Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา

การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา

Description: การบริหารจิต หมาย ถึง การบำรุงรักษาจิตให้เข้มแข็งผ่องใสบริสุทธิ์ ซึ่งต่างกับการบริหารกาย เพราะการบริหารกายต้องทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอยู่เสมอแต่การบริหารจิต จะต้องฝึกฝนให้จิตสงบนิ่งอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งการฝึกจิตให้สงบ คือการทำสมาธินั่นเอง

Keywords: การสอนการบริหารจิต เจริญปัญญา

Search

Read the Text Version

๑๙๓ นอกจากนน้ั ยงั ไดใ้ ห้ความสำคญั เกีย่ วกบั ìปราณî ซ่งึ เปรยี บเสมอื นพลงั งานแหง่ ชวี ิตที่มีอยูใ่ น อากาศ และเปน็ สาเหตุให้เกิดชีวิตต่างๆ ขนึ้ กลา่ วได้วา่ ปราณ คอื ปัญญาอันลึกท่ีสดุ ของธรรมชาติ ตามหลักของโยคะน้ันเช่ือว่า ปราณกับจิตมีความสัมพันธ์สนิทแนบแน่นอุปมาด่ังความสำคัญ ระหว่างม้ากับคนข่ี ดังนั้นการฝึกหะธะโยคะ วิชาการสูดลมปราณอย่างมีระเบียบแบบแผนตามศัพท์ โยคะทเ่ี รียกว่า ปราณยาม น้นั เปน็ รากฐานท่ีสำคญั ที่สุด ปราณเปน็ เครื่องหลอ่ เล้ียงปอดและหลอ่ เล้ียง รา่ งกายทกุ สว่ นของมนษุ ย์ ถ้ารา่ งกายไมส่ ามารถสูดปราณเข้าไปได้ กเ็ ทา่ กับว่ารา่ งกายนนั้ ขาดชีวิต สรปุ ได้ส้ันๆ ก็คือ หะธะโยคะ เปน็ วชิ าท่ีสอนให้มนษุ ย์ร้จู กั พลงั ธรรมชาติในรา่ งกายและฝึกหัด อบรมใหม้ นุษยร์ ูจ้ กั บงั คับพลังธรรมชาตนิ ้นั เพ่อื สุขภาพของกายและจติ ของมนุษย์๖ ๒. การฝึกสมาธแิ บบผอ่ นคลายรา่ งกาย โดยไมต่ ้องเคล่อื นไหวร่างกายขณะทีฝ่ ึกสมาธิ รูปแบบการฝึกสมาธิด้วยการผ่อนคลายร่างกาย โดยไม่ต้องเคลื่อนไหวร่างกายในขณะท่ีฝึก สมาธิอยู่นั้น เปน็ การฝึกสมาธิที่เน้นการพัฒนาทางด้านจติ ใจโดยตรง คือการฝึกใจให้จดจอ่ อยู่กับสิ่งใด สิ่งหนึ่งตลอดเวลาในขณะที่ฝึกอยู่ ซ่ึงการฝึกสมาธิกระทำได้หลายวิธี วิธีการต่าง ๆ เหล่านี้มีส่วนท่ี ตรงกันคือการน่ังตัวตรง จะนั่งขัดสมาธิหรือนั่งพับเพียบหรือนั่งบนเก้าอ้ีปล่อยเท้าห้อยมาแตะพื้นก็ได้ วางมือทั้งสองขา้ งบนตักซ้อนกันตามสบาย จะลืมตาหรือหลับตาก็ได้แต่สว่ นใหญ่ให้หลับตาพอปดิ สนิท น่ังในที่เงียบๆ ไม่มีเสียงหรือส่ิงหน่ึงส่ิงใดรบกวน๗ และในท่ีน้ีจะขอยกรูปแบบการฝึกสมาธิกำลังนิยม ปฏบิ ตั ิกันมากในปัจจบุ ัน ดังนี้ ๒.๑ สมาธแิ บบ TM ในการทำจติ ใหเ้ ป็นสมาธิ เราอาจใสใ่ จกบั เสียงในมโนภาพแทนการใส่ใจท่ีลมหายใจเข้าออกก็ ได้ วิธีใส่ใจกบั เสยี งในมโนภาพได้มผี ู้นำไปเผยแพรใ่ นประเทศตะวันตกในรอบ ๒๐ ปที ผ่ี ่านมาและเปน็ ที่นยิ มกนั อยา่ งกวา้ งขวาง วธิ นี ีเ้ ปน็ ที่รู้จกั กนั ทัว่ ไปในชอื่ ที.เอม็ . ( TM ย่อจาก Transcendental Meditation) เผยแพร่ในประเทศตะวันตกโดยมหาฤๅษี มเหศ โยคี วิธกี ารของ TM คือ การท่อง มนตรา ซ่ึงเป็นคำทม่ี เี สียง ๑ หรือ ๒ พยางค์ ใหท้ ่องซำ้ ๆ ในใจ ตามหลกั ของมหาฤๅษี มเหศโยคะ ท่ีเรียกว่า Transcendental Meditation หรือ T.M. หลกั การของ วธิ ีนก้ี ็คอื ใชว้ ิธนี ้ันสมาธทิ ำจติ ใหส้ งบนิง่ ไม่คิดอะไรเลย และหาอบุ ายให้ทำจิตใหน้ ่ิงด้วยการระลกึ ถึงคำ มนตรา (Muntra) แล้วแต่ผู้สอนจะกำหนดคำมนตราให้ การใส่ใจที่เสียงของมนตราตลอดเวลา มนตราที่ใช้กันมากในการฝึกคือ โอม แต่อาจจะใช้คำ อ่นื กไ็ ด้ เชน่ อนั โช ชลิ ลิง แม้กระทัง่ คำวา่ ต้นโพธ์ิ และ หวั โต การใสใ่ จเสียงของคำเหล่าน้ีคำใดคำหนึ่ง ซำ้ ๆ กันในใจตลอดเวลา ทำให้จิตสงบเป็นสมาธิได้๘ สำหรับผู้มาฝึกสมาธิแบบ TM คร้ังแรก เวลาถือ เป็นเร่อื งสำคัญมากที่จะต้องมาเรียนให้ครบตามเวลาท้ัง ๔ วัน เมื่อฟังการบรรยาย ผ่านการสมั ภาษณ์ ส่วนบุคคลไปแล้ว สิ่งสำคัญมากต่อไปคือ การเรียน ๔ วันติดต่อกัน นอกจากนั้นจะต้องปฏิบัติเทคนิค ทีเอม็ ทกุ วัน วนั ละ ๒ ครั้ง ๆ ละ ๑๕-๒๐ นาที อย่างสมำ่ เสมอ๙ ๖ เร่ืองเดยี วกัน, หนา้ ๘๒-๘๓. ๗ ดร.ชัยพร วชิ ชาวธุ , มูลสารจติ วทิ ยา, กรงุ เทพมหานคร : ๒๕๒๕, หน้า ๒๓๕. ๘ เร่อื งเดียวกนั , หน้า ๒๓๖. ๙ สมาคมวิทยาศาสตร์แหง่ ภมู ปิ ญั ญาสร้างสรรค์ (ประเทศไทย) แปล, เดนนสิ เดนนสิ ตนั เขียน, [๒๕๔๓] ทีเอม็ บุ๊ค (TM BOOK), กรงุ เทพมหานคร :, หน้า ๑๕๖.

๑๙๔ การเรยี นเทคนิคทีเอ็ม มีขัน้ ตอนอยู่ ๗ ขน้ั ดงั้ น้ี ๑.การบรรยายข้ันต้น ท่ีจะบอกเรอ่ื งพืน้ ฐานและโปรแกรมทีเอ็มมปี ระโยชน์อะไรบ้าง ๒.การบรรยายขนั้ เตรียมตัวเรยี น การบรรยายเก่ียวกบั การปฏิบตั เิ ทคนิคทีเอ็มเป็นการ อธิบายวา่ เทคนิคทีเอ็มน้เี รยี นอย่างไร มนั ผดิ กับเทคนิคอน่ื อย่างไร มาจากไหน สอนอยา่ งไร แล้วทำไม ตอ้ งสอนอย่างนั้น ๓.การสัมภาษณ์ส่วนตัว พอหลังจากการบรรยายข้ันท่ี ๒ แล้ว ผู้ฝึกจะพบกับครูของ โปรแกรมทีเอ็ม ทำความรู้จักกันและตอบข้อข้องใจท่ีมีวันเรียนติดต่อกัน ๔ วัน (วันละประมาณ ๒ ช่วั โมง) ๔.การสอนสว่ นตัว เปน็ การเรียนทลี ะคนกับครูทีเอม็ ผู้ซึ่งไดร้ ับการอบรมเปน็ การส่วนตัว จากทา่ นมหารชิ ี มเหช โยคี ๕.การตรวจสอบวนั แรก เป็นการพบกันเปน็ กลมุ่ ผฝู้ ึกจะได้รบั คำสอนเพม่ิ เติมและตอบ ขอ้ ข้องใจในเรอื่ งประสบการณ์พร้อมกบั พูดถึงรายละเอียดเกย่ี วกบั โปรแกรมทเี อ็ม ๖.การตรวจสอบวนั ที่ ๒ พบกันเพื่อพูดถงึ กลไกของกระบวนการเทคนิคทเี อม็ และการ ผ่อนคลายความตึงเครียด เพ่ือให้เขา้ ใจถึงประสบการณ์ในการปฏิบัติ ๗.การตรวจสอบวันท่ี ๓ พบกนั เพื่อพูดถงึ จดุ มงุ่ หมายของโปรแกรมทเี อม็ ชวี ิตเป็นอิสระ จากความเครียด ดว้ ยการใช้ประสทิ ธิภาพของจติ และกายอย่างเต็มท่ี หลังจากเร่ิมเรียนแล้ว ๑๐ วัน ผู้ฝึกต้องกลับมาพบครูเพ่ือตอบคำถามต่างๆ ท่ีไปรับบริการ จากศูนย์ทีเอ็ม การตรวจสอบจะมีการบรรยายเรื่องเทคนิคทีเอ็มท้ังหมด วิทยาศาสตร์แห่งภูมิปัญญา สรา้ งสรรค์ และการบรรยายขั้นสูง๑๐ การฝึก T.M. นี้เน้นการฝึกเป็นประจำด้วยศรทั ธาและความตง้ั ใจจริงต่อหลักการและวิธีการ น้ัน ๆ๑๑ เมื่อทำได้อยา่ งสม่ำเสมอแล้ว การฝกึ สมาธิกจ็ ะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผ้ฝู กึ ใหด้ ีขน้ึ อย่าง มาก ๒.๓ สมาธิแบบโยคะ การฝึกสมาธิแบบโยคะ เปน็ การฝกึ โยคะทนี่ อกเหนอื ไปจากการออกกำลังกายดว้ ยหะธะโยคะ แล้ว กย็ ังมกี ารฝึกสมาธิโดยการน่ังสมาธิ เพื่อทำให้จิตสงบ และมงุ่ เน้นให้เกิดพลังจิตที่สามารถไปปลุก จักรทัง้ ๗ สำหรับจักรหรอื ฐานน้ัน เป็นศนู ยร์ วมระบบประสาท ในการประสานงาน และคอยบังคับการ ทำหนา้ ทีข่ องอวยั วะทุกส่วนในรา่ งกาย ตลอดถึงความคดิ และอารมณ์ จักรทง้ั ๗ มีดังน้ี จกั รที่ ๑ มลู ฐาน เพศชายต้งั อยปู่ ลายสดุ ของกระดกู กน้ กบ เพศหญิงตง้ั อยู่ด้านหลังปากมดลกู ลงไป จักรที่ ๒ สวาธิษฐาน ต้งั อย่สู ่วนลา่ งของไขสนั หลังคือบริเวณท้องนอ้ ยต่ำกวา่ สะดือ ๒ นิ้วมอื จกั รท่ี ๓ มณีปุระ สูงกว่าจักรท่ี ๒ เลก็ น้อย คืออยูห่ ลังสะดอื จกั รท่ี ๔ อนาทตะ ต้ังอยู่ทีห่ ัวใจในสว่ นลึกของทรวงอกตรงชอ่ งกระดูกสันหลัง จักรท่ี ๕ วสิ ุทธจ์ิ กั ร ตำแหนง่ ตรงลา่ งสดุ ของศีรษะที่มาบรรจบกบั ชอ่ งไขสันหลัง ๑๐ เรอ่ื งเดียวกนั , หนา้ ๑๕๕-๑๕๖. ๑๑ เฉก ธนะสริ ิ, สมาธกิ บั คณุ ภาพชวี ติ , พมิ พค์ ร้ังท่ี ๒, กรงุ เทพมหานคร : ๒๕๒๙, หน้า ๘๔-๘๕.

๑๙๕ จักรท่ี ๖ อาชณาจักร เปน็ จักรทส่ี ำคญั ที่สดุ คือ ต้ังอยตู่ รงระหวา่ ควิ้ เหนือจมกู (เปน็ ตาที่ ๓) จักรท่ี ๗ สหัสสสาร ตัง้ อยบู่ นกระหม่อมเป็นทต่ี ัง้ ของต่อม pineal ระหว่างจักรท่ี ๗ และจักร์ท่ี ๑ ยังมีช่องทางเดินของพลังจิตและพลังชีวิตขนาดใหญ่อยู่ ๓ ช่องทาง เรียกว่า อิหะ (iha) ทำหน้าที่ควบคุมด้านจิตใจ, อารมณ์ปิงคละ ทำหน้าท่ีควบคุมอวัยวะ ทงั้ หมดและสษุ มุ ณะ (Sushum na) เป็นชอ่ งทางเชื่อมระหวา่ งจักร์ที่ ๑ ถงึ ท่ี ๗ จากช่องทางพลังชวี ติ ๑๒ ๓ ชอ่ งใหญ่ แล้วยงั มสี ายโยงใยออกไป เพอ่ื นำพลงั ชวี ิต คอื ปราณะ ออกไปเลย้ี งส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย ๙.๕ หลกั การฝกึ สมาธแิ บบโยคะ ๙.๕.๑ วิธปี ลุกพลัง (มนตราโยคะ) จะต้องทำความสะอาดทั้งร่างกายและจิตใจก่อนโดยการทำปราณะ คือ การหายใจและ ควบคุมการหายใจให้ถูกวิธีทำจิตให้บริสุทธ์ิ ปราศจากเครื่องเศร้าหมองทั้งหลาย ทำโยคะอาสนะ รับประทานอาหารธรรมชาติและทำสมาธิ ต่อไปจึงปลุกพลังโดยใช้เสียงครางในลำคอ ซึ่งเรียกว่า มน ตราโยคะ ดงั นี้ ระบบเสียงต่ำ จะกอ่ ใหเ้ กิดความสนั่ สะเทือนตอ่ ระบบตา่ ง ๆ ของสมองและต่อมต่าง ๆ ตลอด ถึงจักร์ท้ัง ๗ วิธีปฏิบัติง่าย ๆ ด้วยการทำจิตให้อยู่กับการหายใจ (ปาณสติ) หายใจเข้า นำพลังและสิ่ง บรสิ ทุ ธ์ิเขา้ ไป หายใจออกนำส่ิงสกปรกออกมา ต่อไปให้ทอ่ งคาถาประจำจักรต่าง ๆ ดงั นี้ จกั รที่ ๑ ชรงิ ค์ (SRING) จกั รที่ ๒ ฮรงิ ค์ (HRING) จักรที่ ๓ คลิงค์ (KLING) จกั รท่ี ๔ บรงิ ค์ (BHRING) จักรท่ี ๕ สรงิ ค์ (LRING) จกั รที่ ๖ โซโฮม (SOHAM) จกั รที่ ๗ พัวรนำ (PURNAM) โดยให้หายเขา้ ขณะทห่ี ายใจออกใหเ้ ปลง่ เสยี งออกมา แล้วทำจิตลงไปส่ทู ่ีตัง้ ของจกั รต่าง ๆ ฐานละ ๗ ครั้ง รวมทง้ั หมด ๔๙ ครั้ง อีกวิธีหน่ึงโดยหายใจเข้าและทำจิตให้มั่นส่งพลังจิตโดยควบคุมหายใจเข้าจากฐานที่ ๑ ขึ้นสู่ ฐานที่ ๗ ทั้งน้ีเพ่ือขจัดส่ิงขัดขวางท้ังหลายในช่องทางเดินของพลังชีวิตและให้พลังชีวิตผ่านชีวิตผ่าน ฐานต่าง ๆ จากเบือ้ งลา่ งสู่ (ฐานท่ี ๑) ถึงเบ้ืองบนคือฐานท่ี ๗ ส่วนการหายใจเข้าและหายใจออก ขอให้หายใจเป็นจังหวะ น่ิมนวลเสมือนหน่ึงความ เคล่อื นไหวของคลื่น ซ่ึงมเี ทคนิคการหายใจ มจี งั หวะดังน้ี เข้า : หยดุ : ออก : หยดุ = ๒ : ๑ : ๔ : ๑ ๑๒ ชอ่ งพลังชีวติ นที้ างโยคะเรยี กวา่ กณุ ทาลนี ี (Kuntalini) ภาษาองั กฤษ เรยี กวา่ Meridian ญ่ีปุน่ เรยี กว่า กิ (Ki) จนี เรียกวา่ ซี (Chi) มีความหมายตรงกนั คือช่องทางเดนิ ของปราณะ

๑๙๖ ๙.๕.๒ การทำสมาธขิ ณะพัก (นอนพกั ) การทำสมาธิขณะพักให้มีการพักและผ่อนคลายจากความเครียดและเม่ือยท้ังปวง การผ่อน คลายรา่ งกายทกุ สว่ นท้ัง ภายนอกและอวัยวะภายในในเวลาเดยี วกัน ลมหายใจก็จะละเอียด ในขณะที่ นอนพักอยู่จะ รู้สึกว่า ร่างกายเบาและสบายขึ้น ลืมความคิดต่างๆ ทั้งอดีตและอนาคตโดยเฉพาะ ความคิดที่ทำให้เศร้าหมอง ให้พักในท่าน้ีประมาณ ๕-๑๐ นาที เสร็จแล้วก็ให้ค่อยนอนตะแคงขวา ซ้าย แลว้ ค่อยๆ ลุกขึ้นนัง่ ขณะท่ีฝกึ โยคะอาสนะอยู่จะมีความคดิ ทั้งทางบวกและทางลบ อดีตผ่านไปแล้ว อนาคตยังมา ไม่ถงึ ขอให้คดิ แต่ปจั จุบนั ภายในตัวท่าน การปฏิบตั ไิ ด้ดงั กล่าวนี้ช่วยใหส้ ติและอารมณ์มน่ั คง๑๓ ๙.๕.๓ การปฏบิ ตั ิสมาธิ คำท่ีใช้ภาวนาคือ โซ (So) หมายถึงเขา มัน หรือนั้น (He, It or That) และฮัม (Ham) หมายถงึ ฉันเป็น (I am) ดงั นั้นคำว่า โซฮมั (Soham) กเ็ ปน็ คำหมายถงึ ìเขากับฉันî ขณะหายใจเข้าจะ มีเสียงโซ และเมื่อหายใจออกจะมีเสียงต่ำ คือ ซือ เมื่อสนธิเข้าด้วยกันระหว่าง โซ+ฮัม = โชม หรือ โอม การภาวนาเร่มิ ตน้ ดว้ ยการนน่ั ขดั สมาธิ พิจารณาลมหายใจชัว่ ครู่ ขณะหายใจออกเปล่งเสียง โซ (So) เบา ๆ ขณะหายใจเขา้ เปล่งเสยี งฮัม (Ham) โอ-อม-โอ-อม-โอ รวม ๗ รอบ โดยแต่ละรอบจะ คำอธิษฐานให้ชีวติ และจิตวิญญาณบรสิ ทุ ธขิ นึ้ คือ เป็นการสร้างความคิดเชิงบวกใหแ้ ก่ตนเอง ตวั อย่างการภาวนา ๑ รอบ คือ ข้าสะอาด...ขา้ สนกุ ...ขา้ สบาย ขา้ ปลอดภยั ...ขา้ ไม่เจ็บปวด...ข้าปลอดจากกระทำผิด โอ-อม-โอ-อม-โอ-อมî สรุปได้วา่ การทำสมาธิแบบโยคะนั้น มุง่ เน้นความเป็นหน่ึงเดยี วของร่างกายกับจติ ใจ โดย วิธีการฝกึ จะมหี ลักทว่ี ่า ให้ร่างกายและจิตใจผอ่ นคลายมากทส่ี ดุ แล้วให้ลมหายใจเป็นส่ือกลางในการ ทำสมาธิควบคกู่ ับการภาวนามนตรา เพ่ือให้จติ สงบและมคี วามบริสทุ ธิ์ ๙.๕.๔ สมาธแิ บบธิเบต๑๔ การฝึกสมาธิตามแบบธิเบต นอกจากต้องการจิตใจที่บริสุทธิ์แล้ว ยังต้องการอำนาจจิตด้วย รูปแบบการฝึกจึงมุ่งเพ่งความคิดให้แน่วแน่ลงไปในสิ่งเดียว หากสามารถรวมพลังจิตทำนองเดียวกับ การรวมแสงอาทติ ย์ จะทำใหไ้ ดพ้ ลังจิตอยา่ งมหาศาล๑๕ การปฏบิ ัติสมาธิจะต้องหลอมรวมร่างกาย ความคิด และประสาทสัมผัสเข้าด้วยกัน ด้วยดวง จติ ทม่ี สี ตคิ วบคุมจดจ่อ เปน็ อารมณ์เดยี ว และจะต้องดำเนินการตามขัน้ ตอนให้ครบถว้ น จึงจะบงั เกดิ ผลข้นึ มาไดใ้ นเวลาอันควร การปฏบิ ตั ทิ กุ ขน้ั ตอนจะตอ้ งไม่รบี รอ้ น ใหท้ ำแบบช้า ๆ เพื่อให้ท้งั ร่างกาย ๑๓ พรี ะ บญุ จรงิ , โยคะชำระโรค, พิมพค์ รั้งท่ี ๒, ราชบรุ ี, ๒๕๔๑ หนา้ ๑๖-๑๘. ๑๔ เกรียงศกั ด์ิ จรณั ยานนท์ แปล-เรยี บเรียง, สมาธแิ บบธิเบต, พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๓, กรุงเทพมหานคร : ปัญญา, ๒๕๓๔, หน้า ๙. ๑๕ เกรียงศักด์ิ จรณั ยานนท์ แปล-เรยี บเรยี ง, สมาธิแบบธิเบต, พิมพ์คร้ังที่ ๓. กรงุ เทพมหานคร : ปญั ญา, ๒๕๓๔, หนา้ ๑๐.

๑๙๗ ความคดิ และประสาทสมั ผสั สามารถผสมผสานเขา้ สู่กระบวนการได้อย่างถูกต้อง และผลทีเ่ กิดขึน้ จะ ได้ไมข่ าดตกบกพร่อง๑๖ ขั้นตอนการฝกึ สมาธิ มีดังน้ี ๑. การพกั ผอ่ น ๒. การกำหนดลมหายใจ ๓. การฝึกความสงบ ๔. การภาวนา ๕. การเพ่งกสิณ การดำเนินการปฏิบัติสมาธิ ควรปฏิบัติเรียงลำดับไป โดยก่อนเร่ิมปฏิบัติ จะให้ผู้เรียน อธิษฐานจติ เสียก่อน เพ่อื เป็นการแสดงความตัง้ ใจจริงในการปฏบิ ตั ิและต้องการใหเ้ กิดผลดีตามมาด้วย ๙.๕.๕ คำอธษิ ฐาน๑๗ ขอให้วนั น้ีและวนั ตอ่ ๆ ไป ข้าพเจา้ จะควบคมุ และกำหนดความนกึ คิดท้ังหมด ขอใหว้ ันน้แี ละวนั ต่อ ๆ ไป ขา้ พเจา้ จะควบคุมจิตปรารถนาและความนึกคิด เพื่อประโยชน์ เกิดเปน็ ความบรสิ ุทธขิ์ องดวงวิญญาณ ขอใหว้ ันน้แี ละวนั ต่อ ๆ ไป ขา้ พเจ้าจะควบคมุ มโนภาพและความนกึ คิด เพื่อประโยชน์อนั เปน็ ความสำเร็จในการปฏบิ ัติจิตของขา้ พเจ้า ๙.๕.๖ การพักผอ่ น การพักผอ่ นรา่ งกายให้เตม็ ท่ีก่อนการภาวนา คอื การนอนเหยียดแขน ขา ออกไปในทา่ ท่ีสบาย ที่สุด แต่ไม่ควรให้สบายมากถึงขนาดนอนหลับไป การตื่นขึ้นตอนเช้ามืดจะเป็นช่วงท่ีดีท่ีสุดของการ ปฏิบัติสมาธิเพราะรา่ งกายได้พักผ่อนอย่างเต็มทใ่ี นระหวา่ งการนอนหลับตลอดคนื วิธีการนอนพักของชาวธิเบต เป็นการฝึกให้สร้างมโนภาพในขณะนอนว่าในตัวของเราเป็น โรงงานอตุ สาหกรรม ซงึ่ มคี นตัวเล็กอยู่เต็มไปหมด ขณะนโ้ี รงงานนี้จะปิดกจิ การชว่ั คราว เครอ่ื งจักรจะ หยุดทำงานท้ังหมด และคนงานต้องทยอยกันออกจากโรงงาน เป็นการผ่อนคลายร่างกายที่ละส่วน ทั้งหมด โดยเริ่มจากปลายนิ้วเท้าก่อน ตลอดจนไปถึงลำตวั และศีรษะ วิธีน้ีจะทำให้ร่างกายได้รับการ พักผ่อนอย่างเต็มท่ี และจะต้องฝึกอย่างน้ีจนสามารถนอนหลับได้ทันทีเมื่อล้มตัวลงนอน ทั้งน้ีเพื่อการ พักผ่อนทแ่ี ทจ้ ริง แม้แตท่ า่ นจะมีเวลานอนหลับเพียงระยะส้ันๆ กต็ าม๑๘ ๙.๕.๗ การกำหนดลมหายใจ เป็นเทคนคิ อยา่ งหน่ึงในการปฏบิ ัตสิ มาธิ เพ่ือผ่อนคลายความเครยี ดทางจติ ใจ และเพื่อฝึก การกำหนดรู้ของสตสิ มั ปชญั ญะ การสูดลมหายใจใหล้ ึก และเปน็ จังหวะสม่ำเสมอ วิธีการคือ ให้สูดลมเข้าไปอย่างช้าๆ ให้มาก ทสี่ ุดเท่าที่จะมากได้ แล้วกล้ันลมไวภ้ ายในสัก ๒-๓ วนิ าที แลว้ ค่อยระบายลมออกอย่างชา้ ๆ ส่ิงสำคัญ ก็คือจะต้องมีสติ ตามกำหนดรู้กองลมตลอดสายคือรู้ลมเข้า รู้ลมกล้ันอยู่ภายใน และรู้ว่าลมกำลัง ๑๖ เรือ่ งเดยี วกนั , หน้า ๙. ๑๗ เร่ืองเดยี วกัน,หน้า ๑๒ ๑๘ เร่ืองเดยี วกัน, หน้า ๑๓-๑๔.

๑๙๘ ระบายออกมาให้ทำซ้ำๆ เช่นนี้หลายครั้ง จะรู้สึกว่าทั้งร่างกายและความคิด เม่ือติดตามกองลมอยู่ เสมอ จิตใจจะคอ่ ยๆ สงบลงไปได้๑๙ ๙.๕.๘ การฝกึ ความสงบ การฝึกความสงบสามารถฝึกได้ทั้งอิริยาบถนั่งหรือนอนก็ได้แต่ให้เป็นอิริยาบถที่สบาย พยายามให้ความคิดในใจหยุดนิ่งท่ีสุด มีคำพูดท่ีสอนกันต่อๆมาในธิเบตว่า Be still and Kniw within ซึ่งอาจแปลความว่า ìถ้าสงบได้จริง ๆ แล้ว จะทราบได้ว่า ตัวเราอยู่ภายในนี่เองî ในขณะท่ีฝึก ความสงบน้ีให้ละความกังวลใจออกไป แล้วจะเห็นผลภายในเวลาเพียงเดือนเดียวว่า ความรู้สึกนึกคิด พวกเราเปล่ียนไปในทางที่เข้มแข็งขึ้น และการจะให้จิตวิญญาณ พัฒนาได้เร็ว จะต้องทำความเข้าใจ กบั ความสงบใหด้ ี การพูดน้อยลงหรอื พดู เทา่ ท่ีจำเปน็ ก็เป็นสิง่ ส่งเสรมิ ในการพัฒนาจิตใจ๒๐ ในระหวา่ งข้ันตอนของการฝกึ ความสงบ หรือ ก่อนจะเลิกการอบรมมีข้อแนะนำใหร้ วบรวม สมาธจิ ิต เพ่อื แผ่เมตตาตามตัวอยา่ งดังต่อไปน้ี ๑. เร่มิ ต้นด้วยการคิดถึงความรัก ความรักท่ีมีตอ่ ตนเอง ต่อคนอื่น ตลอดจนแผ่ความรัก ไปยัง สตั วท์ ง้ั หลายอยา่ งไม่กำหนดขอบเขต เทา่ ท่ีเวลาและกำลงั สมาธิของทา่ นจะทำได้ ๒. หลังจากได้แผ่การะแสจิตระลึกถึงผู้ท่ีกำลังตกทุกข์ได้ยากทั้งหลาย โดยจะต้องต้ังใจนึกให้ เขาเหลา่ นั้นพ้นจากความทกุ ข์ เปน็ กระแสพลังทต่ี อ้ งการปลดไถ่โทษใหแ้ กส่ ตั ว์ทง้ั หลาย๒๑ ๓.เป็นการต้งั ความคดิ แผ่ความสขุ นีไ้ ปยงั สตั วท์ ้ังหลาย อนึ่งนอกจากความสขุ ท่แี ผ่ออกไปแล้ว อาจนึกยินดีกับความดีงามท่ีเกิดกับมนุษย์ท่ีปฏิบัติดีว่าเป็นเร่ืองที่ดี เรื่องท่ีน่าจะน้อมอนุโมทนา เห็น ด้วยกบั ความสขุ ความดงี ามของสตั วท์ ้ังหลายเหลา่ นัน้ ๔.เป็นการแผ่เมตตาของผู้ที่สำเรจ็ สมาธิจิต ขั้นที่เกิดความสงบ ความวิเวกในดวงจิต ใจของผู้ ที่ยกสู่ความสงบในขั้นฌาน จะปล่อยวาง ความเกลียดและความรักในระดับโลกีย์ เป็นจิตท่ียอมรับว่า ชวี ิตจะต้องเป็นไปตามกรรม กระแสเมตตาของสมาธิระดับน้ีจะเปน็ กระแสท่รี ม่ เย็น มีความแรงของจิต ท่ีแผอ่ อกไปไดก้ วา้ งขวาง๒๒ ๙.๕.๙ การภาวนา เป็นการสาธยายมนตราซ้ำๆ กันหลายคร้ัง ซึ่งคำภาวนาท่ีนิยมมีหลายคำ โดยท่านลามะ อาจารย์จะเปน็ ผู้กำหนดให้เหมาะสมกบั จรติ ของผปู้ ฏบิ ัติ ตวั อย่างคำภาวนา เช่น โอม มณีปทั เม หุม๒๓ การภาวนาเพียงสองสามครั้งจะไม่เพียงพอให้เกิดพลังจิตที่จะไปผลักดันให้ดวงจิตภายในต่ืน ข้ึนมาได้ แต่ต้องภาวนาโดยการตั้งใจจริงและทำสม่ำเสมอจะช่วยกระตุ้นให้จิตชั้นในเริ่มตื่นขึ้นมา รับรู้๒๔ บางคร้งั ก็ใช้เครื่องช่วยในการภาวนาของชาวธิเบต เป็นกงลอ้ กลมหมุนได้มีแกนกลางและหมุน ลอกรวมรอ้ ยแปดจุด เม่ือภาวนาครบหนึ่งคาบ นักปฏิบัติก็จะหมุนกงล้อไปหนึ่งครั้ง เหมือนกับการชัก ๑๙ เกรยี งศกั ด์ิ จรณั ยานนท์ แปล-เรยี บเรียง, สมาธแิ บบธเิ บต, พิมพค์ รัง้ ท่ี ๓. กรุงเทพมหานคร : ปญั ญา, ๒๕๓๔, หนา้ ๑๔-๑๕. ๒๐ เรอื่ งเดียวกัน, หน้า ๑๕-๑๖. ๒๑ เรื่องเดียวกัน, หนา้ ๑๖. ๒๒ เร่อื งเดียวกัน, หน้า ๑๗. ๒๓ เกรยี งศักดิ์ จรณั ยานนท์ แปล-เรยี บเรียง, สมาธิแบบธเิ บต, พมิ พค์ รัง้ ที่ ๓, กรุงเทพมหานคร : ปัญญา, ๒๕๓๔, หน้า ๑๘-๑๙. ๒๔ เรื่องเดยี วกัน, หน้า ๑๙.

๑๙๙ ลูกประคำของชาวฮินดู จิตจะต้องจดจ่ออยู่กับคำภาวนาและจำนวนคาบท่ี ได้ภาวนาไปแล้ว สตสิ มั ปชัญญะจะตอ้ งตืน่ อยเู่ สมอเพอื่ ไม่ให้หลงลมื จำนวนคร้งั ๒๕ ๙.๕.๑๐ การเพ่งกสณิ การเพ่งกสินของชาวธิเบต๒๖มีหลายแบบ แต่ที่นิยมมากก็คือการเพ่งแสงสว่าง ที่เรียกกันว่า อาโลกกสณิ ทั้งน้ี ครอู าจารยธ์ ิเบตสมยั ก่อนวางแนวไวใ้ หล้ ูกศษิ ย์เดนิ ตามเรียงลำดบั ขั้นไป๒๗ ขั้นแรก ผู้เขาฝึกจะต้องผ่านการสอบอารมณ์จากท่านลามะอาจารย์มาแล้ว ว่าระดับสมาธิ ก้าวเข้าสู่ขั้นกลาง (อุปจารสมาธิ) เรียบร้อยแล้ว พร้อมท่ีจะก้าวมาฝึกให้ได้สมาธิในขั้นสูง (อัปปนา สมาธิ) ดังนี้ การเพ่งดูภาพตนเองในกระจกต้องทำหลังจากการพักผ่อนสักครู่ เมื่อจิตรวมลงสู่ความสงบ ด้วยแสงไฟ ท่านั่งในอาการสงบเพ่งดูรอบศีรษะและคอของตนเอง หากจิตสงบพอจะเห็นรังสีเล็ก ๆ ตามขอบศีรษะ ลำคอ และร่างกายโดยท่ัวไป สิ่งสำคัญจะต้องใจเย็นรบี ร้อนไม่ได้ เพราะเรื่องสมาธิจิต ขึ้นอย่กู ับความต้ังในและความสม่ำเสมอในการปฏิบตั ิ๒๘ ขน้ั ท่ีสอง หลงั จากที่ได้ฝกึ เพ่งกสิณในขั้นแรกไดส้ ำเร็จ เกิดผลตามสมควรแล้ว จงึ เริม่ ตนฝกึ ขั้นตอ่ ไป การเพ่งลูกแก้วโดยที่ถูกต้องจะต้องเพ่งกสิณตลอดเวลา จนเกิดอุคคหนิมิตและปฏิภาคนิมิต สำหรับการฝึกในข้ันต้น จะฝึกสร้างดวงกสิณของลูกแก้วภายในใจก่อนเมื่อสามารถจดจำลักษณะ ลูกแก้วไดอ้ ย่างชดั เจนแลว้ สามารถสรา้ งมโนภาพจนจิตเกิดพละกำลงั พอเพียงแล้ว จงึ มาเรม่ิ ฝกึ โดยวิธี ลมื ตาดลู กู แกว้ เพ่ือใหจ้ ติ แน่วแน่เข้าสอู่ ปั ปนาสมาธิ๒๙ สรุปแล้วการฝึกสมาธิแบบธิเบต เป็นการฝึกโดยเร่ิมต้นจากความผ่อนคลายท้ังร่างกายและ จติ ใจ แล้วค่อยฝึกลมหายใจให้ยาวและลึก พรอ้ มกบั คำภาวนา เมื่อใจสงบดีแล้วก็มาฝึกเพ่งกสิณกันต่อ ซง่ึ กสนิ ทชี่ าวธิเบตนิยมทำกันมากก็คอื กสินแสงสวา่ ง และการเพ่งลูกแกว้ โดยมุ่งให้เกิดอำนาจทางจิต มี ตาทพิ ย์ เป็นตน้ ๙.๕.๑๑ สมาธิแบบเซนในปจั จบุ ัน๓๐ สมาธิแบบเซนในปัจจุบัน พุทธศาสนานิกายเซนในประเทศญ่ีปุ่น ท่ีสำคัญ มีอยู่ ๒ สาย สาย แรกคือ รินไซเซน (Rinzai Zen) ซึ่งมีปริศนาธรรมเป็นหัวใจของการปฏิบัติ ส่วนสายที่สองคือ โซโตะ เซนÝ (Soto Zen) ซงึ่ ใช้อีกวิธหี นึ่งทเ่ี รยี กวา่ ชคิ านทาซา เป็นหัวใจของการปฏบิ ตั ิ รินไซเซนในปัจจุบันใชโ้ กอานเป็นหวั ใจของการปฏบิ ัติ ซ่งึ การปฏบิ ัตนิ ้ันเมื่อนักศกึ ษาเขา้ ไปขอ กรรมฐานกับอาจารย์แล้ว อาจารย์ก็จะให้โกอานข้อท่ีหนึ่งซ่ึงก็คือ ให้ภาวนาคำว่า มู จนกว่าจะหา คำตอบได้ พอตอบได้แล้ว อาจารย์ก็จะให้โกอานข้อท่ี ๒ เราตอบได้ก็ให้ข้อที่ ๓ ข้อท่ี ๔ ข้อที่ ๕ ไป เร่ือยๆจนกว่าจะหมดโกอานในหนังสือ มูมอนคาน แล้วถือว่าจบหลักสูตร ถือได้ว่ารู้ธรรมะข้ันลึกซึ้งÝ ๒๕ เรือ่ งเดียวกัน, หนา้ ๒๐. ๒๖ การเพ่งกสินของชาวธิเบต เป็นขน้ั ตอนของการฝกึ จติ ใหเ้ กดิ ทิพยอ์ ำนาจ ควรปฏบิ ตั ภิ ายใต้การดแู ลของ ลามะอาจารย์ เพราะมีบางขั้นตอนทที่ ำใหเ้ กิดการหลงทางไดง้ ่าย ๒๗ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๐-๒๑. ๒๘ เรอ่ื งเดยี วกัน, หน้า ๒๑-๒๒. ๒๙ เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๒๒. ๓๐ ทวีวฒั น์ ปุณฑริกววิ ฒั น์, เซนกบั สังคมญ่ีปุ่น, กาญจนบรุ ,ี . ๒๕๓๑, หน้า ๔๒-๔๔.

๒๐๐ ซงึ่ ลักษณะการทำภาวนาแบบนี้คลา้ ยกบั การฝึกแบบภาวนา พทุ -โธ ของไทย แม้ว่าจะมคี วามพยายาม ที่จะหาคำตอบจากการภาวนาก็ตาม การน่ังน้ันเข้าก็นั่งน่ิง หลับตาภาวนา ดูลมหายใจ และในการดู ลมหายใจนั้นเขากก็ ำกบั คำภาวนาดว้ ย นอกจากน้ียังมีบางสำนัก คือ เรียวโคอิน ท่ีอาจารย์โคโบริ โรชิ สอนชาวต่างประเทศ ได้ ประยุกต์ใหเ้ ขา้ กับวัฒนธรรมตะวันตก คือ ขณะท่ีอาจารย์เซนคนอืน่ สอนให้ภาวนาคำว่า มู ท่านโคโบริ กส็ อนให้ชาวตะวันตกภาวนาวา่ one ทำภาวนาอยา่ งนจี้ นความรู้สึกนกึ คิดเป็นอย่างเดยี วกบั คำภาวนา ส่วนสายท่ี ๒ คือ โซโตะเซน ใช้วิธีการที่แตกต่างออกไป คือ เขาให้น่ังสมาธิ น่ังนิ่งๆ แต่ไม่ หลับตา ให้ลืมตา และไม่ต้องภาวนา ไม่ต้องดูลมหายใจ ไม่ต้องทำอะไรท้ังส้ิน นั่งเฉยๆ แล้วให้รู้สึกตัว เช่น ในขณะที่น่ังนั้นมีเสียงรถผ่านไปก็ให้รู้ ลมพัดมาต้องกายก็ให้รู้ มีอะไรเกิดข้ึนรอบกายก็ให้รู้ ให้น่ัง อย่ใู นความรับรทู้ กุ ส่ิงทุกอย่าง มสี ติ รบั รทู้ ุกสิ่งทุกอยา่ ง วธิ กี ารน้ีเรยี กว่า ชิคานทาซา สรุปสมาธิแบบเซนจะมุ่งเนน้ ความสงบทางใจโดยการน่ังนิง่ ๆ แล้วนำคำภาวนามาขบคดิ จน เกดิ ความความรูใ้ หม่ท่ีเกิดข้ึนมาพร้อมกับความสวา่ ง สงบ และความยนิ ดี ๙.๖ การฝึกสมาธติ ามแบบพทุ ธศาสนาเถรวาท ๙.๖.๑ อานาปานสติ การฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เป็นรูปแบบการฝึกสมาธิที่นิยมฝึกกันมาก ในทาง พระพุทธศาสนาเถรวาท ในท่ีนี้จักขอยกเอาการฝึกสมาธิตามแบบสายพระธุดงค์อีสาน โดยมีพระ อาจารยม์ ั่น ภูรทิ ัตตเถระ เป็นครผู ู้สอนสมาธิทีม่ ีช่ือเสียงมากในสายพระธุดงคอ์ ีสาน๓๑ ซ่ึงท่านใช้คำว่า พุท-โธ เป็นหลักในการภาวนาตามจังหวะลมหายใจเข้า-ออก นอกจากนี้ท่านยังเน้นการเดินจงกรม โดยระยะท่จี ะเดนิ ประมาณ ๕ เมตร ถึง ๑๐ เมตร มองทอดสายตาดู ไปข้างหน้าประมาณ ๔ ก้าวเพื่อไม่ให้จิตใจวอกแวก ส่วนมือซ้ายก็นำมาวางท่ีหน้า ท้องและมือขวามาวางทับ เพื่อป้องกันแขนแกว่งขณะเดิน และดูสวยงาม เมื่อได้ท่าที่พอดีแล้วก็เดิน ก้าวขาขวาไป ก็นึกคำว่า \"พุท\" และเม่ือก้าวขาซ้ายไปก็นึก คำว่า \"โธ\" เวลาเดินไม่หลับตาแต่ให้ลืมตา และกำหนดสัมผัสของเท้าที่ก้าวเหยียบลงพ้ืน เดินว่าพุทโธไปเรือ่ ย พอถึงปลายทาง เดินกห็ ยดุ นิดหนึ่ง แลว้ กห็ ันกลับดา้ นขวามอื มาทางเดิม และเดินว่าพุทโธต่อไป อยา่ เรว็ เกินไป หรอื ช้าเกินไป กำหนดจิต ของเราอยู่ท่ีกา้ วเดนิ และคำภาวนา ไมใ่ หจ้ ิตวอกแวก สิง่ สำคัญคือ การกำหนดจิตให้ทันการเคลื่อนไหว ส่วนการเดินเป็นเพียงส่วนประกอบเท่าน้ัน เราควรทำอย่างน้อย ๓๐ นาที และจะดีมากข้ึนถ้าตามด้วยการนั่งสมาธิ เพราะการเดินจงกรม เป็น การเปล่ยี น อิรยิ าบถ ปล่อยอารมณ์ และเตรยี มร่างกายใหพ้ ร้อมส่กู ารนงั่ สมาธิ ๙.๖.๒ อริ ยิ าบถนงั่ สมาธิ น่ังขัดสมาธิ เอาขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย วางลงบนตัก ต้ังกายตรง (ไม่นั่งก้มหน้า ไมน่ ่ังเงยหน้า ไม่นง่ั เอียงซ้าย ไม่เอียงขวา ไมโ่ ยกหน้า ไม่โยกหลัง) ไมก่ ดและข่มอวัยวะในร่างกาย วาง กายให้สบาย ๆ ต้ังจิตให้ตรง ลงตรงหน้า กำหนดรู้ซ่ึงจิตเฉพาะหน้า ไม่ส่งจิตให้ฟุ้งซ่าน ไปในเบื้อง ๓๑ พระธดุ งคอ์ ีสาน คือ พระภิกษุผูเ้ ป็นนักปฏบิ ตั ิธรรมอย่างเครง่ คัดในพระพุทธศาสนาเถรวาท ซึ่งท่าน มกั จะเดนิ ทางปฏบิ ตั ธิ รรมตามป่า เขาในพ้นื ท่ภี าคอสี านของประเทศไทย

๒๐๑ หนา้ -เบื้องหลัง (อนาคตและอดตี ) พึงเป็นผู้มสี ติ กำหนดจติ รวมเข้าตัง้ ไวใ้ นจิต บรกิ รรม พุทโธ จนกว่า จะเป็นเอกคั คตาจติ สรปุ การทำสมาธิแบบอานาปานสติ จะใช้วธิ เี อาสติไปอยู่ท่ีลมหายใจเข้า-ออก โดยภาวนาพทุ - โธ กำกับด้วย ส่วนนอกรอบก็ฝึกสติด้วยการเดินจงกรมพร้อมกับภาวนา พุท-โธ ไปด้วย ซึ่งผลการ ปฏบิ ัตทิ ดี่ ีกจ็ ะทำใหใ้ จสงบ มีดวงสว่าง เป็นตน้ หรือทพ่ี ระอาจารย์มัน่ มักเรียกวา่ ดวงพทุ โธ ๙.๖.๓ การบรกิ รรมยุบหนอ- พองหนอ เน้นการใช้สติปัฏฐาน ๔ ควบค่กู บั การบริกรรมยุบหนอ-พองหนอ เป็นแนวการสอนสมาธติ าม แบบปะเทศพม่า และพระธรรมธีรราชมหามุนี (พระมหาโชดก ญาณสิทธิ) เป็นผู้ไปฝึกปฏิบัติแล้ว นำมาเผยแพร่ท่ีประเทศไทย ซ่ึงท่านจัดสอนท่ีìวัดมหาธาตุฯ ซึ่งมีวิธีปฏิบัติโดยย่อว่า ให้เดินจงกรม เสียก่อนประมาณ ๓๐ นาที ถึง ๑ ช่ัวโมง โดยเน้นให้มีสติอยู่ท่ีส้นเท้าเป็นหลัก และเม่ือเดินจงกรม ครบกำหนดแล้วให้น่ังสมาธิ เอาสติไว้ที่ทอ้ งภาวนาว่า พองหนอ ยุบหนอ ประมาณ ๓๐ นาที ถงึ ๑ ชั่ง โมง ถ้านัง่ ครบกำหนดแลว้ ก็ให้ลุกข้นึ เดินจงกรมอกี และนงั่ สมาธิอกี ทำให้ต่อเนอื่ งสลับกนั ไป สำหรับการนั่งสมาธิ และ เดินจงกรม ที่สอนในแบบยุบหนอ พองหนอนี้ มุ่งเน้นพิจารนาตาม กฎไตรลักษณ์ ส่วนวิธีการอาจมีความแตกต่างกันบ้างในรายละเอียด ตามแต่อาจารย์ที่สอน สำหรับ วิธีการโดยทั่วไป มีคอื ดงั น้ี ให้ยืนตัวตรง ใบหน้าและลำคอตรง ทอดสายตาไปที่พ้ืนห่างจากปลายเท้าประมาณ ๒-๓ เมตร เอามือวางหน้าท้องเหนือสะดือเล็กน้อย ยกเท้าขวาจากพื้นช้าๆ พร้อมกับบริกรรม ขวา พอเท้า ขวาเคล่ือนไปข้างหน้า บริกรรม ย่าง พอเท้าขวาลงจดพ้ืน บริกรรม ìหนอî และยกเท้าซ้าย บริกรรม ซ้าย พอเท้าซ้ายเคล่ือนไปข้างหน้า กำหนดîย่างî พอเท้าซ้ายจดพื้น บริกรรม หนอ พอเดินไปได้ สุด ทาง ประมาณ ๗-๘ เมตรหรืออย่างน้อยควรมีท่ีเดินได้สัก ๘ ก้าว ก็กำหนดหยุดหนอ เท้าชิดกันบน พืน้ ยนื ตรงกำหนด ยืนหนอ แล้วกก็ ลับตวั กำหนด กลับหนอ พร้อมหมนุ สน้ เทา้ ขวา ตามด้วยเท้าซา้ ย อย่างช้าๆ ค่อยๆ ทำจนหมุนกลับมาทางเดิม และเร่ิม ขวา-ย่าง-หนอ และ ซ้าย-ย่าง-หนอ ต่อไปจน ครบเวลาพอสมควร เม่ือฝึกกำหนดจนคล่องแล้วอาจเพ่ิม การกำหนดละเอียดข้ึนไปอีก จนครบ ๖ ระยะ คอื ๑.ขวา... ยา่ ง... หนอ ..., ซา้ ย ... ย่าง ... หนอ... ๒.ยก... หนอ... , เหยยี บ... หนอ... ๓.ยก... หนอ... , ย่าง.... หนอ... , เหยยี บ... หนอ... ๔.ยกส้น ... หนอ...., ยก....หนอ..., ยา่ ง...หนอ...., เหยียบ.... หนอ.... ๕.ยกส้น .... หนอ....., ยก.... หนอ..., ยา่ ง... หนอ..., ลง... หนอ..., ถูก... หนอ... ๖.ยกสน้ ... หนอ..., ยก... หนอ..., ยา่ ง... หนอ..., ลง... หนอ..., ถูก... หนอ ..., กด... หนอ... ถ้าเป็นสายคณุ แม่สิริ กรินชยั จะเพิ่มระยะท่ี ๗ ๗. ยกส้น... หนอ ..., ไม่คดิ หนอ, ยก... หนอ...ไม่คิดหนอ, (ทวนระยะ ๖ เพิ่มคิดและไม่คิด) แต่ถ้าผู้ฝึกคนใดชอบฝึกอย่างเคร่งครัด ก็จะฝึกให้มีสติทุอิริยาบถ โดยให้มีสติรู้ตัวตลอดเวลา แล้วภาวนากำกับอารมณ์นั้นๆ ท่ีเกิดขึ้นมา เช่น กินหนอๆ ๆอ้าปากหนอๆ เคี้ยวหนอ ๆ ยกแขนลง หนอๆ เป็นตน้

๒๐๒ ๙.๖.๔ การน่งั สมาธิ ให้นั่งแบบพระพุทธรปู ทใ่ี ช้พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซา้ ยบนตกั ผ้ทู ี่ไม่ถนัดอาจอนโุ ลมให้นัง่ พับเพยี บ หรือนัง่ เก้าอี้กไ็ ด้ แต่ตอ้ งนั่งตัวตรง และไม่พิงพนักเกา้ อ้ี หลับตา ให้เอาสติมาจับอยู่ที่ท้องเหนือสะดือ ขึ้นมาประมาณ ๒ น้ิว หายใจตามปรกติ โดย เวลาหายใจเข้า ท้องโป่งพองออก กำหนดว่า พองหนอî เวลาหายใจออกท้องจะแฟบยุบ ก็กำหนดว่า ยุบหนอ โดยกำหนดให้เท่าทันอาการ ในเวลาน่ังไป หากได้ยนิ เสียง กก็ ำหนดยนิ หนอ หากมคี วามปวด เม่ือยเกิด ก็กำหนดเม่ือยหนอจนหายไป คงมีสติกำหนดในอาการต่างๆ ตามสติปัฏฐาน ๔ หากไม่มี อาการอืน่ ก็ กำหนดพองยุบต่อไปจนเห็นความดับเฉยของ พองยุบ เวลาทใ่ี ช้ในการนงั่ สมาธิมักใช้เวลา พอดกี ับการ เดินจงกรม สรุปการทำสมาธิด้วยการภาวนายุบหนอ พองหนอ เป็นการฝึกสติอยู่กับลมหายใจท่ีท้องเป็น หลัก ส่วนถ้ามีอารมณ์อื่นมาแทรก ก็ให้พิจารณา คือ เอาอารมณ์น้ันมาภาวนาแทนจนกว่าใจจะสงบ ส่วนถ้าเดินจงกรมก็ให้มีสติอยู่กับเท้าท่ีเดินอยู่ตลอดเวลา ท้ังหมดน้ีมุ่งหวังให้ใจรู้เท่าทันอารมณ์ที่เกิด ขึ้นกบั ตนเองอยู่เสมอ สรุปท้ายบท เม่ือกล่าวถึงสมาธิ ต้องเข้าใจในเบื้องต้นว่า สมาธิมิใช่เรื่องของฤๅษีชีไพร หรือมิใช่เป็นเรื่องที่ ประพฤติปฏิบัติได้เฉพาะผู้ท่ีเป็นนักบวชเท่าน้ัน แต่สมาธิเป็นเร่ืองของการฝึกฝนอบรมจิตใจ และเป็น การพัฒนาจิตให้มีความม่ันคง ต้ังม่ัน และทำให้มีคุณภาพทางจิตใจท่ีดีขึ้น ซ่ึงในทางพระพุทธศาสนา นั้น สมาธิสามารถประพฤติปฏิบัติได้ ท้ังเพ่ือประโยชน์ต่อความมีชีวิตที่อยู่เป็นสุขในเพศภาวะของผู้ท่ี ยังครองเรือน และยังเป็นการปฏิบัติเพ่ือนำไปสู่ความหลุดพ้นสำหรับผู้ท่ีเป็นนักบวชอีกด้วย แต่ อย่างไรก็ตาม สมาธิ ถือเป็นเรื่องสากล กลา่ วคือ มิใช่เฉพาะพุทธศาสนิกชนเทา่ น้นั ทีจ่ ะสามารถปฏิบัติ สมาธิได้ แม้ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นก็สามารถปฏิบัติสมาธิได้เช่นเดียวกัน ท้ังน้ี การฝึกสมาธิจะเน้นให้ ความสำคัญของการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เพราะนอกจากจะทำให้ผู้ปฏิบัติเห็นผลด้วยตนเองแล้ว หากมีข้อสงสัยในเชิงปฏิบัติ ก็สามารถท่ีจะสอบถามจากผู้รู้ผู้ชำนาญได้อย่างตรงเป้าหมายหรอื ตรงต่อ ประสบการณ์ท่ีตนเองได้ปฏิบัติมา และถึงแม้จะมีการอธิบายรายละเอียดความรู้ของสมาธิในเชิง ทฤษฎี แตก่ ระนัน้ ก็มอิ าจจะทจี่ ะละเลยสมาธใิ นเชิงปฏิบตั ไิ ด้

๒๐๓ คำถามท้ายบท ๑.ในวงการแพทย์ตะวนั ตก ได้กลา่ วถึงผลของการฝึกสมาธิอย่างไรฯ ๒. ดร.เบนสนั นกั วทิ ยาศาสตร์ ได้พดู ถึงเร่อื งสมาธใิ นพระพุทธศาสนาอยา่ งไรฯ ๓. สมาธกิ ับคลนื่ สมอง มีความสมั พนั ธก์ ันอยา่ งไร ฯ ๔.คล่ืนเบต้า คลื่นอลั ฟา และคล่นื ธีตา้ มลี ักษณะอย่างไรฯ ๕.การศึกษาสมาธิด้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ มีผลเป็นอย่างไรฯ ๖.การฝึกสมาธมิ ีความหลากหลายประการ จงระบุมาสัก ๓ ตวั อยา่ งฯ ๗. หะธะโยคะ มีหลักการปฏบิ ตั ิสมาธอิ ย่างไรฯ ๘.สมาธแิ บบ TM และ สมาธแิ บบโยคะ มีวธิ กี ารปฏิบัติอย่างไรฯ ๙.ในการฝกึ สมาธแิ บบโยคะ มีลักษณะอย่างไรฯ ๑๐.ผลของการฝึกสมาธิแบบโยคะ มีผลเปน็ อย่างไรฯ

๒๐๔ เอกสารอา้ งอิงประจำบท เกรียงศักดิ์ จรัณยานนท์ แปล-เรยี บเรยี ง, สมาธแิ บบธเิ บต, พมิ พ์ครั้งท่ี ๓, กรงุ เทพมหานคร : ปญั ญา , ๒๕๓๔. เฉก ธนะสริ ิ, สมาธกิ บั คณุ ภาพชวี ติ , พิมพ์คร้ังที่ ๒, กรุงเทพมหานคร : ๒๕๒๙. ดร.ชัยพร วชิ ชาวธุ , มลู สารจติ วทิ ยา, กรงุ เทพมหานคร : ๒๕๒๕. ทววี ัฒน์ ปณุ ฑริกววิ ฒั น์, เซนกบั สงั คมญป่ี ุน่ , กาญจนบุรี,. ๒๕๓๑. สมาคมวทิ ยาศาสตร์แหง่ ภูมิปัญญาสรา้ งสรรค์ (ประเทศไทย) แปล, เดนนิส เดนนิสตนั เขียน, [๒๕๔๓] ทีเอม็ บุ๊ค (TM BOOK), กรงุ เทพมหานคร :, หน้า ๑๕๖.

บรรณานกุ รม มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙. ________. พระไตรปิ ฎกภาษาบาลี ฉบบั มหาจุฬาเตปิฏกํ ๒๕๐๐. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๕. เกรียงศักด์ิ จรณั ยานนท์ แปล-เรียบเรยี ง, สมาธิแบบธเิ บต, พิมพค์ รงั้ ที่ ๓, กรุงเทพมหานคร : ปัญญา, ๒๕๓๔. เฉก ธนะสริ ิ, สมาธกิ ับคณุ ภาพชีวติ , พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรงุ เทพมหานคร : ๒๕๒๙. ฑีฆายุวัฒก์ สวัสดิ์ลออ, “เร่ืองการวิเคราะห์การเจริญสติตามแนวทางของ ติช นัท ฮันห์”,ศิลปศาสตรมหา บัณฑิต, พทุ ธศาสนศึกษา : มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่, ๒๔๕๕. ธนาคม บรรเทากุล, “การศึกษาวิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของพระอาจารย์ภัททันตะอาสภมหา เถระอัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะ”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัญฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙. ธนิต อยู่โพธ์ิ, วิปัสสนานิยม, กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐. นนั ทพล โรจนโกศล, “การศกึ ษาวิเคราะห์แนวคิดเร่อื งขนั ธ์ ๕ กับการบรรลุธรรม”, วิทยานิพนธ์พทุ ธศาสตร มหาบณั ฑิต, บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๘. บญุ สบื อนิ ทสาร, บาลไี วยากรณส์ าหรับทอ่ ง, กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พแ์ ละทำปกเจริญผล, ๒๕๔๐. ประเวศ วะสี, พระสงฆแ์ ละศาสนิกชนจะกู้ชาติไดอ้ ย่างไร, กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์มูลนธิ ิโกมลคมี ทอง, ๒๕๓๐. พรรณราย รัตนไพฑูรย์, “การศึกษาวิธีปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ศึกษาแนวการสอน ของพระธรรมธีรราชมหามนุ ี (โชดก ญาณสิทฺธิ)”, วิทยานิพนธป์ ริญญาพุทธศาตรมหาบณั ฑติ , บัณฑติ วทิ ยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔. พระครูประคุณสรกิจ (สุชาติ ชิโนรโส) , “การศึกษาวิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวทางของวิเวก อาศรม”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลยั , ๒๕๓๗. พระคนั ธสาราภวิ งศ์, สอ่ งสภาวธรรม, กรุงเทพมหานคร : ห้างหนุ้ สว่ นจา กดั ไทยรายวนั การพิมพ์, ๒๕๕๑. พ ระญ าณ ธชเถระ (แลดีสยาดอ ), อาน าป าน ที ป นี ,พ ระคัน ธสาราภิ วงศ์ แป ลและเรียบ เรียง. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พไ์ ทยรายวัน จอมทอง, ๒๕๔๙. ________. ปรมัตถทีปนี, แปลโดย พระคนั ธสาราภิวงศ์, พมิ พค์ ร้งั ที่ ๔, กรุงเทพมหานคร : หจก.ประยรู สาสน์ ไทยการพิมพ,์ ๒๕๕๒. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๓๙. พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต, พจนานุกรมเพ่ือการศึกษาพุทธศาสน์ฉบับ คำ วัดที่ ชาวพทุ ธควรรู้, พมิ พ์คร้งั ที่ ๓, กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ธรรมสภา, ๒๔๕๕. พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตฺโต), สมาธิฐานส่สู ุขภาพจิตและปญั ญาหย่งั รู้, พิมพค์ ร้ังที่ ๖,(กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พมิ พ์สยาม, ๒๕๕๖.

๒๐๖ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับขยายความ, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลยั , ๒๕๔๑. ________. พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (ชำระ เพ่ิมเติม ช่วงท่ี ๑),พิมพ์คร้ังที่ ๑๒, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑. ________. วธิ คี ิดตามหลักพทุ ธธรรม, พมิ พค์ รง้ั ที่๖, กรงุ เทพมหานคร : สยาม, ๒๕๔๒. ________. พจนานุกรมพุทธศาสนฉ์ บบั ประมวลศพั ท์, พิมพ์ครั้งท่ี ๑๐, กรุงเทพมหานคร : บริษทั เอส. อาร์.พร้ินต้งิ แมสโปรดักศ์จำกัด, ๒๕๔๕. ________.การศึกษากบั การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์, กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์การศาสนา, ๒๕๓๙. ________.“เจตโกศลหรือปรีชาเชงิ อารมณ์” บทความทางวชิ าการเรื่องอีควิ ,กรงุ เทพมหานคร : ชมรมผสู้ นใจอีควิ , ๒๕๔๓. พระปญั ญาวโร ภิกขุ, หลกั การปฏิบัติ วิปัสสนาเบ้อื งตน้ , แปลโดย ฉตั รนคร องคสงิ ห์, กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๕. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพค์ รงั้ ท่ี ๑๘, นนทบุรี : เพ่มิ ทรัพย์การพมิ พ,์ ๒๕๕๓. ________.วนิ ัยเรอ่ื งใหญ่กวา่ ทค่ี ดิ , กรงุ เทพมหานคร : บริษทั พมิ พ์สวย จำกดั , ๒๕๓๘. ________.พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ ๒๗ มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ ,๒๕๕๙, พระมหาจรรยา สุทธฺ ญิ าโณ , พทุ ธปญั ญากบั การศึกษา , กรงุ เทพมหานคร : มลู นธิ ิภิกขปุ ัญญานนั ทะ, ๒๕๓๘. พระมหาเทียบ สิริญาโณ (มาลัย), การใช้ภาษาบาลี, กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย., ๒๕๔๗. พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺขิโต, “เรื่องเปรียบเทียบแนวการปฏิบัติกัมมัฏฐานของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และพุทธทาสภิกขุ”, ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๖. พระมหาบุญเพียร ปุญฺญวิริโย (แก้ววงศ์น้อย), “แนวคิดและวิธีการขัดเกลาทางสังคมในสถาบันครอบครัวตาม แนวพระพุทธศาสนา ”, วิทยานิพนธ์พทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ , (บัณฑติ วิทยาลัย : มหาวิทยาลยั มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๔. พระมหาประเสริฐ มนฺตเสวี (พรหมจันทร์), “ศึกษาวิเคราะห์หลักปฏิบัติอานาปานสติภาวนาเฉพาะกรณีคำ สอนพุทธทาสภิกขุ”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑. พระมหารุ่งเรือง รกฺขติ ธมฺโม, “เรือ่ งผลการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน : ศึกษากรณีเยาวชนผปู้ ฏิบตั ิวิปัสสนา กรรมฐาน ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมสวนเวฬุวัน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น”, ปริญญาพุทธศาสตร มหาบณั ฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๙. พระมหาสมปอง มุทิโต, มูลนิรุตติ กัจจายนสูตร ธาตวานุกรม, พิมพ์คร้ังท่ี ๓, กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, ๒๕๔๕. พระมหาสีสยาดอ (โสภณมหาเถระ), วิปัสสนาชุนี (ภาคปฏิบัติ), พิมพ์คร้ังแรก, แปลโดย จำรูญ ธรรมดา, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ ทพิ ยวิสุทธ์ิ, ๒๕๔๐.

๒๐๗ พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปัฏฐานสูตร, แปลโดย พระคันธสาราภิวงศ์, กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ครงั้ ท่ี ๒, หา้ งห้นุ สว่ นจำกัด ไทยรายวนั การพมิ พ์, ๒๕๔๙. ________. วิปัสสนาชุนี, แปลโดย จำรูญ ธรรมดา, กรุงเทพมหานคร : หนุ้ ส่วนจำกดั ประยรู สาสน์ ไทย การพิมพ์, ๒๕๕๓. ________. วปิ ัสสนานัย เลม่ ๑, แปลโดย พระคนั ธสารา- ภิวงศ์, (นครปฐม : โรงพมิ พ์ ห้างหนุ้ สว่ นจำกัด ซี เอ ไอ เซน็ เตอร์ จำกดั , ๒๕๕๐. พระอุปติสสเถระ, คัมภีร์วิมุตติมรรค, แปลโดย พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) และคณะ แปลจาก ฉบับภาษาอังกฤษ ของพระเอฮารา พระโสมเถระ และพระเขมินทเถระ, พิมพ์ครั้งท่ี ๖, กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พมิ พศ์ ยาม, ๒๕๕๔. พทุ ธทาสภิกขุ, วิธฝี ึกสมาธิวปิ ัสสนา ฉบบั สมบรู ณ์, พิมพค์ รั้งที่ ๖, กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพ์สนุ ทรสาสน์ , ๒๕๓๖. แม่ชีระวีวรรณ ธมฺมจารินี (ง่านวิสุทธิพันธ์) “การศึกษาสภาวญาณเบื้องต้นของผู้เข้าปฏิบัติวิปัสสนาตาม หลักสติปัฏฐาน ๔ ณ สำนักวิปัสสนากรรมฐานวัดพระธาตุศรีจอมทอง วรวิหาร”, วิทยานิพนธ์ พทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๑. รศ. ดร. สุจิตรา อ่อนค้อม, การฝึกสมาธิ, พิมพ์ครั้งท่ี ๑๐, (กรุงเทพมหานคร) : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า กรุ๊ป, ๒๕๔๙. ศันสนีย์ ฉัตรคปุ ต์ และ อษุ า ชชู าติ, รายงานเรอื่ งฝกึ สมองให้คดิ อยา่ งมจี ารณาณ. กรุงเทพมหานคร : สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานกั นายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๔. สมเดจ็ พระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสมมหาเถระ) ศาสตราจารยพ์ ิเศษ, ป.ธ.๙, M.A., Ph.D., อริยวังสปฏปิ ทา, พมิ พค์ ร้งั ที่ ๑, กรงุ เทพมหานคร : ประยูรสาส์นไทย การพมิ พ์, ๒๕๕๔. สุเมธ โสฬศ, “การศึกษาเครื่องมือจำแนกจริตท่ีเหมาะสมในการเจริญสติปัฏฐาน”, วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตร ดษุ ฎบี ณั ฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๔. สุรีรัตน์ ฝนอรุณ. การศึกษาบุคลิกภาพของผู้บริหารระดับกลางในองค์การเอกชนเขตกรุงเทพ มหานครตาม แนวจริต ๖ ในพระพทุ ธศาสนา, วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาจติ วิทยา อุตสาหกรรมและ องค์การ, บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง, ๒๕๔๖. อนุสรณ์ จันทพันธ์ และบญุ ชยั โกศลธนากลุ ,จริต ๖ ศาสตร์ในการอา่ นใจคน, พิมพ์ครั้งที่ ๒๙,กรุงเทพมหานคร : บริษทั อมรนิ ทร์พร้ินตง้ิ แอนดพ์ ับลิชชิง่ จำกดั , ๒๕๕๕. อาจารย์ปัญญา ใช้บางยาง, ธรรมาธิบาย หลักธรรมในพระไตรปิฎก, พิมพ์ครั้งที่ ๑, กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, ๒๕๔๘.