๔๕ เราตกลงไปทับเทาของเรามันก็เจ็บได ทั้งๆ ที่เจา ของไมมีเจตนา หรอื มดี ถูกมือเจา ของ โดยไมมีเจตนา หรือฟนมือก็เจ็บไดเปนแผลได คําพูดที่เปนภัยตอศาสนาก็เปนได ทาํ นองเดยี วกนั น้ี ทา นปฏบิ ตั จิ รงิ ๆ พระพุทธเจาก็ปฏิบัติจริง เอาเปนเอาตายเขาวากันจริงๆ พระ สาวกกป็ ฏบิ ตั จิ รงิ ๆ ฟงจริงๆ พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมดวยพระเมตตา มีเจตนาเพื่อ สัตวโ ลกใหรแู จง เหน็ จรงิ ในธรรมตามกาํ ลังความสามารถสตั วโ ลก ทุกระยะแหงการ แสดงธรรมของพระองค ไมทรงลดละเจตนาที่หวังจะใหสัตวโลกไดรับผลประโยชนจาก การฟงนั้นเลย ทา นเตม็ เมด็ เตม็ หนว ยในการปฏบิ ตั ิ เวลาตรัสรูธรรมก็เต็มเม็ดเต็ม หนว ย โลกทั้งหลายไมมีใครที่จะสามารถทําไดอยางพระองค นีโ่ ลกปจ จบุ นั คือพวกเราอาจจะลบลาง คอื ปฏิเสธกไ็ ดวา “ไมจริง” ทา นทาํ ถงึ ขนาดนน้ั แตเ ราวา “ไมจริง” เพราะเราไมเคยทําอยางทานจะเอา ความจริงมาจากไหน เหน็ คนอน่ื ทาํ เรากค็ ดั คา น เหน็ คนอนื่ ขยนั เราขีเ้ กยี จ กไ็ ปคดั คา น เขา เขาฉลาด เราโง กไ็ ปตาํ หนเิ ขา ทัง้ ทีเ่ ราไมม คี วามสามารถอยางน้นั พระพุทธเจาทานทรงสามารถทั้งดานปฏิบัติ สามารถทั้งความรูความเห็นเต็มภูมิ ของพระองค การประทานพระโอวาทแกสัตวโลก จึงตองประทานเต็มพระสติปญญา ความสามารถทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง ใหส มภมู กิ บั คาํ วา “ศาสดาของโลก” แมผูฟงก็ฟงดวย เจตนาอยา งนน้ั ดว ย ผลไมเปนไปตามเจตนา ไมเปนไปตามการกระทําที่ถูกตองดีงาม จะเปนอื่นไปไดอยางไร ? เพราะเหตุกับผลเปน ความเก่ยี วเนื่องกนั เปนลําดบั อยูแ ลว การทําเต็มเม็ดเต็มหนวย ผลจะไมเต็มเม็ดเต็มหนวยไดอยางไร ตองเต็ม ! ตองได ! เพราะฉะนั้น ครั้งพุทธกาล ทานแสดงธรรม ผบู รรลธุ รรมจงึ มเี ปน จาํ นวนมาก ดวยเหตุ ผลดงั ทก่ี ลา วมาน้ี ครน้ั ตกมาสมยั ทกุ วนั น้ี ศาสนาซึ่งเปนของแทของจริง ของทานผูวิเศษ ของทา น ผูท ําจริงรูจริงเห็นจรงิ สง่ั สอนสตั วโ ลกจรงิ ดว ยธรรมนน้ั ๆ แตธ รรมเหลา นถ้ี กู กลายเปน “ธรรมพิธีไปตามโลก ซึ่งเปนโลกพิธี ผนู บั ถอื กนั เปน พธิ ี ผลกเ็ ปนไปแบบรางๆ อยา ง นน้ั แล อะไรๆ เลอื นๆ รางๆ จางไปหมด ปลอมไปหมด เพราะหัวใจเราใหปลอม ถา หัวใจไมจริงเสียอยางเดียว อะไรกป็ ลอมไปหมด เวลานศ้ี าสนธรรมกาํ ลงั อยใู นระยะหรอื จดุ น้ี ! สว นพวกเราจะอยูใ นจดุ ไหน ระยะใด จะเปน แบบนห้ี รอื เปน แบบไหน ! ถา เราตอ งการเปน แบบแกต วั เองตามหลกั ความจรงิ ท่ที า นสอนไวด ว ยความจริง เราก็ตองทําจริง ปฏบิ ตั ใิ หจ รงิ นี่เปนการเตือนใหเราทั้งหลายซึ่งเปนกันเอง ไดท ราบถงึ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๕
๔๖ ขอเท็จจริงของศาสนาและผูปฏิบัติศาสนา วาผลจะเปนจริงและไดรับมากนอยเพียงไร หรือกลายเปนโมฆะไปหมด เพราะเหตผุ ลท่ีกลา วมานี้ไมเปน ความจรงิ การฟงธรรมซ่งึ เปนหลักสาํ คัญที่ปฏิเสธไมไ ดใ นการรบั ผล กค็ อื ฟง ดว ยความตง้ั อกตง้ั ใจ มคี วามรกู บั มสี ตกิ าํ กบั อยกู บั ตวั เปน หลกั ใหญ ชอ่ื วา ไดต ง้ั ภาชนะไวเ รยี บรอ ย แลว การแสดงธรรมถา ทา นผรู จู รงิ เหน็ จรงิ แสดง จะไมหนีธรรมของจริง ของจริงกับ ของจริงตองเขากันได ผฟู ง ฟงจริงๆ ผูแสดง แสดงจริงๆ แสดงดวยอรรถธรรมอันเปน ขอเท็จจริงจริงๆ ไมไดควาหรือลูบๆ คลาํ ๆ มาแสดง ตองเขาใจตามหลักธรรมนั้นๆ ธรรมทั้งหมดทานมีไวเพื่ออะไร ? ถาเปนน้ํา กม็ ไี วส าํ หรบั อาบดม่ื ใชส อย ซัก ฟอกหรอื ลา งสง่ิ สกปรกโสมมทง้ั หลาย ธรรมกเ็ ปนเชนน้ันเหมือนกนั เพราะพวกเราเปน พวกสกปรกทง้ั นน้ั บรรดาจติ ใจทม่ี กี เิ ลสเปน จติ ใจทส่ี กปรก กายวาจาทเ่ี ปน รวงรงั ของ กเิ ลส และจิตที่เปนรวงรังของกิเลส มันจึงเปนเรื่องสกปรกไปตามๆ กนั กบั กเิ ลสซง่ึ มอี ยู ภายใน ทา นจงึ ตอ งหานาํ้ ทส่ี ะอาดคอื ธรรมมาสง่ั สอน หรือชะลางจิตใจของพวกเรา ธรรมทส่ี ะอาดกค็ อื “สวากขาตธรรม” ตรสั ไวช อบแลว นี่แสดงวาสะอาดเต็มที่ แลว “นยิ ยานกิ ธรรม” เปนธรรมที่รองรับ เหมือนกบั น้ําเปนเครื่องรองรับ ชะลางสิ่ง สกปรกทง้ั หลายใหส ะอาด เชนนั้นไดไมเปนอยางอื่น ธรรมก็เปนธรรมชาติที่สะอาดเชน นน้ั สาํ หรบั ชะลา งสง่ิ สกปรกในหวั ใจของสตั วใ หส ะอาด ขอใหห วั ใจนจ่ี ดจอ เพอ่ื ความ สะอาดเถอะ ผลการฟงจะทําใหใจสงบระงับ และสะอาดผอ งใสไดไ มส งสยั เมื่อใจสงบ ผองใส กาย วาจา หากคอ ยเปน ไปเอง เพราะนี่เปนเครื่องมือเทานั้น ทส่ี าํ คญั จรงิ ๆ กค็ อื ใจซง่ึ เปน ตวั การ หากใจยอมรบั ความจรงิ ใจยอมรบั ทีจ่ ะซัก ฟอกตัวเองแลว ตอ งมวี นั สะอาดขน้ึ สกั วนั หนง่ึ จนได จากนาํ้ สะอาดคอื “ธรรม” พระ พุทธเจาทรงประกาศสอนโลก และทรงใชต อ โลกมานานแลว ไดรับผลที่พอใจมาโดย ลาํ ดบั แมค าํ วา “สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” เรากลาวถึงทานเพื่อประโยชนอะไร ถา ไมใ ช เปนผูสะอาดหมดจดเต็มที่แลวจาก “นาํ้ ” คือพระสัจธรรมของพระพุทธเจา ชําระเสีย จนสะอาด “ธมมฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ” ซึ่งเปนธรรมที่บริสุทธิ์แท ไมออกมาจากพระทัยที่ บรสิ ทุ ธข์ิ องพระพทุ ธเจา จะออกมาจากไหน พระทัยที่จะบริสุทธิ์ได เพราะการชําระ สะสาง การขดั เกลา การชําระลางดวยอรรถดวยธรรม เปน ความจรงิ มาโดยลาํ ดบั ๆ จน กระทั่งถึงปจจุบันเรานี้ ธรรมก็เปนธรรมชาติที่สะอาดอยูเสมอมา สาํ หรับลา งสงิ่ สกปรก โสมมของสัตวโลก ถาเราคิดตามธรรมดาอยางเผินๆ อยางโลกที่สมมุติทั่วๆ ไปกว็ า เรานี้สะอาดที่ สุดไมมีใครจะหยิ่งยิ่งกวาคนโง ไมมีใครจะสะอาดยิ่งกวาคนโงที่สกปรก ถา พดู ตาม ธรรมแลว เปน อยา งน้ี เมื่อเราทราบวาเราสกปรกทางใจ ซึ่งเต็มไปดวยกิเลสโสมมแลว ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๖
๔๗ เราตองเปนผูมุงตออรรถตอธรรมเปนเครื่องชะลาง ดงั ทท่ี า นทง้ั หลายไดอ ตุ สา หส ละ เวลาํ่ เวลาหนา ทก่ี ารงาน ตลอดจนชีวิตจิตใจมาเพื่อบําเพ็ญตนเชนนี้ จึงเปนความถูก ตองตามแนวทางที่พระพุทธเจาทรงดําเนินมาที่เรียกวา “อริยประเพณี” ประเพณีของ พุทธบริษัทที่ดีงามของพระพุทธเจาทานดําเนินมาอยางนั้น จงึ ขอขอบคณุ ขออนโุ มทนา กบั ทา นทง้ั หลายไวใ นโอกาสนด้ี ว ย นอกจากเปน ความดสี าํ หรบั ตนแลว ยังเปนคติตัว อยา งแกอ นชุ นรนุ หลงั อกี ไมม สี น้ิ สดุ คาํ ทว่ี า พวกเราสกปรกนก้ี พ็ อจะทราบกนั ได คาํ วา สกปรก สกปรกเพราะอะไร? เพราะขี้โลภ ขโ้ี กรธ ขห้ี ลง ขส้ี ามกองนเ้ี ตม็ อยบู นหวั บนหวั อะไร กบ็ นหวั ใจนน้ั แล นี้ นักปราชญทั้งหลายทา นตาํ หนติ เิ ตยี น ทานขยะแขยงมาก แตพวกเราชอบจึงไมรสู กึ ตัว เมื่อไมรูสึกตัวก็ไมรูสึกสนใจในสิ่งที่จะนํามาชําระลาง เห็นผูประพฤติปฏิบัติธรรมก็ดูถูก เหยยี ดหยาม มเี ยอะสมยั จรวดนจ้ี ะวา ยงั ไง? เพราะความเห็นผิด ตองผิดไปเรื่อยๆ อะไรทําใหเห็นผิด? ถาไมใชหัวใจที่เต็มไปดวยกิเลสซึ่งเปนตัวผิดทั้งเพนั้น ถา จติ ใจผดิ ไปดว ยก็พาใหแสดงออกทกุ แงท กุ มมุ ผิดไปตามๆ กนั จนกระทง่ั กาย วาจา ทแ่ี สดงออก ผิดไปทั้งนั้น เพราะสิ่งที่ทําผิดที่มีอยูภายในจิตใจนั้นไมตองมากมายอะไรเลย ตวั นน้ั เปนตัวการ พระพทุ ธเจา ทา นจงึ สอนใหช าํ ระใหล า ง การฟงเทศนฟงธรรมก็เปนการชะลาง จิตใจของตนดวยธรรม คือในขณะที่ฟงธรรม ทา นวา มอี านสิ งสเ กดิ ขน้ึ จากการฟง ธรรม อานสิ งสค อื ผลที่เกิดขึ้นในขณะที่ฟงนั้นแล ทําจิตของเรา อยา งนอ ยมคี วามสงบเยน็ ใจ รูเหตุรูผล รูทางดีทางชั่ว และรวู ธิ จี ะปฏบิ ตั ติ อ ตนเอง ขอ สาํ คญั ใจมีผอ งใสขนึ้ ไดรับ ความรม เยน็ ในขณะฟง นี่คือผลที่เกิดขึ้นจากการฟงธรรม ทา นวา มอี านสิ งส ๕ เราจะ คอยเอาอานสิ งสท ไ่ี หน ถาไมเอาในขณะที่ฟง เพราะการฟง กค็ อื การบาํ เพญ็ อยแู ลว ผล ตองเกิดตามมาในขณะนั้นๆ มคี วามสงบเยน็ ใจเปนตน หากวา กเิ ลสอาสวะเปน วตั ถุ และเปน ตัวขา ศกึ เชนเสือรายเปนตนแลว คนเราจะ อยใู นโลกดว ยกนั ไมไ ดเ ลย มองดูคนไหนก็เห็นแตเ สอื รา ย ท้งั เหยียบยํ่าท้ังเดินเพนพา น ทั้งนั่งทั้งนอน ท้ังขบั ถา ย ทง้ั หยอกเลน กนั ทง้ั กดั ฉกี และถลกหนงั เลน อยบู นหวั เหมอื น กนั หมด คนทั้งคนมีแตเสือรายที่จดจองยองกัดอยูบนหัวคน แลว กก็ ดั ฉกี หวั คนลงไป เรื่อยๆ ไมห ยุด นอนอยกู ก็ ดั ยนื อยกู ก็ ดั เดนิ อยกู ก็ ดั นง่ั อยกู ฉ็ กี อะไรๆ กฉ็ กี ทง้ั นน้ั กริ ิยาความเคลือ่ นไหวตา งๆ มแี ตเ สอื รา ยมนั กดั มนั ฉกี อยตู ลอดเวลา จะหาเนอ้ื หาหนงั หาเอน็ หากระดกู มาจากทไ่ี หน ใหตดิ ใหต อกนั เปน รปู เปนกาย เปนหญิงเปนชาย เปน สัตวเปนบุคคล เปน เราเปน ทา นอยา งที่เปนอยนู ไี้ ดเลา มองดคู นนน้ั กเ็ ปน แบบน้ี มองดู ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๗
๔๘ คนนก้ี เ็ ปน แบบนน้ั เยม้ิ ไปดว ยบพุ โพโลหติ นาํ้ เนา นาํ้ หนอง เพราะถูกเสือมันกดั มันฉกี มนั ทาํ ลายอวยั วะสว นตา งๆ ของมนุษยเรา กรณุ าดลู วดลายของกเิ ลสมนั แสดงออกกบั โลกทว่ั ๆ ไป เปน อยา งนี้ ถา กเิ ลสมนั เปนตัวเปนตนอยางนี้ แตมันไมไดเปนตนเปนตัวอยางนี้ โลกจึงไมเห็นโทษของมัน และ กลบั เหน็ วาเปนของดีเสยี อีก เมื่อไปเสกสรรมันวาเปนของดี คือเห็นของชั่ววาเปนของดี เห็นของดวี า เปนของช่วั แลว ผลกต็ อ งกลบั ตาลปต รกนั ไป สิ่งที่ควรจะไดรับเปนความ สขุ แตมันกลายเปนความทุกขไปหมด ที่โลกรอน รอนเพราะอะไร? ถา ไมใ ชเ พราะ กิเลสเพราะความโลภมาก เพราะความเห็นแกตัวมาก เปนตน ทกุ วนั นเ้ี ขาพดู วา “โลกเจริญ” มันเจริญที่ตรงไหน? ถาพูดตามหลกั ความจรงิ แลวมันเจริญที่ตรงไหน คนกาํ ลงั จะถกู เผาทง้ั เปน กนั อยแู ลว เพราะความทุกขมันสุมหัว ใจเวลาน้ี จะหาความเจริญมาจากไหน ความเจริญก็ตองเปนความสงบสุข ความสะดวก สบาย ความเปน อยสู บาย หนา ทก่ี ารงานสะดวกสบาย การคบคา สมาคมสะดวกสบาย อยดู ว ยกนั เปน หมเู ปน คณะมจี าํ นวนมากนอ ย เปน ความสะดวกสบาย ไมท ะเลาะเบาะ แวง ไมแขงดิบแขงดีที่เรียกวา “แขง กเิ ลสกนั ” ไมฆาไมตี ไมแยงไมชิง ไมคดไมโกง ไม กดขี่บังคับ ไมรีดไมไถ ซง่ึ กนั และกนั อนั เปน การทาํ ลายสมบตั แิ ละจติ ใจของกนั และกนั ในขณะเดยี วกนั ตา งกเ็ หน็ อกเหน็ ใจกนั เมตตาสงสารกนั เฉลยี่ เผ่อื แผ ใหค วาม เสมอภาคดว ยความมเี มตตากรณุ าตอ กนั ไมอ จิ ฉารษิ ยากนั ไมเบยี ดเบียนกัน อยดู ว ย กนั ฉนั พน่ี อ งเลอื ดเนอ้ื อนั เดยี วกนั จะเรียกวาโลกเจริญไดตามความจริง โลกไดรับความ สงบสขุ ทว่ั หนา กนั ทง้ั คนมคี นจน คนโงค นฉลาด โลกไมด ถู กู เหยยี ดหยามกนั และกนั นาํ ความยม้ิ แยม แจม ใสออกทกั ทายกนั ไมแ สดงอาการบดู บง้ึ ใสก นั ตางคนตางมีเหตุมี ผลเปน หลกั ดาํ เนนิ เมื่อพูดตามความเปนจริงแลว ทกุ วนั นโ้ี ลกเปน อยา งนไ้ี หม? ถา เปน อยา งนเ้ี รยี ก วาโลกเจริญจริง แตท ั้งๆ ทว่ี า “เวลานี้โลกกําลังเจริญ”จึงทําใหสงสัยวามันเจริญอะไร บา ง? เจริญที่ตรงไหน? ถา เจรญิ ดว ยวตั ถเุ ครอ่ื งกอ สรา ง จะสรางเทาไหรก็ได ถา ไมแ บกกองทกุ ขเ พราะ อะไรทวมหัวนะ ทนี ้ยี อนเขา มาหาตวั ของเรา วนั หนึง่ คืนหนึ่งต้งั แตต่ืนขึน้ มา หมนุ ตวั เปน เกลยี ว อยตู ลอดเวลาเหมอื นกงจกั ร การทก่ี ายและใจหมนุ เปน กงจกั ร ไมม เี วลาพกั ผอ นตวั บา ง เลยเชนนี้เปนความสุขหรือ? คนเดินทางไมหยุด คนวง่ิ ไมม เี วลาหยดุ เปน ความสขุ หรือ? ความจรงิ ตอ งมเี วลาพกั ผอ นนอนหลบั ใหส บายบา ง คนเราถึงจะมีความสุข การ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๘
๔๙ คดิ มากตอ งวนุ มากทกุ ขม าก ถา หนกั เขา ตอ งเปน โรคประสาท ธาตุขันธที่เต็มไปดวยโรค ภัยไขเจ็บ ทั้งเจ็บหัว ปวดทอ ง เตม็ อวยั วะ คนนน้ั มคี วามสขุ หรอื ? กเิ ลสมนั ชอนมนั ไชมนั กดั มนั ฉกี อยตู ลอดเวลา ทกุ อาการทเ่ี คลอ่ื นไหวแหง จติ ใจ นน่ั มคี วามสขุ หรอื ? โลกเจรญิ แลวหรอื อยางน้นั ? ความกดั ฉกี ของกเิ ลส ผลที่เกิดขึ้น จากการกดั การฉกี ของกเิ ลสมนั กม็ แี ตก องทกุ ขท ง้ั นน้ั หาความสุขไมมี เมื่อเปนเชนนี้จะ เอาความสขุ มาจากไหน? เวลาที่ยอนเขามาดูที่ตัวเรา มนั กเ็ ปน ไฟอยภู ายในจติ ใจ เพราะกเิ ลสกอ ไฟเผาใจอยตู ลอดเวลา “ราคคคฺ นิ า โทสคฺคินา โมหคคฺ นิ า” นน่ั ฟง ซิ! “ไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ” ไฟคือความโลภ ความโกรธ ความหลง มัน เผาอยทู ใ่ี จ ขน้ึ ชอ่ื วา “ไฟ” ไมว า จะกอ ทไ่ี หนเวลาใดมนั รอ นทน่ี น่ั ถาไฟที่มันลุกโพลงขึ้นมา ภายในจติ ใจ คอื ไฟโลภะ โทสะ โมหะ มันตองเผาที่จิตใจ แมก ายกจ็ าํ ตอ งรบั ทกุ ขไ ป ดว ย รับประทานไมได นอนไมห ลบั ไมมีแรง ตามหลกั ธรรมทา นสอนไวว า “โก นุ หาโส กมิ านนโฺ ท นิจฺจํ ปชชฺ ลเิ ต สติ อนฺธ กาเรน โอนทฺธา ปทปี น คเวสถ” เปนตน เมอ่ื โลกสนั นวิ าสน้ี เต็มไปดวยความมืดมน อนธการ เพราะอาํ นาจแหง กเิ ลสตณั หามนั แผดเผาอยตู ลอดเวลา พวกทา นทง้ั หลาย เพลิดเพลินหัวเราะราเริงกันหาอะไร? ทําไมจึงไมรีบแสวงหาที่พึ่ง มาเพลนิ อยกู บั ไฟ ทาํ ไมกัน เพราะ “ความลืมตัว ประมาท” นน่ั ! ทานสอนฟงซิ ถงึ ใจไหม? พระพุทธเจา สอนโลกนะ ถา เราฟง เพอ่ื ถอดถอนกเิ ลส มนั ถงึ ใจจนนา ละอายตวั เอง เมื่อฟงดวยความถึงใจ แลว ทําไมจิตใจจะไมเห็นโทษ และมคี วามกระหยม่ิ ตอคุณงามความดีทงั้ หลาย ทําไมจะ ไมม คี วามพอใจแกก เิ ลสตณั หาอาสวะ ซึ่งลุกเปนไฟทั้งกองอยูในจิตใจอยางเต็มเม็ดเต็ม หนว ยเลา และกิเลสทาํ ไมจะไมห ลุดลอยออกไป เมอ่ื ไดท าํ ความเพยี รถอดถอนมนั ดว ย ความถงึ ใจ ดวยความเห็นโทษของกิเลสอยางถึงใจ ของผูแสวงหาความจริงอยางเต็มใจ นแี่ หละบรรดาสาวกและพทุ ธบริษทั ทงั้ หลายทที่ า นรเู ห็นธรรม เวลาทา นเหน็ โทษก็เห็นอยางถึงใจจริงๆ การทาํ ความเพยี รพยายามถอดถอน กท็ ําอยา งถงึ ใจ เวลารู จึงรูถึงเหตุถึงผลถึงจิตถึงใจจริงๆ และถงึ ความหลดุ พน ไปดว ยความถงึ ใจ ไมใ ชเ ปน เรอ่ื ง “พิธี” เชน รบั ศลี กร็ บั ศีลพอเปน พิธี อะไรๆ กท็ าํ เปน พธิ ี ฟงธรรมกพ็ อเปนพิธี ประพฤติปฏิบัติธรรมซึ่งเปนของประเสริฐก็พอเปนพิธี เหมอื นกบั เดก็ เลน ตกุ ตากนั แตศ าสนาไมใ ชเ ดก็ และไมใ ชเ รอ่ื งของเดก็ จงึ เขา กนั ไมไ ด พระพุทธเจาทั้งพระองคเปนผูประทานศาสนาไว พระพุทธเจาไมใชเด็ก ศาสน- ธรรมไมใชศาสนธรรมของเด็ก ผปู ฏบิ ตั ศิ าสนาคอื พทุ ธบรษิ ทั จึงไมควรนําเรื่องของเด็ก ธรรมชุดเตรียมพรอม ๔๙
๕๐ เขา มาแทรกกบั ตวั เอง ในกริ ยิ าแหง การทาํ เกย่ี วกบั ศาสนา “พอเปน พิธี” นี้ โลกเลย เปน พิธีไปหมดในทางศาสนา แลวจะหาผลอนั แทจริงมาจากไหน? เมื่อมีแตพิธีเต็มจิต เต็มใจ เตม็ อาการทกุ สง่ิ ทกุ อยา งทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ศาสนาในงานตา งๆ พากนั ทราบหรอื ยงั วา กิเลสมันมีพิธีที่ไหน เวลามนั จะกดั หวั คน มนั มพี ธิ ไี หม? เราดซู ี มันตั้งทาตั้งทางยก ครูยกคันทําพิธีรีตองตางๆ กอ นไหม เวลามนั จะขยห้ี วั ใจคนนะ ความโลภมันเกดิ ขนึ้ มาทนั ที เมอ่ื ไดโ อกาสทม่ี นั จะแสดงความโลภ แสดงความ โกรธ ความหลง มนั แสดงอาการออกมา ออกมาดวยกิเลสประเภทตางๆ ทนั ที มันไม ไดค อยหาพธิ รี ตี องเหมอื นกบั พวกเราทจ่ี ะคอยฆา มนั และแลว ก็ฆาพอเปน พธิ ี ตีเพียง หนบั ๆ พอใหมันหัวเราะเยาะเยยวา “มนุษยนี้มันชางกลัวเราเสียจริงๆ ยง่ิ กวา หมากลวั เสือ มาหยอกเราเลน เพยี งหนบั ๆ แลว กร็ บี วง่ิ ใสห มอน นอนคอยเราตาํ นา้ํ พริกไปจิ้มกัน ทน่ี น่ั ชนิดหมอบราบไมม ีทางตอสเู ลย” นั่นฟงดูซิ ความเพียรเราเพื่อจะฆากิเลส มันจะ เขากันไดไหม? เรากลวั บา งไหม? ถา กเิ ลสเปน เหมอื นกบั เสอื รา ยสกั ตวั หนง่ึ อยบู นหวั ใคร หวั เราทุกคน มีแตเสือรุมกัดอยูทั้งวันทั้งคืน ยนื เดิน นั่ง นอน มองไปทางไหนก็มี แตเสือรุมกัดอวัยวะจนแทบไมมีเหลือ ทั้งกัดทั้งฉีก ไปไหนมนั กก็ ดั กฉ็ กี ไปเรอ่ื ย เดินไป มนั กก็ ดั กฉ็ กี ไปเรอ่ื ย เราจะดไู ดไ หม? ตอบแทนวา “ดูไมไดเลย” ตอ งพากนั วง่ิ แนบ ยง่ิ กวา หมากลวั เสอื นน่ั แล ทั้งจะมีอะไรบางก็ไมทราบจะหลุดเรี่ยราดไปตามทางนะ คดิ เอาเองเถอะ ขี้เกียจบอกเสียทุกแงทุกมุม แตน ก่ี เิ ลสมนั ไมเ ปน ตนเปน ตวั เชน นน้ั มนั กดั มนั ฉกี อยภู ายใน เรายังนอนเคล้มิ ใหม นั กดั มนั ฉกี อยา งสบายไปอกี แลว จะหาทางแกก เิ ลสไดอ ยา งไร เมอ่ื ไมท ราบวา กเิ ลส ไมท ราบความกดั ของกเิ ลส และไมท ราบความทกุ ขท ก่ี เิ ลสสรา งขน้ึ บนหวั ใจ เราจะหา ทางแกกิเลสไดอยา งไร นแ่ี หละทพ่ี วกเราไมท นั กลมายากเิ ลส เราเปนคนอาภัพ กอ็ าภพั เพราะกิเลสมันบังคับนี่แล ธรรมแทไ มเ คยทาํ คนใหอ าภพั นอกจากสง เสรมิ คนใหด ี อยางเดียว ถา แกก เิ ลสออกจากใจไดเ ปน ลาํ ดบั แลว วาสนาไมต อ งบอกจะคอ ยดขี น้ึ มาเอง ดีดขึ้นดวยความดีของเราที่ทําอยูเสมอ การใหท านกเ็ ปน การสรา งวาสนา การรกั ษาศลี ก็ เปน การสรา งวาสนา การเจริญเมตตาภาวนาก็เปนการสรางวาสนา ถาทําดวยเจตนาอัน ถกู ตอ ง ไมท าํ สกั แตว า “ พอเปนพิธ”ี ทานถา ทาํ พอเปน พธิ เี ฉยๆ กส็ กั แตว า ทาน ไมมีผลมาก ศลี กส็ กั แตว า พอเปน พธิ ี แตเวลาลว งเกนิ ศีลไมล ว งพอเปนพิธี มันลวงเกินจริงๆ ทาํ ศลี ใหข าดจริงๆ ภาวนากพ็ อ เปนพิธี แตเ วลางว ง ความงว งเขามาครอบงาํ น่ีไมใชพธิ ี ลมตูมลงจริงๆ ถา หมอนไมร บั ไว กเิ ลสตอ งยงุ เผาศพ เพราะไมไดนอนพอเปนพิธีนี่ มันนอนหลับเสียจริงๆ หลบั ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๐
๕๑ ครอกๆ เหมือนคนตาย มันไมเปนพิธี เม่อื ถงึ เวลาสง่ิ เหลานี้เขา มาเกยี่ วของแลว แต เวลาบําเพ็ญธรรมนั้นทําพอเปนพิธี นแ่ี หละมนั จงึ ไมท นั การ ไมท นั กลมายาของกเิ ลส จึงตอ งยอมเปนพลพรรคของกเิ ลส ใหกิเลสย่ํายีขูดรีดกดขี่บังคับทั้งวันทั้งคืนทั้งปทั้ง เดือน ทั้งภพทั้งชาติ ตลอดกปั ตลอดกลั ป ยังไมสามารถจะทราบไดวา วันไหนเราพอจะ รจู กั เงาของกเิ ลสบา ง มนั ทาํ เราดว ยวธิ ใี ดบา ง มันมีเงาไหม? ถาไมเห็นตัวมันพอเห็นเงา บา งกย็ งั ดี เชนกิเลสมันตั้งหมัดตั้งมวยใสเรา พอมองเห็นเขาบางก็ยังนาดู แมไมเห็นตัว ตนเขาแตพอมองเห็นเงามันก็ยังนาดู แตนี่เราไมเห็นจนกระทั่งเงาของกิเลสที่มันฆาคน ทาํ ลายคน เบยี ดเบยี นคน ทรมานคน กดขีบ่ ังคบั คน แลวเราจะไปแกกิเลสไดที่ตรง ไหน? เมื่อเงามันเรายังไมเห็นเลย ไมต อ งพดู ถงึ ตวั มนั วา อยทู ไ่ี หนและทาํ ลายคนดว ยวธิ ี ใดบา ง เอา! ทีนี้เพื่อใหรู เพื่อใหทราบเงาของมันและตัวของมัน จงกาํ หนดความรคู อื จิต สตเิ ปน เครอ่ื งกาํ กบั เขา สภู ายในกายภายในใจของตน หูจะออกไปรับกับเรื่องอะไร เจา ของหนู ค่ี อื ความรู สติปญญามีมันออกไปกระทบกับเรื่องอะไร รูป เสียง กลน่ิ รส เครื่องสัมผัส เขา มาสมั ผสั จะเขา มาสมั ผัสจิตใจทงั้ หมดซึ่งเปน ผรู บั ทราบ นอกจากตา หู จมกู ลน้ิ กาย และใจเปน ตวั การสาํ คญั ซึ่งเปนผูรับผิดชอบและรับผลโดยประการทั้ง ปวงจากอายตนะเหลา น้ี ซง่ึ ไปกอ เรอ่ื งกอ ราว แลว นาํ ผลโยนมาใหจ ติ เปน ผรู บั บาปหาบ ทกุ ขไ มมีวันเวลาปลงวางเทานัน้ ถา กาํ หนดอยา งน้ี เราจะทราบท้ังเงาของกิเลสทงั้ ตวั ของกิเลส วามนั มาดวยเหตุใดผลใด มนั มาดว ยอาการอะไร ผทู อ่ี อกตอ นรบั คอื ใจเรา มนั ออกตอ นรบั กเิ ลส ยอมรบั กเิ ลส มนั ยอมรบั ดว ยเหตใุ ด เราจะทราบในขณะเดียวกนั เมอ่ื ทราบแลว กม็ ที างทแ่ี กไ ขและถอดถอนได เอา ตั้งสติลงที่ตัวรู คอื ใจนน้ั แล ตวั คะนองอยูตรงนน้ั ทําไมใจจึงคะนอง เพราะ กเิ ลสทาํ ใหค ะนอง พาใหด น้ิ รนกวดั แกวง และแสดงขน้ึ มาจากตรงนน้ั เมื่อมีสติแลวจะรู ความกระเพื่อมของจิต เบอ้ื งตน เรากําหนดรูอยา งนี้ พยายามกาํ หนดใหร โู ดยมบี ท ธรรมกาํ กบั ไมคอยตี อาศยั ไมค อื ธรรมบทนน้ั ๆ คอยกาํ กบั ไมใหมันโผลขึ้นมาได ตี ดว ยบทธรรมใหถ ยี่ บิ ลงไป เชน “พุทโธ ๆ” เปนตน แลวจิตจะมีความสงบ เมื่อสงบ แลวจะเย็นลงไป ๆ สงบแนว ลงจรงิ ๆ นน่ั แหละคณุ คา แหง ความสงบจะเหน็ ประจกั ษ ในขณะเดียวกันจะเห็นโทษแหงความฟุงซานของจิต วา เทย่ี วกอ ความทกุ ขใ หเ รามาก นอยเพียงไร เพราะความฟุงซาน นี่เปนสาเหตุที่จะใหเราทราบในวาระตอไปของกิเลสประเภทตางๆ วา เงากพ็ อ ทราบหรอื วา ตวั กพ็ อทราบแลว ความฟงุ ซา นเรากท็ ราบวา มนั เปน ภยั ความสงบเราก็ ทราบวาเปนคุณ จะสงบดว ยวธิ ใี ดกท็ ราบ คอื ดว ยวธิ กี ารภาวนาดว ยความมสี ติ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๑
๕๒ เมอ่ื ทราบในเงอ่ื นหนง่ึ แลว ตอไปก็จะทราบไปโดยลําดับ เพราะสตยิ อ มมคี วาม แกก ลา ขน้ึ ไดใ นเมอ่ื ไดร บั การบาํ รงุ สง เสรมิ อยเู สมอ ปญ ญากส็ ามารถได เฉลยี วฉลาดได คนเราไมใชคนโงอยูตลอดเวลา ถงึ คราวจะฉลาดฉลาดได ถา เจา ของสนใจเพอ่ื ความ ฉลาด นอกจากจะนอนอยูเฉยๆ เหมอื นหมอู ยใู นเลา ในตมในโคลนเทา นน้ั จะหาความ ฉลาดไมไ ดจนกระท่ังวนั ตาย และตลอดกปั ตลอดกลั ป จะจมอยใู น “วฏั สงสาร”ตลอด ไปเพราะความโงพาใหจม เราไมใชผูตองการจะจมดวยความโงเชนนั้น เรามาเสาะแสวง หาความฉลาดเพื่อจะปลดเปลื้องความโงของตน ใหใ จดดี ขน้ึ จากตมจากโคลนทง้ั หลาย คอื กเิ ลสอาสวะประเภทตา งๆ กลายเปนอิสรเสรีขึ้นมา เราตองทําความพยายามใหเต็ม เม็ดเต็มหนวย จิตสงบดวยการบังคับ ดว ยความมสี ติ โดยอาศยั บทธรรมเปน เครอ่ื ง กาํ กบั เปน ผลขน้ั หนง่ึ ขน้ึ มาแลว แตค าํ วา “ขน้ั นน้ั ขน้ั น”้ี ไมอ ยากจะเรยี กใหเ สยี เวลา สงบหรอื ไมส งบมนั กท็ ราบ ภายในตวั เองนน้ั แล เหมอื นเรารบั ประทานอาหาร มนั ถงึ ขน้ั ไหนแลว เวลาน?้ี เรากไ็ ม เหน็ ถามกนั นน่ี า เริ่มรับประทานเบื้องตนสําเร็จขั้นไหนไมเห็นวา รับประทานไปๆ จน กกระทง้ั อม่ิ กร็ เู อง ไมจําเปน ตองเอาขนั้ เอาภูมไิ ปหาความอิม่ อนั นก้ี เ็ หมอื นกนั ใจรู ไมมี อะไรทจี่ ะรยู ิ่งกวาใจ ทกุ ขก ร็ ู สขุ กร็ ู ดีรู ชัว่ รู รอนรู หนาวรู รูไปทั้งนั้น เปนผูรูอยูตลอด เวลา ใจนแ่ี หละเปน ผรู บั รู เมื่อไดสรางสติปญญาเปนเครื่องกํากับใจดวยดีแลว ใจจะเดนขึ้นดวยความรู ความสงบ และมคี วามชาํ นชิ าํ นาญไปโดยลาํ ดบั เอา จะพจิ ารณาแยกแยะเหตผุ ลตา งๆ ที่จิตไปติดพันเกี่ยวของกับเรื่องอะไรจึงกลายเปนไฟขึ้นมาเผาตัวเอง ก็จะทราบทั้งรอง รอยและตวั เหตตุ วั ผลของมนั อกี ดว ย จติ มคี วามรอู นั เดยี วเทา นน้ั สตมิ คี วามระลกึ แลว ดบั ไป ๆ เรียกวา สติ ปญ ญาคอื ความสอดสอ ง ความ ใครครวญ ใครค รวญกใ็ ครค รวญเรอ่ื งของตวั เองนน่ั แหละ “อนิจฺจ”ํ ทา นวา นเ่ี ปน แผนทข่ี องปญ ญานะ “ทุกฺขํ อนตตฺ า” นี่เปนแผนที่ แนวทางเดินของปญญา จึงเรียกวา “หนิ ลบั ปญ ญา” พิจารณาเรื่อง “อนจิ จฺ ํ” มันเปนอะไร อนจิ จฺ ํ น?่ี ไตรตรองไปเรื่อยๆ นับจาก ชน้ิ หนง่ึ สองชิ้น สามชน้ิ จนกระทั่งรอบตัว รอบโลกธาตแุ ตล ะอยา งๆ เปนอนิจฺจํทั้งสิ้น นก่ี ท็ ราบดว ยปญ ญา เมื่อทราบชัดดวยปญญาวา ทกุ สง่ิ ทกุ อยา งเปน อนจิ จฺ หํ มดแลว เราจะไปนอนใจตายใจติดกับสิ่งเหลานั้นไดอยางไร ทั้งที่รูวามันเปนอนิจฺจํอยางประจักษ ใจ การพิจารณาธรรมใหประจักษใจเปนอยางนี้ ทุกฺขํกท็ ราบ มนั แสดงอยตู ลอดเวลา มันเปนภัยจริงๆ กท็ ราบ แลว ใจจะชินกับ ทุกขไดอยางไร ไมชิน ไมเคยไดยินวาใครเคยชินกับความทุกข ถา เราอยากรชู ดั ๆ กล็ อง ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๒
๕๓ เอามือจอเขาไปในไฟดูซิ มันจะชินไหม? เราอยูกับไฟมาตั้งแตวันเกิดจนกระทั่งบัดนี้ มนั ชนิ กบั ความรอ นทจ่ี ะทาํ ใหเ ราทกุ ขน น้ั ไหม? ไมเคยชิน พอมือจอลงไปปบมันก็จะ ถอนมือทันที มอื ยอ นกลบั ปบ ทันที กระตุกตัวเองทันที เพราะความรอนมันแผดเผา ทนอยูไมได นน่ั ! มันชินไปไดยังไง? พิจารณาใหเห็นชัดดวยปญญาอยางถึงใจจริง คาํ วา “อนตฺตา” มันวางไปหมด เราเสกสรรเอาเฉยๆ วา นน้ั เปน ตวั นั่นเปนตน นน่ั เปน สตั ว นน่ั เปน บคุ คล แมแ ตก อ นธาตทุ อ่ี ยใู นรา งกายของเราน้ี มนั กว็ า งจากความ เปนตนเปนตัวอยูแลวโดยธรรมชาติของมัน แตเรามาเสกสรรเอาวามันเปนกอนเปน กลมุ จากนน้ั กว็ า “เปนเราเปนของเรา” ธรรมชาติจริงๆ แลว อนตฺตา มันวางจาก ความเปน ตนเปน ตวั เปน สตั วเ ปน บคุ คลไปหมดอยแู ลว จงพิจารณาใหเห็นตามหลัก ธรรมชาติอยางนี้ จติ จะไดถ อยตวั เขา มาจากความลมุ หลงนน้ั ๆ แลว ปลอ ยความกงั วลได ในสภาวะทง้ั หลายซง่ึ เปน “อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา” ทราบโดยทาง “ปญญา” ทราบอยา งถงึ ใจ จิตเมอ่ื ไดถ อดถอนตวั หรอื ไดเ ปด เผยรอ้ื ฟน ตนจากสง่ิ ทป่ี ด บงั ทง้ั หลาย โดยความรูชัดวาสิ่งเหลานี้เปน อนจิ จฺ ํ ทุกขฺ ํ อนตฺ ตา แลว ทําไมจิตจะไมโลง ทําไมจิตจะไมสวางไสว ทําไมจิตจะไมเบา ทําไมจิตจะไม อัศจรรย ทําไมจิตจะไมผองใสและเปนสิ่งที่นาอัศจรรย ตองเปนของอัศจรรยอยางแน นอนไมต อ งสงสยั ทจ่ี ติ ไมแ สดงความอศั จรรยใ หเ จา ของเหน็ เลย กเ็ พราะมแี ตส ง่ิ สกปรกโสมม ทห่ี าคณุ คา ไมไ ดม นั ครอบจติ อยู จติ จงึ กลายเปน นกั โทษทง้ั ดวง แลวจะมีคุณคาที่ ไหน เพราะมันเปนนักโทษทั้งดวง เพราะธรรมชาติที่เปนโทษมันอยูกับจิต คอื กเิ ลสทง้ั หลายนนั้ แล พอเปดออกไป ๆ อปุ าทานการยดึ มน่ั ถอื มน่ั เปด เผยตวั ออกไปโดยลาํ ดบั ๆ ความสวางกระจางแจงของจิต ความเปน อสิ ระของจติ ตามขน้ั นน้ั ๆ ไมต อ งถาม เบาหววิ เลย อยูทไี่ หนก็เพลินและเบาไปหมด แตก อ นเคยแบกหามจนหนกั แยก ห็ าทป่ี ลงวางไม ได นอนกแ็ บก นง่ั กแ็ บก ยนื กแ็ บก แบกอยอู ยา งนน้ั แหละ แบกอปุ าทานความหนกั ภู เขาทง้ั ลกู วา มนั ใหญโ ตมนั หนกั เราไดเ คยแบกมนั บา งแลว หรอื ? เราถงึ จะทราบวามัน หนกั เรายังไมเคยแบกเรายังไมหาญพูดได ดตู วั ทม่ี นั หนกั ๆ คือ “เบญจขนั ธน น่ี ะ ” มนั หนกั อยตู รงน้ี ยิ่งมีความเจ็บไขไดปวยแลวยิ่งลุกไมขึ้นเอาเลย ตอ งใหค นอน่ื ชว ย พยงุ ชว ยกเ็ จบ็ หนกั เขา อกี ดว ยการเจบ็ ปว ยในอวยั วะตา งๆ มนั ท้ังหนัก ทั้งเจ็บทั้งปวด เลยเพิ่มเปนเรื่องหนักไปหมด นแ้ี ลตัวหนกั จรงิ ๆ ทานจึงวา “ภารา หเว ปจฺ กขฺ นฺ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๓
๕๔ ธา” ภาระอันหนักจริงๆ กค็ อื เบญจขนั ธ ทา นไมไ ดบ อกวา ภาระอนั หนกั จรงิ คอื ภเู ขา ทา นไมเ หน็ วา เราพิจารณาใหเห็นจริงอยางนี้ อันนี้แลเปนเครื่องทับจิตใจเรา พจิ ารณาใหรูใ น อาการทง้ั ๕ น้ี มนั คอื ไตรลกั ษณท ง้ั นน้ั เราอยา ไปอาจหาญ อยา ไปเออ้ื ม อยาไปจับ อยา ไปยดึ อยา ไปแบกหามมนั หนกั เขาไปแบกมันหนักจริงๆ ถา ปลอ ยเสยี มนั กเ็ บา ปลอยดว ยปญ ญาใหร ชู ัดตามความเปนจริง จติ จะเพลนิ มีความรื่นเริงบันเทิง อยทู ไ่ี หน ก็รื่นเริง อยใู นปา ในเขาอดอม่ิ เปน ตายอะไร มีแตความรื่นเริงบันเทิงในธรรมทั้งหลาย “ธมมฺ ปต ิ สขุ ํ เสต”ิ ผูมปี ต ใิ นธรรมยอ มอยูเปนสขุ อนั นย้ี งั หยาบไป เมื่อเขา ถงึ ขน้ั นแ้ี ลว คอื วา ละเอยี ดอยา งยง่ิ มีความสุขละเอียดเปนพื้นฐาน นอนกเ็ ปน สขุ นง่ั ก็ เปนสขุ ยนื เดิน อยกู เ็ ปน สขุ ทง้ั นน้ั อดอิ่มเปนสุข สบายไปหมด หมดความกงั วล หมด ภาระเปน เครอ่ื งกดถว งจติ ใจ เอา! เพอ่ื ใหกิเลสท้งั มวลส้ินซากไปเสียไมใ หมอี ะไรเหลอื ตนไมเราตัดกิ่งตัด กา นตดั ตน มนั ออกหมด ยงั เหลอื แตห วั ตอ รากแกว รากฝอย ขุดตนมันขึ้นมา เอาเผาไฟ เสยี ใหส น้ิ ซากหมดเทา นน้ั ตนไมตนนั้นไมมีทางเกิดไดอีกเลย จติ กเ็ หมอื นกนั ถอนรากแกว ซง่ึ อยภู ายในจติ ทา นเรยี ก “อวชิ ชา” ใจปลอ ย อะไรๆ หมด แตต วั เองกม็ าอศั จรรยอ อ ยอง่ิ อยกู บั ความสงา ผา เผย ความละเอยี ดลออ ซึ่งเปนเรื่องของกิเลสประเภทละเอียด พิจารณาเขาอีกใหพอ นก่ี ค็ อื กองไตรลกั ษณอ กี เชนเดียวกัน อยา ถอื วา เปน เรา มันเราอะไรกัน เปน กอง อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา อนั ละเอยี ดตา งหากน่ี กิเลสตวั รายยังวา เปนเราอยหู รอื ? ความผองใสทีค่ วรจะผา นไปได ถอื ไวท าํ ไม อันนี้เปนกิเลสประเภทหนึ่งที่ละเอียดมากเกินกวาสติปญญาธรรมดาจะรู เห็นได ตอ งเปน สตปิ ญ ญาอตั โนมตั กิ าํ จดั มนั น่ีเวลายอนจิตเขามา เมื่อไมมีที่พิจารณาจริงๆ กต็ อ งยอ นจติ เขา มาพจิ ารณา ธรรมขั้นละเอียดสุดนั่นคือ กิเลสตวั ละเอยี ดอันเปน จดุ สดุ ทาย “สพฺเพ ธมมฺ า นาลํ อภิ นเิ วสาย”ธรรมทั้งปวงไมควรถือมั่น นั่นเมอ่ื ถึงจุดสดุ ทา ยแลวก็ “สพเฺ พ ธมมฺ า อนตฺ ตา” ธรรมทั้งปวงเปน อนตฺตา ทั้งสิ้น ไมว า จะเปน สว นหยาบสว นละเอยี ด ตลอดความ ผองใส ความเศราหมองทั้งสน้ิ ท่ีมีอยภู ายในจิตโดยเฉพาะ เปน อนตฺตา ทง้ั สน้ิ ผูปฏิบัติจงพิจารณาจิตดวงผองใส ใหเ หน็ เชน เดยี วกบั สภาวธรรมทง้ั หลาย ธรรมทั้งปวงเปน อนตฺตา ธรรมทั้งปวงจึงไมควรถือมั่น จากส่ิงนี้เองทไ่ี มค วรถอื มั่น พอ พิจารณาเต็มที่เต็มภูมิของปญญาแลว สลัดพบั เดียวหมด เมื่อสมมุติทั้งปวงไมวาหยาบ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๔
๕๕ กลาง ละเอียดไดสิ้นสุดไปจากใจแลว ปญหาอะไรที่จะมีอีกตอไป? ไมม !ี หมด! นน่ั แหละทา นผหู มดทกุ ขท า นหมดอยา งน้ี นแ้ี ลผเู หนอื กเิ ลส กเิ ลสมากดั มาฉกี เหมอื นเสอื โครง ดงั ทก่ี ลา วมาแลว น้ี เปนอันยุติกันเพียงเทานี้ เพราะถกู ฆา หมดฉบิ หายไมม เี หลอื เลย กิเลสทุกประเภทที่ทานเปรียบเหมือนเสือโครง ถกู ฆา ดว ยสตปิ ญ ญาอนั แหลมคม คอื มหาสตมิ หาปญ ญา สน้ิ ซากไปหมด เสวย อมต ธรรม โดยหลกั ธรรมชาติ นค่ี อื ผลแหง การปฏบิ ตั อิ ยา งแทจ รงิ เปน อยา งน้ี เพราะธรรม เปนธรรมชาติที่ถึงใจของสัตวโลก ธรรมเปนของจริง ผสู อนจงึ สอนดว ยความจรงิ ผู ปฏิบัตปิ ฏิบัติจรงิ ๆ จังๆ ฟงจรงิ ๆ จังๆ แกกิเลสตัณหาสวะซึ่งเปนภัยอยางจริงจัง เพราะเห็นวาเปนภัยอยางจริงใจ แกอยางจริงๆ จังๆ ก็พนไดจริงๆ อยา งนไ้ี มเ ปน อน่ื เพราะ “สวากขาตธรรม” นน้ั ทา นเรยี กวา “มชั ฌมิ า” ทันตอเหตุการณอ ยตู ลอดเวลา ไมวา กาลใดอาการใดของกเิ ลสทแ่ี สดงขน้ึ มา “มัชฌิมาปฏิปทา” เปน อาวธุ ทท่ี นั สมยั ฟาดฟน กเิ ลสใหแ หลกกระจายไปหมดไมม อี ะไรเหลอื เลย ทานจึงเรียกวา “มัชฌิมา” เหมาะสมตลอดเวลากบั การแกก เิ ลสกองทกุ ขท ม่ี อี ยภู ายในใจของสตั วโ ลก การแสดงธรรมกเ็ หน็ วา สมควร ขอยุติ <<สารบญั ธรรมชุดเตรียมพรอม ๕๕
๕๖ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมื่อวันที่ ๘ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ กเิ ลสฝง ในจติ ศาสนาในขน้ั เรม่ิ แรกทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงประกาศเอง มสี าวกชว ยพทุ ธภาระให เบาบางลง ในครง้ั นน้ั ศาสนาไมค อ ยกวา งขวาง มแี ตเ นอ้ื ๆ ครน้ั ตอ มานานเขา ๆ เนอ้ื ก็ ไมค อ ยปรากฏ มักมีน้ําๆ แลวเลยกลายเปนมีแตเปลือก มแี ตก ระพไ้ี ป คอื มแี ตพ ิธรี ี ตอง ไปไหนมแี ตพิธี ศาสนาจรงิ ๆ มองไมคอยเห็น มีแตพิธีเต็มไปหมดในงานตางๆ เกย่ี วกบั ศาสนา เมื่อเปนเชนนั้นผูที่จะยึดเอาเปนหลักเปนเกณฑกับศาสนาจริงๆ กเ็ ลย ยึดไมได ไมท ราบวาอะไรเปนศาสนา คอื แกน แท อะไรเปนกระพี้ เปน เปลอื ก คือพิธีรี ตองตางๆ เพราะการแสดงออกแหง พธิ นี น้ั ๆ มีมากตอมาก ผยู งั ไมเ ขา ใจกเ็ ขา ใจวา เปน เรอ่ื งศาสนาทั้งน้ัน พิธีรีตองเลยทําใหผูตั้งใจตอศาสนาจริงๆ ยุงและสับสนไปหมด ไม อาจจะยึดศาสนาอันแทจริงได นเ่ี ปน ปญ หาหนง่ึ ในเวลานซ้ี ง่ึ มมี ากมาย และถือเปนหลักเปนเกณฑเสียดวยไม ใชธรรมดา พิธตี างๆ ซึ่งแฝงศาสนากลายเปนหลักเกณฑขึ้นมา สว นทเ่ี ปน หลกั เกณฑ จรงิ ๆ จงึ คลา ยกบั คอ ยเสอ่ื มคอ ยหายไปเปน ลาํ ดบั ถา ไมม กี ารปฏบิ ตั เิ ขา ไปเกย่ี วขอ ง ถา พูดตามแบบโลกๆ กว็ า การปฏบิ ตั ธิ รรมกบั พธิ รี ตี องกาํ ลงั เปน คแู ขง กนั โดยไมมีเจตนา หรอื มกี ็ไมอาจทราบได เพราะเวลานี้กําลังอยูในความสับสนปนเปกันระหวางพิธีรีตอง ตางๆ กบั การปฏบิ ตั ิ อาจไมท ราบวาอะไรจริงอะไรไมจ รงิ อะไรแทอ ะไรปลอม อะไร เปน เปลอื กอะไรเปน กระพ้ี อะไรเปน แกน หากไมม กี ารปฏบิ ตั เิ กย่ี วขอ งไปดว ยแลว อยางไรๆ เปลอื ก กระพจ้ี ะตองถกู เสกสรรขึน้ มาเปนแกน เปน หลกั เปนความจริงของ ศาสนาโดยไมส งสยั ทั้งๆที่ไมใชความจริงเลย นเ่ี ปน เรอ่ื งทน่ี า วติ กอยมู าก ศาสนาแทๆ ทานไมม อี ะไรมากมายกา ยกอง นอกจากสิ่งที่จําเปน ทาํ ลงไปแลว เกดิ ประโยชนเ ทา นน้ั สมยั ตอ มาชอบยงุ ไมเ ขา เรอ่ื ง เชน รับศีล ก็ตองยุงไปหมด มาไม ทนั รับศลี ก็เสียใจ นน่ั ! ฟงดูซิ อะไรๆ ก็รับศีล รบั ศลี อยตู ลอดเวลา ดงั “มยํ ภนฺต ตสิ รเณน สห ปจฺ สลี านิ ยาจาม” ขอวนั ยังค่ํา แตก ารรักษาศีลไม ทราบวา รกั ษาอยา งไร เห็นแตการขอรบั ศีล สมาทานศลี อยทู าํ นองนน้ั ไมวาที่ไหน ๆ ยงุ ไปหมด การรบั ศลี กม็ เี จตนาอยภู ายในใจเปนผูชี้ขาด หรอื การรับรองในศีลของตน ดวยเจตนาวิรัติ เรื่องก็มีเทานั้นเปนสําคัญ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๖
๕๗ ถา เปน ฆราวาสทว่ั ๆ ไปและศลี ทว่ั ๆ ไป เชน ศลี หา ศลี แปด กค็ วรรบั ไวเ พอ่ื รกั ษาศีลจริงๆ จะมปี ระโยชน สวนศีลทีเ่ ปนศีลของพระของเณรน้นั เพอ่ื ประกาศเพศของตนใหโ ลกทราบ จึง ทําอยา งมกี ฎเกณฑไ ปตามหลกั ธรรมหลกั พระวินยั เชน ศลี เณร ศลี พระ แตส ดุ ทา ยก็ เจตนาอันเดยี วกนั ไมไดมากมายอะไรนกั ทาํ พธิ กี ็ เอา! ถวายทาน ก็ฟาดกันจนหมดคัมภีร ผูนัง่ ฟงจนหาวนอน จะนอนหลับคานง่ั คํา ถวายทานนี้ก็ไมทราบวาถวายอะไรตออะไร เปนคัมภีรๆ ไลม าหมดโลกธาตุ ดีไมด ี อยากจะอวดภูมิของตัวเองดวยวาไดเรียนมามากและรูมาก ใหคนอื่นเขาอัศจรรยเ สยี มงั่ ภมู นิ าํ้ ลาย นั่น! อยางนเ้ี ปนตน เมอ่ื ไดผ า นการปฏบิ ตั มิ าพอสมควร ไดเ หน็ วา อะไรทาํ ใหเ สยี เวลาํ่ เวลา อะไรจรงิ อะไรปลอม หรืออะไรมันยืดเยอ้ื กวา จะเขา ถงึ ตวั จรงิ ละโอโ ห เปน ชว่ั โมงๆ อยา งนไ้ี ม ทราบวาทําเพื่ออะไร เพราะฉะนน้ั ในวงกรรมฐานทา นจงึ ไมค อ ยมพี ธิ รี ตี องอะไรนกั อยากจะพูดวา “ไมม”ี แตพูดวา “ไมค อ ยม”ี นน้ั เปน ความเหมาะสม เพราะบางทกี ็ ตองอนุโลมผอนผันทงั้ ๆ ท่กี ท็ ราบอยแู ลว เพอ่ื จติ ใจคนผยู งั ใหมต อ ศาสนา แมเ ชน นน้ั ก็ ควรนาํ ของจรงิ มาโชวก นั อวดพธิ กี นั ใหโ กห รไู ป แตเอาของปลอมมาโชว! เมื่อพอ ผอ นผนั สน้ั ยาวก็ผอ นไปบางทัง้ ท่ีขวางใจขวางธรรม ในวาระตอ ไปคอ ยบอกกนั ใหร เู รอ่ื ง รรู าวในความจรงิ และหลักเกณฑข องพระพุทธศาสนา จะเหน็ ไดใ นขณะทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงสง่ั สอนสาวกตง้ั แตเ รม่ิ เขา บวช พระองค เรม่ิ มคี วามจรงิ จงั ขน้ึ ในขณะบวชทเี ดยี ว ครั้งแรกพระองคท รงบวชเองดว ยพระวาจาวา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา”.ทา นจงเปน ภกิ ษเุ ถดิ นี่เปนวาระแรก ตอ มาก็ “ตสิ รณู อุปสัมปทา” ถึงสรณะสาม คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แลวก็สําเร็จเปนพระขึ้นมา ถึงวาระที่สามน้ีกย็ กใหส งฆเ ปน ใหญ ใหส าํ เรจ็ ในสงฆ ตอนนท้ี า นประกาศ “รุกฺขมูล เสนาสนํ” ใหเ ปน ทีอ่ ยูอาศยั ของพระเพอื่ ประพฤติพรหมจรรย เพ่อื ความสิน้ ทกุ ขโ ดย ชอบ ทั้งๆ ที่แตกอนก็สอนใหอยูรุกขมูลรมไมอยูแลว แตไมไ ดย กข้นึ เปนกฎเปน เกณฑ ในการบวช พอตอ มาวาระทส่ี ามนข้ี น้ึ เปน กฎเกณฑเ ลย “รกุ ขฺ มลู เสนาสนํ”อปุ ช ฌายจ ะไมส อนอยา งนไ้ี มไ ด ผิด ตอ งสอนใหถ กู ตอ ง ตามนี้ อปุ ช ฌายใ ดกต็ าม แมเจาของจะไมชอบ “รกุ ขฺ มลู เสนาสนํ” ขนาดไหน การบวช กุลบุตรตอนสดุ ทา ยภายหลงั กต็ อ งบวชตอ งสอนอยา งน้ี มี “รุกฺขมูลเสนาสนํ” ข้ึน หนา อนุศาสน ไมเลือกวา ใครหรือนิกายไหน เพราะคําวา “นิกาย” กเ็ ปน เพยี งชอ่ื อนั หนึ่งเทานั้น หลกั ใหญค อื การบวชนน่ั เอง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๗
๕๘ ทา นเอาจรงิ เอาจงั สอนแลว ไลเ ขา ปา เขา เขาไปเลยเพอ่ื ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ จนได บรรลุธรรมแลวแมทานจะออกประกาศธรรมสอนประชาชน ก็ใหเปนไปตามอัธยาศัย ของทานผมู ีอาํ นาจวาสนามากนอย มคี วามรคู วามฉลาดลกึ ตน้ื หยาบละเอยี ดมากนอ ย เพียงไร กส็ ง่ั สอนประชาชนไปตามภมู นิ สิ ยั วาสนาของตน องคใ ดทท่ี า นไมม นี สิ ยั เกย่ี วขอ ง วาสนาทานไมมีในทางนั้น ทานก็ไมเกี่ยว เชน พระอญั ญาโกณฑญั ญะ ไปอยูที่สระ “ฉัททันต” มชี า ง “ฉทั ทันต” เปนหัวหนาโขลง อปุ ถมั ภอ ปุ ฏ ฐากทา น ตั้งสิบเอ็ดป ผา สบงจวี รยอ มดว ยดนิ แดง ถงึ วาระแลว กม็ าทลู ลา พระพุทธเจาเขา สนู พิ พานไปเลย องคน ป้ี รากฏวา ไดส อนเฉพาะ “พระปณุ ณมนั ตานี บุตร” ซง่ึ เปน หลานชายเทา นน้ั สอนองคเดียว และพระปณุ ณมนั ตานบี ตุ ร ปรากฏวา เปน “ธรรมกถกึ เอก” นอกน้ันทา นไมส นใจกบั ใครเลย พระอญั ญาโกณฑญั ญะ เปน “รัตตัญ”ู เปนพระสาวกองคแรกที่ไดบรรลุธรรมพระศาสดาใดในตนพุทธกาล องคท ท่ี า นมอี าํ นาจวาสนาในทางใด ทานก็เปนไปตามเรื่องของทานเอง เชน “พระสารีบุตร” “พระโมคคัลลาน” เปน ผทู ม่ี อี าํ นาจวาสนามากเกย่ี วกบั บรษิ ทั บรวิ าร มีความรูความฉลาดมากดงั “พระสารบี ตุ ร” การแนะนาํ สง่ั สอนกก็ วา งขวางลกึ ซง้ึ ทุก สง่ิ ทกุ อยา งเตม็ ไปดว ยความเหมาะสม เพราะฉลาดในการสง่ั สอน “พระโมคคลั ลาน” ก็เปนผูทรงฤทธิ์ทรงเดช เปน ไปตามนสิ ยั วาสนาของทา นทเ่ี กย่ี วขอ งกบั บรษิ ทั บรวิ าร พระเณร เมอ่ื ถงึ ขน้ั “อรหตั ภมู ิ” แลว เปน นสิ ยั วาสนาลว นๆ ไมมีกิเลสเจือปน ทานจะ อบรมส่ังสอนประชาชนมากนอยเพียงไร ยอ มเปน ไปตามอธั ยาศยั ของทา น ไมมีกิเลส เขา เคลอื บแฝง ไมลุมๆ ดอนๆ สงู ๆ ตาํ่ ๆ เพราะทานสอนทานไดแลวคอยมาสอนคน อน่ื จงึ ไมม คี วามผาดโผนโลดเตน แฝงอยใู นองคท า น เวลาเกี่ยวของกับประชาชนที่มา พึ่งรมเงาแหงธรรมทาน ในเบอ้ื งตน ทา นฝก อบรมใจทา น การอบรมสง่ั สอนคนทา นทาํ อยา งเตม็ ท่ี ทาน ฝกฝนทรมานตนอยางเต็มฝมือ ไมล บู ๆ คลาํ ๆ การฝก อบรมตนดว ยวธิ ตี า งๆ เพอ่ื แก กิเลสทั้งมวล ก็ตองเปนการทรมานตัวอยูโดยตรง ถา ไมท าํ อยา งนน้ั กเิ ลสกไ็ มย อมจาํ นน และหมดไปจากใจ การทรมานกิเลสกับการทรมานตนในขณะนั้น จะเรียกวาเปน “ความทกุ ขใ นคนๆ เดยี วกนั ” ก็ไดไมนาจะผิด เพราะขณะที่ทุมเทกําลังเพื่อ “การรบ รากบั กเิ ลส” หรือ “เพอ่ื แกก เิ ลส” นน้ั ตอ งใชค วาม “อุตสาหพยายาม” อยางเต็มที่ ตอ งไดร บั ความทกุ ขม าก สมกบั ขน้ึ เวทเี พอ่ื ชยั ชนะโดยถา ยเดยี ว แมทุกขมากนอยหรือ จะถงึ ขน้ั ตาย เจาของตองยอมรับ ไมยอมรับไมไดชัยชนะมาครอง มบี างองคท า นเดนิ จงกรมจนฝา เทา แตก นั่นเห็นไหม! ทั้งๆ ทฝ่ี า เทา นน้ั ไมใ ชก เิ ลส แตจ าํ เปนกต็ องไดรับ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๘
๕๙ ความกระทบกระเทือนไปดวย ถงึ ฝา เทา แตกดว ยการรบกเิ ลส บางองคก ต็ าแตก “พระ จักขุบาล” ตาแตกทง้ั สองขา ง เพราะไมน อนเปนเวลาตั้งสามเดือน ทา นฝก ทรมานอยา ง เต็มที่จนตาทั้งสองขางแตก แตใ จสวา งจา ขน้ึ มาในขณะนน้ั เพราะบรรลุขั้นอรหัตธรรม ถงึ คราวทจ่ี ะตอ งรบั ความทกุ ขล าํ บาก เพราะการประกอบความเพียรเพื่อแก กเิ ลส ก็ตองยอมรับกัน จะไมย อมรบั ไมไ ด ตอ งยอมรบั เมอ่ื ถงึ ขน้ั ยอมรบั เพอ่ื ชยั ชนะ อันใหญหลวง พระพทุ ธเจาก็ทรงยอมรบั พระสาวกท้งั หลายกวาจะไดมาเปน “สรณะ” ของพวกเรา ทา นก็ยอมรบั ความทุกขความลําบากในการฝก ฝนทรมานตนเพื่อฆา กเิ ลส ทั้งนั้น เพราะกเิ ลสอยกู บั ตวั การฟนกิเลส ถา ไมฟ น เขา ไปถกู ตวั ดว ยกไ็ มกระทบ กระเทอื นกเิ ลสทอ่ี ยกู บั ตวั ฉะนน้ั การหาํ้ หน่ั กเิ ลสไมก ระทบกระเทอื นตวั ดว ยจงึ ไมไ ด ตองมีการกระทบกระเทือนตัวเปนธรรมดา พวกเรากเ็ หมอื นกนั ถา จะใหก เิ ลสมนั อยหู อ งโนน เรามาอยหู อ งน้ี ขังกิเลสไวใน หอ งโนน เรามาอยใู นหอ งน้ี มันเปนไปไมได ถา เปน ไปไดพ ระองคต อ งทรงทราบกอ น ใครๆ ในโลก เราอยใู นหอ งไหนกเิ ลสกอ็ ยใู นหอ งนน้ั การฝกทรมานเราตรงไหนก็เปน การฝกทรมานกิเลสตรงนั้น และในขณะเดยี วกนั กเ็ ปน ความทกุ ขใ นการแกก เิ ลสเชน เดียวกัน คอื เราตอ งยอมรบั ทกุ ข เชน นั่งมากก็ทุกข เดินมากกท็ ุกข นอนมากกท็ ุกข คือ นอนพจิ ารณาเพอ่ื แกก เิ ลสนะ ไมใ ชน อนแบบหมขู น้ึ เขยี ง เวลากาํ หนดภาวนามนั ทกุ ข ดว ยกนั ทงั้ นนั้ ชอ่ื วา “ประโยคพยายามทจ่ี ะแกก เิ ลส”แลว มนั เปน ความทกุ ขด ว ยกนั ทง้ั นน้ั ฉะนน้ั จงึ ไมค วรทอ ใจออ นใจ กเิ ลสจะแขง็ ขอ ตอ สเู อาจะวา ไมบ อก แมจ ะเปน การอดนอนผอ นอาหาร มนั ก็เปนเร่ืองความทกุ ขทง้ั นน้ั แหละ แต เพื่อดับเชื้อของกิเลสนะ ทุกขก็ตองยอมรับ การขาดตกบกพรอ งในสง่ิ ใดบรรดาท่ี อาศยั เปนความฝดเคืองกับสิ่งใดก็ยอมรับ อะไรจะขาดตกบกพรองตองยอมรับ ๆ เมื่อ เข็มทิศอันใหญยิ่งมุงตออรรถตอธรรม คอื แดนแหง ความพน ทกุ ขอ ยแู ลว อะไรๆ กต็ อ ง ยอมรบั ตองยอมรับทั้งนั้นไมกังวล ไมยอมรับไมได กเิ ลสมนั อยกู บั เรา เราไมยอมรบั ความกระทบกระเทือน ความทกุ ขค วามลาํ บากดว ยเพราะการแกก เิ ลส ยอมไมได ตอ ง ยอมรบั เอา! ทุกขก็ทุกข ยอมทุกข ลาํ บากก็ยอม ขอใหก ิเลสมนั คอ ยหมดไป ๆ เพราะ กเิ ลสเปน เครอ่ื งกอ กวนภายในจติ ใจ จําพวกบอ นทาํ ลายกค็ อื กเิ ลสนแ่ี หละ อยา งภาย นอกทเ่ี ราเหน็ นน่ั แหละ ลวนแลว แตกิเลสบงการ เพือ่ ความมักใหญใ ฝสูงเกนิ มนุษยมนา เทวดาอินทรพ รหม ไมย อมมองดตู วั เดย๋ี วสไตรค ท น่ี น่ั สไตรค ท น่ี ่ี เดนิ ขบวนทน่ี น่ั เดิน ขบวนทน่ี ่ี ก็คือพวกบอนทําลาย ทําลายบานเมือง ทาํ ลายทน่ี น่ั ทาํ ลายทน่ี ่ี ทาํ ลายหลาย ครง้ั หลายหนมนั กแ็ หลกไปเอง นั่น! ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๕๙
๖๐ กิเลสมนั ทาํ ลายเรามันทาํ ลายอยา งนัน้ มันบอนที่ตรงนั้น มันบอนที่ตรงนี้ แตเรา ไมทราบวา มนั บอ นทําลายเราซิ เราเลยหลงไปเขาขางมันเสีย แลว กแ็ ย! ตัวเราก็เลยเปน กองทุกขขึ้นมาโดยไมเห็นโทษของตัว เพราะฉะนน้ั จงึ ตอ งใชป ญ ญาแยกแยะออก เจตสิกธรรมอันใดเปนไปเพื่อความ กอทุกขความลําบากแกตน ใหระมัดระวังวา เจตสกิ ธรรมคอื ความคดิ ประเภทท่ีผดิ พยายามแกไ ขโดยถกู ทาง ก็จะมีความสุขเย็นใจ ผเู กย่ี วขอ งกม็ คี วามผาสกุ เยน็ ใจเชน เดียวกัน ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู บั อบุ ายแหง การแกก เิ ลสของแตล ะรายจะขวนขวายใสต น คาํ วา “กเิ ลส” เราอยา คดิ วา มนั อยทู ไ่ี หน กค็ อื ความคดิ ความปรงุ นแ่ี หละ เปน เครื่องมอื ของกิเลสโดยตรง กเิ ลสจรงิ ๆ มฝี ง อยใู นใจ ฝง อยา งจมมดิ ไมทราบวาใจคือ อะไร กเิ ลสคอื อะไร เพราะมันเปนอนั เดียวกัน ในขณะนม้ี นั เปน อนั เดยี วกนั มันเปน อยางนั้นจริงๆ กระเทือนใจกก็ ระเทอื นกเิ ลส เมื่อแยกแยะกันไปโดยลําดับดวยความเพียรพยายาม เราถึงจะทราบวา กเิ ลส เปนชนิดใด ใจแทหรือ “จติ แท” เปน อยา งไร เพราะอาํ นาจของปญ ญาเปน เครอ่ื ง ทดสอบ สตเิ ปน เครอ่ื งระลกึ รใู นวงงานนน้ั ๆ ปญ ญาเปนผูค ลคี่ ลายพจิ ารณาใหท ราบวา ผดิ หรอื ถกู โดยทางเหตผุ ล แลวก็แกกันไปไดตามลําดับของกิเลสที่มีประเภทตางๆ กนั เราจะทราบวาอนั ไหนเปนเรอ่ื งของกิเลส อนั ไหนเปน เรอ่ื งของธรรม กค็ อ ยทราบไป เรอ่ื ยๆ โดยภาคปฏบิ ตั จิ ติ ตภาวนา แตเรือ่ งความทุกขเ พราะความเพียร กย็ อ มมเี ปน ธรรมดาของการทาํ งาน ไมว า จะเปน ความเพยี รเพอ่ื แกก เิ ลสขน้ั ตาํ่ ขน้ั กลาง หรอื ขน้ั ละเอยี ด เม่ือกเิ ลสยังมอี ยู ความทุกขในการฝกฝนทรมานตนก็ตองมีอยูโดยดี ถึงจะมีก็ ตาม พึงทราบวาการทํางานไมวางานชนิดใด งานเลก็ งานใหญต อ งเปน ความทกุ ขต าม ความหนกั เบาของงาน แตค ณุ คา นน้ั สงู สมกบั งาน ผหู วงั พน ทกุ ขต อ งมคี วามเขม แขง็ ไมเขมแขง็ ไมได การฉดุ การลากจิตออกจาก ส่ิงมวั หมอง ออกจากกเิ ลส ออกจากสง่ิ สกปรกโสมมน้ี เปน ของทาํ ไดย าก เพราะฉะนนั้ โลกจงึ ไมอ ยากทาํ กนั สูนอนจมอยูกับกิเลสไมได กจ็ าํ เปน ตอ งนอน นอนจมอยนู น่ั แล นอนบน อยูน่ันแหละ เฝากองทุกข บนทุกขบน ยาก บนวา ลาํ บากราํ คาญ แตไมมีทางที่ จะแยกทกุ ขอ อกจากตวั ได แมบน กนั กระทงั่ วันตายก็ตายไปเปลา ๆ ไมไ ดร บั ประโยชน อะไร ฉะนน้ั การมแี ตบ น ใหท กุ ขแ ละระบายทกุ ขอ อกดว ยการบน จงึ ไมเกดิ ผลอะไร แตก ็ จาํ เปน ตอ งระบายตามนสิ ยั ทเ่ี คยบน กนั แกไ มต ก ไดร ะบายใหใ ครฟง นดิ หนง่ึ กย็ งั คดิ วา ไดเ ปลอ้ื งทกุ ขบ า ง ทั้งที่ทุกขยังมีอยูอยางเดิม เพราะนน่ั ไมใ ชการแกทกุ ข! ถา ไมแ ก กิเลสซึ่งเปนตัวกอทุกขใหเบาบางและสิ้นไป! การบน เพอ่ื ระบายทกุ ข เปนการเพิ่มพูน กเิ ลสขน้ึ เสยี อกี ไมใ ชอ บุ ายแกท กุ ข! ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๐
๖๑ ถา เดนิ ทางสตปิ ญ ญาโดยจติ ตภาวนา ใครครวญไตรตรอง กม็ ที างแกก เิ ลสและ กองทกุ ขไ ดด งั ทา นพาดาํ เนนิ มาแลว มพี ระพทุ ธเจา และพระสาวกเปน ตวั อยา ง ทานแก กเิ ลสกองทกุ ขด ว ยวธิ ปี ฏบิ ตั ติ อ จติ ใจ ศาสนาในครง้ั พทุ ธกาลทา นปฏบิ ตั แิ ละสอนอยา งน้ี ทา นสอนเขา ในวงจติ โดย เฉพาะ การแสดงออกทางกายทางวาจานั้น เปนกิริยาที่สอออกมาจากใจ เมื่อใจไดรับ การอบรมดแี ลว อนั ไหนถกู อนั ไหนผดิ ใจยอ มทราบเอง ขอ สาํ คญั ใหจ ติ ไดร บั ธรรมคอื เหตผุ ลเขา สดู วงใจ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา งแสดงออกจะ เปน ดว ยเหตดุ ว ยผลและเปน ความราบรน่ื ดงี าม การแกก เิ ลสถา ไมม เี หตผุ ลเปน เครอ่ื ง มอื แก เชน โกรธใคร กพ็ ึงยอนจิตเขามาดูตัวผูกาํ ลังโกรธอนั เปน ตน เหตไุ มด ี เปนตน คนเรายอมจะเห็นโทษของตัว ความโกรธก็ระงับไป ไมใ ชไ ปเพง เลง็ ผถู กู โกรธ ซึ่งเปน การเพม่ิ พนู กเิ ลสและกองทกุ ขใ หแ กต วั มากขน้ึ อานคัมภีรไหนก็วาแตเรื่องกิเลส เราเลยเขา ใจวา กเิ ลสไปอยใู นคมั ภรี น น้ั ๆ เสีย นั่นซีมันผดิ นะ อนั หนง่ึ ความโลภ ความโกรธ ความหลง หรอื กเิ ลสพนั หา ตณั หารอ ย แปด อะไรทาํ นองน้ี เขาใจวามันอยูในคัมภีร การอานช่อื กิเลสไดม ากๆ เรียนจําได มากๆ กว็ า ตวั นี้รแู หลมหลักนักปราชญช าตกิ วีไปเสีย แนะ มนั ผดิ ไปแลว นน่ั มนั ผดิ จากหลกั ธรรมและเจตนาของพระพทุ ธเจา ทีท่ รงสั่งสอนเพื่อแกกเิ ลสซงึ่ มีอยูกบั ตวั คอื อยกู บั ใจ การเขา ใจดงั ทว่ี า นน้ั มนั เปน การสง่ั สมกเิ ลสโดยไมร สู กึ ตวั เลย เชนสําคัญ วากิเลสอยูในคัมภีร ไปจาํ ชอ่ื กเิ ลสนน้ั แลว กว็ า ตวั รตู วั เขา ใจตวั ฉลาดเสยี แนะ!ทั้งๆ ที่ ไมไ ดใ หใ จแตะตอ งหรอื เขยา พอใหก เิ ลสตกใจบา งสกั ตวั เดยี ว หรอื พอใหม นั หนงั ถลอก ไปบา ง กเิ ลสยงั อยเู ตม็ หวั ใจ และมากกวาทีย่ งั ไมไดเรียนชอ่ื ของมันเสยี อกี ทง้ั นม้ี นั ผดิ พระประสงคข องพระพทุ ธเจา ! เพื่อถูกตามความเปนไปของธรรม หรือนโยบายของพระพทุ ธเจา กเิ ลสตวั ใดก็ ตาม เรยี นรชู อ่ื มนั อยใู นคมั ภรี ใ ดกต็ าม นั่นเปนชื่อของมัน แตก เิ ลสอยูภายในใจคน หวั ใจสัตว ความโลภชื่อมันอยูในคัมภีร ตวั โลภอยใู นใจคน ความโกรธในคมั ภีรไมไดโกรธ แตห วั ใจคนมนั โกรธตา งหาก ความลุมหลงคัมภีรไมไดลุมหลง ชอ่ื ของกเิ ลสไมไ ดล มุ หลง ตวั กเิ ลสทอ่ี ยภู ายในตวั ของเรานเ้ี อง เปน ตวั ใหล มุ หลงตา งหาก การแกกิเลสจึงตองแกที่นคี่ อื ใจ แกท่อี นื่ ไมถูกไมเกิดผล การแกถ กู หลกั ถกู วธิ ี กเิ ลสจะคอ ยเบาบางลงและหมดไปจากใจ ผปู ฏบิ ัติจิตตภาวนาจงึ ควรดใู จตัวเองและ แกก เิ ลสทใ่ี จเปน สาํ คญั ดูภายนอกแลวก็ยอนทบทวนเขาดูภายในจึงชื่อวา “เรียนธรรม ปฏิบัติธรรม” อยา ดแู บบโลกๆ ทด่ี ไู ปรกั ไปชงั ไปเกลยี ดไปโกรธ อนั เปน การสง่ั สมกเิ ลส ใหม ากมนู จนลมื เนอ้ื ลมื ตวั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๑
๖๒ ถา ดเู ขา มาในตวั ดอู อกไปขา งนอก เทยี บเคยี งเหตเุ ทยี บเคยี งผลเพอ่ื หาทางแก ยอ มมสี ว นทจ่ี ะลงกนั และแกก เิ ลสไดเ ปน พกั ๆ ไป ใจกส็ บายและเบา ไมหนักอึ้งดวย การแบกการหามกิเลสทั้งโคตรแซปูยาตาทวดดังที่เคยแบกหามมา วนั หน่ึง ๆ ให พิจารณาทบทวนมากๆ ทบทวนเรื่องของตัว พิจารณาเรื่องของตัวใหมาก ดว ยสติ ปญ ญาพจิ ารณายอ นหนายอนหลังเพื่อรูค วามจริง เพราะวนั เวลาหนง่ึ ๆ ใจผลติ ความยงุ เหยงิ วนุ วายขน้ึ มาภายในตวั ไมไ ดห ยดุ ถา เราเผลอ แมแตไมเ ผลอกเิ ลสมนั ยังโผลอ อก มาไดซึ่งๆ หนา อยา งกลา หาญตามสนั ดานทห่ี ยาบคายของมนั บางทมี นั ยงั แสดงลวด ลายออกมาตอ หนา ตอ ตาแกม นั ไมไ ดก ม็ ี เพราะกําลังของเราไมเพียงพอ ขณะนน้ั จําตอ ง ยอมไปกอ น อนั ไหนอยใู นวสิ ยั กพ็ ยายามแกม นั ไป นแ่ี หละการแกก เิ ลส ที่ทานดําเนินมา ทา นไมท อ ถอยและยอมมนั เอางา ยๆ จะ ทุกขยากลําบากก็ทนเอา เพราะเปนงานของตัวโดยเฉพาะ คนอื่นชวยไมได ทั้งนีก้ ็เพื่อ ร้อื สงิ่ ทเี่ ปนเส้ียนหนามอยูภายในใจออกนน่ั แล เพราะข้นึ ชื่อวา “กเิ ลส” แลว มนั เปน เสีย้ นหนามทิ่มแทงจติ ใจทั้งนน้ั แหละ จงพยายามถอดถอนออกไปโดยลาํ ดบั จนไมม ี อะไรทิ่มแทงใจตอไป และเปนใจที่ “สมบรู ณแ บบแท” ประการสาํ คญั กค็ อื ชีวิตจิตใจมันหมดไปทุกวัน ๆ เมอ่ื วานนก้ี ห็ มดไปแลว วนั หนง่ึ มันมีแตหมดไปเรอื่ ยๆ หมดจนกระทั่งไมม เี หลอื ชวี ติ สงั ขารผานไปเรือ่ ยๆ จนไม มีอะไรเหลือติดตัว เมอ่ื ไมม ลี มหายใจเหลอื ตดิ ตวั แลว เขาเรยี กวา “คนตาย” กันทัง้ นั้น คนตายสตั วต ายที่ไมม ีกศุ ลผลบญุ ติดเนอื้ ติดตวั ยง่ิ เปน ความทุกขอ ยา งหาทป่ี ลง วางไมไ ด ฉะนั้นจึงตอ งรบี เรงขวนขวายกอสรางคณุ งามความดีซ่งึ จะไมสญู หายไปไหน เสียแตบ ดั น้ี ความดนี จ้ี ะตดิ แนบกบั ใจไปในภพหนา ไมลดละปลอยวางเจา ของผู บําเพ็ญ การสรา งคณุ งามความดที า นเรยี กวา “สรา งวาสนาบารม”ี “วาสนา” ก็คือธรรมเครื่องอยูนั่นเองจะเปนอะไรไป คอื ธรรมเครอ่ื งอยเู ครอ่ื ง อาศยั เครื่องพึ่งพิง เครอ่ื งสง เสริมจิตใจ เหมอื นคนมีบา นมเี รอื นเปน ท่อี ยอู าศัยยอม สบาย ถาไมมีก็ลําบาก บานเมอื งเขามีที่อยทู ี่อาศัยแตเ ราไมม ี ซง่ึ เราไมใ ชก ระจอ น กระแต ไมใ ชส ตั ว จงึ ไมส มควรอยา งยง่ิ แมแ ตส ตั วเ ขายงั มรี วงรงั มนษุ ยเ ราไมม บี า นมี เรือนอยูไดเหรอ? มนั ลาํ บากแคไ หน จิตใจไมมีหลักมีเกณฑ ไมมีเหตุมีผล ไมม ที พ่ี ง่ึ พงิ อาศยั ไมม ที เ่ี กาะทย่ี ดึ เหนย่ี ว อยโู ดยลาํ พงั ไมม สี รณะ จะเปน ทกุ ขเ พยี งไร ลองวาดภาพ ดูกไ็ ด ภาพของคนทุกขเ ปนอยา งไร เราเคยเหน็ ทง้ั คนและสตั วเ ปน ทกุ ขท รมานจนตายตอ หนา ตอ ตากเ็ คยเหน็ มันนา ยินดีเมื่อไหร! เมอ่ื มบี ารมธี รรมกพ็ อมคี วามรม เยน็ เปน สขุ ภายในใจบา ง ยังดีกวามีแต ทกุ ขล ว นๆ อนั เปน ไฟทง้ั กองบนรา งกายและจติ ใจเปน ไหนๆ เฉพาะอยางยิ่งใหส รางสติ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๒
๖๓ ปญญาขน้ึ ใหมาก แกก เิ ลสในปจ จบุ นั นน่ั แหละ ใหเห็นชัดๆ กบั ใจ แกไ ปไดม ากนอ ยกร็ ู เอง กเิ ลสมนั เตม็ อยทู ใ่ี นจติ นแ้ี หละไมเ คยบกพรอ งเลย แมโ ลกจะพากนั บน วา สิ่งนี้บก พรอ งส่ิงนัน้ บกพรอ ง หรือวา โลกบกพรอง มนั วง่ิ ออกทาง “ขนั ธ” และทาง “อายตนะ” คือทางตา ทางหู ทางจมกู ทางลน้ิ ทางกาย ทางใจ อยตู ลอดเวลา ไมเคย บกพรอ งกบั ใครถา ไมท าํ ลายมนั แมเวทนาจะเกิดข้นึ มนั กไ็ มเ กดิ เฉพาะเวทนาเทา นน้ั กิเลสมันเกิดดวยถาสติไม มี ทาํ ใหเ กดิ ความเดอื ดรอ นเสยี ใจ เพราะเปน ทกุ ขท น่ี น่ั เจบ็ ปวดทน่ี ่ี ความเสยี ใจนน้ั เกดิ ขึ้นจากความหลงขันธหลงอายตนะวา เปนตนเปนของตน กิเลสจึงเกิดขึ้นตรงนี้ ความ ทุกขทางใจจงึ เกิดขึ้นได เชนเกิดความกระวนกระวายภายในใจวา ทกุ ขเ กดิ ขน้ึ ทน่ี น่ั ทน่ี ่ี บา ง กลัวทุกขจะไมหายบาง กลวั ตนจะตายบา ง เหลา นม้ี แี ตเ รอ่ื งสง เสรมิ กเิ ลสใหเ กดิ ขน้ึ ซ้ําเติมเจาของ เพราะความโงเขลาเบาปญญาตามไมทันมันนั่นแล! ถา จะเปน ศษิ ยพ ระตถาคตจรงิ ไมเ ปน ศษิ ยป ลอมละกต็ ายซ้ี! เราเรยี นความรู เรียนเพื่ออะไร กเ็ พอ่ื ความรอบรใู นสง่ิ เหลา นเ้ี อง เปน กเ็ ปน มาแลว ตง้ั แตว นั เกดิ จน กระทั่งบัดนี้ ทราบทกุ ระยะอยแู ลว เวลาตายทาํ ไมจะไมท ราบ เพราะอยูในอวัยวะอัน เดียวกัน เอา ตายเดย๋ี วนก้ี ใ็ หท ราบกนั เดย๋ี วนซ้ี ิ จิตไมเคยอาภัพความรูแตไหนแตไรมา เรอ่ื งความเปน ความตายเปน เรอ่ื งของธาตขุ นั ธ การรคู วามเปน ความตายของตวั เองเปนหลกั วชิ า คือสติปญญาทางพุทธศาสนา เมอ่ื รูแ ลว ตวั เองก็ไมเสียทา เสยี ทไี ปกบั สิ่งที่เกิดขึ้นดับไป มีเวทนาเปนตน หรอื รา งกายทป่ี รากฏขึน้ แลว สลายตัวลงไป จิตใจมี ความมน่ั คงไมห วน่ั ไหวโยกคลอนไปตาม จติ มหี ลกั เกณฑเ ปน ทอ่ี ยอู าศยั มคี วามมน่ั คง ภายในตัวเอง ไมว นุ วายไปกบั ธาตขุ ันธท่ีมันจะสลายตัวไป ที่กิเลสมันแทรกขน้ึ ไดนน้ั เพราะความสาํ คญั มน่ั หมายของจติ เปน ตน เหตุ วา ความทกุ ขท น่ี น่ั ความเจบ็ ปวดทน่ี ่ี กายเราทุกขตรงนั้น ขาเราเจ็บตรงนี้ ศรี ษะเราปวดขา งนน้ั ทอ งเราเดนิ ไมห ยดุ กลัวจะ ไมห าย กลัวจะตาย กลวั จะตายวนั นน้ั กลวั จะตายวนั น้ี หาเรื่องคิดไปไมมีเวลาจบสิ้น ทั้งน้มี แี ตเร่ืองกอ ความทกุ ขความลําบากใหแกรางกายและจติ ใจ รับภาระหนักซํ้าเขาไป อกี ดไี มดโี รคเสยี ใจเม่อื เกิดมากขึ้น กท็ าํ ใหต ายเรว็ กวา ทค่ี วรจะเปน จึงไมใชของดี ไม ใชเ รอ่ื งแกก เิ ลสใหร ะงบั หรอื สน้ิ ไป แตเ ปน เรอ่ื งสง เสรมิ กเิ ลสใหซ าํ้ เตมิ ทง้ั รา งกายและ จติ ใจใหห นกั เขา โดยลาํ ดบั จงึ ควรคาํ นงึ ใหม ากในเวลาไมส บาย การแกก เิ ลสคอื อยา งไร? เอา! อะไรเกดิ ข้นึ กใ็ หร เู ร่ืองความเกิดข้นึ ของส่ิงนนั้ เจบ็ กใ็ หท ราบวา มนั เจบ็ ขนาดไหน จะรใู หถ งึ ความจรงิ ขนาดนน้ั เรอ่ื งของความเจบ็ เปน อนั หน่ึงตา งหาก ผรู เู จ็บเปน อันหน่งึ ตางหาก ไมใ ชอ นั เดยี วกนั น้ี จะตายก็ใหทราบถึง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๓
๖๔ ขณะตาย อนั ไหนตายกใ็ หม นั ตายไป ผไู มต ายคอื ผรู ู ก็ใหรูวาไมตาย เพราะผทู ่รี ไู มได ตายไมมีปาชา เปน “อมต”ํ (อะมะตัง) อมตํ ก็หมายถึงจิตนี้เอง แมมกี ิเลสอยใู จก็เปน “อมต”ํ ของมัน กเิ ลสสน้ิ ไป แลว กเ็ ปน อมตํ แตเปน“อมต”ํ ที่ตางกันเทานั้นเอง อมตอํ นั หนง่ึ เปน อมตวํ ฏั ฏะ คือ ตวั หมุนเวยี นอยางน้นั เร่ือยๆไป อมตํอีกอันหน่งึ ไมเ กิดตอไปอกี และไมตายดวย นี่เปน อมตํของความบริสุทธิ์แหงใจ มอี ยสู องอยา งจงเรยี นใหร ู อันใดทีม่ าเก่ยี วของมาทาํ ลาย จิตใจ ใหท ราบวา อนั นน้ั คอื ขา ศกึ ใหรีบแกไขทันที นี่แหละเรียนธรรม คอื เรยี นเรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธ เรอื่ งอายตนะ สําคัญที่สุดก็คือ ขันธ ระหวางขันธกับจิตนี่ มนั กระทบกระเทอื นกนั อยทู ง้ั วนั ทง้ั คนื ยนื เดนิ นง่ั นอน หรือ ทกุ อริ ยิ าบถ มันกระทบกระเทอื นกันอยเู สมอไมเคยมเี วลาสงบตวั เลย ถา มสี ตปิ ญ ญา สง่ิ เหลา นน้ั กเ็ ปน หนิ ลบั อยเู สมอ ความกระเทอื นทง้ั นเ้ี ปน หนิ ลบั ปญญา คอื เปน เครอ่ื งปลกุ สตปิ ญ ญาใหต น่ื ทนั กบั เหตกุ ารณ และใหร ูรอบขอบชิดตอสง่ิ นั้นๆ สง่ิ เหลา นน้ั กไ็ มซ มึ ซาบเขา ภายในและปลอ ยยาพษิ เขา ไปในใจได ใจกไ็ มเ ดอื ด รอ นกระวนกระวาย เอา! ถงึ วาระจะตายกต็ ายไปอยา ง “สคุ โต” เพราะความรูรอบคอบแลว ความ จรงิ กเ็ ปน อยา งนน้ั เรียนธรรมปฏิบัตธิ รรมทําอยางนี้แหละ กเิ ลสทง้ั หลายถงึ จะกลวั และ ลา ถอย ไมตั้งหนาย่ํายีจิตใจดังที่เคยเปนมา กเิ ลสกค็ อื ความสาํ คญั มน่ั หมายตา งๆ นแ่ี หละ ซง่ึ เกดิ ขน้ึ จากจติ ดวงเดยี ว แกให ทันกับเหตุการณที่ปรากฏขึ้น ยิ่งเวลาจนตรอกเขา จริงๆ เวทนามมี ากเทา ไหร จะโหมตวั เขา มาอยา งเตม็ ทเ่ี วลานน้ั แตพ งึ ทราบวา “นน่ั ตวั เวทนา” อยา เขา ใจวา เวทนาเปน ตน สําคัญมาก! จงพจิ ารณาใหเ หน็ ความจริงของเวทนา แมทุกขมากนอยเพียงไรก็ใหรู เอาจติ กําหนดอยูตรงนั้น พจิ ารณาอยตู รงนน้ั จนรูความจรงิ ของเวทนา จิตเปน ธรรมชาตริ ู เวทนาเปนสิ่งที่แสดงขึ้น เกิดข้ึนแลวดบั ไปตามธรรมชาตขิ องมันเอง ผูที่รูใหรูเวลา เวทนาเกดิ และดับ ถา จะตายกใ็ หร วู า มนั ตาย อะไรมนั ตายกใ็ หร ู สง่ิ ทไ่ี มต ายกอ็ ยู คือผูรู น!่ี ใหท นั กนั อยทู กุ เวลา แลว กไ็ มว ติ กกงั วล การเปนการตายเปนเรื่อง ธรรมดา ธรรมดา! ถาทราบตามหลักธรรมชาติแลว จะไมม ปี ญ หากบั เรอ่ื งการเปน การตายอะไร เลย การจะกอปญหาขึ้นมา กค็ ือกิเลสเปนผูส รางปญ หาข้นึ มา แลว กม็ าพวั พนั จติ ใจให เกดิ ความเดอื ดรอ นวนุ วายไปดว ย ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๔
๖๕ ทั้งๆ ทย่ี งั ไมต ายกเ็ ดอื ดรอ นแลว กลวั ตาย แนะ! เวลาจะตายจริงๆ ยง่ิ เดอื ด รอ นใหญ ซึ่งไมเกิดประโยชนอะไร มีแตความทุกขเต็มตัว ตายแลว กเ็ สยี ทา เสยี ทเี พราะ ความรอนเปน เหตุอกี น่นั แหละ เพราะเหตนุ น้ั จงึ ตอ งแกค วามเดอื ดรอ น ดว ยความรู ความเขา ใจในธาตใุ นขนั ธใ นอวยั วะตา งๆ ซง่ึ อยใู นกองขนั ธก องสมมตุ ทิ ง้ั มวล เราอาศัยกองสมมุตินี้ จะใหก องสมมตุ นิ เ้ี ปน ตวั เราไดอ ยา งไร? มันก็ตองเปน เรอ่ื งของเขาอยนู น่ั เอง ธาตุก็เปนธาตุ ขนั ธก เ็ ปน ขนั ธ ดินเปนดิน นาํ้ เปน นาํ้ ลมเปน ลม ไฟเปนไฟ จะใหม าเปน “เรา” มนั เปน ไมไ ด จะใหต้งั อยยู นื นานถาวรตามทคี่ วามคาด หมายความสาํ คญั แหง ใจ ก็เปนไปไมได เพราะหลักธรรมชาติของมันเปนอยางนั้นมา ดั้งเดิม ผูเรียนวิชาธรรมะจึงตองเรียนใหรูตามหลักธรรมชาติ แลว อยตู ามหลกั ธรรมชาติ ตา งอนั ตา งจรงิ กส็ บาย ไมมีอะไรมากอกวน นี่แหละชื่อวา “เรียนธรรม” ชอ่ื วา “แกก เิ ลส” ปฏบิ ตั เิ พอ่ื แกก เิ ลส แกอ ยา งน้ี ถึงเวลาเรงตองเรงเต็มที่ เปนกับตายไมถ ือเปนภาระความกงั วล เพราะเพื่อ ความรูความหลุดพนอยางเดียว อะไรอน่ื ๆ ไมเกี่ยว จนรูเทาและปลอยวางไวตามสภาพ ของสิ่งทั้งปวง ความดเี หลา นแ้ี หละ จะเปน เครอ่ื งสนบั สนนุ จติ ใหพ น จากโลกได พน ดว ยอาํ นาจ แหง ความดนี แ้ี ล นห่ี ลกั ศาสนาสว นใหญท า นสอนลงทน่ี ่ี แตเราอยาพากันเดินจงกรมแตพอเปน พธิ กี แ็ ลว กนั การทําพอเปน พธิ นี นั้ คือนั่งก็สกั แตว า น่งั สติสตังไมมีเลย นั่งสัปหงกงกงัน แลว หลบั ครอกๆ อยกู บั ทา นง่ั นั่นแหละมันพิธีอะไรไมรูละ พธิ บี า นะ !จะวา ยงั ไง? ผู เปนคนดีฟงเอง! เดินจงกรมก็เดิน เดนิ ไปยงั งน้ั แหละ สตสิ ตงั ไมท ราบไปอยไู หน แลว กม็ านบั คะแนนเอาเองวา “วนั นเ้ี ราเดนิ จงกรมไดเ ทา นน้ั นาทเี ทา นน้ี าที ดใี จ!” ดใี จกบั ลมกบั แลงไป ไมไดเรื่องอะไรเลย! พระพทุ ธเจา พระอรหันต ตลอดครอู าจารย ทานเบอ่ื เจาพธิ ีแทบจะอยกู บั โลก พิธีไมได ไมไ ดค ดิ บา งหรอื วา กเิ ลสมนั ไมใ ชเ จา พธิ เี หมอื นพวกเรานน่ี า มนั คือตัว เหยียบย่ําทําลายผูเปนเจาพิธีโดยตรง ฉะนน้ั ตอ งแกม นั ลงทใ่ี จนน้ั แกท ต่ี รงนน้ั โดยถกู ทางแลวดวยสติปญญาอันแหลมคม อยไู หนก็เปนความเพียร นง่ั อยกู เ็ ปน ความเพยี ร ถามีสติปญญารักษาจิตใจอยูโดยสม่ําเสมอ อิริยาบถทั้งสี่เปนความเพียรดวยกันทั้งสิ้น ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๕
๖๖ เอา! ใหม ีความเพียรกนั จริงๆ จังๆ นะ นแ่ี หละเรยี กวา “เดนิ ทางศาสนาแบบ ศาสดา” เดนิ ตามแนวทางของผแู กก เิ ลส เราจะสิ้นกิเลสดว ยแบบนี้ สน้ิ ในลกั ษณะน้ี ไม สน้ิ ในแบบอน่ื ลกั ษณะอน่ื พระพทุ ธเจาทา นสนิ้ ไปเพราะเหตนุ ้ี สาวกทา นสน้ิ ไปดว ยอบุ ายวธิ นี ้ี ดวยปฏิปทา อนั น้ี กิเลสมีประเภทเดยี วกัน การดาํ เนนิ แบบเดยี วกนั กเิ ลสจะตอ งหลดุ ลอยไปโดย ลาํ ดบั ๆ เชนเดียวกัน และถึงความพนทุกขเชนเดียวกัน จงึ ขอใหเ ปน ทล่ี งใจในการ ปฏิบัติของตน ขอยุติเพียงเทานี้ <<สารบญั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๖
๖๗ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมอ่ื วนั ท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธ พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙ ปลกุ ใจสกู เิ ลส ความสขุ กด็ ี ความทกุ ขก ด็ ี ไมมีอะไรจะสุขหรือทุกขยิ่งกวาใจ ความสกปรกกด็ ี ความสะอาดกด็ ี ไมม อี ะไรจะสกปรกและสะอาดยิง่ กวา จิตใจ ความโงก ด็ ี ความฉลาดกด็ ี กค็ อื ใจ ทา นสอนไวว า “มโน ปุพฺพงฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฐ า มโนมยา” สง่ิ ทง้ั หลาย สาํ คญั อยทู ใ่ี จ สําเร็จแลวดวยใจ ศาสนากส็ อนลงทใ่ี จ ศาสนาออกกอ็ อกจากใจ รูก็รูที่ใจ พระพุทธเจารูก็รูที่ใจ นํา ออกจากใจนไ้ี ปสอนโลก กส็ อนลงทใ่ี จของสตั วโ ลก ไมไ ดส อนทอ่ี ่นื ใดเลย ในโลกธาตนุ จ้ี ะกวา งแคบขนาดไหนไมส าํ คญั ธรรมมีจุดหมายลงที่ใจแหงเดียว ใจทค่ี วรกบั ธรรมอยแู ลว กเ็ ขา ถงึ กนั ไดโ ดยลาํ ดบั ที่ทานวา “มีอุปนิสัย” นน้ั หมายถงึ ผู ควรอยแู ลว เห็นไดอยางชัดเจน ผูมีนิสัยสูงต่ําตางกันอยางไรพระองคทรงทราบ เชน ผู มีอุปนิสัยที่จะสามารถบรรลุถึงที่สุดแหงธรรม ควรจะเสด็จไปโปรดกอนใครๆ เพราะ เกย่ี วกบั ชวี ติ อนั ตรายทจ่ี ะมาถงึ ผนู น้ั ในกาลขา งหนา เร็วกวาธรรมดาที่ควรจะเปน ก็รีบ เสด็จไปโปรดคนนั้นกอน ที่ทานวา “ทรงเล็งญาณดูสัตวโลก” ผทู ม่ี าเกย่ี วขอ งกบั “ตา ขาย” คอื พระญาณของพระองค คาํ วา “เลง็ ญาณดสู ตั วโลก” นั้น ทานเล็งญาณดูจิตใจนั่นเอง ทานไมไดเล็ง ญาณดูตนไมภูเขา ดนิ ฟา อากาศ ซง่ึ เปน วตั ถหุ ยาบๆ และใหญโ ตยง่ิ กวา คนและสตั ว แต เมอ่ื เกย่ี วกบั ธรรมแลว ใจเปน สง่ิ ทใ่ี หญโ ตมากกวา สง่ิ ใดในโลก และเหมาะสมกับธรรม อยางยิ่ง การเล็งญาณก็ตองเล็งดูที่ใจ การสง่ั สอนกต็ อ งสง่ั สอนลงทใ่ี จ ใหใ จรแู ละเขา ใจ สิ่งตางๆ ซึ่งมีอยูกับใจเอง สําหรับเจาของไมสามารถที่จะรูไดวาอะไรผิดอะไรถูก การแกไ ขจะแกด ว ยวธิ ใี ด กไ็ มท ราบทางแกไ ข วธิ แี กไ ขพระองคก ส็ อน ไมใ ชส ง่ิ ทน่ี าํ มาสอนนน้ั ไมม อี ยกู บั จติ ใจ ของสตั วโ ลก เปน สง่ิ ทม่ี อี ยดู ว ยกนั เปนแตเพียงผูนั้นยังไมทราบ ถกู ปด บงั หมุ หอ อยู ดว ยสง่ิ สกปรกทง้ั หลาย ดงั ทก่ี ลา วมาแลว ขา งตน วา ไมม อี ะไรทจ่ี ะสกปรกยิ่งกวาใจ และ สกปรกไมม วี ันสะอาดเลยถา ไมชําระซกั ฟอกดวยการบาํ เพ็ญธรรม รางกายเราสกปรก ยงั มวี นั ชะวนั ลา งใหส ะอาดได เสือ้ ผากางเกงสถานทส่ี กปรก ยังมีการชําระซักฟอกเช็ดถู ลา งใหส ะอาดสะอา นไดต ามกาลเวลา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๗
๖๘ แตจิตใจที่สกปรกโดยที่เจาของไมไดสนใจนั้นนะ มันสกปรกมาตั้งแตเมื่อไหร และสกปรกไปตลอดกาลตง้ั แตว นั เกดิ จนกระทง่ั วนั ตาย ภพนถ้ี งึ ภพนน้ั ภพไหนกภ็ พ ไหน มีแตเรื่องสกปรกพาใหเปนไป พาใหเ กดิ พาใหต ายเรอ่ื ยๆ ไปอยา งนน้ั หาเวลา สะอาดไมได ทานเรียกวา “ใจสกปรก” สิ่งที่สกปรกมันจะพาไปดีไดอยางไร? อยกู อ็ ยู กบั ความสกปรก ไมใชของดี ผลแหง ความสกปรกกค็ อื ความทกุ ขค วามลาํ บาก คติที่ไป กล็ าํ บาก สถานทอ่ี ยกู ล็ าํ บาก กาํ เนดิ ทเ่ี กดิ กล็ าํ บาก มีแตของลําบาก ลาํ บากหมดเพราะ ความสกปรกของใจ จึงไมใชเปนของดี ควรจะเห็นโทษของใจที่สกปรก ไมมีสิ่งใดที่นา สะอดิ สะเอยี นยง่ิ กวา ใจทส่ี กปรก อยา งอน่ื ทส่ี กปรกไมค อ ยไดม คี รมู อี าจารยส อนกนั เหมือนใจสกปรก สวนจติ ใจท่สี กปรกน้ี ตองหาผสู าํ คญั มาสอนจงึ จะสอนได ใครจะมาสอนเรอ่ื ง การซกั ฟอกจติ ใจทส่ี กปรกนใ้ี หส ะอาดสะอา นไมไ ด นอกจากธรรมของพระพุทธเจา แตละพระองคท ี่ทรงรูทรงเห็น และทรงสละเปน สละตายในการบําเพญ็ เพื่อรูทั้งพระ ทัยของพระองคเองตลอดถึงวิธีแกไข แลว กน็ าํ มาสง่ั สอนโลกไดถ กู ตอ ง ตามวิธีที่พระ องคทรงบําเพ็ญและไดทรงเห็นผลนั้นมาแลว ใจจึงตองมีครูอาจารยสอนอยางนี้ ความทกุ ขม นั กเ็ ปน ผลมาจากสง่ิ ทส่ี กปรกนน้ั เอง ออกมาจากความโง โงตอตัว เองแลว กโ็ งต อ สง่ิ ตา งๆ ไปเรื่อยๆ ตัวเองโงอ ยแู ลว สง่ิ ทม่ี าเกย่ี วขอ งกไ็ มท ราบวา อะไร ถกู อะไรผดิ แมไมชอบใจก็ตองไดยึดตองไดควา คนเราจึงตองมีทุกขทั้งๆ ทไ่ี มต อ งการ กนั เลย แตท าํ ไมจงึ ตอ งเจอกนั อยทู กุ แหง ทกุ หนทกุ เวลาํ่ เวลา ทกุ สตั วท กุ บคุ คล ก็เพราะ ไมส ามารถทจ่ี ะหลบหลกี ปลกี ตวั ออกได ดวยอุบายตา งๆ แหง ความฉลาดของตน นน้ั แลจงึ ตอ งอาศยั คาํ สง่ั สอนของพระพทุ ธเจา ไดร บั การซกั ฟอกดว ยความดที ง้ั หลายเปน ลาํ ดบั ๆ มา ทานกเ็ ปน การซกั ฟอกกเิ ลสประเภทหนง่ึ ศีลก็เปน การซักฟอกกเิ ลสประเภท หนง่ึ ภาวนากเ็ ปน การซกั ฟอกกเิ ลสประเภทตา งๆ รวมตวั เขา มาอยใู นองคภ าวนาน!่ี ลวนแตเปน “นาํ้ สะอาด” ทซ่ี กั ฟอกสง่ิ สกปรกซง่ึ รกรงุ รงั อยภู ายในจติ ใจของสตั วโ ลกน้ี แล อบุ ายวธิ ตี า งๆ พระพุทธเจาจึงไดสอนกันมาเปนลําดับลําดา องคน ผ้ี า นไปแลว องคน น้ั กม็ าตรสั รู ตรัสรูก็ตรสั รใู นธรรมอนั เดยี วกนั ความจรงิ อนั เดยี วกนั เพอ่ื จะแก กเิ ลสตณั หาอาสวะของสตั วโ ลกอยา งเดยี วกนั เพราะฉะนั้นโอวาทของพระพุทธเจาทั้ง หลายจงึ เหมอื นๆ กนั นเ่ี รานบั วา เปน ผมู วี าสนา ไดเปนผูใครตอศีลตอธรรม ซึ่งเปน “นาํ้ ทส่ี ะอาดท่ี สดุ ” สาํ หรบั ชะลา งสง่ิ ทส่ี กปรกทม่ี อี ยภู ายในใจของตน คนทไ่ี มม คี วามสนใจกบั ธรรม ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๘
๖๙ ไมเ ช่ือธรรมและไมเช่อื ศาสนา เหลา นม้ี จี าํ นวนมากมาย เราไมไดเขากับคนประเภทนั้น กน็ บั วา “เปน วาสนาอยา งยง่ิ ” แมคนดมี ีธรรมในใจจะมีจํานวนนอ ย กม็ เี ราคนหนง่ึ ทม่ี สี ว นอยดู ว ย สาํ หรบั ผทู ่ี ใครตออรรถตอธรรม มีความเชื่อความเลื่อมใสพระโอวาทของพระพุทธเจาที่ทรงสั่ง สอนไว นบั วา เปน ผทู ม่ี วี าสนา นแ่ี หละวาสนาของเรา! คืออันน้เี องเปนพ้ืนฐานทจ่ี ะให เราไดบําเพ็ญความดีสืบเนื่องกันเปนลําดับมา เปนความเจริญรุงเรือง จิตใจก็จะไดมี ความสะอาดสะอา นขน้ึ เมื่อจิตใจมีความสะอาดขึ้นโดยลําดับ ความสุขกป็ รากฏขึ้นเปน เงาตามตัว ความเพลินอันใดจะเหมือนความเพลินของใจ ที่รื่นเริงไปดวยอรรถดวย ธรรม มีความรักใครใฝใจในธรรม การประพฤตปิ ฏิบัตกิ ็เปนไปดวยความอุตสาห พยายาม ผลก็ปรากฏขึ้นมาใหเปนความสงบรมเย็น เปน ความเพลนิ อยภู ายในจติ ใจ ทานจึงวา “รสอะไรก็สูรสแหงธรรมไมได” “รสแหง ธรรมชาํ นะซง่ึ รสทง้ั ปวง” คือรส อันนี้ไมมีวันจืดจาง ไมมเี บื่อ ไมมีชินชา เปน รสหรอื เปน ความสขุ เปนความรื่นเริงดูด ดื่มไปโดยลําดับลําดา แมที่สุดจนมาถึงขั้น วิมุตติพระนิพพานแลว ความสขุ น้ันยิง่ มี ความสมาํ่ เสมอตวั คอื คงท่ี คงเสนคงวา ตายตัว การพยายามจะยากหรอื งา ยขน้ึ อยกู บั ความพอใจ เราพอใจแลวงานอะไรมันก็ทํา ไดทั้งนั้น สาํ คญั อยทู ค่ี วามพอใจ เล็งดูเหตุดูผลเขากันไดแลว ความพอใจหากมาเอง ถงึ ไมมีก็บังคับได เราบังคับเรา บงั คบั คนอน่ื ยงั ยากยง่ิ กวา เราบังคับเรา เราอยูกับตัวเรา เอง จะบังคับใหทําอะไรก็ได “เอา! นง่ั ภาวนาวนั นก้ี น็ ง่ั ” “เอา เดินจงกรมก็ได” เอา ทาํ บญุ ใหท าน เอา รกั ษาศลี นะ ไดทั้งนั้น เราเปนเจาของเราเปนหัวหนา เปน ผบู งั คบั บญั ชาจติ ใจ เราเปน เจาของ เจาของทุกสว นภายในรางกายเรา อาการเคลอ่ื นไหวทง้ั ภายนอกภายในเราเปน ผูรับผิดชอบ เราเปนผูระมัดระวัง เราเปนผูรักษาเอง ควรหรือไมควรอยางไร เปนหนา ที่ของเราจักตองบังคับบัญชาหรือสงเสริมเราเอง ในสิ่งที่ควรหรือไมควร เราทราบอยู ดวยดี หากเราไมสามารถปกครองตนเองไดใ นขณะนแ้ี ลว เราจะเอาความสามารถมา จากไหนในวนั หนา เดอื นหนา ปห นา ชาตหิ นา ภพหนา ? เราตองทําความเขาใจไวกับ ปจจุบันดวยดีตั้งแตบัดนี้ ปจ จบุ นั นแ้ี ลเปน รากฐานสาํ คญั ทจ่ี ะสง ไปถงึ อนาคตใหม ี ความเจริญรุงเรืองขนาดไหน ตองไปจากปจจุบันซึ่งบําเพ็ญอยูทุกวัน เจริญอยูทกุ วนั สงเสริมอยูทุกวัน บาํ รงุ อยทู กุ วนั เจรญิ ขน้ึ ทุกวัน นแ่ี หละหลกั ปจ จบุ นั อยทู เ่ี ราเวลาน้ี วนั เดอื นป ภพชาตินะ มันเปนผลพลอยไดที่จะสืบเนื่องกันโดยลําดับ เชนเดียว กบั เมอ่ื วานนส้ี บื เนอ่ื งมาถงึ วนั น้ี แลว กส็ บื เนอ่ื งไปถงึ พรงุ น้ี สวนผลที่จะไดรับดีชั่วมันขึ้น ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๖๙
๗๐ อยูกับเรา เราเปนผูรับผิดชอบ จงึ ตอ งพจิ ารณาใหเ หน็ ประจกั ษเ สยี แตบ ดั นท้ี ย่ี งั ควรแก กาลอยู ธรรมของพระพุทธเจาเปน “สนฺทิฏฐิโก” ประกาศอยตู ลอดเวลาต้ังแตว ันพระ องคทรงประกาศธรรมสอนโลก ก็ประกาศเรื่อง “สนทฺ ฏิ ฐ โิ ก” นี้ดวยกันตลอดมาจน ปจ จบุ นั เปนสิ่งที่ผูปฏิบัติจะพึงรูพึงเห็นภายในใจของตัวเอง กําลังเรามีเทาไรเราก็ทราบ ผลที่ไดรับมากนอยเพียงไรก็ทราบภายในจิตใจ เพราะใจเปนผูคอยรับทราบอยูตลอด เวลาอยแู ลว ทาํ ไมจะไมท ราบ บกพรองที่ตรงไหนเรงเขาไป การเรงอยูโดยสม่ําเสมอ ความบกพรอ งนน้ั กค็ อ ยสมบรู ณข น้ึ เปน ลาํ ดบั จนกระทั่งสมบูรณเต็มที่ได ไมใชสมบูรณ ดว ยความทอ ถอย ความทอ ถอยเปนเรอื่ งทจ่ี ะตดั ทอนส่งิ ทมี่ อี ยูแลว ใหลดลงไป และเปน สิ่งที่กีดกันสิ่งที่ยังไมเกิดไมใหเกิดขึ้น บรรดาสิ่งที่เราพึงใจทั้งหลายจะไมมีทางเกิดขึ้นได เพราะไมมีการสงเสริมอันเปนเหตุใหผลเกิดขึ้นได! โงเราก็โงมาพอ จะเอาไปแขงกันไดยังไง เพราะตางคนตางโงเตม็ ตวั อยูภ ายใน ใจดว ยกนั จะเอาไปแขงกันไดอยางไร ไมใชเรื่องจะแขงขันกัน เพราะตางก็มีดวยกันทุก คน สกปรกกส็ กปรก ทกุ ขก ท็ กุ ขด ว ยกนั รดู ว ยกนั ทกุ คน ตางคนตางทุกข ตางคนตา งรู ตา งคนตา งรบั ภาระเหลา นด้ี ว ยกนั ไมใชเรื่องที่จะมาแขงขันกันได เราไมมีความสงสัยใน เรื่องเหลานี้ เอาใหฉ ลาด ไมฉ ลาดกวา ใครกต็ าม ขอใหฉ ลาดเหนอื เรอ่ื งทเ่ี คยมอี ยใู นจติ ใจ ของเราซึ่งเคยหลอกลวงเรามานาน เราคลอ ยตามสง่ิ เหลา นม้ี านานแลว ใหพยายามทํา ความฉลาดใหท นั กนั กบั เรอ่ื งของตวั เองนแ่ี หละสาํ คญั ! เมื่อทันกับเรื่องของตัวเองแลว จะเรียกวา “ชนะตัวเอง” ดังทที่ า นพูดไวใ นหลักธรรมก็ไมผิดนี่ ชนะอะไรกต็ าม ที่ทาน พูดไวในธรรมบทหนึ่งวา “โย สหสสฺ ํ สหสเฺ สน สงคฺ าเม มานเุ ส ชเิ น, เอกจฺ เชยยฺ มตตฺ านํ, ส เว สงคฺ ามชตุ ตฺ โม” การชนะสงครามทค่ี ณู ดว ยลา น ถงึ ขนาดนน้ั ลว นแตเ ปน การกอ เวรทง้ั นน้ั ไมใชเ ปนของดีเลย การชนะตนนี่เพียงผูเดียวเทานั้นเปน ของประเสริฐสุด” ชนะตนหมายถงึ อะไร? ก็หมายถึงชนะสิ่งที่ตัวเราเคยแพมาอยูภายในใจของเรา นแ้ี ล เราแพอะไรบาง เราทราบเราเองเรื่องอยางนี้ กเิ ลสทง้ั หมดไมว า แงใ ด ลูกมันเราก็ แพ หลานมนั เรากแ็ พ เหลนมันเราก็แพ พอแมของมันเรากแ็ พ ปยู า ตายายของมนั เรา กแ็ พ เราแพเสียทั้งหมด แพอยางหลุดลุย ยังงี้ อะไรๆ ของมันแพหมด ถา สมมตุ วิ า มนั มี มูตรคูถเหมือนอยางคนเราธรรมดานี้ มตู รคูถของมนั เราก็แพอ ีก แตนี่มันไมมี กม็ แี ต “ขี้โลภ ขี้โกรธ ขห้ี ลง” วาไปยังงั้นเสีย เราแพมันแลวทั้งนั้นนี่ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๐
๗๑ ความแพนี่มันเปนของดีหรือ? อยกู บั ผใู ดไมม ดี เี ลย คําวา “แพ” นง่ั อยกู แ็ พ นอนอยกู แ็ พ ยนื อยกู แ็ พ เดนิ อยกู แ็ พ หาเวลาชนะไมมีเลย มีศักดิ์ศรีที่ไหน! มีแต ความแพเต็มตัวคนเรามสี าระทไ่ี หน ถา เปน ธรรมดาแบบโลกๆ เขาแลว อยากจะไปผูก คอตายนน่ั แหละ แตนี่มันเปนเรื่องธรรมดา มนั สดุ วสิ ยั เราจะวายังไงละ พดู กนั ใหเ หน็ อยา งนแ้ี หละ ไมยกขึ้นมาอยางนี้ไมเห็นโทษจะวายังไง? นําธรรมมาตีพวกเรานี้แหละ พวกนกั แพน แ่ี หละ แพอ ยทู กุ เวลาํ่ เวลา เราไมเห็น โทษของความแพของเราบางหรือ? นเ่ี ปน วธิ ปี ลกุ จติ เราหมายถึงวิธีปลุกจิตใจเรา เรา ยังจะแพอยูอยางนี้ตลอดไปหรือ? แพอ ยา งหลดุ ลยุ นะ จะแพราบอยางนี้เรื่อยๆ ไม ตองการชัยชนะบางหรือ? พระพุทธเจาเปนผูมีชัยชนะ สาวกอรหตั อรหนั ตท า นเปน ผชู นะ พระอริยเจา ทาน เปนผูชนะไปโดยลําดับ สรณะของเราทั้งสาม “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” ลว น แลว ตง้ั แตช ยั ชนะทง้ั นน้ั ทเ่ี รานกึ นอ มถงึ ทา น ตวั เราแพอ ยา งราบตลอดเวลา สมควรแลว หรือจะเปนลูกศิษยตถาคตนะ ? นน่ั วา อยา งนน้ั ซี นแ่ี หละวธิ ปี ลกุ จติ เจา ของปลกุ อยา งน้ี ใหล กุ ขน้ึ ตอ สเู พอ่ื ชยั ชนะ ไมจ มอยกู บั ความแพอ ยา งราบคาบเรอ่ื ยไป จิตมันเปนสิ่งที่สงเสริมได กดขี่บังคับได เหยยี บยาํ่ ทาํ ลายได สําคัญที่เราเองเปน ผหู าอบุ ายคดิ ในแงต า งๆ ทจ่ี ะปลกุ จติ ปลกุ ใจของเราใหเ กดิ ความอาจหาญรา เรงิ ตอสู ในสิ่งที่เปนประโยชน ทจ่ี ะเอาชยั ชนะขน้ึ มาสตู นดว ยอบุ ายตา งๆ ดงั ทก่ี ลา วมาน้ี นี่แหละเปนทางเดินของพระพุทธเจา เปนทางเดินของผูจะกาวเขาสูชัยชนะ ชนะ ไปวนั ละเลก็ ละนอยเรื่อย ๆ ไป ผลสุดทา ยกช็ นะจนไมม ีอะไรเหลอื เลย ปญ หานแ้ี หละ สําคัญมาก สตกิ บั ปญ ญาเปน ธรรมอนั สาํ คญั อยา งยง่ิ สัมมาทิฏฐิ สมั มาสงั กปั โป ขึ้นตน นะ พจิ ารณาเอาใหไ ดช ยั ชนะสง่ิ ทแ่ี วดลอ มเราอยตู ลอดเวลา คอยตบคอยตเี ราอยตู ลอด เวลา คืออะไร ? มันมีที่ไหน ? มนั มแี ตร ปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ นเ้ี ทา นน้ั ตัวสําคัญจริงมันอยูที่ตรง น้ี ตา หู จมูก ลน้ิ กาย มนั เปนทางเดนิ เขา มาแหงอารมณต างๆ แลวเขา มาหาสัญญา อารมณซง่ึ เปนกองขนั ธน ีเ่ อง สดุ ทา ยกก็ องขนั ธน แ่ี หละรบกบั เรา หรอื มนั ไมไ ดร บก็ ไมท ราบ เราหมอบราบอยูแลวก็ไมทราบวาจะมารบกับอะไร นอนทบั ถายรดไปเลยไมม ี ปญหาอะไร เพราะยอมมนั อยา งราบคาบแลว น!ี่ ทีนี้เราจะไมใหเปนอยางนั้น เราแกตัวเรา เราใหเปนเทาที่เปนมาแลวเทานั้น เวลานี้เราไดศาตราวุธ คืออรรถธรรม สตปิ ญ ญาแลว เราจะตอสู พิจารณาเอาใหไดชัย ชนะภายในตัวเรา ไมเ อาชัยชนะกับผูใดเลย เอากบั ผใู ดจะเปนเร่ืองกอ เวรกบั ผูนน้ั เอา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๑
๗๒ กบั สตั วต วั ใดกเ็ ปน เรอ่ื งกอ เวรกบั สตั วต วั นน้ั ขน้ึ ชอ่ื วา “อน่ื นอกไปจากตวั เอง”แลว มี แตเ รอ่ื งกอ กรรมกอ เวร ไมเปนของดีเลย สิ่งที่เลิศประเสริฐสุดก็คือ “เอกจฺ เชยฺยมตฺ ตานํ ส เว สงคฺ ามชตุ ตฺ โม” การชนะเรื่องของเรานี่เทานั้นเปนเรื่องประเสริฐสุดในโลก พระพทุ ธเจา กช็ นะแบบน้ี สาวกอรหตั อรหนั ตท า นชนะแบบน้ี ทานเปนผูไมกอเวรกอ กรรม นอกจากนน้ั สตั วโ ลกยงั ไดอ าศยั ทา นมาเปน ลาํ ดบั จนกระทง่ั บดั น้ี ทา นเอาชนะ ตรงนี้ “เอา พิจารณา มนั เคยหลงอะไรอยเู วลานี้ ?” พิจารณาใหเห็นชัด สง่ิ เหลา นไ้ี ม ปดบังลี้ลับ มอี ยภู ายในตวั เรา รา งกายกเ็ ตอื นเราอยตู ลอดเวลา เจบ็ น้นั ปวดนี้ ความ สลาย ความแปรสภาพ แปรที่ไหนกระเทือนที่ตรงนั้น แปรไปนานเทาไหร ก็กระเทอื น มากขน้ึ ๆ เวทนากบั ความแปรสภาพมนั เปน คเู คยี งกนั อะไรวิปริตผิดไปนิดหนึ่ง เวทนาจะเตอื นบอกขน้ึ มาเรอ่ื ยๆ เตอื นบอกสตปิ ญ ญาของผปู ฏบิ ตั ิ ของผูตั้งใจจะสง เสริมสติปญญาใหมกี ําลังเพอ่ื รูเ ทา ทันกับส่ิงเหลาน้ี จึงเหมือนกับแสดงธรรมเทศนาอยู ทั้งวันทั้งคืน ไมจําเปนจะตองใหพระทานขึ้นธรรมาสน “นโม ตสสฺ ะ ภควโต” สง่ิ เหลา น้เี ปน “ธรรมเทศนา” สอนเราตลอดเวลาอยแู ลว เอา! ทุกขเกิดขึ้นที่ ตรงไหน ตั้งธรรมาสนที่ตรงนั้น วนิ จิ ฉยั กนั ปุจฉา วสิ ชั นา กนั ลงไป นแ่ี หละเทศนาสอง ธรรมาสน ระหวา งขนั ธก บั จติ ขนั ธใ ดกต็ าม รูปขันธ เวทนาขนั ธ สญั ญาขนั ธ สังขารขันธ วญิ ญาณขนั ธ นแ่ี หละปจุ ฉา วสิ ชั นา ใหเ ขา ใจชดั เจนตามสงิ่ เหลาน้ที ่มี อี ยู รูปแปร แปร มาโดยลาํ ดบั นเ่ี ราอยดู ว ยกนั นก่ี ว่ี นั กว่ี นั นน้ั คอื ลว งไปแลว เสยี ไปแลว ยกตวั อยา งเชน ทานอาจารยหมออุดมทานไปกรุงเทพฯ ไปวันที่ ๑๗ ทา นกลบั มาวนั นว้ี นั ท่ี ๒ กลบั มา วนั น้ี ทา นไมไ ดว นั สมบรู ณม าเหมอื นแตก อ น ตั้งแตวันที่ ๑๗ ไปจนถึงวันที่ ๒ เปน กว่ี นั แนะ ลวงไปเทา น้ันวัน ทา นขาดวนั นไ้ี ปแลว เราอยนู ก่ี ข็ าดไปเชน เดยี วกนั กบั ทา น น่ี แหละเราอยูดวยความบกพรองไปทุกวันๆ นะ ไมไ ดอ ยดู ว ยความสมบรู ณ วนั นขี้ าดไป วนั นน้ั ขาดไป วนั หนา ขาดไป วนั หลงั ขาดไป ขาดไปเรื่อยๆ เราบกพรองไปเรื่อยๆ เรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธเ ราเรยี นอยา งนแ้ี หละ เรียนธรรม เรา ไมไ ดอ ยดู ว ยความสมบรู ณ อยดู ว ยความ “หมดไป” ทกุ วนั ๆ นน่ี ะ แลว เราจะนอนใจ ไดอยางไร เมื่อเปนนักธรรมะที่ปฏิบัติเพื่อเอาตัวรอดเปนยอดคนแลว ตองใหเปนยอด แหงความรทู จี่ ะแกสถานการณซึ่งมอี ยูในตัวของเราน้ี ใหร ตู ามเปน จรงิ โดยลาํ ดบั เรา พบกนั วนั น้ี วนั หลงั มาพบกนั บกพรอ งมาแลว ขาดไปเทานั้นวัน ขาดไปเทานี้ชั่วโมง ผู อยกู ข็ าด ผไู ปกข็ าด กลบั มากข็ าด อยปู ระจาํ ที่ก็ขาด ตางคนตางขาด มีแตตางคนตาง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๒
๗๓ บกพรองไปทุกๆ วนั ขาดไปทกุ วนั แลว ขาดไป ๆ ขาดไปจะไปถึงไหน? มนั กไ็ ปถงึ ท่ี สดุ ปลายทางแหง ความขาดสะบน้ั เทา นน้ั เอง! น!่ี มันตางกันแต “มืด” กบั “แจง ” ทล่ี ว งไปวนั นน้ั วนั นเ้ี ทา นน้ั แหละ ชาเร็ว ตางกัน มีนิดเดียวเทานั้น จะตองไปถึงความขาดสะบั้นเชนเดียวกันหมด เวลานย้ี งั ไม ขาดเปนแตวาเตือนๆ เรา นาทีเตือน วนิ าทเี ตอื น ชั่วโมงเตือน หมดไปเทา นน้ั วนิ าที เทานั้นนาที เทานั้นชั่วโมง เทา นน้ั วนั เตือนอยูเสมอ เทา นน้ั เดอื น เทา นัน้ ป เรื่อย สดุ ทา ยกห็ มด มีเทาไรก็หมด เพราะมันหมดไปทุกวันนี่เอาอะไรมาเหลือ!!! นี่เปนสติปญญาอันหนึ่งที่จะตองพิจารณา สง่ิ ทม่ี นั เหลอื อยนู น้ี ะ ทพ่ี อจะได ประโยชนจ ากสง่ิ ทเ่ี หลอื อยู ธาตขุ ันธของเราอันใดทมี่ นั เปลีย่ นแปลงมนั ก็หมดไป เราก็ หมดหวงั ในอนั นน้ั เวลานอ้ี ะไรยงั อยบู า ง? อะไรที่มันยังอยูพอที่จะทําประโยชนได เอา ส่ิงท่กี าํ ลงั มีพอทีจ่ ะทาํ ประโยชนอยูนนี่ ะ มาทําประโยชนเสียแตบัดนี้ “อชเฺ ชว กจิ จฺ มาตปปฺ โก ชญฺ า มรณํ สเุ ว” ความเพียรที่จะทําใหเปนประโยชนแกตน ควรทาํ เสยี ในวนั น้ี ใครจะไปรูเรื่องความตายจะมาถึงเมื่อไร! ทา นวา ไปอยา งนน้ั บอกไมใหเรา ประมาท เอา พิจารณารูป มัน “เหลือ”อยูเทาไรเวลานี้ มนั เจบ็ กย็ งั มเี หลอื อยบู า ง มัน สลายหรอื มนั แปรสภาพไป สว นทย่ี งั อยกู ย็ งั มอี ยบู า ง พยายามพจิ ารณาใหทันกบั เหตุ การณท ม่ี นั ยงั เหลอื อยู รูเทาทันดวยปญญา เวทนา ตั้งสติปญญาพิจารณาใหชัดเจน เรอ่ื งเวทนากม็ เี ทา กบั เวทนาทม่ี อี ยนู น่ั แหละ ไมเ ลยจากนน้ั ผูรู รูไปหมด มันจะเทาภูเขา ก็สามารถรูเวทนาเทาภูเขา ไมมีอันใดที่จะเหนือผูรูไปได มนั จะใหญโ ตขนาดไหน เรื่อง ทุกขเวทนามันจะเหนือความรูนี้ไปไมได ความรนู จ้ี ะครอบเวทนาทง้ั หมด นถ่ี า มสี ตริ นู ะ ถาไมไดสติ กเ็ ลอ่ื นลอยเหมอื นกบั วา วไมม เี ชอื ก เชอื กขาด แลวแตมันจะไปทางไหน นเ่ี ราไมใ ชว า วเชอื กขาดน่ี เรามีสติปญญา พิจารณาใหเห็นชัดตามความเปนจริง เอา เกิดก็เกิด เกิดขึ้นมา เรื่องทุกขเวทนาเปนธรรมเทศนาประกาศสอนเราอยูแลว เรา เปนนักธรรมะ เอา ฟงดวยดี ดว ยสตปิ ญ ญาตามความจรงิ ของมนั แลว แยกตวั ออก เมื่อ เขาใจแลวจะไมยึดไมถือกัน ไมเปนกังวลกับเรื่องทุกขเวทนา เรื่องสัญญา เรื่องสังขาร เรื่องวิญญาณ จะปลอ ยวางไปดว ยกนั โดยสนิ้ เชิง สง่ิ ทเ่ี หลอื คอื อะไร ? คือความบริสุทธิ์ ความรอบตวั นแ้ี ลเปน สาระเปน แกน สาร ถา จะพดู กว็ า “เรา” นแ่ี หละ “เรา” แทโ ดยหลกั ธรรมชาติ ไมใชเราโดยความ เสกสรร ถา เปน ความสขุ กเ็ ปน ความสขุ ในหลกั ธรรมชาติ ไมใชความสุขที่คอยแตจะมี ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๓
๗๔ ความทกุ ขม าแบง เอาไปกนิ ๆ เหมอื นอยา งวนั คนื ปเ ดอื น แบง เอาจากรา งกายและจติ ใจ ของเรา สังขารของเราไปกิน นี่ถา พจิ ารณาใหเ หน็ ตามความเปน จรงิ อะไรจะแตกกแ็ ตก ก็เรื่องมันแตก มัน เคยแตกมาตง้ั กก่ี ปั กก่ี ลั ป ทางเดินของคติธรรมดาเปนอยางนี้ จะไปแยกแยะหรือไปกีด ขวางไมใหมันเปนไดที่ไหน จะไปกั้นกางไมใหมันเดินไดอยางไร “อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺ ตา” มนั ไปในสายเดยี วกนั พอวา อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา กม็ าพรอมกัน มันไปดวยกัน ใหรูความจริงของมันพรอมๆ กนั ไป แลว ปลอ ยวางพรอ มกนั หมด ไมใ ชว า จะปลอ ยแลว ในสว น อนิจฺจํ ยงั ทกุ ขฺ ํ ยังอนตฺตา ไมใ ช พจิ ารณารอบแลวมนั ปลอยไปพรอมๆ กนั บริสุทธิ์พรอมในขณะที่ปลอยวางโดยสิ้นเชิง ความบรสิ ทุ ธไ์ิ มต อ งถามหาวา มาจากไหน ! นน้ั แลคอื ความฉลาดเตม็ ภมู ิ ความ สะอาดเต็มภูมิ ความสุขเต็มภูมิ ความสกปรกหายไป ความโงหายไป ความทกุ ขห ายไป หายทีต่ รงนีแ้ หละ ตรงที่แบกทุกข แบกความโง แบกความสกปรกนแ่ี หละ สง่ิ เหลา น้ี หายไปหมดเพราะอํานาจของปญญา อาํ นาจของสติ อาํ นาจของความเพยี ร เปนธรรม ชาติที่ชะลางไมมีสิ่งใดเหลือเลย ผนู แ้ี ลเปน ผไู มห มดไมส น้ิ อะไรจะหมด หมดไปตามสมมุตินิยมโทษ รางกายจะหมดก็หมดไป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ จะแปรสภาพไปไหนกแ็ ปรไปเถะ เมื่อรูตามเปนจริงแลว สง่ิ นน้ั จะเปนไปตามธรรมดาของเขา ซึ่งเขาไมมีความหมาย ไมมีความรูสึกเลยวาเขาไดแปรไป มีแตจิตของเราไปรับทราบวาเขาไดแปรไป ถา ไมย ดึ ถือแลวเพยี งรับทราบเทา น้นั เราก็ ไมแ บกทกุ ขก บั ความยดึ ถอื ในอะไรทง้ั หมดเรากส็ ขุ สบาย นแ่ี ลทา นวา “เอกจฺ เชยยฺ มตตฺ านํ ส เว สงฺคามชุตฺตโม” ไมก อ เวรกอ กรรมกับอะไรท้งั หมด แมแ ตก บั กเิ ลสกไ็ มก อ กิเลสแพเรา กเิ ลสไมม ากอ กบั เราได เหมอื นคนแพค น เราชนะคน ชนะ อะไรก็ตามกอกรรมกอเวรไดวันยังค่ํา ชนะไปมากเทา ไหรกอกรรมมากเทาน้นั คิดดูคูณ ดว ยลา น นน่ั แหละ! คอื ความกอ กรรมกอ เวรคณู ดว ยลา น อนั นไ้ี มม เี ลย! ความสบายคอื ความชนะตนเองเทา นน้ั นเ่ี ปน จดุ สาํ คญั ของผู ปฏิบัติ จะหาศาสนาใดมาสอนพวกเราใหเ หน็ ถงึ ขนาดนร้ี ขู นาดน้ี และจะใหผูใดเปนผู ปฏิบัติ ใหร ใู หเ หน็ อยา งทว่ี า น้ี นอกจากเราเทานั้นจะเปนผูปฏิบัติสําหรับตัวเราเอง เพราะโงก็เราเปนคนโงเอง จะหาความฉลาดใสต นดว ยการแกค วามโงเ ขลาออก ก็จะ เปนใครถาไมใชเรา ทกุ ขก เ็ ราเปน คนทกุ ขเ อง จะเปลย่ี นแปลงตวั เองดว ยความฉลาดให เปนความสุขขึ้นภายในใจนี้ ทําไมเราจะเปลี่ยนแปลงไมได นน่ั ! เปลี่ยนแปลงไดทั้งนั้น ไมอ ยา งนน้ั พระพทุ ธเจา หรอื สาวกทง้ั หลาย ทานจะถึงความบริสุทธิ์ไมได ถาธรรมะชะ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๔
๗๕ ลางสิ่งสกปรกไมไดดวยความสามารถของเรา เราก็เปนผูหนึ่งในพุทธบริษัท ซึ่งเปนลูก เตาเหลากอของพระพุทธเจา ถึงจะไมมีมากคนก็ขอใหเราเปน “คนหนง่ึ ในจาํ นวนนอ ย คน” นน้ั นะ ชื่อวา เราเปน ผูมีสวนแหงพุทธบริษทั อันแทจรงิ ลูกของพระพุทธเจาก็คือ อยา งนเ้ี อง พระพุทธเจาเดินอยางไร เราเดินแบบศิษยมีครู รูอยางไร เรารูอยางศิษยมี ครู รแู บบครรู ไู ปโดยลาํ ดบั ๆ จนถึง “วิมุตติหลุดพน” สมกบั เปน ลกู ศษิ ยม คี ร!ู การแสดงธรรมวนั นก้ี เ็ หน็ วา สมควร ขอยุติเพียงเทานี้ <<สารบญั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๕
๗๖ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมอ่ื วนั ท่ี ๑ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙ ปราบ-ขู ในมงคลสตู รทานกลา วไวพ วกเราฟง จนชนิ หู สวดสาธยายจนชนิ ปาก คอื “อเส วนา จ พาลาน”ํ แปลความวา การไมค บคนพาลสนั ดานหยาบ การคบบณั ฑติ ผู ประพฤตชิ อบดว ยกายวาจาใจ “เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ ทา นวา เปน มงคลอนั สงู สดุ เราอาจคดิ แตใ นแงภ ายนอก คบคนพาลสนั ดานหยาบนอกๆ อยา งนน้ั นน่ั กถ็ กู ในการเกย่ี วกบั สงั คม เพราะมนุษยเราอยูคนเดียวไมได ตองมีเพื่อนฝูงญาติมิตรเกี่ยว ขอ งกบั สงั คมมากนอ ย นท่ี า นสอนแงห นง่ึ แตอาจคิดในแงเดียวเทานั้น สาํ หรบั ตนเอง เปน พาลหรอื เปน บณั ฑติ นน้ั เลยลมื คดิ ถาหากเราคิดแตเพียงแงเดียว เราก็ลืมคิดเรื่อง ตัวเรา เปน แตเ พยี งไมไ ปคบคนพาลภายนอกแลว กถ็ อื วา ดี แตก ารทเ่ี ราคบคนพาลภาย ในคือใจเราเองนั้น เราไมทราบวาคบกันมานานเทาไร ความจริงคบกันมาตั้งแตวันเกิด จนกระทั่งบัดนี้ คนพาลภายในหมายถงึ อะไร ? หมายถงึ ตวั เราเอง ซึ่งเปนคนๆ หนง่ึ ที่มีจิต เปน พาล คอยกดี กนั คอยฉดุ ลาก คอื กดี กนั ในทางทด่ี ี ไมใ หท าํ ความดไี ดโ ดยสะดวก สบาย หาเรอ่ื งนน้ั มาขดั ขอ ง หาเรอ่ื งนม้ี ายแุ หยใ หล ม เหลวไปตามมนั จนไดเ รอ่ื ยๆ มาที่ เรยี กวา “พาลภายใน” คาํ วา “พาล” นน้ั ทางพทุ ธศาสนาทา นหมายถงึ ความคดิ ท่ี ทาํ ใหต นและผอู น่ื เดอื นรอ นเสยี หาย ทา นเรยี กวา คนพาลหรอื คนเขลา จะมีความรู ความฉลาดมากนอ ยเพยี งไรไมส าํ คญั ถา ยงั ทาํ ตนและคนอน่ื ใหเ ดอื ดรอ นอยแู ลว ความ รูนั้นทานไมเรียกวาเปนความรูที่ดีที่ฉลาด เพราะเปนความรูที่ยังผูนั้นใหเปนคนเลวลง ทางความประพฤติที่แสดงออก ตลอดคนอน่ื ใหไ ดร บั ความเดอื นรอ นเสยี หายดว ยความ คิดเปนโจร ความคดิ เปน ขา ศกึ ความคดิ แอบทาํ สง่ิ ไมด แี กต นอยเู นอื งๆ และคลอ ย ตามความคิดเห็นนั้นโดยไมยอมเห็นโทษของมัน บางครง้ั ถงึ กบั แสดงออกใหค นอน่ื รู และรังเกียจ นีท่ านเรียกวา “ใจพาลภายใน”ซง่ึ มอี ยกู บั ทกุ คน จะตา งกนั บา งกเ็ พยี ง มากหรอื นอ ย แสดงออกหรอื ไมแ สดงออกใหค นอน่ื รหู รอื ไมเ ทา นน้ั ซง่ึ เปน สง่ิ สาํ คญั มากทม่ี อี ยกู บั ตวั เราตลอดมา เราเคยคบคา สมาคมกบั พาลตวั นม้ี านานแสนนานจนบดั น้ี เรากย็ งั มคี วามสนมิ กบั พาลของเราอยู โดยไมรูสึกตัววาเรามีพาล เราคบกบั พาลคอื ความคิดและการกระทําทเี่ ราไมร สู ึกตัววาเปน ความผดิ ทา นเรียกวา “พาลภายใน” ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๖
๗๗ จงพยายามเลือกเฟนความคิดที่เห็นวาไมดี ทง้ั สว นหยาบ สว นกลาง สว น ละเอยี ดทม่ี อี ยภู ายในใจอนั น้ี อยา ปลอ ยใหใ จสง่ั สมความเปน พาล และตง้ั บา นเรอื นอยู บนหวั ใจไปนาน ความคิดใดที่ไมดี เปน ไปบนหวั ใจตลอดกาล บา นเรอื นคอื รา งกาย เจา ของคอื ใจทอ่ี าศยั อยดู ว ยกนั จะเสยี ความมน่ั คง ทรงความดีไวไมได ความคิดใดที่เปนไปเพื่อสั่งสมทุกขขึ้นมา ความคดิ นน้ั ทา นเรยี กวา “เปนพาล” การเชอ่ื หรอื คลอ ยตามความคดิ ทไ่ี มด ไี มถ กู นน้ั ทา นเรยี กวา “คบคนพาลภายใน” ซึ่ง แยกตวั ออกหา งยากกวา พาลภายนอก ผูเปนบัณฑิตทานเห็นโทษทั้งพาลภายในทั้งพาล ภายนอก และหลกี เวน ไมค บและเชอ่ื ถอื ทั้งคอยระวังอยางอยางเขมงวดกวดขัน ไม สนทิ ตดิ จมอยกู บั คนพาลทง้ั สองจาํ พวกนน้ั ปกตคิ นเราทกุ คนมพี าลรอบดา นทง้ั ภายในภายนอก ความเปนอยู ความเคลอ่ื น ไหว ทกุ คนอยใู นทา มกลางแหง พาลทง้ั สองจาํ พวกดงั กลา วมา ผตู อ งการความสงบสขุ ทั้งทางสวนตน ครอบครวั และสว นรวม จึงควรระวังภัยจากมารทั้งสองจําพวกนั้น เฉพาะอยา งยง่ิ มารภายในทเ่ี กดิ กบั ใจตวั เองสาํ คญั มาก ควรระวังเสมอ ชอ่ื วา เปน ผเู หน็ ภยั ของคนพาลทง้ั ภายนอกภายใน และจงคบบัณฑติ นกั ปราชญ ซง่ึ หมายถงึ ภายนอก ดว ยภายในดว ย ดังที่เราคบครูอาจารยเพื่อนฝูงที่มีความรูดี ความประพฤติดีงาม สม่ําเสมอ ไมเ อยี งซายเอียงขวา เอยี งหนา เอยี งหลงั อนั เปนอาการแหง “อคตสิ ”่ี ซึ่ง เปนของไมดี จะเปนญาติเปนมิตรหรือเพื่อนฝูงอะไรก็ได สาํ คญั ทต่ี อ งเปน คนดเี ชอ่ื ถอื ได หรอื ฝากผฝี ากไขฝ ากเปน ฝากตายไดย งิ่ เปน การดีมาก ในบรรดาบณั ฑติ ทค่ี วรคบคา สมาคม ตลอดถงึ ครอู าจารยท ใ่ี หอ บุ ายสง่ั สอนอนั ดี งามแกเรา ชอ่ื วา บณั ฑติ ไมตอ งมคี วามรคู วามฉลาดถงึ ขนาดตอ งแบกตพู ระไตรปฎกมา ยืนยัน หรือมคี วามรูความฉลาดขน้ั ปรญิ ญาตรี โท เอก กต็ าม สาํ คญั อยทู ค่ี วามคดิ ความ เห็น การประพฤติตัวเปนธรรม ซึ่งเปนเครื่องชักจูงใหคนอื่นไดคติและไดรับประโยชน อันชอบธรรม และเห็นเปนความถูกตอ งดีงามไปดว ย เหลา นท้ี า นเรยี กวา “บณั ฑติ ” เปน ผคู วรแกก ารคบคา สมาคมระยะสน้ั หรอื ยาว ยอมเปนมงคลแกผูคบ ไมเ สยี หายลม จมแตอ ยา งใด ยังจัดวาผูรูจักเลือกคบ เปนผมู ีชวี ิตชีวาอนั อดุ มมงคลเสียอกี ทางพระ พทุ ธศาสนาทา นหมายคนอยา งนน้ั วา “บัณฑิต” สว น “บณั ฑติ ภายใน” ไดแ กค วามคดิ อบุ ายวธิ ตี า งๆ ที่จะเปนไปเพื่อคุณงาม ความดแี กต นและผอู น่ื นับแตพ ืน้ ความคิดเหน็ อนั เปนเหตจุ ะใหเกดิ คณุ งามความดี จน กระทั่งถึงสติปญญาที่จะถอดถอนกิเลสออกจากจิตใจเปนลําดับๆ เปน ขน้ั ๆ ของสติ ปญญา เรียกวา “บณั ฑติ , นกั ปราชญ” เปน ชน้ั ๆ ไปจนถึงขั้น “มหาบณั ฑติ ” ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๗
๗๘ “มหาบณั ฑติ ” ไดแ กท า นผทู รงมหาสตมิ หาปญ ญานน่ั แล เลยขน้ั “มหาบณั ฑติ ”ไปแลว กถ็ งึ “วิมุตต”ิ เรยี กวา “จอมปราชญ” หรือ “อคั รมหาบณั ฑติ ” เลยขน้ั มหาบณั ฑติ ไปแลว กเ็ ปน “จอมปราชญ” ไดแ กผ เู ฉลยี วฉลาดรอบตวั ภายในใจ คือพระอรหันต สิ้นกิเลสอาสวะโดยประการทั้งปวง นี่เปน มงคลอนั สงู สดุ ทัง้ สองอยาง คือ “อเสวนา จ พาลานํ” ไมใ หค บคนพาลภายนอก ทง้ั คนพาลภายใน “ปณฺฑิตานฺจ เสวนา” ใหค บบณั ฑติ นกั ปราชญผ เู ฉลยี วฉลาดทง้ั ภายนอกและภายใน พยายามฝก ตวั ใหม คี วามเฉลยี วฉลาดทนั กบั เหตกุ ารณต า งๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดสง่ิ ทเ่ี ปน ขา ศกึ ตอ ใจของ ตนน้ี เรยี กวา “บัณฑิต นกั ปราชญ” ใหค บผนู ้ี เพื่อจะไดสั่งสมสงเสริมความเปน ปราชญใหมกี ําลงั มากข้นึ โดยลําดบั ๆ เพราะอาศยั ทา นผดู มี สี ตปิ ญ ญาฉลาด “เอตมฺมงฺ คลมุตฺตม”ํ เปน มงคลอนั สงู สดุ อกี ขอ หนง่ึ อกี ขอ หนง่ึ ทา นกลา ววา “สมณานจฺ ทสสฺ นํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตม”ํ การเห็น สมณะผสู งบกายวาจาใจ เปนมงคลอันสูงสุดเชนเดียวกัน คาํ วา “สมณะ” ตามหลกั ธรรมทท่ี านแสดงไว มี ๔ ประเภท “สมณะที่ ๑ ไดแก พระโสดาบัน สมณะที่ ๒ ไดแ ก พระสกทิ าคามี สมณะที่ ๓ ไดแ ก พระอนาคามี สมณะที่ ๔ ไดแ ก พระอรหันต การเหน็ สมณะเหลา นช้ี อ่ื วา เปน มงคลอนั สงู สดุ นเ่ี ปน มงคลขน้ั หนง่ึ เปน สมณะ ขน้ั หนง่ึ ๆ จากภายนอก ทีนี้เราพยายามทําใหแจงซึ่งมรรคผลทั้งสี่นั้น หรือสมณะทั้งสี่นั้น ไดแกพระ โสดา สกทิ า อนาคา อรหตั ผล ขน้ึ ภายในจติ ใจของตน นี้ชื่อวาเปนผูทําใหแจงซึ่งมรรค ผลทั้ง ๔ รวมเปน ๘ เปนมงคลอันสูงสุด ในมงคลสตู รทท่ี า นแสดงไวน ม้ี แี ตธ รรมสาํ คญั ๆ ทั้งนั้น แตมแี ยกดงั ทว่ี า นี้ จง แยกแยะพจิ ารณาขา งนอกพจิ ารณาขา งในเทยี บเคยี งกนั เทวดาทง้ั หลายมปี ญ หาถกเถยี งกนั อยถู งึ ๑๒ ป ไมม ใี ครสามรถแกป ญ หานไ้ี ด เลย จึงพากันมาทูลถามปญหานี้กับพระพุทธเจา โดยที่ทราบวาพระพุทธเจาไดตรัสรูขึ้น แลว ในโลก และเปน ผสู ามารถชแ้ี จงอรรถธรรมหรอื ปญ หาในแงต า งๆ ใหเปนที่เขาใจ แกผูของใจทั้งหลาย จึงไดพากันมาทูลถามพระพุทธเจา ตามมงคลสูตรที่ทานยกไวเบ้อื ง ตน แตเ วลาทท่ี า นสวดมนตท า นยกเอาตง้ั แต “อเสวนา จ พาลานํ”เรื่อยมาเลย ไม ไดก ลา วถงึ เรอ่ื งเทวดาทง้ั หลายจากโนน จากนม้ี ากมาย มาเฝาพระพุทธเจาทูลถามปญหา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๘
๗๙ ทา นตดั ออกเสยี หมด เอาแตเ นอ้ื ๆ คือมงคลสูตร ๓๘ ประการนี้ เปนคุณแกทั้งเทวดา และมนุษยท้งั หลายจนกระทัง่ ทุกวนั น้ี เราจึงควรเจริญมงคลสูตรนี้ สตู รใดกต็ ามเปน ทแ่ี นใ จ หรือเปนท่ีสนทิ กบั จรติ นิสยั ดงั ที่กลาวใน ๒-๓ บท เบ้ืองตน นั้นวา “ไมค บคนพาลและใหค บบณั ฑติ , การเหน็ สมณะใหป รากฏขน้ึ ภายใน จิตใจ ชอ่ื วาเปนผูทรงคณุ ธรรมอนั สงู สดุ ไวภายในใจ คาํ วา “เทวดา” ตั้งแตวันเกิดมาเราไมเคยรูเคยเห็น คิดดูซิมนุษยดวยกัน แม พระพุทธเจาก็เปนมนุษยคนหนึ่ง สาวกอรหตั อรหนั ตท า นกเ็ ปน มนษุ ยค นหนง่ึ ๆ แต ทําไมทานสามารถรูเห็นเทวดา จนถึงกับแนะนําสงั่ สอนเทวดาใหไ ดสําเรจ็ มรรคผล นพิ พานเปน จํานวนลา นๆ ไมใชทําธรรมดา! บางเรอ่ื งกลา วไวใ นสตู รตา งๆ วา “เทวดามาฟงเทศนพระพุทธเจาไดสําเร็จ มรรคผลนิพพานเปนโกฏิๆ แลวไมใชเพียงแตเทศนวันหนึ่งวันเดียว เทศนจนกระทั่ง พระองคปรินิพพาน ฟง “พทุ ธกจิ ” ทา นแสดงไวว า “อฑฺฒรตฺเต เทวปหฺ ากํ” ตง้ั แตห กทุม ลวงไปแลว ทรงแกป ญ หาหรอื แนะนาํ สง่ั สอนเทวดาชน้ั ตา งๆ ทม่ี าทลู ถาม ปญหา ทา นถอื เทวดาเหมอื นกบั มนษุ ยท ง้ั หลาย สอนเทวดาเหมอื นกบั สอนมนษุ ยท ง้ั หลายนเ่ี อง ทานถือเปนธรรมดาธรรมดาเชนเดียวกับเรามองเห็นคนทั่วไปโดยธรรมดา พระพุทธเจาทรงมองเห็นพวกเทวบุตรเทวดาชั้นตางๆ ประจักษดวยพระญาณของพระ องคค อื ตาทพิ ย เชนเดียวกับเรามองเห็นสิ่งตางๆ หรือมนุษยสัตวทั้งหลายดวยตาเนื้อ ของเรา แตเมื่อเราไมมีตาทิพยเหมือนพระพุทธเจา ไมส ามารถมองเหน็ เทวดาทง้ั หลาย จงึ กลายเปน ปญ หาโลกแตกอยา งทกุ วนั น้ี ที่พระพุทธเจาแสดงอยางนั้นดวยพระจักขุ ญาณของพระองค กับทเี่ รามาดนเดาและคาดคะเนดวยความมืดบอดของเรา จึงเปนที่ นาสลดสังเวชอยางยิ่งทีเดียว นแ่ี หละระหวา งคนตาดกี บั คนตาบอด ระหวา งคนโงก บั คนฉลาด มนั ผดิ กนั อยา ง น้ี ทั้งๆ ทเ่ี ปน มนษุ ยด ว ยกนั กต็ าม พระองคสามารถสอนเทวดาอินทรพรหมยมยักษ ตลอดถึงสัตวนรก เปรต อมนุษยมนา ไมม ีจํากดั ขอบเขตมมี ากมายกา ยกอง พุทธภาระ จึงหนักมากสําหรับพระพุทธเจา ตามพทุ ธวสิ ยั คอื วสิ ยั ของพระพทุ ธเจา ทท่ี าํ ประโยชน แกโ ลก พวกเราเปน คนหหู นวกตาบอด ไมสามารถมองเห็นทั้งเทวบุตรเทวดาอินทร พรหมอะไรตออะไร แมท ีส่ ดุ จะสง่ั สอนตวั เองก็ยงั ไมได แลว เราจะเอาความรอู นั มดื บอดนี่ไปเทียบกับพระพุทธเจาหรือ? ขอนี้จะเปนไปไดอยางไร พระพุทธเจาทรงมีพระ ภาระมากขนาดไหน ยงั สามารถนําภาระน้นั ไปไดตลอดทวั่ ถึงจนกระท่ังวันปรินิพพาน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๗๙
๘๐ ไมม ภี าระของผใู ดทจ่ี ะหนกั หนายง่ิ กวา “พุทธกิจ-พุทธภาระ” ของพระพุทธเจาแตละ พระองค พระพุทธเจาเปน “พุทธวิสัย” ของศาสดา นาํ พทุ ธภาระไปไดตลอดทั่วถงึ สาํ หรบั พวกเราไมม คี วามสามารถอยา งทา น แมแ ตจ ะสง่ั สอนตนเพยี งคนเดยี วก็ ยงั ลม ลกุ คลกุ คลาน ใหก เิ ลสตณั หาเหยยี บยาํ่ ทาํ ลาย ขี้รดเยี่ยวรดวันยังค่ําคืนยังรุง บาง ทีเดนิ จงกรมมนั ก็ขร้ี ดบนหัวอยทู ีห่ ัวทางจงกรม นอนภาวนามนั กข็ ร้ี ดเยย่ี วรดอยทู น่ี อน นน่ั คนทง้ั คนกลายเปน “สว ม” ! เปน “ถาน” ของกเิ ลสตณั หาทกุ อริ ยิ าบถดว ยความ ไมมีสติ พิจารณาซี ดูมันตางกันไหม? พระพทุ ธเจา กบั พวกเราชาวสว มชาวถานของ กเิ ลสนะ ! ถาหากจะพิจารณาแลว นําคติทานมาเปนประโยชน เปนคติเครื่องพร่ําสอนตัว เองใหเกิดประโยชนจากธรรมที่กลาวมานี้ได มบี ทสาํ คญั อยวู า พระพุทธเจาทําไม สามารถสั่งสอนพระองคได แลว เปน ครขู องสตั วโ ลกทง้ั สามโลกธาตโุ ดยตลอดทว่ั ถงึ แต เราจะสามารถสอนตัวเรา และแกก ิเลสตัณหาอาสวะซึ่งมอี ยูภายในใจเราเพยี งดวงเดียว เทา นน้ั ทําไมจะทําไมได ทาํ ไมจะปลอ ยตวั ใหก เิ ลสตณั หาอาสวะทง้ั หลายขร้ี ดเยย่ี วรด อยทู ้งั วันทั้งคนื ยืนเดินนง่ั นอน ตั้งแตเล็กจนถึงเฒาแกชรา ตายไปกบั ขก้ี บั เยย่ี วของ กิเลสคละเคลาเต็มตัวมีอยางเหรอ! มนั สกปรกขนาดไหนกเิ ลสอาสวะนะ แลวทําไมให มันขี้รดเยี่ยวรดเราอยูตลอดเวลา เราไมมีความขยะแขยงตอมันบางเหรอ? เพียงเราคนเดียวก็ยังเอาตัวแทบไมรอด กย็ งั นอนยงั นง่ั ใหก เิ ลสตณั หาอาสวะมนั ขี้รดเยี่ยวรดตลอดมาในอิริยาบถทั้งสี่ ยงั จะเปน สวมเปนถานมันอยูอีกหรอื ? ควร พิจารณาตัวเอง นเ่ี ปน คตอิ นั สาํ คญั ทเ่ี ราจะนาํ มาใชส าํ หรบั ตวั เอง กเิ ลสมนั มอี าํ นาจ วาสนาขนาดไหน พระพุทธเจา พระสาวกอรหัตอรหันต หรือพุทธบริษัททั้งหลายตั้งแต ครั้งพุทธกาล ทา นกเ็ ปน คนๆ หนง่ึ แตทําไมทานปราบมันได เอามันมาเปนสวมเปน ถานได ขี้เยี่ยวรดมันได ทําไมเราจะทําไมได? คิดคนจับมันฟดมันเหวี่ยงดวยสติปญญา ศรัทธาความเพียร จนมันกลายเปนสวมเปนถานของเราเสียทีไมดีหรือ? เอา พยายามมองดู มองไปทางไหนกม็ แี ตห อ งนาํ้ หอ งสว มของกเิ ลส มันกน็ า สลดสังเวชเหมือนกัน เอา ฟตตัวใหดี แกใ หไดก ับมือ วนั นม้ี นั อยทู ไ่ี หนกเิ ลสนะ ?มนั อยู ทห่ี ัวใจเราน!่ี ไมไดอยูตรงไหน แตว า เรามกั จะเขา ใจวา กเิ ลสมนั เปน เพอ่ื นสนทิ ของ เรา และเปนเราเสียทั้งหมด นแี่ หละ! ทม่ี นั แกไ มต ก เพราะเห็นวากิเลสมันเปนเรา จึง ไมก ลา แตะตอ งทาํ ลายมนั กลวั จะเปน การทาํ ลายตนทร่ี กั สงวนมากไปดว ย ถา ถอื วา กเิ ลสเปน กเิ ลสและกเิ ลสเปน ภยั แลว ก็มีทางแกไขได หาอบุ ายพจิ ารณา แกไขตัวเองใหได พดู ถงึ การแกก ไ็ มม อี ะไรทจ่ี ะแกย ากยง่ิ กวา แกก เิ ลส กเิ ลสคอื อะไร? กค็ อื ความโลภ ความโกรธ ความหลง เปน ตน นน่ั แล ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๘๐
๘๑ มนษุ ยเรามหี วั ใจ สตั วม หี วั ใจ ทําไมจะไมอยากไดอยากมี ทําไมจะไมอยากโลภ “เมืองพอ” ของความโลภมันมีที่ไหน “เมืองพอ” ของความโกรธมันมีที่ไหน? “เมือง พอ”ของความหลงมันมีที่ไหน? มันไมมีขอบเขต มนั กวา งขวางยง่ิ กวา แมน าํ้ ทอ งฟา มหาสมุทร เพราะฉะนน้ั มนั จงึ แกย าก เพราะมันกวางแสนกวางจึงเปนของแกไดยาก แต ถงึ กวา งขนาดไหนกต็ าม รากฐานของสิง่ เหลาน้ีมนั ก็อยูท่ใี จดวงเดยี วนเี้ ทา นน้ั ประมวล ลงมาฆาที่ตรงน!ี้ ตดั รากแกว ของมนั ออกทต่ี รงนแ้ี ลว มนั กต็ ายไปหมด เชน เดียวกบั ตน ไมท ถ่ี กู ถอนรากแกว แลว ตอ งตายถา ยเดยี วฉะนน้ั ! ความโลภ ความโกรธ ความหลง กง่ิ กา นสาขาของมนั แตกกง่ิ แตกกา น แตกใบ แตกดอก แตกผลออกไปมากมายเพยี งใดกต็ าม มันขึน้ อยกู ับตน ของมัน มันมีตนมี อาหารที่หลอเลี้ยงมันจึงเจริญเติบโต แตกกง่ิ แตกกา นออกไปได แตถ า พยายามตดั สง่ิ สําคัญๆ ของมนั ซง่ึ มอี ยภู ายในจติ ใจออกแลว มันจะไมมีทางแผกระจายไปไดมากมาย ดังที่เคยเปนมา จะคอ ยอบั เฉาหรอื คอ ยยบุ ยอบตายลงไปโดยลาํ ดบั จนกระทั่งตายหมด โดยสน้ิ เชงิ หลงั จากถอนรากแกว คอื “อวชิ ชา” ออกหมดแลว ดว ยอาํ นาจของ “มหา สติ มหาปญ ญา ศรัทธาความเพียร” ไมม อี ยา งอน่ื ทจ่ี ะยง่ิ ไปกวา ธรรมดงั กลา วน้ี ซึ่ง เหมาะสมอยา งยง่ิ กบั การฆา กเิ ลสทง้ั สามประเภทอนั ใหญโ ตนใ้ี หห มดไปจากใจ คาํ วา “สมณะที่ ๑, ที่ ๒, ที่ ๓ ที่ ๔” จะปรากฏขน้ึ มาเปน ลาํ ดบั ๆ และปรากฏ ขึ้นมาอยางแจงชัดประจักษใจเปน “สนฺทิฏฐิโก” รูเองเห็นเอง ในวงผปู ฏบิ ตั โิ ดยเฉพาะ “ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิ ฺ หู ิ” ทานผูรูทั้งหลายจะไมรูที่อื่น จะรูขน้ึ กับตวั เองนด้ี ว ยกัน ทั้งสิ้น เพราะธรรมะทานวางไวเปนสมบัติกลาง นี่เปนจุดที่จะตัดกิเลสอาสวะทั้งหลาย ตองสูมัน! เวลานี้เราไดสติสตังมาพอสมควรแลว ไดรับการอบรมจากอรรถจากธรรม ไดศ กึ ษาเลา เรยี นมาพอสมควร ไดฟ ง โอวาทจากครอู าจารยม าพอสมควร ปญ หาอนั ใหญก ค็ อื เรอ่ื งของเราทจ่ี ะฟต ตวั ใหม สี ตปิ ญ ญาทนั กบั กลมายาของกเิ ลส ซ่ึงมีรอยเลห พนั เหลย่ี มรอ ยสนั พนั คมภายในใจ ใหขาดลงไปโดยลําดับๆ กเิ ลสขาดลงไปมากนอ ย ความสขุ ความสบายกค็ อ ยปรากฏขน้ึ มาภายในใจ ความเยน็ ใจนเ้ี ยน็ ยง่ิ กวา สง่ิ ทง้ั หลายเยน็ สขุ ใจสกุ ไมม งี อม สุกไมมีเปอยมีเนา สขุ อยา ง สม่ําเสมอ สขุ สดุ ยอด จึงเปน “สขุ อกาลโิ ก”ไมมีสลายเปลี่ยนแปลงไปไหน เปน ความ สุขที่ยอดเยี่ยมคงเสนคงวา ไมมีสมมุติใดมาทําลายไดอีก นแ่ี หละทท่ี า นเรยี กวา “ความ สุขของนักปราชญ” พระพุทธเจาทานทรงคนพบความสุขประเภทนี้ สาวกอรหตั อรหนั ตท ง้ั หลาย ทานก็คนพบความสุขประเภทนี้ ทานจึงปลอยวางความสุขสมมุติโดยประการทั้งปวง ที่ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๘๑
๘๒ เคยเกี่ยวของกันมา ไมเพียงแตสุข ทุกขก็ปลอยโดยสิ้นเชิงเชนเดียวกัน เปน ผูหมดหวง ใยหมดปาชา ไมต อ งมาวนเวยี นตาย-เกดิ กนั ไมห ยดุ ไมถ อยในกาํ เนดิ ตา งๆ ภพนอ ย ภพใหญที่เรียกวา “วฏั วน”วนไปวนมา ตัดกงจักร “วฏั วน” นอ้ี อกจากใจเสยี ได เปน ความสขุ เปน ความสบายอนั ลน พน นค่ี อื ความสขุ ของมนษุ ยแ ท สมกบั ภมู ขิ องมนษุ ยท ม่ี คี วามเฉลยี วฉลาด เจอ ความสขุ นแ้ี ลว สง่ิ ใดๆ ก็ปลอยไปหมด นใ่ี นธรรมบททว่ี า “สมณานจฺ ทสฺสน”ํ ก็เขา ในจติ ดวงน้ี แม “นพิ ฺพานสจฺฉกิ ริ ิยาจ เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ ก็เชนเดียวกัน การทําพระ นพิ พานใหแ จง คือเวลานี้พระนิพพานถูกปดบังดวยกิเลสประเภทตางๆ จนมืดมิดทั้ง กลางวนั กลางคนื ไมม คี วามสงา ผา เผยขน้ึ ภายในจติ ใจแมน ดิ หนง่ึ เลย พระอาทิตยแมจะถูกเมฆปดบัง แสงสวางสองมาไมเต็มที่เต็มฐานไดก็ตาม แต เปน บางกาลบางเวลา ยอมมีการเปดเผยตัวออกไดอยางชัดเจน ทเ่ี รยี กวา “ทองฟา อากาศปลอดโปรง ” จิตใจของเราท่ถี กู กเิ ลสหมุ หอ ปดบังอยูน้ี ไมมีวันปลอดโปรงได เลย มืดมิดปด ตาอยอู ยางน้ัน นน่ั แหละทา นวา “ใหทาํ พระนพิ พานใหแ จง” พระ นิพพานก็หมายถึงจิตนั้นเองไมไดหมายถึงอะไรอื่น ที่พระนิพพานยังแจงไมไดก็เพราะ สง่ิ ปด บงั ทง้ั หลายคอื กเิ ลสน้ี ซึ่งเปรียบเหมือนกอนเมฆปดบังพระอาทิตย เมอื่ ชําระดว ย ความเพยี รมสี ติปญญาเปน ผบู กุ เบกิ แลว พระนิพพานซึ่งเปนตัวจิตลวนๆ นน้ั กค็ อ ย แสดงตัวออกมาโดยลําดับ จนกระทั่งทําพระนิพพานแจงอยางประจักษ นก่ี ็ “เอตมมฺ งคฺ ลมตุ ตฺ ม”ํ เปน มงคลอนั สงู สดุ ไมม มี งคลอันใดในโลกน้ีจะสูง ย่ิงกวา การพบสมณะสดุ ทายคือพระอรหัต และการทําพระนิพพานใหแจง คอื ถงึ ความ บรสิ ุทธิข์ องใจ น่ีเปน มงคลอันสงู สดุ ทําใหประจักษกับใจเราเอง ทั้งจะไดรูชัดเจนวา ศาสนาของพระพทุ ธเจา นน้ั นะ สอนโลกอยา งปาวๆ เลนๆ หรอื วา สอนจรงิ ๆ หรือ ใครเปน คนเลน ใครเปนคนจริง โอวาทเปน ของเลน หรอื ผฟู ง ผถู อื เปน คนเลน หรือ อะไรจริงอะไรไมจริง พิสูจนกันที่หัวใจเรา นาํ โอวาทนน้ั แหละเขา มาพสิ จู น เปนเครื่อง มือเทียบเคียงวาอะไรจริงอะไรปลอมกันแน เมอ่ื ธรรมชาตนิ จ้ี รงิ ขน้ึ มาลว นๆ ทใ่ี จแลว ตําราธรรมของพระพุทธเจา แมที่ เขียนเปนเศษกระดาษซึ่งตกอยตู ามถนนหนทางยังไมก ลาเหยยี บย่าํ เพราะนั่นเปนคํา สอนของพระพุทธเจา เหยียบไมลง เพราะลงไดเคารพหลักใหญแลว ปลกี ยอ ยกเ็ คารพ ไปหมด พระพุทธรูปก็ตาม จะเปน อะไรกต็ ามทเ่ี กย่ี วกบั “พุทธ ธรรม สงฆ” แลว กราบอยา งถงึ ใจเพราะเชอ่ื หลกั ใหญแ ลว ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๘๒
๘๓ หลกั ใหญค อื อะไร? คอื หวั ใจเราถงึ ความบรสิ ทุ ธ์ิ เพราะอํานาจแหงธรรมคําสั่ง สอนของพระพุทธเจาเปนเครื่องชี้แจงแสดงบอกแนวทางใหรูทั้งเหตุและผล จึงเคารพ ไปหมด ดงั ทา นอาจารยม น่ั เปน ตวั อยา งในสมยั ปจ จบุ นั ในหอ งนอนใดทถ่ี กู นมิ นตไ ปพกั ถา มหี นงั สอื ธรรมะอยตู าํ่ กวา ทา น ทานจะไม ยอมนอนในหอ งนน้ั เลย ทา นจะยกหนงั สอื นน้ั ไวใ หส งู กวา ศรี ษะทา นเสมอ ทานจึงยอม นอน “นี่ธรรมของพระพุทธเจา เราอยูดวยธรรม กินดวยธรรม เปนตายเรามอบกับ ธรรม ปฏิบัติไดรูไดเห็นมากนอยเพราะธรรมของพระพุทธเจาทั้งนั้น เราจะเหยียบย่ํา ทําลายไดอยางไร! ทานวา “เอาธรรมมาอยตู าํ่ กวา เราไดอ ยา งไร!” ทา นไมย อมนอน ยกตวั อยา งทท่ี า นมาพกั วดั สาลวนั เปน ตน ในหอ งนน้ั มหี นงั สอื ธรรมอยู ทา นไมย อม นอน ใหข นหนงั สอื ขน้ึ ไวท ส่ี งู หมด นแ่ี หละ! ลงเคารพละตอ งถงึ ใจทกุ อยา ง” เพราะ ธรรมถึงใจ ความเคารพ ไมวาจะฝายสมมุติไมวาอะไรทานเคารพอยางถึงใจ ถึงเรียกวา “สดุ ยอด” กราบพระพุทธรูปก็สนิท ไมม ใี ครทจ่ี ะกราบสวยงามแนบสนทิ ยง่ิ กวา ทา น อาจารยมั่นในสมยั ปจจบุ ันนี้ เห็นประจักษดวยตากับใจเราเอง ความเคารพในอรรถใน ธรรมก็เชนเดียวกัน แมแตรูปพระกจั จายนะ ทอ่ี ยใู นซองยาพระกจั จายนะ พอทานไดมา “โอโห ! พระกัจจายนะเปนสาวกของพระพุทธเจาน!ี่ ทา นรบี เทยาออก เอารปู เหนบ็ ไว เหนอื ทน่ี อนทา น ทา นกราบ “นอ่ี งคพ ระสาวก นี่รูปของทาน” นน่ั ! “มคี วามหมายแค ไหนพระกัจจายนะ จะมาทําเปนเลนอยางนี้ไดเหรอ?” แนะ ! ฟงดูซิ นแ่ี หละเมอ่ื ถงึ ใจแลว ถงึ ทกุ อยา ง เคารพทกุ อยา ง บรรดาสิ่งที่ควรเปนของ เคารพทานเคารพจริง นั่น ทา นไมไ ดเ ลน เหมอื นปถุ ชุ นคนหนาหรอก เหยียบโนน เหยยี บนเ่ี หมอื นอยา งพวกเราทง้ั หลาย เพราะไมรูนี่ คอยลบู ๆ คลาํ ๆ งูๆ ปลาๆ ไปใน ลกั ษณะของคนตาบอดนน้ั แล ถาคนตาดแี ลว ไมเ หยยี บ อนั ไหนจะเปน ขวากเปน หนาม ไมยอมเหยียบ สิ่งใดที่จะเปนโทษเปนภัยขาดความเคารพ ทา นไมย อมทาํ นกั ปราชญ ทา นเปน อยา งนน้ั ไมเหมอื นคนตาบอดเหยียบดะไปเลย โดยไมค าํ นงึ วา ควรหรือไมค วร (เสียงเครื่องบินดังไมหยุด ทา นเลยหยดุ เทศน) <<สารบัญ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๘๓
๘๔ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมื่อวันที่ ๗ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ กิเลสกดถวงจิต โดยปกติอากาศภายนอกไมรบกวนประสาท เสียงตางๆ ไมมีประสาทก็สงบไม มีการกระทบกระเทอื นกนั การกระทบกระเทือนเปนสาเหตุใหเกิดทุกขดานจิตใจและ สว นรา งกาย ความสงบสงดั ภายในกไ็ มก วนใจ นอกจากเปน “คณุ ” แกใจโดยถายเดียว ใจทีไ่ มส งบกเ็ พราะมสี ง่ิ รบกวนอยูเสมอ ความถกู รบกวนอยเู สมอ ถา เปน นาํ้ กต็ อ งขนุ นาํ้ ถา ถกู กวนมากๆ ก็ขุนเปนโคลนเปนตมไปเลย จะอาบดม่ื ใชส อยอะไรกไ็ มส ะดวกทง้ั นน้ั เพราะน้ําเปนตมเปนโคลน จิตใจที่เปนเชนนั้นก็แสดงวา ใหประโยชนแกตนไมได ขณะทถ่ี กู รบกวนจนถงึ เปน ตมเปน โคลนอยภู ายในจติ ใจ ตอ งแสดงความรุม รอนใหเจา ของไดรบั ความทกุ ข มากเอาการ ผลของมนั ทาํ ใหเ ปน ความทกุ ขค วามลาํ บาก เราจะเอาความทุกขความ ลาํ บากนไ้ี ปใชป ระโยชนอ ะไรเลา ? เพราะความทกุ ขค วามลาํ บากภายในจติ ใจน้ี โลกกลวั กนั ทง้ั นน้ั แลวเราจะเอาทุกขนี้ไปทําประโยชนที่ไหนได ! ไมกลวั กบั โลกผูดีและปราชญ ผแู หลมคมทา นบา งหรอื ? การแกไ ขเพอ่ื ไมใหมอี ะไรกวนใจกค็ อื การระวังดวยสติ ถา จติ สงบกส็ บาย เชน เดียวกับน้ําทไี่ มมอี ะไรรบกวน ตะกอนแมจ ะมอี ยกู น็ อนกน ไปหมดเพราะนาํ้ นง่ิ ไมถ กู รบ กวนบอ ยๆ ยอ มใสสะอาด พระพุทธเจาผูประทานธรรมไว ทรงถอื เปน สาํ คญั อยา งยง่ิ สาํ หรบั ใจในอนั ดบั แรก ทรงเล็งญาณดูสัตวโลกในขณะที่ตรัสรูใหมๆ ก็เล็งญาณดูจิตใจ ไมใชเล็งญาณดู ความรูวิชา ฐานะสูงต่ํา ความมง่ั มดี จี นของสตั วโ ลกทว่ั ๆ ไปเลย แตทรงเล็งญาณดูจิตใจ เปนสําคัญ เชน ผูควรจะไดบรรลุมรรคผลนิพพานในระยะรวดเร็ว และจะมีอันตรายมา ทาํ ลายชวี ติ ในเวลาอนั สน้ั กม็ ี หรือผูมีอุปนิสัยที่ควรจะบรรลุมรรคผลนิพพานไดและไม มีอันตรายก็มี เหลานี้ลวนแตทรงถือเรื่องจิตเปนสําคัญ เลง็ ญาณกเ็ ลง็ ดจู ติ ของสตั วโ ลก วาควรจะไดบรรลุหรือไม หรือไมควรรับธรรมเลย เปนจําพวก “ปทปรมะ” คอื มดื บอด ทง้ั กลางวนั กลางคนื ยนื เดนิ นง่ั นอน เรยี กวา “มืดแปดทิศแปดดาน” ไมม กี าลสถานท่ี เขามาเปด เขา มาเบกิ ความมดื นน้ั ออกไดเ ลย มืดมิดปดตาอยูภายในจิตใจ ประเภทที่ เปนเชนนี้พระองคทรงทราบ และ “ชกั สะพาน” คือไมทรงสั่งสอนอะไรทั้งสิ้น ถา เปน ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๔
๘๕ โรค กค็ อื โรคหมดหวงั แตหมอก็ยังตองรักษาโดยมารยาทดวยมนุษยธรรม จึงยังตอง ใหอ อกซเิ จนหรอื ยาอะไรๆ ไปบา งตามสมควรจนกวา จะถงึ กาล สวนพระพุทธเจาไมทรงสั่งสอน เพราะเปนประเภทหมดหวังโดยสิ้นเชิงแลว ที่ เรียกวา “ปทปรมะ” คอื ประเภททไ่ี มม ที างแกไ ขเยยี วยา รอเวลาความตายอยเู พยี ง เทา นน้ั ประเภทนี้เปนประเภทที่มืดบอดที่สุด พระองคก็ทรงทราบ ทราบที่จิตใจนั้น เองไมทราบทีอ่ น่ื เพราะทรงมุง ตอ จิตใจเปน สําคัญ ศาสนาวางลงทจ่ี ติ ใจของมนษุ ยเ ปน สาํ คญั ยง่ิ กวา สง่ิ ใดในโลกน้ี “ประเภท อุคฆฏิตัญู” ที่จะรูธรรมไดอยางรวดเร็ว เมื่อพระองคประทาน ธรรมะเพียงยอๆ เทานัน้ พระองคก็ทรงทราบ และรองลงมาประเภท “วปิ จติ ญั ู” ก็ ทรงทราบ และทรงสัง่ สอนธรรมะทีค่ วรแกอุปนสิ ยั ของรายนน้ั ๆ “เนยยะ” คอื ผทู ต่ี อ ง สง่ั สอนหลายครง้ั หลายหน คอื ผทู ี่พอแนะนาํ สงั่ สอนได พอจะนําไปได ฉุดลากไปได พูดงายๆ “เนยยะ” กแ็ ปลวา พวกทจ่ี ะถไู ถไปไดน น่ั เอง พระองคก็ทรงสั่งสอน ผนู น้ั ก็ พยายามปฏบิ ตั ติ นในทางความดไี มล ดละปลอ ยวาง กย็ อ มเปน ผลสาํ เรจ็ ได สว น “ปทปรมะ” นน่ั หมดหวงั ถงึ จะลากไปไหนกเ็ หมอื นลากคนตาย ไมมี ความรสู กึ อะไรเลย ทัง้ ใสร ถหรอื เหาะไปในเรอื บิน กค็ อื คนตายนน่ั แล ไมเกิดผล ประโยชนอะไรในทางความดี ตลอดมรรคผลนิพพาน คนประเภทนี้เปนคนที่หมดหวัง ทั้งๆ ทีย่ งั มชี ีวติ อยู ไมส นใจคดิ และบาํ เพญ็ ในเรอ่ื งบญุ บาป นรก สวรรค นพิ พาน ไม สนใจกบั อะไรเลยขน้ึ ชอ่ื วา “อรรถ” วา “ธรรม” นอกจากตง้ั หนา ตง้ั ตาสง่ั สมบาปนรก ใสหัวใจใหเต็มจนจะหายใจไมออก เพราะอดั แนน ดว ยเชอ้ื ไฟนรกเทา นน้ั เพราะนั่นเปน งานของคนประเภทนั้นจะตองทํา เนอ่ื งจากใจอยเู ฉยๆ ไมได ตองคิดปรุงและทํางาน พระองคทรงทราบหมดในบุคคลสี่จําพวกนี้ ทรงเล็งญาณดูสัตวโลกเปนประจาํ ตาม “พุทธกจิ หา ” ซึ่งเปนกิจของพระพุทธเจาโดยเฉพาะ ในพทุ ธกจิ หา ประเภทนน้ั มกี ารเลง็ ญาณตรวจดอู ปุ นสิ ยั ของสตั วโ ลกเปน ขอ หนง่ึ ที่พระองคทรงถือเปนกิจสําคัญ วา ใครทข่ี อ งตาขา ยคือพระญาณของพระองค และควรเสด็จไปโปรดกอน กอ นที่ ภยันตรายจะมาถึงรายนั้นๆ ในไมชา ทั้งนี้หมายถึงจิตนั่นเอง เพราะฉะนั้น “จิต” จึง เปน ภาชนะสําคัญอยา งยง่ิ ของธรรมทงั้ หลาย และจติ เปน ผบู งการ “จติ เปน นาย กาย เปน บา ว” จิตไดบงการอะไรแลว กายวาจาจะตองหมุนไปตามเรื่องของใจผูบงการ เพราะฉะนั้นทางโลกเขาจึงสอน “นาย” หวั หนา งานเสยี กอ น สอนหวั หนา งานใหเ ขา อก เขา ใจในงานแลว กน็ าํ ไปอบรมลกู นอ งใหด าํ เนนิ ตาม ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๕
๘๖ ฝา ย “ธรรม” เมื่อสั่งสอน “ใจ” ผูเปนหัวหนาใหเปนที่เขาใจแลว ใจก็ยึดมา รกั ษากายวาจาของตน ใหดําเนินไปตามรอ งรอยแหง ธรรมทใี่ จไดรับการอบรมสัง่ สอน มาแลว การปฏบิ ัตติ ัวก็เปนไปเพือ่ ความราบรน่ื ช่ืนใจ ดังนั้นใจผูเปน ใหญเปนประธาน ของกายวาจา จึงเปนสิ่งสําคัญมากในตัวเรา พูดฟงงายก็วา แกน ของคนของสตั วท เ่ี ปน อยูกค็ ือใจตัวรูๆ อยใู นรา งกายนน้ั แล เปนตัวแรงงานและหัวหนางานทุกประเภท ใจจึง ควรรบั การอบรมดว ยดี ศาสนธรรมจงึ สง่ั สอนลงทใ่ี จ ซึ่งเปนภาชนะอันเหมาะสมแกธรรมทุกขั้นทุกภูมิ นบั แตข น้ั ตาํ่ จนถงึ ขน้ั สงู สดุ คือ “วิมุตติพระนิพพาน” ไหลลงรวมที่ใจแหงเดียว เราทุก คนมีจิตใจ มคี วามรอู ยทู กุ ขณะไมวา หลับตื่น ความรูนั้นมีอยูเปนประจําไมเคย อนั ตรธานหายไปไหนเลย เวลาหลบั สนทิ กไ็ มใ ชค นตาย ความหลบั สนทิ ผดิ กบั คนตาย ผรู กู ร็ วู า หลบั สนทิ ตื่นขึ้นมาเราพูดไดวา “หลบั ไมย งุ กบั สง่ิ นอกๆ ใจจึงราวกับกับไมรู อะไรในเวลาหลบั สนทิ แตค วามจรงิ นน้ั รู เวลาหลบั สนทิ กว็ า หลบั สนทิ ตื่นขึ้นมาเราพูด ไดวา “แหม คนื นห้ี ลบั สนทิ ดเี หลอื เกนิ ” บางคนถงึ กบั พดู วา “แหม เมอ่ื คนื นน้ี อน หลบั สนทิ เหมอื นตายเลย” มนั เหมอื นเฉย ๆ แตไ มต าย “ผูรู”อนั นเ้ี ปน อยา งนน้ั ละเอียดถงึ ขนาดนัน้ เทยี ว จะฝนหรือไมฝน พอตน่ื ขน้ึ มากพ็ ดู ไดถ า สญั ญาทาํ หนา ทใ่ี ห คอื ความจาํ นน้ั นะ ทาํ หนา ทใ่ี ห เรากจ็ ําไดและพูดได ถา “สญั ญา” คอื ความจาํ ไมอ าจทาํ หนาที่ได หลงลืมไปเสียแลว เราก็นําเรื่องราวในฝนมาพูดไมได สิ่งที่เปนไปแลวนั้นก็ เปนไปแลว รูไปแลว จําไดแลว แตม ันหลงลมื ไปแลว เทาน้นั กเ็ กีย่ วกับเร่อื งของความรู คอื ใจนน่ั เอง ใจเปน เชนน้ันแล ละเอียดมาก การนอนอยเู ฉยๆ ไมมผี ูร บั รเู ชน กบั คนตายแลว มนั จะไปทาํ งานทาํ การ ประสบ พบเหน็ สง่ิ นน้ั สง่ิ น้ี เปนเรื่องเปนราวใหฝนไปไดอยางไร มันเปนเรื่องของใจทั้งนั้นที่ แสดงตัวออกไปรูเรื่องตางๆ ใหเราจําไดในขณะที่ฝนและตื่นขึ้นมา “วนั นฝ้ี น เรอ่ื งนน้ั เรื่องนี้ แตจติ ทล่ี งสภู วงั คแ หง ความหลบั สนทิ อยา งเตม็ ทแ่ี ลว กไ็ มม ฝี น ชอ่ื วา “เขาสู ภวงั คแ หง ความหลบั สนทิ ” คอื ภวังคแ หงความหลับสนิททางจติ เปน อยางนี้ ถา คน หลบั สนทิ กช็ อ่ื วา ใจเขา สภู วงั คค วามหลับสนิทอยางเตม็ ที่ ก็ไมมีฝนอะไร ต่ืนขน้ึ มาราง กายกม็ กี าํ ลงั จิตใจก็สดใส ไมม คี วามทกุ ขค วามรอ นอะไร กาํ ลงั ใจกด็ ี ผดิ กบั การหลบั ไมสนิท ปรากฏเปน นมิ ติ ในฝน โนน นอ่ี ยา งเหน็ ไดช ดั เวลาหลับไปแลวฝนไปตางๆ น่ันคือจิตไมไดเ ขา สูภวังคแหงความหลับสนทิ จิต ออกเทย่ี ว เรๆ รอ นๆ ไป ปกตขิ องใจแลว หลบั กร็ ู คาํ วา “หลบั กร็ ”ู เปนความรใู น หลบั โดยเฉพาะ สตปิ ญ ญาไมเ ขา เกย่ี วขอ งในเวลานน้ั รูอยูโดยธรรมชาติ ไมเหมือน ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๖
๘๗ เวลาตน่ื แตเ วลาต่ืนแลว สตปิ ญ ญามโี อกาสเขา ไปเกย่ี วขอ งไดท กุ ระยะ ถา มสี ติ คอยตามทราบความรอู นั นน้ั โดยลาํ ดบั ใจจะแย็บไปรูสิ่งใดก็ทราบ คนมสี ตดิ ยี อม ทราบทกุ ขณะจติ ทเ่ี คลอ่ื นไหว ไปรูเรื่องอะไรบาง หากไมม สี ติ มแี ตค วามรกู ไ็ มท ราบ ความหมายวา มันรูเร่อื งอะไรบาง ความไมม ีสติเปน เครอื่ งกาํ กับรักษาใจ จึงไมคอยได เรื่องอะไร ดังคนบา นน่ั เขาไมม สี ติ มแี ตค วามรคู อื ใจ กบั ความมดื บอดแหง โมหะ อวชิ ชาหมุ หอ โดยถายเดียว คิดจะไปไหนทําอะไร กท็ ําไปตามประสีประสาของคนไมมี สติปญ ญารบั ผดิ ชอบวาถูกหรอื ผดิ ประการใด ไมใชคนที่เปนบานั้นเปนคนตาย เขาเปน คนมีใจครองราง เขารเู หมอื นกนั เปนแตเพียงเขาไมรูดีรูชั่ว ไมรูผิดรูถูกอะไรเทานั้น เปนเพียงรูเฉยๆ คดิ อยากไปอยากมาอยากอยู อยากทาํ อะไรกท็ าํ ไปตามความอยาก ประสาคนบา ทไ่ี มม สี ตปิ ญ ญารบั ผดิ ชอบตวั เอง นแ่ี หละความรมู นั เปน อยา งนน้ั จติ มนั เปน อยา งนน้ั ถา ไมม สี ตริ กั ษาแลว จะไมรู เรื่องดีเรื่องชั่ว เรื่องผิดเรื่องถูกอะไรเลย ไมมีการใครครวญเหตผุ ลตน ปลายลึกตื้น หยาบละเอียดอะไรไดเลย ถาไมมีสติปญ ญาแฝงอยใู นนน้ั เพียงความรูโดยลําพังก็เปน อยา งทว่ี านน้ั แหละ ยอ มกลายเปน คนบา คนบอไปไดอ ยา งงา ยดาย พอมสี ตขิ น้ึ มาคนบา กค็ อ ยหายบา เพราะมสี ตริ บั ทราบวา ผิดหรือถกู ตา ง ๆ ความรทู ว่ี า นไ้ี มใ ชค วามรทู บ่ี รสิ ทุ ธ์ิ เปนความรูของสามัญชนธรรมดา และยังลดลงไป จากความรขู องสามญั ชนตรงทไ่ี มม สี ตคิ อยกาํ กบั รกั ษา จึงไดเปนความรูประเภท บา ๆ บอๆ คือไมมีสติปญญาปกครองตน ไมมีอะไรรับผิดชอบเลย มีแตความรูโดย ลาํ พงั จึงเปนเชนนั้น ถา มสี ตสิ ตงั เปน เครอ่ื งกาํ กบั รกั ษาอยแู ลว ความรูนั้นจะเปนอยางนั้นไมได เพราะมผี ูคอยกระซบิ และชกั จูง มีผูคอยเรงคอยรั้งอยูเสมอ เหมือนกับรถที่มีทั้งคันเรง มีทั้งเบรกมีทั้งพวงมาลัย จะหมุนไปทางไหนก็ไดดวยสติดวยปญญาของคนขับ ทค่ี วบ คุมจิตและรถอยูตลอดเวลา สว นจติ ของทา นผถู งึ ความหลดุ พน แลว นน้ั ไมใ ชจ ติ ประเภทน!้ี ความรเู ฉยๆ ทว่ี า มกี เิ ลสแฝงนน้ั ทา นกไ็ มม ี เปนความรูท่บี รสิ ทุ ธิล์ ว นๆ จะวาทานมีสติหรือไมมีสติ ทา นกไ็ มเ สกสรร ทา นไมม คี วามสาํ คญั มน่ั หมายตามสมมตุ ใิ ดๆ หลกั ใหญก ค็ อื ความบรสิ ทุ ธล์ิ ว นๆ เทานนั้ ซึ่งไมมีปญหาใดๆ เขาไปแทรกซึมเลย ทา นเปน คนพน สมมตุ หิ รอื นอกสมมตุ แิ ลว คาํ วา “ไมมีสติหรือขาดสต”ิ จึงไมเกี่ยวของกับจิตดวงนั้น ใชเ พยี งในวงสมมตุ พิ อถงึ กาลเทา นน้ั จิตของสามัญชนตองอาศัยสติปญญาเปนเครื่องรักษา จึงจะเปนไปในทางที่ถูกที่ ควรในกริ ยิ าอาการทแ่ี สดงออก กริ ยิ าทา ทางนน้ั ๆ ถา มสี ตปิ ญ ญาคอยควบคมุ อยกู น็ า ดู ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๗
๘๘ สวยงาม การพูดการกระทําก็รูจักผิดรูจักถูก รูจักควรหรือไมควร รจู กั สงู รจู ักตาํ่ การพูด จาก็มีเหตุมีผล ทําอะไรก็มีเหตุมีผล หลกั ใหญจ งึ ขน้ึ อยกู บั สตแิ ละปญ ญาเปน สาํ คญั ในตวั คน เรานบั ถอื พระพทุ ธศาสนา เราเปนชาวพุทธ คาํ วา “พุทธะ” หมายความวา อะไร ทว่ี า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” เปนพุทธอันเลิศโลก คอื พทุ ธะทบ่ี รสิ ทุ ธ์ิ พุทธะที่ประเสริฐ เราถือทานเปนผูประเสริฐ นอ มทา นผปู ระเสรฐิ เขา มาไวเ ปน หลกั ใจ มาเปนเครื่องยึด เครื่องพึ่งพิงอาศัย เราจงึ ควรระลกึ ถงึ ความรขู องเราอยเู สมอวา ขณะใดสตสิ ตงั ไม บกพรอ งไปไมม ี เวลานน้ั เราขาดสรณะ ขณะที่เราขาดสติประจําผูรูคือใจ แมความโกรธ กโ็ กรธมาก เวลาฉนุ เฉยี วกฉ็ นุ เฉยี วมาก เวลารกั กร็ กั มาก เวลาชังชังมากเกลียดมาก เพราะความไมมีสติรั้ง ถา มสี ตริ ง้ั ไวบ า ง กพ็ อใหทราบโทษของมันและพอยับย้งั ตัวได ไมรุนแรง วนั หนง่ึ ๆ ถา มศี าสนาอยภู ายในใจ จะประกอบหนา ทก่ี ารงานอะไร ก็ราบรื่นดี งามและเต็มเม็ดเต็มหนายไมคอยผิดพลาด เมือ่ เรื่องราวเกดิ ขนึ้ ภายในใจ ก็มีสติปญญา รบั ทราบและกลน่ั กรองพนิ จิ พจิ ารณา พอใหท ราบทางถกู และผดิ ได และพยายามแกไ ข ดัดแปลงพอเอาตัวรอดไปได พูดตามความจริงแลว ธรรมะของพระพุทธเจาไมใชเปนสิ่งที่จะทําคนใหเสียหาย ลม จม แตเปน สง่ิ ทฉ่ี ดุ ลากคนใหข ึน้ จากหลม ลกึ ไดโดยไมสงสยั เมื่อมีอุปสรรคหรือเกิด ความทกุ ขค วามลาํ บากประการใด ธรรมะยอ มชว ยโดยทางสตปิ ญ ญาเปน สาํ คญั เพราะ พระพทุ ธเจา มไิ ดท รงสอนใหค นจนตรอกจนมมุ แตส อนใหม คี วามฉลาดเอาตวั รอดได โดยลําดับของกําลังสติปญญา ศรทั ธา ความเพยี ร จิตเปนรากฐานสําคัญในชีวติ กรณุ าพากนั ทราบอยา งถงึ ใจ ความรูที่มีประจําตัว เรานี้แล แมจะจับตองความรูไมไดเหมือนวัตถุตางๆ กต็ าม กค็ อื ความรอู นั นแ้ี ลทเ่ี ปน รากฐานแหง ชวี ติ และเปน “นักทองเทยี่ ว” ในวฏั สงสาร จะเคยเปน มานานขนาด ไหนกค็ อื ผนู ้ี จะสน้ิ สดุ วมิ ตุ ตติ ดั เรอ่ื งความสมมตุ คิ อื เกดิ ตายทง้ั หมดออกได ก็ เพราะจติ ดวงนไ้ี ดร บั การอบรมและซกั ฟอกสง่ิ ทเ่ี ปน ภยั อนั เปน เหตใุ หเ กดิ ใหต ายอยู ภายในออกไดโ ดยไมเ หลอื จงึ หมดเหตหุ มดปจ จยั สบื ตอ กอ แขนงโดยสน้ิ เชงิ ทีนี้คํา วา “ใจ เปน นกั ทอ งเทย่ี ว”ก็ยุติลงทันที เวลาทม่ี กี เิ ลสอยภู ายในใจ ไมว า ใครตอ งเตรยี มพรอ มอยเู สมอทจ่ี ะไปเกดิ ใน ภพนอยภพใหญไมมีประมาณ เมอ่ื ตา งทราบอยแู กใ จเชน น้ี จึงควรทําความระมดั ระวงั และศกึ ษาปฏิบัตติ อ เรือ่ งของจิตใหเพยี งพอ ในการดาํ เนนิ ใหถ กู ตอ งตามหลกั ของ ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๘
๘๙ พระพุทธศาสนาอยางแทจริง นอกจากนั้นยังจะนําอรรถธรรมนี้ไปใชเปนประโยชนแก สงั คมอยา งกวา งขวาง ตามกาํ ลงั ความสามารถของตนอกี ดว ย ศาสนธรรมเปนเครื่องสงเสริม เปนเครอ่ื งพยุงโลกใหมีความสงบรม เยน็ ไมใช เปน เครอ่ื งกดถว ง ดงั ท่ีคนจาํ นวนมากเขา ใจกันวา “ศาสนาเปน เครอ่ื งกดถว งความ เจริญของโลก” ความจรงิ กค็ อื ผทู ว่ี า นน้ั เองเปน ผกู ดถว งตวั เอง และกดถว งกดี ขวาง ความเจริญของโลก ไมใ ชผ ถู อื ศาสนาและปฏบิ ตั ศิ าสนา เพราะพระพุทธเจาไมใชผูกด ถว งโลก! ธรรมไมใ ชธ รรมกดถว งโลก พระสงฆสาวกอรหันตไมไดเปนผูกดถวงโลก ทา นไมเ ปน ภยั ตอ โลกเหมอื นคนไมม ศี าสนา ซง่ึ กาํ ลงั เปน ภยั ตอ โลกอยเู วลาน้ี ศาสน ธรรมจะสิ้นสูญไปจากโลก ก็เพราะคนประเภทไมมีศาสนาเปนผูทําลาย เมื่อพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ไมเปนภัยตอโลกแลว จะวาเปนสิ่งที่โลก นา กลวั ไดอ ยา งไร และจะกดถวงโลกจะทําความทุกขรอนใหแกโลกไดอยางไร? ขอ สาํ คญั กค็ วามคดิ เชน นน้ั ของบคุ คลผนู น้ั แลคอื ความเปน ภยั แท ผทู ห่ี ลงผดิ คดิ เชน นน้ั คนนน้ั คอื ผเู ปน ภยั แกต นและสว นรวมแทไ มอ าจสงสยั การเชอ่ื ถอื ในคาํ ของบคุ คลทเ่ี ปน ภยั นน้ั ยอมจะมคี วามเสยี หายแกผ ูอื่นไมมี ประมาณ เพราะระบาดไปเรื่อยๆ นัน้ แลคือภัยแทท ี่เห็นไดอ ยา งชัดเจน สวนศาสนธรรมมิไดเ ปน ภัย ถาธรรมเปนภัยแลว พระพุทธเจา วิเศษไดอยางไร ถาธรรมเปน ภัยพระพทุ ธเจา กต็ อ งเปน ภยั ตอพระองคและตอ โลก แมพระสงฆก็ตอง เปน ภยั อยา งแยกไมอ อก เพราะสามรตั นะนเ้ี กย่ี วโยงกนั อยา งสนทิ แตน่ไี มปรากฏ ปรากฏแตวาพระพุทธเจา พระสาวก เสด็จไปที่ใด ประทานธรรม ณ ที่ใด สัตวโลกมี ความรมเย็นเปนสุขโดยทั่วกัน ไมมีใครเบื่อหนายเกลียดชังทาน หากจะมกี ค็ อื ผเู ปน ขา ศกึ แกพ ระศาสนาและแกป ระชาชนเทา นน้ั สวนมากทปี่ ระจักษในเร่อื งความเปนภัยน้นั เห็นๆ กนั แตคนไมมีธรรมในใจนั้น แล เปน ภยั ทง้ั แกต นและแกส ว นรวม เพราะสติปญญาเครื่องระลึกรูบุญบาปไมมี คณุ คา ของใจไมมี ถูกความเสกสรรทางวัตถุทับถมจนมองไมเห็น การแสดงออกจงึ รกั กเ็ ปน ภยั เกลยี ดกเ็ ปน ภยั โกรธกเ็ ปนภัย ชังก็เปนภัย อะไรๆ เปนภัยหมดเพราะจิตเปนตัวภัย ดว ย.“ราคคคฺ นิ า โทสคฺคินา โมหคคฺ นิ า” ผนู แ้ี ลคอื ผเู ปน ภยั เพราะกเิ ลสตวั ทบั ถม เหลา นพ้ี าใหเ ปน ภยั ศาสนธรรมซึง่ เปน เคร่อื งแกสิ่งทเ่ี ปน ภยั ทง้ั หลายโดยตรงอยแู ลว เมื่อเปนเชน นน้ั จะเปน ภยั ไดอ ยา งไร หากเปน ภยั แลว จะแกส ง่ิ ไมด เี หลา นน้ั ไดอ ยา งไร ธรรมชุดเตรียมพรอม ๘๙
๙๐ พระพุทธเจาทรงแกสิ่งเหลานี้ไดแลวโดยสิ้นเชิง ไมมีเหลืออยูเลยในพระทัยขึ้น ชอ่ื วา ภยั ดงั ทก่ี ลา วมา จนเปน ผบู รสิ ทุ ธว์ิ มิ ตุ ตพิ ทุ โธทง้ั ดวง จึงเรียกวาเปน “ผูเลิศ” “ผู ประเสริฐ” พระธรรมของพระองคก เ็ หมอื นกนั “ธมฺโม ปทีโป” เปนธรรม “กระจางแจง ภายในจติ ” สังโฆเปนผูทรงไวซึ่งความสวางกระจางแจงแหงธรรมทั้งดวง ดว ยความ บริสุทธิ์วิมุตติหลุดพน นาํ ศาสนธรรมทป่ี ราศจากภยั มาสอนโลก ทําไมศาสนธรรมจะเปน เครอ่ื งกดถวงโลกและเปนภัยตอ โลก นอกจากผสู าํ คญั วา ศาสนาเปน ภยั นน้ั แลเปน ตวั ภยั แกต วั และสงั คม เพราะความสาํ คญั เชน นเ้ี ปน ความ สาํ คญั ผดิ ! อะไรทพ่ี าใหผ ดิ ? กค็ อื หวั ใจทเ่ี ปน บอ เกดิ แหง ความคดิ นน้ั แล เปนตนเหตุแหง ความผิดหรือเปนผูผิด การแสดงออกมานน้ั จงึ เปน ความผดิ หากไมเปนความผิดเรา ลองนาํ ความคดิ เชน นไี้ ปใชใ นโลกดซู ิ โลกไหนจะไมรอนเปนฟนเปนไฟไมมี แมตัวเองก็ ยังรอน หากนาํ ศาสนาไปสอนโลกตามหลกั ทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงสง่ั สอนและไดท รงบาํ เพญ็ มาแลวจนไดตรัสรู โลกจะเปนภัย โลกจะเดือดรอนไดอยางไร? โลกวนุ วายมนั ถงึ เกดิ ความทกุ ขค วามรอ น พระพุทธเจาไมไดทรงสอนใหวุนวาย แตส อนใหม คี วามสงบรม เย็น ใหเ หน็ อกเหน็ ใจกนั ใหร จู กั รกั กนั สามคั คกี ลมกลนื เปน นาํ้ หนง่ึ ใจเดยี วกนั เสมอ ใหรูจักเหตุจักผล รูจักเขารูจักเรา เพราะโลกอยดู ว ยกนั ไมใ ชอ ยคู นหนง่ึ คนเดยี ว อยู ดวยกันเปนหมูเปนคณะ ตั้งเปนบานเปนครอบครัว เปน ตาํ บลหมบู า น เปนอาํ เภอเปน จังหวัด เปนมณฑลหรือเปนภาค เปนเขตเปนประเทศ ทั้งประเทศนั้นประเทศนี้ ลว น แตหมูชนทร่ี วมกันอยูทั้งน้นั ซ่ึงควรจะเหน็ คุณคาของกันและกนั และของการอยรู ว มกนั ดวยธรรม มีเมตตากรุณาธรรม เปนมาตรฐานของการอยรู ว มกันของคนหมมู าก คนทอ่ี ยดู ว ยกนั ไมเ หน็ อกเหน็ ใจกนั มแี ตค วามเบยี ดเบยี นทาํ ลายกนั มแี ตค วาม คบั แคบเหน็ แกต วั จดั ยอ มเปน การทาํ ลายคนอน่ื เพราะความเห็นแกตัว แมไ มท าํ ลาย อยา งเปด เผยกค็ อื การทาํ ลายอยนู น่ั แล จงึ ทาํ ใหเกดิ ความกระทบกระเทือนกนั อยเู สมอ ในสังคมมนุษย ขน้ึ ชอ่ื วา “คนคบั แคบ เห็นแกตัวจัด” จะไมท าํ ใหค นอน่ื เดอื ดรอ นฉบิ หายนัน้ ไมม !ี ไมวาท่ใี ดถามีคนประเภทนแ้ี ฝงอยูดวย สังคมยอมเดือดรอนทุกสถานที่ ไป เพราะคนประเภทนี้เคยเปนภัยแกส ังคมมามาก และนานจนประมาณไมได สังคมจึง รังเกียจกนั เรอ่ื ยมาจนปจ จุบันน้ี ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๐
๙๑ ทธ่ี รรมทา นสอนไมใ หเ บยี ดเบยี นกนั กเ็ พราะหวั ใจมนษุ ยม คี ณุ คา ดว ยกนั ตลอดสมบตั แิ ตล ะสิ่งละอยางซึ่งอยูในครอบครอง ดวยเปนของมีคุณคาทางจิตใจอยู มาก จึงไมค วรทาํ จติ ใจกันใหก าํ เริบ เพราะใจของใครๆ ก็ตองการอิสรภาพเชนเดียวกัน ไมป ระสงคค วามถกู กดขบ่ี งั คบั ดว ยอาการใดๆ ซง่ึ ลว นเปน การทาํ ลายจติ ใจกนั ใหก าํ เรบิ อันเปนสาเหตุใหกอกรรมกอเวรไมมีที่สิ้นสุดยุติลงได เพียงสัตวเขายังกลัวตาย เขายัง กลวั ความเบยี ดเบยี นการทาํ ลาย มนษุ ยอ ยดู ว ยกนั ไมก ลวั การเบยี ดเบยี น ไมก ลวั การทาํ ลาย ไมก ลวั การเอารดั เอา เปรียบกัน ไมก ลวั การดถู กู เหยยี ดหยามกนั จะมีไดหรือ! สิ่งเหลาน้ใี ครกไ็ มปรารถนา กันทั้งโลก การทท่ี าํ ใหเ กดิ ความกระทบกระเทอื นซง่ึ กนั และกนั จนโลกหาความสงบไมได เปนฟนเปนไฟอยูตลอดเวลามาจนกระทั่งปจจุบันนี้ และจะเปนไปโดยลําดับไมมีที่สิ้น สดุ เพราะอะไรเปนเหตุ ถาไมใชเพราะความเห็นแกตัว อันเปนเรื่องของกิเลสตัว สกปรกตวั หยาบๆ นี้จะเปนเพราะอะไร ความผดิ ถกู ดชี ว่ั ตา งๆ พระพุทธเจาทานทรงสอนไวหมด ทานมีพระเมตตา กรณุ าสดุ สว นแกม วลสตั วท กุ ประเภทแมป รมาณู กไ็ มใ หเ บยี ดเบยี นทาํ ลายกนั เพราะมี กรรม มีวิบากแหงกรรม อยา งเตม็ ตวั ดว ยกนั อยูดวยกรรมไปดวยกรรม สุขทุกขดว ย กรรมเหมอื นกนั ควรนบั ถอื กนั เปน ความเสมอภาค ดังในธรรมวา “สัตวท ้ังหลายท่ีเปนเพอ่ื นทุกขเ กิดแกเ จบ็ ตายดวยกนั ไมใ หเ บยี ดเบยี นทาํ ลาย กนั ” เปนตน เม่อื ตางคนตางเหน็ ความสาํ คัญของชวี ิตจติ ใจ และสมบตั ขิ องกนั และกนั เชน น้ี ยอ มไมเ บยี ดเบยี นกนั เพราะทํากันไมลง เมอ่ื ตา งคนตา งมคี วามรสู กึ อยา งนแ้ี ลว โลกก็ เย็น อยดู ว ยกนั อยา งผาสกุ มีการยอมรบั ผิดรบั ถกู มหี ลกั ธรรมเปน กฎเกณฑ ตางคน ตางระมัดระวัง ไมห าเรอ่ื งหลบหลกี ปลกี กฎหมายและศลี ธรรมกนั เปน หลักปกครองให เกิดความรมเย็นผาสุก เชนไมยอมรับความจริงดังที่เปนอยูเวลานี้ และท่เี คยเปน เร่อื ยมาจนกระท่ัง ปจ จบุ นั ไมม ใี ครกลาเปนกลาตายตัดหัวธรรม ดวยการยอมรบั ความจรงิ แมไปฉกไป ลกั เขามาหยกๆ เวลาถกู จบั ตวั ไดก แ็ กต วั วา “เขาหาวา” คนเราถา รบั ความจรงิ แลว จะ วา “เขาหาวา ....” ไปทําไม! ขายตัวเปลาๆ ! แมคนติดคุกติดตะรางลองไปถามดูซิวา “นี่เปนอะไรถึงตองมาติดคุกติดตะรางละ?” ตองไดร บั คาํ ตอบวา “เขาหาวา ผมลกั ควาย” เปนตน เมอ่ื ถามกลบั วา “เราไมไดลักควายของเขาจริงๆ หรือ?” “ลักจริงๆ” ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๑
๙๒ แนะ ! ลกั จรงิ ๆ ทาํ ไมบอก “เขาหาวา ....” ทั้งนี้เพราะไมยอมรับความจริง เนื่องจาก ความเหน็ แกต วั กลัวเสียเกียรติ ขายขห้ี นา วา เปน คนเลวทรามหยามเหยยี ด อายเพอ่ื น มนษุ ยนน่ั แล แตการพูดโกหกไมยอมรับความจริงซึ่งเปนความผิดสองซ้ํานั้น ไมพึง เฉลยี วใจและอายบา ง ความเปนมนุษยผูดีจะไดมีทางกระเตื้องขึ้นมาบาง เหลานี้เปน เร่อื งของกิเลสความเหน็ แกตัว เห็นแกได จึงทาํ ใหหมดยางอายโดย สิ้นเชิง สิ่งเหลานี้เปนของสกปรกเลวทรามในวงผูดีมีศีลธรรมในใจ สง่ิ เหลา นเ้ี ปน สง่ิ กดถว ง เปน สงิ่ ทําลายจติ ใจและทําลายสมบัติของเพ่ือนมนุษยด ว ยกนั สงิ่ สกปรกรก รุงรังเหลานี้ ผมู จี ติ ใจใฝต าํ่ ชอบมนั อยา งยง่ิ ทั้งที่มันใหโทษมากไมมีประมาณ มีมากมี นอ ยก็ทําความกระทบกระเทือน และทาํ ความฉบิ หายแกผ อู น่ื ไมส งสยั จงึ ขอตง้ั ปญ หาถามตวั เองเพอ่ื เปน ขอ คดิ วา “เหลา นห้ี รอื ทว่ี า โลกเจรญิ ?” เจริญดวยสิ่งเหลานี้หรือ? อนั นห้ี รอื ทเ่ี รยี กวา “เชดิ ชูกนั และกนั และเชิดชูโลกให เจริญ?” คาํ ตอบ “จะเชิดชูโลกอยางไร เวลานโ้ี ลกกาํ ลงั รอ นเปนฟนเปนไฟ ยงั ไมท ราบ วา มนั กดถว งอยหู รอื ? นน่ั ! สว นศาสนามบี ทใดบาทใดทส่ี อนใหโ ลกเบยี ดเบยี นกนั ให เกดิ ความเดอื ดรอ นวนุ วายแกก นั เพียงสังเกตตามความรูสึกธรรมดาก็ไมปรากฏเลย” ทนี ท้ี าํ “โอปนยโิ ก” นอ มขา งนอกเขา มาขา งในเพอ่ื ใหเ กดิ ประโยชน ไมเ สยี หาย ไปเปลา” การแสดงธรรมมีทั้งขางนอกขางใน ขอ สาํ คญั กใ็ หน อ มเขา มาเปน สาระสาํ หรบั เรา การแสดงนน้ั กเ็ พอ่ื แยกขา งนอกใหด เู สยี กอ น แลว ยอ นเขา มาขา งใน เวลานข้ี า ง ในของเราเปนอยางไรบาง? “สวัสดมี ชี ัยอยูห รอื เปน ประการใดบา ง?” “เวลานก้ี เิ ลส ประเภทตางๆ ทเ่ี ปน เจา อาํ นาจกดถว งจติ ใจเรามบี า งไหม? โลกแหงขันธ และระหวา ง ขนั ธก บั จิต สวสั ดมี ชี ยั อยหู รอื ? ไมกดถวงใจของผูเปนเจาของขันธหรือ? จงดูใหดีดวยสติ พจิ ารณาดวยปญญาอยางรอบคอบ ขณะใดที่สติปญญา ประลาตไปจากใจ ขณะนัน้ แลเราไดร บั ความทกุ ขความเดอื ดรอน เพราะถูกกดถวงย่ํายี โดยอาการตางๆ ของกเิ ลสทง้ั หลาย ขณะใดมีสติปญญารักษาใจไมเผลอตัว แมสติ ปญ ญาจะยงั ไมเ พยี งพอกบั ความตา นทาน หรอื ปราบปรามสิง่ เหลา นน้ั ใหห มดไป เราก็ ยังพอยับยั้งได ไมท ุกขถงึ ขนาด หรือไมทุกขเสียจนเต็มเปา ยงั พอลดหยอ นผอ นเบากนั บา ง ยิ่งมีสติปญญาพอตัวแลว ไมมีกิเลสตัวใดที่จะมาเปนขาศึกตอใจไดเลย! พอขยบั ตวั ออกมากถ็ กู ปราบเรยี บในขณะนน้ั ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๒
๙๓ นี้แลผูมีธรรมครองใจเปนอยางนี้ ใจเปน อสิ ระเพราะธรรมครองใจ ใจมคี วาม สงบสุขไดเพราะการรักษาใจดวยธรรม ตลอดถึงความหลุดพนจากความกดถวงทั้ง หลายโดยประการทั้งปวง ก็เพราะการปฏิบัติธรรม เพราะรูธรรม เพราะเห็นธรรม ประจักษใจไมสงสัย ลบู ๆ คลาํ ๆ ดังที่เคยเปนมาในขั้นเริ่มแรก ธรรมอยใู นสถานทใ่ี ด ตอ งเยน็ ในสถานทน่ี น้ั ธรรมอยูที่ใจ ใจยอมชุมเย็นผาสุก ทกุ อริ ยิ าบถไมม สี ง่ิ รบกวน เมอ่ื จติ กา วเขา ถงึ ขน้ั ธรรมเปน ใจ ใจเปนธรรม ยง่ิ เยน็ ไม มกี าลสถานทเ่ี ขา มาเกย่ี วขอ งเลย เย็นเต็มที่เต็มฐาน กค็ ือใจเปนธรรม ธรรมเปนใจ นน่ั แล เราคิดดูซิ ธรรมบทใดแงใ ดทท่ี าํ ความกดถว ง ทาํ โลกใหม คี วามทกุ ขค วามเดอื ด รอ น ไมป รากฏแมแ ตน ดิ หน่ึง! การทาํ ใหเ ราและโลกเดอื ดรอ นวนุ วายระสาํ่ ระสายจน แทบไมมีที่ปลงวาง ก็เพราะมันมีแตเรื่องของกิเลสทั้งนั้นเปนเจาการ! ผูปฏิบัติทั้งหลายที่มีสติปญญาประคองตัว กเิ ลสแสดงออกมามากนอ ยยอ ม ทราบทันที และเรม่ิ แกไ ขถอดถอนไมน อนใจ จนไมม ีอะไรแสดงแลว กอ็ ยเู ปน สุข ดงั ปราชญวา “ฆา กเิ ลสไดแ ลว อยเู ปน สขุ ” ถา พลกิ กลบั กว็ า “ฆากิเลสไมไดยอมเปนทุกข ทั้งอยูทั้งไป ทั้งเปนทั้งตาย!” ฉะน้นั พวกเราตอ งสรา งสติปญ ญาใหด ี เพื่อตอสูกิเลสที่มี อยภู ายในตวั จงระวงั อยา ใหม นั กลอ มเสยี หลบั ทง้ั คนื ทง้ั วนั ทง้ั ยนื เดนิ นง่ั นอน ใหม เี วลา ตน่ื บา ง ใหม เี วลาตอ สกู บั เขาบา ง ถา มกี ารตอ สกู นั คาํ วา “แพ ชนะ” ก็จะปรากฏขึ้นมา ไมหมอบราบเสียทีเดียว เพราะไมมีการตอสู มีแตหมอบราบ และเชื่อมันไปหมด กเิ ลส วายังไงเชื่อไปหมด หากมกี ารตอ สบู า ง กม็ แี พม ชี นะสบั ปนกนั ไป ตอ ไปกช็ นะเรอ่ื ยๆ ชนะไปเรื่อยๆ และชนะไปเลย ใจเปนอิสระเต็มภูม!ิ นอ่ี าํ นาจแหง ศาสนธรรมทผ่ี นู าํ มาปฏบิ ตั เิ ปน อยา งน!้ี เปนที่เชื่อใจ เปน ทแ่ี นใ จ ได ไมมีอะไรที่จะแนใจไดยิ่งกวาศาสนธรรม ถาเราปฏิบัตเิ ตม็ กําลงั ความสามารถเราก็ เชื่อใจเราได เมื่อบรรลุถึงขั้น “จติ บรสิ ทุ ธ์ิ” แลว กแ็ นน อนตลอดเวลาไมส งสยั ไมอ ยาก ไมห วิ โหยกับอะไรทั้งนน้ั ไมอ ยากรไู มอ ยากเหน็ ไมอ ยากศกึ ษากบั ใครๆ วานาจะเปน อยา งนน้ั นา จะเปนอยา งนี้ อยากรนู น้ั อยากรนู ้ี เพอ่ื นน้ั เพอ่ื นอ้ี กี ตอ ไป! รทู กุ สง่ิ ทกุ อยา งอยภู ายในใจ เมื่อเต็มภูมิความรูความเห็นแลว กไ็ มอ ยากไมห วิ โหย ไมม อี ะไรรบกวนใจกแ็ สนสบาย ขอใหพากันนําธรรมนี้ไปปฏิบัติรักษาตน อยสู ถาน ที่ใดไปสถานที่ใดจงทราบเสมอวา ความผดิ ถกู ชว่ั ดนี น้ั อยกู บั เรา การละวางในสง่ิ ทค่ี วร ละวาง และการสงเสริมสิ่งที่ควรสงเสริม ก็อยูที่ตัวของเรา ไปไหนใหม วี ดั อยา ให ปราศจากวดั อยา งทา นอาจารยฝ น ทา นเคยวา “วดั ทน่ี น่ั วดั ทน่ี ่ี วดั อยภู ายในใจ” ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๓
๙๔ ทา นพดู ถกู ใหมีวัดอยูภายในจิตใจเสมอ คอื “วตั รปฏบิ ตั ”ิ มีสติ ปญญา ศรทั ธา ความเพียร ใครควรดูเหตุดูผลอยูเสมอ เวลานั่งรถไปก็ภาวนาไปเรื่อยๆ ใครจะ วา บา วา บอกต็ าม ขอ สาํ คญั ผรู บั ผดิ ชอบเรานค้ี อื เราเอง อยา เปน บา ไปกบั เขากแ็ ลว กนั ถาเราไมเปนบาเสียอยางเดียว คนเปนรอยๆ คนจะมาตเิ ตยี นหรอื กลา วตวู า เราเปน บา เปน บอ คนรอยๆ คนนน้ั นะ มนั เปน บา กนั ทง้ั นน้ั แหละ! เราไมเปนบาเสียคนเดียวเราก็ สบาย นแ่ี หละเปน คตหิ รอื อดุ มการณอ นั สาํ คญั ฟงแลวจงพากันนําไปประพฤติปฏิบัติ เวลาถูกใครวาอะไรก็ใหคํานึงถึงพระพุทธเจา อยา ไปโกรธไปเกรย้ี วใหเ ขา ความโกรธให เขาก็คือไฟเผาตัว ความไมพอใจใหเขาก็คือไฟเผาตัวไมใชเผาที่ไหน มนั เผาทน่ี ก่ี อ นมนั ถงึ ไปเผาทอ่ี น่ื ใหร ะมดั ระวังไฟกองนีอ้ ยาใหเกิด! เราจะไป “สคุ โต” นั่งรถนั่งราไปก็สุคโตเรื่อยไป นง่ั ในบา นกส็ คุ โต อยกู ส็ บาย อยทู ไ่ี หนกส็ บาย เวลาตายกเ็ ปน สขุ ไมว นุ หนา วนุ หลงั ดน้ิ พลา นอยรู าวกบั ลงิ ถกู ลกู ศร ซึ่งดูไมไดเลยในวงปฏิบัติ ฉะนนั้ จงระวงั ไวแ ตบดั น้ี ปฏิบัติใหเต็มภูมิแตบัดน!ี้ คําวา “อาชาไนย” หรือ “ราชสหี ” จะเปน ใจของเราผูปฏิบัติเสียเอง! เอาละ การแสดงธรรมก็พอสมควร! <<สารบญั ธรรมชุดเตรียมพรอม ๙๔
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 492
Pages: