Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา

การสอนการบริหารจิตและเจริญปัญญา

Description: การบริหารจิต หมาย ถึง การบำรุงรักษาจิตให้เข้มแข็งผ่องใสบริสุทธิ์ ซึ่งต่างกับการบริหารกาย เพราะการบริหารกายต้องทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวอยู่เสมอแต่การบริหารจิต จะต้องฝึกฝนให้จิตสงบนิ่งอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งการฝึกจิตให้สงบ คือการทำสมาธินั่นเอง

Keywords: การสอนการบริหารจิต เจริญปัญญา

Search

Read the Text Version

๔๓ ๓๕. จติ ของผู้ทถ่ี กู โลกธรรมกระทบแล้วไมห่ ว่นั ไหว ๓๖. เป็นจิตไม่ยนิ รา้ ย ๓๗. เป็นจติ ไม่ยนิ ดี ๓๘. เป็นจิตเกษม มงคลท้ัง ๓๘ ประการนีล้ ะเอียดข้นึ ไปโดยลาดบั มจี ุดประสงคเ์ พ่ือการพ้นทุกข์โศกโรคภัยในการดาเนิน ชีวิตอย่างชาวบ้านทั่วๆ ไปจนถึงการพ้นทุกข์ในสังสารวัฏ คือการเวียนว่าตายเกิดพูดง่ายๆ พระพุทธองค์ทรง แนะนาวิธที ี่เปน็ มงคลชีวติ อย่างชาวบา้ นไปจนถึงมงคลชีวติ อย่างพระน่ันเอง อานุภาพการป้องกนั มงคลสูตร เป็นพระสูตรท่ีพระพุทธองค์ทรงแสดง หลักปฏิบัติเพ่ือให้เกิดมงคลในการดาเนินชีวิต การนามงคลสตู รมาสวดกเ็ พอ่ื เป็นการน้อมนาเอามงคลต่างๆ ตามทป่ี รากฏในพระสตู รมาแสดงให้เกิดเป็นมงคล ขึ้นกับชีวิต นอกจากน้ันมงคลสูตรยังมีอานุภาพในการปูองกันภัยอันตรายอันจะเกิดจากความไม่เท่ียงธรรม ของเหล่าคนพาลสันดานหยาบท้ังหลาย ผู้ที่ดาเนินชีวิตตามหลักมงคลทั้ง ๓๘ ประการ ตามท่ีพระพุทธองค์ ทรงสั่งสอนนั้น เป็นชีวิตท่ีมีมงคลย่อมมีความเจริญรุ่งเรืองเหมือนเปลวเทียนท่ีส่องสว่าง ชีวิตเช่นนี้ไม่ จาเป็นต้องไปแสวงหามงคลภายนอกจากที่ไหนเพราะเป็นชีวิตท่ีมีมงคลอยู่ในตัวแล้วหากทาได้ก็จะปราศจาก ทกุ ขโ์ ศกโรคภยั ในการดาเนินชวี ิตและถึงความพ้นทกุ ข์ได้ในทสี่ ดุ เหมอื นเปลวเทียนที่มีความสวา่ งในตัวเอง ๒.๖.๒ รตั นสตู ร/รัตนปริตร๕๓ เนื้อหาของรัตนสูตร เป็นพระสูตรท่ีพระอานนท์เถระเรียนจากพระพุทธองค์โดยตรง เพ่ือใช้สวดขจัด ปัดเปุาภัยพิบัติที่เกิดกับชาวกรุงเวสาลี พระพุทธองค์ทรงแนะนาให้พระเถระน้อมระลึกถึงคุณของรัตนะ คือ พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ ทาสัจกิริยาให้เกิดเป็นอานุภาพขจัดปัดเปุาภัยพิบัติท้ังหลายเนื้อความรัตน สูตรท่อนแรกเร่ิมต้นด้วยการแนะนาให้เหล่าภูติทั้งหลายได้อนุโมทนาบุญกุศลที่หมู่มนุษย์อุทิศให้และเม่ือ อนุโมทนาแล้วขอใหเ้ กิดเมตตาทาการรกั ษามนุษย์ทัง้ หลายเน้ือความท่อนต่อมา เป็นการน้อมคุณพระรัตนตรัย เป็นสัจวาจา เพ่ือให้เกิดความสวัสดีส่วนท่อนสุดท้าย เป็นคากล่าวของท้าวสักกะที่ผูกขึ้นเป็นคาถาพรรณาคุณ พระรัตนตรยั เป็นสจั วาจาให้เกิดความสวสั ดี รตั นสูตรปรากฏอยู่ในพระสุตตันตปิฎกขุททกนิกายขุททกปาฐะ และปรมตั ถโชตกิ าอรรถกถาขทุ ทกนกิ ายสตุ ตนบิ าตกรุงเวสาลนี ครหลวงแห่งแคว้นวัชชี เคยเป็นเมืองมั่งค่ังอุดม สมบูรณ์ เนืองแน่นไปด้วยอาณาประชาราษฎร์ เกิดภัยพิบัติอย่างร้ายแรง สมัยน้ันกรุงเวสาลีเกิดฝนแล้ง ติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี ข้าวกล้าแห้งตายเพราะแดดแผดเผา ผู้คนอดอยากล้มตายเป็นจานวนมาก คนยากจนตายกอ่ นกลายเป็นศพอนาถาไร้คนจัดการ ถูกท้ิงเกลื่อนนคร พวกอมนุษย์ได้กล่ินซากศพก็พากันเข้า สู่นคร ทาอันตรายแก่หมู่มนุษย์ ทาให้คนตายเพ่ิมจานวนมากขึ้น ทาให้ผู้คนล้มตายเหลือท่ีจะนับได้ซึ่งนครเว สาลีท่ีเคยเป็นเมืองมั่งคั่งผู้คนพลุกพล่านขวักไขว่ไปมา ได้ประสบภัยพิบัติอย่างร้ายแรง ๓ ประการในคราว เดยี วกนั คือ ๑. ขา้ วยากหมากแพง (ทพุ ภกิ ขภยั ) ๒. ภูตผีปีศาจทาร้าย (อมนุสสภัย) ๓. เกิดโรคระบาดคร่าชวี ิตผูค้ น (โรคภัยพบิ ัติ) ๕๓ ข.ุ ข.ุ (ไทย)๒๕/๑-๑๘/๙-๑๔.

๔๔ ทาให้ชาวเมืองรวมตัวกันไปร้องทุกข์ต่อพระเจ้าแผ่นดินว่าในเมืองน้ีไม่เคยมีภัยท้ัง ๓ประการน้ีเกิด ข้นึ มา ๗ ชั่วคนแล้วเห็นทผี ู้ปกครองรฐั จะประพฤตไิ ม่ชอบดว้ ยทานองครองธรรมจงึ ทาให้เกิดเหตุร้าย พระราชา โปรดใหช้ าวเมืองประชมุ กันทศ่ี าลากลางเมอื ง เพ่ือตรวจสอบความผิดของพระองค์ก็ไม่เห็นความผิดประการใด จึงปรกึ ษากันว่าทาอย่างไรภัยทงั้ ๓ น้ี จะสงบลงไดผ้ ลของการปรึกษาได้ตกลงท่ีจะทูลเชิญเสด็จองค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าจากแคว้นมคธสู่กรุงเวสาลีด้วยได้ยินกันมาว่า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จอุบัติข้ึน แล้วในโลก พระองคเ์ ปยี่ มด้วยพระมหากรณุ าธิคุณ ทรงแสดงธรรมเพื่อประโยชน์เก้ือกูลแก่หมู่สัตว์ มีมหิทธานุ ภาพพระองคเ์ สดจ็ ไปทีไ่ หนกม็ แี ต่ความสุข หากพระองคเ์ สดจ็ สกู่ รุงเวสาลีภัยพิบืตทั งั้ ปวงจกั ระงบั ลงไป คราวนั้นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ท่ีกรุงราชคฤห์แคว้นมคธตรงกับรัชสมัยของพระ เจ้าพิมพิสาร ผู้ถวายเวฬืวุนให้เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนาชาววัชชีจึงส่งเจ้าลิจฉวีช่ือมหาลิและมหา อามาตย์ผู้หนึ่งเป็นราชฑูตนาเคร่ืองบรรณาการเดินทางเข้าสู่แคว้นมคธ ทูลร้องขอพระเจ้าพิมพิสารเพ่ือขอ พระราชทานวโรกาส กราบทลู เชิญเสดจ็ องคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าสูก่ รุงเวสาลี พระบรมศาสดาทรงพิจารณาเห็นว่าหากพระองค์เสด็จไปกรุงเวสาลีประโยชน์ ๒ อย่างจักเกิดข้ึนคือ พระองค์จะแสดงรัตนสูตรในสมาคมนั้นเป็นเหตุให้ชาววัชชีได้ดวงตาเห็นธรรมบรรลุมรรคผลเป็นอันมาก ประการหน่ึงและภัยพิบัติทั้งหลาย จะสงบลงเพราะการเสด็จไปของพระองค์ประการหนึ่งพระพุทธองค์ทราบ ประโยชน์ทีจ่ ะเกิดข้นึ แก่ชาววัชชีเชน่ น้จี ึงทรงรับนมิ นต์เพื่อเสด็จสูก่ รงุ เวสาลี พระเจา้ พมิ พพ์ ิสารทรงทราบว่าพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ทรงรับนิมนตแ์ ลว้ จงึ โปรดให้ตกแต่งเส้นทางเสด็จ พระพุทธดาเนินต้ังแต่กรุงราชคฤห์ถึงฝ่ังแม่น้าคงคา อันเป็นพรมแดนของแคว้นท้ังสอง รับสั่งให้ปรับพ้ืนถมดิน ทาทางให้เรียบเสมอ ให้ปลูกทปี่ ระทับแรมทุกโยชน์ เตรยี มใหเ้ สดจ็ วนั ละโยชน์องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จออกจากกรงุ ราชคฤหพ์ รอ้ มดว้ ยภิกษุ ๕๐๐รูป ส่ฝู ั่งแม่น้าคงคาสิ้นทาง ๕ โยชน์ใช้ระยะเวลาเดินทาง ๕ วัน ฝุายกรุงเวสาลีก็ได้ตกแต่งเส้นทางจากฝ่ังแม่น้าคงคาถึงกรุงเวสาลีเป็นระยะทางถึง ๓ โยชน์ เตรียมการรบั เสดจ็ พระพทุ ธองคท์ ่ีฝ่ังแม่นา้ คงคาอยา่ งย่ิงใหญ่เชน่ เดยี วกัน ขณะที่เรือส่งเสด็จ ท่ีพระเจ้าพิมพิสารจัดถวายใกล้ถึงฝั่งนครเวสาลี มหาเมฆตั้งเค้าขึ้นท้ัง ๔ ทิศ พอพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงย่างพระบาทแรก เหยียบผืนแผ่นดินท่ีฝั่งแม่น้าคงคาแคว้นมคธฝนโบกขรพรรษได้ ตกลงมาอย่างหนักบนแผ่นดินแคว้นวัชชีทุกแห่งน้าไหลไปแค่เข่าแค่สะเอวพัดพาเอาสิ่งโสโครกต่างๆ ลงแม่น้า ลาคลองไปสน้ิ พ้นื ดนิ ชุ่มเย็นและสะอาดไปท่ัวแคว้นวัชชี พระพุทธองค์เสด็จจากฝ๎่งแม่น้าคงคาถึงกรุงเวสาลีส้ิน ระยะทาง ๓ โยชน์เป็นเวลา ๓ วัน คร้ันเสด็จถึงกรุงเวสาลีพระอินทร์พร้อมด้วยเทพบริวารเป็นอันมากก็มาณ ทน่ี น้ั เมอ่ื เทวดาซงึ่ เปน็ ใหญก่ วา่ มากนั มาก พวกอมนษุ ยก์ ถ็ อยรน่ หลกี ไปอันมากพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับยืนที่ ประตูพระนครเวสาลีรับส่ังให้พระอานนท์เรียนรัตนสูตรกล่าวสัจ จะอันอาศัยคุณพระรัตนตรัยเพ่ือกาจัด อุปัทวันตรายท้ังหลายภัยพิบัติท้ังปวง พระอานนท์เอาน้า ใส่บาตรของพระพุทธองค์เดินสวดรัตนสูตรพลาง ประพรมนา้ พระพทุ ธมนตไ์ ปทั่วพระนครพอพระอานนท์เถระข้นึ บท “ยังกญิ จิ วิตตัง ฯลฯ” พวกอมนุษย์ท่ียังไม่ หนไี ปไหนตัง้ แตแ่ รกทพ่ี ระพทุ ธองค์เสด็จมา ได้แอบอยู่ตามที่ต่างๆ ก็ทนไม่ไหวชิงกันหนีออกทางประตูเมืองท้ัง ๔ ประตูแน่นยัดเยียด บางพวกทนรอออกทางประตูไม่ไหว ช่วยกันพังกาแพงเมืองหนีกระเจิงไปหมดส้ินพอ พวกอมนุษย์ออกไป โรคในตัวมนุษย์ก็หาย ผู้ที่หายจากโรคก็ลุกออกมาบูชาพระอานนท์เถระด้วยเคร่ืองบชูา ตา่ งๆ สว่ นภายในพระนครเวสาลชี าวเมืองต่างช่วยกันตกแต่งศาลากลางเมืองเป็นท่ีประทับของพุทธองค์เม่ือ พระพุทธองค์เสด็จเข้าสู่ที่ประทับแล้วเหล่าภิกษุสงฆ์และเจ้าลิจฉวีทั้งหลาย ตลอดจนอาณาประชาราษฎร์ก็ไป

๔๕ เฝาู ทน่ี น่ั แมท้ ้าวสกั กะเทวราชตลอดจนเหลา่ เทวดาท้ังปวงก็ได้มาเฝูาที่น่ันพระอานนท์เท่ียวทาการประพรมน้า พระพุทธมนต์ไปทั่วกรุงเวสาลีแล้วได้มาเฝูาพระพุทธองค์ท่ีนั่นชาวพระนครเวสาลีท่ีหายปุวยติดตามพระเถระ มาเฝูาพระพุทธองค์ท่ีนั่น ชาวพระนครเวสาลีท่ีหายปุวยติดตามพระเถระมาเฝูาด้วยเป็นอันมาก ท่ีประชุมนั้น ได้กลายเปน็มหาสมาคมพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสรัตนสูตรซ้าในมหาสมาคมน้ัน เมื่อจบเทศนาอุปัทวันตราย ทงั้ หลายภัยพบิ ตั ิทั้งปวงได้สงบลงความสุขสวสั ดีแผ่ไปทัว่แควน้ วชั ชี แม้ทา้ วสักกะจอมเทพกท็ รงดารวิ า่ พระพุทธองค์ทรงอาศัยคุณแห่งพระรัตนตรัยเป็นสัจวาจาเกิดความ สวสั ดีแก่ชาวพระนครแล้ว แม้เราเองก็พึงอาศัยคุณแห่งพระรัตนตรัย กล่าวบางสิ่งบางอย่างเพื่อความสวัสดีแก่ ชาวพระนครเชน่ เดยี วกันจึงได้ตรสั คาถาว่า “ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานวิ ะ อันตะลิกเข ตะถาคะตงั เทวะมนสุ สะปิชตู ัง พทุ ธัง นะมัสสามะ สวุ ตั ติ โหตุ”ฯลฯ ครั้นท้าวสักกะจอมเทพ ตรัสคาถาเป็นสัจกิริยาให้เกิดความสุขสวัสดีอย่างนี้แล้ว ทรงกระทา ประทักษิณพระพุทธองค์แล้วได้เสด็จไปยังดาวดึงส์เทพนครพร้อมด้วยเทพบริษัท แต่น้ันฝนก็ตกต้องตาม ฤดูกาลพืชพรรณธัญญาหาร กลับอุดมสมบูรณ์นครเวสาลีได้กลับมาเป็นเมืองม่ังคั่ง ผู้คนพลุกพล่านไปมา ขวักไขวเ่ หมือนเดิม เหล่านาคราชทง้ั หลายในแมน่ า้ คงคาคิดกนั ว่าหมู่มนุษย์ทาการสักการะพระพุทธองค์เป็นอันมาก จึงได้ ทูลวิงวอนให้พระพุทธองค์อนุเคราะห์พวกตน พระผู้มีพระภาคเจ้ารับคานิมนต์เหล่านาคราชนาเสด็จพระพุทธ องคพ์ รอ้ มด้วยหมู่ภิกษสุ ู่นาคภภิ พ พระองค์แสดงธรรมโปรดเหล่านาคราชตลอดราตรีรุ่งข้ึนเหล่านาคราชถวาย สักการะและภัตตาหารทิพย์พระพุทธองค์ทรงอนุโมทนาเสร็จแล้วได้เสด็จออกจากนาคพิภพเหล่าภุมมเทวดา และเทวดาทงั ้หลายก็ได้สกั การะตอ่ จากนเี้ ชน่ เดียวกนั เหตุการณท์ ีพ่ ระพุทธองค์ตรสั รตั นสูตรและเสด็จเข้าสู่นาค พภิ พนเี้ กิดขน้ึ ในระหวา่ งพรรษท่ี ๒ หลงั การตรัสรู้ อรรถกถาขุททกนิกาย สุตตนิบาต กล่าว่าในคร้ังพุทธกาลนั้นได้มีการประชุมใหญ่อย่างท่ีไม่เคยมี ปรากฏมาก่อน ๓ ครั้งเทา่ นน้ั คือ ๑. ยมกปาฏหิ าริยสมาคมได้แก่การชมุ นุมใหญใ่ นคราวทีพ่ ระพุทธ องคแ์ สดงยมกปาฏหิ าริย์ ๒. เทโวโรหนสมาคมไดแ้ ก่การชมุ นมุ ใหญค่ ราวที่พระพุทธองค์เสด็จลงจากการจ าพรรษาทีส่ วรรคช์ น้ั ดาวดึงส์ ๓. คงั โคโรหนสมาคมไดแ้ ก่การชุมนุมใหญ่ในคราวท่ีพระพุทธองค์เสดจ็ ลงแม่น้าคงคาสมัยท่ีกรุงเวสาลี เกดิ ภัยพิบตั ริ ้ายแรงครงั้ นี้ อานภุ าพการป้องกัน รัตนสูตร เป็นพระสูตรที่พระพุทธองค์ทรงรับส่ังให้พระอานนท์เถระสวดเป็นองค์แรก ภายหลังได้ กลายเป็นแบบอย่างในการทาน้าพระพุทธมนต์สาหรับพระสงฆ์สาวกต่อมาจนถึงปัจจุบันทุกครั้งที่ทาน้ามนต์ จะต้องมีการสวดรัตนสูตร และทาสัจกิริยาประพรมน้าพระพุทธมนต์รัตนสูตรมีอานุภาพในการขจัดปัดเปุาภัย พบิ ตั ิท้ังหลายให้อนั ตรธานหายไปสิ้นอย่างฉับพลัน และเกิดความสุขสวัสดีหมภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกัน แล้วในนครน้ีก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้ดีใจและจงฟังภาษิตโดยเคารพ เพราะเหตุนั้นแล ท่านภูตทั้งปวงจงต้ังใจฟัง กระทาไมตรีจิตในหมู่มนุษยชาติประชุมกันมนุษย์เหล่าใดย่อม สังเวยท้ังกลางวันกลางคืนเพราะเหตุนั้นแล ท่านท้ังหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาท รักษาหมู่มนุษย์เหล่าน้ันทรัพย์

๔๖ เครื่องปล้ืมใจ อันใดอันหนึ่ง ในโลกน้ีหรือโลกอ่ืนหรือรัตนะอันใดอันประณีตในสวรรค์รัตนะอันน้ันเสมอด้วย พระตถาคตเจ้าไม่มีเลย แมอ้ นั นเ้ี ปน็ รตั นะอนั ประณีตในพระพทุ ธเจา้ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีพระศากยมุนีเจ้ามีพระหฤทัยดารงมั่นได้บรรลุธรรมอันใดเป็นท่ีส้ิน กิเลสเป็นท่ีสิ้นราคะเป็นอมฤตธรรมอันประณีต สิ่งไรๆเสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มีแม้อันนี้เป็นรัตนะอัน ประณตี ในพระธรรม ด้วยคาสัตย์น้ี ขอความสวัสดีจงมีพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุดทรงสรรเสริญแล้ว ซ่ึงสมาธิอันใดว่าเป็น ธรรมอันสะอาดบณั ฑิตท้งั หลายกล่าวซึ่งสมาธิอันใดว่าให้ผลโดยลาดับ สมาธิอื่นเสมอด้วยสมาธิน้ันย่อมไม่มีแม้ อนั นีเ้ ปนร็ ตั นะอันประณตี ในพระธรรม ด้วยคาสัตย์น้ี ขอความสวัสดีจงมีบุคคลเหล่าใด ๘ จาพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษท้ังหลายสรรเสริญแล้ว บุคคลเหล่าน้ันเป็นสาวกของพระสุคต ควรแก่ทักษิณาทานทานท้ังหลาย อันบุคคลถวายในท่านเหล่าน้ัน ย่อมมีผลมาก แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี พระอริยบุคคล ทั้งหลายเหล่าใดในศาสนาพระโคดมเจ้า ประกอบดีแล้วมีใจม่ันคงมีความใคร่ออกไปแล้ว พระอริยบุคคล ทั้งหลายเหล่านนั้ ถงึ พระอรหัตตผลทีค่ วรถึงหย่งั เขา้ สู่พระนพิ พานได้ ซึ่งความดับกิเลสโดยเปล่าๆแล้ว เสวยผล อย่แู ม้อนั นีเ้ ป็นรตั นะอนั ประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์น้ี ขอความสวัสดีจงมีพระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่าใด ในศาสนาพระโคดมเจ้าประกอบดี แล้ว มีใจมั่นคงมีความใคร่ออกไปแล้ว พระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ถึงพระอรหัตตผลท่ีควรถึงหย่ังเข้าสู่ พระนพิ พานได้ซง่ึ ความดับกเิ ลสโดยเปล่าๆแล้ว เสวยผลอยู่แมอ้ ันนเี้ ป็นรัตนะอนั ประณตี ในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีเสาเข่ือนท่ีลงดินแล้วไม่หวัน่ไหวด้วยพายุ ๔ ทิศฉันใด ผู้ใดเล็งเห็น อริยสัจท้ังหลาย เราเรียกผู้นั้นว่าเป็นสัตบุรุษผู้ไม่หว่ันไหวด้วยโลกธรรมอุปมาฉันนั้น แม้อันน้ี เป็นรัตนะอัน ประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์น้ี ขอความสวัสดีจงมีพระโสดาบันจาพวกใด กระทาให้แจ้งอยู่ซ่ึงอริยสัจทั้งหลายอันพระ ศาสดาผู้มีปัญญาอันลึกซึ้งแสดงดีแล้ว พระโสดาบันจาพวกนั้นยังเป็นผู้ประมาทก็ดี ถึงกระน้ันท่านย่อมไม่ ถือเอาภพท่ี ๘ (คอื เกิดอีก อย่างมาก ๗ ชาติ) แมอ้ ันน้ีเป็นรตั นะอันประณีติในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีสักกายทิฏฐิวิจิกิจฉาสีลัพพตปรามาสอันใดอันหนึ่ง ซึ่งยังมีอยู่ธรรม เหล่านั้นอันพระโสดาบันละได้แล้ว ซ่ึงพร้อมด้วยทัสสนสมบัติ (คือโสดาปัตติมรรค) ท่ีเดียว อนึ่ง พระโสดาบัน เปน็ ผพู้ น้ แล้วจากอบายทั้ง ๔ พึงไม่อาจเพ่ือจะกระทาอภิฐานทั้ง ๖ ( คืออนันตริยกรรม ๕ และการเข้ารีต) แม้ อันน้ี เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีพระโสดาบันนั้น ยังกระทาบาปกรรม ดว้ ยกายหรือวาจาหรอื ใจไดบ้ ้าง (เพราะความพลัง้พลาด) ถึงกระน้ันทา่ นไมค่ วรเพอ่ื จะปกปดิ บาปกรรมอนั น้ัน ความเป็นผู้มที างพระนิพพานอันเห็นแลว้ ไม่ควร ปกปดิ บาปกรรมนั้นอนั พระผู้มีพระภาคเจา้ ตรสั แลว้ แมอ้ นั นี้เปน็ รัตนะอนั ประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีพุ่มไม้ในปุามียอดอันบานแล้วในเดือนต้นคิมหะ แห่งคิมหฤดูฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแสดงพระธรรมให้ถึงพระนิพพาน เพื่อประโยชน์แก้สัตว์ทั้งหลายมีอุปมาฉันนั้น แม้อันนเ้ี ปน็ รตั นะอันประณตี ในพระพทุ ธเจา้ ด้วยคาสัตย์น้ี ขอความสวัสดีจงมีพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ ทรงทราบธรรมอันประเสริฐประทานธรรม อันประเสริฐนามาซงึ ธ่ รรมอันประเสริฐ แม้อนั น้ีเปน็ รัตนะอันประณตี ในพระพทุ ธเจ้า ด้วยคาสัตย์น้ี ขอความสวัสดจี งมกี รรมเก่าของพระอรยิ บคุ คลเหล่าใด สิ้นแล้ว กรรมสมภพใหม่ย่อมไม่ มพี ระอรยิ บคุ คลเหล่าใดมีจิตอนั หน่ายแล้วในภพตอ่ ไป

๔๗ พระอริยบุคคลเหล่าน้ันมีพืชสิ้นไปแล้ว มีความพอใจงอกไม่ได้แล้ว เป็นผู้มีปัญญาย่อมปรินิพพาน เหมอื นประทบั อนั ดับไป ฉะน้ัน แม้อันนี้เป็นรตั นะอนั ประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครก็ดี เหล่าใดประชุม กันแล้วในอากาศก็ดี เราท้ังหลายจงนมัสการพระพุทธเจ้าผู้มาแล้วอย่างน้ัน ผู้อันความสวัสดีจงมีภูตประจาถ่ิน เหลา่ ใดประชุมกันแล้วในพระนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี เราท้ังหลายจงนมัสการพระธรรม อันมาแล้วอย่างน้ัน อันเทพดาและมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีภูตประจาถิ่นเหล่าใดประชุมกันแล้วใน พระนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี เราท้ังหลายจงนมัสการพระสงฆ์ผู้มาแล้วอย่างนั้นผู้ อันเทพดาและมนษุ ยบ์ ชู าแล้วขอความสวสั ดจี งมี ๒.๖.๓ เมตตสตู ร/เมตตปรติ ร หรือกรณยี เมตตสตู ๕๔ เนือ้ หาของสตู ร เมตตสูตร เปน็ บทสวดเพ่อื ให้เกดิ ความรกั ด้วยอานภุ าพแห่งเมตตาซ่ึงพระพุทธองค์ทรงแนะนาให้เจริญ เมตตาแก่อมนุษยแ์ ละเทวดาทั้งหลาย ดังมีใจความดงั ต่อไปนี้ กจิ น้นั ใดอันพระอรยิ เจา้ บรรลบุ ทอันระงบั กระทาแลว้ กิจน้นั อนั กุลบตุ รผู้ฉลาดในประโยชน์พึงกระทา กุลบุตรนั้นพึงเปน็ ผู้อาจหาญและซ่อื ตรงดี เป็นผทู้ วี่ า่ ง่าย ออ่ นโยน ไม่มอี ตมิ านะ เป็นผู้สันโดษ เล้ียงง่าย เป็นผู้ มีกิจธุระน้อย ประพฤติเบากายจิต มีอินทรีย์อันระงับแล้ว มีปัญญา เป็นผู้ไม่คะนองไม่พัวพันในสกุลท้ังหลาย วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นได้ด้วยกรรมอันใดไม่พึงประพฤติกรรมอันน้ันเลย (พึงแผ่ไมตรีจิตไปในหมู่สัตว์ วา่ ) ขอสัตว์ท้งั ปวงจงเปน็ ผู้มสี ขุ มีความเกษม มตี นถงึ ความสขุ เถิด สัตว์มีชีวิตท้ังหลายเหล่าใดเหล่าหน่ึงมีอยู่ยัง เป็นผู้สะดุ้ง (คือมีตัณหา) หรือเป็นผู้ม่ันคง (ไม่มีตัณหา) ทั้งหมดไม่เหลือเหล่าใด ยาวหรือใหญ่หรือปานกลาง หรือสั้นหรือผอมพีเหล่าใด ที่เราเห็นแล้วหรือมิได้เห็น เหล่าใดที่เราเห็นแล้วหรือมิได้เห็น เหล่าใดอยู่ในที่ไกล หรือท่ีไม่ไกลที่เกิดแล้วหรือกาลังแสวงหาภพก็ดี ขอสัตว์ทัง้ปวงเหล่าน้ัน จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด สัตว์ อน่ื อย่าพึงขม่ เหง สตั วอ์ ืน่ อย่าพงึ ดหมู ่ินอะไรๆเขาในท่ีไรๆเลย ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความ คุมแค้นมารดาถนอมลูกคนเดียวผู้เกิดในตน ด้วยยอมพร่าชีวิตได้ฉันใด พึงเจริญเมตตามีในใจไม่มีประมาณใน สัตว์ท้ังปวงแม้ฉันนั้น บุคคลพึงเจริญเมตตามีในใจไม่มีประมาณไปในโลกท้ังส้ินท้ังเบื้องบนเบ้ืองต่า เบ้ืองเฉียง เปน็ ธรรมอันไม่คับแคบไม่มีเวร ไม่มีศัตรูผู้เจริญเมตตาจิตน้ัน ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี น่ังแล้วก็ดี นอนแล้วก็ดี เป็นผปู้ ราศจากความงว่ งนอนเพียงใด กต็ งั้ สตอิ ันน้ันไว้เพยี งน้ัน บัณฑิตท้ังหลายกล่าวกิริยาอันนี้ว่าเป็นพรหมวิหารในพระศาสนานี้บุคคล ท่ีมีเมตตาไม่เข้าถึงทิฏฐิ เปน็ ผู้มศี ีลถงึ พรอ้ มแลว้ ดว้ ยทัสสนะ (คอื โสดาปัตติมรรค) นาความหมกมุ่นในกามท้ังหลายออก ย่อมไม่ถึงความ นอน (เกิด) ในครรภอ์ ีก โดยแทท้ ีเดียวแล กรณียเมตตสูตร เป็นพระสูตรที่พระพุทธองค์ทรงแนะนาให้พระภิกษุเจริญเมตตาจิตไป ในมวลสรรพ สัตว์ตลอดจนเทพเทวาภูตผีปีศาจทั้งหลายไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขตไม่จากัดว่าสัตว์น้ัน หรือเขาผู้น้ัน จะเกี่ยวข้องกับเราหรือไม่ก็ตาม พากันไปเฝูาพระพุทธองค์เพื่อขอเรียนพระกรรมฐาน ก่อนจะแยกย้ายกันไป หาสถานทจ่ี าพรรษา บาเพ็ญพระกรรมฐาน พระภิกษุหมู่หนึ่งรวมกันเป็นพวกได้ ๕๐๐ รูป เรียนพระกรรมฐาน จากพระพุทธองค์แล้ว ได้ทูลลาไปแสวงหาเสนาสนะที่ชอบใจ ไม่ลาบากในการเข้าไปบิณฑบาต ภิกษุเหล่านั้น เดินทางมุ่งหน้าสู่หมู่บ้านเนือ ไปไกลจนถึงหมู่บ้านใกล้ชายแดนแห่งหนึ่งอยู่ปุาเชิงเขา ซ่ึงทอดเทือกมาจากเขา ๕๔ ข.ุ ข.ุ (ไทย) ๒๕/๑-๑๐/๒๐-๒๓,

๔๘ หมิ วนั ต์ มปี ุาไม้สูงใหญ่ร่มรื่นมีสายน้าลาธารใสเย็นไหลผ่าน แม้หมู่บ้านท่ีจะอาศัยบิณฑบาตก็อยู่ไม่ไกลจากปุา แห่งนั้นมากนัก ชาวบ้านเห็นหมู่ภิกษุเป็นจานวนมากก็ดีใจเกิดเล่ือมใสศรัทธาเป็นอย่างยิ่ง จัดภัตตาหารและ นมิ นตใ์ หอ้ ยจู่ าพรรษา พวกภิกษเุ หน็ วา่ เสนาสนะสบาย หากอยจู่ าพรรษาทีห่ มบู่ า้ นแห่งนี้ ก็จะสะดวกไม่ลาบาก ในการบณิ ฑบาตและมเี วลาบาเพญ็ กรรมฐานได้เต็มท่ี จึงตกลงจาพรรษาอยู่ท่ีนน่ั ชาวบ้านต่างช่วยกันปลูกกุฎิ ๕๐๐ หลัง ให้ภิกษุรูปละหลัง ภิกษุเหล่านั้นต่างก็เริ่มทาความเพียร บาเพ็ญสมณธรรมอยู่ตามโคนไม้ ตามปุาทั้งกลางวันและกลางคืน ฝุายรุกขเทวดาซ่ึงสิงสถิตอยู่ที่ต้นไม้ราวปุา แห่งนั้นเคยอยู่สบายในวิมานบนต้นไม้ เมื่อเห็นภิกษุผู้ทรงศีลมาน่ังอยู่ใต้ต้นโคนไม้อันเป็นวิมานของตนเช่นน้ัน ก็ไม่กล้าอยู่บนต้นไม้ซ่ึงสูงกว่าพระภิกษุ จึงพาลูกลงจากวิมานมาอยู่ที่พื้นดินได้รับความลาบากเดือดร้อนเป็น อย่างมาก แต่ก็ทนด้วยความเข้าใจว่าภิกษุเหล่าน้ันพักอยู่สัก ๒-๓ วันแล้วคงจะไป ครั้นล่วงมาหลายวันก็ยังไม่ ไป รุกขเทวดาจึงแน่ใจว่าภิกษุเหล่านั้นต้องจาพรรษาอยู่ท่ีนั่นแน่ หากเป็นเช่นน้ันพวกตนจะต้องลาบากต่อไป อีกนาน จึงคิดอุบายที่จะให้ภิกษุเหล่าน้ันไปจาพรรษาในท่ีอื่น เม่ือคิดเช่นน้ีรุกขเทวดาจึงทาเป็นผีหลอกหลอน ภิกษุทั้งหลายเมื่อภิกษุบาเพ็ญสมณธรรมในเวลากลางคืน เทวดาก็จะแสดงรูปยักษ์ที่น่าสะพรึงกลัวให้เห็นบ้าง ทาเสียงโหยหวนน่าหวาดกลัว น่าสยดสยองบ้าง ทากลิ่นเหม็นสาบสางบ้าง พระภิกษุท้ังหลายได้เห็นได้ยินได้ กล่ินน้ันในท่ีที่ตนปฏิบัติธรรมก็พากันตกใจสะดุ้งกลัว จนผิวพรรณเศร้าหมองกลายเป็นโรคผอมเหลือง นอนไมห่ ลบั ไมเ่ ป็นอันปฏิบตั ิธรรมบาเพญ็ กรรมฐานไม่สามารถขม่ ใจให้สงบลงได้ วันหนึ่งพระภิกษุเหล่าน้ันออกจากที่ปฏิบัติธรรมของตนมาประชุมกัน พระมหาเถระในสงฆ์ เห็นพวก ภิกษุเหล่าน้ัน ต่างก็มีเน้ือตัวเศร้าหมองซูบซีดผอมเหลืองเช่นน้ัน จึงถามถึงสาเหตุพวกภิกษุต่างเล่าถึงส่ิงที่ตน ประสบพบเห็นมาให้กันและกันฟัง จนไม่สามารถทาจิตใจให้เป็นสมาธิได้ จึงปรึกษากันว่าควรสละพรรษาต้น กลับไปจาพรรษาหลังที่กรุงสาวัตถีกับพระพุทธองค์ตามเดิม การจาพรรษาก็คือการท่ีภิกษุอธิษฐานจิตว่าจะไม่ ไปค้างแรมท่ีอื่นตลอดไตรมาส ๓ เดือนในฤดูฝนเพ่ือให้ภิกษุหยุดจาริก จะได้มีเวลาศึกษาและปฏิบัติธรรมได้ อย่างเต็มท่ี นอกจากน้ันก็เพ่ือจะได้ไม่เป็นการรบกวนชาวบ้าน ซ่ึงต้องประกอบอาชีพทานาปลูกข้าว ธรรม เนียมการเขา้ พรรษาของพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนาน้ัน มพี ทุ ธานญุ าตไวเ้ ป็น ๒ คราว คือ ๑.การเข้าพรรษาต้นเรยี กวา่ ปุริมกิ าวัสสูปนายิกา เร่ิมต้ังแต่แรม ๑ คา่ เดอื น ๘ เปน็ ตน้ ไป ๒.การเข้าพรรษาหลัง เรยี กว่าปัจฉมิ ิกาวัสสูปนายิกา เร่ิมต้งั แต่แรม ๑ ค่า เดือน ๙ เปน็ ตน้ การเข้าพรรษาหลังนี้ พระพุทธองค์ทรงอนุญาตไว้เป็นกรณีพิเศษ สาหรับภิกษุที่มีเหตุขัดข้อง เข้าพรรษาต้นไม่ทัน พวกภิกษุเหล่านั้นจึงจาต้องละพรรษาต้น รีบกลับไปเฝูาพระพุทธองค์ทูลให้ทรงทราบถึง เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในราวปุาแห่งนั้น พระพุทธองค์ตรัสว่าสถานที่ไหนก็ไม่มีเสนาสนะสบายเท่าที่นั่น ทรง แนะนาให้ภิกษุเหล่าน้ันกลับไปที่น่ันอีก เมื่ออาศัยเสนาสนะน้ันแล้วก็สามารถปฏิบัติธรรมถึงความสิ้นกิเลสได้ พระพุทธองค์สอนให้ภิกษุเหล่านั้นเรียนพุทธมนต์อันเป็นทั้งอาวุธเป็นเคร่ืองปูองกันและเป็นท้ังกรรมฐาน สาหรับบรกิ รรมใหแ้ ผเ่ มตตาไปทั่วไม่เจาะจงไม่มีขอบเขตไม่มปี ระมาณ ๑. ภกิ ษตุ ้องแผเ่ มตตา ๒ ครงั้ ตอ่ วัน ๒. เจรญิ พระปริตร ๒ ครง้ั ต่อวัน ๓. เจริญอสภุ ะ คือการพิจารณาร่างกายว่าเป็นของไมส่ วยไม่งาม ๒ ครงั้ ต่อวนั ๔. เจริญมรณสติ คือพิจารณาความตาย ๒ ครงั ต้ ่อวัน การปฏิบัติเช่นน้ีจึงจะชื่อว่าเป็นการจัดการปูองกันตนเองภิกษุเหล่าน้ันกลับไปยังราวปุานั้นอีกครั้ง ปฏิบัติตามท่ีพระพุทธองค์ทรงแนะนาก่อนเข้าสู่ราวปุาได้ร่วมกันสาธยายพระสูตรนั้น เทวดาท้ังหลายได้รับ เมตตาจิตจากภิกษุเหล่านั้น เกิดความเยือกเย็นยินดีปรีดาทาความรู้สึกเหมือนภิกษุเหล่านั้นเป็นลูกในท้องของ

๔๙ ตนเอง ทาการต้อนรับด้วยความเอ้ืออาทรได้ทาการดูแลรักษาอย่างดี ภิกษุเหล่านั้นไม่มีสิ่งใดรบกวนจึงเกิด ความสงบ เจริญกรรมฐานไดบ้ รรลุพระอรหัตภายในพรษานั้นทกุ รูป อานภุ าพการป้องกัน พุทธมนต์ท่ีพระพุทธองค์สอนภิกษุเหล่านั้นภาวนาเรียกว่ากรณียเมตตสูตร ปรากฏอยู่ในพระสุตันต ปิฎก ขุททกนิกายขุททกปาฐะ พระองค์ทรงแนะนาวิธีการใช้คาถาน้ีว่า ก่อนจะเข้าสู่ราวปุาให้หยุดยืนตั้งจิตแผ่ เมตตาพร้อมกับสาธยายพระสูตรน้ี นอกจากเทวดาจะไม่แสดงสิ่งท่ีน่ากลัวหลอกหลอนแล้ว ยังจะมีใจ อนุเคราะห์ภิกษุโดยไมตรีจิต เม่ือต้องเดินทางผ่านปุาเขาลาเนาไพร หรือไปอยู่ในสถานที่ท่ีไม่คุ้นเคย ท่านให้ สวดกรณียเมตตสูตร เพ่ือเป็นเครื่องคุ้มครองปูองกันภยันตราย อันจะเกิดจากอมนุษย์ภูติผีปีศาจท้ังหลายให้ เกดิ ความอ่อนโยนมีเมตตามีความรู้สึกเหมอื นเราเปน็ ลูกเป็นหลาน สรปุ ทา้ ยบท พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงสอนให้สวดมนต์เพ่ือขอร้องวิงวอนให้ทรงบันดาลให้เกิดความสุขสวัสดี โดย ตัวเองไมป่ ฏบิ ัติดี ความหมายในบทสวดมีอยบู่ รบิ รู ณ์ ทผ่ี สู้ วดจะได้รับผลเป็นความสุข ความเจริญรุ่งเรืองสวัสดี ถ้าปฏิบัติตาม แต่ถ้าไม่ปฏิบัติตามความหมายของบทสวดมนต์ เช่น ถ้าไม่ปฏิบัติตามท่ีสวดว่า ข้าพเจ้าเข้าถึง พระพุทธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ ที่พึ่ง ก็จะไม่ได้รับผลอันเลิศที่ควรได้รับเลย ฉะนั้นจึงควรปฏิบัติให้ได้ถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พง่ึ คือ ปฏิบัติตามทพี่ ระพทุ ธเจ้าทรงปฏบิ ัติ ปฏิบัติตามที่พระธรรมทรงสั่ง สอนและปฏิบตั ิตามพระสงฆส์ าวกทีป่ ฏบิ ตั ิเป็นแบบอย่างไว้ จะได้รับความสุขสวัสดีอย่างยิ่งตลอดไปไม่ว่าอะไร จะเกิดข้ึนก็ตาม การสวดมนต์สาธยายพุทธมนต์จึงไม่ใช่บทสาหรับพระสงฆ์สามเณรเท่าน้ัน แต่เป็นบทพุทธ มนต์ท่เี หมาะกบั ทุกๆคน

๕๐ คาถามทา้ ยบท ๑. การสวดมนต์ มีอานสิ งสอ์ ย่างไรตอ่ ผู้สวดและผสู้ วดไดอ้ ะไรจากการสวดมนต์ฯ ๒.การสวดมนต์มีผลดีตอ่ ผ้สู วดอย่างไรฯ ๓.ประวัตการสวดมนต์เริ่มแตป่ ระเทศไหนและเข้าสปู่ ระเทศไทยตอนไหนฯ ๔.จงให้ความหมายของคาว่า มนต์ ตามนัยท่ปี รากฏท้ัง ๒ นัย วา่ อย่างไรฯ ๕.การสวดบทพระปรติ ร มีความหมายและความสาคัญอย่างไรฯ ๖.ประเทศศรลี ังกา มวี ัตถุประสงคใ์ นการสวดอย่างไรฯ ๗.ความหมายของการสวดมนต์ ตามทัศนะของนกั ปราชญท์ างพระพุทธศาสนาสัก ๓ รูปฯ ๘.การสวดมนต์ในพระพทุ ธศาสนาในเบือ้ งต้น มีรูปแบบในการสวดมนตอ์ ย่างไรฯ ๙.การสวดหมู่ (คณสชั ฌายนา) ได้กาเนดิ ขน้ึ มีรปู แบบในการสวดมนต์อย่างไรฯ ๑๐.คาอาราธนาพระปริตร เป็นภาษาบาลีเขียนว่าอย่างไรฯ

๕๑ เอกสารอ้างองิ ประจาบท ชวน เพชรแกว้ , การศึกษาวรรณคดีไทย, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพอ์ กั ษรสัมพนั ธ์, ๒๕๒๐. ธนติ อยโู่ พธ,ิ์ อานุภาพพระปริตต์, กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗. พระคนั ธสาราภวิ งศ์, พระปรติ รธรรม, ลาปาง :จติ วัฒนาการพมิ พ์, ๒๕๔๑. พระธรรมสิงหบรุาจารย์,(หลวงพอ่ จรัญ ฐิตธมฺโม), สวดมนตเ์ ปน็ ยาทาวิปสั สนาเป็นยากนิ . (วดั อัมพวันจ.สงิ หบ์ รุ ีttp://www.jarun.org/dhamma02.php), เข้าถงึ ขอ้ มลู ๙ พ.ย. ๒๕๕๖. พระพรหมบณั ฑั ติ , (ประยูร ธมมฺ จิตโฺ ต), ลิขิตธรรม, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖. พระมหาเทิด ญาณวชโิ ร, (วงศช์ ะอุม่), พุทธานุภาพ, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์เพลสแอนดด์ ไี ซด์ จากัด, ๒๕๔๙. พระมหาบญุจันทร์ ทตตฺ ปญฺโญ, มนตพ์ ธิ ,ี กรงุ เทพมหานคร : โรงพพิ มม์ หาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลยั , ๒๕๓๗. พระมหาวุฒิชยั วชิรเมธี, (ว.วชิรเมธี), ๙ มนต์เพื่อความกา้ วหนา้ , กรงุ เทพมหานคร : สถาบนั วมิ ตุ ตยาลัย, ๒๕๕๓. พระอคั รวงศาจารย์,สทฺทนีตปิ ก รณ (ธาตุมาลา), กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ภูมิพโลภิกข,ุ ๒๕๒๓. ศรศี กั ดิ์ วัลลโิ ภดม, พระเคร่อื งในเมืองสยาม, กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์มตชิ น, ๒๕๓๗. สมเด็จกรมพระยาดารงราชานภุ าพ, รวมเรอื่ งเมืองนครศรธี รรมราช, พระนคร : โรงพมิ พ์ รงุ่ เรอื งรัตน์, ๒๕๐๕. , ตานานพระปริตร, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์รงุ่ เรอื ง, ๒๕๑๔. สมเดจ็ พระสังฆราช, สวดมนต์ฉบบหั ลวง, กรุงเทพมหานคร : มหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๑๓. เสถียรพงษ์ วรรณปก,ร่มรื่นร่มเย็นมตชิ นรายวัน, กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพบ์ รรณาคาร, ๒๕๓๙.

บทท่ี ๓ การฝกึ สมาธิ ด้วยจริต ๖ วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ประจำบท เม่ือได้ศึกษาเนอื้ หาในบทน้ีแล้ว ผู้เรียนสามารถ ๑. อธิบายความหมายของจรติ ๖ ได้ ๒. บอกประเภทและความเปน็ มาได้ ๓. จำแนกลักษณะเฉพาะของจริตได้ ขอบข่ายเนื้อหา • ความหมายของจริต ๖ • ประเภทและความเปน็ มา • ลักษณะเฉพาะของจริต

๕๓ ๓.๑ ความนำ สังคมมนุษยโ์ ลกปัจจุบัน เป็นสังคมที่เห็นคุณค่าทางวัตถุมากกวา่ คุณคา่ ทางจิตใจ ย่งิ พัฒนาไป เท่าใด จะย่ิงเกิดปัญหาจากการพัฒนาเท่าน้ัน ยิ่งมีวัตถุสนองความต้องการมากเท่าใดย่ิงไม่รู้จักอิม่ ไม่ รู้จักพอ คนไทยในยุคโลกาภิวัตรจึงมีปัญหาทางจิตเกิดข้ึนมากมาย เช่น มีพฤติกรรมการแสดงออกที่ รุนแรง ขาดเมตตา ท้ังๆท่ีพระพุทธศาสนาสอนว่าเมตตาธรรมเป็นเครื่องค้ำจุนโลก ทำให้คนไทยยุค ใหม่ตกเป็นทาสของประเทศทุนนิยม ทผี่ ลติ เคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภคมาเปน็ เหย่ือลอ่ ทำใหม้ นุษย์เกดิ กเิ ลส อยากมีอยากได้สนับสนุนให้เกิดค่านิยมบรโิ ภคผ่านสื่อต่าง ๆ โดยปราศจากการควบคุม เม่ือเกดิ ความ อยากมี อยากได้ แต่ไม่มีเงินซ้ือจะกระทำทุจริตลักเล็กขโมยน้อย ฉกชิงวิ่งราวดังที่เป็นข่าวอยู่เสมอ สังคมปัจจุบันจึงไร้ความมีน้ำใจ มนุษย์ชอบหมกมุ่นในกามคุณเป็นท่ีรวมสิ่งยั่วยุทางเพศ ส่ือลามก ตา่ งๆ มากมายมีสง่ิ มอมเมาในรปู แบบการพนันต่าง ๆ อีกมาก เสพส่ิงเสพติด เช่น บุหร่ี ยาบ้า ยาไอซ์ เมื่อสังคมไทยตกอยู่ในสภาพแวดล้อมทางสังคมเช่นน้ี จึงหมกมุ่นจนถอนตัวไม่ขึ้น อีกท้ังคนส่วนใหญ่ คิดว่าการมีความพร้อมทางวัตถุ จะทำให้ชีวิตมีความสงบสุข จึงชอบว่ิงตามวัตถุไขว่คว้าหามาบำรุง ชีวิต สงิ่ ใดที่ยังไม่มีเหมอื นคนทั่วไปจะพยายามดนิ้ รนหามาสิ่งท่ีมอี ยู่แล้วก็ใหม้ ีมากกว่าเดิม ถึงกับกู้หน้ี ยืมสินมาซื้อหาท่ีถลาลึก อาจถึงขั้นทุจริตคิดมิชอบต่อหน้าที่การงาน คนประเภทนี้จะหาความสงบสุข ทางใจไม่ไดจ้ นตลอดชีวิต มนุษย์เราแต่ละคนเกิดมาในสถานท่ีที่ต่างกัน ลักษณะบุคลิกไม่เหมือนกัน บางคนก็เกิดมามี อาการไม่ครบ ๓๒ เหมือนกับคนอ่ืนๆ บางคนก็มีความทุกขย์ ากลำบากเหลือเกิน บางคนเกิดมากไ็ ดร้ ับ แตค่ วามสขุ ความสบาย ทัง้ หมดน้ี กเ็ พราะว่ามาจากกรรม คือ การกระทำในอดตี ชาติ กรรมของคนเรา ไม่เหมือนกัน แม้แต่เป็นฝาแฝดเกิดมาด้วยกัน หน้าตาแทบจะเป็นคนเดียวกันแต่จิตใจแตกต่างกัน จิตใจก็ไม่เหมือนกัน จริตก็ต่างกัน พระพุทธเจ้าท่านถึงตรัสว่าจริตของคนมีหลายอย่าง เพื่อให้เห็น กรรมเก่าจะได้ปฏิบัติธรรมให้ถูกต้องกับจริตของตนเอง การปฏิบัติธรรมก็เหมือนกับเรากินยาเพื่อ รักษาโรค การรกั ษาโรคตอ้ งกนิ ยาใหถ้ ูกกับโรค โรคในที่นก้ี เ็ หมือนกับจริต การปฏิบัตธิ รรมให้เหมาะสมกับจริตในตัวของมนษุ ย์แต่ละคน ตามแนวทางแห่งพระพุทธองค์ จะทำให้มนุษย์เข้าใจถึงสัจธรรมของชีวิต เข้าใจกฎธรรมชาติ ที่เป็นลักษณะเกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์ท่ี ประกอบด้วย รปู ธรรมและนามธรรม คำสอนและทางปฏิบัติของพระพุทธองค์ เปน็ สัจธรรมของชีวิตท่ี สอนให้มนุษย์เรียนรู้ชีวิตตามความเป็นจริง เพื่อนำชีวิตไปสู่ความพ้นทุกข์ ด้วยการปฏิบัติธรรม เพื่อ กำจัดกิเลส ตัณหา อุปาทานท่ีมีอยู่ในขันธสันดานของมนุษย์ให้เจือจางลง จนกระทั่งหมดไป เพื่อฝึก จิตให้เข้มแข็ง ให้มีสติปัญญาที่เฉลียวฉลาด มีดวงตาเห็นธรรม เข้าใจในหลักธรรมคาส่ังสอนของ พระพุทธองค์ได้อย่างถกู ต้องและสามารถนำเอาหลักธรรมคำสั่งสอนน้ัน ไปเผยแผใ่ หก้ บั บุคคลอื่น และ เพื่อพัฒนาจิตให้สะอาด สว่าง สงบ เพื่อการบรรลุมรรคผล ท่ีเรียกว่า พระนิพพาน ซ่ึงเป็นจุดหมาย สงู สดุ ของชวี ิตในปัจจบุ นั และอนาคตสืบไป

๕๔ ๓.๒ ความหมาย จริต ๖ เป็นหลักพุทธธรรมท่ีสำคัญหมวดหน่ึงในพระพุทธศาสนา โดยเม่ือกล่าวถึงเร่ืองของ จริตนั้นจะมุ่งเน้นไปท่ีการมองลักษณะของปุถุชนท่ีเป็นพื้นเพ นิสัย หรือจิตที่อยู่ในตวั ตนของแต่ละคน เป็นหลัก ซ่ึงมีทั้งส่วนดีและส่วนเสียที่แตกต่าง และปะปนกันไป มนุษย์เรานั้น ตราบใดที่ยังไม่ได้เข้าสู่ การฝกึ จิตให้ดแี ล้ว และยังคงดำเนินชีวติ อย่างเช่น ธรรมดาสามัญเป็นปถุ ุชนคนเดินดิน ก็ย่อมมีจริตใน ตัวครบท้ัง ๖ จริต การศึกษาเร่ืองของจรติ ๖ เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างย่ิงในการท่ีจะช่วยให้มนุษยเ์ รารู้จัก ตัวเองมากขึ้นพร้อมท้ังเป็นหนทางทจี่ ะนำไปส่กู ารพัฒนาตัวเองได้ ดังน้ัน จงึ ตอ้ งการทำการศึกษาเร่ือง ของจริต ๖ ในพระพทุ ธศาสนา ตามลำดับหวั ข้อต่อไปนี้ คำว่า “จริต” น้ันมีรากศัพท์ของคำมาจากภาษาบาลี คือคำว่า จรฺ (๑) แปลว่า เท่ียวไป ประพฤต๑ิ เมอ่ื นำ จรฺ ธาตุ + ต ปจั จัยในกริ ิยากิตก์ ซ่ึงกฎของ ต ปจั จยั มีอยวู่ ่า ถา้ ลงหลงั ธาตตุ วั ใด ให้ ลบท่ีสุดธาตุของศัพท์นั้นเสีย แต่ถ้าไม่ลบท่ีสุดธาตุ ให้ลง อิ อาคม จึงได้คำว่า จริต ซ่ึงจริตใช้เป็น คำคุณศพั ท์ เพอื่ ขยายคำนาม เชน่ ราคจรติ โทสจริต โมหจริต เป็นต้น หากใชใ้ นรปู คำนามเพียงลำพัง จะมรี ูปเป็น “จรยิ า” สำเรจ็ รปู มาจาก จร ธาตุ + ณฺย ปจั จัย โดยใช้อิตถีลิงค์ ในคัมภรี ว์ ิสทุ ธมิ รรค๒ และคัมภีรป์ รมตั ถทปี นี๓ กล่าวถงึ “จรติ ” โดยใช้เปน็ คำนาม โดยแสดง เป็นรูปคำวา่ ราคจรยิ า โทสจริยา โมหจรยิ า สทั ธาจริยา พทุ ธิจรยิ า และวติ ักกจริยา ส่วนในคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ มีรูปคำว่า ราคจริตา โทสจริตา โมหจริตา สัทธาจริตา พทุ ธจิ รติ า และวิตักกจริยา ในคมั ภรี ์วมิ ุตติมรรค ไดก้ ล่าวอธบิ ายถงึ คำว่า “จรยิ า” ว่าหมายถงึ จรยิ า ๑๔ ประการ คอื ราคจริยา โทสจริยา โมหจริยา สัทธาจริยา พุทธิจริยา วิตกจริยา ราคโทสจริยา ราคโมหจริยา โทสโมห จรยิ า ราคโทสโมหจรยิ า สัทธาพทุ ธิจริยา สทั ธาวติ กจรยิ า พทุ ธวิ ิตกจรยิ า และสัทธาพทุ ธิวิตก จริยาและได้กล่าวถึงบุคคล ๑๔ ประเภทซึ่งตรงกันกับ ๑๔ จริยาท่ีกล่าวมา คือ ราคจริต โทสจริต โมหจริต สัทธาจริต พุทธิจริต วิตกจริต ราคโทสจริต ราคโมหจริต โทสโมหจริต ราคโทสโมหจริต สัทธาพุทธิจริต สัทธาวิตกจริต พุทธิวิตกจริต และสัทธาพุทธิวิตกจริต อน่ึง จริยาอย่างอ่ืนก็ยังมีอยู่ เช่น ตัณหาจริยา ทิฏฐิจริยา มานจริยา และในส่วนของ กรณีโลภะและจริตท่ีเหลือมีความหมายไม่ แตกต่างกันจากท่ีกล่าวมานี)๔ ซ่ึงในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ก็ได้มีการกล่าวรายละเอียดของจริยา ๑๔ ประการนี้ ไวเ้ หมือนกัน แตใ่ หผ้ ู้ศึกษาเข้าใจโดยสังเขปว่ามีจริยาเพยี ง ๖ อย่างเท่านน้ั ๕ ๑ พระมหาเทียบ สริ ญิ าโณ (มาลยั ), การใชภ้ าษาบาลี, (กรงุ เทพมหานคร : มหาจฬุ าลงกรณราช วทิ ยาลัย., ๒๕๔๗), หน้า ๒๑๐. ๒ วสิ ทุ ฺธ.ิ (ไทย) ๑๖๖. ๓ พระญาณธชะ, ปรมัตถทปี นี, แปลโดย พระคนั ธสาราภิวงศ์, พิมพ์คร้ังที่ ๔, (กรงุ เทพมหานคร : หจก. ประยรู สาสนไ์ ทยการพิมพ์, ๒๕๕๒) , หน้า ๘๑๕,๘๒๒-๘๒๔. ๔ พระอปุ ติสสเถระ,วิมตุ ติมรรค, แปลโดย พระเทพโสภณ (ประยูร ธมมฺ จติ โฺ ต) และคณะ จากต้นฉบบั ภาษาองั กฤษของพระเอฮารา และคณะ, พมิ พค์ รั) งท_ี ๖, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๔๘), หน้า ๕๕-๕๖. ๕ วิสทุ ธฺ .ิ (ไทย) ๑๖๗.

๕๕ ดงั น้ัน จริต จงึ มีความหมายว่า ความประพฤติปกติ, ความประพฤติซึ่งหนักไปทางใดทางหนึ่ง อันเป็นปกตปิ ระจำอยใู่ นสนั ดาน, พน้ื เพของจิต, อปุ นสิ ยั , พ้ืนนิสยั , แบบหรอื ประเภทใหญๆ่ แหง่ พฤติกรรมของคน ตัวความประพฤตเิ รยี กว่า จรยิ า บุคคลผู้มคี วามประพฤติอยา่ งนั้น ๆ เรยี กว่าจรติ ซ่ึงมลี กั ษณะแตกต่างกนั ไป คือ (๑) ราคจรติ หมายถงึ ผมู้ รี าคะเปน็ ความประพฤตปิ กติ, ประพฤตหิ นกั ไปทางรักสวยรกั งาม (๒) โทสจรติ หมายถึง ผมู้ โี ทสะเป็นความประพฤติปกติ, ประพฤตหิ นกั ไปทางใจรอ้ นหงดุ หงดิ (๓) โมหจริต หมายถึง ผู้มีโมหะเป็นความประพฤติปกติ, ประพฤติหนักไปทางเขลาเหงาซึม เงอ่ื งงง งมงาย (๔) สทั ธาจรติ หมายถงึ ผู้มศี รัทธาเป็นความประพฤตปิ กติ, ประพฤตหิ นกั ไปทางมจี ติ ซาบซ้ึง ชื่นบาน น้อมใจเลื่อมใสโดยงา่ ย (๕) พทุ ธจิ ริต หรือ ญาณจริต หมายถึง ผมู้ คี วามร้เู ป็นความประพฤตปิ กติ, ประพฤตหิ นักไป ทางใชค้ วามคดิ พจิ ารณา (๖) วติ กจรติ หมายถึง ผู้มวี ติ กเป็นความประพฤติปกติ, ประพฤตหิ นักไปทางนึกคิด จับจด ฟุง้ ซา่ น๖ เมื่อพิจารณาจากรากศัพท์และคำแปลข้างต้น จะเห็นได้ว่าคำว่า “จริต” เป็นคำที่กิน ความหมายกว้าง โดยเน้นแนวทางการแสดงออกทางพฤติกรรมด้วยความเคยชิน หรือหนักไปทางใด ทางหน่ึง หรอื เป็นอาการระคนกันหลาย ๆ ทาง จากการสัมภาษณ์ พระธรรมมังคลาจารย์ วิ.(หลวงปู่ทอง สิริมงฺคโล) และพระครูภาวนาวิรัช (สุพันธ์ อาจิณฺณสีโล) กล่าวว่า ถ้าวิเคราะห์คำว่าจริต ในปัจจุบัน จะเป็นลักษณะนิสัยที่เป็นสภาพ ความเร่งด่วน แต่ละบุคคลอาจมีพื้นเพนิสัยหนักไปทางใดทางหน่ึงตามปัจจุบันอารมณ์ท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงไม่ คงทอี่ าจจะเปล่ียนไปตามสภาพแวดล้อมขณะน้ันเปน็ ตัวกำหนดจรติ แตพ่ ้ืนเพเดิมของจิตก็ยังปรากฏมี ปะปนอยูต่ ลอดเวลา ๓.๓ ประเภท การศึกษาค้นคว้าในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ทำให้พบเรื่องราวท่ีกล่าวถึงเร่ืองของจริตเป็น จำนวนมาก โดยพบในคมั ภรี ท์ ี่สำคัญ ไดแ้ ก่ พระไตรปฎิ ก คมั ภรี ป์ รมัตถทปี นี อรรถกถามหาสติปัฏฐาน สูตร คัมภีร์วิมุตติมรรค คัมภีร์วิสุทธิมรรค คัมภีร์อภิธรรมมัตถสังคหะ คัมภีร์เนติปกรณ์ ซ่ึงมีการแบ่ง จริตออกเป็นหลายแนวทาง ซ่ึงผู้วิจัยพอสรุปออกได้เป็น ๓แนวทางหลัก ตามที่มีปรากฏในคัมภีร์ที่ สำคัญทางพระพทุ ธศาสนา ซ่งึ มรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ ๓.๓.๑ การแบ่งจริตเป็น ๖ ประเภท คือ ในพระไตรปิฎก พระสารีบุตรได้กล่าวยกย่อง พุทธคุณของพระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงมีพระจักษุแจม่ แจ้งดว้ ย “พุทธจักขุ” นั้นวา่ พระผู้มพี ระภาคทรง ทราบว่า ๖ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต), พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพค์ รง้ั ที่ ๑๘, (นนทบุรี : เพ่มิ ทรัพยก์ ารพมิ พ,์ ๒๕๕๓), หนา้ ๑๘๙ – ๑๙๐.

๕๖ (๑) บคุ คลนี้มีราคจริต (๒) บคุ คลน้ีมโี ทสจริต (๓) บุคคลน้ีมโี มหจริต (๔) บคุ คลน้ีมวี ติ กจริต (๕) บคุ คลน้ีสทั ธาจริต (๖) บุคคลนี้มญี าณจริต ซ่งึ ในพระไตรปฎิ กใชจ้ รติ ขอ้ ที่ ๖ ว่าญาณจริต สว่ นคัมภรี ์อ่ืนๆใช้คำวา่ พุทธจิ ริต ทงั้ น้ีแนวทางการแบ่งจรติ ๖ น้ีเป็นทรี่ จู้ ักแพร่หลายมาก ซ่ึง ในแต่ละคัมภีร์กล่าวถึงจริต ๖ ได้สอดคล้องกันเป็นส่วนใหญ่ ดังในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้กล่าวถึงจริยา ๖ อย่าง คือ (๑) ราคจรยิ า โทสจริยา โมหจริยา สทั ธาจรยิ า พทุ ธจรยิ า และ วติ ักกจรยิ า๗ และในคมั ภีรว์ มิ ุตตมิ รรค กไ็ ดก้ ล่าวถึงบคุ คล ๑๔ ประเภท มี (๑) ราคจรติ (๒) โทสจริต (๓) โมหจริต (๔) สัทธาจริต (๕) พุทธจรติ (๖) วิตกจริต เปน็ เบ้ืองตน้ ๘ ซ่งึ มีความหมายสอดคลอ้ งและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน นอกจากนี้ ยังรายละเอียดของจริต ๖ ประเภทน้ีอยู่ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาอีกคือ คัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ๙และคัมภีร์ปรมัตถ ทีปนี๑๐ โดยการกล่าวถึง จริต ๖ น้ัน มีจุดประสงค์ท่ีมุ่งเน้นไปสู่การเตรียมตัวเพ่ือพัฒนาปัญญาของ บุคคลท่ีมจี รติ ต่างกัน แลว้ เลอื กแนวทางการเจรญิ สมถกรรรมฐาน ๔๐ ประการ เปน็ หลัก ๓.๓.๒ การแบง่ จรติ มีปรากฏในคัมภีรท์ างพระพุทธสาสนา คือ (๑) คัมภีรเ์ นตติปกรณ์๑๑ และ (๒) อรรถกถา(มหา สติปัฏฐานสูตร)๑๒ มีแนวทางการแบ่งจริตเป็น ๒ ประเภท คือ ตัณหาจริต และ ทิฎฐิจริต ซ่ึงจริต ๒ ประเภทนี้มุ่งเน้นเพื่อการเจริญสติปัฏฐานเป็นหลักโดยได้แบ่งจริตและศักยภาพความแก่กล้าของ ปัญญาเพื่อเป็นเคร่ืองช่วยเลือกหมวดในการเจริญสติปัฏฐาน ๔ ซ่ึงนอกจากจะพบการแบ่งจริต ๒ ประเภทในคัมภีร์เนตติปกรณ์และอรรถกถา(มหาสติปัฏฐานสูตร) แล้ว ผู้วิจัยยังได้ค้นพบร่องรอยของ ๗ วิสุทธ.ิ (ไทย) ๑๖๖-๑๘๒. ๘ พระอุปตสิ สเถระ,วมิ ตุ ติมรรค, หน้า ๕๕-๖๒ ๙ สงฺคห. (ไทย) ๙๙. ๑๐ พระญาณธชะ, ปรมตั ถทปี นี, หนา้ ๘๑๕,๘๒๒-๘๒๔. ๑๑ เนตตฺ ิ (ไทย) หน้า ๗๔-๘๐. ๑๒ ที.ม.อ.(ไทย) ๒/๒/๓๗๒/๒๗๘.

๕๗ ตัณหาจริต และ ทิฏฐิจริตในคัมภีร์อ่ืนอีก คือ คัมภีร์วิ วิมุตติมรรค๑๓ และคัมภีร์วิสุทธิมรรค๑๔โดยได้ กล่าวถึงตัณหาจริต และ ทิฏฐิจริต ไว้อีก หมวดหนึ่งโดยนำไปรวมกับ มานะจริต เป็นจริต ๓ และ อธิบายต่อว่า ตัณหาก็ได้แก่ราคะ มานะก็ประกอบด้วยราคะเชน่ กัน เพราะฉะน้ัน ตัณหาและมานะจึง จัดเป็นราคจริต ส่วนทิฎฐิจริตก็บวกเข้าอยู่ในโมหจริต เพราะทิฎฐิมีโมหะเป็นเหตุให้เกิด จะเห็นได้ว่า การแบ่งจริตเป็น ๒ ประเภท คือ ตัณหาจริต และ ทิฏฐิจริตน้ีมีความเก่าแก่มากเช่นเดียวกัน เพราะ พบในเนติปกรณ์ ซ่ึงเป็นคัมภีร์ประเภทปกรณวิเสส สันนิษฐานว่าแต่งในสมัยพุทธกาล โดยพระมหา กจั จายนะ ผู้เป็นเลิศในการอธิบายความย่อให้พิสดาร และได้รบั การสังคายนาร่วมกับพระไตรปิฎกใน ปฐมสังคายนา๑๕ ๓.๔ ความเปน็ มาของจรติ ๖ จากการทไี่ ดค้ ้นควา้ เร่ืองจริต ทำใหพ้ บทม่ี าของจริต ๖ ในคมั ภีร์พระไตรปฎิ กทเ่ี ปน็ หลักฐานที่ เก่าแก่ที่สุด มีปรากฏรายละเอียดไว้ โดยพระสารีบุตรได้กล่าวยกย่องพุทธคุณ เรื่อง พระผู้มีพระภาค ทรงมพี ระจักษุแจม่ แจง้ ดว้ ยพทุ ธจกั ขนุ ้ัน วา่ “พระผูม้ พี ระภาคทรงทราบวา่ (๑) บคุ คลน้ีมีราคจริต (๒) บคุ คลนี้มีโทสจรติ (๓) บคุ คลนี้มโี มหจริต (๔) บุคคลน้ีมวี ติ กจริต (๕) บคุ คลน้ีมสี ทั ธาจรติ (๖) บคุ คลน้ีมีญาณจรติ ...”๑๖ ซ่ึงในพระไตรปิฎกได้กล่าวถึงเรื่องของจริต ๖ ไว้อย่างย่อ ๆ เท่านั้น แต่ถ้าหากจะพิจารณา โดยละเอียดแล้ว เค้าโครงที่มาในเรื่องของจริต ๖ นี้ จะมีปรากกฎรายละเอียดอยู่อีกมาก ในพระไตรปิฎก ซ่ึงจะมิได้กล่าวถึงรายละเอียดเร่ืองของจริต ๖ โดยตรงแต่จะกล่าวถึงโดยอ้อม คือ จากเร่ืองราวของพระอรหันตสาวกท้ังหลาย ท่ีได้ตรัสรู้ธรรมหลังจากท่ีพระพุทธองค์ทรงตรัสแสดง ธรรมสั่งสอน แม้กระทั้งตอนเริ่มแรกท่ีพระพุทธองค์ทรงตรัสรู้ใหม่ๆ ได้ทรงตรวจดูอุปนสิ ัยของสตั วโ์ ลก แลว้ ทรงเหน็ วา่ ยังมีบุคคลผทู้ ี่สามารถรู้ธรรมตามได้อีกมาก และหลังจากนั้นได้ออกเผยแผ่และประกาศ พระศาสนาด้วยพระองคเ์ อง โดยทรงพิจารณาเลือกธรรมในการส่ังสอนสตั ว์โลกให้เหมาะสมกบั บุคคล นั้น จนบุคคลผู้น้ันได้บรรลุอรหันต์ ยกตัวอย่างเช่นในกรณีของ พระองคุลีมารพระพุทธเจ้าทรงรู้ด้วย ญาณแล้วว่า องคุลีมารเป็นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาดมาก่อนอยู่แล้ว แต่หลงผิดไปในความช่ัว เพราะได้รับการย่ัวยุ และการสั่งสอนไปในทางผิด จึงทรงแสดงธรรมโปรดจนองคลุ ีมารกลับตวั เป็นคน ดี ได้บวชเป็นพระสาวกและได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในท่ีสุดนอกจากน้ีจะเห็นได้ว่ายังมีเร่ืองราวต่างๆ ที่กล่าวถึงจริต ๖ โดยอ้อมผ่านลักษณะของการแสดงธรรมเพื่อโปรดบุคคลต่างๆ ภายหลังอีกมาก ๑๓ พระอุปติสสเถระ,วมิ ตุ ติมรรค, หนา้ ๕๕-๖๒. ๑๔ วิสทุ ฺธ.ิ (ไทย) ๑๖๖-๑๘๒. ๑๕ สุเมธ โสฬศ, “การศึกษาเครื_องมือจำแนกจริตที_เหมาะสมในการเจริญสติปฏั ฐาน”, วทิ ยานิพนธ์ พทุ ธศาสตรดุษฎีบณั ฑิต, (บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๔), หน้า ๖๖. ๑๖ ข.ุ ม.(ไทย) ๒๙/๑๕๖/๔๓๐ , ข.ุ จ.ู (ไทย) ๓๐/๘๕/๓๐๔.

๕๘ และยังมีอีกหลายนัยยะในพระไตรปิฎกท่ีได้กล่าวถึง ได้มีนัยสำคัญพอแสดง ให้เห็นถึงความเป็นมา ของจริต ๖ ได้โดยอ้อม เช่น (๑) พระพุทธองค์ได้ให้ข้อสังเกตว่าบุคคลท้ังหลายในโลกนี้มักคบหากันเพราะมีธาตุที่ตรงกัน คือคนท่ีมีอุปนิสัย หรือจริตท่ีคล้ายกันจะมาคบหาสมาคมกัน เช่น คนมีปัญญามากมักคบหากับผู้มี ปัญญามากด้วยกัน เป็นของธรรมดาที่มีในโลก มีรายละเอียดในจงกรมสูตร พระพุทธเจ้าทรงช้ีให้ พระภิกษุดวู า่ พระภิกษุมักอยู่รวมกันโดยธาตุ เช่นผู้มีปัญญามากจะอยรู่ วมกลุ่มกับพระสารีบุตรผู้มีฤทธ์ิ มากจะอยู่รวมกลุ่มกับพระโมคคัลลานะ ผู้ที่ใฝ่ ต่อสุตตะจะอยู่รวมกลุ่มกับพระอานนท์ และผู้มีความ ปรารถนาลามกจะไปอยู่รวมกลุ่มกับเทวทัตเป็นต้น และทรงสรุปท้ายพระสูตรว่า “แม้ในอดีต แม้ใน อนาคต แมใ้ นปัจจุบันนี้ สัตว์ทงั้ หลายก็ไดค้ บคา้ สมาคมกันโดยธาตอุ ยา่ งเดียวกนั คือ สัตว์ท้ังหลายผู้มี อัธยาศัยเลว ได้คบค้าสมาคมกับสัตว์ทั้งหลายผู้มีอัธยาศัยเลว สัตว์ท้ังหลายผู้มีอัธยาศัยงาม ได้คบค้า สมาคมกับสตั ว์ท้ังหลายผู้มีอัธยาศยั งาม”๑๗ เรื่องน้ีอาจให้นัยยะเปน็ ๒ คอื ประการที่หนึ่งเราสามารถ สงั เกตอปุ นิสัยของตนเองไดจ้ ากกลุ่มเพ่ือนสนิท เช่นเพื่อนทุกคนในกลุ่มที่สนิทของเราเป็นคนโมโหง่าย แสดงว่าเรามแี นวโนม้ เป็นพวกโทสะแรงเช่นเดียวกนั ประการท่ีสอง เรื่องนี้มีนัยยะว่า หากเราต้องการ เป็นคนเช่นไร ให้นำตัวเขา้ ไปสมาคมคบหากบั คนเชน่ นั้น๑๘ (๒) รายละเอียดในปวารณาสูตร พระพุทธเจ้าพระองค์ทรงปรารภถึงหมู่ภิกษุสงฆ์จำนวน ๕๐๐ รูปท่ีแวดล้อมพระองค์อยู่ ซ่ึงล้วนเป็นพระอรหันต์ ด้วยการจำแนกประเภทของพระอรหันต์ว่า บรรดาภิกษุ ๕๐๐ รูปเหล่านี้ ภิกษุ ๖๐ รูปเป็นผู้ได้วิชชา ๓ อีก ๖๐ รูปได้อภิญญา ๖ อีก ๖๐ รูปได้ อุภโตภาควิมุตติ ส่วนที่เหลือเป็นผู้ได้ปัญญาวิมุตติ ซ่ึงหากพิจารณาจากการรวมตัวเลข แบบน้ีจะได้ เป็น ๒ กลุ่มใหญ่ โดยกลุ่มแรกเป็นผู้ได้วิชชา ๓ อภิญญา ๖ และ อุภโตภาควิมุตติ มีจำนวนรวมกัน ๑๘๐ รูป ซ่ึงในจำนวนนี้หลุดพ้นด้วยกำลังสมาธิ ส่วนกลุ่มท่ีสอง จำนวน ๓๒๐ รูป ที่เหลือ เป็นพวก ปัญญา วิมุติ หลุดพ้นด้วยการเจริญปัญญา จึงสามารถแบ่งประเภทของการบรรลุอรหันตผลออกได้ เป็น ๒ ประเภท คือ (๑) ผู้หลุดพ้นด้วยกำลังสมาธิ (ผู้ได้วิชชา ๓ อภิญญา ๖ และ อุภโตภาควิมุตติ) และ (๒) ผู้หลุดพ้นด้วยกำลังปัญญา เรื่องน้ีพอจะสรุปให้เห็นว่า บุคคลมี ๒ ประเภท คือประเภทท่ี สามารถทำสมาธิได้จนถึงฌาน และเป็นผู้ท่ีไม่สามารถทำฌานได้แต่หลุดพ้น ด้วยการเจริญปัญญามี มากกว่า ท้ัง ๒ ประเภทนี้สามารถบรรลธุ รรมเป็นพระอรหันต์ได้ แต่มคี วามแตกต่างกันตรงท่ีพวกแรก เมอื่ สำเรจ็ แล้วจะมคี วามสามารถพิเศษทส่ี งู กวา่ ๑๙ สุเมธ โสฬส ได้ทำวิจัยเกี่ยวกับเครื่องมือจำแนกจริตที่เหมาะสมในการเจริญสติปัฏฐานได้ เสนอข้อคิดเห็นจากการแบ่งประเภทบุคคลโดย ประเภทของการบรรลุอรหันตผล ข้างต้นนี้ ว่า“จาก การแบ่งกลุ่มบุคคลตามตัวเลขสถิติดังกล่าวสามารถบ่งให้เห็นว่า คนส่วนใหญ่สำเร็จอรหันต์ได้ด้วย แนวทางปัญญาวิมุติ (หลุดพ้นด้วยวิธีวิปัสสนานำหน้าสมถะ) นี้เอง ดังนั้นในฐานะท่ีเป็นชาวพุทธท่ี มุ่งหวังการบรรลุธรรม ควรต้องประเมินตนเองว่าสามารถทำสมาธิได้ถึงฌานหรือไม่ หากทำได้ควร ๑๗ ส.ํ นิ.(ไทย) ๑๖/๙๙/๑๘๗ ๑๘ สเุ มธ โสฬศ, “การศกึ ษาเครอ่ื งมอื จำแนกจริตท่ีเหมาะสมในการเจรญิ สติปัฏฐาน”, วิทยานิพนธ์ พทุ ธศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ , (บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔), หนา้ ๖๗. ๑๙ สุเมธ โสฬศ, “การศกึ ษาเครอ่ื งมอื จำแนกจริตทเี่ หมาะสมในการเจริญสตปิ ฏั ฐาน”, วทิ ยานิพนธ์ พุทธศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต, (บณั ฑติ วิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๔), หนา้ ๖๗.

๕๙ เลือกแนวทางสมถยานิก (สมถนำหน้าวิปัสสนา) แต่หากไม่สามารถทำได้ ก็ควรเลือกเดินแบบยานิก (วปิ สั สนานำหน้าสมถะ) ซ่งึ เปน็ แนวทางที่คนสว่ นมากดำเนินจนถงึ อรหันตไ์ ด้”๒๐ (๓) รายละเอียดดังปรากฏในปาสราสิสูตร คือ เมื่อคร้ังที่พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสรู้ใหม่ๆ ทรง เห็นว่าธรรมที่ทรงตรัสรู้เป็นของละเอียดและประณีต ยากท่ีจะมีผู้ใดรู้เห็นตาม จึงมีพระทัยในการ ขวนขวายน้อยในการท่ีจะทรงประกาศธรรมของพระองค์ คร้ันสหัมบดีพรหมได้ทราบความดำรนิ ้ัน จึง ได้มากราบทูลอาราธนาให้พระพุทธเจ้าได้โปรดแสดงธรรม พระพุทธองค์จึงทรงตรวจดูอุปนิสัยของ สัตวโ์ ลก แล้วจึงเห็นวา่ สัตว์ทั้งหลายดุจดังบัว ๓ เหล่า คือ บางเหล่ายังไม่พ้นน้ำ จมอยูใ่ ตน้ ้ำ บางเหล่า อยู่เสมอน้ำ บางเหล่าอยู่พ้นน้ำไม่แตะน้ำ ได้เห็นสัตว์ทั้งหลายผู้มีธุลีในดวงตาน้อย มีธุลีในดวงตามาก มีอินทรยี ์แก่กล้า มีอินทรียอ์ ่อน มีอาการดี มีอาการทราม สอนให้รู้ได้งา่ ย สอนให้รไู้ ดย้ าก จึงได้ตัดสิน พระทัยที่จะเผยแผ่พระธรรม เน่ืองจากทรงเล็งเห็นสตั ว์ท่ีมีอุปนสิ ัยท่ีจะรู้ตามไดย้ ังพอมอี ยู่๒๑ จากเรื่อง น้ีชี้ให้เหน็ ว่าพระพทุ ธองค์ทรงแบ่งบคุ คลเป็น ๓ระดับ ซ่ึงทรงเปรียบเป็นดอกบัว ๓ เหล่า โดยบัวเหล่า ที่ ๑ อยู่ใต้น้ำ บัวเหล่าท่ี ๒ อยู่เสมอน้ำ และบัวเหล่าที่ ๓ โผล่พ้นน้ำ๒๒ แสดงถึงทรงเห็นอุปนิสัยและ ความสามารถในการรับธรรมะหรือบุคคลที่จะสามารถสอนให้รู้ตามได้ ๓ ระดับคือ รับรู้ธรรมะและ สามารถสอนให้รู้ตามได้ยาก ได้ปานกลางและได้ง่ายตามลำดับ ซ่ึงการจำแนกคนแบบนี้มีส่วนทำให้ พระพุทธเจ้าทรงเกิดมหากรุณาจิต ตัดสินพระทัยในการประกาศพระศาสนา ด้วยเห็นว่ามีคนจำนวน หนึ่งสามารถรู้ธรรม เห็นธรรม ตามพระองค์ได้ มีคนบางส่วนรู้ธรรมยาก และอีกบางส่วนยากมากที่จะ รู้ธรรมตามพระองค์ ด้วยเหตุน้ีพระพุทธองค์ทรงเลือกประกาศพระธรรมคำสอนแก่ผู้ท่ีสมควรได้รับ พระธรรมโดยลำดับ และทรงไม่ได้คาดหมายให้ทุกคนต้องมานับถือแนวทางของพระองค์ท่ีทรง ประกาศ ในเร่ืองนี้ต่อมาภายหลังได้มีคัมภีร์ชั้นอรรถกถา อธิบายขยายความเพ่ิมเติม โดยได้กล่าวถึง ลกั ษณะบุคคล ๔ ประเภท เปรยี บดอกบัว ๔ เหลา่ คือ (๔) รายละเอียดดังที่ปรากฏในเกสิสูตร ซ่ึงพระสูตรนี้ปรารภการสนทนากันระหว่าง พระพุทธเจ้ากับครูฝึกม้า ชื่อเกสีสารถี ซ่ึงในการสนทนา เกสีสารถีถามพระพุทธองค์ว่า พระพุทธองค์ น้ันมีวิธีฝึกคนอย่างไร พระพุทธองค์ก็ทรงย้อนถามนายเกสีว่า แล้วท่านฝึกม้าอย่างไร นายเกสีสารถี ตอบวา่ เขามวี ิธฝี กึ มา้ ๔ อยา่ ง คือ (๑) ฝกึ แบบสุภาพสำหรบั มา้ เชื่อง (๒) ฝึกแบบรุนแรงสำหรบั ม้าพยศ (๓) ฝกึ แบบผสม (๔) สว่ นมา้ ทฝี่ ึกไมไ่ ด้ก็ฆา่ ทง้ิ เสียเพ่ือมิใหเ้ สยี ชื่อเสยี งครฝู กึ ม้า ซ่ึงพระองคก์ ็ตรสั ตอบวา่ พระองค์เป็นสารถีฝึกบรุ ษุ ก็ใช้ ๔ วธิ ีเชน่ กัน คอื (๑) ฝกึ แบบสภุ าพ (๒) ฝกึ แบบรุนแรง (๓) ฝึกแบบผสม (๔) ผทู้ ี่ฝึกไมไ่ ด้ก็ทรงงดการสอนเสีย๒๓ ๒๐ เรอ่ื งเดียวกนั , หน้า ๖๗. ๒๑ ม.มู.(ไทย) ๑๒/๒๘๓/๓๐๗. ๒๒ ม.มู.(ไทย) ๑๒/๒๘๓/๓๐๗. ๒๓ องฺ.จตกุ ฺก.(ไทย) ๒๑/๑๑๑/๑๖๙.

๖๐ จากเรอ่ื งน้ีสามารถช้ีให้เห็นว่าพระพทุ ธเจ้าทรงแบง่ ประเภทของบุคคลเป็น ๔ ประเภท คอื (๑) บคุ คลผู้ฝึกง่าย สมควรฝกึ แบบสภุ าพ (๒) บุคคลผ้ฝู ึกยาก สมควรฝกึ แบบรนุ แรง (๓) บคุ คลผทู้ สี่ มควรฝกึ ทงั้ ๒ แบบ และ (๔) บุคคลผู้ท่ีไม่สมควรแก่การฝึกหรือฝึกไม่ได้แล้วก็ทรงงดการสอนเสีย จะเห็นว่า พระพุทธองค์ทรงทราบอุปนสิ ัยของผู้ท่ีเข้ารับการฝึก จึงทรงมอบแนวทางท่ีเหมาะสมให้สมควรแกก่ าร ฝึก โดยท่านมิได้บังคับให้ทุกคนปฏิบัติอย่างเดียวกัน แต่ทรงมอบธุดงควัตร ๑๓ ให้เป็นทางเลือกตาม ประเภทของผู้ฝึกแบบรุนแรง ส่วนผู้ที่ไม่สามารถฝึกได้พระพุทธองค์ทรงตัดท้ิงเสียดังเช่นกรณีพระ เทวทตั เปน็ ตน้ (๕) ปรากฏรายละเอียดในปโตทสตู ร พระพุทธเจา้ ทรงปรารภมา้ อาชาไนย (๑) บางตวั เพยี งเหน็ เงาปฏักก็ตั้งใจรับฟงั คำสั่งของสารถี (๒) บางตัวเพียงถกู แทงปฏกั ท่ีขน ก็ตงั้ ใจรับฟงั คำส่ังของสารถี (๓) บางตัวเพยี งถกู แทงปฏกั ที่ผิวหนัง ก็ตง้ั ใจรบั ฟังคำส่ังของสารถี (๔) บางตัวเพียงถูกแทงปฏักท่ีเน้ือถึงกระดูก ก็ต้ังใจรับฟังคำส่ังของสารถี เปรียบดัง บุรุษอาชาไนย ๔ จำพวกท่ีรบั รู้ความทุกข์และความตายไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และรีบหันมาบำเพญ็ เพียรเพ่ือ ออกจากวัฏฏสงสาร๒๔ ในเร่ืองนี้ช้ีใหเ้ หน็ วา่ พระพทุ ธเจ้าทรงแบ่งบุรษุ อาชาไนย ไว้ ๔ ประเภท คอื (๑) บุรุษอาชาไนยผู้เจริญเพียงได้ฟังข่าวความทุกข์หรือความตายของผู้อื่นก็สลด สังเวช จงึ เริ่มบำเพ็ญเพียร (๒) บุรุษอาชาไนยผู้เจริญ เพียงได้ประสบพบเห็นความทุกข์หรือความตายของผู้อ่ืน ดว้ ยตนเองกส็ ลดสังเวช จึงเร่ิมบำเพญ็ เพยี ร (๓) บุรุษอาชาไนยผู้เจริญ เพียงเห็นญาติของตนประสบความทุกข์หรือความตายก็ สลดสังเวช จงึ เร่ิมบำเพ็ญเพียร (๔) บุรุษอาชาไนยผู้เจริญ เพียงตนเองได้รับความทุกข์ก็สลดสังเวช จึงเร่ิมบำเพ็ญ เพียร จะเห็นว่าแต่ละคนมีความสามารถในการรับรู้ไม่เท่ากัน พระองค์จึงทรงอนุญาตให้บางคนบวช ด้วยความเห็นภัยในวัฏฏสงสารแล้ว แต่บางส่วนพระองค์ทรงประทานแนวทางแห่งฆราวาสธรรมให้ ดำเนนิ โดยไม่ตอ้ งบวชเพราะยังไมต่ อ้ งการหลุดพ้นอย่างรวดเร็วเพราะยังไม่เหน็ ภัยในวฏั ฏสงสาร จากที่ได้กล่าวถึงรายละเอียดต่างๆ ข้างต้น แสดงให้เห็นว่า พระพุทธองค์ทรงได้วางแนวทาง ของบุคคลและพ้ืนเพนิสัยของสัตว์โลกเอาไว้ เพ่ือทจ่ี ะทรงสามารถหาแนวทางช้ีแนะและสั่งสอนดว้ ยวิธี ที่แตกต่างกันออกไปตามจริต หรือ นิสัย ของบุคคลประเภทนั้น ๆ จึงกล่าวได้ว่าแนวทางต่างๆ ที่ทรง วางไว้เป็นส่ิงพ้ืนฐานท่ีบ่งบอกได้ถึงความเป็นมาของจริตทั้ง ๖ ประเภทได้เช่นกัน ซ่ึงในเรื่องของจริต ๖ ที่ได้ชี้แจงมาตั้งแต่ต้นว่า เกิดจากการท่ีพระสารีบุตรได้กล่าวยกย่องพุทธคุณ เร่ืองพระผู้มีพระภาค ทรงมีพระจักษุแจ่มแจ้งด้วยพุทธจักขุนั้น ว่า “พระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า ๑.บุคคลน้ีมีราคจริต ๒.บุคคลนี้มีโทสจริต ๓.บุคคลนี้มีโมหจริต ๔.บุคคลนี้มีวิตกจริต ๕.บุคคลนี้มีสัทธาจริต ๖.บุคคลนี้มี ญาณจริต น้ีต่อมากภายหลังได้มีคัมภีร์ช้ันหลัง ได้แก่ คัมภีร์วิมุตติมรรค คัมภีร์วิสุทธิมรรค คัมภีร์ ๒๔ องฺ.จตุกฺก(ไทย) ๒๑/๑๑๓/๑๗๒.

๖๑ อภิธรรมสังคหะ และคัมภีร์ปรมัตถทีปนี ได้อธิบายรายละเอียดเร่ืองของจริต ๖ ได้อีกจำนวนมาก ดัง จะไดศ้ กึ ษาต่อไปในหัวขอ้ ต่อไป ๓.๕ ลกั ษณะเฉพาะของจริต ๖ จริต ๖ ที่อยู่ในตัวบุคคล มีลักษณะเฉพาะตัวแตกต่างกันไป ซ่ึงในพระพุทธศาสนา ได้ให้ ความหมายว่า ลักษณะส่วนรวมของพฤติกรรม ที่แสดงออกเป็นปกติวิสัยของบุคคลท้ังในด้านชีวิต ส่วนตัว ในกิจการงานและในสังคมทั่ว ๆ ไป ที่สามารถสังเกตและวัดได้ อาจแสดงออกมาในรูปอง พฤติกรรมภายนอก เช่น การแต่งกาย กิริยาท่าทาง ท่วงทีวาจา การทำงาน ฯลฯ ซ่ึงพฤติกรรมเหล่าน้ี เป็นผลมาจากพ้ืนเพของจิตใจ อันได้แก่ เจตคติ ความเช่ือ ค่านิยม สติปัญญา เป็นต้น ซึ่งใน พระพุทธศาสนา แบ่งพ้ืนเพของจิตใจ หรือจริตอย่างกว้าง ๆ ออกเป็น ๖ ประเภท ตามการใหน้ ิยามของ สุรรี ตั น์ ฝนอรุณ๒๕ (๒๕๔๖) ทใ่ี หค้ วามหมายของจริต ประเภทต่าง ๆ ดงั น้ี ราคจริต หมายถึง พฤติกรรมท่ีเน้นหนักไปทางรักสวยรักงาม ถือเอาความสวยงามเป็นเรื่อง ใหญ่ บุคคลท่ีมีราคจริตมาก โดยท่ัวไปจะมีพฤติกรรมที่แสดงถึงลักษณะ ๘ ประการคือ มีมายา มักโอ้ อวด ถือตัว ประสงค์ในทางทุจริต มีความปรารถนามากอยากเป็นใหญ่ ไม่สันโดษ มีแง่งอน และมีความ โออา่ ลักษณะของบุคคลผู้เป็นราคจริต ในคัมภีร์วิมุตติมรรคได้อธิบายว่า บุคคลราคจริตจะมองรูป เสมือนหน่ึงเขาไม่เคยเห็นมาก่อน เขามองไม่เห็นขอ้ เสียหายของรูปนั้นและไม่ได้พิจารณาส่งิ เหล่าน้ัน เข้า ไม่ได้พิจารณาคุณความดีแม้เพียงเล็กน้อยของรูปนั้น เขาไม่สามารถเป็นอิสระ จากความต้องการในรูปา รมณ์น้ันได้ แม้หลังจากพิจารณาแล้วเขาก็ยังไม่สามารถท่ีจะเป็นตัวของตัวเองได้ เขามีกิริยาท่าทางไป แนวทางเดยี วกัน พึงทราบวา่ บคุ คลน้นั เป็นราคจรติ ด้วยอาการอยา่ งนี้๒๖ โทสจริต หมายถึง พฤติกรรมที่เน้นหนักไปในทางโกรธง่าย ฉุนเฉียว ใจร้อน หงุดหงิด บุคคลที่มี โทสจริตมากโดยท่ัวไปจะมีพฤติกรรมทแ่ี สดงถงึ ลกั ษณะ ๖ ประการ คือ มักโกรธ ผูกโกรธ ลบหลู่คุณท่าน ยก ตนเทียมท่าน ริษยา และตระหน่ี ในคัมภีร์วิมุตติมรรค ได้อธิบายอาการของบุคคลโทสจริต ว่า บุคคลโทสจริตมองดูรูปไม่นาน ราวกับว่าเหนื่อยหน่าย เมื่อเขารู้สึกหงุดหงิด เขาจะก่อการทะเลาะวิวาทกับผู้อ่ืนบ่อยๆ แม้สิ่งใดดีๆ เขาก้ไม่ชอบใจ เขาปดั ทิ้งหมดไมว่ ่าอะไร วถิ ชี ีวติ เขาถูกกำหนดโดยโทษ เขามีท่าทีต่ออารมณ์ของทวาร อ่นื ๆ ในทำนองเดยี วกัน พงึ ทราบวา่ บุคคลน้ันเป็นโทสจรติ ดว้ ยอาการอย่างน้ี๒๗ ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้อธิบายไว้อย่างสอดคล้องกันว่า คนโทสจริต เห็นรูปที่ร่ืนรมย์ใจสัก หน่อยก็ดูนานไม่ได้ ทำเหมือนกบั ว่าเหน็ดเหนื่อย เดือดร้อนใจในส่วนที่เสียงของรูป แม้ส่วนดีจะมกี ็ไม่ มอง ทัง้ ๆทเี่ หน็ กบั ตา เมือ่ จะจากไป กอ็ ยากจะไปใหพ้ น้ ๆ ไม่มคี วามอาลัยแมแ้ ต่นิดเดยี ว๒๘ ๒๕ สรุ รี ตั น์ ฝนอรณุ . การศกึ ษาบุคลิกภาพของผูบ้ ริหารระดับกลางในองค์การเอกชนเขตกรงุ เทพ มหา นครตามแนวจริต ๖ ในพระพุทธศาสนา, วิทยานพิ นธ์วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาจิตวิทยาอตุ สาหกรรมและ องค์การ, บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง, (๒๕๔๖), บทคดั ยอ่ . ๒๖ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม,หนา้ ๑๘๙. ๒๗ วิมตุ ตมิ รรค, หนา้ ๕๙. ๒๘ วิสทุ ฺธ,ิ (ไทย) ๑๗๓-๑๘๒.

๖๒ โมหจริต หมายถึง พฤตกิ รรมที่เน้นหนกั ไปทางโง่เขลา ไมช่ อบใช้ปัญญา มืดมนด้วยความหลง งมงาย บุคคลท่ีมีโมหจริตมาก โดยท่ัวไปจะมีพฤติกรรมที่แสดงถึงลักษณะ ๖ ประการ คือ หดหู่และ เซอ่ื งซึม เล่ือนลอย รำคาญ ลังเลสงสยั มมี ิจฉาทิฐิ และละทฐิ ยิ าก ในคัมภีร์มรรค ได้อธิบายอาการของบุคคลโมหจริต ว่า บุคคลโมหจริตมองดูรูปดังน้ี ในเรื่อง ของคุณและโทษของส่ิงใดๆ ก็ตามเขาจะเช่ือคนอ่ืน ใครเห็นว่าอะไรมีค่าหรือน่าชื่นชม เขาก็ว่าตาม เพราะเขาไม่รู้เร่ืองอะไร เขามีท่าทีต่ออารมณ์ของทวารอื่นๆ ในทำนองเดียวกัน ดังนั้น พึงทราบว่า บคุ คลนั้นเป็นโมหจรติ ๒๙ คัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้อธิบายไว้อย่างสอดคล้องกันว่า คนโมหจริต เห็นรูปอย่างใดอย่างหน่ึง ก็ แล้วแต่คนอื่นท่ีเห็นด้วย ได้ยินเขาติก็ติกับเขา ได้ยินเขาชมก็ชมกับเขา ส่วนตัวเองเป็นคนเฉยๆ โดย ความโงเ่ ขลาในอาการทัง้ หลาย๓๐ สัทธาจริต หมายถึง พฤติกรรมท่ีเน้นหนักไปในทางศรัทธา ซาบซ้ึง น้อมใจ เล่ือมใสโดยง่าย บุคคลท่ีมีสัทธาจริตมาก โดยทั่วไปจะแสดงพฤติกรรมที่บอกถึงลักษณะ ๗ ประการ คือ บริจาคทรัพย์ เป็นนิตย์ มุ่งมั่นทำความดี ชอบฟังเทศน์ฟังธรรม ยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นผู้ไม่โอ้อวด เป็นผู้ไม่มีมายา และ ความเล่ือมใสในฐานะทง้ั หลายทค่ี วรเลอื่ มใส ในคัมภีร์วิมุตติมรรคและคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้อธิบายไว้เพียงแต่ว่ามีลักษณะอาการใกล้เคียง กับบุคคลราคจริต พอจะสรุปลักษณะของคนสัทธาจริตได้ว่า บุคคลสัทธาจริตจะมีสภาวะจิตท่ีมี ปรชั ญาหรือหลักการของตัวเองและพยายามผลักดันให้ตัวเองและผูอ้ ่ืนบรรลถุ ึงจดุ หมายนั้น มีลักษณะ ยึดมั่นอย่างแรงกล้าในบุคคล หลักการหรือความเช่ือถือและความศรัทธา คิดว่าตัวเองเป็นคนดี น่า ศรัทธา ประเสริฐ กว่าคนอื่น เป็นคนจริงจัง พูดหลักการ มีจุดแข็ง คือ มีพลังจิตสูงและเข้มแข็งพร้อม ที่จะเสียสละเพ่ือผู้อื่น ต้องการเปล่ียนแปลงตัวเองและสังคมไปสู่สภาพท่ีดีกว่าเดิม มีพลังขับเคล่ือน มหาศาล มีลักษณะความเป็นผู้นำ มีจุดอ่อน คือ หูเบา ความเชื่ออยู่เหนือเหตุผล ถูกหลอกได้ง่าย ย่ิง ศรัทธามาก ปัญญาย่ิงลดน้อยลง จิตใจคับแคบ ไม่ยอมรับความคิดเห็นท่ีแตกต่าง ไม่ประนีประนอม มองโลกเป็นขาวและดำ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีตนคิดว่าถูกต้อง สามารถทำได้อย่างแม้แต่ใช้ความ รนุ แรง๓๑ พุทธิจริต หมายถึง พฤติกรรมท่ีเน้นหนักไปในทางใช้ความคิดพิจารณา มักใช้ ปัญญา ในการไตร่ตรอง ชอบวางแผน บุคคลท่ีมีพุทธิจริตมากโดยทั่วไปจะมีพฤติกรรมท่ีแสดงถึงลักษณะ ๗ ประการ คือ ว่าง่าย มักคบเพ่ือนที่ดีงาม รู้จักประมาณ ในการกินการอยู่ มีสติรอบคอบ มคี วามพยายามสูง รูจ้ กั ใชเ้ หตุผล และยอมรบั ความเป็นจริง ในคัมภีร์วิมุตติมรรคและคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้อธิบายไว้เพียงแต่ว่ามีลักษณะอาการใกล้เคียง กับบุคคลโทสจริต พอจะสรุปลักษณะของคนพุทธิจริตได้ว่า บุคคลพุทธิจริต จะมีสภาวะจิตท่ีเน้น การใช้ปัญญาในการไตร่ตรอง คิดหาเหตุผลมาแก้ปัญหาต่างๆในชีวิต ท้ังชีวิตส่วนตัว ชีวิตการทำงาน รวมท้ัง มีความสนใจ เร่ืองการยกระดับและพัฒนาจิตวิญญาณ ลักษณะ คิดอะไร เป็นเหตุเป็นผล ของเรื่องต่างๆ ตามสภาพความเป็นจริง ไม่ปรุงแต่ง พร้อมกรับความคิดที่แตกต่างไปจากตนเอง ๒๙ พระอุปตสิ สเถระ, วิมตุ ตมิ รรค, หน้า ๕๙. ๓๐ สทุ ธฺ ิ,(ไทย) ๑๗๓-๑๘๒. ๓๑ อนุสรณ์ จนั ทพันธ์ และบญุ ชยั โกศลธนากุล, จริต ๖ ศาสตรใ์ นการอ่านใจคน, พิมพ์ครั้งที่ ๒๙, (กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั อมรินทรพ์ ริน้ ต้ิงแอนดพ์ บั ลิชชิง่ จำกดั , ๒๕๕๕),หนา้ ๘,๑๔.

๖๓ ใฝเ่ รียนรู้ ช่างสังเกต มีความเมตตาไม่เอาเปรียบคน หน้าตาผอ่ งใส ตาเป็นประกาย ไม่ทุกข์ จุดแข็งคือ สามารถเห็นเหตุเห็นผลได้ชัดเจน และรู้วิธีการแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างถูกต้อง อัตตาต่ำ เปิดใจรับ ข้อเท็จจริง จิตอยู่ในปัจจุบัน ไม่จมปลักในอดีต และไม่กังวลในสิ่งท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต พัฒนา ปรับปรุงตัวเองอยู่เสมอ เป็นกัลยาณมิตร มีจุดอ่อน คือ มีความเฉื่อย ไม่ต้องการพัฒนาจิตวิญญาณ ชีวิตราบรื่นมาตลอด หากต้องเผชิญพลังด้านลบ อาจเอาตัวไม่รอด ไม่มีความเป็นผู้นำ จิตไม่พลัง พอทจ่ี ะดงึ ดูดคนให้คลอ้ ยตาม๓๒ วิตกจริต หมายถึง พฤติกรรมที่เน้นหนักไปในทางคิดฟุ้งซ่าน เป็นทุกข์ รอ้ นใจ กังวล ลังเลใจ ชอบคิดไปในทางร้ายทางเสีย บุคคลท่ีมีวิตกจริตมากโดยทั่วไปจะมีพฤติกรรมท่ีแสดงถึงลักษณะ ๗ ประการ คือ พูดมาก ชอบคลุกคลีกับหมู่คณะ เบื่อหน่วยในการประกอบบุญกุศล เป็นคนจับจด เป็น คนฟงุ้ ซา่ น เปน็ คนเกียจคร้าน และเป็นคนเจา้ ความคดิ ในคัมภีร์วิมุตติมรรคและคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้อธิบายไว้เพียงแต่ว่ามีลักษณะอาการใกล้เคียง กับบุคคลโมหจริต พอจะสรุปลักษณะของคนวิตกจริตได้ว่า บุคคลวิตกจริต จะมีสภาวะจิตที่กังวล สบั สนและวุ่นวายฟุ้งซ่านแทบทุกลมหายใจ ลักษณะพูดเป็นน้ำไหลไฟดับ ความคิดพวยพุ่ง ฟุ้งซ่านอยู่ ในโลกความคิด ไม่ใช่โลกความจริง มองโลกในแง่ร้ายว่าคนอ่ืนจะเอาเปรียบกล่ันแกล้งเรา หน้าจะบึ่ง ไม่ค่อยย้ิม เจ้ากเ้ี จ้าการ อัตตาสูงคิดว่าตัวเองเก่ง อยากรู้อยากเห็นไปทุกเรื่อง ผัดวันประกันพรงุ่ มีจุด แข็ง คอื เป็นนักคิดระดบั เย่ียมยอด มองอะไรทะลปุ รุโปร่งหลายชน้ั เปน็ นกั พดู ที่เกง่ จูงใจคน เป็นผนู้ ำ หลายวงการ ละเอียดรอบคอบ เจาะลึกในรายละเอียด เหน็ ความผิดเล็ก ความผิดน้อยที่คนอื่นไม่เห็น มีจดุ อ่อน คอื มองจุดเลก็ ลมื ภาพใหญ่ เปลยี่ นแปลงความคดิ ตลอดเวลา จุดยืนกลับไปกลับมา ไมร่ ักษา สัญญา มีแต่ความคิด ไม่มีความรู้สึก ไม่มีวิจารณญาณ ลังเล มักตัดสินใจผิดพลาด มักทะเลาะวิวาท ทำรา้ ยจติ ใจ เอารัดเอาเปรยี บผู้อื่น มคี วามทกุ ข์ เพราะเหน็ แตป่ ญั หา แต่หาทางแกไ้ ขไม่ได้๓๓ ลักษณะเดน่ ราคจริต/สัทธาจริต จรติ ๖ ในวิสุทธิมรรค โมหจรติ /วิตกจรติ การเดิน โทสจริต/พทุ ธิจรติ เดินสภุ าพ วางเทา้ เดนิ เหมอื นเอาปลายเท้า เดินเงอะงะยกและวาง การยนื และการนง่ั สมำ่ เสมอ รอยเทา้ ขุดดนิ ไป เดนิ เรว็ เหมอื นคนสะด้งุ ตกใจ การทำกจิ ท้งั หลาย กระโหย่งกลาง รอยเท้าเป็นรอยขยุ้ม รอยเทา้ เลอะเลือน มีอาการแขง็ กระด้าง การบริโภค มีอาการนุ่มนวล มอี าการสา่ ยไปมา อกุศลธรรม น่าเลื่อมใส ทำอยา่ งเคร่งเครียด ซุ่มซา่ ม เขม้ แข็ง สะอาดแต่ ทำอยา่ งละเอียดลออ ไมเ่ รยี บร้อย มักทำไมล่ ะเอียดลออ เรยี บรอ้ ย สม่ำเสมอ ชอบอาหารท่ีไมป่ ระณตี ย่งุ ไม่สะอาด และไม่ ตั้งใจ มรี สเปรยี้ ว คำขา้ วใหญ่ เรียบร้อย ความโกรธ ความผูกโกรธ ทำขา้ วพอดีคำ ชอบ ชอบของกินไมแ่ นน่ อน อาหารทม่ี รี สหวาน ข้าวคำเล็ก เลอะเทอะ เสแสรง้ โออ้ วด ถอื ตวั หดหู่ เซื่องซึม ความ ๓๒ อนุสรณ์ จนั ทพันธ์ และบญุ ชยั โกศลธนากุล, จริต ๖ ศาสตรใ์ นการอ่านใจคน, พมิ พ์ครัง้ ที่ ๒๙, (กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั อมรินทร์พร้ินติง้ แอนด์พบั ลชิ ช่ิง จำกัด, ๒๕๕๕),หน้า ๘,๑๕. ๓๓ เรื่องเดียวกนั , หนา้ ๘,๑๕.

๖๔ (สำหรับคนราคจรติ ปรารถนาลามก มกั ความลบหลู่ ความตเี สมอ ฟ้งุ ซ่าน รำคาญใจ โทสจรติ และโม มาก ไม่สันโดษ แง่ ความริษยา ความตระหนี่ ความสงสยั ความ หจริต) งอน มเี ลห่ เ์ หลยี่ ม ยดึ ถอื ม่ันด้วย เปน็ ผวู้ า่ ง่าย มมี ิตรดี รูจ้ กั ความสำคัญผิด กุศลธรรม ความเสยี สละเดด็ ขาด ประมาณในการบริโภค ความไมป่ ล่อยวาง (สำหรบั คนสัทธาจริต ความใครเ่ ห็นพระอรยิ ความมีสตสิ ัมปชญั ญะ พทุ ธจิ ริต และอกุศล เจ้าทงั้ หลาย ความใคร่ ความหม่นั ประกอบความ มากไปดว้ ยการพูด ธรรม สำหรับคน ฟังพระสัทธรรม ความ เพยี ร ความสังเวช มี ยินดใี นหม่คู ณะ ไม่ วติ กจริต) มากไปด้วยปราโมทย์ ความเพียร โดยแยบคาย ยนิ ดีในการภาวนา มี ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา การงานไมแ่ น่นอน ความเล่อื มใส กลางคนื เป็นควัน กลางวนั เป็นไฟ ความคดิ พล่าน นอกจากนี้ ในคมั ภีร์วิมุตติมรรค ยงั ได้กว่าไว้อีกว่า บางคร้งั ในคนเดียวกนั อาจมจี รติ ท่ี ผสมผสานกนั สองหรอื สามจรติ ๓๔ ซึ่งอาจจำแนกต่อจากจรติ ๖ ข้างตน้ ได้อีก ๑.ราคจริต ความประพฤตเิ ป็นไปดว้ ยอำนาจราคะ ๒.โทสจรติ ความประพฤติเป็นไปด้วยอำนาจโทสะ ๓.โมหจริต ความประพฤติเป็นไปด้วยอำนาจโมหะ ๔.สทั ธาจริต ความประพฤติเปน็ ไปดว้ ยอำนาจศรทั ธา ๕.พุทธจิ ริต ความประพฤตเิ ป็นไปด้วยอำนาจปัญญา ๖.วิตกจรติ ความประพฤติเป็นไปด้วยอำนาจวิตก ๗.ราคโทสจรติ ความประพฤตเิ ปน็ ไปด้วยอำนาจราคะและโทสะ ๘.ราคโมหจรติ ความประพฤตเิ ปน็ ไปดว้ ยอำนาจราคะและโมหะ ๙.โทสโมหจรติ ความประพฤติเปน็ ไปดว้ ยอำนาจโทสะและโมหะ ๑๐.ราคโทสโมหจรติ ความประพฤติเป็นไปด้วยอำนาจราคะ โทสะ และโมหะ ๑๑.สทั ธาพทุ ธิจริต ความประพฤตเิ ปน็ ไปดว้ ยอำนาจศรทั ธาและปัญญา ๑๒.สทั ธาวิตกจริต ความประพฤตเิ ปน็ ไปด้วยอำนาจศรัทธาและวิตก ๑๓.พทุ ธวิ ติ กจริต ความประพฤตเิ ป็นไปด้วยอำนาจปัญญาและวิตก ๑๔.สัทธาพุทธวิ ิตกจรติ ความประพฤติเป็นไปด้วยอำนาจศรัทธา ปญั ญาและวิตก การผสมผสารกันของจริตต่างๆในคนเดียวกันน้ี เป็นเพราะปุถุชนทุกคนมีกิเลสต่างๆเป็น แรงผลักดันทั้งสิ้น ต่างแต่ว่ากิเลสชนิดใดมีมากกว่าจึงปรากฏออกมาให้เห็นก่อน และเป็นเครื่อง ผลักดันพฤติกรรมหลักไปทางนั้น แต่ในขณะเดียวกันกิเลสชนิดอ่ืนก็คอยหาโอกาสที่จะเป็นผู้ผลักดัน บ้าง เมื่อมีสถานการณ์เหมาะสม ดังนั้น บางคนจึงมีทั้งโทสะ โมหะ และราคะจริตผสมผสานกันไป น่นั เอง ๓๔ พระอุปตสิ สเถระ, วมิ ตุ ติมรรค, แปลโดย พระเทพโสภณ (ประยรู ธมมฺ จิตโฺ ต) และคณะ จากต้นฉบับ ภาษาอังกฤษของพระเอฮารา และคณะ, พิมพค์ ร้ังที่ ๖, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิพมม์ หาจฬุ าลงกรราชวิทยาลัย, ๒๕๕๘), หนา้ ๕๕.

๖๕ ลกั ษณะเฉพาะ จริต ๖ ในวมิ ุตติมรรค การมองดูรูป ราคจริต/สัทธาจรติ โทสจริต/พุทธจิ ริต โมหจริต/วติ กจริต กิเลส การเดิน มองนาน/หาขอ้ ดี มองไม่นาน/เหน็ ข้อเสีย คลอ้ ยตามคนอน่ื การนุ่งห่ม ริษยา มานะ มายา โกรธ พยาบาท มักขะ ถนี มทิ ะ อทุ จั จกกุ กุจจ การบรโิ ภค การงาน (ปดั กวาด) สาไถย มกั มาก ตระหน่ี อุปนาหะ วิจกิ ิจฉา โมหะ การนอน ยกเท้าเรว็ ก้าวเท้า ยกขากระตุก เหยยี บลง ยกเท้าขนึ้ และลงปัดไป สม่ำเสมอ สง่างาม ผลนุ ผลัน กระแทกสน้ ปดั มา ไม่ใช้ของเกา่ หรอื ชำรดุ นุ่งหม่ รวดเร็ว ไม่ นงุ่ ห่มเชอ่ื งชา้ ไม่ ขาด ไม่ห้อยรุ่มรา่ ม เรยี บร้อย ไมน่ ่าดู เรียบรอ้ ย ไม่น่าดู น่าดูน่าชม ไมน่ า่ ชม ไมน่ ่าชม เรียบร้อย พอใจในรส ไม่เรียบร้อย คำโต ถ้าไม่ ไมเ่ รยี บรอ้ ย คำเล็ก แมไ้ ม่อรอ่ย อร่อยจะไม่พอใจ เลอะเทอะ ไมส่ ำรวม จับไมก้ วาดพอดี ไมร่ บี เรง่ รีบ รวดเรว็ กวาดเสยี ง กวาดเช่ืองชา้ ไม่ รอ้ น กวาดสะอาด ดัง สะอาด แตไ่ ม่ สะอาด ไม่เรียบร้อย เรยี บร้อย เรียบร้อยสม่ำเสมอ ไม่สม่ำเสมอ เตรยี มที่นอนเรยี บร้อย เตรยี มที่นอนรีบร้อน รีบ ไมเ่ ตรยี มท่ีนอน ค่อยๆเอนกายลงนอน นอน เวลาหลบั น่านวิ่ ค้ิว เรียบร้อย หลบั แขนขา ถาถกู ปลุกจะลุกทันที ขมวด ถา้ ถูกปลกุ จะลุก ถ่าง ถ้าถูกปลุกจะบน่ และตอบแบบไมเ่ ตม็ ทนั ทีทนั ใด และตอบแบบ พึงพำและใชเ้ วลานาน ใจ ไมพ่ อใจ จงึ ตอบ สรปุ ทา้ ยบท การศึกษาเร่ืองจริต ๖ ในทางพระพุทธศาสนาสำหรับนักฝึกสมาธิในเบ้ืองต้น จัดว่าเป็น คุณูปการไม่ใช่น้อย สำหรับการเรียนรู้ตัวเอง ปรับตัวเอง คืนสภาพเดิมๆให้กับจิตใจ เพื่อเป็นพ้ืนฐาน ในการฝึกสมาธิในอิริยาบถ ท้ังการเดิน การน่ัง การนอน การกิน การด่ืม จริต ๖ มีร่องรอยปรากฏมี ความเป็นมาตั้งแตส่ มัยพุทธกาล โดยเร่ิมตน้ จากการท่ีพระพุทธองคต์ รสั รู้ธรรมใหม่ๆ ทรงเห็นวา่ ธรรม ที่ทรงบรรลุน้ัน ละเอียดประณีตยากท่ีผู้ใดผู้หนึ่งจะรู้เห็นตามได้ กระน้ันพระองค์ก็ทรงพิจารณาเห็น อปุ นิสยั ของสัตว์ทงั้ หลาย มนษุ ย์น้ันมีระดับสติปัญญาแตกต่างกัน หากตอ้ งอาศยั การเรียนรู้ตัวเองเป็น อันดบั แรก ดว้ ยการศกึ ษาเรยี นรู้ จริต ๖ ประการและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

๖๖ คำถามทา้ ยบท ๑.จงให้นยิ ามความหมายของคำว่า จริต และแบง่ เป็นกีป่ ระเภทฯ ๒.ลกั ษณะเฉพาะของคนทเ่ี ป็นประเภทราคจรติ และโทสจรติ เป็นอย่างไรฯ ๓.จะบรหิ ารจัดการคนที่เป็น ราคะจรติ และโทสจรติ อยา่ งไรฯ ๔.ลกั ษณะเฉพาะของคนที่เป็นประเภทโมหะจรติ และสัทธาจริตเปน็ อยา่ งไรฯ ๕.จะบรหิ ารจัดการคนทเี่ ป็น โมหะจรติ และสทั ธาจรติ อย่างไรฯ ๖.ลักษณะเฉพาะของคนท่ีเป็นประเภทพุทธิจรติ และวติ กจริตเปน็ อยา่ งไรฯ ๗.จะบริหารจัดการคนทเี่ ป็น พุทธิจริตและวติ กจริต อย่างไรฯ ๘.ประวัติความเป็นมาของจริต ๖ เปน็ มาอยา่ งไรฯ ๙.เกสีสารถีถามพระพทุ ธองค์วา่ พระพุทธองค์นัน้ มีวิธฝี กึ คนอย่างไรฯ ๑๐.คัมภีรว์ มิ ตุ ตมิ รรคและคมั ภีรว์ ิสุทธิมรรคไดอ้ ธิบายอาการของบุคคลโทสจริตว่าอยา่ งไรฯ

๖๗ เอกสารอา้ งองิ ประจำบท พระญาณธชะ, ปรมัตถทีปนี, แปลโดย พระคนั ธสาราภิวงศ์, พมิ พ์ครง้ั ที่ ๔, กรงุ เทพมหานคร : หจก. ประยรู สาสน์ไทยการพิมพ์, ๒๕๕๒. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหา จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต), พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์คร้งั ท่ี ๑๘, นนทบรุ ี : เพิม่ ทรพั ย์การพมิ พ์, ๒๕๕๓. พระมหาเทยี บ สิรญิ าโณ (มาลยั ), การใช้ภาษาบาลี, กรุงเทพมหานคร : มหาจฬุ าลงกรณราช วทิ ยาลัย., ๒๕๔๗. สุเมธ โสฬศ, “การศึกษาเคร่ืองมือจำแนกจริตท่ีเหมาะสมในการเจริญสตปิ ฏั ฐาน”, วทิ ยานิพนธ์ พทุ ธศาสตรดุษฎบี ัณฑติ , (บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๔. สรุ รี ัตน์ ฝนอรณุ . การศึกษาบุคลิกภาพของผู้บริหารระดับกลางในองค์การเอกชนเขตกรุงเทพ มหา นครตามแนวจริต ๖ ในพระพุทธศาสนา, วทิ ยานิพนธ์วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาจติ วทิ ยา อุตสาหกรรมและองค์การ, บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๖. อนุสรณ์ จันทพันธ์ และบุญชัย โกศลธนากลุ , จรติ ๖ ศาสตรใ์ นการอา่ นใจคน, พิมพ์ครั้งท่ี ๒๙, กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรนิ ทร์พรน้ิ ตงิ้ แอนด์พับลชิ ชง่ิ จำกัด, ๒๕๕๕.

บทที่ ๔ หลักการปฏิบตั ิวิปสั สนากัมมัฏฐาน ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรปู้ ระจำบท เม่อื ไดศ้ กึ ษาเนื้อหาในบทนีแ้ ลว้ ผู้เรียนสามารถ ๑. อธิบายหลักสูตรการปฏบิ ตั วิ ปิ ัสสนากัมมฏั ฐานในคมั ภรี ์ได้ ๒. อธบิ ายการเตรียมตัวกอ่ นการปฏบิ ตั ิวปิ สั สนากมั มัฏฐานได้ ๓. จำแนกเดนิ จงกรมและการนั่งสมาธิได้ ๔. อธบิ ายการกำหนดอารมณก์ ัมมัฏฐานกับระบบของอารมณ์หลกั ได้ ๕. อธิบายวธิ กี ำหนดอริ ิยาบถยอ่ ยในขณะเปล่ียนท่าระหว่างการเดินจงกรม กบั การน่งั กมั มฏั ฐานได้ ขอบข่ายเนอื้ หา • หลกั สูตรการปฏิบัตวิ ปิ ัสสนากัมมัฏฐานในคมั ภรี ์ • การเตรยี มตวั ก่อนการปฏิบัติวิปสั สนากัมมฏั ฐาน • เดินจงกรมและการน่ังสมาธิ • การกำหนดอารมณก์ มั มัฏฐานกับระบบของอารมณ์หลัก • วธิ กี ำหนดอิริยาบถย่อยในขณะเปลย่ี นทา่ ระหวา่ ง การเดนิ จงกรมกับการนงั่ กัมมฏั ฐาน

๗๐ ๔.๑ ความนำ สมาธิ (สันสกฤต : समाधि) คือการฝึกฝนทางจิตหลากหลายรูปแบบ ซึ่งเป้าหมายคือ ก่อให้เกิดการตระหนักรู้ตนเอง และจิตสำนึกต่อการทำงาน การทำสมาธิโดยทั่วไปมักเป็นการฝึกหัด ส่วนบุคคล ยกเว้นในบางกรณีเช่น การสวดมนต์ ผู้ฝึกสมาธิส่วนใหญ่ มักจดจ่อกับส่ิงใดสิ่งหน่ึง อาจ เป็นลมหายใจ การเพ่งวตั ถุต่าง ๆ หรือแม้แต่การจดจ่อกับกิจกรรมที่กระทำ การทำสมาธิ มกั เกยี่ วกับ การปลูกฝังความรู้สึกหรือความเช่ือม่ันภายใน อาจจะเป็นการต้ังเป้าหมาย หรือ อาจจะหมายถึงการ เช่ือมโยงกับส่ิงใดสิ่งหนึ่งอย่างเฉพาะเจาะจงก็ได้ การมีจิตใจที่เข้มแข็ง รู้จักไตร่ตรองความคิดให้ ถูกต้องรูปแบบการฝึกสมาธินั้นมากมายและมีความหลากหลาย คนทั่วไปอาจจะเข้าใจคำว่า \"สมาธิ\" ในบริบทท่ีแตกต่างกัน การทำสมาธินั้นมีมาตั้งแต่โบราณและ การฝึกฝนสืบทอดต่อกันมา จน กลายเป็นองค์ประกอบของประเพณีทางศาสนา ในประเพณีจิตวิญญาณตะวันออก เช่น ศาสนาฮินดู และ พุทธศาสนา แม้ในประเทศแถบตะวันตกบางแห่งก็เช่นกัน ในปี ๒๐๐๗ การศึกษาของรัฐบาล สหรัฐพบวา่ เกือบ ๙.๔% ของผู้ใหญ่ (มากกวา่ ๒๐ ล้านคน) มกี ารฝึกสมาธภิ ายใน ๑๒ เดือนทีผ่ ่านมา เพิ่มข้ึนจาก ๗.๖% (มากกว่า ๑๕ ล้านคน) ในปี ๒๐๐๒ ตั้งแต่ปี ๑๙๖๐, การทำสมาธิได้รับการเพ่ิม จุดเน้นของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การทำสมาธิมีปรากฏในหลายศาสนา ซ่ึงรวมถึงพุทธศาสนา ฮนิ ดู และเต๋า และยังคงรวมถงึ สิ่งท่ไี ม่เกย่ี วกับศาสนา เชน่ โยคะ๑ หลักการปฏิบัติวปิ สั สนากมั มัฏฐานในคัมภรี พ์ ทุ ธศาสนาเถรวาทในบทนีม้ ุ่งศึกษาเพื่อให้เหน็ ถึง รอ่ งรอย ซึ่งจะเป็นบาทฐานสำคัญในการศึกษาให้เห็นถึงความสอดคล้องระหว่างร่องรอยดังกล่าวกับ วิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานของพระปลัดชัชวาลในที่สุด อย่างไรก็ดีหลักฐานที่นำเสนอในบทนี้ นอกจากมุ่งเน้นในคัมภีร์พระพุทธศาสนาแล้ว ยังได้นำหลักฐานจากหนังสือและงานวิจัยทาง พระพทุ ธศาสนามาเสรมิ เพ่อื สรา้ งความเข้าใจใหส้ มบูรณย์ ิ่งขึ้น ๔.๒ หลักสตู รการปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากัมมัฏฐานในคมั ภรี ์ หลักสูตรการปฏิบัติกัมมัฏฐานเท่าท่ีปรากฏในพระไตรปิฎกได้กําเนิดท่ีต้นไทร อชปาลนิโครธ ภายหลงั ทรงตรัสรู้ ๔๙ วัน พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ทรงวางแผนหลักสูตรและรปู แบบการศกึ ษาวปิ ัสสนา ธุระตามลำดับความสามารถของแต่ละบุคคลไว้ในพระวนิ ัยปิฎก๒ บางคนฟังเพยี งหัวข้อธรรมก็สามารถ เข้าใจได้ทันที บางคนฟังหัวข้อธรรมแล้วยังไม่พอต้องฟังคำอธิบาย แจกแจงรายละเอียดจึงจะเข้าใจ สว่ นบางคนฟงั หัวข้อธรรม, คำอธิบายแจกแจงรายละเอียดแล้วยังไมพ่ อต้องฟังซํ้าแล้วซํา้ เล่าและต้องมี ตวั อยา่ งประกอบจึงจะเข้าใจ ดงั ขอ้ ความท่ีว่า ๑ จากวกิ พิ เี ดีย สารานกุ รมเสรี ๒ วิ.ม. (ไทย) ๔/๙/๑๔.

๗๑ “พระพุทธองคท์ รงตรวจดูโลกด้วยพุทธจกั ษุ๓ ได้เห็นสัตว์ทั้งหลายผมู้ ีธุลีในตาน้อย มีธุลีในตา มาก๔ มีอินทรีย์แก่กล้า มีอินทรีย์อ่อน มีอาการดี มีอาการทราม สอนให้รู้ได้ง่าย สอนให้รู้ได้ยาก บางพวกมักเห็นปรโลกและโทษว่านา่ กลัวก็มี บางพวกมักไมเ่ หน็ ปรโลกและโทษวา่ น่ากลัวกม็ ี” มีอุปมาเหมือนในกออุบล ในกอปทุม หรือในกอบุณฑริก ดอกอุบล ดอกปทุม ดอกบุณฑริก บางดอกท่ีเกดิ ในนา้ํ เจริญในนา้ํ ยังไม่พน้ น้ํา จมอยู่ในน้ํา ดอกอุบล ดอกปทุม ดอกบุณฑริก บางดอกที่ เกิดในนํ้า เจริญในนํ้าอยู่เสมอน้ํา ดอกอุบล ดอกปทุม ดอกบุณฑริก บางดอกที่เกิดในน้ํา เจริญในนํ้า ขน้ึ พ้นน้าํ ไม่แตะนาํ้ ฉนั ใด พระผู้มีพระภาคทรงตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ได้เห็นสัตว์ท้ังหลาย ผู้มีธุลีในตาน้อย มีธุลีใน ตามาก มีอนิ ทรีย์แกก่ ลา้ มอี ินทรยี ์อ่อน มอี าการดี มีอาการทราม สอนให้รไู้ ด้ง่าย สอนให้รู้ได้ยาก บาง พวกมักเห็นปรโลกและโทษว่าเป็นสง่ิ นา่ กลวั กม็ ี บางพวกมักไม่เหน็ ปรโลกและโทษว่าเป็นสงิ่ น่ากลัวก็มี ฉนั นนั้ ๕ การพิจารณานี้เป็นการเปรียบเวไนยสัตว์กับดอกบัว ๓ เหล่า๔๖ และในอรรถกถาได้กล่าวถึง บัวเหล่าท่ี ๔ แล้วแบ่งบุคคลเป็น ๔ จำพวก คือ บัวพ้นนํ้าหรือบุคคลผู้อคุ ฆฏิตัญู เป็นบุคคลผู้มีปัญญา อันเฉียบแหลมท่ีได้ฟังแค่หัวข้อธรรมเท่านั้นก็สามารถบรรลุมรรคและผลได้ทันที ได้แก่ ปัญจวัคคีย์๗ สนั ตติอำมาตย๘์ พระจูพนาคเถระ๙ บัวอยู่เสมอน้ําหรือบุคคลผ้วู ปิ จิตัญู เป็นบคุ คลที่ได้ฟังหัวขอ้ ธรรม จำแนกเน้ือความแห่งภาษติ โดยยอ่ ให้พิสดารก็สามารถบรรลุมรรคและผลได้ ไดแ้ ก่ พระมหาติสสเถระ บัวจมอยู่ในน้ําหรือบุคคลผู้เวเนยยะ เป็นบุคคลท่ีได้ฟังหัวข้อธรรมซํ้าๆ แล้วยังต้องชี้แจง แนะนำพร้อมท้ังซักถามแล้วยังไม่พอ ต้องสมาคมคบหาโดยสนิทสนมกันกับกัลยาณมิตรจึงจะบรรลุ มรรคและผลเป็นชนั้ ๆ ไป เช่น เจา้ ศากยะสรณานิ๑๐ บวั ท่ีจมอยู่ในโคลนตมที่มีโรค เป็นอาหารของปลาและเต่าหรือบคุ คลผู้ปทปรมะ เป็นบุคคลท่ี ฟังมาก กล่าวมาก จำทรงไว้มาก บอกสอนก็มาก แต่ไม่มีการบรรลุมรรคผลในชาตินั้น ได้แก่ พระโลลทุ ายี๑๑ พระเทวทตั ๑๒ ๓ พุทธจกั ษุ หมายถงึ (๑) อนิ ทรยิ ปโรปรยิ ตั ตญิ าณ คือ ปรชี าหยั่งรู้ความย่งิ และความหย่อนแหง่ อินทรยี ์ ของสัตว์ท้งั หลาย คือ รวู้ า่ สตั ว์น้นั ๆ มศี รัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญั ญา แค่ไหน เพยี งใด มกี ิเลสมาก กเิ ลสน้อย มี ความพรอ้ มท่ีจะตรสั รูห้ รือไม่ (๒) อาสยานสุ ยญาณ คือ ปรชี าหยัง่ รอู้ ัธยาศยั ความมงุ่ หมาย สภาพจติ ทน่ี อนอยู่ (ข.ุ ป. (ไทย) ๓๑/๑๑๑/๑๒๔,๑๑๓/๑๒๖) ๔ ตา ในทนี่ หี้ มายถึงปญั ญาจักษุ (ว.ิ มหา.อ. (ไทย) ๓/๙/๑๕, ดู ข.ุ ป.(ไทย) ๓๑/๑๑๑-๑๑๕/๑๒๔-๑๒๘) ๕ องฺ.จตกุ กฺ . (ไทย) ๒๑/๑๓๓/๒๐๒, อภ.ิ ปุ. (ไทย) ๓๖/๑๐/๑๔๒,๑๔๘-๑๕๑/๑๘๖-๑๘๗) ๖ อภ.ิ ป.ุ (ไทย) ธาตกุ ถา-บคุ คลบญั ญัติ ๓ /๑๐ /๓๓๖-๓๓๗. ๗ วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๒/๑๘. ๘ พระโสภณมหาเถระ (มหาสสี ยาดอ), วิปสั สนานยั เลม่ ๑, แปลโดย พระคันธสารา- ภิวงศ,์ (นครปฐม : โรงพมิ พ์ หา้ งหุ้นส่วนจำกดั ซเี อไอ เซ็นเตอร์ จำกดั , ๒๕๕๐), หนา้ ๔๓. ๙ อภ.ิ ธา. (ไทย) ๓/๑๐๙/๓๓๙. ๑๐ พระโสภณมหาเถระ (มหาสสี ยาดอ), วปิ สั สนานัย เล่มที่ ๑, แปลโดย พระคนั ธ- สาราภิวงศ์,), หน้า ๔๐. ๑๑ อภ.ิ ธา. (ไทย) ๓/๑๐๙/๓๓๙. ๑๒ ว.ิ ป. (ไทย) ๘/๓๒๘/๔๘๗.

๗๒ พระเจ้าอชาตศัตรู๑๓ อุปกาชีวก ตมั พทาฐิกะ๑๑๔ จากขอ้ ความนี้ผู้วจิ ัยเหน็ วา่ ในคัมภีรพ์ ระพุทธศาสนา ได้ “แบง่ คนเปรยี บไดก้ บั บัว ๔ เหลา่ ” และพระพุทธเจา้ จะทรงสอนบวั เหล่าที่ ๑-๓ เทา่ นน้ั ๔.๓ กำหนดการสอน กำหนดการสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระพุทธองค์ไม่ได้ทรงกำหนดเวลาไว้ เพราะธรรมะของพระองค์เป็นอกาลิโก คือไม่ประกอบด้วยกาล ให้ผลไม่จำกัดกาล ไม่ขึ้นกับกาลเวลา ไม่จำกัดด้วยกาล ให้ผลแก่ผู้ปฏิบัติทุกเวลา ทุกโอกาส บรรลุเม่ือใดก็ได้รับผลเม่ือน้ัน ไม่เหมือนผลไม้ ทใี่ ห้ผลตามฤดู อีกอยา่ งหน่งึ ว่าเป็นจริงอยอู่ ยา่ งไรก็เปน็ จริงอยู่อย่างน้ันเร่ือยไป๑๕ แตก่ ่อนท่ีพระผู้มีพระภาคเจา้ จะเสด็จไปโปรดใคร ก็จะใช้พระสัพพัญญุตญาณตรวจดูลักษณะ ของบุคคลนั้นว่าอินทรีแก่พอที่จะทรงส่ังสอนได้หรือไม่ และจะใช้วิธีการสอนอย่างไร ในตอนปัจฉิม ยาม๑๖แล้วจงึ เสดจ็ ไปสอนบคุ คลนนั้ กำหนดการสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นมีปรากฏไว้ในคัมภีร์ คือพระองค์ใช้ พระข่าย ญาณตรวจดูในตอนเช้ามืดว่า จะไปโปรดใครได้บ้าง โดยตรวจดูบุคคลใด มีอินทรีย์แก่กล้าพอ ทจ่ี ะบรรลธุ รรมได้แล้ว พระพุทธองค์กจ็ ะเสด็จไปสอนคนนน้ั เลย แผนการสอน หมายถึง แผนการหรือโครงการที่จัดทำเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้ในการ ปฏบิ ัติการสอนในรายวิชาใดวิชาหนึง่ เป็นการเตรียมการสอนอย่างมีระบบ และเป็นเคร่ืองมอื ทช่ี ว่ ยให้ ครูพัฒนาการจัดการเรียนการสอนไปสู่จุดประสงค์การเรียนรู้และจุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ๑๗ แผนการจดั การเรยี นรู้ (Lesson Plan) เปน็ วสั ดุหลกั สูตรที่ควรพฒั นามาจากหนว่ ยการเรียนรู้ (UNIT PLAN) ท่ีกำหนด ไว้ เพ่ือให้การจัดการสอบบรรลุเป้าประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของ หลักสูตร หนว่ ยการเรียนรจู้ ึงเปรียบเสมอื นโครงร่าง หรือพิมพ์เขียวที่กลา่ วถึงประสบการณ์การเรียนรู้ ตามหัวข้อการจัดการเรียนรู้และกระบวนการวัดผลที่สอดคล้องสัมพันธ์กัน ส่วนแผนการเรียนรู้จะ แสดงการจัดการเรียนรู้ตามบทเรียน (lesson) และประสบการณ์การเรียนรู้เป็นรายวัน หรือราย สัปดาห์ดังน้ันแผนการจัดการเรียนรู้ จึงเป็นเครื่องมือหรือแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ใหแ้ กผ่ เู้ รียนตามกำหนดไวใ้ นสาระการเรยี นรูข้ องแตล่ ะกลุ่ม๑๘ แผนการจัดการเรียนรู้ไว้ว่าแผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง แผนซ่ึงครูเตรียมการจัดการ เรียนรู้ให้แก่นักเรียน โดยวางแผนการจัดการเรียนรู้ แผนการใช้สื่อการเรียนรู้หรือแหล่งเรียนรู้ ๑๓ พระโสภณมหาเถระ (มหาสสี ยาดอ) วปิ สั สนานัย เล่มที่ ๑, แปลโดยพระคันธ- สาราภิวงศ์, (นครปฐม : โรงพิมพ์ ห้างหุ้นส่วนจำกดั ซเี อไอ เซ็นเตอร์ จำกดั , ๒๕๕๐), หน้า ๔๓ ๑๔ เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๔๐-๔๒. ๑๕ พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุต.โต), พจนานกุ รมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศพั ท์, พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑๐, (กรุงเทพมหานคร : บริษทั เอส.อาร์.พริ้นต้ิงแมสโปรดักศ์จำกดั , ๒๕๔๕), หน้า ๓๐๒. ๑๖ พระธรรมปฏิ ก (ป.อ.ปยตุ .โต), พจนานกุ รมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์, หนา้ ๑๕๙. ๑๗ วัฒนาพร ระงบั ทุกข์, (๒๕๔๓, หน้า ๑) ๑๘ เอกรินทร์ สี่มหาศาล (๒๕๔๕, หน้า ๔๐๙)

๗๓ แผนการวัดผลประเมินผลโดยการวิเคราะห์จากคำอธิบายรายวิชาหรือหน่วยการเรียนรู้ ซ่ึงยึดผลการ เรยี นรูท้ ่ีคาดหวงั และสาระการเรยี นรู้ท่กี ำหนด อันสอดคลอ้ ง กบั มาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงชัน้ ๑๙ แผนการจัดการเรียนรู้ หรือแผนการเรียนรู้ เป็นคำใหม่ที่นำมาใช้ในหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ เหตุที่ใช้คำ “แผนการจัดการเรียนรู้” แทนคำ “แผนการสอน” เพราะ ต้องการให้ผู้สอนมุ่งจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพ่ือให้สอดคล้องกับ เป้าหมายของการจัดการศึกษาท่ีบ่งไว้ในมาตรา ๒๒ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ ท่กี ล่าวไวว้ า่ “การจัดการศกึ ษาต้องยึดหลักว่าผเู้ รยี นทุกคนมคี วามสามารถเรียนรู้ และพฒั นาตนเองได้ และถือวา่ ผเู้ รยี นสำคญั ทสี่ ุด”๒๐ แผนการจัดการเรียนรู้ คอื แผนการเตรยี มการสอนหรอื กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ไวล้ ่วงหน้า อย่างเป็นระบบและจัดทำไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ มากำหนดกิจกรรม การเรยี นการสอน เพอื่ ให้ผ้เู รยี นบรรลุจุดมุ่งหมายทีก่ ำหนดไว้๒๑ แผนการสอนเป็นแผนที่กำหนดขั้นตอนการสอนท่ีครูมุ่งหวังจะให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมการ เรยี นรู้ในเน้ือหา และประสลการณห์ น่วยใดหนว่ ยหน่ึงตามวตั ถุประสงคท์ ี่กำหนดไว้๒๒ แผนการสอน คือการนำวิชาหรือกลุ่มประสบการณ์ที่จะต้องทำแผนการสอนตลอดภาคเรียน มาสร้างเป็นแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อ อุปกรณ์การสอน และการวัดผล ประเมินผล โดยจัดเน้ือหาสาระและจุดประสงค์การเรียนย่อยๆให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือ จุดเน้นของหลักสูตร สภาพของผู้เรียน ความพร้อมของโรงเรียนในด้านวัสดุอุปกรณ์และตรงกับชีวิต จรงิ ในโรงเรียน๒๓ ๔.๔ การเตรยี มตัวกอ่ นการปฏบิ ตั วิ ิปสั สนากมั มฏั ฐาน๒๔ การเตรียมตัวก่อนการปฏิบัติกัมมัฏฐาน ในคัมภีร์ให้ตัดปลิโพธิ คือ ทำภารกิจหรือตัด ความกังวลห่วงใยกับภารกิจน้อยใหญ่ต่างๆ ให้หมดไปจะได้ไม่เป็นอุปสรรคในการทำกัมมัฏฐาน ใช้การเตรียมตัวแบบในยุคปัจจุบัน เพ่ือให้โยคีไม่มีความกังกลในระหว่างการปฏิบัติ ทำให้สามารถ ปฏบิ ัติไดต้ ลอดหลักสตู รเพือ่ บรรลเุ ปา้ หมายทีต่ อ้ งการ ดังน้ันจะเห็นได้ว่าวิธีการเตรียมตัวก่อนการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานจะมีข้อแตกต่าง จากในคัมภีร์บ้าง เพราะยุคสมัยได้เปลี่ยนไปชีวิตความเป็นอยู่ตา่ งๆ ก็เปลี่ยนไปแต่ถ้าโยคีได้เตรียมตัว ก็จะทำให้สามารถปฏิบัติได้ผลตามหลักเกณฑ์ที่ได้ตั้งไว้ แม้วิธีการต่างกันแต่ผลออกว่าเหมือนกัน แสดงไดว้ า่ มีความสอดคล้องกบั ในคัมภีร์ ๑๙ กรมวิชาการ (๒๕๔๖, หน้า ๑ – ๒) ๒๐ (อาภรณ์ ใจเทย่ี ง, ๒๕๔๖, หน้า ๒๑๓) ๒๑ (สวุ ทิ ย์ มูลคำ, ๒๕๔๙, หน้า ๕๘) ๒๒ วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (อ้างถึงใน ชัยยงค์ พรหมวงศ์, ๒๕๓๒, หนา้ ๑๘๗) ๒๓ วมิ ลรัตน์ สนุ ทรโรจน์ (อา้ งถงึ ในสงบ ลกั ษณะ, ๒๕๓๓, หนา้ ๑) ๒๔ “การเตรียมตวั ก่อนการปฏิบัตวิ ปิ ัสสนากัมมฏั ฐาน” หน้า ๑๔-๑๙, ๕๙-๖๐.

๗๔ ๔.๔.๑ การกำหนดอารมณห์ ลกั และอารมณ์รองของการปฏิบตั วิ ิปสั สนากัมมฏั ฐาน๒๕ เร่ืองวิธีการกําหนดหลักและอารมณ์รองของการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน คือ ในตอนแรก อารมณ์รองยังไม่เกิดให้กำหนดอารมณ์หลักก่อน เช่น การนั่งให้กำหนดพอง-ยุบก่อน การเดินจงกรม ให้กําหนดยืน, เดิน, กลับก่อน การทำอิริยาบถทั่วไป ให้กำหนดอารมณ์หลักนั้น ๆ ก่อนตามกิจ เม่ือ กำหนดไปๆ มีอารมณ์รองเกิดข้ึน เช่น สภาวเวทนา, สภาวจิต สภาวธรรม อย่างใดอย่างหน่ึงในส่ิง เหล่าน้ี ให้ละอารมณ์หลักไปจับที่อาการของอารมณ์รองแล้ว กำหนดตามอาการต้ังแต่เรมิ่ รู้สึกว่ามีขึ้น จนกระทงั่ เห็นการหายไปของมันซ่ึงสอดคล้องกับในมหาสตปิ ฏั ฐาน ๔.๔.๒ ท่านงั่ กัมมฏั ฐาน๒๖ การนง่ั กัมมัฏฐานเทา่ ท่ีผู้วจิ ยั ได้ศึกษาค้นคว้ามา ได้พบทา่ นัง่ กัมมฏั ฐานว่า นัง่ คบู้ ลั ลังก์ ต้ังกาย ตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า มีท่านั่ง ๓ แบบ คือ น่ังคู้บัลลังก์ นั่งแบบซ้อนขา นั่งแบบเรียงขา แต่ไม่มี รายละเอียดว่าก้มหน้าหรือแหงนหน้า หลับตาหรือลืมตา วางมืออย่างไรและในแนวการสอนท่าน่ัง กัมมัฏฐานพบว่าให้น่ังท่าแบบซ้อนขาซ่ึงสอดคล้องกับในคัมภีร์ ซึ่งท่านอธิบายไว้ว่า เวลานั่งสมาธิใช้ แบบขาขวาทับขาซ้ายหรือขาซ้ายทับขาขวาก็ได้แต่ต้องมี ๖ จุดสัมผัสกันเพ่ือใช้เป็นบทเรียนในชั้นสูง ต่อไป และจะเปลี่ยนขาได้ต่อเม่ือหมดเวลาเท่านั้น หลังตรงแต่ไม่ถึงกับเกร็ง หลับตาเบา ๆ ไม่ให้เน้น หรือกดหรอื เกร็ง เงยหนา้ ข้ึนนิด ๆ มือวางหงายซอ้ นกนั ที่ตรงระหวา่ งขอ้ เทา้ และเหนือขนึ้ ไปหน่อย หัว แม่มอื จะชนกันหรอื ไม่ก็ได้ แต่ตอ้ งไม่กดหรอื เกร็ง ไม่วางมือตรงที่เจา้ ตัวสบาย โดยให้เหตุผลว่า การนั่ง สมาธแิ บบเรียงขาเปน็ การน่งั แบบสบายเกนิ สว่ นการนั่งขดั สมาธิเพชรก็ทรมานเกินไป และสำหรับท่าน้ีคนท่ีมีขายาวไปหรือสั้นไปหรือคน ทีม่ ีต้นขาใหญ่ก็นั่งไม่ได้ ดังนน้ั ท่าน่งั ท่ีเหมาะสมคือน่ังขัดสมาธิ ๒ ชั้น เป็นท่าทเ่ี ป็นมัชฌิมาปฏิปทา ไม่ หย่อนเกินไปหรือไม่ตึงเกินไป คือเอาขาขวาทับขาซ้ายก็ได้หรือเอาขาซ้ายทับขาขวาก็ได้ แต่มีข้อแม้ว่า ถ้านั่งขวาทับซ้ายหรือซ้ายทับขวาก็จะต้องน่ังท่าน้ันจนกว่าจะหมดเวลาที่กำหนดไว้ ส่วนมือก็จะวาง หงายซ้อนกันท่ีตรงระหว่างข้อเท้าและเหนือขึ้นไปหน่อย ทำให้รู้สึกตัวไว เมื่อโยคีหลับหงายหลังมือก็ จะยกขนึ้ หรือก้มมาข้างหนา้ มือกจ็ ะกดลงตรงที่วาง และเมื่อปฏิบตั ิไปได้ระยะหน่ึงก็จะเกิดเวทนาท่มี ือ ที่วางซอ้ นกนั ข้นึ มาทำให้เราตอ้ งเพม่ิ วริ ิยะในการปฏบิ ตั ิข้ึนไปอกี ๔.๔.๓ การกำหนดอารมณห์ ลกั ในการน่ังกมั มฏั ฐาน๒๗ การกําหนดอารมณห์ ลักอิริยาบถนง่ั ในคัมภรี ์จะมีหลายที่ เช่น อานาปานสตใิ ห้มีสติท่ี ลมหายใจ เข้าออก ในวิปัสสนาชุนีได้กล่าวว่า ท่านมหาสี สะยาดอ (พระโสภณ มหาเถระ) ให้กำหนดลมหายใจท่ี ท้อง คำบริกรรมใช้ “พองหนอยุบหนอ” เป็นอารมณ์หลัก ซึ่งที่การกำหนดอารมณห์ ลกั ในอิริยาบถน่ัง ให้ กำหนดที่ท้องพองท้องยุบตรงสะดือเป็นหลัก โดยคำบริกรรมจะใช้ว่า “พองหนอ ยุบหนอ” เช่นเดียวกัน ท่านเรียกว่าอาปานสติโดยอ้อม มีปรากฏอยู่ในคัมภีร์คือเป็นลมในท้อง (กุจฉิสยวาโย) ในหมวด กายานปุ สั สนา ในการปฏบิ ตั หิ รอื การกําหนดในคัมภรี ก์ ลา่ วว่าย่อมมีสตหิ ายใจเขา้ มสี ตหิ ายใจออก คอื กำหนดใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั ขณะให้สติจับที่สะดอื ดูอาการเคล่ือนไหวของท้องตรงสะดือทีเ่ คล่ือนเข้าเคล่อื น ออก จงึ มคี วามสอดคล้องกนั ๒๕ “การกำหนดอารมณ์หลักและอารมณ์รองของการปฏิบัตวิ ปิ ัสสนากมั มัฏฐาน” หนา้ ๑๙, ๖๐. ๒๖ “ลำดับก่อนหลงั ระหว่างการน่ังกมั มฏั ฐานกบั การเดนิ จงกรม” หน้า ๑๙-๒๐, ๖๑. ๒๗ “การกำหนดอารมณห์ ลักในการน่งั กัมมฏั ฐาน” หนา้ ๒๒-๒๔, ๖๓-๖๗.

๗๕ ๔.๔.๔ การกำหนดอารมณ์รองในการน่งั กมั มัฏฐาน๒๘ ขณะท่ีนั่งกัมมัฏฐานอยู่ ในคัมภรี ์ไดใ้ ห้การมีสติกับลมหายใจเข้าออกเป็นอารมณ์หลัก แตถ่ ้ามี อาการที่ปรากฏทางนามธรรมอันได้แก่ เวทนา จิต และธรรมน้ัน ให้กำหนดได้ทันทีที่สภาวะเหล่าน้ี ปรากฏแก่จิตชัดเจนกวา่ อาการของลมหายใจเขา้ ออก ธรรมชาติของจติ จะไม่อยใู่ นอารมณเ์ ดียวนาน ๆ เด๋ียวจะไปที่คิด ไปที่นึก ไปที่เสียง ไปท่ีเห็น ไปท่ีถูกต้องสัมผัส ไปท่ีดีใจ เสียใจ พอใจ ไม่พอใจ หรือ เกิดเวทนาข้ึนมา ตรงน้ีเวลาท่ีจิตไปต้องละจากการกำหนดพองยุบทันที ไม่ต้องติดท่ีพองยุบ ถึงแม้ว่า พองยุบเป็นอารมณ์หลัก พอคิดเกิดให้ย้ายจากพองยุบไปที่คิดทันที สติจับท่ีรู้สึกคิดแล้วกำหนดตาม อาการคดิ ไปอย่างนี้เป็นตน้ ซงึ่ ท่านเรยี กวา่ “อารมณร์ อง” ๔.๔.๕ วิธกี ำหนดอิริยาบถย่อยในขณะเปล่ียนท่าระหว่างการเดนิ จงกรมกบั การนง่ั กมั มฏั ฐาน๒๙ ในการกําหนดอิริยาบถย่อยขณะเปลี่ยนท่าระหว่างการเดินจงกรมกับการน่ังกัมมัฏฐาน ทุก ความรู้สึกต้องกำหนด ซ่งึ สอดคล้องกบั หลักการในคมั ภรี ส์ ติปัฏฐาน เพราะในคัมภรี ์ไดก้ ลา่ วว่าผู้ปฏิบตั ิ ยังจะต้องกำหนดรู้อาการท่ีปรากฏท้ังหลายอื่นอีกด้วย เช่น อาการเคลื่อนไหวของอิริยาบถต่าง ๆ มี ยืน เดิน น่ัง นอน การแลดู การเหลียวดู การคู้อวัยวะ ฯลฯ ในทุกขณะที่เคลื่อนไหว การทำกิจ ประจำวนั ต่าง ๆ กต็ ้องกำหนดรูอ้ ยู่ทกุ ขณะเช่นเดียวกัน เชน่ การกิน การดื่ม การเค้ียว การนุ่งห่ม การ ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ การดู การได้ยิน การได้กล่ิน การร้รู ส การสัมผสั การก้มตัว การย่อตวั ฯลฯ ทุก อยา่ งตอ้ งกำหนดอย่างมีสตเิ ป็นปจั จบุ ัน ๔.๕ การเดินจงกรม๓๐ การเจรญิ สติ คอื การกำหนดอิริยาบถให้ทันในปจั จุบนั และการรบั รู้ความรู้สึกตามทวารต่างๆ อย่างสม่ำเสมอตลอดเวลาให้มากที่สุด ความรู้สึกของคนมีทางรู้อยู่ ๖ ทางคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ให้กำหนดรู้ไปตามจริงที่ใจรู้ พร้อมกับกิริยาเคลื่อนไหวอ่ืนๆ ทำอะไรก็ให้มีสติกำหนดรู้ให้ทันปัจจุบัน ให้มากทสี่ ดุ อิริยาบถใหญ่ คือ การยนื เดิน นั่ง นอน อิรยิ าบถย่อย คือ การเคล่ือนไหวกายทุกกิริยาท เช่น การรับประทาน ดื่ม เคี้ยว กลืน เหลียว ก้ม เงย หยิบ ยก ตลอดจนการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ควร พยายามกำหนดให้ได้มากทุกคน ไม่มีใครกำหนดได้ทุกกิริยา ย่อมมีการพล้ังเผลอก็ให้กำหนดตาม ความเป็นจรงิ \"เผลอหนอ\" การเดินจงกรมสอนได้สอดคล้องกับหลักการปฏิบัติของพระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) ได้กล่าวถึง ลักษณะของธาตใุ นขณะยกเท้า การก้าวเท้าระยะหน่ึง แบ่งออกเป็น ๖ ส่วน ในการปฏิบัติ วปิ สั สนาเปรยี บเทยี บการเดนิ จงกรม ๖ ระยะ๓๑คอื ยกส้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ ลงหนอ ถกู หนอ กด หนอ แต่เบื้องต้นของการปฏิบัติพระปลัดชัชวาลสอนการเดินจงกรมในระยะท่ี ๑ คือ ขวาย่างหนอ ๒๘ “การกำหนดอารมณร์ องในการน่ังกัมมฏั ฐาน” หนา้ ๒๔-๒๕, ๖๗-๗๒. ๒๙ “วธิ ีกำหนดอริ ิยาบถย่อยในขณะเปลีย่ นท่าระหว่างการเดนิ จงกรมกบั การนัง่ กมั มัฏฐาน” หนา้ ๒๖- ๒๗, ๗๒-๗๓. ๓๐ “การเดินจงกรม” หนา้ ๒๗-๒๘, ๗๓-๗๕. ๓๑ พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), วปิ สั สนานัย เลม่ ๑, แปลโดย พระคนั ธสาราภิ-วงศ์, หน้า ๒๓๑- ๒๔๐.

๗๖ ซา้ ยย่างหนอ สำหรบั การเดินจงกรมระยะที่ ๒-๖ ผู้ปฏิบัติกัมมัฏฐานอนิ ทรยี ์แก่และสมาธิญาณถึงแล้ว ท่านจงึ จะสอนให้ อา้ งอิงจาก.. พระมหาเมธา จนฺทสาโร: การเดินจงกรม ๔.๕.๑ การกลับตัว๓๒ การกลับตัวผู้วิจัยพบว่าในคัมภีร์ได้กล่าวว่าเมื่อเดินจงกรมจนสุดทางแล้วก็ให้กลับตัว ส่วน รายละเอียดในการกลับตัวไม่ได้กล่าวไว้ แต่การกลับตัวของสำนักปฏิบัติต่าง ๆ ก็ได้มีการกล่าวไว้ใน งานวิจัยเรื่อง “การศึกษาการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานตามแนวของสำนักวิปัสสนาวิเวกอาศรม” ของ ท่านพระครูประคุณสรกิจ (สุชาติ ชิโนรโส) ได้กล่าวถึงวิธีที่เดินจงกรมจนสุดทางแล้วต้องกลับตัว ซ่ึง สอดคล้องกับการสอนของพระปลัดชัชวาลเพยี งแต่ได้เพม่ิ รายละเอียดต่าง ๆ เช่น การการถ่ายนํ้าหนัก การบดิ ตัว เป็นต้น เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติเขา้ ใจและปฏบิ ัติต่อไปไดอ้ ย่างต่อเน่ือง ส่วนการเจริญกายานุสปัสส นาในมหาสติปัฏฐานสูตรนั้นรวมไปถึงการกำหนดอิริยาบถใหญ่อิริยาบถย่อยนอกจากการกำหนด อาการของลมหายใจเข้าออกแล้ว ผู้ปฏิบัติยังจะต้องกำหนดรู้อาการที่ปรากฏท้ังหลายอ่ืนอีกด้วย เช่น อาการเคล่ือนไหวของอิริยาบถต่าง ๆ มี ยืน เดิน น่ัง นอน การแลดู การเหลียวดู การคู้อวัยวะ ฯลฯ ในทุกขณะที่เคลื่อนไหว การทำกิจประจำวันต่าง ๆ ก็ต้องกำหนดรู้อยู่ทุกขณะเช่นเดียวกัน เช่น การ กนิ การดืม่ การเค้ยี ว การนุ่งห่ม การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ การดู การได้ยิน การไดก้ ลิ่น การรูร้ ส การ สมั ผสั ๓๒ “การกลับตวั ” หน้า ๒๘-๒๙, ๗๖.

๗๗ อา้ งอิงจาก..สำนกั วปิ สั นากรรมฐานประจำจงั หวดั เชยี งใหม่ แหง่ ท่ี 2 ๔.๕.๒ อารมณ์รองอิริยาบถเดินยืน๓๓ วธิ ีการปฏบิ ัติเม่ือมอี ารมณร์ องในขณะที่กําลังกําหนดอิรยิ าบถหลักเดนิ ยืน พระปลัดชชั วาลได้ สอนให้ไปกำหนดอารมณ์รองเหล่าน้ันทันที ซ่ึงสอดคล้องกับในหนังสือวิปัสสนาชุนีท่ีพระโสภณมหา เถระ (มหาสีสยาดอ) รจนาไว้ว่า “อารมณ์รอง คือ อารมณ์อ่ืน ๆ ที่ปรากฏขึ้นระหว่างการปฏิบัติ อิริยาบถหลัก เช่น แสง เสียง ปวด เมื่อย มึน ชา คิด นึก ดีใจ โกรธ เป็นต้น หากมีอารมณ์รองปรากฏ ขึ้น โยคีต้องตามกำหนดที่อารมณ์รอง มีสติระลึกรู้อารมณ์รองเหล่าน้ันอย่าให้ขาดสติ อารมณ์ไหน ปรากฏชัดเจนกว่า ให้กำหนดรู้อารมณ์น้ันเสมอ จนกว่าอารมณ์รองน้ันจะหายไป แล้วจึงย้ายสติไป ระลึกรู้อารมณ์หลักต่อไป สำคัญท่ีต้องรู้เบ้ืองต้น ท่ามกลาง และที่สุดของอารมณ์ท่ีกำลังกำหนดอยู่ เพ่ือให้เห็นความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปของอารมณ์นั้น ๆ หากอารมณ์รองท่ีปรากฏทางกาย หรือทาง ใจ ไม่สามารถจะบรรยายออกมาเป็นคำพูดได้ ให้กำหนดว่า “รู้หนอ ๆ ๆ” เป็นต้น ซึ่งสอดคล้อง ระหว่างการสอนของพระปลัดชัชวาลกับในสติปัฏฐาน ๔ ท่ีตอ้ งมีสติในการกำหนดทุกอาการท่ีปรากฏ ในปัจจุบัน แตกตา่ งกนั ตรงทข่ี องทา่ นมรี ายละเอยี ดมากกวา่ อา้ งอิงจาก... เดินจงกรม ๖ ระยะ - วดั สมรโกฏิ เขตตลิ่งชัน ๓๓ “อารมณร์ องอริ ยิ าบถเดนิ และยนื ” หน้า ๓๐, ๗๖-๗๗.

๗๘ ๔.๕.๓ การกำหนดจากอริ ยิ าบถนั่งไปยืน๓๔ ท่านพระภัททันตะ อาสภมหาเถระ ได้สอนการกําหนดจากอิริยาบถน่ังไปยืนว่า “การน่ัง กาํ หนด เม่ือพอสมควรแก่เวลาแลว้ กอ็ ยากจะลุกข้ึนเดินเปน็ การเปลย่ี นอริ ิยาบถ พอเกิด จิตอยาก ตอ้ ง กำหนดจิตอยากน้ันเสียก่อนว่า อยากลุกหนอ ๆ ๆ เมื่อกำหนดจิตอยากแล้วก็จงกำหนดอาการของ ท่าทางทีกำลังลุกขึ้น เช่น ขยบั กาย เหยียดกาย ยันกาย เป็นต้น ซ่ึงสอดคล้องกับวิธีที่พระปลัดชชั วาล ใชส้ อน สว่ นในพระไตรปฎิ กมีอยูใ่ นสว่ นอิริยาบถบัพพะท่ีต้องกำหนดทุกความร้สู ึกทุกการเคลอื่ นไหวท่ี เปน็ ปัจจบุ ัน อ้างอิงจาก.. http://www.watrampoeng.com/watrampoeng/?page_id=2054 ๔.๕.๔ การกำหนดอิรยิ าบถทั่ว ๆ ไป๓๕ การกําหนดอิริยาบถท่ัวๆ ไป พระปลัดชัชวาลสอนได้สอดคล้องกับในสติปัฏฐานที่ พระพุทธเจ้าได้เทศน์ไว้ว่า ร่างกายของโยคีบุคคลน้ันต้ังอยู่ในอาการใดๆ ก็ตาม ตั้งสติกำหนดร้อู าการ นั้น ๆ ในท่ีนี้อรรถกถาจารย์อธิบายเพ่ิมเติมว่า เอาท้ังหมด หมายความว่า ร่างกายของโยคีบุคคลนี้ อาการเดินอยู่กต็ ้องต้ังสติกำหนดให้รู้ว่า ซ้ายย่างหนอ ขวาย่างหนอ ถ้าอาการยืนอยู่ก็ดี นั่งอยู่ก็ดี นอน อยู่ก็ดี ก็ต้งั สติกำหนดอยู่วา่ ยืนหนอ นั่งหนอ นอนหนอ ถ้าหากกำลังกำหนดเดินอยกู่ ็ดี กำลงั ยืนอยู่ก็ดี กำลังน่ังอยู่ก็ดี กำลังนอนอยู่ก็ดี ตามร่างกายนั้นมีอาการอย่างไร เกิดขึ้นก็ต้ังสติกำหนด เช่น ยืนหนอ ตัวเอน เอนหนอ ก้มหนอ เงยหนอ คู้หนอ เหยียดหนอ เย็นหนอ ร้อนหนอ ปวดหนอ พองหนอ ยุบ หนอ เป็นต้น อาการเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ต้องกำหนดด้วยเพราะอาการเล็ก ๆ น้อย ๆ เหล่าน้ัน ถ้าไม่ได้ กำหนดก็จะเข้าใจผิด ยึดถือว่าเป็น นิจจะ สุขะ อัตตะ ได้ ถ้ากำหนดก็ได้เห็นอนิจจะ ทุกขะ อนัตตะ อนั เป็นอาการของรูป, นามตามความเป็นจรงิ นอกจากน้ียังได้สอนให้กําหนดในเวลาล้างหน้า อาบน้ํา ชำระกาย พึงกําหนดให้ครบถ้วน เท่าที่พึงกำหนดได้ เช่น เอื้อมมือหยิบขันตักน้ํา ลูบหน้า รดตัว ถูตัว เป็นต้น เม่ือเสร็จภารกิจแล้ว ก็ เปลี่ยนผ้า เช็ดตัว เช็ดหน้า ฯลฯ ความเคล่ือนไหวเหล่านี้ล้วนต้องกำหนดทั้งส้ิน แม้แต่การเดินไป รบั ประทานอาหารก็กำหนดเดินไปจนถึงที่รับประทานอาหารหรือเห็นถ้วยชามก็กำหนดเห็นหนอ แม้ เอื้อมมือไปหยิบถ้วยชามก็พึงกำหนดหยิบหนอ จับช้อน อาหารร้อน อาหารเย็น ตักอาหาร ก้มศีรษะ กลืนอาหาร พึงกำหนดทั้งสิ้นอิริยาบถบัพพะคือ ในชีวิตประจำวันอิริยาบถย่อยต่าง ๆ ได้แก่ การ ๓๔ “การกำหนดจากอิรยิ าบถนั่งไปยนื ” หนา้ ๓๐-๓๑, ๗๗-๗๘. ๓๕ “การกำหนดอริ ยิ าบถทั่ว ๆ ไป” หนา้ ๓๑-๓๘, ๗๘-๘๔.

๗๙ เคลื่อนไหว การเหยียด การคู้ เป็นต้น ประกอบกันขึ้นกลายเป็น อิริยาบถใหญ่ (การยืน การกลับตัว การเดิน การน่ัง การนอน) อิริยาบถย่อยจงึ เป็นอิรยิ าบถท่ีสำคัญท่ีสุด เพ่ือให้สติมีกำลังตอ่ เน่ือง ดังน้ัน โยคีจะต้องมีวิริยะความเพียรมากเป็นพิเศษ ในการกำหนดอิริยาบถย่อย ตลอดเวลาตั้งแต่ลืมตาตื่น นอนจนกระท่ังหลับอีกครัง้ ๔.๕.๕ การรายงานผลการปฏิบัติกัมมัฏฐาน (การสง่ -สอบอารมณ์)๓๖ การรายงานผลการปฏิบัติกัมมัฏฐาน (การส่ง-สอบอารมณ์) นี้ไม่พบข้อมูลในพระไตรปิฎก, อรรถกถา คือ การส่งอารมณ์ ต้องส่งทั้งอารมณ์หลักและอารมณ์รอง เวลารายงานหรือส่งอารมณ์ให้ รายงานอารมณ์หลักก่อนทุกครั้ง โดยจะรายงานการนั่งสมาธิ เวทนา (เจ็บ ปวด มึน ชา คัน เม่ือย) สภาวจิต คิดนึก การได้ยิน การเห็น การเดิน เวทนาในขณะที่เดิน สภาวจติ การได้ยนิ ได้กลิ่น การทำ อิริยาบถ อาบนํ้า ล้างหน้า แปรงฟัน ถอดเส้ือผ้า อุจจาระ ปัสสาวะ ทุกอย่างต้องรายงานหมด เพื่อให้ ครไู ดท้ ราบวา่ ผ้ปู ฏบิ ตั ิทำไดด้ ีแค่ไหน มีปัญหาหรือไม่ ครจู ะได้ปรับอนิ ทรียใ์ ห้และให้บทเรียนเพมิ่ ข้ึนได้ แม้จะเป็นเช่นน้ี การรายงานผลการปฏิบัติกัมมัฏฐานของพระปลัดยังสามารถจัดว่าสอดคล้องกับใน คัมภีร์พระพุทธศาสนา เนื่องจากหลักการปรับอินทรีย์เป็นหลักการสำคัญของ การปฏิบัติในคัมภีร์ พระพุทธศาสนา ซ่ึงเป็นเป้าหมายของการรายงานผลการปฏิบัติกัมมัฏฐานของ พระปลัดชัชวาล ดังกลา่ ว ๔.๖ ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการปฏิบตั วิ ิปัสสนากมั มฏั ฐาน ควรเตรียมกายและใจให้พร้อม คือต้องพักผ่อนให้เพียงพอ เตรียมของใช้ให้ครบ และต้อง เตรียมร่างกายสำหรับการงดเว้น เพราะสถานที่บางแห่งท่ีเราเข้าไปอยู่จะละไม่ทานอาหารม้ือเย็นเพื่อ ไม่ให้เกิดปลิโพธ หรือความกังวลท่ีต้องจัดเตรียมหุงหาอาหาร และควรเช็คดูว่าเราเป็นโรคภัยไข้เจ็บ อะไรไหม ถา้ เปน็ ควรรักษาใหห้ ายก่อน เมอ่ื กายพร้อมแล้วเราต้องเตรยี มใจ ว่าตอ้ งไปปฏบิ ัตธิ รรมจำนวน ๓ คืน ๔ วนั ๔ คืน ๕ วัน ๗ คืน ๘ วัน หรือมากกว่าน้ัน และบอกตัวเองไว้ว่าจะต้องวางเฉยและปล่อยวางทุกเร่ือง ไม่ว่าจะเป็น กจิ การงานท่ที ำ การเรียน บ้าน เพราะหากไม่ปล่อยวางการปฏิบตั ิมักไม่ได้ผล ไป ๓ วันก็วางไว้ ๓ วัน ไป๕ วนั กว็ างไว้ ๕ วัน เม่ืออยู่ในสถานที่ปฏิบัติธรรม โทรศัพท์มอื ถือและเคร่อื งมือสอ่ื สารทุกชนิดต้องปิด เพราะการ เปิดรับข่าวสารจากข้างนอกจะทำให้จิตของเราเป็นกังวล ไม่นิ่งไม่สงบ และต้องงดเว้นการพูดคุยกัน หลีกเลี่ยงการอยู่เป็นกลุ่ม หมู่คณะ ฝึกอยู่ตามลำพังโดยไม่ต้องคุยไม่ต้องสนทนากับใครเลย อยู่ใน กฎระเบยี บ กติกาของวดั หรอื ศูนยป์ ฏิบตั ิธรรม อย่าไปทำให้ผดิ กฎผดิ ระเบยี บ การตั้งกฎระเบียบเช่นนี้เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติได้รับสารประโยชน์เต็มท่ี และเพ่ือป้องกันไม่ให้เกิด อนั ตราย …ไม่ใช่อนั ตรายทางกาย แต่เป็นอนั ตรายทางใจ หากเอาเพลงไปฟัง เอามอื ถอื ไปคยุ รับขอ้ มูล ข่าวสารคนนนั้ เปน็ อย่างน้ัน คนนเ้ี ป็นอย่างนี้ ใจจะสงบไดย้ ังไง ผทู้ ่ีประสงคจ์ ะเขา้ ปฏิบัติกัมมัฏฐาน พงึ ทำกจิ อนั เปน็ เบื้องต้นเสยี ก่อน ดงั ต่อไปนี้ ๓๖ “การรายงานผลการปฏบิ ัตกิ มั มฏั ฐาน (การส่ง-สอบอารมณ)์ ” หน้า ๓๘-๓๙, ๘๔-๘๖.

๘๐ ๔.๖.๑ ตัดปลิโพธ๓๗ คือ ตัดความห่วงใยกังวลกับภารกิจต่าง ๆ ให้หมดไป เพราะเป็นสง่ิ ท่ีทำ ให้ห่วงใย เป็นกังวล ไม่สงบระงับ ไม่สามารถที่จะตั้งม่ันอยใู่ นอารมณ์กัมมัฏฐานนั้น ๆ ได้ คัมภีร์วิสุทธิ มรรค กล่าวไว้ ๑๐ ประการ คือ๓๘ ความกังวล ที่อยู่ วงศ์สกุล ทายกทายิกา ลาภ หมู่คณะท่ีศึกษา นวกรรม การงานที่จัดซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ข้ึนใหม่ซ่ึงเป็นที่ ๕ การเดินทาง ญาติโยม อาพาธ การศึกษา การสอน พระปริยัตธิ รรม การแสดงอทิ ธิฤทธิ์ ๑. อาวาสปลิโพธ ห่วงท่ีอยู่ท่ีอาศัย เช่น เป็นภิกษุก็ห่วงไปว่า ถ้าไปเจริญกัมมัฏฐาน เสยี ก็จะมภี กิ ษุอ่ืนมาอยกู่ ุฏแิ ทน เมื่อกลับไปกจ็ ะไมม่ ีทอี่ ยู่ มิฉะนนั้ กเ็ กรงไปวา่ ฝนจะร่วั ปลวกจะข้นึ ๒. กุลปลิโพธ ห่วงบริวารว่านเครือ ตลอดจนผู้อุปถัมภ์ ผู้อุปัฏฐาก เกรงว่าจะ ห่าง เหนิ ขาดตอนกันไปเสีย ๓. ลาภปลโิ พธ ห่วงรายได้ เกรงว่าลาภผลท่ตี นเคยได้อยจู่ ะลดนอ้ ยหรือเลอ่ื นลอยไป ๔. คณปลโิ พธ หว่ งพวกพ้อง ลูกน้อง ลกู ศิษย์ และมติ รสหาย ๕. กมั มปลิโพธ หว่ งการงานที่กาํ ลังทำค้างอยู่ หรือที่จะลงมือทำในอนาคต ๖. อัทธานปลโิ พธ หว่ งการเดินทางไกลจะไปโน่นไปนี่และต้องเตรียมตัวเปน็ ต้น ๗. ญาตปิ ลโิ พธ หว่ งพ่อแม่ ลูกเมีย พน่ี ้อง ครบู าอาจารย์ จะขาดผูป้ รนนิบัติดูแล ๘. อาพาธปลโิ พธ ห่วงวา่ กาํ ลังไมส่ บายอยู่ หรือฤดูน้เี คยไม่สบาย เกรงว่าจะเกิด เจ็บปว่ ยข้ึน กลัวจะเปน็ ลมเป็นไขต้ า่ ง ๆ นานา ๙. คันถปลโิ พธ ห่วงการศกึ ษาเล่าเรยี น ถ้าไปเจรญิ กัมมัฏฐานเสยี เกรงว่าจะเรียนไม่ ทันเขา สู้เขาไม่ได้ ถ้าเป็นครอู าจารย์ กห็ ว่ งการสอนศษิ ย์ ๑๐. อิทธิปลิโพธ ห่วงการแสดงอิทธิฤทธ์ิต่าง ๆ อันการแสดงฤทธ์ิหรืออภินิหารต่าง ๆ น้ันจำเป็นต้องบริหารอยู่เนือง ๆ ต้องหม่ันอบรมสมาธิให้ม่ันคงอยู่เสมอ ถ้าละท้ิงไปนานนัก อาจ เส่อื มไปจนไมส่ ามารถแสดงฤทธิ์ได้ เฉพาะอิทธิปลิโพธน้ี เป็นเคร่ืองกังวลแก่การวิปัสสนาแต่ฝ่ายเดียวเท่าน้ัน หาได้เป็นเครื่องกีด ขวางทางสมถะไมเ่ พราะการทำสมาธยิ ่ิงมากเท่าใดกย็ งิ่ เป็นประโยชน์แก่สมถะมากเท่าน้นั ส่วนการเจริญวิปัสสนา ถ้าสมาธิแก่กล้าเกินไป ก็ทำให้อินทรีย์ไม่เสมอกัน วิปัสสนาไม่สามารถเกิดขึ้น ได๓้ ๙ ขทุ ทกนิกาย มหานิเทส กลา่ วถงึ ความกงั วลไวเ้ พยี ง ๗ ประการ ดงั น้ี ภิกษุเป็นผู้มีความกังวลท่องเท่ียวไป เป็นอย่างไร ภิกษุบางรูปในธรรมวินัยน้ี เป็นผู้ ประกอบด้วยความกังวลเร่ืองตระกูล... ความกังวลเร่ืองหมู่คณะ... ความกังวลเรื่องอาวาส... ความ กังวลเรื่องจีวร... ความกังวลเร่ืองบิณฑบาต... ความกังวลเรื่องเสนาสนะ เป็นผู้ประกอบด้วยความ กังวลเรอื่ งคลิ านปจั จยั เภสัชบรขิ าร ภิกษุช่อื ว่าเป็นผมู้ คี วามกงั วลท่องเท่ยี วไป เปน็ อยา่ งนี้ ภิกษุเป็นผู้ไม่มีกังวลท่องเที่ยวไป เป็นอย่างไรภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ไม่ประกอบ ด้วยความกังวล เร่ืองตระกูล ไม่ประกอบด้วยความกังวลเร่ืองหมู่คณะ อาวาส จีวร บิณฑบาตและ คิลานปัจจัยเภสัช บริขารภกิ ษุชื่อว่าเป็นผไู้ ม่มีกงั วลทอ่ งเท่ยี วไป เป็นอยา่ งนี้๔๐ ๓๗ ดรู ายละเอยี ดใน ว.ิ มหา.อ. (บาลี) ๑/๑๖๕/๔๕๔, วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๙๖. ๓๘ ดูรายละเอยี ดใน ข.ุ จ.ู (ไทย) ๓๐/๑๕๑/๔๘๓. ๓๙ ดรู ายละเอียดใน ว.ิ มหา.อ. (บาลี) ๑/๔๕๔, วสิ ทุ ฺธ.ิ (บาลี) ๑/๙๖. ๔๐ ข.ุ ม. (ไทย) ๒๙/๒๐๕/๕๙๘.

๘๑ ๔.๖.๒. ตดั ความกงั วลเลก็ น้อย ๑. ตดั ผม ตัดเลบ็ โกนหนวดที่ยาวเสยี ๒. จัดการปะชุนจวี รท่ีสกึ หรอื ครํ่าไปแล้วนนั้ ให้ม่ันคงเรยี บรอ้ ยดขี ้ึน ถา้ เน้ือ ผา้ ฉีก ขาดไปกจ็ ัดการเย็บเสียใหม่ ๓. เมอ่ื สขี องจวี รนนั้ เกา่ จางไป กต็ อ้ งจัดการย้อมสเี สยี ใหม่ให้เรยี บรอ้ ย ๔. ถา้ ในบาตรมีสนิม ก็ต้องทำการระบมบาตรเสียใหม่ใหด้ ีขน้ึ ๕. ตอ้ งปดั กวาด เช็ดถู เตียงและตั่งเปน็ ตน้ ให้สะอาดหมดจด๔๑ ๔.๖.๓ คบหากลั ยาณมติ ร กัลยาณมิตร หมายถึง บุคคลผเู้ ป็นอาจารย์ ปกรณ์วิเสสวสิ ุทธิมรรคกล่าวความสำคัญของการ แสวงหากัลยาณมิตรไว้ว่า “ผู้เจรญิ กัมมัฏฐานไม่ว่าจะเป็นทางสมถะหรอื วปิ ัสสนา ควรมีอาจารย์เปน็ ผู้ แนะนำชี้ทางผิดและทางถูกให้ เพราะอาจารย์ก็นับเป็นจำนวน ๑ ใน ๓ ที่โยคบี ุคคลจะละมิได้ คือ ๑) อยใู่ นสำนกั อาจารย์ผ้สู ามารถ ๒) รกั ษาอินทรียใ์ ห้สมบรู ณ์ ๓) ผกู จติ ไว้ในอารมณ์กัมมัฏฐาน”๔๒ เหตุน้ีจึงนับว่า อาจารย์เป็นบุคคลท่ีสำคัญย่ิง ผู้ท่ีจะเข้าเป็นศิษย์ต้องพินิจพิจารณาให้จงหนัก แต่ไม่ควรวิพากษ์วิจารณ์ไปในทางท่ีเป็นโทษ เพราะอาจารย์ทุกท่านย่อมพากเพียรเก้ือกูล ให้เป็นคุณ แก่ศิษย์ด้วยความเมตตากรณุ า กัลยาณมิตรเปรียบเหมือนกับคหบดีอันมั่งคั่งผู้ใหญ่กวา่ พ่อค้าทั้งหลาย และเป็นท่เี คารพของคนท่ัวไป เหมือนคนใจดีมีความกรุณา เหมือนบิดามารดาผู้เป็นท่ีรักยงิ่ ย่อมทำให้ โยคาวจรมุ่งมัน่ เหมือนการล่ามโซ่ทำให้ชา้ งมุ่งงาน กลั ยาณมติ รท่ีบุคคลอาศัยแลว้ ทำกุศลเปรียบได้กับ ควาญชา้ งฝึกช้างให้เดินถอยหลังและเดินไปข้างหน้า เหมือนกับถนนหนทางที่ดี ซึง่ บุคคลสามารถที่จะ เทียมวัวเข้ากับแอกขับเกวียนไปได้ เหมือนกับนายแพทย์สามารถรักษาโรคและขจัดความเจ็บป่วย ออกไปได้ เหมือนสายฝนตกลงมาจากสวรรค์ทำให้ทุกส่ิงทุกอย่างชุ่มช้ืนได้ เหมือนมารดาถนอมบุตร เหมือนบิดาแนะนำบุตรของตน เพราะฉะนั้น สมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ จึงทรงแสดงแกพ่ ระอานนท์ วา่ “ความมกี ัลยาณมติ รเป็นท้ังหมดของพรหมจรรย์”๔๓ ดังน้ันบคุ คลพึงแสวงหาผทู้ รงคุณธรรมสงู และ ถือเขาเปน็ กัลยาณมิตร สมเด็จพระพุทธเจ้าตรัสคุณสมบัติของกัลยาณมิตร ๗ ประการ ในทุติยมิตตสูตรว่า๔๔ “ภิกษุ ทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการ เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไป นั่งใกล้ แม้ถูกขับไล่ก็ ตาม ๑. เป็นที่รกั เป็นทพี่ อใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง ๔. เป็นผกู้ ลา่ วสอน ๕. เป็นผู้อดทนต่อ ถอ้ ยคำ ๖. เปน็ ผูพ้ ดู ถอ้ ยคำลกึ ซ้ึงได้ ๗. ไมช่ ักนำในอฐานะ” ผู้ที่จะเป็นอาจารย์ ซึ่งได้ช่ือว่าเป็นกัลยามิตรของผู้ปฏิบัติสมถะวิปัสสนาทั้งหลายนี้ ต้องประกอบด้วย องค์ ๗ ประการ คือ ๑) ปิโย เปน็ ท่ีรักเป็นทพี่ อใจ เพราะมีศีลบริสทุ ธ์ิ มลี กั ษณะแห่งกัลยาณมติ ร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชอ่ื การตรัสร้ขู องพระตถาคต เช่ือกรรมและผลของกรรม (๒) มศี ีล คือ เป็นทีร่ ัก เปน็ ที่เคารพ เป็นท่ีนบั ถอื ของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มสี ตุ ะ คือ กลา่ วถ้อยคำท่ีลกึ ซึง้ ทส่ี มั ปยุตด้วยสจั จะและปฏิจจสมปุ บาท ๔๑ วิสุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๑๓๓. ๔๒ ดูรายละเอยี ดใน ส.ํ ม. (บาลี) ๑๙/๓๗๓/๑๓๐, วสิ ุทธฺ .ิ (บาลี) ๑/๒๐. ๔๓ ส.ํ ส. (ไทย) ๑๕/๑๒๙/๑๕๓-๑๕๔. ๔๔ องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๓๗/๕๗-๕๘.

๘๒ (๔) มีจาคะ คือ แบ่งปัน ปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงดั ไม่คลกุ คลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพยี ร คือ ปรารภความเพยี รในการปฏบิ ัติ เพื่อเก้ือกลู แก่ตนและผู้อืน่ (๖) มีสติ คือ มีสตติ ง้ั มนั่ (๗) มีสมาธิ คือ มจี ิตต้งั มน่ั ไม่ฟุ้งซ่าน (๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้ สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งท่ีไม่เก้ือกูลแห่งสัตว์ท้ังหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหน่ึงด้วยสมาธิ เวน้ สิง่ ท่ไี ม่เกือ้ กูล ประกอบสง่ิ ที่เกอ้ื กลู ดว้ ยความเพียร ๒) เป็นท่ีเคารพ เพราะประกอบดว้ ยคุณธรรม มีศีล สมาธิ และการถอื ธุดงค์ ๓) เปน็ ทีย่ กย่องสรรเสรญิ เพราะมจี ิตใจเที่ยงธรรมไม่ลำเอยี งในบรรดาสหธรรมกิ และศษิ ย์ ๔) เป็นผู้สามารถอบรมลกู ศิษย์ใหด้ ีฉลาดในการใช้คำพูด ๕) เปน็ ผ้ยู อมรบั คำตักเตือนจากสหธรรมกิ และลูกศษิ ย์ หมายถงึ ปฏบิ ตั ิตามโอวาททท่ี า่ นให้ แลว้ ๖) เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซ้ึงได้ เป็นผู้สามารถช้ีแจงถ้อยคำและธรรมท่ีสุขุมลุ่มลึก ในรูปนาม ขันธ์๕ สัจจะ๔ ปฏิจจสมุปบาท ไตรลักษณ์ หมายถึง เรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และ นิพพาน ๗) ไม่ชักนำในอฐานะ เปน็ ผไู้ มแ่ นะนำในทางทไ่ี มส่ มควร๔๕ หมายถึง ป้องกนั ไม่ให้ทำในส่ิงท่ี ไม่เป็นประโยชน์เกอ้ื กูล มีคติเปน็ ทกุ ข์ แตช่ ักชวนใหท้ ำสิง่ ท่ีเปน็ ประโยชนเ์ กอื้ กลู มคี ติเปน็ สุข ดังทีก่ ล่าวมาแล้วน้ี ยอ่ มมคี ุณแก่ตนและแกผ่ ู้ปฏบิ ัติตลอดท่ัวไปในพระพุทธศาสนา ฉะน้ัน ถ้า หากว่าผู้ท่ีเป็นอาจารย์ขาดคุณ ๗ ประการน้ีไปเพียงประการใดประการหนึ่งแล้ว จะเรียกว่าเป็นผู้ถึง พร้อมด้วนกลั ยาณมิตรทแี่ ท้นั้นยังไม่ได้ โดยเหตุน้ีผู้ท่เี ป็นอาจารย์ สมถะวิปัสสนาของผ้ปู ฏิบัตทิ ้ังหลาย ควรพยายามอบรม ต้ังตนไว้ให้สมบูรณ์ด้วยคุณท้ัง ๗ ประการนี้ เพ่ือจะได้ชื่อว่าเป็นกัลยาณมิตรที่ถูก ทแ่ี ท้ พร้อมมูล โดยประการท้ังปวง สำหรับผู้ที่ปฏิบัติสมถะ วปิ ัสสนาท้ังหลาย ก็ต้องแสวงหาอาจารย์ ท่ีประกอบด้วยคุณธรรม ๗ ประการน้ีด้วยเชน่ กัน จึงจะได้รับประโยชน์จากการปฏบิ ัติน้ีอยา่ งสมบูรณ์ ได้ สมเดจ็ พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าทรงเป็นกัลยาณมิตรตัวอย่างผูส้ มบูรณด์ ว้ ยคุณสมบตั ิทุกประการ ดงั มีรบั รองในทตุ ยิ อัปปมาทสูตรวา่ “ดูก่อนอานนท์ ความเป็นผู้มีมิตรดี มีสหายดี มีเพื่อนดี เป็นพรหมจรรย์ทั้งหมดทีเดียว พึง หวังข้อนี้ได้ว่า จักเจริญอริยมรรคมีองค์ ๘ ทำอริยมรรคมีองค์ ๘ให้มาก ด้วยว่า เหล่าสัตว์ผู้มีชาติ (ความเกิด) เปน็ ธรรมดา ย่อมพ้นจากชาติ ผ้มู ีชรา (ความแก่) เป็นธรรมดา ย่อมพ้นจากชรา ผ้มู ีมรณะ (ความตาย) เป็นธรรมดา ย่อมพ้นจากมรณะ ผู้มีโสกะ(ความเศร้าโศก) ปริเทวะ (ความครํ่าครวญ) ทุกข์ (ความทุกข์กาย) โทมนัส (ความทุกข์ใจ) และอุปายาส (ความคับแค้นใจ) เป็นธรรมดา ย่อมพ้น จากโสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข์ โทมนสั และอปุ ายาสเพราะอาศัยเราผู้เป็นมิตรดี” ผู้ท่ีจะปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานจะต้องแสวงหาครู ซ่ึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในบาลี ท่มี าในสังยุตตนิกาย นิทานวรรค ว่า “ยถาภูตํ ญาณทสฺสนตฺถาย สตฺถา ปริเยสิตพฺโพ” พึงแสวงหาครู ๔๕ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภรี ว์ ิสทุ ธมิ รรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ), หน้า ๑๖๑-๑๖๓.

๘๓ เพ่ือให้ได้รับข้อมูลความรู้ท่ีถูกต้อง อย่าได้มีทิฏฐิมานะถือตัวว่า เราเป็นคนเก่งเป็นคนวิเศษ ไม่ จำเปน็ ต้องไปรับฟังคำแนะนำจากใคร๔๖ ๔.๖.๔ แสวงหาสำนักเรยี นกมั มัฏฐาน อรรถกถาพระวินัย อธิบายว่า “กุลบุตรผู้มีศีลบริสุทธิ์ และตัดปลิโพธ ได้แล้ว เมื่อจะเรียนอา นาปานสติกัมมัฏฐานควรเรียนเอาในสำนักพระอนาคามี เม่ือไม่ได้แม้พระอนาคามีนั้น ก็ควรเรียนเอา ในสำนักพระสกทาคามี เมอ่ื ไม่ได้แม้พระสกทาคามีน้ัน กค็ วรเรียนเอาในสำนกั พระโสดาบัน เมอ่ื ไม่ได้ แม้พระโสดาบันนั้น ควรเรียนเอาในสำนักของท่านผู้ได้จตุตถฌาน ซ่ึงมีอานาปานะเป็นอารมณ์ เมื่อ ไม่ได้ท่านผู้ได้จตุตถฌานแม้นั้น ก็ควรเรียนเอาในสำนักของ พระวินิจฉยาจารย์ ผู้ไม่เลอะเลือนทั้งใน บาลีและอรรถกถา จริงอยู่ พระอริยบุคคลท้ังหลายมี พระอรหันต์เป็นต้น ย่อมบอกเฉพาะมรรคท่ีตน ได้บรรลุแลว้ เท่าน้ัน ส่วนพระวินิจฉยาจารย์นีเ้ ป็นผ้ไู ม่เลอะเลอื น๔๗ ๔.๖.๕ การถอื กมั มฏั ฐาน คัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค๔๘๒๘ อธิบายไว้ว่า พระโยคีพึงเข้าไปหากัลยาณมิตรผู้ให้ กัมมัฏฐาน แล้วมอบตนแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าหรือแก่พระอาจารย์ บำเพ็ญตนให้เป็นผู้มีอัชฌาสัยอัน ถงึ พรอ้ มและมีความตง้ั ใจอันถึงพรอ้ มแลว้ จึงขอกัมมัฏฐาน ๔.๗ การนัง่ กัมมฏั ฐาน อารมณ์หลักของการทำกัมมัฏฐาน คือการหายใจเข้าออกอย่างมีสติ ซ่ึงพระพุทธเจ้าได้ทรง แสดงอาปานสติไว้ว่า “ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ภิกษุในธรรมวินัยน้ี อยู่ในป่าก็ตาม อยู่ ณ โคนไม้ก็ตาม อยูใ่ นสถานท่สี งดั ก็ตาม นั่งคู้บลั ลงั ก์ตัง้ กายตรงดำรงสติบ่ายหน้าสูก่ มั มัฏฐาน ภกิ ษุน้นั ย่อมมสี ติหายใจ เข้า มีสติหายใจออก เมื่อหายใจเข้ายาวก็รู้สึกว่าหายใจเข้ายาว หรือเมื่อหายใจออกยาว ก็รู้สึกว่า หายใจออกยาว เมื่อหายใจเขา้ ส้ัน ก็รสู้ ึกว่าหายใจเขา้ สั้น หรือเม่ือหายใจออกสั้น ก็รู้สึกว่าหายใจออก สนั้ ๔๙ ๔.๗.๑ ลำดับกอ่ นหลังระหว่างการนง่ั กัมมฏั ฐานกบั การเดินจงกรม หลังจากท่ีเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้อริสัจ ๔ เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วพระองค์ได้ทรง สอนวิชาการดับทุกข์ให้แก่เหล่าสาวกท้ังหลาย ส่วนลำดับก่อนหลังระหว่างการน่ังกัมมัฏฐานกับการ เดินจงกรมในคัมภีร์บางเล่มได้เขียนไว้ได้แต่ให้ไปหาสถานท่ีปฏิบัติ เมื่อหาได้แล้วก็ลงมือปฏิบัติโดย น่ังขัดสมาธิหรือน่ังคู้บัลลังก์ ซ่ึงได้มีจารึกไว้ในพระคัมภีร์ต่าง ๆ เช่น ในพระสุตตันตปิฎก ที่ว่า “ภิกษุ ในธรรมวินัยน้ี ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ก็ดี ไปสู่เรือนว่าง๕๐ ก็ดี น่ังคู้บัลลังก์๕๑ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้ เฉพาะหนา้ ๕๒มสี ติหายใจเขา้ มีสติหายใจออก”๕๓ ๔๖ พระมหาสีสยาดอ (โสภณมหาเถระ), วปิ ัสสนาชนุ ี (ภาคปฏิบตั ิ), พมิ พ์ครั้งแรก, แปลโดย จำรญู ธรรมดา, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ ทพิ ยวิสุทธ์ิ, ๒๕๔๐), หนา้ ๘๗. ๔๗ ว.ิ มหา.อ. (บาลี) ๑/๑๖๕/๔๕๖. ๔๘ วสิ ุทฺธ.ิ (บาลี) ๑/๑๒๔. ๔๙ ว.ิ มหา.อ. (ไทย) ๑/๑๗๘/๒๕๗-๒๕๘. ๕๐ เรือนวา่ ง หมายถึงเสนาสนะ ๗ อย่าง เวน้ ป่าและโคนไม้ ไดแ้ ก่ (๑) ภเู ขา (๒) ซอกเขา (๓) ถาํ้ ในภเู ขา (๔) ป่าชา้ (๕) ปา่ ละเมาะ (๖) ทีโ่ ลง่ แจ้ง (๘) ลอมฟาง (ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๓๒๐/๒๔๘, อภ.ิ วิ. (ไทย) ๓๕/๕๐๘/๓๘๕).

๘๔ แต่ในโมคคัลลานสูตรได้กล่าววา่ ให้เดนิ จงกรมก่อนการนัง่ กัมมฏั ฐานไว้ว่า “เธอจงชำระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมท้ังหลายที่เป็นเครื่องขัดขวาง ด้วยการจงกรม ด้วยการนั่งตลอด วัน จงชำระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมทั้งหลายที่เป็นเครื่องขัดขวาง ด้วยการจงกรม ด้วยการนั่งตลอด ปฐมยามแห่งราตรี นอนดุจราชสีห์โดยข้างเบ้ืองขวา ซ้อนเท้าเหลื่อมเท้า มีสติสัมปชัญญะกำหนดใจ พรอ้ มจะลุกขึ้นตลอดมัชฌิมายามแห่งราตรี จงลุกข้ึนชำระจิตให้บริสุทธจ์ิ ากธรรมทงั้ หลายท่เี ป็นเครื่อง ขัดขวาง ด้วยการจงกรม ด้วยการน่ัง ตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี”๕๔ และมีจารึกในนันทสูตรไว้ว่าวิธี ประกอบความเพียรเคร่ืองต่ืนอยู่เนือง ๆ สำหรับนันทะ ดังน้ี คือ นันทะต้องชำระจิตให้บริสุทธิ์จาก ธรรมเคร่ืองกางกั้น๕๕ ด้วยการจงกรม ด้วยการนั่งตลอดวันชำระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมเครื่องกางก้ัน ด้วยการจงกรม ด้วยการนั่งตลอดปฐมยามแห่งราตรี สำเร็จ สีหไสยาสน์โดยตะแคงข้างขวา ซ้อนเท้า เหล่ือมเท้า มีสติสัมปชัญญะ ทำอุฏฐานสัญญา (ความหมายใจว่าจะลุกข้ึน) ไว้ในใจในมัชฌิมยามแห่ง ราตรี ลกุ ขึ้นชำระจติ ให้บรสิ ุทธ์ิจากธรรมเครื่องกางกน้ั ด้วยการจงกรม ด้วยการนง่ั ตลอดปจั ฉิมยามแห่ง ราตรี๕๖ ในวิทยานิพนธเ์ รอ่ื ง “การศึกษาการสอนวปิ สั สนากัมมฏั ฐานตามแนวของสำนักวปิ สั สนาวิเวก อาศรม” ของท่านพระครูประคุณสรกิจ (สุชาติ ชโิ นรโส) ไดก้ ล่าวถงึ ลำดับก่อนหลงั ระหวา่ ง การเดนิ กบั การน่งั วา่ “ผูส้ อนจะสอนใหผ้ ู้ปฏิบตั ิวปิ ัสสนาต้องเดินจงกรมทุกครัง้ ก่อนท่จี ะนั่งสมาธิ”ข้อความน้ี ผู้วิจยั พบวา่ การปฏิบัตกิ ัมมฏั ฐานตอ้ งเดนิ จงกรมก่อนการน่ังสมาธิ ด้วยสภาพแวดลอ้ มในปัจจุบันทเ่ี ราไม่สามารถหลกี เลย่ี งหรอื หนีจากเรื่องตึงเครียดท่ีเกิดขน้ึ ได้ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของการงาน สภาพแวดล้อมรอบตัวปัญหารถติดที่คนกรุงต้องพบเจอทุกเช้าเย็น หนี้สินนอกระบบ ข้าวของแพง และอีกร้อยแปดพันอย่างท่ีนับว่าเป็นเร่ืองท่ีส่งผลให้เกิดความเครียด หรอื เร่ืองแยๆ่ แงล่ บทีอ่ ยู่ภายในจติ ใจ ความทุกข์เป็นส่ิงท่ีชีวิตไม่ต้องการ พระพุทธศาสนาแบ่งความทุกข์ไว้ ๒ อย่าง คือทุกขป์ ระจำ และทุกข์จร ทุกข์ประจำ หมายถึง ทุกข์ที่มาพร้อมชีวิต คือ การเกิด แก่ ตาย ไม่มีใครหลีกเล่ียงทุกข์ ประจำนี้ได้ ส่วนทุกข์จรได้แก่ ความเศร้าโศก รำพัน ต้องอาลัยไม่ขาด การไม่สมความปรารถนา และ การพลัดพรากจากของรัก เป็นต้น เป็นเพียงทุกข์ท่ีผลัดกันเกิดข้ึนในระหว่างท่ีเกิดแก่และตายนั่นเอง อาจจะบรรเทาได้บางส่วนตามสมควร แต่ก็ไม่อาจทำใหท้ ุกข์จรน้ัน หมดไปไดเ้ ช่นกัน สังคมในอดตี เคย ต้องเกิด แก่ ตายอย่างไร ปัจจุบันแม้จะมีเทคโนโลยี ที่ก้าวหน้าทันสมัยอย่างไร เทคโนโลยีเหล่านั้น ก็ ยงั ไม่อาจ แกป้ ญั หาชีวติ ที่ตอ้ งแก่และตอ้ งตายของชีวิตใครได้ พระพุทธศาสนามิได้สอนหรือบังคับให้หนีสังคม มิได้ถ่วงความเจริญ หรือพยายามหยุดยั้ง เทคโนโลยีที่กำลังก้าวกระโดดนั้น อย่างที่หลายคนเข้าใจกัน ท่ีจริงแล้วจะมีเทคโนโลยีหรือไม่มีก็ตาม ปัญหากม็ ไิ ดล้ ดลงหรือเพม่ิ ขนึ้ จากเดมิ ทั้งนเ้ี ทคโนโลยตี ่าง ๆ มีทง้ั ส่วนทใี่ ห้คุณและให้โทษ ขน้ึ อยู่กับผทู้ ี่ ๕๑ นั่งค้บู ัลลงั ก์ หมายถึงน่ังพบั ขาเขา้ หากันท้ัง ๒ ขา้ ง เรยี กว่า น่งั ขัดสมาธิ (วิ.อ. ๑/๑๖๕/๔๔๕). ๕๒ ดำรงสตไิ วเ้ ฉพาะหน้า หมายถึงตง้ั สติกาํ หนดอารมณก์ มั มฏั ฐาน (วิ.อ. ๑/๑๖๕/๔๔๕). ๕๓ ส.ํ ม. (บาลี) ๑๑/ ๑๓๑๕/๓๙๗, ส.ํ ม. (ไทย) ๑๑/ ๑๓๑๕/๓๒๑. ๕๔ ม.อุ (ไทย) ๑๔/๗๕/๘๐. ๕๕ ธรรมเคร่ืองกางกั้นในที่น้หี มายถึงนิวรณ์ ๕ ประการ คือ (๑) กามฉนั ทะ (ความพอใจในกาม) (๒) พยาบาท (ความคิดรา้ ย) (๓) ถีนมทิ ธะ (ความหดหแู่ ละเซื่องซึม) (๔) อทุ ธจั จกุกกจุ จะ (ความฟุง้ ซ่านและร้อนใจ) (๕) วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสยั ) (องฺ.ปญฺจก. (ไทย) ๒๒/๕๑/๘๙). ๕๖ องฺ อฏฐฺ ก. (ไทย) ๒๓/๙/๒๑๕.

๘๕ นำไปใช้มากกว่า จุดยืนทางศาสนาอยู่ท่ีการเป็นสัญญาณ เตือนภัยท่ีจะเกิดแก่มนุษย์ ภัยนั้นมีอยู่รอบ ด้านโดยเฉพาะภยั ทางความคิด ซ่ึงมนษุ ย์มองไม่เห็นและไม่เช่ือวา่ เปน็ ภัยจริง มุมมองท่ีคบั แคบอาจทำ ให้มนุษย์มอง เห็นเพียงด้านเดียว ของความสะดวกสบายจากเทคโนโลยี แล้วกล่าวอ้างถึงความเจริญ ทนั สมยั เพือ่ สนับสนนุ ความคิดของตน และเลือกที่จะทำตามความคิดน้ัน จนละเลยปญั หาที่จะตามมา ในภายหลงั ศาสนามีหน้าท่ีแสดงความจริงเก่ียวกับโลกและชีวิต แนะนำถึงความรอบคอบ และรอบรู้ใน การดำเนินชีวิต โดยเกดิ ความเดอื ดร้อน น้อยท่ีสุด รอบรู้ว่าสิ่งใดควรคิดควรทำ สิ่งใดไมค่ วรทำ ชว่ ยให้ มนุษย์เข้าใจชีวิตและส่วนที่เป็นปัญหา มีระเบียบในเรือนใจ และการยอมรับเหตุผล ทำให้สามารถ หาทางออกจากความขัดแยง้ และอยใู่ นสังคมทเ่ี ต็มไปด้วยปัญหาได้อยา่ งผรู้ ้กู าลเทศะ ๔.๗.๒ ทา่ นั่งกมั มัฏฐาน ท่าน่ังกัมมัฏฐานพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้สอนไว้ในพระสุตตันตปิฎก ถึงการนั่งกัมมัฏฐานไว้ ดังน้ี “ภิกษุในธรรมวินัยนี้ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ก็ดี ไปสู่เรือนวา่ งก็ดี น่ังคู้บัลลังก์ ต้ังกายตรง ดำรงสติ ไว้เฉพาะหน้า มสี ตหิ ายใจเขา้ มีสตหิ ายใจออก”๕๗ การน่ังให้นั่งคู้บัลลังก์ คือให้น่ังขัดสมาธิ แต่ในพระไตรปิฎกไม่ได้บอกไวว้ ่าให้น่ังแบบขัดสมาธิ แบบเรยี งเทา้ ไม่ซ้อนกัน หรือนั่งแบบขดั สมาธิ ๒ ชั้น หรอื ขัดสมาธิเพชร และการเอาขาขวาทับขาซ้าย หรือเอาขาซ้ายทับขาขวาในพระไตรปิฎกไม่ได้เขียนเอาไว้อีกเหมือนกัน แต่ในหนังสือมหาสติปัฏฐาน สตู รได้เขียนถงึ ทา่ นัง่ กมั มัฏฐานไว้ว่า “ทา่ ในการนง่ั กมั มฏั ฐานมี ๓ แบบ คือ ๑) ท่านั่งคู้บัลลังก์ หรือน่ังขัดสมาธิ (full-lotus position) คือ วิธีน่ังคู้เข่าทั้งสองข้างให้แนบ ลงท่ีพ้นื แล้วเอาขาไขวก้ ันทับฝ่าเท้า ท่าน่ังแบบนี้นิยมมากในอินเดีย แต่คนในท้องถิ่นอ่ืนมักน่ังท่านีไ้ ด้ ไม่นาน เพราะสภาวะปวดส่งผลให้มีเวทนากล้า (คำว่า นั่งขัดสมาธิ อ่านว่า นั่งขัดสะหฺมาด ตาม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หน้า ๕๗๐ ไม่อ่านว่า นั่งขัดสมาธิ ซึ่งหมายถึง น่ัง เพื่อใหเ้ กดิ สมาธิ) ๕๗ ส.ํ ม. (ไทย) ๑๙/๙๗๗/๔๕๓.

๘๖ ๒) นง่ั แบบซ้อนขา (half-lotus position) คอื วธิ นี งั่ คลา้ ยแบบแรกแตใ่ ช้ขาขวาวางซ้อนทับ ขาซ้าย การน่งั ทา่ นีน้ ิยมโดยท่ัวไปในประเทศไทยเป็นแบบที่อาจก่อให้เกิดสภาวะ เหน็บชาไดง้ า่ ย ๓) ท่าน่ังแบบเรียงขา (eaasy position) คือ วธิ ีนัง่ คลา้ ยขา้ งตน้ แตจ่ ะวางขาเรียงกันกับพื้นให้ ขาซ้ายไวด้ ้านนอก ขาขวาอยู่ดา้ นใน การนั่งท่านี้นยิ มมากในประเทศพม่า มขี ้อดคี ือจะสง่ ผลใหเ้ กดิ ทกุ ขเวทนาช้าเพราะไม่ได้ทับขาไว้เหมือนการนัง่ ซอ้ นขา นอกจากนี้นกั ปฏบิ ตั ิอาจนง่ั พับเพียบ หรือนัง่ บนเกา้ อ้ี ตามสมควรแก่กายภาพของแต่ละ คน”๕๘ ๕๘ พระโสภณมหาเถระ(มหาสสี ยาดอ), มหาสตปิ ัฏฐานสตู ร ทางสู่พระนิพพาน, แปลโดย พระคันธสาราภิวงศ์ พมิ พ์ครงั้ ที่ ๒, (กรงุ เทพมหานคร : หา้ งห้นุ สว่ นจำกดั ไทยรายวันการพิมพ์, ๒๕๔๙), หน้า ๔๓.

๘๗ ส่วน อุชุ กายํ ปณิธาย ได้แก่ ต้ังสรีระเบ้ืองบนให้ตรงให้ปลายกับปลายกระดูก สันหลัง ๑๘ ข้อจดเรียงกัน เมื่อนั่งอย่างนี้หนังเน้ือและเอ็นก็ไม่ค้อม เม่ือเป็นเช่นน้ัน เวทนาเหล่าใดอันมีความค้อม เป็นปจั จัยจึงเกิดข้ึนทกุ ขณะแก่ภิกษุเหล่าน้ัน เวทนานั้นก็จะไม่เกิดขึ้น เมื่อเวทนาเหลา่ นั้นไม่เกิด จิตก็ ย่อมมอี ารมณ์เปน็ หน่งึ กรรมฐานกไ็ ม่ตก มีแต่เจรญิ งอกงาม๕๙ และบทว่า ปริมุขํ สตึ อุปฏฺฐเปตฺวา มีความกําหนดถือ เอาเป็นอรรถ ศัพท์ว่า มุขํ มีความนำ ออกเป็นอรรถ ศัพทว์ ่า สติ มีความเข้าไปตง้ั ไว้เป็นอรรถ เพราะเหตนุ ั้นท่านจึงกล่าวว่า ตั้งสติไว้เฉพาะ หน้า หมายถึง กำหนดอารมณ์กมั มัฎฐาน๖๐ ส่วนมือใหว้ างไว้ลักษณะไหนในคมั ภรี ไ์ ม่ไดบ้ อกไว เมอื่ เดนิ จงกรมเสรจ็ แลว้ จะไปนง่ั สมาธิ พระอาจารย์ใหญ่ได้สอนวา่ “เมื่อเดินจงกรมพอสมควรแล้ว ย่อมจะรู้สึกอยากนั่งขึ้นมาทันทีทันใดน้ันจงกําหนดว่า อยาก น่ังหนอ ๆ ๆ ขณะท่ีกำหนดอยากนั่งอยู่น้ันตาอาจไปเห็นหรือหูอาจไปได้ยิน ถ้าได้เห็นหรือได้ยินไซร้ จงกำหนดอาการเหล่านั้นว่า เห็นหนอ ๆ ๆ หรือ ได้ยินหนอ ๆ ๆ คร้ันแล้ว จงเดินไปท่ีของตนด้วย กำหนดในการเดินว่า ซ้ายย่างหนอ ขวาย่างหนอ เมื่อถึงที่แล้วหยุดยืนอยูน่ ั้น จงกำหนดว่า ยนื หนอ ๆ ๆ พอหันก็กำหนดวา่ หันหนอ ขณะท่ีกำลังกำหนดอยนู่ ั้นเกิดอยากน่ังขึน้ มากลางคนั กก็ ำหนดว่า อยาก น่ังหนอ ๆ ๆ คร้ันแล้วจึงค่อย ๆ หย่อนกายลงพร้อมกับ กำหนดว่า นั่งหนอ จนกว่าจะได้แตะพ้ืน เมื่อ นั่งลงน้ันย่อมต้องปรุงแต่งการนั่ง เช่น โยกตัว เอี้ยวตัว ยึดตัว งอตัว ฯลฯ เป็นต้น อาการเหล่านี้ ต้อง กำหนดให้หมดตามกรณีของอาการน้นั ๆ เมอื่ ไดน้ ั่งเรียบรอ้ ยแลว้ กจ็ งกำหนด พองยบุ ตอ่ ไป๖๑ ๔.๗.๓ การกำหนดอารมณห์ ลกั ในการนงั่ กัมมฏั ฐาน การกําหนดในการนั่งกัมมัฏฐานจะมีอารมณ์หลักและอารมณ์รอง ในท่ีนี้จะกล่าวถึงการ กำหนดอารมณ์หลักก่อน การกำหนดอารมณ์หลักอิริยาบถน่ังในคัมภีร์กล่าวไว้ ดังนี้ อานาปานสติ “เมื่อหายใจเข้ายาวก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว เม่ือหายใจออกยาวก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกยาว เม่ือ หายใจเขา้ สัน้ กร็ ชู้ ดั ว่าเราหายใจเข้าสน้ั เมอ่ื หายใจออกสัน้ ก็ร้ชู ัดว่าเราหายใจออกส้ัน๖๒ มหาสตปิ ัฏฐาน๖๓ ดังน้ี “สำเหนียกว่าเราระงบั กายสังขาร๖๔หายใจเข้า สำเหนยี กวา่ เราระงบั กายสงั ขารหายใจออก” ในมหาหตั ถิปโทปมสตู ร ไดก้ ล่าวถึงวาโยธาตุ ดงั น้ี การกําหนดอารมณ์หลักเวลาอยู่ในอิริยาบถนั่งโดยกําหนดพองหนอยุบหนอ เป็น วาโยธาตุ เป็นโผฐัพพรูป ดังน้ันการกำหนด “พองหนอ ยุบหนอ” จนเห็นสภาพความเคล่ือนไหวของรูปท้อง จึง ตรงกับที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ในสังยุตตนิกายว่า “ภิกษุท้ังหลาย พวกเธอจงเอาใจใส่กำหนดรูปให้ดี ๕๙ อง.จตกุ ฺก.อ. (ไทย) ๒/๕๓๖. ๖๐ ข.ุ ป.อ. (ไทย) ๒๓/๑๔๔. ๖๑ พระภทั ทนั ตะ อาสภมหาเถระ, วปิ ัสสนาธุระ, พมิ พ์คร้ังท่ี ๗, (กรงุ เทพมหานคร : C ๑๐๐ DESIGN CO. LTD, ๒๕๓๖), หนา้ ๑๓๙-๑๔๐. ๖๒ ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๑๔๘-๑๔๙/๑๘๗-๑๙๑, ส.ํ ม. (ไทย) ๑๙/๒๔๗,๙๗๗-๙๙๖/๑๙๔,๔๕๓-๔๘๗. ๖๓ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๔/๓๐๒-๓๐๔, ม.มู (ไทย) ๑๒/๑๐๗/๑๐๒-๑๐๔. ๖๔ ระงับการสังขาร หมายถงึ ผอ่ นคลายลมหายใจหยาบใหล้ ะเอยี ดขนึ้ ไปโดยลำดบั จนถงึ ขนั้ ทจ่ี ะต้องพิสูจน์ ว่ามลี มหายใจอย่หู รอื ไม่ เปรียบเหมือนเสียงเคาะระฆังครงั้ แรกจะมเี สยี งดงั กงั วานแล้วแผว่ ลงจนถึงเงยี บหายไปใน ทสี่ ดุ (วสิ ุทฺธ.ิ ๑/๒๒๐/๒๙๙-๓๐๒).

๘๘ พยายามจบั เอาความไมเ่ ทีย่ งของรปู ให้จงได้ ธรรมดาภิกษุย่อมกำหนดรูปท่ีไม่เท่ียงอยู่แล้วนนั่ แหละว่า เปน็ ของไม่เที่ยง การกำหนดของภิกษนุ ั้นยอ่ มเป็นสมั มาทฏิ ฐิ ความเห็นทถ่ี กู ตอ้ งโดยแท้”๖๕ ทา่ นมหาสี สะยาดอ (พระโสภณ มหาเถระ) แสดงไวใ้ นวิสุทธญิ าณกถา วา่ “โยคีบุคคลเมื่อน่ัง ลงแล้ว ในบริเวณท้องน้ัน อัสสาสะปัสสาสะวาโยธาตุเป็นเหตุเป็นปัจจัย วาโยโผฏฐัพพรูปนี้ปรากฎ ชัดเจนอย่เู สมอ ในขณะนัน้ พงึ ต้ังสตกิ ำหนดเจรญิ วิปัสสนา ภาวนาว่า พองหนอ-ยุบหนอ พองหนอ-ยุบ หนอ” การเจริญวิปัสสนาตามพุทธประสงค์ก็คือการกําหนดรูปนามเป็นอารมณ์ ถ้าผิดจากการ กำหนดรูปนามเสียแล้ว ก็หาใช่วิปัสสนากัมมัฏฐานไม่ น้ีเป็นกฎตายตัวท่ีใครจะโต้เถียงไม่ได้ ก็การ กำหนดรูปนามอันเป็นอารมณ์ของวิปัสสนานั้นเฉพาะการกำหนดรูป ถ้ากำหนดรูปใหญ่ไม่ได้ผลหรือ ได้ผลน้อยที่สุดท่านก็สอนให้กำหนดรูปท่ีละเอียด รูปที่ละเอียดก็ได้แก่รูปที่ลมหายใจถูกต้อง คือลม หายใจเข้าออก ไปถูกที่ใดก็ให้กำหนดที่นั้น ในท่ีน้ีสถานที่ท่ีลมหายใจถูกต้องอยู่เสมอนั้นมีอยู่ ๒ แห่ง คือ ท่จี มูกและทบ่ี รเิ วณท้อง ใน ๒ แห่งนน้ั ปรากฏว่า สำหรับที่จมูกจะกําหนดได้ชัดเจนก็เพียงแต่ในระยะเร่ิมแรกเท่าน้ัน คร้ันนานเข้า เมื่อลมละเอียดลงจะปรากฏไม่ชัดเจน ส่วนที่บริเวณท้องที่มีอาการพองยุบน้ัน กำหนดได้ชัดเจนสมํ่า เสมอ ถึงจะนานเท่าใดก็กำหนดได้ และแสดงสภาวะได้แจ้งชัดกว่าที่จมูกมาก ในเร่ืองนี้ผู้ท่ีทำการ ปฏิบัติแล้วย่อมจะทราบได้ดีทุกคน ฉะนั้นรูปที่ถูกต้องท่ีบริเวณท้อง คืออาการพองขึ้นยุบลง จึง เหมาะสมอย่างย่ิงแก่การตั้งสติกำหนดเพื่อเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ซึ่งต้องอาศัยการกำหนดรูปนาม เป็นสำคัญที่กล่าวมาน้ีเรียกว่าเป็นสภาวยุตติ (อธิบายให้เข้าใจเร่ืองสภาวะล้วน ๆ) ต่อไป อาคมยุตติ (ยกพระบาลี อรรถกถาฎีกาข้ึนมารับรองเป็นพยานหลักฐานของสภาวยุตติ) มีอยู่ว่าบริเวณท้องนั้น พองก็ดี ยุบก็ดี ที่มีอาการเคล่ือนไหวชัดเจนอยู่น้ัน เรียกว่า วาโยโผฐฐัพพรูป ฉะนั้นพองหนอยุบหนอ ซึ่งกำหนดอยู่นั้น โยคาวจรบุคคลรู้อยู่แต่ปรมัตถสภาวะของวาโยธาตุท่ีมีอาการเคล่ือนไหว ดงั น้ันพระพุทธองค์ทรงเทศนาไว้ในสงั ยุตตนิกายวา่ “ภิกษุทงั้ หลายเธอจงเป็นผ้มู ีโยนิโสมนสิการตั้งสติ กำหนดทีร่ ูปถ้ามสี มาธิแล้วรปู นนั้ อนิจจงั ก็ดีทุกขงั ก็ดอี นตั ตาก็ดี ยอ่ มเปน็ ไดช้ ดั เจนแน่นอน” อนึ่งพระพุทธองค์ทรงเทศนาไว้ในสังยุตตนิกายว่า “โยคาวจรบุคคลท่ีโผฏฐัพพารมณ์ถูกต้อง สัมผัสนั้น ตั้งสติกำหนดรู้เห็นอยู่ว่าไม่เท่ียง บุคคลน้ัน อวิชชาหายไป วิชชาญาณปรากฏ” ดังนั้นโยคี บุคคลท่กี ำหนดอาการพองอาการยบุ อยนู่ ้ันตนรู้อย่แู ต่วาโยโผฏฐพั พรปู เช่นนแี้ สดงวา่ “บางแห่งกล่าวว่าการตามรสู้ ภาวะพองยุบไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกแล้วคัดค้านการปฏิบัติ แนวน้ี ความจรงิ สภาวะพองยุบนับเขา้ ในอริ ยิ าบถย่อย หมวดกายานุปสั สนา โดยจดั เปน็ ธาตุลมโดย เปน็ ลมทีเ่ กดิ ในท้อง เรยี กว่า กุจฉิสยวาโย (ลมในท้อง) ซ่ึงเปน็ หนึง่ ใน ลม ๖ ประเภท คือ ลมพดั ข้นึ เบ้อื งบน ลมพดั ลงเบอ้ื งลา่ ง ลมในท้อง ลมในไส้ ลมหายใจ และลมแลน่ ไปตามอวยั วะน้อยใหญ่๖๖ ๖๕ พระมหาสีสยาดอ (โสภณมหาเถระ), วปิ ัสสนาชนุ ี, แปลโดย จำรญู ธรรมดา หน้า ๕. ๖๖ ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๓๐๕/๓๓๕, ม.ม. (ไทย) ๑๓/๑๑๗/๑๒๘, ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๕๒/๔๐๗, อภ.ิ วิ. (ไทย) ๓๕/๑๗๖/๑๓๖-๑๓๗, พระมหาสสี ยาดอ (โสภณมหาเถระ), มหาสติปฏั ฐานสตู ร ทางสพู่ ระนพิ พาน, แปลโดยพระ คนั ธสาราภวิ งศ,์ หน้า ๙๓-๙๗, พระมหาสสี ยาดอ (โสภณมหาเถระ), วปิ สั สนานยั , แปลโดยพระคันธสาราภวิ งศ์, (นครปฐม : หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั ซีเอไอเซน็ เตอร์ จำกดั , ๒๕๕๐), หน้า ๒๒๖-๒๓๑.

๘๙ ๔.๗.๔ การกำหนดอารมณร์ องในการนัง่ กัมมฏั ฐาน การเจริญวิปัสสนาล้วน ๆ ด้วยอานาปานสติภาวนา ปรากฏอยู่ในมหาสติปัฏฐานสูตร๖๗ ใน พระสูตรน้ีเป็นการกําหนดรู้ขันธ์ ๕ อย่างใดอย่างหน่ึงในทุกขณะหายใจเข้า-ออก แบ่งออกเป็น ๔ หมวด คือ ๑) หมวดกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน การใช้สติกําหนดรู้ลมหายใจเข้าออก คือ พิจารณาลมหายใจเข้าออก โดยการติดตามพิจารณาลักษณะของการหายใจเข้าออกอย่างใกล้ชิด คือ เมื่อหายใจเข้าหรือออกส้ันยาวอย่างไร ก็ให้รู้อย่างแน่ชัด เปรียบเหมือนนายช่างกลึง หรือลูกมือของ นายช่างกลึงผู้ชำนาญ เมื่อเขาชักเชือกกลึงยาว ก็รู้ชัดว่าเราชักเชือกกลึงยาว เม่ือชักเชือกกลึงสั้น ก็รู้ ชดั ว่าเราชกั เชือกกลงึ สัน้ ๖๘ การเจรญิ กายานุปสั สนาในมหาสตปิ ัฏฐานสตู รนั้นรวมไปถึงการกาํ หนดอริ ิยาบถใหญ่ และอิริยาบถย่อย นอกจากการกําหนดอาการของลมหายใจเข้าออกแล้ว ผู้ปฏิบัติยังจะต้องกําหนดรู้ อาการท่ีปรากฏทั้งหลายอ่ืนอีกด้วย เช่น อาการเคล่ือนไหวของอิริยาบถต่าง ๆ มี ยืน เดิน นั่ง นอน การแลดู การเหลียวดู การคู้อวัยวะ ฯลฯ ในทุกขณะที่เคล่ือนไหว การทำกิจประจำวันต่าง ๆ ก็ต้อง กำหนดรู้อยู่ทุกขณะเช่นเดียวกัน เช่น การกิน การด่ืม การเคี้ยว การนุ่งห่ม การถ่ายอุจจาระปัสสาวะ การดู การได้ยิน การได้กล่ิน การรู้รส การสัมผัส๖๙ ย่ิงไปกว่าน้ันอาการที่ปรากฏทางนามธรรมอัน ได้แก่ เวทนา จิต และธรรมน้ัน ให้กำหนดได้ทันทีท่ีสภาวะเหล่านี้ปรากฏแก่จิตชัดเจนกว่าอาการของ ลมหายใจเขา้ ออก๗๐ ๒) หมวดเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน การใช้สติกําหนดรู้อาการของเวทนา คือ ขณะท่ีกำลังติดตามพิจารณาลมหายใจเข้าออกอย่างใกล้ชิดอยู่น้ัน ถ้าเกิดมีเวทนาที่ปรากฏชัดเจนเข้า แทรกซ้อน ก็ให้กำหนดรู้ในเวทนาน้ัน ตามกำหนดดูอาการของสุขหรือทุกข์ท่ีกำลังเกิดขึ้นว่า อาการ ของสุขหรือทุกขเ์ ป็นอย่างไร หรือเม่อื รสู้ กึ วา่ ไม่สุขไม่ทกุ ข์ก็รู้ชดั แกใ่ จ หรอื สุขหรือทุกขเ์ กิดขน้ึ จากอะไร เป็นมูลเหตุ เช่น เกิดจากเห็นรูป หรือได้ยินเสียง หรือได้กลิ่น หรือได้ลิ้มรส หรือได้สัมผัส ก็รู้ชัดแจ้ง หรือเม่ือรู้สกึ เจบ็ หรือปวด หรือเม่ือย หรือเสียใจ แค้นใจ อิม่ ใจ ฯลฯ ก็มีสติรู้กำหนดรู้ชัดว่า กำลงั รู้สึก เช่นน้ันอยู่๗๑เมื่อเวทนานั้น ๆ ดับไปด้วยอำนาจการตามกําหนดรู้น้ันแล้ว จึงกลับไปกำหนด กายานปุ ัสสนาอย่างเดมิ ๓) หมวดจิตตานุปัสสนาสติปฏั ฐาน การใช้สติกาํ หนดรู้อาการท่ีปรากฏทางวิญญาณ- ขันธ์ คือ ขณะทีก่ ําลังตดิ ตามพิจารณาลมหายใจเขา้ ออกอย่างใกลช้ ดิ อยนู่ ั้น ถ้าเกิดจิตมอี าการแตกต่าง ไปจากปกติปรากฏอย่างชัดแก่จิตเข้ามาแทรกซ้อน ก็ให้กำหนดรู้อารมณ์นั้นในทันทีว่า มีอารมณ์ อย่างไร เชน่ เม่อื จิตมรี าคะ โทสะ โมหะ ความหดหู่ ความฟุง้ ซ่าน ความสงบ ความไมส่ งบ ฯลฯ ก็รชู้ ัด ว่า จิตมีอารมณ์อย่างนั้น ๆ ตามความเป็นจริง๗๒เม่ือจิตนั้น ๆ ดับไปด้วยอำนาจการตามกำหนดรู้นั้น แลว้ จงึ กลับไปกำหนดกายานุปัสสนาอย่างเดมิ ๖๗ ท.ี ม. (ไทย)๑๐/๓๗๒/๓๐๑ , ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๑๐๕/๑๐๑, ส.ํ ม. (ไทย) ๑๙/๓๖๗/๒๑๐-๒๑๑. ๖๘ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๓๗๔/๓๐๓ , ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๐๗/๑๐๓. ๖๙ ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๑๐๘/๑๐๔. ๗๐ องฺ.สตตฺ ก. (ไทย) ๒๓/๓๘/๕๘. ๗๑ ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๑๑๓/๑๐๙. ๗๒ ดูรายละเอยี ดใน เร่อื งเดยี วกนั หนา้ ๑๑๐.

๙๐ ๔) หมวดธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การใช้สติกําหนดรู้สภาวธรรมที่ปรากฏ คือ ขณะที่กำลังติดตามพิจารณาลมหายใจเข้าออกอย่างใกล้ชิดอยู่น้ัน ถ้าเกิดสภาวธรรมอะไรอยู่ก็ต้อง กำหนดรู้อาการน้ัน ๆ เมื่อเกิดความพอใจรักใคร่ ความพยาบาท ความหดหู่ท้อถอย ความฟุ้งซ่าน รำคาญใจ หรือความลังเลสงสัย (ซึ่งเรียกว่า นิวรณ์) ก็ต้องกำหนดรู้ ได้ลิ้มรสหรือได้ถูกต้องส่ิงของก็ ต้องกำหนดรู้ทันที หรือเม่ือเกิดความไม่พอใจ ความละอาย ความเมตตา ความคิด ความเห็น ความ โลภ ความโกรธ ความริษยา ฯลฯ ก็กำหนดรู้เช่นเดียวกันตามความเป็นจริง๗๓เม่อื อาการของความคิด นึก และความจำได้หมายรู้นั้น ๆ ดับไปด้วยอำนาจการตามกําหนดรู้นั้นแล้ว จึงกลับไปกำหนด กายานุปสั สนาอยา่ งเดิม ๔.๘ วิธีกำหนดอิริยาบถยอ่ ยในขณะเปล่ียนท่าระหว่างการเดนิ จงกรม กบั การนงั่ กัมมฏั ฐาน อิริยาบถ หมายถึง อาการหรือการเคลอื่ นไหวอยู่ในกริ ิยาท่าทางอย่างใดอย่างหนึ่ง มี ๒ อย่าง ได้แก่ อิริยาบถอสัปปายะ คือ อาการหรือการเคลื่อนไหวในกิริยาท่าทางท่ีปฏิบัติแล้วไม่ถูกใจมีการ เคล่ือนไหวที่ไม่พอดี และอิรยิ าบถสัปปายะ คือ อาการหรือการเคลือ่ นไหวในกิรยิ าท่าทางท่ีปฏิบตั ิแล้ว ถูกใจจนมีการเคลื่อนไหวทพ่ี อดี โยคาวจรพึงเลอื กอยู่ในอิรยิ าบถท่ีเกิดความสบายกายสบายใจ นิวรณ์ จะไดไ้ มเ่ กิด ในคัมภรี ป์ กรณ์วเิ สสวสิ ุทธมิ รรค อธิบายไวว้ า่ ในอิริยาบถ ๔ อย่างนั้น โยคาวจรบางท่านเม่ือทำการปฏิบัติอยู่ในอิริยาบถนอนแล้ว ก็ทำให้ ร้สู ึกง่วงเหงาหาวนอน ไม่ค่อยได้รับผลดี ถ้าทำการปฏิบัติในอิริยาบถอ่ืน ๆ ก็รู้สึกว่ามีความสบายกาย สบายใจ ทั้งไดร้ บั ผลดีโดยไมม่ นี วิ รณ์เกิดข้ึนกวนใจ บางท่านกไ็ ม่ไดร้ ับผลดแี ตป่ ระการใดในอิรยิ าบถนั่ง ยืน เดิน แต่กลับได้รบั ผลดีใน อริ ิยาบถนอน บางท่านเม่อื ทำการปฏบิ ัติอยู่ในอริ ิยาบถน่ัง ยืน เดิน แล้ว รู้สึกไม่สบายกายไม่สบายใจ ไม่ค่อยได้รับผลดี ถ้าทำการปฏิบัติอยู่ในอิริยาบถเดินกับนอน ก็รู้สึกว่ามี ความสบายกายสบายใจ ทั้งได้รบั ผลดีด้วย บางท่านก็ไม่ได้รับผลดีแต่ประการใดในอิริยาบถเดิน นอน แต่กลับได้รับผลดีใน อิริยาบถน่ัง ยืน บางท่านเมื่อทำการปฏิบัติอยู่ในอิริยาบถเดิน แล้วรู้สึกไม่สบาย กายไม่สบายใจ ไมค่ ่อยจะได้รับผลดี ถ้าทำการปฏิบตั ิในอิริยาบถอ่ืนๆ ก็รสู้ กึ ว่ามีความสบายกายสบาย ใจ ทั้งได้รับผลดีโดยไม่มีนิวรณเ์ กดิ ข้ึนกวนใจ บางท่านก็ไม่ไดร้ ับผลดีแต่ประการใด ในอริ ยิ าบถ นั่ง ยืน นอน แต่กลับได้รับผลดีในอิริยาบถเดิน ฉะน้ัน อิริยาบถใดได้รับผลดี คือ ทำให้จิตใจแจ่มใสสงบระงับ ดับเสียซึ่งนิวรณ์ อิริยาบถน้ันจัดเป็นสัปปายะแก่โยคาวจรบุคคลน้ัน เหตุนั้น พึงทดลองดูในอิริยาบถ น้ัน ๆ อยู่อยา่ งละ ๓ วัน เช่นเดียวกันกบั ทำการทดลองในอาวาส๗๔ เม่อื เดินไดต้ ามเวลาทีก่ าํ หนดแลว้ จึงกําหนดการนง่ั ต่อไป การกําหนดนั่ง เพื่อให้การกําหนดต่อเน่ืองกันไป ขณะย่อตัวลงให้กําหนดว่า “ลง” ขณะหยุด ให้กำหนดรู้พร้อมกับคำว่า “หนอ” หรือกําหนดว่า “ลงหนอ ๆ ๆ” เป็นระยะจนกระทั่งก้นสัมผัสพ้ืน ให้กำหนดว่า “ถูกหนอ” แล้วกําหนดที่ขาเอาขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ตั้งกายตรง แล้ว ๗๓ ดูรายละเอียดใน เรอ่ื งเดียวกนั หนา้ ๑๑๑. ๗๔ วสิ ทุ ธฺ .ิ (บาลี) ๑/๕๒/๑๓๐.

๙๑ หลับตาหายใจตามปกติ ต้ังสติจดจ่อดูอาการ พอง – ยบุ ของทอ้ ง เวลาหายใจเขา้ ทอ้ งพองให้กำหนดรู้ ตามอาการท่ีท้องพองว่า “พอง” ไปจนสุดพองให้กาํ หนดว่า “หนอ” เมอื่ สุดพองท้องเร่ิมยุบให้กำหนด ร้ตู ามอาการท่ีท้องยุบว่า “ยุบ” ไปจนสุดยุบให้กําหนดว่า “หนอ” ให้กําหนดอาการของท้องพองท้อง ยุบให้ตรงกับกําหนดว่า “พองหนอ ยุบหนอ” โดยไม่ใส่ใจในคำบริกรรมนั้น แต่ให้ใส่ใจรู้เห็นใน สภาวธรรมของทอ้ งพอง ทอ้ งยบุ ท่ปี รากฏชัดน้นั ไปจนหมดเวลาทกี่ าํ หนดไว้๗๕ ๔.๘.๑ การเดินจงกรม การเดินจงกรมมีอารมณ์หลักและอารมณ์รองในการเดินจงกรม แต่ในช่วงนี้จะกล่าวถึง อารมณห์ ลกั ในการเดินจงกรมระยะที่ ๑ คอื ขวายา่ งหนอ ซ้ายยา่ งหนอ แต่ก่อนการเดินจงกรม ผูป้ ฏิบัติต้องอยู่ในอิรยิ าบถยืนก่อน โดยการกําหนดอิริยาบถยืนพระพุทธองค์ได้ตรัสสอนไว้ว่า เมื่อยืนอยู่ก็รู้ว่ายืนอยู่ หมายความว่า ให้ยืนตัวตรง และศีรษะตั้งตรงไม่ก้มหรือเงยหน้าวางเท้าท้ังสอง เคียงคู่กัน ให้ปลายเท้าเสมอกันและให้ห่างกันเล็กน้อยประมาณ ๑ ฝ่ามือของเจ้าของหรือห่างเท่าที่ เจ้าของทรงตัวได้อย่างม่ันคง มือทั้งสองประสานกันไว้ข้างหน้าหรือข้างหลังก็ได้ สายตามองไปหรือ ทอดสายตาไปข้างหน้าประมาณ ๑ หรือ ๒ เมตร ตั้งสติไว้ท่ีกาย รู้ความรู้สึกของกายทก่ี ำลังยืนต้ังตรง อยู่นัน้ แล้วกำหนดในใจวา่ “ยนื หนอ ๆๆ” นี้เรยี กว่า ยนื กําหนด การเดินจงกรม เป็นการปฏิบัติตามแบบสติปัฏฐาน ในหมวดอิริยาบถปัพพะ ว่า “ดูกรภิกษุ ท้งั หลาย ข้อปฏิบัตอิ ีกประการหนึ่ง คือ ภกิ ษเุ ม่ือเดินอยู่ ย่อมรู้ชดั ว่าเดินอยู่ เมื่อยืนอยู่ ย่อมรู้ชดั วา่ ยืน อยู่ เมื่อน่ังอยู่ ย่อมรู้ชัดว่านั่งอยู่ เม่ือนอนอยู่ ก็ย่อมรู้ชัดว่านอนอยู่ หรือว่า ภิกษุตั้งกายไว้ด้วยอาการ อย่างใดอยู่ ก็ย่อมรู้ชัดด้วยอาการอย่างนั้น”๗๖ ให้มีสติสัมปชัญญะระลึกได้ก่อนทำและขณะท่ียกเท้า ก้าวไปแต่ละก้าวก็ให้รู้สึกตัวอยู่ว่า การที่ก้าวเท้าไปได้หรือหยุดได้ หันกลับได้ ด้วยอำนาจของธาตุทั้ง ๔ คอื ธาตุดิน ธาตุนํา้ ธาตไุ ฟ ธาตลุ ม ประชุมกนั และเกอ้ื กูลกัน จึงทำใหร้ า่ งกายเคลอ่ื นไปได้ คมั ภรี ์วิสทุ ธิมรรค และพระอรรถกถาจารย์ ไดก้ ล่าวถึง ลักษณะของธาตุในขณะยกเท้า การ กา้ วเทา้ ระยะหน่งึ แบ่งออกเป็น ๖ ส่วน ในการปฏบิ ตั ิวิปสั สนาเปรียบเทียบการเดินจงกรม ๖ ระยะ คอื ๑. การยกข้ึนจากพื้น เรียกว่า อุทรณะ - ยก ทางปฏิบัติกําหนดว่า “ยกส้นหนอ” เกิดจาก ธาตุไฟเป็นหลัก และธาตุลมคล้อยตาม เพราะธาตุไฟมีสภาพเบากว่าธาตุลม ตามอาการปรากฏ(ปัจจุ ปัฏฐาน) ของธาตไุ ฟว่า มทฺทวานุปปฺ าทนปจจฺ ุปฏฺฐานา (มกี ารให้ถึงความอ่อน/การพุ่งขึ้นสงู เป็นเคร่ือง ปรากฏ) ๒. การยนื่ เท้าไปข้างหน้า เรียกว่า อติหรณะ - ย่าง ทางปฏิบัติกําหนดว่า “ยกหนอ”เกิดจาก ธาตุลมเป็นหลัก ธาตุไฟคล้อยตาม เพราะมีสภาพผลักดัน ตามอาการปรากฏของธาตุลมว่า อภินี หารปจจฺ ุปฏฺฐานา (มีการผลักดนั เปน็ เครอ่ื งปรากฏ) ๓. คร้ันเห็นตอ เห็นหนาม (หรือ) เห็นทีฆชาติ (งู) เป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่งแล้วก้าวเท้า (เลี่ยง) ไปข้างโน้นและข้างน้ี เรียกว่า วีติหรณะ - ย้าย ทางปฏิบัติกําหนดว่า “ย่างหนอ” เกิดจากธาตุ ลมเป็นหลกั ธาตุไฟคลอ้ ยตาม เพราะมสี ภาพผลักดัน ๗๕ แมช่ รี ะวีวรรณ ธมมฺ จารินี (งา่ นวสิ ทุ ธพิ ันธ)์ “การศึกษาสภาวญาณเบื้องตน้ ของผู้เขา้ ปฏิบัติวปิ สั สนาตาม หลกั สตปิ ฏั ฐาน ๔ ณ สำนักวิปัสสนากรรมฐานวดั พระธาตุศรจี อมทอง วรวิหาร”, วทิ ยานิพนธ์ พทุ ธ-ศาสตรมหา บณั ฑติ , (บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๑), หน้า ๔๗. ๗๖ ม.มู (ไทย) ๑๒/๑๓๔/๗๔.

๙๒ ๔. การหย่อนเท้าต่ําลง เรียกว่า โวสสัชชนะ - ลง ทางปฏิบัติกําหนดว่า “ลงหนอ”เกิดจาก ธาตุนํ้าเป็นหลัก ธาตุดินคล้อยตามเพราะธาตุนํ้ามีสภาพหนักกว่าธาตุดิน ตามลักษณะของธาตุน้ําว่า ปคฺฆรณลกฺขณา (มีลักษณะไหลหรือเกาะกุม) เน่ืองด้วยธาตุน้ํามีลักษณะไหลไปสู่ท่ีต่ําจึงหนักกว่าธาตุ ดนิ ๕. การวางเท้าลงบนพ้ืนดิน เรยี กวา่ สันนกิ เขปนะ - เหยียบ ทางปฏิบตั ิกาํ หนดว่า “ถูกหนอ” เกิดจากธาตุดินเป็นดินเป็นหลัก ธาตุน้ําคล้อยตาม เพราะมีสภาพสัมผัสความแข็งหรืออ่อน ตาม ลักษณะของธาตุดินว่า กกฺขฬตฺตลกฺขณา (มีลักษณะแข็งหรืออ่อน) และตามหน้าที่ของ ธาตุดินว่า ปตฏิ ฺฐานารสา (มหี นา้ ทต่ี ั้งไว้) ๖. การกดเทา้ ลงกับพืน้ ในเวลาจะยกเท้าอีกข้างหนึ่งขน้ึ เรียกวา่ สันนิรุมภนะ – กด ทาง ปฏบิ ตั ิกำหนดวา่ “กดหนอ” เกิดจากธาตดุ นิ เปน็ หลัก ธาตุน้าํ คล้อยตาม ๗๗ ๔.๘.๒ การกลบั ตวั วธิ ที ีเ่ ดนิ จงกรมจนสุดทางแล้วตอ้ งกลับตัว ปฏบิ ัติดังนี้ เมื่อต้องการจะหยุดเดินหรอื ท่ีเรียกว่า “ก้าวสุดท้าย” อนั เป็นการบอกผู้ปฏิบัติให้รู้ลว่ งหน้าว่า “ก้าวต่อไปจะเป็นก้าวท่ีหยุดเดิน” หมายถึงว่าให้เอาเท้าขวามาเคียงกับเท้าซ้าย แต่ยังไม่ลงถึงพื้น รอ จนถงึ จังหวะ “หนอ” จึงเอาเทา้ ลงถึงพนื้ ได้ ขณะนถ้ี า้ ผู้ปฏิบตั ิจะขยับเทา้ ขวาอีกเล็กน้อยใหม้ าเคียงกัน ให้สวยงามก็ขยับได้โดยกำหนดในใจว่า “ขยับหนอ” เร่ือยไปจนกว่าจะหยุดการขยับ การกลับตัว ใช้ องคภ์ าวนาวา่ ยนื หนอ (๓ ครง้ั ) อยากกลับหนอ (๓ คร้ัง) และกลบั หนอ (๓ คร้งั ) รวม ๓ คู่ อธบิ าย เม่อื เท้าทั้งสองมาเคยี งกันไดเ้ รยี บร้อยดีแล้วผปู้ ฏิบัติมีความประสงค์จะกลับตัว เพือ่ เดนิ ยอ้ นไปหาทีเ่ ก่า การปฏิบัตจิ ะเป็นไปดังนี้ ๑) ก่อนที่จะทำอย่างอ่ืนต่อไป สติจะต้องตามกําหนดรู้ว่าขณะน้ีตนกําลังทำอะไร คำตอบคือ “ยืนอยู่” สติจึงต้องตามกําหนดพิจารณาการยืน ในทางปฏิบัติ จึงให้ออกเสียง พรอ้ มกันว่า “ยืนหนอ ๆ ๆ” ๓ คร้ัง ๒) ในขนั้ ต่อไป สตจิ ะต้องนำมาพิจารณากาํ หนดท่ีใจ เพราะผูป้ ฏบิ ตั ิต้องการกลับตวั เพอื่ เดิน มาทเ่ี ดมิ เมื่อต้องการเช่นนี้ “ความอยาก” อนั เปน็ ตน้ จิตของการกระทำท้ังหลายก็จะเกดิ ข้ึนคอื อยาก กลับตัว สตจิ งึ มากำหนดท่ใี จผู้ปฏบิ ตั ิจึงออกเสียงพร้อม ๆ กันแทนการกำหนดในใจวา่ “อยาก-กลบั - หนอ” ๓ คร้งั ๓) เม่ืออยากกลับตัวแล้ว ต่อไปก็ถึงขั้นกิริยากลับตัวเวลากลับตัวจะกลับข้างขวาหรือข้างซ้าย กไ็ ด้ แตค่ นส่วนมากถนัดข้างขวามากกวา่ ข้างซ้าย ขณะท่ีออกเสียงว่า “กลับ” ส้นเท้าขวาให้ปักอยู่กับพ้ืน หมุนเท้าขวาไปจนได้ระยะที่ต้องการ ประมาณ ๔๕ องศา แล้วหยุด ขณะนี้ปลายเท้าขวายังไม่ถึงพื้นเม่ือออกเสียวว่า “หนอ” ปลายเท้าจึง จะลงถงึ พนื้ สำหรบั เท้าซ้ายให้ยกขึน้ พ้นพื้นแล้วหมนุ ตามไป ภาวนาวา่ “กลับ” ให้มีสติจดจอ่ อยู่ที่การ เลื่อนไปของเท้าทุกขณะ ต่อไปเม่ือออกเสียงอีกว่า “หนอ” เท้าซ้ายจึงจะลงถึงพ้ืน การกระทำ ติดต่อกันมาน้ี เรียกว่า ๑ คร้ัง ซ่ึงความจริงก็คือ ๑ คู่เพราะคิดท้ังเท้าขวาและเท้าซ้าย ในทางปฏิบัติ เรียกง่ายๆ ว่า ๑ คร้ัง และให้ผู้ปฏบิ ัติออกเสียงหลังจากใช้คำว่า “หนอ” ว่า “หนึ่ง” ตามไปด้วยเพือ่ ผู้ ปฏบิ ัติจะได้รู้ว่ากลับมา ๑ คร้งั แล้ว การกลบั ตัวนี้อาจารย์บางท่านใช้ถงึ ๘ ครงั้ ด้วยกัน เพื่อผู้ปฏบิ ัติได้ ๗๗ พระโสภณมหาเถระ (มหาสสี ยาดอ), วิปสั สนานยั เลม่ ๑, แปลโดย พระคนั ธ- สาราภวิ งศ์, หน้า ๒๓๑- ๒๔๐.

๙๓ มีสติพิจาณาอาการของการกลับได้ละเอียดข้ึน และที่ใช้ ๘ ครั้ง ก็ให้ผู้ปฏิบัติกลับตัวถึง ๘ คร้ัง ด้วย เช่นกัน การหมุนตัวของแต่ละครั้งควรหมุนไประยะเท่าใดเช่นหมุนไปถึงคร้ังท่ี ๔ ควรหมุนไปได้ ๙๐ องศา หรอื ๑ มุมฉาก เปน็ ตน้ การเดนิ ต่อไปให้ใชอ้ งคภ์ าวนาวา่ ยนื หนอ (๓ ครงั้ ) อยากเดินหนอ (๓ ครงั้ ) แลว้ จึงเดินซ้าํ ระยะท่ี ๑ หรอื เดนิ ระยะทสี่ องต่อไป๗๘ ๔.๘.๓ อารมณ์รองของอิรยิ าบถเดินและยืน พระมหาสีสยาดอ, (โสภณมหาเถระ) ได้กล่าวถึงเร่อื งการกําหนดอารมณร์ องของอิริยาบถเดิน และยืนวา่ การปฏิบัติกัมมัฏฐานจะมีอารมณ์หลักและอารมณ์รองของอิริยาบถหลักคือเดินกับน่ัง โดย การเดินจงกรมระยะท่ี ๑ ก็จะมีการกำหนดอารมณ์หลักคือ ขวาย่างหนอ ซ้ายย่างหนอ ส่วนอารมณ์ หลักของการยืนคือ ยืนหนอ แต่ถ้ามีอย่างอ่ืนนอกเหนือจากน้ีคือ ได้ยินเสียง ได้กลิ่น คิด นึก พอใจ โกรธ เจบ็ ปวด มนึ ชา คัน เมื่อย เห็น เบื่อ ท้อแท้ ฯลฯ เหลา่ น้ีเป็นอารมณ์รองทั้งส้นิ ของการเดินและ ยืน ซึ่งผู้ปฏิบัติต้องกำหนดอารมณ์รองเหล่าน้ีให้หายไปเสียก่อนจึงจะกลับไปกำหนดท่ีอารมณ์หลัก ได๗้ ๙ ๔.๘.๔ การกำหนดจากอิริยาบถนง่ั ไปยนื พระภัททันตะ อาสภมหาเถระ อัคคมหากัมมัฏฐานาจริยะซึ่งเป็นผู้นำวปิ ัสสนากมั มัฏฐานจาก ประเทศสหภาพเมยี นมา่ รเ์ ข้ามาเผยแผ่ในประเทศไทย เป็นพระวปิ ัสสนาจารย์ของสำนักวปิ ัสสนาวเิ วก อาศรม จังหวัดชลบุรีได้สอนการกำหนดจากอิริยาบถน่ังไปยืนว่า การนั่งกำหนด เม่ือพอสมควรแก่ เวลาแล้วก็อยากจะลุกข้ึนเดินเป็นการเปล่ียนอิริยาบถ พอเกิดจิตอยาก ต้องกำหนดจิตอยากนั้น เสียก่อนว่า อยากลุกหนอ ๆ ๆ เมื่อกำหนดจิตอยากแล้วก็จงกำหนดอาการของท่าทางทีกำลังลุกขึ้น เช่น ขยับกาย เหยียดกาย ยันกาย เป็นต้น กายที่ลุกขึ้นนั้นย่อมมีนํ้าหนักด้อยลงกว่าน้ําหนักท่ีกายน่ัง ดังน้ันเม่ือจะลุกข้ึนก็จงกำหนดว่า ลุกหนอ การขยับเขยื้อนไปในท่าทางต่างๆ พึงทำอย่างช้าๆ เนิบๆ และให้มีสติกำหนดรู้ตามไปตลอดทุกระยะท่ีเปลี่ยนแปลง จงกระทำตนเสมือนคนไข้ที่มีอาการเพียบ หนัก จะยกจะย้ายไปแต่ละทีก็เกิดความเจ็บปวดลำบาก จึงค่อย ๆ ยกย้ายคล้ายคนท่ีขาดแรงมาเป็น แรมเดอื นอย่างนั้นเทียว กาํ ลังสติสมาธิปัญญาจึงจะเฟื่อง ถ้าทำอย่างรวดเร็วแล้วย่อมจะไม่ได้อะไรเป็นการตอบสนอง จากการท่ีได้เพียรทำอย่างน้ี นอกจากการไม่รู้นับแต่การจำความได้จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเคยขยับเขย้ือน ไหวกายดว้ ยความว่องไวเสมอมาน้ัน เพิ่งจะมาเรม่ิ ทำตนเสมือนคนไข้อาการหนักกต็ ่อเม่ือเข้ามาปฏิบตั ิ ธรรม การที่ต้องทำตนเช่นนี้ก็เพื่อให้สติได้สามารถกำหนดรู้ตามอยู่ทุก ๆ ระยะ เพ่ือให้สมาธิและ ปญั ญาไดก้ ล้าแข็งขนึ้ จนรู้แจง้ ความจรงิ ของรปู นามตามสภาวธรรมซึ่งมีการเกิดดับอยู่อย่างรวดเรว็ ถ้า ไม่ทำชา้ ๆ เนิบ ๆ เช่นนี้แล้ว ไหนเลยสติจะกำหนดตามรู้ได้ทัน เมื่อสติกำหนดตามรู้ไม่ทันการเกิดดับ ของรูปนามแลว้ สติ สมาธิ และปญั ญา ทไ่ี ดเ้ พยี รทำมาก็ไม่มี ๗๘ พระครปู ระคณุ สรกจิ (สุชาติ ชิโนรโส), “การศกึ ษาการสอนวิปสั สนากัมมฏั ฐานตามแนวของสำนกั วิปัสสนาวเิ วกอาศรม” วทิ ยานิพนธพ์ ุทธศาสตรมหาบัณฑติ , (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๓๗), หน้า ๕๐-๕๑. ๗๙ พระมหาสสี ยาดอ, (โสภณมหาเถระ), วปิ สั สนาชนุ ี, แปลโดย จำรญู ธรรมดา, หนา้ ๓-๓๕.