Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เลือกตั้ง62กรุงเทพมหานคร

เลือกตั้ง62กรุงเทพมหานคร

Description: การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

Keywords: เลือกตั้ง,2562,กรุงเทพมหานคร

Search

Read the Text Version

50 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 3. ผลกระทบจากปัจจัยในช่วงระยะเวลาส้ัน ๆ (the effects of short term factors) อาท ิ การประเมินว่าเศรษฐกจิ ช่วงท่ผี ่านมาเป็นอย่างไร ภาพลกั ษณ์ของตัวผู้น�ำ 4. การรณรงค์การเลือกตั้ง โดยเฉพาะบรรดา “ตัวกลาง” ท่ีท�ำหน้าท่ีเก่ียวกับการรณรงค์ต่าง ๆ (campaign intermediation) (Gunther et al., 2016) นอกจากนี้แล้ว สิ่งที่ควรพิจารณาในเรื่องของปัจจัยท่ีมีผลต่อการลงคะแนนเสียง ยังมีเรื่องของ “อปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน” (demand-supply) ของตลาดเลอื กตง้ั (electoral market) หรอื มองวา่ การเลอื กตง้ั นนั้ เปรยี บเสมอื นตลาดทเ่ี ปน็ ท่ี ๆ ทคี่ วามตอ้ งการของการเลอื กตง้ั นนั้ จะตอ้ งมาเจอกบั สงิ่ ทถี่ กู เสนอเขา้ มาในตลาดนนั้ ในแง่น้ี อิทธิพลของความมีใจโน้มเอียงที่มีมาก่อนหน้าน้ันอย่างยาวนานของผู้ลงคะแนน ไม่ว่าจะเร่ืองของ การระบตุ วั ตนวา่ เลอื กพรรคไหน (party identification) รวมทง้ั ความโนม้ เอยี งทางอดุ มการณซ์ า้ ยขวา จะมผี ลตอ่ การลงคะแนนเสยี งมากทส่ี ดุ ในดา้ นของอปุ สงคต์ อ่ ตลาดเลอื กตงั้ ขณะท่ี ในดา้ นอปุ ทานตอ่ ตลาดเลอื กตง้ั นนั้ หมายถงึ “การน�ำเสนอสิ่งท่ีน�ำเสนอโดยผู้สมัครเลือกต้ังและพรรคการเมือง” (political offerings) ก็ถือเป็นปัจจัยด้าน อปุ ทานทมี่ คี วามส�ำคญั ทสี่ ดุ ในการคาดค�ำนวณเมอื่ ผลู้ งคะแนนตดั สนิ ใจเลอื ก ซง่ึ ในแงน่ ก้ี ารน�ำเสนอจากผสู้ มคั ร และพรรคนั้นยังต้องพ่ึงพาการสื่อสารทางการเมืองเพ่ือให้พวกเขาน้ันมีต�ำแหน่งแห่งท่ีตรงกับความต้องการ และความโนม้ เอยี งของกล่มุ เป้าหมายท่ีพรรคและผู้สมัครตอ้ งการเขา้ ถึง (Moreno et al., 2016) 2.1.8 การทุจริตเลือกตั้ง 2.1.8.1 ความหมายและความส�ำคัญของการทุจริตเลือกตั้ง การทจุ รติ การเลอื กตง้ั (election fraud) หมายถงึ ความพยายามทงั้ หลายโดยลบั ๆ และผดิ กฎหมายใน การทจี่ ะท�ำใหผ้ ลการเลอื กตงั้ เปน็ ไปในแบบทตี่ อ้ งการ (Lehoucq, 2003) ทง้ั นี้ ความหมายของการกระท�ำลบั นน้ั อาจจะไม่ได้หมายถึงไม่มีใครทราบ อาทิ การไปบังคับให้ผู้ลงคะแนนลงคะแนนที่หน่วยเลือกต้ัง หรือมีการไป ลงคะแนนแทน แต่การกระท�ำลับในท่ีนี้หมายถึงการท่ีเหย่ือหรือผู้ได้รับผลกระทบจากการทุจริตดังกล่าวน้ัน เท่านน้ั ทต่ี อ้ งการเปิดเผยเรื่องน้อี อกมา ไมใ่ ชผ่ ้ทู ่ีท�ำการทจุ รติ (เพ่งิ อ้าง) การทุจริตเลือกตั้งมีด้วยกันหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การแทรกแซงและละเมิดกระบวนการเลือกตั้ง อยา่ งมขี นั้ มตี อนไปจนถงึ ใชค้ วามรนุ แรงกบั ผลู้ งคะแนนเสยี ง งานวจิ ยั หลายชนิ้ พบวา่ แมว้ า่ การทจุ รติ เลอื กตงั้ นน้ั จะมสี ว่ นส�ำคญั ในการแขง่ ขนั เลอื กตง้ั แตผ่ ลของการทจุ รติ เลอื กตง้ั อาจจะไมไ่ ดส้ ง่ ผลใหเ้ กดิ ชยั ชนะในการเลอื กตงั้ เสมอไป (และนคี่ อื ประเดน็ ทกี่ ลายเปน็ เรอื่ งในหลายประเทศทกี่ ารรบั รองผลเลอื กตง้ั เกดิ ขนึ้ ได้ เพราะวา่ ผรู้ บั รองผล อา้ งวา่ แมจ้ ะมกี ารทจุ รติ กอ็ าจไมม่ ผี ลโดยตรงตอ่ ผลการเลอื กตง้ั ) ทส่ี �ำคญั การทจุ รติ การเลอื กตงั้ นนั้ ขนึ้ อยกู่ บั จงั หวะ และธรรมชาตขิ องการแขง่ ขนั ในการเลอื กตงั้ ในครง้ั นนั้ ๆ อาทกิ ารทจุ รติ การเลอื กตง้ั อาจจะมผี ลตอ่ ผลการเลอื กตง้ั เม่ือการเลือกต้ังน้ันเป็นการแข่งขันท่ีสูสี นอกจากนี้ การจัดวางสถาบันทางการเมือง(รวมทั้งระเบียบกฎเกณฑ ์ การเลือกต้งั ) อาจจะมผี ลต่อการวางยุทธศาสตร์การทุจรติ การเลอื กต้งั ของแตล่ ะฝา่ ย (เพิ่งอ้าง)

51 การทจุ รติ การเลอื กตั้งนนั้ มดี ้วยกันหลายแบบ อาทิ การชักใย-ปรับป่ันผลู้ งคะแนนเสียง (electorate manipulation) ตง้ั แตก่ อ่ นการเลอื กตงั้ ไดแ้ ก่ การทผี่ มู้ อี �ำนาจรฐั ควบคมุ องคป์ ระกอบของกลมุ่ ผลู้ งคะแนนเสยี ง ให้เปน็ ไปในทศิ ทางท่ีตอ้ งการ เชน่ ยา้ ยคนมาในเขตเลอื กตั้ง (การชกั ใย-ปรบั ปน่ั ดา้ นประชากร manipulation of demography) หรือการพรากสิทธิผู้ลงคะแนนเสียงบางกลุ่ม (disenfranchise) เช่น คนที่ย้ายถ่ินแล้วไม่มี ระบบลงคะแนนนอกเขต หรอื ชอ่ื หายไปจากผมู้ สี ทิ ธิ การแบง่ แยกฝา่ ยตอ่ ตา้ น/พรรคออกจากกนั ไมใ่ หร้ วมตวั กนั ได้ (หรอื อาจตดั คะแนนกนั เอง) การขม่ ขใู่ นหลากหลายรปู แบบ ทง้ั ดว้ ยวาจา ก�ำลงั หรอื ขอ้ กฎหมาย (intimidation) การโจมตสี รา้ งความเสยี หายกบั หนว่ ยเลอื กตง้ั ของฝา่ ยตรงขา้ ม การบงั คบั นอกจากนี้ การทจุ รติ เลอื กตงั้ ยงั รวมไปถงึ การซ้ือเสียง (vote buying) ท่ีมีต้ังแต่การใช้เงินซื้อ การหยิบยื่นสินค้าและบริการ นอกจากน้ี การซื้อเสียง ยงั สมั พนั ธแ์ นบแนน่ กบั ระบบอปุ ถมั ภ์ (clientelism) ซงึ่ จะไดก้ ลา่ วถงึ ตอ่ ไป (สรปุ สาระส�ำคญั จาก Wikipedia, 2019) การทจุ รติ การเลอื กตง้ั นนั้ แมว้ า่ จะผดิ กฎหมาย หรอื มขี อ้ ถกเถยี งทวี่ า่ อาจจะไมส่ ง่ ผลตอ่ ผลคะแนนรวม ของการเลือกต้ังในมุมของผู้รับรองผลการเลือกตั้งดังที่ได้กล่าวถึงไปแล้ว แต่อีกส่ิงหนึ่งท่ีส�ำคัญก็คือ การท�ำความเข้าใจการทุจริตการเลือกต้ังในมุมของสังคมโดยเฉพาะในมุมของประชาชนผู้เลือกต้ังน้ันก็ม ี ความส�ำคัญและขึ้นกับบริบทของแต่ละสังคมนั้นเป็นอย่างมาก อาทิ การรับรู้ในเรื่องนิยามการทุจริตการเลือก ตง้ั หรอื ความเปลยี่ นแปลงในการใหค้ วามหมายและความส�ำคญั ในเรอ่ื งการทจุ รติ การเลอื กตง้ั ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปใน แต่ละยุคสมัย รวมท้ังการรับรู้ของนักวิชาการเองในระดับแนวคิดทฤษฎี (Alvarez, Hall, and Hyde, 2009) นอกจากนี้ การทุจริตการเลือกตั้งน้ันหากถูกรับรู้โดยประชาชนก็อาจจะมีผลทางด้านลบต่อความเช่ือม่ันของ ประชาชนตอ่ กระบวนการเลอื กตงั้ และอาจท�ำใหเ้ กดิ การปฏริ ปู การเมอื งทงั้ ในแบบทปี่ รบั ปรงุ การเลอื กตง้ั ในอนาคต หรือเป็นเพียงการน�ำเอาอคตแิ ละผลประโยชน์ของคนบางกลมุ่ ใส่ไวใ้ นกระบวนการปฏริ ูปดงั กล่าว (เพงิ่ อา้ ง) 2.1.8.2 ระบบอุปถัมภ์และการทุจริตการเลือกตั้ง เราอาจพิจารณาว่าระบบอุปถัมภ์ (clientelism) น้ันเป็นสถาบันทางการเมืองและเป็นสถาบัน ทางการเมอื งทไี่ มเ่ ปน็ ทางการทม่ี คี วามเกย่ี วขอ้ งทงั้ กบั การเมอื งในภาพรวมและในประเดน็ การเลอื กตง้ั เปน็ พเิ ศษ ระบบอุปถมั ภ์ทางการเมอื ง (political clientelism) เป็นรปู แบบหนง่ึ ของการเมอื งของการกระจาย ความม่งั คง่ั (distributive politics) ซ่งึ มอี ยู่หลากหลายรปู แบบ (Golden and Min, 2013) แต่ระบบอปุ ถมั ภ์ ทางการเมืองหมายถึงการให้สรรพส่ิง (goods) เพ่ือแลกกับการสนับสนุนการเลือกตั้ง ซึ่งภายใต้ระบบอุปถัมภ์ ทางการเมืองน้ีเง่ือนไขส�ำคัญในการตัดสินใจในการให้และแลกนั้นก็คือค�ำถามที่ว่า เม่ือให้สรรพสิ่งน้ันไปแล้ว ผู้ได้รับสรรพส่ิงหรือผู้ใต้อุปถัมภ์น้ันจะให้การสนับสนุนผู้ให้หรือผู้อุปถัมภ์หรือไม่ ดังนั้นจะเห็นว่าระบบอุปถัมภ์ ทางการเมอื งนน้ั เกย่ี วขอ้ งกบั การระดมผคู้ นและทรพั ยากรในการเลอื กตงั้ (electoral mobilization) (Stokes, 2011) ซ่ึงโดยภาพรวมแล้ว เม่ือพิจารณาเร่ืองระบบอุปถัมภ์ทางการเมืองจะพบเร่ืองส�ำคัญอยู่สองเรื่องใหญ่ น่ันก็คือ เรื่องของ การซื้อเสียง (vote buying) และ การเป็นผู้อุปถัมภ์ (patronage) ซึ่งมีความหมายเฉพาะ ไปท่ีเร่ืองของการแลกเปลี่ยนทรัพยากรของส่วนรวมหรือสาธารณะให้โดยผู้อุปถัมภ์ที่อยู่ในอ�ำนาจรัฐกับ ผใู้ ตอ้ ปุ ถมั ภ์ อาทิ การจา้ งงานเพอื่ ไดร้ บั การสนบั สนนุ ในการเลอื กตงั้ ขณะทรี่ ะบบอปุ ถมั ภซ์ งึ่ เปน็ ค�ำทก่ี วา้ งกวา่ นนั้

52 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ผอู้ ปุ ถมั ภอ์ าจจะไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปเปน็ ผถู้ อื อ�ำนาจรฐั แตก่ ส็ ามารถหยบิ ยนื่ การอปุ ถมั ภใ์ หไ้ ด้ เพราะการเกดิ ระบบอปุ ถมั ภ ์ เกิดข้ึนมาโดยตลอด ไม่ได้เกิดเฉพาะเมื่อผู้อุปถัมภ์นั้นเข้าสู่อ�ำนาจรัฐแล้ว (เพ่ิงอ้าง) โดยระบบอุปถัมภ ์ ทางการเมืองน้ันนอกจากจะพิจารณาในเร่ืองของความสัมพันธ์ระหว่างผู้อุปถัมภ์ในระดับท้องถ่ินกับ ผู้ลงคะแนนเสียงแล้ว ยังสามารถพิจารณาในระดับพรรคที่ปฏิบัติการในระดับชาติได้ด้วย รวมท้ังยังสามารถ พิจารณาระบบเผดจ็ การที่อาศัยการเลอื กต้งั ในการอยูใ่ นอ�ำนาจต่อไปกไ็ ด้ ความแตกต่างระหว่างระบบอุปถัมภ์ทางการเมืองในการเลือกต้ัง กับการเมืองเรื่องการกระจายฯ ในแบบอ่ืนก็คือ การเมืองแบบเน้นพ้ืนที่แบบไม่เท่าเทียม (pork barrel politics) ตรงท่ีระบบเน้นพื้นที่ ไม่เท่าเทียมน้ัน นักการเมืองที่ชนะการเลือกต้ังจะเอางบประมาณท่ีได้จากภาษีของคนทั้งประเทศมาลงในพ้ืนท่ี ของตัวเองเป็นหลัก เพ่ือให้ได้ประโยชน์มุ่งเน้นในพ้ืนที่น้ันมากกว่าพื้นท่ีอื่น ขณะท่ีการเมืองแบบกระจายด้วย โครงการ (programmatic redistribution) น้ันจะเป็นการเมืองแบบท่ีพรรคท่ีเป็นรัฐบาลน้ันจะเน้นการสร้าง โครงการท่ีเน้นช่วยคนบางชนช้ันเป็นพิเศษ โดยการกระจายในแบบนี้นั้นจะเป็นการกระจายความมั่งค่ังไปให้ กลมุ่ คนหนงึ่ ทจ่ี ะไดป้ ระโยชน์ โดยเอามาจากคนอกี กลมุ่ หนง่ึ ทเี่ สยี ประโยชนเ์ พราะไมไ่ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากนโยบาย ดงั กลา่ ว ขณะทก่ี ารเมอื งของการกระจายความมง่ั คง่ั แบบระบบอปุ ถมั ภท์ างการเมอื งนน้ั เนน้ ไปทเี่ รอื่ งของการท ่ี ผู้รับการอุปถัมภ์นั้นจะต้องให้การสนับสนุนทางการเมืองกับผู้อุปถัมภ์ (เพ่ิงอ้าง) ซึ่งในแง่น้ีระบบอุปถัมภ ์ ทางการเมอื งโดยเฉพาะทเี่ กย่ี วกบั การเลอื กตง้ั อาจไมจ่ �ำเปน็ จะตอ้ งเปน็ ระบบอปุ ถมั ภเ์ ตม็ พน้ื ทหี่ รอื เฉพาะเจาะจง ไปทีช่ นชนั้ หนึ่งเทา่ นัน้ แตอ่ าจจะไดใ้ นพ้ืนเฉพาะท่เี ห็นผล อกี มติ ทิ ส่ี �ำคญั ในเรอื่ งของระบบอปุ ถมั ภก์ บั การเมอื งกค็ อื ระบบอปุ ถมั ภน์ นั้ เปน็ เรอื่ งของความสมั พนั ธ์ ระหว่างผู้อุปถัมภ์กับผู้ใต้อุปถัมภ์ (patron-client relationships) ซ่ึงเป็นความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองฝ่าย ท่ีเป็นพันธมิตรกัน แต่เป็นพันธมิตรกันในแบบไม่เท่าเทียมแบบแนวด่ิง คือมีความเหนือกว่าและอยู่ภายใต ้ และเปน็ ความสมั พนั ธท์ จ่ี ะตอ้ งพบปะกนั แบบใกลช้ ดิ (face-to-face) มมี ติ รภาพซงึ่ กนั และกนั โดยตา่ งฝา่ ยตา่ งใช้ ความสมั พนั ธน์ ใี้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ ซงึ่ กนั และกนั โดยฝา่ ยผอู้ ปุ ถมั ภซ์ งึ่ มสี ถานะทางสงั คมและเศรษฐกจิ ทเี่ หนอื กวา่ จะใช้อิทธิพลและทรัพยากรในการให้ความคุ้มครองและผลประโยชน์ต่อผู้ใต้อุปถัมภ์ท่ีมีสถานะทางเศรษฐกิจ และสังคมท่ีด้อยกว่า และผู้ใต้อุปถัมภ์จะตอบแทนด้วยการแลกเปล่ียนผ่านการให้การสนับสนุนและช่วยเหลือ แก่ผู้อุปถัมภ์ (Scott, 1972) และด้วยการตั้งค�ำถามกับลักษณะเฉพาะของระบบอุปถัมภ์เช่นน้ีส่ิงที่ Stokes (2011) ตงั้ ค�ำถามกค็ อื ระบบอปุ ถมั นน์ น้ั มกั จะเกย่ี วพนั กบั สงั คมทมี่ คี วามยากจนแพรก่ ระจายอยา่ งกวา้ งขวาง และ มกี ลไกที่ออ่ นแอและไม่มปี ระสิทธภิ าพ (Stokes, 2011) การพิจารณาเรื่องระบบอปุ ถัมภ์ทางการเมืองจึงควรพิจารณาท้งั มิตทิ างวัฒนธรรมและประวตั ศิ าสตร์ (คือมมี านานแล้วในสังคม) กบั มติ ขิ องการให้เหตผุ ลผา่ นขอ้ จ�ำกัดทางการเมอื งเศรษฐกิจ อาทิ การศกึ ษาตรรกะ ของผอู้ ปุ ถมั ภท์ งั้ ระดบั ผสู้ มคั ร และ พรรค รวมทง้ั พรรคทถี่ อื อ�ำนาจรฐั ในการตดั สนิ ใจใชก้ ลไกอปุ ถมั ภท์ างการเมอื ง ในการแสวงหาคะแนนหรือการสนับสนุนการเลือกตั้งในแต่ละพื้นท่ี ไม่ใช่แค่อิงระบบท้องถิ่นหรืออิงการเมือง ของการกระจายด้วยโครงการ แต่เป็นเพียงการเมืองของการกระจายในเชิงยุทธวิธี (tactical redistribution) โดยเนน้ เพยี งกลมุ่ เปา้ หมายบางกลมุ่ ทต่ี อ้ งการการสนบั สนนุ เทา่ นน้ั (Dixit and Londregan, 1996 อา้ งใน Stokes, 2011) ในขณะที่ในการศึกษาจากมุมมองของผู้ใต้อุปถัมภ์น้ันจะพบว่า เราจ�ำต้องพิจารณาว่าผู้ใต้อุปถัมภ์นั้น

53 จะรับผิดชอบต่อพันธสัญญาในความสัมพันธ์ได้หรือไม่ เพราะผู้ใต้อุปถัมภ์อาจจะไม่เชื่อว่าพรรคเหล่านั้นจะรักษา สญั ญาเอาไวเ้ มอ่ื ไดร้ บั ชยั ชนะจากการเลอื กตง้ั จากการสนบั สนนุ ของตน (Stokes, 2011) อยา่ งไรกต็ ามงานวจิ ยั เรอ่ื ง ระบบอปุ ถมั ภท์ างการเมอื งในปจั จบุ นั ยงั ไมส่ ามารถมขี อ้ สรปุ ทต่ี รงกนั ไดว้ า่ คนจนอาจจะเหน็ กบั ผลประโยชนเ์ ฉพาะหนา้ มากกวา่ ค�ำสญั ญาในเรอื่ งของนโยบายการกระจายทรพั ยากรในอนาคตทยี่ งั มาไมถ่ งึ เพราะเขาไมก่ ลา้ เสยี่ งกบั อนาคต แต่ส่ิงที่ค้นพบในบางกรณีน้ันช้ีว่า ผู้อุปภัมภ์และพรรคอุปภัมภ์โดยเฉพาะเมื่อเข้าไปมีอ�ำนาจรัฐแล้วอาจมีแรงจูงใจ ท่ีจะไม่แก้ปัญหาความยากจนและความไม่เท่าเทียมอย่างเป็นระบบเพราะต้องการใช้ระบบอุปถัมภ์เป็นเง่ือนไข ของการอยู่ในอ�ำนาจในพน้ื ทเ่ี หลา่ นน้ั (เพงิ่ อ้าง) ในประการสดุ ทา้ ยระบบอปุ ถมั ภท์ างการเมอื งและการซอ้ื เสยี งอาจเปน็ เรอ่ื งทเี่ กดิ จากการจดั วางสถาบนั ทางการเมือง (institutional arrangement) บางอย่าง อาทิ กฎระเบียบ ระบบการเลือกตั้งท่ีกลับส่งเสริม ให้เกิดการแข่งขันในพ้ืนท่ีแบบท่ีเน้นตัวบุคคล และต้องใช้กลไกหัวคะแนน ตัวกลาง และกลุ่มคนท่ีต้องคอยจับตา การกระท�ำตา่ ง ๆ ของผลู้ งคะแนนเสยี งในรายละเอยี ด หรอื ระบบพรรคการเมอื งทมี่ โี ครงสรา้ งหลวมและรวมอ�ำนาจ เข้าส่ศู ูนยก์ ลางไมไ่ ด้ กจ็ ะส่งผลใหเ้ กิดการเมอื งแบบระบบอุปถมั ภ์ (Hicken, 2007 และ Stokes, 2011) 2.1.8.3 การเลือกตั้งที่เสรีและเป็นธรรมและการตรวจสอบการเลือกต้ัง แมว้ า่ การพดู ถงึ การเลอื กตง้ั ทเ่ี สรแี ละเปน็ ธรรม (free and fair election) นน้ั จะเปน็ สงิ่ ทเี่ ปน็ สงิ่ ทร่ี บั รกู้ นั โดยทั่วไป แต่ค�ำจ�ำกัดความในรายละเอียดของการเลือกตั้งที่เสรีและเป็นธรรมในรายละเอียดอาจจะไม่ค่อยได ้ มกี ารพดู ถงึ มากนัก องค์กร Inter-Parliamentary Union ซ่ึงเป็นศูนย์กลางของรัฐสภาทั่วโลกซ่ึงก่อตั้งในปี ค.ศ. 1889 และมีสมาชิกถึง 179 ประเทศจาก 193 ประเทศท่ัวโลก (และประเทศไทยก็เป็นสมาชิกในองค์กรน้ี) ได้น�ำเสนอ ข้อตกลงที่ประเทศสมาชิกน้ันจะต้องน้อมน�ำไปปฏิบัติทั้งหมดสิบประการในฐานะภาระหน้าท่ีในระดับนานาชาติ (international duty) เพอ่ื ใหก้ ารเลือกตัง้ น้นั เสรีและเป็นธรรม ดังน้ี 1. ข้อปฏิบัติทางด้านกฎหมายเลือกตั้ง และ ระบบเลือกต้ัง (election law and system) โดย การเลือกระบบการเลือกตั้งน้ันจะต้องส่งเสริมให้เกิดการแสดงออกซ่ึงเจตจ�ำนงของประชาชน ผ่านการเลือกตั้งที่สม�่ำเสมอและมีความถูกต้องแท้จริง (periodic and genuine election) โดยจดั ใหม้ ขี น้ึ บนพน้ื ฐานของความเทา่ เทยี มในการลงคะแนนเสยี งและเลอื กตง้ั ดว้ ยบตั รเลอื กตง้ั ในคหู าท่ไี ม่มใี ครรวู้ ่าเลือกใคร (equal suffrage and secret ballot) 2. ขอ้ ปฏบิ ัตทิ างดา้ นการก�ำหนดเขตพืน้ ทกี่ ารเลือกต้ัง (constituency delimitation) โดยจะตอ้ ง ระมดั ระวงั ไมใ่ หก้ ารแบง่ เขตนน้ั ท�ำใหเ้ กดิ การไดเ้ ปรยี บเสยี เปรยี บกนั และพรากสทิ ธขิ องประชาชน บางกล่มุ ออกไป 3. ข้อปฏิบัติทางด้านการบริหารจัดการการเลือกตั้ง (election management) โดยจะต้อง กระท�ำโดยองคก์ รที่มีความเป็นกลางและเปน็ อิสระ (independent and impartial) เพอ่ื สร้าง ความไวเ้ นอ้ื เชอื่ ใจ (trust) ให้กบั ผูท้ เ่ี ก่ียวขอ้ ง

54 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 4. ข้อปฏิบัติทางด้านสิทธิในการลงคะแนนเสียง (the right to vote) เช่นการให้สิทธิ ในการลงคะแนนกับพลเมือง และการค�ำนึงถึงข้อจ�ำกัดทางอายุและภูมิล�ำเนา รวมท้ัง การลงคะแนนนอกเขตเลอื กตง้ั 5. ข้อปฏิบัติทางด้านการลงทะเบียนใช้สิทธิเลือกตั้ง (voter registration) อาทิ ความยุ่งยาก ในการลงทะเบยี น และใชเ้ อกสารในการลงทะเบยี นใชส้ ิทธเิ ลือกต้งั 6. ขอ้ ปฏิบตั ิทางดา้ นการใหค้ วามรแู้ ก่พลเมอื งและข้อมลู แกผ่ ใู้ ชส้ ทิ ธเิ ลือกต้งั (civic education and voter information) ในเรอื่ งของความเขา้ ใจระบบการเลอื กตงั้ และขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการเลอื กตงั้ แกป่ ระชาชน ทั้งในโรงเรยี นและในสถานทีอ่ นื่ ๆ 7. ข้อปฏิบัติเก่ียวกับผู้ลงสมัครเลือกตั้ง พรรคการเมือง และ องค์กรทางการเมืองรวมไปถึงด้าน การรบั การสนบั สนนุ ดา้ นการเงนิ (candidates, political parties and political organization including funding) เรื่องน้ีจะเชือ่ มโยงกบั ระบบการเลือกต้ังที่มีอยู่ วา่ จะมีผลต่อโอกาสของ ผสู้ มคั รในการได้รับเลือก หรือ พรรคเล็ก พรรคใหญจ่ ะเสียเปรียบหรือไดเ้ ปรยี บกันอย่างไร 8. ข้อปฏิบัติทางด้านการรณรงค์การเลือกต้ัง รวมไปถึงการป้องกันและเคารพสิทธิมนุษยชน ข้ันพื้นฐาน การพบปะทางการเมือง การเข้าถึงสื่อ และการที่สื่อนั้นสามารถลงข่าวได้ทั่วถึง (electoral campaigns including protection and respect for fundamental human rights, political meeting, and media access and coverage) หมายถึงว่า ผู้สมัครและพรรคน้ันมีเสรีภาพในการรณรงค์มากน้อยเพียงใด และประชาชนมีโอกาสรับรู ้ ข่าวสารจากทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียมหรือไม่ 9. ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ างดา้ นการลงคะแนน การสงั เกตการณแ์ ละควบคมุ การเลอื กตง้ั และผลการเลอื กตงั้ (balloting, monitoring and results) โดยเน้นพิจารณาที่วันลงคะแนนว่าการตั้งหน่วยน้ัน เข้าถึงได้ง่ายหรือไม่ ตัวเจ้าหน้าท่ีควบคุมหน่วยน้ันมีความรู้ความสามารถหรือไม่ ข้ันตอน มคี วามชดั เจนหรือไม่ ตวั แทนพรรคมที ห่ี นว่ ยหรอื ไม่ การลงคะแนนน้นั เป็นการลงคะแนนลับ ในคูหาหรือไม่ ความมั่นคงของหีบบัตร ความซ่ือตรงของการนับคะแนน และการแปรผล จากการนับคะแนนไปสู่ผลทางการเมือง 10. ข้อปฏิบัติทางด้านข้อร้องเรียน และ การแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง (complaints and dispute resolution) หมายถงึ ประสทิ ธภิ าพและความรวดเรว็ ในการรบั เรอ่ื งและแกป้ ญั หา (Goodwin- Gill, 2006) ขณะที่ Bishop and Hoeffler (2016) ไดป้ รบั ปรงุ หลกั การ 10 ขอ้ นมี้ าวดั ประเมนิ ผล เชิงปริมาณกับ การเลือกต้ัง 1,114 ครั้ง ใน 169 ประเทศระหว่างปี ค.ศ. 1975 ถึง 2011 พบวา่ แนวโนม้ ทกี่ ารเลอื กตงั้ จะมคี วามเสรแี ละเปน็ ธรรมมแี นวโนม้ ทจ่ี ะลดลง จากรอ้ ยละ 70 ในช่วงทศวรรษแรก มาสู่ร้อยละ 45 ในทศวรรษสุดท้ายของการประเมนิ ผล และการเลือกต้ัง ในชว่ งหลงั นน้ั มกั เปน็ เรอ่ื งของการทรี่ ฐั บาลใชก้ ารเลอื กตงั้ ในการสรา้ งความชอบธรรมใหต้ วั เอง มากกว่าท่ีจะกล้าเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และส่วนใหญ่การเลือกตั้ง ทมี่ ีปัญหามักจะมปี ัญหาในช่วงก่อนวันเลือกตง้ั (Bishop and Hoeffler, 2016)

55 อย่างไรก็ตาม นักวิชาการด้านการศึกษาการเลือกต้ังได้ตั้งข้อสังเกตถึงประเด็นท้าทายในการ สังเกตการณ์และรับรองผลการเลือกต้ังว่า ในทางปฏิบัติน้ันเม่ือมีการวัดประเมินผลการเลือกต้ังท่ีเสรีและ เป็นธรรมแล้ว ก็หลีกเลี่ยงได้ยากท่ีจะต้องมีสภาวะท่ีจ�ำต้องเลือกว่าจะให้การเลือกตั้งน้ันผ่านมาตรฐานขั้นต่�ำ หรอื ไม่ และสงิ่ นเี้ ปน็ สว่ นส�ำคญั ทท่ี �ำใหก้ ารเลอื กตงั้ ครง้ั นนั้ มคี วามชอบธรรม ทงั้ ทใ่ี นการเลอื กตง้ั ทเี่ กดิ ขน้ึ จรงิ นนั้ มเี รื่องราวในรายละเอยี ดและมบี รบิ ทมากมายท่คี วรพจิ ารณา (Bjornlund, 2004 อา้ งใน Alvarez, Hall, and Hyde, 2009) ในประการสุดท้าย การศึกษาด้านการสังเกตการณ์เลือกต้ังพบว่า ในกรณีท่ีประชาชนไม่เชื่อมั่น ในการสงั เกตการณแ์ ละการตรวจสอบการเลือกตั้งขององค์กรภายในประเทศ ผู้สงั เกตการณ์ในระดบั นานาชาติ ที่ไม่มีความเช่ือมโยงกับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในการแข่งขั้นน้ันเป็นทางเลือกท่ีส�ำคัญในการสังเกตการณ์การเลือกต้ัง (Sutter, 2003) 2.1.8.4 การเลือกต้ังท่ีมีความหมาย พิชญ์ พงษ์สวัสด์ิ (2561ก) เสนอว่า ส่วนส�ำคัญของการเลือกต้ังท่ีจะท�ำให้เกิดประชาธิปไตยท่ีมี คณุ ภาพนั้นจะตอ้ งประกอบด้วยสว่ นส�ำคญั ส่ปี ระการ 1. เป็นการเลือกต้ังท่ี “เสรี” (free) กล่าวคือ ประชาชนมีเสรีภาพในการเลือกผู้สมัคร ในเขต เลือกต้ังน้ัน ๆ มีผู้สมัครมากกว่าหนึ่งคน (ในระเบียบก็จะมีว่า หากมีแค่รายเดียวก็จะต้อง ได้รับเสยี งจ�ำนวนหนงึ่ ท่ีมนี ัยส�ำคญั ดว้ ย ไม่เช่นนัน้ อาจไมไ่ ด้มคี ณุ สมบตั ิของความเปน็ ตวั แทน ของประชาชนได้) 2. เปน็ การเลอื กตง้ั ที่ “เปน็ ธรรม” (fair) หมายถงึ วา่ เปดิ ใหแ้ ขง่ ขนั กนั ไมม่ กี ารสรา้ งความไดเ้ ปรยี บ เสยี เปรยี บ บางพรรคไมเ่ รมิ่ หาเสยี งไดก้ อ่ นพรรคอน่ื รฐั บาลทอี่ ยใู่ นอ�ำนาจถา้ ตอ้ งการลงมาเลอื กตงั้ กจ็ ะตอ้ งมสี ถานะเปน็ รฐั บาลรกั ษาการ เพอื่ ไมไ่ ปอนมุ ตั โิ ครงการอะไรในชว่ งทมี่ กี ารแขง่ ขนั กนั กฎกตกิ าทใี่ ช้ ใชไ้ ดก้ บั ทกุ พรรคเสมอกนั กระบวนการทจุ รติ การเลอื กตง้ั ถกู ลงโทษอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ทกุ พรรค และไมก่ ลายเป็นอาวธุ ให้ฝา่ ยผู้มีอ�ำนาจใชเ้ ลน่ งานอกี ฝ่ายหน่ึง 3. เปน็ การเลือกตง้ั ที่ “จดั ขน้ึ อย่างสมำ่� เสมอ” (regular) มกี ารก�ำหนดทแ่ี นน่ อนชดั เจน ไม่เลื่อน ไปเรื่อย ๆ 4. เป็นการเลือกต้ังท่ี “มีความหมาย” (meaningful) ประชาชนจะมีส่วนในการเลือกต้ังไม่ใช ่ แค่เรื่องของการถูกส่ังให้ไปแสดงตนเป็นพลเมืองเพียงแค่ไปหย่อนบัตรเลือกตั้งในฐานะ “การท�ำหน้าท่ี” พลเมือง หรือเข้ามีส่วนร่วมในการสังเกตการเลือกต้ังในความหมายของ การไป “จับทุจริต” การเลือกต้ัง แต่ยังต้องหมายรวมไปถึงการร่วมกันสร้างสรรค์บรรยากาศ ของการเลือกต้ังให้เต็มไปด้วยความหวังและเหตุผลสาธารณะว่าการเลือกตั้งจะมีความหมาย กับประชาชนอยา่ งไร

56 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ความทา้ ทายในการสรา้ งสรรคใ์ หก้ ารเลอื กตง้ั มคี วามหมายตอ่ ประชาชน และมคี วามหมายตอ่ คณุ ภาพ และความยั่งยืนของประชาธิปไตยจะเกิดขึ้นได้ยากหากเราเผชิญหน้ากบั ความจรงิ ส�ำคัญสองประการ 1. เมอ่ื ประชาชนรสู้ กึ วา่ กฎกตกิ าหลาย ๆ อยา่ งในการก�ำกบั ดแู ลการเลอื กตงั้ ไมเ่ ปน็ ธรรม เอนเอยี ง ไปขา้ งใดขา้ งหนงึ่ หรอื มนั มเี ปา้ ประสงคท์ จ่ี ะจดั การกลมุ่ การเมอื งบางกลมุ่ เปน็ พเิ ศษ ประเดน็ น้ี จะลกึ ซง้ึ กวา่ เรอ่ื งความเปน็ ธรรมของการเลอื กตงั้ ทไี่ ดก้ ลา่ วไปแลว้ ตรงทว่ี า่ เมอ่ื ประชาชนรสู้ กึ วา่ กฎระเบียบและกติกาของการเลือกต้ังไม่เป็นธรรม เขาอาจไม่อยากมีส่วนร่วมในการเลือกต้ัง หรือการเข้าไปมีส่วนร่วมน้ันเป็นไปในแบบท่ีไม่ได้สะท้อนเจตนารมณ์ที่แท้จริงของประชาชน หรอื อาจน�ำไปสคู่ วามรสู้ กึ ที่วา่ ไมม่ ีศรัทธาในระบอบประชาธปิ ไตยในระยะยาว 2. เมื่อประชาชนรู้ว่าข้อเสนอต่าง ๆ ของนักการเมืองท่ีเสนอตัวเข้ามาเลือกตั้งน้ันเป็นข้อเสนอ ที่สร้างประโยชน์แต่กับตัวนักการเมือง และกลุ่มท่ีสนับสนุน แต่ไม่ใช่ข้อเสนอของประชาชน และสงั คมทงั้ หมด หรอื มองวา่ นกั การเมอื งทกุ กลมุ่ นน้ั กม็ ขี อ้ เสนอคลา้ ย ๆ กนั เลอื กไปกเ็ ทา่ นนั้ ภาระการท�ำให้การเลือกต้ังเป็นกระบวนการที่มีความหมายและจรรโลงประชาธิปไตยจึงไม่ใช่เร่ือง แค่การเรียกร้องและจับตาว่าจะมีใครโกง หรือจะมีใครได้เปรียบจากระบบเลือกตั้งเท่าน้ัน แต่ยังต้องรวมไปถึง เร่ืองของการติดตาม ต้ังค�ำถามกับข้อเสนอต่าง ๆ ของนักการเมือง หรือบรรดากลุ่มท่ีมีอิทธิพลทางการเมือง รวมท้ังกลุม่ คนทอี่ ้างว่าอยนู่ อกการเมืองแต่มบี ทบาททางการเมอื งด้วย การท�ำให้การเลือกต้ัง “มีความหมาย” ด้วยเหตุผลท่ีอธิบายมาข้างต้น จึงต้องสร้างการเปิดกว้างให้ ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการเลือกต้ัง และการจัดการเลือกต้ังโดยไม่ถูกผูกขาดอยู่กับองค์กรอิสระ หรือหน่วยงานรัฐท่ีอ้างว่าหวังดีและท�ำเพ่ือประชาชน แต่บรรดาประชาสังคม สื่อมวลชน และประชาชนต่าง ๆ จะต้องสามารถสร้างสรรค์การเข้าร่วมทางการเมืองได้มากกว่าการเข้าคูหาและการเป็นสมาชิกพรรค หรือ ลงสมคั รรับเลอื กตงั้ (พชิ ญ์ พงษ์สวสั ด,์ิ 2561ก) 2.1.8.5 การเลือกตั้งที่ซ่ือตรง การเลอื กตง้ั ทซี่ อื่ ตรง หรอื ความสจุ รติ ขนั้ สงู และสมบรู ณแ์ บบของการเลอื กตงั้ (Electoral Integrity) ได้รบั การริเรมิ่ จากโครงการ Electoral Integrity Project (EIP) โดยมองว่า ความสุจรติ ขัน้ สูงและสมบรู ณ์แบบ ของการเลอื กตงั้ (หรอื ความซอ่ื ตรงของการเลอื กตงั้ ) หมายถงึ ความถกู ตอ้ งของการเลอื กตง้ั ทมี่ ากกวา่ ความถกู ตอ้ ง ตามกฎระเบียบท่ีมี เพราะกฎระเบียบที่มีอาจไม่ตรงไปตรงมา ไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะการเลือกต้ังท่ีไม่ได้เกิด ในระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตยที่มีคุณภาพ ค�ำว่า integrity ยังมีความหมายถึงความสมบูรณ์แบบ ของส่วนตา่ ง ๆ ทีป่ ระสานสอดคลอ้ งกันเป็นเอกภาพ เปน็ ท้ังความดีงามและสง่างามของสิ่งนั้น โครงการ EIP เป็นการศึกษาในระดับโลกโดยเปรียบเทียบกันในแต่ละกรณีของแต่ละประเทศ และยังเป็นการสร้างและแสวงหาความรู้ที่ส่งผลถึงการปฏิบัติและรณรงค์เรื่องของการเลือกต้ัง ความเข้าใจ

57 การเลือกตั้ง และการจับตา-ตรวจสอบการเลือกตั้ง ท่ัวโลก โดยพยายามหาหลักการในเรื่องความซื่อตรง ของการเลือกต้ังให้มีความชัดเจน น�ำไปปฏิบัติและประเมินส่ิงที่เกิดขึ้นว่าความซ่ือตรงของการเลือกตั้งนั้น เกดิ ขึน้ แค่ไหน และถูกละเมิดไปแคไ่ หน ส่วนส�ำคัญของความสุจริตขั้นสูงและความสมบูรณ์แบบของการเลือกตั้งนั้นยังยึดโยงกับมาตรฐาน และธรรมเนียมปฏิบัติ (standard and norms) ของการเลือกตั้งท่ัวโลก และหลักปฏิบัติเรื่องการเลือกตั้งน้ี กว็ วิ ฒั นาการมาจากกตกิ าระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยสทิ ธพิ ลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื ง (ICCPR - UN International Covenant for Civil and Political Rights 1966) ซึ่งประเทศไทยเองได้ลงนามใหส้ ัตยาบนั กบั สหประชาชาติ มานานแล้ว สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองน้ีรวมเอาเร่ืองของสิทธิในชีวิต เสรีภาพในศาสนา เสรีภาพ ในการพูดและเขียน เสรีภาพในการชุมนุม สิทธิในการเลือกต้ัง และสิทธิในการได้รับการพิจารณาความ อย่างยตุ ิธรรมเอาไว้ดว้ ย การเลือกต้ังถูกมองว่าเป็นส่วนหน่ึงของสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซ่ึงสิทธิพลเมืองและ สิทธิทางการเมืองก็ถือเป็นส่วนหน่ึงของสิทธิมนุษยชน ท่ีรองรับโดยปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ในรายละเอยี ดของ ICCPR นนั้ ไดร้ ะบถุ งึ สว่ นทเี่ กย่ี วเนอ่ื งกบั การเลอื กตงั้ ไวห้ ลายสว่ น ไดแ้ ก่ การจ�ำตอ้ ง มีการเลือกต้ังที่สม่�ำเสมอ การเลือกตั้งท่ีสิทธิเลือกตั้งเปิดกว้างให้กับทุกภาคส่วน การเลือกตั้งท่ีเสียงทุกคน เท่ากัน สิทธิที่จะลงสมัครรับเลือกตั้ง สิทธิท่ีจะได้ลงคะแนนเสียง กระบวนการปิดลับของการลงคะแนนเสียง และการเลอื กตง้ั ท่สี ะทอ้ นความมเี สรภี าพในการแสดงออกซง่ึ เจตจ�ำนงของประชาชน ส่วนหน่ึงท่ีส�ำคัญของการศึกษาและสังเกตการณ์ของการเลือกตั้งเกี่ยวเน่ืองกับเรื่องของ “วงจร การเลอื กตงั้ ” (The Electoral Cycle) ซง่ึ แบง่ ออกเปน็ 11 ขน้ั ตอนหลกั ทหี่ มนุ โยงเชอ่ื มกนั โดย (อาจ) เรม่ิ ตน้ ท่ี 1. กฎหมายการเลอื กต้ัง ซึ่งรวมถึงโครงสร้างกฎหมายตวั อนื่ ๆ อาทิ รัฐธรรมนญู 2. กระบวนการเลือกตัง้ 3. การออกแบบเขตเลือกตั้ง 4. การลงทะเบียนผมู้ สี ิทธิเลอื กต้ัง และการยนื ยนั สิทธิเลือกตัง้ 5. การลงทะเบยี นพรรคการเมอื ง และผสู้ มคั รรบั เลือกตงั้ 6. การรณรงคห์ าเสียงในสอื่ ตา่ ง ๆ 7. การจัดการด้านการเงินต่าง ๆ ของพรรคและผ้สู มคั ร 8. กระบวนการลงคะแนนเสยี ง 9. การนบั คะแนน 10. ผลการเลือกตัง้ 11. บทบาทของผจู้ ดั และควบคมุ การเลอื กตั้งให้เป็นไปอย่างเสรี เปน็ ธรรม

58 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ในกระบวนการเหล่านี้จะเห็นได้ว่า การทุจริตการเลือกตั้ง หรือแม้กระทั่งความไม่ชอบมาพากล (irregularities) ของการเลือกตั้งนั้นเกิดขึ้นได้ในหลายระดับ และเก่ียวเน่ืองกับผู้มีบทบาทในการเลือกตั้ง หลายกลมุ่ ไม่ใช่มีแต่ประชาชนกับนักการเมืองเทา่ นนั้ นอกจากน้ี การพดู ถงึ ความซอ่ื ตรงของการเลอื กตง้ั ยงั มคี วามหมายทกี่ วา้ งกวา่ กระบวนการทางกฎหมาย ที่เก่ียวเนื่องกับการเลือกตั้ง ที่มักวนเวียนกับการตีความด้วยองค์กรยุติธรรมที่ยึดอิงกับตัวบทกฎหมายเป็นหลัก และหน่วยงานท่ีอ้างอิงว่าตัวเองน้ันมีสิทธิในการใช้อ�ำนาจต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง ซึ่งบ่อยครั้ง หากบรบิ ททางสงั คมนนั้ ไมไ่ ดเ้ ปน็ บรบิ ทแบบประชาธปิ ไตย โดยเฉพาะในบรบิ ททสี่ ทิ ธเิ สรภี าพไมไ่ ดม้ อี ยา่ งสมบรู ณ์ โดยเฉพาะสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองก่อนการเลือกตั้งในบริบทที่ไม่ได้อยู่ในสังคมประชาธิปไตย ความน่าเช่ือถือของกระบวนการทางกฎหมายท่ีมักถูกตีความในกรอบที่คับแคบนั้นก็จะมีผลท่ีให้ความซ่ือตรง ของการเลือกตั้งครั้งน้ัน ๆ จะถูกต้ังค�ำถามและส่งผลในระยะยาวต่อความชอบธรรม (legitimacy) ของระบบ การเมืองหลงั การเลือกต้งั และความชอบธรรมของระบอบการเมืองหลังการเลอื กต้งั การทจุ รติ การเลอื กตงั้ (electoral malpractices) ทม่ี กั พจิ ารณากนั วา่ เปน็ เรอ่ื งของการซอื้ สทิ ธขิ ายเสยี งนนั้ ในมมุ มองของความซอ่ื ตรงของการเลอื กตงั้ นนั้ ยงั รวมไปถงึ ปญั หาและความไมช่ อบมาพากลของการจดั การเลอื กตง้ั (electoral maladministration) ดว้ ย ซงึ่ รวมไปตง้ั แตเ่ รอ่ื งความผดิ พลาดทเี่ กดิ เปน็ ประจ�ำ และความผดิ พลาด ทไี่ มไ่ ดต้ ง้ั ใจของการบรหิ ารจดั การเลอื กตงั้ โดยเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ซงึ่ อาจเปดิ ไดจ้ ากหลายสาเหตุ ตงั้ แตค่ วามลม้ เหลว ในการบริหารจัดการ ความไร้ประสิทธิภาพ ความอ่อนแอขาดสมรรถภาพของรัฐในการจัดการ ท่ีในหลายกรณี อาจจะต้องถูกมองได้ว่า รัฐอาจไม่ได้ล้มเหลวในการจัดการการเลือกต้ัง แต่การเลือกตั้งที่ล้มเหลวน้ันสะท้อน ความเข้มแขง็ และทรงประสิทธภิ าพอย่างยงิ่ ในการจัดการเลือกต้งั ของสถาบนั ทางการเมืองในระบอบการเมอื ง ทยี่ งั ไม่ใช่ประชาธิปไตย หรอื เปน็ ประชาธปิ ไตยท่ีไร้คณุ ภาพ นอกเหนือจากการคาดการณ์ว่าหากประชาชนน้ันเข้าใจว่าการเลือกตั้งนั้นไม่ซ่ือตรงแล้วพวกเขาจะมี ปฏิกิริยาอย่างไรแล้ว รัฐบาลและชนชั้นน�ำทางอ�ำนาจอาจจะมีปฏิกิริยาต่อความไม่พอใจของประชาชนที่มีต่อ การเลือกต้ังท่ีไม่ซื่อตรงได้หลายแบบ ซ่ึงข้ึนอยู่กับเง่ือนไขและตัวแปรหลายประการ อาทิ ช่วงเวลา ลักษณะ ของระบอบการเมอื งทอ่ี ยใู่ นอ�ำนาจในชว่ งนน้ั โครงสรา้ งทางโอกาสของการระดมการเคลอื่ นไหวของผทู้ ไ่ี มพ่ อใจ ความสูสีของผลคะแนนท้ังสองฝ่าย การสร้างสมดุลทางอ�ำนาจในหมู่ชนช้ันน�ำกับพรรคการเมือง และความลึก และยาวนานของบาดแผลและความรู้สึกของผู้คนต่อความไม่ชอบมาพากลท่ีเกิดข้ึน และอาจจะรวมไปถึง ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ในแบบท่ีจะลามไปถงึ รฐั เพ่อื นบา้ น กรณีแรก ระบอบการเมืองที่ด�ำรงอยู่ (โดยเฉพาะชนชั้นน�ำในอ�ำนาจ) อาจจะเลือกที่จะไม่สร้าง ความเปล่ียนแปลงใหญ่ แต่เน้นการสร้างความสมดุลทางอ�ำนาจให้เกิดขึ้น โดยเปิดให้สังคมถกเถียง และให้มี การพยายามแก้ไขด้วยแนวทางสันติ หรือแนวทางตามรัฐธรรมนูญ กล่าวคือ เม่ือรัฐไม่ได้ปิดบังอะไรไว้มาก การเคล่ือนไหวต่าง ๆ จากคนที่ไม่พอใจก็อาจอยู่ไม่ได้ในระยะยาว แต่การสร้างสมดุลทางอ�ำนาจน้ีมักจะเกิด ในระบอบการเมืองท่ีประชาธิปไตยตั้งม่ันแล้ว คือไม่มีการหันไปหาอ�ำนาจนอกกฎหมายเข้ามาเกี่ยวข้อง

59 ต่างฝ่ายต่างใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญ แต่เป็นรัฐธรรมนูญท่ีเคารพหลักการประชาธิปไตยมาต้ังแต่แรกด้วย กล่าวคือเปิดให้มีการสอบสวนเร่ืองราวต่าง ๆ และเอาผิดในเร่ืองการทุจริตการเลือกตั้งที่เกิดขึ้น และแก้ไข กนั ไปตามน้ันเมอื่ เปน็ เช่นนี้ความเปล่ยี นแปลงใหญ่ก็จะไม่เกดิ ข้นึ กรณีที่สอง การปฏิรูประบบเลือกต้ัง กรณีน้ีมักจะเกิดข้ึนในกรณีที่ประชาธิปไตยต้ังม่ัน แต่ฝ่ายท ่ี ไม่พอใจกับการเลือกตั้งท่ีทุจริตสามารถระดมความไม่พอใจของผู้คนให้แสดงออกมาอย่างเป็นกลุ่มก้อนได ้ และตวั เร่งส�ำคญั กค็ อื ความไม่เป็นเนอ้ื เดียวกันของชนชั้นน�ำทางอ�ำนาจ กรณีท่ีสาม การยินยอมท่ีจะเปลี่ยนแปลงไปสู่ประชาธิปไตยเพิ่มขึ้น กรณีนี้คือเรื่องของการท่ีระบอบ การเมอื งนนั้ เปน็ เผดจ็ การ หรอื ไมไ่ ดเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตยทต่ี ง้ั มนั่ หรอื ไมเ่ ปน็ ประชาธปิ ไตยทมี่ คี ณุ ภาพ แตเ่ มอื่ เกดิ แรงกดดนั ทางสงั คมทไี่ มพ่ อใจ และเคลอื บแคลงสงสยั ตอ่ ความสจุ รติ ขนั้ สงู และสมบรู ณแ์ บบของการเลอื กตง้ั ระบอบ การเมืองกลับเลือกที่จะก้าวเข้าสู่ความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ทั้งน้ี เพราะความไม่พอใจต่อการเลือกตั้งน้ัน ท�ำให้ประชาชนรวมตัวกันได้มากขึ้น และภาคประชาชนมีความเข้มแข็งขึ้น ตระหนักถึงสิทธิพลเมืองและสิทธิ ทางการเมอื งของตนเพมิ่ ขนึ้ และสรา้ งแรงกดดนั ใหร้ ะบอบนนั้ เพมิ่ หรอื ยนิ ยอมใหม้ ติ ขิ องประชาธปิ ไตยมมี ากขนึ้ กรณีท่ีสี่ การเพิ่มความเข้มงวดในการปราบปรามเกิดขึ้นในเง่ือนไขระบอบการเมืองแบบเดียวกับ กรณีท่ีสาม แต่ชนชั้นน�ำในระบอบการเมืองเลือกจะใช้ก�ำลังปราบปรามประชาชน ต้ังแต่ห้ามหรือปราบปราม การชุมนุม แทรกแซงและกดดันสื่อ กักขังผู้เห็นต่าง และประกาศภาวะฉุกเฉิน เงื่อนไขการปราบปรามนี้ จะเกิดข้ึนได้เมื่อกองทัพอยู่ข้างเดียวกับผู้มีอ�ำนาจ รวมทั้งศาลและสถาบันที่จัดและตรวจสอบการเลือกตั้ง อยู่ใต้อิทธพิ ลของชนช้ันน�ำในระบอบการเมอื ง รวมทงั้ ผทู้ ี่ไมพ่ อใจกับการเลือกตั้งรวมกันไมต่ ิด กรณที หี่ า้ การลกุ ฮอื ขน้ึ ของประชาชนและการปฏวิ ตั ิ รวมทงั้ การเปลยี่ นระบอบการเมอื ง นค่ี อื กรณที ี่ ชนชนั้ น�ำทางอ�ำนาจในระบอบการเมอื งทด่ี �ำรงอยนู่ น้ั ลม้ เหลวทงั้ การใชไ้ มอ้ อ่ นไมแ้ ขง็ ในการจดั การกบั ความไมพ่ อใจ ตอ่ การเลอื กตงั้ ของประชาชน ซง่ึ เงอื่ นไขทเ่ี ปน็ ไปไดไ้ มใ่ ชแ่ คว่ า่ ประชาชนนนั้ เปน็ ใหญ่ แตเ่ ปน็ เพราะวา่ กองทพั นน้ั เปลยี่ นขา้ ง และชนชน้ั น�ำทางอ�ำนาจไมส่ ามารถควบคมุ องคาพยพของรฐั ได้ รวมทง้ั ผทู้ ไี่ มพ่ อใจกบั ผลการเลอื กตง้ั รวมกระทั่งพรรคการเมืองต่าง ๆ น้ันมีเอกภาพ รวมท้ังมีแรงกดดันจากนานาชาติ เงื่อนไขเหล่านี้จะน�ำไปสู่ การเปล่ียนแปลงในระดับรากฐานจากเบื้องล่าง (พัฒนาจาก พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, 2562ข, Norris, 2014 และ Norris, 2015) 2.1.8.6 การเลือกตั้งที่เต็มไปด้วยความขัดแย้ง การเลอื กตง้ั ทเี่ ตม็ ไปดว้ ยความขดั แยง้ (contentious election) เปน็ แนวคดิ ในการศกึ ษาทพี่ จิ ารณาวา่ การเลือกต้ังน้ันไม่ได้มีแต่เพียงมิติของการแข่งขัน โดยอนุมานว่าการแข่งขันนั้นมีเงื่อนไขของความเท่าเทียม เปน็ ธรรม มีกฎกติกาที่แตล่ ะฝา่ ยยอมรับได้ในระดบั หนึ่ง (competition หรอื มลี ักษณะ competitive)

60 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร การเลอื กตงั้ ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความขดั แยง้ นน้ั มรี ากฐานมาจากแนวคดิ ในการศกึ ษาทางการเมอื งทเี่ ตม็ ไปดว้ ย ความขัดแย้ง (contentious politics) มากกว่าเร่ืองการแข่งขัน โดยการเมืองที่เต็มไปด้วยความขัดแย้ง ในหลายรปู แบบ ตง้ั แตค่ วามขดั แยง้ ทางชาตพิ นั ธ์ุ หรอื ทางศาสนา การประทว้ งทางการเมอื ง สงครามกลางเมอื ง อารยะขดั ขนื การตอ่ ตา้ น การฆา่ ลา้ งเผา่ พนั ธ์ุ และการปฏวิ ตั ิ โดยทก่ี ารเลอื กตงั้ ทเี่ ตม็ ไปดว้ ยความขดั แยง้ นนั้ หมายถงึ การต่อสู้แข่งขัน (contests) ที่ต้องเผชิญกับความท้าทายหลายประการ (challenges) ที่มีต่อความชอบธรรม (legitimacy) ของผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเลอื กตงั้ กระบวนการเลอื กตง้ั หรอื ผลของการเลอื กตง้ั เอง ซง่ึ ความทา้ ทายนี้ กม็ หี ลายระดบั ตั้งแตใ่ นระดับที่ไมม่ ากนักไปจนถงึ ระดับทรี่ ุนแรงมาก การเลือกตั้งท่ีเต็มไปด้วยความขัดแย้งนี้จะเกิดข้ึนในสังคมที่มีความขัดแย้งในระดับร้าวลึก ซ่ึงม ี ผลทา้ ทายไปที่ความชอบธรรมของหลายสว่ น ไดแ้ ก่ 1. ท้าทายความชอบธรรมของผู้ท่ีมีส่วนในการจัดการเลือกต้ัง (electoral actors) เช่น การตัง้ ค�ำถามไปทเ่ี รอ่ื งของความเป็นกลางของผจู้ ดั เลือกตัง้ 2. ท้าทายความชอบธรรมของกระบวนการเลือกต้ัง (electoral procedure) ท้ังวงจรของ การเลือกตัง้ ตง้ั แต่ความไมเ่ หน็ ดว้ ย/ไมล่ งรอยกนั ของความเหน็ ทมี่ ีตอ่ กติกาการเลือกตัง้ อาทิ การลากเสน้ แบง่ เขตเลอื กตง้ั การลงทะเบยี นผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ การลงทะเบยี นผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ และการจด/ลงทะเบยี นพรรคการเมอื ง ส�ำนกั งานพรรค การใชจ้ า่ ยในการหาเสยี ง การก�ำกบั สอื่ การก�ำกับกติกาการลงคะแนน และการค�ำนวณคะแนนทจี่ ะมีผลตอ่ การไดเ้ กา้ อผ้ี แู้ ทน 3. ทา้ ทายความชอบธรรมของผลการเลอื กตงั้ ทจี่ ะมผี ลตอ่ ความชอบธรรมของผชู้ นะการเลอื กตงั้ ซงึ่ ในรายละเอียดกร็ วมไปถึงตัวผ้นู �ำประเทศ ตัวผ้แู ทน และตวั พรรคการเมอื ง กล่าวโดยสรุป การเลือกตั้งที่เต็มไปด้วยความขัดแย้ง (contentious election) ต้ังค�ำถามถึง ความชอบธรรมของการเลือกต้ัง ขณะที่การเลือกต้ังแบบที่เข้าใจโดยท่ัวไปคือการเลือกต้ังที่เป็นการแข่งขันเสร ี (competitive election) เป็นเรื่องของการตั้งค�ำถามถึงผลการเลือกต้ัง และเช่ือว่าจะน�ำไปสู่การเลือกตั้ง ทีม่ คี วามสมานฉนั ท์ (consensual election) ทย่ี อมรับท้งั กติกาและผลของการเลอื กตงั้ การศกึ ษาการเลอื กตงั้ ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความขดั แยง้ ท�ำใหเ้ ราเหน็ วา่ การเลอื กตงั้ นนั้ ไมเ่ ทา่ กบั ประชาธปิ ไตย แต่มีได้ในทุกระบอบรวมไปถึงเผด็จการและการปกครองแบบลูกผสม (hybrid regime) ท้ังน้ีการเลือกตั้ง ท่ีเต็มไปด้วยความขัดแย้งพิจารณาถึงบริบทแวดล้อมของการเลือกต้ัง ท่ีมาที่ไปของการเลือกตั้ง โครงสร้าง ทางสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง การจดั วางสถาบนั ทางการเมอื ง และความชอบธรรมในยคุ สมยั นน้ั ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเลือกต้ังกับความขัดแย้งท�ำให้เราอาจเจอกรณีท่ี ย่ิงเลือกตั้ง ความขดั แยง้ กไ็ มไ่ ดล้ ดลง และอาจจะเพม่ิ มากขน้ึ และท�ำใหเ้ ราไดม้ โี อกาสพจิ ารณาความเปน็ ไปของการเลอื กตงั้ ท่ีเต็มไปด้วยความขัดแย้งและหาทางปรับแก้ หรือสร้างหลักประกันไม่ให้มันเกิดขึ้น ในฐานะเงื่อนไขที่จะท�ำให้

61 ระบอบการเมืองนั้นมีเสถียรภาพ มีความชอบธรรม ซึ่งเร่ืองเหล่านี้มีความส�ำคัญไม่น้อยไปกว่าการวิเคราะห์ กลยทุ ธ์การเลอื กตงั้ ผลการเลอื กต้ัง และนโยบายของแต่ละพรรคในการเลอื กตัง้ การปรากฏตัวของลกั ษณะของการเลอื กต้งั ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความขดั แย้งนั้นมีไดห้ ลายอย่างได้แก่ 1. การตกต่�ำลงของความไว้เนื้อเช่ือใจ และความม่ันใจต่อการเลือกตั้ง ท้ังจากตัวประชาชน และตวั ชนช้ันน�ำ 2. ในการเลือกตั้งหรือหลังการเลือกต้ังนั้นน�ำไปสู่การชุมนุมประท้วงโดยสันติ การไม่ร่วม สงั ฆกรรมด้วยของฝา่ ยค้าน การตอ่ ส้คู ดคี วามในศาล 3. ในกรณีที่รุนแรงท่ีสุดก็คือ ความขัดแย้งเรื่องการเลือกตั้งน�ำไปสู่ความรุนแรง (electoral violence) ทกี่ ระทบไปถึงความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน สาเหตุส่วนใหญ่ที่น�ำไปสู่การเลือกตั้งท่ีเต็มไปด้วยความขัดแย้งน้ันก็อาจจะมีตั้งแต่เร่ืองของการโกง การเลือกตั้งท่ีท�ำให้คนเริ่มไม่เลื่อมใสต่อการเลือกต้ัง การไม่เชื่อม่ันในการบริหารจัดการเลือกตั้งก็มีส่วนน�ำไปสู่ การประท้วง หรือแม้กระท่ังแต่ละฝ่ายรู้ว่าผลน้ันไม่เข้าข้างฝ่ายตนก็อาจจะเกิดการปะทุข้ึนของความขัดแย้ง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายประชาชน หรือ ฝา่ ยผมู้ อี �ำนาจ--ชนชั้นน�ำ การศึกษาการเลือกตั้งท่ีเต็มไปด้วยความขัดแย้งท�ำให้ไม่ด่วนสรุปง่าย ๆ ว่า การเลือกต้ังนั้นเป็นวิถี ทางประชาธปิ ไตยทช่ี อบธรรมโดยอตั โนมตั ิ แตต่ อ้ งท�ำความเขา้ ใจการกอ่ รปู ของความชอบธรรมของการเลอื กตง้ั และในบางคร้ังการไม่เช่ือมั่นในการเลือกต้ังก็ไม่ได้หมายความว่า ผู้เลือกต้ังส่วนมากไม่มีความรู้หรือถูกชักจูง ด้วยเงิน แต่อาจหมายถึงกฎกติกาท่ีร่างมามีจุดมุ่งหมายจะช่วยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือต้องการใช้การเลือกตั้ง ที่อยู่ภายใต้กตกิ านนั้ ๆ ขึ้นมาเพื่อสบื ทอดอ�ำนาจ ตวั กรรมการเลือกตัง้ ก็ไม่น่าเชือ่ ถือ หรือไม่ท�ำหนา้ ทท่ี ่ีตอ้ งท�ำ (สรุปความจาก พชิ ญ์ พงษส์ วสั ด์ิ, 2561ข Thomassen, 2014 และ Norris, Frank, and Coma, 2015) 2.1.9 การเลือกตั้งกับสื่ออินเทอร์เน็ต งานวจิ ัยชนิ้ นไ้ี ม่ใชง่ านวิจยั ทส่ี นใจเร่อื งสือ่ กับการเลอื กตัง้ โดยตรง แต่สนใจเรือ่ งความสมั พันธร์ ะหว่าง การเลือกต้ังกับสื่อใหม่เป็นพิเศษ เน่ืองจากการเติบโตของความนิยมและความเก่ียวพันของอินเทอร์เน็ต กับการเมืองโดยเฉพาะกับการเลือกต้ังน้ันมีเพิ่มมากขึ้นเร่ือย ๆ หากไม่นับบทบาทของส่ือใหม่กับการเมือง ในมติ อิ นื่ ๆ เชน่ การเคลอ่ื นไหวชมุ นมุ ประทว้ งบนทอ้ งถนน การลงคะแนนเสยี ง การมรี ฐั บาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ฯลฯ ขณะเดียวกันกฎระเบยี บมากมายของรฐั ท่อี อกมาก�ำกับดูแลอินเทอรเ์ น็ตก็ดจู ะมีเพม่ิ มากขน้ึ เรอ่ื ย ๆ โดยเฉพาะ ในชว่ งการรณรงคห์ าเสียง

62 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ส่ืออินเทอร์เน็ตในฐานะส่ือใหม่เข้ามามีบทบาททางการเมืองและมีบทบาทในการเปล่ียนแปลง การรณรงค์หาเสียงของผู้สมัคร ในกรณีสหรัฐอเมริกาผู้สมัครหาเสียงในระดับสภาผู้แทนใช้อินเทอร์เน็ต ในการรณรงค์หาทุน เขียนบล็อค สร้างชุมชนออนไลน์ นอกจากน้ีสื่อออนไลน์ยังมีต้นทุนท่ีต่�ำกว่าสื่ออ่ืน ๆ อาทิ โทรทัศน์ ซ่ึงอาจมีผลท�ำให้เกิดความเท่าเทียมกันในการแข่งขันมากข้ึนโดยเฉพาะกับผู้สมัครหน้าใหม่ นอกวงการเมอื งและพรรคการเมอื งขนาดเลก็ แมว้ า่ พรรคขนาดใหญอ่ าจจะยงั มคี วามไดเ้ ปรยี บในการน�ำขา่ วสาร ตา่ ง ๆ ไปสู่สาธารณะ (Davis et al., 2009) หากมองสหรัฐอเมริกาเป็นหมุดหมายส�ำคัญในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างอินเทอร์เน็ต กับการรณรงค์เลือกตั้ง จะพบว่า การใช้อินเทอร์เน็ตกับการรณรงค์การเลือกต้ังอย่างกว้างขวางเร่ิมต้น เม่ือปี ค.ศ. 1992 สมัยท่ี จอร์จ บุช กับ บิล คลินตัน แข่งขันกันสู่ต�ำแหน่งประธานาธิบดี โดยเริ่มจากบุช ใชจ้ ดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ สส์ ง่ ไปตามกระดานแจง้ ขา่ วอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (bulletin board) ของบรษิ ทั ตา่ ง ๆ ขณะท ่ี คลนิ ตนั สง่ ค�ำปราศรยั เอกสารประกาศจดุ ยนื ทางอดุ มการณแ์ ละนโยบาย และขอ้ มลู สว่ นตวั ลงตามกลมุ่ แบง่ ปนั ขา่ ว (newsgroup) กลมุ่ แจง้ ขา่ วของคลนิ ตนั เอง (Clinton Listserv) และสรา้ งทอี่ ยจู่ ดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องตวั เอง แต่กระนั้นก็ตามบทบาทของอินเทอร์เน็ตในสมัยน้ันก็ยังมีอยู่อย่างจ�ำกัด และประชาชนจ�ำนวนไม่มากนักท่ีจะ มโี อกาสเขา้ ถงึ ตอ่ มาในปี 1995 ทง้ั สองพรรคหลกั เรม่ิ มเี วบ็ ไซตข์ องพรรค และผสู้ มคั รของแตล่ ะพรรคทเ่ี รมิ่ รณรงค์ หยงั่ เสยี งเลอื กตง้ั ประธานาธบิ ดกี เ็ รม่ิ มเี วบ็ ไซตเ์ ปน็ ของตวั เองในการรณรงคห์ าเสยี ง ในทสี่ ดุ ผสู้ มคั รประธานาธบิ ดี ตวั จรงิ ของแตล่ ะฝา่ ย คอื คลนิ ตนั -กอร์ และ บอ๊ บ โดว์ กม็ เี วบ็ ไซตร์ ณรงคห์ าเสยี งของตวั เอง และแมว้ า่ อนิ เทอรเ์ นต็ จะยงั ไมเ่ ขา้ ถงึ ประชาชนในวงกวา้ ง แตก่ เ็ ปน็ ครง้ั แรกทใี่ นการประชนั วสิ ยั ทศั นน์ น้ั โดวไ์ ดก้ ลา่ วถงึ อเี มลแอดเดรส ของการรณรงคข์ องเขาผา่ นทางโทรทศั น์ และท�ำใหม้ ผี ้คู นเข้าชมถงึ สองล้านยอดชม (เพง่ิ อา้ ง) ในปี ค.ศ. 1998 ผู้สมัครสภาผู้แทนของสหรัฐถึงสองในสามมีเว็บไซต์เป็นของตัวเอง แต่ลักษณะของ เวบ็ ไซตย์ งั มลี กั ษณะเหมอื นสอื่ สงิ่ พมิ พห์ รอื brochure คอื แจง้ ขอ้ มลู และลง้ิ ค์ แตก่ ย็ งั ไมม่ ลี กั ษณะของการโตต้ อบ กบั ผชู้ ม (interactive) แตก่ ม็ กี ารสอื่ สารกนั ดว้ ยจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จนกระทง่ั ในปี ค.ศ. 2000 เวบ็ ไซตข์ อง ผู้สมัครและการรณรงค์เร่ิมมีลักษณะพิเศษเพิ่มขึ้นมาเช่น เว็บของกอร์กับลิเบอร์แมน มีการแชตออนไลน์ และการขายสนิ คา้ ออนไลน์ ขณะที่บุช เริม่ เปดิ ให้มีการถามค�ำถามสดเขา้ ไปในเว็บ (เพ่ิงอ้าง) อย่างไรก็ดี การใช้อินเทอร์เน็ตในการรณรงค์การเลือกต้ังในอเมริกาน้ันแม้ว่าจะมีเร่ืองของการน�ำ เอาข้อมูล และเทคโนโลยีในการส่ือสารใหม่ ๆ ใส่ลงไป แต่หัวใจส�ำคัญของการส่ือสารก็คือการชักชวนให้ผู้ชม เลอื กผู้สมัครรายนั้น และอยา่ เลอื กฝ่ายตรงข้าม ในเวบ็ ไซตม์ กั จะมีขอ้ มูลประวัติของผสู้ มัคร และข้อมูลเกยี่ วกับ ครอบครวั ของเขา โดยเฉพาะภาพของคชู่ วี ติ รายล�ำเอยี ดส�ำหรบั ตดิ ตอ่ อาทิ เบอรโ์ ทรศพั ท์ และทอี่ ยขู่ องจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ และการเชื่อมโยงกับองค์กร/กลุ่มคนท่ีให้การสนับสนุนการรณรงค์ครั้งนี้ ข้อเสนอทางโยบาย การตอบโต้ข้อกล่าวหา ค�ำปราศรัย และแผ่นพับ รวมท้ังการส่งข้อมูลข่าวสารไปยังผู้สนับสนุนอย่างสม�่ำเสมอ ผา่ นเครอื ขา่ ยจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ นอกจากนแี้ ลว้ การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ กบั การรณรงคน์ นั้ ไมไ่ ดม้ แี ตก่ ารสอื่ สาร แบบแจง้ ใหท้ ราบ (inform) แตย่ งั รวมไปถงึ การกระตนุ้ ใหผ้ สู้ นบั สนนุ ทางการเมอื งเกดิ การเคลอ่ื นไหว (mobilize) เช่นการใช้บล็อค (blog) ที่ท�ำให้การอัปเดตเกิดอย่างรวดเร็วสม�่ำเสมอกว่าการเปล่ียนหน้าเว็บไซต์ และการ

63 เสรมิ ลงิ้ กเ์ ขา้ ไป เพอื่ ใหส้ ามารถไดร้ บั ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จากแหลง่ อน่ื และการเสรมิ เรอื่ งของเครอื่ งมอื และขอ้ มลู ในการ คน้ หากจิ กรรมรณรงคแ์ ละองคก์ รเครอื ขา่ ยในแตล่ ะพน้ื ทที่ อ้ งถนิ่ กลา่ วโดยสรปุ แลว้ นกั การเมอื งทม่ี คี วามส�ำคญั ในการใชส้ อ่ื โซเชยี ลในยุคแรกอย่างจริงจังคือ Howard Dean ในการรณรงคข์ องเขาในปี ค.ศ. 2003 (เพง่ิ อ้าง) อยา่ งไรกต็ าม การใชเ้ วบ็ ไซตแ์ ละอเี มลน์ นั้ มขี อ้ จ�ำกดั ในการรณรงคเ์ พราะวา่ เวบ็ ไซตน์ นั้ จะเขา้ ถงึ เฉพาะ ผู้ท่ีสนใจสนับสนุนผู้สมัครอยู่แล้วซ่ึงพวกเขาจะเข้ามาชม ขณะท่ีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แม้ว่าทางฝ่ายรณรงค ์ จะสง่ ออกไป แตก่ จ็ ะเขา้ ถงึ เฉพาะทผ่ี สู้ ง่ มที อ่ี ยู่ (ซง่ึ ทง้ั สองอยา่ งแตกตา่ งจากสอื่ ยอดนยิ มแบบเดมิ คอื โทรทศั นท์ เี่ ขา้ ถงึ ผู้ชมในวงกว้างมากกว่า) การเพ่ิมการเข้าชมและการเข้าถึงข้อมูลไปยังวงกว้าง ซึ่งหมายถึงคนท่ียังไม่ได้ตัดสิน ใจเลอื กฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจึงเปน็ เร่อื งส�ำคญั ผู้สมคั รจึงเพ่มิ การเข้าถงึ ผ้เู ลอื กตงั้ ผา่ นการสื่อสารอกี สองแนวทางคือ 1. การสอื่ สารออนไลนแ์ บบทถ่ี กู ควบคมุ โดยสอ่ื มวลชน (media-controlled online communication) โดยการซ้อื โฆษณาจากเว็บไซตข์ องสือ่ กระแสหลักเช่น ABCnews.com หรือ Foxnews.com สือ่ ระดบั ทอ้ งถิน่ หรอื เชอื่ มโยงกับบลอ็ คเกอร์อสิ ระ หรือบล็อคขององค์กรภาคประชาชนอิสระที่สนับสนนุ ผู้สมคั รเหลา่ นน้ั 2. การสอ่ื สารออนไลนแ์ บบทถ่ี กู ควบคมุ โดยผใู้ ชท้ ว่ั ไป (user-controlled online communication) ซ่ึงเป็นฐานของเครือข่ายทางสังคม (social network) คือการตีพิมพ์เอง (self-publishing) ของปัจเจกบุคคล ท่ีแพร่กระจายการส่ือสารด้วยตัวเองไปยังเครือข่ายทางสังคมของตนเช่นเพื่อนหรือครอบครัว ไม่ว่าจะเป็น youtube Myspace Flickr facebook หรอื เครอื ขา่ ยอน่ื ๆ โดยผใู้ ชเ้ หลา่ นไี้ มไ่ ดม้ อี าชพี ของสอ่ื และบลอ็ คเกอร์ แต่ในสมัยก่อนปี ค.ศ. 2010 นั้น ยูทูปเป็นส่ือแบบที่ถูกควบคุมโดยผู้ใช้ท่ัวไปที่เป็นที่นิยมที่สุดในการรณรงค์ ทางการเมอื ง ขณะทเ่ี ฟซบุ๊กนนั้ เพ่ิงเร่ิมตน้ ไดไ้ มน่ าน อยา่ งไรกต็ าม พลังและการเตบิ โตของเครือข่ายการสอื่ สาร ใหม่น้ที �ำให้ผสู้ มคั รเองกห็ นั มาใช้เครอื ข่ายเหล่านดี้ ้วยตวั เองมากขึ้น (เพิง่ อ้าง) จากท่ีได้กล่าวมานั้นส่ิงที่พึงตระหนักถึงก็คือ อินเทอร์เน็ตกับการเลือกตั้งนั้นไม่ใช่เรื่องเดียวกันกับ อินเทอร์เน็ตกับการเมือง เพราะกิจกรรมออนไลน์ และยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของประชาชนโดยเฉพาะ ในยุโรปน้ันมักจะเริ่มมาจากเครือข่ายการประท้วงและองค์กรท่ีมีแนวคิดทวนกระแส ที่มีแรงจูงใจในการใช้ เทคโนโลยีการสือ่ สารแบบใหม่ ๆ ในการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของตวั เอง เพ่อื ใหเ้ ปน็ ท่ีรูจ้ ักและสามารถระดมผู้คน เข้าร่วมกิจกรรมได้ การศึกษาของ Ward and Gibson (2009) พบว่า อินเทอร์เน็ตมีผลต่อการระดมผู้ชุมนุม ในแบบครงั้ เดียวจบ (one-off protest) และการสร้างเครือข่ายทีม่ ีลกั ษณะชั่วคราว อนงึ่ การจะท�ำให้เครอื ข่าย มคี วามตอ่ เนอ่ื งยง่ั ยนื กย็ งั จะตอ้ งขน้ึ กบั ความสามารถในการจดั องคก์ รขององคก์ รหรอื ขบวนการเคลอ่ื นไหวนนั้ ๆ (Ward and Gibson, 2009) ขอ้ คน้ พบในเรอ่ื งความส�ำคญั ของการสอื่ สารดว้ ยอนิ เทอรเ์ นต็ กบั การจดั องคก์ รทางการเมอื งสอดคลอ้ ง กบั การคน้ พบของ Anstead and Chadwick (2009) ในเรอ่ื งความสมั พนั ธแ์ บบวภิ าษวธิ ี (dialectical relationship) ระหว่างเทคโนโลยีการส่ือสาร กับสถาบันทางการเมือง ทั้งในสหรัฐอเมริกา และ อังกฤษ กล่าวคือเทคโนโลยี การสอ่ื สารนนั้ มผี ลตอ่ การเปลย่ี นรปู (reshape) ของสถาบนั การเมอื ง แตส่ ถาบนั การเมอื งนน้ั กม็ ผี ลในขนั้ สดุ ทา้ ย ในการตอ่ รองและปรบั เปลย่ี น (mediate) ผลของการสอ่ื สารทางการเมอื ง ภายใตเ้ งอื่ นไขเชงิ สถาบนั หา้ ประการ

64 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ได้แก่ ความส�ำเร็จของการสร้างเครือข่ายการส่ือสารและสังคมผ่านระบบการเมืองท่ีอ�ำนาจกระจายตัว อาท ิ ในสหรัฐ เนื่องจากระบบพรรคไม่ตายตัว เพราะคนอาจไม่เป็นสมาชิกพรรคดังนั้นการใช้สื่อออนไลน์เข้าถึง คนท่ีอยู่ตรงกลาง ๆ หรือเปล่ียนการตัดสินใจในแต่ละครั้งของการรณรงค์การเลือกต้ังจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ การจดั การระบบสมาชกิ อยา่ งเปน็ ระบบ การจดั การคดั สรรผสู้ มคั ร การจดั การดา้ นการใชจ้ า่ ยและการเงนิ ในการรณงค ์ หาเสียง และบทบาทของส่ือเดิมในการรณรงค์หาเสียง อาทิ โทรทัศน์ และระบบการตลาดท่ีเข้าถึงผู้ชม และผูล้ งคะแนน (Anstead and Chadwick, 2009) บทบาทของอินเทอร์เน็ตกับการเมืองโดยเฉพาะการรณรงค์การเลือกตั้งนั้นเปลี่ยนไปเป็นอย่างมาก ในปจั จุบนั สิ่งทส่ี �ำคัญอาจจะประกอบด้วยมติ ใิ หม่ ๆ อกี สดี่ า้ นคอื 1. การเกดิ ของสอ่ื ใหม่ ๆ โดยเฉพาะสอื่ โซเชยี ลทถ่ี กู ควบคมุ โดยผใู้ ชท้ ว่ั ไป รวมทง้ั นกั การเมอื งเอง อาทิ Twitter ซง่ึ ใชใ้ นการสง่ ขอ้ ความสนั้ ๆ Instragram ซง่ึ เนน้ การสง่ รปู ภาพ และการเตบิ โต ของเฟซบ๊กุ (ทั่วโลกใช้ถงึ 230 ลา้ นคนในปี ค.ศ. 2019) 2. การใหค้ วามส�ำคัญกับ “ขอ้ มลู หลังบา้ น” หรือการใชส้ ื่อโซเชยี ลเป็นหนา้ ฉากในการเกบ็ ขอ้ มูล กลับมาเพ่ือใช้วิเคราะห์แบบแผนพฤติกรรมของผู้รับข่าวสารและเยี่ยมชมส่ือ สิ่งน้ีแตกต่าง จากการใช้ส่ือออนไลน์ในยุคแรกที่การเข้าถึงผู้ชม/ผู้รับสาร โดยเน้นไปที่เนื้อหา แต่ในวันน้ี นอกจากการส่งข้อมูลไปถึงผู้รับสารแล้ว สื่อออนไลน์สมัยใหม่ยังท�ำให้ผู้ส่งข้อมูลได้รับข้อมูล ในรายละเอียดกลับมาถึงลักษณะทางประชากร และความสนใจ รวมท้ังแบบแผนการใช้ชีวิต ของผู้รับชมมากข้ึน ท�ำให้ผู้ใช้ส่ือน้ันสามารถวางแผนยุทธศาสตร์และยุทธวิธีในการสื่อสาร เข้าถงึ กลุ่มที่ตอ้ งการไดม้ ากขนึ้ และสามารถซื้อสอ่ื โฆษณาไดม้ ากขนึ้ แตใ่ นอกี ดา้ นหน่ึงพบวา่ ส่วนหนึ่งปัญหาที่ตามมากค็ อื เรือ่ งของความเป็นสว่ นตัวของผู้ชม 3. การสื่อสารในโลกออนไลน์ไม่จ�ำเป็นเสมอไปท่ีจะน�ำไปสู่ความสมานฉันท์สอดคล้องต้องกัน ทางการเมือง ส่วนหน่ึงอาจจะหมายถึงการที่ลักษณะส�ำคัญของส่ือโซเชียลน้ันมีลักษณะท่ี จ�ำกดั ตวั กบั ผเู้ ขา้ ชมมากกวา่ สอื่ เดมิ ทสี่ ามารถเขา้ ถงึ ผชู้ มทมี่ ฐี านกวา้ งกวา่ อาทิ โทรทศั น์ ดงั นนั้ อาจท�ำให้สอื่ ออนไลน์ท�ำให้เกดิ ความแตกแยกทางสงั คม (polarization) 4. เน้ือหาสาระหลักในส่ือออนไลน์อาจจะไม่ได้มีแต่ข้อมูลที่ถูกต้อง หรือ ข้อมูลท่ีใช้โจมตีคนอื่น แบบเดิม แต่อาจลามไปถงึ เร่ืองของการผลิตขา่ วปลอม (fake news) เพอื่ สง่ ผลทางการเมอื ง เปน็ คณุ แกฝ่ า่ ยตนมากขน้ึ กวา่ เดมิ ซง่ึ การรณรงคท์ างการเมอื งเพอื่ เขา้ สตู่ �ำแหนง่ ประธานาธบิ ดี และการบริหารประเทศของทรัมป์น้ันถูกวิจารณ์ว่ามีการใช้ข่าวปลอมมากเป็นประวัติการณ์ การศึกษาของ Bovet and Makse (2019) พบว่าจากการทวีตในทวิตเตอร์ 171 ล้านใน ช่วงห้าเดือนก่อนวันเลือกต้ัง พบว่า ร้อยละ 25 จะกระจายข่าวปลอมหรือข่าวสารที่เต็มไป ด้วยอคติอย่างรุนแรง และเป็นฝ่ายท่ีสนับสนุนทรัมป์ ขณะที่ผู้ที่สนับสนุนคลินตันมักจะส่ง ข่าวสารท่มี ลี ักษณะอดุ มการณ์กลาง ๆ และไปทางสายกา้ วหน้า (Bovet and Makse, 2019) ส่วนงานของ Narayanan และคณะ (2018) ที่วิจัยข้อความในทวิตเตอร์และเฟซบุ๊กในช่วง

65 ปลายปี ค.ศ. 2017 และ ต้นปี ค.ศ. 2018 พบว่า เครือข่ายผู้สนับสนุนทรัมป์แบ่งปันและน�ำ ข่าวปลอมลงในทวิตเตอร์มากท่ีสุด ขณะที่ พวกขวาจัดสุดโต่งแบ่งปันและน�ำข่าวปลอมลงใน เฟซบกุ๊ มากทสี่ ดุ (Narayanan et al., 2018) งานวจิ ยั ยงั ชว้ี า่ อดุ มการณท์ างการเมอื งทตี่ า่ งกนั มีผลต่อการเขา้ ใจและถกู กระทบโดยอทิ ธพิ ลของขา่ วด้วย รปู แบบของขา่ วปลอมอาจจะมไี ดต้ งั้ แต่ การใชห้ ลกั ฐานทถ่ี กู (เชน่ ภาพ) แตใ่ สไ่ วผ้ ดิ บรบิ ท หรอื อธบิ าย วา่ เปน็ เหตุการณ์ที่เกดิ อกี ทหี่ นึง่ ท�ำเว็บไซต์ใหเ้ ข้าใจผิดว่าเป็นเวบ็ ที่เราค้นุ เคย เชน่ คล้ายกัน สร้างเว็บไซต์ปลอม สร้างข้อมูลเท็จ ตัดต่อภาพ ล้อเลียนเสียดสี (Wardie, 2016) หรือ ข่าวปลอมอาจจะมีลักษณะท่ีเกี่ยวข้องกับ ขา่ วหรอื โพสหรอื ขอ้ มลู ทมี่ ลี กั ษณะเสยี ดสหี รอื ตลก การโยงมว่ั การท�ำใหเ้ ขา้ ใจผดิ การผดิ ทผี่ ดิ ทาง การมโนทม่ี า ปลอมตดั ตอ่ และการปลอมแบบทง้ั ชิน้ (ปรบั ปรุงจาก Nutnon, 2561) 2.1.10 การเลือกต้ังในเขตเมืองและมหานคร งานวิจัยเรื่องของการเลือกตั้งในระดับประเทศในเขตเมืองไม่ค่อยมีการศึกษาตีความอย่างจริงจัง เมอ่ื เทยี บกับการศึกษาการเลือกต้ังท้องถิน่ หรอื การเลือกต้งั ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถิน่ การวเิ คราะหก์ ารเลอื กตงั้ ระดบั ประเทศและนยั ยะตอ่ มติ เิ รอ่ื งเมอื งในสหรฐั อเมรกิ า โดยเฉพาะการเลอื กตง้ั ประธานาธบิ ดคี รง้ั ลา่ สดุ ในปี ค.ศ.2016 พบสาระส�ำคญั ทนี่ า่ สนใจหลายประการ อาทกิ ารตคี วามวา่ การเลอื กตงั้ ประธานาธิบดีในคร้ังนี้มิใช่การแข่งขันระหว่าง ฝ่ายรีพับลิกัน และ ฝ่ายเดโมแครต แต่เป็นการแข่งขันระหว่าง คนชนบทกับคนในเมือง ในความหมายท่ีว่า ชาวชนบทน้ันมีความรู้สึกโกรธแค้นเป็นอย่างมากต่อรัฐบาลกลาง ทท่ี �ำใหเ้ ขาผดิ หวงั ดงั นนั้ จงึ เลอื กทศิ ทางใหม่ กลา่ วคอื งานและธรุ กจิ ในชว่ งทผ่ี า่ นมาเตบิ โตนอ้ ยมากนอกเขตเมอื ง ดังน้ันชาวชนบทจึงโกรธแค้นชาวเมือง ดังนั้น พวกเขาจึงเลือกคนท่ีออกมาให้สัญญาว่าจะน�ำเอาทุกอย่าง กลับไปเหมือนเดิมซ่ึงเป็นการส่งสัญญานไปยังพวกคนที่อยู่ในเมืองซ่ึงมีจ�ำนวนน้อยกว่าและถูกห้อมล้อม ดว้ ยคนจนในชนบท การโหวตในคราวนจ้ี งึ เปน็ สญั ญานเหมอื นการขวา้ งหนิ ไปทหี่ นา้ ตา่ ง และเปน็ การลงคะแนนเสยี ง ด้วยความสิ้นหวังหดหู่ใจ เพราะคนที่อยู่ในเมืองนั้นไม่ได้เข้าใจความเดือดร้อนในชนบท และปรากฏการณ์ ในสื่อต่าง ๆ ที่ไม่สนใจปัญหาในชนบท และการใช้ส่ือใหม่ท่ีท�ำให้ข้อมูลข่าวสารไหลเวียนอยู่ในวงแคบ ๆ แบบกรณีสอ่ื แบบเฟซบกุ๊ (Walker, 2016 และ Brownstein, 2016) นอกจากน้ี แม้ว่าจะมีประชากรอยู่ในเขตเมืองมากกว่าชนบทในอเมริกา แต่ประชากรกระจุกตัว ในเมืองใหญ่ท�ำให้คะแนนของระบบคณะเลือกต้ังของบางรัฐไม่ได้สะท้อนเสียงท่ีแท้จริงทั้งประเทศ เพราะพ้ืนท่ี บางพนื้ ทแ่ี มจ้ ะคนนอ้ ย แตก่ ม็ เี สยี งจากคณะเลอื กตง้ั และยงั มขี อ้ คน้ พบอกี ประการหนง่ึ กค็ อื ยา่ นชานเมอื ง และ เมอื งรองมีคนเพมิ่ ข้ึน และมีส่วนรว่ มทางการเมอื งเพิม่ ขึ้น (Walker, 2016) อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาในรายละเอียดของการเลือกต้ังที่เกิดข้ึนในระดับเมืองยังมีมิติที่น่าสนใจ อีกสองประการ หนึ่งคือในเมืองน้ันอาจจะมีกลุ่มคนที่แตกต่างกันที่จ�ำต้องเข้าใจถึงความหลากหลาย

66 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ของคะแนนเสียงเหล่านั้นด้วย นอกจากการพิจารณาภาพรวม สอง เมืองบางเมืองที่มีรายได้ต่�ำกว่าค่าเฉลี่ย และมีคนผิวขาวมากกว่าผิวสีอ่ืนโดยเฉพาะไม่ใช่ฮิสแปนิก รวมท้ังมีการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยน้อยกว่า อกี กลมุ่ หนง่ึ มแี นวโนม้ ทจี่ ะกลายเปน็ รพี บั ลกิ นั มากขนึ้ ขณะทเี่ มอื งใหญก่ ลายเปน็ เดโมเครตมากขนึ้ และไมส่ นใจ ปญั หาของคนทยี่ ากจน สาม การไมไ่ ปเลอื กตง้ั กม็ ผี ลท�ำใหฝ้ า่ ยหนง่ึ เสยี เปรยี บเชน่ การลดลงของผลู้ งคะแนนเสยี ง ของอาฟรกิ นั อเมรกิ นั มีผลท�ำให้คลนิ ตนั แพ้ (Byler, 2017) ในกรณีของอินเดีย แม้ว่าคะแนนเสียงของคนในเมือง (และเขตเลือกตั้งในเมือง) อาจจะมีน้อยกว่า คนชนบทในการเลือกตั้งโลกสภา และคนในเมืองอาจไม่ได้ให้ความสนใจกระตือรือร้นในการลงคะแนนเสียง แต่เสียงในเขตเมืองนั้นมีบทบาทมากในกรณีที่การแข่งขันในครั้งนั้นสูสีกันมาก ๆ โดยเฉพาะเม่ือคนในเมือง ออกไปลงคะแนนเพ่ิมขึ้นซึ่งแปลว่าให้ความสนใจกับการเมืองมากขึ้น ย่ิงไปกว่าน้ัน ส�ำหรับพรรคบีเจพี ซ่ึงม ี ฐานเสียงในเมืองในอัตราส่วนท่ีสูงกว่าค่าเฉล่ียท้ังประเทศ การรักษาฐานเสียงเป็นเรื่องส�ำคัญ (ในปี 2009 ในเมอื งมรี อ้ ยละ 23.6 ทง้ั ประเทศมี 18.8 ขณะทใี่ นปี 2014 ในเมอื งมรี อ้ ยละ 38 ขณะทที่ งั้ ประเทศมรี อ้ ยละ 31) สว่ นพรรคคองเกรส.ส.ดั สว่ นของคะแนนเขตเมอื งกบั เขตประเทศเทา่ กนั ดงั นน้ั กจ็ ะเสยี ไปไมไ่ ด้ (Bureau, 2019) 2.1.11 พรรคการเมือง แม้ว่าในการวิจัยน้ีจะมุ่งเน้นท่ีการเคล่ือนไหวในการเลือกตั้ง แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า พรรคการเมืองนั้น มคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งของการเลอื กตง้ั อยา่ งใกลช้ ดิ และเปน็ ตวั แปรส�ำคญั ในกระบวนการเคลอื่ นไหว นอกจากน้ี การศึกษาการเลือกต้งั ในระดบั พื้นท่ีหน่งึ ๆ ยอ่ มจะต้องเกีย่ วพันกบั พรรคการเมอื งในภาพรวมทัง้ ประเทศดว้ ย Blondel and Inoguchi (2012) และทมี วจิ ยั ไดท้ �ำน�ำเสนอตวั ชว้ี ดั หรอื ปจั จยั ในการพจิ ารณาลกั ษณะ ของพรรคการเมอื งรว่ มสมยั ของทัง้ ยุโรปตะวันตกและเอเชยี โดยช้ีให้เห็นกลมุ่ ของปัจจยั ทีส่ �ำคัญส่กี ล่มุ ไดแ้ ก่ 1. ความเช่ือมโยงของพรรคการเมืองกบั สงั คม ไดแ้ ก่ 1.1 ผลการเลือกตั้งในระดับชาติ จะได้ทราบว่าได้คะแนนมากหรือน้อย และเปรียบเทียบกับ ครัง้ ก่อน ๆ เปน็ อย่างไร 1.2 ธรรมชาติ หรือลักษณะที่แท้จริงของระบบการเลือกต้ังในระดับชาติ ซ่ึงมีผลต่อแบบแผน ของการลงคะแนน และอาจมผี ลตอ่ จ�ำนวนและผลการเลือกต้งั 1.3 พรรคการเมอื งตา่ ง ๆ ท่ีลงแขง่ ขัน หรือ ลม้ หายตายจากไป อะไรคอื สาเหตุทีห่ ายไป 1.4 พรรคการเมืองที่เพ่ิงเกดิ ข้ึนใหม่ 1.5 สัดส่วนของคะแนนเสียงท่ีแต่ละพรรคได้รับจาการเลือกตั้งท่ัวไป เรื่องนี้จะมีผลต่อ ความแขง็ แกร่งของพรรค 1.6 ระดบั ของความผนั ผวนทสี่ ่งผลกระทบต่อพรรค เพ่ือจะดูวา่ พรรคเก่านนั้ จะคงทนหรอื ไม่

67 1.7 การครอบคลุมพื้นที่ของแต่ละพรรค เพื่อจะดูแบบแผนและเหตุผลของการครอบคลุม หรอื กระจุกตัว และค้นหาความเป็นท้องถิน่ นิยมของพรรค 1.8 ภูมิหลังทางสังคมของผู้ลงคะแนนเสียงให้กับพรรคนั้น ไม่ว่าจะเรื่องเพศ อายุ อาชีพ หรือ ความเช่ือทางศาสนา 2. โครงสร้างของพรรค ไดแ้ ก่ 2.1 จ�ำนวนสมาชิกของพรรค รวมถงึ แนวคิดในการรับสมาชกิ 2.2 การจ�ำแนกแยกแยะรายไดข้ องพรรค ทงั้ จากการบรจิ าคและการรบั การสนบั สนนุ ของรฐั บาล 2.3 ขอบเขตและความเปน็ จรงิ ทสี่ มาชกิ พรรคมสี ว่ นรว่ มในการกระบวนการตดั สนิ ใจในพรรค อาทิ การประชุมทัว่ ไป และการเลือกผู้น�ำพรรค 2.4 ขอบเขตและความเปน็ จริงทส่ี มาชกิ พรรคมีส่วนรว่ มในการกระบวนการตดั สินใจในสภา 2.5 การแต่งต้ังผู้น�ำในพรรค และระบบผู้น�ำในพรรค อาทิ เป็นผู้น�ำคนเดียว หรือกลุ่ม ผู้น�ำท่ีเป็นทางการและผู้น�ำท่ีไม่เป็นทางการแต่มีอ�ำนาจจริง ผู้น�ำสามารถเลือกซ้�ำกลับมา อกี ได้ไหม การแข่งขันกนั เองระหวา่ งผู้น�ำภายในพรรค 3. เปา้ หมายของพรรค ไดแ้ ก่ 3.1 การตัดสินใจในเร่ืองแผนการณ์และแผนด�ำเนินการของพรรค ว่ามาจากการประชุมใหญ่ ของพรรค หรือกรรมการบริหารพรรค วางแผนในการได้มาซึ่งชัยชนะจากการเลือกต้ัง ในระดบั โครงการ 3.2 ขนาดของมิติต่าง ๆ ของแผนการในการหาเสียงของพรรค อาทิว่ามีความแตกต่างกัน ในการเลอื กต้ังแต่ละครัง้ ไหม และสดั ส่วนการใหค้ วามส�ำคญั กบั นโยบายในแต่ละเรอ่ื ง 3.3 การเปล่ียนแปลงในแผนการและแผนด�ำเนินการของพรรค แต่ละคร้ังเปลี่ยนแปลงอย่างไร ใครมีบทบาทไหนการเปลย่ี นแปลงดังกลา่ ว อะไรคือเหตุผลของการไมเ่ ปล่ยี นแปลงนโยบาย และทศิ ทางเหล่านั้น (ปรับปรงุ และเกบ็ ความจาก Blondel and Inoguchi (2012) 3.4 อดุ มการณข์ องพรรค พรรคนน้ั มอี ดุ มการณห์ รอื ไม่ และมกี ารเปลยี่ นแปลงอดุ มการณห์ รอื ไม่ 4. ความเปน็ ผู้น�ำ 4.1 ความเป็นผู้น�ำพรรคแบบอิงกับบุคคล และความคาดหวังกับความเป็นผู้น�ำในแบบ ดังกล่าวที่เช่ือมโยงกับชนิดและอายุของพรรค และการจัดวางสถาบันของพรรค รวมไปถึง ความสัมพนั ธข์ องการองิ ตัวบคุ คลของภาวะผู้น�ำกับอุดมการณ์ของพรรค 4.2 วาทกรรมของความเป็นผู้น�ำ อาทิเร่ืองของวาทกรรมประชานิยมท่ีอาจถูกน�ำมาใช้ และ ความเช่อื มโยงกับความเป็นซา้ ยหรือขวาของพรรค

68 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 2.2 การเลือกตั้งกับพัฒนาการของการเมืองไทย 2.2.1 พัฒนาการของการเลือกตั้งในประเทศไทย ประเทศไทยมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 28 ครั้ง ต้ังแต่คร้ังแรกใน พ.ศ. 2476 จนถึงครง้ั ลา่ สดุ ใน พ.ศ. 2562 ในการเลอื กตัง้ แต่ละครง้ั มีวิธีการและระบบทแ่ี ตกต่างกนั ไป การเลือกตง้ั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 1 (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476) การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทยมีขึ้นเป็นคร้ังแรกเมื่อวันท่ี 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 ภายหลังจากท่ีมีการเปล่ียนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 และภายหลังเหตุการณ์กบฏบวรเดช ในเดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2476 รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2475 บญั ญตั ใิ หม้ สี ภาผแู้ ทนราษฎรสภาเดยี ว จงึ เปน็ ระบบ สภาเดยี ว แตบ่ ทเฉพาะกาลของรฐั ธรรมนญู ฉบบั น้ี ในมาตรา 65 บญั ญตั ใิ หส้ ภาผแู้ ทนราษฎรประกอบดว้ ยสมาชกิ 2 ประเภทซ่ึงมีจ�ำนวนเท่ากัน สมาชิกประเภทท่ี 1 มาจากการเลือกต้ังของประชาชน ส่วนสมาชิกประเภทที่ 2 เปน็ ผซู้ งึ่ พระมหากษตั รยิ ท์ รงแตง่ ตงั้ การเลอื กตง้ั ครง้ั นจี้ งึ เปน็ การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรประเภทท่ี 1 (สุจติ บุญบงการ และพรศักด์ิ ผ่องแพ้ว, 2527, น.39-40) การเลือกตั้งคร้ังน้ีเป็นการเลือกตั้งแบบทางอ้อม ประชาชนไม่ได้เลือกผู้แทนโดยตรง วิธีการเลือกต้ัง ใหร้ าษฎรในหมบู่ า้ นเลอื กผแู้ ทนของหมบู่ า้ น แลว้ ผแู้ ทนของหมบู่ า้ นเลอื กผแู้ ทนในระดบั ต�ำบล จากนน้ั ผแู้ ทนในระดบั ต�ำบลเลอื กสมาชกิ ผแู้ ทนส�ำหรบั จงั หวดั นนั้ ไดส้ มาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรจงั หวดั ละ 1 คน แตถ่ า้ จงั หวดั ใดมพี ลเมอื ง เกนิ 200,000 คน ใหเ้ ลอื กสมาชกิ ผแู้ ทนเพมิ่ อกี 1 คน ทกุ ๆ จ�ำนวน 200,000 คนของพลเมอื ง (เพง่ิ อา้ ง, น.41) ในการเลือกต้ังครั้งน้ีมีผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้งจ�ำนวน 78 คน หลังจากการเลือกตั้ง พระยาพหลพลพยุหเสนาได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นนายกรัฐมนตรี (เพ่ิงอ้าง, น.41-42) การเลอื กตัง้ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรครั้งที่ 2 (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480) การเลอื กตง้ั ครง้ั ที่ 2 มขี นึ้ เมอื่ วนั ที่ 7 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2480 ในการเลอื กตง้ั ครงั้ นปี้ ระชาชนสามารถ ใช้สิทธอิ อกเสียงเลอื กตัง้ ทางตรงได้ จงึ เปน็ การเลอื กตัง้ ทางตรงครง้ั แรก (เพิง่ อ้าง, น.43) การเลือกต้ังครั้งนี้เป็นการเลือกต้ังแบบแบ่งเขต โดยถือจังหวัดหนึ่ง ๆ เป็นเขตเลือกต้ังซ่ึงจะม ี ผู้แทนราษฎรได้ 1 คน แต่ถ้าจังหวัดใดมีพลเมืองเกิน 200,000 คน ให้มีเขตเลือกตั้งเพ่ิมอีก 1 เขตต่อจ�ำนวน พลเมอื งทกุ ๆ 200,000 คน เศษของ 200,000 คนน้นั ถ้าเกิน 100,000 คนกใ็ ห้นบั เป็น 200,000 คน วิธีการน้ี ท�ำให้บางจังหวัดมีเขตเลือกต้ังหลายเขต เช่นกรุงเทพฯมี 3 เขต การเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้แทนราษฎรได้รับเลือกต้ัง 91 คน หลงั การเลอื กตง้ั พระยาพหลพลพยหุ เสนาไดร้ บั เลอื กใหเ้ ปน็ นายกรฐั มนตรอี กี ครงั้ หนง่ึ (เพงิ่ อา้ ง, น.44-45)

69 การเลือกตง้ั สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรครัง้ ท่ี 3 (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481) การเลือกตั้งครั้งน้ีมีขึ้นเม่ือวันท่ี 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 หลังจากท่ีมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมือ่ วนั ที่ 11 กนั ยายน พ.ศ. 2481 ภายหลงั การเลอื กตงั้ หลวงพบิ ูลสงครามไดเ้ ขา้ รบั ต�ำแหน่งนายกรฐั มนตรี การเลือกตั้งครั้งน้ีเป็นการเลือกต้ังโดยตรงแบบแบ่งเขต โดยถืออัตราส่วนพลเมือง 200,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน เหมือนกับอัตราส่วนในการเลือกตั้งทั่วไปคร้ังท่ี 2 ในการเลือกตั้งครั้งนี้ยังได้สมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎร 91 คน ซง่ึ เทา่ กับการเลือกตง้ั คร้งั ท่ี 2 ด้วย (เพิง่ อ้าง, น.46-48) การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรครั้งท่ี 4 (6 มกราคม พ.ศ. 2489) การเลอื กตง้ั ครงั้ ท่ี 4 มขี น้ึ เมอ่ื วนั ท่ี 6 มกราคม พ.ศ. 2489 หลงั จากท่ี ม.ร.ว.เสนยี ์ ปราโมช ไดต้ ดั สนิ ใจ ยุบสภาเพ่ือให้มีการเลือกตั้งใหม่ โดยให้เหตุผลว่าสภาผู้แทนราษฎรชุดที่อยู่ในอ�ำนาจขณะน้ันอยู่มาต้ังแต่ พ.ศ. 2481 ซึ่งได้รับการต่ออายุมา 2 คร้ังแล้ว เมื่อสงครามยุติจึงควรให้มีการเลือกต้ังใหม่ การเลือกตั้งคร้ังน้ี เป็นการเลือกต้ังโดยตรงแบบแบ่งเขต โดยถือเอาอัตราส่วนพลเมือง 200,000 คนต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ภายหลงั การเลือกตั้งน้ันนายควง อภัยวงศไ์ ด้เป็นนายกรฐั มนตรี แตน่ ายควงก็ได้น�ำคณะรัฐบาลลาออกเมือ่ วนั ท ่ี 18 มีนาคม พ.ศ. 2489 เนอื่ งจากนายทองอนิ ทร์ ภรู ิพัฒน์ ส.ส.อุบลราชธานี ไดเ้ สนอ พ.ร.บ. คุ้มครองค่าใชจ้ า่ ย ของประชาชนในภาวะคับขันต่อสภา โดยฝ่ายรัฐบาลไม่เห็นด้วย แต่สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการ นายควง จงึ น�ำคณะรฐั บาลลาออก หลงั จากนน้ั สภาไดล้ งมตเิ ลอื กนายปรดี ี พนมยงคเ์ ปน็ นายกรฐั มนตรี (เพงิ่ อา้ ง, น.50-52) การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรครงั้ ท่ี 5 (5 สงิ หาคม พ.ศ. 2489) การเลือกตงั้ ครัง้ นเี้ ป็นการเลอื กตัง้ เพิม่ เติม จดั ข้นึ เมื่อวันที่ 5 สงิ หาคม พ.ศ. 2489 การเลือกตั้งคร้งั นี ้ เป็นการเลือกต้ังด้วยวิธีการแบ่งเขต ประชาชนเป็นผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรในเขตของตนเอง โดยตรง การเลือกต้ังคร้ังน้ีได้จัดขึ้นเนื่องมาจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489 ได้ก�ำหนดเพ่ิมจ�ำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามจ�ำนวนพลเมือง และยกเลิกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทท่ี 2 ท�ำใหต้ อ้ งมกี ารจดั การเลอื กตง้ั เพม่ิ เตมิ เฉพาะในพนื้ ที่ 47 จงั หวดั (ฐานขอ้ มลู การเมอื งการปกครอง สถาบนั พระปกเกลา้ , 2554) เพ่ือใหไ้ ดผ้ ู้แทนครบตามจ�ำนวนท่รี ฐั ธรรมนูญฉบับนก้ี �ำหนดไว้ คอื เพิ่มอกี 82 คน รวมจากเดิม 96 คน เป็นท้ังหมด 178 คน (สจุ ิต บุญบงการ และพรศักดิ์ ผ่องแผ้ว, 2527, น.53-54) การเลอื กตั้งสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรคร้ังท่ี 6 (29 มกราคม พ.ศ. 2491) หลังจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2490 ที่คณะรัฐประหารได้เตรียมร่างเอาไว้ และมีการแต่งตั้งนายควง อภัยวงศ์เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญฉบับน้ีก�ำหนดให้มีการเลือกต้ังภายใน 90 วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ การเลือกต้ัง

70 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร จึงจัดใหม้ ขี น้ึ เมือ่ วนั ท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 2491 ในการเลือกตง้ั คร้งั นเี้ ป็นแบบรวมเขตเปน็ ครง้ั แรก ผลการเลือก ต้ังปรากฏว่าพรรคประชาธิปัตย์ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจ�ำนวนมากกว่าพรรคการเมืองอื่น ๆ พรรคประชาธปิ ตั ยจ์ งึ ไดเ้ ปน็ ฝา่ ยจดั ตง้ั รฐั บาล โดยมนี ายควง อภยั วงศ์ เปน็ นายกรฐั มนตรี แตร่ ฐั บาลของนายควง อยไู่ ด้ไม่นานกถ็ กู บังคบั ใหล้ าออกเพอ่ื เปิดทางใหจ้ อมพล ป. เป็นนายกรฐั มนตรีแทน (เพ่งิ อา้ ง, น.56-59) การเลือกตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรครง้ั ที่ 7 (5 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2492) หลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492 แทนรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2490 มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพ่ิมเติมให้ครบตามจ�ำนวนท่ีเพิ่มขึ้น เมื่อวันท่ี 5 มิถุนายน พ.ศ. 2492 การเลอื กตง้ั ครง้ั นใ้ี ชว้ ธิ รี วมเขต มอี ตั ราสว่ นพลเมอื ง 150,000 คนตอ่ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร 1 คน ซง่ึ การเลือกตง้ั ก่อนหน้านั้นถอื เกณฑ์ 200,000 คน เปน็ การเลือกต้ังเพมิ่ ใน 19 จังหวัด เป็นจ�ำนวนสมาชิกสภา เพิ่ม 21 คน ผลการเลือกตั้งท�ำให้พรรคประชาธิปัตย์มีที่น่ังมากที่สุด คือ 40 ที่น่ัง แต่จอมพล ป. ก็ยังเป็น ผู้จัดต้ังรัฐบาลโดยการสนับสนุนของคณะรัฐประหารและพรรคเล็กพรรคน้อยในสภาผู้แทนราษฎร (เพิ่งอ้าง, น.59-61) การเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรครั้งท่ี 8 (26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2495) หลังจากที่จอมพล ป. พิบูลสงครามกับคณะทหารได้ท�ำรัฐประหารเงียบเมื่อวันท่ี 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 และมีการประกาศใช้รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2475 แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2495 ซึ่งเป็นการกลับไปใช้ระบบสภาเดียวท่ีมีสมาชิกสองประเภท คือ ประเภทท่ีหน่ึง ซึ่งมาจากการเลือกต้ังโดยประชาชน และประเภทที่สองมาจากการแต่งตั้ง จึงได้มีการจัดการเลือกตั้งเม่ือวันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2495 ในการเลอื กตง้ั ครง้ั นเี้ ปน็ การเลอื กตงั้ โดยตรงแบบรวมเขต อตั ราสว่ นพลเมอื ง 200,000 คน ต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 คน การเลือกต้ังได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจ�ำนวน 123 คน โดยพรรคต่าง ๆ ทสี่ นบั สนนุ จอมพล ป. ได้รบั เลือกเป็นสว่ นมาก (เพงิ่ อา้ ง, น.62) การเลอื กต้ังสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรคร้ังที่ 9 (26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2500) การเลือกตั้งครั้งต่อมาเป็นการเลือกต้ังในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 การเลือกต้ังครั้งนี้ เป็นการเลือกต้ังโดยตรงแบบรวมเขต อัตราพลเมือง 150,000 คนต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 คน ผลการเลือกต้ังนั้นพรรคเสรีมนังคศิลาของจอมพล ป. พิบูลสงครามได้รับการเลือกต้ังมากที่สุด คือ 86 เสียง พรรคประชาธิปัตย์ 30 เสียง นอกจากนัน้ เปน็ พรรคอืน่ ๆ และผสู้ มคั รอสิ ระ รวมเป็นจ�ำนวนทงั้ หมด 160 ท่นี งั่ จอมพล ป. ได้รบั การแตง่ ตงั้ เปน็ นายกรฐั มนตรอี กี คร้ัง (เพิ่งอ้าง, น.64-65)

71 การเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรครง้ั ที่ 10 (15 ธันวาคม พ.ศ. 2500) ในวนั ท่ี 16 กันยายน พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ตแ์ ละคณะทหารได้ท�ำรฐั ประหารยดึ อ�ำนาจ การปกครอง ยบุ สภาผแู้ ทนราษฎร และแตง่ ตงั้ นายพจน์ สารสนิ เปน็ นายกรฐั มนตรชี วั่ คราว คณะทหารไดแ้ ตง่ ตง้ั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทท่ี 2 ข้ึนใหม่ ส่วนสมาชิกประเภทท่ี 1 ได้จัดให้มีการเลือกต้ังภายใน 90 วัน คือในวนั ท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2500 (เพิ่งอา้ ง, น.66) การเลือกต้ังครั้งน้ีเป็นการเลือกตั้งโดยตรงแบบรวมเขต อัตราส่วนราษฎร 150,000 คนต่อสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร 1 คน มีผู้แทนราษฎรได้ 160 คน ผลการเลือกต้ังพรรคสหภูมิของรัฐบาลได้ 44 คน ประชาธิปัตย์ได้ 39 คน นอกจากนั้นเป็นพรรคอ่ืน ๆ และไม่สังกัดพรรค พลโทถนอม กิตติขจรได้เป็นนายก รฐั มนตรี นอกจากนี้ มกี ารเลอื กตง้ั เพม่ิ ตามจ�ำนวนประชาชนทเี่ พมิ่ ขนึ้ เมอ่ื วนั ที่ 30 มนี าคม พ.ศ. 2501 อกี 26 ท่ี ผลปรากฏวา่ พรรคประชาธปิ ตั ยไ์ ดไ้ ป 13 ที่ โดยกวาดทน่ี งั่ ในกรงุ เทพฯ ทง้ั หมดตามทเ่ี คยได้ (เพง่ิ อา้ ง, น.67-68) การเลือกตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรครัง้ ท่ี 11 (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512) หลังจากที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ยึดอ�ำนาจอีกคร้ังหนึ่ง และครองอ�ำนาจอย่างยาวนาน จากน้ัน จอมพลถนอม กติ ตขิ จรกส็ บื ทอดอ�ำนาจตอ่ จนกระทงั่ มกี ารประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู ฉบบั พ.ศ. 2511 และประกาศ ใช้กฎหมายพรรคการเมืองในเวลาต่อมา ประเทศไทยก็มีการเลือกต้ังอีกครั้งหน่ึงเมื่อวันท่ี 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 การเลือกต้ังครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งโดยตรงแบบรวมเขต ในอัตราพลเมือง 150,000 คนต่อสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎร 1 คน สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรมจี �ำนวน 219 คน ผลการเลอื กตง้ั พรรคสหประชาไทยซงึ่ เปน็ พรรครัฐบาลได้รับเลือกมากท่ีสุด คือ 76 คน พรรคประชาธิปัตย์ได้ 57 คน พรรคอื่น ๆ ได้จ�ำนวนรองลงมา สว่ นผสู้ มคั รอสิ ระไดร้ บั เลอื กถงึ 71 คน หลงั การเลอื กตงั้ บรรดาผแู้ ทนทไี่ มไ่ ดส้ งั กดั พรรคการเมอื งจ�ำนวนหนง่ึ ถกู ดงึ ตวั มาอยพู่ รรคสหประชาไทยเพอื่ สนบั สนนุ ใหจ้ อมพลถนอม กติ ตขิ จรเปน็ นายกรฐั มนตรอี กี วาระหนง่ึ (เพง่ิ อา้ ง, น.68-70) การเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคร้ังที่ 12 (26 มกราคม พ.ศ. 2518) และ การเลอื กตั้งสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 13 (4 เมษายน พ.ศ. 2519) การเลือกต้ังเมื่อวันท่ี 26 มกราคม พ.ศ. 2518 และวันท่ี 4 เมษายน พ.ศ. 2519 เป็นการเลือกต้ัง ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 ซ่ึงเป็นรัฐธรรมนูญที่ได้รับการร่างข้ึนมาภายใต้รัฐบาล นายสญั ญา ธรรมศักดิ์ หลงั จากที่ จอมพลถนอม กิตติขจร ลงจากอ�ำนาจ สภาผแู้ ทนราษฎรภายใตร้ ฐั ธรรมนญู ฉบบั นปี้ ระกอบดว้ ยสมาชกิ ซงึ่ ราษฎรเลอื กตง้ั มจี �ำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 240 คน แต่ไม่เกนิ 300 คน (รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2517, มาตรา 111) การเลือกต้งั สมาชกิ ผแู้ ทนเป็นการเลือกต้ังแบบผสมระหว่างรวมเขตกับแบ่งเขต จ�ำนวนสมาชิกผูแ้ ทนทแี่ ตล่ ะจงั หวดั จะพงึ มี

72 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ให้ค�ำนวณตามเกณฑ์จ�ำนวนราษฎรท่ีก�ำหนดไว้ คือ อัตราส่วนราษฎร 150,000 คนต่อสมาชิกผู้แทน 1 คน เขตเลือกตั้งหน่ึงมีสมาชิกผู้แทนได้ไม่เกิน 3 คน (สุจิต บุญบงการ และ พรศักด์ิ ผ่องแผ้ว, 2527, น.73, 75) โดยจังหวัดใดมีการเลือกต้ังสมาชิกผู้แทนได้ไม่เกิน 3 คน ให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ส่วนจังหวัดใด มีการเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนได้เกิน 3 คน ให้แบ่งเขตจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้ง โดยจัดให้แต่ละเขตเลือกตั้ง มจี �ำนวนสมาชิกผ้แู ทนเขตละ 3 คน ถา้ แบง่ เขตเลือกตัง้ ในจงั หวดั หนึ่งใหม้ จี �ำนวนผู้แทนครบ 3 คนทกุ เขตไมไ่ ด้ ก็ให้แบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็นเขตเลือกต้ังที่มีผู้แทนเขตละ 3 คนเสียก่อน แต่เขตที่เหลือต้องไม่น้อยกว่าเขตละ 2 คน และถ้าจังหวดั ใดมผี แู้ ทนได้ 4 คน ก็ให้แบง่ เขตเลอื กต้งั ในจงั หวดั นัน้ เป็น 2 เขต เขตหนึ่งใหม้ ผี ู้แทน 2 คน (รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2517, มาตรา 112) ผลการเลอื กตง้ั เมอ่ื วนั ท่ี 26 มกราคม พ.ศ. 2518 พรรคประชาธปิ ตั ยไ์ ดร้ บั เลอื ก 72 คน พรรคธรรมสงั คม 45 คน พรรคชาตไิ ทย 28 คน พรรคเกษตรสังคม 19 คน พรรคกจิ สงั คม 18 คน พรรคสังคมชาตนิ ยิ ม 16 คน พรรคสงั คมนยิ มแหง่ ประเทศไทย 15 คน พรรคพลงั ใหม่ 12 คน พรรคแนวรว่ มสงั คม 10 คน และอน่ื ๆ รวมทงั้ หมด 269 คน พรรคประชาธิปัตย์ได้จัดต้ังรัฐบาลร่วมกับพรรคเกษตรสังคมแต่ไม่ได้รับความไว้วางใจจากสภา ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช หวั หนา้ พรรคกิจสงั คมได้เปน็ ผูจ้ ัดตั้งรัฐบาลตอ่ (สุจติ บุญบงการ และ พรศกั ด์ิ ผอ่ งแผว้ , 2527, น.74) ส่วนผลการเลือกต้ังเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้ง ทงั้ สน้ิ 279 คน โดยพรรคประชาธปิ ตั ยไ์ ดร้ บั เลอื กมากทส่ี ดุ 114 คน และเปน็ แกนกลางในการจดั ตง้ั รฐั บาลผสม (เพิ่งอา้ ง, น.75-76) การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรครง้ั ท่ี 14 (22 เมษายน พ.ศ. 2522) การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งท่ี 15 (18 เมษายน พ.ศ. 2526) การเลือกต้ังสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎรครง้ั ท่ี 16 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529) และการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ครงั้ ท่ี 17 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531) การเลือกตั้งเม่ือวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 และการเลือกตั้งเม่ือวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยสภาผู้แทนราษฎรและบทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2521 ใช้เกณฑ์ราษฎร 150,000 คนต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 คน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521, มาตรา 90) และเป็นการเลือกต้ังแบบรวมเขตเรียงเบอร์ โดยให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน เลอื กตง้ั ผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ไดเ้ ทา่ จ�ำนวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรทม่ี ไี ดใ้ นเขตเลอื กตงั้ นนั้ (เพง่ิ อา้ ง, มาตรา 204) การเลือกต้ังครั้งเมื่อวันท่ี 22 เมษายน พ.ศ. 2522 มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รับเลือก 301 คน ไมม่ พี รรคการเมอื งใดทไ่ี ดร้ บั เสยี งขา้ งมากในสภาผแู้ ทนราษฎร พลเอกเกรยี งศกั ด์ิ ชมะนนั ทไ์ ดร้ บั เสยี งสนบั สนนุ จากรัฐสภาใหเ้ ป็นนายกรฐั มนตรีภายหลังการเลือกตั้ง (สุจติ บุญบงการ และ พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว, 2527, น.80)

73 ส่วนการเลือกต้ังเม่ือวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รับเลือก 324 คน พรรคการเมอื งทไี่ ดร้ บั เลอื กตง้ั ไดแ้ ก่ กา้ วหนา้ กจิ สงั คม ชาตไิ ทย ชาตปิ ระชาธปิ ไตย ประชากรไทย ประชาธปิ ตั ย์ ประชาเสรี สยามประชาธิปไตย และสังคมประชาธิปไตย ส�ำหรับการแข่งขันในพื้นที่กรุงเทพมหานครนั้น พรรคประชากรไทยได้ 24 ท่ีน่ังจากท่ีเคยได้ท่ีน่ังในกรุงเทพมหานครเกือบท้ังหมดในการเลือกตั้งครั้งท่ีแล้ว ใน พ.ศ. 2522 พรรคประชาธปิ ตั ยไ์ ด้ 8 ทนี่ ง่ั จากทเี่ คยไดเ้ พยี ง 1 ทน่ี งั่ ในการเลอื กตงั้ ครงั้ ทแ่ี ลว้ สว่ นพรรคกจิ สงั คม ได้ 4 ที่นงั่ (เพง่ิ อา้ ง, น.97-103) หลังการเลอื กตง้ั พลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ เปน็ นายกรฐั มนตรี การเลอื กตง้ั อีก 2 ครั้ง คือ การเลือกต้ังเมอ่ื วันท่ี 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 และการเลอื กตงั้ เมอ่ื วันท ี่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 ภายใตร้ ฐั ธรรมนญู ทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2528 ใชเ้ กณฑร์ าษฎร 150,000 คนตอ่ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร 1 คน และเป็นการเลือกต้ังแบบรวมเขตเรียงเบอร์ โดยในเขตเลือกตั้งแต่ละเขต ให้ผู้มีสิทธิ เลือกต้ังมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกต้ังผู้สมัครรับเลือกต้ังได้เท่าจ�ำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีได ้ ในเขตเลือกตงั้ นัน้ (รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย แกไ้ ขเพมิ่ เติม พุทธศกั ราช 2528, มาตรา 3-5) การเลอื กตง้ั เมื่อวันท่ี 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 มสี มาชิกสภาผู้แทนราษฎร 347 คน พรรคการเมือง ที่ส่งผู้สมัครรับเลือกต้ังมี 16 พรรค ได้รับเลือกตั้ง 15 พรรค ภายหลังการเลือกตั้งพรรคประชาธิปัตย์ พรรคชาติไทย พรรคกิจสังคม และพรรคราษฎร ได้ร่วมกันจัดตั้งรัฐบาลผสม และพรรคการเมืองส่วนใหญ่ สนบั สนุนใหพ้ ลเอกเปรมเปน็ นายกรัฐมนตรีอกี วาระหน่งึ (พรรณชฎา ศริ วิ รรณบุศย,์ 2558, น.34) สว่ นการเลอื กตงั้ เมอ่ื วนั ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มสี มาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร 357 คน พรรคการเมอื ง ท่ีส่งผู้สมัครรับเลือกต้ังมี 19 พรรค ได้รับเลือกต้ัง 15 พรรค พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ประกาศไม่รับต�ำแหน่ง นายกรัฐมนตรี พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยพรรคการเมือง 6 พรรค คือ พรรคประชาธิปัตย์ พรรคกิจสังคม พรรคราษฎร พรรคชาติไทย พรรคสหประชาธิปไตย และพรรคมวลชน ตอ่ มารฐั บาลชดุ นแี้ ละสภาผแู้ ทนราษฎรสนิ้ สดุ ลงเนอื่ งจากการรฐั ประหารในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2534 (เพ่ิงอ้าง, น.35) การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรครั้งท่ี 18 (22 มนี าคม พ.ศ. 2535) การเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคร้ังท่ี 19 (13 กันยายน พ.ศ. 2535) การเลือกต้ังสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรคร้ังที่ 20 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งท่ี 21 (17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2539) การเลอื กตงั้ เมอ่ื วนั ที่ 22 มนี าคม พ.ศ. 2535 อยภู่ ายใตร้ ฐั ธรรมนญู ฉบบั พ.ศ. 2534 สภาผแู้ ทนราษฎร ประกอบด้วยสมาชิก 360 คน (รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2534, มาตรา 99) โดยจาํ นวน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีให้คํานวณตามเกณฑ์จํานวนราษฎรต่อสมาชิก 1 คน โดยเฉล่ีย จํานวนราษฎรท้ังประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ท่ีประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการเลือกตั้ง

74 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ดว้ ยจาํ นวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร 360 คน (เพงิ่ อา้ ง, มาตรา 100) การเลอื กตงั้ เปน็ การเลอื กตง้ั แบบรวมเขต เรียงเบอร์ ในเขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน เลอื กตง้ั ผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ ไดเ้ ทา่ จาํ นวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรทม่ี ไี ดใ้ นเขตเลอื กตง้ั นนั้ (เพง่ิ อา้ ง, มาตรา 102) หลังการเลือกตั้ง พลเอกสุจินดา คราประยูรได้เป็นนายกรัฐมนตรี โดยการสนับสนุนของพรรคสามัคคีธรรม พรรคชาติไทย พรรคกิจสังคม พรรคประชากรไทย และพรรคราษฎร แต่ต่อมารัฐบาลชุดน้ีก็เผชิญการต่อต้าน จนน�ำมาสเู่ หตกุ ารณพ์ ฤษภาทมฬิ (พรรณชฎา ศิริวรรณบศุ ย,์ 2558, น.35) การเลอื กตง้ั เมอ่ื วนั ที่ 13 กนั ยายน พ.ศ. 2535 อยภู่ ายใตร้ ฐั ธรรมนญู ฉบบั พ.ศ. 2534 ทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ครั้งท่ี 3 (เก่ยี วกบั อ�ำนาจของสมาชิกวุฒิสภา) และแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ คร้งั ท่ี 4 (เกยี่ วกับคุณสมบัตขิ องนายกรฐั มนตรี) สภาผแู้ ทนราษฎรประกอบดว้ ยสมาชกิ 360 คน การเลอื กตง้ั เปน็ การเลอื กตง้ั แบบรวมเขตเรยี งเบอร์ ในเขตเลอื กตง้ั แตล่ ะเขตใหผ้ มู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรมสี ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนเลอื กตงั้ ผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ไดเ้ ทา่ จาํ นวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรทม่ี ไี ดใ้ นเขตเลอื กตง้ั นน้ั (รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2534, มาตรา 102) พรรคการเมอื งทส่ี ง่ ผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ มที งั้ หมด 12 พรรค ไดร้ บั การเลอื ก 11 พรรค หลงั การเลอื กตงั้ พรรคประชาธิปัตย์ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากท่ีสุด และได้เป็นแกนน�ำในการจัดต้ังรัฐบาลผสม 5 พรรค คอื พรรคประชาธปิ ตั ย์ พรรคความหวงั ใหม่ พรรคพลงั ธรรม พรรคกจิ สงั คม และพรรคเอกภาพ นายชวน หลกี ภยั หวั หนา้ พรรคประชาธิปตั ย์ เป็นนายกรัฐมนตรี (พรรณชฎา ศิริวรรณบศุ ย,์ 2558, น.35-36) การเลอื กตง้ั เมอ่ื วนั ท่ี 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 อยภู่ ายใตร้ ฐั ธรรมนญู ฉบบั พ.ศ. 2534 ทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ครั้งที่ 5 จ�ำนวนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรถือตามเกณฑ์ราษฎร 150,000 คนต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1 คน ต่างจากช่วงก่อนแก้ไขรัฐธรรมนูญท่ีก�ำหนดจ�ำนวนสมาชิกผู้แทนไว้ที่ 360 คน (ดู รัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจักรไทย แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 5) พุทธศกั ราช 2538, มาตรา 106) การเลือกตง้ั เป็นการเลือกตั้ง แบบรวมเขตเรียงเบอร์ ในเขตเลือกตั้งแตละเขตให้ผู้มีสิทธิเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครรับเลือกต้ังได้เท่าจํานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีได้ในเขตเลือกตั้งน้ัน (เพ่ิงอ้าง, มาตรา 106-108) หลงั การเลือกตงั้ นายบรรหาร ศลิ ปอาชา หวั หนา้ พรรคชาติไทย เปน็ นายกรัฐมนตรี การเลือกต้ังเม่ือวันท่ี 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ยังคงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2534 ทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ครง้ั ที่ 5 หลงั การเลอื กตงั้ พรรคความหวงั ใหมไ่ ดส้ มาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรมากทสี่ ดุ และเปน็ แกนน�ำ ในการจดั ตงั้ รฐั บาลผสม 6 พรรค คอื พรรคความหวงั ใหม่ พรรคกจิ สงั คม พรรคประชากรไทย พรรคชาตพิ ฒั นา พรรคเสรีธรรม และพรรคมวลชน พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ หัวหน้าพรรคความหวังใหม่ เป็นนายกรัฐมนตร ี (พรรณชฎา ศริ วิ รรณบุศย,์ 2558, น.36)

75 การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรคร้งั ที่ 22 (6 มกราคม พ.ศ. 2544) การเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 23 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548) และการเลือกตั้งสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎรครงั้ ท่ี 24 (2 เมษายน พ.ศ. 2549) การเลือกตั้งเม่ือวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 การเลือกต้ังเมื่อวันท่ี 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 และการเลอื กตงั้ เมอ่ื วนั ท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2549 เปน็ การเลอื กตง้ั ภายใตร้ ฐั ธรรมนญู ฉบบั พ.ศ. 2540 ซง่ึ ก�ำหนดให้ สภาผแู้ ทนราษฎรประกอบดว้ ยสมาชกิ 500 คน แบง่ เปน็ สมาชกิ ซง่ึ มาจากการเลอื กตง้ั แบบบญั ชรี ายชอื่ 100 คน และสมาชกิ ซง่ึ มาจากการเลอื กตง้ั แบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั 400 คน (รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540, มาตรา 98) การเลือกตั้งจึงเป็นการเลือกตั้งแบบผสม คือ แบ่งเขตกับบัญชีรายช่ือ ส�ำหรับการเลือกต้ัง สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชอ่ื ใหม้ ผี สู้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ มสี ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนเลอื กบญั ชรี ายชอ่ื ผสู้ มคั ร รบั เลอื กตงั้ ทพ่ี รรคการเมอื งจดั ท�ำขน้ึ โดยใหเ้ ลอื กบญั ชรี ายชอื่ ใดบญั ชรี ายชอ่ื หนงึ่ เพยี งบญั ชเี ดยี ว และใหถ้ อื เขต ประเทศเปน็ เขตเลอื กตง้ั พรรคการเมอื งทจ่ี ะไดผ้ แู้ ทนจากบญั ชรี ายชอ่ื นน้ั ตอ้ งไดค้ ะแนนเสยี งไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 5 ของจ�ำนวนคะแนนเสยี งรวมทงั้ ประเทศดว้ ย (เพงิ่ อา้ ง, มาตรา 99-100) สว่ นการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้งเป็นแบบเขตเดียวเบอร์เดียว ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัคร รบั เลอื กตง้ั ได้เขตละ 1 คน (เพงิ่ อา้ ง, มาตรา 102) การเลือกต้ังใน พ.ศ. 2544 ผู้ได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 400 คน แบ่งเป็น ส.ส. ของพรรคความหวังใหม่ 28 คน พรรคไทยรักไทย 200 คน พรรคชาติไทย 35 คน พรรคถิ่นไทย 1 คน พรรคราษฎร 2 คน พรรคเสรีธรรม 14 คน พรรคประชาธิปัตย์ 97 คน พรรคชาติพัฒนา 22 คน และพรรคกิจสังคม 1 คน (ส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2544, น.155) ส่วนผู้ได้รับเลือกต้ังเป็น ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน แบ่งเป็น ส.ส. ของพรรคความหวังใหม่ 8 คน พรรคไทยรักไทย 48 คน พรรคชาติไทย 6 คน พรรคประชาธิปัตย์ 31 คน และพรรคชาตพิ ฒั นา 7 คน (เพง่ิ อ้าง, น.146) การเลือกต้ังใน พ.ศ. 2548 ผู้ได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 400 คน แบ่งเป็น ส.ส. ของพรรค ชาติไทย 18 คน พรรคประชาธิปัตย์ 70 คน พรรคไทยรักไทย 310 คน และพรรคมหาชน 2 คน (ส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง, 2548, น.280) สว่ นผูไ้ ดร้ บั เลือกตงั้ เป็น ส.ส. แบบบัญชรี ายชอ่ื 100 คน แบง่ เปน็ ส.ส. ของพรรคชาตไิ ทย 7 คน พรรคประชาธปิ ตั ย์ 26 คน และพรรคไทยรกั ไทย 67 คน (เพงิ่ อา้ ง, น.273) เมอ่ื พจิ ารณาการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรในพน้ื ทกี่ รงุ เทพมหานครพบวา่ การเลอื กตง้ั ในพนื้ ทนี่ ้ี เป็นการขับเคี่ยวกันระหว่างพรรคไทยรักไทยกับพรรคประชาธิปัตย์เป็นหลัก กล่าวคือ ผลการเลือกต้ังเม่ือวันท ี่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 ส�ำหรับพื้นท่ีกรุงเทพมหานครซ่ึงมี 37 เขต ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งรวมจากทุกเขตยกเว้น เขตท่ี 20 มที ง้ั สน้ิ 36 คน ปรากฏวา่ ในจ�ำนวนนพี้ รรคไทยรกั ไทยไดไ้ ป 28 คน สว่ นพรรคประชาธปิ ตั ยไ์ ดไ้ ป 7 คน (ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ัง เรื่อง ผลการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกต้ัง, ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 118 ตอนที่ 5 ก วันท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 2544, หน้า 3-4) และในเขตที่ 20 ซงึ่ ให้มีการ

76 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร เลือกตั้งใหม่ในวันท่ี 29 มกราคมนั้นผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยเป็นผู้ได้รับเลือกตั้ง (ประกาศคณะกรรมการ การเลือกต้ัง เรื่อง ผลการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 118 ตอนที่ 8 ก วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544, หน้า 12) ส่วนผลการเลือกตั้งเม่ือวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ส�ำหรับพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครซึ่งมี 37 เขต จ�ำนวน 37 คน ปรากฏว่าพรรคไทยรักไทยได้ไป 32 คน พรรคประชาธิปัตย์ 4 คน และพรรคชาติไทย 1 คน (ประกาศคณะกรรมการการเลอื กตั้ง เร่ือง ผลการเลือกต้งั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนท่ี 21 ก วันท่ี 10 มีนาคม พ.ศ. 2548, หน้า 33-34; ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ัง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตงั้ , ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 122 ตอนที่ 21 ก วนั ท่ี 10 มนี าคม พ.ศ. 2548, หน้า 43-44) ส่วนการเลือกต้ังในวันท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2549 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้มีการเพิกถอน การเลอื กต้ัง และตอ้ งจัดให้มกี ารเลือกต้งั เป็นการท่ัวไปใหม่ การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรคร้ังที่ 25 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550) การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรใน พ.ศ. 2550 มขี น้ึ เมอ่ื วนั ท่ี 23 ธนั วาคม และเปน็ การเลอื กตงั้ ภายใต้รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2550 การเลือกต้ังครั้งน้ีเป็นการเลือกต้ังแบบผสม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีจ�ำนวน 480 คน โดยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกต้ังมี 400 คน ส่วนสมาชิกที่มาจาก การเลอื กตงั้ แบบสดั สว่ นมี 80 คน (รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550, มาตรา 93) การเลอื กตง้ั สมาชิกผู้แทนแบบแบ่งเขตเลือกต้ังเป็นการเลือกต้ังแบบรวมเขตเรียงเบอร์หรือหนึ่งเขตมีผู้แทนได้หลายคน ผู้มสี ิทธเิ ลอื กต้ังในเขตเลอื กต้ังใดมสี ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนเลอื กต้งั ผสู้ มคั รรับเลอื กตงั้ ไดเ้ ท่าจ�ำนวนผแู้ ทนทีม่ ีได้ ในเขตเลอื กตง้ั น้นั (เพิ่งอ้าง, มาตรา 94) สว่ นการเลือกตงั้ สมาชกิ ผู้แทนแบบสดั ส่วนก�ำหนดเขตเลือกตั้งโดยแบง่ จงั หวดั เปน็ 8 กลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ จงั หวดั เปน็ เขตเลอื กตงั้ ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ในเขตเลอื กตง้ั ใดมสี ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนน เลอื กพรรคการเมอื งทจี่ ดั ทาํ บญั ชรี ายชอ่ื ผสู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ ในเขตเลอื กตงั้ นนั้ ได้ 1 เสยี ง (เพงิ่ อา้ ง, มาตรา 95-96) การเลือกตง้ั ใน พ.ศ. 2550 ผไู้ ดร้ บั เลอื กตัง้ เปน็ ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกต้ัง จ�ำนวน 400 คน แบ่งเป็น ส.ส. ของพรรคพลังประชาชน 199 คน พรรคประชาธปิ ัตย์ 131 คน พรรคชาตไิ ทย 30 คน พรรคเพ่อื แผน่ ดนิ 17 คน พรรคมชั ฌมิ าธปิ ไตย 11 คน พรรครวมใจไทยชาตพิ ฒั นา 8 คน และพรรคประชาราช 4 คน สว่ นผไู้ ดร้ บั เลอื กตง้ั เปน็ ส.ส. แบบสดั สว่ น จ�ำนวน 80 คน แบง่ เปน็ ส.ส. ของพรรคพลงั ประชาชน 34 คน พรรคประชาธปิ ตั ย์ 33 คน พรรคชาติไทย 4 คน พรรคเพอ่ื แผน่ ดิน 7 คน พรรครวมใจไทยชาตพิ ัฒนา 1 คน และพรรคประชาราช 1 คน (ส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตัง้ , 2551, น.259) ส่วนผลการเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในพ้ืนที่กรุงเทพมหานครทั้งหมด 12 เขต จ�ำนวน 36 ท่ีน่ัง ปรากฏวา่ พรรคประชาธปิ ตั ยไ์ ด้ 27 ทนี่ ง่ั และพรรคพลงั ประชาชนได้ 9 ทนี่ ง่ั (ประกาศคณะกรรมการการเลอื กตง้ั เรื่อง ผลการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกต้ัง, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนท่ี 5 ก วันท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2551, หนา้ 61-62)

77 การเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งท่ี 26 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) และการเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 27 (2 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2557) การเลือกต้ังเมือ่ วันท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 และ 2 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2557 อยู่ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2550 ที่มีการแก้ไขเพ่ิมเติมให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจ�ำนวน 500 คน โดยแบ่งเป็นสมาชิก ทีม่ าจากการเลอื กตัง้ แบบแบง่ เขตเลือกตง้ั 375 คน และสมาชิกท่มี าจากการเลือกตัง้ แบบบญั ชีรายชื่อ 125 คน ซงึ่ เลอื กโดยใชบ้ ตั รเลอื กตงั้ แบบละหนง่ึ ใบ การเลอื กตง้ั จงึ เปน็ การเลอื กตง้ั แบบผสม คอื แบง่ เขตกบั บญั ชรี ายชอื่ ส�ำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกต้ังเป็นการเลือกตั้งแบบเขตเดียวเบอร์เดียว ผู้มีสิทธิเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมัครรับเลือกต้ังได้เขตละหน่ึงคน ส่วนการเลือกต้ังสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือ ให้ผู้มีสิทธิเลือกต้ังมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายช่ือผู้สมัคร รับเลือกต้ังที่พรรคการเมืองจัดทําขึ้น โดยให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อใด บัญชีรายชื่อหนึ่งเพียงบัญชีเดียว และให้ถือเขตประเทศเป็นเขตเลือกต้ัง (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพ่มิ เติม(ฉบบั ท่ี 1) พุทธศักราช 2554, มาตรา 3) การเลอื กตงั้ ใน พ.ศ. 2554 ผไู้ ดร้ บั เลอื กตง้ั เปน็ ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตงั้ จ�ำนวน 375 คน แบง่ ออกเปน็ ส.ส. ของพรรคเพ่ือไทย 204 คน พรรคประชาธิปัตย์ 115 คน พรรคภูมิใจไทย 29 คน พรรคชาติไทยพัฒนา 15 คน พรรคชาติพฒั นาเพอ่ื แผน่ ดนิ 5 คน พรรคพลังชล 6 คน และพรรคมาตุภมู ิ 1 คน ส่วนผู้ได้รับเลือกเปน็ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อจ�ำนวน 125 คน แบ่งออกเป็น ส.ส. ของพรรคเพื่อไทย 61 คน พรรคประชาธิปัตย์ 44 คน พรรคภูมิใจไทย 5 คน พรรคชาติไทยพฒั นา 4 คน พรรคชาตพิ ฒั นาเพ่อื แผน่ ดนิ 2 คน พรรคพลงั ชล 1 คน พรรครักประเทศไทย 4 คน พรรคมาตุภูมิ 1 คน พรรคประชาธิปไตยใหม่ 1 คน พรรคมหาชน 1 คน และพรรครักษ์สันติ 1 คน พรรคเพื่อไทยเป็นพรรคการเมืองที่ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากท่ีสุด (ส�ำนักงาน คณะกรรมการการเลือกตัง้ , 2555, น.371) ส�ำหรับ ส.ส. ของกรุงเทพฯ ในการเลือกต้ัง พ.ศ. 2554 เป็น ส.ส. จากพรรคประชาธิปัตย์ 23 คน และพรรคเพื่อไทย 10 คน (เพิ่งอ้าง, น.360) ส่วนการเลือกต้ังใน พ.ศ. 2557 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าการเลือกต้ังคร้ังนี้ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ศาลรฐั ธรรมนญู ชแ้ี จงวา่ การเลอื กตง้ั ครง้ั นผ้ี ดิ กฎหมายเพราะไมไ่ ดก้ ระท�ำเสรจ็ ภายในวนั เดยี วกนั ตามรฐั ธรรมนญู น้ันการยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระท�ำโดยพระราชกฤษฎีกา ซึ่งต้องก�ำหนดวันเลือกตั้งใหม่ และวันเลือกต้ังนั้น ตอ้ งก�ำหนดเปน็ วนั เดยี วกนั ทวั่ ราชอาณาจกั ร แตก่ ารเลอื กตงั้ ครงั้ นมี้ เี ขตเลอื กตงั้ 28 เขตจาก 375 เขตไมส่ ามารถ จัดการเลือกตั้งได้ การจัดการเลือกตั้งใหม่ใน 28 เขตจึงเป็นไปไม่ได้เพราะจะหมายความว่าการเลือกต้ังนั้น ไม่สามารถจัดให้มีข้ึนภายในวันเดียวกันคือวันที่ 2 กุมภาพันธ์ตามที่ประกาศไว้ในพระราชกฤษฎีกายุบสภา พ.ศ. 2556 (Bangkok Post, 2014)

78 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 2.2.2 การทุจริตการเลือกตั้งในประเทศไทย การทุจริตเลือกต้ังในประเทศไทยนั้นมีการบันทึกไว้อย่างมากมาย แต่หากจะพิจารณาแล้ว อาจต้อง เน้นไปที่การทุจริตเลือกต้ังที่มีนัยยะส�ำคัญต่อการเมืองไทยในความหมายของการเป็นท่ีเล่าขาน และท�ำลาย ความชอบธรรมของระบบการเมือง ซ่ึงในประเด็นดังกล่าวน้ีจะขออภิปรายควบคู่กันไประหว่าง ลักษณะ และวิวัฒนาการของการทุจริตเลือกตั้ง และเหตุการณ์การเลือกตั้งที่ส�ำคัญท่ีการทุจริตการเลือกตั้งมีผลต่อ ความชอบธรรมของการเลือกตั้งและระบบการเมือง ซ่ึงได้แก่ การเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 การเลอื กตง้ั ในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2512 และการเลอื กตง้ั ซอ่ ม จงั หวดั รอ้ ยเอด็ เขต 1 วนั ที่ 9 สงิ หาคม พ.ศ.2524 ในการพูดถึงการทุจริตเลือกตั้งน้ันจะเห็นว่า มีท้ังในส่วนของเทคนิค และพื้นที่ในการทุจริต คือ เมืองและชนบท โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานครกถ็ กู ระบไุ ว้ในหลายครงั้ การทจุ รติ เลือกต้งั ในการเลอื กตัง้ ในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2500 งานของธงไชย แสงประดบั (2517) เฉลมิ มลลิ า (2518) ชมุ สาย ไชยวตั (2538) และชติ พล กาญจนกจิ (2539) แสดงใหเ้ หน็ ว่าการเลือกตงั้ พ.ศ. 2500 เป็นการเลอื กตั้งท่มี ีการทจุ ริตหลายลกั ษณะ กลา่ วคือ ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจในรัฐบาลซ่ึงเป็นแกนน�ำของพรรคเสรีมนังคศิลาได้ใช้โอกาสท่ียังเป็นรัฐบาลอยู ่ ท�ำการจัดสรรงบประมาณลงไปตามจังหวัดต่าง ๆ อย่างมากมายในระยะเวลาอันส้ันก่อนการเลือกต้ัง (ชมุ สาย ไชยวตั , 2538) ผู้มีอ�ำนาจเลี้ยงดูอันธพาลให้ช่วยเป็นหัวคะแนน กล่าวคือ มีการร่วมชุมนุมเล้ียงอาหาร และขอ ความร่วมมือจากนักเลง การท�ำแหนบตราไก่ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์ประจ�ำตัวของจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี แจกให้หัวคะแนนเสียบติดกระเป๋าเสื้อเพ่ือบ่งบอกตนว่าเป็นหัวคะแนนของรัฐบาล และใช้เป็น เกราะป้องกันจากต�ำรวจเวลากระท�ำความผิด การท�ำบัตรแข็งท่ีมีเคร่ืองหมายตราไก่แจกจ่ายออกไปอยู่กับ นักเลง อันธพาล คนคุมซ่อง ท�ำให้มีการใช้อ�ำนาจอย่างปราศจากการควบคุมของกฎหมาย นอกจากนี้มีการให ้ ผู้กว้างขวางกวาดต้อนผู้คนมาฟังการปราศรัย ใช้หัวคะแนนซึ่งเป็นนักเลงในการรวบรวมคะแนนเสียง อีกทั้ง อนั ธพาลยังก่อกวนการหาเสยี งของพรรคฝ่ายตรงขา้ ม การท�ำบตั รโกงทลี่ งคะแนนผสู้ มคั รพรรครฐั บาลไวก้ อ่ นแลว้ (ไพไ่ ฟ) หบี บางแหง่ มบี ตั รโกงใสล่ งไปกอ่ น แล้วเรียบร้อย นอกจากน้ี ให้คนท่ีได้รับค่าจ้างไปลงไพ่ไฟ ซ่ึงส่วนมากเป็นพวกอันธพาล และมีการเวียนเทียน ลงคะแนน การจัดการเลือกตั้ง เร่ืองบัญชีรายช่ือผู้มีสิทธิเลือกต้ังท่ีมีปัญหา เช่น พบช่ือคนตาย การเปล่ียนชาย เป็นหญิง เพ่ิมเติมช่ือเอาเองให้อยู่ในบ้านใดบ้านหนึ่ง ลบชื่อผู้สิทธิเลือกต้ังออก ท�ำบัญชีเสร็จแต่ไม่ปิดประกาศ ให้คนตรวจดู เรื่องหน่วยการเลือกต้ังซ่ึงบางหน่วยกรรมการถ่วงเวลาเปิดคูหาให้ช้า และเร่ืองสถานท่ีรับ บัตรเลอื กตงั้ กบั คหู าปดิ บัตรและสถานทลี่ งบัตรอยหู่ ่างไกลกันมากท�ำใหมีการใช้ไพไ่ ฟไดส้ ะดวก

79 การลงคะแนนมีความสับสน บางคนไม่มีสิทธิลงบัตรก็ไปลงบัตร บางคนมีสิทธิในการลงบัตรแต่ไม่ได้ รบั แจกบตั ร กรรมการไมแ่ จกหมายเลขให้ครบตามจ�ำนวนของผู้สมัคร ผู้เลือกต้ังถูกอันธพาลก่อกวนไม่ให้ลงคะแนนได้สะดวก บางแห่งมีการใช้ก�ำลังความรุนแรง ท้ังต่อ ประชาชน หรอื ทั้งตอ่ กรรมการท่ีไมย่ อมใหพ้ ลรม่ ลงไพไ่ ฟตามชอบใจ การนบั คะแนน มกี ารนับบตั รเสยี แก้คะแนนในบตั ร หยิบบตั รท่ไี มไ่ ดล้ งให้ผสู้ มคั รพรรครฐั บาลทงิ้ ไป บางแห่งกรรมการแกล้งดับไฟขณะนับคะแนน พอไฟมาบัตรเลือกตั้งที่ปิดหมายเลขผู้สมัครพรรครัฐบาล ก็เพ่ิมข้ึน นอกจากน้ี มีการถ่วงเวลาการนับคะแนนเพ่ือเปิดโอกาสให้มีการน�ำบัตรผู้สมัครพรรครัฐบาลมาใส่ เพม่ิ เตมิ เชน่ พนื้ ทก่ี รงุ เทพฯ เขตอ�ำเภอบางเขน และอ�ำเภอดสุ ติ ใชเ้ วลานบั คะแนนสองวนั สองคนื ผลจงึ ปรากฏ อย่างที่รัฐบาลต้องการคือจอมพล ป. ชนะนายควงอภัยวงศ์ (เฉลิม มลิลา, 2518) หน่วยเลือกตั้งซอยทองหล่อ อ�ำเภอพระโขนง บตั รเลอื กตงั้ มจี �ำนวนมากกวา่ ผมู้ าใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ นอกจากนนั้ เมอื่ กรรมการท�ำการนบั คะแนน เสร็จไป 8 อ�ำเภอในจ�ำนวน 13 อ�ำเภอ ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์มีคะแนนน�ำ กรรมการจึงถ่วงเวลานับคะแนน ใน 5 อ�ำเภอทเ่ี หลอื โดยเฉพาะ 13 หน่วยสดุ ท้ายของอ�ำเภอดุสติ เพื่อเปดิ โอกาสใหน้ �ำบตั รผสู้ มคั รพรรครฐั บาล มาใสเ่ พมิ่ (ธงไชย แสงประดบั , 2517) ผลสะท้อนทางการเมืองของการเลือกตั้งครั้งนี้มีความไม่พอใจต่อรัฐบาลอย่างมาก มีการเดินขบวน คัดค้านการเลือกตั้งสกปรก แต่รัฐบาลปรารถนาท่ีจะครองอ�ำนาจทางการเมืองต่อไป และยืนยันที่จะใช ้ ผลการเลอื กตัง้ ใหไ้ ด้รับความชอบธรรม (เฉลิม มลิลา, 2518) การทจุ รติ เลือกตั้งในการเลือกต้ังในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 การเลือกตั้งใน พ.ศ. 2512 มีกลุ่มนิสิตนักศึกษาอาสาสมัครสังเกตการณ์เลือกตั้ง สามารถรายงาน ผลการเลือกต้ังจาก 998 หน่วยของเขตพระนคร และ 368 หน่วยของเขตธนบุรีได้ในเช้าวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ขณะที่กระทรวงมหาดไทยจะประกาศผลทางการของ 2 จังหวัดได้ในบ่ายวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ นิสิตนักศึกษา รายงานว่า พรรคประชาธิปัตย์ได้ 15 ท่ีนั่งในเขตพระนคร และ 6 ที่น่ังในจังหวัดธนบุรี โดยมีผู้สมัครพรรค สหประชาไทยตามมาเป็นอันดับถัดไป ในผลคะแนนของมหาดไทยน้ันฝ่ายผู้สมัครพรรคประชาธิปัตย์จะมี คะแนนลดลงไปนบั หมน่ื คะแนนจากทนี่ กั ศกึ ษารายงาน แตก่ ย็ งั เปน็ กลมุ่ ผสู้ มคั รทไ่ี ดร้ บั เลอื กตงั้ แตฝ่ า่ ยมหาดไทย ก็วิพากษ์ว่า การนับคะแนนของกลุ่มนิสิตนักศึกษาเช่ือถือไม่ได้ แม้ว่ากลุ่มนิสิตนักศึกษาจะพบการเลือกตั้ง ท่ีไม่สุจริตในหน่วยเลือกตั้งของทหารในเขตพระนคร แต่เน่ืองจากพรรคสหประชาไทยหรือพรรครัฐบาลเป็น ฝ่ายแพ้ ปัญหาการเลือกต้ังไม่สุจริตจึงไม่ขยายเป็นวงกว้างแบบสมัยจอมพล ป. (ธ�ำรงศักด์ิ เพชรเลิศอนันต์, 2550)

80 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร การทจุ รติ เลอื กตง้ั ในการเลอื กตง้ั ซอ่ ม จงั หวดั รอ้ ยเอด็ เขต 1 วนั ท่ี 9 สงิ หาคม พ.ศ. 2524 การเลอื กตงั้ ซอ่ มในพน้ื ทน่ี เี้ กดิ ขน้ึ เมอื่ สมพร จรุ มี าศ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรเจา้ ของพน้ื ทเ่ี สยี ชวี ติ ลง จึงมีการเลือกต้ังซ่อมที่มีคู่แข่งขัน คือ พลเอกเกรียงศักด์ิ ชมะนันทน์ อดีตนายกรัฐมนตรี หัวหน้าพรรคชาติ ประชาธปิ ไตย กบั พนั ต�ำรวจโทบญุ เลศิ เลศิ ปรชี า รองหวั หนา้ พรรคกจิ สงั คม ลงแขง่ ขนั กนั ในการเลอื กตงั้ ครงั้ น ้ี ฝ่ายพลเอกเกรียงศักดิ์มีการใช้ดาราจากละครทีวีออกมาแจกซองแก่ชาวบ้าน แม้กระท่ังข้าราชการและต�ำรวจ กม็ าช่วยกันแจกซอง (โพสตท์ เู ดย์, 2557ก) ภายหลังจากเหตุการณ์ท่ีร้อยเอ็ด เมื่อ พ.ศ. 2524 จะพบว่าการอภิปรายถึงการทุจริตการเลือกตั้ง จะมีลักษณะเป็นเรื่องส่วนบุคคลแต่ละกรณี และมีการอ้างอิงในภาพรวมว่านักการเมืองมักจะมีการโกงกิน แต่ยังไม่มีการอธิบายภาพรวมของการทุจริตทางการเมือง ทั้งน้ีการทุจริตในเร่ืองของการเลือกตั้งน้ัน อาจไม่ใช่ เรื่องเดียวกับการทุจริตทางการเมือง จนกระท่ังในสมัยหลังจะพบข้อกล่าวหาท่ีเชื่อมโยงระหว่างการทุจริต การเลอื กต้ัง(โดยเฉพาะการซ้ือเสียง)กบั การทุจริตทางการเมือง อาทิ ข้อกล่าวหาเรือ่ งบฟุ เฟต์คารบ์ เิ นต ในสมยั รัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัน (พ.ศ. 2531-2534) และการคอร์รัปชัน ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือกินรวบ ประเทศในสมยั รัฐบาล พนั ต�ำรวจโททักษณิ ชนิ วตั ร (พ.ศ. 2544-2549) 2.2.3 การเลือกต้ังในกรุงเทพมหานคร ขอบข่ายของการทบทวนในมิติประวัติศาสตร์จะขอย้อนไปถึงการเลือกต้ังครั้งที่ 14 ใน พ.ศ. 2522 ดังน้ี ดว้ ยเหตุผล 2 ประการ 1) ข้อจ�ำกัดในข้อมูลที่มีในช่วงของการท�ำวิจัย ซึ่งในเอกสารเร่ือง การเลือกต้ังท่ัวไป พ.ศ. 2539 จากฐานขอ้ มลู ออนไลนค์ ลงั สารสนเทศของสภานติ บิ ญั ญตั ขิ องรฐั สภาไดจ้ ดั ท�ำไวเ้ ปน็ ระบบยอ้ นหลงั ไปถงึ ปี 2522 เท่าน้ัน (ดูใน ศูนย์บริการข้อมูลและกฎหมาย ส�ำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2539) กอปรกับเอกสารงานวิจัย การเลือกต้ังในเขต กทม. 2 ครั้งท่ีผ่านคืองานของ ฐปนรรต พรหมอินทร์ (2553) เก่ียวกับการเลือกต้ัง ส.ส. ของ กทม. เมอื่ พ.ศ. 2550 และงานของ พรรณชฎา ศริ วิ รรณบศุ ย์ (2558) เกยี่ วกบั การเลอื กตงั้ ส.ส. ของ กทม. เมื่อ พ.ศ. 2554 ไมม่ ขี อ้ มลู ในส่วนของการเลือกตง้ั เฉพาะใน กทม. ยอ้ นหลังนแ้ี ตอ่ ย่างใด 2) หากตีความในมิติของการเมืองไทยร่วมสมัย จะพบว่าการเมืองไทยในช่วงหลังรัฐธรรมนูญ 2521 มคี วามตอ่ เนอ่ื งยาวนาน การเลอื กตง้ั ทวั่ ไปในปี 2522 เปน็ การเลอื กตงั้ ครง้ั แรกหลงั จากการประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู ปี 2521 ตัวรัฐธรรมนูญ 2521 เองท่ีใช้มาจนถึงปี 2534 และรัฐบาลพลเอกเปรมก็มีเสถียรภาพและมีความ สม�่ำเสมอของการเลือกต้ังมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน จนถึงปี 2531 ตลอดจนทั้งผู้ที่มีบทบาททางการเมือง ส่วนใหญ่นับตั้งแต่ยุคนั้นก็ยังมีบทบาทต่อเนื่องมาจนถึงยุคปัจจุบัน หรือผู้มีบทบาททางการเมืองรายใหม ่ ส่วนใหญ่ก็สามารถเช่ือมโยงเขา้ กบั การเมอื งนับตั้งแต่ยุคน้นั เป็นตน้ มา

81 การเลอื กตง้ั ทว่ั ไปรว่ มสมยั ในเขต กทม. นบั ตง้ั แต่ พ.ศ. 2522 จนถงึ ปจั จบุ นั มรี ายละเอยี ดของจ�ำนวน สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรทีไ่ ดร้ บั เลอื กต้งั และพรรคท่ีสงั กัดในแต่ละครั้งดังต่อไปนี้ ตาราง 2.1 จำ� นวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร กรงุ เทพมหานคร ในการเลอื กตงั้ แตล่ ะครง้ั (พ.ศ. 2522 - 2562) พรรคการเมอื ง จ�ำนวนสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร กรุงเทพมหานคร ในการเลือกต้งั แตล่ ะครัง้ ประชากร เม.ย. เม.ย. ก.ค. ก.ค. มี.ค. ก.ย. ก.ค. พ.ย. ม.ค. ก.พ. ธ.ค. ก.ค. มี.ค. ไทย 22 26 29 31 35 35 38 39 44 48 50 54 62 ประชาธปิ ัตย์ 29 24 16 20 2 2 12 4 - - - - - 1 8 16 5 1 9 7 29 8 4 27 23 - กิจสงั คม 2 421 - - - - - - - - - ชาติไทย - -1---- - -1- - - มวลชน - - 1 1 - 1 2 - - - - - - พลังธรรม - - - 10 32 23 16 1 - - - - - ความหวังใหม่ - - - - - - - 2 - - - - - ชาติพฒั นา - ------1----- ไทยรักไทย - - - - - - - - 29 32 - - - พลงั ประชาชน - - - - - - - - - - 9 - - เพอ่ื ไทย - - - - - - - - - - - 10 9 พลังประชารัฐ - - - - - - - - - - - - 12 อนาคตใหม่ - - - - - - - - - - - - 9 อนื่ ๆ - - - - - - - - - - - - - รวม 32 36 36 37 35 35 37 37 37 37 36 33 30 ท่ีมา: รวบรวมและเรียบเรยี งจาก 1. ศนู ยบ์ ริการข้อมลู และกฎหมาย ส�ำนักงานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา (2539) 2. ฝา่ ยผลติ เอกสารรัฐสภา กองการประชาสัมพันธ์ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (2542)

82 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 3. ส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง (2544, น.133-134) 4. ประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ัง เร่ือง ผลการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต เลอื กตง้ั , ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ 125 ตอนที่ 5 ก วนั ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2551, หน้า 61-62. 5. ส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ (2555, น.360) 6. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เร่ือง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต เลือกตงั้ , ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 136 ตอนท่ี 60 ก วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2562, หน้า 1-2. จากตารางข้างต้นจะเห็นไดว้ า่ การเลอื กต้ังในเดือนเมษายน พ.ศ. 2522 มี ส.ส. ของกรงุ เทพฯ ได้รับเลือกตง้ั 32 คน แบ่งเปน็ ส.ส. ของพรรคประชากรไทย 29 คน พรรคกจิ สังคม 2 คน และพรรคประชาธิปัตย์ 1 คน การเลือกตงั้ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2526 มี ส.ส. ของกรงุ เทพฯ ไดร้ บั เลอื กตงั้ 36 คน แบง่ เป็น ส.ส. ของพรรคประชากรไทย 24 คน พรรคประชาธิปตั ย์ 8 คน และพรรคกจิ สังคม 4 คน การเลอื กตงั้ ในเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2529 มี ส.ส. ของกรงุ เทพฯ ไดร้ บั เลอื กตง้ั 36 คน แบง่ เปน็ ส.ส. ของพรรคประชากรไทย 16 คน พรรคประชาธิปัตย์ 16 คน พรรคกิจสังคม 2 คน พรรคชาติไทย 1 คน และ พรรคมวลชน 1 คน การเลอื กตง้ั ในเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2531 มี ส.ส. ของกรงุ เทพฯ ไดร้ บั เลอื กตงั้ 37 คน แบง่ เปน็ ส.ส. ของพรรคประชากรไทย 20 คน พรรคพลังธรรม 10 คน พรรคประชาธิปัตย์ 5 คน พรรคกิจสังคม 1 คน และ พรรคมวลชน 1 คน การเลือกต้ังในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 มี ส.ส. ของกรุงเทพฯ ได้รับเลือกต้ัง 35 คน แบ่งเป็น ส.ส. ของพรรคพลงั ธรรม 32 คน พรรคประชากรไทย 2 คน และพรรคประชาธิปตั ย์ 1 คน การเลือกต้ังในเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2535 มี ส.ส. ของกรงุ เทพฯ ไดร้ บั เลือกตง้ั 35 คน แบ่งเป็น ส.ส. ของพรรคพลงั ธรรม 23 คน พรรคประชาธิปตั ย์ 9 คน พรรคประชากรไทย 2 คน และพรรคมวลชน 1 คน การเลอื กตงั้ ในเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2538 มี ส.ส. ของกรงุ เทพฯ ไดร้ บั เลอื กตง้ั 37 คน แบง่ เปน็ ส.ส. ของพรรคพลงั ธรรม 16 คน พรรคประชากรไทย 12 คน พรรคประชาธิปตั ย์ 7 คน และพรรคมวลชน 2 คน การเลือกต้ังในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2539 มี ส.ส. ของกรุงเทพฯ ได้รับเลือกต้ัง 37 คน แบ่งเป็น ส.ส. ของพรรคประชาธิปัตย์ 29 คน พรรคประชากรไทย 4 คน พรรคความหวังใหม่ 2 คน พรรคพลังธรรม 1 คน และพรรคชาตพิ ัฒนา 1 คน

83 การเลอื กตั้งในเดอื นมกราคม พ.ศ. 2544 มี ส.ส. ของกรงุ เทพฯ ได้รบั เลือกตงั้ 37 คน แบง่ เปน็ ส.ส. ของพรรคไทยรกั ไทย 29 คน และพรรคประชาธิปัตย์ 8 คน การเลอื กตงั้ ในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2548 มี ส.ส. ของกรงุ เทพฯ ไดร้ บั เลอื กตง้ั 37 คน แบง่ เปน็ ส.ส. ของพรรคไทยรักไทย 32 คน พรรคประชาธปิ ตั ย์ 4 คน และพรรคชาติไทย 1 คน การเลอื กต้งั ในเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2550 มี ส.ส. ของกรุงเทพฯ ไดร้ ับเลอื กตัง้ 36 คน แบง่ เปน็ ส.ส. ของพรรคประชาธิปตั ย์ 27 คน และพรรคพลังประชาชน 9 คน การเลอื กตงั้ ในเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2554 มี ส.ส. ของกรงุ เทพฯ ไดร้ บั เลอื กตงั้ 33 คน แบง่ เปน็ ส.ส. ของพรรคประชาธปิ ัตย์ 23 คน และพรรคเพื่อไทย 10 คน การเลือกต้ังในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 มี ส.ส. ของกรุงเทพฯ ได้รับเลือกตั้ง 30 คน แบ่งเป็น ส.ส. ของพรรคพลงั ประชารฐั 12 คน พรรคเพือ่ ไทย 9 คน และพรรคอนาคตใหม่ 9 คน 2.3 ระบบการเลือกตั้ง ส.ส. ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 2.3.1 ความเปลี่ยนแปลงเก่ียวกับสภาผู้แทนราษฎรและระบบเลือกตั้ง ในชว่ ง 8 ปที เี่ วน้ วรรคไมม่ กี ารเลอื กตง้ั นบั ตงั้ แตก่ ารเลอื กตงั้ ครงั้ ทแ่ี ลว้ เมอ่ื วนั ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 หลังจากทมี่ ีการรฐั ประหารในปี พ.ศ. 2557 (ไม่รบั ทเี่ ปน็ โมฆะเมอ่ื 2 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2557) ไดม้ กี ระบวนการ รา่ งรฐั ธรรมนญู ฉบบั ใหม่ เรม่ิ จากฉบบั รา่ งของคณะกรรมาธกิ ารยกรา่ งรฐั ธรรมนญู (กยร.) ทมี่ นี ายบวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ เป็นประธาน ซึ่งถูกปฏิเสธไป มาจนถึงฉบับร่างของคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญท่ีมีนายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นประธาน ซึ่งภายหลังได้ผ่านประชามติและประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 สภาผู้แทนราษฎรและระบบการเลอื กต้งั ภายใตร้ ัฐธรรมนญู ฉบับนม้ี ีความเปล่ียนแปลงไปจากเดิม กลา่ วคอื 1) จ�ำนวน ส.ส. แบบแบง่ เขตลดลง สว่ นจ�ำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายช่ือเพม่ิ ขน้ึ สภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2554 ภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ท่ีมีการแก้ไข ใน พ.ศ. 2554 มสี มาชกิ จ�ำนวน 500 คน แบง่ เปน็ ส.ส. จากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลอื กตั้งจ�ำนวน 375 คน และ ส.ส. จากการเลือกต้ังแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน แต่สภาผู้แทนราษฎรภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 นั้น มีสมาชิกจ�ำนวน 500 คนที่แบ่งเป็น ส.ส. จากการเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจ�ำนวน 350 คน และ ส.ส. จากการเลือกตง้ั แบบบญั ชีรายชอ่ื 150 คน

84 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 2) จ�ำนวนบตั รเลอื กตั้งลดลงเหลอื 1 ใบ การเลอื กตงั้ ส.ส. ในปี พ.ศ. 2554 มบี ตั รเลอื กตงั้ 2 ใบ ใบหนง่ึ ส�ำหรบั เลอื ก ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั อกี ใบหนึง่ ส�ำหรับลงคะแนนใหพ้ รรคการเมอื งทส่ี ่งบัญชรี ายชอ่ื ผู้สมัคร ส.ส. แบบบญั ชรี ายช่ือ การเลอื กตงั้ ส.ส. แบบแบ่งเขตให้ผู้มีสิทธิเลือกต้ังลงคะแนนเลือกผู้สมัครได้เขตละ 1 คน ผู้สมัครท่ีได้รับคะแนนเสียงมากที่สุด ในเขตเลือกต้ังนั้นจะได้เป็น ส.ส. ของเขตนั้น ส่วนการเลือกต้ัง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อให้ผู้มีสิทธิเลือกต้ังมีสิทธิ ออกเสยี งลงคะแนนเลอื กบญั ชีรายชอ่ื ผสู้ มคั รรบั เลอื กตัง้ ทพ่ี รรคการเมืองจดั ทาํ ขน้ึ โดยใหผ้ มู้ สี ทิ ธิเลอื กตงั้ มสี ิทธิ ออกเสยี งลงคะแนนเลอื กบญั ชรี ายชอื่ ใดบญั ชรี ายชอ่ื หนง่ึ เพยี งบญั ชเี ดยี ว และใหถ้ อื เขตประเทศเปน็ เขตเลอื กตง้ั สว่ นการเลอื กตงั้ ส.ส. ภายใตร้ ฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2560 มบี ตั รเลอื กตงั้ 1 ใบเทา่ นน้ั ซง่ึ เปน็ บตั รลงคะแนน ให้แกผ่ สู้ มัคร ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตง้ั 3) การนับคะแนน และการค�ำนวณจ�ำนวนทน่ี ่งั ส.ส. ทแี่ ตล่ ะพรรคจะได้ การเลอื กตงั้ เมอื่ ปี พ.ศ. 2554 จะนบั คะแนนจากบตั ร 2 ใบ และค�ำนวณแยกกนั ไมน่ �ำมาคดิ ผกู พนั กนั บตั รเลอื กตงั้ ส.ส. แบบแบง่ เขตใชน้ บั เพอื่ หาผทู้ ไ่ี ดค้ ะแนนเสยี งมากทส่ี ดุ ในเขตหนง่ึ ๆ ซง่ึ จะไดเ้ ปน็ ส.ส.ของเขตนน้ั ส่วนบัตรเลือกต้ังที่ลงคะแนนให้แก่พรรคการเมืองที่ส่งบัญชีรายช่ือจะใช้ค�ำนวณจ�ำนวนที่นั่ง ส.ส. แบบบัญชี รายชอ่ื ทีแ่ ต่ละพรรคจะได้ พรรคการเมอื งหนงึ่ จะได้ ส.ส. ก่คี นนน้ั ก็ข้ึนอยู่กบั ว่าชนะ ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตงั้ ไปก่ีเขต และได้คะแนนเสียงในส่วนของบัตรเลือกต้ังแบบเลือกบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองมากน้อยเท่าไร ผลท่ีเกิดจากการนับคะแนนจากบัตรสองใบโดยค�ำนวณแยกกันคือ คะแนนเสียงของผู้สมัคร ส.ส. แบบแบ่งเขต คนอื่น ๆ ท่ีพ่ายแพ้จะไม่ถูกน�ำมาค�ำนวณหาจ�ำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคจะได้ หรือเรียกว่า เสยี งท้งิ นำ้� เพราะมีบตั รเลอื กตัง้ แบบบัญชรี ายชอื่ อีกใบหนงึ่ ไว้ใช้ค�ำนวณอยู่แลว้ ส่วนการเลือกต้ังภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มีบัตรเลือกต้ัง ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้งใบเดียว คะแนนที่นับได้จะน�ำไปใช้ค�ำนวณหาจ�ำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อท่ีแต่ละพรรคจะได้ด้วย ทุกคะแนนเสียง ถูกน�ำมาคิดค�ำนวณ ไมม่ ีเสยี งทิ้งน้�ำ การค�ำนวณหาจ�ำนวน ส.ส. แบบบญั ชรี ายชอ่ื ทแ่ี ตล่ ะพรรคจะไดท้ กี่ �ำหนดไวใ้ นรฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2560 ท�ำโดย 3 ข้ันตอน เร่มิ จาก หน่งึ นาํ คะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองทุกพรรคท่สี ่งบญั ชีรายชื่อผู้สมคั ร ส.ส. แบบบัญชี รายชื่อมาหารด้วย 500 สอง นําผลลัพธ์ตามข้อแรกไปหารจํานวนคะแนนรวมทั้งประเทศของพรรคการเมืองแต่ละพรรค จาํ นวนที่ได้รับใหถ้ ือเป็นจาํ นวน ส.ส. ทพ่ี รรคการเมืองน้ันจะพงึ มีได้ สาม นําจํานวน ส.ส. ที่พรรคการเมืองนั้นจะพึงมีได้มาลบด้วยจํานวน ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกต้ัง ทพี่ รรคการเมอื งนน้ั ไดร้ บั ผลลพั ธค์ อื จาํ นวน ส.ส. แบบบญั ชรี ายชอ่ื ทพ่ี รรคการเมอื งนน้ั จะไดร้ บั ถา้ พรรคการเมอื งใด

85 มีผู้ได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกต้ัง เท่ากับหรือสูงกว่าจํานวน ส.ส. ที่พรรคการเมืองนั้นจะพึงมีได ้ ให้พรรคการเมืองน้ันมี ส.ส. ตามจํานวนที่ได้รับจากการเลือกต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง และไม่มีสิทธิได้รับ การจัดสรร ส.ส. แบบบัญชรี ายช่ือ 2.3.2 ผลของระบบเลือกตั้งใหม่ต่อพรรคการเมือง การทคี่ ะแนนเสยี งจากบตั รเลอื กตงั้ ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตงั้ ทกุ คะแนนจะถกู น�ำมาค�ำนวณหาจ�ำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคจะได้ ท�ำให้พรรคการเมืองแต่ละพรรคส่งผู้สมัครลงแข่งขันในหลาย ๆ เขต แม้ว่าบางเขตอาจไม่ชนะก็ตาม แต่ก็หวังให้ได้คะแนนรวมกันมาก ๆ จากทุกเขตที่ส่งเพ่ือให้พรรคได้ท่ีน่ัง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ ในแง่น้ีพรรคการเมืองขนาดใหญ่ซึ่งเคยได้ ส.ส. จ�ำนวนมากอาจใช้ยุทธวิธีแตกพรรคเป็น หลายพรรค แล้วให้พรรคท่ีแตกออกไปนั้นส่งผู้สมัครลงแข่งขันในเขตท่ีพรรคใหญ่ไม่ได้ส่ง ซ่ึงมักจะเป็นเขตท ี่ พรรคใหญน่ นั้ ไมช่ นะอยแู่ ลว้ หรอื กำ�้ กง่ึ เมอื่ น�ำคะแนนทงั้ ประเทศของพรรคทแ่ี ตกออกไปมาค�ำนวณ กอ็ าจจะได้ ส.ส. แบบบัญชีรายช่ือของพรรคนั้นอยู่บ้าง แม้ว่าพรรคท่ีแตกออกไปจะไม่ค่อยได้ ส.ส. แบบแบ่งเขตก็ตาม แตถ่ า้ พรรคใหญไ่ มแ่ ตกพรรคและเลอื กสง่ ผสู้ มคั รลงในทกุ เขตเลอื กตง้ั พรรคใหญก่ อ็ าจได้ ส.ส. แบบบญั ชรี ายชอื่ ไมม่ ากนกั หรอื อาจไมไ่ ดเ้ ลย เพราะได้ ส.ส. แบบแบง่ เขตไปแลว้ จ�ำนวนมาก ซง่ึ ถา้ ไดเ้ กนิ จ�ำนวน ส.ส. ทพี่ รรคนนั้ จะพึงมไี ด้ พรรคนน้ั ก็จะไมไ่ ด้ ส.ส. แบบบญั ชรี ายชื่อเลย ณชั ชาภทั ร อมรกลุ นกั วชิ าการช�ำนาญการ สถาบนั พระปกเกลา้ ไดร้ วบรวมขอ้ วจิ ารณเ์ กยี่ วกบั ระบบ เลอื กต้ังใหม่ไว้ดงั น้ี (มตชิ นออนไลน,์ 2560ก) 1) วิธีการเลือกต้ังแบบบัตรเลือกตั้งใบเดียว ท�ำให้ประชาชนต้องตัดสินใจเลือกเพียงหนึ่งเดียว ว่าจะเลือกคนทชี่ อบหรอื พรรคทช่ี อบ 2) พรรคการเมืองจะต้องสง่ ตวั แทนของพรรคลงเลือกตั้งให้มากที่สดุ พรรคทไี่ ม่สง่ คนลงเลอื กตัง้ หรือพรรคที่หวังเฉพาะเกา้ อบ้ี ัญชรี ายชื่อจะสญู พันธุ์ 3) การกลบั ไปใชบ้ ตั รเลอื กตงั้ แบบบตั รใบเดยี วจะบบี ใหค้ นเลอื กทตี่ วั บคุ คลมากกวา่ นโยบายพรรค แล้วในที่สุดจะบั่นทอนความเข้มแขง็ ของพรรคการเมือง 4) ผลการเลอื กตง้ั อาจบดิ เบอื นเจตนารมณข์ องผอู้ อกเสยี ง พรรคทไ่ี ดเ้ สยี งขา้ งมากในเขตเลอื กตงั้ อาจไมไ่ ดเ้ ป็นผู้จัดตงั้ รัฐบาล 5) ลดความส�ำคัญของการออกไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง เพราะจะไปหรือไม่ไปเลือกตั้งก็จะได้ แตพ่ รรคที่มคี ะแนนเสยี งกลาง ๆ ท�ำให้ประชาชนเบอื่ หนา่ ยและไมต่ อ้ งการไปเลอื กตั้ง เพราะ รู้สกึ ว่าแมค้ ะแนนเสยี งตัวเองจะไม่ไดต้ กน�ำ้ แต่ก็ไม่ได้เปน็ ผูส้ นับสนนุ การจดั ตัง้ รฐั บาล 6) ผลการเลือกตั้งกระจายเป็นเบ้ียหัวแตก เพราะระบบเลือกตั้งแบบน้ีไม่มีพรรคการเมืองใด ชนะขาดในการเลอื กตงั้ เพราะพรรคทไี่ ดร้ บั ส.ส. แบบแบง่ เขตมาก จะเหลอื ทสี่ �ำหรบั ต�ำแหนง่ ส.ส. แบบบญั ชีรายชอ่ื น้อยลง โอกาสในการกอ่ ตั้งรฐั บาลจากพรรคผสมคอ่ นข้างสงู

86 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 7) การท่ีทุกคะแนนเสียงมีความหมายอาจท�ำให้การซ้ือเสียงมีความคุ้มค่า เพราะคะแนนเสียง ทกุ คะแนนจะถกู น�ำมานับในการค�ำนวณทนี่ ่ังของ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อด้วย 8) ท�ำให้ ส.ส. จากพรรคเดยี วกนั ตอ้ งแขง่ ขนั กนั เพราะหาก ส.ส. แบบแบง่ เขตชนะเลอื กตงั้ มาก ๆ จะเหลือต�ำแหน่งให้ ส.ส. แบบบัญชีรายช่ือน้อยลง การเลือกต้ังในลักษณะน้ีจึงท�ำลาย ความสามคั คีของผสู้ มัคร ส.ส. จากท้ังสองระบบในพรรคเดยี วกนั (เพ่งิ อา้ ง) 2.4 กฎหมาย ค�ำส่ัง ระเบียบ และประกาศท่ีเก่ียวข้องกับ การเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 2.4.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 มที ม่ี าจากรา่ งรฐั ธรรมนญู ฉบบั ทร่ี า่ งโดยคณะกรรมการ ร่างรัฐธรรมนูญที่มีนายมีชัย ฤชุพันธุ์เป็นประธาน ร่างรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวผ่านการลงประชามติเมื่อวันท ่ี 7 สงิ หาคม พ.ศ. 2559 และประกาศลงราชกจิ จานเุ บกษาเมอื่ วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ในรฐั ธรรมนญู ฉบบั น ี้ มีประเดน็ โดดเด่นตา่ งจากรัฐธรรมนูญฉบบั กอ่ นหน้า และสมควรถูกพจิ ารณา ดงั นี้ 1) ระบบการเลือกตัง้ การเลือกต้ังภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับน้ีเป็นการเลือกต้ังแบบผสม ระหว่างแบบเสียงข้างมากธรรมดา ที่ใช้ในการเลือก ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกต้ัง มีจ�ำนวน 350 คน แต่ละเขตเลือกต้ังมี ส.ส. ได้ 1 คน โดยมาจาก การลงคะแนนเสยี งของประชาชนซง่ึ ลงคะแนนเลอื กตง้ั ไดค้ นละ 1 คะแนน ผสู้ มคั รทไี่ ดร้ บั คะแนนเสยี งมากทส่ี ดุ ในเขตน้ันจะได้เป็น ส.ส. ของเขตนั้น ๆ อีกแบบหน่ึงคือ ส.ส. บัญชีรายช่ือ มีจ�ำนวน 150 คน ซึ่งผู้สมัคร ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อมาจากบญั ชีรายชอื่ ท่ีพรรคการเมืองทส่ี ่งผู้สมัคร ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตง้ั จดั ท�ำมา การเลือกตั้งมีบัตรเลือกต้ัง 1 ใบ ใช้ส�ำหรับเลือกผู้สมัครแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง แต่คะแนนเสียง ท่ีพรรคการเมืองน้ัน ๆ ได้รวมกันจากทุกเขต จะน�ำไปใช้ค�ำนวณท่ีนั่ง ส.ส. บัญชีรายชื่อที่พรรคการเมือง พรรคนั้นจะไดด้ ว้ ย มาตรา 91 ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้บัญญัติวิธีการค�ำนวณหา ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อของแต่ละ พรรคการเมืองไว้ ดังนี้

87 (1) น�ำคะแนนรวมท้ังประเทศท่ีพรรคการเมืองทุกพรรคที่ส่งผู้สมัครรับเลือกต้ังแบบบัญชีรายชื่อ ได้รบั จากการเลือกต้งั แบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั หารดว้ ย 500 อนั เปน็ จ�ำนวนสมาชิกทง้ั หมดของสภาผแู้ ทนราษฎร (2) น�ำผลลพั ธต์ าม (1) ไปหารจ�ำนวนคะแนนรวมทงั้ ประเทศของพรรคการเมอื งแตล่ ะพรรคทไี่ ดร้ บั จาก การเลอื กตง้ั ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตงั้ ทกุ เขต จ�ำนวนทไ่ี ดร้ บั ใหถ้ อื เปน็ จาํ นวน ส.ส. ทพี่ รรคการเมอื งนน้ั จะพงึ มไี ด้ (3) น�ำจ�ำนวน ส.ส. ทพี่ รรคการเมอื งจะพงึ มไี ดต้ าม (2) ลบดว้ ยจาํ นวน ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั ทงั้ หมด ท่ีพรรคการเมืองน้ันได้รับเลือกตั้งในทุกเขตเลือกตั้ง ผลลัพธ์คือจํานวน ส.ส. แบบบัญชีรายช่ือท่ีพรรคการเมือง นนั้ จะไดร้ บั (4) ถา้ พรรคการเมอื งใดมผี ไู้ ดร้ บั เลอื กตง้ั เปน็ ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั เทา่ กบั หรอื สงู กวา่ จ�ำนวน ส.ส. ทพี่ รรคการเมอื งนนั้ จะพงึ มไี ดต้ าม (2) ใหพ้ รรคการเมอื งนน้ั มี ส.ส. ตามจาํ นวนทไี่ ดร้ บั จากการเลอื กตงั้ แบบแบง่ เขต เลือกตั้ง และไม่มสี ิทธไิ ด้รบั การจดั สรร ส.ส. แบบบัญชรี ายชือ่ และให้น�ำจ�ำนวน ส.ส. แบบบญั ชีรายชอื่ ท้ังหมด ไปจัดสรรให้แก่พรรคการเมืองที่มีจํานวน ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกต้ังต�่ำกว่าจ�ำนวน ส.ส. ท่ีพรรคการเมืองน้ัน จะพงึ มไี ดต้ าม (2) ตามอตั ราสว่ น แตต่ อ้ งไมม่ ผี ลใหพ้ รรคการเมอื งใดดงั กลา่ วมี ส.ส. เกนิ จาํ นวนทจ่ี ะพงึ มไี ดต้ าม (2) 2) วฒุ สิ ภา ในส่วนที่ 3 วุฒสิ ภา มาตรา 107 ของรฐั ธรรมนญู ฉบับนี้บัญญัติให้วฒุ ิสภามสี มาชิก 200 คน มาจาก การเลือกกันเอง ของบุคคลซ่ึงมีความรู้ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ อาชีพ ลักษณะ หรือประโยชน์ร่วมกัน หรือทํางาน หรือเคยท�ำงานด้านต่าง ๆ ที่หลากหลายของสังคม โดยในการแบ่งกลุ่มต้องแบ่งในลักษณะท่ีท�ำให้ ประชาชน ซ่งึ มสี ทิ ธิสมัครรบั เลอื กทุกคนสามารถอยู่ในกลุ่มใดกลมุ่ หนง่ึ ได้ อยา่ งไรกด็ ี ในบทเฉพาะกาลของรฐั ธรรมนญู ฉบบั นบ้ี ญั ญตั ใิ หว้ ฒุ สิ ภาประกอบดว้ ยสมาชกิ จาํ นวน 250 คน ซง่ึ พระมหากษตั รยิ ท์ รงแตง่ ตง้ั ตามทค่ี ณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตถิ วายคาํ แนะนาํ การสรรหาและแตง่ ตงั้ มขี นั้ ตอน โดยให้คณะกรรมการการเลือกต้ังด�ำเนินการจัดให้มีการเลือกสมาชิกวุฒิสภาตามมาตรา 107 จ�ำนวน 200 คน แล้วให้ส่งบัญชีรายชื่อให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติคัดเลือกให้ได้จ�ำนวน 50 คน อีกส่วนให้คณะกรรมการ สรรหาสมาชิกวุฒิสภาซ่ึงคณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งต้ังขึ้นมาน้ันท�ำการสรรหาบุคคลที่สมควรเป็น สมาชิกวุฒิสภาจ�ำนวน 400 คน แล้วส่งบัญชีรายชื่อให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติคัดให้เหลือ 194 คน รวมกบั ขา้ ราชการประจ�ำ 6 คน คอื ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ปลดั กระทรวงกลาโหม ผบู้ ญั ชาการทหารสงู สดุ ผบู้ ญั ชาการ ทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ รวมทั้งหมดเป็น 250 คน มีอายุ 5 ปี นบั จากวันที่มพี ระบรมราชโองการแต่งต้ัง

88 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 3) ทีม่ าของนายกรฐั มนตรี รัฐธรรมนูญฉบับน้ีบัญญัติให้นายกรัฐมนตรีต้องแต่งต้ังจากบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบ โดยบุคคลน้ันมีช่ืออยู่ในบัญชีรายช่ือผู้ถูกเสนอชื่อเป็นนายกรัฐมนตรีที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ต่อคณะกรรมการ การเลือกต้ัง เฉพาะจากบัญชีรายช่ือของพรรคการเมืองที่มีสมาชิกได้รับเลือกเป็น ส.ส. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนสมาชิกท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร มติของสภาผู้แทนราษฎรท่ีเห็นชอบการแต่งตั้ง บุคคลใดให้เป็นนายกรัฐมนตรี ต้องมีคะแนนเสียงมากกว่าก่ึงหนึ่งของจํานวนสมาชิกท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ของ สภาผแู้ ทนราษฎร อยา่ งไรกด็ ี ในบทเฉพาะกาลของรฐั ธรรมนญู ตามมาตรา 272 บญั ญตั ใิ หก้ ารใหค้ วามเหน็ ชอบ บุคคลที่จะเป็นนายกรัฐมนตรี กระท�ำโดยท่ีประชุมร่วมกันของรัฐสภา และต้องมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง ของจ�ำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าท่ีมีอยู่ของท้ังสองสภา จึงหมายความว่าวุมิสภามีส่วนร่วมในการลงคะแนนเสียง ใหค้ วามเห็นชอบแกผ่ ทู้ ี่จะเปน็ นายกรัฐมนตรดี ้วย 2.4.2 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญท่ีเก่ียวข้อง พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ (พ.ร.ป.) ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การเลือกต้ังมอี ยู่ 3 ฉบบั ดงั นี้ 1) พ.ร.ป. ว่าดว้ ยคณะกรรมการการเลอื กต้งั พ.ศ. 2560 พ.ร.ป. เกยี่ วกบั คณะกรรมการการเลอื กตงั้ ฉบบั นปี้ ระกาศลงราชกจิ จานเุ บกษาเมอ่ื วนั ที่ 13 กนั ยายน พ.ศ. 2560 ใน พ.ร.ป. ก�ำหนดเก่ียวกับที่มา คุณสมบัติ หน้าท่ี และอ�ำนาจของคณะกรรมการการเลือกตั้ง การก�ำหนดหนา้ ทใ่ี นการสบื สวน ไตส่ วน หรอื ด�ำเนนิ คดตี อ่ การกระทาํ อนั เปน็ การฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย เก่ียวกับการเลือกต้ังและพรรคการเมือง การก�ำหนดให้เป็นหน้าท่ีของหน่วยงานของรัฐที่จะต้องดําเนินการ ช่วยเหลือและสนับสนุนการปฏิบัติหน้าท่ีของคณะกรรมการเก่ียวกับการเลือกตั้ง การสนับสนุนการเลือกต้ัง หรอื การสบื สวนหรอื ไตส่ วนตามทคี่ ณะกรรมการรอ้ งขอเปน็ หนงั สอื การก�ำหนดหนา้ ทแี่ ละอ�ำนาจของส�ำนกั งาน คณะกรรมการการเลอื กตง้ั ไปจนถึงการก�ำหนดบทก�ำหนดโทษตา่ ง ๆ 2) พ.ร.ป. วา่ ดว้ ยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 พ.ร.ป. พรรคการเมอื งฉบับนีป้ ระกาศลงราชกจิ จานเุ บกษาเมอ่ื วนั ท่ี 7 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ใน พ.ร.ป. ก�ำหนดเกี่ยวกับการจัดต้ังพรรคการเมือง การด�ำเนินกิจกรรมของพรรคการเมือง การส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง การเงินและการบัญชีของพรรคการเมือง รายได้ของพรรคการเมือง กองทุนเพ่ือการพัฒนาพรรคการเมือง การใชจ้ ่ายของพรรคการเมอื ง การควบรวมพรรคการเมอื ง และบทก�ำหนดโทษ

89 ใน พ.ร.ป. ฉบบั นก้ี �ำหนดใหก้ ารขอจดั ตง้ั พรรคการเมอื งมบี คุ คลจ�ำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 500 คนอาจรว่ มกนั ด�ำเนินการเพ่ือจัดต้ังพรรคการเมืองได้ การขอจัดต้ังพรรคการเมืองต้องมีทุนประเดิมไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาท โดยผู้ร่วมกันจัดต้ังพรรคการเมืองทุกคนต้องร่วมกันจ่ายเงินเพื่อเป็นทุนประเดิมคนละไม่น้อยกว่า 1,000 บาท แต่ไม่เกินคนละ 50,000 บาท ก่อนยื่นค�ำขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองน้ันผู้ร่วมกันจัดต้ังพรรคการเมือง ประชุมร่วมกันโดยมีผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่า 250 คนเพื่อด�ำเนินการในเรื่องเก่ียวกับการก�ำหนดช่ือ ชื่อย่อ และภาพเคร่ืองหมายของพรรค การเลือกหัวหน้าพรรค เลขาธิการพรรค เหรัญญิกพรรค นายทะเบียนสมาชิก และกรรมการบรหิ ารอนื่ ของพรรค และการด�ำเนนิ การอนั จ�ำเปน็ ตอ่ การจดั ตง้ั พรรคการเมอื งตามทคี่ ณะกรรมการ การเลอื กตง้ั ก�ำหนด ในเรื่องการด�ำเนินกิจกรรมทางการเมือง ก�ำหนดให้ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันท่ีนายทะเบียน รับจดทะเบียน พรรคการเมืองต้องด�ำเนินการให้มีสมาชิกไม่น้อยกว่า 5,000 คน และต้องเพิ่มจ�ำนวนให ้ ไม่น้อยกว่า 10,000 คนภายใน 4 ปี นับแต่วันที่นายทะเบียนรับจดทะเบียน อีกท้ังจัดให้มีสาขาพรรคการเมือง ในแต่ละภาคตามบัญชีรายช่ือภาคและจังหวัดที่คณะกรรมการการเลือกต้ังก�ำหนดอย่างน้อยภาคละ 1 สาขา แตล่ ะสาขามีสมาชิกที่มภี มู ลิ �ำเนาอยู่ในเขตพ้นื ทีท่ รี่ บั ผดิ ชอบของสาขานนั้ ต้ังแต่ 500 คนข้ึนไป พ.ร.ป. ฉบับน้ียังมีผลต่อพรรคการเมืองเก่าท่ีมีอยู่เดิมด้วยเช่นกัน โดยบทเฉพาะกาลก�ำหนดให้ พรรคการเมอื งเกา่ ทจี่ ดั ตง้ั ตาม พ.ร.ป. พรรคการเมอื ง พ.ศ. 2550 และยงั ด�ำรงอยใู่ นวนั กอ่ นท่ี พ.ร.ป. นใ้ี ชบ้ งั คบั ยังคงเป็นพรรคการเมืองตาม พ.ร.ป. น้ีด้วย โดยถือว่าพรรคมีจ�ำนวนสมาชิกตามที่ปรากฏในทะเบียนสมาชิก พรรคการเมืองที่ส�ำนักงาน กกต. จัดให้มีขึ้นตาม พ.ร.ป. พรรคการเมืองฉบับ พ.ศ. 2550 ซ่ึงในการน้ีพรรค ต้องท�ำการ 1) แจ้งการเปลี่ยนแปลงสมาชิกท่ีแตกต่างจากที่ปรากฏในทะเบียนสมาชิกพรรคการเมืองท่ีมีเดิม ให้นายทะเบียนทราบ 2) พรรคเก่าใดที่มีสมาชิกไม่ถึง 500 คนในวันที่กฎหมายฉบับนี้ใช้บังคับ ต้องหาสมาชิก มาเพมิ่ ใหถ้ งึ 500 คนภายใน 180 วนั นบั แตว่ นั ทกี่ ฎหมายนใ้ี ชบ้ งั คบั 3) จดั ใหม้ ที นุ ประเดมิ จ�ำนวน 1,000,000 บาท และแจ้งให้นายทะเบียนทราบภายใน 180 วันนับแต่วันที่กฎหมายน้ีใช้บังคับ ในกรณีที่พรรคการเมืองมีเงิน หรือทรัพย์สินอยู่แล้วจะกันเงินหรือทรัพย์สินที่มีอยู่แยกไว้เป็นทุนประเดิมก็ได้ แต่ต้องแจ้งให้นายทะเบียน ทราบ 4) จัดให้สมาชิกจํานวนไม่น้อยกว่า 500 คนชําระค่าบํารุงพรรคการเมืองสําหรับปีท่ีกฎหมายฉบับน ี้ ใช้บังคับภายในเวลา 180 วันนับแต่วันท่ีกฎหมายน้ีใช้บังคับ 5) จัดให้สมาชิกชําระเงินค่าบํารุงพรรคการเมือง ให้ได้จํานวนไม่น้อยกว่า 5,000 คนภายใน 1 ปีนับแต่วันที่กฎหมายน้ีใช้บังคับ และให้ได้จํานวนไม่น้อยกว่า 10,000 คนภายใน 4 ปนี บั แต่วันทก่ี ฎหมายนีใ้ ช้บงั คับ 3) พ.ร.ป. วา่ ด้วยการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร พ.ศ. 2561 พ.ร.ป. ฉบับนี้ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาเม่ือวันท่ี 12 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยก�ำหนดเกี่ยวกับ เร่ืองเจ้าพนักงานผู้ด�ำเนินการเลือกต้ัง ซึ่งได้แก่ ผู้อ�ำนวยการการเลือกตั้งประจ�ำเขตเลือกตั้ง คณะกรรมการ การเลอื กตงั้ ประจ�ำเขตเลอื กตง้ั คณะกรรมการประจ�ำหนว่ ยเลอื กตงั้ เจา้ หนา้ ทรี่ กั ษาความปลอดภยั ซง่ึ สนบั สนนุ

90 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร การท�ำหน้าท่ีของคณะกรรมการประจ�ำหน่วยเลือกตั้ง เรื่องการจัดการเลือกตั้ง ซึ่งมีเร่ืองของจ�ำนวนสมาชิก เขตเลือกตั้ง หน่วยเลือกต้ัง และที่เลือกตั้ง เร่ืองผู้มีสิทธิเลือกตั้ง การแจ้งเหตุที่ไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้ง บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกต้ัง เรื่องผู้สมัครและการสมัครรับเลือกตั้ง เรื่องค่าใช้จ่ายในการเลือกต้ังและวิธีการ หาเสียง เร่ืองการออกเสียงลงคะแนนและการนับคะแนน เร่ืองการด�ำเนินการกรณีการเลือกต้ังมิได้เป็นไป โดยสจุ ริตและยตุ ิธรรม และบทก�ำหนดโทษ 2.4.3 ค�ำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่เกี่ยวข้อง หลังการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติเป็นผู้ก�ำหนดจังหวะความเป็น ไปของกิจกรรมทางการเมืองที่เก่ียวกับพรรคการเมืองและการเตรียมพร้อมในการเลือกตั้งที่จะเกิด ในส่วนนี้ จงึ ขอทบทวนค�ำสงั่ หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ (ค�ำสง่ั หวั หนา้ คสช.) ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การด�ำเนนิ กจิ กรรม ทางการเมืองและการเลือกตั้ง 3 ฉบับ คือ ค�ำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 53/2560 ค�ำส่ังหัวหน้า คสช. ที่ 13/2561 และค�ำส่ังหวั หน้า คสช. ท่ี 22/2561 1) คำ�ส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 53/2560 เรื่องการดำ�เนินการ ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยพรรคการเมอื ง แมว้ า่ จะมกี ารประกาศใช้ พ.ร.ป. พรรคการเมอื ง พ.ศ. 2560 แลว้ แตป่ ระกาศคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาต ิ ฉบับที่ 57/2557 เรื่อง การให้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญบางฉบับมีผลใช้บังคับต่อไป และค�ำส่ัง หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2558 เรื่อง การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงของชาติ ยังมีผลใช้บังคับคับ การด�ำเนินกิจกรรมทางการเมืองตาม พ.ร.ป. พรรคการเมืองเช่นว่าน้ีจึงยังไม่อาจกระท�ำได้ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงออกค�ำส่ังที่ 53/2560 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2561 เพื่อวาง การเปิดทางและเปล่ียนการด�ำเนินการบางส่วนจากท่ีเคยประกาศไว้ใน พ.ร.ป. พรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ซงึ่ มี 3 เรอ่ื งท่สี �ำคญั คอื หนึ่ง สมาชกิ พรรคเดิมต้องยืนยนั การเปน็ สมาชกิ พรรค ตามมาตรา 140 ของ พ.ร.ป. พรรคการเมือง ทถี่ กู เปลยี่ นใหมโ่ ดยค�ำสง่ั หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี 53/2560 นก้ี �ำหนดใหส้ มาชกิ ของพรรคการเมอื ง ที่มีอยู่เดิมต้องมีหนังสือยืนยันการเป็นสมาชิกต่อหัวหน้าพรรค และช�ำระค่าบ�ำรุงพรรคการเมืองภายใน 30 วัน นบั แตว่ นั ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 เมอื่ พน้ ก�ำหนดถา้ ใครยงั ไมไ่ ดม้ หี นงั สอื แจง้ ยนื ยนั การเปน็ สมาชกิ กใ็ หพ้ น้ จาก การเปน็ สมาชกิ พรรคน้ัน สอง การก�ำหนดเวลาให้แก่พรรคการเมืองเดิมท่ีมอี ยู่ในการด�ำเนินการเร่ืองตา่ ง ๆ ได้แก่ • เร่ืองการจัดให้มีทุนประเดิม 1,000,000 บาท และแจ้งให้นายทะเบียนทราบภายใน 180 วัน นับแต่วันที่ พ.ร.ป. พรรคการเมืองใช้บังคับ เปล่ียนเป็นภายใน 180 วันนับแต่วันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2561 แทน

91 • เรอ่ื งการจดั ใหส้ มาชกิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 500 คนช�ำระคา่ บ�ำรงุ พรรคส�ำหรบั ปี พ.ศ. 2561 ภายใน 180 วนั นับแต่วันที่ พ.ร.ป. พรรคการเมืองใช้บังคับ (และแจ้งให้คณะกรรมการการเลือกต้ังทราบพร้อม หลักฐานแสดงการช�ำระภายใน 15 วัน นับแต่พ้นระยะเวลาช�ำระ) เปลี่ยนเป็นภายใน 180 วัน นบั แตว่ ันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 แทน • เรอื่ งการจัดให้สมาชิกชําระเงินค่าบํารงุ พรรคการเมอื งใหไ้ ด้จาํ นวนไม่นอ้ ยกวา่ 5,000 คนภายใน 1 ปนี บั แตว่ นั ท่ี พ.ร.ป. พรรคการเมืองใชบ้ งั คบั และให้ไดจ้ ํานวนไม่นอ้ ยกว่า 10,000 คนภายใน 4 ปีนับแต่วันที่ พ.ร.ป. พรรคการเมืองใช้บังคับ และให้นายทะเบียนในพรรคการเมืองแจ้งให้ นายทะเบียนทราบ เปลี่ยนเป็นการจัดให้สมาชิกชําระเงินค่าบํารุงพรรคการเมืองให้ได้จํานวน ไมน่ อ้ ยกวา่ 5,000 คนภายใน 1 ปนี บั แตว่ นั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2561 และใหไ้ ดจ้ าํ นวนไมน่ อ้ ยกวา่ 10,000 คนภายใน 4 ปีนบั แต่วนั ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 แทน สาม การเอือ้ อ�ำนวยการออกตวั ของพรรคท่จี ะตั้งใหม่ ค�ำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 53/2560 น้ีอนุญาตให้ผู้ประสงค์ต้ังพรรคการเมือง สามารถด�ำเนนิ การตามหมวด 1 ของ พ.ร.ป. พรรคการเมอื งไดต้ งั้ แตว่ นั ที่ 1 มนี าคม พ.ศ. 2561 การด�ำเนนิ การ ตามหมวด 1 เช่น การหาคนไม่น้อยกว่า 500 คนมาร่วมกันด�ำเนินการเพื่อจัดตั้งพรรค การจัดให้มีทุนประเดิม ไมน่ อ้ ยกวา่ 1,000,000 บาท และการประชมุ รว่ มกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 250 คนเพอ่ื ด�ำเนนิ การเกย่ี วกบั การก�ำหนดชอ่ื ชอ่ื ยอ่ และภาพเครอ่ื งหมายของพรรค และการเลอื กหวั หนา้ พรรค เลขาธกิ ารพรรค เหรญั ญกิ พรรค นายทะเบยี น สมาชกิ และกรรมการบรหิ ารอนื่ ของพรรค แตก่ ารประชมุ เพอื่ ยน่ื ค�ำขอจดทะเบยี นจดั ตงั้ พรรคตอ้ งไดร้ บั อนญุ าต จากคณะรักษาความสงบแหง่ ชาตกิ อ่ นและใหด้ �ำเนินกจิ กรรมไดเ้ ท่าท่ีไดร้ บั อนุญาต สว่ นการด�ำเนนิ การของพรรคการเมอื งเกา่ ทมี่ อี ยเู่ ดมิ นนั้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตอิ นญุ าตใหท้ �ำได้ อีกช่วงเวลาหนึ่ง ดูได้จากมาตรา 141 ของ พ.ร.ป. พรรคการเมืองท่ีถูกเปลี่ยนใหม่ในค�ำสั่งหัวหน้าคณะรักษา ความสงบแห่งชาตนิ ี้ เช่น • มาตรา 141 (1) จัดให้มีทุนประเดิม 1,000,000 บาท และแจ้งให้นายทะเบียนทราบภายใน ระยะเวลา 180 วัน เรม่ิ นบั ตงั้ แต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 • มาตรา 141 (2) จัดให้สมาชิกพรรคช�ำระค่าบ�ำรุงพรรคส�ำหรับปี พ.ศ. 2561 ด�ำเนินการภายใน ระยะเวลา 180 วนั เรม่ิ นบั ตง้ั แตว่ นั ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 และแจง้ ใหค้ ณะกรรมการการเลอื กตง้ั ทราบพร้อมหลกั ฐานแสดงการช�ำระภายใน 15 วนั นับแต่พน้ ระยะเวลาช�ำระ • มาตรา 141 (3) จัดให้มีสมาชิกพรรคให้ได้จ�ำนวน 5,000 คนภายใน 1 ปี ด�ำเนินการภายใน ระยะเวลา 180 วัน เริ่มนับต้ังแต่วันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2561 และ 10,000 คนภายใน 4 ปี นับตั้งแต่วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2561

92 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร • มาตรา 141 (4) จัดให้มีประชุมใหญ่เพ่ือแก้ไขข้อบังคับและจัดท�ำอุดมการณ์ทางการเมือง ของพรรคและนโยบายพรรค และเลือกหัวหน้าพรรค เลขาธิการพรรค เหรัญญิกพรรค นายทะเบยี นสมาชกิ และกรรมการบรหิ ารอน่ื ของพรรคตามขอ้ บงั คบั ของพรรคการเมอื งทแ่ี กไ้ ขใหม่ ภายใน 90 วนั นบั แตว่ นั ทย่ี กเลกิ ประกาศคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 57/2557 และค�ำสงั่ หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 3/2558 นอกจากนี้ ในการด�ำเนนิ การตามมาตรา 140 และ 141 หา้ มไมใ่ หพ้ รรคการเมอื งเกา่ จดั การประชมุ ใหญ ่ ตามมาตรา 141 (4) รวมทั้งการจดั ตงั้ สาขาพรรคการเมอื งและตัวแทนพรรคการเมอื งประจาํ จังหวดั ตามมาตรา 141 (5) การประชมุ สมาชิกพรรคการเมือง หรือการดําเนนิ การอืน่ ใดในทางการเมอื งนอกเหนือจากทีก่ าํ หนดไว้ ในคาํ ส่งั นี้ เวน้ แตจ่ ะได้รับอนญุ าตจากคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ 2) คำ�ส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 13/2561 เร่ือง การดำ�เนินการ ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยพรรคการเมอื ง (เพิ่มเติม) ในเวลาตอ่ มาได้มีการออกค�ำส่ังหัวหน้า คสช. ท่ี 13/2561 ในค�ำสั่งน้มี สี าระส�ำคัญ 2 ประการ คือ หนึ่ง เปล่ียนกรอบระยะเวลาในการด�ำเนินการเร่ืองต่าง ๆ ของพรรคการเมืองเก่าอีกครั้งหนึ่ง ค�ำส่งั หวั หน้า คสช. นีอ้ อกมาแก้ไข พ.ร.ป. พรรคการเมอื งที่เคยถกู ค�ำสง่ั หวั หน้า คสช. ที่ 53/2560 แก้ไขไปแลว้ ครั้งหนึ่ง ค�ำส่ังน้ี ข้อ 1 เปลี่ยนให้พรรคการเมืองเก่าท่ีมีอยู่แล้วด�ำเนินการในเร่ืองและภายในระยะเวลาดังน ี้ 1) จัดให้มีทุนประเดมิ 1 ลา้ นบาท และแจง้ ให้นายทะเบยี นทราบภายใน 180 วันนบั แต่วนั ทค่ี �ำส่งั หวั หน้า คสช. ท่ี 13/2561 มผี ลใชบ้ งั คบั 2) จดั ใหส้ มาชกิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 500 คนช�ำระคา่ บ�ำรงุ พรรคส�ำหรบั ปี 2561 ภายใน 180 วนั นับแต่วันที่ค�ำส่ังหัวหน้า คสช. ท่ี 13/2561 มีผลใช้บังคับ และแจ้งให้นายทะเบียนทราบพร้อมหลักฐานแสดง การช�ำระภายใน 15 วนั นบั แตว่ นั พน้ ระยะเวลาช�ำระ และ 3) จดั ใหส้ มาชกิ ช�ำระเงนิ คา่ บ�ำรงุ พรรคใหไ้ ดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 5,000 คนภายใน 1 ปี นบั แตว่ นั ทค่ี �ำสง่ั หวั หนา้ คสช. ที่ 13/2561 มผี ลใชบ้ งั คบั และใหไ้ ดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 10,000 คน ภายใน 4 ปนี ับแตว่ ันทค่ี �ำส่งั หวั หน้า คสช. ท่ี 13/2561 มผี ลใช้บังคบั และแจ้งให้นายทะเบยี นทราบ สอง การยกเลกิ ระบบไพรมารโี หวต เดมิ พ.ร.ป. วา่ ดว้ ยพรรคการเมอื ง พ.ศ. 2560 มาตรา 49 ก�ำหนดให้ คณะกรรมการสรรหาผสู้ มคั รประกอบดว้ ยกรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื งไมเ่ กนิ กง่ึ หนง่ึ ของคณะกรรมการสรรหาฯ และหัวหน้าสาขาพรรคการเมืองและตัวแทนพรรคการเมืองประจ�ำจังหวัด อกี ทั้งมาตรา 50 การสรรหาผูส้ มัคร แบบแบง่ เขต ใหค้ ณะกรรมการสรรหาฯ ของแตล่ ะพรรคเปดิ รบั สมคั ร ตรวจสอบคณุ สมบตั แิ ละสง่ รายชอ่ื ใหส้ าขา พรรคหรือตัวแทนพรรคประจ�ำจังหวัดเพ่ือจัดการประชุมให้สมาชิกพรรคลงคะแนนเลือกผู้สมัครตามรายชื่อนั้น โดยมขี อ้ ก�ำหนดวา่ การประชมุ สาขาพรรคตอ้ งมสี มาชกิ มาประชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ 100 คน หรอื การประชมุ ตวั แทนพรรค ประจ�ำจังหวดั ต้องมีสมาชิกมาประชุมไมน่ อ้ ยกว่า 50 คน ผู้ไดร้ ับคะแนนสูงสดุ 2 คนแรกของแตล่ ะเขตเลือกต้ัง

93 จะถูกส่งให้คณะกรรมการบริหารพรรคให้ความเห็นชอบ ส่วนมาตรา 51 การสรรหาผู้สมัครแบบบัญชีรายช่ือ มีข้ันตอน คือ คณะกรรมการสรรหาฯ เปิดรับสมัคร ตรวจสอบคุณสมบัติและจัดบัญชีรายช่ือไม่เกิน 150 คน แลว้ สง่ รายชอื่ ใหส้ าขาพรรคหรอื ตวั แทนพรรคประจ�ำจงั หวดั เพอื่ จดั ประชมุ โดยสมาชกิ ลงคะแนนเลอื กไดค้ นละ ไม่เกิน 15 คนจากบัญชีรายช่ือ จากนั้นคณะกรรมการสรรหาฯ จัดท�ำบัญชีรายชื่อผู้สมัครโดยเรียงล�ำดับตาม ผลรวมของคะแนนท่ีได้รับจากสาขาพรรคหรือตัวแทนพรรคประจ�ำจังหวัดส่งให้คณะกรรมการบริหารพรรค ใหค้ วามเหน็ ชอบ อยา่ งไรกต็ าม ในเวลาตอ่ มามคี �ำสง่ั หวั หนา้ คสช. ที่ 13/2561 ออกมาแกไ้ ขใหก้ ารสรรหาผสู้ มคั ร รบั เลอื กตง้ั ท�ำโดยใหม้ คี ณะกรรมการสรรหาฯ ทป่ี ระกอบดว้ ยกรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื ง 4 คน และตวั แทน ทสี่ มาชกิ พรรคการเมอื งเลอื ก 7 คน มอี �ำนาจในการพจิ ารณาเลอื กผสู้ มคั ร และเสนอคณะกรรมการบรหิ ารพรรค การเมอื งใหค้ วามเหน็ ชอบ และใหค้ ณะกรรรมการสรรหาฯ รบั ฟงั ความเหน็ ของหวั หนา้ สาขาพรรคการเมอื ง ตวั แทน พรรคการเมอื งประจ�ำจงั หวัด และสมาชิกทเี่ ก่ียวข้องมาประกอบการพิจารณาในการสรรหาดว้ ย (iLaw, 2561) 3) คำ�สั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 22/2561 เรื่อง การให้ประชาชน และพรรคการเมืองดำ�เนินกิจกรรมทางการเมอื ง เมอื่ พ.ร.ป. วา่ ดว้ ยการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร พ.ศ. 2561 มผี ลบงั คบั ใชเ้ ปน็ กฎหมายตง้ั แต่ วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2561 (เป็นวันท่ีพ้นก�ำหนด 90 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป) ซงึ่ ใน พ.ร.ป. ฉบบั นก้ี �ำหนดใหม้ กี ารตราพระราชกฤษฎกี าก�ำหนดใหม้ กี ารเลอื กตง้ั ทวั่ ไปภายใน 90 วนั นบั แตว่ นั ท ่ี พ.ร.ป. ฉบับดังกล่าวมีผลใช้บังคับ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงมีค�ำสั่งให้มีการยกเลิกค�ำส่ัง คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และค�ำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติจ�ำนวนหนึ่ง เพื่อให้ประชาชนและพรรคการเมืองสามารถด�ำเนินกิจกรรมทางการเมืองได้ในช่วงท่ีมี จะมีการเลือกตงั้ ท่วั ไปครัง้ แรกตามรฐั ธรรมนูญ ตัวอย่างส่วนหนึ่งของประกาศและค�ำส่ังท่ีถูกยกเลิกตามค�ำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับนี้ เช่น ยกเลิกประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 57/2557 เร่ือง ให้พระราชบัญญัติประกอบ รฐั ธรรมนญู บางฉบบั มผี ลบงั คบั ใชต้ อ่ ไป เฉพาะในขอ้ 2 ซง่ึ เปน็ ขอ้ เกยี่ วกบั การหา้ มมใิ หพ้ รรคการเมอื งทม่ี อี ยแู่ ลว้ ด�ำเนินการประชุม หรือด�ำเนินกิจการใด ๆ ในทางการเมือง และการด�ำเนินการเพื่อการจัดตั้งหรือจดทะเบียน พรรคการเมืองให้ระงับไว้เป็นการช่ัวคราว อีกตัวอย่างคือ ยกเลิกค�ำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาต ิ ท่ี 3/2558 เรือ่ ง การรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยและความมนั่ คงแห่งชาติ เฉพาะในข้อ 12 ซง่ึ เปน็ ขอ้ ทห่ี า้ มม่วั สมุ หรือชมุ นมุ ทางการเมอื ง ณ ทีใ่ ด ๆ ตัง้ แต่ 5 คนขน้ึ ไป

94 การศึกษาความเคล่ือนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร 2.4.4 ระเบียบและประกาศคณะกรรมการการเลือกต้ัง 1) ระเบียบคณะกรรมการการเลือกต้ัง ว่าด้วยวิธีการหาเสียงและลักษณะต้องห้าม ในการหาเสียงเลอื กต้งั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 ในระเบยี บนีก้ �ำหนดวิธกี ารหาเสยี งแบบต่าง ๆ เชน่ เอกสารหรอื วดี ทิ ศั นเ์ กย่ี วกบั การหาเสยี งเลอื กตง้ั ทแ่ี จก รวมถงึ การหาเสยี งเลอื กตงั้ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ นนั้ สามารถระบชุ อ่ื รปู ถา่ ย หมายเลขประจ�ำของตวั ผสู้ มคั ร ชอ่ื ของพรรคการเมอื ง สญั ลกั ษณข์ องพรรคการเมอื ง นโยบายของพรรคการเมือง คติพจน์ ค�ำขวัญ หรือข้อมูลประวัติเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวผู้สมัครหรือพรรคการเมือง พร้อมระบุชื่อตัว ช่ือสกุล ท่ีอยู่ของผู้ว่าจ้าง ผู้ผลิต จ�ำนวน และวันเดือนปีที่ผลิตไว้อย่างชัดเจนท่ีด้านหน้าด้วย (ระเบียบคณะกรรมการการเลือกต้ัง ว่าด้วยวิธีการหาเสียงและลักษณะต้องห้ามในการหาเสียงเลือกต้ังสมาชิก สภาผ้แู ทนราษฎร พ.ศ. 2561, ข้อ 6-7) การหาเสียงเลือกต้ังทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้สมัครแจ้งวิธีการ รายละเอียด ช่องทางระยะเวลา ในการหาเสียงเลือกต้ังทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งหลักฐานอื่นท่ีเก่ียวข้องตามแบบที่ก�ำหนด ให้ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ประจ�ำจงั หวดั ทราบ (ถา้ กรณขี องพรรคการเมอื งหาเสยี งทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใหแ้ จง้ รายละเอยี ดและหลกั ฐานตามแบบทก่ี �ำหนดใหเ้ ลขาธกิ ารคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ทราบ) ตงั้ แตว่ นั สมคั ร รบั เลือกตง้ั เปน็ ต้นไปหรอื กอ่ นด�ำเนนิ การหาเสยี งเลอื กตัง้ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (เพงิ่ อ้าง, ข้อ 10) สว่ นเรอ่ื งผชู้ ว่ ยหาเสยี ง ใหผ้ สู้ มคั รหรอื พรรคการเมอื งแจง้ รายละเอยี ดตามแบบทก่ี �ำหนดใหผ้ อู้ �ำนวยการ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ประจ�ำจงั หวดั ทราบกอ่ นวนั ด�ำเนนิ การ กรณกี ารแจง้ เปลย่ี นตวั ผชู้ ว่ ยหาเสยี ง ในการเลอื กตงั้ ใหผ้ สู้ มคั รและพรรคการเมอื งด�ำเนนิ การแจง้ ไมเ่ กนิ สามครง้ั ครง้ั ละไมเ่ กนิ หนงึ่ ในสามของจ�ำนวน ผชู้ ว่ ยหาเสยี งในการเลอื กตงั้ นน้ั และใหผ้ สู้ มคั รแบบแบง่ เขตเลอื กตง้ั มผี ชู้ ว่ ยหาเสยี งในเขตเลอื กตง้ั จ�ำนวนไมเ่ กนิ 20 คนตอ่ เขตเลอื กต้ัง (เพ่งิ อ้าง, ข้อ 14-15) 2) ประกาศคณะกรรมการการเลอื กตง้ั เรอ่ื ง กำ�หนดจำ�นวนเงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 ตามประกาศฉบบั นค้ี ณะกรรมการการเลอื กตง้ั ประกาศใหผ้ สู้ มคั รรบั เลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกต้ังแต่ละคนต้องใช้จ่ายในการเลือกตั้งไม่เกิน 1,500,000 บาท (ประกาศคณะกรรมการ การเลอื กต้ังเร่อื งก�ำหนดจ�ำนวนเงนิ ค่าใช้จา่ ยในการเลือกตงั้ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร พ.ศ. 2561, ขอ้ 4)

95 2.5 งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องในเร่ืองการเลือกตั้งในเขต กรุงเทพมหานคร ในส่วนน้ีจะเป็นการส�ำรวจงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการเลือกต้ังในเขตกรุงเทพมหานครโดยจะท�ำการ ส�ำรวจอิงกับล�ำดับเวลาของการเลือกต้ังที่เกิดขึ้นจากอดีตสู่ปัจจุบัน เพ่ือให้เห็นพัฒนาการของกระบวนการ เลือกต้ัง ทั้งในส่วนของทัศนคติ พฤติกรรมการเลือกตั้ง การส่ือสารทางการเมือง และประเด็นปัญหาที่พบ อยา่ งเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน กอ่ นทจ่ี ะสรปุ ประเดน็ ในตอนสดุ ทา้ ย ทง้ั นใี้ นบางสว่ นจะมเี รอ่ื งของการเลอื กตง้ั ผวู้ า่ ราชการ กรงุ เทพมหานครเข้ามาดว้ ยเพอื่ เป็นการเปรยี บเทียบกนั การเลือกตงั้ ท่วั ไป 4 เมษายน พ.ศ. 2519 (ครงั้ ที่ 13) การเลอื กตงั้ ในครง้ั นน้ั เปน็ การเลอื กตงั้ ครงั้ สดุ ทา้ ยในชว่ งประชาธปิ ไตยแบง่ บาน หลงั จากการลกุ ฮอื ขน้ึ ของประชาชนในการเรยี กรอ้ งประชาธปิ ไตยในเหตกุ ารณ์ 14 ตลุ าคม พ.ศ. 2516 กอ่ นจะเขา้ สกู่ ารชมุ นมุ ประทว้ ง ของฝา่ ยตอ่ ตา้ นนกั ศกึ ษา การลอ้ มสงั หารนกั ศกึ ษาและประชาชน และ การรฐั ประหารเมอื่ 6 ตลุ าคม พ.ศ. 2519 วิภาภรณ์ ปราโมช ณ อยุธยา (2520) ศึกษาเรื่อง “ทัศนคติทางการเมือง ความรู้ความเข้าใจ และความสนใจการเลือกตั้งของผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร วันท่ี 4 เมษายน พ.ศ. 2519” โดยต้องการทราบว่าประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครมีความรู้ ความเข้าใจ ความสนใจในการเมอื ง ระบอบการปกครอง และการเลอื กตง้ั มากนอ้ ยเพยี งใด มปี จั จยั ทางประชากรและปจั จยั ทางสงั คมใดทมี่ อี ทิ ธพิ ลท�ำใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจ ความสนใจ และทศั นคตทิ างการเมอื งการปกครองของประชาชน นน้ั แตกตา่ งกนั นอกจากน้ี ตอ้ งการหาความสมั พนั ธข์ องความรู้ ความเขา้ ใจ และความสนใจเกย่ี วกบั ระบบการเมอื ง และการเลอื กต้งั กับทศั นคตทิ ีม่ ีต่อระบบการเมอื งและการเลอื กตง้ั ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความเข้าใจในระบบการเมืองแบบรัฐสภาอยู่ในระดับดีและ ปานกลาง ประชาชนส่วนใหญ่มีความสนใจในการเมือง (เน้นเฉพาะบทบาทการท�ำงานของ ส.ส.) อยู่ในระดับ ดี ส่วนทัศนคติต่อการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบันน้ันประชาชนจ�ำนวนก้�ำก่ึงกันเห็นว่า การท�ำงานของ ส.ส. พอใชไ้ ดแ้ ละไมไ่ ดค้ วาม ประชาชนทไ่ี มเ่ ชอื่ วา่ รฐั บาลท�ำหนา้ ทอี่ ยา่ งเตม็ ทม่ี มี ากกวา่ ประชาชน ท่ีเชื่อว่ารัฐบาลท�ำงานเต็มท่ีแล้ว แต่ประชาชนส่วนใหญ่ยังเชื่อถือในการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย ส่วนความสนใจและทัศนคติต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้งนั้นประชาชนส่วนใหญ่ให้ความสนใจกับการเลือกต้ัง แต่ประชาชนให้ความสนใจเข้าไปเก่ียวข้องกับกิจกรรมของพรรคการเมืองน้อยมาก ส�ำหรับเร่ืองกระบวนการ ตัดสินใจเลือกตั้ง หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจของประชาชนส่วนใหญ่พิจารณาพรรคเป็นหลัก ประชาชน ส่วนใหญส่ ามารถตัดสนิ ใจได้แนน่ อนว่าจะเลือกใครไดล้ ว่ งหน้าประมาณ 1-2 สปั ดาห์ก่อนการเลอื กตัง้

96 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร ปจั จยั ทางประชากรและสงั คมทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสนใจ และทศั นคตทิ างการเมอื ง การเลือกตง้ั ของประชาชนกค็ ือ เพศ ระดับการศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจสังคม โดยเพศชาย ผูม้ กี ารศึกษา ระดับปานกลางถึงสูง และผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจปานกลางถึงสูงจะมีความรู้ความเข้าใจในระบบการเมือง แบบรัฐสภาดี ความสนใจในสถานการณ์การเมือง การเลือกต้ังดี และตัดสินใจเลือกตั้งได้เร็วกว่าเพศหญิง ผู้มีการศึกษาต่�ำ และผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมต่�ำ ในด้านทัศนคติทางการเมืองและการปกครองฯ เพศชาย จะมีทัศนคติท่ีดีกว่าเพศหญิง ส่วนทัศนคติในการไปใช้สิทธิเลือกต้ังนั้นเพศชาย ผู้มีการศึกษาระดับปานกลาง ถึงสูง และผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมสูงจะมีทัศนคติท่ีดีและมีความกระตือรือร้นไปใช้สิทธิเลือกต้ังมากกว่า เพศหญิง ผู้มกี ารศกึ ษาต�ำ่ และผู้มฐี านะทางเศรษฐกิจสังคมตำ�่ ในเรอื่ งความสมั พนั ธข์ องความรู้ ความเขา้ ใจ และความสนใจเกย่ี วกบั ระบบการเมอื งและการเลอื กตง้ั กับทัศนคติท่ีมีต่อระบบการเมืองและการเลือกต้ังพบว่า 1) ผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบการเมืองแบบ รฐั สภาสงู จะมเี ปอรเ์ ซน็ ตผ์ ทู้ ม่ี ที ศั นคตทิ างการเมอื งและการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยในปจั จบุ นั ในทางทดี่ ี มากกว่าผู้ท่ีมีทัศนคติไม่ดี และมากกว่ากลุ่มที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบการเมืองแบบรัฐสภาต�่ำ 2) ผู้ท่ีมี ความรู้ความเข้าใจในระบบการเมืองแบบรัฐสภา และมีความสนใจในการเมืองดี จะมีทัศนคติในการไปใช้สิทธิ เลือกต้ังท่ีดีด้วย 3) ผู้ท่ีมีทัศนคติทางการเมืองและการปกครองระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบันดีส่วนใหญ ่ จะมที ศั นคติทด่ี ตี ่อการไปใช้สทิ ธเิ ลอื กตง้ั ดว้ ย การเลอื กตง้ั ทว่ั ไป 22 เมษายน 2522 (คร้งั ท่ี 14) และการเลือกตงั้ ซ่อม พ.ศ. 2524 การเลอื กตงั้ ในครง้ั นนั้ เปน็ การเลอื กตง้ั ครงั้ แรกในชว่ ง “ประชาธปิ ไตยครง่ึ ใบ” หมายถงึ เปน็ การเลอื กตง้ั ครงั้ แรกภายหลงั เหตกุ ารณร์ ฐั ประหาร 6 ตลุ า พ.ศ. 2519 และ รฐั ประหาร 20 ตลุ าคม พ.ศ. 2520 กอ่ นจะเขา้ ส ู่ การใช้รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2521 โดยภายหลังจากการมีรัฐธรรมนูญรัฐประหารในปี 2520 ได้มีการแต่งต้ัง พลเอกเกรยี งศกั ดิ์ ชมะนนั ท์ เปน็ นายกรฐั มนตรี ตอ่ มาหลงั การเลอื กตงั้ 2522 พลเอกเกรยี งศกั ด์ิ กไ็ ดร้ บั เลอื กตงั้ กลับเข้ามาอีกครั้ง และบริหารประเทศมาจนถึง 29 กุมภาพันธ์ 2523 จึงประกาศลาออก สภาฯจึงได้เลือก พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ขนึ้ เป็นนายกรัฐมนตรีแทนเม่อื 3 มีนาคม 2523 การเลือกตัง้ ซ่อมเมือ่ ปี พ.ศ. 2524 จงึ เปน็ ช่วงแรกของการขน้ึ สอู่ �ำนาจของพลเอกเปรมซ่ึงอย่ใู นอ�ำนาจมาจนถึง 3 สงิ หาคม 2531 การเลอื กต้งั ซ่อมเขตบางกอกน้อย และเขตบางกอกใหญ่ 8 กุมภาพันธ์ 2524 กนก บณิ ศริ วานชิ (2525) ศกึ ษาเรอ่ื ง “พฤตกิ รรมการเลอื กตงั้ : ศกึ ษาเฉพาะกรณกี ารเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร เขต 8 กรงุ เทพมหานคร” ซง่ึ ประกอบไปดว้ ย เขตบางกอกนอ้ ย และเขตบางกอกใหญ่ ในชว่ ง การเลือกต้ังวันท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2524 โดยใช้วิธีแจกแบบสอบถามให้กับกลุ่มประชากรตัวอย่างในพ้ืนท่ีเขต 8 ของกรงุ เทพมหานคร ผลการวจิ ยั พบวา่ ปจั จยั ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ระดบั ความรคู้ วามเขา้ ใจในการเลอื กตง้ั ไมว่ า่ จะเปน็ เพศ ฐานะทางเศรษฐกจิ สญั ชาติ ไมท่ �ำใหเ้ กดิ ความแตกตา่ งในระดบั ความรคู้ วามเขา้ ใจในการเลอื กตง้ั สว่ นอายุ

97 การศกึ ษา อาชพี ท�ำใหเ้ กดิ ความแตกตา่ งในระดบั ความรคู้ วามเขา้ ใจในการเลอื กตงั้ ส�ำหรบั ปจั จยั ทมี่ ผี ลกระทบ ตอ่ ระดบั ความส�ำนกึ ในการเลอื กตงั้ ไดแ้ ก่ เพศ ฐานะทางเศรษฐกจิ อายุ การศกึ ษา อาชพี ท�ำใหเ้ กดิ ความแตกตา่ ง ในระดบั ความส�ำนกึ ในการเลือกตั้ง ขณะทส่ี ัญชาติ ไม่มคี วามสัมพันธก์ ับระดบั ความส�ำนึกในการเลือกตง้ั สาเหตทุ ป่ี ระชาชนไมไ่ ปใช้สิทธิเลอื กตั้งไดแ้ ก่ มีธุระต้องไปประกอบอาชพี 32.27 % ข้ีเกยี จ 10.9 % นกั การเมอื งมงุ่ แสวงหาประโยชนแ์ กต่ นเอง 9.1 % ผแู้ ทนไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 7.3 % ไมท่ ราบการเลอื กตง้ั 6.4 % สาเหตุเหล่าน้ีสอดคล้องกับการเลือกตั้งของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เม่ือวันที่ 26 มกราคม 2518 ทส่ี ่วนใหญเ่ หตผุ ลท่พี บมากทส่ี ุด คอื ติดธุระจ�ำเป็น และปญั หาเก่ยี วกับนักการเมอื ง ส�ำหรบั สาเหตขุ องผไู้ ปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ เพราะ ตง้ั ใจไปใชส้ ทิ ธิ 16.7 % การเปน็ พลเมอื งดคี วรไปใชส้ ทิ ธิ 7.4 % เพราะเหน็ วา่ เขตได้รับประโยชน์ตามมา 2.0 % การได้รับข่าวสารทางการเมืองและการเลือกต้ัง ท้ังการเลือกต้ังในวันท่ี 22 เมษายน 2522 และการเลือกต้ังในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2524 ประชาชนได้รับผ่านทางหนังสือพิมพ์มากที่สุด 29.3% ซึ่งแบ่ง ความสนใจในการอ่านหนังสือพิมพ์ท่ีเก่ียวกับข่าวการเมืองมากกว่าประเภทอื่น 24.2% ข่าวเศรษฐกิจ 18.4% ขา่ วสงั คม 17.7% นอกจากนน้ั การไดร้ บั ข่าวสารทางการเมืองและการเลือกต้ังของประชาชน ผ่านทางโทรทัศน์ 14.3% และวิทยุ 10.9% โดยสรปุ สง่ิ ทนี่ า่ สนใจในงานวจิ ยั นี้ การชใี้ หเ้ หน็ วา่ ผทู้ มี่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจตอ่ การเลอื กตง้ั สงู ไปใชส้ ทิ ธิ นอ้ ยกวา่ ผทู้ ม่ี คี วามเขา้ ใจตอ่ การเลอื กตง้ั ปานกลาง แตโ่ ดยภาพรวมคนไมส่ นใจการเลอื กตงั้ เทา่ ทคี่ วร ซง่ึ ผทู้ ม่ี คี วามร ู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การเลอื กตง้ั ไปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั นอ้ ยกวา่ คนทมี่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การเลอื กตงั้ ปานกลาง เขตบางขุนเทียน 29 พฤศจกิ ายน 2524 จิรายุทธ วัจนะรัตน์ (2525) ศึกษาเร่ือง “การไม่ไปออกเสียงเลือกตั้ง : ศึกษาเฉพาะกรณีท่ีผู้ที่ไม่ไป ใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ซอ่ มสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร เมอ่ื วนั ที่ 29 พฤศจกิ ายน 2524 เขตบางขนุ เทยี น กรงุ เทพมหานคร” ในประเดน็ เกยี่ วกบั ความรคู้ วามเขา้ ใจของประชาชนตอ่ ระบบการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย ทศั นคติ ตอ่ การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ทศั นคตติ อ่ บทบาทและพฤตกิ รรมของสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร ทศั นคติ ตอ่ การเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย และความคดิ เหน็ ตอ่ ระบบการบรหิ ารงานเลอื กตง้ั ของเขตบางขนุ เทยี น โดยท�ำการศกึ ษาเฉพาะประชาชนเขตบางขุนเทยี นทไ่ี มไ่ ปใชส้ ทิ ธิเลอื กตัง้ จากการสุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 295 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) ประชาชนส่วนใหญ่มีความรู้เก่ียวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย คอ่ นขา้ งดใี นสว่ นทเี่ กย่ี วกบั โครงสรา้ งทว่ั ๆ ไป แตป่ ระชาชนยงั ขาดความเขา้ ใจในสาระส�ำคญั ของระบบการเมอื ง การปกครองแบบประชาธิปไตย 2) ประชาชนส่วนใหญ่มคี วามรสู้ ึกขาดความศรทั ธา และไม่แน่ใจวก่ ารปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยจะเป็นการปกครองทส่ี ามารถแก้ไขปญั หาของประเทศไดด้ ที ี่สดุ 3) ประชาชนส่วนใหญ ่

98 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร เห็นว่าการใช้สิทธิเลือกต้ังเป็นหน้าที่ส�ำคัญของประชาชน แต่มีความรู้สึกขาดความศรัทธา และไม่แน่ใจว่า รัฐบาลท่ีมาจากการเลือกตั้งจะมีประสิทธิภาพในการบริหารประเทศ 4) ประชาชนส่วนใหญ่มีทัศนคติไม่ดี และขาดความเชือ่ ถอื ศรัทธาในบทบาทและพฤติกรรมของสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ส่วนระบบการบริหารงานเลือกต้ังของเขตบางขุนเทียนยังมีส่ิงท่ีควรแก้ไขปรับปรุงบางประการ เช่น การประชาสมั พนั ธ์ การก�ำหนดหนว่ ยเลอื กตงั้ การจดั ท�ำบญั ชรี ายชอ่ื ผเู้ ลอื กตงั้ และการจดั ท�ำบตั รประจ�ำตวั ประชาชน ในประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ ตอ่ ตวั แปรตาม คอื ความรคู้ วามเขา้ ใจของประชาชนตอ่ ระบบการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย ทศั นคติ ต่อการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทัศนคติต่อบทบาทและพฤติกรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และทศั นคตติ อ่ การเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย พบวา่ ความรคู้ วามเขา้ ใจในระบบการเมอื งการปกครอง แบบประชาธิปไตยน้ัน ผู้ที่มีเพศต่างกันไม่ได้มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติต่อความรู้ความเข้าใจ ในเรอื่ งน้ี ระดบั อายขุ องประชาชนเองกไ็ มไ่ ดม้ คี วามแตกตา่ งอยา่ งมนี ยั ส�ำคญั ทางสถติ ติ อ่ ความรคู้ วามเขา้ ใจเชน่ กนั อยา่ งไรกด็ ี มคี วามแตกตา่ งอยา่ งมนี ยั ส�ำคญั ทางสถติ ริ ะหวา่ งระดบั การศกึ ษาของประชาชนตอ่ ความรคู้ วามเขา้ ใจ ในระบบการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย ระดบั รายไดข้ องประชาชนและอาชพี ของประชาชนกม็ อี ทิ ธพิ ล ต่อความรู้ความเข้าใจในเร่ืองน้ีด้วย คืออาชีพราชการหรือรัฐวิสาหกิจจะมีความรู้ความเข้าใจสูงกว่าอาชีพอ่ืน ส่วนเร่ืองทัศนคติต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ทัศนคติต่อบทบาทและพฤติกรรมของสมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎร และทศั นคตติ อ่ การเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย พบวา่ ตวั แปรเพศ ระดบั อายุ ระดบั การศกึ ษา ระดบั รายได้ และอาชพี ไมม่ อี ทิ ธิพลตอ่ ทัศนคติในเรอ่ื งดังกล่าว การเลือกต้ังผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 แมว้ า่ การเลอื กตง้ั ในครงั้ นจี้ ะไมใ่ ชก่ ารเลอื กตงั้ ทว่ั ไป แตน่ คี่ อื การเลอื กตงั้ ครง้ั แรกของผบู้ รหิ ารทอ้ งถนิ่ ของกรุงเทพมหานคร ตาม พรบ. ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ซ่ึงในสมัยนั้นถือเป็น หน่วยการปกครองรูปแบบพิเศษท่ีเดียวในประเทศไทยที่ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และยังเป็นการเลือกต้ังท่ีประชาชนท้ังกรุงเทพฯท่ีมีจ�ำนวนมากท่ีสุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศได้มีโอกาส เลือกคนคนเดียว ขณะท่กี ารเลือกตั้งสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรนั้น ยังเป็นการแบ่งเขตเลือกตัง้ ออกไปหลายเขต จุฑาทิพย์ สุขรังสรรค์ (2529) ศึกษาเร่ือง “พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ังผู้ว่าราชการ กรงุ เทพมหานคร” ดูความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปรอสิ ระ คอื ปจั จยั ฐานะทางเศรษฐกจิ และสงั คม อันได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ กับตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า ผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมปานกลางข้ึนไป มีการศึกษาสูง อาย ุ อยู่ในช่วงวัยหนุ่มสาว (20-30 ปี) จนถึงวัยกลางคน (31-40 ปี) มีแนวโน้มไปลงคะแนนโดยส�ำนึกของตัวเอง มากกว่าการถูกระดม แต่การตัดสินใจเลือกผู้สมัครกลับตัดสินใจได้ล่าช้าและมีความแน่นอนน้อยกว่าผู้ที่มีวัย

99 สูงอายุ ส่วนผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมต่�ำ มีการศึกษาต�่ำมักจะลงคะแนนเสียงโดยการชักจูงจากผู้อื่น มากกว่าผู้ท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูงซึ่งตัดสินใจเลือกผู้สมัครได้ช้าและมีความเป็นตัวของตัวเอง ในการตดั สนิ ใจนอ้ ยกวา่ นอกจากนี้ ผไู้ ปใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ไมว่ า่ จะมฐี านะทางเศรษฐกจิ และสงั คม ระดบั การศกึ ษา หรืออายุแตกต่างกันอย่างไร ต่างก็มีแนวโน้มจะเลือกตัวผู้สมัครมากกว่าพรรคการเมือง โดยให้ความส�ำคัญกับ นโยบายของผู้สมัครมากกว่าเหตุผลประการอ่ืน แต่ทั้งนี้ผู้ที่มีการศึกษาสูง มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูง และมีอายุอยู่ในช่วงวัยหนุ่มสาวตอนปลาย (26-30 ปี) ก็ยังคงเลือกโดยค�ำนึงถึงพรรคมากกว่าผู้ที่มีฐานะ ทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำ� และมกี ารศึกษาต�ำ่ ผู้ท่ีให้ความส�ำคัญกับบุคลิกภาพ ช่ือเสียง นโยบายของผู้สมัคร ลักษณะต�ำแหน่งผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร ตลอดจนช่ือเสียงของพรรคการเมือง จะไปใช้สิทธิเลือกต้ังสูงกว่าผู้ท่ีไม่ให้ความส�ำคัญ ในประเด็นเหลา่ น้ี นอกจากน้ีดูด้วยว่า แบบแผนพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เม่ือวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2528 มีรูปแบบที่เหมือนกันหรือแตกต่างกันกับการเลือกต้ังผู้แทนราษฎรอย่างไร ผลการศึกษาพบว่า แบบแผนพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในครั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นไปในท�ำนองเดียวกัน กับแบบแผนพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ังผู้แทนราษฎร กล่าวคือ ผู้ท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจและ สังคมปานกลางข้ึนไป มีการศึกษาสูงในระดับปริญญาตรีข้ึนไป จะไปลงคะแนนเสียงเลือกต้ังด้วยความส�ำนึก ของตัวเองสูง ตัดสินใจว่าจะเลือกใครได้รวดเร็วและแน่นอนกว่าผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมตลอดจน การศกึ ษาต่ำ� ประชาชนชาวกรุงเทพฯมีแนวโน้มในการตัดสินใจเปล่ียนไปจากเดิม โดยเปล่ียนมาค�ำนึงถึง ตวั บคุ คลมากกวา่ พรรค ซง่ึ เปน็ แบบแผนพฤตกิ รรมการลงคะแนนเสยี งในการเลอื กตง้ั ระดบั ชาติ ประชาชนยงั คง ให้ความส�ำคัญกับนโยบายอยู่ถึงแม้จะเป็นนโยบายของผู้สมัครก็ตาม ท้ังน้ีผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการศึกษาสูงยังคงตัดสินใจเลือกโดยค�ำนึงถึงพรรคการเมืองในอัตราที่สูงกว่าผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคมรวมทงั้ การศึกษาต�ำ่ นอกจากนี้ บุคลิกภาพ ช่ือเสียง และนโยบายของผู้สมัครเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีจูงใจให้ประชาชน ไปใช้สิทธิเลือกต้ังเพิ่มขึ้น ซึ่งแต่เดิมการเลือกต้ังในระดับชาติผู้ไปลงคะแนนส่วนใหญ่ในเขตเมืองไปด้วยส�ำนึก ว่าเป็นหน้าท่ีของพลเมืองดี ส�ำนึกเพียงว่าเลือกให้หมดหน้าท่ีของตน ส่วนผู้ลงคะแนนในชนบทมักจะไป โดยถูกระดมมากกว่า ผู้เลือกต้ังไม่ได้ค�ำนึงว่าใครจะชนะ จะมีผลเปล่ียนแปลงรัฐบาลหรือไม่ แต่การเลือกต้ัง ผวู้ า่ กรงุ เทพฯครง้ั นป้ี ระชาชนใหค้ วามสนใจตอ่ ผลการเลอื กตงั้ ซง่ึ เขา้ ใจไดว้ า่ ผลู้ งคะแนนตอ้ งการผลกั ดนั ใหบ้ คุ คล ที่ตนชื่นชอบเข้าไปบริหารงาน ในขณะท่ีช่ือเสียง และนโยบายของพรรคการเมืองเป็นปัจจัยส�ำคัญรองลงมา สว่ นการรณรงค์หาเสียงมสี ่วนจงู ใจให้ไปใช้สทิ ธิและตัดสนิ ใจเลือกผู้สมคั รไม่มากนกั