Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา

การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา

Description: การบริหารจิต หมาย ถึง การบำรุงรักษาจิตให้เข้มแข็งผ่องใสบริสุทธิ์ ซึ่งต่างกับการบริหารกาย เพราะการบริหารกายต้องทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอยู่เสมอแต่การบริหารจิต จะต้องฝึกฝนให้จิตสงบนิ่งอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งการฝึกจิตให้สงบ คือการทำสมาธินั่นเอง

Keywords: การสอนการบริหารจิต เจริญปัญญา

Search

Read the Text Version

๙๔ ความหมาย ดังน้ันจึงต้องสลัดความเคยชนิ เสียให้สิ้น และเปล่ียนอาการท่าทีเพ่ือให้สติ สมาธิ และปัญญา ไดเ้ กดิ รู้ซ่งึ ความจริงของความเป็นไปของรูปนาม”๘๐ ๒.๘.๕ การกำหนดอิริยาบถท่วั ๆ ไป หลกั ปฏบิ ัติวปิ ัสสนาตามหลักสติปฏั ฐาน ๔ คือ ๑) กายานุปสั สนาสตปิ ัฏฐาน อิริยาบถปัพพะมี ๑ สัมปชัญญปัพพะมี ๑ ธาตุ มนสิการปัพพะ มี ๑ ๒) เวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ๓) จติ ตานุปัสสนาสติปฏั ฐาน ๔) ธัมมานุปสั สนาสติปัฏฐาน ๑) กายานปุ ัสสนาสตปิ ฏั ฐาน การมสี ตติ ้ังม่ันอยใู่ นการพิจารณาเนือง ๆ ซึ่งกายอนั เปน็ รูปขันธ์ คือ (๑) อิริยาบถปัพพะ มี ๑ ได้แก่ อิริยาบถ ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน ในขณะเดิน ผู้ ปฏิบัติพึงมีสติรู้เท่าทันสภาวะเคลื่อนไหวของเท้าแต่ละย่างก้าวด้วยการกำหนดว่า “เดินหนอๆ” หรือ “ย่างหนอ ๆ” หรือ “ยกหนอ ย่างหนอ เหยียบหนอ” เม่ือสมาธิแก่กล้ามากขึ้น ผู้ปฏิบัติจะสามารถ รับรู้จิตที่ต้องการจะเดินได้อีกโดยรู้ว่า จิตท่ีต้องการเดินจะเกิดข้ึนก่อน แล้วจึงเกิดอาการเคลื่อนไหว ต่อมา ดังในมหาสติปัฏฐานสูตรท่านแสดงไว้ว่า “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติอีกประการหน่ึง คือ ภิกษุเม่ือเดินอยูย่ ่อมรู้ชดั ว่าเดินอยู่ เมื่อยนื อยู่ ย่อมรูช้ ัดว่ายืนอยู่ เมื่อน่ังอยู่ ย่อมรชู้ ัดว่านั่งอยู่ เมอ่ื นอน อยู่ ก็ย่อมรู้ชัดว่านอนอยู่ หรือว่า ภิกษุต้ังกายไว้ด้วยอาการอย่างใดอยู่ ก็ย่อมรู้ชัดด้วยอาการ อย่าง นนั้ ”๘๑ ความจริงคนทั่วไปท่ีมิได้เจริญสติปัฏฐานก็รู้ว่าตนเดิน ใจมิได้อยู่กับอาการเดินนั้น แต่ใจมัก คิดถึงเร่ืองในอดีตหรืออนาคตโดยมิได้รับรู้สภาวะเดินอย่างแท้จริง ในบางคร้ังแม้จะรู้ถึงการเดินก็มี ความสำคัญว่าเป็นอัตตา ตัวตน เป็นเราท่ีเดินอยู่ การเดินมีความเท่ียงไม่แปรปรวน เพราะกิริยาเดิน ดำรงอยู่เหมือนเดิม มไิ ดป้ รากฏสภาวะเกิดดับ ความรสู้ ึกของคนท่ัวไปจึงมอี ัตตสญั ญา คอื ความสำคัญ วา่ เปน็ ตัวตน ไม่ใช่สติปฏั ฐานหรือวิปัสสนา การกําหนดอิริยาบถนอน พระพุทธองค์ได้ตรัสสอนไว้ว่า “เมื่อนอนอยู่ ก็ให้รู้ว่านอนอยู่” หมายความว่า ขณะท่ีเอนตัวลงจะนอน พึงกำหนดตามกิริยาอาการ และท่าทางของกาย จนกว่าจะ นอนเป็นที่เรยี บรอ้ ยต่อจากน้ันก็ให้กำหนดวา่ “พองหนอ ยุบหนอ” จนกว่าจะหลับ และหลับ เมื่อใดก็ ไม่ตอ้ งสนใจการมีสติกำหนดรู้ตัวอยู่เสมอดังน้ีเปน็ การปฏบิ ตั ติ ามหลกั สติปัฏฐานสตู ร๘๒ (๒) สมั ปชญั ญปพั พะ มี ๑ ได้แก่ สมั ปชัญญะ มี ๔ อย่าง คือ ๑. ความรู้ทีเ่ กดิ จากการพจิ ารณาวา่ มีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์ เรียกว่า สาตถกสัมปชัญญะ ๘๐ พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ อคั คมหากมั มฎั ฐานจรยิ ะ, วปิ สั สนาธรุ ะ, (กรุงเทพมหานคร: C ๑๐๐ DESIGN CO., LTD, ๒๕๓๖), หนา้ ๑๓๗-๑๓๘. ๘๑ ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๑๓๔/๗๔. ๘๒ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๕/๓๐๔, ที.ม.อ. (ไทย) ๓๗๕/๓๘๓.

๙๕ ๒. ความรู้ทเ่ี กดิ จากการพจิ ารณาวา่ เป็นสัปปายะหรอื ไม่เป็นสปั ปายะ เรียกว่า สปั ปายสมั ปชญั ญะ ๓. ความรูท้ ีเ่ กดิ ขนึ้ จากการพิจารณาว่า อารมณ์นั้นถูกต้องหรอื ไม่ถูกต้อง เรียกว่าโคจรสมั ปชัญญะ ๔. ความรทู้ ี่เกดิ ขึน้ จากการพิจารณาวา่ รสู้ กึ ตวั ชัดวา่ ไมห่ ลงลืมในขณะทำ กจิ น้ัน ๆ เรียกว่า อสัมโมหสมั ปชญั ญะ๘๓ ดกู รภิกษทุ ั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุเป็นผู้กระทำสัมปชัญญะในการก้าวไป และถอยกลับ ในการแลไปข้างหน้า และเหลียวซ้ายเหลียวขวา ในการคู้อวัยวะเข้า และเหยียดออก ในการทรงผ้า สงั ฆาฏิ บาตร และจีวร ในการกิน ดื่ม เคี้ยว ล้ิม ในการถา่ ยอุจจาระและปัสสาวะ ในเวลาเดิน ยืน น่ัง นอน หลับ ตื่น พูด น่ิง ดังพรรณนามาฉะน้ี ภิกษุ ย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง ฯลฯ ดูกร ภกิ ษทุ ั้งหลาย แมอ้ ยา่ งนี้ ภิกษุชอ่ื ว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ๘๔ ในขณะก้าวหรือถอย พึงตามรู้สภาวะก้าวหรือถอย กําหนดว่า “ก้าวหนอ” “ถอยหนอ” “เห็นหนอ” “เหลียวหนอ” “คู้หนอ” “เหยียดหนอ” “ดื่มหนอ” “เคี้ยวหนอ” เป็นต้น เม่ือวิปัสสนา ญาณมกี ำลงั มากขน้ึ จะรับรถู้ งึ จิตที่ตอ้ งการก้าว ถอย เห็น เหลียว คู้ เหยียด ดม่ื เคี้ยว พร้อมทั้งสภาวะ เคลอ่ื นไหวอย่างชัดเจน ปราศจากตวั ตน เรา ของเรา เป็นตน้ ธาตมุ นสิการปพั พะ มี ๑ ได้แก่ การพิจารณาโดยความเป็นธาตุ ๔ มสี ภาวะลักษณะคอื ๑. ธาตุดนิ (ปฐวธี าตุ) มลี ักษณะแขง็ และอ่อน ๒. ธาตนุ า้ํ (อาโปธาตุ) มีลกั ษณะไหลและเกาะกมุ ๓. ธาตไุ ฟ (เตโชธาตุ) มีลกั ษณะร้อนและเย็น ๔. ธาตลุ ม (วาโยธาตุ) มลี ักษณะเคลื่อนไหวและหยอ่ นตึง “ดูกรภิกษุทั้งหลาย อกี ประการหน่ึง ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายนแี้ หละ ซง่ึ ต้ังอยู่ตามท่ีตั้งอยู่ ตามปกติ โดยความเปน็ ธาตุว่า มอี ยู่ในกายนี้ ธาตุดนิ ธาตนุ ้าํ ธาตุไฟ ธาตุลม ดูกรภิกษุท้ังหลาย เปรียบเหมือน คนฆ่าโค หรือลูกมือของคนฆ่าโคผู้มีความชำนาญ ครั้นฆ่า แม่โคแล้วชำแหละเนือ้ แบ่งออกเปน็ ช้ิน ๆ นั่งอยู่ ณ ทางใหญ่ ๔ แพรง่ ฉันใด ดูกรภิกษทุ ั้งหลาย ภกิ ษกุ ็ฉันนั้นเหมอื นกนั ย่อมพิจารณาเห็นกายนแี้ หละ ซ่งึ ตั้งอยู่ตามท่ี ต้ังอยู่ตามปกติ โดยความเปน็ ธาตุว่า มีอยู่ในกายน้ี ธาตดุ ิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ ธาตุลม ภิกษุ ย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง เฝ้าตามดูกายในกายภายนอกอยู่บ้าง เฝ้าตาม ดูกายในกายภายในหรือภายนอกอยูบ่ า้ ง ดว้ ยประการฉะนี้ หรือเฝ้าตามดูส่ิงท่ีเกิดขึ้นในกายอยู่บ้าง เฝ้าตามดูส่ิงที่ดับไปในกายอยู่บ้าง เฝ้าตามดูสิ่งท่ีเกิดขึ้นและ ดบั ไปในกายอยูบ่ ้าง กห็ รอื ว่า ภิกษนุ ้ันเขา้ ไปต้ังสติอยู่ว่า กายมีอยู่ดังน้ี เพียงเพ่ือรู้ไวเ้ ทา่ น้ัน เพยี งเพ่ือระลึกไว้ เฉพาะเทา่ นน้ั เปน็ ผู้ไม่มสี ิ่งใดอาศัยอยู่ด้วย ทัง้ ไมย่ ึดถืออะไร ๆ ในโลกด้วย”๖๘๕ ดกู ่อนภิกษทุ ั้งหลาย ภกิ ษเุ ฝา้ ตามดูกายในกายอยู่ แมด้ ว้ ยประการดงั กล่าวนี้๖๘๖ ๘๓ ม.ม.ู (บาลี) ๑๒/๑๓๕/๑๐๕. ๘๔ ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๑๓๕/๗๔. ๘๕ ดรู ายละเอียดใน ม.ม.ู (บาลี) ๑๒/๑๓๗/๑๐๖. ๘๖ ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๑๓๗/๗๕.

๙๖ การกําหนดอิริยาบถย่อย ในการกําหนดอิริยาบถย่อยตามวิธีการสอนของพระอาจารย์ใหญ่ (พระภัท ทันตะ อาสภะมหาเถระ) ก็สอดคล้องกับอรรถกถาจารย์ท่ีอธิบายไว้ในคมั ภีร์ต่าง ๆ และสอดคล้องกับ ที่ปรากฏอย่ใู นพระสตู รมีหลกั ฐานแสดงไวว้ ่า พระพุทธองค์ทรงเทศนาไว้ในสติปัฏฐานว่า ร่างกายของโยคีบุคคลน้ันต้ังอยู่ในอาการใด ๆ ก็ ตาม ตั้งสติกำหนดรู้อาการน้ัน ๆ ในที่นี้อรรถกถาจารย์อธิบายเพิ่มเติมว่า เอาท้ังหมด หมายความว่า รา่ งกายของโยคบี ุคคลน้ี อาการเดินอยู่กต็ ้องตั้งสตกิ ำหนดให้รู้วา่ ซ้ายย่างหนอ ขวาย่างหนอ ถ้าอาการ ยืนอยู่ก็ดี น่ังอยู่ก็ดี นอนอยู่ก็ดี ก็ตั้งสติกำหนดอยู่ว่ายืนหนอ น่ังหนอ นอนหนอ ถ้าหากกำลังกำหนด เดินอยู่ก็ดี กำลังยืนอยู่ก็ดี กำลังน่ังอยู่ก็ดี กำลังนอนอยู่ก็ดี ตามร่างกายนั้นมีอาการอย่างไร เกิดขึ้นก็ ต้ังสติกำหนด เช่น ตัวยืนอยู่ก็กำหนดว่า ยืนหนอ ตัวเอน เอนหนอ ก้มหนอ เงยหนอ คู้หนอ เหยียด หนอ เย็นหนอ รอ้ นหนอ ปวดหนอ ถ้าท้องพองขนึ้ พองหนอ ยุบหนอ เปน็ ต้น อาการเลก็ ๆ น้อย ๆ ก็ ต้องกำหนดด้วยเพราะอาการเล็ก ๆ น้อย ๆ เหล่านั้น ถ้าไม่ได้กำหนดก็จะเข้าใจผิด ยึดถือว่าเป็น นิจ จะ สุขะ อัตตะได้ ถา้ กำหนดก็ไดเ้ ห็นอนิจจะ ทุกขะ อนัตตะ อนั เป็นอาการของรูป, นามตามความเป็น จริงนอกจากน้ียังได้สอนให้กําหนดในเวลาล้างหน้า อาบนํ้า ชำระกาย พึงกําหนดให้ครบถ้วนเท่าท่ีพึง กำหนดได้ เช่น เอื้อมมือหยิบขันตักนํ้า ลูบหน้า รดตัว ถูตัว เป็นต้น เม่ือเสร็จภารกิจแล้ว เปล่ียนผ้า เช็ดตัว เช็ดหน้า ฯลฯ ความเคลื่อนไหวเหล่านี้ล้วนต้องกำหนดท้ังส้ิน แม้แต่การเดินไปรับประทาน อาหารก็กำหนดเดินไปจนถึงที่รับประทานอาหารหรือเห็นถ้วยชามก็กำหนดเห็นหนอ แม้เอ้ือมมือไป หยิบถว้ ยชามก็พึงกำหนดหยบิ หนอ จับช้อน อาหารร้อน อาหารเย็น ตักอาหาร ก้มศรี ษะ กลนื อาหาร พงึ กำหนดทงั้ ส้นิ ๘๗ ๒) เวทนานุปสั สนาสติปัฏฐาน พระพุทธองค์ตรัสการเจริญเวทนานุปัสสนา๘๘ว่า “ภิกษุในพระศาสนาน้ี เม่ือเสวยสุขเวทนา ย่อมรชู้ ัดว่าเสวยสุขเวทนาอยู่ เมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่าเสวยทุกขเวทนาอยู่ เม่ือเสวยอุเบกขา เวทนายอ่ มรชู้ ดั ว่าเสวยอุเบกขาเวทนาอยู่”๘๙ การพจิ ารณาเวทนามี ๓ อย่าง คอื (๑) สุขเวทนา คือ ความรู้สึกทางกาย ได้แก่ ความสบายกาย ความโล่ง เป็นต้น ผู้ ปฏิบัติตามกำหนดรู้สุขเวทนาว่า “สบายหนอ” “โล่งหนอ” ตามความเป็นจริงย่อมรู้ชัดว่า มีเพียง สภาวธรรมท่เี กดิ ขนึ้ แลว้ กด็ ับไป ไม่เทย่ี ง เปน็ ทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน ไม่มีเรา ของเรา (๒) ทุกขเวทนา คือ ความรู้สึกเป็นทุกข์ทางกาย ได้แก่ ความเจ็บ ปวด เม่ือย ชา คัน ร้อน เย็น จุกเสียด เหนื่อย เป็นต้น ผู้ปฏิบัติตามกำหนดรู้ทุกข์เวทนาว่า “เจ็บหนอ” “ปวด-หนอ” “เม่ือยหนอ” “ชาหนอ” “คันหนอ” “ร้อนหนอ” “เย็นหนอ” “จุกหนอ” “เสียดหนอ” “เหนื่อย หนอ” ตามความเป็นจริงย่อมรู้ชัดว่า มีเพียงสภาวธรรมที่เกิดข้ึนแล้วก็ดับไป ไม่เที่ยงเป็นทุกข์ ไม่ใช่ ตวั ตน ไม่มีเรา ของเรา ๘๗ ธนาคม บรรเทากลุ , “การศกึ ษาวธิ กี ารสอนวิปัสสนากมั มัฏฐานของพระอาจารยภ์ ัททนั ตะอาสภมหา เถระ อัคคมหากมั มฏั ฐานาจรยิ ะ”, วิทยานิพนธพ์ ทุ ธศาสตรมหาบัญฑติ , (บณั ฑิตวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ า ลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๙), หนา้ ๓๕-๓๖. ๘๘ ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๘๐/๒๖๕. ๘๙ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๐/๓๑๓.

๙๗ (๓) อเุ บกขาเวทนา คือ ความรู้สึกเป็นกลาง ไมส่ ุขไม่ทุกข์ เมื่ออุเบกขาเวทนาเกิดข้ึน ก็รูว้ า่ ไมส่ ุขไม่ทุกข์ คือ เฉย ๆ ผูป้ ฏบิ ตั ติ ามกำหนดรู้ “เฉยหนอ”๙๐ การพิจารณาเวทนาไว้ ๕ อยา่ งคือ ๑. สุขเวทนา ไดแ้ ก่ ความรู้สึก ทางกาย ๒. ทุกขเวทนา ได้แก่ ความรู้สกึ เปน็ ทุกขท์ างกาย ๓. โสมนสั เวทนา ไดแ้ ก่ ความรู้สึกทางใจ คือ ความสบายใจ ความดีใจ สขุ ใจ เบิกบานใจ เป็นต้น ๔. โทมนัสเวทนา ได้แก่ ความรู้สกึ ทางใจ คือ ความไม่สบายใจ ความเศร้า โศกเสียใจ กลวั รอ้ นใจ วิตกกังวล เป็นตน้ ผปู้ ฏิบัตติ ามกำหนดวา่ “ไมส่ บายใจหนอ” “เศรา้ หนอ” “เสยี ใจหนอ” “กลัวหนอ” “กงั วลหนอ” ๕. อุเบกขาเวทนา ได้แก่ ไม่สุข ไม่ทุกข์ เฉย ๆ๙๑ การพิจารณาเวทนามี ๙ อย่าง คือ เวทนาที่อิงกามคุณ (สามิสสุข) หมายถึง ความพอใจ และ ไมพ่ อใจกับกามคณุ ๕ คือ รปู เสยี ง กลิน่ รส และสมั ผัส ได้แก่ ๑. เสวยสขุ เวทนาอยู่ มสี ติระลกึ รชู้ ดั ว่า กาํ ลงั เสวยสุขเวทนา ๒. เสวยทกุ ขเวทนาอยู่ มีสตริ ะลึกรชู้ ัดวา่ กาํ ลงั เสวยทุกขเวทนา ๓. เสวยอเุ บกขาเวทนาอยู่ มีสติระลึกร้ชู ัดว่า กาํ ลังเสวยอุเบกขาเวทนา ๔. เสวยสุขเวทนามีอามิสอยู่ มีสตริ ะลกึ รู้ชดั ว่า กาํ ลงั เสวยสุขเวทนามีอามสิ ๕. เสวยทกุ ขเวทนามีอามสิ อยู่ มีสตริ ะลกึ รชู้ ัดว่า กาํ ลงั เสวยทกุ ขเวทนามอี ามสิ ๖. เสวยอเุ บกขาเวทนามีอามิสอยู่ มสี ติระลึกรู้ชัดว่ากําลงั เสวยอเุ บกขาเวทนามี อามิส ๗. เสวยสุขเวทนาไมม่ อี ามสิ อยู่ มสี ตริ ะลึกร้ชู ดั วา่ กาํ ลงั เสวยสุขเวทนาไม่มอี ามิส ๘. เสวยทกุ ขเวทนาไม่มีอามิสอยู่ มีสติระลกึ รชู้ ัดว่า กาํ ลังเสวยทุกขเวทนาไมม่ ีอามสิ ๙. เสวยอเุ บกขาเวทนาไม่มีอามสิ อยู่ มีสติระลึกรูช้ ัดวา่ กําลังเสวยอเุ บกขาเวทนาไม่ มอี ามสิ ๙๒ ๓) จิตตานุปสั สนาสติปัฏฐาน สตติ ามกำหนดพิจารณาได้ ๑๖ ประการ คอื ๑. เม่อื จติ มีราคะเกดิ ข้นึ ให้เอาสติตามกาํ หนดร้วู ่า จิตมีราคะ ๒. เม่ือจิตปราศจากราคะ ใหเ้ อาสตติ ามกาํ หนดรวู้ ่า จติ ปราศจากราคะ ๓. เมอ่ื จติ มโี ทสะเกิดขนึ้ ใหเ้ อาสตติ ามกาํ หนดรูว้ า่ จิตมีโทสะ ๔. เมื่อจิตปราศจากโทสะใหเ้ อาสตติ ามกําหนดรวู้ ่าจิตปราศจากโทสะ ๕. เมื่อจิตมีโมหะเกดิ ขึน้ ใหเ้ อาสติตามกําหนดรู้ว่า จิตมโี มหะ ๖. เมอ่ื จิตปราศจากโมหะใหเ้ อาสติตามกําหนดรู้ว่าจติ ปราศจากโมหะ ๗. เมอ่ื จติ หดหู่และท้อถอย ใหเ้ อาสติตามกาํ หนดรวู้ า่ จิตหดหู่ และทอ้ ถอย ๘. เมื่อจติ ฟุง้ ซา่ น ให้เอาสติตามกําหนดรู้วา่ จิตฟุ้งซ่าน ๙. เมอื่ จติ เปน็ มหคั คตะ ใหเ้ อาสติตามกาํ หนดรวู้ า่ จิตเป็นมหคั คตะ ๑๐. เม่ือจติ ไม่เปน็ มหัคคตะ ให้เอาสตติ ามกําหนดรูว้ า่ จติ ไม่เปน็ มหคั คตะ ๙๐ ส.ํ สฬา. (ไทย) ๑๘/๒๗๐/๓๐๒ – ๓๐๓. ๙๑ ส.ํ สฬา. (ไทย) ๑๘/๒๗๐/๓๐๒ – ๓๐๓. ๙๒ อภ.ิ วิ. (ไทย) ๓๕/๓๖๓/๓๑๐.

๙๘ ๑๑. เมอ่ื จติ มีจติ อน่ื ยิง่ กวา่ ให้เอาสตติ ามกาํ หนดรู้ว่า จติ มจี ิตอน่ื ยิง่ กว่า ๑๒. เมอ่ื จิตไมม่ ีจิตอ่นื ยิ่งกวา่ ใหเ้ อาสติตามกําหนดรู้วา่ จิตไมม่ ีจิตอ่ืนยิ่งกวา่ ๑๓. เม่ือจติ สงบแลว้ ให้เอาสติตามกาํ หนดรู้ ว่าจติ สงบ ๑๔. เมื่อจิตไม่สงบ ใหเ้ อาสติตามกําหนดรวู้ า่ จิตไมส่ งบ ๑๕. เมื่อจิตพ้นจากกเิ ลสแล้ว ให้เอาสตติ ามกําหนดร้วู า่ จิตพ้นจากกิเลส ๑๖. เมอื่ จิตไม่พน้ จากกิเลส ให้เอาสตติ ามกําหนดรู้วา่ จติ ไม่พ้นจากกิเลส ๔) ธมั มานุปัสสนาสติปฏั ฐาน สตติ ามกำหนดพจิ ารณา นวิ รณปัพพะ ๕ นวี รณธรรม คอื ธรรมเปน็ เคร่ืองก้นั หรือห้าม ไม่ใหบ้ รรลุกศุ ลธรรม มีฌาน เป็นตน้ ซ่งึ มีสภาวธรรมดงั นี้ ๑. กามฉันทนิวรณ์ คือ ธรรมเป็นเครอื่ งกั้นไม่ใหบ้ รรลุกุศลธรรม ไดแ้ ก่ ความพอใจ ในกามคุณอารมณ์ ๒. พยาปาทนวิ รณ์ คอื ธรรมเปน็ เคร่ืองกัน้ ไม่ให้บรรลุกุศลธรรม ไดแ้ ก่ การผูก พยาบาท จองล้างจองผลาญผู้อืน่ ๓) ถีนมทิ ธนวิ รณ์ คือ ธรรมเป็นเครอื่ งกนั้ ไม่ใหบ้ รรลกุ ศุ ลธรรม มีอาการหดหูแ่ ละ ทอ้ ถอยต่ออารมณ์ (งว่ งเหงา หาวนอน) ๔. อุทธจั จกกุ กจุ จนวิ รณ์ คือ ธรรมเป็นเคร่อื งกั้นไม่ให้บรรลุกศุ ลธรรม ไดแ้ ก่ ความ ฟุ้งซ่านและรำคาญในอารมณ์ (ใจตัง้ อยู่ไม่ได้) ๕. วิจิกจิ ฉานิวรณ์ คือ ธรรมเป็นเครอ่ื งกัน้ ไมใ่ ห้บรรลกุ ุศลธรรม ได้แก่ ความสงสยั ลงั เลใจ ในสง่ิ ท่ีควรเช่อื (มีพระรัตนตรยั เป็นตน้ ) อปุ ทานขันธปพั พะ ๕ เปน็ อารมณ์ของอุปาทาน ฉะนั้น จงึ เรยี กวา่ อุปาทานขนั ธ์ ๕ คอื ๑. รปู ขนั ธ์ ได้แก่ รูป ๒๘ ๒. เวทนาขนั ธ์ ไดแ้ ก่ เวทนาเจตสกิ ๑ ดวง ๓. สญั ญาขนั ธ์ ไดแ้ ก่ สัญญาเจตสกิ ๑ ดวง ๔. สังขารขันธ์ ไดแ้ ก่ เจตสิกท่ีเหลอื ๕๐ ดวง ๕. วญิ ญาณขนั ธ์ ไดแ้ ก่ จิต ๘๙ หรือ ๑๒๑ ดวง อายตนปัพพะ ๑๒ คือ อายตนะภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖ คือ อายตนะภายใน ๖ คือ อายตนะ ภายนอก ๖ คือ ๑. จกั ขวายตนะ ๑. รปู ายตนะ ๒.โสตายตนะ ๒. สัททายตนะ ๓. ฆานายตนะ ๓. คันธายตนะ ๔. ชิวหายตนะ ๔. รสายตนะ ๕. กายายตนะ ๕. โผฏฐัพพายตนะ ๖. มนายตนะ ๖. ธมั มายตนะ สรปุ ท้ายบท

๙๙ การปฏิบัติวิปัสสนาตามหลักสติปัฏฐาน ๔ เป็นท้ังสมถะและวิปัสสนา คือ กายานุปัสสนาสติ ปัฏฐานมีอิริยาบถบรรพ สัมปชัญญะบรรพ ธาตุบรรพ เป็นวิปัสสนา ส่วน อานาปานบรรพ ปฏิกูล บรรพ อสุภบรรพ ต้องเจริญสมถะเสียก่อนแล้วจึงยกขึ้นสู่วิปัสสนาภายหลัง ส่วนเวทนานุปัสสนา จิตตานุปัสสนา ธรรมานุปัสสนาสติปฏั ฐาน เป็นวิปัสสนาล้วน การปฏิบตั ิวปิ ัสสนาตามหลกั สติปฏั ฐาน ๔ นี้ ได้แก่ ขันธ์ ๕ หรอื รูปนามน่ันเอง คือ กายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ได้แก่ รปู ขนั ธ์ เป็นรปู ธรรม เวทนานุปัสสนาสตปิ ฏั ฐาน ไดแ้ ก่ เวทนาขนั ธ์ เป็นนามธรรม จติ ตานปุ สั สนาสติปฏั ฐาน ไดแ้ ก่ วญิ ญาณขันธ์ เปน็ นามธรรม ธัมมานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน ไดแ้ ก่ ขนั ธท์ งั้ ๕ เปน็ ท้ังรปู ธรรมและนามธรรม การปฏิบัติวิปัสสนาตามหลักสติปัฏฐาน ๔ ท่านวางจริตไว้ ๒ อย่าง๙๓ เพื่อให้เหมาะกับ อัธยาศัยของผ้ปู ฏิบตั ิคือ ตัณหาจริตกับทิฏฐิจรติ ใน ๒ นแ้ี ยกออกไปอีกจริตละ ๒ อย่างคือ ตัณหาจริต แยกออกเป็นปญั ญานอ้ ยกบั ปญั ญากล้า และทฏิ ฐิจริตกแ็ ยกออกเปน็ ปญั ญานอ้ ยกับปัญญากล้า คือ การพิจารณากายานุปัสสนาสติปฏั ฐาน เหมาะแกผ่ ู้มตี ณั หาจริตหยาบทมี่ ปี ญั ญาน้อย การพิจารณาเวทนานปุ สั สนาสติปฏั ฐาน เหมาะแกผ่ ู้มตี ัณหาจริตละเอียดทมี่ ีปญั ญา กลา้ การพิจารณาจิตตานุปสั สนาสตปิ ัฏฐาน เหมาะแก่ผู้มที ิฏฐิจริตออ่ นทมี่ ปี ัญญาน้อย การพจิ ารณาธมั มานปุ สั สนาสติปฏั ฐาน เหมาะแกผ่ ู้มีทิฏฐจิ รติ กลา้ ที่มปี ัญญากลา้ การปฏิบตั วิ ิปสั สนาตามหลกั สตปิ ฏั ฐาน ๔ ในคมั ภีร์อรรถกถา๙๔ กลา่ วว่า สติปัฏฐาน ๔ มุ่ง แสดงการละหรือ ทำลายวปิ ลั ลาสธรรมทั้ง ๔ เปน็ หลักวา่ คือ ๑. สุภวิปัลลาส ทำลายได้ด้วยกายานุปัสสนา ละสุภสัญญา คือ เห็นความสำคัญว่า รูปนามเปน็ ของสวยงาม ๒. สุขวิปัลลาส ทำลายได้ด้วยเวทนานุปัสสนา ละสุขสัญญา คือ เห็นความสำคัญว่า รปู นามเปน็ สุข ๓. นิจจวิปัลลาส ทำลายได้ด้วยจิตตานุปัสสนา ละนิจจสัญญา คือเหน็ ความสำคัญว่า รูปนามเป็นของเทีย่ ง ๔. อัตตวิปัลลาส ทำลายได้ดว้ ยธรรมานปุ ัสสนา ละอัตตสัญญา คือ เห็นความสำคัญ ว่ารปู นามเป็นตวั เป็นตน ๕. การปฏิบัติสตปิ ัฏฐาน ๔ เพื่อทำลายอภิชฌา (ความยินดี) โทมนัส (ความยนิ ร้าย) ได้นั้นต้องรู้จักอารมณ์ของสติปัฏฐาน ๔ (อารมณ์ท่ีถูกรู้) ได้แก่ กาย เวทนา จิต ธรรมหรือ รปู กับนาม และผู้กำหนดรู้ ได้แก่ อาตาปี (ความเพียร) สมั ปชาโน (ปญั ญา) สติมา (สติ) ฉะน้ัน องค์ธรรมของสติปัฏฐาน ๔ ได้แก่ อารมณ์ที่ถูกรู้ และผู้กําหนดรู้ (ฐานฺยูปจาระ กล่าวถงึ ฐานี คอื สภาวธรรมแตห่ มายถึง บคุ คลผปู้ ฏิบัติทกี่ ำหนดร้สู ภาวธรรมน้นั ) ๙๓ ม.อุ.อ. (บาลี) ๑/๓๒๙. ๙๔ ท.ี ม.อ. (บาลี) ๒/๓๖๙.

๑๐๐ คำถามทา้ ยบท ๑.การปฏบิ ตั วิ ิปัสสนากัมมัฏฐานในคัมภรี ์เถรวาท กล่าวไวอ้ ย่างไรฯ ๒.หลกั วิปสั สนากัมมฏั ฐานตามแนวแห่งบัณฑติ นักปราชญ์ มีวธิ กี ารปฏบิ ตั ิอยา่ งไรฯ ๓.ในการเตรยี มตัวก่อนปฏิบัติวิปัสสนาตอ้ งทำอย่างไรฯ ๔.การเดินจงกรมท่ีถกู ต้องตามหลักคัมภรี ์ทางพระพุทธศาสนาต้องปฏบิ ัติอยา่ งไรฯ ๕.การเดนิ แบบไหน เปน็ การเดนิ จงกรม เดนิ แบบไหนไม่ใช่การเดินจงกรมฯ ๖.การปฏิบัติวิปัสสนากัมมฏั ฐานมหี ลักควรยึดในการปฏบิ ตั ิอยา่ งไรฯ ๗.การกำหนดอารมณ์แห่งวิปัสสนา ควรกำหนดแบบไหนและปฏิบัตอิ ย่างไรฯ ๘.จงอธบิ ายการเดนิ จงกรม แบบ อริ ิยาบถนง่ั มีขน้ั ตอนและวธิ ีการอย่างไรฯ ๙.จงอธิบายการเดินจงกรม แบบ อริ ิยาบถเดนิ มีขั้นตอนและวิธกี ารอย่างไรฯ ๑๐.จงอธบิ าย การเปลี่ยนอริ ิยาบถในการเจริญวปิ สั สนาอย่างไรฯ

๑๐๑ เอกสารอา้ งอิงประจำบท ธนาคม บรรเทากลุ , “การศกึ ษาวิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของพระอาจารย์ภัททันตะอาสภ มหาเถระอคั คมหากัมมัฏฐานาจรยิ ะ”, วทิ ยานิพนธ์พทุ ธศาสตรมหาบัญฑติ , บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๙. พระครูประคุณสรกจิ (สชุ าติ ชโิ นรโส), “การศึกษาการสอนวปิ ัสสนากมั มฏั ฐานตามแนวของสำนกั วิปัสสนาวเิ วกอาศรม” วิทยานพิ นธ์พุทธศาสตรมหาบณั ฑติ , บณั ฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๗. พระธรรมปฏิ ก (ป.อ.ปยุต.โต), พจนานุกรมพุทธศาสนฉ์ บบั ประมวลศพั ท์, พิมพ์ครัง้ ที่ ๑๐, กรงุ เทพมหานคร : บริษทั เอส.อาร์.พริน้ ต้งิ แมสโปรดักศ์จำกัด, ๒๕๔๕. พระพทุ ธโฆสเถระ, คัมภีรว์ ิสุทธมิ รรค, แปลโดย สมเด็จพระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ). พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ, วิปสั สนาธุระ, พิมพ์ครั้งท่ี ๗, กรุงเทพมหานคร : C ๑๐๐ DESIGN CO. LTD, ๒๕๓๖ พระมหาสีสยาดอ (โสภณมหาเถระ), วิปัสสนาชุนี (ภาคปฏิบัต)ิ , พมิ พ์คร้งั แรก, แปลโดย จำรูญ ธรรมดา, กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ ทิพยวสิ ทุ ธิ์, ๒๕๔๐. พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วิปัสสนานยั เล่ม ๑, แปลโดย พระคนั ธสารา- ภิวงศ,์ (นครปฐม : โรงพิมพ์ หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั ซีเอไอ เซ็นเตอร์ จำกดั , ๒๕๕๐. พระโสภณมหาเถระ(มหาสสี ยาดอ), มหาสตปิ ฏั ฐานสตู ร ทางส่พู ระนิพพาน, แปลโดย พระคนั ธสา ราภิวงศ์ พิมพ์ครง้ั ที่ ๒, กรงุ เทพมหานคร : หา้ งหุน้ ส่วนจำกัดไทยรายวนั การพิมพ์, ๒๕๔๙. แมช่ รี ะววี รรณ ธมฺมจารนิ ี (ง่านวสิ ทุ ธิพันธ์) “การศึกษาสภาวญาณเบอื้ งต้นของผเู้ ข้าปฏบิ ัตวิ ิปสั สนา ตามหลกั สติปัฏฐาน ๔ ณ สำนักวปิ สั สนากรรมฐานวดั พระธาตุศรีจอมทอง วรวิหาร”, วทิ ยานิพนธ์ พทุ ธศาสตร มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑.

บทท่ี ๕ การฝกึ กำหนดรูอ้ ารมณ์ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนร้ปู ระจำบท เมือ่ ไดศ้ กึ ษาเน้ือหาในบทนี้แล้ว ผเู้ รียนสามารถ ๑. อธบิ ายวธิ ีการรายงานผลการปฏิบตั กิ มั มัฏฐานได้ ๒. บอกวธิ นี ำการปฏบิ ัตธิ รรมไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ ขอบข่ายเนื้อหา • การรายงานผลการปฏิบตั ิกมั มัฏฐาน • การปฏบิ ัติธรรมไปใช้ในชวี ิตประจำวนั

๑๐๓ ๕.๑ ความนำ พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า “ภิกษุท้ังหลาย เรากล่าวว่า สติมีประโยชน์ในที่ท้ังปวง” ในมุฏฐัสสติ สูตร กล่าวถึงประโยชน์ของสติไว้ว่า ทำให้คนหลับอย่างเป็นสุข ต่ืนอยู่ก็เป็นสุข ไม่ฝันลามก เทวดา รักษา น้ำอสุจไิ มเ่ คล่ือน อีกแห่งหน่ึง พระพุทธองค์ตรัสไว้วา่ “ภิกษุผู้มีสติคุ้มครองตนแลว้ ย่อมอยู่เย็น เป็นสุข” พระสงฆ์องค์เจ้าโดยทั่วไปต่างเจริญสติกันทั้งนั้น เอาสติกำกับ ให้เป็นอยู่ด้วยสติ ไม่ว่าจะอยู่ ในอิริยาบถไหน ให้รู้ตัวอยู่เสมอ รู้อยู่เฉยๆไม่ต้องไปจำแนกแยกแยะว่าอะไรเป็นอะไร น่ันเป็นนั่น นี่ เป็นน่ี การฝึกคร้ังแรกค่อนข้างยากหน่อย ท่านบอกว่าเม่ือรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ ต่างๆโดยไม่มีทางรู้ทันก่อน ซ่ึงเป็นธรรมดาของผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไปคิดในอารมณ์น้ันๆจนอ่ิม แล้ว ก็จะรู้สึกตัวข้ึนมาเองเพราะฉะนั้น ไม่ต้องไปเคร่งเครียดอะไรมาก ขอให้รู้ตัวเอาไว้ภายหลังจิต ท่องเที่ยวไปในอารมณ์ต่างๆแล้ว เมื่อรู้สึกตัวท่ัวพร้อม ให้พิจารณาเปรียบเทียบสภาวะของตนใน ระหว่างท่ีจิตเที่ยวไปกับในระหว่างที่จิตมีความรู้ตัว ก็เพื่อเป็นอุบายสอนใจตนให้รู้จักจดจำขณะที่จิต เท่ียวไปจุ้นจ้านอยู่ที่น่ันที่นี่ จิตจะไร้พลังประสบกับความกระวนกระวาย เหน็ดเหน่ือย เป็นทุกข์ พอสมควร ขณะนั้นเราไมร่ ู้ตวั แต่ขณะที่จิตหยุดอยู่ เพราะมีสติวิ่งมานั้น จติ จะสงบ รูต้ ัว เยือกเย็น สุข สบาย ลองเปรียบเทียบขณะจิตทั้งสองเวลาน้ัน ก็จะรู้โทษของการแส่ไปตามอารมณ์กับคุณของการ รู้ตัว แล้วจะเกิดความรู้สึกว่าอยากจะอยู่กับจิตชนิดไหน แน่นอนท่ีสุด จะอยู่กับจิตท่ีมีสติทุกครั้งท่ีจิต ว่ิงไปข้างนอก ให้พยายามรู้ตัว แล้วค่อยๆดึงกลับมา ค่อยๆรักษาจิตให้อยู่ในสภาวะรู้อยู่กับที่ต่อไป เผลอออกไป ดึงกลับมา อย่างนี้เร่ือยไป เม่ือถึงจุดอิ่มตัว ก็จะกลับรู้ตัวท่ัวพร้อมอย่างเดิมอีก เมื่อรู้ตัว แล้ว ก็พจิ ารณาและรักษาจิตต่อไป ด้วยอุบายอย่างนี้ ไม่นานนักก็จะสามารถคุมจิตได้ และบรรลธุ รรม ในที่สดุ โดยไม่ตอ้ งไปปรกึ ษาหารือใคร ๕.๒ การรายงานผลการปฏบิ ตั กิ ัมมัฏฐาน (การสง่ -สอบอารมณ์) พระวิปัสสนาจารย์ คอยรับฟังการรายงานจากผู้ปฏิบัติถึงสภาวธรรมต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นใน ขณะทีก่ ำหนดขนั้ พืน้ ฐาน สอบถามชแ้ี จง และแนะแนวแก่ผูป้ ฏบิ ัติ ซ่งึ ปรากฏในงานวิจยั ดงั นี้ ๑. สอบถามสภาวธรรมเพ่ือจักได้รูว้ ่า ผู้ปฏิบัติมีความเข้าใจในการกําหนดได้ถูกต้องมากน้อย เพียงใด ๒. คอยปรับอินทรีย์ทั้ง ๕ ให้ดำเนินไปอย่างสม่ําเสมอกันตามสมควรในสภาวธรรมญาณน้ัน ตามลำดับข้ันไป เช่น บางครั้งเพิ่มกำหนด โดยเพ่ิมระยะการเดินจงกรมและการกำหนดน่ัง เพิ่มเวลา ในการเดินจงกรมและนั่งสมาธิ เพ่ิมการกำหนดอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นต้น บ้าง คร้ังต้องลดการกำหนดดังกล่าวมาแล้วข้างต้น บางคร้ังควรปลอบใจก็ให้ปลอบบางครั้งควรข่ม (กด) อารมณ์ก็ใหข้ ม่ บางครง้ั ตอ้ งใหก้ ำลังใจ ๓. แก้อารมณ์ของผูป้ ฏิบตั ิ ท่ียงั สงสยั หรอื เข้าใจผดิ อยูใ่ หห้ ายไป ๔. หลกั การสอบอารมณ์ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักสติปฏั ฐาน ๔๑ “การส่งอารมณ์ เมอ่ื ผู้ปฏิบัตไิ ดฝ้ ึก ๑ แม่ชีระวีวรรณ ธมฺมจารินี (งา่ นวิสทุ ธพิ ันธ์), “การศึกษาสภาวญาณเบื้องตน้ ของผู้เขา้ ปฏิบตั ิวิปสั สนาตามหลักสตปิ ฏั ฐาน ๔ ณ สำนักวปิ ัสสนากรรมฐานวัดพระธาตศุ รีจอมทอง วรวหิ าร”, วทิ ยานิพนธพ์ ุทธ-ศาสตรมหาบณั ฑิต, (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑) หนา้ ๕๖-๕๗.

๑๐๔ เดนิ จงกรมระยะทห่ี น่งึ และไดน้ งิ่ สมาธติ ามที่ได้กลา่ วไวแ้ ล้วของการปฏบิ ตั วิ ันแรก สว่ นมากผ้ปู ฏบิ ตั ิยงั ไมม่ ีอะไรจะส่งอารมณแ์ ก่ครผู ู้ฝึกได้ การสง่ อารมณใ์ ห้ การสอบอารมณผ์ ปู้ ฏบิ ัตกิ ็หมายถงึ ว่า ขณะทผี่ ู้ ปฏบิ ัตไิ ดป้ ฏบิ ัติไดผ้ ลอย่างไร กม็ าแจง้ ใหค้ รูผู้ฝึกทราบ หรือครผู ูฝ้ กึ อาจจะเปน็ ผู้ตามผลที่เกิดขนึ้ แก่ผู้ ปฏิบัติ เป็นการมาเลา่ ถึงผลการปฏิบัตทิ ำไปแล้วให้กันและกันฟงั เม่อื ครผู ูฝ้ ึกได้ทราบแลว้ กจ็ ะไดช้ ส้ี ่ิงท่ี ควรจะแก้ไข หรอื สิ่งที่ควรจะทำตอ่ ไปให้ผปู้ ฏบิ ตั ทิ ราบ”๒ ๖.๒.๑ หลักธรรมทเี่ ก่ียวของกับการปฏิบัติกัมมฏั ฐาน ๑. เรอ่ื งศีลวิสุทธิ ในวปิ ัสสนานัย เลม่ ๑ แสดงอธิบายการสำรวมสติไว้ว่า “ในระหวา่ งการปฏิบตั ิธรรม ศีลต้องบริสุทธิ์ บุคคลพึงยังกุศลจิตให้เกิดทางทวาร ๖ แล้วรักษาอินทรีย์สังวรศีล ด้วยการปิดกั้นมิให้ เกดิ อกุศล มสี ตกิ ่อใหเ้ กดิ กศุ ลจิตอยู่เสมอในขณะประจวบกบั อารมณ์๖”๓ แบบประกอบนักธรรมเอก - อุปกรณ์กมั มัฏฐาน - หนา้ ที่ ๔๗ ได้อธบิ ายไวว้ ่า “ศีลวิ สทุ ธิ (ความบริสทุ ธ์แิ ห่งศลี ) กับจติ ตวสิ ทุ ธิ (ความบรสิ ุทธแ์ิ ห่งจติ ) คอื ธรรมเป็นรากเหงา้ เปน็ เหตุ เกิดขึ้นต้งั อยู่ของวปิ สั สนาน้นั ดงั น้ันผู้มศี ลี ไม่บรสิ ทุ ธ์ิ มจี ติ ไม่สงบ เป็นผไู้ ม่ควรแก่การเจริญวิปัสสนา เพราะธรรม ๒ อย่างนเ้ี ป็นเหตุแรงกลา้ ทจ่ี ักให้เกิดวิปัสสนา” ในพระวนิ ัยพระวินัยปิฎก ไดอ้ ธบิ ายวา่ ผู้ท่ีจะตอ้ งทำกัมมัฏฐานตอ้ งเป็นผู้มีศลี บรสิ ุทธิ์เสียก่อน จงึ จะปฏบิ ตั ิไดด้ ังข้อความที่วา่ กุลบุตรจะเรยี นกรรมฐานต้องบำเพ็ญศลี ให้บริสทุ ธิ์ก่อน กุลบุตรควรชำระศีล ๔ อย่างให้หมด จดก่อนในศีลนั้น มีวิธีชำระให้หมดจด ๓ อย่าง คือ ไม่ต้องอาบัติ ๑ ออกจากอาบัติท่ีต้องแล้ว ๑ ไม่ เศร้าหมองด้วยกิเลสทั้งหลาย ๑ จริงอยู่ ภาวนาย่อมสำเร็จแก่กุลบุตรผู้มีศีลบริสุทธ์ิอย่างนั้น. กุลบุตร ควรบำเพ็ญแม้ศีลที่ทา่ นเรียกว่าอภิสมาจาริกศีล ใหบ้ ริบูรณ์ดีเสยี ก่อน ด้วยอำนาจวตั รเหลา่ นี้ คือ วัตร ท่ีลานพระเจดีย์ วัตรที่ลานต้นโพธิ์ อุปัชฌายวัตร อาจริยวัตร วัตรท่ีเรือนไฟ วัตรที่โรงอุโบสถ ขันธกวัตร ๘๒ มหาวัตร ๑๔ จริงอยู่ กุลบุตรใด พึงกล่าวว่า เรารักษาศีลอยู่, กรรมด้วยอภิสมาจาริก วัตรจะมีประโยชน์อะไร ข้อที่ศีลของกุลบุตรนั้นจักบริบูรณ์ได้ น่ันไม่ใช่ฐานะท่ีจะมีได้ แต่เม่ืออภิสมา จาริกวัตรบริบูรณ์ศีลก็จะบริบูรณ์ เมื่อศีลบริบูรณ์ สมาธิย่อมถือเอาห้อง สมจริงดังพระดำรัสท่ีพระผู้มี พระภาคเจ้าตรสั ไว้ว่า ดูกอ่ นภิกษุท้ังหลาย ข้อท่ีภิกษุนั้นหนอไม่บำเพ็ญธรรม คือ อภิสมาจารกิ วัตรให้ บริบูรณ์แล้ว จักบำเพ็ญศีลท้ังหลายให้บริบรู ณ์ได้ นั่นไม่ใช่ฐานะท่ีจะมีได้ เรอ่ื งนี้ควรให้พิสดาร เพราะ เหตุ ฉะน้ัน กุลบุตรนี้ควรบำเพ็ญแม้วัตร มีเจติยังคณวัตรเป็นต้น ท่ีท่านเรียกว่า อภิสมาจาริวัตร ให้ บรบิ รู ณ์ด้วยดีเสียกอ่ น๔ ๒. เรอ่ื งจิตตวิสุทธิ หนังสือคู่มือการศึกษาพระอภิธรรม ปริจเฉทที่ ๙ ปกิณณกสังคหวิภาคได้เขียนว่า “ความบริสุทธิ์แห่งจิต คือจิตที่บริสุทธิ์จากนิวรณ์ท้ังหลาย ขณะใดท่ีจิตเป็น ขณิกสมาธิอุปจารสมาธิ หรือ อัปปนาสมาธิ ขณะน้ันเป็นจิตท่ีปราศจากนิวรณ์ จึงได้ช่ือว่าเป็นจิตตวิสุทธิ จิตตวิสุทธิในทาง ๒ พระครูประคณุ สรกิจ (สุชาติ ชิโนรโส) , “การศกึ ษาวธิ ีการสอนวปิ สั สนากัมมฏั ฐานตามแนวทางของวิเวก อาศรม”, วิทยานพิ นธพ์ ุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑติ วิทยาลัย : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๗) หน้า ๖๒. ๓ พระโสภณมหาเถระ, วิปสั สนานยั เล่ม ๑, แปลโดย พระคนั ธสาราภิวงศ,์ หน้า ๒๐. ๔ วิ.มหา.อ. (ไทย) ๑/๓๕๑.

๑๐๕ สมถกัมมัฏฐาน หมายถึง อุปจารสมาธิ คือ สมาธิท่ีแน่วแน่จวนจะหรือใกล้จะได้ฌานเข้าไปแลว้ ตลอด จนถึงอัปปนาสมาธิ คือ สมาธิท่ีแนบแน่นอย่างแน่วแน่จนได้ฌานน้ันด้วยส่วนในทางวิปัสสนา กมั มัฏฐาน สามารถใช้แค่ ขณิกสมาธิ เพื่อเป็นฐานของการเจริญวิปัสสนาในการมสี ติร้ทู ันปัจจุบันแห่ง รปู นามโดยไมเ่ ผลอไปจากปัจจุบันธรรม ผลก็คือความโลภ โกรธ และหลงก็ไม่สามารถเกดิ ขน้ึ ได้ ตราบ ใดท่รี ้ทู นั ปัจจบุ นั อย่ทู ุกขณะอย่างม่นั คงด้วยจิตท่บี ริสทุ ธจ์ิ ากกิเลส”๕ ในปฏสิ มั ภทิ ามรรค “พระสารีบุตรเถรอธิบายว่า อะไรเปน็ เบื้องตน้ แห่งปฐมฌาน อะไรเป็น ทา่ มกลางแห่งปฐมฌาน อะไรเปน็ ทสี่ ุดแห่งปฐมฌาน คือ ความหมดจดแห่งปฏปิ ทาเป็นเบอื้ งตน้ แห่ง ปฐมฌาน ความเพมิ่ พูนอเุ บกขาเป็นท่ามกลางแห่งปฐมฌาน ความรา่ เรงิ เป็นทีส่ ุดแหง่ ปฐมฌานความ หมดจดแห่งปฏปิ ทาที่เปน็ เบือ้ งตน้ แห่งปฐมฌาน มลี ักษณะเท่าไร คือ มลี กั ษณะ ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ก. จิตหมดจดจากอนั ตรายแห่งฌานนัน้ ข. จติ ดำเนนิ ไปสูส่ มถนิมิตอันเปน็ ท่ามกลาง เพราะเปน็ จติ หมดจด ค. จติ แลน่ ไปในสมถนิมติ นนั้ เพราะเป็นจิตดำเนินไปแล้ว”๖ จิตหมดจดจากอนั ตราย ๑ จิตดำเนินไปสู่สมถนิมิตอันเปน็ ทา่ มกลาง เพราะเป็นจิตหมดจด ๑ จิตแล่นไปในสมถนิมิตนน้ั เพราะเป็นจิตดำเนินไปแล้ว ๑ ความหมดจดแห่งปฏิปทาที่เป็นเบ้ืองต้นแห่ง ปฐมฌานมีลักษณะ ๓ ประการน้ี เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปฐมฌานเป็นฌานมีความงามใน เบื้องต้นและถึงพร้อมด้วยลักษณะความเพิ่มพูนอุเบกขาที่เป็นท่ามกลางแห่งปฐมฌานมีลักษณะเท่าไร คอื มีลักษณะ ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. เพ่งเฉยจิตที่หมดจด ๒. เพ่งเฉยจิตท่ีดำเนินไปในสมถะ ๓. เพ่งเฉย ความปรากฏในสภาวะเดียว ความเพิ่มพูนอุเบกขาท่ีเป็นท่ามกลางแห่งปฐมฌานเพ่งเฉยจิตที่หมดจด ๑ เพ่งเฉยจิตที่ ดำเนนิ ไปในสมถะ ๑ เพง่ เฉยความปรากฏในสภาวะเดียว ๑ ความเพ่มิ พูนอุเบกขาท่เี ปน็ ท่ามกลางแห่ง ปฐมฌาน มีลักษณะ ๓ ประการนี้ เพราะเหตุน้ันท่านจึงกล่าวว่า ปฐมฌานเป็นฌานมีความงามใน ท่ามกลางและถึงพร้อมด้วยลักษณะความร่าเริงท่ีเป็นท่ีสุดแห่งปฐมฌาน มีลักษณะเท่าไร คือ มี ลกั ษณะ ๔ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ความรา่ เรงิ เพราะธรรมท้ังหลายท่ีเกิดในปฐมฌานน้ันไม่ล่วงเลยกนั ๒. ความร่าเรงิ เพราะ อินทรียท์ งั้ หลายมีรสเปน็ อยา่ งเดยี วกัน ๓. ความร่าเรงิ เพราะนำความเพยี รท่สี มควรแกธ่ รรมนั้นเข้าไป ๔. ความรา่ เรงิ เพราะมคี วามหมายวา่ ปฏิบตั เิ นือง ๆ ความร่าเริงท่ีเป็นที่สุดแห่งปฐมฌาน มีลักษณะ ๔ ประการน้ี เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปฐมฌานมีความงามในที่สุดและถึงพร้อมด้วยลักษณะจิตท่ีถึงความเป็นไป ๓ ประการ มีความงาม ๓ ประการ ถงึ พรอ้ มดว้ ยลกั ษณะ ๑๐ ประการอย่างน้ี ยอ่ มเป็นจติ ท่ีถงึ พร้อมดว้ ยวิตก วิจาร ปีติ สุขการ อธษิ ฐานจิต สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และถึงพรอ้ มด้วยปัญญา หลังจากได้ฌานแล้ว ถ้าใช้กัมมัฏฐานน้ีทำวิปัสสนาต่อไปก็เรียกว่า ข้ันสัลลักขณา (กำหนดพิจารณาไตรลักษณ์) จนในที่สุดก็ถึงมรรคเรียกว่าเป็นวิวัฏฏนา (หมุนออก) และบรรลุผล ๕ ขนุ สรรพกจิ โกศล (โกวิท ปทั มะสนุ ทร), ผรู้ วบรวม, ค่มู ือการศึกษาพระอภิธรรม ปรจิ เฉทท่ี ๙ ปกณิ ณกสังคหวภิ าค, หนา้ ๘๙-๙๐. ๖ ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๑๕๘/๒๔๓.

๑๐๖ เรียกว่าเป็นปาริสุทธิ (หมดจดจากกิเลส) แล้วจบลงด้วยปฏิปัสสนา(ย้อนดู) คือพิจารณามรรคผลที่ได้ บรรลุ ไดแ้ ก่ ปจั จเวกขณะนั่นเอง๗ ในทสตุ ตรสูตร ได้อธิบายธรรม ๙ ประการท่ีมอี ปุ การะมากและควรเจรญิ คือ องคค์ วามเพยี ร เพือ่ ความบรสิ ทุ ธ์ิ ๙ ไดแ้ ก่ ๑. องคค์ วามเพียรเพื่อความบรสิ ุทธ์ิ คือ สลี วสิ ทุ ธิ (ความหมดจดแห่งศลี ) ๒. องค์ความเพยี รเพ่ือความบริสุทธ์ิ คือ จติ ตวิสทุ ธิ (ความหมดจดแหง่ จิต) ๓. องคค์ วามเพยี รเพื่อความบริสุทธ์ิ คอื ทิฏฐวิ ิสทุ ธิ (ความหมดจดแหง่ ทิฏฐิ) ๔. องคค์ วามเพียรเพ่ือความบริสุทธิ์ คือ กังขาวิตรณวิสุทธิ (ความหมดจดแหง่ ญาณ เป็นเคร่อื งข้ามพ้นความสงสยั ) ๕. องคค์ วามเพยี รเพื่อความบริสทุ ธ์ิ คือ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิ (ความหมดจด แห่งญาณที่ร้เู หน็ วา่ เป็นทางหรอื มิใชท่ าง) ๖. องคค์ วามเพยี รเพ่ือความบรสิ ุทธ์ิ คอื ปฏิปทาญาณทสั สนวิสุทธิ (ความหมดจด แห่งญาณที่ร้เู หน็ ทางดำเนิน) ๗. องคค์ วามเพยี รเพ่ือความบริสุทธ์ิ คอื ญาณทสั สนวิสุทธิ(ความหมดจดแหง่ ญาณทสั สนะ) ๘. องค์ความเพยี รเพ่ือความบรสิ ุทธ์ิ คือ ปัญญาวิสุทธิ (ความหมดจดแหง่ ปัญญา) ๙. องค์ความเพยี รเพื่อความบรสิ ุทธิ์ คอื วมิ ุตติวิสทุ ธิ (ความหมดจดแหง่ ความหลดุ พน้ ) เพราะเป็นธรรมมีอุปการะมาก เมื่อเจริญแล้วสามารถนำไปสู่มรรคผลนิพพานได้ซึ่งเป็น เป้าหมายแห่งพรหมจรรยต์ ามลำดับวสิ ุทธิ ๗ ตามท่ีท่านพระปุณณมันตานีบุตรกล่าวกับ พระสารบี ุตร วา่ ท่านผู้มีอายุ ข้อน้ีกฉ็ ันนั้นเหมือนกันสลี วสิ ุทธิมจี ิตตวสิ ุทธิเป็นเป้าหมาย จิตตวิสทุ ธิมีทิฏฐิวิสุทธิเป็น เป้าหมาย ทิฏฐิวิสุทธิมีกังขาวิตรณวิสุทธิเป็นเป้าหมาย กังขาวิตรณ วิสุทธิมีมัคคามัคคญาณทัสสน วิสุทธิเป็นเป้าหมาย มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิมีปฏิปทาญาณ ทัสสนวิสุทธิเป็นเป้าหมาย ปฏิปทา ญาณทัสสนวิสุทธิมีญาณทัสสนวิสุทธิเป็นเป้าหมาย ญาณทัสสนวิสุทธิมีอนุปาทาปรินิพพานเป็น เป้าหมาย จากคำกล่าวน้เี ป็นเครอื่ งยนื ยันว่าผู้ท่ีมวี สิ ุทธิ ๗ ซึง่ เปรียบเสมอื นรถเจ็ดผลดั เท่านนั้ จึงสามารถ จะปฏบิ ตั ิวปิ ัสสนากัมมัฏฐานได้สำเรจ็ ๘ ๓. เรอ่ื งทฏิ ฐิวิสุทธิ “การเจรญิ วิปัสสนา คอื การทำให้เกดิ วิสทุ ธิ ๕ ประการตง้ั แตท่ ฏิ ฐิวิสทุ ธิเปน็ ต้นไป๙ คือ ๑) ทิฏฐิวิสทุ ธิ คือ ปญั ญาที่มีความเห็นถูก หรอื รู้ถูกตามความเป็นจริงโดยปราศจากกเิ ลส คือ เห็นนามและรูปว่าไม่ใช่สัตว์ บุคคล เป็นส่ิงที่ไม่มีเจ้าของ ไม่อยู่ในอำนาจใด ได้แก่ นามรูปปริจเฉท ๗ ดรู ายละเอียดใน วิสทุ ธ.ิ (บาลี) ๑/๑๓๑. ๘ ดรู ายละเอยี ดใน ม.มู.อ. (ไทย) หนา้ ๒๒๗-๒๘๓. ๙ พระมหาประเสริฐ มนตฺ เสวี (พรหมจันทร์), “ศกึ ษาวเิ คราะหห์ ลกั ปฏบิ ัตอิ านาปานสตภิ าวนาเฉพาะกรณี คำสอนพุทธทาสภกิ ขุ”, วทิ ยานพิ นธพ์ ทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต, (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ า ลง-กรณ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑), หนา้ ๔๘-๔๙.

๑๐๗ ญาณ การเห็นเช่นน้ีเป็นภาวนาปัญญา ถ้าเพียงแต่คาดคะเนคิดนึก (สุตมัยปัญญา) หรือการวิพากษ์ วจิ ารณ์ (จนิ ตมัยปัญญา) จะเข้าถงึ วสิ ุทธิไมไ่ ด้เลย ๒) กังขาวติ รณวสิ ุทธิ เปน็ ปัญญาที่ต่อเนือ่ งมาจากทิฏฐิวสิ ุทธิ มีความเช่ืออย่างแน่นอนแล้วว่า ในอดีตมีการเวียนว่ายตายเกิด มาแล้ว และในอนาคตก็ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกถ้ายังทำเหตุของ การเกิดอยู่ ผู้ปฏิบัติจะ หมดความสงสัยในเร่ืองภพชาติ ท้ังชาตทิ ่ีแล้วมา ชาติน้ี หรือชาติหนา้ จากทิฏฐิ วิสุทธิท่ีเกิดด้วย นาม-รูปริจเฉทญาณท่ีรู้เพียงความแตกต่างของนามและรูป แต่ไม่รู้ว่านามและรูป เหล่าน้นั มาจากไหน ในกังขาวิตรณวิสทุ ธิที่หมดความสงสัยได้ เพราะเมื่อกําหนดนาม-รูปจนเข้าใจมาก ข้ึนแล้ว ก็จะรู้ว่านาม-รปู เหล่านั้นเกิดขึ้นได้ด้วยเหตุปัจจัย คือ รูปอันใดเกิดขึ้นก็รู้ว่าเกิดข้ึนเพราะเหตุ ใด นามอันใดเกิดข้ึนก็รู้ว่าเกิดขึ้นด้วยเหตุอะไร (เพราะมีการกระทบอารมณ์ตามทวารท้ัง ๖ เป็นต้น) ไม่เก่ียวกับการสร้างหรือการดลบันดาลให้เกิดขึ้น สามารถตัดสินได้ว่าแม้ชาติก่อนตนก็เกิดด้วยเหตุ ปัจจัย ปัจจุบันก็เกิดมาได้ด้วยเหตุ ปัจจัย และความสันทัดที่มีอยู่ก็กำลังสร้างเหตุเพื่อการเกิดในชาติ หน้า อยู่ตลอดเวลา ดังนั้น ชาติหน้าจึงมีเหตุปัจจัยท่ีกำลังรอส่งผลเช่นกัน แม้คนอ่ืนหรือสัตว์อื่น ก็ไม่ พน้ ไปจาก เหตุปจั จยั เช่นน้เี หมือนกนั ๓) มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ คือ ปัญญาท่ีรู้โดยถูกต้องแน่นอนแล้วว่า วิธีการใดใช่ทาง หรือวิธีการใดไม่ใชท่ าง ท่ีจะดำเนนิ ไปสู่การดับภพชาติของตน หรือพระนิพพาน ความรู้ ความเข้าใจที่ สามารถตัดสิน วิธีการต่าง ๆ ได้นี้ ช่ือว่าปัญญาน้ันบริสุทธิ์แล้ว จากความเข้าใจผิดด้วยอำนาจตัณหา และทิฎฐิ เมื่อกำจัดความเข้าใจผิดได้ เรียกว่า มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ นับตั้งแต่ อุทยัพพยญาณ อนั เปน็ วปิ สั สนาญาณทีแ่ ทจ้ รงิ เป็นต้นไป ปัญญาในอุทยัพพยญาณเป็นปัญญาอันเป็นปฏิปทาท่ีถูกต้อง แตอ่ าจจะยังไม่สมบูรณ์พอท่ีจะ รู้เท่าทัน ในอารมณ์ของกิเลส คือ วปิ ัสสนูปกิเลส ๑๐ อย่าง มีโอภาสเป็นตน้ ที่เกิดจากกำลังของสมาธิ ถา้ อารมณ์ของสมาธิมีมากกวา่ ก็จะดึงจิตให้ตกจากอารมณ์วิปัสสนา ทำให้เห็นแสงสว่าง หรือรู้สึกสงบ เยือกเย็น เป็นต้น ทำให้เข้าใจผดิ ว่าตนเองเข้าถงึ ธรรมทีไ่ ม่มีกเิ ลสแล้ว ตนเข้าถึงนพิ พานแล้วความรสู้ ึก ว่าเป็นตัวเรา อาจจะเข้าอาศัยได้ ความรู้สึกนี้เป็นข้าศึกแก่อารมณ์วิปัสสนาที่ถือว่าไม่ใช่เรา เหตุนี้ ความรูส้ ึกเป็นตัวเราจึงเป็นกิเลสของวิปัสสนา ทำให้วปิ ัสสนาเศร้าหมองตกไปจากวิสุทธิ และมักทำให้ หลงทาง ถ้ารู้เท่าทันวิปัสสนูปกิเลสที่เกิดข้ึน จะด้วยการศึกษา หรือครูอาจารย์บอกเหตุผลให้ก็ตาม ความรู้สึกในอารมณ์ท่ีถูกของอุทยัพพยญาณจึงจะเกิดขึ้น ความรู้สึกท่ีถูกต้องจะกั้นจิต มิให้ตกไปใน อารมณท์ ีผ่ ิดอกี ๔) ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ คือ ปัญญาที่เข้าถึงความรู้สึกในทางที่ถูก ตรงสู่พระนิพพาน โดยถูกต้องแล้ว ทางในท่ีน้ีหมายถึง อารมณ์อันเป็นปฏิปทาท่ีถูกต้อง ตัณหาแลทิฎฐิไม่สามารถเข้าไป ในอารมณ์น้ันได้ อารมณ์ของ วิปัสสนา คือ ไตรลักษณ์ในนาม-รูป เป็นตัวถูกรู้ ส่วนปัญญาเป็นตัวรู้ อารมณ์ไตรลักษณ์นั้น ความรู้เช่นนี้เป็นปัจจัยแก่วิปัสสนาญาณเบ้ืองสูงต่อเนื่องไปถึงโคตรภูญาณ วิปัสสนาปัญญาตง้ั แต่อทุ ยัพพยญาณท่ีปราศจากวปิ ัสสนูปกิเลสจนถึงโคตรภูญาณจัดเขา้ อยู่ในปฏิปทา ญาณทัสสนวิสุทธิ ดังนั้น วิสุทธิข้ันนี้จึงประกอบด้วยวิปัสสนาญาณลักษณะต่าง ๆ รวม ๑๐ ญาณ ได้แก่ อุทยัพพยญาณ ภังคญาณ ภยญาน อาทีนวญาณ นิพพิทาญาณ มุญจิตุกัมมยตาญาณ ปฏิสังขา ญาณ สงั ขารุเปกขาญาณ อนโุ ลมญาณ และโคตรภญู าณ ๕) ญาณทัสสนวิสุทธิ คือ ปัญญาในมัคคญาณท่ีเห็นแจ้งพระนิพพาน เป็นปัญญาข้ันสูงสุด ของการเจริญวิปัสสนา ต้ังแต่ทิฏฐิวิสุทธิที่ ๓ ถึงวิสุทธิที่ ๖ น้ัน รู้อริยสัจจ์เพียง ๒ สัจจะ คือ รู้ทุกข์

๑๐๘ สัจจ์กับสมุทัยสัจจ์ ส่วนญาณทัสสนวิสุทธิเป็นโลกุตตรวิสุทธิ เพราะรู้แจ้งอริยสัจจ์ครบท้ัง ๔ ท้ังนี้ วิสุทธิแต่ละวิสุทธิจะเป็นปัจจัยแก่กันและกันตามลำดับ ไม่มีการข้ามขั้นต้ังแต่ วิสุทธิท่ี ๑ ถึงวิสุทธิ ท่ี ๗”๑๐ ปริญญา ๓๑๑ แปลว่า การกําหนดรู้ ๘ ๑๒ หมายถึง การทำความเข้าใจส่ิงต่าง ๆ โดย ครบถว้ นหรือรอบดา้ น แบ่งเป็น ๓ ขั้น คอื ๑) ญาตปริญญา ปัญญาตามกําหนดเห็นลักษณะเฉพาะของอารมณ์น้ัน ๆ ว่า รูปมีลักษณะ สลาย เวทนามีลักษณะเสวยอารมณ์ เป็นต้น เป็นการกำหนดข้ันรู้จัก คือ รู้ตามสภาวะลักษณะ ได้แก่ รู้จักจำเพาะตัวของ ส่ิงนั้นตามสภาวะของมัน เช่นรู้ว่า น้ีคือเวทนา เวทนาคือสิ่งท่ีมีลักษณะเสวย อารมณ์ นีค้ อื สญั ญา สัญญา คอื สงิ่ ทีม่ ีลักษณะกำหนดได้หมายรู้ ดงั นีเ้ ป็นต้น ๒) ตีรณปริญญา คือ วิปัสสนาปัญญาท่ีกําหนดรู้จนเห็นลักษณะเฉพาะของอารมณ์ปรมัตถ์ท่ี กำหนด เพราะยกธรรมเหล่าน้นั ขึ้นสู่สามัญลกั ษณะ โดยนัยว่า รูปไม่เท่ียง เวทนาไม่เที่ยง เปน็ ตน้ เป็น การกำหนดรู้ขั้นพิจารณา คือรู้ด้วยปัญญาท่ีหย่ังลึกซึ้งไปถึงสามัญลักษณะ ได้แก่รู้ถึงการท่ีส่ิงน้ัน ๆ เป็นไปตามกฎธรรมดา โดยพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงเป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เช่นว่าเวทนาและสัญญา นั้น ไม่เท่ยี ง มคี วามแปรปรวนเป็นธรรมดา ไมใ่ ชต่ ัวตน เป็นตน้ ภมู แิ ห่งตรี ณปรญิ ญาเร่ิมตัง้ แต่การพิจารณากองสงั ขาร จนถึงอุทยัพพยานุปัสสนา (การ พจิ ารณาเหน็ ความเกดิ และความดบั ) ปรญิ ญานี้คอื การตามกำหนดอยา่ งจดจอ่ ต่อเนื่องจนแจง้ สามญั ลักษณะของอารมณ์ทก่ี ำหนดน่นั เอง ๓) ปหานปริญญา วิปัสสนาปัญญาที่ละความสำคัญว่าเท่ียง เป็นต้น ในอารมณ์ นั้น ๆ ท่ี กำหนดรู้ เป็นการกำหนดรู้ถึงข้ันละได้ คือ รู้ถึงข้ันที่ทำให้ถอนความยึดติด เป็นอิสระจากสิ่งน้ัน ๆ ได้ ไมเ่ กิดความผกู พันหลงใหล ทำให้วางใจ วางท่าที และปฏิบัติตอ่ สิ่งต่าง ๆ ได้ถูกต้อง เช่นเม่อื รู้วา่ ส่ิงน้ัน ๆ เป็นอนจิ จัง ทุกขัง อนัตตา แล้ว ก็ละนจิ จสญั ญา เปน็ ต้น ในสิง่ น้นั ๆ ได๑้ ๓ ทิฏฐิวิสุทธิในขณะกําหนดรู้รูปธรรม ในอานาปานทีปนี พระญาณธชะอธิบายว่า ลมหายใจ ประกอบด้วยรูปกลาป ๘ อย่าง คือ ธาตุดิน (ปฐวีธาตุ) ธาตุนํ้า (อาโปธาตุ) ธาตุไฟ (เตโชธาตุ) ธาตุลม (วาโยธาตุ) สี (วัณณธาตุ) กลิ่น (คันธธาตุ) รส (รสธาตุ) และโอชา (สารอาหาร) ส่วนในเวลามีเสียง เกิดขนึ้ พร้อมกบั ลมหายใจก็มรี ูปกลาป ๙ อย่าง เพิ่มเสียง (สัททธาตุ) อยา่ งไรก็ตาม ธาตุทง้ั ๔ คือ ธาตุ ดนิ ธาตุนํ้า ธาตุไฟ และธาตลุ มเปน็ หลกั สำคัญในการเจรญิ สตริ ะลกึ รู้ ธาตุดินมีลักษณะแข็งปรากฏชัดในรูปท้ังหมด เมื่อใช้มือสัมผัสวัตถุที่แข็งก็จะเข้าใจถึงสภาวะ แข็งของธาตุดินขณะท่ีแสงจันทร์แสงอาทิตย์ปรากฏลักษณะอ่อนมีความแข็งน้อย ธาตุนํ้ามีลักษณะ เกาะกุมทำให้วัตถุท่ีแข็งอยู่รวมกันก่อตัวเป็นรูปร่างได้ (ทำให้วัตถุที่อ่อนไหลไปได้) ธาตุไฟมีลักษณะ เยน็ หรอื ร้อน ธาตลุ มมีลกั ษณะหย่อนหรอื ตงึ และปรากฏสภาวะเคล่ือนไหว ลมหายใจเข้าออกน้ีมีธาตุลมเป็นหลัก แต่มีธาตุดิน ธาตุน้ํา และธาตุไฟประกอบร่วมกัน ในขณะตามรู้ลมหายใจตามวิปัสสนานัยควรรับรู้ธาตุท้ัง ๔ ให้ปรากฏลักษณะแข็งหรืออ่อน ไหลหรือ เกาะกุม เย็นหรือร้อน หย่อน ตึง หรือเคลื่อนไหว การปฏิบัติดังนี้ส่งผลให้นักปฏิบัติกำจัดสักกายทิฏฐิ ๑๐ ดูรายละเอยี ดใน วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๒/๒๕๐-๓๗๘. ๑๑ ดรู ายละเอยี ดใน ข.ุ ม. (ไทย) ๒๙/๑๓/๖๓ , ม.ม.ู อ. (บาลี) ๑/๒/๓๑-๓๔. ๑๒ หมายถงึ กาํ หนดรดู้ ว้ ยปรญิ ญา ๓ อยา่ ง คือ (๑) ญาตปรญิ ญาการกําหนดรูข้ ้ันรู้จกั (๒) ตีรณปรญิ ญา การกำหนดร้ขู ้ันพจิ ารณา (๓) ปหานปริญญา การกำหนดรู้ขัน้ ละ ดใู น ส.ํ น.ิ อ. (บาลี) ๒/๖๓/๑๒๔. ๑๓ ดูรายละเอียดใน ข.ุ ม. (ไทย) ๒๙/๑๓/๖๓, ม.มู.อ. (บาลี) ๑/๒/๓๑-๓๔.

๑๐๙ คือ ความเห็นผิดในตัวตน เพราะรู้ว่ากองลมท่ีเคลื่อนไหวกระทบอยู่ที่ปลายจมูก ไม่ใช่ตัวเรา ของเรา บรุ ษุ หรือสตรี และไม่มีตวั เราของเรา บุรุษ หรอื สตรอี ยใู่ นกองลมนน้ั ผู้ที่ตามรู้ลมหายใจเข้าว่าส้ันหรือยาวตามสมถนัยมีเบื้องต้นคือปลายจมูกท่ีปรากฏความ เกิดขึ้น เบื้องปลายคือสะดือที่ปรากฏความดับไป ส่วนเบื้องกลางระหว่างปลายจมูกและสะดือไม่ ปรากฏความเกิดขึ้นและดับไป แม้ในเวลาหายใจออกก็มีเบ้ืองต้นคือสะดือ เบ้ืองปลายคือปลายจมูก สว่ นเบื้องกลางคือระหว่างปลายจมูกและสะดือ การรับรสู้ ัณฐานส้ันยาวของลมหายใจจัดเป็นการรับรู้ บญั ญัติ ไมอ่ าจทำใหก้ ำจดั สกั กายทิฏฐไิ ด้ ทุกขณะที่นักปฏิบัติเจริญสติระลึกรลู้ มหายใจจนกระทั่งปรากฏลักษณะของธาตุทง้ั ๔ ปัญญา ทรี่ เู้ หน็ สภาวธรรมอย่างแท้จรงิ ยอ่ มเกิดขึ้นอยู่เสมอ สักกายทิฏฐจิ ะถูกกำจัดไปตลอดเวลา นักปฏิบัติจะ ร้สู ึกว่าไม่มีสัณฐานส้ันยาว ไม่มีกองลมที่หายใจเข้าออก มีเพียงธาตุท้ัง ๙ ไม่ปรากฏชัดใน แต่ละขณะ เท่านั้นการรู้เห็นอย่างน้ีเป็นทิฏฐิวิสุทธิ คือ ความหมดจดแห่งความเห็นซ่ึงเกิดข้ึนในขณะตามรู้ลม หายใจตามวิปัสสนานัย นอกจากลมหายใจแล้วแม้อวัยวะส่วนอื่นๆ ของร่างกาย เช่น ผม ขน ก็จัดเป็นบัญญัติที่มี สณั ฐานสั้นยาวเป็นตน้ ผู้ท่ีเขา้ ใจว่า ผมหรอื ขนมีอยู่จริง จัดวา่ ประกอบดว้ ยสักกายทิฏฐิอยเู่ สมอ แตผ่ ู้ท่ี เจริญวิปัสสนาจนกระท่ังหย่ังเห็นสภาวะของธาตุท้ัง ๔ ย่อมกำจัดสักกายทิฏฐิได้ การรู้เห็นอย่างน้ี เปน็ ทฏิ ฐวิ สิ ทุ ธิซ่ึงเกดิ ขึ้นในขณะตามรผู้ มเป็นต้น ทิฏฐวิ ิสุทธใิ นขณะกําหนดรู้นามธรรม ในอานาปานทีปนี พระญาณธชะอธิบายไว้ว่า จิตที่ตาม รกู้ องลมหรอื ธาตทุ ั้ง ๔ และนามธรรมคือสติ วิริยะ และปัญญาทป่ี ระกอบร่วมกับจิต จัดเปน็ นามธรรม คือ สภาวะนอ้ มไปสอู่ ารมณ์ หมายถงึ มุง่ จะรับรอู้ ารมณ์ มีคำอธบิ ายว่า “จติ คือ สภาวะรอู้ ารมณ์ท่ีเป็นกองลมหรือธาตุทั้ง ๔ สติ คือ การระลึกรู้อย่างต่อเน่ืองไมข่ าด ช่วง วิริยะ คือ ความเพียรในการระลึกรู้ ปัญญา คือ การหย่ังเห็นสภาวธรรมของอารมณ์ปัจจุบันตาม ความเป็นจริง นักปฏิบัติพึงกําหนดรู้จิตเป็นหลัก เพราะสติ วิริยะ และปัญญาเกิดร่วมกับจิต เม่ือหย่ังเห็น สภาวธรรมของจิตแล้วก็อาจหยั่งเห็นสภาวธรรมของสติเป็นต้นได้ กล่าวคือ พึงรับรูว้ ่า จิตที่ตามรู้กอง ลมหรือธาตุท้ัง ๔ เป็นเพียงนามธรรมท่ีรับรู้อารมณ์ได้ ไม่ใช่รูปธรรมที่ไม่อาจรับรู้อารมณ์ไม่ใช่บุคคล เรา เขา บุรษุ หรอื สตรี การรเู้ ห็นอยา่ งนเ้ี ป็นทิฏฐวิ ิสทุ ธซิ ึง่ เกดิ ข้นึ ในขณะตามรู้นามธรรม เม่ือนักปฏิบัติเจริญวิปัสสนากรรมฐานจนกระท่ังปรากฏว่ามีธาตุท้ัง ๔ และจิตท่ีตามรใู้ นปัจจุบันขณะ ปราศจากความเป็นตัวเรา ของเรา พึงยังกังขาวิตรณวิสุทธิให้เกิดขึ้นด้วยการหย่ังเห็นปฏิจจสมุปบาท คือสภาพอาศยั ปจั จยั เกิดขึ้น คนทัว่ ไปไม่เข้าใจปฏิจจสมุปบาทตามความเป็นจรงิ จึงคดิ หาเหตุเกิดของ ธาตุทั้ง ๔ และจิต โดยมีลัทธิความเห็นต่างๆ และยึดม่ันว่ามีสภาพเท่ียง เป็นสุข และบังคับบัญชาได้ การน้อมไปในความเห็นผิดอย่างนี้แล้วจงึ มีความสงสัยลังเลใจ ความสงสัยนี้จัดเป็นวจิ ิกิจฉาโดยสามัญ ส่วนความสงสัยท่ีพบในพระสูตรว่า อโหสี นุ โข อนํ อตีตมทฺธานํ (เราเคยเกิดในอดีตหรือ) จัดเป็น วิจกิ ิจฉาโดยพิเศษ”๑๔ ธาตุ ๔ ภายในรา่ งกายยังแบง่ เปน็ ๔ อย่างไดต้ ามเหตุปัจจยั คอื ๑. ธาตุท่ีเกิดจากกรรม เกิดขึ้นโดยอาศัยกรรมเก่าในภพก่อนซึ่งปรากฏอยู่ทั่วร่างกายเหมือน กระแสนาํ้ ทไ่ี หลอย่างตอ่ เนื่อง ๑๔ ม.มู. (บาลี) ๑๒/๑๘/๑๑, ส.ํ น.ิ (บาลี) ๑๖/๓๕/๕๙.

๑๑๐ ๒. ธาตุท่ีเกิดจากจิต เกิดข้ึนโดยอาศัยจิตแต่ละสภาวะๆ เช่น จิตท่ีโลภ จิตท่ีโกรธ จิตที่สงสัย หรือฟงุ้ ซ่าน หรือจติ ท่ีเป็นกศุ ล เปน็ ต้น ซ่ึงเกิดข้นึ ในแต่ละขณะจติ น้ันๆ ๓. ธาตุท่ีเกดิ จากอุตุ เกดิ ขนึ้ โดยอาศยั สภาวะเย็นร้อนภายในร่างกายในแตล่ ะวัน ๔. ธาตุทเ่ี กิดจากอาหาร เกดิ ขนึ้ โดยอาศัยอาหารทบี่ ริโภคในแต่ละวัน ส่วนจิตท่ีรับรู้ลมหายใจเกิดข้ึนโดยอาศัยอารมณ์คือลมหายใจเข้าออกและหทัยวัตถุอันเป็นท่ี อาศัยของจิต จิตทีร่ ับรู้ลมหายใจเข้ามิใชจ่ ิตที่รับรู้ลมหายใจออกและจิตที่รับรู้ลมหายใจออกกม็ ิใช่จิตท่ี รบั รู้ลมหายใจเข้า เหมือนแสงอาทติ ย์ท่ีตา่ งจากแสงจนั ทร์ นักปฏบิ ัตทิ ่ีหยงั่ เห็นเหตุปัจจัยของธาตุทั้ง ๔ และจิตท่ีรับรู้ธาตเุ หล่านั้น จัดว่าได้เข้าใจปฏิจจสุมปบาท บรรลุกังขาวิตรณวสิ ุทธิที่ขา้ มพ้นความสงสัย สามารถลว่ งพน้ ความสำคัญผิดวา่ เทยี่ ง เป็นสุข และบังคบั บัญชาได้ ผู้ที่เจริญสติระลึกรู้ความเป็นรูปนามของธาตุท้ัง ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุไฟ และธาตุลม พร้อมทั้งจิตที่ตามรู้ธาตุเหล่านั้น เหตุเกิดของรูป ๔ อย่าง คือ กรรม จิต อุตุ และอาหาร เหตุเกิดของ นาม ๒ อย่าง คือ อารมณ์ และหทัยวัตถุ พึงเจริญวิปัสสนาต่อไป เพ่ือให้หยั่งเห็นความไม่เที่ยง ความ เป็นทุกข์ และความเป็นอนัตตาของสภาวธรรมเหล่าน้ัน ดังข้อความว่า “รปู ไม่เท่ียงเพราะมีสภาพสิ้น ไป เป็นทุกขเ์ พราะมสี ภาพน่ากลัว และเป็นอนัตตาเพราะมสี ภาพปราศจาก แก่นสาร” ข้อความท่ีกล่าวมาน้ีเป็นแนวทางในการเจริญวิปัสสนาโดยระลึกรู้ลมหายใจเป็นหลัก อีกนัย หนงึ่ คือ นกั ปฏิบตั ิอาจกำหนดรลู้ มหายใจเขา้ ออกจนกระทัง่ บรรลุอุปจารสมาธิ ต่อจากนั้นจงึ ตามรขู้ นั ธ์ ๕ ท่ีปรากฏชัดในปัจจุบันขณะ หมายความว่า ควรกำหนดรู้ลมหายใจก่อนจนจิตสงบปราศจากนิวรณ์ รบกวนจติ แลว้ จึงตามรู้ขันธ์ ๕ ตามสมควร๑๕ พระมหาสีสยาดอ (โสภณมหาเถระ) กล่าวไว้ในวิปสสนาชุนีว่า “สภาวลักษณะของนามธรรม เช่น นมนะ ผุสนะ สัญชานนะ วิชานะ เป็นต้น และสภาวลักษณะของรูป เช่น รุปปนะ กักขฬัตตะ เป็นตน้ นน้ั เปน็ สิ่งทีป่ รากฏให้เปน็ เฉพาะในขณะทก่ี ำลังเกดิ ข้นึ เทา่ นนั้ คือในขณะแห่งอุปาทะ ฐิติ และ ภงั คะรูปของรูปนามน้ัน ๆ แต่จะไม่ปรากฏให้เห็นในขณะท่ีเปน็ แล้วและยังไม่เป็น คือในอดีตท่ผี ่านมา และอนาคตที่ยังไม่เกิดขึ้น เพราะเหตุน้ัน การรู้แจ้งตามความเป็นจริงจึงมิได้ด้วยเพียงกำหนดสภาว ลักษณะของรูปนามทั้งหลายท่ีกำลังเกิดขึ้น เน่ืองจากอาศัยการกำหนดสภาพในขณะกำลังเกิดขึ้น เช่นนี้ ความเข้าใจท่ีว่าไม่มีสัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา จึงได้ชื่อว่าเป็น “ทิฏฐิวิสุทธิ” ญาณท่ีเห็นและ สามารถละทิง้ สิ่งสกปรกคอื อัตตทฏิ ฐไิ ด้”๑๖ พระภัททนั ตะ อาสภมหาเถระได้กลา่ วไวใ้ นวิปสั สนาธรุ ะวา่ “นามรปู ปริจเฉทญาณ ปัญญาท่ี กำหนดรู้เหน็ รปู -นาม ตามสภาวะทเ่ี ป็นจริงชอื่ วา่ ทฏิ ฐิวสิ ทุ ธิ เพราะชำระใจของโยคีบุคคลให้ ปราศจากสกั กายทฏิ ฐหิ รอื อัตตทฏิ ฐิ”๙๑๗ ๑๕ พระญาณธชเถระ (แลดีสยาดอ), อานาปานทีปนี,พระคันธสาราภวิ งศ์ แปลและเรยี บเรียง.(กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ไทยรายวัน จอมทอง, ๒๕๔๙), หนา้ ๓๗-๔๐. ๑๖ พระมหาสสี ยาดอ, (โสภณมหาเถระ), วปิ สั สนาชนุ ี, แปลโดย จำรญู ธรรมดา, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ทิพยวิสทุ ธ์ิ, ๒๕๔๐), หนา้ ๘๙-๑๐๕. ๑๗ พระภทั ทันตะ อาสภมหาเถระ อคั คมหากมั มัฎฐานจริยะ, วิปสั สนาธรุ ะ, (กรุงเทพมหานคร : C ๑๐๐ DESIGN CO., LTD, ๒๕๓๖), หนา้ ๑๕๙.

๑๑๑ ๔. เรือ่ งมรรค ๘ ความหมายของคำวา่ มรรค คำว่า มรรคหรือมคฺโค๑๘ทางชอ่ื วา่ มรรค เพราะ หมายความวา่ อยา่ งไร เพราะหมายความว่า เป็นเหตุใหถ้ งึ พระนิพพาน และเพราะหมายความวา่ ผมู้ ีความ ตอ้ งการพระนพิ พานจะตอ้ งดำเนนิ ไป พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้กล่าวตอบเจ้าโอฏฐัทธลิจฉวีท่ีทูลถามว่า “ทางเป็นอย่างไร ข้อปฏิบัติเพ่ือบรรลุธรรมเหล่านั้นเป็นอย่างไร ?” ไว้ในมหาลิสูตรว่า “มรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ เหล่าน้ีคือ สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) สัมมาสังกัปปะ (ดำริชอบ) สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) สัมมากัมมันตะ (กระทำชอบ) สัมมาอาชีวะ (เล้ียงชพี ชอบ) สัมมาวายามะ (พยายามชอบ) สมั มาสติ (ระลึกชอบ) และ สมั มาสมาธิ (ต้งั จติ ม่ันชอบ) นี้แลคือทาง คือขอ้ ปฏบิ ัตเิ พื่อบรรลธุ รรม”๑๙ พระสารบี ตุ รเถระ ได้อธบิ ายวิธีเจรญิ อานาปานสติโดยนัยวปิ สั สนาทัง้ ๔ แบบที่ พระอานนท์ เถระกลา่ วไว้วา่ การเจรญิ วิปัสสนาภาวนา มรี ปู แบบ ๔ ประการ คือ ๑) สมถปุพพังคมวิปัสสนา วิปัสสนามีสมถะนำหน้า เรียกเต็มว่า สมถปุพพังคม วิปัสสนา ภาวนา การเจริญวปิ สั สนาโดยมีสมถะนำหน้า๙๒๐ ๒) วิปัสสนาปุพพังคมสถะ สมถะมีวิปัสสนานำหน้าเรียกเต็มว่า วิปัสสนาปุพพังคมสมถ ภาวนา การเจริญสมถะโดยมวี ิปัสสนานำหนา้ ๒๑ ๓) ยุคนัทธสมถวิปัสสนา สมถะและวิปัสสนาเข้าคู่กัน เรียกเต็มว่า สมถวิปัสสนายุคนัทธ ภาวนาการเจรญิ สมถะและวปิ สั สนาควบคไู่ ปดว้ ยกัน๒๒ ๔) ธมั มุทธัจจวิคคหิตมานัส วิธปี ฏิบัติเมื่อจิตถูกชักให้เขวด้วยธรรมธุ ัจจ์ คือความฟุ้งซา่ นธรรม หรอื ตนื่ ธรรม (ความเข้าใจผิดยึดเอาผลทีป่ ระสบในระหวา่ งวา่ เปน็ นิพพาน)๒๓ พระอานนท์กล่าวย้ําว่า “ผู้ใดก็ตามไม่ว่าจะเป็นภิกษุหรือภิกษุณี ย่อมทำให้แจ้งอรหันต์ใน สำนกั ของเรา ดว้ ยมรรคครบท้ัง ๔ ประการหรือมรรคใดมรรคหนึง่ ในมรรค ๔ ประการนี้ คือ ๑. ภิกษุ เจริญวิปัสสนาอันมีสมถะนำหน้า เม่ือเธอเจริญวิปัสสนาอันมีสมถะนำหน้าอยู่ มรรค เกดิ ข้นึ เธอเสพคนุ้ เจรญิ ทำให้มากซ่ึงมรรคนั้น เมื่อเธอเสพคุน้ เจริญ ทำใหม้ าก ซึง่ มรรคน้ัน สงั โยชน์ ทง้ั หลายย่อมถูกละได้ อนุสัยท้งั หลายยอ่ มสนิ้ ไป ๒. ภิกษุเจริญสมถะอันมีวิปัสสนานำหน้า เมื่อเธอเจริญสมถะอันมี วิปัสสนานำหน้าอยู่มรรค เกิดข้ึน เธอเสพคุ้น เจริญ ทำให้มากซึ่งมรรคนนั้ เม่ือเธอเสพคุ้น เจรญิ ทำให้มากซึ่งมรรคนั้น สงั โยชน์ ท้ังหลายยอ่ มถกู ละได้ อนุสัยทง้ั หลายย่อมสิ้นไป ๓. ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาควบคู่กัน เมื่อเธอเจริญสมถะและวิปัสสนาควบคู่กันอยู่ มรรคเกิดข้ึน เธอเสพคุ้น เจริญ ทำให้มาก ซ่ึงมรรคน้ัน เม่ือเธอเสพคุ้น เจริญ ทำให้มาก ซ่ึงมรรคนั้น สงั โยชนท์ ง้ั หลายยอ่ มถกู ละได้ อนุสัยทัง้ หลายยอ่ มสนิ้ ไป ๑๘ ท.ี ม.อ.(ไทย) ๒/๑,๒/๑๓๗,๒๖๓-๒๗๑, ม.ม.ู อ. (ไทย) ๑/๑/๖๔๔. ๑๙ ที.ส.ี (ไทย) ๙/๓๗๕/๑๕๗. ๒๐ ม.อุ.อ. (บาลี) ๑/๑๐๕, วสิ ุทธ.ิ (บาลี) ๒/๓๓๓. ๒๑ ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๑๕๓-๖๕/๑๑๖-๑๒๒, ม.อุ.อ. (บาลี) ๓/๔๙๙-๕๐๐. ๒๒ ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๕๓๕/๔๓๓ , ๓๑/๒/๔๑๔. ๒๓ ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๕๔๒-๓/๔๔๕-๘.

๑๑๒ ๔. ภิกษุมีใจถูกชักให้เขวไปด้วยธรรมุธัจจ์ แต่คร้ันถึงคราวเหมาะท่ีจิตน้ันตั้งแน่วสงบสนิทลง ได้ในภายใน เด่นชัดเป็นสมาธิ มรรคก็เกิดข้ึนแก่เธอ เธอเสพคุ้น เจริญ ทำให้มากซ่ึงมรรคนั้น เมื่อเธอ เสพคนุ้ เจริญ ทำใหม้ าก ซึ่งมรรคนั้นสงั โยชน์ยอ่ มถกู ละได้ อนุสัยย่อม ส้ินไป”๒๔ ดงั น้ี ๑) ภิกษุเจริญวิปัสสนามีสมถะนำหน้า คือ ความที่จิตเป็นเอกัคคตารมณ์ ไม่ฟุ้งซ่าน ดว้ ยอำนาจแห่งความเป็นผู้พิจารณาเห็นความสละคืนหายใจเข้า ด้วยอำนาจแห่งความเป็นผู้พิจารณา เห็นความสละคืนหายใจออก เป็นสมาธิ ความที่จิตพิจารณาเห็นธรรมที่เกิดในสมาธินั้นโดยความไม่ เทย่ี ง โดยความเปน็ ทกุ ข์ โดยความเปน็ อนัตตา เป็นวิปสั สนา สมถะมกี ่อน วิปัสสนา มีภายหลัง”๒๕ ๒) ภิกษุน้ันเจริญสมถะมีวิปัสสนานำหน้า คือ สภาวะท่ีจิตพิจารณาเห็นเวทนา ฯลฯ วิญญาณ ฯลฯ พิจารณาเห็นชราและมรณะโดยความไม่เที่ยง..โดยความเป็นทุกข์ ..โดย ความเป็น อนัตตา ช่ือว่าเป็นวิปัสสนา สภาวะท่ีจิตปล่อยธรรมท้ังหลายท่ีเกิดในภาวนาน้ันเป็นอารมณ์ และ สภาวะทจี่ ิตเปน็ เอกคั คตารมณ์ ไมฟ่ งุ้ ซ่านเป็นสมาธิ วปิ สั สนามกี ่อน สมถะ มภี ายหลงั ”๑๒๖ ๓) ภิกษุเจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไป คือ เจริญสมถะและวิปัสสนาคู่กันไปด้วย อาการ ๑๖ อย่าง ได้แก่ ๑. ด้วยมีสภาวะเป็นอารมณ์ ๒. ด้วยมีสภาวะเป็นโคจร ๓. ด้วยมีสภาวะละ ๔. ด้วยมีสภาวะสละ ๕. ด้วยมีสภาวะออก ๖. ด้วยมีสภาวะหลีกออก ๗. ด้วยมีสภาวะเป็นธรรม ละเอียด ๘. ด้วยมีสภาวะเป็นธรรมประณีต ๙. ด้วยมีสภาวะหลุดพ้น ๑๐. ด้วยมีสภาวะไม่มีอาสวะ ๑๑. ด้วยมีสภาวะเป็นเครื่องข้าม ๑๒. ด้วยมีสภาวะไม่มีนิมิต ๑๓. ด้วยมีสภาวะไม่มี ปณิหิตะ ๑๔. ด้วยมีสภาวะเป็นสุญญตะ ๑๕. ด้วยมีสภาวะมีรสอย่างเดียวกัน ๑๖. ด้วยมีสภาวะเป็นคกู่ ันไม่ล่วงเลย กัน”๒๗ ๔) ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะในธรรมก้ันไว้ คือ เมื่อภิกษุมนสิการโดยความไม่เท่ียง โอภาสย่อมเกิดข้ึน ภิกษุนึกถึงโอภาสว่า โอภาสเป็นธรรม เพราะนึกถึงโอภาสนั้น ความฟุ้งซ่าน เป็น อุทธัจจะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นก้ันไว้ ย่อมไม่รู้ชัดความปรากฏโดยความไม่เที่ยงตามความเป็นจริง ไม่รู้ชัดความปรากฏโดยความเป็นทุกข์ตามความเป็นจริง ไม่รู้ชัดความปรากฏโดยความเป็นอนัตตา ตามความจริง เพราะเหตุน้ัน ทา่ นจงึ กล่าวว่า มีใจถูกอุทธัจจะในธรรมกั้นไว้ ในเวลาท่ีจิตต้ังม่ันสงบอยู่ ภายใน มีภาวะทีจ่ ิตเป็นหน่ึงผุดข้ึน ตั้งมัน่ อย่มู รรคก็เกิดแก่เธอ มรรคย่อมเกิดอยา่ งไร ฯลฯ มรรคย่อม เกดิ อย่างนี้ ภกิ ษยุ อ่ มละสงั โยชนไ์ ด้อย่างนี้ อนสุ ยั ยอ่ มสนิ้ ไปอยา่ งนี้ เม่ือมนสิการโดยความไมเ่ ท่ียง ญาณ (ความรู้) ย่อมเกิดข้ึน ปีติย่อมเกดิ ข้ึน ปัสสัทธิ(ความสงบ กายสงบใจ)ย่อมเกิดขึ้น สุขย่อมเกิดข้ึน อธิโมกข์ (ความน้อมใจเชื่อ) ย่อมเกิดขึ้น ปัคคหะ (ความเพียร ท่ีพอดี) ย่อมเกิดข้ึน อุปัฏฐาน (สติแก่กล้า) ย่อมเกิดขึ้น อุเบกขา (ความมีใจเป็นกลาง) ย่อมเกิดขึ้น นิ กันติ (ความติดใจ) ย่อมเกิดข้ึน ภิกษุนึกถึงนิกันติว่า “นิกันติเป็นธรรม” เพราะนึกถึงนิกันตินั้น จึงมี ความฟุ้งซ่านเป็นอุทธจั จะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นกั้นไว้อย่างนี้ ย่อมไมร่ ู้ชัดความปรากฏโดยความไม่ เที่ยงตามความเป็นจริง ไม่รู้ชดั ความปรากฏโดยความเป็นทกุ ข์ตามความเป็นจริง ไมร่ ู้ชดั ความปรากฏ โดยความเป็นอนัตตาตามความเป็นจริง เพราะเหตุน้ัน ท่านจึงกล่าวว่า มีใจถูกอุทธัจจะในธรรมก้ันไว้ ๒๔ องฺ.จตกุ กฺ . (ไทย) ๒๑/๑๗๐/๒๓๘, ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๕๓๔/๔๑๓, วสิ ทุ ธิ.มหาฎีกา (บาลี) ๓/๕๑๐. ๒๕ ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๓/๔๑๗. ๒๖ ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๔/๔๑๙. ๒๗ ข.ุ ป.อ. (บาลี) ๒/๕/๒๒๐.

๑๑๓ ในเวลาท่ีจิตต้ังมั่นสงบอยู่ภายใน มีภาวะที่จิตเป็นหน่ึงผุดข้ึน ตั้งมั่นอยู่ มรรคก็เกิดแก่เธอ มรรคย่อม เกดิ อย่างไร ฯลฯ มรรคยอ่ มเกิดอยา่ งนี้ ภิกษุยอ่ ม ละสังโยชน์ได้อย่างน้ี อนุสยั ยอ่ มสิน้ ไปอยา่ งน้ี เมื่อมนสิการโดยความเป็นทุกข์ ฯลฯ เมื่อมนสิการโดยความเป็นอนัตตาโอภาสย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ ญาณย่อมเกิดข้ึน ปีติย่อมเกิดขึ้น ปัสสัทธิย่อม เกิดข้ึนสุขย่อมเกิดขึ้น อธิโมกข์ย่อมเกิดขึ้น ปคั คหะย่อมเกิดข้ึน อุปัฏฐานย่อมเกิดขึ้น อุเบกขายอ่ มเกิดขึ้น นิกันติย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนึกถึงนิกันติว่า นิกันติเป็นธรรม เพราะนึกถึงนิกันติน้ัน มีความฟุ้งซ่านเป็นอุทธัจจะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะน้ันก้ันไว้ ย่อมไม่รู้ชัดความปรากฏโดยความเป็นอนัตตาตามเป็นจริง ไม่รู้ชัดความปรากฏโดยความไม่เท่ียงตาม เป็นจริง ไม่ร้ชู ดั ความปรากฏโดยความเป็นทกุ ข์ ตามความเป็นจริง เมื่อมนสิการรูปโดยความไม่เที่ยง ฯลฯ เมื่อมนสิการรูปโดยความเปน็ ทุกข์ ฯลฯ เม่ือมนสิการ รปู โดยความเป็นอนัตตา เม่อื มนสิการเวทนา ฯลฯ สัญญา ฯลฯ สังขาร ฯลฯ วิญญาณ ฯลฯ จักขุ ฯลฯ เม่ือมนสิการชราและมรณะโดยความไม่เท่ียง ฯลฯ เม่ือมนสิการชราและมรณะโดยความเป็นทุกข์ ฯลฯ เมื่อมนสิการชราและมรณะโดยความเป็นอนัตตา โอภาสย่อมเกิดข้ึน ญาณย่อมเกิดขึ้น ปีติย่อม เกิดข้ึนปัสสัทธิย่อมเกิดขึ้น สุขย่อมเกิดขึ้น อธิโมกข์ย่อมเกิดข้ึน ปัคคหะย่อมเกิดข้ึนอุปัฏฐานย่อม เกิดข้ึน อุเบกขายอ่ มเกิดขึ้น นิกันติย่อมเกิดข้ึน ภิกษุนึกถึงนิกันติว่านิกันติเป็นธรรม เพราะนึกถึงนิกัน ติน้ัน ความฟุ้งซ่านเป็นอุทธัจจะ ภิกษุมีใจถูกอุทธัจจะนั้นก้ันไว้ ย่อมไม่รู้ชัดชราและมรณะซ่ึงปรากฏ โดยความเป็นอนัตตาตามความเป็นจริง ไม่รู้ชัดชราและมรณะซึ่งปรากฏโดยความไม่เท่ียงตามความ เป็นจริงไม่รู้ชัดชราและมรณะซ่ึงปรากฏโดยความเป็นทุกข์ตามความเป็นจริง เพราะเหตุน้ันท่านจึง กล่าวว่า มใี จถูกอทุ ธจั จะในธรรมกนั้ ไว้ ในเวลาท่ีจิตต้งั มน่ั สงบอยู่ภายในมภี าวะท่ีจิตเป็นหนึ่งผดุ ข้ึน ตั้ง ม่นั อยู่ โดยความไมเ่ ที่ยง มรรคกเ็ กิดแก่เธอ ฯลฯ ภกิ ษลุ ะสังโยชน์ไดอ้ ยา่ งน้ีอนุสยั ย่อมสนิ้ ไปอยา่ งนี้”๒๘ ความปรากฏขึ้นของมรรค พระสารีบุตรเถระอธิบายความเกิดข้ึนของมรรคและการละ สังโยชน์ ไว้ว่า “มรรคชื่อว่าสัมมาทิฏฐิเพราะมีสภาวะเห็นย่อมเกิดขึ้น มรรคชื่อว่าสัมมาสังกัปปะ เพราะมีสภาวะตรึกตรองย่อมเกิด มรรคช่ือว่าสัมมาวาจาเพราะมีสภาวะกำหนดย่อมเกิด มรรคชื่อว่า สัมมากมั มนั ตะเพราะมีสภาวะเป็นสมุฏฐานยอ่ มเกดิ มรรคชอื่ วา่ สมั มาอาชวี ะเพราะมสี ภาวะ ผ่องแผ้ว ย่อมเกิด มรรคชื่อว่าสัมมาวายามะเพราะมีสภาวะประคองไว้ย่อมเกิด มรรคช่ือว่าสัมมาสติเพราะมี สภาวะตั้งม่ันย่อมเกิด มรรคช่ือว่าสัมมาสมาธิเพราะมีสภาวะไม่ฟุ้งซ่านย่อมเกิดขึ้น มรรคย่อมเกิด อย่างน้ี”๒๙ และอธิบายมรรคทีเ่ จริญทำใหม้ ขี นึ้ แลว้ ย่อมละสงั โยชน์ และทำอนุสยั ให้สน้ิ ไปได้ วา่ “(ผู้เจริญวิปัสสนา) ย่อมละสังโยชน์ ๓ น้ี คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉาและ สีลัพพตปรามาส อนุสัย ๒ น้ี คือ ทิฏฐานุสัยและวิจิกิจฉานุสัยย่อมส้ินไปด้วยโสดาปัตติมรรค ย่อมละสังโยชน์ ๒ น้ี คือ กามราคสังโยชน์และปฏิฆสังโยชน์ส่วนหยาบ ๆ อนุสัย ๒ นี้ คือ กามราคานุสัยและปฏิฆานุสัยส่วน หยาบ ๆ ย่อมส้ินไปด้วยสกทาคามิมรรค ย่อมละสังโยชน์ ๒ นี้ คือ กามราคสังโยชน์และปฏิฆสังโยชน์ ส่วนละเอียด อนุสัย ๒ น้ี คือ กามราคานุสัยและปฏิฆานุสัย ส่วนละเอียด ๆ ย่อมสิ้นไปด้วย อนาคามิมรรค ย่อมละสังโยชน์ ๕ นี้ คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา อนุสัย ๓ น้ี คอื มานานุสัย ภวราคานสุ ัย และอวิชชานสุ ยั ยอ่ มสิ้นไปด้วยอรหัตตมรรค”๓๐ ๒๘ ข.ุ ป.อ. (บาลี) ๒/๖/๔๒๕. ๒๙ ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๒/๔๑๔. ๓๐ ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๒/๔๑๕-๖.

๑๑๔ การศกึ ษาค้นคว้าหาข้อมูลในคมั ภีรพ์ ระพุทธศาสนาเถรวาท ทำให้ผู้วิจยั พบว่า วิธกี ารปฏบิ ัติ วิปัสสนากมั มฏั ฐานตามหลักฐานขา้ งตน้ คือ ไมว่ ่าจะทำสมถะก่อน หรอื วิปัสสนาก่อน หรือทำพร้อม กัน หรือจะระงบั ความฟงุ้ ซ่าน เพอ่ื ให้ได้อุปจารสมาธิระดับแก่ ๆ อันเปน็ ฐานของ โลกตุ รมรรค อยา่ ง ใดอย่างหนง่ึ ใน ๔ กต็ าม ในขณะทำมรรค ๘ ตอ้ งเกดิ และในขณะที่มรรค ๘ เกิด จะรไู้ ด้อยา่ งไร จะ สามารถรไู้ ด้ ตรงทส่ี ามารถเห็นการขจดั สังโยชนแ์ ละอนุสยั ปรากฏแก่ตาปัญญาแห่งตนได้ ถ้าทำได้ดงั น้ี เรียกวา่ “วิปัสสนา” ซึง่ แปลเปน็ ภาษาไทยได้ว่า “เห็นแจ้งชัด” ไมว่ ่าจะเรยี กชอ่ื ย่อยเป็นอะไรกต็ าม จะตอ้ งทำเหมือนกนั ทั้งหมด ดงั ปรากฏหลกั ฐานท่ีพระพุทธเจา้ เทศนไ์ ว้ ในมหาวารวรรค สังยุตตนกิ าย พระสตุ ตนั ตปฎิ ก ว่า “ภิกษุทั้งหลาย สติในลมหายใจ เม่ือเจริญ เม่ือทำให้มาก ชื่อว่ายังสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ สติปัฏฐาน ๔ เมื่อเจริญ เมื่อทำให้มาก ช่ือว่ายังโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์ โพชฌงค์ ๗ เม่ือเจริญ เม่ือทำ ให้มาก ชอ่ื วา่ ยงั วิชาและความหลดุ พน้ ใหบ้ รบิ รู ณ์” หมายความว่า เมื่อทำอานาปานสติ แล้วทำให้สติปัฏฐาน ๔ บริบูรณ์ได้ ก็แสดงว่าท้ัง อานา ปานสติ และสติปัฏฐาน ๔ จะต้องทำเหมือนกันทุกประการ และเม่ือทำสติปัฏฐาน ๔ แล้วสามารถทำ ให้ โพชฌงค์ ๗ บรบิ ูรณ์ได้ ก็แสดงว่าโพชฌงค์ ๗ กับสตปิ ัฏฐาน ๔ ต้องทำเหมือนกนั และในเมือ่ สตปิ ัฏ ฐาน ๔ กับอานาปานสติทำเหมือนกัน ดังน้ันโพชฌงค์ ๗ ก็ต้องทำเหมือนกับ อานาปานสติด้วย จะ ต่างกันไม่ได้ แต่ปัญหาอยู่ตรงที่ว่าท้ัง อานาปานสติ สติปัฏฐาน ๔ และโพชฌงค์ ๗ เวลาปฏิบัติจริง ในขณะปฏิบัติอยู่น้ันสามารถทำใหม้ รรค ๘ องค์ เกิดขึ้นในระบบอริยสัจ ๔ ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ใน พระวินัยปิฏก๓๑ว่า “คือธรรมที่ได้ตรัสรู้แล้วทำให้เราไม่ต้องไปเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป” และยังได้ ตรัสไว้ในนิคมคาถาว่า “เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ ตามเป็นจริงเราและพวกเธอจึงต้องท่องเท่ียวไปใน ชาตนิ ้ัน ๆ ตลอดเวลานาน แต่เพราะได้เห็น อริยสัจ ๔ เราและพวกเธอจึงถอนตัณหาท่ีจะนำไปเกิดได้ ตัดรากแห่งทุกข์ได้เด็ดขาด บัดน้ีจึงไม่มีการเกิดอีกต่อไป” ได้หรือไม่ ถ้าได้ก็แสดงเป็นหลักฐานได้ว่า เป็นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซ่ึงทรงรับรองไว้ในมหาปรินิพพานสูตร๓๒ที่ได้กล่าวกับสุภัททปริพาชก บนแท่นปรินิพพานว่า “สุภัททะ ในธรรมวนิ ัยที่ไม่มีอริยมรรคมีองค์ ๘ ย่อมไม่มีสมณะที่ ๑๓๓ ย่อมไม่ มสี มณะท่ี ๒ ย่อมไม่มีสมณะท่ี ๓ ย่อมไมม่ ีสมณะที่ ๔ ในธรรมวินัยท่ีมีอรยิ มรรคมีองค์ ๘ ย่อมมีสมณะ ท่ี ๑ ย่อมมสี มณะที่ ๒ ยอ่ มมีสมณะที่ ๓ ยอ่ มมสี มณะที่ ๔ สุภัททะ ในธรรมวนิ ัยน้ีมอี รยิ มรรคมีองค์ ๘ สมณะที่ ๑ มีอยูใ่ นธรรมวินัยน้ีเท่านั้น สมณะท่ี ๒ มีอยู่ในธรรมวินัยนี้เท่าน้ัน สมณะท่ี ๓ มีอยู่ในธรรม วินัยนเี้ ท่าน้นั สมณะท่ี ๔ ก็มีอยู่ในธรรมวนิ ยั นีเ้ ทา่ นั้น ลทั ธิอ่นื ว่างจากสมณะทัง้ หลายผู้รู้ทั่วถงึ สุภทั ทะ ถ้าภิกษุเหล่าน้ีเป็นอยู่โดยชอบ โลกจะไม่พึงว่างจากพระอรหันต์ท้ังหลาย สุภัททะ เราบวชขณะอายุ ๒๙ ปี แสวงหาว่าอะไรคือกุศล เราบวชมาได้ ๕๐ ปีกว่ายังไม่มีแม้สมณะท่ี ๑ ภายนอกธรรมวินัยนี้ ผู้ อาจแสดงธรรมเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ได้ ไม่มีสมณะที่ ๒ ไม่มีสมณะท่ี ๓ ไม่มีสมณะท่ี ๔ ลัทธิอ่ืน ว่างจากสมณะท้ังหลายผู้รู้ท่ัวถึง สุภัททะ ถ้าภิกษุเหล่าน้ีเป็นอยู่โดยชอบ โลกจะไม่พึงว่างจากพระ อรหนั ต์ทัง้ หลาย” ๓๑ ว.ิ ม. (ไทย) ๕/๑๗๖/๑๐๔. ๓๒ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๒๑๔/๑๖๒. ๓๓ สมณะที่ ๑ สมณะที่ ๒ สมณะท่ี ๓ และสมณะท่ี ๔ ในท่ีนีไ้ ดแ้ ก่ พระโสดาบนั พระสกทาคามี พระ อนาคามแี ละพระอรหนั ต์ ตามลำดบั (ที.ม.อ. ๒๑๔/๑๙๖) และดเู ทียบ อภ.ิ ก. ๓๗/๘๗๕/๔๙๗-๔๙๘.

๑๑๕ ๕.๓ วธิ นี ำการปฏิบตั ิธรรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน วิธีนำการปฏิบัติธรรมไปใช้ในชีวิตประจำวันพระพุทธองค์ตรสั วิธีเจริญสติทุก ๆ ความรู้สึกใน หลาย ๆ ที่ เช่น สามัญญผลสูตร๓๔หมวดสมั ปชญั ญบรรพ๓๕ “ว่า ภิกษยุ ่อมทำความรสู้ ึกตวั ทว่ั พรอ้ มใน การเคล่ือนไหวทางกาย โดยกําหนดให้รู้เท่าทันทุกอากัปกิริยาน้ัน ๆ เช่น ในการก้าว ในการถอย ใน การแล ในการเหลยี ว ในการค้เู ขา้ ในการเหยยี ดออก” ในคัมภีรอ์ รรถกถากล่าวถึงเรื่องการคู้เขา้ เหยียดออกของพระเถระรูปหนึ่งไว้ว่า “พระเถระรูป หนึ่งสนทนากบั ศิษย์อยู่ได้คู้แขนเข้าอย่างรวดเร็วโดยขาดสติ ท่านจึงเหยียดแขนออกแล้วคู้แขนเข้าอีก คร้ังอย่างเชื่องช้า ศิษย์ของท่านสงสัยจึงถามว่าเหตุใดทำอย่างนี้ ท่านตอบว่าเราไม่เคยขาดสติคู้แขน เข้าตั้งแต่เวลาปฏิบัติธรรมเป็นต้นมา แต่ในเวลาสนทนาอยู่น้ีได้คู้แขนเข้าโดยปราศจากสติกำหนดรู้ จึงทำซำ้ เพ่ือเตอื นสติในโอกาสตอ่ ไป”๓๖ มพี ระพทุ ธดำรสั ตอ่ ไปในหมวดสัมปชญั ญบพั พะว่า ในการทรงผา้ สังฆาฏิ บาตร และจวี ร ในการฉัน ในการด่ืม ในการเคยี้ ว ในการล้ิม ในการถา่ ย อุจจาระ และในการปัสสาวะ ในการเดิน ในการยืน ในการน่ัง ในการหลับ ในการต่ืน ในการพูด ใน การน่ิง ฯลฯการเจริญกายานุปัสสนาในมหาสติปัฏฐานสูตรนั้นรวมไปถึงการกำหนดอิริยาบถใหญ่และ อริ ยิ าบถยอ่ ย นอกจากการกำหนดอาการของลมหายใจเข้าออกแล้ว ผู้ปฏบิ ตั ิยังจะตอ้ งกำหนดรูอ้ าการ ทป่ี รากฏท้ังหลายอ่ืนอีกดว้ ย เช่น อาการเคลือ่ นไหวของอริ ิยาบถตา่ ง ๆ มี ยืน เดิน น่ัง นอน การแลดู การเหลียวดู การคู้อวัยวะ ฯลฯ ในทุกขณะที่เคล่ือนไหว การทำกจิ ประจำวนั ต่าง ๆ กต็ ้องกำหนดรูอ้ ยู่ ทุกขณะเช่นเดียวกัน เช่น การกิน การด่ืม การเคี้ยว การนุ่งห่ม การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ การดู การ ได้ยิน การได้กล่ิน การรู้รส การสัมผัส๓๗ “ย่ิงไปกว่านั้นอาการท่ีปรากฏทางนามธรรมอันได้แก่ เวทนา จิต และธรรมนั้น ให้กำหนดได้ทันทีท่ีสภาวะเหล่านี้ปรากฏแก่จิตชัดเจนกว่าอาการของลมหายใจเข้า ออก”๓๘ หมวดเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน การใช้สติกําหนดรู้อาการของเวทนา คือ ขณะที่กำลัง ติดตามพิจารณาลมหายใจเข้าออกอย่างใกล้ชิดอยู่น้ัน ถ้าเกิดมีเวทนาท่ีปรากฏชัดเจนเข้า แทรกซ้อน ก็ให้กำหนดรู้ในเวทนานั้น ตามกำหนดดูอาการของสุขหรือทุกข์ที่กำลังเกิดขึ้นว่า อาการของสุขหรือ ทกุ ข์เป็นอย่างไร หรอื เมื่อรู้สกึ ว่าไมส่ ุขไมท่ ุกข์ก็รู้ชดั แก่ใจ หรือสุขหรอื ทกุ ขเ์ กิดขน้ึ จากอะไรเป็นมูลเหตุ เช่น เกิดจากเห็นรูป หรือได้ยินเสียง หรือได้กลิ่น หรือได้ล้ิมรส หรือได้สัมผัส ก็รู้ชัดแจ้ง หรือเมื่อรู้สึก เจ็บหรือปวด หรือเมื่อย หรือเสียใจ แค้นใจ อิม่ ใจ ฯลฯ ก็มีสติรู้กําหนดรู้ชัดว่า กาํ ลังรู้สึกเช่นนั้นอยู่๓๙ เม่อื เวทนานั้น ๆ ดบั ไปดว้ ยอำนาจการตามกาํ หนดรู้นนั้ แล้ว จึงกลบั ไปกำหนดกายานปุ สั สนาอยา่ งเดมิ หมวดจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน การใช้สติกําหนดรู้อาการท่ีปรากฏทางวิญญาณขันธ์ คือ “ขณะท่ีกําลังติดตามพิจารณาลมหายใจเข้าออกอย่างใกล้ชดิ อยู่นั้น ถ้าเกิดจิตมีอาการแตกต่างไปจาก ปกตปิ รากฏอย่างชดั แก่จิตเข้ามาแทรกซ้อน ก็ให้กำหนดรู้อารมณ์น้นั ในทันทีว่า มีอารมณ์อย่างไร เช่น ๓๔ ที.ส.ี (ไทย) ๙/๒๑๔/๗๓. ๓๕ ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๗๖/๒๕๐, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๖/๓๐๕. ๓๖ พระโสภณมหาเถระ, วปิ สั สนานยั เล่ม ๑, แปลโดย พระคันธสาราภิวงศ์ หนา้ ๒๐. ๓๗ ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๑๐๘/๑๐๔. ๓๘ องฺ.สตตฺ ก. (ไทย) ๒๓/๓๘/๕๘. ๓๙ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๑๓/๑๐๙.

๑๑๖ เมื่อจิตมีราคะ โทสะ โมหะ ความหดหู่ ความฟุ้งซ่าน ความสงบ ความไม่สงบ ฯลฯ ก็รู้ชัดว่า จิตมี อารมณ์อย่างนั้น ๆ ตามความเปน็ จรงิ ”๔๐ เม่ือจิตน้ัน ๆ ดับไปดว้ ยอำนาจการตามกำหนดรู้นน้ั แลว้ จึง กลับไปกำหนดกายานปุ ัสสนาอยา่ งเดิม หมวดธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การใช้สติกําหนดรู้สภาวธรรมท่ีปรากฏ คือ “ขณะท่ีกำลัง ตดิ ตามพิจารณาลมหายใจเขา้ ออกอย่างใกล้ชิดอย่นู ั้น ถ้าเกิดสภาวธรรมอะไรอยู่กต็ ้องกำหนดรู้อาการ น้ัน ๆ เม่ือเกิดความพอใจรักใคร่ ความพยาบาท ความหดหู่ท้อถอย ความฟุ้งซ่าน รำคาญใจ หรือ ความลังเลสงสัย (ซึ่งเรียกว่า นิวรณ์) ก็ต้องกำหนดรู้ ได้ลิ้มรสหรือได้ถูกต้องส่ิงของ ก็ต้องกำหนดรู้ ทันที หรือเม่ือเกดิ ความไมพ่ อใจ ความละอาย ความเมตตา ความคิด ความเห็น ความโลภ ความโกรธ ความริษยา ฯลฯ ก็กำหนดรู้เช่นเดียวกันตามความเป็นจริง”๑๑๕๔๑ เมื่ออาการของความคิดนึก และ ความจำได้หมายรู้นั้น ๆ ดับไปด้วยอำนาจการตามกำหนดรู้น้ันแล้ว จึงกลับไปกำหนดกายานุปัสสนา อยา่ งเดมิ สรปุ ท้ายบท วิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานเป็นการสอนท่ีสอดคล้องกับการปฏิบัติวิปัสสนากั มมัฏฐาน แบบสติปัฏฐาน ๔ ตามหลักประเพณีอริยาอาจารย์ที่สอนสืบ ๆ ต่อกันมา ได้ใช้หลักการกำหนดลม หายใจและอิริยาบถออกมาเป็นแบบของ พระมหาสีสยาดอ (โสภณมหาเถระ) คือ “พองหนอ-ยุบ หนอ” โดยสอนให้ผู้ปฏิบัตริ ู้จักสิ่งสำคัญ ในภาคปฏิบัติ ได้แก่ การกำหนดร้กู าย เวทนา จิต ธรรม การ กำหนดอารมณ์หลักและอารมณ์รองให้ทันปจั จุบันในการเดินจงกรม การน่ังสมาธิ การยืน การกลบั ตัว และการกำหนดอิริยาบถย่อย โดยมีการส่งและสอบอารมณ์ เพื่อปรับอินทรีย์และแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้กับผู้ปฏิบัติ พร้อมท้ังบรรยายอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับหลักการปฏิบัติที่ปรากฏในคัมภีรโ์ ดยการเพิ่ม เทคนิคเฉพาะตามท่ีถูกต้องและเหมาะที่สุด เพ่ือจะช่วยให้การปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานพัฒนาจิตให้ เกิดสมาธิและ ปัญญาญาณ และมรรคมีองค์แปดอันเป็นเครื่องมือท่ีสำคัญที่สุดในการปฏิบัติเพ่ือ ดำเนินไปสู่จุดมุ่งหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนา คือ การบรรลุมรรค ผล นิพพาน เข้าถึงความพ้น ทุกข์ ๔๐ เร่ืองเดยี วกนั หน้า ๑๑๐. ๔๑ ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๑๑๔/๑๑๑.

๑๑๗ คำถามท้ายบท ๑.จงอธิบาย การรายงานผลการปฏิบตั กิ ัมมฏั ฐาน มีวิธกี ารอย่างไรฯ ๒.จงอธบิ าย ข้นั ตอนศีลวิสุทธิ ในการปฏบิ ตั กิ มั มัฏฐานอย่างไรฯ ๓.จงอธิบาย ข้ันตอนจติ ตสุทธิ ในการปฏิบัตกิ ัมมัฏฐานอยา่ งไรฯ ๔.จงอธบิ าย ข้นั ตอนทฏิ ฐิวิสทุ ธิ ในการปฏิบตั ิกัมมฏั ฐานอย่างไรฯ ๕.จงอธิบาย ข้นั ตอนมรรค ๘ ในการปฏิบัตกิ มั มัฏฐานอยา่ งไรฯ ๖.จงอธบิ าย ความสัมพันธ์ของ ศลี จติ ตแิ ละทิฏฐิ อย่างไรฯ ๗.จงอธิบาย ความเกี่ยวเนื่องของ มรรคมีองค์ ๘ ฯ ๘.จะนำหลกั ศีลวิสุทธิ จิตตวสิ ุทธิ และทฏิ ฐิวสิ ุทธิ ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั อย่างไรฯ ๙.ศีลวสิ ทุ ธิ จติ ตวิสทุ ธิ และทฏิ ฐวิ สิ ุทธิ มคี วามสำคัญอย่างไร ตอ่ การปฏิบตั ิกัมมฏั ฐานฯ ๑๐.มีศลี วิสทุ ธิ จติ ตวิสุทธิ สามารถปฏบิ ตั ิวิปัสสนากัมมัฏฐานได้หรือไม่ จงอธิบายฯ

๑๑๘ เอกสารอา้ งองิ ประจำบท พระครปู ระคุณสรกิจ (สุชาติ ชิโนรโส) , “การศึกษาวธิ ีการสอนวปิ ัสสนากัมมัฏฐานตามแนวทาง ของวเิ วกอาศรม”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑติ วทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๗) หนา้ ๖๒. พระญาณธชเถระ (แลดสี ยาดอ), อานาปานทปี นี,พระคันธสาราภวิ งศ์ แปลและเรยี บเรยี ง. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพไ์ ทยรายวัน จอมทอง, ๒๕๔๙. พระภัททนั ตะ อาสภมหาเถระ อัคคมหากมั มัฎฐานจรยิ ะ, วิปสั สนาธุระ, กรุงเทพมหานคร : C ๑๐๐ DESIGN CO., LTD, ๒๕๓๖. พระมหาประเสรฐิ มนตฺ เสวี (พรหมจนั ทร์), “ศึกษาวิเคราะห์หลักปฏิบตั อิ านาปานสตภิ าวนาเฉพาะ กรณคี ำสอนพุทธทาสภกิ ขุ”, วทิ ยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจฬุ า ลง-กรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๑. พระมหาสีสยาดอ, (โสภณมหาเถระ), วิปัสสนาชนุ ี, แปลโดย จำรูญ ธรรมดา, (กรุงเทพมหานคร : โรง พมิ พ์ทพิ ยวสิ ทุ ธิ์, ๒๕๔๐. แม่ชีระวีวรรณ ธมฺมจารนิ ี (งา่ นวสิ ทุ ธพิ ันธ์), “การศึกษาสภาวญาณเบ้ืองตน้ ของผู้เขา้ ปฏิบตั ิวิปัสสนา ตามหลกั สติปัฏฐาน ๔ ณ สำนักวปิ สั สนากรรมฐานวดั พระธาตุศรจี อมทองวรวหิ าร”, วิทยานพิ นธ์พทุ ธ-ศาสตรมหาบณั ฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.

บทที่ ๖ การฝกึ บริหารจติ และเจริญปัญญา ตามหลกั สตปิ ัฏฐาน วตั ถุประสงค์การเรยี นรูป้ ระจำบท เมือ่ ได้ศกึ ษาเนือ้ หาในบทนีแ้ ล้ว ผเู้ รียนสามารถ ๑. อธิบายวธิ กี ารเจรญิ พทุ ธานสุ ติได้ ๒. อธบิ ายวิธกี ารเจรญิ อทุ ธมุ าตกอสภุ ากัมมฏั ฐานได้ ๓. อธบิ ายวิธกี ารเจรญิ มรณานสุ สติกมั มฏั ฐานได้ ๔. บอกอานิสงสข์ องพทุ ธานุสติ อุทธุมาตกและมรณานุสสติได้ ขอบขา่ ยเน้อื หา • วิธีการเจริญพทุ ธานุสติ • วิธกี ารเจรญิ อุทธมุ าตกอสุภากัมมัฏฐาน • วธิ ีการเจริญมรณานุสสตกิ ัมมัฏฐาน • อานิสงสข์ องพุทธานุสสติ อุทธมุ าตกและมรณานุสสติ

๑๒๐ ๖.๑ บทนำ พระพุทธองค์ตรสั ว่า “จิตมีธรรมชาติดิ้นรน กวัดแกวง่ รักษายาก ห้ามยาก”๑ ถ้าหากว่า ไม่มี กัมมัฏฐานมาเป็นอารมณ์ กิเลสก็จะจูงจิตไปในทางชั่วทางผิดได้โดยง่าย แต่ถ้าหากว่ามี กัมมัฏฐานมา รักษาจิตเอาไว้ตามสมควร กัมมัฏฐานท่ีรักษาจิตไว้น้ีก็จะช่วยรักษาบุคคล ไม่ให้ตก ไปสู่อำนาจของ อารมณ์และกิเลสได้โดยง่าย ฉะน้ัน เพื่ออบรมจิตดังกล่าวจา เป็นอย่างย่ิงต้องอาศัย กัมมัฏฐานท่ี เหมาะสม จตุรารักขกัมมัฏฐานจัดเป็นสัพพัตถกกัมมัฏฐาน คือ กัมมัฏฐานท่ีพึงต้องการ ในท่ีท้ังปวง หรือพึงใช้เป็นฐานของการเจริญภาวนาทุกอย่าง, กัมมัฏฐานท่ีเป็นประโยชน์ในทุกกรณี ใช้ได้กับทุก จริต และเป็นกัมมัฏฐานท่ีครูบาอาจารย์ ผู้สอนกัมมัฏฐานมักจะพูดถึงก่อน ดังน้ัน ผู้วิจัย จึงสนใจใน การศกึ ษาหลักธรรมในจตรุ ารกั ขกัมมฏั ฐาน ท่ีปรากฏในคมั ภรี พ์ ทุ ธศาสนาเถรวาท การศึกษาเร่ืองจตุรักขกัมมัฏฐานนี้ได้ค้นคว้าหลักฐานจากคัมภีร์หลักคือ พระไตรปิฎก อรรถ กถา ฎีกา และปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรคเป็นต้น ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคแสดงถึงอนุสสติ ๑๐ ประการน้ัน ประการแรกผู้ท่ีมีความเล่ือมใสอย่างไม่หว่ันไหว ในพระพุทธคุณ เลือกสถานที่อันสงัด หลีกเร้นอยู่ ณ เสนาสนะอันสมควร แล้วระลกึ พระพทุ ธคุณซงึ่ มีหลักการปฏิบัติ ดงั น้ี ๖.๒ การเจรญิ พทุ ธานสุ สติ กัมมัฏฐานน้ี เป็นการระลึกถึงพระพุทธคุณ ๙ บท ตามท่ีสาธยายว่า “อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วชิ ฺชาจรณสมฺปนฺโน สคุ โต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พทุ ฺโธ ภควา”๒ แปลว่า แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ันจึงทรงเป็นพระอรหันต์ ทรงเป็นผู้ ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง ทรงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ทรงเป็นผู้เสด็จไปดี ทรงเป็นผู้รู้ แจง้ โลก ทรงเป็นผู้หักทำลายโทษท้ังหลาย๓ ๖.๒.๑ วธิ ีการเจริญพทุ ธานุสสติ การเจริญพุทธานุสสตินี้ มิใช่การสวดสาธยายเพียงอย่างเดียว แต่จะต้องรู้จัก ความหมายของพระพุทธคุณแต่ละบทด้วย จึงจะช่ือว่าเป็นพุทธานุสสติ วิธีปฏิบัติก็ คือ ผู้ปฏิบัติไปสู่ สถานท่ีสงัด รักษาจิตไว้ไม่ให้ถูกกวน ไม่ฟุ้งซ่าน ตั้งใจระลึกถึงพระพุทธคุณท้ังหมดหรือบทใดบทหน่ึง ดังน้ี ก. อนุสสรณนัย หมายถึงการระลึกถึงเนืองๆ ในพระพุทธคุณ ๙ ประการ มีบทว่า อรหํ เป็น ตน้ ดงั มีหลกั การพิจารณาคณุ แตล่ ะอย่าง ดังนี้ ข. ในคมั ภีรว์ สิ ุทธิมรรคอธิบายบทว่า อรหํ๔ ไว้ดงั นี้ ๑ ข.ุ ธ. (บาลี) ๑๗/๑๗/๑๙. ๒ พระอุปตสิ สเถระ, คัมภีร์วมิ ตุ ตมิ รรค, แปลโดย พระธรรมโกศาจารย์ (ประยรู ธมมฺ จิตโฺ ต) และคณะ แปล จากฉบับภาษาอังกฤษ ของพระเอฮารา พระโสมเถระ และพระเขมนิ ทเถระ, พมิ พ์คร้ังท่ี ๖, (กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พมิ พศ์ ยาม, ๒๕๕๔), หน้า ๑๓๗. ๓ อา้ งแลว้ เร่อื งเดียวกัน. ๔ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภรี ์วสิ ุทธิมรรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หนา้ ๓๔๕.

๑๒๑ (๑) เปน็ ผ้ไู กลจากกิเลสทงั้ หลาย (๒) เป็นผกู้ ำจดั อรทิ ั้งหลาย (๓) เป็นผูห้ กั ซ่งึ กำทัง้ หลาย (๔) เป็นผคู้ วรแกป่ จั จัยเป็นต้น (๕) ไม่มที ี่ลับในการทำบาป ค. อธิบายบทวา่ สมมฺ าสมฺพทุ ฺโธ ไวด้ งั น้ี (๑) สิ่งที่ควรรู้ด้วยปญั ญาอนั ยิ่ง พระองค์ทรงรแู้ ลว้ ด้วยปญั ญาอนั ยิ่ง (๒) สิ่งท่คี วรละพระองค์ทรงละแลว้ (๓) สง่ิ ที่ควรทำให้แจ้ง พระองคไ์ ด้ทำใหแ้ จง้ แลว้ (๔) ส่งิ ที่ควรทำให้เจริญ พระองค์ไดท้ รงเจริญแลว้ ฆ. อธบิ ายบทวา่ วิชชฺ าจรณสมปฺ นโฺ น ไว้ดังนี้ (๑) วิชชา ๓ แสดงไวใ้ นภยเภรวสูตร๕ (๒) วิชชา ๘ แสดงไวใ้ นอัมพัฏฐสตู ร๖ (๓) อภญิ ญา ๖ (๔) วปิ สั สนาญาณ และมโนมยิทธิ (๕) จรณะ ๑๕ ง. อธิบายบทว่า สคุ โต ไวใ้ นขุททกนิกาย๗ ดงั น้ี (๑) ทรงดำเนนิ ไปงาม (๒) เสด็จไปส่ฐู านะอันดี (๓) เสดจ็ ไปโดยชอบ (๔) ตรสั โดยชอบ จ. อธบิ ายบทวา่ โลกวทิ ู แสดงไวใ้ นองั คตุ ตรนิกาย จตกุ กนิบาต ดังนี้ (๑) โลก ๒, โลก ๓, โลก ๔, โลก ๕, โลก ๖, โลก ๗, โลก ๘, โลก ๙, โลก ๑๐, โลก๑๑, โลก ๑๒ และโลก ๑๘ คอื ธาตุ ๑๘๘ ฉ. อธบิ ายบทว่า อนตุ ฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ๙ ไวด้ งั นี้ (๑) เลิศด้วยศีล (๒) เลศิ ดว้ ยสมาธิ (๓) เลศิ ด้วยปัญญา (๔) เลศิ ด้วยวมิ ุตติ (๕) เลศิ ด้วยวมิ ตุ ติญาณทัสสนะ ช. อธิบายบทวา่ สตถฺ า เทวมนุสสฺ านํ ไว้ในขุททกนิกาย๑๐ ดังนี้ ๕ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๕๒ – ๕๔/๔๑ – ๔๓. ๖ ที.ส.ี (ไทย) ๙/๒๗๙/๑๐๐ – ๐๑. ๗ ข.ุ ม. (ไทย) ๒๙/๓๘/๑๓๘ – ๑๓๙. ๘ ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๑๑๒/๑๗๓ – ๗๔. ๙ ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๑๒/๓๗๙. ๑๐ ข.ุ ม. (ไทย) ๒๙/๑๙๐/๕๓๖ – ๓๗.

๑๒๒ ทรงเปน็ เหมือนนายกองของเทวดาและมนุษยท์ ้ังหลาย คือ ทรงนำหมู่สัตว์ท้ังหลาย ใหข้ ้ามชาติกันดารไปได้ ซ. อธิบายบทว่า พุทฺโธ ไว้ดงั นี้ เพราะรู้อรยิ สัจ ๔ ซง่ึ ปรากฏในคมั ภีรข์ ุททกนิกาย๑๑ ฌ. อธบิ ายบทว่า ภควา ไว้ในคัมภีรข์ ุททกนกิ าย๑๒ ดงั นี้ (๑) เพราะเปน็ ผมู้ ีโชค (ภค)ี (๒) เพราะเป็นผสู้ ้องเสพ (ภชี) (๓) เพราะเปน็ ผู้มสี ว่ น (ภาค)ิ (๔) เพราะเปน็ ผจู้ ำแนก (วภิ ตตฺ วา) (๕) เพราะได้ทรงทำการหกั กิเลสบาปธรรม เพราะทรงบุญบารมี (ภาคยฺ วา) ๗.๒.๒ อานิสงส์ของการเจรญิ พุทธานุสสติ ผบู้ ำเพญ็ พุทธานุสสติ ยอ่ มได้รับอานิสงส์ ๘ ประการ๑๓ คอื (๑) ยอ่ มเปน็ ผู้มีความเคารพ มคี วามยำเกรงในพระศาสดา (๒) ถึงความไพบูลยง์ อกงามแห่งศรทั ธา สติปัญญา และบุญ (๓) เป็นผู้มากดว้ ยปีตปิ ราโมทย์ (๔) มีความอดทนอดกล้นั ตอ่ ทุกขเวทนาได้ (๕) มคี วามไม่หวน่ั ไหวแมจ้ ะประสบกับอารมณ์ท่ีนา่ กลวั (๖) ไดค้ วามสำคัญตนวา่ กำลงั อยรู่ ่วมกบั พระศาสดา (๗) เมื่อประสบกับเหตอุ ันอาจทำให้ละเมิดศีล ก็ย่อมเกดิ หิรโิ อตตัปปะ ดจุ เหน็ พระศาสดาประทบั อย่เู บ้ืองหนา้ ย่อมระงับความชัว่ ได้ (๘) เม่ือไดป้ รารภวปิ สั สนาต่อ แมจ้ ะไมส่ ำเร็จมรรคผลในชาตนิ ้ี ก็ยอ่ มเป็นผู้ มีสคุ ติเป็นทห่ี วังได้ในภพชาติหน้า พทุ ธานสุ สตกิ ัมมัฏฐานน้ีท่านแสดงไว้ว่า เมือ่ ผู้ปฏิบัติระลึกถึงพระพุทธคณุ อย่เู นอ่ื ง ๆจิตจะไม่ ถูกราคะโทสะ โมหะ รบกวน มีจิตตรงดิ่งถึงพระตถาคตเจ้าเกิดเป็นองค์ฌาน คือ วิตก และวิจาร อัน โน้มเอียงไปในพระพุทธคุณย่อมดำเนินไป เม่ือตรึกและพิจารณาถึงพระพุทธคุณอยู่ ปีติย่อมเกิดขึ้น เม่ือมีใจประกอบด้วยปี ติ ความกระวนกระวายกายและใจย่อมสงบลงด้วยความสงบอันมีปี ติเป็น ปทัฏฐาน ความสุข ทางกายทางใจยอ่ มเกิดขึ้น เมอ่ื มคี วามสขุ จิตท่ีมีพระพุทธคุณเป็นอารมณย์ ่อมเป็น สมาธิ องคฌ์ านท้งหลายย่อมเกดิ ขึ้นในขณะเดยี วกนั โดยลำดบั กัมมัฏฐานน้สี ำเรจ็ เพยี งอปุ จารฌาน และฌานน้ีกน็ ับได้ว่า พุทธานุสสติฌาน เพราะเกดิ ขึ้น ดว้ ยอำนาจแห่งการระลกึ ถงึ พระพุทธคณุ น่ันเอง๑๔ ๑๑ ข.ุ ม. (ไทย) ๒๙/๑๙๒/๕๕๑ – ๕๒, ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๑๖๒/๒๕๒. ๑๒ ข.ุ ม. (ไทย) ๒๙/๘๔/๒๔๘ – ๔๙. ๑๓ อาจารยป์ ัญญา ใช้บางยาง ธรรมาธิบาย หลกั ธรรมในพระไตรปิ ฎก, พิมพค์ ร้ังที่ ๑, (กรงุ เทพมหานคร : ธรรมสภา, ๒๕๔๘), หน้า ๖๙. ๑๓ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภรี ว์ สิ ทุ ธมิ รรค, แปลโดย สมเด็จพระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หนา้ ๓๖๖ – ๓๖๗. ๑๔ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภรี ว์ ิสุทธมิ รรค, แปลโดย สมเด็จพระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หน้า ๓๖๖ – ๓๖๗.

๑๒๓ ๖.๓ การเจรญิ อสุภกัมมฏั ฐาน ๗.๓.๑ ความหมาย ความหมายตามหลักคัมภีร์วิสทุ ธิมรรค มี ๑๐ ประการ๑๕ ดังน้ี (๑) อทุ ธุมาตกอสุภะ หมายถงึ ซากศพที่พองอดื ขน้ึ อย่างหน่ึง และ ซากศพที่พอง อยา่ งน่าเกลียดอย่างหน่งึ (๒) วินีลกอสภุ ะ หมายถึง อสภะที่มสี เี ขยี วน่าเกลียดเปน็ ต้น (๓) วิปพุ พกอสภุ ะ หมายถงึ อสุภะที่เป็นหนองไหลเยิม้ อยู่อยา่ งน่าเกลียด (๔) วิจฉทิ ทกอสุภะ หมายถึง อสุภะที่ขาดแยกจากกนั อย่างนา่ เกลียด (๕) วกิ ขายิตกอสภุ ะ หมายถึง อสุภะท่สี ัตว์กัดกนิ โดยอาการตา่ งๆ อย่างน่าเกลียด (๖) วกิ ขิตตกอสภุ ะ หมายถึง อสภุ ะทท่ี ิ้งกระจายอยู่อย่างนา่ เกลยี ด (๗) หตวิกขิตตกอสุภะ หมายถึง อสภุ ะท่ีถกู ฟันและท้ิงกระจายอยู่ (๘) โลหิตกอสุภะ หมายถงึ อสุภะท่มี ีโลหิตเปอะเป้ือนไหลออกอยู่ (๙) ปุฬวุ กอสภุ ะ หมายถึง อสภุ ะมีหนอนเกล่ือนกลาด (๑๐) อฏั ฐกิ อสภุ ะ หมายถงึ อสภุ ะทีเ่ ปน็ กระดูกอย่างน่าเกลยี ด ในบรรดาอสุภกัมมัฏฐานทัง้ ๑๐ ประการดังกล่าวทำให้ผ้ทู ่ีเจริญไดร้ บั อานสิ งส์จากการ เจริญได้บรรลถุ ึงอัปปนาฌาน แล้วมีหลักและวธิ กี ารเจริญอย่างไรจงึ จะไดร้ บั อานสิ งส์น้ี ๗.๓.๒ วธิ เี จริญอทุ ธุมาตกอสภุ กัมมัฏฐาน (๑) วิธีไปดูอสภุ ะ๑๖ มีหลกั ในการพจิ ารณา ดังนี้ (ก) ระวงั อันตรายท่จี ะเกิดขนึ้ จากอสภุ ะ (ข) พึงบอกลาพระสงั ฆเถระเพ่อื ป้องกันอันตรายท่ีจะเกิดขึ้นในขณะปฏิบตั ิ เม่อื ผปู้ ฏิบตั ติ ามหลักการดังกลา่ วแลว้ ย่อมเกิดความสขุ กายสบายใจในกัมมัฏฐานทตี่ น ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิยอ่ มเกิดปี ตปิ ราโมทย์ อุปมาเหมอื นคนไรท้ รัพยไ์ ปส่สู ถานท่ีฝงั ขุมทรัพย์ ซึ่งมมี ติ อรรถกถาจารย์อธิบายไวว้ ่า (๒) วิธไี ปดอู สภุ ะตามนยั อรรถกถา ดงั นี้ (ก) ไปลำพงั ผเู้ ดยี วดว้ ยสติตง้ั มัน่ (ข) มีอินทรีย์สงั วรทางตาหจู มูกเป็นต้น (ค) พจิ ารณาดูทางไปและทางมา (ฆ) มีอสภุ นมิ ิตชนิดท่ขี ึ้นพองซ่งึ ถูกทิ้งไวใ้ นทน่ี นั้ (ง) กำหนดนิมิตเปน็ อารมณ์คือ กอ้ นหิน จอมปลวก ต้นไม้เป็นต้น (จ) กำหนดอสภุ นมิ ิตในลักษณะต่างๆ เช่น สี เพศ สัณฐาน ทิศ เป็นต้น (ฉ) ทำนิมติ นั้นใหเ้ ป็นส่งิ ที่ตนถอื เอาดจี ำเอาดีกำหนดให้ดี (ช) มี ๓ คำถาม ๓ คำตอบ ดังน้ี คำถามท่ี ๑ การกำหนดเคร่ืองหมายโดยรอบๆ มีอะไรเป็น ประโยชน์ มีอะไรเป็นอานิสงส์ ๑๕ อ้างแล้ว เร่ืองเดยี วกัน, หน้า ๓๑๔ – ๑๗. ๑๖ อา้ งแล้ว เร่อื งเดียวกัน,หน้า ๓๑๘ – ๑๙.

๑๒๔ คำตอบท่ี ๑ การกำหนดเครื่องหมายโดยรอบๆ มีความไม่หลงเป็น ประโยชน์ มคี วามไมห่ ลงเป็นอานิสงส์ คำถามท่ี ๒ การถอื เอานิมติ โดยวธิ ี ๑๑ อย่าง มอี ะไรเป็นประโยชน์ มอี ะไรเปน็ อานสิ งส์ คำตอบท่ี ๒ การถือเอานมิ ิตโดยวิธี ๑๑ อย่าง มอี นั ผกู พันจิตไวเ้ ป็น ประโยชน์ มอี นั ผูกพนั จติ ไวเ้ ป็นอานสิ งส์ คำถามท่ี ๓ การพิจารณาดูทางไปและทางมา มีอะไรเป็นประโยชน์ มอี ะไรเปน็ อานิสงส์ คำตอบที่ ๓ การพจิ ารณาดทู างไปทางมา มีอันยังวถิ ใี หด้ ำเนินไป โดยชอบเปน็ ประโยชน์ มีอนั ยังวถิ ีใหด้ ำเนนิ ไปโดยชอบเปน็ อานิสงส์ ผู้ปฏิบัติทราบอานิสงส์แห่งกัมมัฏฐาน มีความรักที่จะหลุดพ้นจากมรณภัยในวัฏฏทุกข์ย่อม ประสบพบความสงัดกายใจ ได้ฌาน บรรลุธรรมที่ตนปรารถนาได้บุญแห่งการกระทำนี้เรียกว่าบุญ กิริยาวัตถุซึง่ สำเร็จได้เพราะการเจริญภาวนาอยา่ งน้ีเอง๑๗ในงานวจิ ัยนี้ไม่ได้มงุ่ ไปพิจารณาศพในป่าช้า จริงๆ ตามหลักฐานในคัมภีร์ดังกล่าว แต่กล่าวถึงหลักการและวิธีการโดยย่อเท่านั้น สำหรับความ พสิ ดารในเร่ืองน้นี ้ัน พงึ ศกึ ษาในคัมภรี ว์ ิสทุ ธิมรรคปริจเฉทท่ี ๖ เร่อื งอสภุ กัมมฏั ฐานนิเทศต่อไปจะแนะ หลักการที่เหมาะแก่คนในลกั ษณะตา่ ง ๆ ในเรือ่ งนีจ้ ำแนกอสภุ ะ ๑๐ ตามประเภทของราคจริต๑๘ คือ (๓) อสภุ ะ ๑๐ ตามประเภทของราคจรติ (ก) อุทธุมาตกอสุภะ เป็นที่สบายสำหรับบุคคลราคจริตในผิวพรรณ เพราะ มันประกาศถึงความวบิ ัติของผิวพรรณในรา่ งกาย (ข) วินีลกอสุภะ เป็นท่ีสบายของบุคคลราคจริต มักกำหนัดยินดีโดย ผวิ พรรณเพราะใน อสภุ ะน้แี สดงให้เหน็ ว่าผวิ พรรณนี้ ต้องถึงวปิ รติ เขยี วหม่นหมองไปโดยธรรมดา (ค) วิปุพพกอสุภะเป็นที่สบายของบุคคลราคจริต กำหนัดยินดีโดยสรีระอัน ทาบทาดว้ ยเครอ่ื งหอม เพราะในอสภุ ะนแ้ี สดงให้เหน็ ว่าเครือ่ งหอมที่ทาบทาในกายนี้ ตอ้ งถึงวิปรติ เครื่องหอมกลบั เปน็ กล่นิ เหม็นไป (ฆ) วิฉทิ ทกอสุภะ เปน็ ทสี่ บายของบคุ คลราคะจริต มักกำหนัดยินดีโดยทอ่ น กายอนั เปน็ แทง่ ทบึ เพราะในอสภุ ะน้แี สดงใหเ้ ห็นวา่ ภายในกายน้ี เป็นโพรงเปน็ ช่องอยู่โดยธรรมดา (ง) วิกขายิตกอสุภะ เป็นท่ีสบายของบุคคลราคะจริต มักกำหนัดยินดีโดย แท่งเน้ือท่ีเป็นปัจจัยแก่กิเลสอันแรงกล้ามีแท่งเน้ือคือเต้านมเป็นต้น เพราะในอสุภะน้ีแสดงให้เห็นว่า แท่งเน้ือเหลา่ นี้ ตอ้ งถึงความวิปริตไปโดยธรรมดา (จ) วิกขิตตกอสุภะ เป็นท่ีสบายของคนราคะจริต มักกำหนัดยินดีโดยลีลา อาการกิริยาเยื้องกรายยกย่างแห่งอวัยวะน้อยใหญ่ เพราะในอสุภะน้ีแสดงให้เห็นว่าอวัยวะน้อยใหญ่ ทั้งปวงนี้ ต้องซดั สา่ ยไปต่างกันโดยธรรมดา (ฉ) หตวิกขิตตกอสภุ ะ เป็นท่ีสบายของบุคคลราคะจรติ มักกำหนดั ยินดโี ดย สรรี ะสมบตั ิท่ตี ดิ ต่อพรอ้ มเพรียง เพราะในอสุภะน้ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ ความตดิ ต่อของกายน้ี ต้องหลุดลุ่ย หนา้ ๓๒๐. ๑๗ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภรี ์วสิ ทุ ธิมรรค, แปลโดย สมเด็จพระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), ๑๘ อา้ งแลว้ เร่อื งเดยี วกัน, หน้า ๓๓๘.

๑๒๕ แตกหกั ไปโดยธรรมดา (ช) โลหติ อสภุ ะ เปน็ ที่สบายของบุคคลราคะจริต มักกำหนัดยนิ ดโี ดยความ งามกาย ทบี่ ุคคลตกแต่งด้วยเครอื่ งประดับตา่ งๆ เพราะในอสุภะนแี้ สดงใหเ้ หน็ ว่ากายที่ประดบั ให้งาม นเี้ ป็นปฏิกูลแปดเปอ้ื นดว้ ยน้ำเลือดโดยธรรมดา (ซ) ปุฬวุ กะอสุภะ เปน็ ทีส่ บายของบคุ คลราคะจริต มักกำหนดั ยินดีโดยทถี่ ือ ว่ากายเป็นของเราแท้ เพราะในอสุภะน้ีแสดงว่ากายไม่เป็นของตนเป็นของสาธารณะท่ัวไปแก่หมู่ หนอนท้งั หลายโดยธรรมดา (ฌ) อัฏฐิกอสุภะ เป็นท่ีสบายของบุคคลราคะจริต มักกำหนัดยินดีโดย กระดูกฟันอันสมบูรณ์ เพราะในอสุภะนี้แสดงให้เห็นว่ากระดูกฟันนี้ เป็นปฏิกูลต้องหลุดถอนไปโดย ธรรมดา ๗.๓.๓ อานิสงสแ์ หง่ การเจริญอสุภกัมมัฏฐาน อสุภกัมมัฏฐานน้ี ทำให้สำเร็จปฐมฌานเท่านั้น แม้ในร่างกายเราก็เป็นอสุภ กัมมัฏฐานได้๑๙ เพราะคนเราถูกปิดบังด้วยเคร่ืองอลังการ ถึงจะเป็นราชาหรือยาจกก็เหมือนกัน เหมือนกับสุนัขจ้ิงจอกเห็นดอกทองกาว๒๐ นอกจากนี้การเจริญอสุภกัมมัฏฐานยังเกิดอานิสงส์อีก ๔ ประการ คือ ๑) ไดส้ ญั ญาอ่นื ๆ คอื อนจิ จสัญญา (ความสำคัญว่าไม่เทย่ี ง) หรือ อนัตตสัญญา (ความสำคญั วา่ หาตัวตนไม่ได้) ๒) สามารถขม่ ความยินดียนิ ร้ายได้ (กามคุณท้ังหลายจะกระทำใหย้ ินดียนิ ร้ายไม่ได้) ๓) เป็นผ้อู ดทนต่อความหนาวและความร้อนเป็นต้นไดเ้ ปน็ อย่างดี (เพราะลดความ พอใจรักใคร่ในตนลงได้ จงึ สามารถอดทนต่อสงิ่ ตา่ ง ๆ ท่ีกระทำให้เกิดความลำบากได้) ๔) หลังตายย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ (หากถึงอัปปนาฌานจักไปเกิดในพรหมโลก หากไม่ถึงจกั เกดิ เปน็ เทวดาหรือมนุษย์)๒๑ ให้พิจารณาซากศพโดยกำหนดร่างกายของตัวเองตามความเป็นจริงตามหลักในมหาสติปัฏ ฐานสูตรหมวดกายานุปัสสนาจนพบรา่ งกายปรากฏชัดเหมือนปฏิกูลมนสิการ และ ป่าช้า ๙ ซึ่งอยู่ใน หมวดท่ี ๔ และ ๖ ของกายานปุ สั สนา๒๒ ซ่ึงจะไดว้ นิ ิจฉยั ในมรณานุสสตกิ มั มฏั ฐานสืบต่อไป ๖.๔ การเจริญมรณานสุ สติ มรณานุสสติ คือ การระลึกนกึ ถึงความตายเปน็ อารมณ์ ซ่ึงมีประโยชน์เพือ่ ใหม้ ีสติและปัญญา พจิ ารณาให้เหน็ ธรรมสงั เวช ๑๙ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภรี ์วสิ ุทธมิ รรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หน้า ๓๓๙. ๒๐ อา้ งแล้ว เร่อื งเดียวกนั , หน้า ๓๔๑ – ๓๔๒. ๒๑ อาจารยป์ ัญญา ใชบ้ างยาง, ธรรมาธิบาย หลกั ธรรมในพระไตรปฎิ ก, หน้า ๗๐. ๒๒ พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสตปิ ฏั ฐานสตู ร, แปลโดย พระคันธสาราภิวงศ์, (กรุงเทพมหานคร : หา้ งห้นุ ส่วนจำกัด ไทยรายวนั การพิมพ์, ๒๕๔๙), หนา้ ๑๓๙ – ๑๘๖, ๒๐๕ – ๒๒๘.

๑๒๖ ๖.๔.๑ วธิ กี ารเจริญมรณานสุ สติ ในเบ้ืองต้นให้ผู้ปฏิบัติเข้าไปสู่สถานที่สงัด รักษาจิตของตนไว้ มีจิตไม่ฟุ้งซ่าน พิจารณาความตายของสัตว์ทั้งหลาย อย่างนี้ว่า เราจักตาย เราจักเข้าถึงอาณาจักรแห่งความตาย เรา จักไมพ่ ้นความตายไปได้ เมอ่ื ระลึกขึ้นมาถึงความตายแห่งบุคคลอันเปน็ ที่รัก ก็มกั บงั เกดิ ความเศร้าโศก อปุ มาดุจบุคคลระลกึ ถึงมารดาบังเกิดเกล้า และบุตรอันเป็นที่รกั ที่ตายไป และเกดิ ความโศกเศร้าขณะ เม่ือระลึกถึงความตายของชนท่ีตนไม่รักใคร่เกลียดชังก็จะเกิดความปราโมทย์ เช่นชนท่ีมีเวรต่อกัน ระลกึ ถงึ ความตายแห่งกันและกนั เมอื่ ระลึกถงึ ความตายแห่งบุคคลอนั ตนไม่ได้รักไมไ่ ดช้ ังน้นั ก็จักเพิกเฉยไมไ่ ด้มีความสงั เวช ดจุ สปั เหรอ่ เหน็ ซากศพกไ็ มเ่ กดิ ความสงั เวช ถา้ ระลึกถึงความตายท่ีจะมาถึงตน กม็ กั เกิดความสะดุ้งตกใจ ดจุ ดงั บุคคลขลาดเห็นนายเพชฌฆาตถือดาบเง้ืออยู่ กเ็ กดิ ความสะดงุ้ ตกใจนกั ปราชญ์พึงสันนษิ ฐานว่า ความโศกเศร้า บงั เกดิ ธรรมสังเวชไม่ได้ จะเกดิ ความสะดงุ้ ตกใจ ท้งั น้ีอาศัยแกป่ ราศจากสตแิ ละปัญญา ปราศจากสงั เวชกระทำมนสิการดว้ ยหาอุบายมิได้บรกิ รรมว่า “มรณ”ํ ๒๓ นนั้ บน่ เพ้อไปแตป่ ากโดยไม่ได้ เอาสติและปัญญาประกอบเข้าใหเ้ หน็ ธรรมสังเวชจริงๆ จึงเปน็ ดงั นั้น ถา้ กระทำมนสกิ ารดว้ ยอุบายปลงสติปัญญาลงได้ มีธรรมสังเวชอยู่ในจติ แล้วกจ็ ะไม่เป็นดงั นั้น จะเป็นคุณอันล้ำเลิศประเสริฐคือระลึกถึงความตายของบุคคลอันเป็นท่ีรัก จะไม่เศร้าโศก ระลึกถึง ความตายแห่งบุคคลอันเป็นเวร จะไม่เกิดการช่ืนชมโสมนัสระลึกถึงความตายแห่งบุคคลท่ีตนไม่รักไม่ ชังก็จะไม่เกิดความเพิกเฉย จะบังเกิดความสังเวชบริบูรณ์ในสันดาน ระลึกถึงความตายท่ีจะมาถึงตน ก็จะปราศจากความสะดุ้งตกใจ กระทำมนสิการด้วย อุบายน้ีมีคุณ เหตุนั้น ผู้เจริญมรณานุสสติ กัมมัฏฐานพึงพิจารณาถึงความตายแห่งสัตว์ทั้งหลายอันโจรฆ่าให้ตายก็ดี ตายเองก็ดีแต่บรรดาที่ ทอดทง้ิ กลิ้งอยู่ในท่ที ้ังปวงเป็นต้นว่าป่าชัฎและป่าชา้ ที่ตนไดเ้ หน็ แต่ก่อนนัน้ พึงพิจารณาเปน็ อารมณ์ใน ท่ีเจริญมรณานุสสติว่าด้วยอุบายยังสติปัญญาและธรรม สังเวชให้บังเกิดแล้ว พึงกระทำซึ่งบริกรรม ดว้ ยนยั วา่ “มรณํ ภวิสสฺ ติ”๒๔ เม่อื ประพฤติโดยวิธอี ันพระอรรถกถาจารย์แสดงไวแ้ ล้ว บางจำพวกท่ีมีปญั ญินทรีย์แก่กล้า จะ ขม่ เสียไดซ้ ่ึงนิวรณธรรมมกี ามฉันท์เปน็ ตน้ จะมีมรณารมณต์ ้ังม่นั กัมมัฏฐานจะถงึ ซ่ึงอปุ จารสมาธิ ผ้มู ี ปัญญามิได้แก่กล้า ยังมิไดส้ ำเร็จในกิจแห่งกัมมฏั ฐานด้วยวธิ มี ีประมาณเทา่ นี้ และปรารถนาจะกระทำ เพยี งในมรณานสุ สตกิ ัมมัฏฐานตอ่ ไป ก. ระลกึ ถึงความตายโดยอาการ ๘ การระลกึ ถงึ ความตายโดยอาการ ๘ ประการ คือ ๑) วธกปัจจุปปฏั ฐาน (ปรากฏเหมือนเพชฌฆาต) ๒) สัมปัตตวิ ิปัตติ (วิบตั จิ ากสมบัติ) ๓) อุปสงั หาณะ (นำมาเปรียบ) ๔) กายพหุสาธารณะ (เปน็ กายสาธารณะแก่หมหู่ นอนจำนวนมาก) ๕) อายุทุพพละ (อายุทุพลภาพ) ๖) อนิมิตตะ (ไม่มเี ครื่องหมาย) หนา้ ๓๙๘. ๒๓ พระพุทธโฆสเถระ, คมั ภรี ว์ ิสุทธิมรรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), ๒๔ อ้างแล้ว เรือ่ งเดยี วกัน, หน้า ๓๙๘.

๑๒๗ ๗) อัทธานปริเฉทะ (มีกำหนดระยะกาล) ๘) ขณะปริตตะ (มขี ณะเล็กน้อย) อาการ ๘ อย่างน้ันมีอธบิ าย เปน็ ลำดับ ดงั น้ี อาการที่ ๑ ใหร้ ะลึกถงึ ความตายดจุ นายเพชฌฆาต๒๕ อาการความตายปรากฏดุจนายเพชรฆาตมีมือถือดาบอันคมกล้า ที่ให้ระลึกเช่นนี้ เพราะต้องการให้เห็นว่าเกิดกับตายน้ันมาพร้อมกัน สัตว์ท้ังหลายอันเกิดมาในโลกนี้ ย่อมมีชราและ ขณกิ มรณะน้ันตดิ ตัวมาทกุ รูปทกุ นาม อุปมาดจุ ดังว่าเหด็ อันตูมอันพึง่ ข้ึนพน้ ดินและพาเอาฝนุ่ ติดยอด ขึ้นไปน้ัน ความจริงสัตว์ท้ังหลายอันบังเกิดถือเอาปฏิสนธิกำเนิดในโลกน้ี ตั้งแต่ปฏิสนธิแล้วในลำดับ อุปปาทขณะแหง่ ปฏิสนธจิ ิตน้ัน ถึงความชราและมรณะ ๆ น้ันติดตามมากับตน เปรียบดจุ ก้อนศิลาอัน หักตกลงจากชะง่อนแห่งภูเขา พาเอาต้นไม้และกอหญ้าที่เน่ืองด้วยต้นนั้นลงมาด้วยกัน เกิดกับตายนี้ มาพร้อมกัน เหตวุ ่าความเกดิ มแี ลว้ ความตายก็มีด้วยบุคคลที่เกดิ มานั้นย่อมจะถงึ ความตายเป็นแท้ จุด เดมิ แต่บังเกิดข้ึนแล้วก็บ่ายหน้าสู่ความตาย ดุจพระอาทติ ย์อุทัยข้นึ มาแล้วและบ่ายหนา้ สูอ่ ัสดงคตมิได้ ถอยหลังมาจากวถิ ที ่ดี ำเนินไปน้ัน อปุ มาดจุ ดังวา่ นทีธารน้อยไหลลงมาแต่ซอกแหง่ ภูเขา มีกระแสเชีย่ วย่อมพดั ใบไมแ้ ละต้นหญ้า บรรดาที่ตกลงในกระแสนั้น ไหลลงไปอย่างเดียวท่ีจะไหลทวนกระแสข้ึนไปนั้นหามิได้ ฉันใด อายุแห่ง สัตว์ท้ังปวงก็ล่วงไปๆ มิได้กลับหลังต้ังหน้าเฉพาะสู่ความตายมีอุปไมยดังน้ัน เหตุนั้น พระสัมมา สัมพุทธเจ้าจึงตรัสว่า สัตว์ที่อยู่ในครรภ์มารดาน้ัน จากเดิมแต่ขณะตั้ง ปฏิสนธิในเวลาราตรีน้ัน แล้ว ตั้งแต่แปรไปๆ เดิมเกดิ เป็นกลละแล้วก็แปรไปเปน็ อัพพุชะ ตั้งแตแ่ ปรไปๆ ตราบเท่าถึงมรณะภาพเป็น ที่สุดจะเที่ยงจะแท้น้ันหามิได้ เปรียบประดุจดังว่า หมอกอนั ต้ังขึ้นมาแล้ว ถงึ ซ่ึงภาวะเคลื่อนไป ตราบ เทา่ สญู หาย พระอรรถกถาจารย์อุปมาไว้ว่า เหมือนอาการสนิ้ ไปแห่งแม่นำ้ น้อยๆ ต้องแสงพระสุริยะในฤดู ร้อนแล้ว ถึงซ่ึงสภาวะเหือดแห้งส้ินไปทุกวันทุกเวลา และดุจผลไม้มีขั้วที่ขาดน้ำหล่นลงมาจากต้นใน เวลาเช้า ผลไม้มีพรรณต่างๆ น้ัน เมื่อแผ่นดินเอิบอาบด้วยน้ำก็เจริญงอกข้ึนมาเป็นอย่างดี ครั้นแผ่น ขาดน้ำ มีขั้วเห่ียวแห้งตกลงจากต้นในเวลาเช้าฉันใด รูปกายแห่งสรรพสัตว์ท้ังปวงน้ี มีรสอาหารไปไม่ ท่ัวถึงกจ็ ะคร่ำคร่าเหี่ยวแหง้ ขาดจากชวี ิตนิ ทรีย์มีอุปมยั ดังนน้ั ถ้ามีรูปธรรมนามธรรมท้ังปวงนี้ เม่ือชรา พยาธิ มรณะเบียดเบียนแล้วก็ถึงซึ่งคร่ำคร่าเหี่ยว แห้งเจ็บป่วยลำบากเวทนา มอี สั สาสะปัสสาสะขาดเปน็ อสุภะสาธารณ์เปอื่ ยเน่าทิง้ ทอดกระจัดกระจาย เร่ียรายอยู่เหนือแผ่นดินมีอุปไมยดังน้ัน เปรียบเหมือนภาชนะดินที่บุคคลทุบด้วยไม้ค้อนและแตก กระจัดกระจาย ดุจดังว่าหยาดน้ำค้างพลันท่ีจะเหือดแห้งได้ด้วยแสงอาทิตย์ผู้เจริญมรณานุสสติ กมั มัฏฐาน พงึ ระลกึ ถงึ ความตายโดยวธกปัจจุปฏั ฐาน อาการท่ี ๒ ระลึกถึงความตายโดยสมบัติวบิ ัติ๒๖ อาการระลึกถึงความตายโดยสมบัติวิบัตินั้น คือ ให้ระลึกเห็นว่าสัตว์ทั้งปวงเกิดมาน้ี บริบูรณ์ แล้วก็มีความแตกสลายเป็นที่สุด ซ่ึงจะงามจะดีอยู่น้ันแต่เม่ือวิบัติยังมิได้ครอบงำ ถ้าความวิบัติมา ครอบงำแล้ว ก็สารพัดที่จะเสียส้ินทุกสิ่งทุกประการ ที่งามน้ันก็ปราศจากงามที่ดีน้ัน ก็กลับเป็นช่ัว มี ความสุขแล้วก็จะมีความทุกข์มาถึง ความโศกเศร้าไม่มี ก็จะถึงซึ่งเศร้าโศก ดังพระเจ้าอโศกผู้มี ๒๕ อ้างแลว้ เรอื่ งเดียวกนั , หนา้ ๓๙๙. ๒๖ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภรี ว์ สิ ทุ ธิมรรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หนา้ ๐๐.

๑๒๘ บญุ ญานุภาพมาก ได้บริจาคทานในพระศาสนาคิดเป็นทรัพย์นับได้ร้อยโกฏิ ประกอบด้วยสมบัติสุขถึง เพียงน้ี เม่ือมรณะมาถึงก็มีความเศร้าโศกเฉพาะพระภักตร์ สู่ความตายควรจะสังเวชเวทนา ชื่อว่าโลก สันนิวาสสัตว์ทั้งปวงน้ี ชาติทุกข์ย่อมติดตามล่อลวงให้ลุ่มหลง ชราทุกข์น้ันรัดรึงตรึงตราให้ถึงซ่ึงวิปริต ตา่ งๆ พยาธทิ กุ ขน์ น้ั ติดตามยำ่ ยีให้ป่ วยไข้ลำบากเวทนาเจ็บปวดทัว่ ร่างกายมรณะทุกข์ครอบงำทำลาย ลา้ งชีวติ ินทรีย์ให้เสื่อมสูญ พระยามัจจุราชน้ีจะได้ละเว้นบุคคลผู้ใดผู้หนึ่งน้ันหามิได้ ยอ่ มครอบงำย่ำยี สรรพสัตว์ทั้งปวงไปทุกรูปทุกนาม มิได้เลือกว่ากษัตริย์ พราหมณ์ พ่อค้า ชาวนา จัณฑาล หรือคนขน หยากเย่ือ อุปมาดุจภูเขาอันมีศิลาเป็นแท่งหนึ่งแท่งเดียวเบื้องบนจดจนนภากาศ กล้ิงมาแล้วเวียนไป ในทิศทั้ง ๔ บดเสียซึ่งวัตถุทั้งปวง มิได้เลือกสัตว์และสังขารน้ันๆ จะต่อยุทธด้วยพระยามัจจุราชนั้นใช่ วิสัยที่จะต่อยุทธได้ เพราะเหตุว่าในมรณะสงครามนั้นไม่มีที่ตั้งแห่งพลช้าง พลม้า พลราชรถ พลเดิน เท้า ไม่มีตั้งค่ายคูประตูหอรบทั้งปวงถึงจะมีพลพาหนะมากก็มีเสียเปล่า ซึ่งจะเอามาต่อยุทธ ด้วย มรณะสงครามนั้นไม่ได้ ถึงจะมีแก้วแหวนเงินทองมาสักเท่าใดๆ ก็ดี จะรู้เวชมนต์ศาตราวุธคม กล้า หาญประการใดๆ ก็ดี ก็มิอาจจะเอามาต่อยุทธด้วยพระยามัจจุราชได้ ผู้เจริญมรณานุสสติภาวนานั้น พึงระลกึ ถงึ ความตายโดยสมบัตวิ บิ ัติ อาการท่ี ๓ ทว่ี ่าใหร้ ะลึกถงึ ความตายโดยอปุ สังหรณะ๒๗ อาการระลึกถึงความตายโดยอุปสงั หรณะน้นั คือ ให้ระลึกถึงความตายแหง่ ผูอ้ ่ืนแลว้ นำเอา มาใสต่ น เมื่อระลกึ ถึงความตายแหง่ บุคคลผูอ้ ื่นน้ัน พึงระลึกโดยอาการ ๗ คือ ๑) ใหร้ ะลกึ โดยภาวะมากไปด้วยยศ ๒) ให้ระลึกโดยภาวะมากไปด้วยบญุ ๓) ให้ระลึกโดยภาวะมากไปด้วยกำลัง ๔) ใหร้ ะลึกโดยภาวะมากไปด้วยฤทธิ์ ๕) ให้ระลกึ โดยภาวะมากไปด้วยปญั ญา ๖) ให้ระลึกโดยพระปจั เจกโพธิ์ ๗) ให้ระลึกโดยพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ธรรม ๗ ประการน้ี ให้ระลึกโดยภาวะมากไปด้วยยศน้ัน คือให้ระลึกว่าพระยา มัจจุราชน้ี จะได้รังเกียจเกรงใจว่า ท่านเป็นผู้ดีมีบริวารยศมากอย่าเบียดเบียนท่านเลย จะไม่มีการ เกรงใจผู้ใดท้ังสิ้น ไม่มีใครพ้นจากอำนาจพระยามัจจุราชน้ันหามิได้ พึงระลึกความตายโดยภาวะมาก ไปด้วยยศให้ระลึกโดยภาวะมากไปด้วยบุญน้ันคือ ให้ระลึกไปถึงบุคคลเป็นต้นว่า โชฏิกเศรษฐี ชฏิล เศรษฐี อุคคิยเศรษฐี เมณฑกะเศรษฐี บุณณะกะเศรษฐี แต่บรรดาที่เป็นคนมีบุญญาธิการมาก ซ่ึง เพียบพร้อมไปด้วยทรัพย์สมบัติมหาศาล ก็ไม่อาจเอาทรัพย์มาไถ่มาถอนตนให้พ้นอำนาจแห่งพระยา มัจจุราชได้ ถึงบุคคลอื่นๆ ที่ปรากฏว่ามีบุญมากในโลกนี้ ก็ไม่อาจพ้นจากอำนาจแห่งพระยามัจจุราช น้ันได้ ล้วนถึงซ่ึงมรณะภาพดับสูญสิ้นไปทั้งปวง จะป่วยกล่าวไปใยถึงบุคคลเห็นดังตัวเราน้ีท่ีจะพ้น อำนาจแห่งพระยามัจจุราชได้ ให้ระลกึ โดยภาวะมากไปด้วยกำลังนั้น คือ ให้ระลึกถึงบุคคลท่ีมีกำลงั มาก เปน็ ตน้ วา่ พระยา วาสเุ ทพ พระยาพลเทพ เป็นต้น ซึง่ ทรงพระกำลงั มาก ก็มิอาจต่อยุทธด้วยพระยามัจจรุ าชนน้ั ได้ จะ ป่วยกลา่ วไปใยถึงตวั เรานี้เลา่ จะต่อสดู้ ว้ ยพระยามัจจรุ าชนน้ั ได้ ๒๗ อ้างแลว้ เรอ่ื งเดยี วกัน, หน้า ๔๐๑.

๑๒๙ ให้ระลึกโดยภาวะมากไปด้วยฤทธ์ิน้ัน พึงให้ระลึกว่า บุคคลอันเกิดมาในโลกน้ี ถึงจะมีฤทธิ ศักดานุภาพมากเป็นประการใดๆ ก็ดี ก็มิอาจทำสงครามแก่พระยามัจจุราชได้ แม้แต่พระมหา โมคคัลลานะเถระ ซึง่ มฤี ทธาศักดานุภาพอนั ล้ำเลิศประเสริฐ จนได้รบั เอตทคั คะฝ่ายข้างฤทธ์ิกว่า พระสาวกท้ังหลาย กม็ ิอาจพ้นจากปากแห่งพระยามจั จรุ าช ดจุ ดังว่าเนื้ออนั เข้าไปสูป่ ากแหง่ พระยาราชสหี ์ ก็ตัวเรานี้หรือจะพ้นพระยามัจจรุ าชได้ ให้ระลึกโดยภาวะมากไปด้วยปัญญานั้น คือ ให้ระลึกเห็นว่าสัตว์ทั้งหลายที่เวียนว่ายอยู่ใน กระแสโลกน้ี ถึงจะมีปัญญาเฉลียวฉลาดเป็นประการใด ก็ไม่อาจจะคิดอุบายให้พ้นจากอำนาจแห่ง พระยามัจจุราชนั้นได้ แม้แต่พระสารีบุตรซึ่งเป็นเอตทัคคะเบื้องขวา ผู้มีปัญญาเลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ก็ไมอ่ าจจะล่วงเสียซึ่งอำนาจแห่งพระยามัจจรุ าชน้ันได้ ยังถึงซ่งึ ดับสูญเข้าไปสปู่ ากแหง่ พระยามัจจรุ าช กต็ วั เรานีห้ รือจะพน้ จากพระยามัจจรุ าชได้ ให้ระลึกโดยพระปัจเจกโพธ์ินั้น คือ ให้ระลึกว่าแท้จริงพระปัจเจกโพธิเจ้าทั้งปวงน้ันแต่ละ พระองค์ๆ ประกอบไปด้วยญาณพลและวิริยพลอันเข้มแข็งย่ำยีเสียได้ซึ่งข้าศึกคือกิเลสธรรมทั้งปวง แล้วตรัสรู้เญยยะธรรมเองไม่มีใครสั่งสอน ก็มิอาจล่วงพ้นจากอำนาจแห่งพระยามัจจุราชนั้นได้ ก็ตัว เราน้ีหรือจะพน้ จากพระยามัจจุราชได้ ให้ระลึกโดยพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น คือ ให้ระลึกว่าพระพุทธองค์ผู้ทรงมีพระรูปพระโฉม พระสรีระกายอันวิจิตด้วยมหาบุรุษลักษณะ ๓๒ พระอสีตยานุพยัญชนะ ๘๐ ทัศ ประเสริฐด้วย พระธรรมกายอันบริบูรณ์ด้วยแก้วอันกล่าวแล้ว คือ สีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมุติขันธ์ วิมุติ ญาณทัสสนะขันธ์ อันบริสุทธิ์ด้วยอาการท้ังปวง ถึงซึ่งภาวมากไปด้วยยศ มากไปด้วยบุญมากไปด้วย กำลัง มากไปด้วยฤทธิ์ มากไปด้วยปัญญา หาผู้จะเปรียบเทียบปูนมิได้ พระพุทธองค์เจ้าหักเสียซึ่งกำ กงแห่งสังสารจักรตรัสรู้พระธรรมด้วยพระองค์เองโดยอาการมิได้วิปริต หาผู้จะถึงสองมิได้ในไตรภพ พ ร ะ พุ ท ธ อ งค์ ผู้ แ ส ว งห า ศิ ล า ทิ คุ ณ อั น ป ร ะ เส ริ ฐ เลิ ศ ด้ ว ย พ ร ะ คุ ณ แ ล ะ ศั ก ด า นุ ภ า พ เป็ น ที่ ไห ว้ ท่ี สักการะบชู าแห่งสรรพเทพา มนษุ ย์ อินทร์ พรหม ยมยักษ์ อสรู คนธรรพ สุบัณนาคและสรรพสัตว์นิกร ทั้งหลายทั่วท้ังอนันตโลกธาตุ ไม่มีผู้จะเท่าจะเทียมเลย มัจจุราชยังมิได้กลัวได้เกรงยังมิได้มีความ ละอาย ยังครอบงำกระทำให้ดับสูญเข้าสูพ่ ระปรินพิ พาน ดจุ กองเพลิงอันใหญ่ส่องสว่างท่ัวโลก ตอ้ งท่อ ธารห่าฝนประไลยกัลป์ ดับสูญหาบัญญัติไม่ได้ มรณะธรรมนี้ปราศจากความละอายปราศจากความ กลัว มีแต่จะย่ำยีจะครอบงำท่ัวทุกส่ิงสรรพสัตว์ แต่องค์สมเด็จพระสัพพัญญูเจ้ามรณะธรรมยังมิได้ละ ได้เว้น ก็บุคคลเห็นปานดังตัวตนฉะนี้ มรณะธรรมจะละเว้นเล่าก็จะครอบงำเหมือนกัน พึงระลึกถึง มรณะแหง่ สมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าด้วยประการนีพ้ ึงสันนษิ ฐานว่ารวบเขา้ เป็นหน่ึงจดั เป็นอาการที่ ๓ ในวธิ ีแหง่ มรณานสุ สตภิ าวนา อาการที่ ๔ คือ กายพหุสาธารณ์๒๘ อาการกายพหสุ าธารณ์น้ันระลกึ ว่า รูปกายแห่งสรรพสตั วเ์ ราท่านท้งั ปวงน้ี เป็นสาธารณท์ ว่ั ไป แก่หมู่หนอนท้ัง ๘๐ ตระกูล ฉวินิสสิตา ปาณา หนอนท่ีอาศัยอยู่ในผิวเน้ือก็ฟอนกัดผิวเนื้อท่ีอาศัยอยู่ ในหนังก็ฟอนกัดหนัง ที่อาศัยอยู่ในล่ำเนื้อก็ฟอนกัดล่ำเนื้อ อยู่ท่ีในเอ็นก็กัดเอ็น ท่ีอยู่ในอัฏฐิก็กัดอัฏฐิ ทอี่ ยู่ในสมองก็กดั สมอง หนอนทั้งหลายนนั้ เกิดในกาย แก่ในกาย ตายในกาย กระทำอุจจาระปสั สาวะ ในกายๆ เราท่านท้ังปวงน้ีเป็นเรือนประสูติแห่งหมู่หนอนเป็นศาลาไข้เจ็บเป็นป่าช้าเป็นเว็จจกุฎิเป็น ๒๘ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภรี ์วิสุทธิมรรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หนา้ ๔๐๕.

๑๓๐ รางถ่ายอุจจาระปัสสาวะแห่งหมู่หนอน ควรจะสังเวชเวทนาบางทีหนอนกำเริบกล้าหนาขึ้นฟอนกัด ฟอนทึ้งน้ันเกินประมาณทนทานไม่ตายเสียด้วยหนอนกำเริบก็มี ภายในกายน้ี ใช่จะมีแต่หมู่หนอน เบียดเบียนเท่าน้ัน โรคที่เบียดเบียนในกายน้ีก็มีมากกว่ามาก ถ้านับน้ันมากกว่าร้อยจำพวกอีกไหน เหลือบและยุงเป็นต้น จะเบียดเบียนในภายนอกนั้นเล่า ร่างกายท่ีเป็นตกต้องแห่งอุปัทวะทั้งหลาย ตา่ งๆ ถงึ แก่มรณะดว้ ยอปุ ทั วะต่างๆ อุปมาดุจป้อม เป้าหมายอันบุคคลต้งั ไว้ในหนทาง ๔ แพรง่ เป็นท่ีถกู ตอ้ งแหง่ หอกไมค้ ้อนกอ้ นศิลาและธนูน่า ไม้ปนื ไฟท้ังปวง ดังนัน้ พระผู้มพี ระภาคตรสั ไวว้ า่ มรณะสติในพุทธศาสนาน้ี ยังเวลาให้ผ่านไปด้วยการพิจารณาถึงมรณะภาพแห่งตนว่า เหตุท่ี จะให้ตนถึงแก่มรณะมากมายนักหนาอยู่ๆ ถ้ามีอสรพิศมาขบ มีแมลงป่องมาแทง มีตะขาบมากัด มรณะและทุกขเวทนาก็จะมีแก่ตน จะเป็นอันตรายแก่ตน ตนยืนอยู่พลาดล้มลงก็ดี อาหารท่ีในวันนี้ ถา้ ธาตุไมอ่ าจจะเผาให้ย่อยไดก้ ็ดี เพียงเท่านี้มรณะก็จะมีแก่ตน จะเป็นอันตรายแก่ตน หรือดีแห่งตนน้ี กำเริบเสมหะแห่งตนนี้กำเริบ ลมสัตถกวาต อันให้จุกเสียดเจ็บดงั เชือดด้วยมีดน้ันกำเรบิ ขึ้นก็ดี มรณะ กจ็ ะมีแก่ตน ให้เจรญิ มรณานุสสติกัมมฏั ฐานให้ระลึกถึงความตายโดยกายพหุสาธารณ์อาการที่ ๕ ทีว่ ่า ใหพ้ ิจารณาซ่ึงความตายโดยอายุทุพล๒๙ อาการพิจารณาซึ่งความตายโดยอายุทุพลนั้น คือใหร้ ะลึกให้เห็นว่าอายุแห่งสรรพสตั ว์ทั้งปวง น้ีเนื่องด้วยลมอัสสาสะปัสสาสะ ถ้าหายใจออกไปแล้วลมน้ันขาดไปไม่ได้กลับเข้าไปในกายก็ดี หายใจ เขา้ ไปแล้วลมนั้นอัดอ้ัน อยมู่ ิได้กลับออกมาภายนอกก็ดี เท่านี้ก็จะถึงซงึ่ ความตายอิรยิ าบถทั้ง ๔ น้ี ถ้า ประพฤติไม่เสมอ นั่งนักนอนนักยืนนักเท่ียวนัก ประพฤติอิริยาบถอันใดอันหนึ่งให้หนักนักแล้ว เป็น เหตุที่จะให้อายุส้ันพลันตาย ถ้าความเย็นและความร้อนประพฤติไม่สม่ำเสมอเย็นหรือร้อนเกิน ประมาณ อายุก็จะขาดชีวิตินทรีย์ก็จะดับจะสูญ มหาภูตรูปคือธาตุทั้ง ๔ น้ันอันหน่ึงอันใดกำเริบแล้ว อายกุ จ็ ะขาดชีวิตนิ ทรยี ์ก็จะดับจะสูญ แม้ถึงว่าบุคคลนั้นจะบริบูรณ์ด้วยกำลังจะดี ถ้าธาตุอันใดอันหน่ึงกำเริบแล้วก็มีกายกระด้าง เป็นโรคต่างๆ มีโรคลงแดงเป็นต้น มีกายอันเหม็นเน่าเศร้าหมอง ร้อนกระวนกระวายท่ัวท้ังร่างกาย บางทีมีท่ีต่ออันเคล่ือนคลาดออกจากกัน ถึงซึ่งส้ินชีวิตเพราะเหตุธาตุกำเริบนั้นก็มีการบริโภคอาหาร ถา้ บริโภคพอควรอย่แู ล้วอายุก็ต้ังอยู่ได้โดยปรกติ แต่ถ้าบริโภคเกินประมาณเพลิงธาตุย่อยไม่ได้ อายุก็ ขาด อาหารน้ันถ้าไม่มีบริโภค ชีวิตินทรีย์น้ันก็ขาดไม่อาจสืบต่อไปได้ อาศัยเหตุฉะนี้ จึงว่าชีวิตินทรีย์ เนอ่ื งอยู่ดว้ ยอาหารเนอื่ งไปดว้ ยอัสสาสะปัสสาสะ และอิรยิ าบถเยน็ และร้อนและมหาภูตรูปทุพพลภาพ หนกั หมิ่นอยู่นกั ท่ีจะถงึ มรณภาพผู้เจริญมรณานสุ สติกัมมฏั ฐานน้ัน พึงระลึกถงึ ความตายโดยอายุทพุ ล อาการที่ ๖ ให้ระลกึ ถงึ ความตายโดยอนมิ ติ ๓๐ อาการระลึกถึงความตายโดยอนิมติ นั้น คือให้ระลกึ ว่า สัตว์ท้ังหลายอนั เกดิ มาในโลกน้ี ย่อมมี สภาวหากำหนดมไิ ดน้ น้ั ๕ ประการ คือ ๑) ชีวติ นนั้ หากำหนดไม่ได้ ๒) พยาธิ คือการที่ปว่ ยไขน้ ัน้ กห็ ากำหนดไม่ได้ ๓) กาโล เวลาอันจะมรณะนน้ั กก็ ำหนดไม่ได้ ๔) เทหนิกเขปนัง ท่อี นั จะทิง้ ไว้ซงึ่ กาเฬวระน้ันกก็ ำหนดไม่ได้ ๒๙ อ้างแลว้ เรอื่ งเดียวกนั ,หนา้ ๔๐๖. ๓๐ อา้ งแล้ว เรอื่ งเดยี วกัน, หนา้ ๔๐๗.

๑๓๑ ๕) คติซึ่งจะไปในภพเบ้ืองน่านัน้ กห็ ากำหนดมไิ ด้ ธรรม ๕ ประการนี้ จะกำหนดหมายว่า ข้าจะมีชีวิตอยู่เพียงนั้นๆ ถ้ายังไม่ถึงเพียงนั้นข้ายังไม่ ตายก่อน ต่อถึงเพียงนั้นๆ ขา้ ถึงจะตาย จะกำหนดไม่ได้ สัตว์ท้ังหลายอันบังเกิดในครรภ์มารดานั้นแต่ พอต้ังขึ้นเป็นกลละฉิบหายไปก็มี เป็นอันพุชะฉิบหายไปก็มี บางครั้งเป็นเปสิช้ินเช้ือฉิบหายไปก็มี บางครั้งเป็นฆนะเป็นแท่งเข้าแล้วฉิบหายไปก็มี บางครั้งเป็นปัญจสาขาแล้วฉิบหายไปก็มี อยู่ได้เดือน หนงึ่ ๒ เดือน ๓ เดือนฉิบหายไปกม็ ี อยไู่ ด้ ๔ ๕ ๑๐ เดอื นแล้วตายไปก็มี สัตวบ์ างจำพวกกต็ ายในกาล เม่ือคลอดจากครรภ์มารดา บางจำพวกคลอดแล้ว อยู่ได้ครู่หนึ่งพักหน่ึงตายไปก็มี อยู่ได้แต่วันหน่ึง ๒ วัน ๓ วัน แล้วตายไปก็มี ท่ีอยู่ได้ ๔ ๕ ๑๐ วัน ตายไปก็มี อยู่ได้เดือน ๑ ๒ ๓ เดือนแล้วตายไปก็มี ท่ี อยู่ได้ ๔ ๕ ๑๐ เดือนแล้วตายไปก็มี อย่ปู ี ๑ ๒ ๓ ปีแลว้ ตายไปก็มี ท่ีอยไู่ ด้ ๑๐ ๒๐ ๓๐ ปี แลว้ ตายไป กม็ ี อนั จะกำหนดชีวติ นกี้ ำหนดไม่ได้ ความป่วยไข้นั้น กำหนดไม่ได้เหมือนกัน ซ่ึงจะกำหนดว่าเป็นโรคแต่เพียงน้ันๆ ข้ายังไม่ตาย ก่อน ต่อโรคหนักหนาลงเพียงน้ันๆ ข้าจึงจะตาย จะกำหนดอย่างนี้ไม่ได้ สัตว์บางจำพวกก็ตายด้วย จักษุโรค โสตโรค บางจำพวกก็ตาย ด้วยฆานะโรคชิวหาโรคกายโรคศีรษะโรค มีประการต่างๆ ตาย ด้วยโรคอันเป็นปิตตสมุฏฐานก็มี ตายด้วยโรคอันเป็นเสมหสมุฏฐานก็มี วาตสมุฏฐานก็มี ที่จะกำหนด พยาธินี้กำหนดไม่ได้ เวลาตายนั้นจะกำหนดก็ไม่ได้ สัตว์บางจำพวกน้ันตายเวลาเช้า บางจำพวกนั้น ตายในเวลาเที่ยง เวลาเยน็ บางจำพวกตายในปฐมยาม มชั ฌิมยาม ปัจฉมิ ยาม ที่จะกำหนดเวลามรณะ นั้นกำหนดไม่ได้ ที่อันจะทอดร่างลงตายนั้นก็หากำหนดไม่ได้ ซึ่งจะกำหนดว่าข้าจะตายท่ีน้ันๆ ข้าจะ ตายในบา้ นของขา้ เรอื นของขา้ จะกำหนดอยา่ งน้ี กำหนดไมไ่ ด้ สัตว์บางจำพวกเกิดในบ้าน เมื่อจะตาย ออกไปตายนอกบ้านบางจำพวกเกิดนอกบ้านเข้าไป ตายในบ้าน บางจำพวกอยู่ในบ้านนี้เมืองน้ีไปตาย บ้านโน้นเมืองโน้นท่ีอยู่บ้านโน้นเมืองโน้นมาท้ิงร่าง ไว้ที่บ้านนี้เมืองนี้ ที่อยู่ในน้ำขึ้นมาตายบนบก ท่ีอยู่บนบกลงไปตายในน้ำ ซึ่งจะกำหนดท่ีตายน้ัน กำหนดไม่ได้ คติที่จะไปในภพเบ้ืองหน้านั้น ท่ีจะกำหนดว่าข้าตายจากที่น้ีแล้ว จะไปบังเกิดในที่น้ันๆ บ้านนั้นเมืองน้ันตำบลน้ัน กำหนดอย่างนี้ไม่ได้ สัตว์บางจำพวกนั้นจุติจากเทวโลกลงมาบังเกิดใน มนุษยโลก บางจำพวกจุติจากมนุษยโลกขึ้นไปบังเกิดในเทวโลก บางทีก็ไปบังเกิดในรูปภพอรูปภพ บางทีก็ไปบังเกิดในติรัจฉานกำเนิด เปรตวิสัย อสุรกาย และนรก ตามกุศลกรรมและอกุศลกรรมจะ ให้ผลเวียนอยู่ในภพท้ัง ๕ มีอุปมาดุจดังโคอันเทียมเข้าในแอกยนต์น้ัน ธรรมดาว่าโคอันเทียมเข้าใน แอกยนต์น้ัน ย่อมยกเท้าเดินหันเวียนวงไปโดยรอบแห่งเสาเกียด มิได้ไปพ้นจากรอยดำเนินแห่งตน มี อุปมาฉันใด สัตว์ท้ังปวงก็เวียนวงอยู่ในคติท้ัง ๕ คือ นิรยคติ เปตคติ ติรัจฉานคติ มนุสสคติ เทวคติ มิได้ไปพน้ จากคติทง้ั ๕ มอี ุปมยั ดังนัน้ พระโยคาวจรพงึ พิจารณาถึงความตายโดยอนมิ ิต อาการที่ ๗ ท่ีวา่ ให้ระลกึ ถึงความตายโดยอัทธานปริเฉท๓๑ อาการระลกึ ถึงความตายโดยอทั ธานปริเฉทนัน้ คอื ให้ระลกึ วา่ ชวี ิตมนุษย์ในกาลบัดนี้ น้อยนัก ที่มีอายุยืนทีเดียวน้ัน อยู่ได้มากกว่าร้อยปี บ้าง แต่เพียงร้อยปี บ้าง น้อยกว่าร้อยปีบ้าง ถึง ร้อยปี น้ันมีน้อย มีก็แต่จะถอยลงมา เหตุน้ัน พระพุทธเจ้าตรัสว่า บุคคลผู้เป็นสัตบุรุษน้ีเม่ือรู้แจ้งว่า อายุมนุษย์นี้น้อย ก็พึงประพฤติดูหม่ินซึ่งอายุของตน อย่ามัวเมาด้วยอายุอย่าถือว่าอายุน้ันยืนพึงอุสา หะในสุจริตธรรม ขวนขวายท่ีจะให้ได้สำเร็จพระนิพพานอันเป็นท่ีระงับทุกข์ กระทำอาการให้เหมือน ๓๑ พระพุทธโฆสเถระ, คมั ภีรว์ ิสุทธมิ รรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หน้า ๔๐๘.

๑๓๒ บุคคลที่มีศีรษะอันเพลิงไหม้ ขวนขวายที่จะดับเพลิงอันติดอยู่ท่ีศีรษะตน พึงอุสาหะคิดธรรมสังเวชถึง ความตายเกิดมาเป็นสัตว์เป็นบุคคลแล้ว พระยามัจจุราชจะไม่มาถึงนั้น ไม่มีเลยเป็นอันขาดในอลังกต สตู รพระพุทธองค์ตรัสชีวิตเปรียบชวี ิตสัตว์ ดว้ ยอุปมา ๗ ประการ คอื ๑) ชวี ติ เปรียบหยาดน้ำค้างติดอย่ใู นปลายหญ้า เร็วทจ่ี ะเหือดแห้งดว้ ยแสงพระอาทิตย์ ๒) ชีวิตดุจต่อมนำ้ เกดิ ขึน้ ด้วยกำลงั แหง่ กระแสน้ำกระทบกันเรว็ จะแตกจะทำลายไป ๓) ชวี ิตสตั ว์ทง้ั ปวงนีเ้ รว็ ทจี่ ะดบั จะสญู ดจุ รอยขีดนำ้ และเรว็ ท่ีจะอนั ตรธาน ๔) ชีวิตเปรียบดุจแม่น้ำไหลลงมาแต่ธารแหง่ ภูเขา และมีกระแสอันเชยี่ วพัดเอาจอกแหนและ สิ่งทัง้ ปวงไปเปน็ อันเรว็ พลนั ๕) ชีวติ ดจุ ฟองเขฬะอนั บรุ ุษผู้มีกำลังประมวนเขา้ แล้ว และบว้ นลงในที่สุดแหง่ น้ำและอัน ตระธานสาบสูญไปเปน็ อนั เร็วพลนั ๖) ชีวติ ดจุ ชิ้นเน้อื อนั บุคคลทิ้งลงในกะทะเหล็กอนั เพลิงไหม้ส้ินวนั หนง่ึ ยังคำ่ เรว็ ทจ่ี ะเป็นฝนุ่ เปน็ เถา้ ไป ความตายนม้ี ารออย่ใู กล้ๆ คอยท่ีจะสังหารชวี ิตสัตว์ ๗) ชีวติ ดุจพราหมณผ์ ู้คอยอยู่ท่ีจะฆ่าโคบชู ายันต์ ชวี ิตมนษุ ย์ในทกุ วันน้มี ีน้อยนักมากไปด้วยความทุกข์ ความยาก มากไปด้วยความโศกความเศร้าเสียใจท้ังปวง บุคคลผู้เป็นบัณฑิตอย่าได้ประมาท พึงอุส่าห์ กระทำการกุศลประพฤตซิ ึ่งพรหมจรรย์ เกดิ มาเป็นสัตว์เป็นชีวิตแล้ว ที่จะไม่รู้ตายนั้นไม่มี เกิดมาแล้ว ก็มีความตายเปน็ ท่สี ดุ พระพุทธองค์ตรัสว่า ภิกษุในพระพุทธศาสนาท่ีมีศรัทธาเจริญมรณานุสสติ กระทำมนสิการ ระลึกเห็นความตาย มีกำหนดชีวิตวันหน่ึงกับคืนหน่ึง เจริญมรณานุสสติยังอ่อนอยู่ ยังช้าอยู่ ยัง ประกอบอยู่ด้วยความประมาท ภิกษุอันมีสติระลึกเห็นความตาย มีกำหนดแต่เช้าจนค่ำนั้นก็ดีที่ระลึก เหน็ ความตายมกี ำหนดชีวติ เพียงเวลาฉันเพลก็ดี ท่ีระลึกถึงความตายกก็ ำหนดเพยี งเวลาฉันภัตตาหาร ได้ ๔ - ๕ คำก็ดี อย่างน้ีพระพุทธองค์ตรัสว่ายังประกอบอยู่ด้วยความประมาท เจริญมรณานุสสติเพ่ือ จะให้สิ้นอาสวะน้ันยังอ่อนยังช้าอยู่มรณะสติน้ันยังไม่กล้าหาญ ส่วนภิกษุรูปใดเจริญมรณานุสสติระลึก เห็นความตายทุกคำขา้ ว ระลึกเห็นความตายทุกขณะลมอัสสาสะปัสสาสะกระทำมนสกิ ารวา่ ถ้าตนยัง มีชีวิตอยู่สิ้นเวลากลืนคำข้าวคำ ๑ นี้ ยังมีชีวิตอยู่สิ้นเวลาลมหายใจออกไปที ๑ ตนจะมนสิการตาม คำส่ังสอนของพระบรมศาสดา จะประพฤติบรรพชิตกิจอันเป็นประโยชน์แก่ตนให้มากอยู่ในขันธ สันดานแห่งตน ภิกษุที่เห็นความมรณะทุก ๆ คำข้าว ทุกลมหายใจ ๆ อัสสาสะ ปัสสาสะ พระตถาคต สรรเสริญวา่ มีมรณะสติอันกลา้ หาญ ว่าประกอบด้วยความไม่ประมาท อาการที่ ๘ ให้พระโยคาวจรระลึกถึงความตายโดยขณะปริตตะ๓๒ อาการระลึกถึงความตายโดยขณะปริตตะนั้น คือให้ระลึกให้เห็นวา่ ชีวิตของสัตว์ทั้งปวงน้อย นัก ขณะจิตอันหนึ่ง ซ่ึงพระพุทธองค์ตรัสว่า ชีวิตสัตว์ที่อายุยืนนานประมาณได้ร้อยปี น้ัน ว่า โดย สมมุติโวหาร ถ้าจะว่าโดยปรมัตถ์นั้น ถ้าว่าถึงภังคขณะแห่งจิตท่ีใดก็ได้ชื่อว่ามรณะท่ีนั้น ได้อุปบาท ขณะและถีติขณะแหง่ จิตนนั้ ได้ชอื่ ว่ามชี ีวติ อยู่ ครนั้ ย่างเข้าภังคขณะแล้ว ก็ได้ชอื่ ว่าดับสูญไม่มชี ีวิต แต่ ทว่ามรณะในภังคขณะน้ัน พ้นวิสัยท่ีสัตว์ทั้งปวงจะหยั่งรู้หย่ังเห็น เหตุว่าขณะแห่งจิตอันเป็นไปใน สันดานแห่งเราท่านท้งั ปวงนี้เร็วมาก ท่ีจะเอาสิ่งใดมาอุปมาเปรียบเทียบน้ัน อปุ มาได้ยาก ดังพระพุทธ ดำรัสว่า จิตน้ีเกิดดับเร็วยิ่งนัก ธรรมชาติอ่ืนๆ ซึ่งจะรวดเร็วเหมือนจิตน้ี ไม่มีสักอย่างน่ึงเลย นายขมัง ๓๒ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภีร์วิสุทธมิ รรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หน้า ๔๐๙.

๑๓๓ ธนูทั้ง ๔ ท่ไี ด้รบั การฝึกฝนเป็นอย่างดีเยยี่ มแล้ว ยงิ แมน่ ยำชำนิชำนาญน้ัน ออกยืนอยูใ่ นทศิ ทั้ง ๔ แล้ว ก็ยิงลูกธนูไปพร้อมกัน ยิงไปคนละทิศๆ ลูกศรอันแล่นไปในทิศท้ัง ๔ ด้วยกำลังอันเร็วฉับพลันปานน้ัน แม้บุรุษท่ีมีกำลังรวดเร็วยิ่งกว่าลมพัดแล่นไปในทิศข้างตะวันออก ฉวยเอาลูกศรท่ีไปในทิศข้าง ตะวันออกนั้น ได้แล้วกลับแล่นมาข้างทิศตะวันตก ฉวยได้ลูกธนูข้างทิศตะวันตกน้ีแล้วก็แล่นไปข้าง ฝ่ายเหนือฝ่ายใต้ ฉวยเอาลูกศรได้ในอากาศทั้ง ๔ ทิศ ลูกศรท้ัง ๔ ทิศน้ันไม่ได้ตกถึงพื้นปฐพี กำลัง บรุ ุษอันว่องไวรวดเร็วยิ่งกว่าลมเหน็ ปานน้ี จะเอามาเปรียบความเร็วแห่งจิตนี้ก็ ข้ึนชื่อว่าความเร็วแห่ง จิตนี้ที่จะเอาสิ่งใดสิ่งหน่ึงอุปมาไม่ได้เลยสันนิษฐานว่า จิตอันประพฤติเป็นไปในสันดาน เกิดแล้วดับๆ แล้วเกิดเป็นขณะๆ กันนั้น ไม่ว่างเว้น ไม่ห่างกัน ต่อเน่ืองกันไม่ขาดสายดุจกระแสน้ำอันไหลหลั่งไม่ ขาดสาย ข้ึนสู่วิถีแล้วลงสู่ภวังค์ ลงสู่ภวังค์แล้วข้ึนสูว่ ิถี จิตดวงนี้ดับจติ ดวงนั้นเกิดจิตดวงน้ันดับจติ ดวง น้ีเกิดเป็นลำดับๆเวียนกันไป ดุจกงรถอันหันเวียนไปนั้นฯ นักปราชญ์พึงสันนิษฐานชีวิตสัตว์นี้เมื่อว่า โดยปรมัตถ์น้ันมีกำหนดในขณะจิตอันหน่ึง แต่พอขณะจิตน้ันดับลงขณะหนึ่ง สัตว์น้ันก็ได้ชื่อว่า ตาย ครั้งหนึ่ง ๒ -๓ ขณะ ชื่อว่า ตาย ๒ - ๓ ครั้ง ดับร้อยขณะพันขณะ ก็ได้ชื่อว่าตายร้อยคร้ังพันคร้ัง ดับ นับขณะไม่ถ้วนช่ือว่า ตายนับครั้งไม่ถ้วน ได้ช่ือว่าตายทุกๆ ขณะจิตท่ีดับ สมดังท่ีพระพุทธเจ้าตรัสไว้ ว่า สัตวอ์ นั มีชวี ิตในขณะจิตอันเป็นอดีตนนั้ ไม่ไดม้ ชี วี ติ ในปัจจบุ นั ไม่ได้มีชีวิตในอนาคต สัตวอ์ ันมชี วี ติ ในขณะจิตเป็นอนาคตน้ันก็ไม่ได้มีชีวิตในอดีต ไม่ได้มีชีวิตในปัจจุบันนี้ สัตว์มีชีวิตในขณะจิตอันเป็น ปัจจุบันนี้ ก็ไม่ได้มีชีวิตในอดีต ไม่ได้มีชีวิตในอนาคตโดยปรมัตถ์ สัตว์มีชีวิตอยู่ในกาลทั้ง ๓ คือ อดีต อนาคต ปจั จุบันนั้นมีขณะละ ๓ คอื ๑) อุปปาทขณะ ๒) ฐตี ขิ ณะ ๓) ภังคขณะ มีขณะ ๓ นี้เหมือนกันทุกขณะจติ และแตล่ ะขณะจิตๆ น้นั มีนามและรปู เปน็ สหชาตเกิดพร้อม เป็นแผนกๆ น้ี ดังพระพุทธดำรัสว่า สหชาตธรรม คือ ชีวิต อัตตะภาพ สุข ทุกข์ และสหชาตธรรมอัน เน่ืองจากสุข ทุกข์ ชีวิตินทรีย์น้ัน ย่อมสัมปยุตด้วยจิต แต่ละอันๆ มีเหมือนกันทุกๆ ขณะจิตและ สหชาตธรรมท้ังหลายนั้นไม่ได้ปนเจือจานกัน เกิดพร้อมกันด้วยขณะจิตอันใดก็เป็นแผนกแยกย้ายอยู่ ตามขณะจิตอันน้ัน ขณะอันเกิดแห่งสหชาตธรรม คือ สุข ทุกข์ และชีวิตินทรีย์เป็นต้นน้ัน รวดเร็ว ว่องไวพร้อมกันกับขณะจิต ขันธ์ท้ังหลายของคนตาย ดับพร้อมด้วยจุติจิตกับขันธ์ของคนที่ไม่ตาย ถึง ซึ่งดับในภังคขณะนอกจากจุติจิต กับขันธ์ของบุคคลท่ีไม่ตายและดับ ในภังคขณะนอกจากจุติจิตน้ัน ไม่แปลกกันเลย เหมือนกันทั้งสิ้น แต่ทว่าขันธ์ซง่ึ ดับพร้อมด้วยจตุ ิจิตนั้นมีปฏิสนธิจิตเกิดเปน็ ลำดับ คือ ปฏิสนธจิ ิตซึ่งถอื เอาอารมณ์แห่งชวนะในมรณะาสันนะวิถี มกี รรมนิมิตและคตินิมิตเป็นอารมณ์ เกิดใน ลำดบั แห่งจุตจิ ิต ส่วนขันธ์ซ่ึงดับในภังคขณะ นอกจากจุติจติ นั้นจะได้มปี ฏิสนธิจิตเป็นลำดับไม่มีจิตอื่น นอกจากปฏิสนธิจิตเกิดเป็นลำดับตามสมควรแก่อารมณ์พระอรรถกถาจารย์สันนิษฐานว่า ในมรณะา สันนะวิถีที่ใกล้ถึงแก่มรณะน้ัน เมื่อยังอีก ๑๗๓๓ ขณะจิตและจะถึงจุติจิตแล้ว แต่บรรดาขณะจิต ๑๗ ขณะ เบื้องหลังแต่จุติจิตนั้นจะได้มีกัมมัชรูปบังเกิดด้วยไม่ได้ และกัมมัชรูปซึ่งเกิดก่อนนั้น ไปดับลง พร้อมกันกับจุตจิ ิต คร้ันกัมมัชรูปดบั แล้ว ลำดับนั้นจติ ตัชรูปและอาหารรัชรูปน้ันก็ดับไปตามกัน ยังอยู่ แต่อตุ ุชรูป เปน็ ไปในซากศพน้ัน ตราบเท่ากว่าจะแหลกละเอยี ดสาบสูญไป น้ีเป็นธรรมแห่งขันธ์อันดับ พร้อมด้วยจุติจิต ส่วนขันธ์ซึ่งดับในภังคขณะท้ังปวงนอกจากจุติจิตน้ัน รูปกลาปยังบังเกิดเนืองๆ อยู่ ๓๓ วสิ ุทธฺ .ิ (ไทย) ๓/๒๙., สงฺคห. (บาลี) หน้า ๑๕.

๑๓๔ ยังไม่ขาด ดุจเปลวประทีปและกระแสน้ำไหลอันไม่ขาดจากกัน รูปที่บังเกิดขึ้นก่อนๆ น้ันมีอายุถ้วน ๑๗ ขณะจิตแล้วก็ดับไปๆ ท่ีมีอายุยังไม่ถ้วนกำหนดนั้น ก็ยังดำเนินรองๆ กันไป ไม่ได้หยุดหย่อน ที่ เกิดๆ ขนึ้ ท่ีดับๆ ไปรปู กลาปท้ังปวงไมไ่ ด้ขาดจากกัน แม้ว่ารูปกลาปบังเกดิ ติดเนื่องอยู่ก็ดี เม่อื ขณะจิต ดับลงน้นั ไดช้ ื่อว่าถึงแก่มรณะผเู้ จริญมรณานุสสติภาวนานั้น ระลึกถึงความตายโดยขณปริตตะโดยนัย อันพระพทุ ธองคต์ รสั ไวแ้ ลว้ นน้ั อานุภาพแห่งเมตตาภาวนา๓๔ อาการทั้ง ๘ ประการ มีนัยแสดงมาน้ี ถ้าระลึกได้แต่นัยอันใดอันหนึ่งและกระทำมนสิการ เนืองๆ อยู่แล้ว จิตอันมีกัมมัฏฐานเป็นอารมณ์น้ัน ก็จะได้ซึ่งภาวนาเสวนะจะกล้าหาญในการภาวนา สติท่ีมมี รณะเป็นอารมณ์นั้น ก็จะตั้งอยู่เป็นอันดีไมว่ ่างเว้น จะข่มนิวรณธรรมทั้งปวงเสียได้ องคฌ์ านก็ จะบังเกิดปรากฏ แต่ไม่ถึงอัปปนาจะได้อยู่แต่เพียงอุปจาร เหตุว่ามรณะซึ่งเป็นอารมณ์นั้นเป็น สภาวธรรมเป็นวัตถุที่จะให้บังเกิดสังเวช เมื่อถือเอามรณะเป็นอารมณ์และระลึกเนืองๆ นั้น มักนำมา ซ่งึ ความสะดุ้งจิตในเบ้ืองน่าๆ เหตุดงั นั้นภาวนาจิตอันประกอบด้วยมรณะสตนิ ้ันจึงไมอ่ าจถึงอัปปนาได้ อยู่แตเ่ พียงอุปจาร มีคำถามว่า โลกุตตระฌานและจตุตถารูปฌาน มีอารมณเ์ ป็ นสภาวธรรมตลอดข้ึน ไป ถึงอัปปนา จริงอยู่ ทุติยารูปฌานจตุตถารูปฌานน้ันมีอารมณ์เป็นสภาวธรรม เพราะว่า โลกุตตร ฌานตลอดข้ึนไปถึงอัปปนาน้ันด้วยภาวนาวิเศษ คือ เจริญวิสุทธิภาวนาข้ึนไปโดยลำดับๆ แม้อารมณ์ เป็นสภาวธรรมก็ดี อานุภาพที่เจริญวิสุทธิภาวนาเป็นลำดับๆ ขึ้นไปน้ันให้ผล ก็อาจจะตลอดขึ้นไปได้ ถงึ อัปปนาฌาน ซึ่งทุติยารูปฌานและจตุตถารูปฌาน มีอารมณ์เป็ นสภาวธรรมตลอดขึ้นไปได้ถึงอัปป นานั้นด้วยสามารถเป็ นอารัมณสมติกกมภาวนา คือ ทุติยารูปน้ันล่วงเสียซ่ึงอารมณ์แห่งปฐมารูป จตุตถารูปนัน้ ล่วงเสียซ่ึงอารมณ์แห่งตติยารูป เหตุนี้ แม้อารมณ์เป็นสภาวธรรมก็ดี ก็อาจจะถงึ อปั ปนา ไดด้ ว้ ยอารัมณสมติกกมภาวนา ในมรณานุสสตินห้ี าวิสุทธิภาวนาและอารมั ณสมติกกมภาวนามไิ ด้ เหตุ น้ี ผู้เจริญมรณานุสสตินั้น จึงได้อยู่แต่อุปจารฌาน และอุปจารฌานท่ี ได้ในท่ีเจริญมรณานุสสตินั้น เรียกวา่ มรณะสตอิ ุปจารฌานดว้ ยสามารถที่บังเกิดด้วยมรณะสติ บคุ คลผ้เู ห็นภัยในวฏั ฏสงสาร เม่ือเพียรพยายามเจริญมรณานุสสติภาวนานี้ก็จะละเสียซ่ึงความประมาท จะได้ซึ่งสัพพภเว สุอนภิรตสัญญา คือ จะบังเกิดความกระสันเป็นทุกข์ปราศจากที่จะอยู่ในภพทั้งปวง จะละเสียได้ซึ่ง ความยินดีในชีวติ ไมไ่ ด้รักชีวิต ละอายต่อบาป มคี วามสันโดษ มักน้อย ไม่ส่ังสมซึ่งของบริโภคแลว้ ก็จะ ถึงซ่ึงคุ้นเคยในอนิจจะสัญญาจะเห็นอนิจจังในรูปธรรมนามธรรม แล้วก็จะได้ซ่ึงทุกขสัญญา อนัตต สัญญา อันปรากฏด้วยสามารถระลึกตาม อนิจจสัญญา เห็นอนิจจัง แล้วจะเป็นคุณที่จะให้เห็นทุกขัง เหน็ อนตั ตา เม่ือเห็นไตรลักษณ์ปรากฏแจ้งแล้ว คร้ันจะตายก็ไม่กลัวตาย มีสติไม่ลุ่มหลงฟั่นเฟือนการ เจริญมรณานุสสตินี้ เป็นปัจจัยท่ีจะให้สำเร็จแก่พระนิพพาน ถ้ายังไม่สำเร็จพระนิพพานในชาติน้ีเมื่อ ดับสญู ทำลายขันธ์ จะมสี ุคติภพเปน็ เบ้ืองหนา้ เหตุนี้ ผู้มปี รชี าเป็นอันดีไม่ประมาท พงึ เจริญมรณานสุ ส ติภาวนาเป็นนิตย์ส่วนต่อไปเป็นการเจริญเมตตาจะได้แสดงผล (องค์ฌาน) ท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้ว นำเขา้ สู่การเจริญวปิ ัสสนาเพือ่ ให้บรรลธุ รรมตามแนวของการปฏิบัติตามหลักสมถปพุ พังคมนัย คือ วธิ ี ปฏิบัติท่ีมีสมถนำหน้าวิปัสสนาตามหลัง ดังจะไดก้ ล่าวตามแนวทางของสมถยานิก คือ มีสมถเป็นยาน เป็นการปฏิบัติแบบยุคนัทธนัย คือ วิธีปฏิบัติท่ีควบคู่กันระหว่างสมถยานิก (ผู้บรรลุฌานในสมถ ๓๔ พระพุทธโฆสเถระ, คมั ภรี ์วิสทุ ธมิ รรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หนา้ ๔๑๐.

๑๓๕ ภาวนา) และวปิ ัสสนายานิก (ผู้เจริญวปิ ัสสนา) กำหนดรู้ฌานจติ พรอ้ มกับการเจริญวิปัสสนา เม่อื ออก จากฌานน้ันๆ จนกระท่ังบรรลุมรรคด้วยเหตุน้ีการปฏิบัติแนวนี้จึงชื่อว่าสมถปุพพังคมนัย เพราะเป็น การเจริญวิปัสสนาโดยมีสมถะนำหน้า๓๕ ๗.๔.๒ อานสิ งส์ของการเจรญิ มรณานสุ สติ ผู้ปฏิบัติเมื่อระลึกถึงมรณานุสสติแล้ว จิตย่อมสงบด้วยอำนาจทำในใจบ่อย ๆ สติ มีมรณะเป็นอารมณ์ย่อมตั้งมั่น นิวรณ์ท้ังหลายย่อมสงบ องค์ฌานย่อมปรากฏ แต่เพราะฌาน มีสภาวธรรมเป็นอารมณ์ และเพราะอารมณ์เป็นที่ต้ังแห่งความสลด ฌานจึงไม่ถึงข้ันอัปปนาถึงเพียง ขั้นอุปจาระเท่านั้น แต่โลกุตตรฌานและอรูปฌานท่ี ๒ ที่ ๔ ย่อมถึงอัปปนาด้วยภาวนาพิเศษ แม้ใน เพราะสภาวธรรม ด้วยว่าโลกุตตรฌานย่อมถึงอัปปนาด้วยอำนาจแห่งลำดับของการทำ ความบริสุทธิ์ให้เกิด อรูปฌานย่อมถึงอัปปนาด้วยอำนาจแห่งภาวนาอันเป็นเครื่องก้าวล่วงอารมณ์ เพราะว่าในอรูปฌานน้ันย่อมมีกิจพอที่จะก้าวล่วงด้วยดีซึ่งอารมณ์แห่งฌานที่ถึงอัปปนา แต่ในมรณา นุสสตกิ ัมมัฏฐานนไี้ มม่ ที ั้ง ๒ คือ ทง้ั โลกุตตรฌานและอรูปฌาน ฉะน้ัน จึงเปน็ เพียงอุปจารฌานเท่าน้ัน ฌานนี้เรียกว่า มรณานุสสติฌาน เพราะเกิดขนึ้ ด้วยกำลงั แหง่ มรณานุสสติ ผู้ปฏิบัติมรณานุสสติ เป็นผู้ ประกอบด้วยความขวนขวายในกุศลธรรมขั้นสูง และไม่ชอบใจอกุศลธรรม ย่อมไม่ส่ังสมผ้าและ เครอ่ื งประดับ ไม่ตระหนี่ มีอายุยนื ไม่ยึดมั่นสิ่งท้ังหลายประกอบดว้ ยอนิจจสัญญา (รับรู้ความไม่เทย่ี ง) ทกุ ขสญั ญา และอนัตตสญั ญา อยูเ่ ปน็ สุข และเข้าถงึ อมตธรรม เมือ่ ตายย่อมไม่หลงลมื สติ๓๖ ๗.๔.๓ การเจริญเมตตา การนึกถึงและมองดูคนอื่นด้วยโทสะ ในขณะน้ันย่อมมีแต่ความเกลียดชัง จิตไม่ช่ืน บานสว่ นการนกึ ถึงและมองดูบคุ คลอน่ื ด้วยเมตตาน้นั จติ กจ็ ะมแี ต่ความรกั ใคร่เบกิ บาน ดงั น้นั วจนตั ถะ ของเมตตาจึงว่า “มิชฺชติ สิเนหติ๓๗” ย่อมรักใคร่ชื่นชมต่อสตั ว์ ดังน้ี ความรักใครช่ ื่น ชมนี้มี ๒ อย่างคือ ๑) เมตตาอโทสะ ๒) ตัณหาเปมะ ใน ๒ อย่างนั้น จะได้อธิบายความหมายโดยย่อ ดังนี้ เมตตาอโทสะ เปน็ ความรักใครช่ ืน่ ชมปรารถนาดี ไมม่ ีการยึดถือว่าเป็น บิดา มารดา บุตร ธดิ า ภรรยา สามี ญาตพิ ีน่ อ้ ง เพอ่ื นฝูง แต่อยา่ งใด ถึงจะจากไปอยูท่ ่ีอืน่ ก็ไม่เดือดร้อน๓๘ สว่ นตณั หาเปมะนน้ั เปน็ ความรกั ใครช่ ่ืนชมด้วยการยดึ ถือว่าเปน็ บิดา มารดา บุตร ธิดา ภรรยา สามี ญาติพ่ีน้อง เพื่อนฝูง และแยกจากกันไม่ได้ ดังนั้น ความรักใคร่ชื่นชมท่ีเป็นชนิดตัณหา เปมะนี้ จึงไดช้ ื่อวา่ เปน็ เมตตาเทียม๓๙ ๗.๔.๔ วธิ ีการเจรญิ เมตตา การเจรญิ เมตตาภาวนาถือเป็นขนั้ ตอนแรกของการเจริญภาวนาทำให้เกิดพรหมหาร ธรรม ซึ่งคุณสมบัติของ เมตตา จะแสดงออกในรูปของการให้ความช่วยเหลอและให้ความอบอุ่นแก้ ๓๕ สมเดจ็ พระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสมมหาเถระ) ศาสตราจารย์พเิ ศษ, ป.ธ.๙, M.A., Ph.D., อรยิ วังสปฏปิ ทา, (กรุงเทพมหานคร : ห้างห่นุ สว่ นจำกดั ประยรู สาสน์ ไทย การพมิ พ,์ ๒๕๕๔), หนา้ ๕๙. ๓๖ พระอุปติสสเถระ, คมั ภีร์วมิ ตุ ติมรรค, แปลโดย พระธรรมโกศาจารย์ (ประยรู ธมมฺ จติ ฺโต), หนา้ ๑๕๙. ๓๗ พระสทั ธัมมโชติกะ ธมั มาจรยิ ะ, ปรมัตถโชตกิ ะ ปริจเฉทท่ี ๙ เลม่ ๑ สมถกรรมฐานทีปนี (หลักสตู ร ชน้ั มชั ฌิมอาภธิ รรมกิ โท), หนา้ ๑๘๐. ๓๘ อา้ งแล้ว เร่อื งเดยี วกนั , หนา้ ๑๘๐. ๓๙ พระอปุ ติสสเถระ, คัมภรี ว์ มิ ตุ ตมิ รรค, แปลโดย พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมมฺ จติ ฺโต), หน้า ๑๕๙.

๑๓๖ ผู้อื่น เมื่อบ่มเพาะเมตตาภาวนาไปได้จนสมบูรณ์ ก็จะหลั่งล้นออกมาเป็นความกรุณา เห็นอกเห็นใจ ซึ่งจะเป็นไปโดยธรรมชาติ เพราะเกิดความรู้สึกเห็นใจในความทุกข์ยากของผู้อ่ืน๔๐ เมตตาพรหม วิหาร๔๑ คือคิดให้สัตว์ท้ังปวงเป็นสุข ข้อปฏิบัติในเบื้องต้น พึงพิจารณาให้เห็นโทษของโทสะ และ อานิสงส์ในขันติก่อน เพราะถ้าบุคคลมีจิตครอบงำด้วยโทสะ ย่อมทำความชั่วต่าง ๆ เช่น ฆ่าสัตว์เป็น ต้น เม่ือเห็นโทษของโทสะแล้ว พึงพิจารณาเห็นอานิสงส์ของขันติตามพระบาลีว่า “ขนฺตี ปรมํ ตโป ตี ติกฺขา นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา”๔๒ แปลว่า ความอดทน คือ ความอดกล้ันเป็นตบะอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสว่านิพพานเป็นบรมธรรมคร้ันแล้วพึงเร่ิมเจริญเมตตาเพื่อยังจิตให้สงัดจาก โทสะ อันมโี ทษทีเ่ หน็ แลว้ และเพื่อผูกจิตไวใ้ นขนั ตอิ นั มีอานิสงสท์ ี่ตนทราบแลว้ น้นั องค์ธรรมเมตตา ได้แก่ โลภเจตสิก ถึงกระนั้นตัณหาเปมะอันเป็นตัวเมตตาเทียมนี้ ก็ยังเป็น ความยินดีในการท่ีเป็นปกตปู นิสสยปัจจัย ให้แก่เมตตาอโทสะเกิดขึ้นไดง้ ่าย และดำรงม่ันไม่เสื่อมถอย อานิสงส์ของเมตตาอโทสะ ท่ีเกิดจากตัณหาเปมะเป็นมูล มีแจ้งไว้ในวิสุทธิมรรคอรรถกถาแล้ว ความ วา่ แม่โคนมตัวหนึ่ง ยืนให้ลกู ดืม่ นม นายพรานคนหนึ่งจะฆ่า จงึ หยิบหอกพงุ่ ตรงไปที่แมโ่ ค แตห่ อกน้ัน ไม่สามารถทำอันตรายแม่โคนั้น กลับปลิวไปตกที่อื่น๔๓ ต่อไปจะกล่าวถึงลักขณาทิจตุกะของเมตตา คือ ก. ลกั ขณาทจิ ตุกะ ลักษณะของเมตตา คือ เปน็ ไปโดยอาการเกอ้ื กูลแก่คนทัง้ หลาย หน้าที่ คือ น้อมนำประโยชน์เขา้ ไปให้แกเ่ ขา ผลปรากฏ คือ กำจัดความอาฆาตแคน้ เคอื งใหป้ ราศไป ปทฏั ฐาน คือ เหน็ ภาวะท่ีนา่ เจริญใจของคนสัตวท์ ้ังหลาย๔๔ ส่วนผู้ท่ีแสวงหาโลกุตตรธรรมนั้น ถ้าจิตประกอบด้วยตัณหาเปมะต่อบุคคลใดบุคคลหน่ึง โลกุตตรธรรมก็เกิดข้ึนไม่ได้ ทง้ั น้ีเพระตัณหาเปมะนีข้ ัดกันกับสมาธิตลอด จนถงึ สตสิ ัมปชญั ญะ ดังเช่น พระฉันนเถระ มีความรักในพระพุทธองค์อย่างเหนียวแน่ เน่ืองจากเคยอยู่ใกล้ชิด จึงถึงออกสู่ มหาภิเนษกรมณ์ ดังน้ัน ในระหว่างท่ีพระพุทธองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ พระฉันนเถระมิอาจปฏิบัติ ให้มรรค ผล เกิดได้ ต่อเสด็จดบั ขันธปรินิพพานแล้วการปฏิบัตจิ ึงสำเร็จ ทั้งนกี้ ็เพราะตัณหาเปมะท่ีขัด กับสมาธิ สตสิ ัมปชญั ญะ ได้หายไปจากใจหมดส้ิน๔๕หลังจากไดเ้ จรญิ เมตตาภาวนาเพ่ือเอาชนะสภาวะ เรื่องอกุศลที่มีอยู่ในใจได้อย่างพอเพียงแล้ว ผู้ปฏิบัติก็สามารถเปลี่ยนกลับไปสู่การปฏิบัติแบบใช้สติ กำหนดรู้ เราสามารถปรับระดับเมตตาภาวนาให้เป็นการส่งเสริมหนทางแก่วิปัสสนาภาวนาได้ หรอื พฒั นาใหเ้ ป็นระบบยิ่งขน้ึ กไ็ ด้ เพ่ือสามารถเขา้ ถงึ ระดบั สมาธิหรือเข้าฌาน ๔๐ พระปัญญาวโร ภกิ ข,ุ หลักการปฏิบัติ วิปสั สนาเบือ้ งต้น, แปลโดย ฉตั รนคร องคสิงห์ (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๕), หน้า ๙๕. ๔๑ รศ. ดร. สจุ ติ รา ออ่ นค้อม, การฝกึ สมาธิ, พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๑๐, (กรุงเทพมหานคร) : สำนกั พมิ พ์ดอกหญา้ กรุ๊ป, ๒๕๔๙), หน้า ๗๕. ๔๒ ท.ี ม.อ. (บาลี) ๙๐/๗๖, ว.ิ อ. (บาลี) ๑/๑๙/๑๙๐-๑๙๑. ๔๓ พระสัทธัมมโชตกิ ะ ธมั มาจรยิ ะ, ปรมตั ถโชติกะ ปริจเฉทที่ ๙ เลม่ ๑ สมถกรรมฐานทปี นี (หลักสตู ร ชนั้ มชั ฌมิ อาภธิ รรมิกโท), หนา้ ๑๘๐. ๔๔ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, หนา้ ๑๒๕. ๔๕ พระสทั ธมั มโชตกิ ะ ธัมมาจรยิ ะ, ปรมตั ถโชตกิ ะ ปรจิ เฉทที่ ๙ เลม่ ๑ สมถกรรมฐานทีปนี (หลักสตู ร ชน้ั มัชฌิมอาภิธรรมิกโท), หนา้ ๑๘๐.

๑๓๗ เมือ่ เมตตาภาวนาไดร้ บั การพัฒนาอย่างเป็นระบบไปกระทัง่ ถึงระดับฌานหรอื ระดบั สมาธิแล้ว ปัจจัยแห่งการเข้าฌานท้ัง ๕ ก็จะเกิดความก้าวหน้าข้ึน โดย ๒ ปัจจัยแรกเป็นเหตุ นั่นคือวิตกและ วิจาร ตามมาด้วยอีก ๓ ปัจจัย คือ ความมปี ี ติ ใจท่ีเป็นสุข และใจที่เป็นสมาธิ ซึ่งประโยชน์ท่ีจะได้รับ จากการได้เข้าถึงปัจจัยแห่งการเข้าฌานทั้ง ๕ ก็จะช่วยแก้ไขนิวรณ์ท้ัง ๕ หรืออุปสรรคท่ีเกิดระหว่าง ปฏิบัตไิ ด๔้ ๖ ต่อไปจะไดน้ ำหลกั เมตตาภาวนาตามแนวแหง่ คัมภีร์วสิ ุทธิมรรค๔๗มาแสดง ดงั น้ี จะกล่าวถึงการเจริญเมตตา ซ่ึงพระพุทธโฆสเถระอธิบายไว้ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคว่า ผู้เร่ิมจะ เล่าเรียน ที่มีความปรารถนาจะเจริญเมตตาพรหมวิหารน้ัน ให้ตัดเสียซึ่งปลิโพธความกังวล ทั้ง ๑๐ ประการ มีอาวาสปลิโพธ (ความกังวลด้วยอาวาสเป็นต้น) ให้ขาดแล้ว พึงเข้าไปสู่สำนักอาจารย์ที่เป็น กัลยาณมิตรเรียนเอาซ่ึงพระกัมมัฏฐานแล้ว เวลาเช้ากระทำภัตกิจสำเร็จแล้ว บรรเทาความเมาใน อาหารแล้ว นั่งในเสนาสนะอนั สงดั ท่ีสบายแลว้ พิจารณาเห็นโทษของความโกรธพจิ ารณาอานิสงส์ของ ขันติ๔๘ ความโกรธนี้โยคาวจรจะละได้ด้วยเมตตาภาวนา และขันติน้ัน พึงถึงด้วยจิตของตน แต่ถ้าว่า มิได้เห็นโทษของความโกรธแล้ว ก็มิอาจจะละความโกรธน้ันได้ ไม่เห็นอานิสงส์ในการอดกลั้น ก็ไม่มี ขันติ เหตุน้ัน พึงพิจารณาเห็นโทษในความโกรธด้วยพระสูตรว่าบุคคล อันความโกรธประทุษร้ายแล้ว มีสันดานอันโทษครอบงำน้ันย่อมฆ่าเสียซ่ึงสัตว์ให้ถึงแก่มรณะภาพสิ้นชีวิต ด้วยอำนาจแห่งความ โกรธๆ นี้ ย่อมกระทำให้บุคคลทั้งปวงเศร้าหมองเดือดร้อนทนทุกขเวทนาในอบายภูมิ พึงพิจารณาซึ่ง โทษแหง่ ความโกรธด้วย พงึ พิจารณาให้เห็นอานิสงส์แห่งขันติ๔๙ ตามพระพุทธดำรัสวา่ ขันติ อาการอด ใจนี้เป็นตบะอันประเสริฐ บังเกิดเป็นเหตุที่จะเผาเสียซ่ึงอกุศลธรรมท้ังปวงให้พินาศฉิบหาย พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญขันตินั้นว่า เป็นทางพระนิพพานท่ีอุดมเท่ียงแท้ ผู้ใดมีอธิวาสน ขันติเป็นกำลัง ผู้นั้นพระตถาคตเรียกว่า เป็นขีณาสวะพราหมณ์ผู้ประเสริฐ เม่ือพิจารณาเห็นโทษแห่ง ความโกรธ เห็นอานสิ งส์แห่งขันติแล้ว พงึ ประกอบจติ ไว้ในขันติอันมีอานิสงส์อันปรากฏแล้ว ข่มเสียซึ่ง ความโกรธอันมีโทษอันตนเห็นแล้วเม่ือจะเจริญเมตตานั้น พึงรู้จักบุคคล ๔ จำพวก๕๐ จะทำร้ายซึ่ง เมตตาภาวนานน้ั คอื (๑) บุคคลอันมไิ ดเ้ ป็นทร่ี ักแห่งตน (๒) สหายอนั เปน็ ทีร่ ัก (๓) บุคคลอนั มธั ยัสถม์ ิได้เปน็ ท่รี ักทชี่ ังแห่งตน (๔) บุคคลอนั เปน็ เวร บคุ คล ๔ จำพวกนี้ อย่าพึงเจริญเมตตาไปถึงกอ่ นฯ ซงึ่ ทา่ นอธิบายว่า จะต้ังบุคคลอันมิไดเ้ ป็น ที่รักไว้ในท่ีอันรักใคร่นั้นลำบากจิตยิ่งนัก อน่ึงจะเอาสหายที่รักมากไปตั้งไว้ในท่ีอันมิได้รักมิได้ชังน้ันก็ จะเป็นเรอื่ งยาก ถา้ มีความทุกขร์ ้อนเพียงเล็กน้อยบงั เกดิ ขึ้นแล้วตนน้ันก็ย่อมเกิดอาการร่ำไร อาไลยถึง อน่ึงจะเอาบุคคลอันกลางมาต้ังไว้ในท่ีอันเป็นที่รักก็ลำบากยากที่จะกระทำได้ อน่ึงระลึกไปถึงบุคคล ๔๖ พระปญั ญาวโร ภกิ ข,ุ หลกั การปฏบิ ัติ วปิ สั สนาเบ้ืองตน้ , แปลโดย ฉตั รนคร องคสงิ ห์,หนา้ ๙๓-๙๕. ๔๗ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภีรว์ สิ ุทธมิ รรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๖, หน้า ๔๘๑. ๔๘ อา้ งแล้ว เรอื่ งเดยี วกัน, หน้า ๔๘๒. ๔๙ อา้ งแล้ว เร่ืองเดยี วกนั , หน้า ๔๘๓. ๕๐ อ้างแลว้ เร่ืองเดยี วกัน. หนา้ ๔๘๕.

๑๓๘ อันเป็นเวรแก่ตนน้ันความโกรธก็จะบังเกิด เหตุมีสิ่งอันประทุษร้ายแก่ตนไว้ก่อนเมตตาท่ีเจริญไปน้ันมิ อาจจะตงั้ ได้ เหตุน้นั จงึ หา้ มมิให้เจริญเมตตาไปถงึ บคุ คล ๔ จำพวก๕๑นน้ั ก่อน ข. บุคคลทีจ่ ะต้องแผเ่ มตตาก่อนพร้อมท้ังเหตผุ ล๕๒ การแผ่เมตตาท่มี ิได้มุ่งหวงั จะได้อัปปนาฌาน มีการแผ่ไปในบคุ คลอนื่ สำหรับตนเอง นนั้ จะแผ่กไ็ ด้ไมแ่ ผ่ก็ได้ แต่ถ้าหวังจะได้อปั ปนาฌาน จะตอ้ งแผแ่ ก่ตนเองก่อน เพื่อประโยชน์อนั ทจี่ ะได้ เป็นสักขีพยานแก่การแผ่ไปยังบุคคลอื่น ทั้งนี้ก็เพราะว่า ความรักต่อส่ิงอื่นๆ นั้นจะมีมากมายสัก เพียงใดก็ตาม ก็ไม่เหมือนความรักตนเอง “น จ อตฺตสมํ เปมํ”๕๓ ดังนั้น เมื่อทำการแผ่แก่ตนก่อนอยู่ เสมอ ๆ แล้ว ความปรารถนาสุข กลัวทุกข์ อยากมีอายุยืน ไม่อยากตาย ที่มีประจำใจอยู่น้ัน ย่อม เกิดข้นึ เป็ นพิเศษ แลว้ นึกเปรี ยบเทียบไปในสัตว์ทงั้ หลายว่า ล้วนแต่มีความปรารถนาเช่นเดยี วกับตน ทกุ ประการ การนกึ เปรียบเทียบระหว่างตนกับผู้อ่ืนอยา่ งนี้แหละ เป็นเหตุสำคัญที่จะช่วยใหเ้ มตตาจิต เกิดข้ึนได้ง่าย และตั้งอยมู่ ่ันคง ในเม่ือทำการแผไปในสัตว์ทั้งหลาย ตลอดจนถึงอุปจารสมาธิและอัปป นาสมาธิ พระพทุ ธองค์ได้ทรงตรัสไว้ว่า “สพพฺ า ทสิ า อนปุ ริคมฺม เจตสา เนวชฺฌคา ปยิ ตรมตฺตนา กวจิ เอวํ ปิ โย ปถุ ุ อตตฺ า ปเรสํ ตสฺมา น หึเส ปรํ อตถฺ กาโมติ”๕๔ แปลความว่า บุคคลเอาจิตค้นคว้าพิจารณาไปท่วั ทิศ ย่อมไม่เหน็ ใครเป็นท่ีรักยิ่งกว่าตน ในที่ ใด ๆ กต็ ามตนนนั้ แหละเปน็ ท่ีรกั อย่างมาก อันอนื่ ก็เชน่ กัน ฉะน้นั ผทู้ ี่รกั ตนไม่ควรเบยี ดเบยี นผอู้ ืน่ แม้ กระทั้งมด ปลวกผ้เู จรญิ เมตตาพงึ ต้ังเมตตาจติ ลงในตน ดงั น้ี ๑) อหํ อเวโร โหมิ ขา้ พเจา้ จงเปน็ ผ้ไู ม่มีศัตรูภายในและภายนอก ๒) อหํ อพฺยาปชโฺ ฌ โหมิ ข้าพเจ้าจงเป็นผู้ไม่มีความวติ กกงั วล เศร้าโศก พยาบาท ๓) อหํ อนโี ฆ โหมิ ข้าพเจ้าจงเป็นผู้ไมม่ ีความลำบากใจ พ้นจากอุปัทวเหตุ ๔) อหํ สขุ ิ อตฺตานํ ปริหรามิ ขา้ พเจ้าจงเปน็ ผูน้ ำอตั ภาพท่ีเป็นอยูด่ ้วยความสขุ กาย สุขใจ ตลอดกาลนาน ใน ๔ ประการนี้ จะใช้ขอ้ ใดข้อหนึ่งก็ได้๕๕ การเมตตาแก่บุคคลอื่นนัน้ มีคำแผ่ดงั น้ี ๑) อเวโร โหตุ ขอจงเปน็ ผไู้ ร้ศัตรภู ายในและภายนอก ๒) อพฺยาปชฺโฌ โหตุ ขอจงไร้ความวติ กกังวล เศร้าโศก พยาบาท ๓) อนโี ฆ โหตุ ขอจงไรค้ วามลำบากกาย ใจ พน้ จากอุปทั วภัย ๔) สขุ ิ อตฺตานํ ปริหรามิ ขอจงนำอัตภาพทีเ่ ป็นอย่ดู ว้ ยความสุขกาย สขุ ใจ ตลอด กาลนาน๕๖ ใหแ้ ผใ่ นบคุ คลท่ีกำลงั รู้จกั กัน กำลังชอบพอกัน กำลงั ทำงานรว่ มกัน กำลังอยดู่ ้วยกันจากน้ันก็ แผ่ไปในบุคคลท่ีเคยรู้จักกัน เคยชอบกัน เคยทำงานร่วมกัน เคยอยู่ด้วยกัน เคยช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ๕๑ อ้างแล้ว เรอื่ งเดียวกัน, หนา้ ๔๘๔. ๕๒ พระสทั ธมั มโชตกิ ะ ธมั มาจริยะ, ปรมัตถโชตกิ ะ ปรจิ เฉทที่ ๙ เลม่ ๑ สมถกรรมฐานทีปนี,หน้า ๑๘๑. ๕๓ ส.ํ ส.๑๕/๙ อา้ งใน คณาจารยแ์ ห่งโรงพมิ พเ์ ลย่ี งเชยี ง, พุทธศาสนสภุ าษิต เลม่ ๑ ฉบับมาตรฐาน, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ เลี่ยงเชยี ง, ๒๕๕๐), หน้า ๙. ๕๔ อ้างแลว้ เรอ่ื งเดยี วกัน, หน้า ๑๘๒. ๕๕ พระสทั ธมั มโชตกิ ะ ธมั มาจรยิ ะ, ปรมัตถโชติกะ ปรจิ เฉทท่ี ๙ เลม่ ๑ สมถกรรมฐานทีปนี, หนา้ ๑๘๒. ๕๖ อ้างแล้ว เร่อื งเดียวกนั , หน้า ๑๘๓.

๑๓๙ เมื่อเดือนท่ีแล้ว ปี ท่ีแล้ว ตลอดจนถึง ๑๐ ปี ๑๕ ปี ตามแต่จะนึกได้ จนกระทั่งสัตว์ดิรัจฉานก็ไม่เว้น จากน้ันก็แผ่กลับมาหาคนทีก่ ำลงั รูจ้ กั กัน กำลังชอบพอกัน เสรจ็ แลว้ ก็แผ่ไปในบุคคลที่เคยรจู้ ักกัน เป็น ตน้ น้นั อกี กลบั ไปกลับมาเรอื่ ยๆ๕๗ เม่ือจะแผ่เมตตาไปในบุคคลตามลำดับน้ัน บุคคลท่ีตนรู้จัก ชอบพอ ร่วมการงานอยู่ด้วยกัน เหล่านี้แบ่งออกเป็น ๔ จำพวก คือ ๑. ปิยบุคคล ๒. อติปิยบุคคล ๓. มัชฌัตตบุคคล ๔. เวรีบุคคล ใน บรรดาบุคคลทั้ง ๔ จำพวกน้ี ต้องแผ่แก่ปิยบุคคลก่อน ถัดไปก็เป็นอติปิยบุคคล ต่อไปก็ เป็นมัชฌัตต บคุ คล ส่วนเวรีบุคคลนั้นต้องเอาไว้เป็นข้ันสดุ ท้าย เพราะขณะที่ทำการแผไ่ ปในเวรีบุคคลอยู่นั้น โทสะ มักจะเกิด ส่วนเมตตาไม่ใคร่จะมีโอกาสเกิดได้ ดังนั้น ผู้ปฏิบัติจึงต้องหาทางทำการอบรมจิตใจให้ดี โดยคำนึงถึงว่าการท่ีจะไปสู่อบายภูมินั้น หาใช่ไปด้วยอำนาจของเวรีบุคคลไม่หากแต่ไปด้วยอำนาจ โทสะ โกธะ ของตนตา่ งหาก ฉะนั้น เมื่อจะค้นหาศัตรูท่ีแท้จริงแล้วก็ได้แก่ โทสะ โกธะของตนน้ีเอง หา ใช่เป็นเวรีบุคคลไม่ แล้วก็นึกถึงอานิสงส์ผลที่เกิดจากขันติ เมตตาอโทสะที่สัปบุรุษได้สร้างสมไว้เป็น สักขีพยาน แล้วก็ทำการแผ่ต่อไป ถ้ายังไม่หายโกรธ ก็ต้องพิจารณาตาม อนมตัคคสังยุตต์๕๘ ที่พระ พุทธองค์ทรงแสดงไว้ว่า น โส ภิกฺขเว สตฺโต สุลภรูโปโย น มาตา ภูตปุพฺโพ, โย น ปิตา ภูตปุพฺโพ, โย น ภาตา ภูตปุพฺโพ, โย น ภคินี ภูตปพุ ฺโพ, โย น ปตุ ฺโต ภูตปุพโฺ พ, โย น ธตี า ภูตปพุ ฺโพ ฯ แปลว่า ท่านท้ังหลาย ผู้ใดไม่เคยเป็นมารดาบิดา ของตน ไม่เคยเป็นพ่ีน้องของตน ไม่เคยเป็ นบุตรธิดาของตน บุคคลที่เป็นดังน้ีหามิได้ ฉะนั้น เวรีบุคคลน้ีก็เคยเก่ียวพันกันกับเรามาแล้วแต่ชาติ ก่อน ๆ ไม่ควรท่ีเราจะไปถือโทษโกรธเคือง แล้วก็ทำการแผ่เมตตาไป เม่ือได้พยายามพิจารณาตามวิธี ต่าง ๆ ท่ีจะให้เมตตาเกิดต่อเวรีบุคคล แต่เมตตาก็ไม่เกิด มีแต่โทสะอันเป็นศัตรูของการที่จะได้ฌาน ดังน้ี จงหยุดแผ่ไปในเวรีบุคคลน้ันเสีย วางใจเป็นอารัมมณุเบกขาต่อเวรีบุคคล โดยคิดเสียว่าบุคคลน้ี ไม่ได้อยู่ในโลกน้ี แล้วปลีกตัวไปอย่าให้ได้พบเห็น ทำการแผ่ต่อไปแต่ในปิยบุคคลและมัชฌัตตบุคคล ท่ัวไป จนกระทั่งเมตตาเกิดต่อบุคคล ๒ จำพวกท่ัวไปน้ีเสมอเท่ากันกับตน สำหรับอติปิ ยบุคคลก็ สงเคราะหเ์ ข้าในปิ ยบุคคลนน้ั เอง๕๙ การที่ต้องพยายามแผ่เมตตาไปในเวรีบุคคลโดยวิธีพิจารณาต่าง ๆ นั้น เพราะประสงค์จะให้ เมตตาของตนเข้าถึงขั้น สีมสัมเภท หมายความว่า ทำลายขอบเขตของเมตตา ให้มีการเสมอกันไปใน บุคคลทุกจำพวก สำเร็จเป็น สมจิตตตา มีเมตตาจิตสม่ำเสมอท่ัวไป ไม่มีอุปสรรคใด ๆ มาขัดขวางทำ ใหไ้ ด้ฌานเร็วและต้งั ม่นั ไมเ่ สอ่ื มคลาย ค. ลกั ษณะอาการของเมตตาทเ่ี ปน็ สมี สมั เภท๖๐ สมมุติว่าบคุ คลผู้เจริญเมตตา กำลงั น่งั อยู่พร้อมกนั กับบคุ คล ๓ จำพวก คอื ปิยบุคคล ๑ มัชฌัตตบุคคล ๑ เวรีบุคคล ๑ รวมเป็น ๓ ด้วยกัน มีโจรพวกหนึ่งเข้ามาบังคับว่า เราตอ้ งการคน ๆ หน่ึง ในจำนวน ๓ คนนี้ ท่านจะให้เราจับคนไหน พระโยคกี ็ถามว่า ทา่ นตอ้ งการคน ไปทำอะไร โจรตอบว่าจะเอาไปฆ่าเพ่ือเอาโลหิตทำการบวงสรวงบูชายัญ เม่ือพระโยคีได้ประสบ เหตุการณ์คับขัน เช่นน้ี ถ้ามีจิตคิดเอนเอียงให้โจรจับคนที่เป็นศัตรู หรือ คนที่ไม่รัก ไม่ชัง หรือ คนที่ ๕๗ อา้ งแลว้ เรอ่ื งเดียวกนั , หนา้ ๑๘๓. ๕๘ อา้ งแลว้ เร่อื งเดยี ว, หน้า ๑๘๔. ๕๙ พระสัทธัมมโชตกิ ะ ธัมมาจริยะ, ปรมตั ถโชตกิ ะ ปริจเฉทท่ี ๙ เลม่ ๑ สมถกรรมฐานทีปนี,หน้า ๑๘๔. ๖๐ อ้างแล้ว เรือ่ งเดียวกนั , หน้า ๑๘๕.

๑๔๐ รักไปคนใดคนหนึ่ง อย่างน้ีไม่เรียกว่าสำเร็จในสีมสัมเภท แม้ที่สุดจะมีจิตคิดให้คนทั้ง ๓ พ้นอันตราย ตนเองยอมรับเคราะหแ์ ทนก็ตามที ก็ยงั ไมน่ บั ว่าสำเรจ็ ในสีมสมั เภทอยนู่ นั้ เอง เพราะเป็นเมตตาทยี่ ังมี ขอบเขต ต่อเม่ือผู้ปฏิบัติมีจิตเสมอภาคทั่วไปในระหว่างคนท้ัง ๓ และ ตนเอง ชี้ลงไปไม่ได้ว่าจะให้จับ ใครเชน่ น้แี ล้ว จงึ จะกลา่ วไดว้ ่าสำเรจ็ ในสีมสัมเภท ดังนั้น ในวิสุทธิมรรคอรรถกถา๖๑ แสดงว่า ๑. อตตฺ นิ หิตมชฺฌตเฺ ต อหเิ ต จ จตุพฺพิเธ ยทา ปสฺสติ นานตฺตํ หิตจิตโฺ ตว ปาณินํ ๒. น นกิ ามลาภี เมตตฺ าย กุสลีติ ปวจุ ฺจติ ยทา จตสฺโส สีมาโย สมฺภนิ ฺนา โหนฺติ ภกิ ฺขุโน ๓. สมํ ผรติ เมตตฺ าย สพพฺ โลกํ สเทวกํ มหาวิเสโส ปรุ ิเมน ยสฺส สีมา น นายติ๖๒ฯ ความว่า เม่ือใดผู้ปฏิบัติเห็นความแตกต่างในบุคคล ๔ พวก คือ ตน ๑ ปิยบุคคล ๑ มัชฌัตต บุคคล ๑ เวรีบุคคล ๑ เวลาน้ัน ท่านย่อมกล่าวว่าเป็นแต่เพียงมีจิตปรารถนาดีมุ่งประโยชน์ต่อสัตว์ ทง้ั หลาย แต่ยังกลา่ วไมไ่ ด้วา่ เป็นผูม้ ีเมตตาจิตเกิดได้ตามความพอใจของตน และชำนชิ ำนาญในการแผ่ เมตตา เวลาใดเมตตาท้ัง ๔ ของบุคคลเสมอกันไม่มีขอบเขต ย่อมแผ่เมตตาไปในสัตว์ท้ังหลายทั่วโลก พร้อมทั้งเทวดา พรหม ได้อย่างสม่ำเสมอ ขอบเขตของเมตตาของบุคคลนั้นจึงไม่ปรากฏเห็นได้ เวลา นั้น บุคคลนั้น เปน็ ผูว้ ิเศษยิ่งใหญ่กว่าภิกษุก่อนที่ยังไมส่ ำเรจ็ เมตตาสมี สัมเภท๖๓ สำหรับเมตตาของบคุ คลทม่ี ีอารมั มณเุ บกขาในเวรีบุคคล ที่สำเรจ็ เป็นสมี สมั เภทน้ัน ก็ต่อเมือ่ เมตตาได้เกดิ ขน้ึ มที ่ัวไปใน ปยิ บุคคล มัชฌัตตบุคคล เสมอกับตนเวลาใด เวลาน้ันกเ็ ป็นอันวา่ ไดส้ ำเรจ็ เมตตาทีเ่ ปน็ สมี สัมเภทเพราะว่า จิตใจของผ้ปู ฏิบัติท่วี างเฉยในเวรีบุคคลอยนู่ นั้ เท่ากบั เวรบี ุคคลนั้นได้ ละโลกไปแล้ว๖๔ การแผ่เมตตาโดยนัยท่ีได้กล่าวแล้วนี้ เป็นไปในบุคคลที่เข้ามาเก่ียวข้องกับจิตของตนโดยตรง ทำให้เมตตาเกิดข้ึนได้ง่าย แต่เป็นการยากลำบากสำหรับผู้ทำการแผ่ เพราะวิธีแผ่แบบน้ี มิใช่แบบ บริกรรมท่องจำ แต่จะต้องระลึกถึงให้เห็นด้วยใจของตน แล้วจึงจะแผ่ไป ดังน้ัน จิตของผู้แผ่จะต้อง ประกอบด้วย ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ม่ันคง จึงจะทำการแผ่ตามหลักนี้ได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ เจริญเมตตาจะต้องทำการแผ่เมตตาหลักน้ีก่อน จนกว่าจะได้สำเร็จเป็นสีมสัมเภท จากน้ันจึงจะใช้วิธี แผต่ ามแบบบรกิ รรมท่องจำแผไ่ ปโดยส่วนรวม๖๕ แบบบริกรรมท่องจำแผ่เมตตา ทั่วไป อยา่ งสามัญน้ัน ว่าโดยอาการแหง่ เมตตา มี ๔ อย่างว่า โดยบุคคลท่ไี ด้รับการแผ่มี ๑๒ จำพวก อาการแหง่ เมตตา มี ๔ อย่างนัน้ คือ อเวรา โหนตฺ ุ เป็นต้น บคุ คลท่ีไดร้ บั การแผ่ ๑๒ จำพวกนนั้ คอื อโนทิสบุคคล (บคุ คลท่วั ไปมิไดเ้ จาะจง) มี ๕ พวก โอทสิ บคุ คล (บุคคลทเี่ จาะจง) มี ๗ จำพวก อโนทสิ บคุ คล ๕ จำพวก ไดแ้ ก่ ๑. สพเฺ พ สตฺตา สัตวท์ งั้ หลาย ๒. สพฺเพ ปาณา สตั วท์ ่ีมชี วี ติ ท้ังหลาย ๓. สพฺเพ ภูตา สตัวท์ ่ีปรากฏชดั ทงั้ หลาย ๔. สพเฺ พ ปุคฺคลา บุคคลทัง้ หลาย ๖๑ อ้างแล้ว เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๑๘๕. ๖๒ อ้างแลว้ เร่ืองเดยี วกัน, หน้า ๑๘๕. ๖๓ อา้ งแลว้ เร่อื งเดียวกนั , หน้า ๑๘๖. ๖๔ อา้ งแลว้ เรื่องเดยี วกนั , หน้า ๑๘๘. ๖๕ พระสัทธมั มโชตกิ ะ ธัมมาจรยิ ะ, ปรมัตถโชตกิ ะ ปรจิ เฉทท่ี ๙ เลม่ ๑ สมถกรรมฐานทปี นี,หนา้ ๑๘๘.

๑๔๑ ๕. สพฺเพ อตฺตภาวปริยาปนฺนา สตั วท์ ่มี ีอัตภาพท้ังหลาย๖๖ โอทสิ บุคคล ๗ จำพวก ไดแ้ ก่ ๑. สพเฺ พ อติ ฺถิโย หญิงท้ังหลาย ๒. สพฺเพ ปุริสา ชายทัง้ หลาย ๓. สพเฺ พ อริยา พระอริยบุคคลท้ังหลาย ๔. สพเฺ พ อนรยิ า ปุถชุ นท้งั หลาย ๕. สพเฺ พ เทวา เทวดาทง้ั หลาย ๖. สพเฺ พ มนสุ ฺสา มนษุ ย์ท้ังหลาย ๗. สพฺเพ วินิปาติกา พวกวินิปาติกอสรุ าทั้งหลาย๖๗ ว่าโดย ทิศที่จะทำการแผ่ไป มี ๑๐ ทศิ คือ ๑. ปุรตถฺ มิ าย ทิสาย ทศิ ตะวันออก ๒. ปจฉฺ ิมาย ทิสาย ทิศตะวนั ตก ๓. อตุ ฺตราย ทิสาย ทิศตะเหนือ ๔. ทกขฺ ณิ าย ทสิ าย ทิศใต้ ๕. ปรุ ตฺถิมาย อนุทสิ าย ทิศตะวันออกเฉยี งใต้ ๖. ปจฺฉิมาย อนทุ สิ าย ทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ ๗. อุตฺตราย อนทุ สิ าย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ๘. ทกขฺ ณิ าย อนุทิสาย ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ๙. เหฏฺฐมิ าย ทิสาย ทศิ เบ้ืองล่าง ๑๐. อปุ ริมาย ทสิ าย ทศิ เบ้ืองบน๖๘ ฆ. นมิ ิต ๓ กับ ภาวนา ๓ ในการเจริญเมตตา๖๙ ต้งั แตก่ ารแผเ่ มตตาให้กบั ตนเอง จนถึงเวรบี ุคคล เรียกวา่ บริกรรมนมิ ิต เม่ือเมตตา จติ เกดิ มีทั่วไปในบุคคลทั้ง ๓ จำพวก แตย่ ังไม่เขา้ ถงึ ขนั้ สมี สัมเภท เรียกว่า อุคคหนมิ ิต และปฏภิ าค นิมติ เป็นไปโดยอ้อม เพราะเป็นกมั มฏั ฐานทใี่ ชใ้ จอย่างเดียว มไิ ด้อาศัยการเห็น การกระทบ ทำการ เจริญดงั น้ัน อคุ คหนมิ ิต และปฏิภาคนิมิต จงึ ไม่มโี ดยตรง ในขณะท่ีนึกบริกรรมด้วยใจวา่ อเวโร โหมิ หรือ อเวโร โหตุ หรอื อเวรา โหนฺตุ เป็นตน้ ไปใน อัตตะปิยะมัชฌัตตะ เวรีบุคคล อยู่น้ัน เรียกว่า บริกรรมภาวนา การแผ่เมตตาในระหว่างท่ีได้อุคคห นิมิต และ ปฏิภาคนมิ ติ น้ัน เรียกวา่ อปุ จารภาวนา เม่ือรปู ฌานเกิด เรียกวา่ อัปปนาภาวนา๗๐ ๗.๔.๕ อานิสงสข์ องการเจริญเมตตา อานิสงสท์ ไี่ ด้รบั จากการแผ่เมตตา มี ๑๑ อยา่ ง คือ ๑. สขุ ํ สปุ ติ นอนหลบั สบายคลา้ ยเข้าสมาบตั ิ ๒. สุขํ ปฏพิ ุชฺฌติ เมอ่ื ต่นื กส็ บายคล้ายกบั ออกจากสมาบัติ ๖๖ อ้างแล้ว เรอ่ื งเดยี วกัน, หน้า ๑๘๖. ๖๗ อา้ งแลว้ เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๑๘๗. ๖๘ พระสทั ธัมมโชตกิ ะ ธมั มาจริยะ, ปรมตั ถโชติกะ ปริจเฉทท่ี ๙ เลม่ ๑ สมถกรรมฐานทีปนี,หนา้ ๑๘๖. ๖๙ อ้างแล้ว เรอ่ื งเดยี วกนั , หนา้ ๑๘๙. ๗๐ อ้างแล้ว เรอื่ งเดียวกัน, หน้า ๑๙๐.

๑๔๒ ๓. น ปาปกํ สปุ นิ ํ ปสสฺ ติ ไมผ่ ันเหน็ สิง่ ทีช่ ่ัว และ เร่อื งทนี่ ่าเกลียดนา่ กลวั ผนั เหน็ แต่สิง่ ที่ดที ีน่ ่าปลืม้ ใจ ๔. มนสุ ฺสานํ ปโิ ย โหติ เปน็ ท่ีรักของคนทั้งหลาย ๕. อมนสุ สฺ านํ ปโิ ย โหติ เปน็ ทีร่ กั ของอมนุษย์ท้งั หลายมีเทวดาเป็นต้น ๖. เทวตา รกฺขนตฺ ิ เทวดาย่อมรกั ษา ๗. นาสฺส อคฺคิ วา วสิ ํ วา สตถฺ ํ วา กมติ ไฟ หรือ ยาพิษ หรือ ศาสตราวุธ ต่างๆ ทำร้ายไม่ได้ ๘. ตุวฏํสุ จติ ฺตํ สมาธยิ ติ มจี ิตสงบไดเ้ รว็ ๙. มุขวณฺโณ วิปฺปสที ติ มีหนา้ ตาผอ่ งใส ๑๐. อสมฺมฬุ ฺโห กาลํ กโรติ เม่ือเวลาตายจติ ไม่ฟันเฟอื น ๑๑. อตุ ฺตริ มปปฺ ฏิวชิ ฌฺ นโฺ ต พรฺ หมฺ โลกปุ โค โหติ แม้ว่ายังไม่ได้บรรลุมรรค ผลอันประเสริฐในภพน้ีก็ตาม ถ้าได้รูปฌาน ก็จกั ไปบงั เกิดในพรหมโลก๗๑ สรุปท้ายบท เมื่อผู้ปฏิบัติทำตามหลักการดังกล่าวนี้แล้ว ต่อไปก็กำหนดสติระลึกรู้เมตตาไปในกาย เวทนา จิตและธรรม ซ่ึงเป็นบาทฐานในการปฏิบัตวิ ปิ ัสสนาภาวนาตามหลักสติปัฏฐาน สำหรบั แนวทางปฏบิ ัติ ในการวิปัสสนากรรมฐานเพื่อให้เกิดสติปัญญาน้ัน ครูบาอาจารย์ผู้อบรมส่ังสอนด้านวิปัสสนา กรรมฐานหรือแบบ “ธุดงคกรรมฐาน” ที่ถือปฏิบัติกันมา นิยมใช้อุบายของ “อารักขกรรมฐาน” พทุ ธานสุ ติ ระลึกสรรเสริญในพระกรุณาธิคณุ ของพระพุทธเจ้า,อสุภกรรมฐาน ระลึกถึงรูปกายซงึ่ เป็น ส่ิงปฏิกูล น่าเกลียด โสโครก, การเจริญเมตตา ระลึกให้สัตว์บุคคลอ่ืนให้พ้นทุกข์อยู่ในสุขติ ไม่ เบยี ดเบียนกนั , มรณสั สติ ระลกึ ถงึ ความไมเ่ ทย่ี ง เป็นทกุ ข์ ไมใ่ ช่ตนเอง ซงึ่ ตายได้ อยา่ ประมาท หลักการปฏิบัติสมาธิหรือวิปัสสนากรรมฐานดังกล่าวข้างต้นนั้น เป็นไปตามหลักธรรมของ สมเด็จองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกประการ โดยแฝงด้วยนัยประสงค์ที่จะดับทุกข์ มีพ้ืนฐานการ ปฏิบัติธรรมตามแนวทางอริยมรรคแห่งไตรสิกขาด้วยการเจริญศีล ๕ เจริญสมาธิ และเจริญปัญญา ตามลำดับ พร้อมน้อมนำหลกั ธรรมอ่นื ๆ มาเปน็ เครอื่ งมือพิจาณาสภาวธรรม เช่น สามัญลักษณะของ สรรพส่ิงในเอกภพนี้ อยู่ใต้อำนาจการเกิดดับแห่ง พระไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือ ความไม่เท่ียง ความเป็นทุกข์ และความไมใ่ ช่ตัวไม่ใช่ตน ซ่ึงอยู่ภายใต้กฎแห่งธรรมชาตทิ ่ีว่า “สิ่งใดสิ่ง หน่ึงมีเกิดข้นึ เป็นธรรมดา ส่ิงนั้นมคี วามดับไปเปน็ ธรรมดา” เพื่อให้จิตสงบในความว่างเปล่าในที่สุด ซ่ึงจะเหลือเพียงดวงจิตท่ีบริสุทธ์ิสมบูรณ์ ซึ่งเป็นอริยทรัพย์ในทุกภพทุกชาติ หรือพ้นทุกข์ อวิชชา ตัณหา และ อุปาทาน ท้ังปวง หรือหมดจากสังสารจักร คือ วงจรกิเลส วงจรกรรม และวงจรวิบาก เข้าสสู่ มั ฤทธิผลแห่งเส้นทาง มรรค ผล นพิ พาน ในทีส่ ุดของชวี ิต ๗๑ อา้ งแล้ว เร่ืองเดียวกนั , หนา้ ๑๙๐.

๑๔๓ คำถามท้ายบท ๑.กัมมัฏฐานในทางพระพทุ ธศาสนา มชี ่อื เรยี กอยา่ งอืน่ หรือไม่ ถา้ มี เรยี กช่ือวา่ อะไร เพราะเหตอุ ะไรฯ ๒.การน้อมนำพระพุทธคุณท้ัง ๙ บทบริกรรม มชี อ่ื เรยี กวา่ อะไร และมวี ธิ กี ารเจรญิ อยา่ งไรฯ ๓.การทำภาวนาพระพทุ ธคุณเพยี งบทใดบทหน่ึง เรียกวา่ พุทธานุสตไิ ด้หรือไม่ เพราะอะไรฯ ๔.ในพระไตรปิฎกได้กล่าวอานิสงสข์ องการเจรญิ พุทธานุสติอย่างไรฯ ๕.คำว่า “เจริญอสุภากัมมฏั ฐาน” มีความหมายและมวี ธิ กี ารเจริญอยา่ งไรฯ ๖.การเจริญอุทธุมาตกอสุภกัมมฏั ฐาน ตอ้ งใช้อะไรเป็นส่ือและใช้สำหรบั คนประเภทไหนฯ ๗.ในพระไตรปฎิ กได้กล่าวอานิสงส์ของการเจรญิ อุทธุมาตกอสภุ กัมมัฏฐานอย่างไรฯ ๘.การระลกึ นกึ ความตาย “เรียกว่ามรณานุสสต”ิ หมายความวา่ อย่างไร และมวี ิธกี ารปฏบิ ัตอิ ย่างไรฯ ๙.จองอธิบาย “การเจริญมรณานุสสต”ิ มีวธิ กี ารเจริญอย่างไรฯ ๑๐.ในพระไตรปฎิ กได้กลา่ วอานิสงสข์ องการเจริญมรณานสุ สตอิ ยา่ งไรฯ