Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2560รายงานความพึงพอใจ

2560รายงานความพึงพอใจ

Description: 2560รายงานความพึงพอใจ

Search

Read the Text Version

ก า ร ไฟ ฟ้ า สถาบันพระปกเกล้า ก า รป ระ ป า ถนน ศาล เกษตรกร ทหาร ตำรวจ โรงพยาบาล ก า รศึ ก ษ า ต่อสถาบันต่างๆ และ ต่อการบรกิ าพรส.ศา.ธ2าร5ณ60ะ แลพะส.ศร.ปุ 2ผ5ล4ก5าร-ส2ำ5ร6ว0จ โดย ดนนร.าส.ยถ.วรวิัศชิลิวษวดฎดี ี แชบสัชุรงีวกมาุลหล ะทหิพมาัดก ร

ความเชื่อม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ. 2560 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 สงวนลิขสทิ ธิ์ © 2560 ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data. สถาบนั พระปกเกล้า. ความเช่ือม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ. 2560 และ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560.-- กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2561. 284 หน้า. 1. บริการสาธารณะ--ไทย--การบรหิ าร. 2. การบรหิ ารรฐั กิจ--ไทย. I. ชอื่ เรือ่ ง. ISBN 978-974-449-XXX-X สวพ.60-XX-1000.200 พมิ พค์ ร้ังที่ 1 พ.ศ. 2561 จำนวน 1,000 เลม่ จัดพมิ พ์โดย สำนักวจิ ยั และพัฒนา สถาบันพระปกเกลา้ ศูนยร์ าชการเฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษา อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ชนั้ 5 เลขท่ี 120 หมู่ 3 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทรศัพท์ 02-141-9600 โทรสาร 02-143-8181 เวบ็ ไซต์ www.kpi.ac.th คณะผ้จู ัดทำ ดร.ถวิลวดี บรุ ีกุล นางสาวรัชวดี แสงมหะหมดั นายวศิ ิษฎ ชัชวาลทิพากร ออกแบบปก และ นายสุชาติ วิวัฒน์ตระกูล จัดประกอบหนา้ พมิ พท์ ่ี บรษิ ทั เอ.พี. กราฟคิ ดีไซน์และการพมิ พ์ จำกัด 745 ถนนนครไชยศรี แขวงนครไชยศรี เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ 10300 โทรศัพท์ 02-243-9040-4 โทรสาร 02-243-3225

คำนำ การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับความเช่ือม่ันต่อ สถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะและ การทำงานของหน่วยงานต่างๆ เป็นโครงการที่สถาบันพระปกเกล้า ได้ทำการศึกษาเพื่อเป็นการประเมินระดับความเชื่อมั่นของประชาชน และผลการทำงานของหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ด้วยความร่วมมือของ สำนักงานสถิติแห่งชาติในดำเนินงานจัดเก็บข้อมูล นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2545 เป็นต้นมา ทั้งน้ีผลท่ีได้จากการสำรวจจะนำไปใช้เป็น แนวทางพัฒนาการจัดบริการสาธารณะให้มีคุณภาพและสนองตอบ ตอ่ ความต้องการของประชาชนต่อไป ขอขอบคณุ สำนักงานสถิตแิ หง่ ชาติท่ใี ห้การอนุเคราะห์ในการเก็บ ข้อมูลมาโดยตลอด ขอขอบคุณ ศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย ที่ให้การสนับสนุนและผลักดันให้เกิดการจัดทำชุดข้อมูลน้ีข้ึน และ ขอขอบคุณประชาชนทุกคนที่ให้เวลาในการแสดงความคิดเห็นกับ ผเู้ ก็บข้อมลู คณะผ้จู ดั ทำ ดร.ถวลิ วดี บุรีกุล น.ส.รัชวดี แสงมหะหมดั นายวศิ ิษฎ ชชั วาลทิพากร III ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเช่ือม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 สารบญั คำนำ III สารบญั IV สารบัญตาราง VI สารบญั แผนภมู ิ X บทสรปุ สำหรบั ผูบ้ รหิ าร 1 บทท่ี 1 บทนำ 9 1.1 หลกั การและเหตุผล 11 1.2 วัตถปุ ระสงค ์ 11 1.3 คุ้มรวมของประชากร 12 1.4 ระยะเวลาการปฏิบัตงิ านเกบ็ รวบรวมข้อมลู 12 1.5 การเสนอผล 12 บทท่ี 2 ระเบียบวิธีสถติ ิ 13 2.1 แผนการสมุ่ ตัวอย่าง 15 2.2 วิธีการเลือกหนว่ ยตวั อยา่ ง 16 2.3 เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมลู 16 2.4 วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล 16 2.5 วธิ กี ารประมาณค่าสถิติ 16 บทท่ี 3 สรปุ ผลการสำรวจ 17 3.1 ลกั ษณะพ้ืนฐานทางสังคม และเศรษฐกจิ 19 3.2 การตดิ ตามขา่ วสารทางการเมือง 23 3.3 การติดตามการทำงานของรฐั บาล พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา 26 3.4 การทราบและความพึงพอใจต่อนโยบายของรัฐบาล 27 3.5 ความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั ความสามารถในการแก้ไขปญั หาสังคมและเศรษฐกจิ 31 ของรฐั บาล 3.6 ความเช่ือมน่ั ตอ่ การทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานตา่ งๆ 32 3.7 ความเช่อื มน่ั ต่อการทำงานขององค์กรอิสระ 34 3.8 ความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะที่รฐั และทอ้ งถน่ิ จัดให้ประชาชน 35 IV สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ช่ื อ ม่ั น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 สารบญั 3.9 การใชบ้ รกิ ารขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และการมสี ว่ นรว่ มกบั หนว่ ยงาน 38 3.10 ความคดิ เหน็ และประสบการณ์เกี่ยวกบั การคอรร์ ปั ชนั 39 3.11 การร้องเรยี นเกี่ยวกับการใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงานราชการ/ 42 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ 3.12 ความคดิ เห็นเก่ียวกับการไวว้ างใจในการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมปัจจุบนั 45 3.13 การเปน็ สมาชิกกลุ่ม ชมรม และสมาคมตา่ งๆ 45 3.14 การรจู้ กั สถาบนั พระปกเกล้า 47 บทที่ 4 แผนท่ีแสดงค่าเป็นรายจังหวัด 53 บทท่ี 5 สรุปผลการสำรวจ พ.ศ.2545-2560 159 5.1 ความคิดเห็นและความเชอื่ มนั่ ตอ่ การทำงานของรัฐบาล/คณะบคุ คล/ 162 สถาบัน/หนว่ ยงานตา่ งๆ และองคก์ รอิสระ 5.2 ความพงึ พอใจต่อการบรกิ ารสาธารณะท่ีรัฐและทอ้ งถน่ิ จดั ใหป้ ระชาชน 182 5.3 การใหบ้ ริการขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และการมีส่วนร่วม 187 กับหน่วยงาน 5.4 ความคิดเห็นเกย่ี วกับการคอรร์ ัปชนั และการรอ้ งเรยี นเกีย่ วกบั การบรกิ าร 188 5.5 การมสี ว่ นรว่ มในการรอ้ งเรียนเกยี่ วกับการใหบ้ รกิ าร 191 ของหน่วยงานราชการ/องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ 5.6 การอย่รู ว่ มกันในสงั คมปจั จุบนั 193 5.7 ตารางสถติ ิ พ.ศ.2545-2560 194 บทที่ 6 ตารางสถิติ พ.ศ. 2560 รายภาค 201 เอกสารอา้ งองิ 271  ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเช่ือมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 สารบญั ตาราง ตาราง ก ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เก่ยี วกบั ความเชอ่ื มน่ั 6 ต่อการทำงานของคณะบคุ คล/สถาบัน/หนว่ ยงานต่างๆ ตาราง 3.1 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามเพศ และอาย ุ 19 ตาราง 3.2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามระดบั การศึกษา 20 ตาราง 3.3 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามอาชีพ 20 ตาราง 3.4 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามสถานภาพสมรส 21 ตาราง 3.5 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามรายได้เฉลยี่ ตอ่ เดอื น 22 ตาราง 3.6 ร้อยละของประชาชนท่ีเคยทราบข่าวสารทางการเมอื ง จำแนกตามความถ่ ี 25 ตาราง 3.7 ในการติดตามจากแหล่งสอื่ รอ้ ยละของประชาชนท่ีเคยรับฟัง/ชมหรือทราบขา่ วสารการเมืองและ 26 ตาราง 3.8 ตดิ ตามข่าวสารทางอนิ เตอร์เน็ต จำแนกตามการเป็นสมาชกิ เครอื ขา่ ย ตาราง 3.9 สังคมออนไลน ์ ตาราง 3.10 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการติดตามการทำงานของรัฐบาล 26 ตาราง 3.11 พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา ตาราง 3.12 รอ้ ยละของประชาชนทที่ ราบนโยบายของรฐั บาล จำแนกตามการทราบ 30 ตาราง 3.13 นโยบาย และความพึงพอใจนโยบายของรฐั บาลทไ่ี ดด้ ำเนนิ การ ตาราง 3.14 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ความเช่อื ม่ัน 33 ตาราง 3.15 ต่อการทำงานของคณะบคุ คล/สถาบนั /หน่วยงานตา่ งๆ ตาราง 3.16 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อบรกิ ารสาธารณะทร่ี ัฐ/ 36 ตาราง 3.17 ท้องถิ่นจัดให้ ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใช้บริการขององคก์ รปกครอง 39 ส่วนทอ้ งถิ่นหรอื มีสว่ นร่วม กบั หนว่ ยงานในรอบ 12 เดอื น ทผ่ี า่ นมา ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ ทมี่ ตี อ่ คำกล่าว “บางครงั้ 40 การคอรร์ ัปชนั ในรฐั บาลกม็ คี วามจำเป็นเพ่อื ใหง้ านเสรจ็ ลลุ ่วงไปได ้ รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกย่ี วกบั การคอรร์ ัปชนั 40 ในการปกครองส่วนท้องถน่ิ รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การคอร์รัปชนั 41 ในการปกครองระดับประเทศ รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการพบเห็นการคอรร์ ัปชัน/ 42 การรับสนิ บนของเจา้ หน้าทีข่ องรัฐ ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรยี นการให้บริการของ 43 หน่วยงานราชการ VI สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ช่ื อ ม่ั น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 สารบญั ตาราง ตาราง 3.18 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรยี นการใหบ้ ริการของ 44 ตาราง 3.19 องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น 45 ตาราง 3.20 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั การอยู่ร่วมกัน 46 ตาราง 3.21 ในสงั คม 48 ตาราง 3.22 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเปน็ สมาชิกกลุ่ม ชมรม และ 48 ตาราง 3.23 สมาคมตา่ งๆ 51 รอ้ ยละของประชาชนทีร่ ู้จกั สถาบนั พระปกเกลา้ จำแนกตามการทราบ เกยี่ วกบั บทบาทและความเช่อื มน่ั ตอ่ การทำงาน สรปุ ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อนโยบายของรฐั บาล พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา ทีไ่ ดด้ ำเนินการ สรุประดบั ความเช่ือมน่ั ของประชาชนต่อการทำงานของสถาบนั / หน่วยงานต่างๆ ตาราง 5.1 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ 195 ตาราง 5.2 นโยบายสำคัญของรัฐบาล ตาราง 5.3 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกย่ี วกับความสามารถของ 196 ตาราง 5.4 รัฐบาลในการแกไ้ ขปญั หาดา้ นเศรษฐกิจและสังคม ตาราง 5.5 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ และความเชอ่ื มัน่ ต่อ 197 ตาราง 5.6 การทำงานของรฐั บาล/คณะบคุ คล/สถาบนั /องค์กรอิสระ/หน่วยงานตา่ งๆ ตาราง 5.7 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการบรกิ ารสาธารณะ 199 ที่รัฐและทอ้ งถนิ่ จัดให้ รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการรอ้ งเรียนเกีย่ วกบั การใหบ้ ริการของ 200 หน่วยงานและองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใช้บรกิ าร/มสี ่วนร่วมกบั 200 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือนว่ ยงาน ในรอบ 12 เดือน ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั การคอร์รัปชัน 200 VII ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเช่ือม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 สารบญั ตาราง ตารางบทที่ 6 ตารางสถติ ิ พ.ศ. 2560 รายภาค ตาราง 1 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบข่าวสารทางการเมอื ง 203 เปน็ รายภาค ตาราง 2 ร้อยละของประชาชนท่ีเคยรบั ฟัง/ชมหรือทราบขา่ วสารทางการเมือง 204 จำแนกตามการติดตามขา่ วสารการเมอื งทางหนังสือพมิ พ์ เป็นรายภาค ตาราง 3 รอ้ ยละของประชาชนท่เี คยรบั ฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมอื ง 205 จำแนกตามการติดตามข่าวสารการเมอื งทางวทิ ยทุ ว่ั ไป เป็นรายภาค ตาราง 4 รอ้ ยละของประชาชนทเ่ี คยรับฟัง/ชมหรือทราบขา่ วสารทางการเมอื ง 206 จำแนกตามการตดิ ตามขา่ วสารการเมอื งทางวิทยุชุมชน เปน็ รายภาค ตาราง 5 รอ้ ยละของประชาชนทเ่ี คยรับฟงั /ชมหรอื ทราบข่าวสารทางการเมอื ง 206 จำแนกตามการตดิ ตามขา่ วสารการเมืองทางสถานีโทรทศั น์ (ฟรีทวี )ี เปน็ รายภาค ตาราง 6 รอ้ ยละของประชาชนที่เคยรบั ฟงั /ชมหรือทราบขา่ วสารทางการเมอื ง 207 จำแนกตามการตดิ ตามข่าวสารการเมอื งทางเคเบิ้ลทีวี เปน็ รายภาค ตาราง 7 รอ้ ยละของประชาชนท่เี คยรับฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมอื ง 208 จำแนกตามการตดิ ตามขา่ วสารการเมืองทางอนิ เทอร์เน็ต เปน็ รายภาค ตาราง 8 รอ้ ยละของประชาชนทีเ่ คยรบั ฟงั /ชมหรอื ทราบขา่ วสารทางการเมอื ง 209 ผา่ นทางอนิ เทอรเ์ น็ต จำแนกตามการเป็นสมาชิกเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ เป็นรายภาค ตาราง 9 รอ้ ยละของประชาชนทเ่ี คยรบั ฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมือง 210 ผ่านทางอนิ เทอร์เนต็ จำแนกตามจำนวนชั่วโมงตอ่ วันท่ีใช้ไปกับการใช ้ สอื่ สารทางอนิ เทอรเ์ น็ต เป็นรายภาค ตาราง 10 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการติดตามการทำงานของรฐั บาล 210 เป็นรายภาค ตาราง 11 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการทราบนโยบายของรฐั บาล 211 ที่ไดด้ ำเนนิ การ เปน็ รายภาค ตาราง 12 ร้อยละของประชาชนที่ทราบนโยบาย จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ 215 นโยบายของรัฐบาลทไี่ ดด้ ำเนินการ เปน็ รายภาค ตาราง 13 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ความสามารถ 231 ของรฐั บาลในการแกไ้ ขปัญหาด้านเศรษฐกจิ /สังคม เป็นรายภาค (พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา) VIII สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ชื่ อ ม่ั น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 สารบัญตาราง ตาราง 14 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเช่อื มัน่ ตอ่ การทำงานของ 232 คณะบุคคล/สถาบัน/หนว่ ยงานต่างๆ เป็นรายภาค ตาราง 15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเช่ือมัน่ ตอ่ การทำงานของ 245 องคก์ รอสิ ระ เปน็ รายภาค ตาราง 16 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ การบริการสาธารณะ 249 ทร่ี ัฐและท้องถิน่ จดั ให้ เป็นรายภาค ตาราง 17 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการบรกิ ารสาธารณะที่ต้องการให้รัฐ 258 ปฏิรปู มากทส่ี ดุ ในปจั จุบนั เป็นรายภาค ตาราง 18 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใชบ้ ริการหรือมีสว่ นร่วมกับ 259 หน่วยงาน เป็นรายภาค ตาราง 19 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เก่ียวกบั การคอร์รปั ชนั 260 เป็นรายภาค ตาราง 20 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกย่ี วกบั การไว้วางใจ 261 หรือต้องระมัดระวังในการตดิ ตอ่ กับผู้อ่นื เป็นรายภาค ตาราง 21 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนเกยี่ วกับการบริการของ 262 หน่วยงานราชการและองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ เป็นรายภาค ตาราง 22 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการการเปน็ สมาชกิ กลมุ่ ชมรม และ 265 สมาคมตา่ งๆ เปน็ รายภาค ตาราง 23 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรจู้ กั สถาบนั พระปกเกล้า 267 เปน็ รายภาค ตาราง 24 ร้อยละของประชาชนรจู้ กั สถาบันพระปกเกล้า จำแนกตาม 268 รายการโทรทัศนท์ ่ีทำให้รู้จัก เปน็ รายภาค ตาราง 25 รอ้ ยละของประชาชนที่รู้จักสถาบนั พระปกเกลา้ จำแนกตามการทราบ 269 บทบาทหนา้ ท่ขี องสถาบนั พระปกเกลา้ เปน็ รายภาค ตาราง 26 รอ้ ยละของประชาชนท่รี จู้ กั สถาบนั พระปกเกล้า จำแนกตามความเชื่อมนั่ 270 ตอ่ การทำงาน เป็นรายภาค IX ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค ว ามเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 สารบัญแผนภูม ิ แผนภมู ิ ก ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบข่าวสารทางการเมือง 3 และสอ่ื ท่ที ราบ แผนภมู ิ ข รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการทราบและความพึงพอใจต่อนโยบาย 4 ของรัฐบาล 5 อันดบั แรก แผนภมู ิ ค รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกีย่ วกบั ความสามารถ 5 ในการแก้ไขปญั หาสงั คม และเศรษฐกิจของรฐั บาล แผนภูมิ ง รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเช่อื มัน่ 7 ตอ่ การทำงานขององคก์ รอสิ ระ แผนภมู ิ จ รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ การบริการสาธารณะ 8 ทรี่ ฐั และทอ้ งถนิ่ จัดให้ แผนภมู ิ 3.1 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบขา่ วสารทางการเมอื ง 23 และสอ่ื ทที่ ราบ แผนภูมิ 3.2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการทราบนโยบายของรัฐบาล 28 5 อันดับแรก แผนภูมิ 3.3 รอ้ ยละของประชาชนทท่ี ราบนโยบายของรฐั บาล จำแนกตามความพงึ พอใจ 29 ตอ่ นโยบายของรัฐบาล 5 อนั ดับแรก แผนภูมิ 3.4 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เก่ยี วกับความสามารถ 32 ในการแกไ้ ขปญั หาสังคมและเศรษฐกจิ ของรัฐบาล แผนภมู ิ 3.5 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ความเชอื่ มัน่ 35 ต่อการทำงานขององคก์ รอสิ ระ แผนภมู ิ 3.6 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ 36 ทร่ี ฐั และทอ้ งถ่นิ จดั ให้ 5 อันดับแรก แผนภมู ิ 3.7 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการบริการสาธารณะทต่ี ้องการใหร้ ัฐ 38 ปฏิรูปมากทีส่ ดุ แผนภมู ิ 3.8 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรจู้ ักสถาบันพระปกเกลา้ 47 แผนภมู ิ 5.1 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ นโยบายสำคัญของ 162 รฐั บาลเกย่ี วกับการสร้างความมน่ั คง ปี 2550 - 2560 แผนภมู ิ 5.2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ นโยบายสำคัญของ 163 รัฐบาลเกี่ยวกับการปฏริ ูประบบราชการและการเมือง ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.3 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อนโยบายสำคญั ของ 164 รัฐบาลดา้ นการจดั การการกระทำทผ่ี ิดกฎหมาย ปี 2548 - 2560  สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 สารบญั แผนภูมิ แผนภูมิ 5.4 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อนโยบายสำคัญของ 165 รัฐบาลด้านการบรหิ ารจดั การ ปี 2555 - 2560 แผนภูมิ 5.5 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อนโยบายสำคญั ของ 166 รัฐบาลเก่ียวกบั การเกษตร ปี 2551 - 2560 แผนภมู ิ 5.6 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อนโยบายสำคญั ของ 167 รัฐบาลเก่ียวกบั เศรษฐกจิ ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.7 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อนโยบายสำคัญของ 169 รัฐบาลเกีย่ วกับการพฒั นาชวี ติ และสงั คม ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.8 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกยี่ วกบั ความสามารถ 170 ในการแกไ้ ขปญั หาสงั คมและเศรษฐกจิ ของรัฐบาล ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.9 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความเช่อื ม่นั ตอ่ การทำงานของ 171 นายกรัฐมนตรี/รฐั บาล/พรรคการเมอื ง ปี 2545 - 2560 แผนภูมิ 5.10 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความเชื่อม่นั ตอ่ การทำงานของ 172 สมาชกิ รัฐสภา ปี 2545 - 2560 แผนภูมิ 5.11 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความเชอื่ มั่นตอ่ การทำงานของ 173 ขา้ ราชการ ปี 2545 - 2560 แผนภมู ิ 5.12 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเชอ่ื มั่นตอ่ การทำงานของ 174 ทหาร ตำรวจ ปี 2545 - 2560 แผนภมู ิ 5.13 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความเชอ่ื มน่ั ตอ่ การทำงานของ 175 ขา้ ราชการสว่ นท้องถนิ่ ปี 2546 - 2560 แผนภูมิ 5.14 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเชอ่ื มั่นตอ่ การทำงานของ 176 แพทย์ ปี 2545 - 2560 แผนภมู ิ 5.15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเชอ่ื มน่ั ต่อการทำงานของ 177 องคก์ รชุมชน, NGOs ปี 2545 - 2560 แผนภมู ิ 5.16 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเชอื่ มัน่ ตอ่ การทำงานของศาล 178 และองคก์ รอยั การ ปี 2545 - 2560 แผนภูมิ 5.17 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความเชื่อมั่นต่อการทำงานของสือ่ 179 ปี 2545 - 2560 แผนภมู ิ 5.18 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเช่ือม่ันตอ่ การทำงานของ 180 องคก์ รดา้ นการตรวจสอบ ปี 2545 - 2560 แผนภูมิ 5.19 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเชอ่ื มั่นตอ่ การทำงานของ 181 องคก์ รด้านการคมุ้ ครองสทิ ธิ ปี 2545 - 2560 XI ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเช่ือม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 สารบัญแผนภมู ิ แผนภูมิ 5.20 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อการบรกิ าร 182 สาธาณปู โภคพ้ืนฐาน ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.21 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการบรกิ าร 183 ด้านการศกึ ษา ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.22 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ การบรกิ าร 184 ด้านสขุ ภาพ ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.23 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการบริการ 185 ดา้ นคุณภาพสังคม ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.24 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ การบรกิ าร 186 ดา้ นคุณภาพส่ิงแวดล้อม ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.25 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใช้บริการของ 187 องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ปี 2548 - 2560 แผนภมู ิ 5.26 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกี่ยวกบั 188 “บางครง้ั การคอร์รัปชันในรัฐบาลกม็ ีความจำเปน็ เพ่อื ให้งานลลุ ่วงไปได”้ ปี 2548 - 2560 แผนภูมิ 5.27 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั การคอรร์ ัปชนั 189 และการรบั สินบนในการปกครองระดับประเทศและการปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ปี 2548 - 2560 แผนภมู ิ 5.28 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยพบเหน็ การคอรร์ ัปชนั 190 ปี 2545 - 2560 แผนภมู ิ 5.29 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนเกย่ี วกับการใหบ้ ริการของ 191 หน่วยงานราชการ ปี 2551 - 2560 แผนภูมิ 5.30 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรอ้ งเรยี นเกี่ยวกับการให้บริการของ 192 องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ปี 2551 - 2560 แผนภมู ิ 5.31 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความไวว้ างใจในการตดิ ตอ่ กับผูอ้ น่ื 193 ปี 2552 - 2560 XII สถาบันพระปกเกล้า

ความเชื่อมั่น ต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจ ต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ. 2560 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 สำหรับผบู้บทรสิหราุปร



บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร ผขอลงกราัฐรบสาำลรแวลจคะคววาามมคพิดงึ เพหอน็ บใขจทอตสงอ่รปุปกรสาะชํารหาใหชรับนบ้ ผรตูบิกอ่ รากิหราสารราทธำางราณนะ พ.ศ. 2560 กผกผาลราลกใรากหใราบหสรรบาํ แจปสิกรรึงหราําวิไกสระ่งรจดสชถาชวค้ขาาราสาจวอธชสบตถาคาคนาันิมทารววใธบณพคำนาาาักินดมรกะมราะเรพาณหคพร่วปรร็สนตมิด.กะะศขำรมเเป.วรหกอืพอก2จวงลก็น.5เสปจศารกข6อคระ.ลไ0อบะทวด้า2ชงตราบต5ปาวิดมไทรชด6งตคระสด้นต0าิะดหริจมตรชเุปนิทหกะอาสักัลหา็กนชํารถเนาขพหบนึงรักอื่อรครทตถงิหับเวาํศึอปงาผางรคกรรมาูบษงะวนาสราฐชารขําิหนกมาทคอาขิจชสัญงรําอแนรำงงใลฐัคเานภกะบัญนากส่ียาคาัใขงวลรนรคกอแัฐมกับลมงแาะรีคโลสรดคัฐะววยวหมบนาสาีนมสรามำ่่ววพวลนพมยนึงแักงึงขพรงลพาอ่วาอนะองมนใตคใปจสข่จาวรตถงอตาะ่ิๆตองอมช ิ าพชงึ นพในอกใจารตตอรวจสอ ติดตามกกาารรบบรรหิ ิกาารรงสาานธขารอณงภะาแคลระฐักแาลรทะหำงนาว นยขงอางนหตนา่วงยๆงจานึงไตด่าข งอๆคพวา.ศม.ร2ว5ม6ม0ือเกพรื่อะรทวรบวรงวดมิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจแล ตสสปปแสปแปสสนงัาดิรฏคธนะงัามตวรฏิบามคชทธาะาวิัตรบมาาามชชทณโิงชัตรงกดิกาาานพะณาโิยงชนใงดแรตัฒาส11ขพปกนสนพเะบลอยกาํน85้าอนถัรคฒแตะรัฒกนส็บรเาะมาริหกลอปาพกันกาํทบรกชนัวูราาละกงีขนว็ฤาบัานำรบรเาาาเกาบรึ้นรกักทงษงพกนรรชกราจอืาราาไํางิกี่สวภยรนานรบัปดวงนนาราะถบวราทาขมบตรนรจขทปตินคจกกอรสขําิก่รัอดสิแกอี่มขงัรัมดบาวิงอกาไหบถเภงอธะีอามาบมกปรรงหาติพางจรนราูสลละขชรรหคิกแิาสนย.ขซาดณาาิอกรศนยาาหรุ่ตตวอธึ่ััฐงบาวะมธไ.รทะทิงย้ังแ2างปดยแารสคหูลุกชแราํลหง5ตรงลสฏาววกจณาะตาาณ6รนะิาธราบาานตหังนะก0งะวะธราะ1มหัตตทนิหตาวสใยแารห8าโวพริวหงันน่าําาํรณงลดงทยัดาวกรมังึทงๆปาณะยงาํวนะาๆีคถาพน่ีาขทงกจทพ2ใงะรึุงณเนาตอึน้คั่หวาแก4ควำ.สในตศาภวใรปหไ็ัก้นวลมบาํขา.จเางปาทารามรีงะมคอทมร2ๆพขมๆะํารวนษง5ุวณคีคก่ีแสอเงหสจ6พ2าำดิบจทุณรลําาภงันม0คยผเึง4.ะศคนระหปศวาไนภภวลจัสญวดขย็นเพ.รเาเาาทพนาขมม-งปขอใะม2ษพแยานอือ่่ีอไอ1ข็ษนชง5คนดลคณรทแกงง5ห้อ6จาาิดตวต้วจะปาลุก์สนช0ำบมยาาพเอรสาระจหนมงมรูนวลนะบฤกนๆมสงัวรวย็นชาเษตตกอหมีสวพนรานช-งขอ่ภอามงแขวชะวาือ่อิทกอ1คราตกลนอมนัดหนรงใั้สงวคง5ะมืออารเนตววตสาปกมำนทวูลรกบมบ่าาพคิ้ยี่นอรมํราเบรั่วตพตงกงวรวผรขะบะฤปรๆ3ก่อวอ่ีย.ัววลจอทชศษิตกรับ3งัวมนคเทงไาร.รกะาอกภ2,คปปแขวที่วชไ4ือาร5เับวคดางรลาใอท2นี่ร6สานดชรจะวค2มะม0ขมเศ0ะาิทจาช้าเก4มตนอพลูปดกธิทาคม่ีมโยี่เง้อํางึเับกชดา็เนปัลนปพีตอกพวมผงนารยคเแนรกาอี่กยอ.พรลษณทโใวศะนยจบัสในดงาวื่อาทําาจช.ุะตวํกาาํรกมกย2คเกตยาี่ไรศแนขั้ทงาพาเ5ับวาชดอวนปรรแลรวอรา6ึงานกจรจษต็นตพขสะงมง0าไ-ตะารฐ ั่มปอรอทพอดวก กบโภใใงจ้ังไงึิจับกดจชรปาปสสพแขเิากยคษปอิ้นรลออซราทวณบนะะรึ่งงสใา3ําจช ําม3กตาร,พาชอ4วรึงน2กจพส0าไตัมปรออคบภใใไนจชรปาขเิกษโป สเมปานชกิปใรนะคปชรรัวาะเชรชนอื านใชนทนเม่ี ขใีอนตาเยขทตุ ตศ้งั เแบทตาศ ล1บ8า1ลป7ข ,14น้ึ 76ไ,ป046กค0รนะคจแนาลยแทะลกุนะจอนังกหอเวกขัดเตขทเตท่วั เปศทรบศะาบเทลาศล1เ51ป,5น9,จ69ํา06น0วผนผลทลกัง้ กาสาร้ินรสส3ํา3ำร,รว4วจ2จ0สรคุปนปโดรยะเด็นที่สําคัญ ดเปดังนนังป้ีนรี้ ะชาสชรนุปในปเรขะตเเดท็นศทบ่ีสาลำค1ัญ7,ไ4ด6้ด0งั คนน ี้ และนอกเขตเทศบาล 15,960 ผลการสาํ รวจสรปุ ประเด็นที่สําคัญได 11. .กากร1าต.ร ิด ตต ดิกาตมาขารมาทวขสราาาวรบสทาาขงร่ากทวาารสงเมากอื รางรทเมางอื งการเมือง แผแแสนื่อผผภทนนมู ่ทีภภิ รกูมูมาิิบรกก อรยร้อลอะยยขลอละงะขปขอรอะงงชปปารชระนะชชาจาชาํชแนนนกจจตำาําแมแนกนกากรตเตาคามยมทกกราาารบรเขเคคา ยวยทสทารรราาทบบาขงขก่าา าววรสสเมาาือรรงททแาาลงงะกกสาาอื่รรทเเมมี่ทือืรองางบแแลละะส อ่ื ที่ทราบ การกเคายรทเครายบทขรา าวบสขาราทวาสงากราทรเามงอื กงารเมือง แหลงส่อื 1/ แหลง สื่อ 1/ รอ ยละ รอยละ 19ไม.18เ ค9ไม%ย.8เค%ย เคย  โเอหพคทินนูดเรบเคงั ททสิล้ยุ ศัอือทกรนพับวีเนิมี/บ(จฟพต็ุคารคนเอโพีทคทลดนิวีดู อเราี)บเคน่ืวททลิ้เุยทศัอทกยีรนบัวีมเ นี/บ(จฟต็ คุ ารคนที ลดีวอาี)นื่วเทยี 11182ม44586.....00522 86.0  28.2 80.2 % เคย  15.0  14.5 80.2 %   วทิ ยุทวั่ ไป หนงั สือพิมพ  6.6 14.2  หอกระจายขาววิทยุทว่ั ไป 5.3  หอนวมิทน่ืิตายยๆยเชุ สห(ุมาเตชรชุน/น:ว1าส/รถวหนอสาติท่ืนาิตอนอรยๆยกศบชุ ึสรกไ(ดุมะษาเชมรจาชาน/านตกวยัวกาสขอรวถาักาสาวษา1นรรศวคิง่ ึกําฯตษ)อาบ000ต...139ัวอักษรว่ิงฯ) 6.6  5.3 0.9 0.3 0.1 ผลการสาํ รวจเก่ยี วกับการเคยทราบขาวสารทางการเมือง พบวา ปหรมะายชเาหชตนุ ส: ว1น/ใตหอญบ ไรดอมยาลกะกว8า01.2คําตอบ ระบวุ า เคยทราบขา วสาร มรี อ ยละ 19.8 ระบวุ าไมเคยทราบขา วสาร โดยผทู เี่ คยทราขบ้อขมา ูลวรสะดาับรรภะาคบแุวลาะททรั่วาราบชจอาาณกาจักร ส่ือโทรทัศน (ผฟลรีทกีวาี)รสมาํากรวทจ่ีสเุดกย่ี(รวอกยับลกะา8ร6เ.ค0ย) ทรอรงาลบงขมาาวคสือารพทูดาคงุยกกาับรบเุคมคือลงอพ่ืนบ(รวอายลปะระ2ช8.า2ช) นเคสเบวนิ้ลทใหีวี/ญ รอยละ 80

ค ว ามเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 ผลการสำรวจเก่ียวกับการเคยทราบข่าวสารทางการเมือง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 80.2 ระบุว่าเคยทราบข่าวสาร มีร้อยละ 19.8 ระบุว่าไม่เคยทราบข่าวสาร โดยผู้ที่เคย ทราบข่าวสารระบุว่าทราบจากส่ือโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) มากท่ีสุด (ร้อยละ 86.0) รองลงมา คือ พูดคุยกับบุคคลอ่ืน (ร้อยละ 28.2) เคเบ้ิลทีวี/จานดาวเทียม (ร้อยละ 15.0) อินเทอร์เน็ต (ร้อยละ 14.5) หนังสือพิมพ์ (ร้อยละ 14.2) วิทยุทั่วไป (ร้อยละ 6.6) หอกระจายข่าว (ร้อยละ 5.3) วิทยุชุมชน (ร้อยละ 0.9) นิตยสาร/วารสาร (ร้อยละ 0.3) และอื่นๆ เช่น สถานศึกษา ตวั อกั ษรว่งิ ตามสถานท่ีต่างๆ หน่วยงานต้นสังก2ัด การประชมุ (ร้อยละ 0.1) ตามลำดบั 2. ความคิดเหน็ ต่อรฐั บาล 6.6) หอกระจายขาว (รอยละ 5.3) วิทยุชุมชน (รอยละ 0.9) นิตยสาร/วารสาร (รอยละ 0.3) และอ่ืนๆ เชน สถาน ศกึ ษ า2ต.1วั อกักาษรรตวดิ่งตตาามมสกถารนทำ่ตี งาางนๆขหอนงว รยฐั งบานาตลน สพงั ลกเัดอการปปรระะยชุทมุ ธ(์รจอันยลทะร์โ0อ.1ช)าต า ม ลาํ ดบั ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 66.8 ระบุว่าติดตามการทำงานของรัฐบาล 2. ควเปา็นมคบิดาเงหค็นรต้ังอบราัฐงบคารลาว รองลงมา ร้อยละ 17.4 ระบุว่าไม่ได้ติดตาม และร้อยละ 15.8 ระบุว่า 2ต.1ดิ ตกามรตเปดิ น็ ตปามระกจาำร ทํางานของรฐั บาล พลเอก ประยทุ ธ จนั ทรโ อชา รองล งมาผล รก 2อ า.ย2รลส ะนมํารคี1โว7ยวจ.าบ4พมารบพยะวึงบารพวุัฐปาอบรไใะมาจชไลดา5ชต (นดิ อพรตอันาลยมดเลอบัแะลกแ6ะร6รปก.8อ รยระละยะบุทวุ 1า5ธต.์8ดิ จตรันาะมทบกวุราา์โรตอทิดชําตงาาาม)นเขปทอน่ีปงปรรรัฐะะบจชาาํ าลชเปนนทบราางคบรแ้ังลบาะง คราว 2แ.2ผนนโภยูมบิาขยรรัฐ้อบยาลละ(ขพอลงเปอกระปชราะชยนทุ ธจ จำันแทนรกโ ตอาชมา)กาทรป่ี ทรระาชบาชแนลทะรคาวบาแมลพะึงมพคี อวาใจมตพ่องึ พนอโยใจบา5ยอขันอดงบั แรก แรผัฐนบภาูมลิ ข5 รออ นั ยดละบั ขแอรงกป ระชาชน จาํ แนกตามการทราบและความพึงพอใจตอนโยบายของรฐั บาล 5 อนั ดบั แรก 5 อันดบั แรกของนโยบายรฐั บาลท่ที ราบ 5 อนั ดับแรกของนโยบายรฐั บาลทพี่ งึ พอใจ 100 2.7 2.9 4.4 9.6 11.3 100 110...413 5.4 10..66 5.6 11..04 6.6 03..70 6.6 30..91 80 80 49.3 60 60 52.9 54.7 92.0 60.4 89.7 56.5 89.4 40 97.3 97.1 95.6 90.4 88.7 40 97.2 92.4 20 20 47.9 39.5 37.3 29.3 32.9 การควบคุม 00 การปกปอง การจัดการ การแกไข ราคาสลากฯ การจดั การ โครงการ การควบคุม การแกไขและ แกไขปญ หา เชิดชสู ถาบนั ฯ เรื่องเบย้ี ฯ ปญหา เร่ืองเบีย้ ฯ หลักประกันฯ ราคาสลากฯ ปอ งกนั ปญหายาฯ สนิ คาอปุ โภคฯ โครงการ การบกุ รุกฯ หลกั ประกันฯ ไมท ราบ ไมมีความคิดเหน็ ไมพ อใจเลย ทราบ ไมคอ ยพอใจ คอนขางพอใจ พอใจมาก เม่อื สอบถามเกย่ี วกับการทราบนโยบายของรฐั บาล (พลเอกประยุทธ จนั ทรโอชา) พบวา นโยบายของ รัฐบาลของรัฐบาลทีป่ ระชาชนทราบ 5 อันดับแรก คอื การจัดการเรื่องเบ้ียยังชีพ (ผูสูงอายุ คนพิการ) (รอยละ 97.3) โครงการหลักประกันสุขภาพถว นหนา (บัตรทอง/30 บาท รักษาทุกโรค) (รอยละ 97.1) การควบคุม  ราคา สลากกินแบงรฐั บาล 80 บาท (รอยละ 95.6) การแกไขและปองกันปญหายาเสพติด อาวุธสงคราม มา สถาบเันฟพยระแปลกเะกผลูม้า ีอิทธพิ ล (รอ ยละ 90.4) และแกไ ขปญ หาสนิ คาอุปโภค บริโภคราคาแพง (รอ ยละ 88.7)

ค ว า ม เ ช่ื อ ม่ั น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 เม่ือสอบถามเก่ียวกับการทราบนโยบายของรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) พบว่า นโยบายของรัฐบาลของรัฐบาลท่ีประชาชนทราบ 5 อันดับแรก คือ การจัดการเรื่อง เบ้ียยังชีพ (ผู้สูงอายุ คนพิการ) (ร้อยละ 97.3) โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง/30 บาท รักษาทุกโรค) (ร้อยละ 97.1) การควบคุมราคา สลากกินแบ่งรัฐบาล 80 บาท (ร้อยละ 95.6) การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด อาวุธสงคราม มาเฟีย และ ผมู้ อี ทิ ธพิ ล (รอ้ ยละ 90.4) และแกไ้ ขปัญหาสนิ คา้ อุปโภค บรโิ ภคราคาแพง (ร้อยละ 88.7) ส่วนประชาชนท่ีทราบนโยบายของรัฐบาลระบุว่านโยบายของรัฐบาลที่พึงพอใจอยู่ใน ระดับค่อนข้างพอใจถึงพอใจมาก 5 อันดับแรก คือ การปกป้องเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ (ร้อยละ 97.2) การจัดการเร่ืองเบ้ียยังชีพ (ผู้สูงอายุ คนพิการ) (ร้อยละ 92.4) โครงการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง/30บาท รักษาทุกโรค) (ร้อยละ 92.0) แก้ไขปัญหา การบุกรุกทด่ี ิน ป่าไม้ ทะเล (รอ้ ยละ 89.7) และการควบคุมราคา สลากกินแบ่งรฐั บาล 80 บาท (ร้อยละ 89.4) 33 2.3 ความสา2 ม.า3รค ถ2 วใ.นา3มก คพสาวลราาเแมมอกกสาไารปขมถราปใะรนญ ถยกใทุหนาธารก์ สแจารังนักแคทไ กมขร้ไ์โ/ปขอเปญศชญัราห ษหาฐาสสกังงั ิจคคขมมอ//เเงศศรรรัฐษษบฐฐกากจิลขจิ อขพงอรลงัฐเรบอฐั ากบล ปาลระยพุทลธเอจกันปทระโ อยชุทาธ จันทรโอช แผนภูมิ ค รอยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถ แผนภูมิ ค รอ ยแลผะนขภอใงมูนปิ กคราะรชรแาอ กชยไนลขะปขจญ อาํ แงหปนารกสะตงั ชาคามมชคนวแาลมจะคาํ เแดิศนเรหกษน็ ตฐเากมย่ีิจควขวกอาบั งมครควฐั ิดาบเมหา็นลสเาก มี่ยาวรกถับในคกวามรแสกาไมขปารญ ถหในากสางั ครแมกแไ ขลปะเญศหรษาสฐังกคิจมขอแงลระัฐเบศารลษฐกิจขอ ความสามารถแกไ คขวปาญมหสาดมาานรถสแังคกมไ ขปญ หาดา นสังคม ความสามารถแกไ คขวปาญมหสาเมศารรษถฐแกกจิ ไขปญ หาเศรษฐกจิ รอยละ รอยละ รอ ยละ รอยละ 100 100 100 100 80 80 80 80 60 596.04 59.4 60 576.06 57.6 40 40 40 40 25.9 25.9 22.4 20 162.32.4 20 มาก 0 1.9 16.3 การแกไข 20 11.5 20 11.5 5.0 เลกก็ ปานรญอแยหกาไขไม5เ ล.ย0 การแกไข 0 บา ง เล็กนมอายก ไมบเลายง เลกก็ ปานรญอ แยหกาไขไม1เล.9ย ปญ หา 0 มาก บา ง 0เลก็ นมอ ายก ไมเ บลายง ปญ หา จากการสอบถามเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาด้านสังคมของรัฐบาลได้ในระดับใดนั้น ปรลอะรยะ5ลช9ะา.ช41จน6ารร.กะอ3กบปลรยอาอุวละรกีรยาะสก22ไพร5แลชด52อาอบ59กะา้บ.ร.ย9บ7ว.4ชไแ้า4่า1ล.ขจถนแงก6แ6ะปาลรไ้ไลรแ.ขดรกะมระอ3ะล1ปะไะบกเแะยม.ชกับญอ9กาาร่สุวลายี่ีกรุ้้วอไหงาาชะไขวสมายรามแนไสกแาลออด5ดสกรรวบักะ้าย7้เถาไ้อพนนไกล.ขแ1ถมย6ขียเผากะ1ไศลางไรไ้ด.รูทมะรรดเ5ข1และษบถเี่รไบ 5.็กกรดบ9ฐแะา9าะน้เยี่ไกุวงกลบ.งบขไ้อ4ิวจายไมุุววปยสแกขขร่าสารอญละวบักไมแอ้แาดบงนะไีกรกยหมรกขุเว้อร้ไลผาัฐลาา่ขาไไยอะรูบทแดขรดยไลแยดาก5ถ่ีารบไะกสล้ลเ.้ไดนแะ0ปาขชไ1วะอ กสบง็ไนขุด6นดยไงัุอวป.1นแข้บก3คายี้1ญล้ไาาพมง่าแอดง.ะรมงห5บขีกกเแรมสลารวอาไอ่กวาร้อ่กาดขยงกนะไยยราไปขผบสมลลสดัฐนู้รทปะ่ววุีวระบอะสี่รญนนาอช1ยาะงั 1แแกยาล.บคหา9ก1ชกาุวลไมงา้ไ.ดนร่ไาไมข5ะขดมแขแรใไาอ่าสน้กอดไกร2กนางด้ไย้เระไ2ขมพรลขเเะบมไ.ฐัาศปียะดดป4รุีวรบงรน้อบัถญ5เาอแษายลอแ7ใแยล่าห็ลกฐดก.ยกง6ลไนกะ้ไานมาดขไ้ะอดแริจาง้ันขใไะยกากมดนขไ2บนพ้เดอไมารมล2ุวขกีเเะรบีงรย่า.ศป้ไอ้อด4รแวดรสสยนยัฐับกา ่แษเวลลวบ้อไใพนปะขะลนฐดยา ียรกะแนลางะแิจกง้นัชเชกมขลไุดาขพอไา็กนชขไกบงน้ีดนไรพวอดเสัฐาพรบยเวบพอียปวนามยียางรแลีงะกช เลก็ นอย มีรอเยลลก็ ะนอ 2ย5.ม9รี แอลยะลไะมส2า5ม.9ารแถลแะกไไมขส ไาดมเลารยถรแอ กยไ ลขะได5เล.0ย รอ ยละ 5.0  ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร 3. ความเชอื่ 3ม.ั่นคทว่ีมาีตมอเกชา่ือรมท่นั ําทงี่มานีตอขกอางรคทณาํ ะงบาุนคคขลอ/งสคถณาะบบันุค/คหลน/วสยถงาาบนันต/า หงนๆวยงานตางๆ

ค ว ามเชื่อม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 3. ความเช่ือม่ันที่มีต่อกา รทำงาน ของคณะบุคคล/สถาบัน/ หน่วยงานต่างๆ การทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ท่ีประชาชนค่อนข้างเชื่อมั่นถึง เช่ือมั่นมาก ตั้งแต่ร้อยละ 80 ข้ึนไป คือ แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ (ร้อยละ 86.4) แพทย์ใน โรงพยาบาลของเอกชน (ร้อยละ 85.6) ทหาร (ร้อยละ 85.1) นายกรัฐมนตรี (ร้อยละ 84.8) ขา้ ราชการพลเรอื น (รอ้ ยละ 82.3) และคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ (ร้อยละ 82.1) ตาราง ก ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับความเชื่อมั่นต่อ การทำงานของคณะบคุ คล/สถาบนั /หนว่ ยงานตา่ งๆ คณะบุคคล/สถาบนั /หน่วยงานต่างๆ ระดบั ความเช่อื มนั่ แพทยใ์ นโรงพยาบาลของรฐั รวม เชอ่ื ม่นั คอ่ นข้าง ไม่คอ่ ย ไมเ่ ชือ่ ม่ัน ไม่มี ไมร่ จู้ กั 100.0 มาก เชื่อม่ัน เช่อื ม่ัน ความเหน็ 27.7 58.7 8.9 1.4 3.1 0.2 แพทย์ในโรงพยาบาลของเอกชน 100.0 86.4 26.9 58.7 7.2 1.0 5.8 0.4 85.6 ทหาร 100.0 25.9 59.2 9.6 1.6 3.6 0.1 85.1 นายกรฐั มนตรี (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา) 100.0 28.5 56.3 9.0 1.6 4.5 0.1 84.8 ข้าราชการพลเรือน 100.0 17.4 64.9 10.7 1.6 5.0 0.4 82.3 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) 100.0 24.4 57.7 10.2 1.9 5.3 0.5 82.1  สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ชื่ อ ม่ั น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 4 4. ความเชอื่ มน่ั ตอ่ การทำงานขององคก์ รอิสระ 4. คว ามเชอื่ มั่นตอการทาํ งานขององคกรอสิ ระ แผนภูมิ ง ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับความเช่ือม่ันต่อ แผกนาภรมู ทิ ำงงารนอยขลอะงขอองงคป์กระรชอาิสชรนะ จําแนกตามความคิดเห็นเก่ยี วกับความเชอ่ื มัน่ ตอการทาํ งานขององคก รอสิ ระ องคกรอสิ ระ 98.82.28.711.9701.59...168.1715123.2273.7.210.4..1.8.714216910..1.10.33.1301871.83262..1.83652.....850.3308.1422...686 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนฯ 16.5 46.1 46.3 องคก รอัยการ 18.2 47.3 51.0 คณะกรรมการตรวจเงนิ แผนดิน 18.6 50.6 คณะกรรมการการเลือกตั้ง 16.9 49.5 ป.ป.ช. 20.1 52.3 51.4 ผตู รวจการแผน ดิน 22.3 52.7 ศาลปกครอง 27.9 ศาลรัฐธรรมนูญ 28.9 ศาลยตุ ิธรรม 30.9 0 เชอื่ ม่ันม20าก 40 คอนขาง6เช0 ือ่ ม่ัน 80 ไมคอ ยเช1อื่00มั่น รอยละ ไมม คี วามเหน็ ไมรจู กั ไมเชอื่ มั่น แรร(ปออล.งยะปลลอ.ชปใ(งะงรก.มค้)อ้อล8ากกรงย้เ0าอกรคคลร.อยัน2ือียกทะลัยแงาาํผะศกกล8รงูตาาาทันะ73รรลน0ป.ำว6รรข.งรร7จัฐ้อ)อาอากธยนงครยบราอลณอขลปรรงะงอะะมแครลงกนกาผ86องรมรูนญ04มงรอก.ด.คมา35ิสาแิน์กกรรคลแสาระทรืะอลํราอทอุจศกหะิสีป่ศยราารรรริรตลาล้ัอบะะเละแปยลคทชรหกลือณา7่ีปัฐ่งชคกะ1ะรธชนตร.ะก8ร8าอง้ัคชรร0ตงอ รคราม.ิมน2อมช(ณนีสปขยนกผูะญัดาล.าคปู้ตกงสะร่เอ.รแรวชสช6วนรนล่อืิท.7จม)ขขะม.ธก9ก้ราอศนั่ิมา้องางถาคนรเรยคชึงลณุษแปลเว่ือปชผะยอาะม่ือกก่นชมง่ันมร7คนกดเรช่ันถ0ัรแนินม่ือึมง.อหแ7เกมารงชงลกา้อ่ันคมชื่อะรยใาณีสคปมตกตลัดือ่ันรระลิะสาวกปมศเบจ่คว7ราราเีนยปร1กละงมง.รยิชขน8คกากตุาอแัือนมชิธาคผงรกนรคณนศรรกามวดอามะราีคาินลยกทร(วมยลรเรุจราลเอุตะรชมอรือยิมธิต่ือยเ8กลรชกแล0มระต่ือาห.ะ่ันม3ั้รงม8ง 6่ันแช35ตล.า6.ตอ9ะ)ิ การทํารง้อายนลระอ 6ย7ล.ะ96ค2ณ.6ะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ร้อยละ 65.9 และองค์กรอัยการ ร้อยละ 64.5 สำหรับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประชาชนมีความเช่ือมั่นต่อการทำงาน ร้อยละ 5. คว6า2ม.พ6 งึ พอใจตอ การบรกิ ารสาธารณะทรี่ ฐั และทองถ่นิ จัดใหป ระชาชน 5.ป รคะชวาาชนมคพอนึงขพางอพอใใจจตถึง่อพอกใจามราบกตรอิกบราิกรารสสาาธธาารณระณที่ระัฐทแล่ีระัฐทแอลงถะิ่นทจัด้อใหง ถคือิ่นไจฟฟัดาใ(หรอ้ ยละ 9ศ0นู .ย8อ) นโราง มเยัรปยี (นรรอะ(ยรชอลายะชล8ะน3.83 9).3) ถนน (รอยละ 85.1) ศูนยเด็กเล็ก (รอ ยละ 84.6) และการบริการสาธารณสุขและ ปแรผรอ18ะน0ย0ช0ลภะา(กูมชริา้อนจรยบรลร7อ ปะกิ ย.2ราล9ะระ0ชสข01.าา8อ..ชธ91)งาปนโรรรคณะง่อชเส3รน4าียุข..ชข51แนน้าลง(02พะจร..ศาํอ้อ65แูนใยนจยลกถอ์ะตงึ1นพา18มาอ.9ม7คใ.วัย3จา20)มม(..ราถ48พ้อกนึงยตพนลอ่อะ(บใ46รจร..้8อต82ิก3อยา.กล3ร30าะ)ส..ร 86าบ8ธร5าิก.รา1ณร29)ส..ะศ05าทธูนาี่รย1ร3ัฐ์เณ..ดแ57ะล็กทะเีร่ลทฐั ็ก้อแลง(รถะ้อท่ินยอจงลัดถะใน่ิ หจ8้ ัด4คใ.ือห6)ไฟแฟละ้า ยังไมมบี รกิ ารน้ี 60 62.1 58 .7 59.1 57.8 60.4 ไมม ีความเห็น 40 90.8 89.3 ไมพอใจเลย 85.1 84.6 83.3 ไมค อยพอใจ คอนขา งพอใจ  20 28.7 30.6 พอใจมาก 26.0 26.8 22.9 0 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร โรงเรียน ถนน ศูนยเด็กเล็ก สาธารณสขุ ฯ ไฟฟา

และองคกรอัยการ รอยละ 64.5 สําหรับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ประชาชนมีความเชื่อม่ันตอ การทํางาน รอ ยละ 62.6 ค ว ามเช่ือม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 5. ความพงึ พอใจตอการบรกิ ารสาธารณะท่ีรฐั และทองถิ่นจัดใหป ระชาชน ประชาชนคอนขางพอใจถึงพอใจมากตอบริการสาธารณะท่ีรัฐและทองถิ่นจัดให คือ ไฟฟา (รอยละ 90แ.ผ8น) โภรูมงเิ รจยี นร้อ(รยอ ลยะลขะอ8ง9ป.ร3ะ)ชถานชนน(รจอำยแลนะก8ต5า.ม1)คศวนูามยเพดึง็กพเลอก็ ใจ(รตอ ่อยกลาะรบ8ร4ิก.6า)รแสลาะธกาารรณบะรทกิ าี่รรัฐสาธารณสุขและ ศนูแลยะอทนอ้ามงถัย่ิน(จรอดั ยใหล ้ะ 83.3) แผนภูมิ จ รอยละของประชาชน จาํ แนกตามความพึงพอใจตอ การบริการสาธารณะทีร่ ฐั และทองถ่นิ จัดให ปรรอ1ะ0ยช0ละาชน 7.2 01..91 4.1 02..65 11.7 02..48 6.2 30..68 2.5 80 3.5 4.8 9.0 13..57 ยงั ไมม ีบริการน้ี 60 62.1 58 .7 59.1 57.8 60.4 ไมม คี วามเหน็ 40 90.8 89.3 ไมพ อใจเลย 85.1 84.6 83.3 ไมคอยพอใจ คอนขางพอใจ 20 28.7 30.6 พอใจมาก 26.0 26.8 22.9 0 โรงเรียน ถนน ศนู ยเดก็ เลก็ สาธารณสขุ ฯ ไฟฟา 6. ความคิดเหน็ และประสบการณเ์ กี่ยวกับการคอร์รัปชนั เมื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนต่อคำกล่าวที่ว่า “บางคร้ังการคอร์รัปชัน ในรัฐบาลก็มีความจำเป็นเพ่ือให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้” นั้น พบว่า มีผู้ท่ีไม่เห็นด้วย ร้อยละ 75.8 (โดยระบุว่าไม่เห็นด้วยเลย ร้อยละ 55.4 และไม่ค่อยเห็นด้วย ร้อยละ 20.4) ส่วนผู้ท่ีเห็น ด้วย ร้อยละ 11.5 (ระบุว่าค่อนข้างเห็นด้วย ร้อยละ 10.1 และเห็นด้วยมากที่สุด มีเพียงร้อยละ 1.4) อกี ร้อยละ 12.7 ไมม่ ีความคดิ เห็นในเร่อื งน้ี ส่วนความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับการคอร์รัปชันและการรับสินบนในการปกครอง ส่วนท้องถิ่น พบว่า ประชาชนร้อยละ 60.7 ระบุว่ามีการคอร์รัปชันและรับสินบนในการปกครอง ส่วนท้องถิ่น (โดยมีผู้ที่เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีบางคนคอร์รัปชัน ร้อยละ 48.3 เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ คอร์รัปชนั รอ้ ยละ 9.5 และเจ้าหน้าท่คี อรร์ ปั ชนั เกือบทุกคน รอ้ ยละ 2.9) และผู้ที่ระบุว่าแทบจะ ไมม่ ใี ครเกีย่ วขอ้ งกบั การคอรร์ ปั ชนั มีร้อยละ 15.5 และไม่มคี วามคดิ เห็น ร้อยละ 23.8 สำหรับความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับการคอร์รัปชันและการรับสินบนใน การปกครองระดับประเทศ พบว่า ประชาชน ร้อยละ 70.0 ระบุว่ามีการคอร์รัปชันและ การรับสินบนในการปกครองระดับประเทศ (โดยผู้ท่ีเห็นว่าเจ้าหน้าท่ีบางคนคอร์รัปชัน ร้อยละ 53.4 เจ้าหน้าท่ีส่วนใหญ่คอร์รัปชัน ร้อยละ 13.1 เจ้าหน้าที่คอร์รัปชันเกือบทุกคน ร้อยละ 3.5) ส่วนผู้ที่ระบุว่าแทบจะไม่มีใครเกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชัน มีเพียงร้อยละ 8.8 และอีกร้อยละ 21.2 ไมม่ ีความคดิ เห็น  สถาบันพระปกเกล้า

ความเช่ือม่ัน 1 บทท่ี ต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจ ต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ. 2560 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 บทนำ



บทท่ี 1 บทนำ 1.1 หลกั การและเหตุผล การให้บริการสาธารณะของภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีประสิทธิภาพ หรือไม่เพียงใดผู้ที่ให้คำตอบได้ดีที่สุด คือ ประชาชนผู้รับบริการ ดังน้ัน การวัดระดับของ การให้บริการสาธารณะของหน่วยงานภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit) อย่างเป็นระบบ จึงเป็นเร่ืองสำคัญอย่างย่ิง ต่อการยกระดับการให้บริการสาธารณะเพื่อให้บริการดังกล่าวมีคุณภาพตรงตามความต้องการ ของประชาชนและสามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้อย่างตรงจุดและมีประสิทธิภาพ นอกจากน ้ี ยังเป็นการสร้างกระบวนการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการให้บริการสาธารณะอย่างเป็น ระบบและเปน็ รปู ธรรม สถาบันพระปกเกล้า ในฐานะสถาบันวิชาการซึ่งมีพันธกิจค้นคว้าวิจัยปัญหาและ แนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างมีระบบ ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้ขอ ความร่วมมือกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติดำเนินการ สำรวจความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่างๆ สำหรับใช้เป็น ข้อมูลทางวิชาการประกอบการจัดทำโครงการวัดระดับการให้บริการของหน่วยงานของรัฐและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit) อันจะนำไปสู่การนำเสนอแนวทางสำหรับผู้กำหนดนโยบายจะได้นำไปใช้พัฒนาการจัดบริการ สาธารณะให้มีคุณภาพ และสนองตอบต่อความต้องการของประชาชนทุกกลุ่มในสังคมไทยยิ่งข้ึน ต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ 1. ทราบความคิดเห็นและระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการสาธารณะ และการทำงานของหนว่ ยงานต่างๆ 2. เพ่ือได้ข้อมูลผลการสำรวจสำหรับนำไปใช้ประกอบการวัดระดับการให้บริการ ของหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยกระบวนการ การมสี ่วนรว่ มของประชาชน (People’s Audit) 3. เพ่ือนำเสนอความคิดเห็นของประชาชนต่อผู้เกี่ยวข้องสำหรับนำไปใช้ พัฒนาการจัดบริการสาธารณะให้มีคุณภาพ และสนองตอบต่อความต้องการ ของประชาชน 11 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเช่ือม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 1.3 คมุ้ รวมของประชากร ตามกรอบการศึกษากำหนดให้สำรวจประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไปในครัวเรือน ส่วนบุคคลทั่วประเทศ การสำรวจครั้งน้ีไม่รวมผู้ท่ีอาศัยอยู่ในครัวเรือนคนงานที่มีคนงาน มาอาศัยอยู่รวมกันในสถานที่ท่ีนายจ้างจัดหาให้โดยไม่เสียค่าท่ีพัก รวมท้ังผู้ท่ีอาศัยอยู่ใน ครัวเรือนสถาบนั เช่น เรือนจำ คา่ ยทหาร โรงแรม วัด หอพักนักเรยี นนกั ศึกษา เปน็ ตน้ 1.4 ชว่ งเวลาการปฏิบตั ิงานเกบ็ รวบรวมข้อมูล ปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลการศึกษา ระหว่างวันท่ี 24 เมษายน - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 1.5 การเสนอผล เสนอผลการสำรวจในระดับ ภาค ทั่วประเทศ และจังหวัด ในรูปของค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) เพื่อวิเคราะห์หาระดับความคิดเห็นและความพึงพอใจของ ประชาชนในแต่ละข้อถามท่ีได้ทำการสัมภาษณ์และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เพ่อื ดกู ารกระจายของขอ้ มูล ในการกำหนดคะแนนของการวัดและเกณฑ์ระดบั ความคิดเห็นและความพงึ พอใจของ ประชาชนนน้ั ได้ใชต้ ามแนวทางของลิเคริ ์ท (Likert) โดยกำหนด ดงั น ้ี 1. เกณฑ์ระดบั ความพึงพอใจของประชาชน (คะแนนเต็ม 4 คะแนน) คะแนนเฉลย่ี ระดับความพึงพอใจของประชาชน 3.50 – 4.00 พอใจมาก 2.50 – 3.49 คอ่ นขา้ งพอใจ 1.50 – 2.49 ไม่ค่อยพอใจ 1.00 – 1.49 ไม่พอใจเลย 2. เกณฑร์ ะดบั ความเช่อื มน่ั ของประชาชน 4 ระดับ (คะแนนเตม็ 4 คะแนน) คะแนนเฉลีย่ ระดบั ความเชื่อมั่นของประชาชน 3.50 – 4.00 เชือ่ มัน่ มาก 2.50 – 3.49 1.50 – 2.49 คอ่ นข้างเช่อื มัน่ 1.00 – 1.49 ไมค่ อ่ ยเชือ่ มน่ั ไมเ่ ชือ่ มั่น 12 สถาบันพระปกเกล้า

ความเช่ือม่ัน 2 บทที่ ต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจ ต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ. 2560 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 ระเบียบวิธีสถิติ



บทท่ี 2 ระเบียบวธิ สี ถติ ิ 2.1 แผนการสุ่มตวั อยา่ ง การสำรวจด้วยตัวอย่างครั้งนี้ ใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ Stratified Three – Stage Sampling โดยกำหนดให้เขตแจงนับ (EA) เป็นหน่วยตัวอย่างขั้นท่ีหน่ึง ครัวเรือนส่วนบุคคล ท่ีมีสมาชิกอายุ 18 ปีข้ึนไปเป็นหน่วยตัวอย่างข้ันที่สอง และสมาชิกที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป เปน็ หน่วยตวั อยา่ งข้นั ท่ีสาม 2.1.1 การจดั สตราตมั กำหนดให้กรุงเทพมหานคร และจังหวัด 76 จังหวัดเป็นสตราตัม รวมท้ังสิ้น 77 จังหวัด 2.1.2 ขนาดตวั อยา่ ง ในการคำนวณขนาดตัวอย่างแต่ละสตราตัม ได้กำหนดให้ขนาดความ คลาดเคล่ือนจากการเลือกตัวอย่างไม่เกิน 10% ท่ีระดับความเช่ือม่ัน 95% และพิจารณาร่วมกับ ทรัพยากรให้มีความเหมาะสมได้จำนวนประชาชนท่ีมีอายุ 18 ปีขึ้นไป ตัวอย่างจังหวัดละ 420 คน และกรุงเทพมหานคร 1,500 คน รวมท่ัวประเทศ ท้ังสิ้น 33,420 คน จำแนกตามภาค ไดด้ ังน ้ี ภาค EA ตัวอย่าง ตัวอยา่ งประชาชนอายุ 18 ปีข้นึ ไป 1. กรุงเทพมหานคร 70 1,500 2. ภาคกลาง (ยกเวน้ กทม.) 875 10,500 3. ภาคเหนือ 595 7,140 4. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 700 8,400 5. ภาคใต้ 490 5,880 รวมทว่ั ประเทศ 33,420 2,730 หมายเหตุ กำหนดจำนวนประชาชนอายุ 18 ปขี ้ึนไป ตวั อยา่ ง 15 คนต่อ EA ตัวอย่าง 15 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 2.2 วิธีการเลอื กหนว่ ยตัวอย่าง การเลอื กตัวอย่างขั้นทีห่ น่ึง กำหนดให้ EA เป็นหน่วยตัวอย่างขั้นท่ีหน่ึง โดยในแต่ละสตราตัมได้ทำการเลือก EA ตัวอย่าง อย่างอิสระต่อกัน โดยให้ความน่าจะเป็นในการเลือกเป็นปฏิภาคกับจำนวน ครัวเรอื นของ EA น้ันๆ การเลอื กตัวอยา่ งขั้นท่สี อง ในข้ันนี้ กำหนดให้ในแต่ละ EA ตัวอย่างได้ทำการเลือกครัวเรือนส่วนบุคคล ท่ีมีสมาชิกอายุ 18 ปีขึ้นไป ตัวอย่าง อย่างอิสระต่อกัน ด้วยวิธีการสุ่มแบบมีระบบ EA ละ 15 ครวั เรือน การเลอื กตัวอย่างขน้ั ทส่ี าม ในแตล่ ะครวั เรอื นตวั อยา่ ง ไดท้ ำการเลอื กสมาชกิ ในครวั เรอื นทม่ี อี ายุ 18 ปขี นึ้ ไป ครวั เรอื นละ 1 คน เพอ่ื ทำการสมั ภาษณใ์ นรายละเอยี ด 2.3 เครอื่ งมือการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบในการสำรวจ ซึ่งแบบสอบถามประกอบด้วย ข้อคำถาม 9 ตอน ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ตอนท่ี 2 ส่ือที่ใช้ในการติดตาม ทางการเมือง ตอนที่ 3 ความคิดเห็นต่อรัฐบาล ตอนท่ี 4 ความเชื่อม่ันต่อการทำงานของ คณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงาน ตอนท่ี 5 ความเช่ือม่ันต่อการทำงานขององค์กรอิสระ ตอนที่ 6 ความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะท่ีรัฐและท้องถิ่นจัดให้กับประชาชน ตอนที่ 7 ความคิดเห็นและประสบการณ์เก่ียวกับการคอร์รัปชัน ตอนที่ 8 การบริการสาธารณะ และ ตอนที่ 9 การเปน็ สมาชิกกลุ่ม ชมรม สมาคมตา่ งๆ 2.4 วิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล สำหรับวิธีการเก็บข้อมูลตามแบบสอบถามด้วยวิธีการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 18 ปขี ้นึ ไป โดยให้กระจายตามเพศ อายุ และระดบั การศึกษา 2.5 การประมาณคา่ สถิติ การคำนวณค่าประมาณร้อยละของประชากรท่ีต้องการศึกษา ได้คำนวณโดยวิธีการ ถ่วงนำ้ หนกั ท่ีถกู ปรบั ด้วยอัตราการไม่ตอบแบบสอบถาม โดยการคำนวณคา่ ประมาณรอ้ ยละ 16 สถาบันพระปกเกล้า

ความเชื่อม่ัน ต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจ ต่อการบริการสาธารณะ พ.ศ. 2560 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 สรุป 3 บทที่ ผลการสำรวจ



บทท่ี 3 สรปุ ผลการสำรวจ 3.1 ลกั ษณะพืน้ ฐานทางสงั คม และเศรษฐกิจ เพศและอาย ุ ผู้ตอบสัมภาษณ์เป็นชาย ร้อยละ 49.2 และหญิง ร้อยละ 50.8 เมื่อพิจารณาอายุ พบว่า เป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 18 – 29 ปี ร้อยละ 13.5 เป็นผู้ท่ีมีอายุระหว่าง 30 – 39 ปี ร้อยละ 18.1 เป็นผู้ท่ีมีอายุระหว่าง 40 - 49 ปี ร้อยละ 24.2 เป็นผู้ท่ีมีอายุระหว่าง 50 – 59 ปี ร้อยละ 24.5 สว่ นผูท้ ่ีมีอายุ 60 ปีขนึ้ ไป ร้อยละ 19.7 ตาราง 3.1 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามเพศและอาย ุ เพศและอายุ รอ้ ยละ เพศ 100.0 ชาย 49.2 หญงิ 50.8 อาย ุ 100.0 18 – 29 ป ี 13.5 30 – 39 ปี 18.1 40 – 49 ป ี 24.2 50 – 59 ปี 24.5 60 ป-ี ขึน้ ไป 19.7 ระดับการศกึ ษา ส่วนระดับการศึกษาน้ัน พบว่า ผู้ตอบสัมภาษณ์ไม่ได้รับการศึกษา ร้อยละ 2.6 ระดับ ประถมศึกษา ร้อยละ 44.5 มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 16.6 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ร้อยละ 17.9 อนุปริญญา/ปวส./ปวท. หรือเทียบเท่า ร้อยละ 5.7 ปริญญาตรี ร้อยละ 11.5 สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี ร้อยละ 1.2 และอนื่ ๆ รอ้ ยละ 2.6 19 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 ตาราง 3.2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามระดับการศกึ ษา เพศและอายุ รอ้ ยละ รวม 100.0 ไม่ไดร้ บั การศกึ ษา 2.6 ประถมศกึ ษา 44.5 มธั ยมศึกษาตอนต้น 16.6 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. 17.9 อนปุ รญิ ญา/ปวส./ปวท.หรอื เทยี บเทา่ 5.7 ปรญิ ญาตร ี 11.5 สูงกว่าปริญญาตรี 1.2 อืน่ ๆ 2.6 หมายเหตุ : ... มคี า่ นอ้ ยกวา่ 0.05 อาชพี อาชีพของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า ไม่ได้ทำงาน/ว่างงาน ร้อยละ 3.3 นักเรียน/นิสิต/ นักศึกษา ร้อยละ 3.4 ข้าราชการบำนาญ ร้อยละ 1.6 แม่บ้าน ร้อยละ 12.1 เกษตรกร ร้อยละ 21.8 รับจ้างเอางานมาทำท่ีบ้าน ร้อยละ 0.9 ค้าขายเล็กๆ น้อยๆ ร้อยละ 14.2 รับจ้างท่ัวไป/ คนงาน ร้อยละ 10.7 พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน ร้อยละ 16.7 รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ/ องค์กรของรัฐ ร้อยละ 7.1 ทำงานองค์กรเอกชน (NGOs) ร้อยละ 0.1 เจ้าของกิจการร้านค้า/ ธุรกิจขนาดกลาง ร้อยละ 7.7 และผู้ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ ร้อยละ 0.1 ส่วนผู้ที่ประกอบ อาชพี อน่ื ๆ รอ้ ยละ 0.3 ตาราง 3.3 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามอาชีพ เพศและอาย ุ ร้อยละ รวม 100.0 ไม่ไดท้ ำงาน/วา่ งงาน 3.3 นักเรียน นสิ ิต นกั ศกึ ษา 3.4 ข้าราชการบำนาญ 1.6 แมบ่ ้าน 12.1 20 สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ช่ื อ มั่ น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 เพศและอายุ รอ้ ยละ เกษตรกร 21.8 รับจา้ งเอางานมาทำทบ่ี า้ น 0.9 คา้ ขายเล็กๆ นอ้ ยๆ 14.2 รับจ้างทวั่ ไป/คนงาน 10.7 พนกั งาน/ลูกจา้ งบรษิ ทั เอกชน 16.7 รับราชการ/รฐั วสิ าหกจิ /องคก์ รของรฐั 7.1 ทำงานองคก์ รเอกชน (NGOs) 0.1 เจ้าของกจิ การรา้ นค้า/ธรุ กิจขนาดกลาง 7.7 ประกอบธรุ กิจขนาดใหญ ่ 0.1 อืน่ ๆ 0.3 หมายเหตุ : ... มคี า่ น้อยกวา่ 0.05 สถานภาพสมรส สำหรับสถานภาพสมรสของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า เป็นโสดไม่เคยแต่งงาน ร้อยละ 18.5 ผู้ที่แต่งงานแล้วและอยู่ด้วยกัน ร้อยละ 66.7 เคยแต่งงานแต่ปัจจุบันแยกกันอยู่ รอ้ ยละ 1.9 หยา่ รอ้ ยละ 2.5 หมา้ ย รอ้ ยละ 7.5 และผ้ทู ีอ่ ยู่ดว้ ยกันโดยไม่แตง่ งาน ร้อยละ 2.9 ตาราง 3.4 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามสถานภาพสมรส สถานภาพสมรส รอ้ ยละ รวม 100.0 โสด ไมเ่ คยแต่งงาน 18.5 แต่งงานแล้วและอยู่ดว้ ยกัน 66.7 เคยแต่งงานแต่ปจั จบุ ันแยกกันอย่ ู 1.9 หยา่ 2.5 หมา้ ย 7.5 อยดู่ ้วยกนั โดยไมแ่ ตง่ งาน 2.9 หมายเหตุ : ... มคี า่ น้อยกว่า 0.05 21 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเช่ือมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 รายไดข้ องครัวเรือนเฉลีย่ ตอ่ เดอื น รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ พบว่า มีการกระจายดังนี้ ไม่มีรายได้ ร้อยละ 4.1 รายได้น้อยกว่า 3,001 บาท ร้อยละ 8.5 รายได้ระหว่าง 3,001 - 5,000 บาท ร้อยละ 13.7 รายได้ระหว่าง 5,001 - 7,000 บาท ร้อยละ 15.3 รายได้ระหว่าง 7,001 - 10,000 บาท ร้อยละ 19.3 รายได้ระหว่าง 10,001 - 15,000 บาท ร้อยละ 18.5 รายได้ระหว่าง 15,001 - 20,000 บาท ร้อยละ 10.2 รายได้ระหว่าง 20,001 - 25,000 บาท ร้อยละ 4.5 และ รายได้มากกว่า 25,000 บาท ร้อยละ 5.9 ตาราง 3.5 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามรายได้เฉลีย่ ตอ่ เดือน รายได้เฉลี่ยตอ่ เดือน ร้อยละ รวม 100.0 ไมม่ รี ายได้ 4.1 น้อยกว่า 3,001 บาท 8.5 3,001 - 5,000 บาท 13.7 5,001 - 7,000 บาท 15.3 7,001 - 10,000 บาท 19.3 10,001 - 15,000 บาท 18.5 15,001 - 20,000 บาท 10.2 20,001 - 25,000 บาท 4.5 มากกวา่ 25,000 บาท 5.9 หมายเหตุ : ... มคี า่ นอ้ ยกวา่ 0.05 22 สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 3.2 การติดตามทางการเมอื ง 3.2.1 การทราบขา่ วสารทางการเมือง ส่วนให ญ ่ ร้อ ยละผล8ก0า.2รสรำะรบวุวจ่าเเกค่ียยวทกรับากบาขร่าเ1วค3สยาทรรมาบีร้อขย่าวลสะา1ร9ท.า8งรกะาบรเุวม่าือไมง่เพคยบทว่าราปบรขะ่าชวาสชานร 3.2 กโาดรตยดิผตู้ทา่ีเมคทยาทงรกาบรเขม่าือวงสารระบุว่า ทราบจากสื่อโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) มากที่สุด (ร้อยละ 86.0) 3ร.อ2.ง1ลงกมาารทครือาบพขูดา ควุยสการับทบาุคงกคาลรอเม่ืนอื (งร้อยละ 28.2) เคเบ้ิลทีวี/จานดาวเทียม (ร้อยละ 15.0) อินเทอผลร์กเนาร็ตสํา(รรว้อจยเกลยี่ ะวก1บั 4ก.า5รเ)คหยทนรังาสบือขาพวิมสาพร์ ท(รา้งอกยารลเะมอื 1ง4พ.บ2ว) า วปิทรยะุทชา่ัวชไนปสว (นร้ใอหยญล ระอย6ล.6ะ)8 0.2 ระบวุ าหเคอยกทรระาจบาขยา ขว่าสวาร(รม้อรี ยอ ลยะละ5.139).8วิทระยบุชวุมา ชไมนเ ค(รย้อทยรลาบะข0า.ว9ส)านริตโดยยสผาูทร/่เี ควยาทรสราบรข(ารว้อสยาลระระ0บ.วุ3า) ทแรลาะบจาก สอ่ื โทรอทื่นศั ๆน เ(ชฟ่รนที สีวี)ถมาานกศทึกีส่ ดุษา(รอตยัวลอะัก8ษ6ร.0ว)ิ่งรตอางลมงสมถาาคนอื ทพี่ตดู ่าคงุยๆกับหบนคุ ่วคยลงอาน่ื น(รตอ้นยสลังะก2ัด8.ก2)ารเคปเบริ้ะลทชุีวมี/จ าน ดาวเท(รีย้อมย(ลระอย0ล.1ะ) 1ต5า.ม0ล) ำอดินบั เท อรเน็ต (รอยละ 14.5) หนังสือพิมพ (รอยละ 14.2) วิทยุทั่วไป (รอยละ 6.6) หอกระจายขาว (รอยละ 5.3) วิทยุชุมชน (รอยละ 0.9) นิตยสาร/วารสาร (รอยละ 0.3) และอ่ืนๆ เชน สถานศแกึผษนาภตูมวั ิ อ3กั.1ษรวริ่งอตยาลมะสขถอานงทป่ตีราะงชๆาหชนนวยจงําานแตนน กสตังากมดั กกาารรเปครยะทชรุมา(บรขอ ยาลวะสา0ร.1ท)าตงากมาลราํ เดมบั ือง และ สื่อทแี่ทผรนาภบูม ิ 3.1 รอ ยละของประชาชน จําแนกตามการเคยทราบขาวสารทางการเมอื ง และส่อื ทท่ี ราบ การเคยทราบขาวสารทางการเมือง แหลง สอื่ 1/ รอยละ  โทรทศั น (ฟรที วี )ี 86.0  พดู คุยกบั บุคคลอ่ืน 28.2  เคเบ้ิลทวี /ี จานดาวเทียม 15.0  อนิ เทอรเ นต็ 14.5 19ไม.8เ ค%ย เคย  หนงั สือพมิ พ 14.2 80.2 %  วทิ ยุทว่ั ไป 6.6  หอกระจายขา ว 5.3  วิทยุชุมชน 0.9  อนห่นืิตมๆยาสย(เาเหชรตน/ุว:าส1รถ/สาตานอรศบึกไษดมาาตกักวอวาักษ1รควําง่ิ ตฯอ)บ 0.3  0.1 หมายเหตุ : 1/ ตอบไดมากกวา 1 คาํ ตอบ พแ4ไตม4ลดิบไ.ตะ5วดแาาตตม2หสรรทิดมิดอ้้อข8มื่อบตีผตยาาย.หา1จตูยวาลลมนะเสดิมะสหะเไั างตกเทลัปตมมรส6า0าย ุกุไดทื่อมร6ื:อ.ดว 5ตราา1ส.สพัน5ตอหง/ดิ อปัสิมิกดยต์ลตแรบดำาตพลาอะอลาหถรมาะบ์คเหยะเารพมมขมไรเลลม1ับดดื่อาือบั้ง.ะะมปม้ว3หลสงวีารรสรม22ินนอ่าก้ออะา7าบิวังก–รยยชกม.สสว9กถาลลท3ีผ่าือ์าาชะะรสีสู่้ตรพม1วนอ้ ัปุดเิดัน1ปิมมยคเ8ดก8ตคพรำือล.ราี่.ยต2าะอืงะ5อ์ทหอวมทชยแี่ปไลบก2แาสาทลละร 3ับลงชัปะยะะคว.ะนค9รดิไทชร4แวเัฐ มาั้ง4ายกาทไหรช.ุที่ยมดร7บอ์นลว่ัวถอตจยตไกะต่ีใยิดปะลดินับิดลตไ2ะมตกคตะมาีผาา6–มวา่ไมู1รรด6มาเะต4ท3.ล้มตข5บ.ิดุกย1ิดถ่าวุวตแว่ีใตวันแราัลนานสาตอลมะกมราิดรยะเข้ราอดอตลแามรทยลยาทะวตีราินมลลสบ้อิดง0ขิวะะาจยกต.สาร5ะลา42าวทรรไมะส84สามอเ.าข.ํามง18ไ7ยร่าหกดือ.ลว2สสตาตรงะสัปรับัปิิดดมแาเ2ดหดตตามลร3ากาานาืะอท.หหม9ทมัไงงาลมลสจ่ีสทงมะะ่ไืาอกุดุกีรดคกพา2อว้ตรคสริมัยนั้งิด–ืเอ่ือพลมตหร3ระือทไาอ้อนทวงี่ปมย1ยังันจยเร2ลสลลาระ.ะรือ2กัฐะยชอพ1าแยิม8ชลล.พนะ5ะ ประเทศไทย สําหรับสถานีวิทยุท่ีมีผูติดตามขาวสารทางการเมืองมากที่สุด คือ สถานีวิทยุกระจายเสียงแหง รอยละ 43.0 และสถานีวิทยุของ อสมท. รอ ยละ 18.1 สว นการติดตามขาวสารการเมืองทางวทิ ยชุ มุ ชน พบวา ผูติดตามขาวสาร สัปดาหละ 2 – 3 วัน ม2ี 3 รอ ยละ 27.5 ตดิ ตามทกุ วัน รอยละ 22.2 สัปดาหละคร้งั รอยละ 7.4 แทบจะไมไดตขิด้อตมูลารมะดมับีรภอาคยลและะท4่ัว0ร.า0ชแอาลณะาจักร ไมไ ดติดตามเลย รอยละ 2.9

ค ว ามเชื่อม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 การติดตามข่าวสารการเมืองทางวิทยุท่ัวไปมีผู้ระบุว่าติดตามข่าวสาร สัปดาห์ละ 2 – 3 วัน ร้อยละ 44.5 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 27.9 สัปดาห์ละคร้ัง ร้อยละ 14.1 และแทบจะไม่ได้ติดตาม มรี ้อยละ 12.2 และไม่ไดต้ ิดตามเลย รอ้ ยละ 1.3 สำหรับสถานีวิทยุท่ีมีผู้ติดตามข่าวสารทางการเมืองมากที่สุด คือ สถานีวิทยุ กระจายเสียงแหง่ ประเทศไทย รอ้ ยละ 43.0 และสถานีวทิ ยขุ อง อสมท. รอ้ ยละ 18.1 ส่วนการติดตามข่าวสารการเมืองทางวิทยุชุมชน พบว่า ผู้ติดตามข่าวสาร สัปดาห์ละ 2 – 3 วัน มีร้อยละ 27.5 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 22.2 สัปดาห์ละคร้ัง ร้อยละ 7.4 แทบจะไมไ่ ด้ติดตาม มีรอ้ ยละ 40.0 และไมไ่ ด้ตดิ ตามเลย รอ้ ยละ 2.9 สำหรับการติดตามข่าวสารการเมืองทางโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) นั้น พบว่า มีผู้ระบุว่า ได้ติดตามข่าวสารการเมืองสัปดาห์ละ 2 – 3 วัน ร้อยละ 44.4 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 31.2 สัปดาห์ละคร้ัง ร้อยละ 13.1 และแทบจะไม่ได้ติดตาม ร้อยละ 10.5 และไม่ได้ติดตามเลย มีเพียงร้อยละ 0.8 สำหรับสถานีโทรทัศน์ที่มีผู้ติดตามข่าวสารการเมืองมากที่สุด คือ สถานีโทรทศั น์ ชอ่ ง 7 ร้อยละ 37.9 และสถานโี ทรทัศน์ ชอ่ ง 3 ร้อยละ 37.5 การติดตามข่าวสารการเมืองทางเคเบ้ิลทีวี มีผู้ระบุว่าติดตามข่าวสาร สัปดาห์ละ 2 – 3 วัน ร้อยละ 43.0 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 35.7 สัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 9.9 และแทบจะไม่ได้ติดตาม มีร้อยละ 10.5 และไม่ได้ติดตามเลย มีเพียงร้อยละ 0.9 สำหรับ สถานีเคเบิ้ลทีวีที่มีผู้ติดตามข่าวสารทางการเมืองมากท่ีสุด คือ WORKPOINT TV ร้อยละ 19.5 THAIRATH TV ร้อยละ 19.1 และ AMARIN TV รอ้ ยละ 13.1 การติดตามข่าวสารการเมืองทางอินเทอร์เน็ต พบว่า มีผู้ระบุว่าได้ติดตาม ข่าวสารการเมืองสัปดาห์ละ 2 – 3 วัน ร้อยละ 41.1 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 36.9 สัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 11.1 และแทบจะไม่ได้ติดตาม ร้อยละ 10.0 และไม่ได้ติดตามเลย มีเพียงร้อยละ 0.9 สำหรับเว็บไซต์ท่ีมีผู้ติดตามค้นหาข่าวสารการเมืองมากที่สุด คือ WWW.GOOGLE.COM ร้อยละ 37.3 รองลงมา WWW.THAIRATH.CO.TH ร้อยละ 19.9 และ WWW.SANOOK.COM ร้อยละ 13.5 24 สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ชื่ อ ม่ั น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 ตาราง 3.6 ร้อยละของประชาชนท่ีเคยทราบข่าวสารทางการเมือง จำแนกตาม ความถใี่ นการติดตามจากแหล่งสือ่ ความถใ่ี นการติดตาม สอ่ื รวม ทุกวัน สัปดาห์ละ สัปดาห์ละ แทบจะไม่ ไม่ได้ 2 – 3 วัน ครัง้ ได้ติดตาม ตดิ ตามเลย หนังสือพิมพ ์ วทิ ยทุ ั่วไป 100.0 28.1 44.7 18.5 8.2 0.5 วทิ ยุชมุ ชน โทรทัศน์ (ฟรีทวี )ี 100.0 27.9 44.5 14.1 12.2 1.3 เคเบล้ิ ทีวี อินเทอรเ์ น็ต 100.0 22.2 27.5 7.4 40.0 2.9 100.0 31.2 44.4 13.1 10.5 0.8 100.0 35.7 43.0 9.9 10.5 0.9 100.0 36.9 41.1 11.1 10.0 0.9 3.2.2 การเป็นสมาชิกเครือข่ายสังคมออนไลน์ และจำนวนช่ัวโมงที่ใช้ สื่อสารทางอนิ เทอร์เน็ต ประชาชนที่เคยรับฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมืองทางอินเตอร์เน็ต ส่วนใหญ่ร้อยละ 91.2 เป็นสมาชิกเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีร้อยละ 8.8 ไม่เป็นสมาชิก เครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ส่วนผู้ที่เป็นสมาชิกเครือสังคมออนไลน์ ร้อยละ 96.4 ระบุว่าใช้วิธีการติดต่อ สื่อสารผ่านทาง Facebook มากที่สุด รองลงมา คือ line ร้อยละ 93.0 อินสตาร์แกรม รอ้ ยละ 22.8 twitter รอ้ ยละ 3.8 Skype ร้อยละ 0.3 และอืน่ ๆ เช่น Hi5 ร้อยละ 0.1 สำหรับประชาชนที่เคยรับฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมืองทาง อนิ เตอรเ์ น็ตจะใชเ้ วลาโดยเฉล่ยี ประมาณ 3.0 ช่ัวโมงต่อวนั ในการสอ่ื สารทางอินเทอรเ์ น็ต 25 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเช่ือม่ันต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 ตาราง 3.7 ร้อยละของประชาชนที่เคยรับฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารการเมืองและ ตดิ ตามขา่ วสารทางอนิ เตอรเ์ นต็ จำแนกตามการเปน็ สมาชกิ เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ การเปน็ สมาชิกเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน ์ ร้อยละ รวม 100.0 ø ไมเ่ ปน็ 8.8 ø เป็น 91.2 โดยใช้วธิ กี ารตดิ ต่อ 1/ ø Facebook 96.4 ø Line 93.0 ø อนิ สตารแ์ กรม 22.8 ø twitter 3.8 ø Hi5 0.3 ø ไม่ระบุ 0.1 ø จำนวนชั่วโมงเฉลย่ี ต่อวนั ทใ่ี ช้สื่อสารทางอนิ เทอร์เน็ต 2.94 หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ 3.3 การตดิ ตามการทำงานของรฐั บาล พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 66.8 ระบุว่าติดตามการทำงานของรัฐบาล เป็นบางคร้ังบางคราว และร้อยละ 15.8 ระบุว่าติดตามเป็นประจำ อีกร้อยละ 17.4 ระบุว่า ไมไ่ ดต้ ดิ ตาม ตาราง 3.8 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการติดตามการทำงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา การตดิ ตาม รอ้ ยละ การปฏิบัตงิ านของรฐั บาล 100.0 ตดิ ตามเป็นประจำ 15.8 ติดตามเป็นบางคร้ังบางคราว 66.8 ไม่ได้ติดตาม 17.4 26 สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 3.4 การทราบและความพงึ พอใจต่อนโยบายของรฐั บาล การทราบนโยบายของรัฐบาล การทราบเกยี่ วกบั นโยบายของรฐั บาล พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา พบวา่ ประชาชน ทราบนโยบายของรัฐบาลต้ังแต่ ร้อยละ 80.0 ขึ้นไป คือ การจัดการเร่ืองเบ้ียยังชีพ (ผู้สูงอายุ คนพิการ) (ร้อยละ 97.3) โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง/30 บาท รักษา ทุกโรค) (ร้อยละ 97.1) การควบคุมราคาสลากกินแบ่งรัฐบาล 80 บาท (ร้อยละ 95.6) การแก้ไข และป้องกันปัญหายาเสพติด อาวุธสงคราม มาเฟีย และผู้มีอิทธิพล (ร้อยละ 90.4) แก้ไขปัญหา สินค้าอุปโภค บริโภคราคาแพง (ร้อยละ 88.7) การปกป้องเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ (ร้อยละ 88.0) โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ (ร้อยละ 87.8) การสร้างความ ปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ (ร้อยละ 83.7) การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบในภาครัฐ (ร้อยละ 81.7) การรักษาความสงบภายในประเทศ (ร้อยละ 81.5) การสร้างสันติสุขและความปลอดภัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้และการช่วยเหลือเกษตรกร มสี ดั สว่ นของการทราบนโยบายในระดบั มากถงึ มากที่สุดในสัดสว่ นเทา่ กัน (รอ้ ยละ 80.6) ส่วนนโยบายของรัฐบาลที่ประชาชนทราบ ระหว่างร้อยละ 60.0 – 80.0 คือ การจัดระเบียบต่างด้าวและการปราบปรามการค้ามนุษย์ (ร้อยละ 79.6) การดำเนินการกองทุน หมู่บ้าน (ร้อยละ 76.3) การจัดระเบียบทางสังคม (ร้อยละ 76.1) การปฏิรูปการเมือง การร่างรัฐธรรมนญู (ร้อยละ 75.8) การแกไ้ ขปญั หาภัยธรรมชาติ น้ำท่วม ภยั แล้ง (รอ้ ยละ 75.2) แก้ไขปัญหาหน้ีนอกระบบ (ร้อยละ74.8) การบริหารจัดการพลังงานด้าน ราคาน้ำมัน แก๊ส (ร้อยละ 74.1) โครงการหน่ึงตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ OTOP (ร้อยละ 73.3) การแก้ไขปัญหา การบุกรุกท่ีดิน ป่าไม้ ทะเล (ร้อยละ 71.3) การจัดสรรที่ดินให้กับเกษตรกรที่ยังไม่มีท่ีดินทำกิน ที่อยู่อาศัย (ร้อยละ 63.9) โครงสร้างพ้ืนฐานระบบรางและขนส่งทางบก (ร้อยละ 60.6) และ การบริหารจัดการน้ำและระบบชลประทาน (ร้อยละ 60.2) สำหรับนโยบายของรัฐบาลที่ประชาชนทราบ ระหว่างร้อยละ 50.0 – 60.0 คือ ฟ้ืนฟูความสัมพันธ์และความร่วมมือกับต่างประเทศ (ร้อยละ 56.8) การแก้ไขปัญหาขยะของ ประเทศไทย (ร้อยละ 56.8) แนวนโยบายประชารัฐ (ร้อยละ 56.3) และการพัฒนาระบบ พรอ้ มเพย์ เพ่ิมขดี ความสามารถของประเทศ (ร้อยละ 50.9) นโยบายของรัฐบาลท่ีประชาชนทราบต่ำกว่า ร้อยละ 50.0 คือ การปรับปรุงวิธีการ จัดเก็บภาษี โครงสร้างภาษี (ร้อยละ 49.9) การขับเคล่ือนเศรษฐกิจดิจิตอล (ร้อยละ 42.6) การจัดทำยุทธศาสตรช์ าติ (รอ้ ยละ 37.2) และนโยบายไทยแลนด์ 4.0 (ร้อยละ 34.0) 27 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

และความรวมมือกับตางประเทศ (รอยละ 56.8) การแกไขปญหาขยะของประเทศไทย (รอยละ 56.8) คแลวแ5ะาส0นมร.เุวป9ชนื่ผอ) ลโมยั่กนบาตร่าอสยสำรปถวารจบะันพชต.า่าศงร. ๆัฐ2 แ(รล อะ คยวลา มะพึ5ง พ6.อ3ใ)จ ตแ่อลกะากรบารริกพาฒั รสนาธาารระณบะบพพ.ศร.อม25เพ60ย  เพ่ิมขีดความสารถของประเทศ (รอยละ 545-2560 นโยบายของรัฐบาลที่ประชาชนทราบตํ่ากวา รอยละ 50.0 คือ การปรับปรุงวิธีการจัดเก็บภาษี โครงสรางภาษี (รอยละ 49.9) การขับเคล่ือนเศรษฐกิจดิจิตอล (รอยละ 42.6) การจัดทํายุทธศาสตรชาติ (รอยลแะผ3น7ภ.2)ูมแิ ล3ะ.น2โยรบ้อายยไลทะยแขลอนงดป 4ร.0ะช(ราอชยลนะ 3จ4ำ.แ0)นกตามการทราบนโยบายของรัฐบาล 5 อนั ดแบัผนแภรูมกิ 3 .2 รอ ยละของประชาชน จําแนกตามการทราบนโยบายของรฐั บาล 5 อันดบั แรก รอ ยละ 100 2.7 2.9 4.4 9.6 11.3 80 60 ไมท ราบ 97.3 97.1 95.6 40 90.4 88.7 ทราบ 20 0 การแกไขและปองกัน แกไ ขปญ หาสนิ คาอุปโภค นโยบาย การจัดการเร่ืองเบ้ยี ยงั ชพี โครงการหลักประกัน การควบคมุ ราคาสลาก (ผูสูงอายุ คนพิการ) สุขภาพถวนหนา กินแบง รฐั บาล 80 บาท ปญหายาเสพตดิ บรโิ ภคราคาแพง ความพึงพอใจต่อนโยบายของรฐั บาล สำหรับประชาชนท่ีทราบนโยบายของรัฐบาลมีความพึงพอใจ (ค่อนข้างพอใจถึงพอใจ มาก) ต่อนโยบายของรัฐบาล ที่ได้ดำเนินการ ต้ังแต่ร้อยละ 80.0 ขึ้นไป คือ การปกป้องเชิดชู สถาบันพระมหากษัตริย์ (ร้อยละ 97.2) การจัดการเร่ืองเบ้ียยังชีพ (ผู้สูงอายุ คนพิการ) (ร้อยละ 92.4) โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง/30 บาท รักษาทุกโรค) (ร้อยละ 92.0) แก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดิน ป่าไม้ ทะเล (ร้อยละ 89.7) การควบคุมราคา สลากกินแบ่งรัฐบาล 80 บาท (ร้อยละ 89.4) การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด และผู้มีอิทธิพล (ร้อยละ 88.1) การรักษาความสงบภายในประเทศ (ร้อยละ 87.9) โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ และการจัดระเบียบทางสังคมมีสัดส่วนของความพึงพอใจในระดับมากถึงมากที่สุดในสัดส่วน เท่ากัน (ร้อยละ 87.1) การจัดระเบียบต่างด้าวและการปราบปรามการค้ามนุษย์ (ร้อยละ 86.4) โครงสร้างพ้ืนฐานระบบรางและขนส่งทางบก (ร้อยละ 85.0) การป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ (ร้อยละ 83.5) แนวนโยบายประชารัฐ (ร้อยละ 82.5) การแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติ น้ำท่วม ภัยแล้ง (ร้อยละ 81.7) การดำเนินการกองทุนหมู่บ้าน (ร้อยละ 81.5) การจัดสรรที่ดินให้กับเกษตรกรที่ยังไม่มีที่ดินทำกิน ท่ีอยู่อาศัย และการบริหาร จัดการน้ำและระบบชลประทาน มีสัดส่วนของความพึงพอใจ (ค่อนข้างพอใจถึงพอใจมาก) ในสดั สว่ นเทา่ กนั (รอ้ ยละ 81.3) ส่วนประชาชนทม่ี คี วามพงึ พอใจ (คอ่ นขา้ งพอใจถึงพอใจมาก) ต่อนโยบายของรฐั บาล ต่ำกว่าร้อยละ 80.0 คือ การแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ และการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ 28 สถาบันพระปกเกล้า

(รอ ยละ 87.1) การจัดระเบียบตางดาวและการปราบปรามการคา มนุษย (รอ ยละ 86.4) โครงสรา งพื้นฐานระบบ รลาะงแ8ล3.ะ5ข)นแสนง วทนาโงยบบกาย(รปอ รยะลชะาร8ฐั 5(.0รอ) ยกลาระป8คอ2วงา.ก5มนัเ)ชกแื่อลามรั่ะนแตป่กอรไสาขถบปาปบญ ันรตหา่ามางกภๆาัยแรธลทระคุจรวรมาิตมชแพาึลงตพะิ แนปอลใํ้าระจสทะตรพ่วุอปมกฤผาลตรภกิมบัยาริรชแิกสอลาำบรรงสวใจาน(ธรภพาอร.ายศณค.ละร2ะพัฐ5.48ศ(51ร.-อ.227ย55)66 0 0 การดาํ เนินการกองทนุ หมบู าน (รอยละ 81.5) การจัดสรรที่ดินใหกับเกษตรกรท่ียังไมมีที่ดินทํากิน ท่ีอยูอาศัย และการบรหิ ารจัดการน้าํ และระบบชลประทาน มสี ัดสวนของความพึงพอใจ (คอนขางพอใจถึงพอใจมาก) ใน สดั สวขนอเทงาคกนันใน(รชอ ายตลิมะีสัด81ส.่ว3น) ความพอใจเท่ากัน (ร้อยละ 78.1) ส่วนแก้ไขปัญหาสินค้าอุปโภค บริโภค ราคาสแว พนปงแระลชะาฟช้ืนนฟทูค่มี วคี าวมามสพัมึงพพันอธใจ์แล(คะอคนวขาามงรพ่วอมใมจือถึงกพับอตใ่าจงมปารกะ) เตทอศนมโยีคบวาายมขพอองใรจัฐสบัดาสล่วตน่ําเทกว่าากรันอยละ 80.0 (ครือ้อยกลาะรแ7ก8ไข.0ป)ญกหาารหขนับี้นเคอลก่ือระนบเศบรแษลฐะกกิจาดริจสิตราองลคว(าร้มอปยรลอะงด7อ7ง.1ส)มกานารฉแันกท้ไขขอปงัญคนหใานขชยาะตขิมอีสงัด สวน ความพปอรใะจเเททศาไกทนั ย(ร(รอ ้อยยลละะ787.61.)7ส)ว กนาแรกจไ ัดขทปญำยหุทาธสศินาคสาตอรุป์ชโาภตคิ (บร้รอิโยภลคะรา7ค3า.1แ)พกงแารลพะฟัฒนนฟาูคระวาบมบสพัมรพ้อันมธและ ความรเพว มยม์ เือพก่ิมับขตีดาคงปวราะมเสทาศมมาีครวถาขมอพงอปใจรสะัดเทสศว น(เรท้อายกลนั ะ(ร7อ2ย.2ล)ะน7โ8ย.0บ)ากยาไรทขยบั แเคลลนอ่ื ดน์ 4เศ.0รษ(ฐรก้อจิยดลจิ ะิต6อ9ล.(9ร)อ ยละ 77.1)กกาารรปแฏกิรไขูปปกญาหรเามขือยะงขกอางรปรร่าะงเรทัฐศธไทรรยม(นรอูญยล(ระ้อ7ย6ล.7ะ) 6ก8าร.5จ)ัดกทาํ ยรุทปธรศับาปสรตุงรวชิธาีกตาิ (รรจอัดยลเกะ็บ7ภ3า.1ษ)ี การ พฒั นาโรคะรบงสบรพ้ารงอภมาเพษยี ( รเพ้อ่ิมยขลีดะค6ว8าม.2ส)าแรถลขะอกงาปรรบะรเิหทศาร(จรัดอยกลาระพ7ล2ัง.2งา) นนดโย้าบนารยาไคทายนแ้ำลมนันด แ4.ก0๊ส(ร(รอ้อยยลละะ69.9) การปฏ65ริ ปู.5ก)าใรนเมขือณงะกทาี่นรรโายงบราฐั ยธรขรอมงนรูญัฐบ(ารลอดยล้านะโ6ค8ร.5งก) ากราหรปนร่ึงับตปำรบุงลวหิธกีนา่ึงรผจลดั ิตเกภบ็ ัณภฑาษ์ แี โลคะรกงสาราชง่วภยาเษหีล(รืออยละ พ6โค8อร.ใ2งจ)กถ(เาแรกึงรอ้ลษพหะยตอนกลใร่ึงาจะกตรมรบ4าํ าบ3รปกหิ.ล9ร(หาะร)รนอชตจยึง่าาดั ผลชมกละนลาิตทำร5ภดพ่ี4ทัณบั.ลร0ฑัง า)งบแาแนลนลโะดะยาก(บนราาอรรยยชาขลวคอยะาเงน4หร้ํา3ลัฐม.อืบ9ันเ)ากลตแษคากตม่อสรลนกํา(ขรรด้าอับปงยรพละอะชใาจ6ชถ5นึง.5พท)ี่ทอใใรนจาขมบณานกะโทย(บร่ีน้อาโยยยบลขอะายง5รข4ัฐอ.บง0รา)ัฐลแบคลาอะลนดขาานง คแ แผวผรนาอนภมยลภมู พะิ ูม3ึง.พิ33รอฐัร.ใบอ3จยาตลลระอ5อขนออยงนัโลปยดระบับะแขชารายอกชขงนปอทงี่ทรรระัฐาชบบานาชโลยนบ5ทายี่ทขออรนั งารดบฐั บั บนแาโลรยกจบ ําาแยนกขตอามงครวัฐามบพาึงพลอใจจําตอแนนโยกบตายาขมอง 100 10..41 5.4 01..66 1.4 3.0 6.6 30..19 5.6 1.0 6.6 0.7 1.3 80 ไมมคี วามคดิ เหน็ 49.3 ไมพอใจเลย 60 52.9 54.7 60.4 56.5 40 97.2 92.4 92.0 89.7 89.4 ไมค อยพอใจ คอนขา งพอใจ 20 47.9 39.5 37.3 29.3 32.9 พอใจมาก 0 ความพงึ พอใจ การปกปอ งเชิดชูสถาบนั การจัดการเรื่องเบี้ยยงั ชพี โครงการหลกั ประกนั การแกไ ขปญ หาการบุกรกุ การควบคุมราคาสลาก พระมหากษตั ริย (ผูสูงอายุ คนพิการ) สุขภาพถวนหนา ที่ดนิ ปาไม ทะเล กินแบงรัฐบาล (80 บาท) 29 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ค ว ามเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 ตาราง 3.9 ร้อยละของประชาชนที่ทราบนโยบายของรัฐบาล จำแนกตาม การทราบนโยบาย และความพึงพอใจนโยบายของรัฐบาลทไ่ี ดด้ ำเนินการ นโยบายของรฐั บาล รู/้ ทราบ ความ คะแนนเฉลยี่ นโยบาย พงึ พอใจ 1/ ความพึงพอใจ รัฐบาล (รอ้ ยละ) (คะแนนเต็ม 4) การจดั การเรือ่ งเบย้ี ยังชพี (ผสู้ ูงอายุ คนพกิ าร) 97.3 92.4 3.33 โครงการหลกั ประกันสุขภาพถ้วนหนา้ 97.1 92.0 3.30 (บตั รทอง/30 บาท รกั ษาทุกโรค) การควบคุมราคา สลากกินแบ่งรัฐบาล 80 บาท 95.6 89.4 3.25 การแกไ้ ขและปอ้ งกันปัญหายาเสพติด และ 90.4 88.1 3.17 ผูม้ ีอทิ ธิพล แก้ไขปญั หาสนิ ค้าอุปโภค บรโิ ภคราคาแพง 88.7 78.0 2.38 การปกปอ้ งเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย ์ 88.0 97.2 3.47 โครงการลงทะเบยี นเพอื่ สวสั ดิการแหง่ รฐั 87.8 87.1 3.20 การสร้างความปรองดองสมานฉันทข์ อง 83.7 78.1 3.00 คนในชาติ การปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตและ 81.7 83.5 3.09 ประพฤติมิชอบในภาครัฐ การรกั ษาความสงบภายในประเทศ 81.5 87.9 3.13 การสรา้ งสันติสุขและความปลอดภัยในจงั หวัด 80.6 62.1 2.71 ชายแดนภาคใต้ การช่วยเหลือเกษตรกร 80.6 43.9 2.56 การจดั ระเบียบต่างดา้ วและการปราบปราม 79.6 86.4 3.11 การค้ามนุษย ์ การดำเนนิ การกองทุนหมูบ่ า้ น 76.3 81.5 3.04 การจัดระเบียบทางสงั คม 76.1 87.1 3.16 การปฏริ ูปการเมือง การร่างรัฐธรรมนญู 75.8 68.5 2.92 การแกไ้ ขปญั หาภัยธรรมชาติ น้ำทว่ ม ภยั แล้ง 75.2 81.7 3.00 แกไ้ ขปัญหาหนน้ี อกระบบ 74.8 78.2 3.01 การบรหิ ารจัดการพลังงานดา้ น ราคาน้ำมนั แก็ส 74.1 65.5 2.73 30 สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 นโยบายของรฐั บาล ร/ู้ ทราบ ความ คะแนนเฉลย่ี นโยบาย พงึ พอใจ 1/ ความพึงพอใจ โครงการหนง่ึ ตำบลหน่ึงผลติ ภัณฑ์ OTOP รฐั บาล (รอ้ ยละ) (คะแนนเตม็ 4) การแกไ้ ขปญั หาการบกุ รุกทดี่ นิ ปา่ ไม้ ทะเล การจดั สรรที่ดนิ ใหก้ ับเกษตรกรทยี่ ังไมม่ ที ด่ี นิ 73.3 54.0 3.05 ทำกิน ทีอ่ ยอู่ าศัย 71.3 89.7 3.22 โครงสรา้ งพ้ืนฐานระบบรางและขนสง่ ทางบก 63.9 81.3 3.04 การบริหารจดั การนำ้ และระบบชลประทาน ฟืน้ ฟคู วามสัมพันธแ์ ละความร่วมมือกับ 60.6 85.0 3.07 ตา่ งประเทศ 60.2 81.3 3.00 การแก้ไขปัญหาขยะของประเทศไทย 56.8 78.0 3.00 แนวนโยบายประชารฐั การพัฒนาระบบพรอ้ มเพย์ เพิ่มขดี 56.8 76.7 2.90 ความสามารถของประเทศ 56.3 82.5 3.03 การปรับปรุงวิธีการจดั เกบ็ ภาษี โครงสรา้ งภาษ ี 50.9 72.2 2.99 การขับเคลือ่ นเศรษฐกิจดิจิตอล การจดั ทำยทุ ธศาสตร์ชาต ิ 49.9 68.2 2.86 นโยบายไทยแลนด์ 4.0 42.6 77.1 2.99 37.2 73.1 3.01 34.0 69.9 3.05 หมายเหตุ : 1/ คอ่ นข้างพอใจถึงพอใจมาก 3.5 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถในการแก้ไขปัญหาสังคม และเศรษฐกิจของรัฐบาล จากการสอบถามเก่ียวกับการแก้ไขปัญหาด้านสังคมของรัฐบาลได้ในระดับใดน้ัน พบว่า ประชาชน ร้อยละ 59.4 ระบุว่าแก้ไขได้บ้าง ส่วนผู้ที่ระบุว่าแก้ไขได้อย่างมาก มีร้อยละ 22.4 และแก้ไขได้เพียงเล็กน้อย มีร้อยละ 16.3 อีกร้อยละ 1.9 ไม่สามารถแก้ไขได้เลย ส่วน การแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดนี้ พบว่า ประชาชน ร้อยละ 57.6 ระบุว่าแก้ไข ได้บ้าง และร้อยละ 11.5 ระบุว่าแก้ไขได้เป็นอย่างมาก ส่วนแก้ไขได้เพียงเล็กน้อย มีร้อยละ 25.9 และไมส่ ามารถแก้ไขได้เลย ร้อยละ 5.0 31 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

3.5 ความคดิ เห็นเก่ยี วกับความสามารถในการแกไ ขปญ หาสงั คมและเศรษฐกิจของรฐั บาล คแลวระาสอมรยเุปชล่ืผอะลม่ักน5าตร9่อจส.4สาำรถกรวากะจบาับนพรตุว.ส่าศา งอ.แๆบ2ก5แถไล4ขาะ5ไมคด-วเ2บกา5ม่ียา6พง0วึง กสพับวอนกใจผาตรทู่อแร่ีกกะารไบบขวุ รปาิกญแารกหสไ าาขธดไาดารอณนยสะ าังพงค.มศมา.ขก2อ5มง6รีร0อัฐ บยลาะลไ2ด2ใ.น4รแะลดะับแใดกนไข้ันไดพเบพวียางเปล็รกะนชอายชนมี รอยละ 16.3 อกี รอยละ 1.9 ไมสามารถแกไ ขไดเ ลย สวนการแกไ ขปญหาดานเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดนี้ พบวา ประชาชน รอยละ 57.6 ระบวุ า แกไขไดบา ง และรอ ยละ 11.5 ระบุวาแกไขไดเปนอยางมาก สวนแกไขไดเพียง เลก็ นอ ย มรี อยละ 25.9 และไมส ามารถแกไ ขไดเลย รอ ยละ 5.0 แค แผวผนาภนมมู ภสิ 3าูม.4มิ แา3รลรอะ.ถยเ4ศใลรนะษรขกฐออกางจิยรปขแรลอะกงชะรไาฐัขขชบนปอาลญงจปําหแรานสะกตังชาคมามคชวนาแมลคจิดะํเาเหศแ็นรเนกษีย่ กฐวกกตบั จิ าคขมวอาคมงสรวาฐั ามบามราถคลใินด ก เา หรแ็นกไเขกปญี่ยหวากสังับคม ความสามารถแกไ ขปญหาดา นสังคม ความสามารถแกไ ขปญหาเศรษฐกิจ รอ ยละ รอยละ 100 100 80 80 60 59.4 60 57.6 40 40 25.9 22.4 5.0 การแกไข 16.3 20 11.5 20 1.9 การแกไข บา ง เลก็ นอย ไมเลย ปญหา 0 มาก บาง เล็กนอย ไมเลย ปญหา 0 มาก 3รอ.6ยลค ะ ว38 า0ม.ก 6เขาช ร้นึ ่ือทไมปคหาํ ัน่งนคาตวนอื อ ว่าขกแยมอาพงรงทคเทายชณํานใง่ืะอนาบตโนรมคุ ขง่าคพ่ัอนงลยง/ๆคาตส บณถ่าอาะลบบขกนั คุ อ/คางหลรนรัฐ/วสทรยถองาำยาบนงลนั ตะา/า ห8นง6นๆ.วข4ทยอแี่ปงพรางะนทชตคยาาใ ชนงณนๆโรคงะอพบนยขุาคาบงาคเชลือ่ขลมอนั่ง/เถอสงึ กเถชชอ่ืนามรบ่ันอมัยนาลก/ะต 8ั้ง5แ.ต6 ทหาร รอยล ะ 8ก5า.1รทนำายงากนรฐัขมอนงตครณี ระอบยุคลคะล8/4ส.ถ8าขบาันร/าหชนกา่วรยพงลานเรตือ่านงๆรอทย่ีปลระะ8ช2า.ช3นแคล่อะนคขณ้าะงรเชักื่อษมา่ัคนวถาึงมสงบ แหง ชเาชตื่อิ รมอ ั่นยมลาะก8ต2ั้.ง1แต่ ร้อยละ 80 ขึ้นไป คือ แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ ร้อยละ 86.4 แพทย์ใน โรงพสยําาหบรับากลาขรอทงําเงอานกขชอนงครณ้อะยบลคุ ะค8ล/5ส.ถ6าทบนัห/าหรนรว ้ยองยาลนะตา 8งๆ5.ท1ีป่ นราะยชากชรนัฐคมอนนตขรางี รเช้อื่อยมลน่ั ะถงึ 8เช4ื่อ.8มั่นมาก อยูระขห้าวรา างชรกอ ายรลพะล5เร0อื .0น–รอ้7ย9.ล0ะได8แ2ก.3 โแทลรทะคศั ณน ะรรอ กัยษละาค7ว5า.ม1สรงัฐบบแาหล่ง/ชคาณตะิ ร้อัฐยมลนะตร8ี 2ร.อ1ย ละ 74.6 เจาหนาที่ ตรทเขอาํดี่ ตรยิน)วลจแคเระชลอณรื่อ6ะยอ มะเ6ลยจร่ัน.ะล8า ัฐถหะ7มสึงน06นเสมช.า 38ำตาทื่อ.หช7รผ่ศีมิกีรวูลุว่ันรสับากทิ้อมรภกายยาาากากุชกลทรรรกะมอทะอาีสงจร7ยำถัดาจงู่4รยิ่นสังาะ.หเ6วนหส(นวสขียวเัดขจ.งอ่าออท้างรงบงหอั่วคครจไยนณ้อวป.ล/้าายะสะมรทลบทอเ6่ีทะชยุค.9/อ่ืี่ดล5ค.สม2ินะ0.ลัน่ออ./6ร0ใบงส0น้อคต–.ถรย3ก.ะา/ล7รสสบดปะ9มกับัน.กา0.7ค//คช0สหอรไกิ .ขดนอนส8.้แงข่วภ)สผกายารวงู้ว่นงอนโเ่าาิตชทยทรนื่ิบอลรอามตญัะทชงั่่นาถัศญก6งถ่นิน5าัตๆึง.์รแิ(9เรอจชทห้อบหั่ืงอ่ีงปยหจนชมรล.าวั่ันง/ะะตสัเดมชทิือ7า(าศรสพก5ช้บอนใิม.น1ายนชพลคล.สร)/่อะัดรัฐอรอสนบอบ6ยวยขาต9นลลล้า..ะเ/2ะง/ทส 56าํา57กน..ันัก06 วิทยชุ อุมงชคน์กรอปยกลคะรอ5ง5ส.8่วนสภทา้อขงบั ถเิ่นคล(อื่ นบกจา./รเปทฏศริ บูปาปลร/ะอเบทตศ./(สปำนทัก.)เขรอตย) ลแะละ54เจ.9้าหแนล้าะทกรี่ศรุลมกกาากรรรมาีสงรัดัฐสธ่วรนรมนูญ รอยลขะอ5ง2ค.8วามเช่ือมั่นในระดับค่อนข้างเชื่อม่ันถึงเช่ือม่ันมากในสัดส่วนเท่ากัน ร้อยละ 66.8 สมาชิก นปอฏยริ ูปกรสรวป้้ออภารยยาะรลทลสเอทะะว้อยนศงล56ยกถะ73ทุา่ิน..ร65ธ7ท(ศ0สวําวาิทไ.งสิทอดายตบยแนุชรุกกจขชุม.อรา/สชะงตสภนคจิแทาณาลร.อ/ยะะ้องสกเบยคส.าุคอลกียรคบะรสงลชตรท5/ุมา.ั่สว5/งชสถไ.คน8ปกาวบ.าสร/รมันอภส้อส/ยขายหาลข.ลม)นะับะัครวเ4้อยคค68งียปล0.าล0่ืรอ.น3อะนคตงกณส6าดาง5มอะรๆ.างก9ปชรท(ฏหิกรป่ีปิรมนส.รูปยกัภงะ.ปาสปชารรือ.าน)บะชพิตเรรนิมทิบอิหคพศยัญาอ์ลร(รญนรสะ้อขาัตปย4ชาิแท7งลกหเ..ะา6)ช่งร่ือร6ชทแ้อม5ผาุกย่ัน.ตนพ0ลถิดร(ะึงตินสรเำคช5นตร่ือก4าชวมาม..9จร)ั่นกเ รมมอาือบกง (ไมเ จแาะลจะงกพรรรมคกใาดรพรรา่ รงครหัฐธนรึ่งร)มรนอยญู ละรอ้ 4ย3ล.5ะพ5ร2ร.8ค เพือ่ ไทย รอ ยละ 39.4 องคก รพัฒนาเอกชน (NGOs) รอยละ 38.3 และพรรคปสร่วะนชกาธาปิรทต ำยง ราอนยขลอะงค3ณ6.ะ8บุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ที่ประชาชนค่อนข้างเชื่อมั่น ถึงเช่ือม่ันมากน้อยกว่า ร้อยละ 50 ได้แก่ สภาองค์กรชุมชน ร้อยละ 48.0 คณะกรรมการบริหาร ราชการแผ่นดินตามกรอบปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง 32 สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 (ป.ย.ป.) ร้อยละ 47.6 ทุกพรรคการเมือง (ไม่เจาะจงพรรคใดพรรคหน่ึง) ร้อยละ 43.5 พรรคเพอื่ ไทย รอ้ ยละ 39.4 องคก์ รพัฒนาเอกชน (NGOs) รอ้ ยละ 38.3 และพรรคประชาธิปตั ย์ ร้อยละ 36.8 ตาราง 3.10 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความเช่ือมน่ั ต่อการทำงานของคณะบุคคล/สถาบนั /หน่วยงานต่างๆ ระดบั ความเชอ่ื ม่ัน คณะบคุ คล/สถาบัน/หนว่ ยงานต่างๆ รวม เช่อื มน่ั ค่อนข้าง ไมค่ ่อย ไม ่ ไมม่ ี ไมร่ ้จู กั มาก เช่ือมน่ั เชือ่ มน่ั เชือ่ ม่นั ความ แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ เห็น 0.2 แพทย์ในโรงพยาบาลของเอกชน 0.4 ทหาร 100.0 27.7 58.7 8.9 1.4 3.1 0.1 นายกรัฐมนตรี 100.0 26.9 86.4 58.7 7.2 1.0 5.8 0.1 (พลเอกประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา) 100.0 25.9 85.6 59.2 9.6 1.6 3.6 100.0 28.5 85.1 56.3 9.0 1.6 4.5 84.8 ข้าราชการพลเรือน 100.0 17.4 64.9 10.7 1.6 5.0 0.4 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) 100.0 24.4 82.3 57.7 10.2 1.9 5.3 0.5 100.0 13.7 82.1 61.4 16.2 1.8 6.6 0.3 โทรทัศน์ 100.0 18.0 75.1 56.6 15.4 2.7 6.6 0.7 รฐั บาล/คณะรัฐมนตรี 100.0 13.5 74.6 57.3 15.6 2.8 10.0 0.8 เจ้าหนา้ ทีท่ ีด่ ิน 100.0 16.1 70.8 53.1 10.2 2.0 11.7 6.9 ผู้ว่าราชการจงั หวัด องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (อบจ./ 100.0 11.2 69.2 55.6 19.3 5.0 8.4 0.5 เทศบาล/อบต./สำนักงานเขต) 66.8 เจา้ หน้าทศี่ ุลกากร 100.0 13.0 53.8 13.8 2.4 13.4 3.6 สมาชกิ สภาทอ้ งถ่ิน (ส.อบจ./สท./ 100.0 10.6 66.8 55.3 20.2 4.7 8.6 0.7 ส.อบต./สข.) 65.9 หนงั สอื พมิ พ์ 100.0 10.3 54.7 21.5 2.5 10.5 0.5 ตำรวจ 100.0 12.8 65.0 50.9 25.0 6.7 4.5 0.1 วทิ ยกุ ระจายเสียงทวั่ ไป 100.0 8.8 63.7 51.5 20.0 3.2 15.3 1.2 สมาชกิ สภานติ บิ ญั ญตั ิแห่งชาติ 100.0 12.2 60.3 45.4 13.3 2.4 12.3 14.5 (สนช.) 57.6 33 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร

ค ว ามเชื่อมั่นต่อสถาบันต่างๆ และความพึงพอใจต่อการบริกา ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ สรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2545-2560 ระดบั ความเช่ือม่นั คณะบคุ คล/สถาบัน/หนว่ ยงานตา่ งๆ รวม เช่ือม่นั ค่อนขา้ ง ไมค่ อ่ ย ไม่ ไม่มี ไมร่ จู้ ัก มาก เช่อื มน่ั เช่ือมน่ั เชื่อมน่ั ความ วิทยชุ ุมชน เหน็ 1.4 สภาขับเคล่อื นการปฏิรปู ประเทศ 16.2 (สปท.) 100.0 8.3 47.5 22.5 4.0 16.3 100.0 11.8 55.8 43.1 13.7 2.5 12.7 54.9 กรรมการร่างรฐั ธรรมนูญ 100.0 9.6 43.2 12.9 3.2 17.7 13.4 สภาองคก์ รชมุ ชน 100.0 7.6 52.8 40.4 14.7 2.6 17.1 17.6 คณะกรรมการบริหารราชการ 100.0 8.5 48.0 39.1 10.9 2.4 16.4 22.7 แผน่ ดนิ ตามกรอบปฏิรปู ประเทศ ยุทธศาสตรช์ าตแิ ละการสรา้ ง 47.6 ความสามคั คีปรองดอง (ป.ย.ป.) ทกุ พรรคการเมอื ง (ไม่เจาะจง 100.0 6.6 36.9 27.4 8.5 17.7 2.9 พรรคใดพรรคหน่งึ ) 43.5 พรรคเพือ่ ไทย 100.0 6.8 32.6 27.6 11.5 20.1 1.4 องคก์ รพัฒนาเอกชน (NGOs) 100.0 6.3 39.4 32.0 13.7 3.7 16.1 28.2 พรรคประชาธปิ ัตย์ 100.0 5.4 38.3 31.4 30.5 11.0 20.4 1.3 36.8 3.7 ความเชอ่ื ม่นั ต่อการทำงานขององค์กรอิสระ จากผลการสำรวจ พบว่า องค์กรอิสระท่ีประชาชนเช่ือมั่น (ค่อนข้างเชื่อมั่นถึงเช่ือม่ัน มาก) ต่อการทำงานมากท่ีสุด คือ ศาลยุติธรรม ร้อยละ 83.6 รองลงมา คือ ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครองมีสัดส่วนของความเชื่อม่ันใกล้เคียงกัน ร้อยละ 80.3 และร้อยละ 80.2 ผู้ตรวจการแผ่นดิน ร้อยละ 71.8 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร้อยละ 70.7 คณะกรรมการการเลือกต้ัง ร้อยละ 67.9 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ร้อยละ 65.9 และองค์กรอัยการ ร้อยละ 64.5 สำหรับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประชาชนมีความเชอื่ มนั่ ต่อการทำงาน รอ้ ยละ 62.6 34 สถาบันพระปกเกล้า

จากผลการสํารวจ พบวา องคกรอิสระที่ประชาชนเช่ือมั่น (คอนขางเชื่อมั่นถึงเชื่อม่ันมาก) ตอการ ทาํ งานมากท่สี ดุ คือ ศาลยุตธิ รรม รอ ยละ 83.6 รองลงมา คอื ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลปกครองมีสัดสวนของ ความเชื่อม่ันใกลเคียงกัน รอยละ 80.3 แลคะวราอมเยช่ืลอมะั่น8ต่0อส.2ถาผบัูตนตร่าวงจๆกแาลระคแวผามนพดึงินพอรใอจตย่อลกะาร7บ1ริ.ก8ารคสาณธาะรกณระรพม.กศ.าร2560 ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) รอยละ 70.7 คณะกรรมกแลาะรสกรุปาผรลเลกืาอรกสำตร้ังวจรอพย.ศล. ะ256475.-92560 คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน รอยละ 65.9 และองคกรอัยการ รอยละ 64.5 สําหรับคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชแนผแหนงภชาูมติิ ป3ร.ะ5ชารชนอมยีคลวาะมขเชอ่ืองมป่ันรตะอกชาารชทํานงานจํารแอ ยนลกะต62า.ม6ความคิดเห็นเกี่ยวกับความ แผนเภชูมอื่ ิ ม3.นั่5 ตรออ ยกลาะรขทองําปงราะนชาขชอนงอจงําแคนกกรตอามสิ ครวะาม ค ิ ดเหน็ เกีย่ วกบั ความเชื่อม่ันตอการทํางานขององคกรอสิ ระ องคกรอิสระ 62.6 คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนฯ 16.5 46.1 9.2 2.0 13.4 12.8 องคก รอยั การ 18.2 64.5 46.3 8.8 1.9 12.8 12.0 65.9 คณะกรรมการตรวจเงินแผนดนิ 18.6 47.3 8.7 1.7 12.4 11.3 67. คณะกรรมการการเลือกตั้ง 16.9 51.0 15.5 2.9 10.3 3.4 ป.ป.ช. 20.1 70. 9.8 2.0 10.7 6.8 50.6 ผูตรวจการแผนดนิ 71.8 22.3 49.5 7.6 1.3 11.3 8.0 80.2 ศาลปกครอง 27.9 52.3 7.2 1.3 8.5 2.8 ศาลรฐั ธรรมนูญ 80.3 28.9 51.4 7.6 1.3 8.2 2.6 83.6 ศาลยุตธิ รรม 30.9 52.7 7.0 1.3 6.5 1.6 0 20 40 60 80 10 รอ ยละ เช่อื มั่นมาก คอ นขา งเช่อื มั่น ไมคอยเชื่อม่ัน ไมเ ชอ่ื มั่น ไมม ีความเห็น ไมร จู กั 0 3.8 ความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจัดให้ ประชาชน ความพึงพอใจต่อการบรกิ ารสาธารณะ เมอื่ สอบถามความคดิ เหน็ ของประชาชนโดยรวมเกยี่ วกบั ความพงึ พอใจ (คอ่ นขา้ งพอใจ ถงึ พอใจมาก) ตอ่ บรกิ ารสาธารณะทรี่ ฐั และทอ้ งถนิ่ จดั ให้ พบวา่ สว่ นใหญพ่ งึ พอใจตอ่ ไฟฟา้ รอ้ ยละ 90.8 รองลงมา ได้แก่ โรงเรียน ร้อยละ 89.3 ถนน ร้อยละ 85.1 ศูนย์เด็กเล็ก ร้อยละ 84.6 การบริการสาธารณสุขและศูนย์อนามัย ร้อยละ 83.3 น้ำประปา ร้อยละ 82.6 การดูแลคนชรา รอ้ ยละ 76.7 การดแู ลคนพกิ าร และการจดั เกบ็ ขยะมลู ฝอยมสี ดั สว่ นของความพงึ พอใจในสดั สว่ น เท่ากัน ร้อยละ 75.1 การรักษาความปลอดภัยแก่ประชาชน ร้อยละ 73.7 การจัดการจราจร ร้อยละ 69.6 การศึกษาผู้ใหญ่ ร้อยละ 68.0 สิ่งแวดล้อมในชุมชน (ป่า/น้ำ) ร้อยละ 67.6 การจัดการน้ำเสีย/ส่ิงโสโครก ร้อยละ 64.8 ระบบขนส่งมวลชน (รถประจำทาง) ร้อยละ 57.55 และการฝกึ อาชพี รอ้ ยละ 55.5 ในขณะทคี่ วามพงึ พอใจตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ ชมุ ชนอยใู่ นสดั สว่ นนอ้ ยสดุ เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั การใหบ้ รกิ ารสาธารณะประเภทอน่ื ๆ รอ้ ยละ 35.6 35 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

ฝอยมสี ดั สวนของความพงึ พอใจในสัดสวนเทา กัน รอ ยละ 75.1 การรักษาความปลอดภยั แกป ระชาชน รอยละ 73.7 การจัดการจราจร รอยละ 69.6 การศึกษาผูใหญ รอยละ 68.0 สิ่งแวดลอมในชุมชน (ปา/นํ้า) รอยละ 6ฝคแล7กวะ.าอส6มราเุปกชช่ืผอาพี ลรม่ักจนราอตดั ร่อยกสสำลารถระวานจบ5ัํา้น5พเตส..่า5ศยีง.ๆ/ใ2สน5แิ่งขล4โณะ5สค-โะว2คาท5มร6ีค่พก0วึง ารพมออพยใจลงึ ตพะ่ออก6ใา4รจ.บต8รอ ิกรอาะรินบสเบาทธขอารนรณสเนะง ็ตมพชว.ศลุม.ชช2นน5อ6(0รย ถูในปสรัะดจสําวทนานงอ)ยรสอุดยเลมะ่ือเ5ป7ร.ี5ย5บเแทลียะบกกาับร การใหบ ริการสาธารณะประเภทอื่นๆ รอ ยละ 35.6 แผนแภผูมนิภ3มู ิ.36.6รร้ออ ยยลละะขอขงอปงระปชราชะนชาจชาํ แนนกจตําามแคนวากมพตึงาพมอคใจวตอากมาพรบึงรพกิ าอรสใาจธตารอณกะทาี่รรัฐบริการ สาธารณะทร่ี ฐั แและลทะอ ทงถอิน่ งจถัดน่ิใหจ 5ดั อใันหด ับ5แรอกนั ดบั แรก รอ ยละ 4.1 2.5 0.8 6.2 2.5 3.5 0.6 2.4 4.8 03..68 9.0 13..57 100 7.2 10..91 11.7 80 ยงั ไมม บี รกิ ารนี้ 60 62.1 58.7 59.1 57.8 60.4 ไมม ีความเห็น ไมพอใจเลย 40 90.8 89.3 85.1 84.6 83.3 ไมค อ ยพอใจ คอ นขางพอใจ 20 พอใจมาก 28.7 30.6 26.0 26.8 22.9 โรงเรียน บรกิ ารสาธารณะ 0 ถนน ศนู ยเ ด็กเลก็ สาธารณสขุ ฯ ไฟฟา ตาราง 3.11 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะ ที่รฐั /ทอ้ งถ่ินจัดให ้ ระดบั ความพึงพอใจ บรกิ ารสาธารณะทรี่ ฐั /ทอ้ งถิ่นจดั ให ้ รวม พมอาใกจ คพ่อนอขใจ้า ง ไพมอค่ ใอ่ จย พเไลอมยใ ่จ คไเวหมา็น่มม ี บยังรนไิกม ี้า่มรี ไฟฟ้า 100.0 28.7 62.1 7.2 1.1 0.9 ... 100.0 30.6 90.8 58.7 3.5 0.6 2.5 4.1 โรงเรียน ถนน 100.0 26.0 89.3 59.1 11.7 2.4 0.8 ... 100.0 26.8 85.1 57.8 4.8 0.6 3.8 6.2 ศูนยเ์ ด็กเลก็ บรกิ ารสาธารณสุขและศนู ย์อนามยั 100.0 22.9 84.6 60.4 9.0 1.5 3.7 2.5 100.0 22.8 83.3 59.8 12.3 2.7 1.1 1.3 น้ำประปา 100.0 22.0 82.6 54.7 10.8 1.9 4.6 6.0 ดแู ลคนชรา 100.0 21.0 76.7 54.1 11.5 2.0 5.3 6.1 การดูแลคนพิการ 100.0 16.9 75.1 58.2 12.6 1.8 2.5 8.0 การจดั เก็บขยะมลู ฝอย 75.1 36 สถาบันพระปกเกล้า

ค ว า ม เ ชื่ อ ม่ั น ต่ อ ส ถ า บั น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ พ . ศ . 2 5 6 0 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 54 5 - 2 5 6 0 ระดับความพึงพอใจ บรกิ ารสาธารณะทร่ี ัฐ/ท้องถ่ินจดั ให ้ รวม พมอาใกจ คพ่อนอขใจ้า ง ไพมอ่คใ่อจย พเไลอมยใ ่จ คไเวหมาน็ม่ ม ี บยงัรนไกิ ม้ ีาม่ ร ี การรกั ษาความปลอดภยั แกป่ ระชาชน 100.0 16.1 57.6 14.8 2.7 4.6 4.2 100.0 13.3 73.7 56.3 14.1 2.7 5.8 7.8 จดั การจราจร 100.0 17.1 69.6 50.9 7.9 1.1 10.0 13.0 การศกึ ษาผใู้ หญ ่ 100.0 12.8 68.0 54.8 13.7 2.6 5.5 10.6 ส่ิงแวดล้อมในชมุ ชน (ป่า/น้ำ) 100.0 12.7 67.6 52.1 15.3 2.5 4.3 13.1 การจดั การนำ้ เสยี /สง่ิ โสโครก ระบบขนสง่ มวลชน (รถประจำทาง) 100.0 10.6 64.8 46.9 18.6 4.5 6.7 12.7 100.0 12.9 57.5 42.6 11.6 2.1 11.7 19.1 การฝกึ อาชีพ 100.0 7.2 55.5 28.4 11.5 4.0 12.6 36.3 อินเทอร์เน็ตชมุ ชน 35.6 หมายเหตุ : … มีค่าน้อยกว่า 0.05 ความตอ้ งการให้มกี ารปฏิรปู การบริการสาธารณะ สำหรับการบริการสาธารณะที่ประชาชนต้องการให้รัฐปฏิรูปมากที่สุดในปัจจุบัน คือ เศรษฐกิจ เช่น การมีงานทำ มีรายได้ (ร้อยละ 81.6) รองลงมา คือ คุณภาพชีวิต เช่น ดูแล สุขภาพ สาธารณสุข กีฬา (ร้อยละ 61.4) สาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา รถโดยสาร (ร้อยละ 45.3) การศึกษา (ร้อยละ 33.3) ความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน (ร้อยละ 33.2) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม (ร้อยละ 7.9) และสังคม ศิลปวัฒนธรรม (ร้อยละ 5.5) 37 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร

 ความตองการใหมีการปฏิรูปการบริการสาธารณะ ความเชื่อม่ันตส่อําสหถราบับันกตา่ารงบๆ รแกิ ลาะครวสาามธพาึงรพณอะใจทต่ปี่อกราะรชบารชิกนารตสอ าธงากราณระใหพร.ศัฐ.ป2ฏ5ิร6ูป0 มากท่ีสุดในปจจุบัน คือ เศรษฐกิจ เชน แกละาสรรมุปงีผาลนกทาราํสำมรวีรจายพไ.ดศ. (2ร5อ 4ย5ล-ะ258610. 6) รองลงมา คือ คุณภาพชีวิต เชน ดูแลสุขภาพ สาธารณสุข กีฬา (รอยละ 61.4) สาธารณูปโภค เชน ถนน ไฟฟา ประปา รถโดยสาร (รอยละ 45.3) การศึกษา (รอยละ 33.3) สค งัวคามมปศแลลิ ผอปดนวภัฒภยั นูมในธิ ชร3รวี .มิต7ท(รรรอพัอยยยลสละนิ ะ5(ขร.5ออ)ยงลปะร3ะ3ช.2า)ชกนารจจัดําแกานรกทตรัพายมากการรธบรรรมกิ ชาารตสิส่ิงาแธวาดรลณอมะท(ร่ตี ออยงลกะา7ร.9ให) แ  ละ รฐั ปแผฏนิรภปู มู มิ 3า.7กทรส่ีอยดุ ล ะของประชาชน จาํ แนกตามการบรกิ ารสาธารณะทตี่ องการใหรัฐปฏิรูปมากท่ีสุด รอยละ 100 81.6 80 61.4 60 45.3 40 33.3 33.2 20 7.9 5.5 0 เศรษฐกิจ คุณภาพชวี ติ สาธารณูปโภค การศกึ ษา ความปลอดภยั การจดั การทรพั ยากร สังคม บริการสาธารณะ ทตี่ องการใหร ัฐปฏริ ปู 1/ ในชวี ิตทรัพยส ิน ธรรมชาติ ศิลปวฒั นธรรม หมายเหตุ : 1/ ตอบไดม ากกวา 1 คําตอบ 3.9 การเคยใชบริการขององคก รปกครองสว นทองถ่ินและการมีสว นรวมกับหนวยงาน ประชา ช 3น เ.รม 9อ ื่อย สลอะกกบ6าาถ0ราร.ม5มเปเสคี ปรว่นะยนผชใทูารชช่ีไมว่ น้บเมเคกรยก่ียติกวบั ดิ กตหาับอ รนก/ใาขชว่ รบยอเครงงกิยาาตอรนิดองต งอคค/ก์ใกรชปบรกรปคิกรกาอรงคกสับวรอนองทคองกงสรถป่ิน่วกแนคลรทะอรง้ออสยวงลนถะทิ่3อน9ง.ถแ5่ินลเปพะน บผวูทา่ี รเพปปปเขคว กกบกายมคคควรตการรวริิจดออมอถผพไ(รปกไตมงงท้องึู้งเมบรรสสอคม่สพาํยะค่รวววนก/ควียลชมออ่่านนในอิจวตะาอชใยทท ากกปทชิจดนื่บพม3ออจรนรอมตๆร9อคงงราะเสงา่อิกถถมมก.ใดิชถแ5วกจ/ิ่ิน่นานใอ่ืเิ่นนาลในถห)รเสใี้ชชะใรรมปงึนกอนจ็หอ้นบออรไีผา็นกงามบญอยยรรรูตคกาผรยพ่ถลลอ้ปิกรอกบ้อู้ทรลาะะยอสราบรอยรี่เมะละใรอคป59วยิกลจปชะอบ0.3ยาลกเะา9ุมรงล.ถม.ต1ะ4คร1ะหคายแ6ีค.ิดทร0ช7ม์มกไ)ล0แวตอม่ี ไา2ปูบระ.จาลด่อ5ชงร.ปไมราา8ะ้สะร/นมนะกพเกไใับบวรมปเชชมบึคกงนะรุจีคา็น้บพพรย่ีอรบทชาวกผิรออวอยุวนากอิกาู้ทใกลามใงเองจราจไก่ีไสบัะคถทงมรมย่ี่วกดิ(ิ่ค(นอ9เไี่่ไเวคนคเาดคม์5กงหกอรยทสรค้ย.ครับ9น็เนบัํา้์กตอคปอสกขหวจรริดยงยวกาาาอาปรถนตพตรคงงกับย่ินกเดผิ่อแอพรคอลคคูทตมผ/ใออยงะจใวรอ่รี่นีผงคเชใาถอะข/จ1พู้สตก์้บมึใงบงา.ถ่วัฒอชร0รไสไพุวึงนมปปบ้บิกน่วาพึงพทกมราวนเาพอคกิรคีส่อ้ทาอทอใอยามวรใองจ้อใจรนองถีคงมจมงกคเงรถ่ินวถลขาีรบัส์วกน่ิาก่ินยออมว่รอรม))ยงรนกป้องสพผอลจจคับทกยำูยเึาะงาก์ออ้หคลคพกกลรงง2ระยรบะบอปถคอ7ับตรร9ใน่ิกก2.งิคดจ2ิกิก34สรควตราาป..่วรโ(1า1อ้รรอคดอนกมททย/่ยออแงคทพใล่ีไ่ีไสผีกนลชรดด้อึงะูวร่ทอขะบรรพงอนี่เ5ง้ััไบบาถรอคยทมส.งิ่ินกจจ9ใยลวพ่อ้พจาาาระนแแงกกอรขอะถทลล0ออออใใบน่ิ.จะะจองงงง3ุว คคคงา เถกกกคไ่ินดยรรร นอกจากนใี้ นการสอบถามประชาชนเกย่ี วกบั การเคยเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มกบั องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถ่ิน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 72.8 ระบุว่าไม่เคย ส่วนผู้ที่ระบุว่าเคย มีร้อยละ 27.2 โดยผทู้ เ่ี คยระบวุ า่ ไดเ้ ขา้ รว่ มทำกจิ กรรมในการประชมุ หมบู่ า้ น รอ้ ยละ 95.9 วางแผนพฒั นา ทอ้ งถนิ่ รอ้ ยละ 24.1 อกี รอ้ ยละ 0.3 เคยรว่ มกจิ กรรมอนื่ ๆ และรอ้ ยละ 0.4 ไมร่ ะบ ุ 38 สถาบันพระปกเกล้า