Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมชุดเตรียมพร้อม

ธรรมชุดเตรียมพร้อม

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-05-22 00:55:29

Description: ธรรมชุดเตรียมพร้อม

Search

Read the Text Version

๙๕ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมื่อวันที่ ๔ ธนั วาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ กําจัดกิเลสพนทุกข ทท่ี า นพดู วา “โลก” กค็ อื หมสู ตั ว “สตฺต” แปลวา ผขู อ ง ผูยังติดยังของ อะไร ทาํ ใหข อ ง? เพียงเทานั้นก็ทราบแลว ทา นพรรณนาไวห ลายสง่ิ หลายอยา งหลายภพ หลายภมู ิ ลวนแตภูมิสถานที่ที่ใหจิตติดจิตของและจะตองไปทั้งนั้น ทา นจงึ วา จติ นเ้ี ปน นักทองเที่ยว เพราะเที่ยวไปไมหยุดไมถอย กลวั หรอื กลา กต็ อ งไป เพราะกาํ ลงั ตกอยใู น ความเปน นกั ตอ สู ขน้ึ ชอ่ื วา “นัก” แลว มนั ตอ งตอ สอู ยา งไมล ดละทอ ถอย ถาไมเปน อยา งนน้ั กไ็ มเ รยี กวา “นกั ” คอื สไู มถ อย ภพภูมิตางๆ ไปเกิดไดทั้งนั้น แมแ ตน รกอเวจซี ง่ึ เปน สถานทม่ี ที กุ ขเ ดอื ดรอ น มากผดิ ทกุ ขท ง้ั หลาย จิตยังตองไปเกิด! อะไรทําใหจิตเปนนักตอส?ู เชอ้ื แหง ภพชาตคิ อื กเิ ลสทง้ั มวลนน่ั เอง ที่ทําใหสัตวทํากรรม กรรมเกิดวิบาก เปนผลดีผลชั่ว วนไปเวียนมาในภพตางๆ ภพนอยภพใหญไมมีประมาณ วาจะหลุดพน จากความเกดิ ในภพนน้ั ๆ ไดเมื่อใด เกดิ เปน ภพอะไรตวั ประธานกอ็ ยทู ่ี “ใจ” เปนผูจะ ไปเกิด เพราะอํานาจกิเลส กรรม วบิ าก พาใหเ ปน ไป ในโลกเรานี้มีสัตวเกิดมากนอยเพียงไรใครจะไปนับได! เพียงในบริเวณวัดนี้ สตั วตา งๆ ทส่ี ดุ วสิ ยั “ตาเนอ้ื ” จะมองเห็นไดมีจํานวนมากเทาใด สัตวที่เกิดที่อยูในที่ มองเห็นไดดวยตาเน้ือน้ีก็มี ที่ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเนื้อ เพราะละเอยี ดก็มี แม แตสตั วเ ล็กๆ ซ่งึ เปนดา นวตั ถุ แตไ มส ามารถมองเห็นไดดว ยตาเนือ้ ก็มี สัตวที่เกิดเปน “ภพ” เปนทั้งลี้ลับทั้งเปดเผยในโลกทั้งสามจึงมีมากมาย ถาเปนสิ่งที่มองเห็นดวยตา เนอ้ื ไดแ ลว จะหาที่เหยียบย่ําลงไปไมไดเลย เต็มไปดวยจิตวิญญาณของสัตว เต็มไป ดวยภพดวยชาติของสัตวประเภทตางๆ ทงั้ หยาบท้ังละเอยี ด เต็มไปทั้งสามภพสามภูมิ แมแตชองลมหายใจเรายังไมวาง ในตวั ของเรานี้กม็ สี ตั วช นดิ ตา งๆ อยมู ากจนนา ตกใจ ถา มองเหน็ ดว ยตาเนอ้ื เชน เชื้อโรค เปนตน ไมเพียงแตวิญญาณ คอื จติ เราดวงเดยี วทอ่ี าศยั อยใู นรา งนเ้ี ทา นน้ั ยงั มอี กี กพ่ี นั กห่ี มน่ื วญิ ญาณอาศยั อยใู นรา งนด้ี ว ย ฉะนน้ั ในรา งกายเราแตล ะคน จึงเต็ม ไปดว ยวญิ ญาณปรมาณขู องสตั วห ลายชนดิ จนไมอ าจคณนา มีอยูทุกแหงได เพราะมี มากตอ มาก และละเอียดมากจนไมสามารถเห็นไดดวยตา ฟงไดดวยหู ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๕

๙๖ ในอากาศกลางหาว ในนาํ้ บนบก ทั่วทิศตางๆ มีสัตวเต็มไปหมด แลวยังมัว สงสยั อยหู รอื วา “ตายแลวสูญไมไ ดเ กดิ อีก” กอ็ ะไรๆ มนั เกดิ อยเู วลานเ้ี กลอ่ื นแผน ดนิ ภพหยาบก็มีมนุษย ซง่ึ กาํ ลงั หาโลกจะอยไู มไ ด ยังจะมาสงสัยอะไรอีก ความเกดิ กแ็ สดงใหเ หน็ อยทู กุ แหง หน ทั้งหยาบทั้งละเอียด ทง้ั ในนาํ้ บนบกมไี ป หมด ตลอดบนอากาศ ยงั จะสงสยั อยหู รือวาตายแลวไมเ กดิ แลว อะไรมนั มาเกดิ ดูเอาซี เครื่องยืนยัน “ไมสูญ” มอี ยกู บั ทกุ คน ถาสตั วตายแลว สญู ดังทเ่ี ขา ใจกัน สัตวเอาอะไร มาเกิดเลา? ลงตายแลวสูญไปจริงๆ จะเอาอะไรมาเกิดได สิ่งที่ไมสูญนั้นเองพาใหมา เกดิ อยเู วลาน้ี ไปลบลา งสง่ิ ทมี่ ีอยใู หสญู ไปไดอ ยา งไร ความจริงมันมีอยูอยางนั้น ทล่ี บ ไมส ญู กค็ อื ความจริงนัน่ แล จะมีใครเปนผฉู ลาดแหลมคม รไู ดล ะเอียดลออทุกสง่ิ ทุกอยางตามสงิ่ ท่มี ีอยู เหมือนพระพุทธเจาเลา? พวกเราตาบอดมองไมเห็นตัวเอง ไดแ ตล บู คลาํ ไปลบู คลาํ มา คลําไมเจอก็วาไม มี แตไปโดนอยไู มห ยดุ หยอนในสิง่ ทเ่ี ขา ใจวา ไมม ีน้ัน ตางคนตางโดน “ความเกดิ ” อยา งไรละ โดนกันทุกคนไมมีเวน เหมือนเราไมเห็น เดนิ ไปเหยยี บขวากเหยยี บหนาม นน่ั นะ เราเขาใจวาหนามไมมีขณะที่เหยียบ แตก็เหยยี บหนามที่ตนเขาใจวา ไมมนี น่ั แหละ มันปกคนผูไมเห็นแตไปเหยียบเขา เพียงเทานี้ก็พอทราบไดวา ควรเชื่อแลวหรือ ความรูความเหน็ อนั มืดบอดของตัวเองนะ เพียงหนามอันเปนของหยาบๆ ยังไมเห็น และไปเหยียบจนได ถา รวู า ทน่ี น่ั มหี นามจะกลา ไปเหยยี บไดอ ยา งไร เชน หัวตอไปโดน มันทําไม ไมไปโดนมันทําไม ถา แนใ จวา มใี ครจะกลา ไปโดน ใครจะกลา ไปเหยยี บหนาม ซึ่งไมใชเรื่องเล็กนอย มันเปนเรื่องเจ็บปวดขนาดไหน แลว ทาํ ไมถงึ โดนกนั เรอ่ื ยๆ เลา? กเ็ พราะความเขาใจวา หนามไมม นี นั่ เอง ฉะนน้ั สง่ิ ตา งๆ จงึ ไมอ ยใู นความสาํ คญั วา มหี รอื ไมม ี มันอยูที่ความจริงอยาง ตายตัว ไมม ใี ครอาจแกไ ขใหเ ปน อน่ื ไปได นก่ี เ็ หมอื นกนั เรอ่ื งภพเรอ่ื งชาตขิ องคนและสตั ว มีเกิดใหเห็นมีตายใหเห็นอยู เกลอ่ื นแผน ดนิ เฉพาะในโลกเรานก้ี เ็ หน็ เกลอ่ื นแผน ดนิ อยแู ลว เมื่อเปนเชนนี้จะปฏิเสธ จะไปลบลางไดอยางไรวามันไมเกิด วา มนั ตายแลว สญู สน้ิ ไป เราไมเชื่อพระพุทธเจา แตเราเชื่อเราเปนอยางไรบาง? ผลของมนั ทแ่ี สดงตอบ! ความรคู วามเห็นของเรามสี ูงต่ําหรือแหลมคมขนาดไหนถงึ จะเชอ่ื ตนเอง จนสามารถลบ ลางความจริงทั้งหลายที่มีอยูใหสูญไปตามความรูความเห็นของตน ทั้งๆ ที่ตนไม สามารถรูความจริงนั้นๆ ทาํ ไมจงึ สามารถอาจเออ้ื มไปลบลา งสง่ิ ทเ่ี คยมอี ยใู หส ญู ไปเมอ่ื ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๖

๙๗ เราไมรู ลบเพอ่ื เหตผุ ลอนั ใด? ความรนู ม่ี นั โงส องชน้ั สามชน้ั แลว ยงั จะวา ตนฉลาดอยู หรือ? ถา มุง ตอ งการความจรงิ ดวยใจเปนนกั กีฬา กค็ วรยอมรับตามความจริงที่ปรากฏ อยู ลองคดิ ดู มนี กั ปราชญท ไ่ี หนบา งสอนอยา งถกู ตอ งแมน ยาํ ตามหลกั ความจรงิ เหมอื น พระพุทธเจา จะแหก นั ไปหาทไ่ี หน ลองไปหาดูซี หมดแผนดินทั้งโลกนี้จะไมมีใคร เหมอื นเลย ใครจะมาสอนใหตรงตามหลักความมีความเปนและความจริงดังพระพุทธ เจา แนใ จวา ไมม !ี ประการสาํ คญั กค็ อื การคดิ วา “ตายแลวสูญ” นน้ั เปน ภยั อนั ตรายแกผ คู ดิ และผู เกี่ยวของไมมีประมาณ เพราะคนเราเมอ่ื คดิ วา ตายแลว สญู ยอ มเปน คนสน้ิ หวงั อยากทาํ อะไรกท็ าํ ตามใจชอบในเวลามชี วี ติ อยู สวนมากกม็ ักทําแตส ่ิงท่ีเปน โทษเปน ภัยแกต วั เองและผูอื่น เพราะชาติหนาไมมี ทําอะไรลงไปผลจะสนองตอบไมมี ฉะนน้ั ความคดิ ประเภทนี้จึงทําคนสิ้นใหหวัง หลงั จากนน้ั กท็ าํ อะไรแบบไมค าํ นงึ ดชี ว่ั บญุ บาป นรก สวรรค พอตายแลว กไ็ ปเกดิ ในกาํ เนดิ สตั วผ สู น้ิ ทา เชน สัตวนรก เปน ตน อยา งชว ย อะไรไมได ทั้งนี้พวกเรายังไมเห็นเปนของสําคัญอีกหรือ? ถา ยงั ไมเห็นศาสนธรรมซ่ึง เปน ของแทของจริงวา เปน ของสําคัญ ตัวเราเองก็หาสาระอะไรไมไดนั่นเอง ในขณะ เดียวกันการปฏิเสธความจริงก็เทากับมาลบลางสารคุณของเราเอง กลายเปน คนไม สาํ คญั คนไมมีสารคุณ คนหมดความหมาย คนทาํ ลายตวั เอง ชนดิ บอกบญุ ไมร บั เพราะความคดิ ทล่ี บลา งความจรงิ ทม่ี อี ยนู น้ั เปน ความคดิ ทาํ ลายตนเอง สงิ่ ทมี่ คี วาม หมายแตไ ปลบลางสง่ิ ทจ่ี ริง แตไปขัดความจริง สุดทายก็สะทอนกลับสิ่งที่จริงมาหาตัว เอง เปนผูรับเคราะหกรรมเสียเองโดยไมมีใครอาจชวยได กลายเปนคนขาดทุนท้งั ข้นึ ทั้งลองซี! พวกเรานับวาดีมาก วาสนาเรามคี วามดคี มุ ครองถงึ ไดม าพบพระพทุ ธศาสนาอนั เปน ศาสนาทถ่ี กู ตอ งตายตวั บอกขวากหนามใหส ตั วโ ลกรแู ละหลบหลกี กนั และบอก สวรรค นิพพาน ใหส ตั วโ ลกไดไ ป ไดนอมใจเขามาประพฤติปฏิบัติ ถวายกาย วาจา ใจ ตลอดชวี ติ ทุกสิง่ ทกุ อยางกับพระพทุ ธเจา พระธรรม พระสงฆ ดาํ รงตนอยดู ว ยศลี ดว ย ธรรม ประพฤติคุณงามความดีตลอดมา เพ่อื เปนการเพม่ิ พูนบญุ วาสนาบารมขี องตนๆ ใหสูงสงยิ่งขึ้นไป ผไู มม โี อกาสทาํ ไดอ ยา งนม้ี จี าํ นวนมากมาย อยากจะพูดวา ราว ๙๙ % ประเภท เปน อยดู ว ยความเชอ่ื บญุ เชอ่ื บาป ยงั เหลอื เปอรเ ซน็ ตเ ดยี วหรอื ไมถ งึ เปอรเ ซน็ ตก อ็ าจ เปนได เมอ่ื เทยี บกบั โลกทง้ั โลก ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๗

๙๘ ความเกดิ ความตายมนั เหน็ อยชู ดั ๆ ภายในจติ เพราะฉะนน้ั ขอใหเ รยี นความ จริงซึ่งมีอยูที่จิต มันเกิดอยูที่นั่น มนั ตายอยทู น่ี น่ั เชอ้ื ใหเ กดิ ใหต ายมอี ยทู จ่ี ติ เมื่อเรียน และประพฤติปฏิบัติทางดานจิตตภาวนา ทดสอบเขา ไปหาความจรงิ ทม่ี อี ยภู ายในจติ ทั้งเรื่องเกิดเรื่องตาย เรื่องความเกี่ยวของพัวพันตางๆ เรื่องดีเรื่องชั่ว เรื่องบุญเรื่องบาป เรียนเขาไปตรงนั้น จะเจอเขากับความจริงในแงตางๆ ที่นั่นโดยไมมีทางสงสัย เมื่อเจอดวยใจตนเองอยางประจักษแลว ก็เหมือนเราไปเห็นดวยตาเนื้อเรา จรงิ ๆ เราจะลบลา งไดอ ยา งไร ปฏิเสธไดอยา งไรวา สงิ่ นนั้ ไมมี แตกอนเขาใจวาไมมี แต ไปเห็นดวยตาแลวจะปฏิเสธไดอยางไร เพราะตนเปนผูเหน็ เอง ถา ลบกต็ อ งลบดว ยการ ควักลูกตาตนออกเพราะลูกตาโกหก ที่ลบลางไมลงลบลางไมไดเพราะตนเห็นดวยตาวา สง่ิ นน้ั มนั มอี ยจู รงิ ถา เปน ดานวัตถุที่จับตองดูไดก็จับตองดูได เมื่อเปนเชนนั้นตนจะลบลางไดเหรอ? วา สง่ิ นน้ั ไม มี คอื สง่ิ ทต่ี นถอื และดอู ยนู น้ั ลบลา งไมไ ด ดังนั้นความจริงที่มีอยู ทานผูใดรเู หน็ ทานผู นั้นตองยอมรับความจริงนั้น นอกจากผไู มส นใจอยากรอู ยากเหน็ ยง่ิ กวา การเชอ่ื ตวั เอง เทานั้น ก็สุดวิสัยที่ธรรมจะชวยได เรื่องของความจริงเปนอยางนี้ และพวกทร่ี คู วามจรงิ กร็ อู ยา งน้ี ทานจงึ ไมล บลา ง และสอนตามความมคี วามจรงิ พวกเราเปนคนมืดบอด จึงควรเชื่อและดําเนินตามทาน จะเปน ทางทถี่ ูกตอ งดงี าม เปน ความสวสั ดมี งคลแกต วั เอง ผูมุงหวังความหลุดพนทั้ง ปวงนับแตขั้นต่ําจนถึงขั้นสูงสุด เปนความจริงไปตามขั้นของธรรมและขั้นของผูเรียน “จิตตภาวนา” นน่ั แหละ เปนผูจะทราบไดชัดเจน ในวงขนั ธม ีความกระเพื่อม กระเทือนดวยภพชาติ โดยอาศยั อารมณเ ปน ผชู กั ใยอยตู ลอดเวลา ดว ยความเกดิ ความดบั ๆ อนั มเี ชอ้ื อยภู ายในใหเ ปน ผผู ลกั ดนั ให อาการของจติ ออกแสดงตวั จิตยังไปไมไดเพราะยังมีอัตภาพเปนความรับผิดชอบอยู จิตจึงกระเพื่อมอยู อารมณเปนความเกิดดับ ๆ อยเู พยี งเทา นน้ั ถา ใจสามารถออกจาก รางได ใจจะเขา ปฏสิ นธสิ กั กอ่ี ตั ภาพกไ็ ดใ นวนั หนง่ึ ๆ จะไดเ ปน ลา นอตั ภาพในคนๆ หนง่ึ เพราะมีความติดความของความรักความชอบใจเปนสายใย รกั กต็ ดิ ชังก็ติด โกรธ กต็ ดิ เกลยี ดก็ตดิ ติดไดทั้งนั้นไมมีอั้น อะไรๆ มันติดทั้งนั้น ถาใจติดอะไรทําใหเปนภพ เปนชาติขึ้นมาอยางเปดเผยในขณะที่ติดแลว วนั หนง่ึ ๆ จะมกี ี่ลานอัตภาพในตวั เราเอง แตนี่มันไดอัตภาพอยางเปดเผยเพียงอันเดียวเทานั้น ใจจึงเปนเพียงไปติดไปยึดอยูกับ อารมณน น้ั ๆ เทา นัน้ ไมอ าจถอนตวั ออกจากอตั ภาพนไ้ี ปเขา สอู ยกู บั อารมณท ใ่ี จตดิ ได คนเราจึงมีไดเพียงอัตภาพเดียว ความเปนจริงอยางนี้ การเรียนก็เรียนอยางนี้ เรยี นให ทราบวิถีของจิตซึ่งพรอมที่จะติดอยูเสมอ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๘

๙๙ คิดเรื่องอะไรคอยแตจะติด ตําหนิติชมส่งิ ใดกไ็ ปติดกับสงิ่ นนั้ ตําหนิก็ติด ชมก็ ตดิ ถาจิตอยูในขั้นที่ควรจะติดเปนติดทั้งนั้น ไมถอยในเรื่องติด เพราะฉะนนั้ เรื่องเกดิ เรอ่ื งตายของจติ จึงไมม ถี อย เรื่องสุขเรื่องทุกขของจิตจึงมีประจําตน เพราะความคดิ ปรงุ พาใหเ ปน ไป จิตเปน ผูไมถอยในการทํากรรมดชี ่ัว ผลสุขทุกขจึงเปนเงาตามตัวแลว ปฏเิ สธไดอ ยางไร เรอื่ งความเปน ของจติ ก็เปน อยอู ยา งน้ี เห็นชัดๆ ภายในตวั เอง การ เรียนจึงเรียนลงที่นี่ เมื่อเรียนลงไปที่นี่ซึ่งเปนเปาหมายแหงความจริงทั้งหลาย ก็รูชดั เจนโดยลําดับๆ อนั ใดทค่ี วรปลอ ย เมือ่ มคี วามสามารถรูไ ดดวยสติปญ ญาแลวมันปลอยของมัน เอง เมอ่ื ปลอ ยแลว สง่ิ นน้ั ไมม มี าขอ งใจอกี คอ ยๆ หมดไป ๆ ใจหดตัวเขามาเลื่อนเขามา จากทเ่ี คยอยวู งกวา ง ปลอ ยแลว ปลอ ยเขา มา ๆ วงก็แคบเขาจนกระทงั่ เหลอื นดิ เดียวคือ ที่ใจนี้ กร็ วู า “นเ่ี ชอ้ื แหง ภพยังมอี ยภู ายในใจ” นี่เช้ือแหงภพนีเ้ ปน สิง่ หลอกตาไดเปน อยางดี ถา ไมใ ชส ตปิ ญ ญาพจิ ารณาอยา งละเอยี ดสขุ มุ จะตดิ เชือ้ แหงภพอยา งไม สงสยั ไดเ คยบอกแลว วา จิตมันรูตัวเองอยางชัดๆ จากการปฏบิ ตั ิ จะลบลา งไดอ ยา งไร วา “จติ นเ้ี มอ่ื ตายไปแลว จะไมพ าเกดิ อกี ” เพราะตัวเกิดก็อยูกับจิต จิตก็รูวาการจะ เกิดอีกนนั้ เพราะเชอื้ นเี้ ปน เหตุ รูๆ เหน็ ๆ กนั อยางเปดเผยจากการปฏิบัติทางจิตต ภาวนา ซึ่งเปนทางดําเนินที่ทรงดําเนินแลว ทรงรูประจักษพระทัยมาแลว เชอ้ื แหง ภพ ชาตมิ อี ยใู นจติ มากนอ ย จิตจะตองเกิดในภพอกี เมอ่ื ปฏบิ ตั จิ ติ ตภาวนาเขา สขู น้ั ละเอยี ด กเิ ลสยงั มมี ากนอ ยยอ มรไู ดช ดั ดว ย ปญญา เพราะสติปญญาอันละเอียดนี้คมมาก ไมมีอะไรจะหนีรอดไปได เพราะปญญา ความรเู หน็ สง่ิ ตา งๆ ที่มาเกี่ยวของกับจิตไดอยางรวดเร็ว จติ จะมสี าเหตใุ หไ ปเกดิ ทน่ี น่ั ไปเกิดที่โนน สตปิ ญ ญาตามแกไ ขทนั กบั เหตกุ ารณไ มเนิ่นชา และสามารถตดั ขาดได ในโอกาสทเ่ี หมาะสม ประการหนง่ึ จิตขั้นละเอียดนี้พรอมที่จะหลุดพนอยูแลว เมอ่ื สตปิ ญ ญาถงึ พรอ มกบั สง่ิ ทค่ี วรตดั ในโอกาสทค่ี วร จนสามารถตัดขาดเสียได ไมม เี งอ่ื นสบื ตอ ภายใน จิต จนเปน จติ ทบ่ี รสิ ทุ ธล์ิ ว นๆ ขึ้นมา เมอ่ื จติ บรสิ ทุ ธแ์ิ ลว จะสญู ไปไหน? ถา มกี ารสญู ไปอยจู ะเอาอะไรมาบรสิ ทุ ธ?์ิ และเอาอะไรมาศกั ดส์ิ ทิ ธว์ิ เิ ศษ? แมพิจารณาเทา ไรๆ กไ็ มม เี งอ่ื นสบื ตอ เพราะ กเิ ลสหมดไปแลว จิตถึงความบริสุทธิ์แทแ ลว จึงเปนอันหมดปญหากับจิตดวงนี้ ความที่จิตนี้จะเกิดจะตายตอไปอีกไมมี! ความสญู กไ็ มป รากฏวา มี เพราะฉะนั้นพระ พุทธเจาผูบริสุทธิ์ จึงไมทรงแสดงความสญู ไวก บั จิตพระอรหนั ต และจิตของสัตว โลก จงึ ขอยาํ้ อกี วา จติ ทจ่ี ะหมดปญ หาแลว มนั สญู ไหม? จิตยิ่งเดน แลวจะเอาอะไรมา ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๙

๑๐๐ สญู เลา ? เมอ่ื ความจรงิ เปน อยา งนจ้ี ะเอาอะไรมาสญู ? ขุดคนเรื่องสูญเทาไร จิตยิ่งเดน ยิ่งชัดไมมีอะไรสงสัย เดนจนพูดไมถูก บอกไมถ กู ตามโลกนยิ มสมมตุ ซิ ง่ึ หาทส่ี น้ิ สดุ ยตุ ิ ไมได ถา ใครยงั อวดเกง ตอ ความคดิ วา “ตายแลว สญู ” เวลาไปโดยผลที่ไมคาดฝนใน ภพหนา ก็จงเรียก “ความตายแลว สญู ” มาชว ยถา จะสมหวงั จิตที่เดนนอกวงสมมุตินี้ แมเดนเพียงไรก็พูดใหถูกตองความจริงไมได! เมอ่ื ปญ หาเกย่ี วกบั การตายเกดิ ตายสญู สน้ิ ไปจากใจแลว กเ็ ปน ผู “สิ้นเรื่อง” โดยประการทง้ั ปวง ถึงความบริสุทธิ์เต็มภูมิ จิตที่บริสุทธิ์เต็มภูมินี้สูญไหม? เมื่อรูชัด เห็นชัดอยางนี้แลวธรรมชาตินี้จะสูญไปไหน? ลงความจรงิ ทร่ี อู ยนู จ่ี ะลบไดไ หม? จะให สูญไดไหม? ใครจะไปลบเลา? นอกจากคนตาฝา ฟางมองไมเ หน็ หนทาง เหยียบแต ขวากแตห นามแลว กบ็ อกวา หนทางไมด ี สง่ิ ทม่ี กี ค็ อื ขวากหนามเตม็ ฝา เทา เทา นน้ั เมอื่ เปน เชน นน้ั เราจะเชอ่ื คนตาดหี รอื คนตาบอด จงตดั สนิ ใจดว น! อยา ใหเ สยี ดายเดย๋ี ว ตายเปลา จะวาไมบอกไมเตือน ทอ่ี ธบิ ายมาทง้ั นเ้ี ปน คาํ บอกคาํ เตอื นอยแู ลว ความบริสุทธิ์ที่ไมตองฝนอะไรๆ กค็ อื อนั นแ้ี ล แลวอันนี้จะสูญไปไดอยางไร แต จะมาตั้งอยูเหมือนหมอไหโองน้ําไมได เพราะคนไมใชหมอ และนเ่ี ปน จติ จิตธรรมดา กบั จติ บรสิ ทุ ธน์ิ น้ั ผดิ กนั มากมาย จะมาตง้ั กฎเกณฑใ หเ ปน อยา งน้ี ใหอ ยแู บบนๆ้ี ไม ได ไมวาแบบใดๆ เพราะไมใ ช “ฐานะ” ของจิตประเภทนท้ี จ่ี ะมาตง้ั แบบนห้ี รอื แบบ ใดๆ ดังทา นวา “นพิ พฺ านํ ปรมํ สุ ญฺ ”ํ นพิ พานสญู แบบนเ้ี อง คอื สญู แบบนพิ พาน มใิ ชส ญู แบบโลกๆ ทเ่ี ขา ใจกนั “สญู แบบนพิ พาน” คอื ไมม อี ะไรบรรดาสมมตุ เิ หลอื อยภู ายในจติ ผูที่รูวาสิ่ง ทง้ั หลายสญู สน้ิ แลว จากใจนน่ั เลย นั่นแหละคือตัวจริง นน่ั แหละคอื ผบู รสิ ทุ ธ์ิ ผูนี้จะ สูญไปไมได ยง่ิ เดน ยง่ิ ชดั ยง่ิ เขา ใจแจม แจง ทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง ผูนี้ไมสูญ ผูนี้แลเปนผูทรง คณุ สมบตั อิ นั ยอดเยย่ี ม ในบททส่ี องวา “นพิ พฺ านํ ปรมํ สุข”ํ ผนู แ้ี ลเปน สขุ อยา งยง่ิ นอกสมมตุ ิท้ังปวง ถาจิตบริสุทธิ์ไดสูญไปจริงๆ ธรรมบทนี้จะขึ้นมารับไมได เพราะก็สูญไปหมด แลว ไมมีอะไรจะมาเปนสุขอยางยิ่งไดเลย การปฏิบัติใหเขาใจความจริงความแทของ ธรรม ตอ งปฏบิ ตั ใิ หถ กู ธรรม อยาฝนธรรม จะไมรูความจริงแมมีอยูในตน คาํ วา “โลก” คอื “หมูส ัตว” กห็ มสู ตั วต รงนเ้ี อง คือตรงที่มีเชื้อไดแกอวิชชา ตณั หาอปุ าทานพาใหเ กดิ อยไู มห ยดุ กอ นจะไปเกดิ ใหมต อ งเกดิ อยภู ายในจติ นเ้ี อง ทา นเรยี กวา “หมสู ตั วพ ากนั เกดิ อยทู ว่ั โลกดนิ แดน” “ตายทว่ั โลกดนิ แดน” กค็ อื ธรรม ชาตทิ ว่ี า นน่ั เอง ไมมีอันใดเปนผูพาใหเกิดพาใหตาย ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๐

๑๐๑ สว น ความทกุ ขค วามลาํ บากทม่ี าจากธรรมชาตทิ ก่ี อ ภพ ไดแ ก “ชาตปิ  ทกุ ขฺ า ชราป ทกุ ขฺ า มรณมปฺ  ทกุ ขฺ ํ” ธรรมชาตอิ นั นเ้ี อง เมื่อละหมดโดยตลอดทั่วถึงไมมีเชื้อ “วฏั ฏะ” ทจ่ี ะพาใหเ กดิ อกี แลว ธรรมชาตนิ ก้ี เ็ ปน “ววิ ฏั ฏะ” คาํ วา “โลกคอื หมสู ตั ว” ก็พูดไมไดอีกแลว หมดปญ หาทจ่ี ะพดู วา โลกคอื หมู สตั วข องผบู รสิ ทุ ธน์ิ น้ั ฉะน้นั พวกเราจงพยายามปฏิบตั ิตามหลกั ความจริงทพ่ี ระพุทธ เจา ทรงสง่ั สอนไวแ ลวนี้ ในธรรมทา นวา “สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม” พระธรรมอนั พระพทุ ธเจา ตรสั ไวช อบแลว ชอบทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง ไมวาเบื้องตน คอื “อาทกิ ลยฺ าณ”ํ ไพเราะเพราะพริ้ง เต็มไปดวยเหตุดวยผลในเบื้องตนแหงธรรม “มชเฺ ฌกลยฺ าณํ” ไพเราะเพราะพริ้ง เต็มไปดวยเหตุดวยผล เตม็ ไปดว ยความถกู ตอ งดงี ามในทา มกลาง แหงธรรม “ปรโิ ยสานกลยฺ าณ”ํ ไพเราะในที่สุด ทาํ ใหผูฟ งซาบซึง้ เต็มไปดวยเหตุดวย ผล ดว ยความถกู ตอ งดงี ามสดุ สว นแหง ธรรม ทุกชั้นทุกวรรคทุกตอน สิง่ ทน่ี า ตเิ ตียนและควรแกไขอยา งยิง่ กค็ อื จติ ใจของสตั วโ ลกผฝู น หลกั ธรรมอยู ตลอดเวลา เพราะกเิ ลสมอี าํ นาจมากกวา จงึ ทาํ ใหฝ น ธรรม เมื่อฝนธรรมก็ตองไดรับ ความทุกข เกิดก็เปนเรา แกก ็เปน เรา เจ็บก็เปนเรา ตายก็เปนเรา ทกุ ขย ากลาํ บากชนดิ ไหนๆ ตนกเ็ ปน คนรบั เสยี เอง กิเลสมันไมมารับแทนพอจะใหมันกลัวทุกข แลว แสวงหา ธรรมเปนที่พึ่งดังพวกเรา พระพุทธเจาทานไมรับทุกข สาวกทา นไมร บั ทกุ ข ดงั ทม่ี วลสตั วร บั กนั ! เพราะฉะนั้นจึงควรเห็นโทษแหงการฝนธรรมวาเปนของไมดี จะทําใหเกิดไป เรื่อยๆ ตามความฝา ฝน จงพยายามแกไขดัดแปลงหรือฝกทรมาน ชําระสะสางสิ่งที่พา ใหฝ น นน้ั ออกจากใจ เราจะคลอยตามธรรมซาบซึ้งในธรรมไปเรื่อยๆ ความซาบซง้ึ ใน ธรรมนั้น เพราะธรรมเริ่มเขาถึงใจเรา และกเิ ลสกเ็ รม่ิ ถอยทพั กิเลสเบาบางลงไปแลวจึง ทําใหมีความซาบซึ้งดื่มด่ํา มีความพอใจบําเพ็ญศีลบําเพ็ญธรรม ถา มแี ตก เิ ลสลว นๆ เตม็ หวั ใจ ไมมีธรรมเขาขัดขวางตานทานไวบางเลย ยอมไม มีใครจะสนใจในอรรถในธรรมกัน ชาตนิ น้ี บั วา มเี ราวาสนา เพราะมีธรรมคอยสะกิดใจ ใหเรามีความชอบความพอใจอยากไปวัดไปวา บาํ เพญ็ ศลี บาํ เพญ็ ทาน บาํ เพญ็ ภาวนา ใหมีชองทางปฏิบัติบําเพ็ญธรรม มีความดูดดื่ม มคี วามพออกพอใจ มคี วามเชอ่ื ความ เลื่อมใสในธรรม อันเปนธรรมรสภายในใจ มีธรรมคุมครองจิตใจ กเิ ลสแมย งั มอี ยใู นใจ ก็จริง แตธรรมที่ไดสั่งสมมาจึงพอตอสูตานทานกัน หากมแี ตเ รอ่ื งกเิ ลสลว นๆ แลว การ ทําความดยี อมเปนการทํายากย่งิ ทั้งไมสนใจจะทํา สนใจแต “บาปกรรม” นาํ ตนเขา สู ความลามกตกนรกท้ังเปน ท้ังตาย ไมมีวันผลุบโผลไดเลย ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๑

๑๐๒ ผูไมมีธรรมในใจ ก็คือผูมีบาปเต็มไปทั้งดวงใจนั้นแล ผลของบาปจึงไดรับแต ความทกุ ขค วามลาํ บากเรอ่ื ยๆ ไป ไมว า อยใู นภพใดกาํ เนดิ ใด แดนใดภาษาใด เพราะ ใจนั้นมันไมมีชาติชั้นวรรณะ ไมมีภาษา แตเปนแหลงผลิตกรรมดีชั่วทั้งปวง และเปน คลงั แหง วบิ ากคอื ผรู บั ผล จึงตองรบั ทั้งความสุขความทุกขทตี่ นสรา งข้นึ ทาํ ขึ้นมากนอย จะหลบหลีกปลีกตัวไปที่ไหนไมได ถา ไมส รา งปอ มปราการคอื บญุ กศุ ลไวเ สยี แตบ ดั น้ี ซึ่งยังไมสายเกินไป เพื่อบรรเทาหรือลบลางบาปใหลดนอยลงจนไมมีบาปติดตัวติดใจ ผนู แ้ี ลคอื ผมู คี วามสขุ แท ไมเ พยี งแตค วามสขุ ทเ่ี กดิ จากการเสกสรรปน ยอซง่ึ หาความ จริงมิได การกลา วทง้ั หมดน้ี ใหต า งคนตางนอมเขาสใู จของตนเอง ซึ่งเปนตัวการกอ กรรมทําเข็ญดวยกัน เปน ตวั การทง้ั เรอ่ื งทเ่ี ปน มาน้ี เปนตัวการทั้งเรื่องชําระคือแกไข ตอ งฝน ตอ สกู บั กเิ ลส ตองฝน อยา ถอยมนั จะไดใ จ เพราะกิเลสเคยฝนเราและเคยบังคับ เรามานานแลว คราวนี้เราพอมีทางสู เพราะไดอรรถไดธรรมมาจากพระพุทธเจา จากครู บาอาจารยเ ปน เครอ่ื งมอื ตอ สกู บั กเิ ลส สไู มถ อย ขนึ้ ชอื่ วา สแู ลวจะตอ งมชี ัยชนะจนไดใน วนั เวลาหนง่ึ ทแี รกเรายอมมนั แบบหมอบราบเลย ถา ไมส มู นั กไ็ มเ รยี กวา “ลูกศิษยพระ ตถาคต” ผเู กง กลา ในการรบกบั กเิ ลส การตอสูย ังดกี วายอมแพเ สียทีเดียว คราวนี้แพ เพราะกําลังยังไมพอ กต็ อ งยอมแพไ ปกอ น คดิ อบุ ายขน้ึ มาใหม สูเร่อื ยๆ สกู นั ไปสกู นั มา ยอมมีทางชนะกันไปเรื่อยๆ เมอ่ื สบู อ ยเขา ความชาํ นาญยอ มตามมา และความชาํ นะ มมี ากขน้ึ ๆ ตอ ไปความแพไมค อ ยบอยไมคอยมี นน่ั ! ฟงซิ ทําไมจึงเปนเชนนั้น? เพราะจิตถึงธรรมข้นั ไมยอมถอยทัพกลับแพแลว ถา จะ แพก เิ ลสนอ ยใหญต อ ไปอกี กข็ อใหต ายเสยี ดกี วา ทจ่ี ะมาเจอความแพน ้ี ซึ่งเปนความต่ํา ตอยดอยสติปญญา ศรทั ธา ความเพียร จงึ ขอใหต ายเสยี ดกี วา ขอใหช นะกเิ ลสทกุ ประเภทโดยถายเดียวเทานั้น ไมข ออยา งอน่ื ทโ่ี ลกขอกนั ถา ไมช นะ กใ็ หต าย นั่น! ฟงซิ เด็ดไหม? จิตดวงเดียวนี่แหละ ดวงที่เคยแพ เคยลม ลกุ คลกุ คลาน นแ่ี หละ เม่อื เวลาพลกิ ตวั ข้นึ สธู รรม ดว ยไดร บั การฝก ฝนอบรมจากครอู าจารยม าแลว ดวยดี จติ มกี าํ ลงั วงั ชาพอมคี วามรคู วามฉลาด ตลอดถึงผลที่ไดรับประจักษใจ เปน เครอ่ื งสนับสนุนจติ ใจใหถึงข้ันท่ีวา “ใหต ายเสยี ดกี วา ทจ่ี ะเจอความแพก บั กเิ ลสนอ ย ใหญอ กี ” ไมประสงคอีกแลว เรื่องความแพนี้ ไมเปนของดีพอจะสงเสริมเลย เขาแขง กฬี ากนั แพก นั ผูแพก ็ยอมเสยี ใจ แมจ ะเปน การเลน สนกุ กนั กต็ าม ยังทํา ใหผูแพเสียใจได เรื่อง “วฏั สงสาร” คอื เรอ่ื งความเกดิ ความตาย เรื่องกิเลสซึ่งเปนภัยตอเราโดย ตรง ไมใ ชเ รอ่ื งเลน ๆ ดังเขาเลนกีฬากัน เปนเร่อื งของความทุกขกองทกุ ขใ นตัวเราแทๆ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๒

๑๐๓ การแพส ่งิ นี้ถือเปน ของเลนของดแี ลว หรือ เราคิดดูใหดี ความจริงแลวไมใชของดีเลย ความแพก เิ ลสเปน ความเสยี หายแกต วั เราไมม ที ส่ี น้ิ สดุ ฉะนั้นการแพกิเลสจึงเปนเรื่อง ใหญโ ตมาก ทําไมถึงยอมแพมันเรื่อยๆ เอา! สมู นั ไมถ อย จนไดชัยชนะไปเปนลําดับๆ จนถงึ ขน้ั ไมใ หม คี าํ วา “แพ” กระทั่งชนะไปเลย! ผูนี้แลเปนผูประเสริฐ เมื่อชนะไปเลยแลว ทนี ค้ี าํ วา “ตายแลวเกดิ ตายแลว สญู ” นน้ั หมด! ไมม อี ะไรเหลอื อยใู นใจเลย เพราะความสําคัญมั่นหมายเปนกิเลสทั้ง นน้ั คําวา “ตายแลว เกดิ ตายแลว สญู นรกมีหรือไมมี สวรรคมีหรือไมมี นเ้ี ปน เรอ่ื งของ กิเลสพาไปใหคิดดนเดาทั้งสิ้น พอมาถงึ ขน้ั “ชนะไปเลย” เรอ่ื งเหลา นก้ี ห็ มดไปในทนั ทที นั ใด ไมมีการเกิดได อีกเพราะไมม สี ิ่งผลักดันใหเกิด ความลังเลสงสัยปลงใจลงกับธรรมไมได ทานเรียกวา “นิวรณ” เครอ่ื งกน้ั กางทางดี แตเ ปด ทางชว่ั ใหท าํ ผูมีนิวรณเขาเปนใหญในใจ จึง ตองตัดสินใจเพื่อความดีงามอะไรไมได นอกจากงานที่จะลงทางต่ําไปเรื่อยๆ นั้น เปน งานที่สนใจจดจอ โดยไมคิดวาจะผิดพลาดประการใดและใหผลเชนไรบาง ดวยเหตุนี้ ความชว่ั สตั วโ ลกจงึ ทาํ ไดง า ย แตค วามดนี ั้นทาํ ไดยาก ผูโดนทุกขจึงมีมากแทบทุกตัวคน และมอี ยทู กุ หนทกุ แหง แมจ ะพดู วา หลงกองทกุ ขกนั ก็ไมผิด แตผูเปนสุขกายสุขใจนั้นมี นอ ยมาก แทบไมนาเชื่อวาจะมีได การทเ่ี ราเหน็ เขาแสดงความรน่ื เรงิ ออกมาในทา ตา งๆ และ สถานที่ตางๆ เชน ใน หนาหนังสือพิมพเปนตน นน่ั เปน เพยี งเครอ่ื งหลอกกนั เลน ไปอยา งนน้ั เอง ความจริง ตางอมความทกุ ขไ วภ ายในใจแทบระเบดิ โดยไมเลือกชาติชั้นวรรณะใดๆ เลย ทั้งนี้ เพราะสงิ่ ทท่ี ําใหซ อนความจริงไวนน้ั ไดแ กค วามอาย กลัวเสียเกียรติ และเปน คนใหญ คนโตที่โลกนิยม น่ี จงึ นาํ ออกใหโ ลกและสงั คมเหน็ แตอ าการทเ่ี หน็ วา เปน ความสขุ รน่ื เริงเทานั้น ตวั ผลติ ทกุ ขแ กม วลสตั วม นั ผลติ อยภู ายในใครไมอ าจรเู หน็ ได นอกจากปราชญ ที่เรียนรูและปลอยวางมัน และกลมารยาของมนั แลว เทา นน้ั จึงทราบไดอยางชัดเจนวา ภายในหวั ใจของสตั วโ ลกคกุ รนุ อยดู ว ยไฟราคะตณั หา ไฟความโลภ หาความอม่ิ เพยี ง พอไมเจอ แมจะแสดงออกในทาราเริง ทา ฉลาดแหลมคม ทาผูดีมีความสุขฐานะดีเพียง ไร ก็ไมสามารถปดความจริงที่มีอยูในหัวใจใหมิดไดเลย ปราชญทั้งหลายรูเห็นจับได เพราะกลมายาของกเิ ลสกับธรรมละเอียดตางกนั อยูมาก ทานผูเปนปราชญโดยธรรม จึงทราบไดไมยากเย็นอะไรเลย ดว ยเหตนุ จ้ี งึ ควรพยายามสรา งความดใี หพ อแกค วามตอ งการ จิตใจเปนของแก ไขได ใจช่ัวแกใ หดกี ไ็ ด ทําไมจะแกไมได ถาแกไมไดพระพุทธเจาจะฝกพระองคใหดีได ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๓

๑๐๔ อยา งไร บาปนน้ั มดี ว ยกนั เพราะเราทุกคนเกิดมาทามกลางแหงบาป เกดิ มากบั กเิ ลส และอยใู นวงลอ มของกเิ ลสดว ยกนั เกดิ มากบั บญุ กบั บาป และอยูในทา มกลางส่ิงทีด่ ชี ัว่ เหลา นแ้ี ล เนื่องจากยงั ไมม คี วามดีพอจะใหอ ยูเหนือสง่ิ เหลานไี้ ด แดนมนษุ ยเ ปน สถาน ทแ่ี ละกาํ เนดิ อนั เหมาะสมดอี ยแู ลว จะสรางอะไรก็ไดเต็มภูมิ แตก ารสรา งความดนี น้ั เหมาะสมกบั ภมู มิ นษุ ยอ ยา งยง่ิ ดงั พวกเราสรางหรอื บาํ เพญ็ อยูเวลาน้ี อนั ใดควรแกไ ข ดัดแปลง กแ็ กไ ขและดดั แปลง สิ่งที่ควรสงเสริมก็สงเสริมไปเรื่อยๆ ดวยความไม ประมาทนอนใจ การไมประมาท สรางประโยชนเพื่อโลกและตัวเองอยูเสมอ แมไปเกิดภพใดก็ไม เสียทา คนที่มีความดีแลวไมเสียที มีแตความสุขความเจริญไปเรื่อยๆ ในภพนน้ั ๆ มี ความสขุ สบายตลอดไป จนอปุ นสิ ยั วาสนาสามารถเตม็ ทแ่ี ลว กผ็ า นไปยงั แดนเกษม สาํ ราญ การผา นไปกผ็ า นไปดว ยดี อยดู ว ยความดี ความดเี ปน เครอ่ื งสนบั สนนุ ใหผ า น กองทกุ ขต า งๆ ไปไดโดยไมมีอุปสรรค ถาไมมีความดีก็ไปไมได การไปสคู วามสขุ ความ เจริญนั้น โลกอยากไปดว ยกนั ทกุ คนนน่ั แล แตทําไมจึงไปไมได? ก็เพราะกําลังไมพอที่ จะไปนน่ั เอง ถา ไปไดด ว ยความอยากไปเทา นน้ั โลกท้ังโลกใครจะไมทนรบั ความทกุ ขค วาม ลาํ บากทเ่ี ปน อยนู เ้ี ลย แมแตส ตั วเ ขายงั กลัวทุกข ทําไมมนุษยฉลาดกวาเขาจึงจะไมกลัว ทุกข จะทนแบกหามทกุ ขอ ยทู าํ ไม? ทั้งๆ ทีร่ อู ยูวาทกุ ขนะ สตั วอ ยากพน จากทกุ ขอ ยา ง เต็มใจดวยกัน ทําไมไมพนไปเสีย? ทั้งนี้ก็เพราะกรรมยังมี วาสนาบารมยี ังไมสมบรู ณ สุดวิสัยที่จะไปได จงึ ยอมอยกู นั และเสวยทกุ ขต ามทป่ี ระสบ ย่ิงหลวงตาบัวซึ่งเปนคลังแหง กองทกุ ขอ ยา งเตม็ ตัวเตม็ ใจอยแู ลว มีใครมา กระซบิ วา “โนน! ความเกษมสาํ ราญอยโู นน นะ มานอนกอดทกุ ขอ ยทู าํ ไม ไปซี!” จะ โดดผางเดียวก็ถึงแดนเกษมนะ เอา! โดด ๆ ๆ เดี๋ยวนี้ จะถงึ เดย๋ี วน”้ี ถาเปนไปไดดัง ทว่ี า น้ี ขาขาดแขนขาดไปขณะที่โดดก็ขาดไปเถอะ ขรัวตาบัวตองโดดผึงเลยอยางไมเสีย ดาย เพอ่ื ไปเสวยความสขุ ใหบ านใจหนอ ยกย็ งั ดี ดกี วา นอนกอดทกุ ขอ ยตู ลอดภพชาตทิ ่ี เต็มไปดวยทุกข ไมมีความสขุ มาเยย่ี มเยยี นบางเลย แตน ม่ี นั สดุ วสิ ยั จงึ ยอมนั่งหาเหา เกาหมดั แบบคนสน้ิ ทา อยอู ยา งน้ี ฉะนน้ั ขอทุกทา นจงเห็นคณุ คาแหง ความเพยี รเพือ่ ไปสูแดนเกษม อยา เอาเพยี ง ความอยากไปมาหลอกลอ ใหจ มอยใู นทกุ ขเ ปลา ธรรมทา นกลา วไวว า “คนจะลวงพน จากทกุ ขไ ปไดโ ดยลาํ ดบั ๆ เพราะความเพยี รพยายามเปน หลกั ใหญ” นเ่ี ปน ธรรม ของพระพุทธเจาผูพนจากความทุกขเพราะความเพียร ไมใชเพราะความอยากพนเฉยๆ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๔

๑๐๕ และความทอ ถอยออ นแอแยล งทกุ วนั กระทง่ั รบั ประทานอาหารกน็ อนรบั เพราะขเ้ี กยี จ ลกุ นี่ขําดี เราเปนลูกศิษยพระตถาคต เปนพุทธบริษัท ทา นหมายถงึ อะไร หมายถงึ ลกู เตา เหลากอของพระพุทธเจา พระองคทรงพาเราดําเนินไปอยางใด พระองคท รงดาํ เนนิ กา ว หนา เราเดินถอยหลังมันจะเขากันไดไหม? เรากต็ อ งเดนิ กา วหนา ไปดว ยความ พากเพียรไมลดละทอถอย จะชาหรือเรว็ ก็ตาม ขอใหค วามพยายามนน้ั เปน ไปตามกาํ ลงั สติปญญาความสามารถ อยา ละเวน ความเพียรเทา นั้น กเ็ ชอ่ื วา “เปนลูกศิษยที่มีครู สอน ดําเนินตามครู” วาสนาเราสรา งทกุ วนั ทําไมจึงจะไมเจริญกาวหนา พระพทุ ธเจา ก็ ทรงสอนใหสรางคณุ งามความดเี พอ่ื เปนอํานาจวาสนา ทาํ ไมวาสนาจะไมส นบั สนนุ เรา ความจรงิ ตามธรรมแลว ธรรมเหลา นน้ั ตอ งสนบั สนนุ อยโู ดยดี จงทาํ ใหย ง่ิ ๆ ขึ้นไปโดย ลาํ ดบั ผลสุดทายก็เปนไปไดเชนเดียวกับพระพุทธเจานั้นแล ดงั ทก่ี ลา วเมอ่ื สกั ครนู ว้ี า ทแี รกกย็ อมแพไ ปกอ น สูไปแพไป ๆ ตอไปสูไปแพ บา งชนะบา งสลบั กนั ไป ทั้งแพทั้งชนะมีสลับขั้นกันไป ทีเขาทีเรา ตอไปทีเราชนะมาก กวาทีเขาชนะ ตอไปทีเราชนะมากเขา ๆ สุดทายมีแตทีเราชนะ! กเิ ลสหมอบลงเรอ่ื ยๆ นอกจากหมอบแลว เราฆามันจนฉิบหายไปหมดไมมี อะไรเหลือ เมอ่ื ฆา กเิ ลสใหต ายแลว ไมต อ งบอกเรอ่ื งความพน ทกุ ข ใจหากพนไปเอง เทาที่หาความสุขอันพึงหวังไมเจอ กเ็ พราะกเิ ลสเปน กาํ แพงขวางกน้ั ไวน น่ั เอง พอ ทาํ ลายมนั ใหว อดวายไปแลว ความพนทุกขก เ็ จอเองไมตอ งถามใคร! การทีส่ ตั วม าเกิดและทนทุกขท รมาน กเ็ พราะมาอยใู ตอ าํ นาจของกองกเิ ลสเทา นน้ั ไมมเี รื่องอน่ื ใดเลยเปนสําคัญกวา เร่ืองกเิ ลสชนดิ ตา งๆ ซง่ึ เปน นายเหนอื หวั สตั วโ ลก เราจึงไมควรมองขามกิเลสวาเปนของเล็กนอย เรอื่ งของกิเลสกค็ ือเรือ่ งกองทุกขน ั่นเอง มองใหซึ้งๆ กิเลสอยใู นใจของเรานแ่ี ล มองใหเ หน็ กนั ทน่ี ่ี ฝก กนั นท่ี ่ี แกก นั ทน่ี ่ี ฆากันที่ น่ี ตายกนั ทน่ี ่ี ไมต อ งเกดิ กนั กท็ น่ี แ่ี หละ! ทส่ี น้ิ ทกุ ขก อ็ ยทู น่ี ไ่ี มอ ยทู อ่ี น่ื ขอใหพากันนําไปพินิจพิจารณา และบําเพ็ญคณุ งามความดีใหม ากเทาท่ีจะมาก ได ไมตองกลัวจะพนทุกขเพราะความดีมีมาก นน่ั คดิ ผดิ กเิ ลสหลอกลวงอยา เชอ่ื มนั เดี๋ยวจมจะวาไมบอก กิจการใดก็ตามที่จะใหเกิดความดี จะเกิดจากการใหทานก็ตาม ศลี กต็ าม ภาวนากต็ าม เปน ความดดี ว ยกนั ทง้ั นน้ั รวมกนั เขา กเ็ ปน มหาสมบตั ิ เปน เครื่องสนับสนุนจิตใจเราใหเปนสุข เปนสุขเรียกวา “สคุ โตๆ” อยูก็สุคโต ไปกส็ ุคโต ถา คนมบี ญุ เพราะการสรางบุญ ไมมีอยางอื่น มอี นั นเ้ี ปน สาํ คญั ของคนใจบญุ จึงขอยุติการแสดงแตเพียงเทานี้ <<สารบัญ ๑๐๕ ธรรมชุดเตรียมพรอม

๑๐๖ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙ สญุ ญกปั -ภทั รกปั ตามหลกั ธรรมทา นกลา วไวว า “สญุ ญกปั ” คอื ระยะทว่ี า งเปลา จากศาสนา ไมมี อรรถไมมีธรรม คาํ วา “ศลี ” วา “ธรรม” วา “บาป” วา “บญุ ” น้ไี มปรากฏในความรู สึกของประชาชนทั้งหลาย คงไมมีความสนใจกันและไมทราบวา “ศีลธรรม” หรือ “บาป-บญุ -คุณ-โทษ” เปนประการใดบาง ทานวาเปนระยะที่รอนมาก แตไมไดหมาย ถงึ ดนิ ฟา อากาศรอ นผดิ ปกตธิ รรมดาทเ่ี คยเปน แตมันรอนภายในจิตใจของสัตวโลกที่ เต็มไปดวยกิเลสซึ่งเปนธรรมชาติที่เผาลนใจสัตว เพราะเปนธรรมชาติที่รอนอยูแลว เม่ือเขา ไปสงิ ในสถานทใ่ี ดจุดใด จดุ น้นั ตองรอน ในหวั ใจใดหวั ใจนน้ั ตอ งรอ น เพราะไม มนี าํ้ ดบั คอื ศาสนธรรม คาํ วา “นาํ้ ” กไ็ ดแ ก “ศีลธรรม” เปนเครื่องดับความรุมรอนภายใน คอื กเิ ลสที่ สมุ ใจ แมศ าสนามอี ยเู ชน ทกุ วนั น้ี ถา ไมสนใจนาํ “น้าํ ศีลธรรม” เขามาชะลางเขามาดับ ความรุม รอ นน้ีก็ไมวายที่จะรอ น เชนเดียวกับ “สญุ ญกปั ” คาํ วา “สุญญกัป” ในครง้ั โนนกับ”สญุ ญกปั ” ของเราในบางเวลา หรอื ของบคุ คลบางคนนน้ั มีอยูเปนประจํา ผูที่ ไมเ คยสนใจกบั ศีลกับธรรม หรอื กบั คณุ งามความดอี ะไรเลยนน้ั นะ เปน “สญุ ญกปั ” ผไู มส นใจอยา งนน้ั เราอยา เขา ใจวา เขามเี กยี รตมิ ีคณุ งามความดี เขาเปนคนเฉลียว ฉลาด เขาเปน คนมฐี านะดี เขาเปนมนุษยที่มีสงาราศี ตรงกนั ขา มหมด! คอื ภายในจติ ใจที่ไมมีศีลธรรมเปนเครื่องหลอเลี้ยงและเปนน้ําดับไฟแลว จะใหความรมเย็นเกิดขึ้น ไดอยางไร เพราะกิเลสมันฝงลึกอยูภายในจิตใจนั้นเปนประจํา แมมีสิ่งที่จะดับแตไมสนใจที่ จะนาํ มาดบั แลว จะหาความสขุ ความสบายมาจากทไ่ี หน โลกเรามองกนั สว นมาก มอง อยา งเผนิ ๆ คอื มองตามความคาดความหมาย ตามความรูสึกของโลกและของตัวเอง โดยไมไดนําเหตุนําผลนําอรรถนําธรรมเขามาเทียบเคียง หรอื วดั ตวงกบั คนและสง่ิ เหลา นน้ั เนื่องจากเราไมมีความรูและมีปญญาลึกซึ้งทางดานธรรมซึ่งเปนความจริง และเปน หลกั เกณฑอ นั ตายตวั มาทดสอบกบั เรอ่ื งทง้ั หลาย จึงไมทราบความจริงซึ่งมีอยูในหัวใจ ดว ยกนั ทกุ คน ที่ลวนแลวแตความจริงคือธรรม ทา นสอนอรรถสอนธรรมแกส ตั วโ ลกนน้ั ทาน สอนความจรงิ ไมไ ดส อนความปลอม แตจิตใจของเรามันชอบปลอมกับธรรมอยูเสมอ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๖

๑๐๗ เปน ขา ศึกตอ ตัวเองอยเู ร่ือยๆ เวลาจะประกอบศีลธรรมคุณงามความดีเขาสูจิตใจ มัก จะหาเรอ่ื งหาราวกอ อปุ สรรคใหข ดั ขอ งตอ การประกอบความดนี น้ั ๆ กลายเปน มาร สังหารตนเองโดยไมรูสึก โดยที่เราก็คิดวาเปนทางออกของเราอยางดี นี่ก็เปนเรื่องไฟที่ จะทาํ ความรมุ รอ นใหแ กเ ราแงห นง่ึ เพราะฉะนน้ั คาํ วา “สญุ ญกปั ” อันเปนเรื่องใหญนั้น จึงมาเปนไดกับเรื่องยอยๆ ในบรรดาเราทั้งหลาย แมจ ะนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาอยกู ต็ าม ระยะใดท่หี างเหินจากศลี ธรรม จากการประกอบคณุ งามความดี เฉพาะอยางยิ่งคือการอบรมจิตใจใหมีความรม เย็น ระยะนั้นมันก็เปน “สญุ ญกปั ” ได ระยะใดที่เปนสุญญกัปภายในใจ ระยะนน้ั ใจก็ รอ น ความรอ นนน้ั มนั เปน “สญุ ญกปั ” ในหวั ใจคน มนั จะรอ นของมนั ไปเรอ่ื ยๆ คาํ วา “สุญญกัป” คอื วา งเปลา จากเหตจุ ากผล จากคาํ วา “อรรถ” วา “ธรรม” คาํ วา “บาป” วา “บญุ ” ไมไดระลึกพอที่จะหาทางแกไขและสงเสริมเลย ทา นเรยี กวา “สุญญกปั ภายในจติ ใจของสตั วโลก” และ เม่ือ “สุญญกัป” เขาสูจิตใจได แมจะมี ศาสนาอยโู ดยทต่ี นกป็ ฏญิ าณตนวา นบั ถอื ศาสนากต็ าม แตขณะที่ไมมีศาสนา ไมมีเหตุมี ผลเปน เครอ่ื งยบั ยง้ั ชง่ั ตวงทดสอบตนเองวา ผดิ หรอื ถกู ประการใดบา ง ระยะนั้นเปน ความวนุ วายรมุ รอ นของจติ ไมน อ ย ท่ีเรียกวา “สุญญกัป” ฉะนน้ั สญุ ญกปั คอื ความวา ง เปลาจากศีลธรรมเครื่องใหความรมเย็น จงึ มักเดนอยทู ี่จติ ใจคนไมเ ลือกกาลวา เขา ถงึ สุญญกัปหรือไม นเ่ี ราเทยี บเขา มาใหท ราบเรอ่ื ง “สญุ ญกปั ” ตามหลกั ธรรมทท่ี า น กลา วไว พอเลยจากนน้ั กม็ พี ระพทุ ธเจา มาตรสั รู และทรงสั่งสอนธรรมแกโลก โลกก็ เริ่มรูศีลรูธรรมแลวปรับตัวเปนคนดี มีความรมเย็นไปโดยลําดับ เพราะอํานาจแหงศีล ธรรมเปน “นาํ้ ” สาํ หรบั ดบั “ไฟกเิ ลสตณั หาอาสวะ” ซึ่งเปนความรุมรอนโดยหลัก ธรรมชาติของมัน ทา นกลา วไวอ ยา งนน้ั นเ่ี รายน เขา มาดว ย “โอปนยิโก นอ มเขา มาสตู วั ของ เรา” ในวนั หนง่ึ คนื หนง่ึ เดือนหนึ่งปหนึ่ง ตั้งแตวันเกิดมานี้ กว่ี นั กค่ี นื กเ่ี ดอื นกป่ี  กี่ชั่ว โมงนาที ระยะใดบางในชวงที่เกิดมาจนกระทั่งบัดนี้ซึ่งเปน “สุญญกัป” ภายในตวั เรา? ในระยะใดบางที่มีศาสนาประจําใจ เฉพาะอยา งยง่ิ แมใ นขณะทน่ี ง่ั ภาวนามนั กเ็ ปน “สุญญกัป” ไดอ กี นง่ั ภาวนา “พุทโธ ๆ” สักประเดี๋ยวเผลอไปลงนรกแลว คอื ยงุ กบั เรื่องนั้น ยุงกับเรอ่ื งนี้ วนุ วายกบั อารมณน น้ั วนุ วายกบั อารมณน ้ี นน่ั แหละมนั เปน “สุญญกัป” แลวโดยที่เราไมรูตัว ทั้งๆ ทเ่ี รากว็ า เรานง่ั ภาวนาน่ี แตมนั นงั่ วุน นน่ั นง่ั วนุ น่ี จึงกลายเปนนั่ง นั่งสุญญกัปไป! ในหวั ใจของนกั ภาวนาทช่ี อบนง่ั สปั หงกงกงนั และ จิตใจฟุงซานไปตามอารมณ โดยไมมีสติปญญาตามรักษาและแกไข ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๗

๑๐๘ เพื่อใหเขาใจในเรื่องเหลานี้ และเพอ่ื ใหท นั กบั กลมารยาของกเิ ลส คอื ความลมุ หลงอันเปนกิเลสประเภทหนึ่ง จําตองตั้งสตติ ั้งทาตั้งทางระมัดระวังและพินิจพิจารณา มเี จตนามงุ หนา ตอ การงานของตนในขณะทท่ี าํ อยา ใหค วามพลง้ั เผลอเหลา นน้ั เขา มา แบง สนั ปน สว นเอาไปกนิ และเอาไปกินเสียหมดกระทั่งไมมีอะไรเหลือติดตัว พอออกมาจากทภ่ี าวนา “เฮอ! ทําไมนั่งภาวนาจึงไมไดเรื่องไดราวอะไรเลยวัน น!้ี ” สิ่งที่ไดเรื่องไมพูดไดเรื่องอะไร? กเ็ รอ่ื งยงุ เรอ่ื งวนุ วายนะซี เรื่องไปตกนรกทั้ง เปนที่ไหนบางนั้นไมพูด แลว จะมาทวงเอาหนเ้ี อาสนิ จากอรรถจากธรรม เหมือนศาสนา เปนหนี้สินของตน ทาํ เหมอื นเราเปน เจา หนศ้ี าสนา ทวงอรรถทวงธรรมเอากับทาน มัน ก็ไมไดนะซี เพราะเราทําเหตุไมดีใหแกตัวตางหากนี่ “นง่ั ภาวนาตัง้ นมตั้งนานไมเห็นเกดิ ผลเกิดประโยชนอ ะไร! วาสนานอ ย เรานี่ อยเู ฉยๆ ไมทําเสียดีกวา นั่น! เอาอกี แลว นน่ั หลอกไปเรอ่ื ยๆ แตน ัง่ ภาวนาอยมู ันยังไมไ ดเร่ือง สิ่งที่ตองการมันไมไดเพราะเหตุไร? เพราะ เปนเพียงเจตนาขณะหนึ่งเทานั้นที่วาตองการจะทําภาวนา แตเจตนาทแ่ี ฝงขึ้นมาและ เพิ่มพูนขึ้นโดยลําดับๆ จนถงึ ฉดุ ลากจติ ไปสทู ไ่ี หนๆ ไมรู ไมม ศี ลี มธี รรมประจาํ จติ ใจ ในขณะนน้ั เลย ใจไปตกนรกทั้งเปนอยูที่ไหนก็ไมรู นน่ั เราไมคดิ ไมเอามาบวกมาลบ ไม เอามาเทียบเคียงดูทดลองดูพอใหทราบขอเท็จจริงกัน แลว กไ็ ปทวง “เอาหนเ้ี อาสนิ ” จากอรรถจากธรรมวา “ทําแลวไมเกิดประโยชน ไมเ กดิ ความสขุ ความสบาย ไมเกิด ความสงบเยน็ ใจ” แนะ ! กเ็ ราไมห าความสงบ หาแตค วามวนุ ผลมนั กไ็ ดแ ตค วามทกุ ขค วามวนุ นน่ั นะ ซี ความจรงิ ตามหลกั ธรรมทที่ านแสดง ทท่ี า นสอนไวโ ดยถกู ตอ งนน้ั ทานไมได สอน “ของปลอม” ใหพวกเราเลย สิ่งใดที่มีอยูภายในจิตใจเราทั้งดีทั้งชั่ว ทา นสอนให เขาใจดังที่กลาวมา ซึ่งมีอยูกับจิตใจของทุกคนที่เรียกวา “สญุ ญกปั ”ๆ นะ ความวา ง เปลาจากอรรถจากธรรม ทั้งๆ ท่ีน่งั ภาวนาอยแู ตใจเผลอไปไหนก็ไมรู ปลอยไปเรื่อย ๆ แลว วา ตนนง่ั ภาวนา ผลกไ็ มปรากฏอยูโ ดยดี เพราะใจเปน “สุญญกัป”! ถา หากมสี ตสิ ตงั กาํ หนดดอู ยนู น่ั สมมตุ วิ า จะกาํ หนดลมหายใจ ก็ตั้งหนาตั้งตา ใหร เู ฉพาะลมหายใจไมย งุ กบั อะไร กย็ อมจะปรากฏผลเทาที่ควรเปนไดต ามกาํ ลัง อนั ความอยากมนั เปน เครอ่ื งผลกั ดนั ออกมาใหค ดิ ใหป รงุ มนั อยากอยตู ลอดเวลาไมม ี ความอิ่มพอในการคิดปรุงเพื่ออารมณ ใหท ราบวา ความอยากนเ้ี ปน ภยั ตอ ความสงบ เพราะมันผลักดันจิตใจใหคิดปรุงในเรื่องตางๆ ตามนิสัยที่เคยเปนมา พยายามใหเ หน็ ภัยในจุดนี้ แลว บงั คบั ไวไ มใ หใ จคดิ ในแงท เ่ี ราไมต อ งการจะคดิ เราตอ งการรใู นสง่ิ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๘

๑๐๙ ใดใหก าํ หนดจติ ใจไวด ว ยดเี พอ่ื รสู ง่ิ นน้ั เชน รอู านาปานสตหิ รอื ลมหายใจเขา ออก ลม เขา ออกกใ็ หร อู ยดู ว ยสติ ใจยอ มจะสงบเยน็ ได พระพุทธเจาจะหลอกคนโกหกคนจริงๆ หรือ? หากพระองคเ ปน นกั โกหกคน ทําไมพระพุทธเจาไดตรัสรูดวยธรรมของจริงละ ถา ไมทําจริงจะรู “ธรรม” ของจริงได อยา งไร? เมื่อรูตามความจริงแลวจะมาโกหกโลกไดอยางไร มันเขากันไมได เหตผุ ลไม ม!ี ทานทําจริง รูจริงเห็นจริง สอนจริง!ที่มนั ขดั กนั กต็ รงทเ่ี ราเรยี กเอาผลกอ นทาํ เหตนุ เ่ี อง! หากการดําเนินของตนขัดกับธรรมที่ตรงไหน ควรรีบแกไขดัดแปลงจนเขา กับธรรมไดใจก็สงบ สว นมากผทู ่ี “ปลอม” ก็คือเราผูรับโอวาทจากทานมา เอามาขยข้ี ยาํ แหลกเหลว หมด ทั้งๆ ที่เราวาเรานับถือทาน นบั ถอื ศาสนาเทดิ ทนู ศาสนา แตเราทําลายศาสนาซึ่งมี อยภู ายในตวั ของเรา และทาํ ลาย “ตัวเอง” โดยไมรูสึก เพราะความเผลอความไม รอบคอบในตวั เรานน้ั แลเปน ขา ศกึ ตอ เรา ฉะน้ันเพอื่ ใหไดผลเทา ทคี่ วรหรือใหไ ดผลยง่ิ ๆ ขน้ึ ไป จึงควรคํานึงถึงเหตุที่ตน ทํา คอยจดจองมองดจู ดุ ท่ีทาํ อยาใหเ ผลอ เชน กาํ หนด “พุทโธ” ก็ใหเปน “พุทโธ” จรงิ ๆ ใหร อู ยกู บั “พุทโธ” เทา นน้ั ไมตอ งการสวรรคว ิมานที่ไหนละ นอกจากคาํ วา “พุทโธ” ใหก ลมกลนื กนั กบั ความรู มสี ตกิ าํ กบั งานอยเู ทา นน้ั เราจะเห็นความสงบ ที่เคยไดยินแตชื่อก็จะมาปรากฏที่ตัวของเรา ความเยน็ ความสบายความเปนสุขทีเ่ กดิ ข้ึน เพราะจิตใจสงบ ก็จะเห็นภายในตัวเรา เราจะเปนผูรู จะเปนผูเห็น เราจะเปนผูรับผล อนั นเ้ี พราะเปน ผทู าํ เอง ดว ยเจตนาทถ่ี กู ตอ งตามหลกั ธรรม จะไมเ ปน อยา งอน่ื ศาสนาเคยสอนโลกมาอยา งน้ี ถา ผปู ฏบิ ตั ทิ าํ ตามหลกั ธรรมทท่ี า นสอนนแ้ี ลว จะ ไมเ ปน อน่ื ใจตอ งหยง่ั เขา ถึงความสงบเปน อยางนอย และจะสงบขึ้นไปเรื่อยๆ โทษที่ เคยกลุมรุมภายในจิตใจก็จะเห็นกันรูกัน เพราะอยกู บั ใจ คุณคาที่เกิดขึ้นจากใจเพราะ การชาํ ระการฝก ทรมานปราบปรามกเิ ลสออกไปไดม ากนอ ย กจ็ ะปรากฏขน้ึ ภายในใจ เราเอง เราจะเปนผูเห็นเองรูเองโดยไมตองฟงขาวของใครๆ ทั้งนั้น เราเปนตัวจริง เรา เปนตัวรู ผรู บั ทราบ เราเปนผเู สวยผลเกดิ ขน้ึ จากการกระทาํ ของเรา เราจะทราบ เรื่องตางๆ เอง เรอ่ื งภาวนาไมใ ชเ รอ่ื งเลก็ นอ ย เปน งานทอ่ี ศั จรรยม ากมายในผลทเ่ี กดิ ขน้ึ พระพทุ ธเจา เปน ผรู โู ลกดกี เ็ พราะการทาํ ภาวนา ทรงกาํ หนด “อานาปานสต”ิ ตาม หลกั ทา นกลา วไวอ ยา งนน้ั แตก อ นทรงอดพระกระยาหาร โดยมุงหวังความตรัสรูจาก การอดพระกระยาหารเทานั้น ไมเ สวย แตไ มไ ดท รงพจิ ารณาทางใจซง่ึ เปน ความถกู ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๐๙

๑๑๐ ตอ งประกอบกนั เลย จึงไมไดสําเร็จ เมอื่ ยอ นพระทัยหวนกลับไประลึกถงึ เรื่องเมือ่ คราวยังทรงพระเยาว ที่พระราชบิดาทรงพาเสด็จไปแรกนาขวัญ ไดทรงเจริญอานา ปานสติ จิตใจมีความสงบ จงึ ทรงนาํ เรอ่ื งนน้ั เขา มาพจิ ารณาดว ยอานาปานสติ และ ทรงปรากฏผลขน้ึ มาแตเ รม่ิ แรกพจิ ารณา เพราะพระจิตมีความสงบ และสงบละเอยี ด ไปโดยลาํ ดบั ก็ทรงมีทางที่จะทรงพิจารณาไตรตรองโดยทางพระสติปญญา ทรงยก “ปฏิจจสมุปบาท” ขึ้นมา “อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา สงขฺ ารา” เปนตน เพราะมี อยใู นพระกาย มอี ยใู นพระจติ นน้ั ดว ยกนั ทรงไตรตรองตามเหตุตามผล ตามความสัตย ความจริงที่มีอยูดวยพระปญญาปรีชาสามารถ และไดตรัสรู “เญยยธรรม” โดยตลอด ทว่ั ถงึ ในปจ ฉมิ ยามแหง ราตรขี องเดอื นหกเพญ็ เมื่อ “อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา” ท่ีจงู มนษุ ยจงู สัตวทัง้ หลายใหท อ งเที่ยวอยใู น “วฏั วน” เหมอื นกบั คนหหู นวกสตั วต าบอด มาตั้งกัปตั้งกัลป พระองคไดทรงสลัดปดทิ้งบรรดา ความบอดหนวกทง้ั ปวงในราตรวี นั นน้ั ปรากฏในพระทัยวา “อาสวกั ขยญาณ” ไดส้ิน ไปแลว จากอาสวะความมดื มนอนธการทง้ั หลาย นอกจากนน้ั ยงั ทรงรู “ปพุ เพนิวาสา นสุ สตญิ าณ” ทรงระลึกชาติยอนหลังของพระองคไดจนไมมีประมาณ และทรงรู “จตุ ปู ปาตญาณ” รูความเกิดความดับของสัตวทั้งหลายไมมีประมาณ ญาณไหนๆ ก็ ทรงทราบโดยทั่วถึง แลวก็ทรงนําสงิ่ ท่ที รงทําแลว ทรงรูเห็นแลวทั้งเหตุทั้งผลนั่นอันเปน ความถกู ตอ งแมน ยาํ มาสง่ั สอนโลกใหพ อลมื ตาอา ปาก พูดเปนเสียงผูเสียงคนขึ้นมา เปนลําดับ ไมห ลบั หหู ลบั ตาอา ปากพดู แบบปา เถอ่ื นเลอ่ื นลอย เหมือนแตกอนที่ยังไมมี ศาสนธรรมมาโสรจสรง ซง่ึ ไมม โี อวาทคาํ สง่ั สอนของผใู ดทจ่ี ะถกู ตอ งแมน ยาํ และ สะอาดยิ่งกวาพระโอวาทของพระพุทธเจา “เอกนามกึ” คอื พระโอวาทคาํ สง่ั สอนของ พระพุทธเจา ที่เปนหนึ่งไมมีสองนั่นแล และ “พระญาณ” ความหยั่งทราบในเหตุ การณตางๆ กเ็ ปนหนึ่งไมมสี อง ทรงรูทรงเห็นตรัสมาอยางใด ตองเปนไปตามความ จรงิ นน้ั โดยไมเ ปน อน่ื ไปไดเ ลย นแ่ี หละ “เอกนามกึ” แปลวา หนง่ึ ไมม สี อง พระพุทธเจาที่ตรัสรูขึ้นมาแตละพระองคนั้น ไมไ ดต รสั รซู าํ้ กนั มีพระองคเดียว เทานั้นที่ตรัสรูแตละครั้ง ๆ นอ่ี นั หนง่ึ ทเ่ี รยี กวา “เอกนามกึ” มีพระพุทธเจาครั้งละพระ องคเดียวเทานั้น เอา!ทีนี้ยนเขามาหาพวกเรา ที่กลาวมาทั้งนี้เปนไดทั้งเราทั้งพระพุทธเจา เปน แตเ พยี งวา กวา งแคบตา งกนั สาํ หรบั หลกั ฐานแหง ความจรงิ นน้ั เหมอื นกนั “จตุ ปู ปาตญาณ” ความรคู วามเกิดความดับ รูทีไ่ หนถาไมร สู งั ขารทเ่ี กดิ ขน้ึ และดบั ไปท้งั ดที งั้ ชวั่ อยภู ายในจติ ใจ เอาตรงนี้ ปรุงแตงเรื่องภพเรื่องชาติ เรอ่ื งกเิ ลส ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๐

๑๑๑ ตณั หาอาสวะ กค็ อื ตวั นแ้ี หละ ปญ ญาพิจารณาใหเ ห็นอยางนี้ “อาสวะ”กห็ มายถงึ กเิ ลส รูกันที่ตรงไหนก็ดับไป ๆ ทต่ี รงนน้ั จนกลายเปน “อาสวกั ขยญาณ” ความรู แจง ในความสน้ิ อาสวกเิ ลสทง้ั หลายโดยสน้ิ เชงิ เราอยใู นกปั ไหนเวลาน?้ี เราตอ งทดสอบเราวา อยใู นภทั รกปั หรอื ในสญุ ญกปั ? “ภทั รกปั ” แปลวา กัปที่เจริญ เจริญในการประกอบความพากเพียร ในความมี สารคณุ ภายในใจ ในวนั หนง่ึ ๆ ถาไดสรางสารธรรมขึ้นมาภายในจิตใจ กเ็ ปน “ภัทรกัป”เปน ขณะเปน เวลา เปน กาลทเ่ี จรญิ รงุ เรอื ง นง่ั สมาธภิ าวนากเ็ ปน สมาธิ ภาวนา ไมเปน “หวั ตอ” ไมมีสติสตัง ทั้งๆ ทไ่ี มห ลบั แตก ห็ ลบั อยเู รอ่ื ยๆ ดวยความไม มีสติ คดิ ฟงุ ซา นวนุ วาย ฝนดิบฝนสุกไปเรื่อยๆ เรอ่ื งนน้ั เรอ่ื งนต้ี อ กนั ไป ถงึ ลกู ถงึ หลาน ถงึ บา นถงึ เรอื น ถงึ กจิ การตา งๆ ตลอดเมอื งนอกเมอื งนาทไ่ี หนไปหมด อดตี อนาคตยงุ ไปไมหยุดหยอน นเ่ี ปน “กปั ” อะไร? ดซู ี ถา ไมม สี ตสิ ตงั กเ็ ปน อยา งนน้ั ถา มสี ตแิ ลว จะไมไ ป เราบงั คับน่ี เวลานี้เรา ตอ งการจะทาํ หนา ทน่ี อ่ี ยา งเดยี ว “ใหเปนภัทรกัป อยา เปน สุญญกัป” นน่ั มนั เปน “สุญญกัป”ทก่ี ลา วไปแลว นน้ั มนั นาํ “ไฟ” มาเผาเจา ของผูเ ปน “สญุ ญกปั ”ทไ่ี มม ี ศาสนาแฝงเลยขณะนน้ั นะ คือไมมีสติสตัง ไมมีปญญาตามรักษาเลย ปลอ ยแตก เิ ลส ใหก เิ ลสฉดุ ลากจติ ใจถา ยเดยี วโดยเจา ของไมร สู กึ กวาจะรูสึกนะเขากินของดีหมดแลว เขาปลอ ยแลวถงึ รตู ัว เวลาถกู เขาฉดุ เขาลากไปนน้ั ฝนสดไปกับเขา เวลาเขาปลอ ยแลว จึงมารูตัว! “โอย ตาย! มันคิดไปอะไร? เรื่องราวอะไร!” กย็ งั ดอี ยทู ร่ี วู า คดิ ไป ไอที่ไมรูเลย นน่ั ซิ พอรตู วั ลากกลบั มา “เอ!มันยังไง? มานง่ั ภาวนาเปน เวลาตง้ั หลายนาที หรือเปน ชว่ั โมงๆ ไมเห็นไดเรื่องอะไร นั่งอะไรไมไดเรื่องอยางนี้นะ นอนเสยี ดกี วา !” ลมไปเลย สิ่งที่ไดเรื่องไดราวก็คือ “หมอน” แมห มอนเองถา มวี ญิ ญาณ ก็จะเบื่อคนประเภท ธรรมไมไ ดเ รอ่ื งนี้เต็มประดา เพราะ “สญุ ญกปั ” บนหมอนไมยอมปลอ ย เมื่อเปนเชน นั้นมันจะดีกวายังไง? นอกจากมนั “ดีหมอน” เทานน้ั ถา ดกี วา ดว ยหมอนดงั ความเขา ใจนน้ั ใครๆ ก็พนทุกขไ ปไดดว ยกนั ทง้ั นัน้ แหละ! แตนี่มันไมดีกวา มันเปนเรื่องกิเลสหลอกเรา กลอ มเราใหห ลบั วา เปน ของดกี วา คอื ดกี วา ภาวนา! กเิ ลสมนั ตอ งแทรกธรรมอยเู สมอ พวกนพ้ี วกกอ กวน พวกยุแหย พวกทาํ ลาย หาทาํ ลายทกุ แงท กุ มมุ ทกุ กาลทกุ เวลาทกุ อริ ยิ าบถ ลว นเปน เรือ่ งของกิเลส พระพุทธ เจา จงึ ทรงสอนใหป ราบกเิ ลสพวกทแ่ี ทรกซมึ อยภู ายในใจ ดวยสติปญญา มีความเพียร ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๑

๑๑๒ เปน เครอ่ื งหนุนหลงั ความอดความทน ความพยายาม เราทาํ หนา ทก่ี ารงานอนั เปน สาร ประโยชนสําคัญเพื่อเรา ใหเปน “ภทั รกปั บคุ คล” ขน้ึ ภายในใจ จงึ ตองอาศยั ความขยัน หมน่ั เพยี ร งานทกุ ดานทเี่ ปนผลเปนประโยชน เราอยา สรา งอปุ สรรคมากดี ขวางไมใ หง าน นน้ั ๆ เปนผลสําเร็จ จติ ถา สงบกส็ บาย ถา ไมส งบไมว า แตก าลไหนๆ จนกระทง่ั วนั ตายกห็ าความ สบายไมได เพราะจติ วนุ นจ่ี ะหาความสบายทไ่ี หน จงทาํ ความเขา ใจไวว า “สญุ ญกปั ” ก็ อยกู บั ความไมเ อาไหนนน่ั แล สว น “ภทั รกปั ” กอ็ ยใู นผมู คี วามเพยี ร มีสติปญญาเปน เครื่องรักษาตัว “สญุ ญกปั ” กค็ ือการปลอยตามเรื่องตามราว ตามอารมณ ตามบญุ ตาม กรรม ไมทราบบุญที่ไหนกรรมที่ไหน ปลอ ยเรอ่ื ยไป ความปลอ ยเรอ่ื ยไปนน้ั คอื ความ ผกู มดั ตนเองโดยไมรูสึกตัว แลว ก็จนตรอกจนมมุ เจอแตสิ่งที่ไมพึงปรารถนา ความ ทกุ ขใ ครปรารถนาเลา ในโลกน้ี? แตท ําไมเจอกันท่วั โลกดนิ แดน นก่ี เ็ พราะความปลอ ย ตามบญุ ตามกรรมนัน่ เอง มันไมม ีเหตุผลนีก่ ารปลอยอยา งน้นั ถา ปลอ ยกเิ ลสวางกเิ ลสดว ยสตปิ ญ ญา นั่นมีเหตุมีผล! พระพุทธเจาทานทรง ปลอ ยอยา งนน้ั รเู หตรุ ูผลทกุ สิ่งทุกอยางแลวปลอ ยไปโดยลาํ ดบั จนกระทั่งปลอยไดโดย สิ้นเชิง สดุ ทา ยกป็ ลอ ยกเิ ลสหมด เหลือแตพระทัยที่บริสุทธิ์ พระพทุ ธเจา ทา นสอนให ปลอ ยอยา งน้ี พวกเรามีแตเที่ยวยึดเที่ยวถือ เทย่ี วแบกเทย่ี วหาม หนกั เทา ไรอยา งมากกบ็ น เอา แลว กไ็ มว ายทจ่ี ะแบกจะหาม หามาเพิ่มเติมเรื่อยๆ ไมวาหนุมสาวเฒาแกชราเปนตัว ขยันท่สี ดุ กค็ อื การแบกการหามอารมณค วามคดิ ความปรงุ ตา งๆ นน่ั เอง ไมไดคิดคํานึง ถงึ วยั ถึงปถึงเดือน อายสุ งั ขารเจา ของบา งเลย ขยนั ทส่ี ดุ กค็ อื เรอ่ื งแบกเรอ่ื งหามกองทกุ ข แบกสญั ญาอารมณ การพูดเชนนี้ ก็เพื่อใหเราระลึกถึงตัวเรา ใหร วู า เราเคยเปน อยา งนม้ี านานเทา ไร แลว ยงั จะฝน ใหเ ปน อยา งนอ้ี ยหู รอื ผลที่เปน มาเพราะการกระทําอยา งน้ีเปน อยางไร? เราก็ทราบในตัวเรา เองเวลานี้ เราจะแกไขตัวเราอยางไรบาง? พอไดม คี วามผอ นคลายภายในใจ ไดรับ ความสะดวกกายสบายใจ ดงั ทท่ี า นทง้ั หลายไดอตุ สาหม าน้ี กน็ บั วา เปน บญุ เปน กศุ ล เปนเจตนาดีที่สุดที่มา บําเพ็ญ นช่ี อ่ื วา “มาหาสารประโยชน” เพราะฉะนั้นจึงกรุณาบําเพ็ญจิตตภาวนาให เหมาะสมกบั กาลเวลาทม่ี า นง่ั สมาธภิ าวนาดตู วั ของเรา ตัวของเราเปนอยางไรถึงตอง ดู ถา เปน คนไขก ต็ อ งหมอเปน ผตู รวจผรู กั ษา เวลานี้จิตเรามันเปน “โรค” เปนโรค อะไร ใครจะเปนผูตรวจผูรักษา นแ่ี หละสาํ คญั ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๒

๑๑๓ โรคของจิตคือเรื่องของกิเลส “ยา” ก็คือธรรม “หมอ” กไ็ ดแ กค รแู กอ าจารย หรอื ตาํ รบั ตาํ ราทท่ี า นสอนไว เรานํามาประพฤติปฏิบตั ิกําจดั เชอ้ื โรคอนั สําคญั ทีฝ่ ง อยู ภายในอยา งจมมดิ น้ี ใหถ อนดว ยความพากเพยี รอยา ลดละทอ ถอย ความหวงั ท่ี ปรารถนาดวยกันนั้นจะพึงสําเร็จไปโดยลําดับๆ เฉพาะอยา งยง่ิ คอื การพจิ ารณาเรื่องธาตุเรื่องขันธ เรอ่ื งความเปน ความตายใน สกลกายน้ี เปน สง่ิ สาํ คญั มากยง่ิ กวา ไปคดิ ถงึ เรอ่ื งอน่ื ๆ เรอ่ื งความตายตดิ แนบกบั ตวั เราทกุ คน ความเจ็บ ความทกุ ข ความลาํ บาก ในรา งกายและจติ ใจ กต็ ดิ แนบอยกู บั รา ง กายและจิตใจเราไมไดปลอยไมไดวาง นอนอยมู นั กท็ บั นง่ั อยมู นั กท็ บั อิริยาบถทั้งส่ีมี แตเ รอื่ งความแก ความเจ็บ ความตาย นี่ทับเราอยูทั้งนั้น ความทกุ ขค วามลาํ บากทบั เรา อยตู ลอดเวลา เราจะหาอบุ ายวธิ ไี หนเพอ่ื จะใหร เู ทา ทนั กบั สง่ิ เหลา น้ี เพอ่ื จะถอดถอนสง่ิ ทค่ี วรถอดถอนดว ยอบุ ายวธิ ใี ดบา ง? นเ่ี รยี กวา “เรียนรูตัวเราเอง” สง่ิ ทเ่ี กย่ี วกบั ตวั เรามอี ะไรบา งใหร ใู หเ ขา ใจ สม กบั ศาสนาทอ่ี อกมาจากทา นผฉู ลาดแหลมคม มาสอนเราซึ่งเปนพุทธบริษัท เพอ่ื ความ ฉลาดแหลมคมใหท นั กบั กลมารยาแหง ความโงข องตนทม่ี อี ยภู ายใน ความโงก ค็ อื กเิ ลส พาใหโง ธรรมพาใหฉลาด เราวากิเลสมันโงนะ แตค วามจริงกเิ ลสมันฉลาดทส่ี ดุ แตทํา คนใหโ งแ ละโงท ส่ี ดุ ไดอ ยา งสบายมาก เชน เราถกู กลอ มไวเ รอ่ื ยอยา งน้ี ดว ยความ แหลมคมของกิเลสท้งั นัน้ แลว จะวา กเิ ลสมนั โงไ ดอ ยา งไร ผูทเี่ ชอื่ กิเลสน้นั แลคือผโู ง วา อยา งนถ้ี กู ตอ งดี แลวใครละเช่ือกเิ ลสโดยลําดบั ลาํ ดา มใี ครบา ง? กส็ ตั วโ ลกนเ้ี องเปน พวกโงเพราะเชื่อ กเิ ลส มนั กลอ มเมอ่ื ไรกห็ ลบั เมอ่ื นน้ั เคลิ้มเมื่อนั้น ราบไปเมื่อนั้น ยง่ิ กวา เดก็ ถกู กลอ มดว ยบทเพลง ไมเคยตื่นเนื้อตื่นตัว ไมเ คยเหน็ ภยั แหง การกลอ มของ มนั กค็ อื พวกเรานแ่ี ล พระพุทธเจาและพระสาวกทาน เปนผูรูสึกพระองคและรูสึกตัว ไดนําธรรมเขา ไปรอ้ื ถอนตนออกจากไฟทง้ั หลายเหลา นเ้ี สยี ได แลว นาํ ธรรมเหลา นน้ั มาสง่ั สอนพวกเรา ประกาศทั้งคุณทั้งโทษ “โทษ” ไดแ กค วามลมุ หลงไปตามกเิ ลสตณั หาอาสวะ คุณก็ได แกส ตปิ ญญาศรทั ธาความเพียร ทจ่ี ะรอ้ื ถอนสง่ิ เหลา นอ้ี อกจากใจ ใหก ลายเปน ผฉู ลาด แหลมคมขน้ึ มา และหลดุ พน ออกจาก “แอก”ทม่ี นั กดถว งอยบู นคอ ไดแ กห วั ใจของ เรานี่ จนกลายเปนอิสระขึน้ มาได ดังพระพุทธเจาและพระสาวกทาน พระพุทธเจาทาน หมด หมดสง่ิ กดถว งใจ ยดึ อะไรหลงอะไร อนั นน้ั แหละกดถว ง ความยดึ ความถอื ของ ตวั เองนน้ั แลมนั กดถว งตวั เอง ไปยึดภูเขาทั้งลูก ภเู ขาน้ันไมไ ดม ากดถวงเรา แตความ ยึดภูเขาทง้ั ลกู นัน้ แลมนั มากดถวงเรา ยดึ อะไรหลงอะไร ความยดึ ความหลงอนั นน้ั แหละมันมากดถวง มาบีบบังคับจิตใจเรา สง่ิ ทเ่ี ราไปยดึ ไปถอื นน่ั มนั ไมไ ดม าทาํ เรา ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๓

๑๑๔ เชน เงินทอง ขาวของ ตกึ ราม บา นชอ ง ทไ่ี รท น่ี าอะไรกต็ าม มนั ก็อยตู ามเรอ่ื งของมัน มันไมถือวามันเปนขาศึก หรือเปนคุณเปนโทษแกผูใด แตผ ทู ไ่ี ปหลงไปยดึ ไปถอื สง่ิ เหลา นน้ั นน่ั แหละมนั กลบั มาทบั ตวั เอง จงึ ตอ งแกต วั นด้ี ว ยสตปิ ญ ญา การภาวนากเ็ พอ่ื ใหร เู รอ่ื งความคะนองของใจ ที่คิดไมเขาเรื่องเขาราวอยางนี้ แหละ สั่งสมทุกขใหแกตัวมากเทาไรยังไมเคยเห็นโทษของมัน เมอ่ื ไดเ รยี นทางดาน ภาวนาแลว เรม่ิ จะทราบขน้ึ โดยลาํ ดบั ๆ จนมาถงึ เรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธอ นั เปน สมบตั สิ าํ คญั ของเรา ไดแ กรางกาย เลื่อนเขามาตรงนี้ รา งกายทกุ สว นนม้ี นั กจ็ ะตอ งสลายไปในวนั หนง่ึ ทกุ วนั นม้ี นั กเ็ รม่ิ ของมนั แลว ตลอดเวลา เปลี่ยนแปลงอยูเรื่อยๆ ความเปลย่ี น แปลงของธาตขุ นั ธแ ตล ะชน้ิ ละอนั น้ี มนั ทาํ ความทกุ ขใ หแ กเ รามากนอ ยเพยี งไร ถา มนั แสดงออกอยา งเปด เผยกท็ ราบชดั วา นี่มันเจ็บตรงนั้น ปวดตรงนี้ เชน เจ็บทอง ปวดหัว เปนตน ถามันไมแสดงอยางเปดเผย เปนไปอยูอยางลับๆ เราไมทราบได เรื่องธาตุเรื่อง ขนั ธเ ปน อยา งน้ี “เวทนา” กค็ วามทุกข คอื ทกุ ขเวทนาบบี อยอู ยา งนน้ั แหละ ยนื เดิน นง่ั นอน มนั กบ็ บี บงั คบั อยอู ยา งนน้ั พจิ ารณาใหร นู แ้ี ลว แมธ าตขุ นั ธจ ะยงั อยกู บั เราก็ ตามก็ไมกดถวงเราได เพราะความยึดถือของเราไมมี เนื่องจากเรารูเทาทันกับสิ่งเหลานี้ ปลอ ยวางไดตามความเปนจริงเชนเดยี วกบั สภาวธรรมทัง้ หลาย ใจกส็ บาย อยใู น ทา มกลางแหง ธาตขุ นั ธก ไ็ มห ลงธาตขุ นั ธ ธาตุขันธก็ไมมาทับถมเราได เราก็เปนอิสระอยู ภายในจติ ใจ นเ่ี รยี กวา “ผฉู ลาดครองขนั ธ ผฉู ลาดรกั ษาขนั ธ ขันธไมส ามารถมาเปน ภัยตอ เราได เพราะมปี ญ ญาความเฉลยี วฉลาดทนั กบั มนั นักปราชญท า นวา “นค้ี อื ความฉลาด ฉลาดแกตัวใหรอดพนไปได” นน้ั แลเปน ความฉลาดของนกั ปราชญท ง้ั หลาย มีพระ พุทธเจาเปนตน ความฉลาดนอกนน้ั พาใหเ จา ของเสยี มาก พระพุทธเจาจึงไมทรงชมเชยวา นน้ั เปน ความฉลาดอยา งแทจ ริง ความฉลาดใดทเ่ี ปน ไปเพ่ือความสุขความเจรญิ แกต นและ สว นรวมนน้ั แล เปน ความฉลาดแท เฉพาะอยา งยง่ิ ความฉลาดเอาตวั รอดนเ่ี ปน สาํ คญั ! เอาตัวรอดไดกอน แลว กน็ าํ ผอู น่ื ใหร อดพน ไปไดโ ดยลาํ ดบั ๆ นช่ี อ่ื วา ความฉลาดแท! จึงขอยตุ กิ ารแสดง ฯ <<สารบญั ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๔

๑๑๕ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙ ปรยิ ตั ,ิ ปฏบิ ตั ,ิ ปฏเิ วธ วนั นเ้ี ทศนเ รอ่ื งมนษุ ยส งู กวา บรรดาสตั ว โลกสงู กวา มนษุ ย ธรรมสงู กวา โลก เพราะฉะนั้นธรรมกับมนุษยจึงเปนคูควรกัน มนุษยก็เหมาะสมกับธรรมที่จะรับธรรมไว บนดวงใจเพื่อประพฤติปฏิบัติ ธรรมกส็ มควรแกม นษุ ยท จ่ี ะเทดิ ทนู สกั การบชู า นอก เหนือจากธรรมแลวก็ยังมองไมเห็นอะไรที่เปนความเลิศประเสริฐในสกลโลกนี้ ไมมี อะไรที่ยอดเยี่ยมยิ่งกวาธรรม ความฉลาดของโลกกไ็ มม ใี ครจะเยย่ี มยง่ิ ไปกวา มนษุ ย ในโลกมนุษยที่มีพุทธ ศาสนาประจาํ จึงเหมาะสมกับมนุษยผูใครธรรมและมีธรรมในใจ แตศาสนธรรมไม เหมาะสมกับผูเปนมนุษยเพียงแตรางไมมีธรรมภายในใจบางเลย ทง้ั นา เสยี ดายภมู แิ หง มนุษยชาติ สูสัตวบางประเภทบางตัวที่มีจิตใจสูงสงก็ไมได นบั วา ขาดทนุ สญู ดอก ไมมี ความดีงามงอกเงยไดบางเลย เกิดมาเปนมนุษยทั้งท!ี เราทั้งหลายไดประพฤติปฏิบัติ ไดนับถือพระพุทธศาสนาซึ่งเปนสิ่งที่เลิศ ประเสริฐอยูแลวโดยหลักธรรมชาติของธรรม ชอ่ื วา เราเปน ผเู หมาะสม ทั้งไดเกิดมาเปน มนุษย ทง้ั ไดน บั ถอื พระพทุ ธศาสนา ไดตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรมตามกําลังความ สามารถของตนๆ เฉพาะอยา งยง่ิ ทางจติ ตภาวนาเปน สง่ิ สาํ คญั มาก ที่จะทําใหมองเห็นเหตุผล ตางๆ ซง่ึ มอี ยภู ายในตวั เราใกลไ กลรอบดา น จะรเู ห็นไดด ว ยภาคปฏบิ ตั คิ อื “จิตต ภาวนา” การภาวนาทา นถอื เปน สาํ คญั ในภาคปฏบิ ตั ศิ าสนา ครั้งพุทธกาลจึงถือภาค ปฏบิ ตั เิ ปน เยย่ี ม เชน ทา นกลา วไวว า “ปรยิ ตั ,ิ ปฏบิ ตั ,ิ ปฏเิ วธ” แนะ ! “ปริยัต”ิ ไดแกการศึกษาเลาเรียน “ปฏบิ ตั ิ” ไดแกศึกษาเลาเรียนมาเปนที่เขาใจแลว ออกไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ าม เข็มทิศทางเดินของธรรมที่ไดเรียนมาแลวนั้น “ปฏเิ วธ” คอื ความรแู จง แทงตลอดไปเปน ลาํ ดบั ๆ กระทั่งรูแจงแทงตลอดโดย ทว่ั ถงึ ธรรมท้ังสามน้ีเก่ยี วเน่อื งกัน เหมอื นเชอื กสามเกลยี วทฟ่ี น ตดิ กนั ไว คาํ วา “ปริยัต”ิ นัน้ เมื่อครงั้ พุทธกาล สวนมากทานเรียนเฉพาะเรียนจากพระ โอษฐข องพระพทุ ธเจามากกวา อยางอื่น ผูจะมาเปนสาวกอรหัตอรหันต สว นมากเรยี น จากพระโอษฐข องพระพทุ ธเจา เรียนอะไร? ขณะที่จะบวชทานทรงสั่งสอน “ตจปญจก ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๕

๑๑๖ กรรมฐาน” ให คอื “เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ, ตโจ ทันตา นขา โลมา เกสา” โดย อนโุ ลมปฏโิ ลม ยอ นกนั ไปกนั มาเพอ่ื ความชาํ นชิ าํ นาญ นค่ี อื ทา นสอนธรรมเปน เครอ่ื ง ดําเนินของนักบวช การสอนธรรมเปน เครอ่ื งดาํ เนนิ นน้ั แลเปน การใหโ อวาท ผูที่สดับฟง ในขณะที่พระพุทธเจาประทานพระโอวาทก็ไดชื่อวา การเรียนดว ยและการปฏบิ ัติไปใน ตัวดวย การสอนวา “สง่ิ นน้ั เปน นน้ั ๆ” เชน ทา นสอนวา “เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ” อยา งนเ้ี ปน ตน นี่คือทานสอนธรรมซึ่งเปนปริยัติจากพระโอษฐ เราก็เรียนให ทราบวา “เกสาคอื อะไร โลมา นขา ทันตา ตโจ แตล ะอยา ง ๆ คอื อะไร ผูเรียนก็เรียน และปฏบิ ตั ิดว ยความสนใจใครรูใครเหน็ จรงิ ๆ ไมส กั วา เรยี นวา ปฏิบัติเพื่อเกียรติยศชื่อเสียงใดๆ พระพุทธเจาทรงสอนสภาพความเปนจริง ความเปน อยแู ละเปน ไปของสง่ิ เหลา นท้ี ม่ี อี ยกู บั ตวั เอง ตลอดถงึ อาการ ๓๒ ทุกแงทุกมุมโดย ลาํ ดบั ใหท ราบวา สง่ิ นน้ั เปน นน้ั สิ่งนั้นเปนจริงๆ ตลอดความเปนอยขู องสิง่ นนั้ ความ แปรสภาพของส่งิ นนั้ วาเปนอยางไร และธรรมชาตนิ น้ั คอื อะไรตามหลกั ความจรงิ ของ มัน ใหพ จิ ารณาทราบอยา งถงึ ใจ เพื่อจะแก “สมมุติ” ที่เปนเครื่องผูกพันจิตใจมานาน ความสมมุติของโลกวา สง่ิ นน้ั เปน นน้ั สิ่งนี้เปนนี้ ไมมีสิ้นสุด แมจะสมมุติวาสิ่ง ใดเปน อะไรกย็ ดึ ถอื ในสง่ิ นน้ั รกั กย็ ดึ ชังก็ยึด เกลียดก็ยดึ โกรธกย็ ดึ อะไรๆ กย็ ึดทัง้ นัน้ เพราะเรอ่ื งของโลกก็คือกเิ ลสเปนสาํ คัญ มีแตเรื่องยึดและผูกพัน ไมมีคําวา “ปลอ ย วาง” กนั บา งเลย ความยดึ ถอื เปน สาเหตใุ หเ กดิ ทกุ ขก งั วล โลกจงึ มแี ตค วามทกุ ขค วาม กงั วลเพราะความยดึ ถอื ถา ความยดึ ถอื เปน เหมอื นวตั ถมุ องเห็นไดดว ยตาเนอ้ื แลว มนษุ ยเ ราแบกหามกนั ทง้ั โลกคงดูกันไมได เพราะบนหวั บนบา เตม็ ไปดว ยภาระความ แบกหามพะรุงพะรัง ที่ตางคนตางไมมีที่ปลงวาง ราวกบั เปน บา กนั ทง้ั โลกนน่ั แล ยังจะ วา “ดี มีเกียรติยศชื่อเสียง” อยหู รอื ? จนปราชญทานไมอาจทนดูไดเพราะทานสงสาร สังเวชความพะรุงพะรังของสัตวโลกผูหา “เมืองพอดี” ไมมี ภาระเต็มตัวเต็มหัวเต็มบา ธรรมทา นสอนใหร แู ละปลอ ยวางเปน ลาํ ดบั คอื ปลอ ยวางภาระความยดึ มน่ั ถอื มน่ั ซง่ึ เปน ภาระอนั หนกั เพราะความลุมหลงพาใหยึด พาใหแ บกหาม ตนจงึ หนกั และ หนกั ตลอดเวลา ทานจึงสอนใหร ทู ว่ั ถึงตามหลักธรรมชาติของมัน แลว ปลอ ยวางโดยสน้ิ เชิง ทง้ั นส้ี บื เนอ่ื งมาจากการไดย นิ ไดฟ ง มาจากพระพทุ ธเจา แลว นาํ ไปปฏบิ ตั ิ จนกลาย เปน “ปฏเิ วธ” คือความรแู จง เห็นจรงิ ข้นึ โดยลําดบั ครง้ั พทุ ธกาลทา นสอนกนั อยา งนเ้ี ปน สว นมาก สอนใหม คี วามหนกั แนน มน่ั คง ในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ยิ ง่ิ กวา สง่ิ อน่ื ใด พระในครง้ั พทุ ธกาลทอ่ี อกบวชจากตระกลู ตา งๆ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๖

๑๑๗ มีตระกูลพระราชา เปนตน ทานตั้งหนาบวชเพื่อหนีทุกขจริงๆ จึงสนใจอยากรอู ยากเห็น ธรรมดวยการปฏบิ ัตเิ ปน อยางย่งิ ทั้งตั้งใจฟงทั้งตั้งใจปฏิบัติดวยความจดจอตอเนื่อง ในทางความเพียร พยายามสอนตนใหร เู หน็ ธรรมกอ น แลว จงึ นาํ ธรรมนน้ั มาสง่ั สอน โลก ทานเปน “พระธรรมกถึก” เพอ่ื องคท า นเองกอ นแลว จงึ เพอ่ื ผอู น่ื ธรรมทานจึง สมบรู ณด ว ยความจรงิ มากกวา จะสมบรู ณด ว ยความจดจาํ พระธรรมกถกึ ในครงั้ พทุ ธกาลเชน “พระปุณณมันตานบี ุตร” ทานเปนพระ ธรรมกถกึ เอก ซึ่งไดรับคํายกยองชมเชยจากพระศาสดา ทา นมกั ยก “สลั เลขธรรม” ขึ้นแสดง กลา วถงึ เรอ่ื งควรขดั เกลากเิ ลสทง้ั นน้ั นับแต “อปั ปจ ฉตา” ความมกั นอ ยขน้ึ ไปจนถึง “วิมุตติ วมิ ตุ ตญิ าณทัสสนะ” คือความรูแจงแหงการหลุดพน พระพุทธเจาทานทรงยกยองใหเปน “เอตทัคคะ” ในทางธรรมกถกึ เรยี กวา เปน ธรรมกถกึ เอก พระปุณณมันตานีบุตรนั้นทานเปนพระอรหันตดวย รแู จง สจั ธรรม ทั้งสี่โดยตลอดทั่วถึงดวย เพราะฉะนั้นทานจึงสอนดวยเหตุดวยผล ดว ยความสตั ยค วาม จริง ซึ่งออกมาจากจิตใจของทานที่รูแลวจริงๆ ไมไ ดส อนแบบ “ลบู ๆ คลาํ ๆ” ตามที่ เรียนมา ซึง่ ตนเองกไ็ มแนใจวา เปน อะไรกนั แน เพราะจิตใจยังไมสัมผัสธรรม เปนแต เรียนจําชื่อของธรรมไดเทานั้น เพราะฉะนน้ั ทา นจงึ อธบิ าย “สัลเลขธรรม ทั้ง ๑๐ ประการนีไ้ ดโดยถูกตอ งถองแท ไมมีอะไรคลาดเคลื่อนจากหลักความจริง เนื่องจากจิต ทานทรงหลักความจริงไวเต็มสวน นธ่ี รรมกถกึ ทเ่ี ปน อรรถเปน ธรรม เปน ความถกู ตองดีงามแทเปนอยางนั้น สวนธรรมกถึกอยา งเราๆ ทา นๆ ทม่ี กี เิ ลสนน้ั ผดิ กนั แตไ มต อ งกลา วไปมากก็ เขา ใจกนั เพราะตางคนตางมี ตางคนตา งรูด ว ยกนั ครง้ั พทุ ธกาลกย็ งั มอี ยบู า งทท่ี า น เรียนจนจบพระไตรปฎก และมลี กู ศษิ ยล กู หาเปน จาํ นวนมากนบั รอ ยๆ ที่ไปเรียนธรรม กบั ทา น ทา นสอนทางดา นปรยิ ตั ถิ า ยเดยี ว พระพทุ ธเจาทรงตาํ หนิ ที่ทรงตําหนินั้นดวยทรงเห็นอุปนิสัยของทานสมควรแกมรรคผลนิพพาน ทาน ชอ่ื “โปฐิละ” ซง่ึ แปลวา “ใบลานเปลา ” ทานเปนผูทรงธรรมไวไดมากมายจนเปน “พหสู ตู ” แตไมใช “พหสู ตู ”อยา งพระอานนท ทา นเปน ผเู รยี นมาก มีลกู ศษิ ยบริวาร ตง้ั ๕๐๐ ทา นมอี ปุ นสิ ยั อยู แตก ล็ มื ตวั ในเวลานน้ั เมื่อไปเฝาพระพุทธเจา พระองคจึง ทรงแสดงเปนเชิงตําหนิ เพราะพระพุทธเจาทรงตําหนิใครก็ตาม ทรงสรรเสริญใครก็ ตาม ตองมีเหตุมีผลโดยสมบูรณในความติชมนั้นๆ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๗

๑๑๘ เมื่อทานทรงตําหนิ “พระโปฐิละ” พระโปฐิละจึงเกิดสังเวชสลดใจ ขณะที่เขาไป เฝา พระองคท รงยาํ้ แลว ยาํ้ เลา อยนู น่ั แหละวา “โปฐิละ” กแ็ ปลวา “ใบลานเปลา ” เรยี นเปลา ๆ ไดแตความจําเต็มหัวใจ สว นความจรงิ ไมส นใจ อยา งทา นอาจารยม น่ั ทา นเคยเทศนอ ยา งนน้ั น่ี! “เรยี นเปลา ๆ”, “หวั โลน เปลาๆ” “กนิ เปลา ๆ นอนเปลาๆ” ย้ําไปย้ํามาจนผูฟงตัวชาไปโนนแนะ ทา นวา ไป ทา นแปลศพั ทของทา น “โปฐิละ” องคเ ดียวน่แี หละ คอื ทา นสอนพระลกู ศษิ ยข องทา น ทานยกเอาเรื่องพระโปฐิละมาแสดง ใหเปนประโยชนสําหรับพระผูที่ฟงอยูในขณะนั้น ซึง่ มงุ ถอื เอาประโยชนอยแู ลว อยา งเต็มใจ เมื่อพระพุทธองคทรงเรียก “พระโปฐิละ” วา “โปฐิละ เขามา,โปฐิละ จงไป, อะไรๆ กโ็ ปฐลิ ะๆ โปฐิละ...ใบลานเปลา ๆ เรียนเปลาๆ แกก เิ ลสสกั ตวั เดยี วกไ็ มไ ด เรียนเปลาๆ กิเลสมากและพอกพนู ข้นึ โดยลาํ ดับ ทานประทานอุบายใหพระโปฐิละรูสึก ตวั และเห็นโทษแหงความลืมตัวมั่วสุมเกลื่อนกลนดวยพระเณรทั้งหลาย ไมห าอบุ ายสง่ั สอนตนเองบา งเพอ่ื ทางออกจากทกุ ขต าม “สวากขาตธรรม” เวลาทลู ลากลบั ไปแลว ดวยความสลดสังเวชเปนเหตุใหฝงใจลึก พอไปถึงวัดเทา นั้นก็ขโมยหนจี ากพระทง้ั หลายซ่งึ มีจํานวนตั้ง ๕๐๐ องคดวยกันบรรดาที่เปนลูกศิษย ออกปฏบิ ตั กิ รรมฐานโดยลาํ พงั องคเ ดยี วเทา นน้ั ทา นมงุ หนาไปสูสํานกั หน่ึงซง่ึ มแี ตเปน พระอรหันตทั้งนั้น นับแตพระมหาเถระลงไปจนกระทั่งถึงสามเณรนอย เปนพระ อรหนั ตด วยกันทงั้ หมด เหตทุ ท่ี า นออกไปทา นเกดิ ความสลดสงั เวชวา “เราก็เรียนมาถึง ขนาดนี้ แทนที่พระพุทธเจาจะทรงชมเชยในการที่ไดศึกษาเลาเรียนมาของเรา ไมมีเลย มีแตอะไรๆ ก็ “โปฐิละ ๆ” ไปเสียหมด ทุกอาการเคลื่อนไหวไมมีแงใดที่จะทรงชมเชย เลย แสดงวาเรานี้ไมมีสารประโยชนอะไรจากการศึกษาเลาเรียนมา หากจะเปน ประโยชนอยูบางพระองคยอมทรงชมเชยในแงใดแงหนึ่งแนนอน” ทานนําธรรมเหลานี้ มาพจิ ารณาแลว กอ็ อกประพฤตปิ ฏบิ ัตธิ รรม ดว นความเอาจริงเอาจัง พอกา วเขา ไปสสู าํ นกั พระมหาเถระดงั ทก่ี ลา วแลว นน้ั กไ็ ปถวายตวั เปน ลกู ศษิ ย ทา น แตบ รรดาพระอรหนั ตท า นฉลาดแหลมคมอยา งลกึ ซง้ึ ฉลาดออกมาจากหลกั ธรรม หลกั ใจทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ เวลาพระโปฐิละเขาไปมอบกายถวายตัวตอทา น ทา นกลบั พดู ถอ มตวั ไปเสียทุกองค เพอ่ื จะหลกี เลย่ี งภาระหนกั นน้ั เพราะราวกบั สอนพระสงั ฆราช หรือจะ เปนอบุ ายอะไรก็ยากทีจ่ ะคาดคะเนทา นไดถ กู ทา นกลบั พดู วา “อา ว! ทา นกเ็ ปน ผทู ไ่ี ดศ กึ ษาเลา เรยี นมาจนถงึ ขนาดนแ้ี ลว เปนคณาจารยมาเปน เวลานาน จะใหพ วกผมสอนทา นอยา งไรได ผมไมมีความสามารถ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๘

๑๑๙ จะสั่งสอนทานได” ทั้งๆ ที่ทานเปนพระอรหันตทั้งองค เต็มไปดว ยความสามารถฉลาด รูทุกแงทุกมุม “ทา นกลบั ไปถามทา นองคน น้ั ลองดู บางทที า นอาจมอี บุ ายแนะนาํ สง่ั สอนทา น ได” ทา นกไ็ ปจากองคน แ้ี ลว ไปถวายตวั ตอ องคน น้ั องคน น้ั กห็ าอบุ ายพดู แบบเดยี ว กนั ใหไ ปหาองคน น้ั ๆๆ องคไ หนกพ็ ดู อยา งเดยี วกนั หมด จนกระทั่งถึงสามเณรองค สดุ ทา ย แนะ ! ยงั พดู แบบเดยี วกนั คอื ทา นขอถวายตวั เปน ลกู ศษิ ยเ ณร เณรก็พูด ทาํ นองเดยี วกนั ทีนี้พระมหาเถระทานเห็นทาจะไมไดการ หรอื วา ทา นจะหากลอบุ ายใหเ ณรรบั พระองคนี้ หรือใหองคนี้เขาไปเปนลูกศิษยเณรเพื่อดัดเสียบาง เพราะทา นเปน พระท่ี เรียนมาก อาจมที ฐิ มิ ามากก็คาดไมถ งึ คาดยาก พระมหาเถระทานวา “ก็ทดลองดูซิ เณร จะพอมอี บุ ายสง่ั สอนทา นไดบ า งไหม?” พอทราบอบุ ายเชน นน้ั แลว พระโปฐลิ ะกม็ อบกายถวายตวั ตอ สามเณรนน้ั ทนั ที แลว เณรกส็ ง่ั สอนดว ยอบุ ายตา งๆ อยางเต็มภูมิ เราลองฟงซิเณรสอนพระที่เปนมหาเถระ หาอบุ ายสอนดว ยวธิ ตี า งๆ เชนใหพระ มหาเถระไปเอาอนั นน้ั มาให ไปเอาอนั นม้ี าใหบ า ง แลว ใหค รองจวี ร เชน ตอ งการสง่ิ ของ อะไรทอ่ี ยูในนํา้ ก็ใหมหาเถระครองผาไป ถาจะเปยกจวี รจริงๆ กใ็ หข น้ึ มาเสยี “พอ แลว ไมเ อา” ความจริงเปนการทดลองทั้งนั้น ทานมหาเถระที่เปนธรรมกถึกเอกนั้นไมมีขัดขืนไมมีทิฐิมานะ สมกบั คาํ วา “มอบกายถวายตวั ” จรงิ ๆ เณรใชใหไปไหนไปหมด บางทีใหไ ปเอาอะไรอยูใ นกอไผ หนามๆ รกๆ ทา นกไ็ ป แลว ใหค รองผา ไปดว ยทา นกท็ าํ เวลาถึงหนามเขาจริงๆ เณรก็ ใหถ อยมาเสยี “หยดุ เสยี อาจารย ผมไมเ อาละมนั ลาํ บาก หนามเกาะผา ” เณรหาอบุ าย หลายแงหลายมุมจนกระทั่งทราบชัดวาพระองคนั้นไมมีทิฐิมานะ เปน ผมู งุ หนา ตออรรถ ตอธรรมจริงๆ แลวเณรจึงไดเริ่มสอนพระมหาเถระดวยอุบายตางๆ เณรสอนพระมหาเถระโดยอุบายวา “มจี อมปลวกแหง หนง่ึ มีรูอยู ๖ รู เหี้ยใหญ มนั อยใู นจอมปลวกน้ี และเทย่ี วออกหากนิ ทางชอ งตา งๆ เพื่อจะจับตัวเหี้ยใหได ทาน จงปด ๕ ชองเสีย เหลือเอาไวเพียงชองเดียว แลว นง่ั เฝา อยทู ช่ี อ งนน้ั เหี้ยไมมีทางออก จะออกมาทางชอ งเดยี วน้ี แลวก็จับตัวเหี้ยได” นี่เปนขอเปรียบเทียบ แมภ ายในตวั ของเรานี้ก็เปนเหมือนจอมปลวกนน่ั แล ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๑๙

๑๒๐ ทา นแยกสอนอยา งน้ี ทา นอปุ มาอปุ มยั เขา มาใน “ทวาร ๖” คอื ตาเปนชอ งหนง่ึ หูเปนชองหนึ่ง จมูกเปนชองหนึ่ง ลน้ิ ชอ งหนง่ึ กายชอ งหนง่ึ ใจชองหนึ่ง ใหท า นปด เสยี ๕ ทวารนน้ั คือ ตา หู จมูก ลน้ิ กาย เหลือไวแตใจเพียงชองเดียว แลว ใหม สี ตริ กั ษาอยู ที่ใจแหงเดียว ขณะรักษาใจดวยสติ จงทําเหมือนไมรูไมเห็นไมรูไมชี้อะไรทั้งหมดที่มา สัมผัส ทาํ เหมอื นวา โลกอนั นไ้ี มม เี ลย มีเฉพาะความรคู ือใจอันเดยี วทีม่ ีสติควบคุมรกั ษา อยเู ทา นน้ั ไมเปนกังวลกับสิ่งใดๆ ในโลกภายนอกมรี ปู เสียง เปนตน จงตั้งขอสังเกต ดใู หด วี า อารมณต า งๆ มันจะเกดิ ขน้ึ ที่จิตแหงเดยี ว ไมว า อารมณด ีอารมณชัว่ มันจะ ปรากฏขึ้นที่จิตซึ่งมีชองเดียวเทานั้น เมื่อเรามีสติจองมองดูอยตู ลอดเวลาไมป ระมาท แลว กจ็ ะจบั เหย้ี คอื จติ และความคิดปรุงตางๆ ของจิตได จติ จะปรุงออกในทางดีทางชว่ั อดตี อนาคต ปรุงไปรัก ปรุงไปชัง เกลียดโกรธกับ อะไร ก็จะทราบไดทุกระยะๆ เพราะความมสี ตกิ าํ กบั รกั ษาอยกู บั ความรคู อื ใจ ใหท าํ อยา งนอ้ี ยตู ลอดไป จนกวา จะมกี ารเปลย่ี นแปลงโดยทางอารมณ และวธิ ดี ดั แปลงแกไ ข พระเถระพยายามทาํ ตามอุบายท่เี ณรสอนทุกประการ ไมมีมานะความถือตัว พระเถระองคนั้นเมื่อไดฟงและปฏิบัติตามสามเณร กไ็ ดส ตแิ ละไดอ บุ ายขน้ึ มาโดยลาํ ดบั จนมีหลกั ใจ เณรเห็นวาสมควรที่จะพาไปเฝาพระพุทธเจาไดแลว ก็พาพระเถระนี่ไป เณรเปน อาจารย พระมหาเถระเปน ลกู ศษิ ย เมื่อไปถึงสํานักพระศาสดา พระองคตรัสถามวา “เปนอยางไรเณร, ลกู ศษิ ยเ ธอ นะ ?” เณรกราบทูล “ดีมากพระเจาคะ ทานไมมีทิฐิมานะใดๆ ทั้งสิ้น และตั้งใจปฏิบัติ ดีนาเคารพเลื่อมใสมาก แมจะเปนผูเรียนมากและเปนขนาดมหาเถระก็ตาม แตก ริ ยิ า อาการทท่ี า นแสดงเปน ความสนใจ เปน ความออ นนอ มถอ มตน เปนความสนใจที่จะรู เห็นความจริงทั้งหลายตลอดมา” นน่ั ! ฟงซิเปนยังไง นกั ปราชญส นทนากนั และปฏบิ ตั ิ ตอ กนั ระหวางพระมหาเถระกับสามเณรผูเปนอาจารย ซึ่งหาฟงไดยาก หลังจากนั้นพระพุทธเจาก็ทรงสอนพระมหาเถระวา “ปญฺ า เว ชายเต ภูร”ิ ปญญาซ่ึงมีความหนกั แนน มั่นคงเหมือนแผน ดิน ยอมเกิดขึ้นแกผูใครครวญเสมอ! ฉะนน้ั จงพยายามทาํ ปญ ญาใหม น่ั คงเหมอื นแผน ดนิ และสามารถจะแทงทะลุอะไรๆ ได ใหเ กดิ ขน้ึ ดว ยการพจิ ารณาอยเู สมอ ไมมีอะไรจะแหลมคมยิ่งกวาปญญา ปญญานี้แล เปนเครื่องตัดกิเลสทั้งมวล ไมมีอะไรจะเหนือปญญาไปได พระองคทรงสอน “วปิ ส สนา”ในขณะนน้ั โดยสอนใหแ ยกธาตแุ ยกขนั ธ อายตนะ สว นตา งๆ ออกเปน ชิ้นเปนอัน อนั นเ้ี ปน อยา งน้ี อนั นน้ั เปน อยา งนน้ั ใหพระมหาเถระเขาใจเปนลําดับๆ โดยทาง “วปิ ส สนา” จากนั้นก็แสดงเรื่องรูป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ แตละ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๐

๑๒๑ อยาง ๆ อนั เปน อาการของจติ สรุปธรรมที่ทรงแสดงแก พระโปฐิละ กค็ อื อรยิ ะสจั ส่ี ปรากฏวา ทา นไดบ รรลอุ รหตั ผลในวาระสดุ ทา ยแหง การประทานธรรม จะอธบิ ายขนั ธห า ตอ สว นมากจติ ไปหลงอาการเหลา น้ี จงึ ไมทราบวา ตัวของ ตวั อยทู ไ่ี หน ไปองิ อยกู บั อาการคอื รปู วารูปเปนตนบาง วา เวทนาเปน ตนบา ง สัญญา เปน ตนบาง สงั ขาร วญิ ญาณ เปนตนบาง เลยหาตนไมได อะไรๆ กว็ า “ตน” เสยี สน้ิ เวลาจะจับ “ตน” เพอื่ เอาตัวจรงิ เลยหาตวั จรงิ ไมไ ด! ทั้งนี้ก็เพราะจิตหลงไปควาไป ยึดเอาสิง่ ไมใ ชต นมาเปน ตนเปน ตัวนนั่ แล ซึ่งเปนเพียงอาการหนึ่งๆ ทอ่ี าศยั กนั อยชู ว่ั ระยะกาลเทา นน้ั จงึ ทาํ ใหจ ติ เสยี เวลาเพราะความเกดิ ตาย ๆ อยเู ปลา ๆ แตล ะภพ ละชาต!ิ นอกจากเสยี เวลาเพราะความหลงกบั สง่ิ เหลา นแ้ี ลว ยงั ไดร ับความทกุ ขค วาม บอบชาํ้ ทง้ั ทางกายและทางจติ ใจอกี ดว ย เพราะฉะนั้นจงใชปญญาพิจารณาใหเห็นตาม ความจรงิ ของมนั เสยี แตบ ดั นซ้ี ง่ึ เปน กาลอนั ควรอยู ตายแลว หมดวสิ ยั จะรคู วามจรงิ ได พระพุทธเจาประทานพระโอวาทไวอยางชัดเจนแลว ไมนาสงสัยวาจะมีอะไรดี กวา ความพน จากทกุ ข อันมีการเกิดตายเปนตนเหตุ เอา! พิจารณาลงไป! “รูป” มีอะไรบางที่เรียกวา “รูป?” มนั ผสมกบั อะไรบา ง? คาํ วา “รูป” นี้มีกี่ อาการ? อาการหนง่ึ ๆ คอื อะไร? ท่รี วมกนั อยู สภาพความเปน อยขู องมนั เปน อยา ง ไร? เปน อยดู ว ยความบาํ บดั รกั ษา เปน อยดู ว ยความปฏกิ ลู โสโครก เหมอื นกบั ปา ชา ผี ดบิ ซง่ึ เตม็ อยภู ายในรา งกายน้ี แตใ จเรากย็ งั ดอ้ื ดา นอาจหาญถอื วา รูปนี้เปนเราเปนของ เรา ไมท ราบวา สง่ิ นเ้ี ปน ของสกปรกโสมม เปน กอง อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา เปน ปา ชา ผดี บิ บา งเลย ตางคนตางมีปาชาเต็มตัว ทําไมมัวเพลิดเพลิน มวั เสกสรรปน ยอ ชนิดไมรูเนื้อ รตู วั วา เปน ปา ชา ผดี บิ กนั บา งเลย เวลา “เขา” แตกดับไป “เรา” จะเอาสาระอะไรเปน เครอ่ื งอบอนุ ใจ ถา ปญ ญาไมถ ากถางใหเ หน็ ความจรงิ ไวก อ นแตบ ดั น้ี ในหลกั ธรรมชาตขิ องมนั กค็ อื ธาตุ สมมตุ เิ พม่ิ เขา มากค็ อื สกลกาย เต็มไปดวย “ปุพโพ โลหิต” นาํ้ เหลอื ง นาํ้ เลอื ด แสดงความปฏิกูลโสโครก และความทกุ ขใ หร ใู ห เหน็ อยตู ลอดเวลานบั แตว นั เกดิ มา ไมเคยขาดวรรคขาดตอนเลย มีอันใดสิ่งใดที่จะควร ยึดวาเปน “เรา” เปน “ของเรา” ดวยความสนทิ ใจ? ไมมีเลย! จึงควรพจิ ารณาดตู ามหลกั ความจรงิ นี้ ทัง้ ความเปน อยู ทง้ั ความสลายทาํ ลายลง ไป มันลงไปเปนอยางนั้น คือลงไปเปนธาตุดิน ธาตนุ าํ้ ธาตลุ ม ธาตุไฟ สว น “เวทนา” ก็พิจารณาแยกแยะใหเห็น ความสขุ กด็ ี ความทกุ ขก ด็ ี ความ เฉยๆ กด็ ี มนั เกดิ ขน้ึ ไดท ง้ั ทางกายและทางใจ สกั แตว า อาการอนั หนง่ึ ๆ เกดิ ขน้ึ และ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๑

๑๒๒ ดับไปเทานั้น รอู ยเู หน็ อยปู ระจกั ษต าประจกั ษใ จ ทกุ ขป รากฏขน้ึ มากเ็ ปน เพยี งความ จรงิ อนั หนง่ึ ของมนั ตัวมนั เองกไ็ มทราบความหมายของมัน การทเ่ี ราไปใหค วามหมาย มนั นน้ั กเ็ ทา กบั ผกู มดั ตนเอง เทา กบั เอาไฟมาเผาลนตนเอง เพราะความลุมหลงนี้เองจึง ไปหมาย “เขา” ในทางที่ผิด โดยท่ถี อื เอาวา เปน “เรา” ทุกขก็เปนเรา เปนไฟทั้งกอง ยงั ถอื วา เปน เรา อะไรๆ ก็เปนเรา ๆ หมดทั้งที่หาตัวเราไมเจอ ไปเจอแตความทุกข ตลอดเวลาทส่ี าํ คญั มน่ั หมาย สญั ญา กค็ อื ความจาํ จําแลวหายไป ๆ เมอ่ื ตอ งการกจ็ าํ ขน้ึ มาใหม มคี วามเกดิ ความดับ ๆ ประจําตัวของเขา ทั้งเวทนา ทั้งสัญญา ทั้งสังขาร ทั้งวิญญาณ มีลกั ษณะเชน เดียวกัน ถา พจิ ารณาสง่ิ หนง่ึ ใหเ ขา ใจแจม แจง หรอื ประจกั ษด ว ยปญ ญาแลว อาการทง้ั หา นก้ี เ็ หมอื นกนั หมด ความเขา ใจหากกระจายทว่ั ถงึ กนั ไปเอง เมอ่ื สรปุ ความแลว กองธาตกุ องขนั ธเ หลา นไ้ี มใ ชเ ราไมใ ชข องเราทง้ั นน้ั เปน ความจริงของเขาแตละอยาง ๆ ทั้งรูปธรรมและนามธรรมกเ็ ปนสาเหตุมาจากจิต แต เพราะ “ใจ” เปนใหญ ใจเปน ประธาน จงึ สดุ ทา ยกใ็ จเปน “บอยเขา” เพราะรับใชดวย ความลมุ หลง ตวั เองยงั ยนื ยนั วา “เขา” เปน “เรา” “เปนของเรา” กเ็ ทา กบั ถอื “เขา” เปน นายเรานน่ั เอง ฟงซิฟงใหถึงใจ จะไดถึงตัวกิเลสเสียบางและทําลายมันลงได ดวยสติปญญา ธรรมของนักปราชญทานสอนพวกเรา ยังจะพากันมามัวเมาไปหาความวิเศษวิโส จากธาตขุ นั ธ ซง่ึ เหมอื นปา ชา อะไรกนั อกี ! นอกเหนอื จากความรยู ง่ิ เหน็ จรงิ ในสง่ิ เหลา น้ี เทา นน้ั พวกเราพากันหลงตามความเสกสรรธาตุขันธ วาเปนเราเปนของเรา มากก่ี ปั ก่ี กลั ปแ ลว สว นผลเปน อยา งไร? เราภาคภมู ใิ จกบั คาํ วา “เรา” “ของเรา” เหมือนเรามี อาํ นาจวาสนาเหนอื สง่ิ เหลา น้ี และเปนผูปกครองสิ่งเหลานี้ ความจริงเราเปน “คนรับใช” สง่ิ เหลา น้ี ลุมหลงก็คือเรา ไดร บั ความทกุ ขค วาม ลาํ บาก ไดร บั ความกระทบกระเทอื นและแบกหามสง่ิ เหลา นด้ี ว ยความลมุ หลง กค็ ือเรา ผลสุดทายเราเปนคนแยและแยก วา อะไรบรรดามใี นโลกเดียวกนั สิ่งทั้งหลายไมใชผู หลงผยู ดึ ถอื ไมใ ชผ แู บกหาม ไมใชผูรับความทุกขทรมาน ผูร ับภาระทั้งปวงจากสิง่ เหลา น้ี คือเราคนเดียวตางหากนี่ เพราะฉะนั้นจึงควรแยกสิ่งเหลานี้ออกใหเห็นตามความจริงของมัน จิตจะได ถอนตนออกมาอยตู ามหลกั ธรรมชาติไมม เี คร่อื งจองจํา การพจิ ารณานน้ั เมอ่ื ถงึ ความ จรงิ แลว กต็ า งอนั ตา งจรงิ ไมกระทบกระเทือนกัน และปลดเปลื้องภาระทั้งหลายจาก ความยดึ ถอื คอื อปุ าทานเสยี ได ใจเปนอิสรเสรีและเรืองฤทธิ์เรืองเดชตลอดกาล ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๒

๑๒๓ ระหวา งใจกบั ขนั ธก ท็ ราบกนั ตามความจรงิ และไมย ดึ ไมถ อื กนั การพะวกั พะวน กนั เรอ่ื งขนั ธเ พราะอาํ นาจแหง อปุ าทานนไ้ี มม ี เวลายงั ครองขนั ธอ ยกู อ็ ยดู ว ยกนั ราวกบั มติ รสหาย ไมหาเรื่องรายปายสีกันดังที่เคยเปนมา ฉะนั้นจึงอยากใหเราชาวปฏิบัติธรรม พจิ ารณาเขา ไปถงึ ตวั จติ นน้ั แล “เหี้ยจรงิ ๆ คือตัวจิต”เหย้ี นน้ั มนั ออกชอ งนถ้ี งึ ได พิจารณาชองนี้ จนกระทั่งเขาไปหาตัวมัน คือจิต “จิต” คอื อะไร? คือรังแหง “วฏั จกั ร” เพราะกเิ ลสอาสวะสว นละเอยี ดสดุ ฝง จมอยภู ายในจติ ตองใชปญญาพิจารณาแยกแยะ กาํ หนดเอาจติ นน้ั เปน เปา หมายแหง การพิจารณา เชนเดยี วกบั อาการตา งๆ ที่เราไดพิจารณาลงไปเปนลําดับๆ ดวยปญญา มาแลว เมอ่ื ถอื จติ เปน เปา หมายแหง การพจิ ารณา ดวยความไมสงวนสิ่งใดไวท ้ังส้นิ ตองการทราบความจริงจากจิตที่เปนแหลงสรางปญหาทั้งมวลนี้โดยตลอดทั่วถึง การ พจิ ารณาไมห ยดุ ยง้ั กจ็ ะทราบดว ยปญ ญาวา ในจติ นน้ั มอี ะไรฝง จมอยอู ยา งลกึ ลบั สลบั ซบั ซอ น อยดู ว ยกลมารยาของกเิ ลสทง้ั ปวง จงกําหนดเขาไป พิจารณาเขาไป จติ ถา พดู ตามหลกั การพจิ ารณาแลว จิตก็เปน ตวั อนิจฺจํ เปนตัวทกุ ขฺ ํ เปนตัวอนตตฺ า เพราะยังมีสมมุติแทรกอยูจึงตองเปนลักษณะ สาม คอื “ไตรลักษณ” ได จงฟาดฟนหั่นแหลกลงไปที่ตรงนั้น โดยไมตองยึดมั่นถือมั่น วาจิตนี้เปนเรา จิตนี้เปนของเรา ไมเพียงแตไมยึดมั่นถือมั่นในรูป เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ วาเปนเราเปนของเราเทานั้น ยงั กาํ หนดใหเ หน็ ชดั เจนในตวั จติ อกี วา ควรจะ ถือเปนเราเปนของเราหรือไม เพราะเหตุไร! เอา กําหนดลงไปพิจารณาลงไป แยกแยะ ใหเห็นชัดตามความเปนจริง สิ่งที่เปน อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตตฺ า ภายในจติ นจ้ี ะกระจายออกหมดไมม อี ะไรเหลอื เลย เมื่อธรรมชาตินี้ไดกระจายหายไปไมมีอะไรเหลือแลว อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า ที่มีอยู ภายในจติ กห็ ายไปพรอ มกนั เปนจิตที่สิ้นสมมุติโดยประการทั้งปวงแลว! การใชค ําวา “จิต” เราจะเรียก “จิต” ก็ไดไมเรียกก็ได เพราะนอกโลกนอก สมมุติไปแลว เมื่อจิตแยกตัวออกจากสมมุติแลว คําวา “อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตตฺ า” จึง ไมม ใี นจติ อกี ตอ ไปตลอดอนนั ตกาล เมอ่ื ทกุ สง่ิ ทกุ อยา งสลายตวั ไปแลว แตค วามรนู น้ั กลบั บรสิ ทุ ธข์ิ น้ึ มา ไมส ลาย หรอื ไมฉ บิ หายไปกบั สง่ิ ทง้ั หลาย นเ่ี รยี กวา “จบั ตัวเหย้ี ไดแ ลว !” เหย้ี ใหญค อื จติ นเ้ี อง! ที่เณรสั่งสอนพระโปฐิละนะ! จงจับตัวนี้ใหไดจะเปนผูสิ้นจากทุกข พระโปฐิละก็ไดหลุด พนจากกิเลสอาสวะในขณะที่พระพุทธเจาประทานพระโอวาทจบลง เพราะเขาถึงจุดนี้ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๓

๑๒๔ คอื เหย้ี ใหญต วั น้ี และทําลายเหี้ยใหญตัวนี้ไดดวยปญญา ที่ทานวา “ปญฺ า เว ชายเต ภูร”ิ ทําปญญาใหเปนเหมือนแผนดิน ม่ันคงตอ ความจรงิ ท้งั หลาย พิจารณาใหเขาถึง ความจริงใหรูความจริง สมกับปญญาคือความจริงอันฉลาดแหลมคมมากในองค “มรรคแปด” ทท่ี า นสอนใหห ยง่ั เขา ถงึ จดุ สดุ ยอดแหง กเิ ลสทง้ั หลายคอื อะไร? ก็คือจติ ท่ีเตม็ ไปดว ย “อวชิ ชา” นน่ั แล เมอ่ื พจิ ารณาธรรมชาตนิ ใ้ี หแ ตกกระจายออกไปแลว จิตก็ บรสิ ทุ ธ์ิ เมื่อจิตบริสุทธิ์ขึ้นแลว คําวา “เหี้ย” จะเรียกวา “ถกู จบั ไดและทําลายได” ก็ ถกู “ถึงตัวจริงของธรรม” กถ็ กู และหมดปญหา! นี่แหละการพิจารณาธรรม พระพทุ ธเจา ของพวกเราชาวพทุ ธทา นสอนอยา งน้ี สว นพวกเราชาวพทุ ธพากนั งวั เงยี ตน่ื หรอื ยงั ? หรอื ยงั หลบั สนทิ พากนั ฝน เพลนิ วาดวมิ านเพอ่ื ราคะตณั หาอยรู าํ่ ไป? วันนี้พูดเรื่อง “ปริยัต,ิ ปฏบิ ตั ิ, ปฏเิ วธ” ในครง้ั พทุ ธกาลกม็ มี าอยา งนน้ั เหมอื น กนั แตท า นมคี วามหนกั แนน ในการประพฤตปิ ฏบิ ตั มิ ากกวา อยา งอน่ื ไมเหมอื นสมยั ปจจุบันนี้ซึ่งมีแตการเรียนมากๆ ไมส นใจในการประพฤตปิ ฏบิ ตั กิ นั บา งเลย ความจํา อรรถจําธรรมไดมันก็ไมผิดอะไรกับนกขุนทองที่วา “แกวเจาขา ๆ”แตเ วลาเอาแกว มา ใหน กขนุ ทองดจู รงิ ๆ แลว มนั กไ็ มท ราบเลยวา นน่ั คอื อะไร นอกจากเปน ผลไมน ก ขุนทองจะทราบและทราบดกี วา คน แตแกว นกขนุ ทองไมสนใจทราบ! ธรรมเปรียบเหมือนแกวดวงประเสริฐ อยา พากนั จาํ แตช อ่ื จะเปน นกขนุ ทองไป จงคน ดูแกว คือธรรมภายในใจใหรู เมื่อรูแลว ชอ่ื ของธรรมกเ็ จอกนั ทน่ี น่ั เอง คําวาธรรมคืออะไร? ถา ไมส นใจกับการประพฤตปิ ฏิบตั ิตามหลกั ธรรมทไ่ี ดร ํ่า เรียนมา กเ็ ทา กบั วา “แกว คอื อะไร” นน้ั เอง “ธรรมคืออะไรก็ไมทราบ “สมาธิ” คือ อะไรใจไมเคยสัมผัส เพราะไมเคยนั่งสมาธิ “ปญ ญา” คืออะไร?กไ็ มไ ดส ัมผัสอกี เพราะไมไดเจริญปญญาทางดานการปฏิบัติ “วิมุตติ” คอื อะไร? ไมทราบ เพราะจิตไม เคยหลุดพน นอกจากจะสง่ั สมกเิ ลสใหเ ตม็ หวั ใจจนแบกไมไ หว นง่ั อยกู ค็ ราง นอนอยกู ็ คราง ไปไหนกบ็ น เปน ทกุ ขย งุ ไปตลอดกาลสถานท่ี ทั้งๆ ที่เขาใจวาตนฉลาดเรียนรูมาก แตก บ็ น วา “ทุกขๆ” ไมไดวายแตละวัน เพราะฉะนั้นเพื่อทราบธรรมชาติความจริงนี้และหายบน จึงตองเรียนและปฏิบัติ ใหเขาถึงความจริง ใหส มั ผสั สมาธถิ งึ ความสงบเยน็ ใจ ดวยการปฏิบัติ ใหส มั ผัสปญญา คอื ความฉลาดแหลมคม ดว ยการปฏบิ ตั ภิ าวนา ใหสัมผัส “วิมุตต”ิ ความหลดุ พน จาก กิเลสทั้งมวล ดว ยการปฏบิ ตั ภิ าวนา ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๔

๑๒๕ การสมั ผสั สมาธิ ปญญา วิมุตติ ดวยการปฏิบัติของตัว และธรรมเหลานี้เปน สมบัตขิ องตัวแทแ ลว ยอ มหายสงสยั ไมถ ามใคร แมพระพุทธเจาประทับอยูตรงหนาเรา นก้ี ต็ าม จะไมทูลถามพระพทุ ธเจา ใหทรงราํ คาญและเสียเวลํา่ เวลาเลย เพราะเปน การ แสดงความโงออกมาทั้งๆ ทต่ี นรแู ลว ใครจะแสดงออกมาละกร็ ูแลว ถามทาํ ไม นน่ั ! เพราะความจริงเหมือนกันและเสมอกัน กห่ี มน่ื กแ่ี สนองค กพ่ี นั กห่ี มน่ื คน ที่ไดสัมผัส วมิ ุตติธรรมดวยใจตัวเองแลว ไมมแี มรายหนึง่ จะทลู ถามพระพุทธเจา ใหท รงลาํ บาก ราํ คาญเลย เพราะคําวา “สนฺทิฏฐิโก” ผูปฏิบัติจะพึงรูเองเห็นเองนั้น พระพุทธเจาไมทรง ผกู ขาด แตม ไี วส าํ หรบั ผปู ฏบิ ตั โิ ดยทว่ั กนั ตั้งแตครั้งนั้นมาจนกระทั่งบัดนี้ ตามหลัก ธรรมทท่ี า นทรงสอนไวไ มม เี ปลย่ี นแปลงแตอ ยา งใด ตั้งแตครั้งพุทธกาลมาจนถึงบัดนี้ ธรรมเปนธรรมชาติที่คงเสนคงวาเสมอมา ถา ผปู ฏบิ ัตใิ หเปนไปตามหลกั ธรรมนนั้ เรื่อง มรรคผลนิพพานไมตองไปถามใคร ผูปฏิบัติจะพึงขุดคนขึ้นมาชมอยางเต็มใจไดดวย การปฏิบัติโดยทางศลี สมาธิ ปญญา ที่เปน “สวากขาตธรรม” ไมตองสงสัย และไมมี ส่ิงอืน่ ใดท่ีจะมีอาํ นาจมาปดกั้นมรรคผลนพิ พานใหส ิ้นเขตสิน้ สมัยได และไมมีสิ่งใดที่จะ ขุดคนมรรคผลนิพพานขึ้นมาใหรูเห็นได นอกจากการประพฤตปิ ฏบิ ตั ดิ ว ยศลี สมาธิ ปญญา นเ้ี ทา นน้ั เพราะฉะนั้นหลักมรรคแปด มีสัมมาทิฏฐิ เปนตน มสี มั มาสมาธเิ ปน ทส่ี ดุ ที่ทาน เรยี กวา “มชั ฌมิ า” จึงเปนธรรมคงเสนคงวาตอทางมรรคทางผลอยางสมบูรณ และ เปนธรรมสม่ําเสมอ เปนธรรมศนู ยก ลางในการแกกเิ ลสอาสวะทกุ ประเภทตลอดมา ตง้ั แตโ นน จนบดั นี้และตลอดไปไมมีทางส้นิ สดุ ตอ งเปน “มัชฌิมาปฏิปทา” แกผูปฏิบัติ ถกู ตอ งตามนน้ั ตลอดกาลสถานท่ี ผลที่พึงไดรับจากการปฏิบัติจะไมตองไปถามใคร ขอใหด าํ เนนิ ไปตามหลกั ธรรมนใี้ หถ ูกตองเทา นนั้ จะเหมาะสมอยางยิ่งตอมรรคผลนิพพาน อันเปนสมบตั ิลน คา ของตน ๆ แตผูเดียวไมมีใครเขายุงได ทว่ี า “มรรคผลนิพพานสิ้นเขตสิ้นสมัยไปแลว” นน้ั กค็ ือคนที่ไมเคยปฏบิ ัติ คน ไมเคยสนใจกับธรรมเลย แตอุตริตั้งตนเปนศาสดาเหนือพระพุทธเจา พระธรรม พระ สงฆ คอยใหคะแนนตัดคะแนนพระรัตนตรัยและชาวพุทธทั้งหลาย เขาคนนน้ั คอื “ตัว แทนเทวทัต” จะไปรูเรื่องมรรคผลนิพพานสิ้นเขตสิ้นสมัยไดอยางไร ไมมีอะไรมาคุย อวด มอี ยางไรกพ็ ูดไปอยางนั้นตามประสาของคนท่ีมีนิสยั ตางกนั เพื่อคนอื่นแมไมเชื่อ แตสนใจฟงบางชั่วขณะก็ยังดี ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๕

๑๒๖ พระพุทธเจา สัตวโ ลกรูและกราบไหวก นั ท้งั น้ัน แตสัตวแปลกประหลาดไมมีตน มีตัว ปรากฏแตค าํ อวดฉลาด ไมม ใี ครนบั ถอื และกราบไหวก พ็ ดู อยา งนน้ั เอง ผลของ การพูดกท็ าํ ใหค นอน่ื พลอยโงไปดว ย ถา ผตู อ งการจะโงอ ยแู ลว กโ็ งไ ดจ รงิ ๆ เพราะคํา พูดคาํ นเี้ ปน คาํ พดู ที่ทาํ คนใหโ ง ไมใ ชเ ปน คาํ พดู ใหค นฉลาด ถา ผปู ฏบิ ตั มิ เี หตมุ ผี ลถอด แบบ “พุทฺธํ สรณํ คจฉฺ ามิ” แลว จะไมส นใจกบั คาํ นเ้ี ลย แตส นใจกับหลกั ธรรมท่พี ระ พุทธเจาทรงสอนไว แลว ปฏบิ ตั ติ ามนน้ั น่ันแลเปนสง่ิ ทีเ่ หมาะสมหรือถกู ตองท่ีสดุ เรา ทง้ั หลายไดร บั พระโอวาท คือศาสนธรรมจากพระพุทธเจามาโดยถูกตองแลว จึงพากัน นําไปประพฤติปฏิบัติกําจัดสิ่งที่เปนภัยแกตน ผลที่จะพึงไดรับจะเปนที่พึงพอใจ เพราะ เราจะเปนผูรับ จะเปน ผคู รอง จะเปนเจาของสมบัติที่ตนปฏิบัติไดโดยทั่วกัน ตามหลัก ธรรมวา “ผูทําดียอมไดดี ผูทําชั่วยอมไดชั่ว ผทู าํ ตนถงึ ขน้ั บรสิ ทุ ธย์ิ อ มพน จากทกุ ขท ง้ั มวล” จงจําใหถ ึงใจ ปฏิบัติใหถึงธรรม ผลพึงใจทั้งมวลคือเราเปนผูเสวย ไมมีใครแยง ชิงไดตลอดไป จึงขอยุติเพียงนี้ <<สารบัญ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๖

ภาค ๒ “เรา กบั จติ ”



๑๒๖ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ อะไรคอื จติ –จิตพระอรหันต ทา นอาจารยม น่ั ทา นวา “ใจ” มภี าษาเดยี วเหมอื นกนั หมด ไมวาจะเปนชาติใด ภาษาใด มเี พยี งความรคู อื ใจน้ี ฉะนน้ั ทา นจงึ วา เปน ภาษาเดยี ว พอนกึ ออกมากเ็ ขา ใจ แตเ วลาแยกออกมาพดู ตอ งเปน ภาษานน้ั ภาษาน้ี ไมค อ ยเขา ใจกนั ความรสู กึ ภายในจติ ใจนัน้ เหมอื นๆ กนั ธรรมกบั ใจจงึ เขา กนั สนทิ เพราะธรรมกไ็ มไดเปนภาษาของอะไร ธรรมกค็ อื ภาษาของใจ ธรรมอยกู บั ใจ” ความสขุ ความทกุ ขอ ยกู บั ใจ การทาํ ใหสขุ หรอื ใหทกุ ขเกดิ ขึ้นกใ็ จเปนผูคิดข้นึ มา ผลที่ปรากฏขึ้นเปนสุขเปนทุกข ใจเปนผูรับรู เปนผูรับภาระในผลของตนที่คิดขึ้นมา ใจ กับธรรมจึงเขากันไดสนิท ไมวาจะเปนชาติใดภาษาใด เรื่องธรรมนั้นเขากันไดทั้งนั้น เพราะใจกับธรรมเปนของคูควรกันอยูแลว ใจนค้ี อื แกน ในสกลกายของเรา เปนแกนอันหน่ึงหรือเปนของแขง็ หรือเปน สาระสาํ คญั ทม่ี อี ยใู นรา งกายน้ี ไดแ กใ จเปน หลกั ใหญ อาการทเ่ี กดิ ขน้ึ จากใจ เชน ความ คิดความปรุง เกิดแลวดับ ๆ ก็หมายถึงความกระเพื่อมของใจกระเพื่อมขึ้นมา คอื ความ คิดปรุง ความหมายเกย่ี วกบั การคาดการจดจาํ นน้ั หมายถงึ สญั ญา ยาวออกไปกเ็ ปน สญั ญา สน้ั กเ็ ปน สงั ขาร คือปรุงแพล็บก็เปนสังขาร สญั ญา คอื ความหมายความจาํ วญิ ญาณหมายถงึ การรบั รใู นขณะทส่ี ง่ิ ภายนอกเขา มาสมั ผสั อายตนะภายใน เชน ตากบั รูปสัมผัสกันเกิดความรูขึ้นมา เปนตน เหลานี้มีการเกิดการดับอยูประจําตัวของเขาเอง ทานจึงเรียกวา “ขันธ” แตล ะหมวดแตล ะกองรวมแลว เรยี ก วา “ขนั ธ” ขนั ธห า กองนม้ี กี ารเกดิ การดบั กนั อยเู ปน ประจาํ แมแตพระขีณาสพทานก็มี อาการเหลา นเ้ี ชน เดยี วกบั สามญั ชนทว่ั ๆ ไป เปน แตว า ขนั ธข องทา นเปน ขนั ธล ว นๆ ไม มกี ิเลสเปน เคร่อื งบงั คับบญั ชาใชใ หท าํ น้ี ปรุงนี้คิดนั้น เปนขันธที่คิดโดยธรรมชาติของ มันเอง เปนอสิ ระของขนั ธ ไมมีอะไรมาบังคับใหคิดนั่นปรุงนี่เหมือนจิตสามัญชนทั่วๆ ไป ถาจะเทียบขนั ธของสามญั ชนท่ัวไป กเ็ หมอื นนกั โทษทถ่ี กู บงั คบั บญั ชาอยตู ลอดเวลา ความคดิ ความปรงุ ความสาํ คญั มน่ั หมายตา งๆ เหลา น้ี ลว นแตม ผี บู งั คบั บญั ชาออกมา ใหค ดิ อยา งนน้ั ใหป รงุ อยา งน้ี ใหส าํ คญั มน่ั หมายอยา งนน้ั อยา งน้ี คอื มกี เิ ลสเปน นาย หวั หนา บงั คบั บญั ชาขนั ธเ หลา นใ้ี หแ สดงตวั ขน้ึ มา ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๖

๑๒๗ สวนพระขีณาสพคือพระอรหันตทานไมมี ปรุงก็ปรุงธรรมดา พอปรงุ แลว กด็ บั ไปธรรมดาไมมีเชื้อตอ ไมมีเชื้อกดถวงจิตใจ เพราะไมมีอะไรบังคับเหมือนดังขันธที่มี กเิ ลสปกครองหรอื มกี เิ ลสเปน หวั หนา ผิดกันตรงนี้ แตค วามจรงิ นน้ั เหมอื นกนั ทีก่ ลา วมาท้ังหมดน้ีเปน อนจิ จัง คือความไมเที่ยง ความแปรสภาพของแตละ ขนั ธๆ มีประจําตัวดวยกัน นับแตรูปขันธคือกายของเรา เวทนาขนั ธ ไดแ กค วามสขุ ความทุกข ความเฉยๆ นก่ี เ็ กดิ ดบั ๆ สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ มีเกิดมีดับประจําตนอยู ตลอดไป สว นความรจู รงิ ๆ ทเ่ี ปน รากฐานแหง ความรเู กย่ี วกบั สง่ิ ตา งๆ ที่เกิดดับๆ นี้ไม ดบั เราจะพูดวา “จิตนี้ดับไมได” เราจะพูดวา “จิตนี้เกิดไมได” เพราะฉะนั้นจิตที่บริสุทธิ์ แลวจึงหมดปญหาในเรื่องเกิดเรื่องตาย ทเ่ี กย่ี วกบั ธาตขุ นั ธไ ปถอื กาํ เนดิ เกดิ ทน่ี น่ั ทน่ี ่ี แสดงตวั อนั หยาบออกมา เชน เปน สตั วเ ปน บุคคลเหลา นน้ั เปนตน จึงไมมีสําหรับจิต ทา นทบ่ี รสิ ทุ ธแ์ิ ลว แตถ า ไมบ รสิ ทุ ธ์ิ กพ็ วกนแ้ี หละไปเกดิ ไปตาย หมายปา ชา อยไู มห ยดุ เพราะจติ ทไ่ี มต ายนแ้ี หละ ฉะนน้ั พระพทุ ธเจา จงึ ทรงสอนโลก เฉพาะอยางยิ่งคือโลกมนุษยเรา ผูที่รูดีรูชั่ว รู บาปบญุ คณุ โทษ และรูวิธีการที่จะแกไขดัดแปลงหรือสงเสริมได เขาใจในภาษาธรรมที่ ทา นแสดง ทา นจงึ ไดป ระกาศสอนโลกมนษุ ยเ ปน สาํ คญั กวา โลกอน่ื ๆ เพอ่ื จะไดพ ยายาม ดัดแปลงหรือแกไขสิ่งที่เห็นวาไมเกิดประโยชนและเปนโทษ ออกจากจติ ใจกายวาจา และสอนใหพ ยายามบาํ รงุ สง เสรมิ ความดที พ่ี อมอี ยบู า งแลว หรอื มอี ยแู ลว และที่ยังไมมี ใหมีใหเกิดขึ้น สง่ิ ท่ีมแี ลว บํารุงรักษาใหเ จรญิ เพื่อเครื่องหลอเลี้ยงจิตใจใหมีความชุม เย็นมีความสงบสุข มหี ลกั มเี กณฑด ว ยคณุ ธรรมคอื ความดี หากไดเ คลอ่ื นยา ยจากธาตุ ขนั ธป จ จบุ นั นไ้ี ปสสู ถานทใ่ี ด ภพใดชาติใด จิตที่มีความดีเปนเครื่องหลอเลี้ยงอยูเสมอ ยอมเปนจิตที่ดี ไปก็ไปดี แมจะเกิดก็เกิดดี อยกู อ็ ยดู ี มีความสุขเรื่อยๆไป จนกวา จติ นจ้ี ะมกี าํ ลงั สามารถอาํ นาจวาสนา มีบุญญาภิสมภารที่ไดสรางโดย ลาํ ดบั ลาํ ดา นับต้งั แตอ ดตี มาจนกระทง่ั ปจ จบุ นั นี้ตอ เนอ่ื งกันมา เชน วานนเ้ี ปน อดตี สาํ หรบั วนั น้ี วนั นเ้ี ปน อดตี สาํ หรบั วนั พรงุ น้ี ซึ่งเปนวันที่เราไดสรางความดีมาดวยกันทั้ง นน้ั และหนนุ กนั เปน ลาํ ดบั จนกระทั่งจิตมีกําลังกลาสามารถ เพราะอํานาจแหง ความดี นี้เปนเครอื่ งสนับสนุน แลวผานพนไปได คาํ วา “สมมุต”ิ คอื การเกดิ การตายดงั ทเ่ี ปน อยนู น้ั จะไปเกิดในภพที่เงียบๆ ละเอียดขนาดไหนก็ตาม ที่เปนเรื่องของสมมุติแฝงอยูนั้นจึงไมมี ทานผานไปหมดโดย ประการทั้งปวง นี่ไดแกจิตพระอรหันตและจิตพระพุทธเจา พดู ถงึ เรื่องนี้ก็ยงั มเี รื่องของ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๗

๑๒๘ “พระวังคีสะ” พระวังคีสะ ทา นเกง มากในการทด่ี จู ติ ผทู ต่ี ายแลว ไปเกิดในภพใดแดนใด ตั้งแตท านเปน ฆราวาส ใครตายก็ตาม จะวาทานเปนหมอดกู พ็ ดู ไมถนดั ทา นเกง ทาง ไสยศาสตรน น่ั แหละ เวลาใครตายเขานําเอากะโหลกศีรษะมาใหเคาะ ปอ ก ๆๆ กาํ หนดดทู ราบวา อนั นน้ั ไปเกดิ ทน่ี น่ั ๆ เชน ไปเกดิ เปน สตั วน รกกบ็ อก ไปเกิดในสวรรค กบ็ อก ไปเกิดเปนสัตวเดรัจฉาน ไปเกิดเปนเปรตเปนผีอะไรทานบอกหมดไมมีอัดมีอั้น บอกไดท ง้ั นน้ั ขอใหไ ดเ คาะกะโหลกศรี ษะของผตู ายนน้ั กแ็ ลว กนั พอทานวังคีสะไดทราบจากเพื่อนฝูงเลาใหฟงวา พระพุทธเจายังเกงกวานี้อีก หลายเทา ทา นอยากไดค วามรเู พม่ิ เตมิ จึงไปยังสํานักพระพุทธเจาเพื่อขอเรียนวิชา แขนงนี้เพิ่มเติมอีก พอไปถึงพระพุทธเจาทานก็เอาศีรษะพระอรหันตมาใหเคาะ “เอา ลองดูซิไปเกิดที่ไหน?” เคาะแลว ฟง เงียบ, เคาะแลว ฟง เงียบ, คดิ แลว เงยี บ กาํ หนด แลวเงียบ ไมป รากฏวา เจา ของกะโหลกศรี ษะนไ้ี ปเกดิ ทไ่ี หน! ทานจนตรอก ทานพูดสารภาพอยางตรงไปตรงมาวา “ไมทราบที่เกิด” ทแี รกพระวงั คสี ะนว้ี า ตวั เกง เฉลยี วฉลาด จะไปแขงกับพระพุทธเจาเสียกอนกอน จะเรียนตอ พอไปถึงพระพุทธเจา พระองคเอากะโหลกศีรษะพระอรหันตมาใหเคาะนี่ ซิ ! ทานมาติดตรงนี!้ ทนี ก้ี อ็ ยากจะเรยี นตอ ถาเรียนไดแลวก็จะวิเศษวิโสมาก เมือ่ การณเปนไปเชน น้นั ก็ขอเรยี นทส่ี าํ นกั พระพทุ ธเจา พระพทุ ธเจากท็ รงสอนวชิ าให สอน วธิ ใี ห คอื สอนวชิ าธรรมนใ่ี ห ฝกปฏิบตั ิไป ๆ พระวังคีสะก็เลยสําเร็จพระอรหันตขึ้นมา เลยไมสนใจจะไปเคาะศีรษะใครอีก นอกจากเคาะศีรษะเจาของ รูแจงชัดเจนแลวหมด ปญหาไปเลย นี่เรียกวา “เคาะศีรษะที่ถูกตอง”! เมอ่ื ยกเรอ่ื งจติ ทไ่ี มเ กดิ ขน้ึ มา กะโหลกศรี ษะของทา นผบู รสิ ทุ ธแ์ิ ลว เคาะเทา ไรกไ็ มร วู า ไปเกดิ ทไ่ี หน! ทั้งๆ ทพ่ี ระวงั คีสะแตก อนเกง มาก แตจิตที่บริสุทธิ์แลวหาที่ เกดิ ไมไ ด ! เชน “พระโคธิกะ” กเ็ หมอื นกนั นก้ี น็ า เปน คตอิ ยไู มน อ ย ทานไปบาํ เพญ็ สมณธรรมเจริญขึ้นไปโดยลําดับๆ แลว เสอ่ื มลง เจริญขึ้นเสื่อมลง ฟง วา ถงึ หกหน หนที่ เจ็ดทานจะเอามีดโกนมาเชือดคอตนเอง “โอ เสียใจ” แตกลับไดสติขึ้นมา จึงได พิจารณาธรรมจนไดเปนพระอรหันตในวาระสุดทาย อันน้เี ราพดู ยอเอาเลย ตอนทา น นพิ พาน พวกพญามารกม็ าคน หาวญิ ญาณของทา น พูดตามภาษาเราก็วา “ตลบเมฆ เลย” การขุดการคน หาวิญญาณของทานน้นั ไมเจอเลย ไมทราบวาทานไปเกิดที่ไหน พระพุทธเจาจึงรับสั่งวา “การที่จะคนหาวิญญาณของพระโคธิกะที่เปนบุตรของ เรา ซึ่งเปนผูสําเร็จเสร็จสิ้นไปแลวโดยประการทั้งปวงนั้น จะขุดจะคนจะพิจารณาเทาไร ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๘

๑๒๙ หรอื พลกิ แผน ดนิ คน หาวญิ ญาณทา นกไ็ มเ จอ มนั สดุ วสิ ยั ของ “สมมตุ ”ิ แลวจะเจอ อยา งไร! มนั เลยวสิ ยั ของคนทม่ี กี เิ ลสจะไปทราบอาํ นาจจติ ของพระอรหนั ตท า นได! ในวงสมมตุ ทิ ง้ั หลาย ไมมีผูใดจะสามารถตามวิถีจิตของพระอรหันตทานได เพราะทานนอกสมมุติไปแลว จะเปน จติ เหมอื นกนั กต็ าม ลองพิจารณาดูซิ จิตของเราที่ กาํ ลงั ลม ลกุ คลกุ คลานอยเู วลานก้ี ต็ าม เมื่อไดถูกชําระเขาไปโดยสม่ําเสมอไมหยุดไม ถอย ไมละความเพียรแลว จะคอยละเอียดไปได จนละเอียดถึงท่สี ุด ความละเอยี ดก็ หมดไป เพราะความละเอียดนั้นเปนสมมุติ เหลือแตธรรมชาติทองทั้งแทงหรือธรรมทั้ง ดวง ที่เรียกวา “จติ บรสิ ทุ ธ์ิ” แลว กห็ มดปญ หาอกี เชน เดยี วกนั เพราะกลายเปนจิต ประเสริฐ เชน เดยี วกบั จติ ของทา นทพ่ี น ไปแลว นน้ั นน่ั แล จิตประเภทน้เี ปนเหมอื นกนั หมด ไมนิยมเปนผูหญิงผูชาย นี่เปนเพศหรือสมมุติ อนั หนง่ึ ตา งหาก สว นจติ นน้ั ไมไ ดน ยิ มวา เปน หญงิ เปน ชาย ความสามารถในอรรถใน ธรรมจึงมีไดทั้งหญิงทั้งชาย และความสามารถทีบ่ รรลธุ รรมข้นั ตางๆ จนกระทง่ั ถงึ วิมุตติหลุดพนไปได ก็เปน ไปไดทั้งผหู ญิงผชู าย ไมมีกฎเกณฑที่จะบังคับกันได ขอแต ความสามารถอาํ นาจวาสนาของตนพอแลว เปน อนั ผา นไปไดด ว ยกนั ทง้ั นน้ั เพราะฉะนั้นเราจึงควรพยายามอบรมจิตใจของเรา อยา งนอ ยกใ็ หไ ดค วามสงบ เย็น จะดวยธรรมบทใดกต็ าม ทเ่ี ปน ธรรมซง่ึ จะกลอ มใหจ ติ มคี วามสงบ แลว ปรากฏ เปน ความรม เยน็ เปน สขุ ขึน้ มาภายในจติ ใจ พงึ นาํ ธรรมบทนน้ั มาเปน เครอ่ื งกาํ กบั มา เปนเครื่องพึ่งพึง เปนเครื่องยึดของจิต เชน อานาปานสติ ซ่ึงเปน กรรมฐานสําคัญบท หนง่ึ ในวงปฏบิ ตั ทิ ง้ั หลาย รสู กึ วา อานาปานสตจิ ะเปน ธรรมทถ่ี กู กบั จรติ นสิ ยั ของคน จํานวนมากกวา ธรรมบทอน่ื ๆ และนําเขามาประพฤติปฏิบัติภายในจิตใจของเราใหได รับความสงบเย็น เมื่อใจเริ่มสงบ เราก็จะเริ่มเห็นสาระของใจ หรือจะเรม่ิ เหน็ ใจวา เปน อะไร เปน อยา งไร กค็ อื ความทจ่ี ติ รวมกระแสของตวั เขา มาสจู ดุ เดยี ว เปน ความรลู ว นๆ อยู ภายในตวั นน้ั แหละทา นเรยี กวา “จิต” ความรวมตวั เขา มาของจติ น้ี รวมเขา มาตามขน้ั ตามความสามารถ ตามความละเอียดของจิต ตามขั้นของจิตที่มีความละเอียดเปน ลาํ ดบั ถา จติ ยงั หยาบ รวมตัวเขามากพ็ อทราบไดเหมือนกัน เมื่อจิตละเอียดเขาไปก็ ทราบความละเอยี ดลงไปอกี วา จิตนี้ละเอียด จิตนี้ผองใส จติ นส้ี งบยง่ิ จิตนี้เปนของ อศั จรรยย ง่ิ ยิ่งขึ้นไปโดยลําดับๆ จิตดวงเดียวนี้แหละ! การชําระการอบรมเพื่อความสงบ การพจิ ารณาคน ควา แกไ ขสง่ิ ทข่ี ดั ขอ งภายใน จิตดวยปญญา ซ่ึงเปนวธิ ที จ่ี ะทาํ ใหจ ติ กา วหนา หรือทําใหถึงความจริงของจิตไดโดย ลําดับ ดว ยการกระทาํ ดงั ทก่ี ลา วน้ี ใจจะหยาบขนาดไหนกห็ ยาบเถอะ ถาลงความเพียร ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๒๙

๑๓๐ ไดพ ยายามตดิ ตอ กนั อยเู สมอดว ยความอตุ สา หพ ยายามของเราอยแู ลว ความหยาบนน้ั ก็จะคอยหมดไป ๆ ความละเอียดจะคอยปรากฏขึ้นมาเพราะการกระทําหรือการ บําเพ็ญของเรา จนกระทั่งสามารถผานพนดวยการฟาดฟนกิเลสใหแหลกไปไดเชนเดียว กนั หมดไมว า ผหู ญงิ ผชู าย ในขณะที่เรายังไมสามารถจะทําอยางนั้นไดก็ไมตองเดือดรอนใจ ขอใหท าํ ใจให มหี ลกั มเี กณฑ เปนที่ยึดเปนที่พึ่งของตนเองได สว นสกลกายนเ้ี รากพ็ ง่ึ เขามาแลว ตง้ั แต วนั เกดิ ทราบไดด ว ยกนั พาอยพู านอน พาขบั พาถา ย พาทาํ งานทาํ การ ทาํ มาหาเลย้ี ง ชพี ทั้งเราใชเขา ทั้งเขาใชเรา ทั้งเขาบังคับเรา ทั้งเราบังคับเขา เชน บงั คบั ใหท าํ งาน แลวเขาก็บังคับเราใหเปนทุกข ปวดนน่ั เจบ็ น่ี ตอ งไปหาหยกู หายามารกั ษา กเ็ ขานน่ั แหละเปนคนเจ็บ และกเ็ ขานน่ั แหละเปน คนหาหยกู หายา เงนิ ทองขาวของก็เขาแหละ หามา มนั หนนุ กนั ไปหนนุ กนั มาอยอู ยา งน้ี ไมท ราบวา ใครเปน ใหญก วา ใคร ธาตขุ นั ธก บั เรา? เราบงั คบั เขาไดช ว่ั กาล และ เขาก็บังคับเราไดตลอด! การเจ็บไขไดปวย การหวิ กระหาย การอยากหลบั อยากนอน ลวนแตเปนเรือ่ งกองทกุ ขซ่งึ เขาบังคับเราทั้งน้นั และบงั คบั ทกุ ดา น แตเราบังคับเขาได เพียงเล็กๆ นอ ยๆ ฉะนน้ั ในกาลอนั ควรทเ่ี ราจะบงั คบั เขา ใหพ าเขาภาวนา เอา ทําลงไป เมอ่ื ธาตขุ นั ธม นั ปกตอิ ยู จะหนกั เบามากนอ ยเพยี งไรกท็ าํ ลงไป แตถาธาตุขันธไมปกติ มีการเจ็บไขไดปวย เรากต็ อ งรคู วามหนกั เบาของธาตขุ นั ธ เรอ่ื งใจใหเ ปน ความเพยี ร อยภู ายในตวั อยา ลดละปลอ ยวาง เพราะเปน กจิ จาํ เปน เราอาศยั เขามานานแลว เวลาน้ีมนั ชาํ รุดทรดุ โทรมกใ็ หทราบวา มันชํารุด อนั ไหน ที่ควรจะใชได อนั ไหนท่ีใชไ มได เราเปนเจาของทราบอยูแกใจ ทค่ี วรลดหยอ นผอ นผนั กผ็ อ นผนั ไป สวนใจที่ไมเจ็บปวยไปตามขันธ ก็ควรเรงความเพียรอยูภายใน ไมขาดประโยชน ที่ควรไดรับ ใหใ จมหี ลกั มเี กณฑ อยกู ม็ หี ลกั ตายกม็ หี ลัก เกดิ ทไ่ี หนกใ็ หม หี ลกั เกณฑ อนั ดเี ปน ท่พี ึงพอใจ คําวา “บญุ ” กไ็ มใหผ ดิ คาดผดิ หมาย ไมใหผิดหวัง ใหมีสิ่งที่พึงพอ ใจอยตู ลอดเวลา สมกับเรา “สรา งบญุ ” คอื ความสขุ ทโ่ี ลกตอ งการดว ยกนั ไมมีใครอิ่ม พอกค็ อื ความสขุ นแ่ี หละ จะเปนสุขทางไหนก็ตามเปนสิ่งที่โลกตองการ เฉพาะอยา งยง่ิ สุขทางใจ ซึ่งจะเกิดขึ้นเพราะการทําคุณงามความดีเปนลําดับๆ มภี าวนา เปนตน นเ่ี ปน ความสขุ อนั เปน แกน หรอื เปน สาระสาํ คญั ภายในใจ ฉะนน้ั ใหพ ากนั บาํ เพญ็ ในเวลารา งกายหรอื ธาตขุ นั ธย งั เปน ไปอยู เมอ่ื ถงึ อวสานแหง ชวี ติ แลว มนั สดุ วสิ ยั ดว ยกนั ทาํ ไดม ากนอ ยกต็ อ งหยดุ ในเวลานน้ั เรยี กวา หยดุ งานพกั งาน และเสวยผลใน อนั ดบั ตอ ไป ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๐

๑๓๑ โนน ! ภพตอไปโนน! ควรจะทําไดเราก็ทํา ถา ผา นไปเสยี หรอื หลุดพน ไปได ก็ หมดปญหาดวยประการทั้งปวง ไมมีอะไรมาเกี่ยวของยุงเหยิงตอไป นี่พูดถึงเรื่องจิต เพราะจิตเปนหลักใหญ ที่จะพาเราไปดีไปชั่ว ไปสุขไปทุกข ก็คือจิต ไมใชสิ่งอื่นใดที่จะ พาใหเปนไป คาํ วา “กรรม” วา “เวร” กอ็ ยทู ่ีจิตเปนผูส รา งไว ตนจะจําไดหรือไมไดกต็ าม แต เชอ้ื ของมนั ซง่ึ มอี ยภู ายในใจนน้ั กป็ ด ไมอ ยใู นการใหผ ล เพราะเปนรากเหงาอยูในจิต เราก็ยอมรับไปตามกรรมนั้น แตเ ราอยา ไปตาํ หนมิ นั เมื่อเราทําลงไปแลวก็เปนอันทํา จะไปตําหนิไดอยางไร มือเขียนตองมือลบ ยอมรบั กนั ไปเหมอื นนักกีฬา เรื่องของกรรม เปน อยางนั้น จนกวาจะพนไปได มนั กห็ มดปญ หานน่ั แหละ ตอ ไปใหท า นปญ ญา (ภิกษุปญ ญาวฑั โฒ Peter John MORGAN ชาวองั กฤษ) อธบิ ายใหท า นเหลา นฟ้ี ง เพราะมีชาวตางประเทศอยูดวย <<สารบญั ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๑

๑๓๒ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ จะฝกจิต ตอ งฝน เราเปน ชาวพทุ ธ พระพุทธเจาของเราเปนนักเหตุผล เปน นักอรรถนกั ธรรม นักรู นกั ฉลาดแหลมคม และเปนคลังแหงธรรม ผลธรรมท่อี ยใู นคลงั คอื พระทัยอันบรสิ ุทธ์ิ ของพระองคนั้น มีแตพระธรรมดวงประเสริฐเลิศโลก ทา นไดม าดว ยเหตผุ ลอนั ใดทา น จึงไดร่ําลือ เราก็เปนคนๆ หนึ่งไมเห็นเปนที่ร่ําลือ พระพทุ ธเจา กเ็ ปน คนๆ หนง่ึ แต ทาํ ไมทา นจงึ ราํ่ ลอื ทว่ั โลกธาตุ “สตถฺ า เทวมนสุ สฺ านํ” เปนครูของเทวดาและมนุษยทั้ง หลาย ทา นราํ่ ลอื ทกุ อยา งบรรดาความดที ง้ั หลายไมว า ฝา ยเหตไุ มว า ฝา ยผล ทานเปน “คลังแหงพระธรรมดวงประเสริฐ” พระธรรมทป่ี รากฏใหโ ลกผสู นใจกราบไหวบ ชู าอยนู ้ี พระพุทธเจาทรงขุดคนได มากอนใครทั้งโลก แลว ทรงนาํ ออกแจกจา ยโลก แมกระนั้นโลกยังไมเห็นสําคัญในธรรม ดวงประเสริฐนั้น เห็นสําคัญแตเรื่องไมประเสริฐเรื่องเหลวไหล ทก่ี มุ อาํ นาจอยภู ายใน จิตใจ ความเคลื่อนไหวไปมาของใจกายวาจา จึงเปนไปตามอํานาจเหลานี้เสียโดยมาก เมื่อเชนนั้น แมความตองการสิ่งประเสริฐเลิศโลกก็ “สกั แตค วามตอ งการเทา นน้ั ” เพราะไมไดสนใจดําเนินตามเทาที่ควร ไมไ ดฝ น สง่ิ ทก่ี มุ อาํ นาจไวภ ายในใจเพอ่ื การ ปฏิบัตบิ าํ เพ็ญธรรม สมกับเปนลูกศิษยพระตถาคตผูทรงฝนอยางยิ่ง การฝนเพื่อเหตุเพื่อผลเพื่ออรรถเพื่อธรรมนั้นแล เปนความดียิ่งสําหรับเรา เพราะครูเราคือพระศาสดาและสาวก ทานพาฝนและไดดีสิริมหามงคลสูงเดนแกโลก เพราะความฝน ความดีมีคุณคาของคนเรามีอยูที่ตรงนี้ ไมใชมอี ยทู ี่เน้ือทหี่ นังเหมอื น สัตว ตายแลว นาํ เขา สตู ลาด ผลปรากฏออกมาเปน เงนิ เปน ทอง เปน อาหารการบรโิ ภคท่ี สําเร็จประโยชนไดทั่วโลกดินแดน สว นมนษุ ยเ ราน้ี ไมไ ดม ีคุณคาอยูทเ่ี น้ือที่หนงั อยางสตั วเหลา นนั้ แตม คี ณุ คา ทาง จิตใจ มคี ณุ คา ทางความประพฤตอิ ธั ยาศยั หนา ทก่ี ารงาน อนั เปน ประโยชนแ กต นและ สว นรวม ความประพฤติ ถาไมดําเนินมาจากจิตใจก็ไมมีทางดําเนิน จิตใจถาไมมีเหตุผล เปนเครื่องดําเนินก็ไมปลอดภัย เพราะฉะนั้นมนุษยเราจึงควรมีเหตุผลแนบสนิทกับใจ ใจตองใครครวญเหตุวาดีหรือไมดีอยูเสมอ ทกุ อาการทเ่ี คลอ่ื นไหวไปมา ผลท่ีสําเรจ็ ออกไปจากเหตนุ จ้ี ะเปน อยา งไร? เมื่อเหตุไมดีแลวผลก็ตองไมดี เพราะไมขึ้นอยูกับ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๒

๑๓๓ ความเสกสรรปน ยอหรอื เสกเปา แลว กว็ า ดี ดังที่โลกๆ มกั นยิ มใชก นั เสมอมา แตด แี ละ ชว่ั อยทู ก่ี ารทาํ เหตเุ ปน สาํ คญั กวา การ “เสก” ใดๆ นี่เปนหลักธรรมชาติที่ใครๆ ไมควร ฝน เพราะเปนความจริง เมื่อเหตุดีผลตองดี ใครจะติเตียนวันยังค่ํา หรอื ยกโลกธาตมุ า ตําหนิติเตียนวา “ทําชั่วไดดี ทาํ ดกี ลบั ไดช ว่ั ” อยา งน้ี กส็ กั แตค าํ พดู หรอื ความเสกสรร ปน ยอของคนตา งหาก แตน าํ มาใชเ ปน การยนื ยนั รบั รองไมไ ด เพราะเปนความคิดการ กระทําของคนผูจะทําลายตนและสังคมตางหาก ธรรมแทไ มเ กย่ี วกบั เรอ่ื งจอมปลอม อยา งน้ี เพราะความจริงเปนเรื่องใหญโตมาก ในโลกทั้งสามไมมีอะไรจะจริงยิ่งกวา ความจรงิ ดงั ทก่ี ลา วมาน้ี พระพทุ ธเจา ทานกท็ รงส่งั สอนโลกตามหลกั ความจรงิ น้ที ้งั นั้น ไมวาธรรมในแง ใด ไมวาพระสูตร พระวนิ ัย พระปรมัตถ ลว นแสดงตามหลกั ความจรงิ จะเคลอื่ นคลาด จากนี้ไปไมมี ฉะน้นั พวกเราทเี่ ปนชาวพุทธ จึงตองพยายามประพฤติปฏิบัติตน และพึง คํานึงถึงพระพุทธเจาเสมอ แมจะไมไดมุงความเปนพระพุทธเจาเหมือนพระองคก็ตาม แตก ็ควรคาํ นงึ ถงึ ความเปน “ลกู ศษิ ยข องตถาคต” คือพุทธบริษัท ไดแ กอ บุ าสก อบุ าสกิ า เปน ตน แลวพยายามปฏิบัติบําเพ็ญตามธรรมของพระองค พระพุทธเจาทรง ฝนทกุ สงิ่ ทกุ อยา งบรรดาทเี่ ปนขาศึกตอ ความดี เราก็ตองฝนเชนเดียวกับพระพุทธเจา เพราะตอ งการความดหี รอื ของดที ป่ี ราชญท า นวา ดี ไมใชดีแบบเสกสรรปนยอเสกเปา แลว กต็ น่ื ลมกนั โดยไมย อมเหลอื บมองดปู ราชญท า นวา เปน อยา งไรบา ง อนั ความไมด นี น้ั มอี ยแู ลว ภายในจติ ใจ สิ่งที่ฝนไมใหทําความดีนี้ลวนแตสิ่งที่ชั่ว ทั้งนั้น ถา เราไมยอมฝนกแ็ สดงวา เรายอมจาํ นนตอ ความชว่ั ความตาํ่ ทรามทม่ี อี ยภู ายใน จติ ใจมากนอ ยนน้ั ถาเราฝนก็แสดงวาเราเห็นโทษแหงความไมดีนั้น และฝน ใหห ลุดพน จากความไมดี หรือทาํ ลายความไมดีโดยลาํ ดบั ดว ยความฝน ความบากบน่ั กลน่ั กรอง ตวั เอง ความเห็นโทษเปนเหตุปจจัยใหฝนสิ่งต่ําทรามเหลานี้ เพอื่ ความดีท้งั หลาย เรื่องของศาสนาเปนเรื่องฝนสิ่งที่ไมดีทั้งหลาย ไมใชเปนสิ่งที่คลอยตามของไมดี แตเปนสิ่งที่ฝน ฝนตั้งแตเบื้องตนจนถึงที่สุด จนหาสิ่งที่ใหฝนไมได จติ กส็ ะดวกสบาย ไมมอี ะไรมาฝน กนั อกี ตอ ไป ส่ิงท่ีฝน มมี ากมนี อ ยเพยี งไรนน้ั แลคือตัวภัย สิ่งนั้นเมื่อเรา ดาํ เนนิ ไปตามหรอื คลอ ยไปตาม จะมกี าํ ลงั มากขน้ึ โดยลาํ ดบั จนกลายเปน นสิ ยั คาํ วา “กลายเปน นสิ ยั ” คอื ทโ่ี ลกเขาวา “ตามใจตัวเองจนเปนนิสัย” แตความจริงก็ตามธรรม ชาตฝิ า ยตาํ่ นน้ั แหละ เพราะใจไมมีอํานาจเหนือสิ่งนั้น และสง่ิ นน้ั อยเู หนอื ใจ โลกเลย พูดเสียวา “เอาแตใจตัวเอง ไมคํานึงถึงเหตุผลบางเลย” ทีนี้การที่เรามาประพฤติปฏิบัติ เราจําตองฝน ดงั ทท่ี า นทง้ั หลายมาสสู ถานทน่ี ้ี หรอื ไปสสู ถานทใ่ี ดเพอ่ื คณุ งามความดที ง้ั หลาย ก็ตองฝนเชนเดียวกัน ถาไมฝนก็ไมได ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๓

๑๓๔ ของดี ปกตขิ องคนสว นมาก เวลาํ่ เวลาจะมมี ากนอ ยเทา ไร สง่ิ ทม่ี นั กดขบ่ี งั คบั อยภู ายใน ใจ ซง่ึ เปน ผกู มุ อาํ นาจหรอื ผคู มุ อาํ นาจนน้ั จะแยงชิงเอาไปกินจนหมดไมมีเหลือเลย จน กระทั่งโนนละ ขณะที่จะสิ้นลมหายใจมันจึงจะปลอย กอ นนน้ั มนั ไมค อ ยปลอ ยใหม เี วลา วา งกนั ! ดวยเหตนุ ้โี ลกจงึ ไมค อยมเี วลาทาํ ความดีกัน จาํ ตองมืดทั้งมา มืดทั้งอยูและมืด ทั้งเวลาจะไปและไปกัน ไมมีเวลาสวางสรางซา วันคืนปเดือนมีอยูเทาเดิม ปหนึ่งมี ๓๖๕ วนั วนั หนง่ึ คนื หนง่ึ มี ๒๔ ชั่วโมง ก็ไม มวี า ง! สําหรับธรรมชาติเจาอาํ นาจนี้จะไมยอมวางใหใครเลย กมุ อาํ นาจอยตู ลอดเวลา จนขณะจะสิ้นลมหายใจถึงจะเปดโอกาสใหวา “เวลานว้ี า ง จึงไดตาย!” นั่น จงพิจารณา ใหถ งึ ใจ เคียดเเคนใหถึงธรรม ดาํ เนนิ ใหถ งึ แดนปลดปลอ ยอยา ถอยมนั เปน อนั ขาด ชาตมิ นษุ ยพ ทุ ธบรษิ ัททฉี่ ลาดและแข็งแกรงในโลก มีศาสดาเปนจอมทัพ ไมเคยพาพวก เราใหก ลบั แพน ่ี เมอ่ื คดิ เรอ่ื งเหลา นม้ี นั นา สลดสงั เวชมากทส่ี ดุ เพราะสง่ิ เหลา นเ้ี คยกดถว ง เคย ทรมาน เคยทําใหเราไดรับความทุกขม ามากตอมากจนไมอ าจคณนาได แมเ ชน นน้ั กย็ งั ไมท ราบวา สง่ิ เหลา นเ้ี ปน ภยั แกต วั เอง ถึงจิตใจจะวุนวายเดือดรอนขนาดหนักแทบไมมี สติ กว็ า “วันนี้ใจไมดีเลย!” แลว กไ็ มท ราบวา ไมดีเพราะอะไรเปนเหตุทําใหใจไมดี ความจรงิ กค็ อื ธรรมชาตอิ นั นน้ั แลทาํ คน จะเปนอะไรมาจากโลกไหนเลา? แตเรา ไมอาจทราบได จงึ ตอ งอาศยั การอบรมใหท ราบวา ส่งิ ไหนผดิ สง่ิ ไหนถกู สง่ิ ไหนดีสงิ่ ไหนชั่ว ความดีเปนคุณแกจิตใจ ความชว่ั เปน ภยั ตอ จติ ใจ มันติดอยูกับใจดวงเดียวทั้ง สองอยา ง มเี พยี งมากกบั นอ ยทต่ี า งกนั เพราะฉะนน้ั เราจะหาอบุ ายวธิ ใี ด แกส ง่ิ ไมด ซี ง่ึ มอี ยใู นจติ อนั เดยี วกนั ใหอ อกไป ไดโดยลําดับ? นอกจากอรรถธรรมและตัวเราเองที่จะฝน โดยอาศัยหลักธรรมเปน เครื่องมือเทานั้น ไมมวี นั ท่ีจะไดร บั การปลดปลอ ยตัวออกสูความวา งไดตลอดไป “พระพุทธเจาทานทําไมจึงวาง?” เราตอ งคดิ ไปเชน นน้ั เพอ่ื แกต วั เอง “ทา นก็เปน ถึงพระมหากษัตริย ทําไมทานถึงวางและออกบําเพ็ญพระองคได” เราไมมุงบําเพ็ญตาม แบบพระพทุ ธเจา กต็ าม แตเรายกทานเปนครูในสวนที่เราจะยึดได มาปฏิบัติเพื่อตัวเอง ทําไมพระพุทธเจาทานวาง ทานไมมีกิเลสหรือ? ทานไมหึงไมหวงอะไรบางหรือ? ลกู กม็ ี เมียก็มี สมบตั พิ สั ถานมากนอ ย ไพรฟาประชาชีทั้งหลายเต็มแผนดิน ซึ่งเปน สมบัติอันมีคามหาศาลของพระองคทั้งนั้น ทําไมพระองควางได พระองคปลอยไดและ วางได จนไดตรัสรูและสะเทือนโลกธาตุ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๔

๑๓๕ เราไมถึงกับจะตองปลอยอยางพระพุทธเจา แตป ลอ ยแบบลกู ศษิ ยม คี รู จึงควร หาเวลาวา งสาํ หรบั ตนใหไ ดบ า ง อะไรที่มีสาระสําคัญที่สุดในโลกนี้? จติ ของเรามุงตอ อะไรทุกวนั น้?ี วา อะไรเปน ศกั ดส์ิ ทิ ธแ์ิ ละวเิ ศษทส่ี ดุ ที่จะเปนสารคุณอันสําคัญพึ่งเปนพึ่ง ตายไดจริง ๆ มอี ะไรบา งอยใู นโลกน?้ี เราเปนมนุษยพุทธบริษัททั้งคน ควรคิดใหเต็ม ใจกอ นจะหมดโอกาสคดิ และทาํ เพื่อสิ่งที่พึงหวังดังใจหมาย คิดรอบ ๆ ตวั ก็พอสะดดุ สะเทือนใจไมเสียผล ดเู อาซไี ปท่ไี หนเห็นมแี ตปาชา เกล่อื นไปหมด ไมว า สตั วว า บคุ คล “ปาชา” เต็มตัวดวยกัน เราหวังอะไรเปน “สรณะ” เราหวังอะไรเปนหลักเปนฐานเปนที่ มั่นใจเรา? เมื่อมองไปไหนมีแตภ ัยรอบดาน จนจะหาทางคบื คลานออกไมม ี ทง้ั นถ้ี า ไมม อี รรถมธี รรมภายในใจบา งแลว คนเราจะหาหลักเกณฑไมไดเลย จะ รวนเรเลื่อนลอย จนกระทง่ั วนั สน้ิ ชพี วายชนมก เ็ ลอ่ื นลอยไปอยา งนน้ั ไมมีอะไรเปนหลัก ในอนาคต ถา ไมร บี สรา งหลกั ยดึ ไวเ สยี แตใ นบดั น้ี เมอ่ื จติ ใจในปจ จบุ นั มนั เลอ่ื นลอย อยา งไร ไมม หี ลกั เกณฑอ ยา งไร อนาคตไมต อ งพดู กค็ อื ผนู แ้ี หละ ผเู ลอ่ื นลอยนแ้ี หละ จะไปเปนผูเดือดรอนระทมขมขื่นในอนาคต ไมใชอะไรจะพาใหเปน ตองใจดวงรวนเร เลอ่ื นลอยนแ้ี ลจะพาใหเ ปน พระสาวกทา นมจี าํ นวนมาก ทานทําไมวางได? ทานทําไมฝนได คาํ วา “ฝน” เปน สิ่งสําคญั มาก ทําไมทานฝนได กิเลสของทานเปนกิเลสประเภทใดทานจึงฝนได? กเิ ลส ของเราเปนกิเลสประเภทใดเราจึงฝนไมได ก็เปนกิเลสประเภทเดียวกัน ธรรมเครื่องแก ไขก็เปนประเภทเดียวกัน ทําไมจะนํามาแกสิ่งที่ฝนธรรมไมได! บคุ คลผจู ะตอ สแู กไ ข หาเวลาํ่ เวลาหรอื หาโอกาสเพอ่ื ตวั เอง กเ็ ปนบุคคลเชน เดยี วกบั เราไมผ ดิ กนั เลย ถา ผดิ กผ็ ดิ แตว า ทา นมคี วามเขม แขง็ เรามคี วามออ นแอ ทาน เปน “นกั ตอ ส”ู เราเปน “นกั ถอยหลงั ” ทา นกลา หาญ เราขข้ี ลาดหวาดกลวั เทา นน้ั ทผ่ี ดิ กนั ! แลว จะทาํ อยา งไรกบั ตวั เราจงึ จะเขา กนั ไดก บั ทา นและหลกั ธรรมของทา น จะไมเปน ขา ศกึ กนั ความออ นแอ เปนตน นแ้ี ลเปน สง่ิ ทจ่ี ะทาํ ใหเ ราไดร บั ความทกุ ขค วามลาํ บากบน เพอ อยตู ลอดเวลา ทั้งๆ ที่ความบนไมเกิดประโยชนอะไรเลย แตเ มอ่ื ไดบ น บา งกอ็ าจ เปน ทางระบายออกแหง ความทกุ ขท างหนง่ึ ความจริงไมใชทางระบายออกแหงทุกข ความบน มนั เปน แงท น่ี า คดิ อนั หนง่ึ เหมอื นกนั เพราะความคิดที่จะบนก็เปนงานของจิต การบน ออกมากเ็ ปน งาน นอกจากนน้ั ยงั ทาํ ใหบ างคนราํ คาญ อกี อยา งหนง่ึ เขากม็ อี ะไร อยใู นใจของเขา พอมาพบเรอ่ื งของเรากม็ าบวกกนั เขา เลยไปกันใหญ สดุ ทา ยมแี ตก อง ทุกขทั้งสองฝาย จึงตา งคนตา งหาบหามอยางเตม็ กําลังไมม คี าํ วา “ปลง”! ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๕

๑๓๖ เพราะฉะนั้นเพื่อปลดเปลื้องสิ่งที่เราไมพึงปรารถนาทั้งหลาย จงึ ขน้ึ อยกู บั “ความฝน ” ฝนมากฝน นอ ย ฝนเถอะ การฝนเรา ฝนสิ่งไมดีของเราเปนความชอบธรรม ไมผิด ฝนไดมากไดนอยเปนสิริมงคล เปนความดีประจําตัวของเรา จนกลายเปน นสิ ยั แหงการฝนสิ่งไมดีทั้งหลาย ใจจะมีความองอาจกลาหาญขึ้นมา ผลสดุ ทา ยเรอ่ื งทเ่ี ราฝน นน้ั กเ็ ลยยอมจาํ นน จะไปไหนมาไหน จะพูดอะไร มีเหตุผลอยางไร ทเ่ี หน็ วา ถกู วา ควรแลว กด็ าํ เนนิ ตามนั้น ไมมีอะไรมาขัดแยงกีดขวาง ยอมเปนไปตามเหตุผลนั้นอยางเดียว สิ่งที่จะมา ฝน สิ่งที่มาคอยกีดกันขวางทางเดินของเรานั้น มนั คอ ยสลายคอ ยละลายไป ในทส่ี ดุ ก็ ลม ละลายไป เมื่อเราเคยฝนเสมอๆ เคยตอสตู านทานมนั เสมอ และเคยไดรับชัยชนะมา แลว สิ่งนั้นจะมาชนะเราอีกไมได เราไดชัยชนะโดยลําดับ ชนะไปเรื่อยๆ และชนะจนไม มอี ะไรจะตอ สกู บั เราอกี นน่ั ! ความฝน เปน ผลอยา งนแ้ี ล ใจชอบอยา งน้ี แตเหตุผลเปนอยางนั้น เราตองฝนความชอบใจเพื่อเหตุผลนั้นๆ ซง่ึ เปน ความถกู ตอ ง ถา จะดาํ เนนิ หรอื ทาํ ไปตามความชอบใจ กค็ วามชอบใจนีม้ ีเหตผุ ล อะไรบา ง? สว นมากไมม ี นอกจากเหตผุ ลของกเิ ลสเพอ่ื หาทางเลด็ ลอดธรรมเทา นน้ั ซึ่ง มอี ะไรก็อางมาตามเรอื่ งของมัน สว นมากเราชอบเหตผุ ลของกเิ ลสมากกวา เหตผุ ลของ ธรรม ฉะนน้ั ผลทไ่ี ดร บั จงึ มแี ตค วามทกุ ขค วามรอ นภายในใจ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการทาํ ตาม เหตุผลของกิเลส แมน ง่ั อยนู ง่ิ ๆ แตจิตไมไดนิ่ง จิตมีความคิดปรุงยุงเหยิงอยูตลอดเวลา ไมมี อริ ยิ าบถใดมาหา มมนั ไดน อกจาก “สติปญญา” ปกตแิ ลว จติ ลว นสรา งความทกุ ขข น้ึ แก ตน ดวยความคดิ ปรุงในแงตางๆ ซึ่งเปนทางไมดี เราก็ไมยอมเห็นโทษ น่แี หละเหตผุ ล ของกเิ ลสเปน อยา งน้ี หาความถกู ตองไมไดเลยแตไหนแตไรมา สว นเหตผุ ลของธรรมนน้ั มคี วามถกู ตอ ง ผลท่ีไดร บั คอื ความสขุ ความเย็นใจ ตลอดไป ตง้ั แตข น้ั เรม่ิ ฝก หดั จนถงึ ขน้ั สงู สดุ การปฏบิ ตั ติ วั หรอื การปฏบิ ตั ศิ าสนา เปน ความลาํ บากผดิ ธรรมดาอยบู า ง ถึงจะ ผิดธรรมดา เราก็ทราบวาเราหักหามใจ ไมใหเปนไปตามสิ่งต่ําทรามที่กิเลสตั้งชื่อตั้ง นามในสง่ิ ทต่ี นชอบวา “ธรรมดา” ฉะนน้ั จําตอ งฝน กนั เมื่อฝนครั้งนี้ไดผล ครั้งตอไปสิ่ง ทจ่ี ะใหเ ราฝน กอ็ อ นลง ๆ ความเขมแข็งทางดานเหตุผลและความเพียรก็เพิ่มขึ้น เลยไม คํานึงถึงสิ่งที่จะมาขัดขวางเรายิ่งกวาเหตุผลที่จะดําเนินไปตามที่เห็นวาถูกตอง นแ่ี หละ นักธรรมะมีพระพุทธเจาเปนตน ทา นทรงดําเนนิ อยางน้ี! ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๖

๑๓๗ ทําไมทานจึงไมหึงไมหวงไมหวงไมใยครอบครัวเหยาเรือน ทานเปนมนุษย ปถุ ชุ นเชน เดยี วกนั ทานตองหวง ทา นตอ งฝน อยา งยง่ิ เพื่อธรรมดวงเลิศ นน่ั แลครขู อง พวกเรา! สาวกทง้ั หลายทา นกฝ็ น เตม็ กาํ ลงั ของทา น จนไดเปน “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ าม”ิ เขามาสูใจของพวกเรา เราที่เปนผูรับเอา “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” เขามาสใู จ กอ็ ยา เอาเขา มา เหยยี บยาํ่ ทาํ ลายทา นเลน โดยไมค าํ นงึ ถงึ คณุ สมบตั แิ หง ธรรมนน้ั ๆ หรือแหงพุทธ แหง ธรรม แหงสงฆ วา มคี ณุ คา มากเพยี งไร จึงเอามาเหยยี บย่าํ ทําลายกับความขีเ้ กยี จออ น แอ ความเหน็ แกต วั ความไมมีเหตุผล นําพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ มาสกปรก ดวยทําไม ตองคิดอยางนี้เสมอ ซึ่งเปนเครื่องเตือนใจเราใหตื่นตัว จะไดพยายามแกไข ตนตามทานไปโดยลําดับ อะไรโลงก็สูจิตใจโลงไมได อะไรคับแคบตีบตันก็สูจิตใจคับแคบตีบตันไมได อะไรจะทุกขก็สูจิตทุกขไมได อะไรจะสุขก็สูจิตสุขไมได แนะ ! รวมลงที่จิตแหงเดียว! ดนิ ฟา อากาศกโ็ ลง อยา งนน้ั เอง เมอ่ื มคี วามทกุ ขภ ายในจติ ใจ แมจ ะอยใู นกลาง ทุงโลงๆ นน้ั อากาศโลง ๆ ก็ชวยอะไรไมได จงึ วามนั อยูท จี่ ิต ถา จิตมีความปลอดโปรง โลง สบายแลว อยทู ไ่ี หนกส็ บาย อยใู นถาํ้ ในเหว ในกระตอบ อยูในรมไมชายภูเขา ก็ สบายทง้ั นน้ั ไมจาํ เปน ตอ งคดิ หาวา อากาศโปรง ท่ีนนั่ อากาศโปรงที่นี่ เพราะผขู ัดของ จรงิ ๆ กค็ อื จติ ซง่ึ เปน ตวั กอ เรอ่ื งเทา นน้ั ฉะนน้ั ความสขุ ความทกุ ข ตลอดทั้งสาเหตุให เกิดสุขเกิดทุกข จึงรวมอยูที่จิตเปนสําคัญกวาสิ่งอื่นๆ ปราชญทา นจงึ สอนลงทีใ่ จอันเปน ตวั การสาํ คญั ใครจะสอนไดถูกตองยิ่งกวาปราชญคือพระพุทธเจาไมม!ี อยา พากนั ลบู คลาํ ทน่ี น่ั ทน่ี ่ี เดี๋ยวเวลามือไปโดนเอาแมงปองเขาจะรองไมเปนเสียงคน จะวา “ไมบ อก” สมบตั อิ นั มคี า มากกค็ อื ใจ เปน หลกั เปน ประธานของสง่ิ ทง้ั หลายกค็ อื ใจ จงึ ไม ควรปลอ ยใจใหส ง่ิ เลวทรามทง้ั หลายเขา มาเหยยี บยาํ่ ทาํ ลาย จนแหลกเหลวไปอยา งนา เสยี ดาย สวนผลอันไมพึงปรารถนามันโยนใหเราเปนคนรับเคราะห แมทุกขแ ทบเปน แทบตายกค็ อื เราเองเปน ผรู บั ! สว นกเิ ลสความต่าํ ทรามเหลา นั้นไมไ ดมารบั ทุกขก บั เรา เลย ผเู สยี เปรยี บจงึ คอื เรา ผูโงเขลาตอเลหเหลี่ยมของมันอยูเรื่อยไป ฉะนน้ั จงพยายามแกไ ขถอดถอนมนั ดว ยเหตดุ ว ยผล ความสุขอันพึงหวังนั้นเรา จะไปหาทไ่ี หนในโลกน้ี มนั กเ็ พยี งผา นๆ ไปดังที่เคยไดประสบพบเห็นกันมาแลว ผาน มาชั่วขณะๆ เทา นน้ั แลว กผ็ า นไป มันไมเปนความสุขที่จีรังถาวรอะไรเลย แตความสุขที่เปนขึ้นในจิตใจ เกิดขึ้นตามหลักธรรมชาติของจิตดวยการ ประพฤติปฏิบัติธรรม นเ้ี ปน ความสขุ ทจ่ี รี งั ถาวร จนกลายเปน ความสขุ อนั ตายตวั เปน ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๗

๑๓๘ “อกุปปธรรม” คือเปนความสุขที่ไมกําเริบ เพราะจิตใจไมกําเริบไมเปลี่ยนแปลง ตลอดอนนั ตกาล สมบตั ใิ นโลกนก้ี ค็ อื ใจซง่ึ เปน สมบตั อิ นั ลน คา จงพยายามรักษาใจใหด ีโดย สม่ําเสมอ เฉพาะอยา งยง่ิ จติ ตภาวนาอยา ถอื เปน เรอ่ื งเลก็ นอ ย เชน ทาํ พอเปน พิธรี ตี อง ก็เราไมใชเปนคนพิธี แตเราเกิดมาเปนคนทั้งคนไมใชตุกตา พอจะภาวนาเปน พธิ ี นง่ั ภาวนาทลี ะ ๕ นาที ๑๐ นาที ๑๕ นาที กแ็ ทบลม แทบตาย แทบจะหามกายเขา โรง พยาบาล ซง่ึ เปน เรอ่ื งอบั อายขายหนา ชาวพทุ ธและนกั ปฏบิ ตั จิ รงิ ๆ เกนิ กวา จะอภยั กนั ได เวลากเิ ลสพาเอาไปถลงุ ทง้ั วนั ทง้ั คนื ยงั สนุกกับมนั ไดช นดิ ลืมตัวลืมตายลมื ปาชา ทีม่ อี ยกู บั ตัว นั่นเรารูไหม? กเิ ลสมนั กลอ มคนดขี นาดไหนดเู อากร็ เู อง เพราะเคยถูก กลอ มถกู ถลงุ มาดว ยกนั แมผูเ ทศนกไ็ มม ีการยกเวนในการถกู ตมตนุ ฟงเอามันกลอมดี ขนาดนน้ั แหละ กลอ มจนเคลม้ิ หลบั ไมร สู กึ ตวั เลย แมจ ะเขา โลงผอี ยแู ลว ยงั อยากฟง เสียงเพลงลูกทุงมันอยูเลยไมมีวันเวลาอิ่มพอ จนหมดลมหายใจไปเปลา ๆ สง่ิ เหลา นน้ี กั ปราชญท า นตาํ หนนิ กั แตพวกเราทําไมจึงชอบนัก ชอบอะไรมนั ก็ ไมรู ตามความจริงแลวคนเราชอบอะไรยอมจะเจอสิ่งนั้น ชอบกเิ ลสกเ็ จอกเิ ลสและทกุ ข ท่ีแฝงมากับกิเลส ชอบธรรมก็เจอธรรมและสุขที่แฝงมากบั ธรรม เพราะสิ่งเหลานี้มีอยู ในโลกไมบ กพรอ งจงึ หาไดด ว ยกนั สุขก็หาไดจากเราคนเดียว ทกุ ขก ห็ าไดจ ากเราคน เดียวตามสาเหตุที่เราดําเนินไป ผลกต็ อ งเปน อยา งนน้ั ไมเ ปน อยา งอน่ื นี่เราแนใจแลววาเราเกิดเปนมนุษย เปน ภมู ทิ สี่ ูงสง ในโลกนถ้ี อื วา มนษุ ยส งู กวา สัตว และไดพ บพระพทุ ธศาสนาซง่ึ เปน คาํ สง่ั สอนทถ่ี กู ตอ งแมน ยาํ มาจากหลกั แหง “สวากขาตธรรม” พระพุทธเจาตรัสไวชอบแลว พยายามดําเนนิ ใหเ ปน ไปตามหลกั แหง “สวากขาตธรรม” ผลที่พึงไดรับจะเปนที่พึงพอใจ เราอยา ถอื ใครเปน หลกั เปน เกณฑย ง่ิ ไปกวาพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ในการยดึ และการดาํ เนนิ วถิ ที างแหง การครองชพี กต็ าม วถิ ที างแหง การปฏบิ ตั ธิ รรมเพอ่ื ความอบอนุ แก จิตใจก็ตาม ไมม ใี ครจะเกนิ พระพุทธเจา ไปไดใ นความฉลาดแหลมคม ดว ยอบุ ายวธิ ี ปอ งกนั หรอื รกั ษาตวั ทง้ั เกย่ี วกบั สง่ิ ภายนอกและสง่ิ ภายใน พระพุทธเจา เปน “นกั รนู กั ฉลาดแหลมคมทกุ อยา ง” “นกั ปกครองบา นเมอื ง” ก็เปนพระองคหนึ่ง “นกั ปกครองดา น จิตใจ” ก็เปนพระองคหนึ่ง นกั ปกครองโลกทว่ั ๆ ไปดว ยอบุ ายวธิ กี ารอบรมสง่ั สอนโดย ถกู ตอ งเหมาะสม ไมมีศาสดาองคใดจะแซงพระองคไปได โดยความฉลาดแหลมคมยง่ิ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๘

๑๓๙ กวาพระพุทธเจา พระองคท รงสอนจนถงึ ขั้น “นพิ พาน” เราจะหาขนาดไหนอีก มีใครที่ จะสอนใหเลย ‘นิพพาน” ไปเคยไดยินบางไหม? ไมเคยไดยิน! เพราะถงึ ทน่ี น่ั แลว เปน สถานทส่ี ดุ จดุ หมายปลายทางโดยสมบรู ณแ ลว เชนเดียว กบั เราขน้ึ มาถงึ บนบา นแลว เปนที่เหมาะสมและถึงจุดที่หมายแลว เพราะไมใชขรัวตา ดังที่ทานอาจารยมั่นทานเคยนํามาพูดเปนอุบายเพื่อเปนคติแกพระเสมอวา “ทําอะไร ทําแบบเถรตรงนี่ มันไมไดเรื่องอะไร? ทา นวา แลว ทา นกย็ กนทิ านขรวั ตาขน้ึ มาวา “ขรัว ตาคนนน้ั เดนิ เขา ไปในบา น ถกู เขานมิ นตข น้ึ ไปบนบา น การนมิ นตข น้ึ ไปบนบา นกค็ อื นมิ นตข น้ึ นง่ั บนบา นนน่ั เอง แตข รัวตาไมเ ขาใจอยางน้นั พอถกู เขานมิ นตใ หข น้ึ ไปบน บา นกป็ น ขน้ึ ไปบนขอ่ื โนน “อา ว! ทา นปน ขน้ึ ไปบนขอ่ื โนน ทาํ ไมละ แลว กนั พสิ ดารเกนิ เหตุแลวนี่ นิมนตทานลงมา” พอขรวั ตาองคน น้ั ลงมาแลว กเ็ ผน ออกจากบา นเขาไปเลย ไมม องหนา มองหลงั นน่ั ! เปนอยางนั้นไปเสีย ความจริงเขานิมนตข น้ึ ไปนั่งบนบา นเขาตางหาก แตท า นกลบั ปน ขน้ึ ไปบนขอ่ื บา นเขาโนน เวลาถกู นมิ นตใ หล งมากล็ งและเตลดิ เลยบา นเขาไปเสยี นี่คือความไมพอดี ไมมีประมาณ ไมมเี หตุมผี ลเอาเลย เพราะความซอื่ เสียจนเซอไปแบบไมรูส ึกตวั การสง่ั สอนนน้ั เมอ่ื สอนถงึ นพิ พานแลว จะสอนไปไหนกนั อกี เม่ือจิตบรรลถุ ึง นพิ พานแลว จะเตลดิ ไปไหนกนั อกี ถา ไมค วา เอาแบบขรวั ตามาใชก ต็ อ งยตุ กิ ารกา วไป เพียงเทานี้ เพราะสุดยอดแหงธรรมแลว หรอื สดุ ยอดแหง สมมตุ ิ จิตเปนวิมุตติเต็มภูมิ อรรถภูมิธรรมแลว ปญ ญาทง้ั มวลกย็ ตุ กิ นั ลงแคน ้ี การกลา วนทิ านเรือ่ งขรวั ตามาแทรกกเ็ พอ่ื ใหท ราบวา เรื่องความไมใครครวญ คนไมใครครวญพินิจพิจารณา คนแบบ “เถรตรง” ตรงเสียจนเซอนั้น ไมยังประโยชน ใดๆ ใหเกิดขึ้น จึงควรถือเปนคติตัวอยางไดดี ในวงปฏบิ ตั ขิ องเรานม้ี บี า งไหมทป่ี น ขน้ึ บนขอ่ื มีซิ! มแี ตจ าํ พวกทค่ี อยจะปน ขน้ึ บนขอ่ื นน่ั แหละเปน สว นมาก ไมไปกันละตามหลัก “มัชฌิมา” ตามหลักที่พระพุทธเจา ทรงสอน ชอบปน ขน้ึ บนขอ่ื กนั แทบทง้ั นน้ั ทา นยกนทิ านขรวั ตาปน ขน้ึ บนขอ่ื มาประกอบ การแสดงธรรม นา ฟง ! เพราะขบขันดี “พวกบนขอ่ื ” ทา นวา อยา งนน้ั เปนคติสําคัญนา ฟงมาก ฟงแลวซึ้งใจ ทั้งอดหัวเราะอยภู ายในไมไ ด นี่ทานพูดถึงเรื่องคนไมใชความคิด ไมใชความพินิจพิจารณาเหตุผลวาควรไมควร เรียกวา “เถรตรง” คาํ วา “เถรตรง” นบ้ี าง ทานก็จะไมเขาใจ นท่ี า นพดู ถงึ ครบู าอาจารย ทา นลา งบาตรและเชด็ บาตรแหง แลว ทา นเอาปากบาตรควาํ่ ลง แลว ทา นสองดู กน บาตรทา น สอ งใหต รงกบั ตะวนั การสอ งดกู น บาตรตรงตะวนั นน้ั ทา นมคี วามหมาย ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๓๙

๑๔๐ วา บาตรนอ้ี าจมกี น ทะลุ เปน ชอ งเปน รตู รงไหนบา ง สอ งออกไปทแ่ี จง หรอื สอ งกบั แสง พระอาทิตย มองออกไป ถามีชองทะลุก็จะมองเห็นชัดเจนตรงที่ทะลุนั้น แลว กจ็ ะไดอ ดุ ยาเสยี ทนี ล้ี กู ศษิ ย “เถรตรง” เหน็ อาจารยส อ งดกู น บาตร ตนกท็ าํ ตามบา งโดยไมท ราบ เหตผุ ลความมุง หมายวาทานทําเพื่ออะไร เวลาถกู ถามวา “ทําเพื่ออะไร?” กบ็ อกแบบ เถรตรงวา “เหน็ ครอู าจารยท า นสอ งเรากเ็ ลยสอ งบา ง เพราะทานขลังดี บางทีเราอาจ ขลัง” นฟ่ี ง ซิ เรอื่ งบนข่อื ขาํ ดไี หม? ฟงไดไหม ในวงผูปฏิบัติเพื่ออรรถเพื่อธรรม ในคําที่ วา “บางทเี ราอาจขลงั อยา งทา นบา ง” ถา อยา งนก้ี ป็ ฏบิ ตั เิ พอ่ื “ความขลงั ” ไมไดปฏิบัติ เพื่อ “ความหลดุ พน” อยา งนอ ยกเ็ พอ่ื ความเปน คนดมี คี วามสงบสขุ ครอู าจารยผฉู ลาดมเี หตุผล ทานทําอะไรยอมเปน ไปตามเหตุผลทกุ อยา ง ไมได ทาํ แบบลอยๆ เราผมู าศกึ ษากบั ทา นควรพจิ ารณาดว ยดใี นสง่ิ ทต่ี นทาํ ไมสกั แตวาพูดวา ทําไปแบบสุมเดา เพราะความไมสนใจดูตัวอยางทาน จงึ เปน ราวกบั ทัพพอี ยูก ับแกง ไม รรู สชาตขิ องแกงวา เปรี้ยวหวานเค็มประการใดบางเลย จึงหาความฉลาดรอบรูอะไรไม ได นอกจากแสวงหาความขลงั ไปแบบโลกๆ ทท่ี าํ กนั การศกึ ษาขน้ึ อยกู บั สติ ปญญา ศรัทธา ความเพียร เปน สาํ คญั มไิ ดข น้ึ อยกู บั การ กนิ อยหู ลบั นอนในสาํ นกั ของทา นเฉยๆ โดยไมสนใจกับอะไร การปฏิบัติธรรมของพวก เราทกุ วนั นก้ี เ็ หมอื นกนั เหน็ ทา นเดนิ จงกรมกเ็ ดนิ แตไมมีสติสตัง มแี ตความคดิ ผดิ คดิ เพลินเลินเลอเผลอตัวยุงไปหมด พอออกจากทางจงกรม “แหม วันนี้จิตไมเห็นมีความ สงบบา งเลย เราเดินจงกรมตั้งนานไมเห็นไดเรื่องอะไร?” จะไดเรื่องอะไร เพราะไมเอา เรื่องอรรถเรื่องธรรมเรื่องความสงบเปนอารมณบางเลย เอาแตเ รอ่ื งวนุ วายมาพวั พนั หน่ั แหลกอยกู บั จติ ตลอดเวลาในทางจงกรม จากนน้ั กม็ านง่ั ภาวนา พอนง่ั ก็ “เอาละ เทานี้พอ!” เวลานั่งก็นั่งคิดนั่งปรุงยุง เหยงิ วนุ วายแบบ “ตามรอยโคในคอก” นั่นแล แลว กม็ าตาํ หนแิ บบลมๆ แลง ๆ ไปวา “นง่ั ไดเ ทา นน้ั นาทเี ทา นน้ี าที ไมเห็นไดเรื่องอะไร นอนเสยี ดกี วา ” นน่ั ! ไปลงเอยทหี่ มอน นน่ั แล เลยกลายเปน ทต่ี ดั สนิ กเิ ลสอยบู นหมอนไปเสยี คาํ วา “นอนเสียดีกวา” นน้ั แม นอนกไ็ มไ ดเ รอ่ื งอยนู น่ั แล เพราะคนไมไดเรื่องอยูแลว ก็ไดแตเรื่อง “หมอน” เทา นน้ั นะ ซี ไมไดมรรคผลนิพพานอะไร จิตลง “ภวงั คห ลวง” หลบั ครอกๆ จนตะวนั สอ งกน ก็ ไมถ อนขน้ึ มา (ไมต น่ื นอนนน่ั เอง) ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๐

๑๔๑ อยทู ใ่ี ดไปทใ่ี ดกม็ แี ตก เิ ลสตามเหยยี บยาํ่ ทาํ ลายอยตู ลอดเวลา ที่จะไดเหยียบย่ํา ทาํ ลายกเิ ลสบา งไมป รากฏ เพราะสติสตังไมมี ความจงใจไมม ี มแี ตก เิ ลสตามลา อยู ตลอดทกุ อิรยิ าบถ เรามันพวก “กิเลสตามลา’ จะวายังไง? ถา ไมว า อยา งนน้ั เอา! พยายามตามลา กเิ ลสนะ ทนี เ้ี ปน นายกเิ ลสเสยี บา ง ตองฝนกันบาง! ทน และฝนตรงนี้! จิตไมอยากคิดไปในอรรถในธรรม เราตอ งบงั คบั ใหค ดิ ทําไมจะบังคับ ไมไดจิตเปนของเรา เราเปนเจาของจิต เราบังคับไมได ใครจะบังคับไดละ ถา จติ แหวก แนวแลวจิตจะมีหลักแหลงที่ตรงไหน ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการแหวกแนวจะเปน อยา งไร เรา ตองรับเคราะหกรรมอยูดี ฉะนั้นเราตอ งคิดตอ งรไู วล ว งหนา จึงเรียกวา “ปญญา” มัน อยากไปไมย อมใหไ ป เอา! มนั อยากทาํ สง่ิ นน้ั ไมย อมใหท าํ มันจะฝนเราไปไดอยางไร! เมื่อเหตุผลพรอมแลวที่จะไมทํา เราตองไมทํา เมื่อเหตุผลพรอมแลวที่จะทํา ตอ งทาํ ลง ไป เปนก็เปน ตายกต็ าย! นี่คือนักธรรมะแท อยางไรกิเลสก็ไปไมพนมือ ตอ งตายใน เงอ้ื มมอื ไมว นั ใดเวลาหนง่ึ แนน อน ทําไมโลกเขาทําได ทําไมเราทําไมได โลกเขาทําไมตาย ทําไมเราทําจะตาย ตายก็ ใหต าย ปา ชา มที กุ หนทกุ แหง ไมต อ งเปน กงั วลกบั ความเปน ความตาย ขอใหทาํ สิ่งท่ถี กู ตองดีงามอยางสมใจเถอะ ถา ทาํ อยา งนน้ั บา งกเิ ลสมนั กห็ มอบและตอ งไดผ ล ไมมีอะไร มีอํานาจเหนือธรรมของพระพุทธเจาซึ่งเปนเครื่องแกและปราบปรามกิเลส เพราะกิเลส ทุกประเภทกลัวธรรมเทานั้น อยา งอน่ื กเิ ลสไมย อมและไมก ลวั ยง่ิ ความคลอ ยตามดว ย แลว กเิ ลสยิง่ รอ งเพลงรน่ื เรงิ สนกุ สนานอยบู นหวั ใจ ไมมีวันจบเพลงเลยนั่นแล ขณะทฟ่ี ง เทศนน จ้ี ติ มคี วามสงบจติ อยกู บั ตวั ถา จติ อยกู บั ตวั เวลาฟง ทา นอธบิ าย ก็เขาอกเขาใจไปโดยลําดับๆ ใหจ ติ อยกู บั ตวั นน่ั แหละถกู ตอ ง ในการฟงเทศนไมจําตอง สง ใจออกมาขา งนอก ใหอ ยกู บั ตวั กระแสธรรมจะเขาไปสัมผัสกับความรูคือใจ เม่ือ สมั ผสั กนั เรอ่ื ยๆ จิตจะไดรับความสงบในขณะที่ฟง เมอ่ื จติ สงบแลว ความสขุ นน้ั เกดิ ขน้ึ เอง ที่ความสุขไมเกิดความสุขไมมีเพราะจิตไมสงบ จติ ยงุ อยตู ลอดเวลา กอ กวนตนเอง อยไู มห ยดุ ความทกุ ขก ็มีเรอื่ ยๆ นะ ซี เพราะปอ นเหตใุ หเร่ือยๆ ทานจึงวา “การฟงธรรมมีผล ๕ ประการ ประการสดุ ทา ยคอื จติ ผฟู ง ยอ มผอ งใส” จิตจะ ผอ งใสไดจติ จะตองอยกู ับตัว รับสมั ผสั กระแสแหง ธรรมทที่ านแสดงไปโดยลาํ ดบั ไมให ขาดวรรคขาดตอน ตง้ั ความรไู วเ ทา นน้ั แหละ ไมต อ งไปเสยี ดายอะไรกบั สง่ิ ภายนอก ไม ตอ งไปวนุ วายกบั สง่ิ ใด ที่เราเคยรูเคยคิดเคยปรุงเคยเห็นมาแลว ไมเห็นเกิดประโยชน! คราวนี้เราตองการใหรูใหเห็นใหเขาใจในอรรถในธรรม จึงใหธรรมเหลานั้น สัมผัสจิตใจ เพราะใจถูกสิ่งอื่นมาสัมผัสเสียมากมายจนใจไมเปนใจของตน มนั เปนใจ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๑๔๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook