างรอบด้าน และ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือนาไปเป็นพื้นฐานการออกแบบหรือวางแผนการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับผู้เรียน สาหรับในการจัดกิจกรรมหรือออกแบบการเรียนรู้ อาจทาได้หลายวิธีการและหลายเทคนิค แต่มีข้อควรคานึง วา่ ในการจัดการเรียนรแู้ ตล่ ะคร้ัง แตล่ ะเรอ่ื ง ไดเ้ ปดิ โอกาสใหก้ บั ผ้เู รยี นในเร่อื งต่อไปนห้ี รือไม่ ๑. เปิดโอกาสให้นักเรียนเป็นผู้เลือกหรือตัดสินใจในเน้ือหาสาระท่ีสนใจ เป็นประโยชน์ต่อตัว ผู้เรียน หรอื ไม่ ๒. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ โดยได้คิด ได้รวบรวมความรู้และลงมือปฏิบัติ จริงด้วยตนเองหรือไม่ ซ่ึง ทิศนา แขมมณี (2543) ได้นาเสนอแนวคิดในการเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วม และสามารถนาไปใช้เปน็ แนวปฏบิ ตั ิได้ ดังน้ี ๒.๑ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีที่ควรช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย (physicalparticipation) คอื เปน็ กิจกรรมทชี่ ว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นไดม้ โี อกาสเคลอื่ นไหวร่างกาย เพื่อช่วยให้ประสาท การเรียนรู้ของผู้เรียนตื่นตัว พร้อมท่ีจะรับข้อมูลและการเรียนรู้ต่างๆ ที่จะเกิดข้ึน การรับรู้เป็นปัจจัยสาคัญใน การเรยี นรู้ ถา้ ผู้เรียนอยใู่ นสภาพที่ไมพ่ รอ้ ม แม้จะมกี ารให้ความรู้ท่ีดีๆ ผู้เรียนก็ไม่สามารถรับได้ ดังจะเห็นได้ว่า ถ้าปล่อยให้ผู้เรียนนั่งนานๆ ในไม่ช้าผู้เรียนก็จะหลับหรือคิดเร่ืองอื่นๆ แต่ถ้าให้มีการเคล่ือนไหวทางกายบ้างก็

๗๖ จะทาให้ประสาทการเรียนรู้ของผู้เรียนต่ืนตัวและพร้อมท่ีจะรับและเรียนรู้ส่ิงต่างๆได้ดี ดังน้ัน กิจกรรมที่จัดให้ ผู้เรียน จึงควรเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เคลื่อนไหวในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เป็นระยะๆ ตามความ เหมาะสมกับวยั และระดบั ความสนใจของผูเ้ รยี น ๒.๒ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีดีควรช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางสติปัญญา (intellectualparticipation) คือ เป็นกิจกรรมท่ีช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเคลื่อนไหวทางสติปัญญา ต้องเป็น กจิ กรรมท่ที า้ ทายความคดิ ของผเู้ รียน สามารถกระตุ้นสมองของผู้เรียนให้เกิดการเคลื่อนไหว ต้องเป็นเรื่องท่ีไม่ ยากหรอื ง่ายเกินไปทาให้ผู้เรียนเกดิ ความสนุกทีจ่ ะคดิ ๒.๓ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ีดีควรช่วยใหผ้ ้เู รยี นมีส่วนร่วมทางสงั คม (social participation) คือ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับบุคคลหรือส่ิงแวดล้อม รอบตัว เน่ืองจากมนุษย์จาเป็นต้องอยู่รวมกันเป็นหมู่คณะ มนุษย์ต้องเรียนรู้ท่ีจะปรับตัวเข้ากับผู้อื่นและ สภาพแวดลอ้ มต่างๆ การเปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นมปี ฏสิ มั พันธก์ ับผ้อู นื่ จะช่วยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ทางด้านสังคม ๒.๔ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ดี คี วรชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นได้มสี ่วนร่วมทางอารมณ์ (emotional participation)คอื เป็นกจิ กรรมที่สง่ ผลต่ออารมณ์ ความรสู้ ึกของผู้เรียน ซ่งึ จะช่วยใหก้ ารเรยี นรู้ นัน้ เกดิ ความหมายตอ่ ตนเองโดยกจิ กรรมดังกลา่ วควรเกีย่ วขอ้ งกับผเู้ รยี นโดยตรง โดยปกตกิ ารมสี ่วนรว่ มทาง อารมณน์ ้ีมกั เกิดขนึ้ พร้อมกบั การกระทาอน่ื ๆอยู่แลว้ เชน่ กิจกรรมทางกาย สติปัญญา และสังคม ทุกครง้ั ที่ครูให้ ผูเ้ รียนเคล่ือนท่ี เปลยี่ นอิรยิ าบถ เปล่ยี นกจิ กรรม ผเู้ รยี นจะเกดิ อารมณ์ ความรู้สึกตามมาด้วยเสมอ อาจเปน็ ความพอใจ ไมพ่ อใจ หรอื เฉย ๆ จากแนวคิดทกี่ ล่าวถึงข้างตน้ เปน็ ทีม่ าของการนาเสนอชื่อ “CIPPA” ซึ่งระบุองค์ประกอบสาคัญในการจัด กจิ กรรมการเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั กล่าวคือ C มาจากคาว่า Construct หมายถึง การสร้างความรู้ตามแนวคิดของทฤษฎีการสรรค์สร้าง ความรู้ (Constructivism) โดยครสู รา้ งกจิ กรรมท่ีช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสสร้างความรู้ด้วยตนเอง เป็นกิจกรรมท่ี ช่วยให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมทางสตปิ ัญญา I มาจากคาว่า Interaction หมายถึง การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือส่ิงแวดล้อมรอบตัว กิจกรรม การเรยี นรู้ทีด่ ีจะตอ้ งเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับบุคคลและแหล่งความรู้ท่ีหลากหลาย ซ่ึง เป็นการช่วยให้ผ้เู รยี นมสี ว่ นรว่ มทางสงั คม P มาจากคาว่า Physical Participation หมายถึง การให้ผู้เรียนมีโอกาสได้เคล่ือนไหว ร่างกายโดยการทากิจกรรมในลกั ษณะต่างๆ เปน็ การช่วยให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นร่วมทางกาย P มาจากคาว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้กระบวนการต่างๆ กิจกรรมการ เรียนรู้ที่ดีควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต เช่น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการพัฒนา ตนเอง เป็นต้น การเรียนรู้กระบวนการเป็นส่ิงสาคัญเช่นเดียวกับการเรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆ และการเรียนรู้ เกี่ยวกับกระบวนการเป็นการช่วยให้ผูเ้ รียนมสี ว่ นรว่ มทางดา้ นสตปิ ญั ญาอกี ดว้ ย A มาจากคาว่า Application หมายถึง การนาความรู้ท่ีได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ ซ่ึงจะช่วยให้ ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการเรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เช่ือมโยงระหว่างทฤษฎีกับการปฏิบัติ ซึ่งจะทาให้ การเรยี นรู้เป็นส่ิงทม่ี ปี ระโยชน์

๗๗ การระบอุ งคป์ ระกอบสาคญั ในการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นการสอนเพื่อช่วยผู้เรียนได้แสดงบทบาท ตา่ งๆ อนั เปน็ การแสดงความสาคญั ของผเู้ รยี น เป็นตวั อกั ษรย่อ “CIPPA” นี้เพ่ือให้ง่ายที่จะจาและนาไปใช้เป็น หลกั ในการปฏบิ ัตไิ ดโ้ ดยสะดวก การจัดการเรียนการสอนทั่วไป ครูสามารถออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ตาม แนวทาง ตอ่ ไปนี้ ๑. การจัดกิจกรรมเอ้ืออานวยให้เกิดการสร้างความรู้ (Construct) จากความคิดพ้ืนฐานที่เชื่อว่า ใน สมองของผู้เรียนมิได้มีแต่ความว่างเปล่า แต่ทุกคนมีประสบการณ์เดิมของตนเอง เมื่อได้รับประสบการณ์ใหม่ สมองจะพยายามปรับข้อมูลเดมิ ทม่ี อี ย่โู ดยการต่อเติมเข้าไปในกรณีที่ข้อมูลเดิมและข้อมูลใหม่ไม่มีความขัดแย้ง กัน แต่ถ้าขัดแย้งกันก็จะปรับโครงสร้างของข้อมูลเดิม เพ่ือให้สามารถรับข้อมูลใหม่ได้ ซึ่งอาจทาให้โครงสร้าง ของข้อมูลเดิมเปล่ียนแปลงไป และถ้าผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงความรู้ท่ีสร้างได้น้ันออกมาด้วยคาพูดของตนเอง การสร้างความรู้น้ันก็จะสมบูรณ์ ดังนั้น ถ้าครูสามารถออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทาตาม แนวความคิดนี้ ผ้เู รยี นกจ็ ะสามารถสร้างความรู้ได้ พฤติกรรมที่ครูควรออกแบบในกิจกรรมการเรียนของผู้เรียน มีดังน้ี ๑.๑ ให้ผู้เรยี นไดท้ บทวนความรู้เดมิ ๑.๒ ใหผ้ ้เู รียนไดร้ ับ /แสวงหา/รวบรวมข้อมลู /ประสบการณ์ตา่ งๆ ๑.๓ ให้ผู้เรียนได้ศึกษาข้อมูล ทาความเข้าใจ และสร้างความหมายข้อมูล/ประสบการณ์ต่างๆ โดยใช้กระบวนการคิดและกระบวนการอ่นื ๆที่จาเป็น ๑.๔ ให้ผู้เรยี นไดส้ รปุ จัดระเบยี บ/โครงสรา้ งความรู้ ๑.๕ ให้ผเู้ รียนได้แสดงออกในส่ิงที่ไดเ้ รียนร้ดู ้วยวิธีการต่างๆ ในกิจกรรมการเรยี นการสอนท่วั ไป ครูสามารถออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องตามลาดับขั้นตอนต่างๆ ในขณะที่ให้ความรู้ โดยเปล่ียนบทบาทจากที่เคยบอกความรู้โดยตรง ให้ผู้เรียนบันทึกหรือคัดลอกเป็นการใช้ คาส่ังและคาถามดาเนินกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทาเพ่ือสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยครูเตรียมส่ือการ สอนทเี่ ปน็ ตวั อยา่ งเครอื่ งมือหรือการปฏบิ ัตงิ านในลักษณะต่างๆ เปน็ ขอ้ มลู หรือประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้เข้าใจ ครูอาจช้ีแนะข้อมูลที่ควรสังเกตและวิธีการจัดระบบระเบียบโครงสร้างความรู้ให้ เช่น สอนให้เขียนโครงสร้าง ความร้เู ป็นแผนผังทต่ี นเองเข้าใจ และเปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้แสดงออกว่า ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้เรื่องใด เช่น ให้ อธิบายแผนผังความคิดที่ตนเองเขียนขึ้นตามความเข้าใจ หรือให้เล่าถึงส่ิงท่ีเรียนรู้โดยครูใช้คาถามหรือคาส่ั ง เป็นส่ือ และมีการเสรมิ แรงอยา่ งเหมาะสมในภายหลังก็จะทาให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจ เกิดความสนุก และ ต้องการเรียนรอู้ ีก ๒. การจัดกิจกรรมท่ีเอ้ืออานวยให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) คือ การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ไดก้ ระทาส่ิงต่างๆ หรอื การกระทาบางสิ่งบางอย่าง ดังตอ่ ไปน้ี ๒.๑ ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลต่างๆ ได้แก่ การพูดอภิปรายกับเพื่อน กับครู หรือ ผู้เกยี่ วข้องกบั การทางาน ผทู้ ส่ี ามารถใหข้ อ้ มลู บางอย่างทผี่ ู้เรียนตอ้ งการได้ ๒.๒ ให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น กาหนดให้ผู้เรียนสารวจ อปุ กรณ์เครื่องใช้ไฟฟูาในบรเิ วณโรงเรียน ๒.๓ ให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น กาหนดให้ผู้เรียนสังเกต การกินอาหารของสตั ว์หรือรวบรวมข้อมูลเกย่ี วกบั ลักษณะของตน้ ไมช้ นดิ ต่างๆ

๗๘ ๒.๔ ให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมทางด้านสื่อโสตทัศน์ วัสดุ และเทคโนโลยีต่างๆ เชน่ ให้ผเู้ รียนไปหาขอ้ มลู จากคอมพิวเตอร์ หรอื ให้อ่านใบความรู้ ใบงาน หรือใช้เคร่อื งมือและอุปกรณ์ต่างๆ ใน การเรยี น ๓. การจดั กจิ กรรมทเี่ ออ้ื อานวยให้ผู้เรียนได้เคล่ือนไหวร่างกาย (Physical Participation) คือ การจัด กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนได้มีโอกาสเคลื่อนไหวอวัยวะหรือกล้ามเนื้อต่างๆ เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสมกับวัย วุฒิ ภาวะ และความสนใจของผเู้ รียน โดยกล้ามเนอ้ื ทีเ่ คลือ่ นไหวอาจเปน็ สว่ นตา่ ง ๆ ดังน้ี ๓.๑ กล้ามเนื้อมัดย่อย เช่น การพิมพ์ดีด ร้อยมาลัย พับกระดาษ วาดรูป เย็บผ้า ใช้ไขควง เขียนแบบ เรยี งตวั หนงั สอื ปฏิบตั กิ ารใช้เคร่ืองมือวิทยาศาสตร์ ๓.๒ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ เช่น กิจกรรมย้ายกลุ่ม ย้ายเก้าอี้ จัดโต๊ะ ทุบโลหะ ตอกตะปู ยกของ กอ่ อฐิ ฉาบปูน ขดุ ดนิ ฯลฯ ๔. การจัดกิจกรรมท่ีเอ้ืออานวยให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการ คือ การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เกิดการ เรียนรู้ผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการศึกษาด้วย ตนเอง การะบวนการจัดการ กระบวนการแก้ปัญหาและตัดสินใจ กระบวนการทางาน กระบวนการอื่นๆ โดย ครูจัดกิจกรรม สถานการณ์ หรือกาหนดให้ผู้เรียนหาข้อมูลหรือความรู้โดยใช้กระบวนการดังกล่าวเป็น เคร่อื งมือ ผลของการเรียนรู้ นอกจากผู้เรียนจะได้รับรู้ข้อมูลท่ีต้องการแล้วยังมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ กระบวนการเหลา่ น้ี เพอื่ หาขอ้ มูลหรือความรู้อืน่ ๆ ไดด้ ว้ ยตนเองในโอกาสอื่นๆ เปรียบเหมือนการให้เคร่ืองมือ ในการจับปลากับชาวประมงแทนท่ีจะเอาปลามาให้ เม่ือชาวประมงมีเคร่ืองมือจับปลาแล้วย่อมหาปลามากิน เองได้ หรอื วางแผนจัดสรรเวลาของการทางานอย่างใดอย่างหน่ึง หรือได้ลงมือแก้ไขงานบางอย่างในขณะลงมือ ปฏิบตั งิ าน ซง่ึ ตอ้ งใช้การพิจารณาขอ้ มูลรอบด้านเพื่อใชใ้ นการตัดสินใจ ขอ้ สาคญั คือ ครูจะต้องช่วยให้ผู้เรียนได้ สรุปข้ันตอนในการทางาน ผู้เรียนต้องบอกได้ว่า การทางานนี้เสร็จได้ เขาใช้ขั้นตอนและวิธีการใดบ้าง แต่ละ ข้ันตอนมีปัญหาและอุปสรรคใด เขาใช้วิธีการใดแก้ปัญหา และได้ผลของการปฏิบัติออกมาอย่างไร พอใจ หรือไม่ ถ้ามกี ารทางานอย่างนี้อกี ในคร้งั ต่อไปเขาจะปฏิบัติอยา่ งไร อีกประเด็นหนงึ่ คอื การใช้กระบวนการกล่มุ ในการทางาน ต้องแบ่งหน้าท่ีการทางาน สมาชิกทุกคนต้อง มีส่วนรว่ มทาใหง้ านชนิ้ นนั้ สาเร็จ มิใช่ให้ผู้เรียนมานั่งรวมกลุ่มกันแต่ทางานแบบต่างคนต่างทา เพราะผู้เรียนจะได้ มีโอกาสรู้บทบาทของตนเองในการทางานร่วมกับคนอื่น ตลอดจนรู้วิธีการจัดระบบระเบียบการทางานในกลุ่ม เพอื่ ให้งานกลุม่ บรรลผุ ลสาเรจ็ ตามเปูาหมายต่อไป ก็จะสามารถใช้กระบวนการกลุ่มนี้ในการทางานกับคนกลุ่ม อ่ืนๆ ในสงั คมทผ่ี ู้เรยี นเปน็ สมาชิกอยู่ได้ ๕. การจัดกิจกรรมท่ีเอ้ืออานวยให้เกิดการประยุกต์ใช้ความรู้ (Application) คือ การจัดกิจกรรมให้ ผเู้ รียนมโี อกาสได้กระทาส่งิ ต่างๆ ดังต่อไปน้ี ๕.๑ ได้นาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์อื่นๆท่ีหลากหลาย หรอื ๕.๒ ได้ฝึกฝนพฤตกิ รรมการเรยี นรู้จนเกิดความชานาญ โดยครูจัดสถานการณ์ แบบฝึกหัด หรือโจทย์ปัญหาให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทา เพื่อให้เกิดความม่ันใจ และความชานาญในการทีจ่ ะนาเอาความร้นู ัน้ มาใชเ้ ป็นประจาในชวี ิตจริง การจัดกิจกรรมในขั้นตอนนี้เป็นประเด็นท่ีมีความสาคัญแต่กลับเป็นจุดอ่อนของการจัดการเรียน การสอนของ ไทยทุกระดับ เพราะมีการปฏิบัติหรือมีพฤติกรรมการนาความรู้ ความเข้าใจท่ีได้รับจากการเรียนไปใช้ใน ชีวิตประจาวันค่อนข้างน้อย ทั้งน้ี เน่ืองจากในการเรียนการสอนผู้เรียนยังขาดการฝึกฝนการนาความรู้ไป ประยุกต์ใช้

๗๙ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญตามแนวคิดท่ีกล่าวถึงข้างต้น สามารถ ใช้ได้กับการจัดการเรียนการสอนทุกวิชาและทุกระดับช้ัน เพียงแต่ธรรมชาติของเน้ือหาวิชาที่ต่างกันจะมี ลักษณะที่เอ้ืออานวยให้ครูออกแบบกิจกรรมที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ใน จดุ เดน่ ที่ตา่ งกัน คือ ๑. รายวิชาที่มีเนื้อหามุ่งให้ผู้เรียนเรียนรู้กฎเกณฑ์และการนาเอากฎเกณฑ์ไปประยุกต์ใช้ แก้ปญั หาในสถานการณต์ ่าง ๆ เช่น วชิ าคณติ ศาสตร์ หรือการใชไ้ วยากรณ์ภาษาองั กฤษ ครูสามารถใช้กิจกรรม ทเี่ ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตัวเองโดยใช้วิธีสอนแบบอุปนัย และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้นา กฎเกณฑ์ที่ทาความเข้าใจได้ไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้วิธีการสอนแบบนิรนัย การเรียนรู้ที่ เกิดข้ึนก็จะเป็นการเรยี นรู้ที่ย่งั ยืน เพราะผเู้ รียนไดส้ รา้ งความรู้ด้วยตัวเอง ๒. รายวิชาท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้จากการค้นคว้าทดลอง และการอภิปราย โดยใช้หลักเหตุผล เช่น วิชาวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนมีโอกาสที่จะได้สร้างความรู้เองโดยตรง เพียงแต่ครูต้องรู้จัก การใช้คาถามที่ย่ัวยุและเช่ือมโยงความคิด ประกอบกับการได้มีโอกาสทาการทดลอง เป็นการปฏิบัติร่วมกัน ผูเ้ รียนจะได้มีปฏิสัมพันธ์กัน มีการเคล่ือนไหวร่างกาย เพ่ือสร้างความรู้ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ทา กันมาอยู่แลว้ ๓. รายวิชาที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับข้อมูลที่หลากหลายเก่ียวกับการดาเนินชีวิตของคนใน สังคมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ข้อมูลท่ีมีลักษณะยั่วยุให้ออกความคิดเห็นได้ เช่น วิชาสังคมศึกษา และ วรรณคดีเป็นลักษณะพิเศษท่ีครูจะนามาใช้เป็นเคร่ืองมือให้เกิดกิจกรรมการใช้ความคิด อภิปราย นาไปสู่ ข้อสรุป เป็นผลของการเรียนรู้และการสร้างนิสัยยอมรับฟังความคิดเห็นกัน เป็นวิถีทางที่ดีในการปลูกฝัง ประชาธิปไตยให้กับผู้เรียน ๔. รายวิชาท่ตี ้องอาศัยการเคลอ่ื นไหวร่างกายเป็นหลัก เช่น วิชาพลศึกษาและการงานอาชีพ ครูควรใช้โอกาสดังกล่าว ใหผ้ เู้ รียนไดส้ รา้ งความร้ผู ่านกระบวนการทางาน ๕. รายวิชาที่ส่งเสริมความคิดจินตนาการ และการสร้างสุนทรียภาพ เช่น วิชาศิลปะและ ดนตรี นอกจากจะมีโอกาสเคล่ือนไหวร่างกายแล้ว ผู้เรียนยังมีโอกาสได้สร้างความรู้ และความรู้สึกท่ีดี ผ่าน กระบวนทางานที่ครูออกแบบไว้ให้ ครูที่ประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มักเป็นครูที่มีความต้ังใจ และสนุกในการทางานสอน เป็นคนช่างสังเกตและเอาใจใส่ผู้เรียน และมักจะได้ผลการตอบสนองท่ีดีจาก ผเู้ รยี น แมจ้ ะยงั ไม่มากในจุดเร่ิมต้น แต่เมื่อปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ ก็จะสังเกตได้ถึงการเปลี่ยนแปลงของผู้เรียน ในทางท่ีดีขึ้น ในประเด็นของการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จะได้ กลา่ วถึงเทคนคิ ตา่ งๆ ทจ่ี ะเป็นประโยชน์ต่อครู ในตอนต่อไป ๔.๔.๔ แนวการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เป็นกลไกสาคัญย่ิงอย่างหนึ่งของการปฏิรูปการ เรียนรู้ตามแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ซึ่งมาตรา ๒๒ ได้กาหนดแนวทางใน การจัดการศึกษาไวว้ า่ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ฉะนั้น ครูผู้สอนและผู้จัดการศึกษาจะต้องเปล่ียนแปลงบทบาทจากการ เป็นผู้ช้ีนา ผู้ถ่ายทอดความรู้ ไปเป็นผู้ช่วยเหลือส่งเสริม และสนับสนุนผู้เรียน ในการแสวงหาความรู้จากสื่อ

๘๐ และแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้สร้างสรรค์ความรู้ของ ตน การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานดังกล่าว นอกจากจะมุ่งปลูกฝังด้านปัญญา พัฒนาการคิดของผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณแล้ว ยังมุ่งพัฒนา ความสามารถทางอารมณ์ โดยการปลูกฝังให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของตนเอง เข้าใจตนเอง เห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน สามารถแก้ปัญหาข้อขดั แย้งทางอารมณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การเรียนรู้ในสาระการเรียนรู้ต่างๆ มีกระบวนการและวิธีการท่ีหลากหลายผู้สอนต้องคานึงถึง พัฒนาการทางด้านร่างกายและสติปัญญา วิธีการเรียนรู้ ความสนใจและความสามารถของผู้เรียนเป็น ระยะๆ อย่างต่อเนื่อง ดังน้ัน การจัดการเรียนรู้ในแต่ละช่วงน้ันควรใช้รูปแบบ/วิธีการท่ีหลากหลาย เน้นการจัดการ เรยี นการสอนตามสภาพจริง การเรียนรูด้ ้วยตนเอง การเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนรู้ธรรมชาติ การเรียนรู้จากการ ปฏิบัติจริงและการเรียนรู้แบบบูรณาการ การใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้คู่ คณุ ธรรม ท้ังนี้ ต้องพยายามนากระบวนการการจัดการ กระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม กระบวน การคิด และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปสอดแทรกในการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซ่ึงการ เรียนรู้ในลักษณะองค์รวม การบูรณาการ เป็นการกาหนดเปูาหมายการเรียนร่วมกัน ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญโดย นากระบวนการเรียนรจู้ ากกลุม่ สาระเดยี วกันหรอื ต่างกลมุ่ สาระการเรียนรู้ มาบูรณาการในการจัดการเรียนการ สอน ซึ่งจัดได้หลายลกั ษณะ เช่น ๑. การบูรณาการแบบผู้สอนคนเดียว ผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้โดยเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ต่างๆ กับหวั ขอ้ เรอ่ื งท่ีสอดคลอ้ งกับชีวิตจรงิ หรอื สาระท่ีกาหนดขนึ้ มา เช่น เรือ่ งสิ่งแวดล้อม น้า เปน็ ตน้ \"ผู้จัดการเรยี นรไู้ ม่ใช่ครูฝุายเดียว แต่ต้องอาศัยความรว่ มมือจากบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชมุ ชนทกุ ฝาุ ย ท่ีจะรว่ มมือกนั พฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ ต็ม ตามศักยภาพในทุกเวลาและทกุ สถานที่\" ผู้สอนสามารถเชือ่ มโยงสาระและกระบวนการเรยี นรู้ของกลมุ่ สาระต่างๆ เช่น การอ่าน การเขียน การ คดิ คานวณ การคดิ วิเคราะห์ตา่ งๆ ทาให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะและกระบวนการเรียนรู้ไปแสดงหาความรู้ความจริง จากหวั ข้อเรอื่ งท่กี าหนด ๒. การบูรณาการแบบคู่ขนาน มีผู้สอนต้ังแต่ ๒ คนขึ้นไปร่วมกันจัดการเรียนการสอนโดยอาจยึด หวั ข้อเกี่ยวกับเร่อื งใดเรือ่ งหนง่ึ แล้วบรู ณาการเช่อื มโยงแบบคู่ขนาน เช่น ผู้สอนคนหนึ่งสอนวิทยาศาสตร์ เร่ือง เงา ผู้สอนอีกคนอาจสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง การวัดระยะทางโดยการวัดเงา คิดคานวณในเร่ืองเงาในช่วงเวลา ต่างๆ จดั ทากราฟของเงาในระยะต่างๆ หรืออกี คนหนง่ึ อาจใหผ้ เู้ รียนรศู้ ลิ ปะเรื่องเทคนิคการวาดรูปที่มีเงา เป็น ตน้ ๓. การบูรณาการแบบสหวิทยาการ การบูรณาการในลักษณะน้ีนาเนื้อหาจากหลายกลุ่มสาระมา เชือ่ มโยงเพอ่ื จดั การเรียนรู้ ซึ่งโดยท่วั ไปผ้สู อนมกั จัดการเรียนการสอนแยกตามรายวิชาหรือกลุ่มวิชา แต่ในบาง เร่ือง ผู้จัดการเรียนการสอนร่วมกันในเร่ืองเดียวกัน เช่น เรื่องวันส่ิงแวดล้อมของชาติ ผู้สอนภาษาไทยจัดการ เรียนการสอนให้ผู้เรียนรู้ภาษา คาศัพท์เก่ียวกับสิ่งแวดล้อม ผู้สอนวิทยาศาสตร์จัดกิจกรรมค้นคว้าเก่ียวกับ ส่ิงแวดล้อม ผู้สอนสังคมศึกษาให้ผู้เรียนค้นคว้าหรือทากิจกรรมชมรมเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมและผู้สอนสุขศึกษา อาจจัดให้ทากิจกรรมเกีย่ วกับการรกั ษาสง่ิ แวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ เป็นตน้

๘๑ ๔. การบูรณาการแบบโครงการ ผู้สอนสามารถจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการเป็นโครงการ โดย ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสร้างสรรค์โครงการขึ้น โดยใช้เวลาเรียนต่อเนื่องกันได้หลายช่ัวโมง ด้วยการนาเอา จานวนชัว่ โมงของวิชาต่างๆ ที่ผู้สอนเคยสอนแยกกันน้ันรวมเป็นเรื่องเดียวกัน มีเปูาหมายเดียวกัน ในลักษณะ ของการสอนเป็นทีม เรียนเป็นทีม ในกรณีที่ต้องการเน้นทักษะบางเรื่องเป็นพิเศษ ผู้สอนสามารถแยกกันสอน ได้ เชน่ กิจกรรมเข้าค่ายดนตรี กิจกรรมเข้าคา่ ยภาษาองั กฤษ กจิ กรรมเข้าคา่ ยศลิ ปะ เป็นต้น แนวการจัดกระบวนการเรียนรูใ้ นแตล่ ะชว่ งนนั้ มดี ังนี้ ช่วงช้ันที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓ การจัดการเรียนรู้ต้องสนองตอบต่อความสนใจของผู้เรียน โดยคานึงถึง หลักจิตวิทยาพัฒนาการ และ จิตวิทยาการเรียนรู้ ทั้งน้ีในแต่ละคาบเวลาเรียนนั้น ไม่ควรใช้ เวลานานเกินความสนใจของผเู้ รยี นสถานศึกษาต้องจัดการเรียนรู้ให้ครบทุกกลุ่มสาระในลักษณะบูรณาการที่มี ภาษาไทยและคณติ ศาสตร์เป็นหลกั เน้นการเรียนรู้ตามสภาพจริง มีความสนุกสนาน ได้ปฏิบัติจริง เพ่ือพัฒนา ความเป็นมนุษย์ ทักษะพ้ืนฐานการติดต่อสื่อสารในการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ พัฒนาลักษณะนิสัยและ สุนทรีภาพ ชว่ งชัน้ ที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ การจัดการเรียนรู้มีลักษณะคล้ายกับช่วงชั้นที่ ๑ แต่จะเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนในสิ่งท่ีตนสนใจ มุ่งเน้นทักษะ การทางานเป็นกลุ่ม การสอนแบบบูรณาการ โครงงาน การใชห้ ัวเร่ืองในการจัดการเรียนการสอน เพื่อมุ่งให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิด การค้นคว้า แสวงหา ความรู้ สร้างความรดู้ ว้ ยตนเอง สามารถสรา้ งสรรค์ผลงานและนาไปแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ บั ผู้อื่น \"การจัดการเรยี นร้ตู ้องสนองตอบต่อความสนใจของ ผ้เู รยี น โดยคานงึ ถงึ หลักจิตวทิ ยาพฒั นาการ และ จติ วิทยาการเรียนรู้ ทัง้ น้ี ในแตล่ ะคาบเวลาเรยี นน้นั ไมค่ วรใช้เวลานานเกนิ ความสนใจของผเู้ รยี น\" ช่วงช้ันท่ี ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีหลักการทฤษฎีที่ ยาก ซับซ้อน อาจจัดแยกเฉพาะ และควร เน้นการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มากข้ึนเพ่ือมุ่งให้ผู้เรียนเกิด ความคิด ความเข้าใจ และรู้จักตนเองในด้านความสามารถ ความถนัด เพ่ือเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ สถานศึกษา ต้องจัดบรรยากาศการเรียนรู้ให้เหมาะสม ช่วงชั้นท่ี ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ การจัดการเรียนรู้เริ่มเน้นเข้าสู่เฉพาะทางมากข้ึนมุ่งเน้น ความสามารถ ความคิดระดับสูง ความถนัด และความต้องการของผู้เรียน ทั้งในด้านอาชีพ การศึกษาเฉพาะ ทาง ตลอดจนการศกึ ษาต่อ สาหรับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ยืดหยุ่นวิธีการจัดการเรียนรู้ได้ตามความ เหมาะสมกบั ผ้เู รยี น สถานศกึ ษา และความต้องการของท้องถิ่น ๔.๕ เทคนิคการจดั กิจกรรมส่งเสริมผ้เู รียน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๖ ระบุไววา การจดั การ ศึกษา ตองเปนไป เพือ่ พัฒนาคนไทย ใหเปนมนุษยทส่ี มบรู ณ ทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มจี ริยธรรมใน การดารงชวี ติ สามารถอยูรวมกบั ผูอืน่ ไดอยางมีความสุข นอกจากน้ี ในมาตรา ๙ ยังไดกลาวถึง การจดั ระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษา ใหยดึ หลักการมสี วนรวมของบุคคล ครอบครวั ชุมชน องคกรชุมชน

๘๒ องคกรปกครองสวนทองถนิ่ เอกชน องคกร เอกชน องคกรวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบนั สงั คมอ่นื ๆ๖๖ ๔.๕.๑ เทคนคิ การจดั กิจกรรมส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นสรา้ งความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง การจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั หมายถึง การจดั การเรียนการสอนให้ผเู้ รียนมีบทบาท สาคัญในการเป็นผู้เรียนรู้ โดยพยายามจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้ ได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล ส่ือ และ ส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการต่าง ๆ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ และนักเรียนมีโอกาสนาความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์อื่น คาถามคือ ครูจะมีวิธีการหรือเทคนิคที่จะทาให้เกิดเหตุการณ์น้ันๆ ได้อย่างไร ผู้เขียนเคยได้รับข้อมูลที่แสดงให้รู้ว่าครูทั่วไปยังเข้าใจคลาดเคล่ือนเกี่ยวกับการจัด การเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเข้าใจว่า การให้ผู้เรียนค้นพบความรู้ด้วยตนเอง คือ การปล่อยให้ผู้เรียน เรียนรู้กันเอง โดยที่ครูไม่ต้องมีบทบาทอะไร หรือใช้วิธีส่ังให้ผู้เรียนไปท่ีห้องสมุด อ่านหนังสือกันเองแล้วเขียนรายงานมาส่ง ครู ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีไม่ถูกต้อง แม้ว่าการให้การเรียนรู้เกิดขึ้นที่ตัวผู้เรียน เป็นลักษณะท่ีถูกต้องของการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แต่การท่ีผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ข้ึนมาได้เองนั้นเป็นเรื่องยาก ครูจึงต้องมี หนา้ ที่เตรียมจัดสถานการณแ์ ละกจิ กรรมต่าง ๆ นาทางไปสู่การเรียนรู้ โดยไม่ใช้วิธีบอกความรู้โดยตรง หรือถ้า จะจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้โดยใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งข้อมูล ครูจะต้องสารวจให้รู้ก่อนว่า ภายในหอ้ งสมดุ มขี อ้ มูลอะไรอยบู่ า้ ง อยู่ทใ่ี ด จะค้นหาอย่างไร แล้วจึงวางแผนสง่ั การ ผู้เรียนต้องรู้เปูาหมายของ การค้นหาจากคาสั่งท่ีครูให้ รวมถึงการแนะแนวทางท่ีจะทางานให้สาเร็จ และในขณะที่ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ครู ควรสังเกตการณ์อยดู่ ว้ ย เพื่ออานวยความสะดวก หรอื เกบ็ ขอ้ มูลเกี่ยวกับพัฒนาการ หรือปัญหาการเรียนรู้ของ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพอื่ นาข้อมลู นัน้ มาปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นการสอนในคร้งั ต่อไป ปัญหาความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนดังกล่าว อาจเกิดมาจากครูยังไม่เข้าใจเทคนิคการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน เพ่ือให้สอดคล้องกับข้อมูลที่เป็นความเข้าใจเบ้ืองต้น จึงขอกล่าวถึงเทคนิคการจัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ๓ ประเดน็ คือ ๑. เทคนคิ การจัดกจิ กรรมทีส่ ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นสร้างความร้ดู ว้ ยตัวเอง ๒. เทคนคิ การจัดกิจกรรมท่สี ่งเสริมให้ผูเ้ รยี นไดท้ างานร่วมกบั คนอื่น และ ๓. เทคนิคการจดั กิจกรรมทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน ถ้าพิจารณาจากส่วนประกอบของโมเดล CIPPA แล้วจะพบว่ามิได้กล่าวถึง เทคนิคการจัดกิจกรรมท่ี ส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นได้ใช้กระบวนการและใช้กิจกรรมการเคล่ือนไหวร่างกายในการเรียนรู้ไว้ด้วย เนื่องจากข้อมูล ดงั กลา่ วสามารถแทรกอยู่กบั กจิ กรรมทง้ั สามส่วนที่จะกลา่ วต่อไปน้ี ๔.๕.๒ เทคนคิ การจดั กิจกรรมส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนทางานร่วมกับคนอ่นื ความเข้าใจทีค่ ลาดเคลื่อนเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครูอีกประการ หนึ่ง คอื ครเู ขา้ ใจวา่ การจดั การเรยี นการสอนแบบนี้ตอ้ งจดั โตะ๊ เก้าอ้ใี ห้ผ้เู รียนได้น่ังรวมกลุ่มกัน โดยไม่เข้าใจว่า การนั่งรวมกลุ่มน้ันทาเพ่ืออะไร ความเข้าใจที่ถูกต้องคือ เมื่อผู้เรียนจะต้องทางานร่วมกัน จึงจัดเก้าอี้ให้น่ัง รวมกันเปน็ กลมุ่ ไมใ่ ชน่ ่ังรวมกลุ่มกนั แตต่ ่างคนตา่ งทางานของตวั เอง การจัดให้ผู้เรียนทางานร่วมกัน ครูจะต้อง ๖๖ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน), พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ ๒๕๔๒, แกไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี ๓) ๒๕๔๕, (กรุงเทพมหานคร: ๒๕๕๓), หนา ๑๒.

๘๓ กากับดูแลให้สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีบทบาทในการทางาน ซึ่งรูปแบบการจัดการเรียนการสอนประเภทหน่ึงที่ ครูควรศึกษาเป็นแนวทางนาไปใช้เป็นเทคนิคในการจัดกิจกรรม คือ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยให้ ผู้เรียนเรียนรู้รว่ มกัน (Cooperative Learning) ศุภวรรณ เลก็ วไิ ล๖๗ ได้กลา่ วถงึ ลกั ษณะการจดั การเรียนการสอนโดยใหผ้ เู้ รยี นเรียนรู้ร่วมกัน เป็นการ จัดการเรียนการสอนท่ีแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ กลุ่มละ ๔ – ๕ คน โดยสมาชิกในกลุ่มมีระดับ ความสามารถแตกตา่ งกนั สมาชกิ ทุกคนมีบทบาทหน้าทร่ี ว่ มกนั ในการปฏิบตั ิงานท่ีได้รับมอบหมาย มีเปูาหมาย และมีโอกาสไดร้ ับรางวัลของความสาเร็จร่วมกัน วิธีการแบบน้ีผู้เรียนจะมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกันในเชิง บวก มีปฏสิ มั พันธ์แบบเผชิญหน้ากัน ไดม้ โี อกาสรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่ม ได้พัฒนาทักษะทาง สงั คมและได้ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการทางานเพ่ือสรา้ งความรู้ให้กับตนเอง อย่างไรก็ตาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีหลายรูปแบบ เช่น แบบ STAD, TGT, Jigsaw, TAI ครูจึงควรศึกษาทาความเข้าใจในรายละเอียดของเทคนิคเหล่าน้ีเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ในการออกแบบ กิจกรรมการเรยี นรู้ให้แกผ่ เู้ รียน ๔.๕.๓ เทคนิคการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นนาความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้ใน ชวี ิตประจาวัน ตามความหมายของการเรียนรู้ท่ีแท้จริง คือ ผู้เรียนต้องมีโอกาสนาความรู้ท่ีเรียนรู้มาไปใช้ในการ ดาเนินชีวิต สิ่งท่ีเรียนรู้กับชีวิตจริงจึงต้องเป็นเรื่องเดียวกัน ครูสามารถจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียน ประยุกต์ใช้ความรู้ได้โดยสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนต้องแก้ปัญหาและนาความรู้ท่ีเรียนมาประยุกต์ใช้ หรือ ให้ ผู้เรียนแสดงความรู้น้ันออกมาในลักษณะต่างๆ เช่น ให้วาดภาพแสดงรายละเอียดท่ีเรียนรู้จากการอ่านบท ประพันธ์ในวิชาวรรณคดี เมื่อครูได้สอนให้เข้าใจโดยการตีความและแปลความแล้ว หรือในวิชาท่ีมีเน้ือหาของ การปฏบิ ตั ิ เมือ่ ผ่านกิจกรรม การเรยี นรู้แล้ว ครูควรให้ผู้เรียนได้ฝึกให้ทางาน ปฏิบัติซ้าอีกครั้งเพ่ือให้เกิดความ ชานาญ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนนาความรู้ไปประยุกต์ใช้นี้ ครูควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนแสดง ความสามารถในลักษณะต่าง ๆ และเปิดโอกาสให้มีความหลากหลาย เพื่อตอบสนองความสามารถเฉพาะท่ี ผู้เรียนแต่ละคนมีแตกต่างกัน ตามที่กล่าวไว้ในทฤษฎีพหุปัญญา (multiple intelligence) ของ การ์ด เนอร์ (Howard Gardner)๖๘ ทวี่ ่า มนุษยม์ คี วามสามารถในด้านตา่ ง ๆ ๘ ด้าน ได้แก่ ๑. ความสามารถด้านภาษา เป็นความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อแสดงความคิดเห็น แสดง ความรู้สึก สามารถใช้ภาษาเพ่ืออธิบายเร่ืองยากให้เป็นเร่ืองง่าย เข้าใจชัดเจน สามารถใช้ภาษาในการโน้ม นา้ วจติ ใจของผอู้ ่ืน ๒. ความสามารถด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้ตัวเลข ปริมาณ การ คดิ คาดการณใ์ นการจาแนก จัดหมวดหมู่ คดิ คานวณ และตัง้ สมมตุ ิฐาน มีความไวต่อการเห็นความสัมพันธ์ตาม แบบแผนทางตรรกวทิ ยาในการคดิ ท่ีเปน็ เหตุเป็นผล ๓. ความสามารถด้านภาพมิติสัมพันธ์ เป็นความสามารถด้านการสร้างแบบจาลอง ๓ มิติของ ส่งิ แวดล้อมต่างๆ ในจินตนาการของตน สามารถคิดและปรับปรงุ การใช้พ้ืนทไี่ ดด้ ี มีความไวตอ่ สี เสน้ รปู รา่ ง ๖๗ ศุภวรรณ เล็กวไิ ล (๒๕๔๔) ๖๘ Howard Gardner อ้างถึงใน ทศิ นา แขมมณี และคณะ ๒๕๔๐

๘๔ เน้ือทีแ่ ละมองเห็นความสมั พันธข์ องส่ิงเหล่าน้นั และสามารถแสดงออกเป็นรปู รา่ ง/รปู ทรงในสิง่ ท่เี ห็นได้ ๔. ความสามารถด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว เป็นความสามารถในการใช้ร่างกายทั้งหมดหรือ บางส่วน แสดงถึงความรสู้ กึ นกึ คิด มีทักษะทางกายท่ีแข็งแรง รวดเร็ว คล่องแคล่ว ยืดหยุ่น มีความไวทาง ประสาทสัมผัส ๕. ความสามารถด้านดนตรี เป็นความสามารถในเร่ืองของจังหวะ ทานองเพลง มีความสามารถใน การแตง่ เพลง เรยี นร้จู ังหวะดนตรไี ด้ จาดนตรไี ด้ง่ายและไมล่ มื ๖. ความสามารถด้านมนุษยสัมพันธ์ เป็นความสามารถในการเรียนรู้และเข้าใจถึงอารมณ์ ความรู้สึกนึก คิด ตลอดจนเจตนาของผอู้ ่ืน เป็นผ้ทู ่ชี อบสงั เกตน้าเสียง ใบหน้ากริยาท่าทาง และการสร้างสัมพันธภาพกับ บุคคลอืน่ ใหค้ วามสาคัญกับบุคคลอน่ื มคี วามสามารถในการเปน็ ผ้นู า สามารถสื่อสารเพ่ือลดความขดั แย้งได้ ๗. ความสามารถในการเข้าใจตนเอง เป็นความสามารถในการรู้จักและเข้าใจอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ของตนเองไดด้ ี ฝกึ ฝนควบคมุ ตนเองไดท้ ้งั กายและจิต ติดตามส่ิงทต่ี นเองสนใจและแสวงหาผลสาเร็จได้ ๘. ความสามารถในด้านความเข้าใจสภาพธรรมชาติ เป็นความสามารถในการรู้จักธรรมชาติ และ เขา้ ใจลักษณะตา่ ง ๆ ของสง่ิ แวดล้อม รักธรรมชาติ ชอบศึกษาชีวติ พชื สัตว์ และรกั สงบ นอกจากการใช้เทคนคิ การออกคาสงั่ ใหผ้ ูเ้ รยี นแสดงการทางานในลักษณะต่างๆ แล้ว ครูอาจใช้วิธีการ สอนบางวิธีที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ในสถานการณ์อื่นๆ ได้เช่นกัน เช่น วิธีสอนโดยให้จัด นทิ รรศการและการสอนโดยใช้โครงงาน โดยครูเป็นผู้กากับควบคุมให้ผู้เรียนทุกคนได้ร่วมกันวางแผน ดาเนินการ ตามแผน และร่วมกันสรุปผลงาน ผู้เรียนแต่ละคนจะได้เลือกและแสดงความสามารถท่ีตนเองถนัด เพื่อให้งาน บรรลุเปูาหมาย จึงสามารถกล่าวขยายความได้ว่า การเรียนรู้ผ่านการให้จัดนิทรรศการและการสอนโดยใช้ โครงงาน ซง่ึ สามารถทาอยา่ งต่อเน่อื งกันได้ โดยมปี ระเด็นดงั นี้ ๑.ผู้เรยี นได้เรยี นรูเ้ รื่องใดเร่ืองหนงึ่ ท่ตี นเองสนใจ ๒.ผ้เู รยี นได้เรยี นรู้หรอื หาคาตอบด้วยตนเอง โดยการคิดและปฏิบัติจริง ๓.วิธีการหาคาตอบมคี วามหลากหลายจากแหล่งเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย ๔.นาขอ้ มลู หรือข้อความรจู้ ากการศกึ ษามาสรุปเปน็ คาตอบหรือข้อค้นพบของตนเอง ๕.มีระยะเวลาในการศึกษาหรือแสวงหาคาตอบพอสมควร ๖.คาตอบหรือข้อคน้ พบเชื่อมโยงต่อการพัฒนาความร้ตู ่อไป ๗.ผู้เรียนมีโอกาสเลือก วางแผน และจัดการนาเสนอคาตอบของปัญหาหรือผลของการค้นพบด้วย วิธีการที่หลากหลายและสอดคลอ้ งกบั ความถนดั และความสนใจของตนเอง จะเห็นได้ว่า ประเด็นที่กล่าวในข้อ ๑ – ๗ เป็นข้ันตอนของการใช้วิธีสอนโดยใช้โครงงาน สาหรับ ข้อ ๗ เป็นประเดน็ เก่ยี วกบั การสอนโดยใช้การจัดนิทรรศการ ในการให้ผู้เรียนปฏิบัติ ครูควรใช้วิธีการกระตุ้นให้ ผเู้ รยี นทางานโดยใช้คาถาม เชน่ - นกั เรียนอยากรู้อะไรเก่ยี วกับเรื่องนี้บ้าง ลองคดิ ซวิ ่าทาไมสนใจเรื่องนี้ - เหน็ แล้ว สงสัยไหมวา่ ทาไมจึงเปน็ เช่นน้นั - น่าจะมคี าอธิบายมากกวา่ นี้หรอื ไม่ - นกั เรยี นดูแลว้ คดิ อยา่ งไร - คาถามนักเรียนดมี าก ครูอยากให้ชว่ ยกนั หาคาตอบ ๔.๖ ดา้ นการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู

๘๕ การวดั ผลและประเมินผลเปนกจิ กรรมที่สาคัญอยางหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในระดับตางๆ และยังเปนขอมูลใหผูสอนนาไปใชในการปรับปรุงการเรียนการสอน เพ่ือใหบรรลุผลตามจุดมุงหมายของ หลักสูตร ซึ่งมผี ูใหความหมายไวหลากหลาย ดงั น้ี ๔.๖.๑ ความหมายการวดั ผลและประเมนิ ผลการการเรียน ปรียาพร วงศอนุตรโรจน๖๙ ไดใหความหมายของการวัดผลและประเมินผลไววา การวัดผล (Measurement) หมายถึง กระบวนการท่ีกาหนดจานวนตัวเลขใหกับวัตถุส่ิงของ หรือ บุคคลตามความมุง หมาย หรือเปรียบเทียบลักษณะที่มีความแตกต างท่ีปรากฏอยู ในส่ิงท่ีจะวัดส วนการประเมินผล (Evaluation) หมายถงึ การพจิ ารณาเกีย่ วกับคณุ ภาพ คณุ คาความจรงิ และการกระทา บุญเล้ียง ทุมทอง๗๐ ไดกลาวไววา การวัดผลและประเมินผล หมายถึง กระบวนการใหไดมา ซึ่งจานวนและตัวเลข เพ่ือหาจานวน ลาดับ อันดับ หรือรายละเอียดของคุณลักษณะ โดยใช้วิธีการและ เครื่องมือที่เหมาะสม แลวนาผลท่ีไดมาตัดสินคุณคาวินิจฉัย และสรุปอยางมีระเบียบ ทั้งในดานการเรียนและ ดานการสอนของผูเรียน ศิริเดช สุชีวะ๗๑ ไดใหความหมายของการวัดผลและประเมินผลไววา การวัดผล หมายถึง การกาหนดคาเชิงปริมาณใหกับส่ิงท่ีตองการวัดดวยการประเมินท่ีเปนระบบและเปนที่ ยอมรับ สวนการ ประเมนิ ผล หมายถึง การตีคาหรือการใหความหมายของผลการวัด อรจรีย ณ ตะก่ัวทุง๗๒ ไดกลาววา การประเมิน เปนกระบวนการคนความจาระยะยาวดวย การใชสวนตางๆ ของสมอง เมื่อครูผูสอนตองการประเมินผูเรียน ครูผูสอนตองมีเคร่ืองมือ ประเมินที่เท่ียงตรง จึงสามารถวดั สง่ิ ที่อยูในความจาระยะยาวของผูเรียนได กระทรวงศึกษาธกิ าร๗๓ ไดใหความหมายของการวัดผลและประเมินผลการศึกษาวา หมายถึง กระบวนการพัฒนาปรับปรุงการเรียนรูของผูเรียน และตัดสินวาผูเรียนมีความรู ทักษะ ความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงคอันเปนผลมาจากการเรียนการสอนบรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรูหรือตัวชี้วัดใน ระดับใด สามารถท่ีจะไดรับการเลื่อนชั้นหรือจบการศึกษาไดหรือไม สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัด การศึกษาจะตองจัดทาระเบียบวาดวยการวัดผลและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเป ๖๙ ปรยี าพร วงศอนตุ รโรจน, การบริหารงานวิชาการ, (กรุงเทพมหานคร : ศนู ยสื่อเสรมิ กรุงเทพ, ๒๕๔๖), หนา ๑๖๖. ๗๐ บุญเลี้ยง ทุมทอง, “การวัดและประเมินผลสาหรับครมู ืออาชพี ”, วารสารวชิ าการ กรมวชิ าการ, (๒๕๔๕) : ๗๓. ๗๑ ศิรเิ ดช สชุ วี ะ, ชดุ เครอ่ื งมอื การประเมินตนเองของครูมืออาชีพ, (กรุงเทพมหานคร : เอ็กซเปอร เนทบคุ , ๒๕๔๖), หนา ๕๔. ๗๒ อรจรีย ณ ตะกว่ั ทงุ อางถึงใน ปรีชยั โลหชยั , “การบริหารงานวิชาการของผูบรหิ ารสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานตาม ทัศนะของหัวหนางานวิชาการสถานศึกษา สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษายะลาเขต ๒”, วิทยานพิ นธครุศาสตรมหาบัณฑติ , (บัณฑติ วทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา, ๒๕๕๒), หนา ๓๐. ๗๓ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ, แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการ เรยี นรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชมุ นมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จากัด, ๒๕๕๓), หนา ๔.

๘๖ นไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติท่ีเปนขอกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สรุปไดวา การวัดและประเมินผลเปนกระบวนการกระทาเพ่ือใหไดมาซึ่งตัวเลข เพ่ือหาลาดับหรือ รายละเอียดของคุณลักษณะโดยมีข้ันตอนและเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม แลวจึงนาผลท่ี ไดนั้นมาพิจารณาถึงคุณ คาความจริงและคณุ ภาพของการกระทานั้น ๔.๖.๒. ปญหาการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู สวุ มิ ล วองวาณิช๗๔ ไดกลาวถงึ ปญหาของการวัดการปฏิบัติงานวามีดงั น้ี ๑) ปญหาเคร่ืองมอื การพฒั นาเครือ่ งมอื เพื่อใชในการวดั การปฏิบตั งิ านยังนอย ๒) ปญหาท่ีเก่ียวของกับการวัดกระบวนการกับการวัดผลงาน พบวามีการวัดผลงาน มากกวาการวัดกระบวนการ ๓) ปญหาคณุ ภาพของผูวัด มาตรฐานการใหคะแนน อคตใิ นการใหคะแนน สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา๗๕ ไดศกึ ษาปญหาการวัดและประเมินผล ในมุมมองของ ครูผูสอน พบปญหาดังนี้ ๑) มีความสบั สนในคาศัพทตางๆ ที่อยูในหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๒) ขาดความมั่นใจในวิธีการปฏิบัติของการวัดประเมินสภาพจริง โดยเฉพาะอย างย่ิงด านเปนเร่ืองเก่ียวกบั เทคนคิ การวัดและวธิ ปี ระเมนิ ๓) เอกสารเก่ยี วกับการวัดและประเมินผูเรียนในสถานศึกษาตองการการจัดทาเป็นจานวน มาก แตไมมแี บบฟอรมที่สะดวกตอการกรอกหรือดาเนนิ การทาใหครตู องมภี าระ เพมิ่ ขน้ึ ศิโรจน แกวพิจิตร๗๖ ไดกลาวถึงปญหาในการวัดและประเมินผล มีสาเหตุมาจาก ๒ ประการ ดงั นี้ ๑) ปญหาการวัดและประเมินผลดานครผู ูสอน ไดแก (๑) ขาดความรูและเทคนิควิธี เชน การเลือกใชเคร่ืองมือ ขาดเทคนิคและ ความ ชานาญในการสรางเครื่องมือแตละชนิดแตละรูปแบบ มคี วามรูเกีย่ วกบั ธรรมชาตขิ องกลุมประสบการณนอย (๒) ไมเห็นความสาคัญของการสอบวัด การวัดและประเมินผลเปนไปอยางเล่ือน ลอยไรจดุ หมาย ไมทราบวาการสอบวัดแตละครั้งตองการอะไร (๓) ขาดการวางแผนในการสรางคาถาม (๔) ผลที่ไดจากการสอบทุกคร้ังไมมีการนามาแปลผลอยางมีความหมาย โดยท่ัวไป การแปลผลการสอบมีอยู ๒ ลักษณะ คือ แปลผลโดยเทียบกับผลการวัดภายในกลุมของเด็ก ซ่ึงเรียกวาการ ๗๔ สวุ ิมล วองวาณิช, การประเมินการปฏบิ ตั งิ าน, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พแหงจุฬาลงกรณ, ๒๕๕๐), หนา ๒๓๖-๒๓๗. ๗๕ สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, รายงานการตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้น พ้นื ฐาน, (กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั เพลินสตดู ิโอ จากัด, ๒๕๕๑), หนา ๔๕. ๗๖ ศโิ รจน แกวพจิ ิตร, ปญหาการวัดผลและประเมินผล กลมุ นเิ ทศฯ. [ออนไลน แหลงท่มี า : http://www.sk1edu.org/jnews/news4.php?show 108 [๒๓ ต.ค. ๒๕๕๔].

๘๗ ประเมินผลแบบอิงกลุม (norm reference) กับการเปรียบเทียบคะแนนกับเกณฑ หรือมาตรฐาน ซ่ึงเรียกวา การประเมนิ ผลแบบอิงเกณฑ criteria reference) (๕) ครูสวนใหญมักใชผลการสอบเพียงเพ่ือตัดสินวาใครสอบได-ตกเทาน้ัน ลักษณะ การสอบวดั เชนน้ี ไมสอดคลองกับวัตถุประสงคทส่ี าคญั ของการสอบในปจจบุ ัน เพราะการวัดและประเมินผลที่ ดีมิไดมงุ แตเพียงได-ตกเทานน้ั แตจะมุงหวังทจี่ ะคนหาและพัฒนาความสามารถที่เดน-ดอยของเดก็ ดวย (๖) ครูไมเขาใจความมงุ หมายของการวดั ผลทีแ่ ทจริง ๒) ปญหาการวดั และประเมินผลดานเครือ่ งมอื วดั ผล ไดแก (๑) การวดั ผลท่ใี ชเคร่อื งมอื วัดผลทดี่ ี มีคณุ ภาพมนี อย (๒) เครื่องมือวัดไมตรงจุดประสงค กลาวคือ ขอสอบท่ีใชจะเนนถามแตบางเนื้อหา บางพฤตกิ รรม ทาใหไมครอบคลมุ คุณลักษณะท่ีตองการวดั (๓) การใชเคร่ืองมือไมถูกตอง เน่ืองจากเครื่องมือท่ีใชในการวัดและประเมินผลมี หลายชนดิ ไดแก ขอสอบ การสงั เกต การสัมภาษณ และการตรวจสอบ เปนตน ซ่ึง เครื่องมือแตละชนิดมีท้ังข อดแี ละขอจากัด ดงั นัน้ ถาเลอื กเครอื่ งมือไมเหมาะสมไปวัดยอมทาให ไดผลท่ไี มแทจริง สรุปไดวา ปญหาในการวัดและประเมินผลการศึกษาน้ัน มีสาเหตุมาจาก ๒ ประการ ไดแก ประการแรกเปนปญหาการวัดและประเมินผลดานครูผูสอน ประกอบดวย ขาดการวางแผนในการสราง เคร่อื งมือ ขาดความรูและเทคนิคความชานาญในการสรางเครื่องมือและการเลือกใชเครื่องมือ มีความสับสน ในคาศัพทตางๆ ที่อยูในหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ขาดความ ม่ันใจในวิธีการปฏิบัติของการวัดประเมิน สภาพจริง ไมเห็นความสาคัญของการวัดผลประเมินผล ครูไมเขาใจความมุงหมายของการวัดผลท่ีแทจริง มาตรฐานการใหคะแนน อคติในการใหคะแนน และขาดการนาผลการวัดผลและประเมินผลมาปรับปรุงและ พัฒนาผูเรียน สวนประการท่ีสองเปน ปญหาการวัดและประเมินผลดานเคร่ืองมือวัดผล ประกอบดวย การ วัดผลท่ีใชเครอ่ื งมอื วัดผลทดี่ ีมี คณุ ภาพมีนอย การพฒั นาเคร่ืองมอื เพอื่ ใชในการวัดผลมีจานวนนอย ขาดแบบ ฟอรมท่สี ะดวกตอ การกรอกหรือดาเนินการสาหรับการวัดและประเมินผูเรียน และเคร่ืองมือที่ใชไมครอบคลุม คุณลกั ษณะที่ตองการวดั ๔.๖.๓ แนวทางการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู จุฑารัตน อินทะแสน๗๗ ไดกลาววา การวัดผลและประเมินผลทาไดดวยวิธีการดังนี้ คือ สังเกตการ แสดงออกของผูเรียน แฟมช้ินผลงานหรือรายงาน การสัมภาษณ บันทึกของผูเรียน การประชุมปรึกษา ระหวางผูเรียนและครู ความสามารถในการปฏบิ ัติจริงการประเมนิ ดวยตนเองหรอื กลุมเพื่อน รุจริ ภสู าระ และจันทรานี สงวนนาม๗๘ ไดกลาววา การวดั และการประเมินผลการ เรียนรูเปนองค ประกอบท่ีสาคัญที่จะชวยตรวจสอบคุณภาพของผูเรียนวาผูเรียนมีความกาวหนา ทั้งดานความรู ทักษะ กระบวนการ คุณธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงค ซึ่งเปนผลเนื่องมาจากการจัด กิจกรรมการเรียนรูหรือไม เพียงใด ผลการประเมินจะชวยใหครูผูสอนรูขอบกพรองหรือ ความกาวหนาของผูเรียน ทาใหสามารถจัด ๗๗ จุฑารัตน อินทะแสน, “การศกึ ษาการบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรยี นนารองการใชหลักสูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ สังกดั สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหงชาติ เขตการศึกษา ๕”, วทิ ยานิพนธ ครุศาสตรมหาบณั ฑิต, (บณั ฑติ วิทยาลยั : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั , ๒๕๔๕), หนา ๕๓-๕๔. ๗๘ รุจิร ภูสาระ และจันทรานี สงวนนาม, การบริหารหลกั สูตรสถานศึกษา, (กรงุ เทพมหานคร : บุค พอยท, ๒๕๔๕), หนา ๖๑-๖๗.๖๖.

๘๘ กจิ กรรมการเรยี นรูและวธิ ีการแกปญหาหรือพัฒนาใหเหมาะสมได กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูสามารถ ดาเนนิ การไดเปน ๓ ระดับ คอื ๑)การประเมินผลระดบั ช้ันเรียน ครูผูสอนจะตองประเมินผูเรียนในแตละรายวิชาเพื่อรูจักผูเรียน เปนรายบคุ คล โดยใชวิธีการทีห่ ลากหลาย และควรทาอยางตอเนอ่ื งควบคูไปกับกจิ กรรมการเรยี นรูของผูเรียน ๒)การประเมินผลระดบั สถานศกึ ษา เปนการประเมนิ เพอ่ื ตรวจสอบความกาวหนาดานการเรียนรู เปนรายชั้นปและชวงช้ันของสถานศึกษา เพื่อนาขอมูลที่ไดไปพัฒนา ปรับปรุงคุณภาพของสถานศึกษาใหเป นไปตามมาตรฐานการเรียนรูเพื่อนาผลการประเมินไป พิจารณาตัดสินการเล่ือนชวงช้ัน ในกรณีที่ผูเรียนไม สามารถผานมาตรฐานการเรยี นรูของกลุมสาระ ตางๆ สถานศกึ ษาจะตองจัดใหมีการสอนซอมเสริมและจัดใหมี การประเมนิ ผลการเรียนรูดวย ๓) การประเมินผลระดบั ชาติ สถานศึกษาจะตองจัดใหผูเรียนทุกคนท่ีเรียนใน ปสุดทายของแต ละชวงชัน้ ไดแก ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๓ และช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๖ เขารับการประเมินคุณภาพระดับชาติ ในกลุมสาระการเรียนรูท่ีสาคัญ ไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยา ศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาตางประเทศ และกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ ตามท่ี กระทรวงศึกษาธิการกาหนด ขอมูลท่ีไดจากการประเมินจะ นาไปใชในการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนและ คณุ ภาพของการจัดการสถานศึกษาแตละแหง กิจกรรมการวดั และการประเมินผลการเรยี นการสอนอาจทาไดด วยวธิ ีตอไปน้ี ๗๙ ๑)การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เปนการประเมินผล จากงานหรือผลงานท่ี เปนจริง การปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวัน ซ่ึงครอบคลุมถึงวิธีการดังตอไปนี้ การนาเสนอดวยปากเปลา (Oral Presentation) การโตวาที (Debates) การแสดงนิทรรศการ (Exhibitions) การรวบรวมผลงานเขียนของ นักเรียน (Collections of Students Written Products) แถบบันทึกภาพผลการปฏิบัติงาน (Videotapes of Performances) การสรางและงานประดิษฐโครงหุน (Construction and Models) การแกปญหา (Solutions of Problems) พฤติกรรมของผูเรียน(Students’ Behavior) การปฏิบัติงานกลุ Cooperative Group Work) ๒) การประเมินโดยใชแฟมสะสมงาน (Portfolio Assessment) เปนวิธีการ ประเมินผลการ เรียนการสอนโดยผูเรียนไดมีสวนรวมการประเมินอยางเต็มที่ ๒ ขั้นตอนคือผูเรียน แตละคนรวบรวมผลงาน และบันทึกผลการประเมินไวในแฟมรวบรวมผลงาน (Working Folder) และนักเรียนแตละคนจัดและ คดั เลอื กผลงานจากแฟมรวบรวมผลงานเพ่ือจัดทาแฟมสะสมงาน ตอไป ๓) การประเมินโดยใชแบบทดสอบมาตรฐาน (Standardize Test) เปนวิธีการ ประเมินผลการ เรียนรูของผูเรียนในรูปแบบของขอทดสอบแบบปรนัย ซ่ึงผูเรียนทุกคนไดรับการ ประเมินผลสัมฤทธ์ิในวิชา แกนหลกั และคุณลักษณะที่สาคญั ดวยเคร่ืองมือหรอื แบบทดสอบทไี่ ด มาตรฐาน สวุ ิทย มูลคา และอรทยั มลู คา๘๐ กลาววาการวัดผลและประเมนิ ผลนัน้ ควรประเมนิ ดังนค้ี อื ๑) สงั เกตพฤตกิ รรมของผูเรยี นจาก การแสดงความคดิ เห็น ความสนใจเรียน ความรวมมือใน กจิ กรรม และการรายงานของกลุม ๒) ตรวจสอบความถูกตองของการสรปุ กฎเกณฑลักษณะสาคัญ ๗๙ อา้ งแลว้ เรื่องเดยี วกัน, หนา ๖๔-๖๗. ๘๐ สุวทิ ย มูลคา และอรทยั มลู คา, วธิ จี ดั การเรยี นรเู พอ่ื พัฒนากระบวนการคดิ , (กรงุ เทพมหานคร : ภาพพมิ พ, ๒๕๔๕), หนา ๒๑.

๘๙ ๓) ตรวจสอบความถกู ตองของขอสอบและแบบฝกหดั สมศักด์ิ สินธุระเวชญ๘๑ ไดกลาววา การวัดผลและประเมินผลการเรียนการสอนมี หลักการ ดาเนนิ งาน ดงั นี้ ๑) จดั ทาหลกั เกณฑและแนวปฏบิ ัตกิ ารวัดผลและประเมนิ ผล ๒) บุคลากรทกุ คนทง้ั ครูผูสอน นักเรียน ผูปกครอง ไดมีสวนรวมปฏิบัตกิ ารวดั ผลและประเมินผล เปนมาตรฐานเดยี วกนั ตามหลักเกณฑและแนวปฏบิ ัติ ๓) วัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นการสอนอยางตอเนื่องควบคูการเรียนการสอนโดยการวดั และ ประเมินความประพฤติ พฤติกรรมการเรยี น การรวมกจิ กรรม และผลงานของผูเรยี น ๔) นาผลการวัดและประเมินมาพัฒนาคุณภาพผูเรียนและสงเสริมใหผูเรียน พัฒนาการเรียนรู เต็มตามศกั ยภาพ สานักงานปฏิรูปการศึกษา๘๒ไดกาหนดวา การวัดผลและประเมินผลการเรียนการสอนสถาน ศึกษาตองดาเนนิ การ ดังน้ี ๑) กาหนดระเบยี บการวดั และประเมินผล ๒) จัดทาเอกสารหลักฐานการศกึ ษา ๓) ดาเนินการวัดผลและประเมนิ ผลทุกชวงช้ัน ๔) พฒั นาเครื่องมือการวดั ผลและประเมินผล ๕) จัดระบบสารสนเทศดานการวัดผลและประเมินผลเพ่ือการอางอิง การตรวจสอบและ พัฒนาการเรียนการสอนตอไป กมล ภูประเสริฐ๘๓ ไดเสนอวา การบริหารการประเมินผลการเรียน ไดแก การจัดใหมีการ ดาเนนิ งานทีส่ รปุ ได ดงั นี้ ๑) การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรู รายวิชาและกิจกรรมการเรียนการ สอน รวมท้ังการรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซึ่งเปนการเตรียมการประเมินผลการเรียนเพ่ือกาหนดวิธีการ เคร่อื งมือ และแนวปฏบิ ัติในการประเมนิ ๒) การกาหนดวิธีการวัดผลและประเมินผลและเคร่ืองมือท่ีจะใชในการวัดผลและประเมินผล การเรียนรู และการเตรียมการในการสรางเคร่ืองมือและกาหนดวิธีการที่เปนระบบโดยเปนการกาหนดให ประเมนิ ผลตามสภาพจริง การประเมินตามสภาพจรงิ ตองใชวธิ กี ารท่ี หลากหลาย ท้ังการสังเกตพฤติกรรม การ พิจารณาผลงานที่สะสมไว การฟงการนาเสนอของผูเรียน ๓) การควบคุม ดูแล ติดตามและสงเสริมใหมีการประเมินผลการเรียนตาม วิธีการและ เครื่องมือที่ไดกาหนดไว รวมทั้งการดูแลใหมีการบันทึกผลการเรียนการสอน การบันทึกการสังเกต และการ รวบรวมผลงานของนักเรียนตามชวงเวลาท่ีกาหนดไวอยางสม่าเสมอ ๔) การจัดทาหลักฐานการศึกษาและหลักฐานการประเมินผลตามที่กระทรวง/ กรม/หน วย งานตนสังกัด ไดกาหนดไว ๘๑ สมศกั ด์ิ สนิ ธรุ ะเวชญ, การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู, (กรงุ เทพมหานคร : วฒั นาพานิช, ๒๕๔๕), หนา ๙-๑๐. ๘๒ สานกั งานปฏิรูปการศึกษา, แนวทางการบรหิ ารและการจดั การศึกษา ในเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาและ สถานศกึ ษา, (กรงุ เทพมหานคร : สานกั งานปฏริ ปู การศกึ ษา, ๒๕๔๕), หนา ๑๔-๑๕. ๘๓ กมล ภปู ระเสริฐ, การบริหารงานวชิ าการในสถานศกึ ษา, พมิ พคร้งั ท่ี ๓, (กรงุ เทพมหานคร : เสรมิ สินพรเี พรส ซสิ เท็ม, ๒๕๔๗), หนา ๑๓.

๙๐ ๕) การนาผลการประเมินไปใชในการแกไขขอบกพรองของผูเรียนแตละคน อยางสม่าเสมอ ซง่ึ เปนการพัฒนาผูเรียนและกระบวนการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนปรับปรุง ตนเอง ๖) การกาหนดรปู แบบ ระยะเวลาการรายงานผลการเรยี นรู ท้ังการรายงานผลการเรียนรูของผู เรียนตอผูปกครองและรายงานผลตอสาธารณะและหนวยงานตนสงั กัดไดทราบ กระทรวงศกึ ษาธิการ๘๔ ไดเสนอแนวทางการประเมินผลไว ดงั น้ี ๑) กาหนดระเบียบ แนวปฏบิ ัติเกีย่ วกับการวัดผลและประเมินผลของสถานศึกษา ๒) สงเสริมใหครูจัดทาแผนการวัดผลและประเมินผลแตละวิชา ใหสอดคลอง กับมาตรฐาน การศึกษา สาระการเรยี นรู หนวยการเรยี นรู แผนการจดั การเรยี นรู และการจดั กิจกรรมการเรียนรู ๓) สงเสรมิ ใหครูดาเนนิ การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนการสอน โดยเนนการประเมินตาม สภาพจริง จากกระบวนการการปฏิบัตแิ ละผลงาน ๔) พฒั นาเครอื่ งมอื และประเมนิ ผลใหไดมาตรฐาน สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน๘๕ กลาววา การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผู เรียนตองอยูบนจดุ มงุ หมายพืน้ ฐาน ๒ ประการ ไดแก ๑) การวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียน โดยเก็บรวบรวมขอมูลเก่ียวกับผล การเรียน และการ เรียนรูของผูเรียนในระหวางการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง บันทึก วิเคราะห แปลความหมายขอมูลแล้ว นามาใชในการสงเสรมิ หรือปรบั ปรงุ แกไขการเรียนรูของผูเรียนและการ สอนของครู การวัดและประเมินผลกับ การสอนจงึ เปนเร่ืองท่ีสัมพนั ธกัน หากขาดสิง่ หน่งึ สงิ่ ใดการ เรยี นการสอนกข็ าดประสทิ ธภิ าพ ๒) การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เป นการประเมินสรุปผลการเรียนรู (Summative assessment) ซึ่งมีหลายระดับ ไดแก เมื่อเรียนจบหนวยการเรียน จบรายวิชาเพื่อ ตัดสินให คะแนนหรือใหระดับผลการเรียน ใหการรับรองความรูความสามารถของผูเรียนวาผานรายวิชาหรือไม ควรได รับการเลือ่ นช้นั หรือไม หรือสามารถจบหลกั สตู รหรือไม สรุปไดวา แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการศกึ ษา ประกอบดวย การกาหนด นโยบายการ วัดผลและประเมินผล การกาหนดระเบียบการวัดผลและประเมินผล การกาหนด หลักเกณฑ และแนวทาง ปฏิบตั ิการ การเตรียมการวดั ผลและประเมินผล การพัฒนาเครื่องมือการวัดผลและประเมินผลใหไดมาตรฐาน การประชุมปรึกษาหารือระหวางครูกับผูเรียน การสงเสริมใหครู ผูเรียน ผูปกครองมีสวนรวมวัดผลและ ประเมินผล การสงเสริมใหบุคลากรท่ผี านการอบรมการวัดผลและประเมินผลไดปฏิบัติงานอยางศักยภาพ การ ปฏิบัติการวัดผลและประเมินผล ไดแก การประเมินตามสภาพจริง โดยการดูจากบันทึกของผู เรียน ความสามารถในการปฏิบัติจริง การสังเกตการแสดงออกหรือพฤติกรรมของผู เรียน การประเมินโดยผูเรียน ประเมนิ ตนเองหรือโดยกลุม เพอ่ื น การตรวจแฟมสะสมผลงาน การดูรายงานผลการเรียนของผูเรียน การ ใชแบบทดสอบ มาตรฐาน การติดตามผลการวัดผลและประเมินผล ไดแก การนาผลท่ีไดมาพัฒนาคุณภาพผู เรยี น การจัดทาเอกสารหลักฐานการศึกษาหรอื หลกั ฐานการประเมนิ ผล และการจัดระบบสารสนเทศดาน การ วดั ผลและประเมนิ ผลเพ่อื อางอิง ตรวจสอบ และพฒั นาการเรียนรู ๘๔ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, คมู อื การบริหารสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานที่เปนนิติบคุ คล, (กรงุ เทพมหานคร : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๔๗), หนา ๓๕. ๘๕ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ, แนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมนิ ผลการ เรยี นรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชมุ นมุ สหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย จากัด, ๒๕๕๑), หนา ๒.

๙๑ สรุปทา้ ยบท การประเมินตามกลุ่มผู้ประเมิน (Evaluator) แบ่งออกเป็น การประเมินตนเอง (Self Assessment) หรือการประเมินภายใน (Internal Evaluation) เป็นการประเมินลักษณะเดียวกับการประเมินแบบอิงตน คือ เพื่อนาผลการประเมินมาพัฒนาหรือปรับปรุงตนเอง การประเมินประเภทน้ีสามารถประเมินได้ทุกกลุ่ม ผู้เรยี นประเมนิ ตนเองเพ่อื ปรับปรงุ การเรยี นรู้ของตนเอง ครปู ระเมินเพอ่ื ปรบั ปรงุ การสอนของตนเอง นอกจาก ประเมินเพื่อพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนแล้ว สามารถประเมินเพ่ือพัฒนาปรับปรุงได้ทุกเรื่อง ผู้บริหาร สถานศกึ ษาประเมินเพ่อื ปรับปรุงการบริหารจดั การศึกษาของสถานศึกษาโดยอาจจะประเมินด้วยตนเอง หรือมี คณะประเมินของสถานศกึ ษา เรยี กว่า การประเมนิ ภายใน (Internal Evaluation) หรือการศกึ ษาตนเอง (Self Study) โดยอาจจะประเมินโดยรวม หรือแบ่งประเมินเป็นส่วนๆ เป็นด้านๆ ลักษณะการประเมินอาจจะมี คณะเดยี วประเมินทุกสว่ น หรือจะใหแ้ ตล่ ะส่วนประเมินตนเองหรือภายในส่วนของตนเอง เช่น แต่ละระดับชั้น เรียน แต่ละหมวดวิชาหรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ละฝุาย อาทิ ฝุายปกครอง ฝุายวิชาการ ฝุายอาคาร สถานท่ี เปน็ ต้น เพ่ือให้แต่ละส่วนมีการพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานของตนเอง และอาจจะรวบรวมผลการ ประเมินแตล่ ะส่วนเพ่อื จัดทาเป็นรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา การประเมินโดยผู้อื่นหรือการ ประเมินภายนอก (External Evaluation) สืบเน่ืองจากการประเมินตนเองหรือการประเมินภายในซ่ึงมี ความสาคัญมากในการพัฒนาปรับปรุง แต่การประเมินภายในมีจุดอ่อนคือความน่าเชื่อถือ โดย บุคคลภายนอกมักคิดว่าการประเมินภายในนั้น มีความลาเอียง ผู้ประเมินตนเองมักจะเข้าข้างตนเอง ดังนั้น จึงมีการประเมินโดยผู้อ่ืนหรือประเมินโดยผู้ประเมินภายนอก เพ่ือยืนยันการประเมินภายใน และอาจจะมี จุดอ่อนหรือจุดที่ควรได้รับการพัฒนายิ่งข้ึนในทรรศนะของผู้ประเมินในฐาน ะท่ีมีประสบการณ์ท่ีแตกต่างกัน อย่างไรก็ดี การประเมินภายนอกก็มีจุดบกพร่องในเรื่องการรู้รายละเอียดและถูกต้องของสิงท่ีจะประเมิน และจดุ บกพรอ่ งอีกประการหน่ึงคอื เจตคตขิ องผู้ถกู ประเมนิ ถ้ารสู้ ึกว่าถูกจับผิดก็จะต่อต้าน ไม่ให้ความร่วมมือ ไมย่ อมรบั ผลการประเมิน ทาให้การประเมินดาเนินไปด้วยความยากลาบาก ดังน้ันการประเมินภายนอกควร มาจากความตอ้ งการของผถู้ กู ประเมนิ เช่น ครูผู้สอนให้ผู้เรียน ผู้ปกครอง หรือเพื่อนครูประเมินการสอนของ ตนเอง สถานศกึ ษาใหผ้ ู้ปกครองหรอื