จิตวิทยาสำหรับครู ๑๙๒ ๓. มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงย่ิง ฉะน้ัน โรงเรียนก็ดีหรือสถาบันต่างๆ ในสังคมก็ดีจะต้อง ร่วมมือกันพัฒนาคนให้เจริญขึ้น ในทุกๆ ด้าน เพื่อเป็นการสงวนไว้ซ่ึง ทรัพยากรมนุษย์ (human rescore) เพอื่ จะไดใ้ ชพ้ ลังมนษุ ยใ์ หไ้ ด้สูงสดุ ๔. มนุษยม์ ีศกั ด์ิ และสิทธิเท่าเทยี มกัน ฉะน้ัน บุคลากรมสี ิทธ์ิในการจัดการกับชีวติ ของตนเอง ในฐานะท่เี ขาเปน็ เจ้าของชีวิตไดอ้ ย่างเต็มที่ ๕. บุคคลจะมีความสุขก็ในเม่ือแต่ละบุคคลได้รับการศึกษาจนสุดขีด แห่งสติปัญญา และความสามารถของเขา มีแผนการดำเนินชีวิตท่ีถูกหลักวิชาการสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ซึ่งกำลัง เผชิญหน้าอยู่และซ่ึงอาจ จะต้องเผชิญในอนาคต และใช้ความรู้ ความสามารถที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมา ให้เกดิ ประโยชน์แก่ตนเองและต่อสังคมใหม้ ากท่ีสดุ ๖. มนุษย์ยอ่ มมปี ัญหา ไมเ่ วลาใดเวลาหน่ึง และพฤติกรรมของคนๆ หน่ึงย่อมสง่ ผลกระทบไป ยงั บคุ คลอน่ื เพราะคนเป็นสตั ว์สงั คมทตี่ อ้ งอย่รู วมกนั บางปัญหาซ่งึ ไมส่ ลับซับซอ้ นจนผู้ที่มปี ัญหาก็ สามารถแก้ปญั หาได้ แต่บางปัญหาก็ยงุ่ ซับซ้อนจนผ้ทู ี่มีปญั หาไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ ๘.๖.๑ คุณสมบตั ิของครูแนะแนว มีนักการศึกษาหลายท่านได้กลา่ วถึงบทบาทและคุณสมบัติของอาจารย์แนะแนว สมาคมแนะ แนวแห่งประเทศไทย ไดร้ ะบถุ ึงคุณสมบตั ิของครแู นะแนวไว้ ๓ ดา้ น๑๐ ดงั นี้ ๑. ด้านความรู้ (Knowledge) ๑.๑ จบการศึกษาอย่างน้อยระดบั ปรญิ ญาตรีด้านจิตวทิ ยาแนะแนว ๑.๒ มคี วามรูเ้ กี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครูจิตวิทยาแนะแนว ๑.๓ มีความรู้หลายด้าน เช่น ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองหรืออื่นๆ ท่ี ชว่ ยใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานแนะแนวจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนอย่างมปี ระสิทธิภาพ ๑.๔ มีความรู้เก่ียวกบั ขอบขา่ ยการ ๑.๕ มคี วามร้คู วามเขา้ ใจนโยบายและแผนงานต่างๆ ของหนว่ ยงานทีส่ ังกัด ๑.๖ มีความรู้ ความเข้าใจในหลักบริหารงานบุคคล สามารถตรวจสอบ ผู้ปฏิบตั ิงานเพอ่ื ใหง้ านท่ีรบั ผิดชอบสำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ ๑.๗ มีความคิดริเร่ิมพัฒนาแนวทางให้เหมาะสมเพ่ือหาวิธีการใหม่ๆมาใช้ ในการปฏบิ ัติงาน ๑.๘ มคี วามรูเ้ กี่ยวกบั กระบวนการกลุ่ม ๑.๙ มคี วามรเู้ กีย่ วกบั ทักษะการใหก้ ารปรกึ ษาเชงิ จติ วิทยา ๒. ด้านทักษะ (Skill) ๒.๑ มีความสามารถในการศึกษาและจดั ข้อมลู วิเคราะหป์ ัญหาและสรปุ ผล ๒.๒ มีความสามารถในการใช้ภาษาและคอมพวิ เตอร์ ๒.๓ มีความสามารถในการทำแผนงาน ควบคุม ตรวจสอบ ให้การปรึกษา เชงิ จติ วทิ ยาและเสนอแนะวิธีการแก้ไขปรบั ปรงุ การปฏิบตั ิงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ ๒.๔ มีความชำนาญในการแนะแนวและประสบการณง์ านแนะแนว ๑๐ สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย, มาตรฐานวชิ าชีพครจู ิตวทิ ยาแนะแนว, ครูจิตวิทยา แนะแนะระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน, (กรุงเทพมหานคร : เจริญวิทยก์ ารพิมพ์, ๒๕๔๙).
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๑๙๓ ๒.๕ สามารถควบคุม กำกับหน่วยงานด้านงานแนะแนวท่ีมีขอบเขตเน้ือหา หลากหลาย ๒.๖ สามารถปรบั เปลี่ยนแนวทางการทำงานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ใหม่ ๒.๗ สามารถแก้ไขปัญหาและตัดสินใจในงานที่รับผิดชอบให้สำเร็จตาม วัตถุประสงค์และปฏบิ ตั ิหน้าทอี่ ่นื ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย ๒.๘ มีทกั ษะและประสบการณด์ า้ นการสอน ๒.๙ สามารถริเร่ิมดำเนินงานวิจัยต่างๆ ในงานแนะแนวท่ีก่อให้เกิดความรู้ หรอื เทคนิควธิ กี ารใหม่ๆ ๒.๑๐ สามารถให้บริการเผยแพร่ด้านการแนะแนวการศึกษาและอาชีพ ตอบปัญหาและช้ีแจงเร่อื งต่างๆเกีย่ วกบั งานในหนา้ ท่ีได้ ๒.๑๑ สามารถกำหนดนโยบายและแผนงานของหน่วยงานทต่ี นสงั กัดได้ ๒.๑๒ สามารถพิจารณาความต้องการทรัพยากรและจัดสรรทรัพยากร สำหรบั โครงการเพือ่ ให้การดำเนนิ การเปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ ๒.๑๓ สามารถเป็นตัวแทน หรือผ้แู ทนของหน่วยงานในการเข้าร่วมประชุม หรือเจรจา ปัญหาต่างๆ เก่ียวกับงาน แนะแนว ติดต่อประสานงาน วางแผน มอบหมาย ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษาแนะนำ ปรับปรุงแกไ่ ข ติดตามประเมนิ ผล ๒.๑๔ สามารถเข้าร่วมประชุมกำหนดนโยบาย และแผนงานของหน่วยงาน ที่สังกัดได้ เป็นผู้แทนของหน่วยงานในการเข้าประชุม หรือเจรจาปัญหาต่างๆ เก่ียวกับการแนะแนว ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ๓. ดา้ นคุณลักษณะ (Attribute) ๓.๑ ครแู นะแนวต้องเปน็ ผู้มีความรบั ผดิ ชอบและเอาใจใสต่ ่อหนา้ ท่ี ๓.๒ มีความขยันขนั แขง็ อุสาหะในการปฏบิ ตั ิงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย ๓.๓ อุทิศเวลาให้กบั งานและส่วนรวม ๓.๔ เห็นคณุ ค่าของงานและมีความศรทั ธาในการทำงาน ๓.๕ ใหบ้ รกิ ารด้วยความจริงใจ โดยไม่หวงั ผลประโยชนใ์ ดๆ ตอบแทน ๓.๖ ปรบั ตัวให้เขา้ กับคนได้ทุกประเภท ๓.๗ มคี วามคล่องตัวในการประสานงานกบั ฝา่ ยต่างๆ ๓.๘ สามารถสือ่ สารได้ทุกฝ่ายเพ่ือให้เกิดความเข้าใจอันดตี ่อกนั ๓.๙ รจู้ กั วางตัวให้เหมาะสมและรูจ้ ักกาลเทศะ ๓.๑๐ ใจกว้างรบั ฟังความคิดเหน็ ของผู้อน่ื ๓.๑๑ รับฟังทุกปญั หาด้วยความเป็นธรรม ๓.๑๒ พิจารณาใครค่ รวญสถานการณ์ตา่ งๆ อยา่ งมเี หตุผล ๓.๑๓ ใจเยน็ สขุ ุม รอบคอบ ไมอ่ ่อนไหวง่าย ๓.๑๔ มนี ำ้ ใจ เมตตา กรุณา เอ้ือเฟ้ือเผือ่ แผ่ ๓.๑๕ มคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพ่ือพัฒนางานแนะแนว ๓.๑๖ สนใจใฝ่หาความรู้ ๓.๑๗ มีปฏิภาณไหวพรบิ
จิตวทิ ยาสำหรับครู ๑๙๔ ๓.๑๘ มีความสามารถในการแก้ปญั หา ๓.๑๙ ประหยดั รกั ษาทรัพย์สินและผลประโยชนส์ ่วนรวม ๓.๒๐ ใหค้ วามร่วมมือกบั ฝา่ ยตา่ งๆทั้งในและนอกโรงเรยี นเพ่อื ประโยชน์ ของส่วนรวม ๓.๒๑ รกั ษาความลบั ของผรู้ ับบริการอยา่ งเคร่งครัด วงพักตร์ ภู่พนั ธ์ศรี และศริ นิ ันท์ ดำรงผล๑๑ ได้กลา่ วถึงคุณสมบตั ขิ องครูแนะแนวไว้ ดังนี้ ๑.จดั บรกิ ารแนะแนว ให้แกน่ ักเรยี นทงั้ ๕ บรกิ าร ๒.เป็นผู้ประสานงาน กับผู้บริหารของโรงเรียน ครูและบุคลากรภายในโรงเรียน ผู้ปกครอง และบคุ ลากรหรือสถาบันในชมุ ชนเกี่ยวกับงานแนะแนว ๓.เป็นผู้ประชาสัมพันธ์ เก่ียวกับงานแนะแนวให้นักเรียนบุคลากรภายใน และภายนอกทราบ ๔.มีความรู้และประสบการณ์ เก่ียวกับงานแนะแนว ๕.เป็นผู้ท่ีมีมนุษยสมั พันธ์ที่ดี มีความรู้สึกเป็นมิตรกับผู้อ่ืน ปรับตัวเข้ากับผ้อู ่ืนได้งา่ ย ไม่วา่ ผู้นนั้ จะมีฐานะเศรษฐกจิ ทางสงั คมอย่างไรก็ตาม ๖.มีสุขภาพจิตที่ดี มองโลกในแง่ดี มีอารมณ์ท่ีมั่นคงสามารถเผชิญปัญหาได้โดยไม่ตี โพยตีพายเกินกวา่ เหตุ ๗.เป็นผ้ทู ี่มีความเห็นใจ มีความจรงิ ใจไม่เสแสร้ง มีความเมตตา ชอบชว่ ยเหลือผู้อ่ืน ๘.เป็นคนที่มีเหตุผล กล่าวคือ สามารถเข้าใจปัญหาได้อย่างลึกซ้ึง เข้าใจที่มา ของสาเหตุของปญั หา และวนิ ิจฉัยหรอื แสดงความคดิ เห็นได้อยา่ งมเี หตุผล ๙.เป็นนักฟังที่ดี มีศิลปะในการพูด รวมท้งั มคี วามรู้สกึ ไวและเข้าใจตอ่ ความต้องการ และความรสู้ ึกของผูอ้ ื่น ๑๐.เป็นคนขยัน หม่ันหาความรู้อยู่เสมอ รวมทั้ง ขยัน อดทนในการทำงาน โดยไม่ เห็นแกค่ วามเหน็ดเหน่ือย ๑๑.รักษาความลับ ของนักเรียนได้ ๘.๖.๒ จรรยาบรรณวิชาชพี จิตวิทยาการแนะแนว สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย ได้กลา่ วถึงจรรยาบรรณวิชาชพี จิตวทิ ยาการแนะแนว๑๒ ดงั นี้ ๑.ให้บริการด้วยความเต็มใจโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลผู้ปฏิบัติงาน ให้บริการทางจิตวิทยาการแนะแนวให้บริการด้วยความเสียสละและอุทิศตนอย่ างเต็มความสามารถ โดยคำนกึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคลทั้ง ทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คมและสตปิ ญั ญา ๒.ยอมรับและศรัทธาในวิชาชีพจติ วิทยาการแนะแนวและเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ผู้ปฏบิ ตั ิงานให้บริการทางจิตวิทยาการแนะแนว มเี จตคตทิ ี่ดี เห็นคุณคา่ ในวชิ าชีพจิตวทิ ยากรแนะแนว และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ โดยการแสดงออกด้วยความชื่นชมว่าเป็นอาชีพท่ีมีเกียรติ ๑๑ วงพกั ตร์ ภูพ่ ันธศ์ รี และศริ นิ ันท์ ดำรงผล, จิตวทิ ยาพัฒนาการและการศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพม์ หาวทิ ยาลัยรามคำแหง, ๒๕๓๐), หนา้ ๒๗๔-๒๗๖. ๑๒ สมาคมแนะแนวแหง่ ประเทศไทย, มาตรฐานวิชาชีพครูจิตวิทยาแนะแนว, ครจู ติ วิทยา แนะแนะระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน, (กรุงเทพมหานคร : เจรญิ วิทย์การพิมพ์, ๒๕๔๙).
จิตวิทยาสำหรับครู ๑๙๕ มคี วามสำคัญและจำเป็นของสังคม รวมทั้งปกป้องเกยี รตภิ ูมิของวิชาชพี จิตวิทยาการแนะแนว เข้าร่วม กจิ กรรมและสนับสนุนองค์กรวชิ าชีพจติ วิทยาการแนะแนว ๓.เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ผู้รับบริการด้วยความบริสุทธ์ิใจ โดยเสมอหน้า ผู้ปฏบิ ัตงิ านให้บริการทางจิตวิทยาการแนะแนว เอาใจใส่ ช่วยเหลือ สง่ เสริมให้กำลังใจ แก่ผู้รับบริการโดยสนองตอบต่อความต้องการ ความถนัด ความสนใจอย่างจริงใจด้วยความเห็นอก เห็นใจ โดยคำนึงถึงสิทธิพื้น ฐานของผู้รับบริการอย่างเท่าเทียมและปรารถนาที่จะให้ผู้รับบริการ พฒั นาได้อย่างเต็มศักยภาพ ๔.มีวิสัยทัศน์และพัฒนาตนเอง ด้านวิชาชีพให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ผู้ปฏิบัติงานให้บริการทางจิตวิทยาการแนะแนวมีความสนใจใฝ่รู้ ศึกษาค้นคว้า ริเร่ิมสร้างสรรค์ เสริมสร้างความรู้ให้ทันสมัย ทันเหตุการณ์ทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี ๕.ปฏิบัติงานตามหลักวิชาชีพจิตวิทยาการแนะแนว ผู้ปฏิบัติงานให้บริการ ทางจิตวิทยาการแนะแนวปฏิบัติงานโดยอาศัยความรู้ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับการฝึกฝนตาม หลักวชิ าการจากสถาบนั หรือองคก์ ารวชิ าชพี ที่มกี ารรบั รองอย่างเปน็ ทางการ ๖.รักษามาตรฐานและรับผิดชอบต่อการประกอบวิชาชีพจิตวิทยาการแนะแนว ผู้ปฏิบัติงานให้บริการทางจิตวิทยาการแนะแนวสามารถรักษาคุณภาพการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน วิชาชีพไวใ้ นระดับสูงเสมอ และรับผดิ ชอบต่อผลทีเ่ กดิ ข้นึ จากการปฏบิ ัตงิ าน ๗.ยุติการให้บริการท่ีนอกเหนือความสามารถของตนและส่งต่อไปยังบุคคล ท่ีเหมาะสม ผู้ปฏิบัติงานให้บริการทางจิตวิทยาการแนะแนวต้องหยุดการให้บริการเมื่อประเมิน สถานการณ์แล้วพบว่า การให้บริการนั้น นอกเหนือความสามารถของตนและส่งผู้รับบริการไปยัง บคุ คลทีม่ ีความเหมาะสมหรือตามความประสงค์ของผรู้ ับบรกิ าร ๘.รกั ษาความลับของผู้รับบริการและผู้เก่ียวข้อง ผู้ปฏิบัติงานให้บริการทางจิตวิทยา การแนะแนวต้องไม่เปิดเผยความลับซ่ึงเป็นข้อมูลของผู้รับบริการและผู้ท่ีเก่ียวข้องหากจำเป็นจะต้อง นำข้อมลู ไปใช้ ต้องได้รับการยินยอมจากผู้บริการ ๙.เคารพสิทธิและไม่แสวงหาผลประโยชน์จากผู้รับบริการ ผู้ปฏิบัติงานให้บริการ ทางจิตวิทยาการแนะแนว ต้องให้ข้อมูลท่ีจะเป็นแก่ผู้รับบริการเพ่ือให้ผู้รับบริการทราบสิทธิและผล ที่อาจได้รับ จากการรับบริการ รับฟังความคิดเป็นและการตัดสินใจของผู้รับบริการและไม่กระทำการ ใดๆ อันเปน็ การแสวงหาผลประโยชนจ์ ากผูร้ บั บรกิ าร ๘.๖.๓ ประเภทของการแนะแนว เน้ือหาประเภทของการแนะแนว มีผู้แบ่งไว้หลายทัศนะด้วยกัน แต่พอสรุปเป็น ประเภทใหญ่ๆ ได้ ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. การแนะแนวการศึกษา การแนะแนวการศึกษา (Education guidance) หมายถึง การแนะแนวที่เน้นให้คำ ปรึกษาหารือในด้านการเล่าเรียน ทั้งการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ เพื่อช่วยช้ีแนะ ให้ผู้เรียนได้รู้จักเลือกเรียนให้เหมาะสมกับความถนัด ความสามารถของตน รู้จักวิธีเรียน รู้จักค้นคว้า หาความรู้ การจดบันทึกย่อ รู้จักวิธีพูด วิธีเรียน การแบ่งเวลาเรียนได้ เพ่ือให้ประสบผลสัมฤทธิ์ ในการเรียนตลอดจนรู้จักตัดสินใจในการเลือกสถานท่ีเรียนต่อ เตรียมตัวก่อนสอบคัดเลือก และรู้จัก ปรบั ตัวได้อย่างเหมาะสมในสถาบันใหม่ทีเ่ ขา้ ไปศึกษา
จติ วิทยาสำหรบั ครู ๑๙๖ ๒. การแนะแนวอาชีพ การแนะแนวอาชีพ (Vocational guidance) เป็นกระบวนการในการช่วยเหลือ บุคคลให้รู้จักเลือกอาชีพให้เหมาะสมกับความถนัดและความสามารถ โดยเร่ิมจากรู้จักเตรียมตัว เพ่ือประกอบอาชีพ วิธกี ารทำงานเพือ่ ให้เกิดความก้าวหนา้ ในการประกอบอาชีพ ตลอดจนการปรับตัว อย่างมีความสุขในการประกอบอาชีพน้ัน ๆ การที่บุคคลจะประสบความสำเร็จก้าวหน้าในการ ประกอบอาชพี นน้ั Frank Parsons กล่าวว่า จะตอ้ งให้ความช่วยเหลอื ดังต่อไปนี้ ๒.๑ ชว่ ยให้ Counselee ไดร้ ู้จักตวั เองในด้านความถนัด ความสามารถ ฯลฯ ๒.๒ ให้ความรใู้ นรายละเอียดเก่ียวกับอาชีพอย่างกว้างขวาง เพื่อเราจะได้มี โอกาสในการเลือกอาชีพหลายอาชีพ ทราบถึงโอกาสของความก้าวหน้าในแต่ละอาชีพ เพื่อจะได้ ตัดสนิ ใจเลือกอาชีพไดอ้ ย่างเหมาะสม ๒.๓ รจู้ ักตัดสินใจเลือกอาชีพด้วยตัวของตัวเอง เพราะไม่มใี ครรู้จักตวั เองได้ ดเี ท่ากบั ตัวเองรู้จักตวั เอง ๒.๔ ปรับปรุงตัวเองท้ัง ในด้านบุคลิกภาพ การทำงาน ให้เหมาะสมกับ อาชพี ของตัวเอง ๓. การแนะแนวสว่ นตัวและสงั คม ก า รแ น ะ แ น ว ส่ ว น ตั ว แ ล ะ สั งค ม (Personal and social guidance) เป็ น กระบวนการชี้แนะแนวทางให้แก่บุคคลในด้านปัญหาการเงิน การปรับตัวเข้ากับเพ่ือนฝูง ครูอาจารย์ บคุ คลในครอบครัวและสภาพทีอ่ ยอู่ าศัย ๘.๖.๔ บรกิ ารแนะแนว การแนะแนว เป็นกระบวนการช่วยให้เด็กรู้จักตนเอง เข้าใจผู้อ่ืน และสามารถ ปรับตัวได้อย่างมีความสุขในสังคมที่เขาอาศัยอยู่ กระบวนการที่จะช่วยช้ีช่องทางให้เด็กรู้จักเข้าใจ ตนเองเขา้ ใจผู้อืน่ คอื บรกิ ารตา่ งๆ ท่ีสำคัญ ๕ บริการของการแนะแนว ดงั น้ี ๑. บริการรวบรวมและศึกษาข้อมูล (Inventory service) ในการปฏิบัติงานแนะ แนวเพ่ือให้บรรลุผลสำเร็จน้ัน จำเป็นต้องใช้เครื่องมือ และเทคนิคท่ีถูกต้องเหมาะสม ดุจเดียวกับ แพทย์ที่จะรักษาคนไข้จำเป็นต้องมีเครื่องมือในการตรวจร่างกายเพื่อการวินิจฉัย และการให้ยา ใช้วิธี รกั ษาทีถ่ กู ต้องกับโรค เช่นเดียวกันกับการตรวจเพ่ือให้รู้จักนักเรียนอย่างละเอียดถูกต้องมีหลายชนิด บางชนิดต้องอาศัยอุปกรณ์ท่ีมองเห็นได้ เรียกว่า เคร่ืองมือ เช่น แบบสอบถาม แบบทดสอบ ระเบียน สะสม ฯลฯ บางชนดิ เปน็ วธิ กี ารเรยี กว่าเทคนิค เชน่ การสงั เกต การสัมภาษณ์ การให้คำปรกึ ษาฯลฯ ความจรงิ แล้ว เทคนิคและเคร่ืองมือเปน็ ส่ิงซ่ึงสัมพันธ์ซง่ึ กันและกัน เช่น การทดสอบ เป็นเทคนิคหรือกลวิธีในการแนะแนวที่สำคัญอย่างหนึ่ง แบบทดสอบซ่ึงเป็นเครื่องมือก็ย่อมมี ความสำคัญเช่นกัน ถา้ จะแบง่ ตามลกั ษณะเด่นว่าอะไรเป็นเทคนิคการแนะแนวและอะไรเป็น เคร่ืองมือแนะแนวก็พอจะแบ่งออกไดด้ ังต่อไปน้ี เทคนคิ การแนะแนว อุปกรณเ์ ครอื่ งมือการแนะแนว การสัมภาษณ์ (Interview) แบบสอบถาม (Questionnaire) การสังเกต (Observation) แบบทดสอบ (Test) อัตชีวประวตั ิ (Autobiography) แบบสำรวจปญั หา (Checklist)
จิตวทิ ยาสำหรับครู ๑๙๗ การศึกษาเฉพาะราย (Case study) มาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating scale) กลวิธีให้บุคคลระบายความในใจ พฤติกรรมพรรณนา (Projective technique) (Behavior description) การแนะแนวหมู่ ระเบยี นพฤติการณ์ (Group guidance) (Anecdotal record) การใหค้ ำปรึกษาหารือ (Counseling) ระเบียนสะสม (Cumulative record) การวางตวั บคุ คล (Placement) การเขยี นบันทึกประจำวนั (Diary) การตดิ ตามผล (Follow up) สังคมมิติ (Sociogram) เทคนิคและเคร่อื งมือสว่ นใหญม่ ีประโยชน์ในการศกึ ษารายละเอียดเกย่ี วกบั เด็กเปน็ รายบคุ คล เพ่ือที่จะได้เข้าใจตัวเด็กมากขึ้น ทราบปัญหาท่ีเด็กกำลังประสบอยู่ ทราบสาเหตุของพฤติกรรม ส่วนเทคนิคบางอย่าง เช่น การให้คำปรึกษาหารือ (Counseling) ก็เป็นการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ ประสบปญั หาท่จี ำเป็นต้องแก้ไขปญั หาตา่ งๆ ดว้ ยตนเองเขา้ ใจตนเองยงิ่ ข้นึ และสามารถนำตนเองได้ ๒. บรกิ ารสนเทศ (Information service) ในปัจจุบันสังคมในประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการเปลี่ยนแปลง ทางด้านการศึกษาและอาชีพใหม่ๆ ก็มีปรากฏขึ้น มากมาย ตลอดจนสภาพท่ีซับซ้อนของสังคมฉะน้ัน การจัดหลักสูตรเฉพาะความรู้ทางวิชาการอย่างเดียว ดูจะไม่พอเพียงที่จะทำให้นักเรยี นปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดลอ้ มของสงั คมได้เป็นอยา่ งดี สถาบันการศึกษาจึงจำเปน็ ต้องมบี ริการทจี่ ะใหบ้ ุคคลแตล่ ะคน ที่เรียนอยู่ ได้รับข่าวสารความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองต่างๆ อันเก่ียวกับการศึกษา การเลือกอาชีพ และการปฏบิ ัตติ นใหเ้ ข้ากบั สงั คมไดด้ ว้ ยความสุขและพอใจ ซง่ึ เราเรยี กบรกิ ารน้ีวา่ บริการสนเทศ บริการสนเทศเป็นบริการหน่ึงของการแนะแนวท่ีมีความสำคัญอย่างยิ่งในการช่วย พัฒนาเด็กให้เจริญก้าวหน้าได้ตามคุณสมบัติและความสามารถของตน บริการนี้เป็นงานที่ใช้เวลา กำลังงานและกำลังสมองของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทำงานกับการแนะแนวบริการสนเทศ คือ บริการ ที่มุ่งให้ข้อมูลในด้านการศึกษาการอาชีพ และการสังคมอันจะเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ และการดำรงชีวิตของนักเรียนนั่นเองข้อสนเทศแยกออกได้เป็น ๓ ประเภท คือ ข้อสนเทศด้าน การศึกษา (Educational information) ข้อสนเทศด้านอาชีพ (Occupational information) และข้อสนเทศด้านส่วนตวั และสงั คม (Personal-social information) มีดงั น้ี ๒.๑. ข้อสนเทศด้านการศึกษา (Educational information) คือการให้ข้อมูล ข่าวสารและรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับการศึกษาทั้ง ปัจจุบันและอนาคต เช่น แนะแนวทางวิธีการ เรียนที่ถูกต้อง หลักสูตร การวัดผล การเลือกวิชาเรียน กิจกรรมต่างๆ ระเบียบ วินัย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของโรงเรียน แนวทางการศึกษาต่อ คุณสมบัติผู้ที่จะเข้าศึกษา วิธีสมัคร หลักสูตร ค่าใช้จ่าย โอกาสก้าวหน้า ข้อดี ข้อเสียในการศึกษาในแต่ละสาขาวิชา และรายละเอียดอ่ืนๆ ของสถาบัน ซึ่งข้อมูลเหล่าน้ีต้องเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ ท้ังน้ี เพื่อประโยชน์ต่อเด็กในการใช้ข้อมูลดังกล่าว เป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจเลอื กศึกษาได้อย่างเหมาะสม ๒.๑.๑ ข้อสนเทศด้านการศึกษา อาจประกอบไปดว้ ย ๒.๑.๑.๑ ระเบียบและกฎเกณฑต์ า่ งๆ ของโรงเรยี น ๒.๑..๑.๒ หลกั สตู รและการวัดผล ๒.๑.๑.๓ กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รของโรงเรยี น ๒.๑.๑.๔ วธิ กี ารเรยี นท่ีดี ตลอดจนการเตรียมตัวสอบ
จิตวิทยาสำหรบั ครู ๑๙๘ ๒.๑.๑.๕ ทุนการศกึ ษาของสถาบนั ๒.๑.๑.๖ รายละเอียดตา่ งๆ ของวิทยาลยั มหาวิทยาลยั และสถานศึกษาท่ัวๆ ไป ๒.๑.๑.๗ สังคมและการดำเนินชวี ติ ของการเรยี น ในสถานศกึ ษา ขน้ั สูงในแต่ละขน้ั ๒.๑.๒ กิจกรรมต่างๆ ท่ีควรจัดในการให้ข้อสนเทศดา้ นการศกึ ษา ดังนี้ ๒.๑.๒.๑ บริการห้องสมุด ห้องสมุดเป็นหัวใจสำคัญของโรงเรียน มคี วามสำคัญต่อการเรียนมาก เพราะห้องสมุดเป็นแหล่งวิชาการต่างๆ ได้ทุกแขนงวิชา เช่น ภาษาไทย สงั คมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ สขุ ศกึ ษา เปน็ ต้น ๒.๑.๒.๒ การจัดป้ายนิเทศเป็นส่วนหน่ึงท่ีช่วยให้นักเรียนได้รับ ความรู้และประโยชน์ในการนำไปประกอบวิชาเรียน ทำให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น และสนใจ ป้ายนิเทศสามารถจัดให้สัมพันธ์กับวิชาเรียนต่างๆ ได้หลายอย่าง เช่น สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ ภาษาไทยเปน็ ต้น ๒.๑.๒.๓ การจัดชุมนุมและนิทรรศการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ สังคม ศึกษาภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ศิลปะ และกฬี า ฯลฯ ๒.๑.๒.๔ การใช้อุปกรณ์ประกอบการสอนในการสอนแต่ละวิชา ควรจดั อุปกรณ์ เพ่ือประกอบการสอน เพอื่ นักเรยี นจะไดม้ คี วามเขา้ ใจในบทเรียนดยี ิ่งข้นึ ๒.๑.๒.๕ การจัดการปาฐกถา เป็นกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการศึกษา ของเด็กในด้านความรู้รอบตัวที่เรียนอยู่และโดยท่ัวไป เช่น เชิญวิทยากรมาบรรยายในเร่ืองเกี่ยวกับ สุขภาพของนกั เรียน ความปลอดภยั บนทอ้ งถนน เป็นตน้ ๒.๑.๒.๖ การศึกษานอกสถานที่ เพ่ือให้ความรู้ด้านทัศนศึกษา นักเรียนจะได้มีประสบการณ์กว้างขวางต่อไป จะได้เปลี่ยนบรรยากาศของการเรียน เกิดความ สนกุ สนานเพลิดเพลนิ ๒.๒. ข้อสนเทศด้านอาชีพ (Occupational information) คือ ข้อมูลที่ช่วยให้ บุคคลสามารถในการเลือกและเตรียมการสำหรับประกอบอาชีพ และช่วยให้เกิดความม่ันคง และก้าวหน้าในงานที่จะทำสรุปคือ การให้ข้อมูลที่ช่วยให้บุคคลเลือกศึกษาหรือฝึกอบรมวิชาชีพ เพ่ือท่ีจะไปประกอบอาชีพท่ีเหมาะสมกับตนเอง ทำให้สามารถปรับตัวเข้ากับงานท่ีจะทำ และมคี วามมน่ั คงก้าวหนา้ ในการทำงาน ๒.๒.๑ ข้อสนเทศทางอาชพี สรุปได้เป็นข้อๆ ดังน้ี ๒.๒.๑.๑ ชนิดของอาชีพ คือ รายละเอียดของอาชีพว่ามีลักษณะ การทำงานอย่างไร ความมั่นคงปลอดภยั อันตรายมากนอ้ ยแคไ่ หน ๒.๒.๑.๒ ส่ิงตอบแทนต่างๆ คือ เงินเดือนและสวัสดิการอ่ืนๆ เช่น ค่าตอบแทนล่วงเวลา คา่ รักษาพยาบาล บริการรถรับสง่ ทีพ่ ักอาศัย และอ่นื ๆ ๒.๒.๑.๓ ความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ คือ การเลื่อนข้ัน เลื่อนตำแหนง่ โอกาสในการได้รบั การศกึ ษาหรือฝึกอบรมเพ่ิมเตมิ ๒.๒.๑.๔ คุณสมบัติ เพศ วัย รูปร่างลักษณะ ระดับการศึกษา ประสบการณแ์ ละความสามารถพิเศษ
จติ วิทยาสำหรบั ครู ๑๙๙ ๒.๒.๑.๕ วิธีการสมัคร เช่น การสอบคัดเลือก สัมภาษณ์ ทดสอบ เกณฑ์ การตัดสิน ช่วงระยะเวลารบั สมคั รและสอบ ๒.๒.๑.๖ ความต้องการของตลาด โอกาสของการเข้าทำงาน ความ ตอ้ งการของอาชีพในปัจจบุ นั และแนวโน้มในอนาคต ๒.๒.๒ กิจกรรมทคี่ วรจะจดั ให้แก่เดก็ มดี ังน้ี ๒.๒.๒.๑ การใหค้ วามรดู้ ้านแนะแนว โดยสอนให้สมั พันธ์กับวชิ า อน่ื ๆ ๒.๒.๒.๒ ช้ีให้เห็นคุณค่าของวิชาสามัญท่ีเรียนอยู่ ว่ามีประโยชน์ สำหรับการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่ออย่างไร นอกจากนี้เวลาสอนจริงๆ อาจเปล่ียนแปลง ปัญหาหรอื แบบฝกึ หัดใหเ้ กย่ี วข้องกับอาชพี เปน็ การเน้นได้อีกดว้ ย ๒.๒.๒.๓ แทรกความร้ทู างด้านอาชีพ ในการสอนวชิ าตา่ งๆ ๒.๒.๒.๔ จดั ให้มีการปาฐกถาเกย่ี วกับงานอาชพี ที่สนใจ ๒.๒.๒.๕ จดั ใหม้ ชี ุมนมุ อาชีพ เชน่ ชุมนุมหัตถศึกษา ชุมนมุ ยวุ กสกิ ร ชมุ นุมแม่บา้ นการเรอื น ชมุ นมุ ดนตรี เป็นตน้ ๒.๒.๒.๖ จัดให้มีวันประชุมใหญ่ “วันอาชีพ” แล้วเชิญผู้เช่ียวชาญ อาชีพสาขาต่างๆ มากลา่ วปาฐกถาในที่ประชุม ๒.๒.๒.๗ จัดให้มีทัศนศึกษา กล่าวคือ การฉายภาพยนตร์ เร่ืองการประกอบอาชพี จัดทำป้ายนเิ ทศ ฝกึ ให้อ่านป้ายนิเทศ จดั ใหม้ นี ิทรรศการให้ความร้เู รอื่ งอาชีพ ๒.๒.๒.๘ จัดให้มีการทัศนาจรไปชมโรงงานอุตสาหกรรม บริษัท ห้างร้านค้าเพ่ือให้เข้าใจการทำผลิตผล หรืองานทางด้านธุรกิจ ให้นักเรียนเห็นสภาพการทำงานที่ แท้จริงของพนักงานหรอื ลักษณะการทำงาน และหนา้ ที่รับผดิ ชอบตา่ งๆ กัน ๒.๓. ข้อสนเทศด้านส่วนตัวและสังคม (Personal-social information) หมายถึง ข้อมูลที่มุ่งช่วยให้บุคคลมีชีวิตท่ีสุขสมบูรณ์ มีความเจริญท้ัง ทางกายและจิตใจ มีความม่ันคงสามารถ ปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างเป็นสุข รู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง และสงั คม และรจู้ ักใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ ๒.๓.๑ ข้อสนเทศในด้านส่วนตัวและสังคม อาจกล่าวได้เป็นลักษณะย่อยๆ พอสังเขปดังน้ี ๒.๓.๑.๑ ความร้เู ก่ียวกับความสมั พนั ธ์ระหว่างชาย-หญงิ ๒.๓.๑.๒ ลักษณะของบุคคล เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการปรับปรุง รปู รา่ งหน้าตาท่าทางกริ ิยา มารยาทและการแตง่ กายท่เี หมาะสม ๒.๓.๑.๓ มารยาทและการวางตวั ในสงั คม ๒.๓.๑.๔ กิจกรรมทคี่ วรทำในเวลาวา่ ง ๒.๓.๑.๕ การวางแผนการใชเ้ งนิ ๒.๓.๑.๖ การสร้างความสัมพันธท์ ่ดี ใี นครอบครัว ๒.๓.๑.๗ การรกั ษาสุขภาพอนามัยในการดำรงชวี ิต ๒.๓.๒ กจิ กรรมท่ีควรจะจัดใหเ้ ดก็ ได้แก่
จติ วิทยาสำหรับครู ๒๐๐ ๒.๓.๒.๑ การประถมนิเทศ จัดขึ้น ในวันเปิดเรียนใหม่ เพ่ือเด็กจะได้ปรับตัวให้เข้ากับสภาพโรงเรียนและกฎข้อบังคับต่างๆ และเพ่ือจะได้แนะแนวทาง ในการเรียนดว้ ย ๒.๓.๒.๒ บริการเก่ียวกับสุขภาพเด็ก เช่น ติดต่อขอความ ชว่ ยเหลือจากอนามัยโรงเรียน ๒.๓.๒.๓ จัดบริการหาทุนการศึกษา เช่น ทุกวันเด็ก มลู นธิ ิชว่ ยเหลอื นกั เรยี นขาดแคลน ๒.๓.๒.๔ จดั วนั อบรมศีลธรรมในวันสดุ สปั ดาห์ ๒.๓.๒.๕ จัดทศั นศึกษานอกสถานที่ ๓. บรกิ ารให้คำปรึกษา (Counseling service) ในสภาวะสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ย่อมก่อให้เกิดอุปสรรคและปัญหาในการดำเนินชีวิตของนักเรียนและนิสิต บริการให้ คำปรึกษา เป็นบริการหน่ึงที่มีความสำคัญในการช่วยให้ผู้ประสบปัญหา สามารถแก้ไขปัญหา ของตนเองได้อย่างฉลาด และสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีการให้คำปรึกษาเป็น กระบวนการช่วยคนด้านการพูดคุยกันแบบพิเศษแบบหน่ึงอันเกิดจากบุคคล ๒ ฝ่าย ทำงานร่วมกัน คือ ฝ่ายให้คำปรึกษากับฝ่ายที่มาขอคำปรึกษา โดยมีจุดประสงค์เพ่ือช่วยเหลือฝ่ายขอคำปรึกษา ให้สามารถช่วยตนเองแกป้ ัญหาของตนได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและสามารถท่ีจะวางโครงการในอนาคต ไดอ้ ย่างเหมาะสม ๔. บริการจดั วางตัวบุคคล (Placement service) บริการจัดวางตัวบุคคล คือ บริการที่จัดให้บุคคลได้อยู่ในที่ที่เหมาะสมกับระดับ สติปัญญาความสนใจ อุปนิสัย ความถนัด ความสามารถพิเศษ สุขภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจสภาพ โดยทั่วไปของตนและความต้องการของสังคมในด้านการศึกษาและอาชีพ การจัดวางตัวบุคคลนี้ แตกต่างจากการให้คำปรึกษาหารือถึงแม้บริการทั้ง สองอย่างจะมีความสัมพันธ์กันอย่างมากก็ตาม การใหค้ ำปรกึ ษานั้น เป็นการช่วยเหลือแก่นกั เรยี นในการวางแผนการและการตัดสินใจอย่างฉลาด ส่วนการจัดวางตัวบุคคลเป็นบริการที่ช่วยให้นักเรียนดำเนินการตามแผนการ และปฏิบัติการในส่ิงที่ตนได้เลือกไว้อย่างฉลาดน้ัน แล้วบริการน้ีต้องจัดไว้อย่างมีระบบให้นักเรียนได้ เลือกดำเนินการตามที่เลือกไว้อย่างเหมาะสมทั้ง ในการเลือกวิชาเรียน เลือกสายการเรียนและอาชีพ โดยทางโรงเรียนจดั บรกิ ารตา่ งๆ ให้ดงั น้ี ๑. การจัดนักเรียนเขา้ กลุ่มเข้าข้ันตามความเหมาะสมแก่อัตภาพ ๒. การจัดใหม้ บี ริการสอนซอ่ มเสริมแก่เด็กที่มีปัญหาในการเรียน ๓. การจดั การศึกษาพิเศษสำหรบั เดก็ ทีม่ รี ะดับสตปิ ัญญาต่ำหรือฉลาดมาก ๔. การชว่ ยใหน้ ักเรียนสามารถวางแผนการศึกษาต่อ ๕. วางแผนกประกอบอาชีพ ฝกึ งาน หางาน ทำงานนอกเวลาหารายได้พเิ ศษ ๖. การติดตอ่ ประสานงานกบั โรงเรยี น หรอื นายจ้างซ่ึงจะรับชว่ งเดก็ ตอ่ ไป บริการต่างๆ ที่โรงเรียนจัดน้ีเพ่ือช่วยให้เด็กได้เตรียมตัวหรือดำเนินการให้ตรงตามจุดหมาย ปลายทางตามแผนประสบความสขุ และความสำเรจ็ อยา่ งดที ี่สดุ ๔.๑ จดุ มงุ่ หมายของบริการจัดวางตัวบุคคล
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๐๑ ๔.๑.๑. เพ่ือช่วยให้นักเรียนได้เลือกเรียนอย่างเหมาะสม เช่น เลือกวิชา เรยี น เลอื กสายการเรียนเลอื กหลักสตู ร ๔.๑.๒. เพ่ือช่วยให้นักเรียนได้พิจารณาเรื่องการวางแผน ทางอาชีพอย่าง เหมาะสม โดยมี ผู้แนะแนวคอยใหค้ วามช่วยเหลือไมว่ า่ ศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ ๔.๑.๓. เพ่ือชว่ ยให้นักเรียนได้มีประสบการณ์ทางด้านอาชีพ โดยจดั หางาน พเิ ศษนอกเวลาเรยี นทั้ง ยงั เปน็ การสอนงความตอ้ งการของสงั คมหรอื ชมุ ชนอกี ดว้ ย ๔.๑.๔. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีงานทำตามความถนัด ความสามารถ ซงึ่ รวมท้งั นกั เรยี นท่ตี อ้ งออกจากโรงเรียนกลางคนั หรือจบขั้นสูงหรอื ชุมชนอีกดว้ ย ๔.๑.๕. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้ใช้โอกาสในโรงเรียน ให้เป็นประโยชน์การ พฒั นาทักษะความสามารถในด้านต่างๆ เช่น เข้าร่วมกิจกรรม หรอื เป็นสมาชิกชุมชนต่างๆ ตามความ สนใจและเหมาะสม ๔.๒ ประเภทของบริการจัดวางตวั บุคคล แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท ดังนี้ ๔.๒.๑. การวางตวั บุคคลทางการศึกษา การจัดวางตัวบุ คคลท างการศึกษ า ห มายถึง การจัดบ ริการให้ ความช่วยเหลือต่างๆ ให้แก่นักเรียนในด้านท่ีเก่ียวกับการศึกษาให้นักเรียนได้เรียนวิชาที่เหมาสมตาม ความรู้ ความสามารถทางสติปัญญาและความสนใจของนักเรียน เพื่อที่จะได้ก้าวหน้าและสัมฤทธิ์ผล ในการเรียน โดยมีหลักเกณฑ์ท่ัวไปว่า จะต้องให้นักเรียนรู้จกั และเข้าใจตนเองในเรื่องต่างๆ อย่างถ่อง แท้ เพื่อจะได้ช่วยให้เขาตดั สินใจด้วยตนเองอย่างถูกต้อง การจดั วางตวั บคุ คลทางการศกึ ษา อาจทำได้ ในเรือ่ งดงั ตอ่ ไปน้ี ๔.๒.๑.๑ การจัดวางตัวนักเรียนในโครงการเรียน โดยช่วยให้ นักเรียนเลือกหลักสูตรเรียนได้เหมาะสมกับความสามารถและความถนัดของตน บริการนี้ มี ความสำคัญมากท่ีสุด โดยเฉพาะหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พ.ศ.๒๕๒๑ และระดับ ม.๔-๕-๖ เพราะนักเรียนต้องเลือกเรียนโครงการเรียนโครงการใดโครงการหนึ่ง จึงควรจะได้รับกระจ่าง และ เข้ า ใ จ ใน ห ลั ก สู ต ร เพ่ื อ เป็ น แ น ว ท า ง ใน ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ส ำ ห รั บ ใน ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย ระดับอุดมศึกษาหรือมหาวทิ ยาลยั ๔.๒.๑.๒ การจดั วางตวั นักเรียนในกิจกรรมเสริมหลกั สตู ร ซ่งึ จดั ข้ึน ในโรงเรียน เช่น การเข้าชุมนุมทางวิชาการ และสันทนาการ การแข่งขันกีฬา การแบ่งสี เป็นต้น กจิ กรรมเหลา่ นี้ จะช่วยให้นกั เรียนมีโอกาสเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ได้ เชน่ เด่ียวกบั เรียน วิชาท่ัวๆ ไปในห้องเรียน ฉะน้ัน เพื่อให้การตัดสินใจของนักเรียนเหมาะสมกับตัวเอง และสามารถทำ กิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องมีการจัดโครงการแนะแนวและการให้คำปรึกษา เพอื่ ช่วยให้นกั เรียนตัดสินใจเลอื กทำกิจกรรมต่างๆ ให้เหมาะสมกับตนเองมากทสี่ ดุ และอยา่ งฉลาด ๔.๒.๑.๓ การจัดวางตัวบุคคลในการจัดหางานให้นักเรียนทำนอก เวลาเรียน การจัดให้นักเรียนไดท้ ำงานในเวลาว่างจากการเรียน (Part-Time-Jobs) หรอื ในระหวา่ งปิด ภาคเรียนซึ่งนับว่าเป็นการหาประสบการณ์ท่ีดีให้แก่นักเรียน ทำให้นักเรียนได้เรียนได้รู้เก่ียวกับงาน ในอาชีพแขนงต่างๆ รู้ความตื้นลึกของอาชีพนั้นๆ การจัดให้นักเรียนได้ทำงานในเวลาว่าง ควรมีหลัก ดงั น้ี ๑) จัดเพื่อปลูกฝังให้นักเรียนรักงาน มีนิสัยไม่หยิบโย่ง เป็นการเปลีย่ นทัศนคตขิ องเด็ก
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๐๒ ๒) ต้องถือว่าการทำงานในเวลาว่างน้ัน ไม่ใช้เพื่ออาชีพ แตเ่ พือ่ จดุ มุ่งหมายทจี่ ะหา รายได้เล็กๆ น้อยๆ สำหรบั จุนเจอื ในการศกึ ษาเล่าเรยี น ๓) การหางานทำควรคำนึงถึงสุขภาพของเด็ก และความ ปลอดภยั ๔.๒.๑.๔ การจัดวางตัวนักเรียนในการศึกษาต่อ เพื่อช่วยให้ นักเรยี นไดศ้ กึ ษาตอ่ ในวชิ าหรือสาขาที่เหมาะสมกับตน ซงึ่ อาจจดั ดำเนนิ การได้ดังนี้ ๑) แจกเอกสาร ข่าวสารต่างๆ เกี่ยวกับรายละเอียด ของสถาบันทจ่ี ะไปศึกษาต่อไดแ้ ละระเบียบการรบั สมคั ร ฯลฯ ๒) เชิญวิทยากรจากสถาบันต่างๆ ท่ีนักเรียนจะไปศึกษา ต่อมาบรรยายหรือมาอภปิ รายใหน้ กั เรยี นฟังและตอบขอ้ ข้องใจ ๓) พาไปชมสถาบนั ทางการศึกษาต่างๆ ทน่ี ักเรียนสนใจ และจะไปศึกษาต่อ เพื่อให้ศกึ ษาสภาพแวดลอ้ มหลักสูตรดว้ ยตนเอง ๔.๒.๒. การจัดวางตัวบคุ คลทางอาชีพ (Vocational placement) มี จุดมุง่ หมายเพอื่ ใหน้ กั เรียนได้ออกไปประกอบอาชีพทเ่ี หมาะสมกับตนเอง เมื่อบุคคลสำเร็จการศกึ ษา แลว้ หรอื เพ่ือให้บุคคลทอี่ อกจากสถานศึกษากลางคนั ไดม้ ีโอกาสประกอบอาชีพและมีความรบั ผิดชอบ ต่อตัวเอง ในการจัดวางตวั บุคคลทางอาชีพ ควรจะช่วยให้บุคคลได้งานท่เี หมาะสมคือ ถือหลัก “put the right man in to the right place (Job) หมายถึง การบรรจุคนให้เหมาะสมกับ งานเพ่ือจะช่วยให้การทำงานประสบความสำเร็จ ก้าวหน้าในการทำงาน การดำเนินงานจัดวางตัว บุคคลทางอาชีพน้ัน ต้องอาศัยข้อมูลในด้านต่างๆ ประกอบการตัดสินใจ เพื่อให้ถูกต้องซ่ึงข้อมูลที่ สำคัญ ไดแ้ ก่ ๔.๒.๒.๑ ข้อมูลเก่ียวกับตัวเด็ก ซึ่งจะต้องรวบรวมข้อมูลให้ ละเอียดทุกๆด้าน เช่น ความรู้ ความสามารถ ความถนัดตามธรรมชาติ ความสนใจ ทัศนคติ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น สุขภาพตลอดจนสถานภาพทางครอบครัว เป็นต้น ๔.๒.๒.๒ ข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพท่ีนักเรียนสนใจ ซ่ึงจะต้องมีข้อมูล ต่างๆประกอบการพิจารณา ดงั นี้ ๑) ความต้องการของการตลาด ๒) โอกาสในการทำงาน ๓) รายไดแ้ ละความเจริญก้าวหนา้ ๔) ความมนั่ คงของอาชีพและความปลอดภยั ๕) ระเบยี บการรบั สมัครงาน ๖) พ้ืนความรแู้ ละวุฒขิ องผทู้ ่ีจะประกอบอาชพี ๔.๒.๒.๓ การสัมภาษณ์ และการปรึกษาหารือระหว่างครูกับ นักเรียน ที่จะตัดสินใจเลือกอาชีพ โดยอาศัยข้อมูลท้ัง สองประการท่ีกล่าวมาแล้ว มาประกอบการ พิจารณาและให้เดก็ เป็นผ้ตู ัดสินใจดว้ ยตนเอง ๔.๒.๒.๔ การจัดปัจฉิมนิเทศให้แก่นิสิตเม่ือเรียนจบ การตัดสินใจ เลอื กและเตรยี มพรอ้ มในการทำงานไดอ้ ย่างดีวิธหี น่ึง
จิตวิทยาสำหรบั ครู ๒๐๓ ๔.๒.๒.๕ การติดตามผล ควรจัดทำเมื่อเด็กออกไปประกอบอาชีพ แล้วเพื่อตรวจสอบดูว่าการจัดบรกิ ารของเราได้ผลหรือไม่เพียงใด และเด็กที่ออกไปประกอบอาชีพแล้ว ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพมาน้อยเพียงไร สามารถปรับปรุงตัวเข้ากับอาชีพได้มากน้อย เพียงใด นอกจากนี้ยังมีบริการทีส่ ำคัญอีกบริการหนึ่ง คือ การบรกิ ารหาทนุ การศึกษา นกั เรยี นบางคนการเรยี นดสี มองดี แต่ไม่สามารถศึกษาต่อได้ เน่อื งจากขาดทุนทรัพย์ การจัดวางตัวบุคคลในด้านน้ี คือ การจัดหารายละเอียดต่างๆ มาพิจารณาหาทาง ช่วยเหลือเด็กท่ียากจนเป็นรายๆ ไป เพื่อส่งเสริมให้คนยากจนแต่สมองดี ความประพฤติได้เรียนไปถึง ขนั้ มหาวทิ ยาลัย และในท่ีสุดผลการสนับสนุนในการศึกษากค็ ือ ทำใหพ้ ลเมอื งดีของชาตมิ ากขึน้ ๕. บริการตดิ ตามผล (follow-up service) การติดตามผลเป็นการบริการหน่งึ ในหลายบริการท่ีโรงเรียนจัดขึ้น เพ่ือประโยชน์ใน การดำเนินงานแนะแนว การปรับปรงุ การเรียนการสอนและประโยชนใ์ นการบริการโรงเรยี นโดยทั่วไป ๕.๑ วตั ถปุ ระสงค์ของการตดิ ตามผล วตั ถปุ ระสงค์ของการตดิ ตามผลอาจ จำแนกได้ ดังน้ี ๕.๑.๑. เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถปรับปรุงตนเองในด้านต่างๆ เช่น การเรียนการสงั คม ๕.๑.๒. เพื่อประเมินผลวธิ ีการสอน การจดั กิจกรรมของโรงเรยี นว่า ดำเนนิ ไปได้ดเี พียงใด ๕.๑.๓. เพือ่ นำมาปรบั ปรุงบริการแนะแนวให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน ๕.๑.๔. เพ่ือรวบรวมข้อมูลเกยี่ วกับการศึกษาต่อ และการประกอบ อาชีพของนักเรยี นแลว้ นำมาวจิ ยั เพื่อประโยชน์ของนกั เรียนร่นุ ต่อๆ ไป ๕.๒ ประเภทของการตดิ ตามผล ๕.๒.๑. การติดตามผลนักเรียนท่ีได้รับการแนะแนวไปแล้ว นักเรียนมีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอย่างไรบ้าง ดีขึ้น หรือเลวลง หรือยังคงเหมือนเดิม ท้ังนี้เพื่อ จะให้การใหค้ ำปรึกษาคร้ัง ต่อไปดีขนึ้ ๕.๒.๒. การติดตามผลนักเรียนที่เรียนอยู่ในปัจจุบัน โดยดูผล การเรียนแต่ละภาคเรียนว่าเป็นอย่างไร หรืออาจจะติตามผลเมื่อนักเรียนย้ายระดับช้ัน ทั้งนี้เพื่อผลดี ต่อโรงเรียนของนักเรียน โดยเฉพาะนักเรียนท่ีมีผลการเรียนไม่ดี ตลอดจนจะได้เป็นแนวทางในการ ปรับปรงุ หลกั สูตรและวิธีสอนต่อไป ๕.๒.๓. การติดตามผลนักเรียนท่ีเป็นกรณีพิเศษ เช่น นักเรียน ท่ีมีปัญหาทางจิตใจที่ต้องอาศัยจิตแพทย์ นักเรียนที่เรียนอ่อนมากจนต้องสอนซ่อมเสริมหรือนักเรียน ทเี่ รียนมาก จนตอ้ งจดั ขนั ให้พิเศษ เปน็ ตน้ ๕.๒.๔. การติดตามผลนักเรียนที่ออกจากโรงเรียน ทั้งผู้ที่ไปเรียน ต่อท่ีอื่นและผู้ที่ไม่ได้เรียนต่อเพ่ือที่จะดูว่านักเรียนเหล่านั้น สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ของโรงเรียนใหม่ หรือสภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียนไดห้ รอื ไม่ ๕.๒.๕. การติดตามผลนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาไปแล้ว ว่าได้ไป ศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพอะไร ท่ไี หน ประสบผลสำเรจ็ หรอื ไมส่ ำเรจ็ อย่างไรบ้าง
จติ วทิ ยาสำหรบั ครู ๒๐๔ การติดตามผลทั้ง ๕ ประเภทน้ี การติดตามผลนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาไปแล้ว เป็นการติดตามผลทีย่ ากแก่การปฏิบัติ ส่วนใหญ่มักจะติดตามผลในระยะเพยี งหนงึ่ ปีเท่าน้ัน เพราะย่ิง นักเรียนสำเร็จการศกึ ษาไปนานเท่าไร การติดต่อก็ยิ่งลำบากขน้ึ ๕.๓ จุดมุ่งหมาย ๕.๓.๑. เพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนรุ่นปัจจุบัน ได้ทราบ และเตรียมตัวทจี่ ะเขา้ สสู่ ภาพศึกษาหรอื อาชีพทต่ี ้องการ ๕.๓.๒. เพ่ือรวบรวมข้อมูลในการที่จะนำมาประเมินผลการเรียน การสอนตลอดจนหลกั สูตรทใ่ี ช้ ๕.๓.๓. เพื่อรวบรวมข้อมูลอันจะเป็นประโยชน์ต่อการแนะแนว ๕.๔ วธิ กี ารใช้ในการตดิ ตามผล ๕.๔.๑. สมั ภาษณ์ ๕.๔.๒. ส่งแบบสอบถามไปให้นกั เรยี นทเ่ี รยี นจบไปแล้ว ๕.๔.๓. เชิญนักเรียนเก่ามาโรงเรียนเป็นคร้ังคราว เพอื่ เล่าเร่ืองราว หรอื อภปิ ราย ๕.๔.๔. จัดงานสงั สรรค์นกั เรยี นเกา่ ๕.๕ ข้อลม้ เหลว ๕.๕.๑. นักเรียนที่สำเร็จการศึกษานั้น ไม่ประสบความสำเร็จใน การเรียนหรอื ประกอบอาชีพจึงไม่อยากให้ใครทราบ ๕.๕.๒. ศิษย์เก่าไม่เห็นความสำคัญของการติดตามผล จึงไม่ส่ง แบบสอบถามกลบั คนื มายงั โรงเรยี น ๕.๕.๓. ระยะเวลาที่จะกรอกแบบสอบถามนานเกนิ ไป ๕.๕.๔. เกดิ การผิดพลาดหรือบกพร่องในระบบ การส่ือสาร วิธีการ อน่ื ๆ ๕.๕.๔.๑ สอบถามจากครู-อาจารย์ในโรงเรียนท่ีรู้จักและ ทราบวา่ ศิษยเ์ กา่ ไปศึกษาตอ่ ทีไ่ หนหรอื ประกอบอาชพี อะไร ที่ใด ๕.๕.๔.๒ ขอความร่วมมือจากเจ้าหนา้ ทธ่ี รุ การ ๕.๕.๔.๓ สง่ แบบสอบถามไปถึงสถาบันตา่ งๆ ๖.ประโยชนข์ องการจดั บริการแนะแนวในโรงเรียน ในการจดั บรกิ ารแนะแนวขน้ึ ในโรงเรยี นนนั้ ถ้าโรงเรยี นสามารถให้บริการแก่ นกั เรียนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ จะเกิดประโยชน์๑๓ ดังน้ี ๖.๑ ช่วยให้นักเรียนได้รู้จักและเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ ทำให้สามารถ ปรบั ตัวอยู่ในสังคมได้เปน็ อย่างดี รูจ้ ักเลือกและตัดสินใจได้อยา่ งฉลาดและเหมาะสมสามารถแก้ปญั หา ต่างๆ ทีต่ นประสบได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ สามารถวางแผนการชีวิตในอนาคตของตนเอง และสามารถ นำตนเองไปสู้เป้าหมายท่ีวางไว้ ท้ัง ยังช่วยให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้เกิดความเจริญงอก งามทกุ ด้านอยา่ งมีบูรณาการ ๑๓ พนม ลมิ ้ อารยี ์, การแนะแนวเบื้องตน้ , พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์ , ๒๕๔๘), หน้า ๑๔.
จติ วทิ ยาสำหรบั ครู ๒๐๕ ๖.๒ ช่วยให้คณะครูได้รู้จักนักเรียนของตนแต่ละคนอย่างลึกซ้ึง ทำให้ ยอมรับนักเรียนในฐานะเป็นเอกัตบุคคล เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างในด้านต่างๆ เช่น สติปัญญา สภาพร่างกาย ความถนัด ความสนใจ ค่านิยม ทำให้ทางโรงเรียนสามารถจัดการเรียนการ สอนและกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของนักเรียนและช่วยให้ ปัญหาของโรงเรียนท่เี กดิ จากนกั เรียนลดน้อยลงไปอีกดว้ ย ๖.๓ ช่วยให้บิดามารดาและผู้ปกครองของนักเรียนรู้จักและเข้าใจเด็ก ของตนดีข้ึน ยอมรับสภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับบุตรหลานของตนในฐานะที่เป็นบุคคลคนหน่ึงซึ่ง แตกตา่ งจากบุคคลอืน่ ๆ และใหค้ วามรว่ มมอื แก่ทางโรงเรยี นในการส่งเสริมพฒั นาบุตรหลานของตน ๖.๔ ช่วยให้สังคมและประเทศชาติได้ประชากรที่มีคุณภาพ ไม่เป็นผู้ ท่ีจะก่อให้เกิดปัญหาสังคมและช่วยเพ่ิมพูนเศรษฐกิจของประเทศ เน่ืองจากเด็กได้เรียน และได้ประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนจะเห็นได้ว่า เม่ือทางโรงเรียนได้จัดบริการแนะแนว ให้กับนักเรียนอย่างจริงจัง และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตัวนักเรียน คณะครู โรงเรียน ผู้ปกครอง ตลอดถึงประเทศชาติ ท้ังนี้ต้องขึ้น อยกู่ บั ทางโรงเรยี นด้วยว่าจะมกี ระบวนการจัดการใหเ้ ป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพหรือไม่ สรปุ ทา้ ยบท การแนะแนวเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เด็กแต่ละคนเข้าใจตนเอง เข้าใจผอู้ ื่นและสามารถปรับตัว ในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข ท้ัง ในปัจจุบันและอนาคต สามารถวางแนวชีวิตอนาคตของตนได้ อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมอันจะนำไปสคู่ วามสุขและความสำเร็จในชีวติ นอกจากการจดั ใหม้ ีการเรียนการ สอนวชิ าแนะแนวในโรงเรียนแล้ว การจดั บริการแนะแนวในโรงเรยี นในแตล่ ะกรณีต้องจัดให้ครบทั้ง ๕ บริการ คือ บริการศึกษารวบรวมข้อมูล บริการสนเทศ บริการให้คำปรึกษาบริการจัดวางตัวบุคคล และบริการติดตามผล เพ่ือผู้เรียน จะได้รับประโยชน์สูงสุดตามความต้องการ รวมท้ังการบริหารงาน แนะแนวในโรงเรยี นควรจัดให้ครอบคลุมทง้ั ๓ ประเภท คือการศกึ ษา อาชีพ สว่ นตวั และสังคม เพ่ือให้ สอดคล้องกับพัฒนาการของผ้เู รียน และสภาพปญั หา ที่จะเกิดขึน้ และท่ีสำคัญบุคลากรในโรงเรียนทุก คน ต้ังแต่ผู้บริหาร ครู บุคลากรในโรงเรียนต้องให้ความสำคัญในกระบวนการแนะแนว และทำอย่าง จริงจัง ผลของการแนะแนวจะทำให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จในชีวิต สามารถพึงตนเองได้ ปรับตัวกับ สงั คมได้ คิดแกป้ ญั หาได้
จิตวิทยาสำหรบั ครู ๒๐๖ ใบกจิ กรรมท่ี ๘.๑ คำชี้แจง หลังจากท่ีนิสิตสังเกตการสอนวิชาแนะแนวในโรงเรียน และการสาธิตการสอน ในห้องเรียน ให้แต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมท่ีไปสังเกตการณ์สอนวิชาแนะแนวในโรงเรียน) สะท้อนผล การสังเกตท้ัง ๒ ครั้ง และระดมความคิดเห็นว่า การสอนวิชาแนะแนวในโรงเรียนควรเป็นแบบใด โดยแล้วนำเสนอหนา้ ชั้นเรียน สะทอ้ นผลการสังเกต การสอนแนะแนวในโรงเรยี น การสาธิตการสอนแนะแนวใน การสาธติ การสอนแนะ การสอนแนะแนว ในโรงเรียนท่ดี ี ควรเปน็ ... หอ้ งเรยี น แนว (สถานการณจ์ รงิ ) ในห้องเรียน
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๐๗ ใบกิจกรรมท่ี ๘.๒ คำชี้แจง หลงั จากทดี่ วู ีดิทศั น์ “กรณเี ด็กหญงิ เรยา” แล้วให้นิสติ แบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มๆ ๕-๖ คน และจบั สลากหวั ข้อบริการแนะแนว ไดแ้ ก่ ๑. บรกิ ารศึกษาและรวบรวมข้อมูล ๒. บรกิ ารสนเทศ ๓. บริการให้คำปรกึ ษา ๔. บริการวางตัวบุคคล ๕. บริการติดตามตวั บุคคล หลังจากได้หัวข้อแล้ว ให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดเห็นเพ่ือช่วยเด็กหญิงเรยา โดยใช้บริการ แนะแนว ๕ ด้าน แลว้ นำเสนอหน้าชั้นเรยี น บริการแนะแนว แนวทางในการชว่ ยเหลอื
จิตวิทยาสำหรับครู ๒๐๘ คำถามท้ายบท คำช้ีแจง หลังจากท่ีนิสิตได้ศึกษาเก่ียวกับความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับการแนะแนวแล้วให้นิสิต ตอบคำถามต่อไปน้ี โดยอาศัยหลักวิชาการ หลักความเป็นจริง และความคิดเห็นของนิสิตประกอบ ในการตอบคำถาม ๑.ให้นสิ ติ อธบิ ายความหมายและจุดมุ่งหมายของการแนะแนวพอสังเขป ๒.ให้นิสิตบอกถึงความแตกตา่ งระหว่างการแนะแนวและการแนะนำใหช้ ัดเจน แนะแนว แนะนำ ๓.ให้อธิบายถงึ ความสำคญั และความจำเป็นของการแนะแนวตอ่ การจดั การศึกษาในโรงเรียน ๔.หลกั การและปรชั ญาการแนะแนวคืออะไร มีอะไรบา้ ง พรอ้ มทัง้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างปรัชญาการแนะแนวและหลกั การแนะแนววา่ เหมอื นหรือตา่ งกนั อย่างไร ๕.การแนะแนวมีกี่ประเภท อะไรบา้ ง และครูแนะแนวควรมคี ณุ สมบตั ิอยา่ งไร ๖.จรรยาบรรณวิชาชพี จิตวทิ ยาการแนะแนวคืออะไร มีอะไรบ้าง ๗.จัดบริการแนะแนวในโรงเรียนจะเกิดประโยชน์อย่างไรบ้าง ใครบ้างท่ีจะได้รับประโยชน์ จากการจัดบรกิ ารแนะแนว และจะไดร้ บั อย่างไร
จิตวิทยาสำหรบั ครู ๒๐๙ เอกสารอ้างอิงประจำบท กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, คูม่ อื การบริหารจัดการแนะแนว, กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพค์ รุ ุ สภาลาดพรา้ ว, ๒๕๔๖. คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , คู่มือฝกึ อบรมแนะแนว, กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๕๔. พนม ล้ิมอารีย,์ การแนะแนวเบ้ืองต้น, พมิ พค์ ร้ังท่ี ๒, กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๘. วงศพ์ กั ตร์ ภู่พนั ธ์ศรี และ ศิรินนั ท์ ดำรงผล, จิตวิทยาพัฒนาการและการศกึ ษา, กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพ์มหาวิทยาลยั รามคำแหง, ๒๕๓๐. วชั รี ทรพั ย์มี, การแนะแนวในโรงเรยี น, พิมพค์ รงั้ ที่ ๓, กรงุ เทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานิช, ๒๕๓๑. _________, ทฤษฎีให้บริการปรึกษา, กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔. วัฒนา พัชราวนชิ , จิตวทิ ยาการศกึ ษา, กรงุ เทพมหานคร : หจก.ธนะการพิมพ์, ๒๕๒๖. สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย, มาตรฐานวชิ าชีพครจู ิตวทิ ยาแนะแนว, ครจู ิตวิทยาแนะแนะระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน, กรงุ เทพมหานคร : เจรญิ วทิ ยก์ ารพิมพ์, ๒๕๔๙. อนนต์ อนนั ตรงั สี, หลักการแนะแนว, กรุงเทพมหานคร : สำนกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร์, ๒๕๒๑.
แผนบรหิ ารการสอนประจำบทที่ ๙ การใหค้ ำปรกึ ษาเบอื้ งตน้ จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม หลงั จากได้ศึกษาบทเรียนนี้แล้ว นสิ ิตสามารถ ๑. อธิบายความหมายและความสำคัญของการใหค้ ำปรึกษาได้ ๒. อธบิ ายหลักการของการให้คำปรึกษาได้ ๓. อธบิ ายกระบวนการให้คำปรึกษาได้ ๔. วเิ คราะห์และเปรยี บเทยี บการให้คำปรึกษาท่วั ไปและการใหค้ ำปรึกษาเชงิ จติ วิทยาได้ ๕. อธบิ ายประเภทของการให้คำปรกึ ษาได้ ๖. บอกความคาดหวังของผู้มาขอคำปรกึ ษาได้ ๗. บอกคุณลักษณะของผูใ้ ห้คำปรึกษาได้ ๘. ให้คำปรกึ ษาเชงิ จติ วิทยาแก่ผมู้ าขอรบั คำปรึกษาได้ เน้ือหาสาระ เน้ือหาสาระในบทนี้ประกอบดว้ ย ๑. ความหมายของการให้คำปรึกษา ๒. ความสำคญั ของการให้คำปรกึ ษา ๓. หลักการของการให้คำปรึกษา ๔. กระบวนการให้คำปรึกษา ๕. ประเภทของการใหค้ ำปรึกษา ๖. ความคาดหวงั ของผู้มาขอคำปรึกษา ๗. คุณลกั ษณะของผใู้ ห้คำปรึกษา ๘. ทักษะการใหค้ ำปรึกษาสรุป กิจกรรมการเรยี นการสอน สปั ดาหท์ ่ี ๑๒ ๑. ทบทวนความรู้เดมิ ในบทท่ี ๑๑ โดยการซกั ถามและให้นิสติ อธิบายและแสดงความคิดเหน็ ๒. อธิบายเนอื้ หา และสรปุ เน้ือหาสาระทสี่ ำคญั ดว้ ย Microsoft Power-point ๓. อภปิ ราย แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ และซกั ถาม ๔. ให้นสิ ติ แบ่งกลุ่มเปน็ ๕ กลุม่ แล้ววิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บการใหค้ ำปรกึ ษาท่ัวไปกับ การให้คำปรึกษาเชิงจิตวทิ ยา และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ๕. สาธติ การใหค้ ำปรึกษาแกน่ กั เรียน โดยเน้นการให้คำปรึกษาเชงิ จิตวิทยา ๖. มอบหมายให้นิสิตจับคู่ เพื่อทดสอบการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาตามกระบวนการให้ คำปรกึ ษา ๕ ขน้ั ตอน สัปดาห์ท่ี ๑๓ ๑. ทบทวนความรู้เดิมในสัปดาห์ท่ี ๑๒ โดยการซักถามและให้นิสิตอธิบายและแสดง ความคิดเหน็
จติ วทิ ยาสำหรบั ครู ๒๑๑ ๒. ให้นสิ ิตจับคู่ เพ่อื ทดสอบการใหค้ ำปรกึ ษาเชิงจติ วทิ ยาตามกระบวนการใหค้ ำปรกึ ษา ๕ ขน้ั ตอน หน้าช้ัน ๓. ใหต้ อบคำถามทา้ ยบทที่ ๙ และนำสง่ ในสปั ดาห์ถัดไป ส่อื การเรียนการสอน ๑. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน “การใหค้ ำปรึกษาเบ้อื งต้น” ๒. การนำเสนอดว้ ย Microsoft Power-point และวดี ทิ ศั น์ / คลิปวีดีโอ ๓. ตำราหรอื หนังเสอื เก่ยี วกบั จติ วทิ ยา ไดแ้ ก่ กฤตวรรณ คำสม, เอกสารประกอบการสอน รายวิชาจิตวิทยาสำหรบั ครู, อดุ รธานี :คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี, ๒๕๕๗. คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , คมู่ ือฝึกอบรมแนะแนว, กรุงเทพมหานคร :คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๕๓. จีน แบร่ี, คู่มอื การฝึกทกั ษะให้การปรึกษา, พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๒, กรงุ เทพฯ:โรงพมิ พ์ แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๗. มลั ลวรี ์ อดุลวัฒนศิริ, เทคนคิ การใหค้ ำปรึกษา : การนำไปใช้, ขอนแกน่ : โรงพิมพ์ คลงั นานา, ๒๕๕๔. วัชรี ทรพั ยม์ ี, ทฤษฎแี ละกระบวนการให้คำปรกึ ษา, กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๒๕. ๔. ใบกจิ กรรมกลมุ่ ๒ กจิ กรรม ๔.๑ “วเิ คราะห์ เปรยี บเทียบการให้คำปรึกษาท่ัวไปกบั การใหค้ ำปรกึ ษาเชงิ จิตวทิ ยา” ๔.๒ “ทดสอบการให้คำปรึกษาเชิงจติ วิทยา” แหลง่ การเรยี นรู้ ๑. หอ้ งสมดุ วิทยาลยั สงฆบ์ ุรรี ัมย์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒. หอ้ งสมดุ คณะครศุ าสตร์ สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนาและจิตวทิ ยาการแนะแนว ๓. แหล่งการเรยี นรู้ทางอินเตอร์เนต็ เก่ียวกบั จิตวิทยาการศึกษา ความแตกต่างระหว่างบุคคล และการสร้างบรรยากาศในชั้นเรยี น นสิ ติ สามารถสบื คน้ ข้อมลู ท่ีตอ้ งการผ่านเวบ็ ไซตต์ ่างๆ การวัดและการประเมนิ ผล จดุ ประสงค์ เครื่องมอื /วธิ ีการ ผลทีค่ าดหวัง ๑. อธิบายความหมายและ ๑. ซักถาม ๑. นสิ ติ มีคะแนนการทำ ความสำคัญของการให้ ๒. แบบฝกึ หัดท้ายบท แบบฝกึ หดั ถูกตอ้ ง รอ้ ยละ ๘๐ คำปรึกษาได้ ๒. อธบิ ายหลักการของการให้ ๑. ซกั ถาม ๑. นสิ ติ มคี ะแนนการทำ คำปรกึ ษาได้ ๒. แบบฝกึ หัดทา้ ยบท แบบฝึกหัดถูกต้อง รอ้ ยละ ๘๐ ๓. อธบิ ายกระบวนการให้ ๑. ซกั ถาม ๑. นิสติ มคี ะแนนการทำ คำปรึกษาได้ ๒. แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท แบบฝึกหัดถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ ๔. วิเคราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บ ๑. สงั เกตพฤติกรรมการ ๑. นิสิตมคี ะแนนการทำ การให้คำปรึกษาทัว่ ไปและการ ร่วมกจิ กรรม แบบฝึกหดั ถูกต้อง รอ้ ยละ ๘๐
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๑๒ ให้คำปรึกษาเชงิ จติ วิทยาได้ ๒. สงั เกตการณน์ ำเสนอ ๒. นิสติ ใหค้ วามรว่ มมือใน หน้าชั้นเรียน การทำกิจกรรมกลุ่ม ร้อยละ ๕. อธบิ ายประเภทของการให้ ๓. แบบสงั เกตพฤติกรรม ๓. นิสิตมคี ะแนนการทำ คำปรึกษาได้ การทำงานกลุ่ม แบบฝึกหดั ถูกตอ้ ง ร้อยละ ๘๐ ๖. บอกความคาดหวงั ของผู้มา ๔. ผลงานกลุม่ ขอคำปรกึ ษาได้ ๕. แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท ๑. นิสติ มีคะแนนการทำ ๑. ซักถาม แบบฝกึ หัดถูกตอ้ ง ร้อยละ ๘๐ ๘. ให้คำปรึกษาเชิงจิตวทิ ยาแก่ ๒. แบบฝกึ หดั ท้ายบท ๑. นิสติ สามารถรับรู้และ ผู้มาขอรับคำปรกึ ษาได้ ๑. สงั เกตการแสดงบทบาท เข้าใจความคาดหวังของผู้มา สมมติในการใหค้ ำปรึกษา ขอคำปรกึ ษาไดต้ รงกบั ความ ๘. บอกจรรยาบรรณวชิ าชีพ เชิงจติ วทิ ยา คาดหวังของผู้มารับบรกิ าร จิตวิทยาการแนะแนวได้ ๒. ซกั ถาม ๒. นิสติ มีคะแนนการทำ ๙. เขา้ ใจและใชบ้ ริการแนะ ๓. แบบฝกึ หัดท้ายบท แบบฝึกหดั ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ แนวแกน่ กั เรยี นได้ ๑. นสิ ิตมคี ะแนนการทำ ๑. สงั เกตการแสดงบทบาท แบบฝกึ หดั ถูกตอ้ ง ร้อยละ ๘๐ สมมติการให้คำปรกึ ษา ๒. แบบสงั เกตการแสดง ๑. นสิ ิตมีคะแนนการทำ บทบาทสมมตกิ ารให้ แบบฝึกหัดถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ คำปรกึ ษา ๑.นักศึกษาสามารถให้คำปรกึ ษาเชงิ ๓. แบบฝึกหัดท้ายบท จิตวิทยาตามข้ันตอนการให้ ๑. ซักถาม คำปรึกษา ๒. แบบฝึกหดั ทา้ ยบท ๒.นิสิตใชท้ ักษะการให้คำปรึกษาเชิง ๑. สงั เกตพฤติกรรมการ จติ วิทยาได้ รว่ มกิจกรรม ๓.นสิ ิตมีคะแนนการทำแบบฝึกหัด ๒. สังเกตการณน์ ำเสนอ ถูกต้อง รอ้ ยละ ๘๐ หนา้ ชั้นเรียน ๓. แบบสงั เกตพฤติกรรม การทำงานกลมุ่ ๔. ผลงานกลมุ่ ๕. แบบฝกึ หัดทา้ ยบท
จติ วทิ ยาสำหรบั ครู ๒๑๓ บทที่ ๙ การให้คำปรึกษาเบอ้ื งต้น ๙.๑ ความนำ ธรรมดาของมนุษย์ ในสากลโลกนี้จะเป็นเด็กหรือผูใ้ หญ่ ก็มีโอกาสประสบปัญหาได้ทกุ โอกาส หลายคนสับสนต่อการคิดแก้ปัญหา การให้คำปรึกษาเป็นกระบวนการช่วยเหลือคน ช่วยให้บุคคล เข้าใจปัญหาและค้นหาแนวทางที่จะแก้ปัญหา แม้ว่ามีบางครั้งกระบวนการของการให้คำปรึกษา จะเกิดอุปสรรคและไมส่ ามารถลุล่วงในการช่วยให้ผปู้ ระสบปัญหาเข้าใจปัญหาของตน เน่ืองจากกลไก ท่ีเป็นองค์ประกอบของตัวบุคคลนั้นๆ แต่โดยท่ัวๆ ไปการให้คำปรึกษาท่ีเป็นศาสตร์ และผู้มีศึกษา และฝึกวิธีการในการให้คำปรึกษาก็สามารถช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาสามารถค้นหาแนว ทาง ในการแก้ปัญหา หรือถ้าค้นหาแนวทางท่ีจะแก้ปัญหายังไม่ได้ก็สามารถอยู่กับปัญหาของตนเองได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การให้คำปรึกษาเป็นกระบวนการท่ีละเอียดอ่อน เพราะเป็นเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก ของบุคคล ฉะนั้นผู้ท่ีทำหน้าที่ให้คำปรึกษา ต้องได้รับการฝึกฝนทางวิชาชีพมาอย่างดี จึงจะสามารถ ให้บริการทางการให้คำปรึกษาได้อย่างเหมาะสม เพราะการให้คำปรึกษาเป็นศาสตร์เฉพาะอย่าง จำเป็นต้องมีการเรียนรู้ทฤษฎี หลักการและเทคนิค ตลอดจนใช้ลักษณะเฉพาะตัวมาดำเนินการ ให้คำปรกึ ษา กระบวนการให้คำปรกึ ษาจงึ จะไดผ้ ลดี การให้คำปรึกษาจะมีประสิทธิภาพเพียงใด ข้ึนอยู่กับสัมพันธภาพ ความรักนับถือ ความเคารพยอมรับระหว่างบุคคล ๒ ฝ่าย คือ ฝ่ายมาขอคำปรึกษา (Counselee) กับ ฝ่ายผู้ให้ คำปรึกษา(Counselor) นั่นเอง จากการที่การให้คำปรึกษาเป็นกระบวนการหรือระบบเทคนิคพิเศษอย่างหน่ึงท่ีสามารถช่วย คนในการคิดเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ผู้ที่ทำการศึกษาทางด้านการแนะแนว จึงมีความคิดเห็น และมตเิ หมือนกนั วา่ “การให้คำปรึกษา คอื หัวใจของการแนะแนว” ๙.๒ ความหมายของการใหค้ ำปรกึ ษา การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญในการให้คำปรึกษาได้อธิบายความหมาย และให้ทัศนะเกี่ยวกับการให้คำปรึกษามากมาย เพ่ือเป็นแนวทางในการสร้างความคิดรวบยอด เบือ้ งตน้ เกีย่ วกบั การให้คำปรึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย๑ ได้ให้ความหมายการให้คำปรึกษาไว้ว่า การให้ การปรกึ ษา หมายถึง กระบวนการที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้การปรึกษากับผู้รับการปรึกษา โดยผู้ให้ การปรึกษาประยุกต์ใช้หลักการหรือแนวคิดทางจิตวิทยามาเอื้ออำนวยให้ผู้รับการปรึกษาได้ตระหนัก ในประสบการณ์ของตนผ่านการสนทนาระหว่างผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษา โดยให้ผู้รับ ๑ คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , คมู่ อื ฝึกอบรมแนะแนว, (กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๕๓), หนา้ ๒๒๗.
จิตวทิ ยาสำหรบั ครู ๒๑๔ การปรึกษาได้สำรวจตนเองในรอบด้านเพื่อรู้จักเขา้ ใจ และการยอมรับตนเองในสิ่งที่เป็นปัญหาได้มาก ขน้ึ และสามารถแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาได้ดว้ ยตนเอง วัชรี ทรัพย์มี๒ ได้ให้ความหมายการให้คำปรึกษาไว้ว่า การให้คำปรึกษา หมายถึง กระบวนการของสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้คำปรึกษาซ่ึงเป็นนักวิชาชีพท่ีได้รับการฝึกอบรมกับ ผู้รับบริการ ซ่ึงต้องการความช่วยเหลือ เพ่ือช่วยให้ผู้รับบริการเข้าใจตนเองเพ่ิมขึ้นปรับปรุงทักษะ ในการตัดสินใจ และทักษะ ในการแก้ปัญหาตลอดจนปรับปรุงความสามารถในการที่จะทำให้ตนเอง พัฒนาขึ้น Smith, Glenn๓ ได้ให้ความหมายของการให้คำปรึกษาไว้ว่า การให้คำปรึกษา หมายถึง กระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่างคน ๒ คน คนหน่ึงเป็นผู้ที่มีปัญหาซ่ึงไม่สามารถจะตัดสินใจ แกป้ ัญหาด้วยตนเองได้ สว่ นอีกคนหนึง่ เป็นผูท้ ่ีมีความรู้ทางวิชาชพี ระดับสูง มกี ารฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ตลอดจนมีประสบการณ์จนเกิดเป็นทักษะและมีความสามารถท่ีจะช่วยเหลือแก้ไขปัญหาของบุคคล หลาย ๆ ประเภท Jones, Arthur J.๔ ได้ให้ความหมายไว้ว่า การให้คำปรึกษา หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ ที่กระทำโดยบุคคลต่อบุคคล ซึ่งมีผู้ให้คำปรึกษาที่ได้รับการฝึกฝนในด้านทักษะและความรู้ทาง จิตวิทยา ได้ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาให้ใช้วิธีการที่เหมาะสมกับความต้องการของบุคคล ช่วยให้เกิด การเรียนรู้ขบวนการต่าง ๆ ของตนเอง และยอมรับความจริงเก่ียวกับตน อีกท้ังนำเอาความเข้าใจมา วิเคราะห์พจิ ารณาอย่างชัดแจง้ แล้วกำหนดเปน็ จุดมงุ่ หมายจนบรรลุเป้ าหมายเพือ่ ให้บคุ คลมีความสุข มากขนึ้ เป็นผลผลติ ทม่ี คี ุณภาพของสงั คมต่อไป George, Rickey L. and Cristiani Therese S.๕ ได้กล่าวถึงการให้คำปรึกษาไว้ว่า การให้ ปรึกษาเชิงจิตวิทยา คือ สัมพันธภาพเป็นกระบวนการที่มีแบบแผนในการช่วยให้บุคคลสามารถ วางแผนเลอื กสง่ิ ต่างๆ และแกป้ ัญหาได้อยา่ งเหมาะสม จากการพิจารณาความหมายของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาท่ียกมาเป็นตัวอย่างข้างต้น มขี อ้ น่าสังเกต คอื ๑. เปน็ กระบวนการของความสมั พนั ธใ์ นการชว่ ยเหลือของบุคคล ๒ คน โดย ๑.๑ บุคคลผู้หน่ึง อยู่ในสภาพของผู้ประสบปัญหาต้องการความช่วยเหลือมาขอ คำปรึกษา ๑.๒ บุคคลอีกผู้หน่ึง มีวุฒิ และความรู้ ได้รับการฝึกฝน อบรม จนมีทักษะ และความสามารถเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ ทำหน้าที่เป็นผู้ให้คำปรึกษา ช่วยหาแนวทางให้ผู้มาขอ คำปรึกษา สามารถเขา้ ใจปญั หาของตนเอง และวางแนวทางแกป้ ญั หาได้ดว้ ยตนเอง ๒ วชั รี ทรพั ยม์ ี, ทฤษฎีและกระบวนการใหค้ ำปรกึ ษา, (กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๒๕), หน้า ๕. ๓ Smith, Glenn E, Organization and Administration of Guidance Services, New York: McGraw-Hill Book company, 1955 p.156. ๔ Jones, Arthur J., Principles of guidance, New York ; London : McGraw-Hill book company, inc, 1963, p.11. ๕ George, Rickey L. and Cristiani Therese S., Counseling: Theory and Practice, ๔th Edition. University of Missouri, St. Louis, 1995, p.3.
จติ วิทยาสำหรับครู ๒๑๕ ๒. เทคนิคการให้คำปรกึ ษาของผู้ใหค้ ำปรกึ ษาจะมีความแตกต่างกนั บางท่านเนน้ การสัมพันธ์ อั น ดี ร ะ ห ว่ า ง กั น แ ล ะ กั น ใน ก า ร ให้ ค ำ ป รึ ก ษ า บ า ง ท่ า น ก็ เน้ น วิ ธี ก า ร ท่ี จ ะ ให้ ผู้ ม า ข อ ค ำ ป รึ ก ษ า มกี ารเปลี่ยนแปลง อย่างไรกต็ ามจุดมุ่งหมายของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา คือ กระบวนการช่วยให้บุคคลหา วิธกี ารทจ่ี ะแก้ไขปญั หา หรือสมหวงั กับสง่ิ ทเี่ ขาต้องการในระดบั ท่ีเหมาะสมกับตนเอง สรุปได้ว่า การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา หมายถึง กระบวนการช่วยเหลือให้บุคคลที่ประสบ ปัญหาสามารถเข้าใจ กระจ่างชัดในปัญหาละวางแผนแก้ปญั หาไดอ้ ย่างเหมาะสมกับตนเอง นอกจากนี้ ยังมุ่งส่งเสริมให้บุคคลพัฒนาความสมบูรณ์ในตนเอง เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความสำเร็จให้แก่ ชวี ิต ๙.๓ หลกั การของการให้คำปรึกษา หลักการให้คำปรึกษาเป็นส่ิงท่ีผู้ให้คำปรึกษาจะต้องยึดเป็นหลักที่จะต้องให้คำปรึกษาแก่ ผรู้ ับบรกิ าร ถอื เป็นแนวปฏบิ ตั ิท่ีสำคญั ดังน้ี๖ ๑. การให้คำปรึกษา ผู้ท่ีให้คำปรึกษา (Counselor) ควรจะเป็นบุคคลท่ีมีความรู้ ประสบการณ์ และทกั ษะโดยเฉพาะการใช้เทคนิคตา่ งๆ ให้เหมาะสมกับผู้รบั คำปรึกษาแต่ละคน ๒. การให้คำปรึกษาจะต้องคำนึงถึงเด็กทั้ง คน ไม่ควรคิดว่าเป็นปัญหาเพียงด้านใดด้านหน่ึง เพราะปัญหาของเด็ก เช่น ปัญหาส่วนตัวและสังคม ปัญหาการเรียน โดยมากมักจะเก่ียวข้องกัน ผลจากปัญหาหนึง่ มกั จะทำให้เกดิ อีกปัญหาหนึ่งตามมา ๓. การให้คำปรึกษาจะต้องยอมรับ ในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก ทั้งทางด้าน ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ ตลอดจนฐานะเศรษฐกิจและสังคม ในการช่วยเหลือบุคคล จะต้องคำนึงถงึ องค์ประกอบทงั้ สองดว้ ย ๔. การตัดสินใจ การรับผิดชอบในปญั หา ควรเปน็ สทิ ธแิ ละเปน็ หนา้ ที่ของผรู้ บั คำปรึกษา อยา่ งเต็มท่ี ๙.๓.๑ กระบวนการใหค้ ำปรึกษา ตามคำนิยามการให้คำปรึกษาในท่ีนี้การให้คำปรึกษา เป็นกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ใหค้ ำปรกึ ษากบั ผรู้ ับคำปรึกษา เพ่ือหาแนวทางในการแกป้ ญั หา กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเป็น การช่วยเหลือที่ประกอบด้วยขั้น ตอนต่างๆ ท่ีผู้ให้ การปรึกษาเอ้ืออำนวยให้ผู้รับการปรึกษาได้เข้าใจถึงปัญหาและรับรู้ถึงศักยภาพท่ีแท้จริงของตนเอง และเรียนรู้การจัดการแก้ไขปัญหาหรือส่ิงท่ีรบกวนจิตใจด้วยตนเอง นอกจากน้ี ยังรวมถึง การเอ้ืออำนวยให้ผู้รับการปรึกษาได้เรียนรู้ที่จะดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่าปัญหา หรือสง่ิ รบกวนจติ ใจยังมไิ ด้รบั การแกไ้ ข จีน แบรี่ ได้กลา่ วถงึ ขน้ั ตอนของการให้คำปรึกษาไว้ ๕ ขั้น ตอน ดงั น้ี๗ ๖ กฤตวรรณ คำสม, การแนะแนวเบ้อื งตน้ , (อุดรธานี : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี, ๒๕๕๙), หนา้ ๑๑. ๗ จีน แบร่ี, คูม่ อื การฝกึ ทกั ษะใหก้ ารปรกึ ษา, พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๗), หนา้ ๑๒๐.
จิตวิทยาสำหรับครู ๒๑๖ ๑. การสร้างสมั พนั ธภาพ เป็นขั้น ตอนที่สำคัญเนื่องจากสัมพันธภาพท่ีดีระหว่างผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการปรึกษา จะเอื้ออำนวยให้การช่วยเหลือน้ัน มีประสิทธิภาพ กล่าวคือ สัมพันธภาพระหว่างผู้ให้และผู้รับการ ปรึกษาดี มีผลทำให้ลดความตึงเครียดหรือผ่อนคลาย เกิดความไว้วางใจ ซ่ึงช่วยให้ผู้รับการปรึกษา แสดงความรู้สึกของตัวเองได้ ตั้ง ใจท่ีจะให้ความรว่ มมือ รสู้ ึกอบอ่นุ ใจมากข้ึนรวมท้ังเข้าใจกระวนการ ให้การปรึกษา เน่ืองจากการให้การปรึกษาเป็นการช่วยเหลือท่ีต้องการการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ สัมพันธภาพท่ีดีจึงเป็นสิ่งจำเป็นในช้ัน ตอนน้ีทักษะต่างๆ ที่จำเป็นที่ผู้ให้การปรึกษาปฏิบัติ เพ่ือเอ้ือ อำนวยให้เกิดสัมพันธภาพท่ีดี อันนำไปสู่การดำเนินการข้ัน ต่อไปของกระบวนการให้การปรึกษา การสรา้ งสัมพันธภาพผู้ให้บรกิ ารปรึกษาควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี ๑.๑ การแสดงความพรอ้ มและความยนิ ดีในการได้การชว่ ยเหลอื ๑.๒ การต้อนรบั อยา่ งจรงิ ใจและอบอ่นุ ๑.๓ การแสดงท่าทเี ปน็ มิตร ๑.๔ สื่อความตง้ั ใจและใสใ่ จท่ีจะใหค้ วามชว่ ยเหลอื ๑.๕แสดงความสนใจอยา่ งจริงใจ ๑.๖ แสดงความไวต่อการรบั รู้ความรสู้ ึก ๑.๗ สังเกตส่ิงที่ผรู้ บั การปรกึ ษาแดงออกทัง้ คำพดู และกริยาท่าทาง ๑๘. สังเกตสง่ิ ท่ีผู้รับการปรกึ ษาไม่พร้อมทจี่ ะเลา่ ๑.๙ การแสดงการตอบสนองต่อผรู้ ับการปรึกษา ๑.๑๐ การยอมรบั อย่างไม่มเี งื่อนไข ๑.๑๑ การใชค้ ำถามที่เอ้ือ ให้ผรู้ บั การปรกึ ษาสามารถเล่าเร่ืองของตนเอง ในขั้น ตอนนี้ทักษะท่ีควรใช้ ในการเริ่มต้นการสนทนา คือทักษะการใส่ใจ ทักษะการต้ัง คำถาม และควรระมัดระวังในการเร่ิมต้นสนทนาหรือการสร้างสัมพันธภาพในการต้ัง คำถามคือ การตั้ง คำถามไม่ควรถามเพราะความอยากรู้ และคำถามไม่ควรข้ึนต้นว่า “ทำไม” หรือ “มีปัญหา อะไร” ซง่ึ การถามลกั ษณะน้ีอาจทำใหข้ ้อมลู บดิ เบือนได้ ๒. การสำรวจปญั หา ปัญหา คือ รอยแตกแยกระหว่างความเป็นจริงท่ีปรากฏกับความปรารถนา เพื่อความเข้าใจ ปัญหาผู้ให้การปรึกษาจึงควรรวบรวมข้อมูลของผู้มารับการปรึกษาให้รอบด้าน การท่ีปัญหาจะได้รับ การแก้ไข ลักษณะของปัญหานั้น เป็นส่ิงท่ีต้องทำความเข้าใจว่า แต่ละปัญหาน้ัน ต้องการการ ตอบสนองอย่างไร ธรรมชาตขิ องปัญหาเป็นอยา่ งไร ทักษะต่างๆ ท่ใี ชใ้ นข้นั ตอนน้ีดังนี้ ๒.๑ ทกั ษะการตง้ั คำถาม (Questioning) ๒.๒ ทักษะการฟัง (Listen) ๒.๓ ทกั ษะการเงยี บ (Silence) ๒.๔ ทักษะการทวนซ้ำ (Restatement) ๒.๕ ทกั ษะการสะท้อนความรู้สึก (Reflection) ๒.๖ ทักษะการตคี วาม (Interpretation) เป็นทักษะท่ีแสดงถึงการรับรู้และเข้าใจความหมายของสิ่งที่ผู้รับการปรึกษาพูด การตีความที่มีประสิทธิภาพจะช่วยให้สัมพันธภาพระหว่างผู้ให้การปรึกษากับผู้รับการปรึกษา
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๑๗ พัฒนาขึ้น ซึ่งจะได้รับความไว้วางใจ อันจะนำไปสู่การเปิดเผยตัวเองมากข้ึน รวมถึงมีความเช่ือม่ันใน การให้การปรกึ ษาเพม่ิ ข้ึน ๓. การเขา้ ใจปญั หา สาเหตุ ความต้องการ ๔. การวางแผนแก้ปญั หา ๕. การยุตกิ ารใหค้ ำปรึกษา แผนภมู ทิ ่ี ๙.๑ กระบวนการให้คำปรกึ ษา ที่มา: คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .(๒๕๕๓). ๙.๓.๒ ประเภทการใหค้ ำปรกึ ษา ประเภทการให้คำปรกึ ษาทน่ี ิยมใช้กนั ในวงการแนะแนวมี ๓ วิธี คือ ๑.การให้คำปรึกษาแบบนำทาง (Directive method) มีวิธีการเช่นเดียวกับวิธีการ ของนักจิตวิทยา ของแพทย์รักษาคนไข้ ซึ่งจำเป็นจะต้องทราบสาเหตุหรืออาการของโรคเสียก่อน จึงจะทำการรักษา วิธีการรักษาจะมีการติดตามผลด้วยการให้คำปรึกษาโดยวิธีการน้ีเกิดจาก แนวความคิดของ Williamson อนุสาสกแห่งมหาวิทยาลัยมินเนโซตา U.S.A เขาเสนอว่า กระบวนการให้คำปรึกษามี ๕ ขน้ั ๑.๑ ผู้ใหค้ ำปรกึ ษาจะต้องสร้างความสนทิ สนม (Establish rapport) กบั ผูร้ บั ปรึกษาให้เกิดข้ึนเสยี ก่อน ทจ่ี ะให้คำปรึกษา ท้ังนี้เพ่ือใหเ้ กดิ ความค้มุ เคยเป็นกันเองและเกิดความ สบายใจทำให้ผรู้ บั คำปรึกษาเกดิ ความมนั่ ใจที่จะเลา่ หรือระบายความคบั ข้องใจหรือเลา่ ปญั หาของตน วิธีสร้างความสนิทสนม อาจทำได้โดย Counselor แสดงอาการหรือใช้คำพูด เช่น การให้ คำพูดทักทาย กล่าวต้องรับการสนทนาเรื่องราวที่คิดว่าผู้รับคำปรึกษาสนใจหรือไม่ลำบากใจท่ีจะคุย ด้วย ๑.๒ การท่ีจะทำให้ผู้รบั คำปรึกษาเกดิ ความเข้าใจตนเอง ยอมรับและพจิ ารณาปญั หา ของตนอย่างถ่องแท้ ผู้ให้คำปรึกษาอาจจะเสนอข้อเท็จจริง เสนอข้อมูลต่างๆ ที่เก่ียวกับปัญหานั้น และใชเ้ ทคนคิ วิธกี ารเพ่อื ให้ผู้รับคำปรึกษาเกิดความเขา้ ใจปัญหา ตัวอย่าง counselee - ผมเรยี นภาษาสเปนไมร่ ้เู รื่องเลย ไมท่ ราบจะทำอยา่ งไรดี counselor - เธอมีความรู้สึกว่าเรียนภาษาสเปนไม่เข้าใจ ทำแบบฝึกหัด ไมไ่ ด้ ไม่สามารถผ่านการทดสอบทกุ คร้ัง
จิตวทิ ยาสำหรับครู ๒๑๘ ๑.๓ วางแผนปฏิบัติหรือวางแผนการแก้ปัญหา เม่ือผู้รับคำปรึกษาเข้าใจปัญหาแล้ว ข้นั ต่อไปก็คือ วางแผนการแกป้ ัญหา counselee จะมีบทบาทอยา่ งสำคญั ในข้ันน้ี หากผูร้ ับคำปรึกษา ไม่สามารถวางแผนการแก้ปัญหาของตนได้ counselor จะต้องเป็นฝ่ายริเริ่มวางแผนให้ หรือช่วย วางแผน เพอื่ เปน็ การกระต้นุ ใหเ้ ดก็ เกิดความมั่นใจและร้จู กั เลือกตดั สินใจแก้ปัญหาของตน ตวั อยา่ ง counselee - ใช่ครับ และผมก็ต้องกานทีจ่ ะเรยี นภาษาสเปน counselor - การเบื่อภาษาสเปน คงทำให้เธอเกิดความคิดต้องการ จะไปปรึกษาขอคำแนะนำจากอาจารย์ทีเ่ ก่งภาษาสเปนเปน็ แน่ ๑.๔ ปฏิบัติการตามแผน เมื่อได้วางแผนแก้ปัญหาแล้ว เด็กจะปฏิบัติตามแผนที่วาง ไว้ผู้ให้คำปรึกษาจะกระตุ้นและช่วยให้เด็กใช้ความรู้ ความสามารถอย่างเต็มท่ีและคอยให้ความ ช่วยเหลือให้ข้อเสนอแนะอยูเ่ สมอ ๑.๕ การส่งผู้รับคำปรึกษาไปขอความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นการส่งเด็กไปขอ ความช่วยเหลือจากบุคลากรอื่น ไม่ได้หมายความว่าเป็นการส้ินสุดของการให้คำปรึกษา counselor ยงั จะตอ้ งติดตามผลการให้คำปรกึ ษาอยตู่ ่อไป ขอ้ สังเกตของการใหค้ ำปรึกษาแบบนำทาง ๑. counselor เป็นศูนย์กลาง ท้ังน้ีเพราะผู้ให้คำปรึกษาเป็นผู้ที่ได้รับการฝึกฝน อบรมมาเป็นอย่างดี เป็นผู้มีความรู้สึกซึ้งและกว้างขวางเป็นผู้ท่ีมีทักษะและมีประสบการณ์ในการให้ คำปรึกษา ๒. counselor จะต้องมีความสามารถในการวินิจฉัยปัญหา กล่าวว่า “ถ้าปราศจาก การวินิจฉัยปัญหาเสียแลว้ การให้คำปรึกษาก็เป็นแต่เพียงการฟังและการให้คำแนะนำธรรมดาเทา่ นั้น ” ๓. counselor จะรวบรวมข้อมูลต่างๆ เก่ียวกับเด็ก ศึกษาให้รู้จักและเข้าใจเด็ก เป็นอย่างดีวิธีการศึกษาให้รู้จักและเข้าใจเด็ก จะใช้เทคนิควิธีการและใช้เคร่ืองมือต่างๆ เช่น ศึกษา จากระเบยี นสะสม ๔. กระบวนการให้คำปรึกษาแบบนำทางประกอบดว้ ย ๔.๑ การวเิ คราะห์ (analysis) เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กโดยใช้ การสัมภาษณ์ แบบสอบถาม ระเบียนสะสม การทดสอบทางจิตวิทยา ข้อมูลต่างๆ น้ีจะช่วยให้เข้าใจ เด็กทัง้ ในอนาคตและปจั จุบัน ๔.๒ การสังเคราะห์ (synthesis) จัดข้อมูลท่ีจากการวิเคราะห์ไว้เป็น หมวดหมู่โดยแยกส่วนดี ส่วนบกพร่อง การปรับตัวได้ และปรับตัวไม่ได้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในข้ัน วนิ ิจฉัยตอ่ ไป ๔.๓ การวินิจฉัย (diagnosis) เป็นการแปลความหมายจากข้อมูลท่ีจัดไว้ เป็นหมวดหม่วู า่ ปญั หาคืออะไร ค้นหาสาเหตขุ องปัญหา ๔.๔ การทำนาย (prognosis) การทำนายคาดคะเนเหตุการณ์ล่วงหน้า เป็นการทำนายอย่างมีหลักเกณฑ์ จากข้อมูลที่ได้มาจะต้องพยายามคาดการณ์ล่วงหน้าให้ใกล้เคียง กบั ความจริงมากทีส่ ดุ
จติ วิทยาสำหรับครู ๒๑๙ ๔.๕ การให้คำปรึกษา (counseling) เป็นข้ัน ที่ (counselor) จะหาทาง ช่วยเหลือ Counselee ในการวางแผนร่วมกัน เพื่อให้ counselee ปรับตัวได้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณท์ จี่ ะเกิดขนึ้ ๔.๖ การตดิ ตามผล (follow up) เป็นการติดตามผลของการให้คำปรกึ ษา ว่าประสบผลสำเร็จมากน้อยเพียงใด หรือบางรายจะตอ้ งหาทางช่วยเหลอื ใหมห่ รือสง่ ตอ่ ไปยังผู้มี ความชำนาญเฉพาะอย่าง ๒.การใหค้ ำปรึกษาแบบไมน่ ำทาง (non-directive method) การให้คำปรึกษาแบบไม่นำทาง (non-directive method) เกิดจากความคิด ของ Carl Rogers ศาสตราจารย์ทางจิตวิทยา มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เขาไม่เห็นด้วยกับการให้ คำปรึกษาแบบ directive (นำทาง) ที่ถือเอาตัวผู้ให้คำปรึกษาเป็นกระบวนการซ่ึงผู้รับคำปรึกษา (counselee) ได้รับการช่วยเหลือให้รู้จักและเข้าใจตนเองการตัดสินใจใดๆ เป็นหน้าท่ีของผู้รับ คำปรึกษาที่จะวินจิ ฉัย จะตดั สินด้วยตนเอง โดยที่ Rogers มีความเช่อื ว่าการให้คำปรึกษา ดังนี้ ๒.๑ การให้คำปรึกษา counselor ไม่ควรวินิจฉัยปัญหา เพราะการวินิจฉัยปัญหา หรอื การทำนาย ซ่งึ เปน็ การคาดการณล์ ่วงหนา้ นั้น เป็นเรอ่ื งทไี่ ม่แน่นอนว่าจะถูกต้องเสมอไป หากการ วินิจฉยั หรอื ทำนายปญั หาผดิ ผลเสียจะเกดิ ขึ้นแก่เดก็ หรอื ผู้รบั คำปรกึ ษา ๒.๒ ควรถือ counselee เป็นศูนย์กลาง Rogers มีความเช่ือว่าคนทุกคนมีแนวโน้ม ทีจ่ ะเจริญข้ึนมีความสามารถท่ีจะแก้ปัญหาของตนเองได้ หากไม่ติดขัดที่ความรู้สึกบางอย่าง อันทำให้ เกิดความเข้าใจสภาพที่แท้จริงมืดมัวไป เช่น เร่ืองท่ีง่ายๆ แต่ถ้าตกอยู่ในสภาพอารมณ์เครียดอารมณ์ ขุ่นมัว ก็อาจทำให้เป็นเร่ืองยาก แก้ปัญหาได้อย่างลำบาก แต่ถ้าหากคนเราได้มีทางระบายอารมณ์ ความคับข้องใจ หรือความทุกข์ออกไปบ้าง ให้แก่ผู้ท่ีเราเชื่อถือหรือไว้ใจได้ ประกอบกับผู้ฟังมีเทคนิค วิธีการทจ่ี ะชว่ ยให้เขา้ ใจปญั หา จะชว่ ยให้ counselee เข้าใจปัญหาและสามารถแก้ปัญหาของตนได้ Rogers เชื่อว่า ผู้มาขอรับคำปรึกษาแต่ละคนย่อมมีศักดิ์ศรี และมีบูรณภาพของตน ย่อมจะต้องมีสมรรถภาพในการตัดสินในแก้ปัญหาของตน counselor ไม่ควรไปยุ่งจัดการกับวิถีชีวิต ของผู้รับคำปรึกษา แต่จะคอยให้ความช่วยเหลือให้เด็กเข้าใจตนเอง ยอมรับความเป็นตัวของตัวเอง กระบวนการใหค้ ำปรกึ ษาแบบไม่นำทางมีกระบวนการทส่ี ำคัญ ๓ ขน้ั ดังนี้ ๑) การให้ counselee ระบายความในใจ ระบายอารมณ์และผ่อนคลาย ความตึง เครียดเพ่ือทำให้จิตใจอย่ใู นสภาพปรกติ counselee จะได้รับการสนบั สนุนใหพ้ ูดหรือเล่าออกมาอยา่ ง เสรี โดยผู้ใหค้ ำปรกึ ษาจะไมอ่ อกความเหน็ หรือเสนอในการแก้ปัญหาใดๆ และจะไมแ่ สดงอาการตกอก ตกใจหรือเศร้าเสียใจไปตามเด็ก แต่จะเป็นผู้ฟังอย่างต้ังใจ พร้อมกับใช้เทคนิควิธีการของการให้ คำปรึกษา ๒) การใช้เทคนิคและวิธีการของการให้คำปรึกษา ช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาเข้าใจกับ ปญั หาเกิดความเข้าใจตนเอง และมองเห็นทางแก้ปญั หาอยา่ งแท้จรงิ ๓) การช่วยใหผ้ ้รู ับคำปรึกษาตง้ั จดุ มงุ่ หมาย และไดป้ ฏบิ ตั ทิ ุกขั้น ตอน Counselee เปน็ ผู้มีบทบาทต่อการตัดสนิ ใจ และตอ่ ผลทเี่ กดิ ขึ้น ๓.การให้คำปรึกษาแบบเลือก (Eclectic) บางคร้ัง เรียกวา่ แบบสายกลาง เป็นวิธีการที่ผู้ให้คำปรึกษาใช้วิธีการต่างๆ ซ่ึง Counselor พิจารณาเห็นว่าเหมาะสมกับ ลักษณะปัญหา และเหมาะสมกับตัวผู้รับคำปรึกษาแต่ละคน ซึ่งวิธีน้ีเป็นท่ียอมรับว่านำมาปฏิบัติได้ ตรงกับสภาพท่เี ป็นจรงิ ของบคุ คลได้มากท่ีสุดและนิยมใช้กันมาก
จิตวทิ ยาสำหรับครู ๒๒๐ ผู้น ำใน แน วทั ศ น ะน้ี คือ Frederick C.Thorne ซ่ึงร่วมงาน กับ Berensor, Carkhuff และ Brammer มีความเช่ือว่าการใช้วิธีการเดียวในการให้คำปรึกษาอาจจะจำกัดเกินไป ควรจะใช้ หลายๆ วิธีดีกว่า ไม่ใช้วิธีต่างๆ แบบลองผิดลองถูก แต่ควรมีการวางแผนเป็นอย่างดี ผู้ท่ีจะใช้การให้ คำปรึกษาแบบน้ีได้จะต้องเป็นผู้ท่ีมีความสามารถอยู่ในระดับสูงมาก จะต้องมีความรู้และความเข้าใจ ในทฤษฎี การให้คำปรึกษา ตลอดจนปรัชญาของการให้คำปรึกษาทุกทฤษฎีจนกระทั่งสามารถใช้ ความรู้เลือกสรรเอาเทคนิคที่ดที ีเ่ หมาะสม มาใช้กับผู้รบั คำปรึกษาเป็นรายๆ ไป ๙.๓.๓ ความคาดหวังของผ้มู าขอคำปรึกษา ส่งิ สำคญั ประการหน่ึงท่ีควรไดร้ บั การพิจารณา คือ การให้คำปรึกษาเชิงจติ วทิ ยาจะมีคณุ ภาพ หรือไม่ ข้ึนอยู่กับความคาดหวังของผมู้ าขอคำปรกึ ษา ผู้มาขอคำปรึกษาท่ีขาดความเข้าใจในธรรมชาติ ของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาท่ีชัดเจน จะทำให้ขาดความพร้อมที่จะแก้ปัญหาให้ถูกจุด ผู้ให้คำปรึกษาต้องชี้แจงให้ผู้มาขอคำปรึกษาเข้าใจข้อจำกัด และความเป็นไปได้ของการให้คำปรึกษา เชิงจิตวิทยา ตลอดจนเข้าใจถึงระยะเวลาที่ใช้ในการพูดคุยตลอดกระบวนการรวมถึงวิธีการนัดหมาย ยิง่ กว่าน้ัน ผู้ให้คำปรึกษา จะต้องตระหนกั ถึงความคาดหวังของผู้มาขอคำปรกึ ษาและพยายามกระตุ้น ให้ผ้มู าขอคำปรึกษาบอกความคาดหวงั ของเขาในการรับคำปรึกษาเชิงจิตวิทยา ส่วนใหญ่ของผู้มาขอคำปรึกษาจะคาดหวังจะได้รับคำตอบ หรือข้อแก้ไขของส่ิงท่ีเป็นปัญหา สำหรับเขา ผู้มาขอปรึกษาท่ีอยู่ในสภาวะตรึงเครียด ก็คาดหวังว่าคำปรึกษาท่ีได้รับจะทำให้เขาหาย เครียด ผู้ที่มีปัญหาในการตัดสินใจก็คาดว่าผู้ให้คำปรึกษาจะทำให้เขาตัดสินใจได้ ผู้ที่จะศึกษาต่อ อาจจะมองว่าการรับคำปรึกษาจะช่วยให้เขาสามารถไปศึกษาต่อไป ผู้ท่ีกำลังจะล้มเหลวในกิจการใด หรือสอบตก ก็คาดหวังว่าการรับคำปรึกษาจะทำให้เขากลับมาประสบความสำเร็จผู้มาขอคำปรึกษา จำนวนมาก คาดหวังจะต้องได้รับการแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง จากขบวนการให้คำปรึกษาและมี ไม่น้อยที่ผู้มาขอคำปรึกษาจะมาขอคำปรึกษา เม่ือถึงจุดวิกฤตแล้วโดยคิดว่าการให้คำปรึกษาเชิง จิตวิทยาจะช่วยแก้ปัญหาของเขาได้ ฉะนั้น ผู้ให้คำปรึกษาจะต้องหาวิธีการท่ีจะให้ผู้มาขอคำปรึกษา เข้าใจถึงจุดมุ่งหมาย และแนวทางดำเนินการตามขั้นตอนโดยเฉพาะผลท่ีสุดแล้ว จะต้องเป็นผู้มาขอ คำปรึกษาท่ีจะต้องเป็นผูก้ ระทำ ตดั สินใจ เปลี่ยนแปลงหรือแกป้ ัญหาโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ในสถานการณ์ เชน่ น้ีผู้ให้คำปรึกษาจะต้องเรียนรู้ท่ีจะตอบสนองความตอ้ งการเฉพาะหน้าในขณะน้ัน ในขณะเดียวกัน กต็ อ้ งดำเนนิ ขบวนการตามขัน้ ตอนจนถึงจุดหมายในขั้น สดุ ท้าย ๙.๓.๔ คุณลกั ษณะของผู้ใหค้ ำปรกึ ษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๘ไดน้ ำเสนอคณุ ลักษณะของผใู้ ห้คำปรึกษา ไว้ดงั น้ี ๑. ในดา้ นทัศนะต่อการมองโลกและมองปัญหาทเ่ี หมาะสม การท่ีจะเป็นผู้ให้การปรึกษาไม่ได้ขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพของบุคคลเพียงอย่างเดียวผู้ให้ปรึกษา มคี วามจำเป็นที่จะตอ้ งมที ศั นะในการมองโลกและมองปัญหาทเี่ หมาะสม คอื ควรมคี วามเข้าใจวา่ ๑.๑ มนุษย์ทกุ คน ทุกเพศ ทกุ วยั มปี ญั หาไดท้ ุกขณะ ทุกเมื่อ ทกุ เวลา ๑.๒ ปญั หาของมนุษย์ เม่ือเกิดขึ้นแลว้ คลี่คลายได้ แก่ไขได้ ๑.๓ ปญั หาของมนุษย์เกิดจากความปรารถนา ความคาดหวงั ไม่เปน็ ไปดั่งใจตน ๑.๔ มนุษยม์ ีความสามารถในการเข้าใจและปญั หาของตนเองได้ ๘ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, คู่มือฝึกอบรมแนะแนว, (รุงเทพมหานคร : คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๓), หนา้ ๒๒๗.
จติ วิทยาสำหรบั ครู ๒๒๑ ๒. ในดา้ นความพร้อมด้านจิตใจ ๒.๑ ผ้ใู ห้การปรึกษารับรเู้ ทา่ ทันกบั ความรสู้ ึกนกึ คดิ ของตน ๒.๒ ผู้ให้การปรกึ ษามคี วามเข้าใจ และเห็นใจในปัญหาและความทุกข์ใจของผู้อ่นื โดยมีความตง้ั ใจ มุ่งม่ันท่จี ะเข้าไปชว่ ยเหลอื ให้บคุ คลคลายจากปญั หาและความทกุ ข์ใจที่ประสบ ๓. ในด้านบคุ ลกิ ลกั ษณะท่ีจำเป็นของผใู้ ห้การปรกึ ษา ๓.๑ รจู้ กั และยอมรบั ตนเอง ๓.๒ อดทน ใจเยน็ ๓.๓ สบายใจทจี่ ะอยกู่ ับผู้อืน่ ๓.๔ จรงิ ใจและตง้ั ใจชว่ ยเหลอื ผูอ้ นื่ ๓.๕ มที า่ ทที ีเ่ ปน็ มติ ร ๓.๖ มองโลกในแง่ดี ๓.๗ ไวต่อความร้สู กึ ของผู้อ่ืน ช่างสงั เกต ๓.๙ รจู้ กั ใช้อารมณ์ขนั ๓.๑๐ เป็นผูร้ บั ฟงั ท่ดี ี ๓.๑๑ ชว่ ยแก้ปัญหา ๔. ในด้านองค์ความรู้ ๔.๑ เข้าใจองค์ความรู้ทเี่ ป็นแนวคดิ เกี่ยวกับความเข้าใจภาวการณ์เปล่ียนแปลงในใจ ของมนษุ ย์อย่างถอ่ งแท้ ๔.๒ สามารถประยุกต์แนวคิดต่างๆ มาใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างกลมกลืน สอดคล้องกบั วถิ คี ิดและการดำเนนิ ชีวิตของผมู้ ารบั การปรกึ ษา กฤตวรรณ คำสม๙ได้กล่าวถงึ คุณลกั ษณะของผู้ให้คำปรกึ ษา ดังนี้ ๑. ลักษณะความเป็นคนกับความเป็นผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ความเป็น ธรรมชาติคนมีความรู้สึก รู้ร้อน รู้หนาว ผิดพลาดได้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพ ผู้ให้คำปรึกษาควรจะมี ความรู้ในเชิงวชิ าชีพ เข้าใจจติ วทิ ยา พฤติกรรมมนษุ ย์ ศึกษาหาความรู้ เทคนิคและวธิ กี ารให้เชี่ยวชาญ การเป็นผู้เชีย่ วชาญ สามารถสร้างความมน่ั ใจและความหวังให้เกดิ ข้ึนกับผู้ท่ีจะมาขอคำปรึกษา อีกทั้ง ยังสามารถช่วยเหลอื ปญั หาตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๒. การยอมรับและความใส่ใจ ผู้ให้คำปรึกษาต้องมีความเช่ือว่า ทุกคนมี ความเป็นคนเหมือนกัน ผู้มาขอคำปรึกษาไม่ได้หมายความว่าจะด้อยกว่าเรา ผู้ให้คำปรึกษาต้อง ยอมรบั ผู้มาขอคำปรกึ ษาให้ได้เหมือนกับยอมรับตนเอง สังคมตะวนั ตก ตะวันออก เหมือนกนั คือ กลังคนอ่นื จะปฏิบตั ติ อ่ ตนเองวา่ ตนเอง ด้อยกว่า เวลามีปัญหาทเ่ี ขามาหาผู้ใหค้ ำปรกึ ษา เขาจะมาด้วยความระมัดระวัง คอยสงั เกตดวู า่ ผูใ้ ห้ คำปรึกษายอมรับเขาไหม ถา้ รู้สกึ ไม่แน่ใจ เขาจะไม่ให้ข้อมูลท่ีแท้จรงิ มีบ่อยครัง้ ทขี่ บวนการให้ คำปรึกษาไม่ประสบผลสำเร็จ เพราะไม่ได้ข้อมลู ทแี่ ทจ้ รงิ ๓. การเข้าใจและร่วมรับอารมณ์ การร่วมรับอารมณ์ ต้องเห็นอกเห็นใจ เข้าใจความรู้สึกเวลารับข้อมูลรับอย่างเข้าใจ เป็นการร่วมอารมณ์ (subjective) เวลาตีความออกมา ๙ กฤตวรรณ คำสม, เอกสารประกอบการสอน รายวิชาจติ วทิ ยาสำหรับครู, (อดุ รธานี: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี, ๒๕๕๗) หนา้ ๑๖๐-๑๖๑.
จิตวทิ ยาสำหรับครู ๒๒๒ ต้องมีข้อมูล(objective) มีเหตุผล การมีอารมณ์ร่วมมาก ก็ไม่ดี จะทำให้เรามีลักษณะลำเอียงไม่เป็น กลาง Rogers,๑๐ เน้นว่าผู้ให้คำปรึกษาต้องรับรู้ความรู้สึกของผู้มาขอคำปรึกษา ซ่ึงเป็น ความจริงของตัวเขา ตัวอย่าง โชเฟอร์ขับรถอยู่เห็นเงาตระคุ่มๆ คิดว่าเป็นก้อนหิน จึงหักหลบ คนท่ีจะทำหน้าที่ให้คำปรึกษา ต้องรู้สึกให้ได้ก่อนว่าความรู้สึกของโชเฟอร์เป็นอย่างไรเสียก่อน แล้ว คอ่ ยดูว่าความเป็นจริงคืออะไร หรือ ตัวอย่าง เด็กบางคนเกิดผดิ หวัง คิดอยากฆา่ ตัวตาย เราได้ยินแล้ว คิดว่า เด็กไม่ฉลาดเลยท่ีคิดอยากฆ่าตัวตาย ในลักษณะนี้จะตัดสินว่าเด็กไม่ฉลาดน้ันเราตัดสินใจไม่ได้ ตอ้ งใชอ้ ารมณร์ ว่ ม (Subjective) กอ่ น แลว้ จงึ หาขอ้ มลู ๔. แสดงออกถงึ ความอบอุ่นและมีความเป็นเพื่อนมนุษย์ เป็นการแสดงออก ถึงความต้ัง ใจจริง ที่จะให้ความช่วยเหลือ สื่อให้ผู้มาขอคำปรึกษาทราบถึงความใส่ใจทางกาย ระดับ เสียงน้ำเสียง และการสัมผัส ผู้ให้คำปรึกษาควรให้ความช่วยเหลือผู้ขอคำปรึกษาบนพื้ นฐาน ของความรู้สึกเป็นเพ่ือนมนุษย์ มีจิตใจพร้อมให้การช่วยเหลือผู้มีความทุกข์กังวล ต้องการความ ชว่ ยเหลอื ทจี่ ะแกไ้ ขหรือพัฒนาตนเอง ๕. ความจริงใจ และสือ่ ใหร้ ับรู้ได้ เปน็ การกระทำท่ผี ู้ให้คำปรึกษาไม่เสแสร้ง ไม่สวมหน้ากาก มีความเป็นตัวของตัวเอง เปิดเผย ผู้ให้คำปรึกษาต้องมีเทคนิคและทักษะในการสื่อ ถ้าไม่สามารถส่ือได้ ขบวนการให้คำปรึกษาก็ไม่มีผล ตัวอย่าง สิ่งที่สื่อได้เวลาเราไปหาพระ ถึงท่านยัง ไม่ได้เทศน์ เราสัมผัสความเมตตาได้ เราจะขยับตัวเข้าไปใกล้ขึ้นในขณะเดียวกันถ้าเราเข้าไปเรือนจำ เจอนักโทษเดินไปเดินมา เราจะผงะถอย ทั้งๆ ที่นักโทษนั้น ไม่สามารถออกมาจากที่คุมขังมาทำอะไร เราได้ ฉะน้ัน ระยะของผู้ให้คำปรึกษาก็สามารถสื่อได้ การมองตา การประสานตา เป็นการส่ือที่ดี ท่ีแสดงออกถงึ ความจริงใจ ใส่ใจ ๖. มีความเป็นธรรมชาติ สามารถแสดงความรู้สึกและความคิดต่างๆ ของตัวเองออกมาอย่างเปิดเผยและเป็นธรรมชาติ การแสดงความเปิดเผยและเป็นธรรมชาติของผู้ให้ คำปรึกษาจะช่วยให้ผู้มาขอคำปรึกษา เกิดความรู้สึกใกล้ชิดขึ้น นำไปสู่ความไว้วางใจ ขบวนการให้ คำปรึกษาก็จะมีประสิทธิภาพดีข้ึนผู้ให้คำปรึกษาไม่เป็นธรรมชาติจะพยายามแสดงตามบทบาท ที่ตนเองคิดว่าผู้ให้คำปรึกษาควรจะแสดงอย่างนั้น อย่างน้ีคนที่ไม่เป็นธรรมชาติจะทำอะไรก็กลัวว่า จะถูกไหม จะดีไหมตลอดเวลา ๗. มีความไวต่อการรับรู้ ผู้ให้คำปรึกษาควรไวต่อการรับรู้ ความรู้สึกนึกคิด ของผู้มาคำปรึกษาและส่ิงที่เกิดข้ึน ในขบวนการให้คำปรึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการกับ ปัญหาของผู้มาขอคำปรึกษา อย่างไรก็ตามมีข้อควรพิจารณาสำหรับผู้ให้คำปรึกษาในเรื่องไวต่อการ รับรู้กับการความรู้สึกไว คนเราถ้าไวต่อการรับรู้ ก็จะดีในแง่ท่ีเรารับข้อมูลได้ง่าย แต่ถ้าความรู้สึกไว จะไมค่ ่อยดี เพราะบางครงั้ ไม่มขี ้อมูล กต็ ีความหมายแล้ว ทำให้เกิดความร้สู ึกต่างๆ ได้ง่าย เช่น โกรธ เจ็บปวด ๘. ไว้วางใจได้ การสรา้ งความไว้วางใจไมใ่ ชส่ ่ิงทที่ ำขึ้น มางา่ ยๆ ผใู้ ห้ปรึกษา ท่ีน่าไว้วางใจจะต้องเป็นคนซื่อตรง เช่ือถือได้ ฟังได้ และช่วยให้ผู้มาขอคำปรึกษา สามารถระบายส่ิง ต่างๆ ที่อยู่ภายในออกมาได้ เม่ือผู้มาขอคำปรึกษาเกิดความไว้วางใจ ก็จะสามารถเปิดเผยความลับ ส่วนตวั ของเขาได้ ซึ่งจะทำให้ขบวนการให้ความชว่ ยเหลอื ไดผ้ ลมากขนึ้ ๑๐ Rogers, On Becoming a person: A psychotherapists view of psychotherapy. London: Constable, 1961, p.91.
จติ วิทยาสำหรับครู ๒๒๓ ๙. มีความเป็นอิสระ ผู้ให้คำปรึกษาควรให้อิสระกับผู้มาขอคำปรึกษา เพ่ือจะตัดสินใจกับแนวทางการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่ใช่มีสูตรสำเร็จรูปให้เขาทักษะการให้คำปรึกษา ทักษะการให้คำปรึกษา คือความสามารถหรือความชำนาญในการสื่อสาร ทั้งการใช้ภาษาท่าทางและ ภาษาพูด ซ่ึงเป็นเครื่องมือสำคัญของผู้ให้คำปรึกษาในการช่วยเหลือบุคคลที่มีความทุกข์หรือผู้รับ คำปรกึ ษาให้ ๑) มคี วามไว้วางใจและมีทัศนคติทด่ี ตี ่อผ้ใู หค้ ำปรึกษาและการปรกึ ษา ๒) เขา้ ใจปญั หา สาเหตขุ องปัญหาและความต้องการของตัวเอง ๓) แสวงหาและแนวทางการปรับเปลี่ยนการคิด การรู้สึกและการปฏิบัติตนเพ่ือให้มี ชวี ิตท่ดี ีข้ึน นักจิตวิทยาด้านการปรึกษานำเสนอทักษะการให้คำปรึกษาท่ีแตกต่างกันออกไปแต่โดยรวม แล้วทักษะการให้คำปรึกษาที่เป็นทักษะพ้ืน ฐานเบื้องต้นในการส่ือสารจะประกอบด้วยทักษะ ดงั ต่อไปน้ี๑๑ ๑. ทักษะการใสใ่ จ (Attending Skill) การใสใ่ จเป็นพฤติกรรมของผ้ใู หค้ ำปรึกษาทแ่ี สดงออกดว้ ยภาษาพดู หรือภาษา ท่าทางซึ่งบอกถงึ ความกระตือรอื ร้นที่จะช่วยเหลอื ผู้รับคำปรึกษา โดยการแสดงความสนใจ การเหน็ ความสำคญั และการให้เกยี รติ เพ่อื ช่วยให้ผ้รู บั คำปรึกษาเกิดความอบอนุ่ ใจและไม่รสู้ กึ หา่ งเหนิ ๑.๑ วัตถปุ ระสงค์ ๑.๑.๑ แสดงความสนใจ เห็นความสำคญั และใหเ้ กยี รติผรู้ ับ คำปรึกษา ๑.๑.๒ เปน็ การแสดงความกระตอื รือรน้ ท่ีจะใหค้ วามช่วยเหลอื ๑.๑.๓. เพ่ือช่วยเพิ่มพูนความอบอ่นุ ใจใหผ้ รู้ บั คำปรึกษา ๑.๒ ลกั ษณะของการเอาใจใส่ ลักษณะของการใสใ่ จในการใหค้ ำปรกึ ษาแบ่ง ๓ ลกั ษณะ ดงั นี้ ๑.๒.๑ การใส่ใจโดยการแสดงออกด้วยภาษาพูด เป็นการพูด ต่อเน่ืองในเรื่องเดียวกันกับท่ีผู้รับคำปรึกษาได้พูดให้ฟังในขณะน้ัน แสดงการรับรู้และเข้าใจในทัศนะ และแนวคดิ ของผูร้ ับคำปรกึ ษา ๑.๒.๒ การใส่ใจโดยการแสดงออกด้วยภาษาทา่ ทาง เป็นการแสดง พฤติกรรมต่างๆท่ีไม่ใช่คำพูด แต่มีความหมายซึ่งสื่อถึงความเข้าใจและการยอมรับความคิด และความรู้สึกของผู้รับคำปรึกษา ภาษาท่าทางมีความหมายและน้ำหนักมากกว่าภาษาพูด ภาษา ทา่ ทางท่ีผู้ใหค้ ำปรึกษาควรแสดงออกขณะใหค้ ำปรึกษาประกอบด้วย ๑.๒.๒.๑ การประสานสายตากับผู้รับคำปรึกษา เป็นการ แสดงความสนใจในสิ่งท่ีผู้มาขอรับคำปรึกษากำลังพูดอยู่ แต่ไม่ควรจ้องมองมากเกินไปเพราะจะทำให้ ผู้รับคำปรึกษารู้สกึ อึดอดั ได้ ๑.๒.๒.๒ การแสดงออกทางสีหนา้ ทา่ ทางการเคล่ือนไหว และระยะหา่ งผู้ให้คำปรกึ ษาควรมีการแสดงออก ดังนี้ ๑๑ มลั ลวีร์ อดลุ วฒั นศริ ิ, เทคนคิ การใหค้ ำปรกึ ษา : การนำไปใช้, (ขอนแก่น : โรงพมิ พค์ ลังนานา, ๒๕๕๒), หน้า ๗๖.
จติ วิทยาสำหรบั ครู ๒๒๔ ๑) การแสดงออกทางสีหนา้ ท่ีอบอนุ่ เปน็ มติ ร และสอดรบั กบั เร่อื งราวของผ้รู ับคำปรกึ ษา ๒) การวางตัวท่ีโน้มตัวเข้าหาผู้รับคำปรึกษา เป็นการแสดงความตง้ั ใจและใสใ่ จ ๓) การแสดงออกทางสีหน้าและท่าทางควรมี ความอดคล้อง ๔) การนั่งหรือยืนให้มีระยะห่างระหว่างผู้ให้ และผู้รบั คำปรกึ ษาที่พอเหมาะ คือ ประมาณ ๓ – ๕ ฟุต ๑.๒.๓ น้ำเสียงการพูด จังหวะการพูด ความดังหรือเบาของเสียง ระดับเสียง ความมีชีวิตชีวาของน้ำเสียง การเน้นคำต้องมีความสัมพันธ์ต่อสิ่งที่ผู้รับคำปรึกษาได้พูด ออกมาแลว้ นอกจากทง้ั ๓ ขอ้ ทไ่ี ด้กล่าวมาแล้ว ใหค้ ำปรึกษาควรแตง่ กายสุภาพเหมาะสมกับโอกาส ๑.๓. แนวทางปฏบิ ัติ ๑.๓.๑ ในขณะท่ีผู้ให้คำปรึกษากำลังฟังผู้รับคำปรึกษาอยู่น้ัน ควรประสานสายตากับผู้รับคำปรึกษาในลักษณะที่เป็นธรรมชาติ หรือพยักหน้าเล็กน้อยในขณะท่ีรับ ฟัง ๑.๓.๒ ผู้ให้คำปรกึ ษาพูดตอบรับภายหลงั จากทีผ่ ู้รับคำปรึกษาพดู จบ เช่น “ครบั ค่ะ” หรือพดู ซ้ำประโยคทผ่ี รู้ ับคำปรกึ ษากล่าวไว้ ๑.๓.๓ ใช้คำพูดท่ีสัมพันธ์กับคำพูดของผู้รับคำปรึกษา โดยไม่มี การขัดจังหวะ จะช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาได้สำรวจเรื่องราวของตนเองต่อไป และเป็นส่ิงท่ียืนยันว่าผู้ให้ คำปรกึ ษากำลังฟงั เขาอยูด่ ว้ ยเชน่ เดียวกัน ๑.๓.๔ ลักษณะท่าทางของผู้ให้คำปรึกษาจะต้องมีท่าทีผ่อนคลาย ไม่เกร็งหรือเคร่งเครียด เพราะจะทำให้ผู้รับคำปรึกษา ตึงเครียดไปด้วย ควรน่ังโน้มตัวไปข้างหน้า พอสมควร เว้นระยะห่างประมาณ ๓ ฟุต ลักษณะท่าทีและการนั่งก็เป็นสิ่งท่ีสำคัญประการหน่ึง ท่ีจะแสดงถึงความสนใจ เอาใจใส่ต่อผู้รับคำปรึกษาการเอาใจใส่ในการให้คำปรึกษาจะช่วยให้ผู้รับ คำปรึกษาลดความประหม่าความวิตกกังวล มีความรู้สึกปลอดภัย อบอุ่นใจ ม่ันใจในการเริ่มเล่า ประเดน็ ปญั หาของตนเอง ๒. ทกั ษะการนำ (Navigation skills) ทกั ษะการนำนี้เป็นทกั ษะในการท่ีผูใ้ ห้คำปรึกษาพดู นำผู้รบั คำปรึกษาไปในทิศทางที่ ผใู้ ห้คำปรึกษาคิดว่าจะทำใหผ้ ู้รบั คำปรึกษาไดป้ ระโยชน์สงู สุดในการมาขอรับคำปรกึ ษา ๒.๑ วัตถุประสงค์ ๒.๑.๑ กระตุน้ ให้ผรู้ ับคำปรึกษากลา้ ทจี่ ะพูดคยุ กมากขนึ้ ๒.๑.๒ เปิดประเด็นปญั หาของผูร้ ับคำปรึกษา ๒.๑.๓ ใหผ้ ูร้ บั คำปรึกษาเลอื กประเด็นปัญหาทตี่ อ้ งการปรกึ ษา ๒.๑.๔ กระตุ้นให้ผรู้ บั คำปรึกษาสำรวจปัญหาและนำเสนอ ความร้สู กึ ของตวั เองมากข้นึ ๒.๒ แนวทางปฏิบัติ
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๒๕ ๒.๒.๑. กำหนดวัตถุประสงค์ของการนำให้ชัดเจน ว่าต้องการนำ โดยให้อิสระแก่ผู้รับคำปรึกษาในการพูดถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามที่เขาต้องการ หรือต้องการนำใน ประเดน็ ใดประเด็นหนึง่ เฉพาะเจาะจง ๒.๒.๒ ใชป้ ระโยคบอกเลา่ เพ่ือเป็นการนำให้ผู้รับคำปรึกษาพดู ๒.๒.๓ ใช้การถามเพอื่ ให้ผรู้ ับคำปรึกษาแสดงความร้สู ึกหรือความ คดิ เหน็ หรอื รายละเอียดเพ่มิ เติม ๓. ทักษะการถาม (Question Skill) การถาม เป็นทักษะท่ีสำคัญในการให้คำปรึกษา เพราะสิ่งท่ีต้องกระตุ้นให้ผู้รับ คำปรึกษาได้เล่าเรื่องราวที่ต้องการปรึกษา รวมท้ัง ความรู้สึกนึกคิดตลอดจนความเช่ือของผู้รับ คำปรึกษา ๓.๑ วัตถปุ ระสงค์ ๓.๑.๑ เพื่อให้โอกาสผู้รับคำปรึกษาได้บอกถึงความรู้สึกและ เรือ่ งราวต่างๆ ท่ีต้องการจะปรึกษา ๓.๑.๒ เพื่อให้ผู้รับคำปรึกษาได้สำรวจและคิดคำนึงเรื่องราวของ ตวั เองเพือ่ เข้าใจตัวเองมากขึ้น ๓.๑.๓ เพื่อให้ได้ข้อมูล แนวทางแก้ไขปัญหาและแผนการปฏิบัติ ตามแนวทางดงั กล่าว ๓.๒ แนวทางปฏบิ ตั ิ ๓.๒.๑ กำหนดวัตถุประสงค์ของการถามว่าต้องการข้อมูลแบบใด จากผู้รับคำปรึกษาแล้วการต้ัง คำถาม ซึ่งมีอยู่ ๒ แบบ คือ การถามแบบปลายเปิดและการถามแบบ ปลายปิด การถามแบบปลายเปิด เม่ือต้องการให้ผู้รับคำปรึกษาได้พูดเล่าความรู้สึกหรือ เร่ืองราวของเขาอย่างอิสระ มักจะลงท้ายประโยคด้วย “อะไร อย่างไร”การถามแบบปลายปิด เม่ือ ต้องการคำตอบส้ันและเฉพาะเจาะจงมักจะลงท้ายประโยคดว้ ย “ ไหม เหรอ หรือไม่ หรอื ยงั รึเปล่า ” โดยทั่วไปแล้วผู้ให้คำปรึกษาควรใช้คำถามแบบเปิด เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้รับคำปรึกษาได้ตอบตามที่ ต้องการอย่างเต็มท่ี และจะช่วยให้ผู้รบั คำปรึกษาไม่รู้สกึ ว่าถูกซักถามมากเกินไป จากการถามแบบปิด เพราะได้ขอ้ มลู น้อย ผ้ใู ห้คำปรกึ ษาต้องถามบอ่ ยเพอื่ ให้ไดข้ ้อมลู ทีต่ ้องการ ๓.๒.๒ สังเกต และฟังอย่างต้ัง ใจ หลังจากนั้น สรุป/ทวนซ้ำ ประเด็นทต่ี ้องการขอ้ มูลและรายละเอียดก่อนแล้วจงึ ตง้ั คำถาม ๓.๒.๓ เม่ือถามแล้วให้ฟังคำตอบของผู้รับคำปรึกษาอย่างใส่ใจ เพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู ของผูร้ บั คำปรึกษาไว้ ๓.๒.๔ ไมค่ วรถามบ่อยเกนิ ไป เพราะอาจทำให้ผูร้ ับคำปรึกษา รำคาญ และต่อต้านการให้คำปรึกษาได้ ๓.๒.๕ หลีกเล่ียงการถามด้วยคำถาม “ทำไม” เพราะคำถามที่เร่ิม ด้วย “ทำไม”มักจะทำให้ผู้รับคำปรึกษารู้สึกว่าตนเองผิด และคิดหาคำตอบที่เหมือนเป็นการแก้ตัว และคำถาม“ทำไม” ไม่ได้ช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาได้เล่าระบายความรู้สึกทุกข์/ไม่สบายใจ ซึ่ง วัตถุประสงค์หลักของการให้คำปรึกษาคือ การให้โอกาสในการเลา่ ระบาย
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๒๖ ๔. ทกั ษะการเงียบ ( Silence Skill) การเงียบเป็นอีกทักษะหนึ่งท่ีผู้ให้คำปรึกษาใช้ช่วงระยะเวลาระหว่างการปรึกษา ท่ีไม่มีการสื่อสารด้วยวาจาระหว่างผู้ให้คำกับผู้รับคำปรึกษา แต่ยังคงมีการสื่อสารทางอารมณ์ และความรู้สึก ๔.๑ วัตถปุ ระสงค์ ๔.๑.๑ เพอ่ื ใหผ้ ู้รบั คำปรึกษาได้คิดทบทวนเร่อื งราวของตัวเอง และทำความ เขา้ ใจในส่ิงทีเ่ ขาพดู หรอื รสู้ ึก ๔.๑.๒ เพ่ือให้ผู้รับคำปรึกษาได้หยุดพักหลังจากแสดงอารมณ์โกรธ เสียใจ เช่น บ่น ร้องไห้ ๔.๑.๓ เพอ่ื แสดงความใส่ใจและรว่ มรับร้แู ละเขา้ ใจในอารมณ์และความรสู้ ึก ของผู้รับคำปรกึ ษาทีเ่ กิดขน้ึ ในขณะนั้น ๔.๒. แนวทางปฏิบัติ ๔.๒.๑ เมื่อผู้รับคำปรึกษาน่ิงเงียบ ผู้ให้คำปรึกษาควรประเมินว่าท่ีผู้รับ คำปรกึ ษาเงยี บนน้ั เงยี บเพราะสาเหตุใด ดังเชน่ - รสู้ ึกเศร้า สะเทือนใจ จนพดู ตอ่ ไปไม่ได้ - เหนอ่ื ยล้าจากการร้องไห้ หรอื เล่าระบายความรูส้ ึกทร่ี ุนแรง - คดิ ทบทวนเร่ืองราวของตวั เอง - จบประเดน็ หรอื เร่ืองราวน้นั ๆแล้วหรอื กำลังคดิ ถึงเร่ืองที่จะพูดต่อไป ซึ่งเหตุผลดังกล่าวเป็นการเงียบท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการให้คำปรึกษา ดงั น้ัน ผู้ให้คำปรึกษาไม่ควรรบกวนความเงยี บนนั้ ควรรอจนกระทั่งผรู้ ับคำปรกึ ษาพร้อมที่จะพูดต่อไป ซ่ึงอาจใช้เวลาในการรอคอย ๕-๑๐ วินาที หากผู้รับคำปรึกษาเงียบนานพอสมควรแล้วและไม่พูดต่อ ผู้ให้คำปรกึ ษาอาจดำเนินการ ดังนี้ ๔.๒.๑ พูดใหก้ ำลังใจ หรอื แสดงความเขา้ ใจ เห็นใจ ๔.๒.๒ สะทอ้ นเน้ือ หาและความรู้สกึ ของผู้รับคำปรึกษาเก่ียวกับสิ่งทกี่ ำลงั พูดถงึ กอ่ นทจ่ี ะมกี ารเงียบเกดิ ขึ้น ๔.๒.๓ ถามถึงความหมายของการเงียบโดยสรุปเน้ือหาท่ีพูดถึงก่อนท่ีผู้รับ คำปรกึ ษาจะเงียบไป ๔.๒.๔ ถามถึงความรู้สึกของผ้รู ับคำปรึกษาในขณะท่ีเงียบ โดยสรุปเนื้อ หา ทีพ่ ดู ถงึ ก่อนท่ีผู้รับคำปรกึ ษาจะเงยี บไป ๔.๒.๕ หากผู้ให้คำปรึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่าการที่ผู้รับคำปรึกษาเงียบไป นานนน้ั อาจมีสาเหตุมาจากต่อต้านการมาพบผูใ้ ห้คำปรึกษา เพราะถูกบังคับให้มา ผู้ให้คำปรกึ ษาควร แสดงความเข้าใจ เห็นใจ และพูดถึงความต้ัง ใจ ความใส่ใจและเต็มใจท่ีจะช่วยเหลือผู้รับคำปรึกษา รวมท้ัง หลักการ วิธีการและประโยชน์ของการให้คำปรึกษา เพ่อื ช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาเกดิ ทัศนคติท่ีดี ต่อการถูกเชิญพบ และประโยชน์ที่เขาจะได้รับจากการรับ หรือผู้รับการปรึกษาอาจจะประหม่า หวาดกลัวต่อการถูกเรียกพบ ผู้ให้คำปรึกษาควรชวนพูดคุยเรื่องท่ัวไป และแสดงท่าทางท่ีอบอุ่น เป็นมิตร เพอื่ สร้างความเป็นกนั เองให้ผ้รู ับคำปรกึ ษาร้สู ึกผ่อนคลาย ” ๔.๒.๖ ไม่ควรพูดเพื่อลดความรู้สึกอึดอัดของผู้ให้คำปรึกษาท่ีทนให้มี การเงียบเกิดข้ึน ในระหว่างการสนทนาไม่ได้ ให้อดทนตอ่ ความเงยี บและใช้การเงียบให้เป็นประโยชน์
จิตวทิ ยาสำหรับครู ๒๒๗ ในการใหค้ ำปรึกษา เพราะการฟังผรู้ ับคำปรึกษาอย่างสงบ หรือนั่งอยกู่ บั เขาเงยี บๆ เมอ่ื ผู้รบั คำปรกึ ษา มีสภาพอารมณ์ที่รุนแรง เช่น โกรธมาก เสียใจมาก ร้องไห้ เป็นการเปิดโอกาสให้เขาได้แสดงอารมณ์ อย่างเต็มที่โดยไม่มีการรบกวนและยังเป็นการแสดงว่าผู้ให้คำปรึกษาเข้าใจความรู้สึกของเขาจะเป็ น ผลดกี บั การให้คำปรกึ ษามากกว่าการปลอบโยน หรือซักถามความรสู้ ึกในขณะน้ัน ๕. ทกั ษะ การสะท้อนกลบั (Reflection Skill) การสะท้อนกลับ เป็นการบอกความเข้าใจของผู้ให้คำปรึกษาที่มีต่อสิ่งที่ผู้รับ คำปรึกษารู้สึกรับรู้หรือสนใจที่เป็นปัจจุบันขณะให้คำปรึกษา การสะท้อนกลับจะรวมความรู้สึก ของผู้รับคำปรึกษาและเน้ือ หาที่ผู้รับคำปรึกษาพูดถึง หรือสิ่งท่ีผู้ให้คำปรึกษาสังเกตเห็นจากกริยา ทา่ ทางของผู้รับคำปรกึ ษา และเน้ือ หาทผี่ ู้รับคำปรึกษาใหค้ วามสำคัญ โดยใชค้ ำพดู ของผู้ให้คำปรึกษา และท่ชี ัดเจนเขา้ ใจได้งา่ ยขนึ้ ๕.๑ วตั ถปุ ระสงค์ ๕.๑.๑ เพื่อกระตุ้นให้ผู้รับคำปรึกษาแสดงความรู้สึกและเปิดเผย เรอ่ื งราวของตนเองใหม้ ากข้นึ หรอื ชัดเจนข้ึน ๕.๑.๒ เพ่ือให้ผู้รับคำปรึกษาเข้าใจปัญหา รวม ทั้งสาเหตุ และผลกระทบท่เี กิดขึ้น ตลอดจนเกดิ ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ ของตวั เองมากข้ึน ๕.๑.๓ เพ่ือแสดงความสนใจและเข้าใจความรู้สึกและเร่ืองราว ของผรู้ บั คำปรึกษา ๕.๒ แนวทางปฏิบตั ิ ๕.๒.๑ พยายามสังเกตพฤติกรรมของผู้รับคำปรึกษาขณะให้ ปรกึ ษา เช่น ลกั ษณะคำพูด น้ำเสยี ง สหี นา้ ๕.๒.๒ หาคำที่ตรงกบั ความรู้สกึ ของผู้รับคำปรกึ ษามากท่สี ุด โดย ใช้ภาษาท่เี ข้าใจไดง้ า่ ย ๕.๒.๓ จบั ประเดน็ สำคัญของส่ิงทีผ่ ู้รับคำปรกึ ษาพูด ๕.๒.๔ รวมความรู้สกึ และเน้ือ หาท่ผี ู้รับคำปรึกษาแสดงหรือพูดถึง เข้าด้วยกันแล้วใช้คำพูดท่ีชัดเจน เข้าใจได้ง่าย โดยพูดออกไปทันทีเพ่ือสะท้อนส่ิงท่ีผู้รับคำปรึกษา กำลังรู้สึกหรือรับรู้ โดยอาจพูดความรู้สึกก่อนแล้วตามด้วยเน้ือ หาหรือเริ่มด้วยเนื้อ หาก่อนแล้วตาม ดว้ ยความรสู้ ึก ในการสะท้อนความร้สู ึกควรหลกี เลีย่ งที่จะใช้คำวา่ “รู้สกึ ”บ่อย ๖. การซำ้ ความ /การทวนความ ( Paraphrasing Skill ) การซ้ำความ หรือ การทวนความ เป็นทักษะท่ีผู้ให้คำปรึกษาพูดซ้ำในเรื่องท่ีผู้รับ คำปรึกษาบอกอีกครั้ง หนึ่ง โดยคงสาระสำคัญของเน้ือ หา หรือความรู้สึกไว้ตามเดิม แต่ใช้คำพูด นอ้ ยลง การทวนความ หมายถึง การทีผ่ ู้ให้คำปรึกษาทวนซำ้ ในสาระสำคัญทผ่ี ู้รับคำปรกึ ษา ได้พูดไปแล้ว แต่ไม่ได้หมายถึงการทวนซ้ำ ตลอดเวลาเหมือนนกแก้วนกขุนทองจุดมุ่งหมาย ของการทวนความ มี ๒ อย่าง คือ ส่ือให้ผู้รับคำปรึกษารู้ว่าผู้ให้คำปรึกษาเข้าใจในเนื้อ หาท่ีเขาพูดได้ ถกู ตอ้ งและเป็นการเน้นขอ้ ความทคี่ วรเนน้ ๖.๑ วัตถุประสงค์ ๖.๑.๑ เพอ่ื แสดงถึงความใสใ่ จ ความเขา้ ใจของผู้ให้คำปรึกษาทีม่ ี ตอ่ ผู้รับคำปรึกษา
จติ วิทยาสำหรับครู ๒๒๘ ๖.๑.๒ เพอื่ ให้ผรู้ ับคำปรกึ ษาเปิดเผยตัวเองมากข้นึ ๖.๑.๓ เพ่ือย้ำ ให้ผู้รับคำปรึกษาเข้าใจในส่ิงท่ีตัวเองพูดได้ชัดเจน ย่ิงข้นึ จากการฟงั สิง่ ที่ตวั เองพูดอีกคร้ัง ๖.๑.๔ ช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาชัดเจนและตรงประเด็นในส่ิงท่ีเขา ต้องการพดู ๖.๑.๕ เพื่อตรวจสอบความเข้าให้ตรงกันของผู้ให้และผู้รับ คำปรกึ ษาในสิง่ ทีผ่ ู้รับคำปรกึ ษากำลงั พดู ถงึ ๖.๒ แนวทางปฏบิ ัติ ต้ังใจฟังในสิ่งท่ีผู้รับคำปรึกษาพูด แล้วพิจารณาว่าคำพูดใดของผู้รับ คำปรึกษาที่น่าจะเป็นประเด็นสำคัญ ท่ีควรเน้น/ย้ำ เป็นพิเศษ เพื่อกระตุ้นให้ผู้รับคำปรึกษาได้เล่า อย่างต่อเน่ืองหรือให้รายละเอียดเพิ่มเติม ให้พูดข้อความ/ประโยค/คำพูดน้ัน ซ้ำ โดยอาจจะพูดซ้ำ ความ/ทวนความตามแนวทางปฏิบัติ ดงั น้ี ๖.๒.๑ ซำ้ /ทวนความน้นั ทงั้ หมดโดยเปล่ยี นเฉพาะสรรพนาม ๖.๒.๒ ซำ้ /ทวนความเฉพาะประเดน็ สำคญั ๖.๒.๓ หลีกเลี่ยงการซ้ำ ความ/ทวนความบ่อยๆ เพราะจะทำให้ ผู้รบั คำปรึกษารู้สึกอึดอัด หรอื เหมือนถูกลอ้ เลียนและไมแ่ นใ่ จในความสามารถของผ้ใู หค้ ำปรกึ ษา ๖.๒.๔ ซ้ำ ความ/ทวนความโดยไม่เพิ่มเติมความคิดเห็นของผู้ให้ คำปรกึ ษาลงไป ๖.๒.๕ เม่ือซ้ำ ความ/ทวนความแล้ว ให้สังเกตการตอบสนอง ของผู้รับคำปรึกษาถ้าผู้ให้คำปรึกษาซ้ำ ความ/ทวนความได้ถูกต้อง ผู้รับคำปรึกษาจะพยักหน้า ตอบรับและพูดหรือขยายความต่อ ในกรณีที่ผู้รับคำปรึกษาไม่มีปฏิกิริยาตอบสนอง ผู้ให้คำปรึกษา อาจใช้ทกั ษะการถามเปดิ ร่วมดว้ ย ๗. ทักษะการใหก้ ำลังใจ การให้กำลังใจ เป็นการแสดงความสนใจ เข้าใจในสิ่งท่ีผู้รับคำปรึกษาพูดและ สนบั สนนุ ให้เขาพดู ตอ่ ไป โดยใชค้ ำพดู หรือท่าทาง ๗.๑. วตั ถปุ ระสงค์ ๗.๑.๑ กระตุ้นให้ผู้รับคำปรึกษากระตือรือร้นและมั่นใจในตนเอง รวมทง้ั ตระหนักในความสามารถและคณุ ค่าในตัวเอง ๗.๑.๒ กระตุ้นให้ผู้รับคำปรึกษากล้าที่จะคิดและทำ ในส่ิงที่ไม่เคย คดิ หรอื ทำมาก่อน ๗.๒ แนวทางปฏิบตั ิ เมื่ อ ผู้ รั บ ค ำ ป รึ ก ษ าเส น อ ค ว า ม คิ ด ห รื อ แ น ว ท าง แ ก้ ไข ปั ญ ห าท่ี ถู ก ต้ อ ง เหมาะสมหรือผู้รับคำปรึกษามีความพร้อมท่ีจะปรับปรุงพัฒนาตนเองแต่ยังลังเลใจ ผู้ให้คำปรึกษาก็ อาจใชก้ ารใหก้ ำลังใจ โดยใช้แนวทางต่อไปนี้ ๗.๒.๑ มองหนา้ สบตา ย้ิม ผงกศรี ษะ ตอบรบั ส้ัน ๗.๒.๒ ทวนซ้ำ คำสำคัญๆ ท่ีผู้รับคำปรึกษาพูดถึงรวมทั้ง ยิ้มมอง หนา้ สบตาผรู้ ับคำปรึกษา
จิตวิทยาสำหรบั ครู ๒๒๙ ๗.๒.๓ ใช้คำพูดกระตุ้นให้ผู้รับคำปรึกษาเกิดความมั่นใจ มี ความหวังและกำลงั ใจทีจ่ ะคิดหรอื ทำในสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นจริงได้ ๗.๒.๔ หลีกเลี่ยงการสร้างความหวังและการปลอบใจท่ีไม่อาจเป็น จรงิ ได้ หรือใช้การให้กำลงั ใจเพ่ือกลบเกล่อื นความร้สู กึ ท้อแท้ของผรู้ บั คำปรึกษา ๘. ทักษะการสรุปความ (Summarizing Skill ) การสรุปความ เป็นการรวบรวมใจความสำคัญทั้ง หมดของความคิด อารมณ์ ความรู้สกึ ของผรู้ ับคำปรกึ ษาท่เี กิดขน้ึ ในระหว่างให้คำปรึกษาหรือในแตล่ ะครั้ง โดยใช้คำพูดสั้นๆให้ได้ ใจความสำคญั ทงั้ หมด ๘.๑ วัตถปุ ระสงค์ ๘.๑.๑ เพอ่ื ยำ้ ประเดน็ สำคญั ให้มคี วามชัดเจนในกรณที ่ีมีการ พดู คุยกันหลายประเดน็ ๘.๑.๒ เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับคำปรึกษาเขา้ ใจเรอื่ งราวและความรู้สกึ ของ ตัวเอง ๘.๑.๓ เพอื่ ใหก้ ารใหค้ ำปรึกษาแตล่ ะครั้ง มีความต่อเนื่องกัน ๘.๑.๔ เพอ่ื ช่วยใหผ้ รู้ บั คำปรึกษาและผู้ให้คำปรกึ ษาเขา้ ใจเรื่องราว ทก่ี ำลงั สนทนาได้อย่างถูกต้องตรงกนั และไดใ้ จความท่ีชัดเจน ๘.๒ แนวทางปฏิบตั ิ ผู้ให้คำปรึกษาพยายามจับประเด็นสำคัญทั้งเนื้อหาที่ผู้รับคำปรึกษาพูด และความร้สู กึ ทผี่ ู้รบั คำปรึกษาแสดงแลว้ ใช้คำพูดสั้นๆ ให้ได้ใจความครบ โดยอาจใช้แนวทางต่อไปนี้ ๘.๒.๑ ผู้รับคำปรึกษาพูดถึงประเด็นปัญหาต่างๆ หลายประเด็น ผู้ใหค้ ำปรกึ ษาอาจสรปุ แตล่ ะประเด็นก่อนที่ผู้รบั คำปรึกษาจะเริ่มประเด็นต่อไป ๘.๒.๒ ก่อนจบและเรม่ิ การให้คำปรกึ ษาในแต่ละคร้ัง ในกรณที ่ีมี การปรึกษาหลายครัง้ ๘.๒.๓ ครง้ั สดุ ทา้ ยก่อนยุตกิ ารใหค้ ำปรกึ ษา ๘.๒.๔ ขอให้ผู้รับคำปรึกษาเป็นผู้สรุป โดยมีผู้ให้คำปรึกษาช่วย เสริมในส่วนสำคัญที่ผ้รู ับคำปรึกษามิไดก้ ลา่ วถึง หรือขาดหายไป ๙. ทักษะการให้ข้อมูลและคำแนะนำ (Giving Information and Advising Skill) การให้ข้อมูล เปน็ การสื่อสารทางวาจาเกย่ี วกับข้อมูลหรือรายละเอียดตา่ งๆท่ีจำเป็นแก่ผูร้ บั คำปรึกษา การใหค้ ำแนะนำ เปน็ การช้ีแนะแนวทางปฏิบัติในการแกไ้ ขปญั หาให้แก่ผรู้ บั คำปรึกษา ๙.๑ วัตถปุ ระสงค์ ๙.๑.๑ เพือ่ ให้ความรู้ ข้อมูลและรายละเอียดต่างๆท่ีจำเป็นแก่ผู้รับ คำปรกึ ษา ๙.๑.๒ เพื่อให้ผู้รับคำปรกึ ษาเข้าใจปญั หาของตนเองและใช้ ๙.๑.๓ เพื่อให้ผ้รู ับคำปรกึ ษามีขอ้ มูลประกอบการตดั สินใจ ๙.๑.๔. เพื่อให้ผู้รับคำปรึกษามีทางเลือกและแนวทางปฏิบัติที่เขา อาจจะนกึ ไมถ่ งึ ๙.๒ แนวทางปฏบิ ตั ิ ๙.๒.๑ การให้ขอ้ มลู
จติ วิทยาสำหรบั ครู ๒๓๐ ๙.๒.๑.๑ ข้อมูลท่ีใหค้ วรชดั เจน ถกู ต้อง ครบถ้วน ใช้ ภาษาง่ายๆ ๙ .๒ .๑ .๒ ผู้ ให้ ค ำป รึก ษ าค วรต รว จส อ บ ค ว าม รู้ และความต้องการเก่ียวกับเร่ืองท่ีจะให้ข้อมูลจากผู้รับคำปรึกษาก่อนให้ข้อมูล เพ่ือประหยัดเวลา และเป็นการให้ข้อมลู ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๙.๒.๑.๓ หลังจากให้ข้อมูลแล้วผู้ให้คำปรึกษาควร ตรวจสอบว่าขอ้ มลู ทใ่ี ห้น้นั ผรู้ บั คำปรกึ ษา เขา้ ใจถูกตอ้ งหรอื ไม่ โดยใชว้ ิธใี หผ้ รู้ ับคำปรึกษาทวนซำ้ ๙.๒.๒ การใหค้ ำแนะนำ ๙.๒.๒.๑ ให้คำแนะนำเม่อื พิจารณาอย่างรอบคอบแล้วว่า เป็นส่ิงท่ีสำคัญและจำเป็นสำหรบั ผู้รับคำปรกึ ษา ควรจะให้โอกาสผู้รับคำปรึกษาพจิ ารณาว่าวธิ ีปฏิบัติ น้ันเปน็ ทพ่ี อใจ เหมาะสมและสามารถนำไปปฏบิ ัตจิ ริงไดห้ รอื ไม่ ๙.๒.๒.๒ หลังจากให้คำแนะนำแล้วผู้ให้คำปรึกษาควรจะ ให้โอกาสผู้รับคำปรึกษา พิจารณาว่าคำแนะนำเป็นที่พอใจ เหมาะสมและสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ หรือไมห่ รอื อาจถามความคิดเห็นหรือความรสู้ ึกที่มตี ่อคำแนะนำนัน้ วา่ มคี วามคดิ เหน็ หรือความรสู้ กึ อย่างไร ๙.๓ ขอ้ ควรระวัง การให้คำแนะนำมีข้อเสียอยู่หลายประการ เช่น หากผู้รับคำปรกึ ษาไม่ชอบ ก็จะปฏิเสธและมีทัศนคติทางลบต่อการให้คำปรึกษาและผู้ให้คำปรึกษา หรือถ้าผู้รับคำปรึกษาได้รับ คำแนะนำแล้วนำไปปฏิบัติและไม่ได้รับผลก็จะโทษผู้ให้คำปรึกษา หากได้รับผลดีผู้รับคำปรึกษา ก็จะมาใหม่อีก เป็นการสร้างความรู้สึกผูกพันและพึ่งพิง นอกจากน้ีการให้คำแนะนำมีโอกาสท่ีจะเกิด ความเข้าใจไม่ตรงกันได้แม้ผู้ให้คำปรึกษาจะเป็นผู้มีบทบาทมากในการแนะนำ ผู้ให้คำปรึกษาต้อง ตระหนักไวเ้ สมอวา่ ในที่สดุ แล้วผรู้ บั คำปรกึ ษาจะตอ้ งเป็นผู้ตดั สนิ ใจเลือกเอง ๑๐. ทักษะการชี้ผลท่ีตามมา (Pointing Outcome Skill) การช้ีผลท่ีตามมาเป็นการชี้ให้ผู้รับคำปรึกษาได้เห็นผลท่ีอาจตามมาจากการคิดการ ตัดสินใจ การวางแผนและการปฏิบัติของเขาเองทั้ง ในทางลบและทางบวก ผลที่ตามมาน้ีอาจเป็นได้ ทั้ง เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน ในใจเขาหรือเหตุการณ์ภายนอก ซึ่งทำให้พฤติกรรมที่เป็นปัญหาคงอยู่รุนแรง ขน้ึ หรอื ลดลง เชน่ - ด้านอารมณ์ความรสู้ ึก เชน่ รสู้ ึกดี ไม่ดี กลุ้มใจ สับสน ไม่ม่ันใจ ฯลฯ - ด้านร่างกาย เชน่ ใจเตน้ ปวดศรี ษะ ทอ้ งผูก เจบ็ ปว่ ย ฯลฯ - ดา้ นพฤตกิ รรม การปฏิบัติตัว กจิ กรรมท่ีทำ - ดา้ นความคิด ทัศนคติ ความเช่ือ - ดา้ นสิ่งแวดล้อม เช่น เวลา เหตุการณ์ สถานท่ี เงนิ ทรพั ย์สนิ ฯลฯ - ดา้ นความสมั พนั ธ์กบั ผู้อืน่ เชน่ ทำให้มีปญั หากับเพื่อน ญาติ เพอ่ื นร่วมงาน การช้ีผลท่ีตามมาอาจทำได้ ๒ ทาง คือ การชี้ผลท่ีตามมาในทางบวก เป็นการช้ีให้ ผู้รับคำปรึกษา เห็นข้อดีและประโยชน์ที่ จะที่จะได้รับ เป็นการสนับสนุนให้ผู้รับคำปรึกษากล้า ตดั สินใจหรอื ปฏิบัตติ ามแผนที่ได้วางไว้ และการชี้ผลที่ตามมาในทางลบ เป็นการบอกถึงผลท่ีไม่ดีหรือ โทษทีอ่ าจจะตามมาจาการตดั สินใจหรอื การปฏิบัติ
จติ วิทยาสำหรับครู ๒๓๑ ๑๐.๑ วตั ถุประสงค์ ๑๐.๑.๑ เพอ่ื ให้ ผรู้ ับคำ ปรกึ ษารบั รถู้ งึ ผลดแี ละผลเสียของการคดิ การตดั สนิ ใจ การวางแผนและการปฏบิ ตั ขิ องเขาเองทง้ั ในทางลบและทางบวก ๑๐.๑.๒ เพื่อใหผ้ ู้รับคำปรึกษาตัดสินใจได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพมาก ขึน้ ๑๐.๒ แนวทางปฏิบตั ิ ๑๐.๒.๑ ทวนซ้ำ หรือสะท้อนความรู้สึกเพ่ือให้แน่ใจว่า ผู้รบั คำปรกึ ษาไดเ้ ข้าใจเหตกุ ารณไ์ ดถ้ ูกต้อง ๑๐ .๒.๒ ให้ผู้รับคำปรึกษานึกถึงผลดีหรือผลเสีย ท่จี ะตามมาจากการตัดสนิ ใจหรือการปฏิบตั ิของตนเอง ๑๐.๒.๓ ผู้ให้คำปรึกษาชี้ผลที่ตามมาจากการรับรู้ ของตนเอง ๑๐.๒.๔ สรุปผลดีและผลเสียของการตัดสินใจหรือ การปฏิบัติ สรปุ ท้ายบท การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา หมายถึง กระบวนการช่วยเหลือให้บุคคลท่ีประสบปัญหา สามารถเข้าใจ กระจ่างชัดในปัญหาละวางแผนแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับตนเอง นอกจากน้ี ยังมุ่งส่งเสริมให้บุคคลพัฒนาความสมบูรณ์ในตนเอง เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความสำเร็จให้แก่ ชีวิต ผู้ให้คำปรึกษาจะต้องได้รับการฝึกฝนในด้านการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาเป็นอย่างดีและต้องใช้ ทักษะต่างๆ ในการให้คำปรึกษาด้วย เพ่ือทำให้ได้ผลดีย่ิงข้ึน และท่ีสำคัญต้องยึดกระบวนการให้ คำปรึกษาหรือขั้น ตอนการให้คำปรึกษา ๕ ข้ัน การสร้างความสัมพันธ์ การสำรวจปัญหา การเข้าใจ สาเหตุ และความตอ้ งการ การวางแผน และการยตุ กิ ารให้คำปรึกษา หากผู้ให้คำปรึกษาไม่สามารถท่ีจะให้คำปรึกษาผู้มารับบริการได้ ควรส่งต่อให้ผู้อ่ืนที่มี ความสามารถได้ช่วยเหลอื ผู้มารับบริการ
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๓๒ ใบงานท่ี ๙.๑ คำชี้แจง ให้นิสิตแบ่งกลุ่มเป็น ๕ กลุ่ม ๆ ละ ๕-๖ คน แล้ววิเคราะห์ เปรียบเทียบการให้ คำปรึกษาทั่วไปกับการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา และนำเสนอหน้าช้ัน เรียนการให้คำปรึกษาท่ัวไป การให้คำปรกึ ษาเชงิ จิตวิทยา ใบงานที่ ๙.๒ คำช้ีแจง ให้นิสิตจับคู่ ฝึกทักษะการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา โดยคนหนึ่งเป็นผู้ให้คำปรึกษา อีกคนหน่ึงเป็นผู้มารับบริการ โดยใช้กระบวนการการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาให้ครบทั้ง ๕ ข้ัน ตอน คือ ๑. ขั้น สร้างความสัมพนั ธ์ ๒. ขน้ั สำรวจปัญหา ๓. ขั้น เขา้ ใจสาเหตแุ ละความต้องการ ๔. ขน้ั วางแผน ๕. ขน้ั ยตุ ิการใหค้ ำปรึกษา แล้วทดสอบการใหค้ ำปรกึ ษาเชงิ จิตวิทยาหน้าช้นั เรียน
จติ วทิ ยาสำหรบั ครู ๒๓๓ คำถามทา้ ยบท คำช้ีแจง หลังจากที่นิสิตได้ศึกษาเก่ียวกับการให้คำปรึกษาเบ้ืองต้นแล้ว ให้นิสิตตอบคำถาม ต่อไปน้ีโดยอาศัยหลักวิชาการ หลักความเป็นจริง และความคิดเห็นของนิสิตประกอบในการตอบ คำถาม ๑. ให้อธิบายความหมายและความสำคัญของการให้คำปรึกษาพอสังเขป ๒. ในการใหค้ ำปรึกษาเชงิ จิตวิทยา ควรมหี ลักการในการให้คำปรกึ ษาอย่างไร ๓. ให้อธบิ ายกระบวนการให้คำปรึกษาเชิงจติ วิทยาให้ได้ความหมายอย่างชัดเจน ๔. การให้คำปรกึ ษาท่ัวไปเหมือนหรอื ตา่ งจากการให้คำปรึกษาเชงิ จิตวทิ ยาอย่างไร ๕. การใหค้ ำปรึกษามกี ่ีประเภท อะไรบ้าง ๖. นสิ ติ จะมีวิธกี ารอย่างไรในการรับรแู้ ละเขา้ ใจความคาดหวงั ของผ้มู าขอคำปรกึ ษา ๗. คุณลักษณะของผู้ใหค้ ำปรึกษาเชิงจิตวิทยาที่ดี ควรเป็นอยา่ งไร ๘. ทกั ษะท่ีใช้ในการให้คำปรึกษาเชงิ จิตวทิ ยามอี ะไรบา้ ง
จิตวทิ ยาสำหรับครู ๒๓๔ เอกสารอา้ งอิงประจำบท กฤตวรรณ คำสม,เอกสารประกอบการสอน รายวิชาจติ วิทยาสำหรับครู, อดุ รธานี: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี, ๒๕๕๗. ________, การแนะแนวเบือ้ งตน้ , อุดรธานี : คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี, ๒๕๕๙. คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ค่มู อื ฝึกอบรมแนะแนว, กรุงเทพมหานคร : คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๓. จนี แบรี่, คู่มือการฝึกทักษะใหก้ ารปรกึ ษา, พิมพ์ครั้ง ที่ ๒, กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๓๗. มัลลวีร์ อดุลวัฒนศิริ, เทคนิคการใหค้ ำปรกึ ษา : การนำไปใช้, ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลงั นานา, ๒๕๕๔. วัชรี ทรพั ยม์ ี, ทฤษฎีและกระบวนการใหค้ ำปรกึ ษา, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๒๕. George, Rickey L. and Cristiani Therese S, Counseling: Theory and Practice, 4 th Edition. University of Missouri, St. Louis, 1995. Jones, Arthur J, Principles of guidance, New York ; London : McGraw-Hill book company, inc, 1963. Rogers, C. R., On Becoming a person: A psychotherapists view of psychotherapy. London: Constable, 1961. Smith, Glenn E, Organization and Administration of Guidance Services, New York: McGraw-Hill Book company, 1955.
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๓๕ บรรณานุกรม กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ, คูม่ ือการบรหิ ารจดั การแนะแนว, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว, ๒๕๔๖. กระทรวงศึกษาธิการ, แผนพัฒนาการจดั การศึกษาเพ่ือคนพกิ าร(พ,ศ,๒๕๔๓-๒๕๔๙) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร, กรงุ เทพมหานคร :คณะอนุกรรมการพัฒนาการจัดการศึกษาเพอื่ คนพิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๔๓. กฤตวรรณ คำสม, เอกสารประกอบการสอนรายวิชาจิตวทิ ยาสำหรบั ครู, อดุ รธานี : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี,๒๕๕๗. กันยา สวุ รรณแสง, จิตวิทยาท่ัวไป, กรงุ เทพมหานคร : บริษัทบำรงุ สาสน์ , ๒๕๓๒. _______,จติ วิทยาทว่ั ไป, กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัทบำรุงสาสน์, ๒๕๔๐. คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คูม่ ือฝกึ อบรมแนะแนว, กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๓. จรรยา สวุ รรณทตั , ความรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกับจติ วทิ ยา เอกสารการสอนชุดวชิ าจิตวทิ ยาทั่วไป, นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช, ๒๕๓๔. จีน แบร่ี, คู่มือการฝึกทักษะให้การปรึกษา, พิมพ์คร้ังที่ ๒, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๓๗. ชวนพิศ ทองทวี, จติ วิทยาการศึกษา, มหาสารคาม : วทิ ยาลยั ครูมหาสารคาม, ๒๕๒๒. ชัยพร วชิ ชาวธุ , ความจำมนุษย์, กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๑๘. เดโช สวนานนท์,จติ วทิ ยาสำหรับครูและผ้ปู กครอง, กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์, ๒๕๒๘. เตมิ ศักดิ์ คทวณชิ , จติ วิทยาทั่วไป,กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยเู คช่นั , ๒๕๔๖. ทิพยภ์ า เชษฐเ์ ชาวลิต, จิตวิทยาพัฒนาการสำหรบั พยาบาล, สงขลา : ชานเมืองการพิมพ์, ๒๕๔๑. นวลศริ ิ เปาโรหติ ย์ และคณะ, จิตวทิ ยาพัฒนาการ, กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๒๑. นอ้ มฤดี จงพยุหะ และคณะ, คมู่ ือการศึกษาวิชาจติ วทิ ยาการศึกษา, กรงุ เทพมหานคร : มติ รสยาม, ๒๕๑๖. นติ ย์ บุหงามงคล, จติ วิทยาเบ้ืองตน้ , ขอนแกน่ : มหาวิทยาลัยขอนแกน่ , ๒๕๓๗. นุชลี อุปภัย, จติ วิทยาการศึกษา,พิมพ์ครงั้ ที่ ๓, กรงุ เทพมหานคร : สำนักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๕๖. ประสาท อิศรปรดี า, จติ วทิ ยาการเรยี นร้กู บั การสอน,กรุงเทพมหานคร : กราฟรกิ อาร์ต, ๒๕๓๐. ปราณี รามสูตร, พฤติกรรมมนษุ ย์กบั การพัฒนาตน, กรงุ เทพมหานคร : ธนะการพิมพ์, ๒๕๔๕. ปรชี า วคิ หโต, จติ วทิ ยากบั พฤติกรรมวัยรนุ่ , เอกสารการสอนชดุ วิชาพฤตกิ รรมวยั รุน่ ,นนทบรุ ี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, ๒๕๔๔, ผดุง อารยะวญิ ญู, การศึกษาสำหรบั เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ, พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๓, กรงุ เทพมหานคร: บรรณกิจ, ๒๕๔๑. พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา, จิตวทิ ยาทางการศึกษา, กรุงเทพมหานคร : พัฒนาศกึ ษา, ๒๕๔๒. พนม ล้ิมอารีย์, การแนะแนวเบื้องตน้ , พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒, กรงุ เทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์, ๒๕๔๘.
จติ วทิ ยาสำหรบั ครู ๒๓๖ บรรณานุกรม (ตอ่ ) พรรณทิพย์ ศิริวรรณบศุ ย์, ทฤษฎีจติ วิทยาพัฒนาการ, กรงุ เทพมหานคร : สำนักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๐. มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, จติ วิทยา, ขอนแก่น : ภาควิชาจิตวทิ ยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ , ๒๕๕๐. มัลลวีร์ อดุลวัฒนศริ ิ, เทคนิคการใหค้ ำปรกึ ษา : การนำไปใช้,ขอนแก่น : โรงพมิ พ์คลงั นานา, ๒๕๕๔. วงพกั ตร์ ภพู่ นั ธ์ศรี, จติ วทิ ยาเดก็ พิเศษ, กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๐. วงศ์พกั ตร์ ภพู่ ันธ์ศรี และ ศริ ินนั ท์ ดำรงผล, จติ วิทยาพัฒนาการ และการศกึ ษา, กรงุ เทพมหานคร : สำนักพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง, ๒๕๓๐. วนิษา เรซ, อจั ฉรยิ ะสร้างได้, กรงุ เทพมหานคร : ไทยยูเน่ียนกราฟริกส์, ๒๕๕๐. วัชรี ทรัพยม์ ี, การแนะแนวในโรงเรยี น, พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๓, กรงุ เทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๓๑. _________, ทฤษฎีและกระบวนการใหค้ ำปรกึ ษา, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๕. วัฒนา พัชราวนิช, จิตวทิ ยาการศกึ ษา, กรุงเทพมหานคร : หจก. ธนะการพมิ พ์, ๒๕๒๖. วภิ า ภกั ดี, จิตวทิ ยาท่วั ไป, กรงุ เทพมหานคร: จามจรุ ีโปรดักท์, ๒๕๔๗. วริ ุฬห์ บญุ สมบตั ิ, การศึกษาธรรมชาติวิทยา : ธรรมชาติวิทยา, กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๑. ศรยี า นิยมธรรม, “การศกึ ษาพเิ ศษและการจัดการเรียนรว่ ม” เอกสารประกอบการสมั มนา ทศวรรษ การจดั การเรยี นรว่ ม, กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานประถมศึกษากรุงเทพมหานคร กระทวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๓๙. ศรีเรอื น แกว้ กังวาน, จิตวิทยาพัฒนาการชีวติ ทกุ ชว่ งวัย, กรุงเทพมหานคร : สำนกั พิมพ์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐. ______,จิตวิทยาเดก็ ท่มี ีลกั ษณะพิเศษ, พิมพค์ รง้ั ท่ี ๒, กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พ์หมอชาวบ้าน, ๒๕๔๕. ศริ โิ สภาคย์ บรู พาเดชะ, จิตวิทยาธุรกจิ , กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , ๒๕๒๘. สมาคมแนะแนวแหง่ ประเทศไทย, มาตรฐานวชิ าชพี ครูจิตวิทยาแนะแนว : ครจู ติ วิทยาแนะแนะ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน, กรุงเทพมหานคร : เจรญิ วิทย์การพิมพ์, ๒๕๔๙. สชุ า จันทน์เอม, สุรางค์ จนั ทน์เอม, จิตวทิ ยาในหอ้ งเรยี น, กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, ๒๕๒๑. __________,จติ วิทยาพฒั นาการ,พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๕,กรงุ เทพมหานคร:ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๔๒. สรุ างค์ โคว้ ตระกลู , จติ วทิ ยาการศกึ ษา, พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๙, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๓. แสงเดอื น ทวีสนิ , จติ วิทยาการศึกษา, พิมพค์ ร้ังที่ ๒, กรงุ เทพมหานคร : ไทยเส็ง, ๒๕๔๕. อนนต์ อนนั ตรังสี, หลกั การแนะแนว, กรุงเทพมหานคร : สำนักพมิ พ์โอเดียนสโตร์, ๒๕๒๑. อชั รา เอบิ สุขสิริ, จิตวิทยาสำหรับครู, พมิ พ์ครง้ั ที่ ๒, กรุงเทพมหานคร : สำนกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั , ๒๕๕๗, อารี พนั ธ์มณ,ี คดิ อยา่ งสร้างสรรค์, กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ต้นอ้อ แกรมมจี่ ำกัด, ๒๕๔๐.
จิตวิทยาสำหรบั ครู ๒๓๗ บรรณานุกรม (ตอ่ ) ______, จติ วทิ ยาสรา้ งสรรค์การเรียนการสอน, กรุงเทพมหานคร : ใยไหม ครเี อทฟี กรุ๊ป, ๒๕๔๖. อบุ ลรตั น์ เพ็งสถิตย์, จิตวทิ ยาพฒั นาการ, กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๘. Atkinson, R,L, Athinson, R,C and Hilgard E, R, Introduction to Psychology, New York : Harcourt Brace Javanovick, 1987. Atkinson,R,C, and Thiffrin,R,M, The control of Short-term Memory, Scientific American, 1971. Baron Robert A, Psychological : The Essential Science, Boston : Allyn and Bacon, 1981. Berliner,C,D, Telling the stories of education psychology ,Education Psychologist, 27(2),143-161,Lawrence Darlbaum Assoviates, Inc, 1992. Biage, M,L and Hunt,J,M, Hunt Phychological Foundation of Education, 5th ed, New York: Harper & Row, 1979. Binet, A,, Simon, Th, The measure of the development of the intelligence in young children, Bulletin de la Societe Libre pour l'Etude de l'Enfant, 11, 187-256, 1961. Bloom,B,S, Taxonomy of Educational Objectives,The classification of educational, 1956. Bostorm, R, p, et, al, Learning Styles and End-UserTraining: A First step, MIS, 1993. Campbell,J, Understanding John Dewey : Nature and Cooperative intelligence, Peru, IL : Open Count Publishing Co, 1995. Concro, R, Intelligence Genetic and Environmental Influences, New York: Basic Book, 1971. Cronbach L,J, Essential of Psychological Testing, 5th ed, New York : Harper & Row, 1990. Crow, Lester and Alice Crow, An Introduction to Guidance, New York : American Book Company, 1960. Felder, R,M, and Henriques, E,R, Learning and Teaching Styles Foreign and Second Language Education, Foreign Language Annual, 28 (1), 21-31, 1995. Felder, R,M, and Spurlin, J,E, A validation study of the Index of Learning Styles, International Journal of Engineering Education, 21(1), 103-112, 2005. Feldman, R,S, Essentials of Understand Psychology, New York : Mc Graw Hill, 1994. Freud, Sigmud, The ego and the id, Translated by Jaan Rivere and edited by James Strachey, New York : Norton, 1962. Johnston, Joni E, The complete Idiot’s Guide to Psychology, Indianapolis : Mac millon U,SA,, Inc, 2000.
จติ วทิ ยาสำหรับครู ๒๓๘ บรรณานุกรม (ตอ่ ) Gardner,H, Frames of Mind : The Theory of Multiple Intelligence, New york : Basic Book, 1986. George, Rickey L, and Cristiani Therese S, Counseling : Theory and Practice, 4th Edition, University of Missouri, St, Louis, 1995. Good, Carter V, Dictionary of Education 3rd ed, New York : Mc Grow, Hill Book Company, 1973. Goodchild, L,F, G, Stanley Hall and the study of higher education, Review of Higher Education 20,no, 1:69-99, 1996. Guilford, J,P, The Nature of Human Intelligence, New York : Mc Graw – Hill Book Co, 1968. Hilgard, E,R, Introduction to Psychology, New York : Harcourt, Brace & World, 1975. Hill, W,F, Learning : A Survey of Psychological Interpretations, New York : Harper & Row, Publishers, 1990. Honey, p & Mumford, A, The Manual of Learning Styles, Maidenhead, UK; Peter Honey Publications, (1982), ______, The Learning Styles Helper’s Guide,Maidenhead, UK; Peter Honey Publications, 2000. ______, The Learning Styles Questionnaire, 80-item version, Maidenhead, UK; Peter Honey Publications, 2006. House,Gagne',R, The conditions of learning, New Tork:Holt, Rinehart and Winston,Inc, 1967. Hurlock, A,E, Educational psychology, 9th ed, Boston: Pearson Education, Inc, 1972. Johnston, J,E, The Complete Idiot's Guide to Psychology, Indiana : Indianapolis, 2000. Jones, Arthur J, Prineiple of Guidance Methods, New York : Mc Grow, Hill Book Company, 1951. Kalat,James W, Introdection to Psychology, 2nd,ed,Belmont, C,A, Wadsworth Publishing Co, 1990. Kirk, S,A, Ethnic differences in psycholinguistic abilities, Except,Child, 1972. Kolb,D, Experiential Learning : Experience as the Source of Learning and Development, Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall, 1984. ______, LSI Learning-Style Inventory, Boston ; McBer& Company, Training Resources Group, 1985. Lefton, L, A,, and Laura Valvatne, Mastering Psychology, 2nd ed, Massachusetts : Allyn and Bacon Inc, 1992.
จติ วิทยาสำหรับครู ๒๓๙ บรรณานุกรม (ต่อ) Miller, Carrol H, Foundations of Guidance, New York : Harper & Row publisher,Inc, 1976. Morris G, Charles, Understanding Psychology, New Jersey Upper Saddle River, 2001. Morrn L, Biage and Mourice P, Hunt Psychological Foundation of Education, 5th ed, New York : Harper & Row, 1979. Mumford, A, Individual and Organizational Learning: the Pursuit of Change,. Management Decision, Volume 19, Number 7, New York; MCB University Press, 1992 Pirget J, The Origins of Intelligence in Children, New York : Basic Books, Inc, Publishers, 1974. Rogers, C, R, On Becoming a person: A psychotherapists view of psychotherapy, London: Constable, 1961. Ruble, T,L, & stout, D,E, Learning Styles and End-UserTraining: An Unwarranted Leap of Faith, MIS Quarterly, March 1993, 115-117, 1993. Smith, Glenn E, Organization and Administration of Guidance Services, New York: McGraw-Hill Book company, 1955. Spearman, C, The Abilities of Man, New York: Macmiltan, 1927. Sprinthall, N,A,and Sprinthall,R,C, Educational psychology, 5th ed, New York : McGraw-Hill, 1990. Stewart, K,L,, Felicetti, L,A, Learning styles of marketing majors, Educational Research Quarterly, 15(2), 15-23, 1992. Tama, M, Carrol, Critical Thinking: Promoting, It in the Classroom, ERIC Digest, 4 p, June 1989 U,S, Indiana, 1989. Terman, L,M, The Intelligence Quotient of Frances Galton in Childhood, The American Journal of Psychology, 28, 209-215, 1961. Terman, L,M,and Merril, M, Meaxuring Intelligence, Boston : Houghton Mifflin, 1973. Thurstone,L,L, Primary Mental abilities, Chicago: University of Chicago Press, 1921. Torrance, E,P, The Minnesota studies of creative thinking : 1959-1962, In C,W, 1964. Tyler, L, E, The psychology of human differences (3rd ed), New York: Appleton- Century-Crofts/Prentice-Hall, 1965. Wittrock, M,C, An empowering conception of educational psychology, Educational Psychology, 27,129-142, 1992. Wolman, Benjamin B, Dictionary of Bahavioral science, New York : Van Wostranol Reinhold Company, 1973.
จติ วิทยาสำหรบั ครู ๒๔๐ บรรณานกุ รม (ตอ่ ) Woolfolk, A,E, Educational psychology, 9th ed, Boston: pearson Education, Inc, 2004. Worchel, Stephen, And Shebilske,Wayne, Psychology Principles and Applications, Englewood Dliffs N,J, Prentice-Hall, 1989.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249