๔๕๐ มนั ปรงุ ขน้ึ ทใ่ี จ ตวั นเ้ี ปน ตวั หลอกลวง จติ ขยบั เขา ไปตรงน้ี ๆ เรอ่ื งวา เสอื วา ชา งทเ่ี ปน อนั ตรายภายนอก มนั เลยหายกงั วล เพราะตัวนี้เปนตัวกอกรรม ตัวนี้เปนตัว หลอกลวง สตปิ ญ ญาโหมตวั เขา มาจบั จดุ ทต่ี รงน้ี ซึ่งเปนตัว ”โจรผูราย”ยแุ หยก อ กวน จนไดที่ เมอ่ื เหน็ จดุ สาํ คญั ทเ่ี ปน ตวั กอ เหตแุ ลว จดุ ทก่ี อ เหตนุ ก้ี ร็ ะงบั ตวั ลงได เพราะ อาํ นาจของสติ อาํ นาจของปญ ญาคน ควา ลง จนขาศึกที่จะปรุงเปนเสือเปนชางเปนตน หมอบราบลง เรอ่ื งความกลวั หายหมด จะไมหายยังไง ก็ผูไปปรุงมันไมปรุงนี่ เพราะรูตัวของ มนั แลว วา “นต่ี วั อนั ตรายอยทู น่ี ่ี ไมไ ดอ ยกู บั เสอื กบั ชา งอะไรทไ่ี หน ถงึ ความตายอยทู ่ี ไหนกต็ าย คนเรามี “ปา ชา” อยทู กุ แหง ทกุ หนทกุ อริ ยิ าบถ แนะ ! ไปหวั่นไปไหวอะไรกบั เรื่องความเปนความตาย กเิ ลสทม่ี นั ครอบคลมุ อยทู ห่ี วั ใจนเ้ี ปน ภยั อนั สาํ คญั อยตู ลอด เวลา ทุกภพทุกชาติดวย จึงควรจะแกที่ตรงนี้ เชน ความกลวั มนั เปน กเิ ลสอยา งหนง่ึ ตองใชสติปญญาหันเขามาที่นี่ ยอ นเขา ทน่ี ่ี จิตก็สงบตัวลงไปเทานั้น เมอ่ื จติ สงบตวั ลง ไป ถึงจะคิดจะปรุงไดอยูก็ตาม แตความกลัวไมมี เพราะจิตไดฐานที่มั่นคงภายในใจ แลว นี่เราเหน็ คณุ คา เราเห็นผลประโยชนจากสถานที่นี้ดวยความเพียรอยางนี้ กย็ ิ่งขยนั เขาไปเรื่อย ๆ เพื่อธรรมขั้นสูง ตองหาที่เด็ดเดี่ยวไปโดยลําดับ เพอ่ื ธรรมขน้ั สูงยิ่งกวา น้ี ขึ้นไป การประกอบความเพยี รในทคี่ บั ขนั เชนน้นั เปนผลประโยชนไดเร็วยิ่งกวาที่ ธรรมดา เมอ่ื เปน เชน นน้ั ทนุ มนี อ ยกอ็ ยากจะไดก าํ ไรมาก ๆ จะทําอยางไรถึงจะเหมาะ สม กต็ อ งหาทเ่ี ชน นน้ั เปน ทาํ เลหากนิ และซอ้ื ขายละซิ เมอ่ื กเิ ลสหมอบลงแลว ใจรื่นเริงบันเทิงอยูกับอรรถกับธรรม เห็นทั้งโทษเห็นทั้ง คณุ ภายในจติ ใจผหู ลอกลวง ผกู อ กวน ผยู แุ หยต า ง ๆ ใหเ กดิ ความสะทกสะทา นหวน่ั ไหว ใหเ กดิ ความกลวั เปน กลวั ตายอะไร มนั อยใู นจติ ใจ รูเรื่องของมันในที่น่ีแลว กเิ ลส กส็ งบ ธรรมกก็ า วหนา เร่อื งเหลา นีส้ งบก็เรียกวา “ขา ศกึ สงบ” ใจกเ็ ยน็ สบาย เอา เดนิ เสือจะกระหึ่ม ๆ อยกู ก็ ระห่มึ ไป เพยี งเสยี งอนั หนง่ึ เทา นน้ั เขากต็ ายน่ี เสอื ก็มปี า ชา เตม็ ตัวของมัน เราก็ มีปาชาเต็มตัวของเรา กลวั อะไรกบั สตั วก บั เสอื ! กเิ ลสกดั หวั ใจอยตู ลอดเวลาทาํ ไมไม กลวั น!่ี เอาที่ตรงนี้! บทเวลาจะพาเอาจริงเอาจัง ใหหมุนติ้ว ๆ จนเกดิ ความกลา หาญชาญชยั ขน้ึ มาท่ี น่ี จิตก็จริงจังอยางเต็มภูมิ เสอื จะมสี กั กร่ี อ ยตวั กพ่ี นั ตวั กม็ าเถอะ เสอื นน่ั นะ ! เรากเ็ ปน สัตวเกิด แก เจ็บ ตาย ดว ยกนั เหมอื นสตั วท ง้ั หลายเหลา นน้ั หมด ไมเห็นมีอะไรยิ่ง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๐
๔๕๑ หยอ นกวา กนั จิตมันคิดไปอยางนั้นเสีย มนั รูไปอยา งนนั้ เสีย จิตก็เลยรื่นเริงบันเทิง สบาย แลว กเิ ลสคอ ยหมดไป ๆ หรอื หมอบลง ๆ ราวกบั ตวั แบนแนบตดิ พน้ื นน่ั แล โผล หัวขึ้นมาไมไดเดี๋ยวถูกสังหารเรียบไป อา ว ทนี ค้ี น ทางดา นปญ ญา เมอ่ื สง่ิ กงั วลภายนอกทจ่ี ติ ไปเกย่ี วขอ งระงบั ตวั ลง ไป ๆ เพราะไมคิดไมยุง เนอ่ื งจากสตปิ ญ ญาตตี อ นเขา มาแลว เราคน วงภายในทน่ี ้ี เอา คน ลงไปเรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธ เรื่องอายตนะ เอาหลักพระพุทธเจา เอาหลัก “สวากขาตธรรม” เขาไปเปนเครื่องพิสูจนเปน เครื่องยืนยัน เพราะเปนธรรมชาติที่ใหความเชื่อถือได คนลงไป! ทา นวา “อนิจฺจ”ํ อะไรเปนอนิจฺจํ ? ดูใหเห็นชัดเจนตามความจริงที่พระองคทรง สอนไวซ ง่ึ เปน ความจรงิ ลว น ๆ นั้น เวลานจ้ี ติ ของเรามนั ปลอม อนั นเ้ี ปน “อนิจฺจํ” มันก็ วาเปน “นิจฺจ”ํ อนั นเ้ี ปน ทกุ ขฺ ํ มันกว็ า “สขุ ํ” อนั นเ้ี ปน “อนตตฺ า” มนั กว็ า เปน “อตฺตา” ตวั ตนอยอู ยา งนน้ั แหละ อะไร ๆ มนั กไ็ ปกวา นมาเปน ตวั เปน ตนไปหมด มันฝนธรรม ของพระพุทธเจาอยูร่ําไป เมอ่ื เขา ไปอยใู นทค่ี บั ขนั เชน นน้ั แลว มนั ไมฝ น มนั ยอม! เมื่อยอมพระพุทธเจา แลว มนั กเ็ ปน ธรรมเทา นน้ั เอง (๑) อยา งนอ ยก็ “สมณธรรม” คอื ความสงบเยน็ ใจ (๒) ยง่ิ กวา นน้ั กค็ อื ความเฉลยี วฉลาดทางดา นปญ ญา แยกธาตแุ ยกขนั ธเ หน็ อยางประจักษ เวลาเห็นชัดเจนแลวก็ไมเห็นมีปญหาอะไรนี่ พระพทุ ธเจาตรสั ไวช อบแลว ชอบจรงิ ๆ เปดเผยอยูดวยความจริง สอนดว ย ความจริง สิ่งที่สอนก็เปนความเปดเผยอยูตามธรรมชาติของตน ไมมีอะไรปดบังลี้ลับ นอกจากความโงซ ง่ึ เปน เรอ่ื งของกเิ ลสเทา นน้ั ปดบังตัวเองไมใหรูความจริงที่เปดเผยอยู ตามหลักธรรมชาติของตนได เมือ่ พิจารณาไมหยดุ ไมถ อย มนั กร็ ูเขามาเอง ใหถ อื ธาตุ ขนั ธ อายตนะนแ้ี ลเปน สนามรบ เปน สถานทท่ี าํ งาน ทเ่ี รยี กวา “กมั มฏั ฐาน ๆ” นะ กรรมฐานก็ใชไดไมเปนกรรมฐานปลอม พิจารณาตรงนี้แหละ มันติดที่ตรงนี้ ไมติด อะไรเปนสําคัญ แตติดตรงนี้ จงคน ควา ดเู รอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธ ดูทุกแงท กุ มมุ แหง อวัยวะ เมื่อถึงกาลที่ธรรมจะ ซมึ ซาบแลวก็เหมอื นไฟไดเ ช้อื มันสืบตอไปไหมลุกลามไปเรื่อย จนหมดเชื้อจึงจะหยุด (๓) พอถงึ ขน้ั ปญ ญาทจ่ี ะซมึ ซาบใหเ หน็ อวยั วะสว นตา ง ๆ ซึ่งมีความเสมอกนั มันแทงทะลุปรุโปรงไปหมด หายสงสัย ปลอยวางไดตามความจริง เบาหววิ ไปเลย แนะ !การพจิ ารณา พจิ ารณาอยา งนน้ั น่ีแหละตวั จริง! ตาํ รบั ตาํ ราทา นสอนไวม ากนอ ยก่ี ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๑
๔๕๒ คัมภีร สอบเขา มาหาตวั จรงิ นแ่ี ล เชน “สมาธิ” อะไรเปนสมาธิ หนงั สอื ไมไ ดเ ปน สมาธิ เปนตัวหนังสือ กเิ ลส หนงั สอื ไมไดเปน กเิ ลส ใจของเราเปนกิเลส แนะ ! ปญญา หนังสือ ไมไดเปนปญญา เปนชื่อของปญญาตา งหาก เปนช่ือของกิเลส เปนชื่อของกองทกุ ขต าง หาก ตวั ทุกขจรงิ ๆ คือตัวเรา ตวั กเิ ลสจรงิ ๆ คือใจของเรา ตัวปญญาจริง ๆ อยทู ใ่ี จ ของเรา ตาํ ราทา นสอนชเ้ี ขา มาทน่ี ่ี ๆ จึงวา “ใหโ อปนยโิ ก นอ มเขา มาสตู วั เรา” ใหเห็น ความจรงิ อยใู นสถานทน่ี ้ี ความมืดมดิ ปดตากป็ ดอยทู นี่ ่ี เวลาสวา งกส็ วา งขน้ึ ทน่ี !่ี การพจิ ารณาดว ยปญ ญา กเ็ พอ่ื จะเปด สง่ิ ทป่ี ด กาํ บงั อนั ฝน ธรรมทง้ั หลายนน้ั ออกไปถงึ ขน้ั ความจรงิ จติ ใจของเรากจ็ ะโลง และเหน็ ตามความจรงิ “โลกวทิ ู” รูแจง โลก รอู ะไร ถา ไมร แู จง สง่ิ ทป่ี ด บงั อยภู ายในธาตใุ นขนั ธข องเรานก้ี อ นอน่ื ไมม อี ะไร จะรู ตองรูที่นี่กอน! ทกุ ขก ป็ ด บงั สมุทัยก็ปดบัง เมื่อเกิดทุกขขึ้นมา ธรรมอยูที่ไหนก็ลมเหลวไปหมด แนะ ! มนั ปด บงั มนั ทาํ ลายธรรมของเราไดหมด วริ ยิ ธรรมกถ็ กู ทาํ ลาย สตปิ ญ ญา ธรรมกถ็ กู ทาํ ลาย ขนั ตธิ รรมกถ็ กู ทาํ ลายดว ยอาํ นาจแหง ความทกุ ข ถา สตปิ ญ ญาไมส ามารถแกก ลา ไมม คี วามอาจหาญจรงิ ๆ จะเปด ความทกุ ข นข้ี น้ึ มาใหเ หน็ เปน ของจรงิ ไมไ ด ทั้ง ๆ ที่ทุกขนั้นเปนของจริงอันหนึ่ง แตเ รากค็ วา เอา มาเปนของปลอม เปนฟนเปนไฟเผาจิตใจของตนจนแหลกเหลวไปได ทาํ ความเพยี ร ติดตอกันไมไดเลยเพราะทุกขเขาไปทําลาย อะไรปดบังจิตใจ? กท็ กุ ขน เ่ี องเปนเครื่องปดบัง สมทุ ยั กเ็ หมอื นกนั คดิ อะไร หลอกข้นึ มาตัง้ แตเรือ่ งปดบงั เรือ่ งจอมปลอมทง้ั นั้น เราก็เชื่อมันไปโดยลําดับ ๆ กย็ ง่ิ เพม่ิ ทกุ ขข น้ึ มามากมาย ตองใช “สติ ปญ ญา” เปดสิ่งเหลานี้ใหเห็นตามความจริงของมัน เมอ่ื สตปิ ญ ญา “จอ” เขา ไปถงึ ไหน รูเขาไปถึงไหน ความรูแ จงเหน็ จริงและการปลอ ยวาง จะปรากฏขึ้น มา เดนขึ้นมา แลว ความปลอ ยวางจะเปน ไปเอง คอ ยปลอ ยวางไปเรอ่ื ย ๆ ปลอ ยวางไป เรื่อย ๆ ตามความซาบซง้ึ ของปญ ญาทม่ี กี าํ ลงั เปน ลาํ ดบั จนหมดปญ หา คาํ วา “ธาตขุ นั ธ” พระพทุ ธเจา ทา นทรงสอนไวได ๒๕๐๐ กวา ปน ้ี ลว นแตเ ปน ความจริงตลอดมาจนกระทั่งปจจุบัน ทาํ ไมถงึ เพง่ิ มาทราบกนั วนั นร้ี กู นั วนั น้ี ธาตขุ นั ธม ี มาตั้งแตวันเกิดทําไมแตกอนไมเห็น กายของเราวา เปน “อนิจฺจ”ํ ก็ไมเห็น เปน “ทุกฺขํ”ก็ ไมเ หน็ เปน “อนตตฺ า” ก็ไมเห็น เปน “อสภุ ะอสภุ งั อะไร ๆ” ก็ไมเห็น ทั้งที่มันก็เปน ความจริงของมันอยูอยางนั้นแตใจก็ไมเห็น แลว ทาํ ไมเพง่ิ มาเหน็ กนั วนั น้!ี สง่ิ เหลา น้ี เพิ่งมีวันนี้เทานั้นหรือ? เปลา! มมี าตง้ั แตว นั เกดิ ! แตเพราะความมืดมิดปดตาบังอยู ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๒
๔๕๓ อยา งหนาแนน แมสิ่งเหลานี้จะมีอยูกับตัวเราก็ไมเห็น ตวั เราอยกู บั “อนิจฺจ”ํ ก็ไมเห็น อนิจฺจํ อยกู บั ทกุ ขฺ กํ ็ไมเห็นทกุ ขฺ ํ อยกู บั อนตฺตาก็ไมเห็นอนตฺตา แลว จะเหน็ “ธรรมหรือ ความจริงแทแนนอน” ไดท ไ่ี หนกนั ! เมือ่ สติปญญาหยัง่ ลงไปกเ็ ปดเผยออกมาเรอ่ื ย ๆ ไมต อ งบอกเรอ่ื ง “อปุ าทาน” จะขาดสะบน้ั ไปมากนอ ยเพยี งใดนน้ั ขน้ึ อยกู บั สตปิ ญ ญา ใหพ จิ ารณาเตม็ พลงั ฉะนน้ั จงผลติ สติปญญาขึน้ ใหมาก อยา กลวั จติ ตาย อยา กลวั จติ ฉบิ หาย อยากลัวจิตลมจม ธรรมชาตินี้ไมลมจม เพราะธรรมชาตินี้เทานั้นที่จะพิจารณาสิ่งทั้งหลาย สง่ิ เหลา นก้ี ็ อาศยั ธรรมชาตนิ อ้ี ยดู ว ยกนั ไป ถาเราหลงถือวาเปนเรา สิ่งนั้นก็เปนภัยตอเราได ถาเรารู กต็ า งอนั ตา งจรงิ อยดู ว ยกนั สะดวกสบายในทท่ี ง้ั หลาย! นกั รบตอ งเปน ผกู ลา หาญตอ ความจรงิ ใหเ หน็ ความจรงิ จิตเปนผูท ช่ี อบรชู อบ เห็น มนี สิ ยั อยากรอู ยากเหน็ อยตู ลอดเวลา ขอใหน อ มความอยากรอู ยากเหน็ นน้ั เขา มาสู “สัจธรรม” ใหอ ยากรอู ยากเหน็ ใน “สัจธรรม” คือความจริง พระพทุ ธเจา ทรงสอนวา เปนความจริง จริงแคไหนใหเห็นดวยสติปญญาของตัว เอง จะเปนที่หายสงสัยวา ออ พระพุทธเจาทานวาสัจธรรมเปนของจริง จริงอยาง น!้ี อยา งทเ่ี ราเหน็ ในปจ จบุ นั น้ี ทกุ ขกจ็ รงิ อยางนี้ สมทุ ยั กจ็ รงิ อยา งน้ี ปญ ญากจ็ รงิ อยา งน้ี จิตก็จริงอยางนี้ เห็นไดชัด ๆ หายสงสยั เรอ่ื งพระพทุ ธเจา กห็ ายสงสัย เรอ่ื งความ พากเพียรของพระพุทธเจาที่ทรงบําเพ็ญอยางไรมาบาง กห็ ายสงสยั อบุ ายวธิ ตี า ง ๆ ที่ ทรงสอนไวอ ยา งไร หายสงสยั ไปหมด นั่น! เมอ่ื ถงึ ขน้ั นน้ั หายสงสยั หายไปโดยลําดับจน ไมมีอะไรเหลืออยูเลย เพราะฉะนั้นจงพิจารณา “ขนั ธ” ของเราน้ี เอาใหดี ยง่ิ เปน หวั เลย้ี วหวั ตอ ดว ย แลวเราจะนอนใจไมได เอาลงใหเ หน็ เหตเุ หน็ ผลกนั จนกระทั่งสิ้นลม เอา ลมมนั สน้ิ ไปจากตวั ของเรานก้ี ไ็ มฉ บิ หาย มันก็ไปเปน “ลม” ตามเดิม มัน เพียงผานจากเราไปตางหาก คําวา “เรา” เอาดินเอาน้ําเอาลมเอาไฟมาเปน “เรา”ดนิ สลายลงไปจากคาํ วา เรานก้ี ไ็ ปเปน ดนิ นาํ้ สลายลงไปจากคาํ วา เรานก้ี ไ็ ปเปน “นาํ้ ”ไปเปน ลม ไปเปนไฟ ธรรมซาติคือใจนี้ก็เปน “ใจ” แยกกนั ใหเ หน็ ตามกาํ ลงั ของสตปิ ญ ญาของ เราอยาทอเลย! นเ่ี หละความชว ยตวั เองชว ยอยา งน้ี ไมม ผี ใู ดทจ่ี ะสามารถชว ยเราได ยิ่งถึงขั้น จาํ เปน จาํ ใจ ขน้ั จนตรอกจนมุมจริง ๆ แลว มแี ตน ง่ั ดกู นั เฉย ๆ นน่ั แหละ ไมมีใครที่ จะชวยเราได ถา เราไมร บี ชว ยเราดว ยสตปิ ญ ญา ศรทั ธา ความเพยี ร ของเราเสยี ตง้ั แตบัดนี้ จนเปนที่พอใจ เปน ทแ่ี นใ จ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๓
๔๕๔ สว นความตอ งการเฉย ๆ โดยไมทําอะไรนั้นไมม คี วามหมาย ถา ความเพยี รไม เปน เครอ่ื งสนบั สนนุ ความเพียรจึงเปนสิ่งสําคัญ อดทนตอความจรงิ อดทนตอ อรรถ ตอ ธรรมไมเ สยี หาย เราอดทนตอ สิ่งอ่นื ตรากตราํ ตอ สง่ิ อน่ื ๆ เราเคยตรากตรํามามาก แลว เราเคย! คาํ วา “เราเคย” แลว สง่ิ นท้ี าํ ไมเราจะไมส ามารถ ธรรมของพระพุทธเจาไมใช “เพชฌฆาต” พอจะฆาคนทม่ี คี วามเพียรอันกลา หาญใหฉ บิ หายวายปวงไปน่ี นอกจากฆา กเิ ลสอาสวะซง่ึ เปน ตวั ขา ศกึ อยภู ายในจติ ใจให เราลุมหลงไปตามเทานั้น จงพิจารณาลงใหเห็นชัดเจน ดใู หด สี ง่ิ เหลา นก้ี บั จติ มนั สนทิ กนั มาเปน เวลานาน ติดจมกันมาเปนเวลานาน จนแยกไมอ อกวา “อะไรเปน เรา อะไรเปน ธาตเุ ปน ขนั ธ”จึง รวมเอามาหมดนว้ี า เปน เรา ทั้ง ๆ ที่มันไมใชเรา ตามหลกั ความจรงิ ของทา นผรู ไู ปแลว ทา นเหน็ อยา งนน้ั จรงิ แตจิตของเรามันฝนอยางนี้ เพราะฉะนั้นเรื่องทุกขมันจึงแทรกเขา มาตามความฝนซึ่งเปนของผิดนั้น ใหไ ดร บั ความลาํ บากอยเู สมอ ถาเดินตามหลกั ความจรงิ ที่พระพทุ ธเจา ทรงสอนไวแ ลวน้ี และรูตามนี้แลวจะไม มปี ญหาอะไร ธาตกุ เ็ ปน ธาตุ ขนั ธก เ็ ปน ขนั ธ ใหช อ่ื มนั วา อยา งไรกเ็ ถอะ “เขา” เปน สภาพของเขานั่นแหละ เราเปนผูใหชื่อ “เขา” วา “นี่เปนธาตุ นน่ั เปน ขนั ธ นี่เปนรูป นน่ั เปนเวทนา น่นั เปนสญั ญา นี่เปนสังขาร นน่ั เปน วญิ ญาณ” ขอใหป ญ ญารทู ว่ั ถงึ เทา นน้ั แหละ มนั หมดสมมตุ ไิ ปเอง แมไมไปสมมุติมันก็ เปน “อาการหนง่ึ ๆ” เทานั้น เมื่อทราบความหมายของจิตเสียอยางเดียวเทานั้น ส่งิ นน้ั ๆ กเ็ ปน ความจรงิ ของมนั ลว น ๆ จิตก็มาเปนความจริงของตนลวน ๆ ไมคละเคลา กนั จงพิจารณาใหเห็นชัดอยางนี้ เหน็ สง่ิ เหลา นน้ั แลว กค็ น ลงไป มันอะไรกัน จิตดวง นี้ทําไมถึงไดขยันนักกับเรื่องเกิดเรื่องตาย ทั้ง ๆ ทโ่ี ลกกก็ ลวั กนั นกั หนา เราเองกก็ ลวั ความตาย แตทําไมความเกดิ นีจ้ ึงขยันนกั ตายปบเกิดปุบ แนะ! เกดิ ปบุ กแ็ บกเอาทกุ ข ปุบ แน! ทําไมจึงขยันนัก พิจารณาใหเห็น มนั เกดิ ไปจากอะไร? เรื่องอะไรพาใหเกิด? ถาไมใชจากจิตที่มีเชื้ออันสําคัญแฝง อยภู ายในน้ี จะเปนอะไรพาใหเกิดพาใหเปนทุกข การเกดิ เปน บอ เกดิ แหง ทกุ ข พิจารณาลงไปคนลงไป เอา อะไรจะฉบิ หายใหเ หน็ ใหร ู เพราะเราตองการความจริงนี่ อะไรจะฉิบหายลงไปใหมันรูดวยปญญาของเรา รูดวยจิตของเรา อะไรมันไมฉ บิ หายก็ ใหรูดวยจติ ของเราอีกนั่นแหละ จะหมดปญ หาอยทู จ่ี ดุ นน้ั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๔
๔๕๕ ปญ หาใหญอ ยทู จ่ี ติ กวา นอะไร ๆ รวมเขา มาไวใ นตวั หมด ไปกวา นเอาขา ง นอกเขามา พอถกู ตดั ดว ยสตปิ ญ ญาแลว กห็ ดตวั ไปอยภู ายใน ไปหลบซอ นอยภู ายในจติ นน้ั จติ กถ็ อื อนั นว้ี า เปน ตนอกี กห็ ลงอกี เพราะฉะนั้นจึงตองใชปญญาพิจารณาเขาไป อกี ฟนเขาไป ฟาดเขาไปใหแหลกละเอียดไปตาม ๆ กนั หมด อะไรทไี่ มใชของจริงในหลักธรรมชาติซ่งึ มีอยภู ายในจติ นั้นแลว มนั จะสลายตวั ลงไป อนั ใดเปน ธรรมชาตขิ องตวั เองแลว จะไมส ลาย เชน ความรู เมื่อแยกสิ่งที่แปลก ปลอม สง่ิ ทแ่ี ทรกซมึ ทง้ั หลายออกหมดแลว จิตก็เลยเปนจิตลวน ๆ เปน ความบรสิ ทุ ธ์ิ จะฉบิ หายไปไหนความบรสิ ทุ ธน์ิ ะ ! ลองคน หาดซู ิ ปา ชา แหง ความบรสิ ทุ ธ์ิ ปา ชา แหง จติ นไ้ี มม ี ไมป รากฏ! ยิ่งชําระสิ่งจอมปลอมที่พาใหไปเที่ยวเกิดในรางนั้น ถอื ในรา งนน้ั รา งน้ี ออกหมด แลว ยิ่งเปนความเดนชัด นแ้ี ลทา นวา “ธรรมประเสริฐ” ! ประเสริฐที่ตรงนี้ แตก อ นผนู ้ี แหละเปน ตวั สาํ คญั หลอกลวงตวั เองอยตู ลอดเวลา สง่ิ ทพ่ี าใหห ลอกมนั อยใู นจติ จิตนี้ จงึ เปน เหมอื นลกู ฟตุ บอลนน่ั แหละ ถูกเตะกลิ้งไปกลิ้งมา กิเลสนี้แหละมันเตะ ฟนขา กิเลสใหแหลกเสียมันจะไดไมเ ตะ ฟนดวยปญญาของเรา ดว ยสตขิ องเราใหแ หลกหมด ใหตรงแนว นิพพานเที่ยงจะไปถามที่ไหนเลา? พอถึงจุดที่เที่ยง คือไมมีอะไรที่จะเขา มาแทรกสงิ ไดอ กี แลว มันก็ไมเอนไมเอียง นน่ั แหละ “สนทฺ ฏิ ฐ โิ ก” รูกันตรงนี้ เปน“สนฺ ทิฏฐิโก” อนั เตม็ ภมู ิ “ปจจฺ ตตฺ ํ เวทิตพฺโพ วิ ฺ หู ”ิ ทานผูรูทั้งหลายรูจําเพาะตน รูที่ตรงนี้เปนจุดสุด ทา ย รูที่ตรงนี้แลวเรื่องก็หมดที่ตรงนี้ เรื่อง “ปาชา” ทง้ั หลาย เคยเปนความเกิดความตายมาเทาไร ๆ แลว มาดบั กนั ท่ี ตรงนี้ นเ่ี รยี กวา “งานลา งปา ชา ” คืองานกรรมฐาน! ฐานนแ่ี หละ งานลา งปา ชา ของ ตนลางที่ตรงนี้ ภพนอยภพใหญลา งออกใหห มดไมม ีอะไรเหลอื นผ่ี ลทเ่ี กดิ ขน้ึ จาก ประพฤติปฏิบัติตั้งแตขั้นเริ่มแรก เขาอยใู นปา ในเขา การฝกฝนทรมานตนไมวาจะอยูใน สถานทใ่ี ด ๆ ที่พระพุทธเจาทรงสั่งสอนใหไป “เที่ยวกัมมัฏฐาน” ไปเทย่ี วแบบนแ้ี หละ ทนี ค้ี าํ วา “กมั มฏั ฐาน” (กรรมฐาน) นม้ี อี ยดู ว ยกนั ทกุ คน ไมว า นกั บวช ไมวา ฆราวาส “กมั มฏั ฐาน” คืออะไร? เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ นน่ั ! “ตจปญจก กัมมัฏฐาน” แปลวา กมั มฏั ฐานมี “หนงั ” เปน ทห่ี า เปน คาํ รบหา กม็ อี ยกู นั ทกุ คนนไ่ี ม วา พระวา เณร พิจารณาตรงนี้เรียกวา “พิจารณากัมมัฏฐาน” เที่ยวอยูตรงนี้เรียกวา“เที่ยว กัมมัฏฐาน” หลงกห็ ลงอนั น้ี พจิ ารณาอนั นร้ี แู ลว กร็ กู มั มฏั ฐาน ถอดถอนกมั มฏั ฐาน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๕
๔๕๖ ถอดถอนภพถอดถอนชาติ รื้อวฏั สงสารกร็ ้อื ที่ตรงน้ี รวมเขาไปก็ไปรื้อที่ใจ กห็ มด ปญหาที่ตรงนั้น นน่ั แหละกรรมฐานสมบรู ณแ ลว “วสุ ติ ํ พฺรหฺมจริยํ” พรหมจรรยไดอยู จบแลว หรอื วา งานกรรมฐานเสรจ็ สน้ิ แลว จบที่ตรงนี้ จบทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง ศาสนาลงทจ่ี ดุ น้ี เมอ่ื ถงึ จดุ นแ้ี ลว พระพทุ ธเจา ไมท รงสง่ั สอนอะไรตอ ไปอกี เพราะศาสนาธรรมมงุ จุดน้ี คือมุงลางปาชาของสัตวที่ตรงนี้ เมอ่ื ถงึ จดุ นแ้ี ลว กเ็ ปน อนั วา หมดปญ หา สาวกจะอยดู ว ยกนั กร่ี อ ยกพ่ี นั องค ทานจะไมมีอะไรสอนกัน เพื่อการบํารุงอยาง โนน บาํ รงุ อยา งน้ี แมจะรุมลอมพระพุทธเจาอยูก็ตาม พระองคก ไ็ มท รงสอนเพอ่ื การละ กเิ ลส เพราะไดละกันหมดทุกสิ่งทุกอยางแลว ดังใน “โอวาทปาฏโิ มกข” ในวนั มาฆบชู าท่ี ไดเทศนเมื่อคืนนี้ “สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ กสุ ลสสฺ ปู สมปฺ ทา สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาส นํ ” แนะ ! ทา นประกาศ แสดงเปนสัมโมทนียกถา เครื่องรื่นเริงสาํ หรบั สาวกเทาน้ัน ไม ไดจ ะแสดงใหส าวกจะถอนอะไร เพราะบรรดาสาวกเหลา น้ันลว นแตเ ปน พระอรหันต เปนผูสิ้นกิเลสอาสวะโดยประการทั้งปวงแลว การทาํ บาปกไ็ มม ี ความฉลาดกถ็ งึ พรอ ม จิต กบ็ รรลถุ งึ ขน้ั บรสิ ทุ ธห์ิ มดจดทกุ สง่ิ ทกุ อยา งแลว ถกู ตอ งตามหลกั วา “เอตํ พุทฺธาน สาสน”ํ น่ีเปนคําสอนของพระพุทธเจา ทุก ๆ พระองคแลว ทา นไมส อนเพอ่ื ใหล ะกเิ ลส อันใดอีกตอไปเลย พระอรหนั ตท า นอยกู นั จาํ นวนเทา ไรทา นจงึ สะดวกสบาย ทานไมมีอะไรกระทบ กระเทอื นตนและผอู น่ื เพราะเปน ความบรสิ ทุ ธลิ์ ว น ๆ ดว ยกนั แลว แตพ วกเรามนั มกี เิ ลสอยภู ายในน่ี ไมไดทะเลาะกับคนอื่นก็ทะเลาะกับตนเอง ยงุ กบั ตวั เอง นอกจากยงุ กบั ตวั เองแลว กเ็ อาเรอ่ื งตวั เองนไ้ี ปยงุ กบั คนอน่ื อกี ระบาดไป หมด ขโ้ี ลภ ขี้โกรธ ขห้ี ลง เอาไปปา ยไปทาคนนน้ั คนนแ้ี หลกเหลวไปหมด รอ งกนั อลหมา นวนุ ไปหมด เลยเปน สภามวยฝปาก สภามวยนาํ้ ลายขน้ึ มาในวดั ในวาอยา งนก้ี ม็ ี มากมายหลายแหง แขง ดกี นั กเ็ พราะของสกปรกทม่ี อี ยภู ายในจติ ใจนเ้ี อง ถา หมดนแ่ี ลว ก็หมดปญหา เอาละ การแสดงธรรมกเ็ ห็นสมควร <<สารบญั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๖
๔๕๗ ธรรมะ จากจดหมายของทา นพระอาจารยม หาบวั ญาณสมฺปนฺโน มีถึง นางเพาพงา วรรธนะกลุ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๑๙ การปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม ที่ประทานไวดวยพระเมตตาสุดสวนไมมีใคร เสมอในโลก นน้ั คอื การบชู าพระองคท า นแท การเหน็ ความจรงิ ทม่ี อี ยกู บั ตวั ตลอดเวลา ดวยปญญาโดยลําดับ นนั้ ก็คือการเหน็ พระตถาคตโดยลําดบั การเหน็ ความจรงิ อยา ง เต็มใจดวยปญญานั้นแล คือการเห็นพระพุทธเจาเต็มพระองค พระพุทธเจาแท ธรรม แทอ ยทู ใ่ี จ การอุปฏฐากใจตัวเอง คอื การอปุ ฏ ฐากพระพทุ ธเจา การเฝา ดใู จตวั เองดว ย สติปญญา คือการเขาเฝาพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ อยางแทจริง พญามัจจุราช เตือน และบกุ ธาตขุ นั ธข องสตั วโ ลกตามหลกั ความจรงิ ของเขา เราตองตอนรับการเตือน และการบกุ ของเขาดว ยสติ ปญญา ศรัทธา ความเพียรไมถอยหลัง และขนสมบตั ิ คือ มรรค ผล นพิ พาน ออกมาอวดเขาซง่ึ ๆ หนา ดว ยความกลา ตาย โดยทางความเพียร เขากบั เราทถ่ี อื วา เปน อรศิ ตั รกู นั มานาน จะเปนมิตรกันโดยความจริงดวยกัน ไมมีใครได ใครเสยี เปรยี บกนั อกี ตอ ไปตลอดอนนั ตกาล ธาตุขันธเปนสิ่งที่โลกจะพึงสละทั้งที่เสียดาย เราพึงสละดว ยสติปญ ญากอนหนา ทจ่ี ะสละขนั ธแ บบโลกสละกนั นน่ั คอื ความสละอยา งเอก ไมม สี องกบั อนั ใด กรณุ าฟง ให ถงึ ใจ เพราะเขียนดวยความถึงใจ เอวํ ฯ <<สารบญั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๗
๔๕๘ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ กมุ ภาพนั ธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙ จงสรา งสมณะขน้ึ ทใ่ี จ ทา นอาจารยม น่ั ทา นพดู เสมอ เวลาเทศนไ ปสมั ผสั หรือพูดไปสัมผสั ดงั ที่เขียนไว ใน “มุตโตทัย” ก็ดูเหมือนมี แตทานไมแยก ทานพูดรวม ๆ เอาไว ทีนี้เวลาเราเขียนเรา ถงึ ไดแ ยกออกเปน ตอน ๆ คือผูเขียน “มุตโตทัย“ ไมแ ยกออกเปน ขน้ั ตอน ทานพูดบาง ครงั้ ทานกไ็ มแยก แตก็พอทราบได เพยี งยกตน ขน้ึ มาแลว กง่ิ กา นกม็ าดว ยกนั โดยทา น วา “ธรรมของพระพุทธเจาตามธรรมชาติแลวเปนของบริสุทธิ์ แตเ มอ่ื มาสถติ อยใู น ปถุ ชุ นกก็ ลายเปน “ธรรมปลอม” เม่อื สงิ สถติ อยูในพระอรยิ บุคคลจึงเปน “ธรรมจริง ธรรมแท” นี่ทานพูดรวม ๆ เอาไว คาํ วา “อรยิ บคุ คล” มหี ลายขน้ั คอื “พระโสดา” เปน อรยิ บคุ คลชน้ั ตน ชั้นสูงขึ้นไปก็มี “พระสกทิ าคา, อนาคา, อรหันต” เปนสี่ เมือ่ แยกแลวพระอริยบุคคลผูบรรลุ “พระโสดาบัน” ธรรมในขั้นพระ โสดาบันก็เปนธรรมจริง ธรรมบริสุทธิ์สําหรับพระโสดา แตธรรมขั้น “สกทิ าคา, อนาคา, อรหันต” เหลา น้ี พระโสดายงั ตอ งปลอมอยภู ายในใจ แมจะจดจําได รแู นวทางทีป่ ฏิบตั ิ อยูอยา งเต็มใจกต็ ามก็ยงั ปลอม ทั้ง ๆ ที่รู ๆ อยนู น่ั เอง “พระสกทิ าคา” กย็ งั ปลอมอยใู นขน้ั “อนาคา”, อรหนั ต” , พระอนาคา” กย็ งั ปลอมอยใู นขน้ั “อรหัตธรรม” จนกวาจะบรรลุถึงขั้น “อรหตั ภมู ิ” แลว นน่ั แล ธรรมทุก ขั้นจึงจะบริบูรณสมบูรณเต็มเปยมในจิตใจ ไมม ปี ลอมเลย บางรายกค็ า นวา “ธรรมของพระพุทธเจาเปนของจริงของบริสุทธิ์ อยทู ไ่ี หนก็ ตองบริสุทธิ์ เชน เดยี วกบั ทองคาํ จะเปนตมเปนโคลนไปไมได” ถา ไมแ ยกออกพอใหเ ขา ใจ “ทองคําตองเปนทองคํา ไมเปนตมเปนโคลนไปได” แตเราจะปฏเิ สธไดอยางไรวา ไมม ตี มมโี คลนติดเปอนทองคําน้ัน ขณะทค่ี ละเคลา กนั อย?ู ทองคาํ ทไ่ี มต กในตมในโคลนกบั ทองคาํ ทต่ี กในตมในโคลน มันตา งกนั หรอื ไม มนั ตา งกนั นะ ! ทองคาํ ทบ่ี รสิ ทุ ธล์ิ ว น ๆ หนง่ึ ทองคาํ ทเ่ี จอื ไปดว ยตมดว ยโคลนหนง่ึ เราจะวามัน บรสิ ทุ ธเ์ิ หมอื นกนั ไดอ ยา งไร? นน่ั ! ตอ งตา งกนั ! ถา เราจะแยกมาพดู เปน ประการท่ี ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๘
๔๕๙ สอง เชน อาหารทค่ี วรแกก ารรบั ประทานอยแู ลว หยบิ ยกขน้ึ มากาํ ลงั จะรบั ประทาน แต พลัดจากมือลงไปถูกสิง่ สกปรกเสีย อาหารแมจะควรแกการรับประทานก็ไมควร เพราะ มันเปอนสกปรก จนกลายเปน สง่ิ นา เกลยี ดไปหมดแลว หรือภาชนะที่เปอน อาหารแม จะสะอาดนารับประทานเพียงไรก็ตาม เมอื่ นาํ มาสูภาชนะทเ่ี ปอ น อาหารนน้ั กเ็ ปอ นไป ตาม แลวมนั จะบริสทุ ธิ์ไดอยา งไร เมื่อมันเจือดวยของเปอนหรือสกปรกอยูเชนนั้น นี่ธรรมของพระพุทธเจาก็เชนเดียวกัน ภาชนะในทน่ี ก้ี ห็ มายถงึ ใจ มีใจเทานั้น เปนคูควรแกธรรม ทีนใี้ จน้นั มีความสกปรกมากนอยเพยี งไร ธรรมที่เขามาเกี่ยวของก็ตองมีความ สกปรกไปดวยเพียงนั้น ทท่ี า นเรยี กวา “ปลอม” หมายถึงไมบริสุทธิ์แท ทีนี้ถัดจากนั้นมา เชน มาดกู นั ในคมั ภรี ใ บลานตามตาํ รบั ตาํ รากเ็ ปน ธรรม แตเราไปเรียนจากนั้น จดจํา เอามาไวใ นใจ แตใจเราเต็มไปดวยกิเลส ธรรมที่เขามาสูจิตใจเราก็กลายเปน “ธรรมจด จํา” ไปเสียไมใชธรรมจริง! ถา วา เปน ธรรมจรงิ ซง่ึ ตา งคนตา งเรยี นและจดจาํ มาดว ยกนั แลว ทําไมกิเลสจงึ ไม หมดไปจากใจ ยังมีเต็มใจอยู ทั้งๆ ทเ่ี รียนรอู ยแู ลว ทกุ สิง่ ทุกอยา งจนกระท่ังถงึ นิพพาน แตใจก็ยังไมพนจากความมีกิเลสอยูเต็มตัว ฉะน้ันธรรมจึงปลอมอยา งนเ้ี อง ถาเราไดนําธรรมของพระพุทธเจา ทั้งดานปริยัติและดานปฏิบัติ ออกคลค่ี ลาย ดว ยการประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามทท่ี า นสอนไวโ ดยถกู ตอ งแลว ธรรมจะเรมิ่ จริงไปตง้ั แต ความจดจํา เมื่อจดจําเพื่อเปนแบบแปลนแผนผังจริงๆ ไมใ ชจ ดจาํ สกั แตว า จดจาํ แลว ไมท าํ ตามแบบแปลนแผนผงั เชน เดยี วกบั บา นเรอื นจะมกี แ่ี ปลนกต็ าม ยอ มไม สําเร็จเปนบานเปนเรือนขึ้นมาได จะมีแต “แปลน” เทา น้ัน กร่ี อ ยกพ่ี นั ชน้ิ กม็ แี ตแ ปลน เรียกวาเปน “บา น” ไมได จนกวา ทาํ การปลกู สรา งขน้ึ มาจนแลว เสรจ็ สมบรู ณต ามแปลน นั้นๆ จึงจะเรียกวา “บา นเรอื น” โดยสมบูรณได การจดจาํ เพอ่ื ประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ ปน อกี อยา งหนง่ึ การจดจําเฉยๆ ไมส นใจ ประพฤติปฏิบัติเปนอีกอยางหนึ่ง แตถึงยังไงก็ไมพนจากการปฏิบัติตามที่เรียนมา ตอ ง ไดป ฏบิ ตั ิ เมอ่ื ปฏบิ ตั แิ ลว “ปฏเิ วธ” คือความรูแจงแทงทะลุไปโดยลําดับ ไมต อ งหว งไม ตองสงสัย จติ จะตอ งเปน ไปโดยลาํ ดบั ตามความสามารถแหง การปฏบิ ตั นิ น้ั แล หากชาวพทุ ธเราไดห ยบิ ยก “ปรยิ ตั ”ิ และ “ปฏบิ ตั ”ิ ขน้ึ เปน ความจําเปน ความจาํ เปน เปน ความสาํ คญั ภายในตวั สมกับศาสนาเปนธรรมสําคัญ แลว ศาสนาหรอื ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๕๙
๔๖๐ บุคคลจะเปนผูเดนอยูดว ยคุณธรรม เดนดวยความประพฤติ เดน ดว ยความรคู วาม เห็น ทเ่ี ปน ไปเพอ่ื ความสงบรม เยน็ แกต นและสว นรวมมากมายทีเดียว นศ่ี าสนากส็ กั แตว า จาํ ได และมอี ยใู นคมั ภรี ใ บลานเฉยๆ คนกไ็ ปอกี แบบหนง่ึ ความจดจาํ กไ็ ปอกี แบบหนง่ึ ภาคปฏบิ ตั กิ เ็ ปน อกี แบบหนง่ึ เขากันไมได ทะเลาะกันทั้ง วนั ทง้ั คนื ภายในบคุ คลคนเดยี วนน้ั แลว ยงั ทาํ ใหแ สลงแทงตาแทงใจบคุ คลอน่ื สะดุดใจ คนอน่ื อกี ดว ยวา “ทาํ ไมชาวพทุ ธเรานบั ถอื พระพทุ ธศาสนาถงึ เปน อยา งนน้ั !” นน้ั มนั ถกู ทเ่ี ขาตาํ หนิ เราหาที่คานเขาไมได! สว นไหนทผ่ี ดิ ตอ งยอมรบั วา ผดิ หากไดน าํ การปฏบิ ตั อิ อกแสดงเปน คเู คยี งกบั ปรยิ ตั แิ ลว ผลจะพงึ ปรากฏ เปน คเู คยี งกนั สิ่งที่ปรากฏขึ้นดวยใจจากการปฏิบัติที่ไดรูจริงเห็นจริงตามขั้นตามภูมิ ของตนแลว ยอมพดู ไดถกู ตองตามหลกั แหงการปฏบิ ตั ิทไี่ ดรไู ดเ ห็นตามขัน้ นั้นๆ ไม สงสัย และการพดู กจ็ ะมคี วามอาจหาญไมส ะทา นหวน่ั ไหว และเกรงกลัวใครจะคัดคาน เพราะรูจริงๆ เห็นจริงๆ จะสะทกสะทานเพื่ออะไร! ไมมกี ารสะทกสะทา น เพราะไมได ลบู ไดค ลาํ แบบสมุ เดา ไมไดยืมเอาของใครมาพูด แตน าํ ออกจากสง่ิ ทเ่ี ปน ทเ่ี หน็ ทเ่ี ขา ใจ แลวมาพูดจะผิดไปไหน! แลว จะสะทกสะทานหาอะไร เพราะตางคนตางหาความจริงอยู แลว เรากร็ ูความจริงตามกําลังของเรา พูดออกตามความรูความสามารถของตน จะมี ความสะทกสะทา นทไ่ี หนกนั ไมม!ี พระพุทธเจาเราก็ไมเคยทราบวา พระองคไปเรียนเรื่องพระนิพพานมาจากไหน มรรคมีองคแปด ท่เี รยี กวา “มัชฌิมาปฏิปทา” ก็ไมไดไปเรียนมาจากไหน ทรงขุดคนขึ้น ตามพระกําลังความสามารถในพระองคเอง จนกระทั่งไดทรงรูทรงเห็นธรรมเปนที่พอ พระทัย แลว นาํ มาสอนโลกไดท ง้ั นน้ั ใครจะมคี วามสามารถยงิ่ กวา พระพุทธเจา ซึ่งมิได ทรงเรียนมาจากไหน ยังเปน “สัพพัญ”ู รูดวยพระองคเองได พทุ ธศาสนาถา อยากใหม คี ณุ คา สมกบั ศาสนาเปน ของมคี ณุ คา จรงิ ดงั กลา ว อา งแลว คนกค็ วรจะทาํ ตวั ใหม คี ณุ คา ขน้ึ มาตามหลกั ศาสนาทท่ี า นสอนไว ตวั เองก็ ไดร บั ประโยชน ไมต อ งแบกคมั ภรี อ ยเู ฉยๆ ใหห นกั บา นอกจากนน้ั จติ ใจกย็ งั ไมม ี กเิ ลสตวั ไหนทพ่ี อถลอกบา ง จึงไมเกิดประโยชน ไมส มชอ่ื สมนาม สมกับพระประสงคที่ พระพทุ ธเจา ทรงสงั่ สอนไวเ พื่อถอดถอนกิเลสอาสวะตามหลักธรรม เรากลบั มาแบกกเิ ลสดว ยการจดจํา การเรยี นไดม ากนอ ย เลยเขา กนั ไมไ ด กบั ความมงุ หมายของศาสนา นแ้ี ลธรรมกลายเปน โลก! เปน ไดอยางนี้เอง ธรรมเปนธรรมก็ดังที่วาการเรียนมาแลวก็ตองปฏิบัติ เมื่อปฏบิ ตั ิตามธรรมแลว ตองรูความจริง เพราะแนวทางแหงการสอนนั้น พระพุทธเจาทรงสอนไวแลวโดยถูก ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๐
๔๖๑ ตองเปน “สวากขาตธรรม” ดว ยกนั ทง้ั สน้ิ ไมมีทางปลีก และไมเปนความผิด นอกจากผู ปฏิบัติจะเห็นผิดโดยลําพังตนเองก็ชวยไมได เพราะปน เกลยี วกบั ความจรงิ คอื ธรรม ถาศาสนธรรมของพระพุทธเจาเปนดังสินคาตางๆ ซึ่งสามารถประกาศทาทาย ดวยคุณภาพและการพิสูจน ไมว า จะนาํ ไปสตู ลาดใดทม่ี สี นิ คา อน่ื ๆ อยูมากมายหลาย ชนิด พอนาํ สนิ คา คอื ศาสนธรรมนอ้ี อกไปถงึ ทใ่ี ด ทน่ี น้ั ตลาดสนิ คา ชนดิ ตา งๆ ลมไปใน ทันทีทันใด เพราะคนหาของดี ของจริงอยูแลว เมื่อเจอเขากับสิ่งที่ตองตาตองใจทําไม จะไมทราบ แมแตเด็กยังทราบได แตน ไ้ี มใ ชว ตั ถทุ จ่ี ะออกประกาศขายหรอื แขง ขนั กนั ไดด งั สนิ คา ทง้ั หลาย นอก จากความประทับใจของผูสัมผัส และผูปฏิบัติจะพึงรูพึงเห็นโดยลําพังตนเองเทานั้น เพราะการที่รูเห็นก็ไมใชอยากเห็นเพื่อสั่งสมกิเลส เพอ่ื สง่ั สมความโออ วด ความ เยอหยิ่งจองหองลําพองตนซึ่งเปนเรื่องของกิเลส ทา นผใู ดมคี วามรคู วามเหน็ มากนอ ยเพยี งไร กเ็ ปน การถอดถอนกเิ ลส ซึ่งเปน ขา ศกึ แกต นและผอู น่ื ออกไดม ากนอ ยเพยี งนน้ั แลว ไหนจะไปทโ่ี ออ วด ซึ่งเปนการสง เสริมกิเลสขึ้นมาใหโลกเอือมระอา ซง่ึ ไมส มกบั ตวั วา ปฏบิ ตั เิ พอ่ื แกเ พอ่ื ถอดถอนกเิ ลส เลย ดวยเหตุนี้ผูปฏิบัติเปนธรรม รูมากรูนอยเพียงไร ทานจึงเปนไปดวยความสงบ ควรจะพดู หนกั เบามากนอ ย ทานก็พูดไปตามควรแกเ หตุ ไมควรพูดก็นิ่งไปเสีย ไมห วิ โหย ไมเ สยี ดาย อยไู ปแบบ “สมณะ” คือ สงบดว ยเหตดุ ว ยผล พดู กพ็ ดู ดว ยเหตดุ ว ย ผล นแ่ี หละทา นวา “สมณานจฺ ทสสฺ นํ เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ มํ” “การเหน็ สมณะผสู งบจากบาป ความลามก เปน มงคลอนั สงู สดุ ” คาํ วา “สมณะ” ตั้งแต “สมณะ ทห่ี นง่ึ สมณะ ที่สอง ทส่ี าม ที่สี่ สมณะทห่ี นง่ึ ก็ คือ “พระโสดา”ที่สองคือ “สกทิ าคา” ทส่ี ามคอื “อนาคา” ทส่ี ค่ี อื ”พระอรหันต” เรียกวา “สมณะ” เปนขั้นๆ” ถาเราพูดเปนบุคคลาธษิ ฐาน กห็ มายถงึ ทานผูเปนสมณะตามขั้นภูมิแหงธรรม นั้นๆ เชน พระโสดา พระสกิทาคา พระอนาคา พระอรหันต ซึ่งเปนมงคลแกผูไดเห็น ไดก ราบไหวบ ชู าทา น นเ้ี ปน สมณะภายนอก เมอ่ื ยอ นเขา มาภายใน การเหน็ สมณะที่หนึ่ง ทส่ี อง ทส่ี าม ภายในจติ ใจ ดวย การพิจารณา “สจั ธรรม” ซึ่งเปนเครื่องเปดมรรคผลขึ้นมาประจักษใจนั้น เปน มงคลอนั สงู ยง่ิ ประการหนง่ึ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๑
๔๖๒ ตองยนเขามาเปนประโยชนสําหรับตัว ไมง น้ั เรากค็ อยมองหาแต “สมณะภาย นอก” สมณะองคใดทานเปนพระโสดา องคไ หนทา นเปน พระสกทิ าคา องคไ หนทา น เปนพระอนาคา องคไหนทานเปนพระอรหันต” แมอ งคไ หนๆ ทานก็ไมมี “เบอร” เหมือนเบอร นายรอ ย นายพนั ติดตัวติดบา จะไปรูทานไดยังไง! ถาทานเปนพระโสดา พระสกทิ าคา พระอนาคา หรือ พระอรหันตจริงๆ จะไมมี ทางทราบได ดว ยอากปั กริ ยิ าทท่ี า นจะมาแสดงออกทา ออกทาง ดงั ทโ่ี ลกสกปรกทาํ กนั อยนู เ้ี ลย ทา นไมท าํ ทา นทาํ ไมล ง ไมใ ชว สิ ยั ของทา นผสู ะอาด ผูมุงตออรรถตอธรรมจะ ทําไดอ ยางนัน้ การที่จะหา “สมณะ” อยา งนม้ี ากราบมาไหวน น้ั ไกลมาก อยหู า งเหนิ มาก ไมทราบจะไดพบปะทานเมื่อไร โอวาทใดท่ีทา นสอนเพ่อื บรรลถุ งึ “สมณะ ทห่ี นง่ึ ทส่ี อง ทส่ี าม ทส่ี ่ี “ นาํ โอวาท นน้ั เขา มาปฏบิ ตั ติ อ ตวั เอง เพื่อใหสําเร็จเปน “สมณะ ที่หนึ่ง ทส่ี อง ทส่ี าม ทส่ี ”่ี ขึ้นมา ภายในน้ี เปนความเหมาะสมอยางยิ่ง เรยี กวา ”จับถูกตัว” เลย ไมตองไปตามหารอง รอยหรือตะครุบเงาที่ไหนใหเสียเวล่ําเวลา เอา! เราพบครูบาอาจารยที่ทานเปนอรรถเปนธรรม ผูมีกายวาจาใจสงบ หรือ ทานผูเปนสมณะที่หนึ่ง ทส่ี อง ทส่ี าม ทส่ี ่ี กเ็ ปนการดี เมอ่ื ไดพ บแลว อยา ใหพ ลาดจาก สมณะทห่ี นง่ึ ที่สอง ทส่ี าม ทส่ี ่ี ซงึ่ จะเกิดขนึ้ ไดภายในใจเราเอง ดวยการปฏิบตั ิของเราน่ี พระพุทธเจาไมทรงผูกขาด จะพงึ ไดผลโดยทั่วถงึ กนั เม่อื เหตุสมบูรณแลว เราจึงควร นอ มธรรมเหลา นน้ั เขา มาเพอ่ื ตน “โสตะ” แปลวา กระแส คือบรรลุถึงกระแสพระนิพพาน แตพ วกเรามกั คาดกนั ไปตางๆ จนไมมีประมาณวา กระแสพระนพิ พานนนั้ เปนอยา งไรบาง กระแสกวา งแคบ ลกึ ตน้ื หยาบละเอยี ดขนาดไหน ซึ่งกลายเปน สญั ญาอารมณไ ป โดยไมเกิดประโยชน อะไรเลย ความจรงิ กระแสกค็ อื แดนแหงความแนนอน ทจ่ี ะกา วถงึ ความพน ทกุ ขไ ม เปน อน่ื นน่ั เอง ผปู ฏบิ ตั บิ าํ เพญ็ ขอใหม คี วามรม เยน็ ภายในใจเถอะ จะกระแสไมกระแสก็ ตามคือจิตดวงนี้เอง ซึง่ ไดรบั การบาํ รงุ สงเสริมในทางดอี ยเู สมอไมลดละลาถอย อะไรจะเปนพระนิพพานได บา นเปน บา น เรือนเปนเรือน ดินเปนดิน น้ําเปนน้ํา ลมเปน ลม ไฟเปนไฟ ดนิ ฟา อากาศ แตละชิ้นละอันไมสามารถที่จะเปนพระนิพพาน หรือนํามาเปนพระนิพพานไดเลย จะปรับปรุงใหเปนพระนิพพานก็ไมได จะปรับปรุงให เปนพระโสดาบันก็ไมได พระสกิทาคาก็ไมได พระอนาคากไ็ มไ ด พระอรหันตก็ไมได ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๒
๔๖๓ แลวจะปรับปรุงใหเปนพระนิพพานไดอยางไร นอกจากจติ ดวงเดียวเทานเี้ ปน ผูท่ี สามารถจะเปนไปได ดวยการประพฤติปฏิบัติ กําจัดสิ่งที่ปกปดกําบังซึ่งมืดมิดปดตาอยู ภายในใจนอ้ี อกไปไดโ ดยลาํ ดบั ความสงบสขุ หากเกดิ ขน้ึ มาเอง ที่ไมสงบก็เพราะสิ่ง เหลา นเ้ี ปน ผกู อ กวน เปน ผยู แุ หยใ หก งั วลวนุ วายอยทู ง้ั วนั ทง้ั คนื ยนื เดิน นง่ั นอน ทุก อริ ยิ าบถ หาแตเรื่อง วนุ วายตวั เอง กค็ ือเรือ่ งของกิเลส จะใหใจสงบไดอยางไร เรื่องของ กิเลสจึงไมใชของดีสําหรับสัตวโลกแตไหนแตไรมา สตั วท ง้ั หลายชอบถอื วา เปน ของดไี มค ดิ ปลอ ยวาง ฤทธข์ิ องมนั จงึ ทาํ ใหบ น กนั ออ้ื ไปหมด ถามันดีจริงๆ ทําไมจึงไดบนกัน การทบ่ี นกันกเ็ พราะเร่อื งของกิเลสพาใหเ กิด ทกุ ขเ กดิ ความลาํ บาก ทา นจงึ สอนใหส รา ง “สมณธรรม” ข้นึ ท่นี ี่! “สมณะ” แปลวา ความสงบ เมอ่ื สงบแลว กค็ อ ยๆ กลายเปน “สมณะทห่ี นง่ึ ” ที่ สอง ทส่ี าม ทส่ี ่ี ขึ้นไปโดยลําดับภายในใจเรา การปฏิบัติเพื่อบรรลุ “สมณธรรม” ทั้งสี่นี้ปฏิบัติอยางไร? ใน “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” ทานแสดงไวเปนรวมๆ ไมค อ ยละเอยี ดลอออะไร ผูเ รม่ิ ปฏบิ ัติอาจเขา ใจยากนัก “ทกุ ขฺ ํ อริยสจฺจ”ํ สัจธรรมหนึ่ง ทา นวา อยา งนน้ั “ชาตปิ ทกุ ขฺ า ชราป ทกุ ขฺ า มรณมปฺ ทกุ ขฺ ํ โสกปรเิ ทวทกุ ขฺ โทมนสสฺ ปุ ายาสาป ทุกฺขา” เรื่อยไป วา นเี้ ปนเรอื่ งความ ทุกข ทุกขท่แี สดงตัวออกมาน้มี ีสาเหตุเปนมาจากอะไร? กม็ าจากความเกดิ เกิดเปนตน เหตุที่ใหเกิดความทุกข ทีนี้ตัวเกิดจริงๆ มีตนเหตุมาจาก “อวชิ ชา” “อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา สงฺ ขารา” แลว อะไรทท่ี าํ ใหเกดิ ถา ไมใ ช “อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา สงขฺ ารา” จะเปนเพราะอะไร ทา น ขึ้นตรงนี้เลย ทา นอาจารยม น่ั ทา นแยกยงั งอ้ี กี นา ฟง มาก ทา นวา “ฐตี ิภูตํ อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา สงฺ ขารา” อวิชชา ไมมีที่อยูอาศัย ไมมีพอแมเปนที่เกิดจะเกิดไดอยางไร อยูไดอ ยา งไร ก็ ตองอาศัย “ฐตี ภิ ูตํ อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา สงขฺ ารา” นี่เปนสาเหตุที่จะใหเกิดเปนภพเปนชาติ ขึ้นมา อนั นม้ี แี ยกออกเปน สามประเภท “นนทฺ ริ าคสหคตา ตตรฺ ตตฺราภินนฺทิน.ี เสยยฺ ถีทํ. กามตณหฺ า ภวตณฺหา วภิ วตณหฺ า” น!่ี ทา นวา นแ้ี ลคอื “สมุทัย” “สมุทัย อริยสจฺ จ”ํ นก่ี เ็ ปน อรยิ สจั แลว จะนาํ อะไรเขา มาแก! “สมุทัย อรยิ สจั ” น้ี ลวนแตสิ่งที่จะทําจิตใหขุนมัว เปนเรื่องหรือเปนธรรมชาติที่ รบกวนจติ ใจใหข นุ มวั จนเปน ตมเปน โคลนไปได ถา เปน วตั ถุ ในบรรดาสมทุ ยั มากนอ ยท่ี กลา วมาน้ี กามตณั หากต็ าม ภวตณั หากต็ าม วภิ วตณั หากต็ าม เปน ความหวิ ความโหย ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๓
๔๖๔ ความทนอยูเปนปกติสุขไมได หมดความสงบสขุ อยูโดยลําพังตนเองไมได เพราะคํา วา “ตัณหา” ตองหิวโหยดิ้นรน ด้ินไปทางโนนดิ้นมาทางนี้ ดิ้นไปทางหนึ่งเปน กามตณั หา ดน้ิ มาทางหนง่ึ เปน ภวตณั หา ดน้ิ ไปอกี ทางหนง่ึ เปน วภิ วตณั หา มนั ลว นแต ความหวิ โหย ที่จะทําใหจิตใจดิ้นดวยอํานาจของกิเลสสามเหลานี้เปนเครื่องกดขี่บังคับ หรือรีดไถ พูดงายๆ เอาอยา งนถ้ี งึ ใจดี สาํ หรบั นกั ปฏบิ ตั เิ พอ่ื แกไ ขกเิ ลสตวั ใหโ ทษ ตลอดมา จิตที่ทรงตัวไมไดตามปกติของตน กเ็ พราะสง่ิ เหลา นเ้ี ปน ผทู าํ ลายหรอื กอ กวน เปนผูยุแหย เปน ผทู าํ ความวนุ วายอยตู ลอดเวลาหาความสงบไมไ ด แลว จะแกอ นั นด้ี ว ย วธิ ใี ด? ทา นกส็ อน “สมมฺ าทฏิ ฐ ิ สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป” ขน้ึ เลย โดยทาง “มคฺค อริยสจฺจํ” เปน เครอ่ื งแกธ รรมชาตทิ ก่ี อ กวนวนุ วายระสาํ่ ระสาย เพราะอํานาจแหงความหิวโหยทน อยูไมไดเหลานี้ ไมว า สตั วไ มว า บคุ คลถา เกดิ ความหวิ โหยขน้ึ มาแลว ไมไดสุจริตก็เอา ทางทุจริต ไมไดทางที่แจงก็เอาที่ลับ เอาจนได เพราะความหวิ โหยมนั บบี บงั คบั ใหต อ ง ทํา หรอื เพราะความทะเยอทะยานอยากตา งๆ ตลอดความหวิ โหยนน่ั เอง มนั บบี บงั คบั จติ ใจใหตองเสือกตอ งคลานไปตางๆ นานา เพราะอยใู ตอ าํ นาจของมนั ตอ งเปน ความ ทุกข ทกุ ขท รมานทว่ั หนา กนั ทุกขเพราะอะไร ทุกขเพราะ “สมทุ ัย” เปน ผลู ากผูเ ข็นใจสตั วโลก จนถลอกปอก เปกไปทุกภพทุกชาติ ทง้ั วนั ทั้งคืน ยนื เดิน นั่ง นอน อาการทค่ี ดิ ออกมาแงใ ด มีแตถูก สมุทัยฉุดลากเข็นเขนตีทั้งนั้น แลวเราจะเอาอะไรมาดับสิ่งเหลานี้ เอาอะไรมาแกไขสิ่ง เหลา น้ี ? “สมมฺ าทฏิ ฐ ิ สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป สมมฺ าวาจา สมมฺ ากมมฺ นโฺ ต สมมฺ าอาชโี ว สมมฺ า วายาโม สมมฺ าสติ สมมฺ าสมาธิ” นี้แลเปนเครื่องมือที่ทันสมัย และเหมาะสมที่สุด ที่จะ ปราบปรามกเิ ลสท้งั สามประเภทนีใ้ หส ิน้ ซากลงไปจากใจ ไมม เี ครอ่ื งมอื อน่ื ใดทจ่ี ะ เหนอื ไปกวา “มชั ฌมิ าปฏปิ ทา” น้ี “สมมฺ าทฏิ ฐ ”ิ ความเหน็ ชอบนน้ั เหน็ อะไรเลา ? เวลานใ้ี จเรามนั เหน็ ผดิ ทง้ั นน้ั กามตณั หา กค็ อื ความเหน็ ผดิ ภวตณั หา กค็ อื ความเหน็ ผดิ วภิ วตณั หา ลว นแตเ รอ่ื ง ความเห็นผิดทั้งนั้น มนั ถงึ ไดเปนทางกายทางใจไมล ดหยอ นผอ นคลาย ทําไมถึงรัก รัก เพราะเหตุใด เอาสติปญญาคนลงไป ซง่ึ กไ็ มห นจี ากกายน้ี รกั กร็ กั กายนก้ี อ นอน่ื รกั กาย นก้ี ร็ กั กายนน้ั ! กามตณั หามันมอี ยูทต่ี รงน้ี แยกหาเหตหุ าผลออกมา มันรักเพราะอะไร ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๔
๔๖๕ รักเนื้อ รกั หนงั รักเอ็น รักกระดูก รกั ผม รักขน ยังงั้นเหรอ? ของใครของเรามันก็ เหมอื นกนั น้ี รักอะไรมัน ? กริ ยิ าทแ่ี ยกหรอื ทาํ การแยกน้ี ทานเรียกวา “มรรค สมมฺ าทฏิ ฐ ”ิ คือ ปญญา ไตรตรองกลนั่ กรองดหู าสง่ิ ท่ีมันยึดมนั ถอื วา มนั ยดึ ถอื เพราะเหตใุ ด มีสารคุณอะไรมัน ถึงไดยึดไดถือ ความยึดถือแทนที่จะเกิดผลเกิดประโยชน เกดิ ความสขุ ความสบาย แต มนั กลายเปน ไฟขน้ึ มาทง้ั กองภายในใจ ทาํ ใหเ กดิ ความลาํ บากลาํ บน ทนทุกขทรมาน เพราะความยึดความถือ ความยดึ ถอื มาจากความสาํ คญั ผดิ เขาใจวานั่นเปนเรา นี่เปนของเรา มันเปน ความผิดไปทั้งนั้น ปญญาจึงตองตามแกใหเห็นตามความเปนจริงของมัน ทานจึงสอน ใหพ จิ ารณากาย “กายคตาสติ” เอา! พิจารณาลงไป ทง้ั ขา งนอกขา งใน ขา งบนขา งลา ง ภายในกายนอกกาย พจิ ารณาใหล ะเอียดทัว่ ถงึ ซาํ้ แลว ซาํ้ เลา จนเปนที่เขาใจแจมแจง ชัดเจน นค้ี อื เรอ่ื งของปญ ญา ซง่ึ เปน เคร่อื งปราบความอยากความหวิ ความกระหาย ซึ่ง เกิดข้นึ จากอาํ นาจของกเิ ลส ไมม อี นั ใดทจ่ี ะระงบั ดบั สง่ิ เหลา นใ้ี หห ายความอยากได นอกจาก “สมมฺ าทฏิ ฐ ”ิ “สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป” อันเปนองคแหงมรรคแปดนี้เทานั้น “มคฺค อริยสจฺจํ” น่ีคอื เคร่อื งมือปราบกเิ ลสทกุ ประเภท ควรดําเนินตามนี้ สติ ปญญาเปนเครื่องมือที่ทันกลมารยาของกิเลส ฟาดฟนลงไปพิจารณาลงไปอยารั้งรอ ตรงไหนที่มืดดํา ตรงนั้นนะอสรพิษมันอยูตรงนั้น ปญญายังตามไมทันที่ตรงไหน ตรง นั้นจะเปนตัวเปนตน เปนสัตวเปนบุคคล เปนเราเปนเขา เปน ของเราของเขาขึ้นมาที่ ตรงนั้น ปญญาสอดแทรกลงไป เห็นลงไปตามคัมภีรธรรมชาติ คอื กายกบั จติ แลว ความ จริงจะเปดเผยขึ้นมา ไมมีคําวา “บคุ คล“ คําวา “สตั ว” คาํ วา “เขา,เรา” ไมมี ! มีไดยังไง ปญ ญาลงหยง่ั ถึงความจริงแลว ความเสกสรรเหลา นเ้ี ปน เรอ่ื งจอมปลอม ทเ่ี กดิ จาก กเิ ลสจอมหลอกลวงตา งหาก ทีน้ีปญ ญาตามชะลางใหสะอาดลงไปโดยลาํ ดับจนตลอดทวั่ ถงึ จิตทถ่ี กู กดถว ง เพราะอาํ นาจ “อปุ าทาน” มาเปน เวลานาน ยอ มถกู สตปิ ญ ญาเปน ผถู อดถอนขน้ึ มา ถอน กรรมสิทธิ์ ไมปกปนเขตแดนไววา อันนั้นเปนเราเปนของเรา นั่นเปนเขตแดนของเรา เฉพาะอยา งยง่ิ กใ็ นวงขนั ธห า น้ี มันเปนเขตแดนที่เราปกปนมาตั้งแตวันเกิด นี่เปนเรา น่ี เปนของเรา เนื้อเปนเรา เอ็นเปนเรา กระดูกเปนเรา แขนเปนเรา ขาเปนเรา เปนของ เรา อวัยวะทุกชิ้นทุกสวนเปนเราเปนของเราเต็มไปหมด ทั้งๆ ที่สิ่งเหลานั้นเขาไมไดรับ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๕
๔๖๖ ทราบรับรูอะไรจากเราเลย แตเราปกปนเขตแดนเอาเอง เมื่อมีอะไรลวงล้ําหรือมา สัมผัสสัมพนั ธใหเกดิ ความเจ็บความไมสบายขึ้นมา ก็เกดิ ความทุกขขึน้ ภายในจิตใจ นอกจากเกดิ ความทกุ ขข น้ึ ภายในกายแลว ยงั เกดิ ความทกุ ขข น้ึ ภายในใจอกี เพราะความรักความสงวน ความปกปนเขตแดน อันนั้นเปนตนเหตุ การพิจารณาดใู หเห็นตามความจริงน้ันทา นเรียกวา “พิจารณา สัจธรรม” ดว ย ปญญาสมมฺ าทฏิ ฐ ิ สรุปแลว กไ็ ดแกความเหน็ ชอบในสัจธรรมทัง้ สี่ มีทุกขสัจ เปนตน ความดาํ รทิ เ่ี ปน ไปเพอ่ื การถอดถอนกเิ ลสทง้ั มวลนน้ั แล “สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป” ทา น แยกเปน ๓ คอื (๑) ความไมพ ยาบาทปองรา ยผอู น่ื ที่เปนบาลีวา “อพยฺ าปาทสงกฺ ปโฺ ป” เรอ่ื งของกเิ ลสนน้ั ใฝท างพยาบาทเปน พน้ื ฐาน (๒) “อวหิ สึ าสงกฺ ปโฺ ป” คอื ไมเบยี ดเบียนตนและผูอ่นื และ (๓) “เนกขฺ มมฺ สงกฺ ปโฺ ป” ความคดิ ดาํ รเิ พอ่ื ออกจากเครอ่ื งผกู พนั มกี ามฉนั ทะ เปนตน โดยหลักธรรมชาตกิ อนที่จะออกไปกระทบกระเทอื นคนอนื่ ตองกระทบ กระเทอื นตนเสยี กอ น เพราะความเหน็ ผดิ ของจติ ดว ยอาํ นาจของกเิ ลสนแ้ี ล สมฺ มาสงกฺ ปโฺ ป จงึ ตอ งแกก นั ตรงน้ี รวมกนั แลว สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป สมมฺ าทฏิ ฐ ิ กเ็ หมอื น เชอื กสองเกลียวทฟ่ี น กันเขาเปนเกลียวเดยี วใหเ ปน เชือกเสน หนง่ึ ขึน้ มา เพอ่ื ใหม กี าํ ลงั นั่นเปนเพียงอาการของจิตที่คิดในแงตางกัน รวมแลว กค็ อื ปญ ญาความแยบคายของจติ ดวงเดยี วน่ันแลว เหมอื นเชอื กหนง่ึ เสน หรอื เชอื กเสน หนง่ึ เอง รวมทั้งแปดนั้นก็มาเปน เชือกเสน หนึ่ง คอื “มัชฌิมาปฏิปทา” ทางสายกลาง หรอื เครอ่ื งมอื แกก เิ ลส ที่เหมาะ สมอยา งยงิ่ ตลอดมาแตครง้ั พุทธกาลนนั้ แล จะพิจารณาอะไร ถา ไมพ จิ ารณาสง่ิ ทพ่ี วั พนั จติ ใจเราอยเู วลาน้ี และแกที่ตรงนี้ ดวย “มรรค” คอื “สมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป” เปนตนนี้แล มรรคเทานั้นที่จะแกกิเลสออกจากจิต ใจได ถอื รา งกายหรอื ขนั ธเ ปน เวที คน ควา ดว ยสตปิ ญ ญา ตอ สกู บั ความลมุ หลงของตน สกู นั บนเวที คอื รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ นี้เปนที่พิสูจนสิ่งเหลานี้ อันเปน เปาหมายแหงการพิจารณา จนเห็นตามความจริงของมัน เทศนไปที่อ่ืนไมสะดวกใจ ถาเทศนลงตรงนี้รูส กึ ถนดั ใจ จุใจ เพราะน้ีเปน ตัวจรงิ กิเลสก็อยูที่ตรงน้ี มรรคก็อยูที่ตรงนี้ หรือสัจธรรม ทกุ ข สมุทัย ก็อยูที่ตรงนี้ นโิ รธกบั มรรคก็อยูที่ตรงนี้ เมื่อ “มรรค” ทาํ การดบั กเิ ลสไปโดยลาํ ดบั นโิ รธคอื ความดบั ทกุ ขก ็ ปรากฏขน้ึ มาเอง ตามกําลังของมรรคซึ่งเปนผูดําเนินงาน สติปญญาเปนผูฟาดฟนกิเลส ใหฉ บิ หายลงไปเปน ลาํ ดบั กเ็ ปน การดบั ทกุ ขไ ปโดยลาํ ดบั ใครจะไปตั้งหนาตั้งตาดับ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๖
๔๖๗ ทุกขโดยไมตองดําเนิน “มรรค” ยอมเปนไปไมได ทา นบอกวา “นิโรธ ควรทาํ ใหแ จง ”จะ เอาอะไรไปทํา? ถาไมเอามรรคไปทําใหแจงขึ้นมาซึ่งนิโรธ เราจะพยายามทํานิโรธใหแจง เฉยๆ โดยไมอาศัยมรรคเปนเครื่องบุกเบิกทางแลวไมมีทางสําเร็จ เพราะธรรมนี้เปนผล ของมรรคที่ผลิตขึ้นมา ทา นสอนไวเ ปน อาการเฉยๆ หลกั ใหญแ ลว พอสตปิ ญ ญาจอ ลงไป เพียงจุดหนึ่ง เทานั้นจะกระเทือนไปถึง “สัจธรรมทั้งสี่” นั้นโดยลําดับ ทาํ งานพรอ มกนั เหมอื นกบั จกั ร ตวั เลก็ ตวั ใหญ ทาํ งานพรอ มกนั ในวงงานอนั เดยี วกนั ถา ไปแยกแยะยงั งน้ั แลว ยอ มจะวก วน เหมอื นตามรอยววั ในคอกนน่ั แล หาทางไปไมได จึงควรพิจารณาลงในอาการใดก็ได ในรูปธรรมหรือนามธรรม มอี ยใู นกายอนั เดียวกัน เชน รปู กม็ หี ลายอาการดว ยกนั ขณะพิจารณารูป แมเ วทนาเกิดขึน้ กไ็ มหว่นั ไหว รูปเปนรูป เวทนากส็ กั เปน “นามธรรม” หาตนหาตวั หาสตั วห าบคุ คล หาเราหาเขา ไดที่ไหน ไมวาจะสุขเวทนาหรือทุกขเวทนา มลี กั ษณะคลา ยคลงึ กนั เขาเปนตนหรือเปน ตัว เปน สตั วเ ปน บคุ คลทไ่ี หน เพียงเปนนามธรรมอยางเดียวเทานั้น ปรากฏขึ้นในจิต เมือ่ จิตไดทราบวา อาการปรากฏข้นึ เปน ลักษณะแหง ความทุกข เปน ลกั ษณะแหง ความสุข แลวก็ดับลงไปตามเหตุปจจัยที่พาใหดับ แนะ ! ปญญาจึงมีทางที่จะทราบได ตามสิ่งที่มีอยู เพราะไมใชสิ่งที่ลี้ลับ แตเปน สง่ิ ท่เี ปดเผยดวยความมอี ยแู ละปรากฏขึ้น ตามเหตุปจจัยที่พาใหเปนเทานั้น รูปขันธ กอ็ ยทู กุ วนั ทกุ เวลา พาหลบั พานอน พาขบั พาถา ย พายืนพาเดิน ก็รูป ขนั ธน เ่ี อง เวทนาขนั ธก แ็ สดงตวั อยทู กุ เวลา แมในขณะนมี้ นั ก็แสดงใหเรารอู ยเู ชน กัน ไมส ขุ กท็ กุ ขส บั เปลย่ี นกนั ไปมาอยา งนแ้ี หละ สาํ คญั ทใ่ี จอยา ใหท กุ ขด ว ย ทกุ ขก ใ็ หท ราบ วา ขันธนี้เปน อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา อยาใหจิตไปยุงกับเขา จิตก็ไมเปนทุกข คาํ วา “เวทนา” เวทนานี้เทศนทุกวัน จึงควรฟงใหเขาใจ กเิ ลสมนั เกาะแนน อยู กบั ขนั ธห า น้ี ไมมีวันมีคืน มีปมีเดือน ไมท ราบวาของเกา ของใหม แตเ กาะเสยี แนน เกาะมากป่ี ก เ่ี ดอื นกก่ี ปั กก่ี ลั ปม าแลว เพราะฉะนน้ั การพจิ ารณาวันหนง่ึ ๆ เวลาหนง่ึ ๆ จึงไมพอ การเทศนวันหนึ่งเวลาหนึ่งจึงไมพอ ตองเทศนซ้ํากันใหเขาใจ เปน ทแ่ี นใ จ พจิ ารณากพ็ จิ ารณาซาํ้ ใหเ ปน ทเ่ี ขา ใจแลว กป็ ลอ ยเอง เอาใหเห็นชัดเวทนา, ทกุ ขเวทนามที ไ่ี หนบา ง? มีที่ไหนก็เปนทุกขเวทนาจะใหเปนอื่นไปไมได ตองเปนธรรม ชาติความจริงของเขาอยูเชนนั้น “สญั ญา” กจ็ าํ ได เคยจํามาเทาไรแลวตั้งแตวันเกิดจนบัดนี้ แลวหาอะไรเปน สาระไดบ า ง ถามันเปนตัวเปนตน เปน สตั วเ ปน บคุ คลจรงิ ๆ นํามาใสตูก็คงไมมีตูที่ไหน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๗
๔๖๘ ใส เพราะมันจําไมหยุดไมถอย แตพ อจาํ ไดแ ลว กผ็ า นไป ๆ ไมม อี ะไรเหลอื อยเู ลย นน่ั ! ฟงซิ เอาสาระแกน สารอะไรกบั สง่ิ เหลา น้ี “สงั ขาร” ปรุงวันยังค่ําคืนยังรุง ปรงุ เสียจนรอ นหวั อกกม็ ี ถา ปรงุ มากๆ ปรุงเสีย จนหวั ใจแทบจะไมท าํ งาน เพลียไปหมด สังขารคือความปรุง ถา ไมร ะงบั มนั ดว ยสติ ปญญาไมมีทางระงับไดตลอดไป และตายดวยมันไดจริงๆ เชนคนคิดมากเพราะความ เสยี ใจ เรื่องของกิเลสมันเอาสังขารเปนเครื่องปรุง เปนเครื่องมือ และผลกั ดนั ออกมาให ปรุงไมหยุดไมถอย ปรุงสิ่งนั้น สาํ คญั สง่ิ น้ี ทั้งสัญญา ทั้งสังขารเปนเครื่องมือของกิเลส แลวก็พุงลงไปที่หัวใจของเรา ให เกิดความทุกขความทรมานไมใชนอยๆ มากกวา นน้ั กเ็ ปน บา ได คนเราเปนทกุ ขเ พราะ คดิ มากมนั ดนี กั เหรอ สงั ขาร ? “วญิ ญาณ” ก็เพียงรับทราบ รบั ทราบแลว กด็ บั ไปพรอ มๆ ในขณะท่รี ับทราบจาก สิ่งที่มาสัมผัส มสี าระแกน สารทไ่ี หน เราหลงสิ่งเหลานี้แหละเราไมไดหลงสิ่งอื่นๆ นะ นอกนน้ั มนั กเ็ ปน ผลพลอยไดข องกเิ ลสไปอกี ประเภทหนง่ึ หลักใหญจริงๆ มันอยูตรงนี้ จึงตองพิจารณาตรงนี้ใหเห็นชัด นเ่ี รยี กวา “ดาํ เนนิ มรรคปฏิปทา” หรอื เรยี กวา “มรรคสัจจะ” เครอ่ื งแกค วามหลง วนุ วาย ความยดึ มน่ั ถอื มน่ั ของใจใหถ อยตวั ออกมา ใจจะไดส บายหายหว งจากสง่ิ เหลา น้ี เพราะการปลอยวาง ได อนั ความตายเปน หลกั ใหญเ หนอื โลกจะหา มได กฎอนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตตฺ า เปน เหมือนทางหลวง เพราะเปนคติธรรมดา ไมถ งึ กาลเวลามนั กไ็ มส ลาย ถงึ แมจ ะยดึ ถอื มนั สกั เทา ใดกต็ าม เมอ่ื ถงึ กาลมนั แลว หา มไมฟ ง มันก็ไปของมัน ซง่ึ เรยี กวา “ทางหลวง” ตามคติธรรมดา ซึ่งเปนเรื่องใหญโตมาก ทว่ั โลกดนิ แดนเปน อยา งนด้ี ว ยกนั ทง้ั นน้ั จะไม เรยี กวา เปน ทางหลวงไดอ ยา งไร ใครจะไปกีดขวางหวงหามไมได มันตองเดินตามทาง หลวงตามคติธรรมดาซึ่งเปนเรื่องใหญโตมาก ทว่ั โลกดนิ แดนเปน อยา งนด้ี ว ยกนั ทง้ั นน้ั พิจารณาใหเปนไปตามความจริงของมัน ทเ่ี รยี กวา “โคน ไมต ามลม” อยาไปขัดขวางธรรมของพระพุทธเจาที่ทรงสั่งสอนไวตามหลักคติธรรมดา ใหรู ตามความจริง ใจกจ็ ะสบาย การอยกู บั กเิ ลสใจอยกู บั ความวนุ วาย ผลแหง ความวนุ วายก็ คอื ความทุกข เราเคยเห็นโทษของมันมาแลว ทีน้ใี หใ จอยูกบั ธรรม ใจอยกู บั สติ ใจอยกู บั ปญ ญา ใจนน้ั จะไดม คี วามปลอดภยั ใจจะไดมีความรมเย็นขึ้น ชอ่ื วา “กเิ ลส” แลว ไมว า อยทู ไ่ี หนพยายามแกใ หห มด ! แก ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๘
๔๖๙ ภายนอกไดแ ลว เขา มาแกภ ายในธาตใุ นขนั ธ แลว กภ็ ายในจติ ดว ยปญ ญาอกี จนรอบตัว ทะลุปรุโปรงไปหมดไมมีอะไรเหลือเลย คาํ วา “ตน” วา “ตวั ” วาสัตว วาบุคคล มนั หมดปญ หาไปในทนั ทที นั ใด เมื่อกิเลส ซึ่งเปนตัวเสกสรรวาเปนสัตวเปนบุคคลไดสิ้นไปจากใจแลว คาํ วา สตั วก ต็ าม บคุ คลก็ ตามไมคิดใหเสียเวลํา่ เวลา จรงิ อยางไรกอ็ ยตู ามความจรงิ ลวนๆ เพอ่ื หายกงั วล เวลา หายจริงๆ หายที่ตรงนี้ อนั นไ้ี มใ ช “สัจธรรม”! สัจธรรมก็คือทุกข ทกุ ขก าย ทกุ ขใ จ นเ่ี รยี กวา “ทกุ ข สจั จะ” “สมุทยั ” เปนเรื่องของกิเลสอาสวะทั้งมวล นเ้ี รยี กวา “สมุทัยสัจจะ” “มรรค” มสี มฺ มาทฏิ ฐ ิ เปนตน สมมฺ าสมาธเิ ปนที่สุด คือเครื่องมือ เปน “สัจธรรม” ประเภทหนึ่ง เครอ่ื งแกก ิเลสคือตัว “สมุทัย” ใหหมดสิ้นไป “นิโรธ” กท็ าํ หนา ทด่ี บั ทกุ ขไ ปตามๆ กนั โดยลาํ ดบั จนกระทั่งรูแจงแทงตลอดในสมุทัยตัวสําคัญซึ่งมีอยูภายในใจโดยเฉพาะ ไม มีอะไรเหลือแลว นโิ รธแสดงความดับทุกข เพราะกเิ ลสดบั ไปจากใจในขณะนน้ั อยา ง เต็มภูมิ ผทู ร่ี วู า ทุกขดับไป กิเลสดับไปเพราะมรรคเปนเครื่องทําลาย นั่นคอื “วมิ ตุ ต”ิ ไมใช “สัจธรรม” นน่ั คอื ผบู รสิ ทุ ธ์ิ ไมใชสัจธรรมทั้งสี่นั้น “สัจธรรม” เปน เครอ่ื งกา วเดนิ เทา นน้ั เมอ่ื ถงึ จดุ หมายปลายทางแลว สัจธรรมทง้ั ส่ีกห็ มดหนา ทไ่ี ปตามหลกั ธรรมชาติของตน โดยไมต อ งไปกดขี่บังคับใหสิ้นใหสดุ ให หมดความจําเปน หากเปนไปตามเรื่อง เชน เดยี วกบั เรากา วจากบนั ไดขน้ึ สสู ถานทอ่ี นั เปนจุดที่ตองการแลว บนั ไดกบั เรากห็ มดความจาํ เปน กนั ไปเอง ฉะนน้ั เรอ่ื งของ “มรรค” คือสติปญญาเปนตน ทําหนาที่ใหสมบูรณเต็มภูมิ จิต ไดถ งึ ขั้นแหงความหลุดพนแลว เรื่องสติปญญาที่จะชวยแกไขกิเลสอาสวะทั้งมวล ก็ หมดปญหาไปตามๆ กนั นี่แลคือความเดนของเรา น่ีแลคือ “สมณะธรรม” หรอื สมณะทส่ี ดุ ยอดแหง สมณะที่สี่ ! สมณะที่หนึ่งคือพระโสดา สมณะที่สองคือพระสกิทาคา สมณะทส่ี าม พระอนาคา เราเจอมาเปนลําดับดวยการปฏิบัติ สมณะท่สี คี่ ืออรหันต อรหัตธรรมเจอ เต็มภูมิดวย “มรรคปฏิปทา อนั แหลมคม” นี่เปนผูทรงไวแลว ซึ่งสมณะทั้งสี่รวมลงในใจ ดวงเดียว “เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ มงคลอนั สงู สดุ นอ้ี ยทู ใ่ี จเราเอง ไมตองไปหา “สิริมงคล” มาจากไหน ! ใจที่พนจากเครื่องกดถวงทั้งหลายถึงความบริสุทธิ์เต็มภูมิแลว นน้ั แลเปน มงคลอันสูงสุดเต็มภูมิ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๖๙
๔๗๐ ทก่ี ลา วมาทง้ั หมดนไ้ี มอ ยใู นทอ่ี น่ื สัจธรรมทั้งสี่ก็ดี สมณธรรมทั้งสี่ก็ดี ตั้งแตที่ หนง่ึ , ทส่ี อง, ทส่ี าม จนกระทั่งถึงที่สี่ ก็ผูที่รู ๆ นแ่ี หละ เปน ผทู รงไวซ ง่ึ สมณธรรมทง้ั ส่ี และเปนผูท จ่ี ะทําหนาท่ปี ลดเปล้อื งตนออกจากสิ่งทก่ี ดขบี่ ังคับท้งั หลาย จนถึงขั้น “อสิ ร เสร”ี คือสมณะทั้งสี่รวมอยูกับเรานี้ทั้งสิ้น สรปุ แลว อยกู บั ผทู ร่ี ู ๆ ผนู เ้ี ปน ผู “ที่ตายตัว อยางยิ่ง” คงเสน คงวาทจ่ี ะรบั ทราบทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง กเิ ลสกท็ าํ ลายจติ ใจนใ้ี หฉ บิ หายไปไม ได กเิ ลสจะทาํ ลายสง่ิ ใดไดก ต็ าม แตไมสามารถทําลายจิต ไดแ กก ารทาํ จติ ใจใหไ ดร บั ความลาํ บากนน้ั มฐี านะเปน ไปได แตจ ะทาํ จติ นน้ั ฉบิ หายยอ มเปน ไปไมไ ด เพราะ ธรรมชาตินี้เปนธรรมชาติที่ตายตัว หรอื เรยี กวา “คงเสนคงวา” เปน แตส งิ่ ทีม่ าเกยี่ วขอ ง หรือสิ่งที่มาคละเคลา ทําใหเปนไปในลักษณะตางๆ เทานัน้ นั่นเปนไปได เมื่อสลัดตัด หรือชําระชะลางสิ่งเหลานั้นหมดไมมีอะไรเหลือแลว ธรรมชาตินี้จึง ทรงตัวไดอยางเต็มภูมิ เปน บคุ คลกเ็ รยี กวา “สมณะที่สี่” อยางเต็มภูมิ ถาเรียกวาเปน “ธรรม” ก็เรียก “อรหัตธรรม” อยภู ายในจติ ดวงนน้ั จิตดวงนั้นเปนธรรมทั้งดวง จิตเปนธรรม ธรรมเปนจิต เปนไดทั้งนั้น ไมมีอะไร ที่คาน ไมมีอะไรที่จะแยง เมอื่ ไมม กี เิ ลสมาแยงแลว มันก็ไมมีอะไรแยง กเิ ลสหมดไป แลวจะเอาอะไรมาแยง นั่นแหละความหมดเรื่องหมดราว หมดอะไร ๆ หมดที่ตรงนั้น ความดับทุกข ดับที่ตรงนั้น ดบั ภพดบั ชาตดิ บั ทต่ี รงนน้ั ที่อื่นไมมีที่ใดเปนที่ดับ! การไปเกดิ ภพเกดิ ชาติก็ผูนี้แลเปนเชื้อแหงภพแหงชาติ มาจากกเิ ลสซง่ึ อยกู บั จติ จิตจึงตองเร ๆ รอ น ๆ ไปเกดิ ในภพนอ ยใหญ ไดร บั ความทกุ ขเ ดือดรอนลําบากราํ คาญมาโดยลาํ ดับ เพราะมี เชื้อพาใหเปนไป มีเครื่องหมุนพาใหเปนไป เมอ่ื สลดั ตดั สง่ิ ฉาบทาหรอื เชอ้ื ออกหมดแลว จึงหมดปญหา หมดลงที่ตรงนี้ ! ขอใหพ ากนั พนิ จิ พจิ ารณาใหไ ด ใจนี่สามารถรูไดเห็นไดทั้งหญิงทั้งชาย นกั บวช และฆราวาส ดวยการปฏิบัติของตน ๆ ไมขึ้นอยูกับเพศวัยอะไรทั้งสิ้น ! จึงขอยุติเพียงเทานี้ <<สารบัญ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๐
๔๗๑ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙ นพิ พฺ านสจฉฺ กิ ริ ยิ า จ ธรรมของพระพุทธเจาทรงแสดงไวอยางถูกตองไมมีปดบังลี้ลับ แสดงตามความ จรงิ ทม่ี อี ยทู กุ อยา งไมว า ขน้ั ไหนแหง ธรรม เชน วา บาป บญุ นรก สวรรค นพิ พานมีจริง อยางน้เี ปน ตน จนกระทั่งเขาถึงเรื่องราวของกิเลสซึ่งเปนสิ่งที่มีอยูเปนอยู เปน ความจรงิ ดว ยกนั หมด จึงหาที่คานไมได แตทําไมสิ่งเหลานี้จึงเปนปญหาสําหรับพวกเรา ? ธรรมทานแสดงไวอยางเปดเผยไมมีอะไรเปนปญหา ไมมีอะไรลี้ลับเลย แสดง ตามความจริงลวนๆ ซึ่งความจริงนั้นก็มีอยู แสดงตามความจริงนั้นๆ ทกุ ขน้ั แหง ความ จริง แตพวกเราก็ไมเขาใจ เหมอื นทา นบอกวา “ นน่ี ะ , ๆ !” ซง่ึ ชใ้ี หค นตาบอดดู คนหู หนวกฟง คงจะเปน อยา งนน้ั มอื คลาํ ถกู แตต าไมเ หน็ ไปทไ่ี หนกโ็ ดนกนั แตท กุ ข ทั้งๆ ที่ ทา นสอนวา ทกุ ขเ ปน อยา งไรกร็ อู ยู แตก โ็ ดนเอาจนได ! บอกวา ทกุ ขไ มใ ชข องดี กโ็ ดน แตทุกข เพราะสาเหตุ และเดินตามสาเหตกุ ารกอบโกยทกุ ขขึน้ มาเผาตัวเองทัง้ นน้ั ใน “ธรรมคุณ” ทา นแสดงวา “สนทฺ ฏิ ฐ โิ ก” สุขทุกขเปน ส่ิงทีร่ เู ห็นอยกู ับตนดวย กนั มีการตายเปนตน “เอหปิ สสฺ โิ ก” “โอปนยิโก” นเ่ี ปน หลกั สาํ คญั มาก “เอหิปสฺสิโก” ทานจงยอนจิตเขามาดูธรรมของจริง ไมไ ดห มายถงึ ใหไ ปเรยี กคนอน่ื มาดูธรรมของ จริง “เอหิ” กค็ อื สอนผนู น้ั แหละผฟู ง ธรรม ผปู ฏบิ ตั ธิ รรมนน่ั แหละ ใหทานจงยอนใจเขา มาดูที่นี่แล คอื ความจรงิ อยทู น่ี ่ี ถา พดู แบบ “โลกๆ” กว็ า “ความจริง” ประกาศตนใหท ราบอยตู ลอดเวลา หรือ ทา ทายอยูตลอดเวลาจรงิ ขนาดที่เรียกวา “ทา ทาย” วา งน้ั แหละ ใหดูที่นี่ “เอหิ” ใหด ทู น่ี ่ี ไมไดหมายความวา ใหเรยี กคนอน่ื มาดู ใครจะมาดูได! ก็เขาไมเห็นของจริง ไมรูของ จริง! ของจริงอยูกับเขาเขายังไมเห็น เขายังไมรู จะใหมาดูของจริงอยูทเี่ ราไดอ ยา งไร “เอหปิ สสฺ โิ ก“ทานสอนใหดูความจริงของจริงของเจาของซึ่งมีอยูนี้ตางหาก “โอปนยโิ ก” เห็นอะไรไดยินอะไร สมั ผสั อะไร ใหนอมเขามาเปนประโยชนสําหรับตน เรื่องดีเรื่องชั่ว เรื่องสุขเรื่องทุกข ที่สัมผัสทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย หรอื ปรากฏขน้ึ ภาย ในใจเกย่ี วกบั เรอ่ื งภายนอก คืออดตี อนาคต เปนเรื่องอะไรของใครก็ตาม ใหโ อปนยโิ ก นอ มเขา มาสใู จซง่ึ เปน ตน เหตสุ าํ คญั อันจะกอเรื่องตางๆ ใหเ กดิ ขน้ึ ภายในตน ไมนอก เหนอื ไปจากจติ นเ้ี ลย ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๑
๔๗๒ จิตจึงเปนเรื่องใหญโตมาก “มโนปุพฺพงฺคมา ธมมฺ า” เทา นก้ี ก็ ระเทอื นโลกธาตุ แลว จะเคลือ่ นเลก็ นอ ยกใ็ จเปน ตน เหตุ ธรรมทง้ั หลายจงึ มใี จเปน สาํ คญั มีใจเทานั้นจะ เปนผูรับทราบสิ่งตางๆ ไมมีอันใดที่จะรับทราบไดนอกจากใจ ธรรมทั้งหลายคืออะไร? กุศลธรรม อกุศลธรรม มอี ยใู นสถานทใ่ี ดถา ไมม อี ยทู ่ี ใจ กุศลธรรมเกิดขึ้นเพราะความฉลาดของใจ ปรบั ปรงุ ใจใหม คี วามเฉลยี วฉลาดทนั กบั เหตุการณตางๆ ซง่ึ ออกมาจากภายในใจของตนเอง เมื่อ “อกศุ ลธรรม” เกิดขึ้นที่ใจ ก็ ให “กุศลธรรม” อันเปนเรื่องของปญญาพินิจพิจารณาแกไขความโงของตน ความโงข อง ตนที่เรียกวา “อกศุ ล” นน้ั ใหห มดไปจากใจ “โอปนยโิ ก” นอ มเขา มาทีน่ ี่ เห็นเรื่องโงเรื่องฉลาด เรอ่ื งสขุ เรอ่ื งทกุ ขข องใครก็ ตาม ใหนอ มเขา มาเปน คตเิ ตอื นใจ “เอหปิ สสฺ โิ ก” ใหดูที่ตรงนี้ บอ แหงเหตุท้งั หลายคอื ใจ แสดงอยตู ลอดเวลาไมม วี นั เวลาหยดุ ยง้ั ทาํ งานอยอู ยา งนน้ั ยง่ิ กวา เครอ่ื งจกั รเครอ่ื ง ยนต ซึ่งเขาเปดเปนเวล่ําเวลาและปดไปตามกาลเวลา ใจไมม ที ป่ี ด เปดจนกระทั่งวัน ตายไมม ปี ด แลว กบ็ น วา “ทุกข” บน ไปเทา ไรกไ็ มเ กดิ ประโยชน เพราะไมแ กทีต่ น เหตุที่ควรแก ซง่ึ ถา แกไ ดแ ลว ทกุ ขก ด็ บั ไปเปน ลาํ ดบั ตามความสามารถและความเฉลยี ว ฉลาดรอบคอบ ฉะนน้ั จงึ ไมส อนไปทอ่ี น่ื นอกจากใจผปู ฏบิ ตั ิ ถา สอนไปกเ็ หมอื นสอนให ตะครบุ เงา โนน ๆ ๆ ไมม องดตู วั จรงิ อนั เปน ตน เหตุ สอนทต่ี น เหตเุ ปน สาํ คญั เพราะกิเลสเกิดขึ้นที่นี่ จะเอายงั ไง? อะไรเปน ตวั เหตุ ทจ่ี ะใหเ กดิ ความทกุ ขค วามลาํ บากแกส ตั วโ ลกทง้ั หลาย? ตลอดถงึ ความเกดิ แก เจ็บ ตาย ? นี่เปนผลมาจากกิเลสซึง่ เปนเช้อื เปนตัวเหตสุ ําคัญ มนั เกดิ ขน้ึ อยา งไร? ถา ไมเ กดิ ขน้ึ จากใจ มนั อยทู น่ี ่ี จึงไมไปสอนที่อื่น เพราะเวลาพจิ ารณากเ็ อาจรงิ เอาจัง เอาเหตเุ อาผลใหร คู วามจรงิ และถอดถอนกเิ ลสไปไดโ ดยลําดับ กถ็ อดถอนทต่ี รงน้ี เพราะตรงนเ้ี ปน ผผู กู มดั ตวั เอง เปน ผสู ง่ั สมกเิ ลสขน้ึ มาในขณะทโ่ี งเ ขลาเบาปญ ญา ไมร ูเรอ่ื งรรู าว เวลาถอดถอนดว ยอบุ ายของสตปิ ญ ญาทม่ี คี วามเฉลยี วฉลาด พอถอด ถอนไดกถ็ อดถอนกนั ทต่ี รงน้ี สติใหมีอยูที่ตรงนี้ จุดนี้เปนจุดที่ควรระวังอยางยิ่ง เปน จดุ ทค่ี วรบาํ รงุ รกั ษาอยา งยง่ิ คอื ใจ! บํารงุ ก็บํารงุ ท่ีนี่ ดว ยการภาวนาและสง เสรมิ สตทิ ม่ี ี อยแู ลว ใหม คี วามเจรญิ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ อยา ใหเ สอ่ื ม และรักษาจิตดวยดี อยา ใหอ ะไรเขา มา เกย่ี วขอ ง ระมัดระวงั อยา ใหจ ติ นี่แสอ อกไปยงุ กบั เรอ่ื งตางๆ แลว นาํ สง่ิ นน้ั เขา มาเผา ตน นที่ า นเรียกวา “รักษา” ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๒
๔๗๓ กาํ จดั กค็ อื คน ควา หาเหตผุ ลของมนั อันใดที่มีอยูแลวและเปนของไมดี ให พยายามแกไ ขและคน ควา หาเหตหุ าผล เพือ่ แกไขถอดถอนตามจดุ ของมนั ท่ีเกิดข้ึน เรื่องใหญโตแทๆ อยูที่จิต เรื่องเกิดก็คือจิตที่ทองเที่ยวอยูใน “วฏั สงสาร” จน ไมรูประมาณวานานเทาไร เพยี งคนคนเดยี วเทา นก้ี เ็ ตม็ โลกแลว ละซากศพทเ่ี กดิ ตาย เกิดตายซ้ําๆ ซากๆ แตเจาของรูไมได นับไมได นบั ไมถ ว น ไมร ูจกั นบั เพราะมีมากตอ มาก และความโงปดบังตัวเอง ความจริงของตัวที่เปนมาเทาไรก็ถูกปดบังเสียหมด ยงั เหลอื แตค วามหลอกลวง โลๆ เลๆ หาความจริงไมได ทา นจงึ สอนใหแ กส ง่ิ เหลา นใ้ี ห หมดไป พยายามอบรมสตใิ หด ใี หท นั กนั กบั ความคดิ ปรงุ มันปรุงขึ้นที่จิตและปลุกปนจิต อยตู ลอดเวลา ถามีสติอยูแ ลวเพียงความกระเพือ่ มของจิตปรุงแย็บออกมาเทาน้ัน จะ เปน การปลกุ สตปิ ญ ญาใหเ กดิ ขน้ึ ในขณะเดยี วกนั เรานง่ั อยกู บั ที่ เราเฝา มนั อยกู บั ท่ี ที่จะ เกิดขึ้นแหงเหตุทั้งหลายไดแกใจ เราตองทราบ พอกระเพอ่ื มตวั ออกมากท็ ราบ ทราบ โดยลาํ ดบั นแ่ี หละ การหลอกลวงของจติ กห็ ลอกลวงทน่ี ่ี จิตที่จะเขาใจความจริงก็เขาใจดวยปญญา นอกจากนน้ั กพ็ จิ ารณาดเู รอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธใ หเ หน็ จนกระทั่งฝงจิต คือมันซึ้งในจิตวา อาการแตล ะอาการนน้ั เปน ความจรงิ อยา งนน้ั ใหพ จิ ารณาหลายครง้ั หลายหนหากซง้ึ ไป เอง คราวนี้ก็ทราบ คราวนน้ั กท็ ราบ คราวนก้ี เ็ ขา ใจ คราวนน้ั กเ็ ขา ใจ เขา ใจหลายครง้ั หลายหน เลยเปน ความซาบซง้ึ แนใ จ รูป แนะ ฟงซิ ! อะไรเปนรูป รวมทั้งหมดผมก็เปนรูป ขน เล็บ ฟน หนงั เนื้อ เอ็น กระดูกก็เปนรูป รวมเขาไปทั้ง “อวยั วะ” ทเ่ี ปน ดา นวตั ถุ ทา นเรยี กวา “กองรปู ” หรอื เรยี กวา “กาย” เอา ! ดนู ่ี เวลาทอ งเทย่ี วใหส ตติ ามความรทู เ่ี ดนิ ไปในอวยั วะสว นใดอาการใด ของรางกาย ใหส ตเิ ปน ผคู มุ งาน ปญ ญาเปน ผตู รองไป ความรู รไู ปตามอาการนน้ั ๆ ปญ ญาตรองไปใหซึ้ง ๆ สตริ บั ทราบไปทกุ ระยะ นี่คืองานของเราแท สว นงานเรๆ รอนๆ งานคิดปรุงโดยไมมีสตินั้นเราเคยทาํ มาพอแลว และเคย เปนโทษ เกิดโทษ กระทบกระเทือนจิตใจเรามามากแลวเพราะความคิดปรุงนั้นๆ งานเชน นเ้ี ปน งาน เปน งานรอ้ื ถอนทกุ ขภ ยั ออกจากใจโดยตรง เปน งานจาํ เปน งานคอื การกาํ หนดดว ยความมีสติ ประกอบดว ยปญ ญา ไตรตรองใน “ขนั ธ” โดย สม่ําเสมอไมลดละ ความรเู ดินไปตามอาการนนั้ ๆ และถอื อาการนน้ั ๆ เปน เหมอื น “เสน บรรทดั ” ใหใ จเดนิ ไปตามนน้ั สติปญญาแนบไปตามไมลดละ เหมอื นกบั เขยี น ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๓
๔๗๔ หนังสือไปตามเสนบรรทัด ใหใจเดินไปตามนั้น สติปญญาแนบไปตามไมลดละ เหมอื น กับเขียนหนังสือไปตามเสนบรรทัด สติประคองไปดวย ดูไปดวย นเ่ี รยี กวา “เที่ยว กรรมฐานตามปาชาซึ่งมีอยูกับตัว” ความอยากรอู ยากเหน็ อยา งรวดเรว็ ตามใจนน้ั อยา เอาเขา มาเกย่ี วขอ งใหเ หนอื ความจริงที่กําลังพิจารณา รอู ยา งไรใหเ ขา ใจตามความรนู น้ั แลว กาํ หนดตามไปเรอ่ื ยๆ แยกดคู วามเปน อยขู องขนั ธต า งๆ วา เปน อยา งไร มหี นงั หมุ อยภู ายนอกบางๆ เทา นน้ั แลทห่ี ลอกลวงตาโลก ลวงตาทานลวงตาเรา ไมไดหนาเทาใบลานเลย นน่ั คอื ผวิ หนงั เราจะพิจารณาในแงหนึ่งแงใด กเ็ ปน การพจิ ารณาเพอ่ื ถอดถอนความหลงของ ตัว เวลาพจิ ารณาอยา งนท้ี าํ ใหเ พลนิ ดี เอา! ดขู น้ึ ไปขา งบน ดูลงไปขางลาง ดอู อกไปขา ง นอกขา งในกายเรานแ้ี ล เปน การทองเท่ยี วใหเพลินอยูในน้ี สตติ ามอยา ให “สกั แตว า ไป” ใหสติตามไปดวย ปญญาตรองไปตามความรูที่รูกับอาการนั้นๆ ไปดวย ขน้ึ ขา งบน ลงขางลางที่ไหนถูก “สัจธรรม” ทง้ั นน้ั งานนี้เรียกวา “งานรื้องานถอนพิษภัย” ที่ “อปุ าทาน” เขาไปแทรกสิง ไปยึดไป ถอื ทกุ ชน้ิ ทกุ อนั ภายในรา งกายนอ้ี อก จนไมมอี ะไรเหลืออยภู ายในใจอีกตอ ไป เพราะ ฉะนน้ั ทกุ ขจ งึ มอี ยทู กุ แหง ทกุ หน เพราะ “อปุ าทาน” เปน ตวั การสาํ คญั คาํ วา “ทุกข มอี ยู ทกุ แหง ทกุ หน” หมายถงึ ทกุ ขเ พราะความยึดถอื ทําใหไปเปนทุกขที่ใจ ไมใ ชเ ปน ทกุ ขท ่ี อน่ื เพยี งรา งกายเจ็บไขไดปวยแลวเปนทุกขนั้น พระพุทธเจา ก็เปนได พระสาวกก็ เปนได เพราะขนั ธน อ้ี ยใู นกฎของ “อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตตฺ า” อยแู ลว จะตองแสดงตามกฎ ของมัน แตส าํ หรบั จติ ผูพนจาก อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา และมีฐานะที่จะพนจาก อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา น้ี ใหพ จิ ารณาสง่ิ ทว่ี า น้ี อยา ใหก ระทบกระเทอื นตวั เองไดด ว ยความ เผอเรอใดๆ เพราะการวาดภาพของตัวเอง เพื่อพิจารณารูความจริงนั้นเปนสิ่งสําคัญ ที่ จะไมใหสิ่งเหลานี้มากระทบกระเทือนใจได คอื ไมใหทกุ ขเ กดิ ขนึ้ ภายใน เพราะความ เสกสรรวา “กายเปนเรา, เปนของเรา,” เปนตน พิจารณาลงไป ดูลงไป จนกวา จะเหน็ ชดั ดว ยปญ ญาจรงิ ๆ เอา! หนงั เปน อยา ง ไร หนังสัตวที่เขาใชทําเปนกระเปานั้นเปนอยางไร หนังรองเทาเปนอยางไร ดกู นั ให หมด ตลอดเนื้อ เอ็น กระดูก เอา!ดเู นอื้ สัตว ดเู นอ้ื บคุ คล มนั กเ็ หมอื นกนั ดูเขาไป กระดกู เปน อยา งไร กระดูกสัตว กระดูกคน ตางกันที่ตรงไหน ดูเขาไปใหเต็มความจริง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๔
๔๗๕ ทีม่ อี ยกู บั ตัว ดูเขาไป ดภู ายในรา งกายนแ้ี หละ เพราะอนั นเ้ี ปน สง่ิ ทท่ี า ทายอยแู ลว ตาม ความจริงของเขา ทําไมใจเราจึงไมรู ไมอ าจหาญ เพียงเห็นตามความจริงนั้นแลว กเ็ ริ่มทาทายของ ปลอมไดดวยความจริงที่ตนรูตนเห็น ความจรงิ ทร่ี เู หน็ ดว ยปญ ญานม้ี อี าํ นาจมาก สามารถลบลา งความเหน็ อันจอมปลอมไดโดยลําดับ จนความปลอมหมดสน้ิ ไป ความจริงที่เกิดขึ้นกับใจยอมเกิดไดดวยสติปญญา คาํ วา “ความจริง” นน้ั ถกู ทง้ั สองเงื่อน เง่อื นหน่ึงความจริงทั้งหลาย ไมว า ฝายรปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ ก็ เปนความจริง เปน ของมอี ยู ทาทายอยูดวยความมีอยูของตน และปญ ญากห็ ยง่ั ทราบตามความจรงิ ของเขา จนปรากฏเปน ความจรงิ ขน้ึ มาภายในใจ นค่ี อื วธิ กี าร ถอดถอนกเิ ลสเปน อยา งน้ี นแ่ี หละความจรงิ กบั ความจรงิ เขา ถงึ กนั แลว ไมเ ปน ภยั นอกจากถอดถอนพษิ ภัยทงั้ หลายไดโดยสน้ิ เชงิ เทานนั้ ตอนที่พิจารณาเดินกรรมฐาน เทย่ี วกรรมฐานตามทีว่ า นี้ เทย่ี วไปตามอวยั วะ นอยใหญ ตรวจไปตรองไป ออกจากกรรมฐานตอนนน้ั แลว กเ็ ท่ียวกรรมฐานใหถึงทีส่ ดุ วา รา งกายนจ้ี ะสลายแปรสภาพไปอยา งไรบา ง กําหนดลงไป มันจะเปอยจะผุจะพงั อยาง ไร ? ใหก าํ หนดลงไป ๆ จนสลายจากกนั ไปหมดไมม เี หลอื อยเู ลย เพราะรางกายนี้จะ ตอ งเปน เชน นน้ั แนน อน แตก ารกาํ หนดนน้ั ตางๆ กนั ตามความถนดั ใจ สมมตุ วิ า จะกาํ หนดอาการนน้ั ให เหน็ ชดั ภายในจติ เราจะจบั อาการใด เชน หนัง เปนตน ใหจ บั อาการนน้ั ไวใ หแ น ให ภาพนน้ั ปรากฏอยภู ายในจติ สติจับหรือจดจองอยูที่ตรงนั้น ภาพนน้ั จะปรากฏสงู ตาํ่ ไปไหนกต็ าม เราอยาไปคาดไปหมาย ความสูง ความต่ํา สถานทท่ี เ่ี ราจะพจิ ารณานน้ั ใหถ อื เอาเปา หมายของการทาํ งาน ใหค วามรตู ดิ แนบกนั อยู นน้ั ดว ยสตเิ ปน ผคู วบคมุ อยาเผลอตัวคิดไปที่อื่น อาการนจ้ี ะขยายตวั มากนอ ยกใ็ หเ หน็ ประจกั ษใ จในปจ จบุ นั คือขณะที่ทํา จะสงู จะตาํ่ กใ็ หร อู ยอู ยา งนน้ั อยา ไปคาดวา นส้ี งู เกนิ ไป นี่ต่ําเกินไป นน่ี อกจากกายไปแลว ทีแรกเรานึกวาเราพิจารณาอยูภายในกาย อาการนอ้ี ยใู นกาย ทําไมจงึ กลายเปน นอกกายไป เราอยา ไปคดิ อยา งนน้ั แมจะสูงจะต่ํา จะออกนอกออกในกต็ าม ถาเราไม ปลอยความรใู นเปาหมายท่เี รากาํ ลังพิจารณานัน้ นน่ั แหละจะเหน็ ความแปลกประหลาด และจะเหน็ ความอศั จรรยข น้ึ มาจากอาการนน้ั แหละ เชนเรากําหนดเนื้อ จะเปนเนื้อ อวยั วะสว นใดกต็ าม กาํ หนดลงตรงนน้ั ใหเ หน็ ชดั อยภู ายในนน้ั แลว จะคอ ยกระจายไป กระจายไปเอง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๕
๔๗๖ เม่ือสติตง้ั มนั่ อยูด วยดี คอื รสู กึ ตวั จาํ เพาะหนา จติ กร็ วู า ทาํ งาน ปญ ญากต็ รอง ตามนั้น สกั ประเดย๋ี วอาการนน้ั กจ็ ะคอ ยกระจายลงไป คอื หมายความวา มันเปอยลงไป ๆ อนั นน้ั กพ็ งั อนั นก้ี พ็ งั ดูใหมันชัดเจนลงไป เราไมต อ งกลวั ตาย จะกลัวอะไรเราดูความจริงนี่ ไมใชดูวา เราจะตายนน่ี า! เอา! สลายลงไป ๆ นเ่ี ราเคยพจิ ารณาอยา งนน้ั อนั นน้ั ขาดลงไปอนั น้ี ขาดลงไป มันเพลินขณะที่พิจารณา พิจารณารางกายตัวเรานี้เองแหละ แตใ นขณะท่ี พิจารณาดวยความเพลินนั้น รา งกายปรากฏวา หายไปหมดไมร สู กึ ตวั เลย ทั้งๆ ที่เรา กาํ หนดพจิ ารณากายอยูนั้นแล เอา ! รางกายพังลงไป ๆ หัวขาดลงไป แขนขาดลงไป ตกลงไปตอหนาตอตา แขนทอ นนน้ั กระดกู ทอ นนน้ั ขาดลงไป กระดูกทอนนี้ขาดลงไป ภายในกายนท้ี ะลกั ออก ไป เอา ! ดูไปเรื่อยๆ เพลิน ดูเรื่อยๆ แตกลงไป ๆ สว นนาํ้ กซ็ มึ ลงไปในดนิ และเปน ไอไปในอากาศ ฉะนน้ั เวลาปรากฏนาํ้ ซมึ ซาบลง ไปในดนิ และออกเปน อากาศไปหมดแลว สว นตา งๆ กแ็ หง อวยั วะสว นนแ้ี หง แหง แลว กรอบเขา ๆ แหงเขาไปจนกลายเปนดินไป ดนิ กบั กระดกู ของอวยั วะเลยกลมกลนื เปน อนั เดยี วกนั ไป ! นี่เห็นชัด สว นทแ่ี ขง็ คอื กระดกู กาํ หนดเหน็ เปน ลาํ ดบั และกาํ หนดเปน ไฟเผาบา ง กาํ หนดใหค อ ยผพุ งั ลงไปบา ง กระจายลงไปตามลาํ ดบั บา ง จนกลนื เขา เปน อนั เดยี วกบั ดินอยางเห็นไดชัด ทช่ี ดั ทส่ี ดุ เกย่ี วกบั การพจิ ารณาน้ี คอื ธาตดุ นิ กบั ธาตนุ าํ้ สง่ิ ทต่ี ดิ ใจซง่ึ ภายในใจก็ คอื ธาตดุ นิ สว นนาํ้ นน้ั กป็ รากฏเปน อยา งนน้ั ลม ไฟ ไมคอยจะมีปญหาอะไรนัก ไมเปน ขอ หนกั แนน สาํ หรบั การพจิ ารณา และไมเปนสิ่งที่จะซึ้งภายในใจเหมือนอยางเรา พจิ ารณารา งกายซง่ึ เปน อวยั วะหยาบ พออันนก้ี ระจายลงไป กลายเปน “ดิน” หมด จติ กเ็ วง้ิ วา งละซิ ! ขณะนนั้ เว้ิงวาง ไปหมด! อยา งนก้ี ม็ ี แตเ วลาพจิ ารณากรณุ าอยา ไดค าดไดห มาย ใหเ อาความจรงิ ในตน เปนสมบัติ ของตน เปนสักขีพยานของตน อยา เอาความคาดคะเนมาเปน สกั ขพี ยาน มาเปนขอ ดําเนิน จะไมใชสมบัติของเรา นนั่ เปน สมบตั ขิ องทาน สมบัติของเราคือเรารูเอง เราเปน อยา งไรใหเปน ข้ึนภายในตัวเราเอง นั้นแลคือความรูของเรา ความเห็นของเราแล เปน สมบัติของเราแท! ควรกาํ หนดอยา งน้ี ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๖
๔๗๗ บางครั้งไมเปนอยางนั้นเสมอไป หากเปนไปของมันเองโดยหลักธรรมชาติ พอ การสลายลงไปเปนดนิ เชน นั้นแลว บางทีกระดูกมันคอยผุพังลงไป ๆ ยังไมหมด แตอ นั หนง่ึ มนั ปรากฏขน้ึ ภายในจติ ใจวา “ที่มันยังไมหมด สวนที่เหลอื จะตองเปน ดินเชน เดียว กนั อกี ” มนั มคี วามปรงุ ขน้ึ ในจติ ทั้งๆ ทใ่ี นขณะนน้ั ไมม กี ายเลยในความรสู กึ แตจิต หากปรงุ ขน้ึ อยา งนน้ั สกั ประเดย๋ี วไมท ราบวา แผน ดนิ มาจากไหน มาทบั กระดกู ทย่ี งั เหลอื อยู พรึบ เดียว คอื มาทบั สวนที่ยงั ผพุ ังไมหมดใหก ลายเปน ดนิ ไปหมดดวยกนั พอกระดกู สว นท่ี เหลือกลายเปน ดนิ ไปหมดแลว จิตไมทราบวาเปนอยางไร มนั พลกิ ตวั ของมนั อกี แงห นง่ึ ขณะทจ่ี ติ พลกิ กลบั อกี ทเี ลยหมด! แผน ดินก็ไมม ี ทั้งๆ ทแ่ี ผน ดนิ มนั ไหลมาทบั กนั อยางรวดเร็ว พลิกมาทับกองกระดูกของเราที่ยังละลายไมหมดลงเปนดิน ทีนี้ก็รูขึ้นมาพับ! อกี วา “ออ่ื ! ทกุ สง่ิ ทุกอยา งมันก็เปน ดินหมด ในรา งกายอนั นท้ี ่ี มันลงไปก็เปนดินหมด!” หลงั จากนน้ั ครหู นง่ึ จติ กพ็ ลกิ ตวั อกี ที และพลิกอยางไรไม ทราบความสมมุติได ดินเลยหายไปหมด อะไรๆ หายไปหมด เหลอื แตค วามรลู ว นๆ โลงไปหมดเลย เกดิ ความอศั จรรยข น้ึ มาอยา งพดู ไมถ กู ซง่ึ การพจิ ารณาเชน นเ้ี ราไม เคยเปน! มันเปนขึ้นมาใหรูใหเห็นอยางชัดเจน จติ เลยอยนู น้ั เสยี คอื อยอู นั เดยี วเทา นน้ั จะมีขณะใดขณะหนึ่งของจิตวาเปนสองไมมีเลย! เพราะมนั ตายตวั ดว ยความเปน หนึ่งแทๆ พอขยบั จิตข้นึ มากแ็ สดงวา เปน สองกบั ความปรงุ แตนี่ไมมีความปรุงอะไรทั้ง สน้ิ เหลือแตค วามรูท ีส่ ักแตว ารู และเปนของอศั จรรยอ ยูในความรูน น้ั ขณะนั้นมันเวิ้ง วา งไปหมดเลยโลกธาตนุ ้ี ตน ไม ภูเขา อะไรไมม ีในความรสู ึกตอนนน้ั จะวา เปน อากาศ ไปหมด แตผ นู น้ั กไ็ มส าํ คญั วา เปน อากาศอกี เหมอื นกนั มอี ยเู ฉพาะความรนู น้ั เทา นน้ั ! แตจติ สงบตัวอยูเ ปนเวลาชั่วโมงๆ! พอจติ ถอนออกมาแลว แมจ ะกาํ หนดอะไรก็ เวง้ิ วา งไปอกี เหมอื นกนั นอ่ี าจเปน ไดค นละครง้ั เทา นน้ั นี้ก็เคยเปนมาเพียงครั้งเดียวไม เคยซาํ้ อกี เลย! สวนการพิจารณาลงไปโดยเฉพาะๆ มันเปนไดตามความชํานาญของจิต จนกระทั่งเปนไปทุกครั้งที่เราพิจารณา การพิจารณาความแปรสภาพเปนดิน เปน นาํ้ เปนลม เปนไฟ ยังชัดเจนอยูทุก เวลาที่เราพิจารณา ความทเ่ี ปน เชน นแ้ี ลเปน ความสามารถ ทจ่ี ะทาํ จติ เราใหม กี าํ ลงั และ ความเคยชินกับความจริงคือ ดนิ นาํ้ ลม ไฟ แท สามารถถอดถอนความเปน “เรา” เปน “ของเรา” ออกไดโดยลาํ ดบั เพราะตามความจริงแลว รา งกายนถ้ี า วา ธาตมุ นั กธ็ าตุ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๗
๔๗๘ ถา วา “ธาตดุ นิ ” มันก็ธาตุดนิ เราดีๆ นเ่ี อง ไมใชเราไมใชของเราตามคําเสกสรรมั่นหมาย ตางๆ การพจิ ารณาซาํ้ ๆ ซากๆ รูไมหยุดยั้ง รูเรื่อยๆ เพราะการพิจารณาอยูเรื่อยๆ ยอมจะเพิ่มความซาบซึ้งโดยลําดับจนเขาใจชัด แลว ถอดตวั ออกจากคาํ ทว่ี า “กายเปน เราเปน ของเรา” กเ็ ลยกายสกั แตว า กาย ถา ใหช อ่ื วา กายกส็ กั แตว า กาย ถา จะใหช ือ่ วา กายสกั แตว า ปรากฏสภาพเทา นน้ั กพ็ ดู ได เมื่อจิตรูอยางพอตัวแลวไมมีอะไรเปนปญหา ใจจะวาเขาเปนอะไรเขาไมมีปญหา เพราะเปนปญหาอยูกับใจดวงเดียว ฉะนน้ั จาํ ตอ งแกป ญ หาเราเองออกจากความลมุ หลง ความสาํ คญั มน่ั หมาย ตางๆ ใหเ ขา สคู วามจรงิ แหง ธรรม คอื รูลวนๆ นน้ั กธ็ าตลุ ว นๆ แมจะสมมุติวา “กาย” กค็ อื ธาตลุ ว นๆ ยอ นเขา มาในจติ กจ็ ติ ลว นๆ ทั้งสอง “ลว นๆ”น้ตี า งก็เปน ความจรงิ ลว นๆ เมื่อทราบความจริงชัดอยางนี้แลว เอา! เวทนาจะเกิดขึ้นก็เกิด เพราะเวทนาก็ เปน ธาตอุ นั หนง่ึ หรอื เปน สภาวธรรมอนั หนง่ึ เชน เดยี วกบั รา งกาย มนั วง่ิ ถงึ กนั อยา งนน้ั “สัญญา” ความหมาย พอปรงุ แผลบ็ เรากท็ ราบเสยี วา มันออกไปจากจิตนี้ไปปรุง อยา งนน้ั ไปสาํ คญั อยา งน้ี เมอ่ื ทราบแลว จิตกถ็ อนตวั สญั ญากด็ บั ไปทนั ที ถาเราไมทราบ มนั กต็ อ อนั นด้ี บั อนั นน้ั ตอ สบื ตอ กนั ไปเรอ่ื ยๆ เหมอื น “ลกู โซ” พอทราบมนั กด็ บั ของ มัน ดับในขณะที่สติรูทัน และไมปรุงเปนเรื่องเปนราวอะไรขึ้นมาได นี่เรียกวา “สติทัน” ถา ไมท นั เรอ่ื งกต็ อ เรอ่ื ยๆ การพจิ ารณาความจรงิ ในรา งกายจงึ เปน เรอ่ื งใหญท ส่ี ดุ พระพุทธเจาจงึ ทรงสอน “สติปฏฐานส่”ี ซึ่งมีอยูในรางกายจิตใจนี้ทั้งนั้น สจั ธรรมกม็ อี ยทู น่ี ่ี ทา นจงึ สอนลงทน่ี ่ี สรุปแลวลงที่จิต การที่วาพิจารณาไปทั้งหมดนั้น พิจารณาเพื่ออะไร? ก็พิจารณาเพื่อใหจิตรูตามความเปนจริง แลว จะไดป ลอ ยวางความ งมงายในการยดึ ถอื เขามาสูความเปนตน เอา! เมอ่ื หมดความงมงายในธาตสุ ่ี ดนิ นาํ้ ลม ไฟ นแ่ี ลว เลยหมดความงมงาย ในเวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ อนั เกย่ี วกบั ขนั ธห า น้ี แลว กเ็ ขา มาพจิ ารณาความงม งายของจิตอีก แนะ ! มันยังมีเรื่องของมันอีก! ความงมงายตามขน้ั ของกเิ ลสทล่ี ะเอยี ดน้ี เรียกวา “เปนความละเอียดของกิเลส” เปนความงมงายอันละเอียดของจิต ยอนเขามาพิจารณาเขามาอีก จะเอาอะไรเปนหลัก เกณฑที่นี่ ? ก็เราพิจารณาจิต จิตเปน นามธรรม เวทนาก็เปนนามธรรม กเิ ลสก็เปน นามธรรม ปญ ญากเ็ ปน นามธรรม ไมวาแตเพียงจิตจะเปนนามธรรม สง่ิ ทเ่ี ปน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๘
๔๗๙ “นามธรรม” กบั สง่ิ ทเ่ี ปน “นามธรรม” มนั อยดู ว ยกนั ได ติดกนั ได กเิ ลสกบั จิตตา งก็ เปนนามธรรมดวยกันจึงติดกันได เอา! ปญญาคนลงไปเพราะเปนนามธรรมดวยกัน จะพิจารณาเชนเดียวกับเรา พิจารณารูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ แยกแยะใหเห็นตามความจริงของมัน แลว จบั จติ นข้ี น้ึ มาเปน ตวั ผตู อ งหา เปน ตวั นกั โทษทีเดียว ฟาดฟน หน่ั แหลกลงในตวั ผตู อ ง หาหรอื นกั โทษน้ี นแ่ี หละคอื ผตู อ งหาหรอื นกั โทษ มันเปน “โทษ” เขา มารวมไวในตวั นห้ี มด ถอื วา ตวั เกง ตวั รตู วั ฉลาด สง่ิ นน้ั สง่ิ นร้ี ไู ปหมดแลว ในโลกธาตนุ ้ี รูป เสียง กลน่ิ รส เครื่อง สัมผัส รูหมด! รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณภายในรา งกาย ทเ่ี ปน ขนั ธห า นก้ี ร็ ู หมด! แตไ มย อมรูตวั เอง! นน่ั นะซ!ี มาติดตรงนี้ มาโงตรงนี!้ พรอ มทง้ั ยอ นปญ ญาเขา ภายในจิตนี้อีก ฝาฟนตรงนี้ออกใหทะลุไป แทงเขาไปตรงนี้ เขาไปหาความรูนี้ ความรู ที่วาเกงๆ นน่ั แหละคือ “ตัวงมงายของจิต” แท! เมอ่ื พจิ ารณาคลค่ี ลายโดยละเอยี ดถถ่ี ว นแลว สภาพทแ่ี ทรกอยกู บั จติ กเ็ ปน สภาวธรรมอนั หนง่ึ เทา นน้ั จิตจะคงตัวอยูไมฉบิ หายเพราะการพิจารณาหาความจริง ก็ ใหฉ บิ หายไป ไมต อ งอาลยั เสยี ดาย ถา จติ มน่ั คงตอ ความจรงิ แลว ! จติ คงอยไู มฉ บิ หาย! ถาจิตทรงความจริงไวตามธรรมชาติของตัวเองซึ่งเปนความจริงจริงๆ แลว ก็จิตนี้แลจะ พนโทษ ถงึ ความบรสิ ทุ ธ์ิ จิตจะสูญหรือไมสูญก็ใหรูกัน! คนลงไปไมตองเสียดายอะไรทั้งสิ้น จิตก็ไมตองเสียดาย ไมตองกลัววาจิตจะ ตอ งถกู ทาํ ลายจะสลาย จิตจะฉิบหายไป จิตจะสูญสิ้นไปไหน! เมอ่ื ถกู ปญ ญาทาํ ลายสิง่ แทรกซึมหมดแลว กิเลสทุกประเภทสูญสิ้นไปเอง เพราะเปนสิ่งจอมปลอมอยูภายในจิต เมื่อกําหนดพิจารณาลงไปจริงๆ แลว ไอส ง่ิ ทค่ี วร สูญสิ้นไปยังไงก็ทนอยูไมได มนั ตองสูญ สวนธรรมชาติที่สูญไมได ทาํ ยงั ไงกต็ อ งอยู คง ตัวอยู คอื จติ นจ้ี ะสญู ไปไหน! นน่ั แหละผทู ถ่ี กู กเิ ลสนค้ี รอบงาํ อยกู ค็ อื จติ ปญญาฟาดฟน กิเลสแหลกละเอียดลงไปจากจิตแลว จติ นก่ี เ็ ลยกลายเปน ความบรสิ ทุ ธข์ิ น้ึ มา ผนู แ้ี ล คือผบู ริสทุ ธ์แิ ท จะเอาอะไรไปสูญ! สญู แลว จะบรสิ ทุ ธไ์ิ ดอ ยา งไร ? อนั นน้ั ตาย อนั นฉ้ี บิ หาย แตอ นั นเ้ี ปน “อมตํ แท” อมตํ ดว ยความบรสิ ทุ ธ์ิ ไมใ ช อมตํ ทก่ี ลง้ิ ไปมาตาม “วัฏ วน” ทง้ั หลายทเ่ี คยเหน็ มา อนั นน้ั กไ็ มต าย แตม นั กลง้ิ ไปอยอู ยา งนน้ั ตามกฎ “วฏั จกั ร” แต “อมต”ํ นี้ไมตายดวยไมกล้งิ ดวย นน้ั เปน “ววิ ฏั ฏะ” คือไมตายและไมหมุน น่ี ตัวจริงอยูภายในทามกลางขันธของเรา อนั นแ้ี หละตวั สาํ คญั ! ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๗๙
๔๘๐ เจาตวั ยแุ หยก อกวนมันเขาไปกลมุ รมุ จิตน่ีใหห ลงไปตามโลก ตามธาตตุ ามขนั ธ ตามทุกขเวทนา ความเจ็บไขไดปวยตางๆ วนุ วายไปหมด ความจรงิ เขาไมไ ดว า อะไรน่ี รา งกายมอี ะไรกม็ อี ยอู ยา งนน้ั เวทนาเกิดขึ้นก็เกิดตามเรื่องของมัน มันไมทราบวาตน เปนเวทนา ไมทราบวา ตนเปน ทุกข เปนสขุ เปนเฉยๆ อะไรเลย กจ็ ติ นเ้ี ปน ผไู ปใหค วาม หมาย แลวก็ไปหลงความหมายของตัวเองโดยไมเกิดประโยชนอะไร นอกจากเกดิ โทษ แกต วั ถา ยเดยี วเทา นน้ั เพราะฉะนั้นจึงตองพิจารณาดวยปญญา ใหเห็นตามความเปนจริงของมัน แลว อะไรจะฉบิ หาย เราจะขาดทุนเพราะอะไร รา งกายแตกกแ็ ตกไปซี ก็ อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺ ตา ทา นบอกไวแ ลว วา ธรรมเหลา นค้ี รอบโลกธาตุ จะไมค รอบขนั ธอ ยา งไร ไตรลักษณ เคยครอบโลกธาตอุ ยแู ลว ทาํ ไมจะไมค รอบขนั ธเ ราได นี่เมื่อมันเปนไปตามกฎ อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา เราจะไปขัดขวางไดอยางไร เอา! ปลอ ยมนั ไป อะไรไมทน เออ! แตกไป มนั มแี ตส ง่ิ ทแ่ี ตกทส่ี ลายทง้ั นน้ั อยู ในโลกธาตนุ ้ี เปน แตเ พยี งวา ชา หรอื เรว็ ตา งกนั มีเทานั้น แลวขันธของเราจะทนไปได อยางไรตั้งกัปตั้งกัลป เพราะอยใู นกรอบอนั เดยี วกนั เอา! พจิ ารณาใหเ หน็ ตามความ จริงไวกอนที่ยังไมแตกซึ่งเปนความรอบคอบของปญญา ใหเ หน็ ชดั เมอ่ื ถงึ เวลา ทุกขเวทนาเกิดขึ้น เอา! ขน้ึ เวทกี นั วนั น้ี วา งน้ั เลย! วนั นเ้ี ราจะขน้ึ เวทเี พอ่ื เหน็ ความจรงิ รูความจริงตามหลักธรรม ไมใชขึ้นเวทีเพื่อ ลม จม ทุกขเวทนาเกดิ ขน้ึ เปนเรือ่ งของทกุ ขเวทนา การพิจารณาเรื่องของทุกขเวทนาซึ่ง มอี ยใู นขนั ธน ้ี เปนเรื่องของสติปญญา เราตองการทราบความจริงจากการพิจารณา มัน จะลม จมไปไหน เพราะเราไมไดทําเพื่อความลมจม เราไมไ ดท าํ เพอ่ื ความฉบิ หายใสต วั เรา เราทําเพื่อชัยชนะ เพื่อความรูตามสัดสวนของความจริง ทม่ี อี ยทู เ่ี ปน อยใู หร อบภาย ในใจตา งหาก แลวรอดพน ไปไดจากส่งิ น้ี นน่ั เปน มงคลอนั สงู สดุ ! ทท่ี า นวา “เปนมงคลอันสูงสุด” “นพิ พฺ านสจฉฺ กิ ริ ยิ า จ เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ น่ี แหละ การทาํ พระนพิ พานใหแ จงทําอยา งนแ้ี หละ พระนิพพานถูกปดบัง กค็ อื จติ นน้ั แหละถกู ปด บงั ดว ยกเิ ลสตณั หาอวิชชา มันปดบังใหมืดมิดปดตา จงึ แกไ ขกนั ดว ยวธิ นี ้ี คอื พจิ ารณาแยกแยะใหเ หน็ ตามความจรงิ เปนการเปดสิ่งที่ปดบังทั้งหลายออก ที่เรียก วา “ทําพระนิพพานใหแจง” ใหแ จง ชดั ภายในใจ เมอ่ื แจง ชดั หมดแลว ก็ “เอตมฺมงฺคล มุตฺตม”ํ เปนมงคลอันสูงสุด! อะไรจะสูงยิ่งกวา “นพิ พฺ านสจฉฺ กิ ริ ยิ า จ” อนั นเ้ี ปน สงู สดุ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๘๐
๔๘๑ นอกจากนน้ั ก็ “ผฏุ ฐ สสฺ โลกธมเฺ มหิ จิตฺตํ ยสสฺ น กมปฺ ติ อโสกํ วิรชํ เขมํ เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ จติ นอ้ี ะไรมาสมั ผสั กต็ าม ไมมีความหวั่นไหวพรั่นพรึง สง่ิ ทงั้ หลาย เขามาแตะตองสัมผัสไมได ที่เขาไมไดเพราะมันหมดสิทธิ์ “เขม”ํ ทานวาเปน จติ ดวงเกษม “เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ มงคลสองขอ ทก่ี ลา วมาน้ี อยูทีใ่ จนีน่ ะไมไดอยทู ี่ไหน ใจนแ่ี หละเปน ตวั มงคลและเปน อปั มงคล กอ็ ยใู นฉากเดยี ว กนั เวลานเ้ี ราแกอ ปั มงคล เพราะมันมีติดใจเราอยู ใหเปน “มงคล” ขึ้นมา “นิพฺ พานสจฉฺ กิ ริ ยิ า จ” เอา! แกเปดเผยลงไป “ตโป จ พฺรหฺมจริยฺจ อริยสจจฺ าน ทสสฺ นํ” น่ี ตโป คอื ความแผดเผากเิ ลส กิเลสเปนของรอน จงึ เผากเิ ลสดว ย “ตปธรรม” คอื สติ ปญญา ซง่ึ เปนของรอ นสาํ หรบั กิเลส และแผดเผากเิ ลสลงไป “อรยิ สจจฺ าน ทสฺสน”ํ คอื รเู หน็ อรยิ สจั ทกุ ขก ็รูเต็มจิต สมทุ ยั ก็ละไดเต็มใจ มรรคกบ็ ําเพ็ญไดเต็มภูมิของมหาสติ มหาปญญา แนะ ! จะวา อยา งไรอกี นิโรธกแ็ สดง ความดบั ทกุ ขเ ตม็ ภมู ิ คาํ วา “เห็นสัจธรรม” ทา นเหน็ อยา งนน้ั ผูเห็นผูรู “สัจธรรม” โดยสมบรู ณน น้ั แล คอื ผูท าํ พระนพิ พานใหแ จง และผไู มหว่ันไหวในโลกธรรมท้ังหลายคอื จิตนี้แล อยทู น่ี !่ี นพ่ี วกเรานา จะเอาสาระสาํ คญั นใ้ี หไ ด! จติ เปนตวั สาํ คัญ สว นรา งกายอะไรๆ ในขนั ธห า กอ็ ยา งวา ! อยางที่เราเห็นเราพิจารณาแลวแล! ขอใหไดตัวนี้ซึ่งเปนตัวสําคัญ! เอา! อะไรจะขาดก็ขาดไปเถอะ โลกนม้ี นั เปน อยา งนอ้ี ยแู ลว มนั เปน มาแตไ หน แตไร เราก็เคยเปนมาแลว กก่ี ปั กก่ี ลั ปเ กดิ ตาย ๆ นแ่ี หละ คราวนก้ี เ็ ดนิ ตามทางหลวงท่ี เคยเดินนั่นแล “ทางหลวง” คือคติธรรมดาใครหามไมได ตองเดินไปตามนี้ เรากร็ ูความจริงของ คตธิ รรมดาอยบู า งแลว นจ่ี ะวา อยา งไรตอ ไปอกี ความรใู นการแสดงกม็ เี ทา น้ี กรณุ านาํ ไป พิจารณาอยาไดประมาทนอนใจ คาํ วา “นพิ พฺ านสจฉฺ กิ ริ ยิ า จ เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ มํ การทําพระนิพพานใหแจงเปน มงคลอันสูงสูด” ยอมจะเปนสมบัติของทานพุทธบริษัทผูพยายามไมลดละ ในวนั หนง่ึ แนน อน จึงขอยุติการแสดงเพียงเทานี้ ฯ <<สารบัญ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๔๘๑
๕๐๒ เทศนโ ปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๑๙ คนื อาํ ลา การที่อยากใหคนดีไมมีใครที่จะเกินพระพุทธเจาไปได พระโอวาททป่ี ระทานไว แกโลกก็เพื่อใหโลกเปนคนดีกันทั้งนั้น เปน คนดมี คี วามสขุ ไมตองการใหโลกเกิดความ เดอื ดรอนเสยี หายอนั เกิดจากความชว่ั ของการกระทํา เพราะความไมร เู รอ่ื งวธิ ปี ฏบิ ตั ติ วั เองนน้ั เลย เพราะฉะนน้ั การทจ่ี ะสรา งพระบารมใี หถ งึ ความเปน พระพทุ ธเจา ผูมีพระเมตตา อันเปยมตอสัตวโลกนั้น จงึ เปน การลาํ บาก ผดิ กบั บารมที ง้ั หลายอยมู าก ความสามารถ กับพระเมตตามีกําลังไปพรอมๆ กัน ถาตางคนตางไดยินไดฟงพระโอวาทของพระพุทธ เจา ในทเ่ี ฉพาะพระพกั ตรก ต็ าม ไดฟ ง ตามตาํ รบั ตาํ รากต็ าม มคี วามเชือ่ ตามหลกั ความ จรงิ ทป่ี ระทานไวน น้ั ตา งคนตา งพยายามปรบั ปรงุ แกไขตนเองใหเ ปนคนดี นบั เปน จาํ นวนวา คนนก้ี เ็ ปน คนดี คือคนท่ีหนงึ่ ก็เปน คนดี คนที่สองก็เปนคนดี ในครอบครวั มีก่ี คน ไดร บั การอบรมสั่งสอนเพ่ือความเปน คนดดี วยกนั ครอบครวั นน้ั กเ็ ปน คนดี ในบา น นั้นก็เปนคนดี เมืองนี้ก็เปนคนดี เมืองนั้นก็เปนคนดี ประเทศนป้ี ระเทศนน้ั กเ็ ปน คนดี ดวยกันแลว เรื่องความสงบสุขของบานเมืองเราไมตองถามถึงก็ได ตองไดจากความดี ของผูทําดีทั้งหลายแนนอน ความทุกขรอนตางๆ ทเ่ี กิดข้ึนมานัน้ เกดิ ขน้ึ เพราะความไมด ตี างหาก คนไมดีมี จาํ นวนมากนอ ยเพยี งใด กเ็ หมอื นมเี สย้ี นหนามจาํ นวนมากนอ ยเพยี งนน้ั ยิ่งมีมากเทา ไรโลกนี้ก็เปน “โลกนั ตนรก” ได ซึ่งมืดทั้งกลางวันกลางคืน มีความรุมรอนอยูตลอด เวลาโดยไมตองไปถามหานรกขุมไหนลูกไหน เพราะสรา งอยทู หี่ ัวใจของคน แลว ก็ ระบาดสาดกระจายออกไปทุกแหงทุกหน เลยกลายเปน ไฟไปดว ยกนั เสยี สน้ิ นเ้ี พราะ ความผิดทั้งนั้นไมใชเพราะความถูกตองดีงาม ถาหากเปนไปตามหลกั ธรรมของพระพุทธเจา แลว เรอ่ื งเหลา นจ้ี ะไมม ผี ู พิพากษาศาลอุทธรณ ศาลฎีกาอะไรยอมไมมี เพราะไมม เี รอ่ื งจะให ตางคนตางมเี จตนา มุงหวังตอความเปนคนดี พยายามฟงเหตุฟงผลเพื่อความเปนคนดีดวยกัน การพูดกัน กร็ เู รอ่ื ง ไมว า เดก็ ผูใหญ หญงิ ชาย นกั บวช ฆราวาส พูดกันรูเรื่องทั้งนั้น ความพูดกันรูเ รอ่ื งกค็ อื รเู รอ่ื งเหตผุ ลดชี ว่ั ภายในใจอยา งซาบซง้ึ ทั้งมีความมุง หวงั อยากรเู หตผุ ล ความสตั ยค วามจรงิ ความดีงามอยูแลว ฟงกันยอมเขาใจไดงายและ ปฏิบัติกันไดอยางสม่ําเสมอ ไมมีที่แจง ที่ลบั เทา นั้น ที่โลกไมไดเปนไปตามใจหวัง! ไป ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๒
๕๐๓ อยูในสถานทใี่ ด บนแตความทุกขความรอน ระสาํ่ ระสายวนุ วายไปหมดทง้ั แผน ดนิ ทั้งๆ ทต่ี า งคนตา งเรยี น ตา งคนตา งหาความรู ความรูนั้นก็ไมเกิดประโยชนอะไรนอก จากเอามาเผาตวั เทา นน้ั เพราะความรปู ระเภทนน้ั ๆ ไมม ธี รรมเขา เคลอื บแฝง ไมมี ธรรมเขา อดุ หนนุ ไมม ธี รรมเขา เปน “เบรก” เปน “คนั เรง ” เปนพวงมาลยั จงึ เปน ไป ตามยถากรรมไมมีขอบเขต เมอ่ื พจิ ารณาอยา งน้ี ยอมจะเห็นคุณคาแหงธรรมของพระพุทธเจาวามีมากมาย เพียงไร เพยี งแตเ ราพยายามทาํ ตวั ใหเ ปน คนดี แมไ มส ามารถแนะนาํ สง่ั สอนผใู ดให เปนคนดีไดก็ตาม ลําพังประพฤติปฏิบัติตัวใหเปนคนดี อยใู นสถานทใ่ี ด อริ ยิ าบถใด เรากเ็ ยน็ ความเย็นความผาสุกสบายเกิดข้ึนจากความถูกตองแหงการกระทําของตนเอง ความเยน็ จงึ ปรากฏขน้ึ กบั บคุ คลนน้ั คาํ วา “ความถูกตอง” “ความรม เยน็ ” นน้ั มเี ปน ขน้ั ๆ ขั้นทั่วๆ ไปก็มีไดทุกคนถา ตั้งใจประพฤติปฏิบัติใหมี ไมมองขามตนไปเสีย โลกนีก้ ็เปน โลกผาสกุ รม เย็น นา อยนู า อาศัย นา รน่ื เรงิ บนั เทงิ ยิง่ ไปกวานั้น ผจู ะปฏบิ ตั ใิ หไ ดค วามสขุ ความเจรญิ ภายในจติ ใจกวา ภาคทว่ั ๆ ไป ก็พยายามบําเพ็ญตนใหเขมงวดกวดขัน หรอื ขยบั ตวั เขา ไปตามลาํ ดบั แหง ความมงุ หวงั ความสุขอันละเอียดสุขุมก็จะปรากฏขึ้นมา เฉพาะอยา งยง่ิ ผสู นใจทางจติ ตภาวนา ถา ถอื วา เปน แนวรบ เปน การกา วเขา สู สงคราม กเ็ รยี กวา เปน แนวหนา ทเี ดยี ว จาํ พวกนจ้ี าํ พวกแนวหนา ถา มุงหวังขนาดนัน้ แลวเจา ตัวจะทําออ นแอไมได ทุกสิ่งทุกอยางตองมีความเขมงวดกวดขันตนเองอยูเสมอ สุดทายก็คอยกลายเปนผูมีสติอยูตลอดเวลาได ไมงั้นก็ไมจัดวาเปนผูเขมแข็งเพื่อชัย ชนะในสงคราม ความเขมแข็งตองขึ้นอยูกับความเพียรและสติปญญา สงั เกตความ เคลื่อนไหวไปมาของตนวาจะเปนไปในทางถูกหรือผิด ซง่ึ เปน สว นละเอยี ดไปโดยลาํ ดบั วา ตองอาศัยสติปญญาเปนเครื่องระงับ ระวังรักษาอยางเขมงวดกวดขันอยูตลอดเวลา กระแสของจิตหรือความคิดปรุงตางๆ กไ็ มไปเที่ยวกวา นเอาอารมณท ่เี ปน พษิ เปน ภยั เขา มาเผาลนตนใหไ ดร บั ความเดอื ดรอ น จติ เมอื่ ไดร ับความบาํ รงุ รกั ษาโดยถกู ทาง ยง่ิ จะมคี วามสงบผอ งใสและผาสกุ รม เยน็ ไปโดยลาํ ดบั ไมอ บั เฉาเมามวั ดงั ทเ่ี คย เปนมา ฉะนน้ั บรรดาลกู ศษิ ยท ง้ั หลายไดม าอบรมในสถานทน่ี ้ี กเ็ ปน เวลานานพอสมควร จึงกรุณานําเอาธรรมของพระพุทธเจานอมเขามาสถิตไวที่จิตใจของตนเถิด อยาไดคิดวา “เราจากครจู ากอาจารยไ ป เราจากวดั วาอาวาสไป” นน่ั เปน เพยี งกริ ยิ าเทา นน้ั สง่ิ สาํ คญั ควรคิดถึงขอธรรมที่พระพุทธเจาทรงสอนไววา “ผใู ดปฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแกธ รรม ผนู น้ั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๓
๕๐๔ ไดช อ่ื วา บชู าเราตถาคต“ไดแก ประพฤติปฏิบัติตัวเราดวยสติปญญา ศรัทธา ความเพยี ร อยูในสถานที่ใดอิริยาบถใดมีความเขมงวดกวดขัน มคี วามประพฤติปฏบิ ัตอิ ยภู ายในจิต ใจ อยดู ว ยความระมดั ระวงั ตวั เชน นช้ี อ่ื วา “เปน ผปู ฏบิ ตั สิ มควรแกธ รรมและบชู า ตถาคต” คือพระพุทธเจาอยูตลอดเวลา บทที่สอง “ผใู ดเหน็ ธรรมผนู น้ั เหน็ เราตถาคต” เหน็ ธรรมนเ้ี หน็ อยา งไร ? รู ธรรมนี้รูอยางไร? กด็ งั ทเ่ี ราปฏบิ ตั อิ ยนู แ้ี หละ ทางจติ ตภาวนาเปน สาํ คญั นี่คือการ ปฏบิ ตั ธิ รรม การเหน็ ธรรมกจ็ ะเห็นอะไร ถา ไมเ หน็ สง่ิ ทก่ี ดี ขวางอยภู ายในตนเองเวลาน้ี ซง่ึ เราถอื วา มนั เปน ขา ศกึ ตอ เรา ไดแก “สจั ธรรม สองบทเบื้องตน คือทุกขหนึ่ง สมทุ ยั หนง่ึ ” เราพจิ ารณาสง่ิ เหลา นใ้ี หเ ขา ใจตามความจรงิ ของมนั ทม่ี อี ยกู บั ทกุ คน ทกุ ตวั สตั ว ไมมีเวน เวนแตพ ระอรหันตเทานั้นท่ีสมทุ ัยไมเ ขาไปแทรกทา นได นอกนั้นตองมีไมมาก ก็นอย ทท่ี า นเรยี กวา “สจั ธรรม” พจิ ารณาใหเ หน็ ความจรงิ ของสง่ิ เหลา นแ้ี ลว กช็ อ่ื วา “เหน็ ธรรม” ละไดถอนได เกิดเปนผลความสงบสขุ เยน็ ใจขน้ึ มาจากการละการถอน การปลอ ยวางสง่ิ ทง้ั หลายเหลา นี้ได เรยี กวา “เหน็ ธรรม” คอื เหน็ เปน ขน้ั ๆ เหน็ เปน ระยะๆ จนกระทั่งเห็นองคตถาคต โดยสมบรู ณ ถา เราจะพดู เปน ขน้ั เปน ภมู กิ เ็ ชน (๑) ผปู ฏบิ ตั ไิ ดส าํ เรจ็ พระโสดาปตติมรรค โสดาปต ติผล ชอ่ื วา ไดเ หน็ พระ พทุ ธเจา ขน้ั หนง่ึ ดว ยใจทห่ี ยง่ั ลงสกู ระแสธรรม เรยี กวา เรม่ิ เหน็ พระพทุ ธเจา แลว ถาเปน ทงุ นากเ็ รม่ิ เหน็ ทา นอยทู างโนน เราอยทู างน้ี (๒) สกทิ าคา กเ็ ห็นพระพทุ ธเจา ใกลเ ขา ไป (๓) อนาคา ใกลเขาไปอีกโดยลําดับ (๔) ถงึ อรหัตผลแลว ชอ่ื วา เหน็ พระพทุ ธเจา โดยสมบรู ณ และธรรมทจ่ี ะให สาํ เรจ็ มรรคผลนน้ั ๆ ในทางภาคปฏิบัติก็อยูกับเราดวยกันทุกคน การที่เรายึดถือการประพฤติปฏิบัติอยูตลอดเวลาก็ชื่อวา “เราเดนิ ตามตถาคต และมองเหน็ พระตถาคตดว ยขอ ปฏบิ ตั ขิ องเราอกี แงห นง่ึ เห็นตถาคตโดยทางเหตุ คอื การปฏบิ ตั ิ เหน็ โดยทางผลคือสิ่งที่พึงไดรับโดยลําดับ เชน เดยี วกบั พระพทุ ธเจา ทรง รูทรงเห็นทรงไดรบั และทรงผา นไปโดยลาํ ดบั แลว นน้ั ” ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๔
๕๐๕ เพราะฉะน้ันพระพทุ ธเจา กด็ ี พระธรรมก็ดี พระสงฆก็ดี ไมไดห างเหนิ จากใจ ของผูปฏิบัติธรรม เพื่อบูชาพระตถาคต หรอื บชู าพระธรรม พระสงฆน เ้ี ลย นเ่ี ปน การ บชู าแท นเ่ี ปน การเขา เฝา พระพทุ ธเจา อยตู ลอดเวลาดว ยความพากเพยี รของเรา การจากไปเปน กริ ยิ าอาการอนั หนง่ึ เทา นน้ั อยทู น่ี ก่ี จ็ าก เชน นั่งอยูที่นี่ แลว ก็ จากไปที่นั่น นั่งที่นั่น ลุกจากที่นั่นก็จากมาที่นี่ มนั จากอยตู ลอดเวลานะเรอ่ื งความจากน่ี เราอยา ไปถอื วา จากนน้ั จากน้ี จากเมืองนั้นมาเมืองนี้ จากบา นนไ้ี ปบา นนน้ั จากสถานท่ี นี่ไปสูสถานที่นั่น กเ็ รยี กวา “จาก” คอื จากใกลจากไกล จากอยโู ดยลาํ ดบั ลาํ ดาแหง โลก อนิจจัง มันเปนของไมเที่ยงอยูเชนนี้ มคี วามเปลย่ี นแปลงแปรปรวนอยเู สมอ สง่ิ นเ้ี รานาํ มาพจิ ารณาใหเ ปน อรรถเปน ธรรมได โดยหลักของ “ไตรลักษณ” เปน ทางเดนิ ของผรู จู รงิ เหน็ จรงิ ทง้ั หลาย ตองอาศัยหลักไตรลักษณเปนทางเดิน เราอยทู น่ี ่ี เรากบ็ าํ เพญ็ ธรรม เราไปอยทู น่ี ัน่ เรากบ็ ําเพญ็ ธรรมเพ่อื ละเพื่อถอดถอนกิเลส เพื่อระงับ ดับความทุกขทั้งหลายที่มีอยูในจิตใจ อยทู ่ีไหนเรากบ็ ําเพ็ญเพ่อื ความละความถอน ยอมจะละไดถอนไดดวยการบําเพ็ญดวยกัน โดยไมหมายถึงสถานทน่ี ัน่ สถานที่นี่ เพราะ สําคัญอยูที่การปฏิบัติเพื่อการถอดถอนนี้เทานั้น พระพุทธเจาจงึ ทรงสัง่ สอนสาวกวา “ไปเถิดภิกษุทั้งหลาย เธอไปหาอยูในที่สงบ สงัด เปน ผเู หนยี วแนน แกน นกั รบ อยสู ถานทเ่ี ชน นน้ั ชอ่ื วา เธอทง้ั หลายเขา เฝา เราอยู ตลอดเวลา ไมจ ําเปนที่เธอท้งั หลายจะมานั่งหอ มลอ มเราอยูเชน นีถ้ ือวาเปน การเขา เฝา ไมใชอยางนั้น ! ผูใดมีสติผูใดมีความเพียร อยใู นอริ ยิ าบถใดๆ ชื่อวา “ผบู ชู าเรา ตถาคต” หรอื เฝา ตถาคตอยตู ราบนน้ั แมจ ะนง่ั อยตู รงหนา เราตถาคต ถานัง่ อยดู วย ความประมาทก็หาไดพบตถาคตไม หาไดเห็นตถาคตไม เราไมถอื วา การเขามาการออก ไปเชน นเ้ี ปน การเขา เฝา ตถาคต และการออกไปจากตถาคต แตเ ราถอื ความเพยี รเพอ่ื ถอดถอนกิเลสภายในใจตางหาก การถอดถอนกิเลสไดมากนอยชื่อวา “เขา เฝา เราโดยลาํ ดบั ” นช่ี อ่ื วา “เราเหน็ ตถาคตไปโดยลําดับๆ !” ซึ่งเปนหลักใหญที่พระพุทธเจาทรงสั่งสอนพุทธบริษัททั้ง หลายวา “ไปเถิด ไปหาประกอบความพากเพียรเพื่อถอดถอนกิเลสที่เปนขาศึกอยูภาย ในจิตใจของตนใหห มดสิ้นไปโดยลําดบั แลว พวกเธอทงั้ หลายจะเห็นตถาคตเองวา อยู ในสถานทใ่ี ด โดยไมจําเปนตองมามองดูตถาคตดวยดวงตาอันฝาฟาง ไมม สี ติน้วี าเปน ตถาคต ขอใหถอดถอนสิ่งที่เปนขาศึกแกจิตใจของพวกเธอทั้งหลายใหได จนกระทั่ง หมดไปโดยสิ้นเชิงแลว เธอทงั้ หลายจะเห็นตถาคตอนั แทจริง ซึ่งเปน “สมบัติของพวก เธอแท” อยภู ายในใจพวกเธอนน้ั แล “แลว นาํ ธรรมชาตนิ น้ั มาเทยี บเคยี งกบั ตถาคตวา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๕
๕๐๖ เปนอยางไร ? ไมมีอะไรสงสัย เพราะธรรมชาตทิ บ่ี รสิ ทุ ธน์ิ น้ั เหมอื นกนั !” น่ี ! ฟงพระ โอวาทของพระพุทธเจาซึ่งเปนหลักสําคัญอยางนี้ !” การทาํ จติ ใจ การทาํ ตวั ใหเ ปน คนดี ชอ่ื วา เปน การสง่ั สมความสขุ ความเจรญิ ขน้ึ ภายในจติ ใจโดยลาํ ดบั ผลกค็ อื ความสขุ นน่ั เอง ท่หี าความสุขไมไดหรอื มีความสขุ ไมสมบรู ณ ก็เพราะมสี ่ิงทกี่ ีดขวางอยูภายใน จติ ใจของเรา ไดแกกิเลสนั่นเองไมใชอะไรอื่น มกี เิ ลสเทา นน้ั ทเ่ี ปน เครอ่ื งกดี ขวางเสยี ด แทงจิตใจของสัตวโลกอยู ไมใ หเ หน็ ความสขุ ความสมบรู ณ ความทกุ ขค วามลําบากทัง้ ภายในภายนอกสวนมากเกิดข้นึ จากกเิ ลสไมใ ชเร่ืองอน่ื เชน มเี จบ็ ไขไ ดป ว ยภายในรา ง กาย ก็จะมีเรื่องของกิเลสแทรกเขามาวา “เราเจบ็ นน้ั เราปวดน”้ี เกดิ ความกระวน กระวายระสาํ่ ระสายขน้ึ มาภายในใจ ซึ่งเปนทุกขทางใจอีกประการหนึ่ง แทรกขึ้นมาจาก โรคภายในรา งกาย ถา เพียงโรคกายธรรมดา พระพุทธเจา พระสาวกทานก็เปนได เพราะขนั ธอ นั น้ี เปนกฎธรรมชาติแหงสมมุติอยูแลว คือไตรลักษณ ใครจะมาขามพนสิ่งนี้ไปไมได เมื่อมี ธาตุมีขันธก็ชื่อวา “สมมุติ” และตองอยูใตกฎธรรมชาติกฎธรรมดา ตองมีความแปร สภาพไปเปน ธรรมดา แตใ จนน้ั ไมม คี วามหวน่ั ไหว เพราะรเู ทา ทนั กบั สง่ิ ทง้ั หลายเหลา นน้ั แลว โดยรอบ คอบ ไมม ชี อ งโหวภ ายในใจ แตพ วกเราไมเ ปน เชน นน้ั เมอ่ื ทกุ ขเ กดิ ขน้ึ ภายในรา งกาย มากนอย ก็เปนการสอถึงจิตใจที่จะสั่งสมความทุกขขึ้นภายในตนอีกมากนอยไมมี ประมาณ ดีไมด คี วามทกุ ขภายในใจย่ิงมากกวา ความทุกขภ ายในรางกายเสยี อีก เพราะฉะนน้ั จงึ เรยี กวา “กิเลสมันเขาแทรกไดทุกแงทุกมุม” ถา เราเผลอไมม สี ติ ปญ ญารเู ทา ทนั มนั กิเลสเขาไดทุกแงทุกมุมโดยไมอ า งกาลอา งเวลา อา งสถานท่ี อริ ิยาบถใดๆ ทั้งสิ้น มันเกิดไดทุกระยะ ขอแตความเคลื่อนไหวของจิตแสดงออกโดย ไมมีสติ ปญ ญากก็ ลายเปน สญั ญา จิตจึงกลายเปนเรื่องของกิเลส ชวยกเิ ลสโดยไมร ตู ัว แลวจะเปนอรรถเปนธรรมข้นึ มาไดอ ยา งไร ! นอกจากเปนกิเลสทั้งตัวของมัน แลว เพม่ิ พนู ขน้ึ โดยลาํ ดบั เทา นน้ั จึงตองทุมเทสติปญญา ศรทั ธา ความเพยี ร ของเราลงใหท นั กบั เหตกุ ารณท เ่ี ปน อยภู ายในใจ เรยี นธาตเุ รยี นขนั ธเ ปน บคุ คลประเสรฐิ เรียนอะไรจบก็ยังไมพอกับความ ตองการ ยงั มคี วามหวิ โหยเปน ธรรมดาเหมอื นโลกทว่ั ไป แตเ รยี นธาตเุ รยี นขนั ธเ รยี น เรื่องของใจจบ ยอมหมดความหิวโหย อิ่มตัวพอตัวอยางเต็มที่ประจักษใจ ! ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๖
๕๐๗ เวลานเ้ี รายงั บกพรอ งใน “วิชาขันธ” และภาคปฏบิ ตั ใิ น “ขันธวิชา” คือ สติปญญา ความรูแ จง แทงทะลใุ นธาตใุ นขันธวา เขาเปน อะไรกนั แนต ามหลกั ความจรงิ แยกแยะให เหน็ ความจรงิ วา อะไรจรงิ อะไรปลอม เรียนยังไมจบ เรยี นยงั ไมเ ขา ใจ มนั จงึ วนุ วายอยู ภายในธาตใุ นขนั ธใ นจติ ไมม เี วลาจบสน้ิ ความวนุ วาย ไมมีที่ไหนวุนไปกวาที่ธาตุขันธและจิตใจ ซึ่งเกิดเรื่องเกิดราวอยู ตลอดเวลาทช่ี าํ ระสะสางกนั ยงั ไมเ สรจ็ สน้ิ นแ้ี ล เพราะฉะนน้ั การเรยี นทน่ี ร่ี ทู น่ี ่ี จึงเปน การชําระคดีซึ่งมีความเกี่ยวของกันอยูมากมาย มีสติปญญาเปนผูพิพากษาเครื่องพิสูจน และตดั สนิ ไปโดยลําดับ เอา เรยี นใหจ บ ธาตขุ นั ธมอี ะไรบา ง ดังเคยพูดใหฟงเสมอ “รปู ขนั ธ” ก็รางกายทั้งรางไมมีอะไรยกเวน รวมแลว เรยี กวา “รูปขันธ” คือกาย ของเราเอง “เวทนาขนั ธ” ความสขุ ความทกุ ข เฉยๆ เกดิ ขน้ึ ภายในรา งกายและจติ ใจ ทา น เรยี กวา “เวทนาขนั ธ” “สญั ญาขนั ธ” คือ ความจาํ ไดห มายรใู นสง่ิ ตา งๆ ทา นเรยี กวา “สัญญาขันธ” “สงั ขารขนั ธ” คอื ความปรุงของใจ คิดดีคิดชั่ว คิดเรื่องอดีตอนาคต ไมมี ประมาณ ทา นเรยี กวา “สังขารขันธ” เปนหมวดเปนกอง “วญิ ญาณขนั ธ” ความรบั ทราบ เวลารปู เสยี ง กลิ่น รส เครื่องสัมผัส มากระทบ ตา หู จมกู ลน้ิ กาย รายงานเขา ไปสใู จใหร บั ทราบในขณะทส่ี ง่ิ นน้ั ๆ สมั ผสั แลว ดบั ไป พรอมตามสิ่งนั้นที่ผานไป นท่ี า นเรยี กวา “วิญญาณขันธ” ซึ่งเปน “วญิ ญาณในขนั ธห า ” “วญิ ญาณในขนั ธห า ” กับ “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” นน้ั ตา งกนั ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณหมาย ถึง “มโน” หรอื หมายถงึ จติ โดยตรง จติ ทีจ่ ะกาวเขาสู “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” ในกาํ เนดิ ตา งๆ ทา นเรยี กวา “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” คอื ใจโดยตรง สว น “วญิ ญาณในขนั ธห า ” นี้ มีความเกิดดับไปตามสิ่งที่มาสัมผัส สิ่งนั้นมา สมั ผสั แลว ดบั ไป วิญญาณก็ดับไปพรอม คอื ความรบั ทราบ ดับไปพรอมขณะที่สิ่งนั้น ผานไป แต “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” นั้นหมายถึงใจ ซึ่งมีความรูอยูโดยลําพังแมไมมีอะไรมา สัมผัสอันน้ี อันนี้ไมดับ ! เรยี นขนั ธห า เรยี นทบทวนใหเ ปน ทเ่ี ขา ใจ เรยี นใหห ลายตลบทบทวน คุยเขี่ยขุด คน คน จนเปน ทเ่ี ขา ใจ นี่คือสถานที่ทํางานของผูที่จะรื้อกิเลสตัณหาอาสวะออกจากจิต ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๗
๕๐๘ ใจทเ่ี รยี กวา “รอ้ื ถอนวฏั วน” คอื ความหมนุ เวียนแหงจิตท่ไี ปเกดิ ในกําเนดิ ตา งๆ ไป เทย่ี วจบั จองปา ชา ไมม สี น้ิ สดุ ทั้งๆ ที่ยังไมตายก็ไปจับจองไวแลว กเ็ พราะเหตแุ หง ความหลงในขนั ธ ความไมรูเรื่องของขันธ จึงตองไปหายึดขันธ ทั้งๆ ที่ขันธยังอยูก็ยังไม พอ ยังไปยึดไปหลงติดเรื่อยๆ ไมมีความสิ้นสุด ถาไมเอาปญญาเขาไปพิสูจน พิจารณาจนกระทั่งรูจริงและตัดได ทา นจงึ ใหเ รยี นธาตขุ นั ธ รูปขันธ “ก็คือ ตวั สจั ธรรม” ตัว “สติปฏฐานส่”ี นน่ั เอง อะไรๆ เหมือนกันหมด เปนไวพจนของกันและกัน ใชแทนกันได เราพิจารณาอาการใดอาการหนึ่งก็ถูกเรื่องของสัจธรรม ถูกเรื่องของสติ ปฏฐานสี่ ปกติไมมีโรคภัยไขเจ็บเกิดขึ้น กายก็เปน กายอยอู ยา งนี้ รปู กเ็ ปน รปู อยเู ชน น้ี เอง แตความวิการของธาตุขันธก็วิการไปตามเรื่องของมัน ทกุ ขเวทนาเกิดข้นึ จาก ความวกิ ารของสง่ิ นน้ั ที่ไมอยูคงที่ยืนนาน จิตก็ใหทราบตามเรื่องของมัน ชื่อวา “เรยี น วิชาขันธ” อยา ไปตน่ื เตน อยาไปตระหนกตกใจ อยา ไปเสยี อกเสียใจกบั มนั เพราะสง่ิ เหลา นเ้ี ปน ธรรมชาตธิ รรมดาของสมมตุ ิ จะตองแปรอยูโดยลําดับ แปรอยางลลี้ บั ก็มี แปรอยา งเปด เผยกม็ ี แปรอยูตามหลักธรรมชาติของตน ทุกระยะทุกวินาที หรอื วา วนิ าที ก็ยังหางไป ทุกขณะหรือทุกเวลาไปเลย มันแปรของมันอยางนั้น แปรเรอ่ื ยๆ ไมม กี าร พกั ผอนนอนหลบั เหมือนสัตวเหมอื นคน เรื่องของทุกขก็แสดงตัวอยูเรื่อยๆ ไมเ คยหยดุ นง่ิ นอนเลย คนเรายงั มกี ารหลบั การนอนการพักผอนกันบาง เรอ่ื งสัจธรรมเรือ่ งไตรลกั ษณนีไ้ มเคยหยุด ไมเ คยผอ นผนั สน้ั ยาวกบั ใคร ดําเนินตามหนาที่ของตัวทั้งวันทั้งคืน ยนื เดนิ นั่ง นอน กบั สง่ิ ตา งๆ เปนสภาพจะตองหมุนไปอยูเชนนั้น ในรา งกายของเราน่กี ็หมุนของมันอยางน้ันเหมือน กัน คอื แปรสภาพ นเ่ี รานง่ั สกั ประเดย๋ี วกเ็ จบ็ ปวดขน้ึ มาแลว นม่ี ันแปรไหมละ มันไม แปรจะเจบ็ ปวดขน้ึ มาทาํ ไม! ความเจบ็ ปวดนเ้ี รยี กวา “ทุกขเวทนา” มนั เปน อาการหนง่ึ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหเ ราทราบท่ี เรยี กวา “สจั ธรรม” ประการหนง่ึ พจิ ารณาใหเ หน็ ตามความเปน จรงิ ของมนั เวลาจาํ เปน จาํ ใจขน้ึ มาเราจะอาศยั ใครไมไ ด จะไปหวงั พง่ึ คนนน้ั พง่ึ คนนเ้ี ปน ความเขา ใจผดิ ซง่ึ จะ ทําใหกําลังทางดานจิตใจลดลงไป จนเกิดความทอ ถอยอิดหนาระอาใจตอการชวยตวั เอง นเ่ี ปน ความเขา ใจผดิ หรือเปน ความเหน็ ผิดของจิตซ่ึงมีกิเลสเปนเคร่ืองกระซิบหลอ กลวงอยเู ปนประจาํ ทั้งเวลาปกติ ทง้ั เวลาเจบ็ ไขไ ดป ว ย ทง้ั เวลาจวนตวั เพอ่ื ใหเ ราเสยี หลกั แลว ควา นาํ้ เหลวไปตามกลอบุ ายของมนั จนได ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๘
๕๐๙ เวลาจวนตวั เขา จรงิ ๆ ก็เหมือนนกั มวยขนึ้ เวที ครูเขาจะสัง่ สอนอบรมกันต้งั แต ยังไมขึ้นเวที เม่ือกา วข้นึ สูเ วทแี ลว ไมมีทางทจี่ ะแนะนําส่ังสอนอยางใด ผิดกับถูก ดีกับ ชั่ว เปน กบั ตาย ก็ตองพึ่งตัวเอง ตองชวยตัวเองอยางเต็มกําลังความสามารถ อบุ ายวธิ ที ่ี จะชกตอยอยางไรนั้น จะไปสอนกันไมไดเวลานั้น เวลาเราเขา สสู งคราม คอื ตาจน ระหวา งขนั ธก บั จติ จะแยกทางกนั คือเวลา จะแตกสลายนน้ั แล ซึ่งเหมือนกับอีแรงอีกาที่มาจับตนไม เวลามาจับก็ไมคอยทํากิ่งไม ใหส ะเทือนนัก แตเ วลาจะบนิ ไปละ มันเขยากิ่งจนไหวทั้งตน ถาเปนกิ่งที่ตายแลวตอง หักไปก็มี นเ่ี วลาธาตขุ นั ธจ ะจากเราไปมนั จะเขยา เราขนาดไหน เราจะทนตอ การเขยา ได ดวยอะไร ? ถาไมดวยสติกับปญญา เมอ่ื ทนไมไ ดก ็แนนอนวา ตองเสยี หลัก ฉะนน้ั เรา ตองสูใหเต็มสติปญญากําลังความสามารถทุกดาน ไมตองคิดวาเราจะลมจม เพราะการ สู การพจิ ารณาขันธใหเ ห็นตามความเปนจริงเพ่ือปลดเปล้ืองไมใ ชทางใหล ม จม ! นี่คือ การชว ยตวั เองโดยเฉพาะอยา งเตม็ ความสามารถในเวลาคบั ขนั ! และเปนการถูกตอง ตามทางดาํ เนนิ ของปราชญท านดว ย เมอ่ื ถงึ คราวจาํ เปน เขา มาจรงิ ๆ จะมแี ตท กุ ขเวทนาเทาน้นั แสดงอยางเดน ชัดที เดียว ภายในกายทุกชิ้นทุกสวนจะเปนเหมือนกองไฟหมดทั้งตัว ภายในกายของเราจะ กลายเปนไฟทั้งกองไปเลย แดงโรไปหมดดวยความรุมรอน แลว เราจะทาํ อยา งไร ? ตอ งนําสตปิ ญ ญาหยง่ั ลงไปใหเ หน็ ความทกุ ขค วามรอ นนน้ั ประจักษดวยปญญา แลว ยอนดูใจเรามนั แดงโรอยางนนั้ ดวยไหม? มันรอ นอยา งน้นั ดวยไหม? หรอื มันรอนแต ธาตแุ ตข นั ธ ? ถาเปนผูมีสติปญญา เคยพจิ ารณาทางดา นปญ ญาอยโู ดยสมาํ่ เสมอแลว ใจจะไม รอน ! ใจจะเย็นสบายอยูในทา มกลางกองเพลงิ คือธาตุขันธที่กําลังลุกโพลงๆ อยดู วย ความทุกขนัน้ แล นผ่ี ปู ฏบิ ตั ติ อ งใหเ ปนอยา งน้ี ! นช่ี อ่ื วา เราชวยตัวเราเอง ใหพจิ ารณา อยา งน้ี ไมตองไปหวังพึ่งใครในขณะนั้น เรยี กวา “ขน้ึ เวทแี ลว ” เมื่อตั้งหนาตอสกู ันแลว สูใหถึงเหตุถึงผลเต็มเม็ดเต็มหนวย เอา! เปนก็เปน ตายกต็ าย! ใครจะหามลงเวทหี รอื ไมไมสําคัญ สจู นเตม็ กาํ ลงั ความสามารถขาดดน้ิ ดว ยปญ ญานน้ั แล อยา สเู อาเฉยๆ แบบ ทนทื่อเอาเฉยๆ ก็ไมใช ! เชน ขึ้นไปใหเขาชกตอย เขาตอ ยเอา ๆ โดยที่เราไมมีปดมี ปองไมชกตอยสูเขาเลย นี่ใชไมได! เราตองสูเต็มกําลังเพื่อความชนะกัน เอาความตาย ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๐๙
๕๑๐ เปน เดมิ พัน แมจะตายก็ยอมตายแตไมยอมถอย ! ตองตอสูทางสติปญญาอันเปนอาวุธ ทันสมัย! การตอ สกู บั เวทนากค็ อื พจิ ารณาใหเ หน็ ตามความเปน จรงิ ของมนั อยา ไปบงั คับ ใหม นั หาย ถาบังคับใหหายยอมฝนคติธรรมดา นอกจากการพจิ ารณาใหร ตู ามความ เปน จรงิ และหายเอง! ถา ไมห ายกร็ เู ทา ทนั เวทนา ไมหลงยึดถือ รปู กเ็ ปน รปู อยาไปเอาอะไรมาขัดมาแยงมาแทรกแซงใหเปนอยางอื่น รปู เปน รปู กายเปน กาย สกั แตว า กาย สกั แตว า รปู , เวทนาสกั แตว า เวทนา, จะสุขก็ตาม จะทุกข ก็ตาม เฉยๆ ก็ตาม มนั เปน เรอ่ื งเวทนาอนั หนง่ึ ๆ เทา นน้ั ผทู ร่ี วู า กาย รวู า เวทนา ความสขุ ความทกุ ข ความเฉยๆ คอื ใคร? ถาไมใชใจ! ใจ ไมใชธรรมชาตินั้นๆ ใหแ ยกกนั ออกใหเ หน็ กนั ดว ยปญ ญาอยางชัดเจน ชอ่ื วา เปน ผู พิจารณาสัจธรรมโดยถูกตอง แลว จะไมห วน่ั ไหว ถงึ รา งกายจะทนไมไ หว เอา! ตั้งทา สู ! ตั้งหนารู อะไรจะดบั ไปกอนไปหลังใหรูม นั ! เพราะเราแนใ จแลว ดว ยสตปิ ญ ญา ทั้ง ความจรงิ กเ็ ปน อยา งนน้ั ดว ยวา “ใจ ไมใ ชผ ดู บั ผตู าย” ใจเปน แตผ คู อยรบั ทราบทุกสิ่ง ทุกอยาง เอา! อะไรไมท นทานใหไป! รา งกายไมท น เอา แตกไป! เวทนาไมทน เอา สลาย ไป! อะไรไมทนใหสลายไปหมด เอา สลายไป อะไรทนจะคงตัวอยู สวนทีค่ งตัวอยนู ัน้ คืออะไร? ถาไมใชผูรูคือใจจะเปนอะไร? นน่ั ! ก็คือผูรูเดนอยูตลอดเวลา! เมื่อไดฝกหัดตนโดยทางสติปญญาจนมีความสามารถแลว จะเปน อยา งนแ้ี น นอนไมเปนอื่น แตถาสติปญญาอาภัพ จิตใจก็ทอแทออนแอถอยหลังอยางไมเปนทา ความทุกขทั้งหลายจะรุมกันเขามาอยูที่ใจทั้งหมด เพราะใจเปน ผูสง่ั สมทกุ ขข้ึนมาเอง ทั้งนี้อยูกับความโงของตัวเอง เพราะฉะนั้นความทอถอยจึงไมใชทางที่จะชําระตนใหพน จากภัยท้ังหลายได นอกจากความขยนั หมน่ั เพยี ร นอกจากความเปน นกั ตอสูดวยสติ ปญญาเทานน้ั ไมมีอยางอื่นที่จะไดชัยชนะ ไมมีอยางอื่นที่จะไดความเดน ความดบิ ความดี ความสงา ผา เผย ความองอาจกลา หาญขน้ึ ภายในใจ ใหพ จิ ารณาอยา งน้ี สมมตุ วิ า เราอยใู นบา น ปราศจากครูปราศจากอาจารย ครู อาจารยไดสอนไวแลว อยางไร ปราศจากทไ่ี หน? ทา นสอนวา อยา งไร นั่นแลคือองคทาน! นั่นแลคือองคตถาคต! นั่นแลคือองคพระธรรม! เราอยกู บั พระธรรม เราอยูกับพระพุทธ เจา เราอยกู ับพระสงฆตลอดเวลา โดยพระโอวาททนี่ าํ มาประพฤติปฏิบตั ิ กล็ ว นแลว แต เรื่องของทานทั้งนั้น เราไมไ ดป ราศจากครปู ราศจากอาจารย เราอยูดว ยความมที ่พี ่ึง คือ มีสติปญญา มีศรัทธา ความเพยี ร รบฟน หน่ั แหลกอยกู บั สง่ิ ทเ่ี ปน ขา ศกึ อยเู วลาน้ี จะวา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๑๐
๕๑๑ เราปราศจากครอู าจารยไ ดอ ยา งไร ! เราอยกู บั ครู และรกู ต็ อ งรแู บบมคี รู ! สูก็ตองสู แบบมคี รู ! นค่ี อื วธิ กี ารแหง การปฏบิ ตั ติ น ไมม คี วามวา เหว ไมม คี วามหวน่ั ไหว ใหม คี วาม แนว แนต ามความจรงิ แหง ธรรมทค่ี รอู าจารยไ ดส ง่ั สอนไวแ ลว ยึดถือเปนหลักเกณฑอยู ภายในใจโดยสมาํ่ เสมอ อยทู ไ่ี หนกเ็ รยี กวา เราอยกู บั ครกู บั อาจารย กับพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ เพราะพุทธะ ธรรมะ สังฆะ อนั แทจ รงิ แลว อยกู บั จติ มจี ติ เทา นน้ั จะ เปน “พุทธ ธรรม สงฆ” ได หรือธรรมทั้งดวงได มีจิตเทานั้นที่จะอยูกับพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ได ไมใชอะไรทั้งหมด! กายไมร เู รอ่ื ง จะไปรูเรื่องพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ไดอยางไร เวทนาก็ ไมรูเรื่อง สญั ญาเพยี งจาํ มาใหแ ลว หายเงยี บไป สงั ขารปรงุ ขน้ึ แลว หายเงยี บไป จะเปน สาระอะไรท่ีพอจะรบั พระพทุ ธเจา เขาไวภ ายในตนได ผทู ร่ี บั ไวไ ดจ รงิ ๆ คือผูที่เขาใจ เรื่องของพระพุทธเจาจริงๆ และเปนผูท่ี “เปน พทุ ธะ” อันแทจริง กค็ อื จติ นเ้ี ทา นน้ั ฉะนั้นจงึ ใหพ จิ ารณาจติ ใหเ ตม็ เมด็ เตม็ หนว ย อยาทอถอยออนแอ อยา งไรเรา ทุกคนตองกาวเขาสูสงครามที่เปนเรื่องใครชวยไมไดดวยกันทุกคน นอกจากเราจะชว ย ตัวเอง และแนท ส่ี ุดวา เราตอ งชว ยตัวเองทุกคน ถงึ คราวจาํ เปน มาไมม ใี ครจะชว ยได พอก็พอ แมกแ็ ม ลูกก็ตาม สามีก็ตาม ภรรยากต็ าม เปนแตเพียงดอู ยูเ ฉยๆ ดว ยความอาลยั รกั เสยี ดาย อยากชวยแตชวยไมได สดุ วสิ ยั ! ถงึ วาระแลว ทจ่ี ะชว ยเราใหพ น จากความทกุ ขค วามทรมาน ใหพนจากสิ่งพัวพัน ทง้ั หลายนน้ั เครอ่ื งชวยน้ันนอกจากปญ ญา สติ และความเพียรของเราเองแลว ไมมี! ฉะนั้นเราจงึ เขมงวดกวดขนั และมคี วามเขมแข็งอยกู ับใจ แมรางกายจะหมด กําลัง และใหเ ขา ใจในเรอ่ื งเหลา นเ้ี สยี ตง้ั แตบ ดั นเ้ี ปน ตน ไป จะไมเสยี ทา เสียที ไมว า เรอ่ื งของขนั ธจ ะแสดงขึ้นอยางไร มนั ไมเ หนอื ตาย แสดงขน้ึ มามากนอ ย เพยี งไรมันกถ็ ึงแคต ายเทานน้ั ผรู กู ร็ กู นั ถงึ ตาย เมอ่ื ธาตขุ นั ธส ลายไปแลว ผรู กู ห็ มดปญ หาเรอ่ื งความรบั ผดิ ชอบ ขณะนต้ี อ งพจิ ารณาใหเ ตม็ ท่ี เอาใหมันถึงพริกถึงขิงถึงเหตุถึงผล เราก็ถึงธรรม อันแทจ ริงภายในใจ การแสดงธรรมกเ็ หน็ วา สมควร ขอยุติเพียงแคนี้ <<สารบญั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๑๑
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 492
Pages: