สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 91 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ อถ ศัพท์ มีอรรถ ๓ อยา่ ง ปญฺหา คำ�ถาม อนนตฺ ริย ไม่มรี ะหวา่ ง, ตอ่ ไป อธิกาล กำ�หนดกาล ขลุ ศพั ท์ มีอรรถ ๓ อยา่ ง ปฏิเสธ ปฏิเสธ อวธารณ หา้ ม ปสิทธฺ ิ สำ�เรจ็ วต ศัพท์ มีอรรถ ๔ อย่าง เอกสํ อยา่ งเดยี ว เขท ลำ�บาก, เหนด็ เหน่อื ย อนุกมปฺ อนุเคราะห์ สงฺกปฺป คดิ , ด�ำ ริ, รำ�พึง เหตุ เหตุ หิ ศัพท์ มีอรรถ ๒ อยา่ ง อวธารณ หา้ ม, จ�ำ กดั ตุ ศัพท์ มอี รรถ ๓ อยา่ ง วิเสส แตกต่าง, พเิ ศษ เหตุ เหตุ นวิ ตตฺ น หา้ ม หํ ศพั ท์ มอี รรถ ๒ อย่าง วิสาท เหนด็ เหน่ือย สมฺภม ตกใจ อติ ิ ศัพท์ มีอรรถ ๓ อย่าง วากฺยปรสิ มตตฺ ิ มีเทา่ นี้, ด้วยประการฉะน้ี เหต ุ เพราะเหตุน้ัน นิทสฺสน แสดง, ว่า ยถา ศัพท์ มอี รรถ ๔ อย่าง โยคคฺ ตา ความสมควร วจิ ฉฺ า คำ�ซำ�้ ปทตถฺ านติวตฺต กลา่ วเทา่ อรรถของบท นิทสฺสน แสดง
บาลไี วยากรณ์เบ้ืองตน้ 92 [ ๒. นามกัณฑ์ เอวํ ศพั ท์ มอี รรถ ๓ อยา่ ง อปเทส แนะนำ� ปญฺหา ค�ำ ถาม นทิ สฺสน แสดง อโห ศัพท์ มอี รรถ ๓ อยา่ ง ครห ตำ�หนิ, นนิ ทา ปสํสน สรรเสริญ, ชน่ื ชม ปตถฺ น ปรารถนา นาม ศพั ท์ มอี รรถ ๔ อยา่ ง ครห ตำ�หนิ ปสสํ น สรรเสรญิ , ชื่นชม สญญฺ า ช่อื ปญฺหา ถาม สาธุ ศพั ท์ มีอรรถ ๒ อยา่ ง ปสํสน สรรเสรญิ , อนุโมทนา ยาจน ขอ, อ้อนวอน กริ ศัพท์ มอี รรถ ๒ อยา่ ง อนุสสฺ วน ได้ยนิ มา อสฺสทเฺ ธยยฺ ไมเ่ ชอื่ ถือ นนู ศัพท์ มอี รรถ ๓ อยา่ ง อนมุ าน คาดคะเน อนุสสฺ รณ คล้อยตาม ปรวิ ติ กฺก คิด, กงั วล ถิร มั่นคง ธุวํ ศัพท์ มีอรรถ ๒ อย่าง อวธารณ ห้าม, จ�ำ กัด อาว ี กลุม่ ท่ี ๓ นบิ าตอรรถตา่ งๆ อโถ อทฺธา แจง้ อญฺทตถฺ ุ โดยแท้ อวสสฺ ํ อน่งึ อุจจฺ ํ สงู แน่แท,้ แนน่ อน อารา ไกล แน่แท้ สจฉฺ ิ แจ้ง
93 ปนุ อีก กญิ ฺจาปิ แมน้ ้อย, แมก้ จ็ ริง สาม,ํ สยํ เอง อโห โอ, อือ กฺวจิ บา้ ง นจี ํ ต�ำ่ , เตยี้ มจิ ฺฉา ผิด นนู แน่, แน่นอน มธุ า เปลา่ นานา ต่างๆ, นานา มุสา เท็จ ภยิ โฺ ย, ภยิ ฺโยโส โดยยิ่ง, มาก สกึ คราวเดียว สตกฺขตตฺ ุํ ร้อยคร้ัง ปจฺฉา ภายหลัง ปฏฺ€าย จ�ำ เดิม, เร่ิมต้น, ตง้ั แต่ สห, สทฺธึ พร้อม, กบั ปภตู ิ จ�ำ เดิม, เริ่มตน้ , เป็นต้น สณิกํ ค่อยๆ, เบาๆ ปุนปฺปุนํ บอ่ ยๆ, หลายคร้งั ปฏกิ จฺเจว กอ่ นเทียว เสยยฺ ถทิ ํ อะไรบา้ ง วนิ า, รเิ ต เว้น วิสุํ ตา่ งหาก, แผนกหนงึ่ ทฏุ €ฺ ,ุ กุ นา่ เกลียด ปนุ อกี อสี กํ น้อย จิรํ, จริ สสฺ ํ กาลนาน ปถุ ุ มาก, ตา่ งหาก หา หา, โอไมน่ า่ เลย ตณุ ฺหี นงิ่ อลกิ ํ หลอกลวง, เหลาะแหละ อติ ิ เพราะเหตนุ ั้น, ปเคว จะปว่ ยกลา่ วไปไย, ว่า....ดงั น้,ี ชื่อ, กลา่ วให้ป่วยกาล, กอ่ นเทยี ว ด้วยประการฉะนี้ สุวตถฺ ิ สวสั ดี, ความสบาย จบ นามกัณฑท์ ี่ ๒
94 ๓. สมาสกัณฑ์ สมาส = นาม+นาม+วภิ ตั ตนิ าม สมาส คอื วธิ ยี อ่ นามศัพท์ต้งั แต่ ๒ ศัพท์ข้นึ ไป ใหเ้ ข้าเปน็ บทเดียวกนั โดยใชว้ ิธีในสนธแิ ละวธิ ใี นนามมาทำ�การย่อ เมื่อยอ่ ตามวธิ ีถูกต้องดแี ลว้ จะได้ สมาส ๒ อย่าง ลักษณะ ๓ อยา่ ง และช่อื ๖ อยา่ ง ดงั น้ี สมาส ๒ อยา่ ง ๑. ลุตฺตสมาส สมาสท่ลี บวภิ ตั ตขิ องศพั ทห์ น้า เชน่ ก€นิ สฺส ทุสฺสํ ก€นิ ทสุ ฺส.ํ ผ้าเพื่อกฐนิ ชือ่ ว่า กฐินทุสฺส ๒. อลตุ ตฺ สมาส สมาสทไ่ี มล่ บวิภัตติของศพั ทห์ นา้ เช่น ปรสฺส ปทํ ปรสฺสปทํ. บทเพ่ือผ้อู นื่ ชอ่ื ว่า ปรสสฺ ปท ลักษณะของสมาส ๓ อย่าง ๑. ประกอบเข้าเป็นบทเดยี วกัน ๒. มีวภิ ตั ติตวั เดยี วกนั ๓. สวดใหเ้ ป็นบทเดยี วกนั (ไมเ่ ว้นวรรคกลางสมาส) ชื่อของสมาส ๖ สมาส ว่าโดยช่ือมี ๖ คือ อัพยยีภาวะ กัมมธารยะ ทิคุ ตัปปุริสะ พหุพพหี ิ และทวนั ทะ (ย่อจำ�ว่า อพยฺ -กมฺม-ทิค-ุ ตปปฺ ุ พหทุ ฺวนฺทา สมาสกา) ต่อไป จะแสดงวธิ กี ารย่อตามล�ำ ดบั สมาส ๖ ดังนี้
สำ�หรับนักศกึ ษาใหม ่ 95 ๓.๑. อพั ยยภี าวสมาส ๑. อัพยยีภาวสมาส อัพยยีภาวสมาส คือสมาสท่ีมีอุปสัคหรือนิบาตเป็นบทหน้าและเป็น ประธาน บทสำ�เร็จเป็นนป ุงสกลิงคเ์อกพจน์มี ๒ อย่าง คือ ๑. อปุ สัคคปพุ พกะ มีอปุ สัคเป็นบทหน้าและเปน็ ประธาน เช่น นครสฺส สมปี ํ อุปนคร.ํ ทใี่ กลแ้ ห่งเมือง ช่อื ว่า อุปนคร ๒. นิปาตปุพพกะ มีนิบาตเปน็ บทหนา้ และเป็นประธาน เช่น ชีวสสฺ ยตตฺ โก ปรจิ เฺ ฉโท ยาวชีว.ํ ก�ำ หนดเพยี งใดแห่งชีวิต ชอ่ื วา่ ยาวชีว ๒. กัมมธารยสมาส กัมมธารยสมาส คือสมาสที่ย่อสุทธนามกับสุทธนาม สุทธนามกับ คุณนาม หรือคุณนามกับคุณนาม ท่ีมีวิภัตติและวจนะเหมือนกันเข้าด้วยกัน เหมอื นกรรมทรงไว้ซ่งึ กตั ตาและกิรยิ า มี ๙ อย่าง คือ ๑. วเิ สสนปพุ พปทะ มบี ทวเิ สสนะอย่หู น้า เช่น มหนฺโต จ โส ปุรโิ ส จาติ มหาปรุ โิ ส. บุรุษผู้ประเสรฐิ ชื่อวา่ มหาปรุ ิส ๒. วิเสสนุตตรปทะ มีบทวิเสสนะอยู่หลงั เช่น สารปิ ุตฺโต จ โส เถโร จาติ สารปิ ตุ ตฺ ตฺเถโร. พระสารบี ตุ รผู้เถระ ชอื่ ว่า สารปิ ุตตฺ ตเฺ ถร ๓. วิเสสโนภยปทะ มบี ททัง้ ๒ เปน็ วิเสสนะ เชน่ สีตํ จ อุณฺหํ จาติ สีตุณห.ํ เยน็ และร้อน ช่ือวา่ สีตุณฺห
๓. สมาสกัณฑ์ 96 บาลีไวยากรณ์เบอ้ื งตน้ ๔. อปุ มานุตตรปทะ มีบทหลงั เป็นอุปมา เช่น มุนิ จ โส สีโห จาติ มนุ สิ โี ห. พระมนุ ีเพียงดงั สหี ะ ชื่อวา่ มุนสิ หี ๕. สมั ภ าวนาป ุพพปทะ มบี ทหน้าประกอบด้วย อติิ ศัพท์ ในอรรถ ยกขน้ึ แสดง เช่น ธมฺโม อิติ พทุ ฺธิ ธมมฺ พ ุทธฺ ิ. ความรู้วา่ ธรรม ชื่อวา่ ธมมฺ พุทธฺ ิ ๖. อวธารณป ุพพปทะ มบี ทห น้าประกอบดว้ ย เอว ศพั ทเ์ พอ่ื ห ้ามเนอื้ ความอ่นื เชน่ สทธฺ า เอว ธนํ สทธฺ าธน.ํ ศรทั ธาเท่าน้นั เป็นทรัพย์ ชือ่ ว่า สทธฺ าธน ๗. นนิปาตปพุ พปทะ มี น นบิ าตเป็นบทห น้าเพอ่ื ป ฏเิ สธบทหลัง เช่น น มนสฺุโส อมนสุ ฺโส. ไมใ่ ชม่นุษย์ ช่อื ว่า อมนุสฺส ๘. กปุ ุพพปทะ มี กุ นิบาตเปน็ บ ทหนา้ ในอรรถน่ารังเกยี จ เชน่ กุจฉฺ ิโต ปุรโิ ส กาปรุ โิ ส. บุรุษผู้นา่ รังเกยี จ ชอื่ ว่า กาปรุ สิ ๙. ปาทปิ ุพพปท ะ มี ป อปุ สัคเปน็ ตน้ เป็นบ ทห นา้ เช่น ปธานํ วจนํ ปาวจน.ํ ค�ำ ท ี่เป็นป ระธาน ชื่อว่า ปาวจน อโสภณํ กตํ ทกุ ฺกฏ.ํ กรรมทที่ �ำ ไม่ดี ชือ่ ว่า ทุกกฺฏ
สำ�หรับนักศกึ ษาใหม ่ 97 ๓.๑. อพั ยยีภาวสมาส ๓. ทิคสุ มาส ทิคุสมาส คอื กมั มธารยสมาสท่มี สี งั ขยาเปน็ บทหนา้ เหมอื นคำ�วา “วัว ๒ ตวั ” มี ๒ อยา่ ง คอื ๑. สมาหารทิค ุ ทิคุสมาสท ่ียอ่ สังขยาเข้ากับนามศัพทใ์ นลิงคต์ ่างๆ ที่ เป็นพหวุ จนะ ส�ำ เรจ็ เปน็ นปงุ สกลิงคเ์อกวจนะ เช่น ตโย โลกา ติโลกํ. โลกทง้ั ๓ ชื่อวา่ ติโลก ๒. อสมาห ารท คิ ุ ทคิ สุ มาสท ย่ี อ่ สงั ขยาเขา้ กบั นามศพั ท์ ส�ำ เรจ็ เปน็ ลงิ ค์ และวจนะตามบทหลัง เชน่ จตสโฺ ส ทิสา จตุทฺทสิ า. ทศิ ท้งั ๔ ช่ือวา่ จตุททฺ ิสา ๔. ตปั ปรุ สิ สมาส ตปั ปรุ ิสสมาส คอื สมาสทยี่ อ่ นาม ๒ บทท่มีีวิภัตตติา่ งกนั เขา้ เปน็ บทเดียวกัน เหมอื นคำ�ว่า “บรุ ษุ ของเขา” มี ๖ อยา่ ง ตามลำ�ดบั ต้งั แตท่ ตุิยา วิภตั ติถงึ สตั ตมวี ภิ ัตติ ดังนี้ ๑. ทุตยิ าตัปปรุ สิ ะ บทหนา้ ประกอบด้วยทตุ ิยาวภิ ัตติ เช่น สรณํ คโต สรณคโต. ผถู้ งึ (ซง่ึ พระพทุ ธเจา้ วา่ เปน็ ) สรณะ ชอ่ื วา่ สรณคต ๒. ตตยิ าตัปปุริสะ บทหนา้ ประกอบด้วยตติยาวภิ ัตติ เช่น พทุ ฺเธน ภาสโิ ต พุทธฺ ภาสิโต. (พระธรรม) อนั พระพทุ ธเจา้ ทรงภาษติ แลว้ ชอ่ื วา่ พทุ ธฺ ภาสติ ๓. จตตุ ถตี ัปปุริสะ บทหน้าประกอบด้วยจตุตถวี ิภตั ติ
๓. สมาสกัณฑ์ 98 บาลไี วยากรณ์เบ้ืองตน้ เช่น ก€ินสฺส ทสุ สฺ ํ ก€นิ ทุสฺส.ํ ผ้าเพ่อื กฐนิ ช่ือวา่ กฐนิ ทุสฺส ๔. ปัญจมีตปั ปรุ สิ ะ บทหนา้ ประกอบด้วยปญั จมีวิภัตติ เช่น โจรมหฺ า ภยํ โจรภย.ํ ภยั จากโจร ช่ือวา่ โจรภย ๕. ฉัฏฐีตัปปุรสิ ะ บทหนา้ ประกอบด้วยฉฏั ฐีวิภตั ติ เช่น พทุ ธฺ สสฺ สาวโก พุทธฺ สาวโก. สาวกของพระพทุ ธเจ้า ชื่อว่า พุทธฺ สาวก ๖. สัตตมตี ปั ปุริสะ บทหน้าประกอบด้วยสตั ตมวี ิภัตติ เช่น วเน ปุปฺผํ วนปุปผฺ .ํ ดอกไม้ในปา่ ช่อื ว่า วนปปุ ผฺ ๕. พหพุ พีหิสมาส พหุพพีหิสมาส คือสมาสท่ีมีบทอื่นเป็นประธาน เหมือนคำ�ว่า “ผู้มี ข้าวเปลือกมาก” มี ๙ อยา่ ง คอื ๑. ทวฺ ิปทตลุ ยาธกิรณะ บทท งั้ ๒ มีเนื้อความเข้าเปน็ อันเดียวกนั ใน อรรถวิภัตตทิ งั้ ๖ มที ุติยาวภิ ัตติ เปน็ ต้น เชน่ อาคตา สมณา อมิ ํ สฆํ ารามนตฺ ิ อาคตสมโณ. (สฆํ าราโม) สมณะมาสูอ่ ารามนี้ ฉะนน้ั อารามนจ้ี ึงชือ่ วา่ อาคตสมณ ทฏิ ฺ€า ธมมฺ า เยน สมเณน โสยํ ทิฏฺ€ธมโฺ ม. (สมโณ) ธรรมอนั สมณะใดเห็นแลว้ สมณะนน้ั ชื่อวา่ ทิฏ€ฺ ธมมฺ ทินฺโน สุงโฺ ก ยสฺส รญฺโ โสยํ ทนิ นฺสงุ โฺ ก. (ราชา) ภาษอี นั เขาใหแ้ ลว้ แกพ่ ระราชาใด พระราชานน้ั ชอ่ื วา่ ทนิ นฺ สงุ กฺ นคิ ฺคตา ชนา อสมฺ า คาม า โสยํ นคิ ฺคตชโน. (คาโม) คนออกไปแลว้ จากหมบู่ า้ นนั้น หมบู่ ้านน้ันชอ่ื วา่ นิคฺคตชน
ส�ำ หรบั นักศกึ ษาใหม ่ 99 ๔.๑. อปจั จตทั ธิต ขณี า อาสวา ยสสฺ ภิกขฺ ุสฺส โสยํ ขีณาสโว. (ภิกฺข)ุ อาสวะของภกิ ษุใดสิ้นแลว้ ภิกษนุนั้ ช่ือว่า ขณี าสว สมฺปนนฺานิ สสสฺานิ ยสมฺ ึ ชนปเท โสยํ สมปฺ นฺนสสฺโส. ขา้ วกลา้ ในชนบทใดอดุ มสมบรู ณ์ ชนบทนน้ั ชอ่ื วา่ สมปฺ นนฺ สสสฺ ๒. ทฺวปิ ทภนิ นาธกิ รณะ บททั้ง ๒ มีเน้ือความของวิภัตติตา่ งกัน เช่น ฉตตฺ ํ ปาณิมหฺ ิ อสสฺ าติ ฉตตฺ ปาณิ. (ปุรโิ ส) บรุ ุษผมู้ ีรม่ ในมือ ชอื่ ว่า ฉตตฺ ปาณิ ๓. ตปิ ทะ บททั้ง ๓ มีเนื้อความวภิ ตั ตเิ ดยี วกนั เชน่ มตฺตา พหโว มาตงคฺ า อสมฺ ินตฺ ิ มตตฺ พหุมาตงฺค.ํ (วน)ํ ปา่ ท่มี ชี ้างตกมนั มาก ชอื่ ว่า มตตฺ พหุมาตงฺค ๔. นนิปาตปุพพปทะ บทหนา้ เป็น น นิบาตปฏเิ สธ เช่น นตถฺ ิ เอตสฺส สโมติ อสโม. (ภควา) พระพทุ ธเจ้าไม่มีผู้เสมอเหมอื น ช่อื ว่า อสม ๕. สหปพุ พปทะ บทหน้าเปน็ สห นบิ าต เชน่ สห เหตุนา โย วตฺตเตติ สเหตโุ ก. (ธมโฺ ม) ธรรมทเี่ ปน็ ไปพร้อมด้วยเหตุ ช่ือว่า สเหตกุ ๖. อุปมาปพุ พปทะ บทหน้าเปน็ อุปมา เชน่ กาโก วยิ สูโร อยนตฺ ิ กากสโู ร. (ปรุ โิ ส) บุรษุ ผู้กลา้ เหมือนกา ชื่อว่า กากสรู ๗. สงั ขโฺ ยภยปทะ บททง้ั ๒ เปน็ สงั ขยา เช่น ฉ วา ปญจฺ วา วาจา ฉปฺปญฺจวาจา. วาจา ๕-๖ ค�ำ ชอื่ วา่ ฉปฺปญจฺ วาจา ๘. ทสิ ันตราฬตั ถะ ได้เนื้อความระหว่างทิศ หรอื ทศิ เฉยี ง
๔. ตทั ธติ กัณฑ์ 100 บาลไี วยากรณ์เบอ้ื งตน้ เชน่ ปพุ พฺ สฺสา จ ทกฺขิณสสฺ า จ ทิสาย ยทนตฺ ราฬํ สายํ ปพุ ฺพทกฺขณิ า. (วทิ สิ า) ระหวา่ งทศิ ตะวนั ออกกบั ทศิ ใต้ ชื่อวา่ ปพุ พฺ ทกฺขณิ า ๙. พยฺ ติหารลกั ขณะ ไดล้ ักษณะทำ�กริ ยิ าต่อสู้ (ฝ่ายตรงขา้ ม) เช่น เกเสสุ จ เกเสสุ จ คเหตฺวา อิทํ ยุทฺธํ ปวตฺตตีติ เกสาเกส.ิ การดึงที่ผมตอ่ สู้กันไป ช่อื ว่า เกสาเกสิ ๖. ทวนั ทสมาส ทวนั ทสมาส คอื สมาสท่ียอ่ บททีเ่ ปน็ คู่กัน มีวิภตั ตเิ หมอื นกัน ตั้งแต่ ๒ บทขึ้นไป เขา้ เป็นบทเดยี วกัน มี ๒ อยา่ ง คอื ๑. สมาหาระ ย่อนามทมี่ ีลงิ คแ์ ละวจนะตา่ งกนั บ้าง เหมอื นกันบ้าง มี รปู สำ�เร็จเป็นนปุงสกลิงคเ์ อกวจนะ เชน่ ปตฺโต จ จีวรํ จ ปตฺตจีวรํ. บาตรและจีวร ชือ่ ว่า ปตตฺ จีวร สมโถ จ วิปสสฺ นา จ สมถวิปสฺสน.ํ สมถะและวปิ สั สนา ชือ่ วา่ สมถวปิ สสฺ น ๒. อสมาหาระ ย่อนามท ่ีมีวจนะเหมือนกัน ส�ำ เรจ็ แลว้ มีลงิ ค์ตามบท หลงั และเปน็ พ หุวจนะ เชน่ มาตา จ ปิตา จ มาตาปติ โร. มารดาและบิดา ชื่อวา่ มาตาปิตุ สโุ ร จ อสุโร จ นโร จ อุรโค จ นาโค จ ยกโฺ ข จ สรุ าสรุ นโรรคนาคยกขฺ า. เทวดา อสูร คน งู นาค และยักษ์ ชือ่ ว่า สุราสรุ นโรรคนาคยกฺข จบ สมาสกัณฑท์ ี่ ๓
101 ๔. ตทั ธิตกัณฑ์ ตทั ธิต = นาม+ปัจจยั +วภิ ัตตนิ าม ตัทธติ คือ ปัจจยั ทีเ่ กือ้ กลู แกน่ าม ๓ เพราะประกอบอยูห่ ลงั นาม ๓ อยา่ ง ได้แก่ สมาสนาม ตทั ธติ นาม และกติ นาม (หรือสทุ ธนาม) ตัทธติ ถกู แบ่งออกตามอรรถของปัจจัยแล้วเรียกช่ือ มี ๗ หมวด คือ อปจั จตทั ธติ อเนกตั ถตทั ธติ ภาวตทั ธติ วเิ สสตทั ธติ อสั สตั ถติ ทั ธติ สงั ขยาตทั ธติ และ อพั ยยตัทธติ อปัจจตัทธิต (หรือโคตตตัทธิต) อเนกัตถตัทธิต อัสสัตถิตัทธิต และ สังขยาตทั ธติ ทงั้ ๔ นี้ รวมเข้ากันเรียกว่า “สามญั ญตัทธิต” และมกั ใช้เป็นบ ท วิเสสนะ (หรอื คุณนาม) ๑. อปจั จตทั ธิต อปัจจตทั ธิต คือ ตทั ธติ ทมี่ อี รรถวา่ “เหลา่ กอ ลกู หลาน” ลงปจั จยั ๙ ตัว คอื ณ ณายน ณาน เณยยฺ ณิ ณกิ ณฺย ณว เณร แทนศัพท์เหล่าน้ี แทน อปจจฺ ศพั ท์ เรยี กวา่ “อปัจจตทั ธติ ” ก็ได้ แทน โคตตฺ ศพั ท์ เรียกวา่ “โคตตตัทธิต” กไ็ ด้ แทน ปตุ ฺต ศพั ท์ เรยี กวา่ “ปุตตตัทธิต” กไ็ ด้ เช่น วสฏิ €ฺ สฺส อปจจฺ ํ วาสฏิ ฺโ€. (ณ) เหล่ากอของวสฏิ ฐะ ชอื่ วา่ วาสฏิ €ฺ กจจฺ สฺส อปจฺจํ กจฺจายโน, กจฺจาโน. (ณายน, ณาน) เหลา่ กอของกจั จะ ช่ือวา่ กจจฺ ายน, กจฺจาน
๔. ตัทธติ กณั ฑ์ 102 บาลไี วยากรณเ์ บ้ืองตน้ กตตฺ ิกาย ปตุ ฺโต กตตฺ ิเกยโฺ ย. (เณยยฺ ) ลกู ของนางกตั ตกิ า ชื่อวา่ กตตฺ เิ กยฺย สกฺยปตุ ฺตสสฺ อปจจฺ ํ สกยฺ ปตุ ตฺ .ิ (ณ)ิ ลูกหลานของสักยบุตร ชอ่ื ว่า สกฺยปุตตฺ ิ สกฺยปตุ ฺตสฺส อปจจฺ ํ สกยฺ ปุตติโก. (ณิก) ลูกหลานของศกั ยบตุ ร ชื่อวา่ สกฺยปุตตฺ กิ อทติ ิยา อปจฺจํ อาทิจโฺ จ. (ณยฺ ) ลกู หลานของนางอทิติ ช่ือวา่ อาทจิ จฺ มนโุ น อปจฺจํ มานโว. (ณว) ลูกหลานของนายมนุ ชอื่ วา่ มานว สมณสสฺ อปจฺจํ สามเณโร. (เณร) ลูกหลานของสมณะ ชอื่ ว่า สามเณร ๒. อเนกตั ถตทั ธิต อเนกัตถตัทธติ คือ ตัทธิตทมี่ ีอรรถมาก ลงปัจจยั ๑๔ ตวั คอื ณิก ณ เณยฺย อิม อยิ กยิ ย ณยฺ กณฺ ตา อายติ ตตฺ ล อาลุ มย แทน สสํ ฏฺ€ ศพั ท์ เรยี กวา่ “สงั สฏั ฐตทั ธติ ” แปลวา่ “ผสม เจอื คลกุ ” แทน ตรติ ศัพท์ เรยี กว่า “ตรติตัทธติ ” แปลวา่ “ขา้ ม” แทน จรติ ศัพท์ เรียกวา่ “จรตติ ทั ธติ ” แปลวา่ “เทยี่ วไป” แทน วหติ ศัพท์ เรยี กว่า “วหตติ ัทธิต” แปลวา่ “น�ำ ไป” เป็นต้น เช่น ตเิ ลน สสํ ฏฺ€ํ เตลกิ .ํ (ณิก) ขา้ วผสมงา ช่อื วา่ เตลกิ นาวาย ตรตีติ นาวโิ ก. (ณกิ ) ผู้ขา้ มด้วยเรือ ช่อื ว่า นาวกิ
ส�ำ หรบั นักศกึ ษาใหม ่ 103 ๔.๑. อปัจจตัทธติ ปาเทน จรตตี ิ ปาทิโก. (ณกิ ) ผ้เู ทยี่ วไปดว้ ยเท้า ช่อื ว่า ปาทกิ อํเสน วหตีติ อสํ โิ ก. (ณกิ ) ผู้น�ำ ไปด้วยบา่ ช่อื ว่า อํสกิ กสาเวน รตฺตํ กาสาวํ, กาสาย.ํ (ณ) ผา้ ย้อมด้วยนำ้�ฝาด ช่ือวา่ กาสาว, กาสาย วเน ชาตํ วาเนยยฺ .ํ (เณยยฺ ) ดอกไมเ้ กิดในป่า ชอ่ื ว่า วาเนยยฺ ปจฺฉา ชาโต ปจฉฺ ิโม. (อิม) ผู้เกดิ ภายหลัง ชอ่ื ว่า ปจฺฉิม มนสุ สฺ ชาติยา ชาโต มนสุ ฺสชาติโย. (อยิ ) ผเู้ กดิ ด้วยชาตมิ นษุ ย์ ชอ่ื ว่า มนุสฺสชาติย ชาตยิ า นยิ ตุ โฺ ต ชาติกิโย. (กยิ ) ประกอบดว้ ยชาติ ช่อื ว่า ชาติกยิ สภายํ สาธุ สพฺภ.ํ (ย) ดใี นสภา ชือ่ ว่า สพฺภ สมณานํ หติ า สามญฺา. (ณฺย) เกือ้ กลู สมณะ ชือ่ ว่า สามญฺ ราชปุตตฺ านํ สมโู ห ราชปุตฺตโก. (กณ)ฺ หม่แู ห่งราชบตุ ร ช่อื วา่ ราชปุตตฺ ก คามานํ สมูโห คามตา. (ตา) หมูแ่ ห่งชาวบา้ น ชือ่ ว่า คามตา ธโู ม วยิ ทิสสฺ ตตี ิ ธมู ายติ ตตฺ ํ. (อายิตตตฺ ) ปรากฏเหมือนควันไฟ ช่ือว่า ธมู ายิตตฺต
๔. ตทั ธติ กณั ฑ์ 104 บาลีไวยากรณ์เบอ้ื งตน้ ทฏุ ฺ€ุ €านํ ทฏุ ฺ€ลุ ลฺ .ํ (ล) ฐานะอนั ไม่ดี ช่ือวา่ ทุฏฺ€ุลฺล อภิชฌฺ า อสฺส ปกตีติ อภชิ ฺฌาล.ุ (อาล)ุ ผู้มีอภิชฌาเป็นปกติ ช่อื ว่า อภชิ ฺฌาลุ สุวณเฺ ณน ปกตนฺติ สุวณณฺ มโย. (มย) ทำ�ด้วยทอง ชือ่ ว่า สุวณฺณมย ๓. ภาวตัทธิต ภาวตทั ธิต คอื ตทั ธติ ที่มีอรรถวา่ “มี เป็น” ลงปจั จยั ๗ ตัว คอื ณยฺ ตตฺ ตา ตตฺ น เณยยฺ ณ กณฺ แทน ภาว ศัพท์ เรยี กวา่ “ภาวตัทธติ ” แปล วา่ “ความมี ความเป็น” รปู สำ�เร็จส่วนมากเปน็ นปงุ สกลิงคเ์ อกพจน์ เช่น อโรคสสฺ ภาโว อาโรคยฺ .ํ (ณยฺ ) ความเปน็ ผู้ไม่มโี รค ชอ่ื วา่ อาโรคฺย ปสํ กุ ลู กิ สสฺ ภาโว ปสํ กุ ลู กิ ตตฺ ,ํ ปสํ กุ ลู กิ ตา. (ตต,ฺ ตา) ความเปน็ ผทู้ รงผา้ บงั สกุ ลุ เปน็ วตั ร ชอ่ื วา่ ปสํ กุ ลู กิ ตตฺ , ปสํ กุ ลู กิ ตา ปุถชุ ฺชนสฺส ภาโว ปุถชุ ฺชนตฺตนํ. (ตฺตน) ความเปน็ ปถุ ุชน ช่ือวา่ ปุถชุ ฺชนตฺตน อธิปตสิ ฺส ภาโว อาธิปเตยยฺ .ํ (เณยยฺ ) ความเปน็ ใหญ่ ช่ือว่า อาธปิ เตยฺย วิสมสฺส ภาโว เวสม.ํ (ณ) ความเป็นท่ไี มส่ ม่�ำ เสมอ ชือ่ ว่า เวสม รมณียสฺส ภาโว รามณยี ก.ํ (กณฺ) ความเป็นทนี่ า่ ยนิ ดี ชือ่ ว่า รามณียก
ส�ำ หรบั นกั ศกึ ษาใหม ่ 105 ๔.๑. อปจั จตัทธิต ๔. วิเสสตทั ธิต วิเสสตัทธติ คือ ตทั ธิตทมี่ อี รรถว่า “พิเศษ” ลงปัจจยั ๕ ตวั คือ ตร ตม อสิ ิก อยิ อิฏฺ€ แทน วเิ สส ศัพท์ เรียกว่า “วเิ สสตทั ธิต” แปลว่า “พเิ ศษ, มากกว่า” เช่น สพฺเพ อเิ ม ปาปา, อยมิเมสํ วิเสเสน ปาโปติ ปาปตโร. (ตร) คนเหล่าน้ีทง้ั หมดเป็นคนเลว, บุคคลน้เี ปน็ คนเลวมากกว่าคนเหลา่ นี้ ชอ่ื ว่า ปาปตร ตโตปิ อธโิ ก ปาปตโม, ปาปสิ ิโก, ปาปิโย, ปาปฏิ ฺโ€. (อิสกิ , อิย, อิฏฺ€) คนเลวยง่ิ กวา่ คนนน้ั อกี ชอ่ื วา่ ปาปตม, ปาปสิ กิ , ปาปยิ , ปาปฏิ €ฺ สพฺเพ อิเม วุฑฺฒา, อยมเิ มสํ วเิ สเสน วฑุ โฺ ฒติ เชยโฺ ย, เชฏโฺ €. (อยิ , อฏิ €ฺ ) คนเหล่านท้ี ั้งหมดเป็นผู้เจรญิ , คนนเ้ี ป็นผเู้ จริญพิเศษ กว่าคนเหล่าน้ี ช่อื ว่า เชยยฺ , เชฏฺ€ สพฺเพ อเิ ม ปสตฺถา, อยมเิ มสํ วเิ สเสน ปสตโฺ ถติ เสยโฺ ย, เสฏโฺ €. (อยิ , อฏิ €ฺ ) คนเหลา่ น้ีทั้งหมดเป็นผู้ประเสรฐิ , คนนีเ้ ปน็ ผปู้ ระเสริฐพเิ ศษ กว่าคนเหล่าน้ี ช่อื ว่า เสยยฺ , เสฏฺ€ ๕. อสั สัตถิตทั ธติ อัสสตั ถติ ทั ธิต คือ ตทั ธิตที่มีอรรถวา่ “ผ้มู ”ี ลงปจั จัย ๑๒ ตวั คือ วี โส อลิ ว อาล สี อกิ อี ร วนฺตุ มนตฺ ุ ณ แทน อสฺสตฺถิ (อสสฺ +อตฺถิ) ศพั ท์
๕. อาขยาตกณั ฑ์ 106 บาลีไวยากรณเ์ บือ้ งตน้ เรยี กวา “อัสสัตถิตทั ธติ ” แปลว่า “ของเขามอี ย่,ู ผู้ม”ี เชน่ เมธา อสฺส อตถฺ ีติ เมธาว.ี (วี) ผู้มีปัญญา ชอ่ื ว่า เมธาวี สุเมธา อสสฺ อตฺถีติ สเุ มธโส. (โส) ผมู้ ปี ญั ญาดี ช่ือวา่ สเุ มธโส ชฏา อสฺส อตถฺ ีติ ชฏโิ ล. (อิล) ผูม้ ีชฎา (ผูม้ ีตณั หา) ช่ือวา่ ชฎิล เกสา อสฺส อตฺถตี ิ เกสโว. (ว) ผู้มผี มดกดำ� ช่ือวา่ เกสว วาจา อสสฺ อตถฺ ีติ วาจาโล. (อาล) ผูม้ ีวาจาไพเราะ ชอื่ ว่า วาจาล ตโป อสสฺ อตฺถตี ิ ตปสฺส.ี (ส)ี ผมู้ ตี บะ ชอื่ วา่ ตปสฺสี ทณโฺ ฑ อสสฺ อตถฺ ีติ ทณฺฑโิ ก, ทณฺฑี. (อกิ ,อี) ผู้มไี ม้เท้า ช่อื ว่า ทณฺฑกิ , ทณฑฺ ี มธุ อสฺส อตถฺ ีติ มธโุ ร. (ร) ผมู้ คี วามหวาน (ไพเราะ) ชื่อว่า มธรุ คโุ ณ อสสฺ อตฺถตี ิ คุณวา. (วนฺตุ) ผมู้ ีคณุ ชื่อว่า คุณวนฺตุ สติ อสสฺ อตถฺ ีติ สตมิ า. (มนตฺ ุ) ผู้มีสติ ช่ือว่า สติมนฺตุ สทฺธา อสฺส อตถฺ ตี ิ สทโฺ ธ. (ณ) ผมู้ ีศรัทธา ช่ือว่า สทฺธ
ส�ำ หรบั นกั ศกึ ษาใหม ่ 107 ๕.๑. ภูวาทคิ ณะ ๖. สังขยาตทั ธิต สังขยาตัทธิต คือ ตัทธิตทีม่ อี รรถว่า “เต็ม” ลงปัจจัย ๖ ตวั คอื ตยิ ถ ม € อี ก หลังจากปกตสิ งั ขยา แทน ปูรณ ศพั ท์ จงึ เรยี กวา่ “สังข ยาตทั ธติ ” สำ�เร็จเปน็ ปรู ณสงั ขยา แปลว่า “เตม็ , ล�ำ ดับท”่ี และแทน ปริมาณ ศพั ท์ ทีอ่ รรถว่า “เตม็ ” เหมือนปูรณศพั ท์ เปน็ ต้น เช่น ทฺวนิ นฺ ํ ปรู โณ ทตุ ิโย. (ตยิ ) เตม็ ๒ ชื่อวา่ ทตุ ิย (ท่ี ๒) ตณิ ณฺ ํ ปูรโณ ตติโย. (ตยิ ) เตม็ ๓ ชอื่ วา่ ตตยิ (ท่ี ๓) จตุนฺนํ ปรู โณ จตุตฺโถ. (ถ) เตม็ ๔ ช่ือวา่ จตุตฺถ (ท่ี ๔) ปญฺจนนฺ ํ ปูรโณ ปญจฺ โม. (ม) เต็ม ๕ ชือ่ วา่ ปญฺจม (ที่ ๕) ฉนนฺ ํ ปูรโณ ฉฏฺโ€. (โฐ) เต็ม ๖ ชือ่ วา่ ฉฏฺ€ (ท่ี ๖) เอกาทสนฺนํ ปูรณี เอกาทส.ี (อ)ี เตม็ ๑๑ ชอื่ วา่ เอกาทสี (ที่ ๑๑) เทฺว ปรมิ าณานิ เอตสสฺ าติ ทวฺ โิ ก. (ก) หมวดมีปริมาณ ๒ ช่ือว่า ทฺวิก (หมวด ๒) ๗. อพั ยยตทั ธติ อพั ยยตัทธติ คือ ตัทธิตท่เี ปน็ อพั ยยศัพท์ มรี ปู คงที่ ลงปจั จยั ๕ ตัว คอื กฺขตฺตํุ ธา โส ถา ถํ หลงั จากนามและสัพพนาม แทน วาร ศพั ท์ แปลว่า “ครง้ั คราว วาระ”
๔ . ตทั ธติ กณั ฑ์ 108 บาลีไวยากรณเ์ บือ้ งตน้ แทน วภิ าค ศพั ท์ แปลวา่ “แบ่ง แจก จ�ำ แนก” แทน ปการ ศัพท์ แปลวา่ “ประการ” เปน็ ตน้ เช่น เอกสฺมึ วาเร ภญุ ชฺ ตีติ เอกกฺขตฺตํุ. (กฺขตฺตํ)ุ กินคร้งั เดียว ชื่อว่า เอกกขฺ ตตฺ ํุ ทวฺ หี ิ วิภาเคหิ ทวฺ ธิ า. (ธา) โดยแบ่ง ๒ ส่วน ชอ่ื วา่ ทฺวิธา อปุ าเยน วภิ าเคน อุปายโส. (โส) โดยจำ�แนกดว้ ยอบุ าย ชอ่ื วา่ อุปายโส โส ปกาโร ตถา. (ถา) ประการนัน้ ชื่อว่า ตถา โก ปกาโร กถํ. (ถ)ํ ประการไร ชื่อวา่ กถํ จบ ตทั ธิตกัณฑท์ ่ี ๔
109 ๕. อาขฺยาตกัณฑ์ อาขยาต = ธาตุ+ปจั จัย+วิภตั ตอิ าขยาต อาขยาต คือ กิรยิ าศัพท์ท่ีแสดงกริ ิยาท่าทาง ยนื เดนิ น่ัง นอน ดมื่ กนิ ทำ� พูด คดิ เปน็ ตน้ มกั เรยี กวา่ กริ ิยาอาขยาต กิริยาอาขยาต มสี ว่ นประกอบ ๓ อยา่ ง คอื ธาตุ ปจั จัย และ วิภัตติ ธาตุ ๘ หมวด ธาตุ คอื ค�ำ ทีท่ รงไวซ้ ึง่ อรรถกิริยา มีอรรถเป็นกริ ยิ า เป็นรากของศัพท์ อาขยาตและกิต ธาตทุ มี่ ีอรรถเป็นกริ ิยาอาการทางกายและวาจา ให้แปลอรรถวา่ “การ” เช่น “สิ สเย ในการนอน, วจ วิยตฺติยํ วาจายํ ในการกลา่ ว” เปน็ ต้น ธาตุท่ีมีอรรถเปน็ ภาวะหรือสภาวธรรม ใหแ้ ปลอรรถวา่ “ความ” เชน่ “ภู สตฺตายํ ในความมี ความเป็น, จนิ ฺต จินฺตายํ ในความคดิ ” เปน็ ตน้ ในไวยากรณ์ ทา่ นลงวิกรณปจั จัย ๑๓ ตัว แบ่งธาตุเป็น ๘ คณะ ดังน้ี ๑. ภูวาทิคณะ ภู ธาตเุ ป็นตน้ ลง อ วิกรณปจั จัย ธาตุ อรรถ แปลอรรถของธาตุ อาขยาต แปลไทย ภู สตตฺ ายํ ในความมี ความเป็น ภวติ ย่อมมี ย่อมเป็น หู สตฺตายํ ในความมี ความเป็น โหติ ย่อมมี ย่อมเป็น สิ สเย ในการนอน เสติ สยติ ย่อมนอน
๕. อาขยาตกัณฑ์ 110 บาลีไวยากรณเ์ บ้ืองตน้ มร มรเณ ในความตาย มรติ ยอ่ มตาย ปจติ ย่อมหุง ย่อมตม้ ปจ ปาเก ในการหุง ต้ม แกง ลภติ ย่อมได้ คจฉฺ ติ ย่อมไป, ยอ่ มถึง ลภ ลาเภ ในการได้ วจติ ย่อมกล่าว วสติ ยอ่ มอยู่ คมุ คตมิ ฺหิ ในการไป วจ วยิ ตตฺ ยิ ํ วาจายํ ในการพูดชดั เจน วส นิวาเส ในการอยู่ ๒. รธุ าทิคณะ รธุ ธาตเุ ปน็ ต้น ลงนคิ หิตอาคมหลังสระตวั แรก และลง อ วิกรณปัจจัย ธาตุ อรรถ แปลอรรถของธาตุ อาขยาต แปลไทย รธุ อาวรเณ ในการปดิ กน้ั รนุ ฺธติ รุนเฺ ธติ ยอ่ มปิด-กน้ั มจุ โมจเน ในการปล่อย มุญฺจติ ย่อมปล่อย ภุช พยฺ วหรเณ ในการกนิ ภญุ ฺชติ ยอ่ มกิน-บริโภค ภทิ ิ วทิ ารเณ ในการผ่า ทำ�ลาย ภินฺทติ ย่อมผา่ -ทำ�ลาย ฉิทิ ทฺวิธากรเณ ในการตัด ฉินฺทติ ย่อมตดั ยุช โยเค ในการประกอบ ยญุ ฺชติ ย่อมประกอบ ๓. ทวิ าทคิ ณะ ทิวุ ธาตุเป็นต้น ลง ย วกิ รณปจั จัย ธาตุ อรรถ แปลอรรถของธาตุ อาขยาต แปลไทย ทิวุ กฬี ายํ ในการเล่น ทิพพฺ ติ ยอ่ มเลน่ ปท คติมหฺ ิ ในการไป อุปปชชฺ ติ ยอ่ มเขา้ ไป
ส�ำ หรับนกั ศึกษาใหม ่ 111 ๕.๑. ภวู าทิคณะ พุธ อวคมเน ในการตรสั รู้ พชุ ฌฺ ติ ยอ่ มตรัสรู้ กธุ โกเป ในความโกรธ กุชฌฺ ติ ยอ่ มโกรธ มน าเณ ในความรู้ มญฺ ติ ย่อมรู้ สมุ อุปสเม ในความสงบ สมฺมติ ยอ่ มสงบ ชน ชนเน ในการเกดิ ชายติ ยอ่ มเกดิ ๔. สวฺ าทคิ ณะ สุ ธาตุเปน็ ตน้ ลง ณุ ณา อณุ า วิกรณปัจจัย ธาตุ อรรถ แปลอรรถของธาตุ อาขยาต แปลไทย สุ สวเน ในการฟงั สุโณติ สณุ าติ ยอ่ มฟัง หิ คติมฺหิ ในการไป ปหณิ าติ ยอ่ มสง่ ไป อป ปาปณุ เน ในการถงึ บรรลุ ปาปุณาติ ย่อมถงึ บรรลุ สก สตฺติมฺหิ ในความสามารถ สกกฺ ุณาติ ยอ่ มอาจ สามารถ ๕. กยิ าทิคณะ กี ธาตุเปน็ ต้น ลง นา วิกรณปจั จัย ธาตุ อรรถ แปลอรรถของธาตุ อาขยาต แปลไทย กี ทพพฺ วินิมเย ในการซ้อื -ขาย กิณาติ ย่อมซอื้ ชิ ชเย ในการชนะ ชินาติ ยอ่ มชนะ จิ จเย ในการสะสม จินาติ ย่อมสะสม า อวโพธเน ในความรู้ ชานาติ ยอ่ มรู้ ลู เฉทเน ในการตดั ลุนาติ ย่อมตดั
๕. อาขยาตกัณฑ์ 112 บาลไี วยากรณเ์ บื้องต้น ๖. คหาทคิ ณะ คห ธาตเุ ป็นต้น ลง ปปฺ ณฺหา วิกรณปจั จัย ธาตุ อรรถ แปลอรรถของธาตุ อาขยาต แปลไทย คห อุปาทาเน ในการถือเอา เฆปปฺ ติ คณฺหาติ ย่อมถอื เอา ๗. ตนาทิคณะ ตนุ ธาตุเปน็ ตน้ ลง โอ ยริ วกิ รณปัจจัย ธาตุ อรรถ แปลอรรถของธาตุ อาขยาต แปลไทย ตนุ วติ ฺถาเร ในความแผไ่ ป ตโนติ ยอ่ มแผ่ไป กร กรเณ ในการกระทำ� กโรติ กยิรติ ย่อมกระทำ� สก สตตฺ ิมหฺ ิ ในความสามารถ สกฺโกติ ย่อมสามารถ อป ปาปณุ เน ในการถงึ บรรลุ ปปโฺ ปติ ย่อมถึง บรรลุ ๘. จุราทิคณะ จรุ ธาตเุ ป็นต้น ลง เณ ณย วกิ รณปจั จัย ธาตุ อรรถ แปลอรรถของธาตุ อาขยาต แปลไทย จรุ เถยฺเย ในการลกั ขโมย โจเรติ โจรยติ ย่อมลกั ขโมย มนตฺ คุตตฺ ภาสเน ในการปรกึ ษา มนเฺ ตติ มนฺตยติ ย่อมปรกึ ษา ปาล รกขฺ เน ในการดูแล รกั ษา ปาเลติ ปาลยติ ย่อมดแู ล รักษา ฆฏ ฆฏเน ในการสบื ตอ่ ฆาเฏติ ฆาฏยติ ย่อมสืบตอ่ วิท าเณ ในความรู้ เวเทติ เวทยติ ยอ่ มรู้ คณ สงฺขยฺ าเน ในการนับ คเณติ คณยติ ยอ่ มนับ ตกกฺ จินตฺ ายํ ในความคดิ ตกเฺ กติ ตกกฺ ยติ ย่อมคดิ ตรกึ จินตฺ จินตฺ ายํ ในความคิด จนิ เฺ ตติ จนิ ตฺ ยติ ยอ่ มคิด
ส�ำ หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 113 ๕.๑. ภวู าทคิ ณะ ธาตุ ๒ กลมุ่ ธาตุทง้ั ๘ หมวดนั้น จดั เป็น ๒ กลุ่ม คือ ๑. อกัมม กธาตุ ธาตทุ ่ไี ม่มีกรรม (คอื ไม่มองห าอรรถกรรม แตม่องหา อรรถของวิภตั ติอ่นื ท่ไี มใ่ ช่ทุติยา) เช่น ภิกขฺ ุ สยเน เสต.ิ ภิกษนุ อนบนทน่ี อน โส เคเห วสต.ิ เขาอยู่ในบ้าน ๒. สกมั มกธาตุ ธาตทุ ม่ี กีรรม (คือมองห ากรรมอนั เปน็ อรรถของทตุ ยิ า วิภตั ตเิ ปน็ ตน้ ) แบง่ เปน็ ๒ อย่าง คอื ธาตุทีม่ ี ๑ กรรม และธาตุทมี่ ี ๒ กรรม เชน่ ปุริโส กมมฺ ํ กโรติ. บุรุษก�ำ ลังท�ำ ซง่ึ งาน โส คาโว คามํ เนต.ิ เขานำ�ววั ทัง้ หลายไปสู่บ้าน เพม่ิ กรรมให้ธาตุ เม่ือลงอปุ สัคหน้าธาตุ จะท�ำ ใหธ้ าตุทไี่ มม่ กี รรม กลายเป็นธาตมุ กี รรม เม่ือลงการิตปจั จัยในอรรถเหตุ ๔ ตวั คอื เณ ณย ณาเป ณาปย ข้างหลังธาตุ จะเปน็ การเพิ่มการติ กรรมใหแ้ ก่ธาตุ ซง่ึ จะได้ผลดังนี้ ทำ�ใหธ้ าตทุ ไ่ี มม่ กี รรม กลายเป็นธาตุมี ๑ กรรม ทำ�ให้ธาตมุ ี ๑ กรรม กลายเปน็ ธาตุมี ๒ กรรม ทำ�ให้ธาตุมี ๒ กรรม กลายเป็นธาตุมี ๓ กรรม ปจั จัยในอาขยาต ปัจจัย คือ ศัพท์สำ�หรับประกอบหลังธาตุ เพื่อกำ�หนดวาจก มี ๕ หมวด คอื ๑. หมวดกัตตุวาจก ไดแ้ ก่ วกิ รณปจั จัยประจ�ำ หมวดธาตุ ๑๓ ตัว คอื อ, -ํ อ (เอ), ย, ณุ ณา อณุ า, นา, ปฺป ณฺหา, โอ ยริ , เณ ณย
๕. อาขยาตกัณฑ์ 114 บาลไี วยากรณเ์ บ้อื งตน้ ๒. หมวดกมั มวาจก ไดแ้ ก่ ย ปจั จยั หรือ ย ปจั จัยทม่ี ี อิ อี อาคม ข้างหนา้ (รวมกันเปน็ อยิ , อยี ) ๓. หมวดเหตุกตั ตวุ าจก ได้แก่ การิตปจั จัย ๔ ตวั คอื เณ ณย ณาเป ณาปย ๔. หมวดเหตกุ ัมมวาจก ไดแ้ ก่ การติ ปัจจยั ๔ ตัว คือ เณ ณย ณาเป ณาปย และ ย ปัจจยั ที่มี อิ อี อาคมข้างหน้า (รวมกันเป็น ณยี , ณยยี , ณาปีย, ณาปยยี ) ๕. หมวดภาววาจก ได้แก่ ย ปัจจยั และวิภตั ตฝิ า่ ยอัตตโนบท ปฐม บุรุษ เอกวจนะ ท้ัง ๘ หมวด (รวมกนั เป็น ยเต ยตํ เยถ ยตฺถ ยิตฺถ ยา ยสิ ฺสเต ยสิ ฺสถ) รปู ยเต ในวตั ตมานาวภิ ัตติ จะมใี ช้มากกว่า ธาตุปจั จยั ๓ กลมุ่ ธาตุปัจจยั คอื ป ัจจยั พเิ ศษ ๕ ตวั ท่รี วมเขา้ กบั ธาตุและนาม ๑. ปัจจยั ๓ ตัว คอื ข ฉ ส ประกอบหลัง ติช คปุ กติ มาน ธาตุ เป็นอันเดยี วกันกบั ธาตุ และมีการซอ้ นพยัญชนะตน้ ธาตุพร้อมสระ เชน่ ติตกิ ฺขติ ย่อมอดทน ชคิ ุจฺฉต ิ ย่อมตำ�หนิ ตกิ ิจฺฉติ ยอ่ มเยยี วยา วมี ํสต ิ ยอ่ มทดลอง ๒. ปจั จยั ๓ ตวั เดิม คือ ข ฉ ส ประกอบหลัง ภชุ ฆส หร สุ ปา ธาตุเปน็ ตน้ ป็นอนั เดยี วกนั กบั ธาตุ และมกี ารซอ้ นพยัญชนะตน้ ธาตุพรอ้ มสระ ในอรรถ “ปรารถนาเพ่อื ” หรอื “อยาก” เชน่ พภุกขฺ ต ิ ย่อมปรารถนาเพื่อกิน (อยากกิน, หวิ ) ชิฆจฺฉติ ย่อมปรารถนาเพ่อื กิน (อยากดม่ื , กระหาย)
สำ�หรับนักศกึ ษาใหม ่ 115 ๕.๑. ภูวาทคิ ณะ ชคิ ีสต ิ ยอ่ มปรารถนาเพอ่ื นำ�ไป (อยากน�ำ ไป) สสุ สฺ สู ต ิ ยอ่ มปรารถนาเพอ่ื ฟัง (อยากฟงั ) ปิวาสต ิ ยอ่ มปรารถนาเพือ่ ดมื่ (อยากด่ืม) ๓. ปจั จยั ๒ ตวั คอื อาย อิย ประกอบห ลงั นาม เป็นเหมือนธาตุ ใน อรรถป ระพฤติเพียงดัง หรอื เหมือน เช่น จริ ายติ ยอ่ มประพฤตเิ หมอื นช้าอยู่ ปุตฺติยติ ย่อมประพฤตเิ พยี งดงั บุตร วภิ ตั ตอิ าขยาต กาลาทิวเสน เอกตฺตาทวิ เสน จ ธาตวฺ ตถฺ ํ วภิ ชนตฺ ีติ วิภตตฺ โิ ย. วิภัตติ คือ คำ�ศัพท์ที่ประกอบอยู่หลังปกติธาตุต่อจากปัจจัย เพ่ือทำ� หน้าท่ีจ�ำ แนกธาตใุ ห้มีรปู ศัพท์และความหมายต่างกันโดย กาล บท บุรุษ วจนะ มี ๙๖ ตวั แบง่ เป็น ๘ หมวด หมวดละ ๑๒ ตวั ดงั น้ี ตารางวิภัตตอิ าขยาต ๘ หมวด ๙๖ ตัว บท ๒ ปรัสสบท อัตตโนบท บรุ ษุ ๓ ปฐมบุรุษ มัชฌิมบรุ ุษ อุตตมบรุ ษุ ปฐมบรุ ุษ มชั ฌิมบุรุษ อตุ ตมบุรุษ วจนะ ๒ เอก. พหุ. เอก. พหุ. เอก. พหุ. เอก. พหุ. เอก. พหุ. เอก. พหุ. วตตฺ มานา ติ อนฺติ สิ ถ มิ ม เต อนเฺ ต เส วฺเห เอ มเฺ ห ปญจฺ มี ตุ อนตฺ ุ หิ ถ มิ ม ตํ อนตฺ ํ สฺสุ วฺโห เอ อามเส สตตฺ มี เอยยฺ เอยยฺ ุํ เอยยฺ าสิ เอยยฺ าถ เอยยฺ ามิ เอยยฺ าม เอถ เอรํ เอโถ เอยยฺ าวโฺ ห เอยฺยํ เอยยฺ ามเฺ ห ปโรกฺขา อ อุ เอ ตถฺ อํ มฺห ตถฺ เร ตโฺ ถ วโฺ ห อึ มเฺ ห หยี ยฺ ตตฺ นี อา อู โอ ตฺถ อํ มหฺ า ตถฺ ตฺถํุ เส วหฺ ํ อึ มฺหเส อชฺชตนี อี อํุ โอ ตฺถ อึ มหฺ า อา อู เส วฺหํ อํ มฺเห ภวสิ สฺ นตฺ ี สสฺ ติ สสฺ นตฺ ิ สฺสสิ สสฺ ถ สฺสามิ สสฺ าม สฺสเต สสฺ นเฺ ต สสฺ เส สฺสวฺเห สฺสํ สฺสามฺเห กาลาตปิ ตตฺ ิ สสฺ า สสฺ ํสุ สฺเส สสฺ ถ สสฺ ํ สสฺ ามหฺ า สฺสถ สฺสิสุ สสฺ เส สฺสวเฺ ห สฺสึ สสฺ ามหฺ เส
๕. อาขยาตกัณฑ์ 116 บาลีไวยากรณ์เบอ้ื งต้น วภิ ัตติอาขยาตและคำ�แปล ๑. วัตตมานา ติ อนตฺ ิ สิ ถ มิ ม, เต อนฺเต เส วฺเห เอ มฺเห. แปลว่า “อยู่ ย่อม จะ กำ�ลัง” ๒. ปญั จมี ตุ อนตฺ ุ หิ ถ มิ ม, ตํ อนตฺ ํ สสฺ ุ วฺโห เอ อามเส. แปลวา่ “จง ขอจง ช่วย กรุณา โปรด...เถิด, เทอญ” ๓. สัตตมี เอยฺย เอยยฺ ุํ เอยฺยาสิ เอยฺยาถ เอยฺยามิ เอยฺยาม, เอถ เอรํ เอโถ เอยฺยาวฺโห เอยยฺ ํ เอยฺยามฺเห. แปลวา่ “พงึ ควร อาจ สามารถ น่าจะ” ๔. ปโรกขา อ อุ เอ ตถฺ อํ มหฺ , ตถฺ เร ตฺโถ วโฺ ห อึ มเฺ ห แปลวา่ “แล้ว” (อดีต ๓ วันขึน้ ไป) ๕. หยี ยตั ตนี อา อู โอ ตถฺ อํ มหฺ า, ตถฺ ตฺถํุ เส วฺหํ อึ มหฺ เส. แปลวา่ “แลว้ ” “ได.้ ..แลว้ ” (อดตี เมอ่ื วาน) ๖. อัชชตนี อี อุํ โอ ตฺถ อึ มฺหา, อา อู เส วหฺ ํ อํ มฺเห. แปลว่า “แลว้ ” “ได.้ ..แลว้ ” (อดตี วนั นี้) ๗. ภวสิ สนั ตี สฺสติ สสฺ นฺติ สฺสสิ สฺสถ สสฺ ามิ สสฺ าม, สฺสเต สสฺ นฺเต สสฺ เส สสฺ วเฺ ห สฺสํ สฺสามฺเห. แปลวา่ “จัก จะ” (อนาคตไมจ่ ำ�กดั ) ๘. กาลาตปิ ตั ติ สสฺ า สสฺ สํ ุ สฺเส สสฺ ถ สสฺ ํ สฺสามฺหา, สฺสถ สฺสสิ ุ สฺสเส สฺสวเฺ ห สฺสึ สฺสามฺหเส. แปลวา่ “จกั ...แลว้ ” “จกั ได้...แล้ว” (อดีตลว่ งเลยไปเปล่า)
ส�ำ หรับนกั ศึกษาใหม ่ 117 ๕.๑. ภูวาทคิ ณะ จำ�แนกวภิ ตั ติ ๘ หมวด โดยกาล ๓ กาล คือ ช่วงเวลาทีท่ �ำ กิรยิ า มี ๓ กาล คอื ปจั จุบัน อดตี และ อนาคต วิภตั ตทิ ้งั ๘ หมวดนั้น แบง่ ออกเปน็ ๓ กาล ดงั น้ี วัตตมานา ปัญจม ี เปน็ ปจั จุบนั กาล (กำ�ลงั ท�ำ ) สัตตม ี ปโรกขา หียยตั นี เปน็ อดีตกาล (ท�ำ เสรจ็ แลว้ ) อชั ชตนี ภวิสสันตี เปน็ อนาคตกาล (ยังไม่ท�ำ ) กาลาตปิ ตั ติ เป็นอนาคตกาลลว่ งเลยไปกบั อดีต (ไมไ่ ดท้ ำ�) ปจั จบุ ันกาล ๓ ๑. ปจั จบุ ันใกล้จะเป็นอดตี ใช้วัตตมานาวิภตั ติ แปลว่า “ย่อม” (หรือ ไมแ่ ปลวภิ ัตต)ิ เชน่ กโุ ต นุ ตวฺ ํ อาคจฺฉส.ิ ทา่ นมาจากทีไ่ หนหนอ เทวมหานครโต อาคจฉฺ าม.ิ มาจากกรงุ เทพมหานคร ๒. ปจั จบุ นั แท้ ใชว้ ัตตมานาวิภัตติ แปลว่า “อย,ู่ ก�ำ ลัง”, ปญั จมี วภิ ตั ติ แปลว่า “จง ขอจง จงช่วย กรณุ า โปรด...เถดิ ”, และสัตตมีวภิ ตั ติ แปล ว่า “พงึ ควร อาจ สามารถ น่าจะ” เชน่ ภกิ ฺขุ ธมมฺ ํ เทเสติ. ภกิ ษุแสดงอยซู่ งึ่ ธรรม, ภิกษกุ �ำ ลังแสดงธรรม
๕. อาขยาตกณั ฑ์ 118 บาลีไวยากรณ์เบื้องตน้ ตฺวํ ปุญฺ ํ กโรหิ. ทา่ นจงทำ�ซงึ่ บญุ , เชิญทา่ นท�ำ บญุ อหํ สมาธึ ภาเวยฺยาม.ิ เราสามารถเจริญสมาธ,ิ เราควรเจริญสมาธิ ๓. ปัจจบุ ันใกลอ้ นาคต ใชว้ ตั ตมานาวิภัตติ แปลว่า “จะ” เชน่ กหุ ึ คจฉฺ ส.ิ จะไปท่ไี หน อุตตฺ รนครํ คจฉฺ ามิ. จะไปอดุ รธานี อดตี กาล ๓ ๑. อดตี ท่ีลว่ งต้ังแต่ ๓ วนั ข้ึนไปโดยไม่มีกำ�หนด ใช้ปโรกขาวภิ ัตติ แปลว่า “แลว้ ” เช่น โส กิร ราชา พภูว. ไดย้ ินวา่ เขาเปน็ พระราชาแล้ว เตนาห ภควา. เพราะเหตุนน้ั พระผมู้ ีพระภาคจงึ ตรสั แลว้ ๒. อดตี ทเ่ี พง่ิ ลว่ งไปเมอื่ วาน ใชห้ ยี ยตั ตนวี ภิ ตั ติ แปลว่า “แล้ว”, ถา้ มี อ อาคมนำ�หน้า นิยมแปลวา่ “ได.้ ..แลว้ ” เช่น โส โอทนํ ปจา. เขาหุงขา้ วแล้ว โส คามํ อคจฉฺ า. เขาไดไ้ ปบ้านแล้ว ๓. อดตี ทเ่ี พิง่ ลว่ งไปในวันนี้ ใชอ้ ัชชตนีวภิ ัตติ แปลวา่ “แลว้ ”, ถ้ามี อ อาคมนำ�หน้า นยิ มแปลว่า “ได้...แล้ว” เช่น มยํ ทานาทนี ิ ปุญฺ านิ กรมิ ฺหา. พวกเราทำ�แลว้ ซึ่งบุญมที านเป็นต้น
ส�ำ หรับนักศกึ ษาใหม ่ 119 ๕.๑. ภูวาทคิ ณะ ภิกขฺ ุ ปณิ ฑฺ าย คามํ ปาวิส.ิ ภกิ ษุไดเ้ ข้าไปแล้วสหู่ ม่บู า้ นเพ่ือบณิ ฑบาต อนาคตกาล ๒ ๑. อนาคตของปัจจุบัน ใชภ้ วสิ สันตวี ภิ ัตติ นยิ มแปลวา่ “จกั , จะ” เช่น มยํ ธมมฺ ํ สุณสิ ฺสาม. พวกเราจักฟงั ธรรม กทา ปญจฺ สลี านิ สมาทยิ ิสสฺ ถ. เมื่อไรพวกท่านจกั สมาทานศีล ๕ ๒. อนาคตของอดีต คือในอดีตไมไ่ ด้ทำ�เหตไุ ว้ ในอนาคตจงึ ไมส่ ามารถ มีได้ ใช้กาลาติปตั ติภัตติ นยิ มแปลว่า “จกั ...แล้ว”, ถ้ามี อ อาคมนำ�หนา้ แปล ว่า “จกั ได.้ ..แล้ว” เช่น โส เจ ป€มวเย ปพฺพชชฺ ํ อลภสิ สฺ า, อรหา ภวิสสฺ า. หากวา่ เขาจักไดบ้ วชในปฐมวยั แลว้ ไซร,้ จักเปน็ พระอรหนั ต์แลว้ ตารางแสดง วิภตั ติ กาล บท บรุ ุษ วจนะ โยคะ วตั ตมานา เป็นปจั จบุ ัน แปลว่า อยู่ ยอ่ ม จะ กำ�ลงั ฝา่ ย ปรัสสบท อัตตโนบท วจนะ เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ปฐมบุรุษ : นาม โส - ติ เต - อนตฺ ิ โส - เต เต - อนเฺ ต มชั ฌมิ บรุ ษุ : ตมุ หฺ ตฺวํ - สิ ตุมฺเห - ถ ตฺวํ - เส ตุมฺเห - วเฺ ห อตุ ตมบุรุษ : อมหฺ อหํ - มิ มยํ - ม อหํ - เอ มยํ - มเฺ ห
๕. อาขยาตกัณฑ์ 120 บาลีไวยากรณ์เบื้องตน้ ปรัสสบทนยิ มเปน็ กตั ตรุ ปู อตั ตโนบทนยิ มเป็นกมั มรปู กิริยาทเ่ี ปน็ ปฐมบุรษุ ใช้ สุทธนาม ปฐมาวภิ ัตติ เปน็ ประธาน กิริยาทีเ่ ป็นมัชฌมิ บรุ ุษ ใช้ ตุมหฺ ศพั ท์ ปฐมาวภิ ตั ติ เป็นประธาน กิริยาทีเ่ ป็นอุตตมบุรษุ ใช้ อมหฺ ศพั ท์ ปฐมาวภิ ตั ติ ศพั ทเ์ ปน็ ประธาน วภิ ตั ติ ๗ หมวดที่เหลือ นักศึกษาสามารถจำ�แนกไดด้ ว้ ยวิธีเดยี วกนั น้ี สัททปทมาลา วัตตมานาวภิ ัตติ ภธู าตุ กัตตวุ าจก (ยอ่ มมี ย่อมเปน็ ) ฝา่ ย ปรสั สบท อัตตโนบท วจนะ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐมบรุ ษุ : นาม ภวติ ภวนฺติ ภวเต ภวนฺเต มชั ฌิมบุรษุ : ตุมฺห ภวสิ ภวถ ภวเส ภววฺเห อตุ ตมบรุ ุษ : อมฺห ภวามิ ภวาม ภเว ภวามเฺ ห ภธู าตุ เหตกุ ัตตุวาจก (ยอ่ มใหม้ ี ใหเ้ ปน็ เจริญ) ฝ่าย ปรสั สบท อตั ตโนบท วจนะ เอก. พหุ. เอก. พห.ุ ปฐมบุรษุ : นาม ภาเวติ ภาเวนตฺ ิ ภาวยติ ภาวยนตฺ ิ มชั ฌิมบรุ ษุ : ตุมหฺ ภาเวสิ ภาเวถ ภาวยสิ ภาวยถ อุตตมบุรุษ : อมหฺ ภาเวมิ ภาเวม ภาวยามิ ภาวยาม
ส�ำ หรับนักศึกษาใหม ่ 121 ๕.๑. ภวู าทคิ ณะ อนุปุพพะ ภูธาตุ กมั มวาจก (เสวย) ฝา่ ย ปรัสสบท อตั ตโนบท วจนะ เอก. พหุ. เอก. พห.ุ ปฐมบรุ ุษ : นาม อนุภูยติ อนภุ ูยนตฺ ิ อนุภูยเต อนุภูยนฺเต มัชฌมิ บรุ ุษ : ตุมหฺ อนุภูยสิ อนภุ ูยถ อนภุ ูยเส อนุภยู วฺเห อุตตมบรุ ุษ : อมหฺ อนุภยู ามิ อนุภูยาม อนภุ ูเย อนุภูยามเฺ ห ภูธาตุ เหตกุ ัมมวาจก (ให้มี ใหเ้ ปน็ ใหเ้ จริญ) ฝา่ ย ปรัสสบท อตั ตโนบท วจนะ เอก. พหุ. เอก. พห.ุ ปฐมบรุ ษุ : นาม ภาวียติ ภาวยี นฺติ ภาวียเต ภาวยี นเฺ ต มชั ฌมิ บุรุษ : ตุมฺห ภาวียสิ ภาวยี ถ ภาวียเส ภาวียวเฺ ห อุตตมบรุ ษุ : อมหฺ ภาวยี ามิ ภาวียาม ภาวเี ย ภาวียามเฺ ห ตวั อยา่ งประโยควาจก ๕ ๑. โส ปณฺฑิโต ภวต,ิ เต ปณฺฑิตา ภวนฺติ. ๒. ตฺวํ ปณฺฑิโต ภวสิ, ตมุ ฺเห ปณฺฑติ า ภวถ. ๓. อหํ ปณฺฑิโต ภวามิ, มยํ ปณฺฑิตา ภวาม. ๔. โส สมาธึ ภาเวติ, เต สมาธึ ภาเวนตฺ ิ. ๕. ตฺวํ สทธฺ ํ ภาเวสิ, ตมุ ฺเห ปญฺํ ภาเวถ. ๖. อหํ กุสลํ ภาเวม,ิ มยํ เมตตฺ ํ ภาเวม. ๗. เตน เวทนา อนุภยู ต,ิ เตน เวทนาโย อนุภยู นฺติ. ๘. ตยา ทุกขฺ ํ อนภุ ยู ต,ิ ตุมเฺ หหิ โสมนสฺสา อนภุ ยู นฺติ. ๙. มยา สขุ ํ อนุภูยต,ิ อมเฺ หหิ โทมนสฺสเวทนาโย อนภุ ยู นฺติ. ๑๐. ปุคคฺ เลน สมาธิ ภาวียต,ิ ปคุ คฺ เลน สมาธโย ภาวยี นตฺ ิ
๕. อาขยาตกณั ฑ์ 122 บาลีไวยากรณเ์ บ้อื งตน้ ๑๑. ตยา สมาธิ ภาวยี ติ, ตุมฺเหหิ สมาธโย ภาวียนตฺ ิ ๑๒. มยา สมาธิ ภาวยี ติ, อมฺเหหิ สมาธโย ภาวยี นฺติ. ปัญจมวี ิภัตติ ปจธาตุ กตั ตวุ าจก (จงหุง จงต้ม) ฝา่ ย ปรสั สบท อตั ตโนบท วจนะ เอก. พห.ุ เอก. พหุ. ปฐมบุรษุ : นาม ปจตุ ปจนตฺ ุ ปจตํ ปจนฺตํ มชั ฌมิ บรุ ุษ : ตมุ ฺห ปจ ปจาหิ ปจถ ปจสสฺ ุ ปจวฺโห อุตตมบรุ ุษ : อมฺห ปจามิ ปจาม ปเจ ปจามเส ปจธาตุ เหตกุ ตั ตุวาจก (จงให้หุง จงใหต้ ม้ ) ฝ่าย ปรสั สบท อัตตโนบท วจนะ เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ปฐมบุรษุ : นาม ปาเจตุ ปาเจนตฺ ุ ปาจยตํ ปาจยนตฺ ํ มชั ฌมิ บรุ ษุ : ตุมหฺ ปาเจหิ ปาเจถ ปาจยสสฺ ุ ปาจยวโฺ ห อุตตมบุรษุ : อมฺห ปาเจมิ ปาเจม ปาจเย ปาจยามเส ปจธาตุ กมั มวาจก (จงหงุ จงตม้ ) ฝา่ ย ปรัสสบท อัตตโนบท วจนะ เอก. พหุ. เอก. พหุ. ปฐมบุรษุ : นาม ปจฺจตุ ปจจฺ นฺตุ ปจียตํ ปจยี นตฺ ํ มัชฌมิ บรุ ษุ : ตมุ ฺห ปจจฺ ปจจฺ าหิ ปจฺจถ ปจยี สสฺ ปจยี วโฺ ห อุตตมบรุ ษุ : อมฺห ปจฺจามิ ปจฺจาม ปจีเย ปจียามเส
ส�ำ หรับนักศกึ ษาใหม ่ 123 ๕.๑. ภวู าทคิ ณะ ปจธาตุ เหตุกมั มวาจก (จงให้หุง จงใหต้ ม้ ) ฝา่ ย ปรสั สบท อัตตโนบท วจนะ เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ปฐมบุรษุ : นาม ปาจยี ตุ ปาจียนตฺ ุ ปาจียตํ ปาจยี นตฺ ํ มัชฌมิ บรุ ษุ : ตมุ ฺห ปาจียาหิ ปาจยี ถ ปาจยี สสฺ ุ ปาจียวฺโห อตุ ตมบุรษุ : อมฺห ปาจยี ามิ ปาจียาม ปาจเี ย ปาจียามเส ประโยคทดลองแปล ๑. สโู ท โอทนํ ปจตุ, ปจตํ. ปาจกา โอทนํ ปจนตฺ ุ, ปจนตฺ .ํ ๒. ตฺวํ โอทนํ ปจ, ปจาห,ิ ปจสสฺ ุ. ตมุ เฺ ห โอทนํ ปจถ, ปจวฺโห. ๓. อหํ โอทนํ ปจามิ, ปเจ. มยํ โอทนํ ปจาม, ปจามเส. ๔. อิมสมฺ ึ ทเิ น เช ตฺวํ มทุ กุ ํ โอทนํ ปจ. ๕. ตฺวํ เสฺว เตสํ ภตฺตํ ปจาหิ. ๖. สาธุ ภนเฺ ต อธวิ าเสถ, ยาคุํ เต ปาจาเปม.ิ ๗. มยํ โอทนญฺจ พฺยญฺชนญฺจ สปู ญจฺ เอกโตว ปาจาปยาม. ๘. ทายกา อารามิกภกิ ขฺ ุสฺส อาคนตฺ ุกภกิ ฺขสุ สฺ จ ภิกฺขํ ปาจยนฺต.ุ ๙. สเู ทน โอทโน ปจยี ตุ, ยาคุ สทู ิกาย ปจจฺ ตํ. ๑๐. สามเิ กน สทู ํ ปหโู ต โอทโน ปาจาปียต.ุ ๑๑. น ปจามิ น ปาเจม ิ น ฉนิ ทฺ ามิ น เฉทเย ตํ มํ อกิญจฺ นํ ญตฺวา สพฺพปาเปหิ อารตํ (ขุ. ชา. ๒๗/๒๘๕/๓๒๔)
๕. อาขยาตกัณฑ์ 124 บาลีไวยากรณ์เบอ้ื งตน้ สัตตมีวภิ ัตติ คมุธาตุ กัตตวุ าจก (พึงไป ควรไป) ฝ่าย ปรสั สบท วจนะ เอก. พห.ุ ปฐมบุรษุ : นาม คจฺเฉ คจฺเฉยยฺ คจฉฺ ุํ คจฺเฉยยฺ ุํ มชั ฌิมบุรษุ : ตุมฺห คจฺเฉ คจฺเฉยยฺ าสิ คจเฺ ฉยฺยาถ อุตตมบรุ ษุ : อมฺห คจฺเฉ คจฺเฉยฺยามิ คจเฺ ฉยยฺ าม ฝ่าย อตั ตโนบท วจนะ เอก. พหุ. ปฐมบรุ ษุ : นาม คจฺเฉถ คจเฺ ฉรํ มชั ฌิมบุรุษ : ตุมหฺ คจเฺ ฉโถ คจเฺ ฉยฺยาวฺโห อตุ ตมบรุ ุษ : อมฺห คจเฺ ฉ คจฺเฉยยฺ ํ คจเฺ ฉยยฺ ามฺเห คมุธาตุ เหตกุ ัตตวุ าจก (พงึ ใหไ้ ป ควรให้ไป) ฝ่าย ปรสั สบท วจนะ เอก. พห.ุ ปฐมบุรษุ : นาม คจฉฺ าเปยยฺ คจฉฺ าเปยยฺ ุํ มชั ฌิมบุรุษ : ตมุ ฺห คจฺฉาเปยฺยาสิ คจฺฉาเปยยฺ าถ อุตตมบุรษุ : อมหฺ คจฉฺ าเปยยฺ ามิ คจฺฉาเปยฺยาม
ส�ำ หรับนกั ศึกษาใหม ่ 125 ๕.๑. ภูวาทิคณะ คมธุ าตุ กมั มวาจก (พงึ ไป ควรไป) ฝา่ ย อตั ตโนบท วจนะ เอก. พห.ุ ปฐมบรุ ุษ : นาม คจฺฉีเยถ คจฺฉีเยรํ มัชฌิมบรุ ุษ : ตุมหฺ คจฺฉเี ยโถ คจฉฺ เี ยยยฺ าวฺโห อุตตมบุรุษ : อมฺห คจฉฺ เี ยยฺยํ คจฉฺ เี ยยยฺ ามฺเห คมุธาตุ เหตุกมั มวาจก (พึงให้ไป ควรให้ไป) ฝา่ ย อาเทศอัตตโนบท เป็นปรสั สบท วจนะ เอก. พหุ. ปฐมบุรษุ : นาม คจฉฺ าปีเยยยฺ คจฉฺ าปีเยยยฺ ุํ มัชฌมิ บรุ ุษ : ตมุ หฺ คจฉฺ าปีเยยฺยาสิ คจฉฺ าปเี ยยยฺ าถ อุตตมบุรษุ : อมฺห คจฺฉาปเี ยยฺยามิ คจฉฺ าปีเยยฺยาม ประโยคทดลองแปล ๑. โส คามํ คจเฺ ฉยยฺ , เต คามํ คจฺเฉยยฺ ํ.ุ ๒. ตวฺ ํ อตตฺ โน คามํ คจฺเฉยยฺ าสิ, ตมุ ฺเห อตฺตโน คามํ คจฺเฉยฺยาถ. ๓. อหํ อรญฺํ วา นทึ วา คจเฺ ฉยยฺ าม,ิ มยํ อรญฺํ วา นทึ วา คจเฺ ฉยฺยาม. ๔. น หิ เอเตหิ ยาเนหิ คจเฺ ฉยยฺ อคตํ ทิสํ ยถาตฺตนา สุทนเฺ ตน ทนฺโต ทนเฺ ตน คจฉฺ ติ. (ข.ุ ธ. ๒๕/๓๒๓/๗๒)
๕. อาขยาตกณั ฑ์ 126 บาลไี วยากรณ์เบ้อื งตน้ ปโรกขาวิภัตติ พฺรธู าตุ กตั ตุวาจก (กล่าวแล้ว, พูดแลว้ ) ฝ่าย ปรัสสบท วจนะ เอก. พหุ. ปฐมบุรุษ : นาม อาห อาหุ อาหสํ ุ มัชฌิมบุรุษ : ตมุ หฺ อาเห อาหติ ถฺ อตุ ตมบรุ ุษ : อมหฺ อาหํ อาหิมหฺ ปโรกขาวภิ ตั ติ มใี ช้นอ้ ย จงึ แสดงไวเ้ ท่านี้ ประโยคทดลองแปล ๑. เย ธมฺมา เหตปุ ฺปภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต อาห เตสญฺจ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณ. (ขุ.อป. ๓๒/๒๘๖) ๒. มาตาเปตฺติภรํ ชนฺตํุ กุเล เชฏฺ€าปจายนิ ํ. สณฺหํ สขิลสมภฺ าสํ เปสเุ ณยฺยปปฺ หายนิ ํ. มจเฺ ฉรวินเย ยุตฺตํ สจจฺ ํ โกธาภิภํุ นร.ํ ตํ เว เทวา ตาวตึสา อาหุ สปฺปุริโส อิติ. (ส.ํ ส. ๑๕/๒๕๗) หิยยตั ตนวี ิภตั ติ วจธาตุ กตั ตุวาจก (กล่าวแล้ว, พดู แล้ว) ฝ่าย ปรสั สบท วจนะ เอก. พห.ุ ปฐมบรุ ุษ : นาม อวจา อวจู มัชฌมิ บุรุษ : ตมุ หฺ อวจ อวโจ อวจุตฺถ อตุ ตมบรุ ุษ : อมฺห อวจ อวจํ อวจมหฺ า หิยยตั ตนวี ิภัตติ มีใชน้ ้อย จึงแสดงไวเ้ ทา่ น้ี
ส�ำ หรับนกั ศกึ ษาใหม ่ 127 ๕.๑. ภวู าทคิ ณะ อชั ชตนีวิภัตติ กรธาตุ กัตตวุ าจก (ทำ�แลว้ ไดท้ �ำ แล้ว) ฝ่าย ปรสั สบท วจนะ เอก. พหุ. ปฐมบรุ ษุ : นาม อกาสิ อกริ กริ อกรสึ ุ อกสํ ุ อกรุํ อกาสํุ กรึสุ มชั ฌมิ บุรุษ : ตมุ หฺ อกาสิ อกริ กริ อกาสิตฺถ อกรติ ถฺ กริตถฺ อุตตมบุรุษ : อมหฺ อกาสึ อกรึ กรึ อกาสมิ หฺ อกรมิ หฺ กรมิ ฺห กรธาตุ กัมมวาจก (ทำ�แล้ว, ได้ทำ�แลว้ ) ฝ่าย ปรสั สบท วจนะ เอก. พห.ุ ปฐมบุรุษ : นาม อกรียิ อกรยี สึ ุ มัชฌิมบรุ ุษ : ตุมหฺ อกรียิ อกรียติ ฺถ อุตตมบุรษุ : อมฺห อกรียึ อกรียิมฺห ประโยคทดลองแปล ๑. โส โรทิตฺวา ปริเทวติ วฺ า ปติ ุ สรีรกิจฺจํ อกาสิ. ๒. ปณฑฺ ิตา จติ ตฺ มตฺตโน อุชุก ํ อกสํ ุ. ๓. อกาสึ สตฺถุ วจนํ ยถา มํ โอวที ชิโน. (ข.ุ เถร. ๒๖/๖๒๖) ๔. ฉนทฺ ราควิรตฺโต โส ภิกขฺ ุ ปญฺ าณวา อิธ. อชฌฺ คา อมตํ สนฺตึ นพิ ฺพานํ ปทมจจฺ ุตํ. (ข.ุ ส.ุ ๒๕/๒๐๖)
๕. อาขยาตกณั ฑ์ 128 บาลีไวยากรณ์เบ้อื งตน้ ภวสิ สนั ตีวภิ ตั ติ สุธาตุ กัตตุวาจก (จกั ฟงั ) ฝ่าย ปรสั สบท อตั ตโนบท วจนะ เอก. พหุ. เอก. พห.ุ ปฐมบรุ ษุ : นาม สุณสิ สฺ ติ สณุ สิ สฺ นตฺ ิ สณุ ิสสฺ เต สุณิสฺสนเฺ ต มชั ฌิมบรุ ุษ : ตมุ หฺ สุณิสฺสสิ สุณิสสฺ ถ สณุ สิ สฺ เส สุณิสฺสวฺเห อุตตมบุรษุ : อมฺห สณุ สิ สฺ ามิ สณุ สิ ฺสาม สณุ ิสฺสํ สณุ สิ ฺสามเฺ ห กาลาตปิ ัตติวภิ ัตติ กรธาตุ กัตตุวาจก (จกั ได้ทำ�แลว้ ) ฝ่าย ปรสั สบท อตั ตโนบท วจนะ เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ปฐมบรุ ษุ : นาม อกริสสฺ อกริสสฺ ํสุ อกรสิ สฺ ถ อกรสิ ฺสสิ ุ มัชฌิมบรุ ุษ : ตมุ ฺห อกรสิ ฺเส อกรสิ ฺสถ อกรสิ สฺ เส อกรสิ ฺสวฺเห อุตตมบรุ ษุ : อมฺห อกริสฺสํ อกรสิ สฺ ามหฺ อกริสสฺ ึ อกรสิ สฺ ามหฺ เส ประโยคทดลองแปล ๑. สทฺทํ อนิทสฺสนํ สปปฺ ฏฆิ ํ สุณิ วา สุณาติ วา สุณสิ ฺสติ วา. ๒. โส เจ หยิ โฺ ย กมมฺ นฺตํ อกริสฺส, อชชฺ กหาปณานิ อลภสิ ฺส. ๓. สเจ อทิ านิ อเนสนํ กรสิ ฺสํ, อายตมิ ปฺ ิ ทลุ ลฺ ภสโุ ข ภวิสฺสามิ. ธาตคุ ณะอนื่ จากภวู าทคิ ณะ นกั ศกึ ษาสามารถจ�ำ แนกตามวธิ เี ชน่ นี้ จะตา่ ง กนั บ า้ ง เพยี งการลงปจั จยั ป ระจ�ำ ห มวดธาตแุ ตล่ ะห มวด และการเปลยี่ นแปลงรปู ของธาตุตวั นั้นๆ เท่าน้ัน
ส�ำ หรบั นกั ศกึ ษาใหม ่ 129 ๕.๑. ภวู าทคิ ณะ ตวั อยา่ งกริ ิยาอาขยาตทม่ี ใี ชม้ าก ภวู าทคิ ณะ ภวติ ภวนตฺ ิ ยอ่ มมี-เปน็ พฺรูหิ พฺรูถ จงบอก-กล่าว โหติ โหนตฺ ิ ย่อมปรารถนา ภวตุ ภวนตฺ ุ ยอ่ มม-ี เปน็ อจิ เฺ ฉติ เอสติ ย่อมสำ�รวม โหตุ โหนฺตุ ยอ่ มเข้าอยู่ อโหสิ อเหสํุ จงมี-เปน็ สญฺ มติ ยอ่ มเสวย ภเว ภเวยยฺ ยอ่ มได้ สยิ า สิยุํ จงมี-เป็น อจฺฉติ อปุ าสติ ย่อมได้ ลภสิ ฺสติ ย่อมกลา่ ว วจุ จฺ ติ วุจฺจเต ได้ม-ี เปน็ แล้ว อนโุ ภติ ไดก้ ลา่ วแล้ว วสติ วสนตฺ ิ ย่อมอยู่ โรทติ โรทนตฺ ิ พงึ มี-เป็น ลภติ ลภนตฺ ิ ย่อมไป คจฺฉ คจฉฺ าหิ ย่อมน�ำ ไป อคมาสิ พงึ มี-เป็น อลภิ อลภสึ ุ บรรลแุ ลว้ ชีรติ ชรี นฺติ ยอ่ มดา่ อกโฺ กจฉฺ ิ จกั ได้ วจติ วจนฺติ ได้ด่าแลว้ อธิวาเสตุ ยอ่ มตาย เทเสตุ ยอ่ มถูกกล่าว อโวจ ย่อมดู-เห็น นิสีทติ ยอ่ มด-ู เหน็ นสิ ที ิ นิสีทสึ ุ ยอ่ มอยู่ วจฺฉติ วจฉฺ ามิ ย่อมบูชา วชเฺ ชติ วชชฺ ติ ยอ่ มกลา่ ว วเทมิ วทามิ ย่อมรอ้ งไห้ คจฉฺ ติ คจฉฺ นตฺ ิ ยอ่ มหวัน่ ไหว จงไป วหติ วหนตฺ ิ ได้ไปแล้ว อชฌฺ คา ยอ่ มแก่ อกฺโกสติ ได้ดา่ แลว้ อกฺโกสิ จงรับ มรติ มยี ยฺ ติ จงแสดง ปสสฺ ติ ปสสฺ นตฺ ิ ย่อมนัง่ ทกขฺ ติ ทกฺขนตฺ ิ น่งั แล้ว ยชติ ยชนตฺ ิ ยอ่ มกล่าว วเทติ วทติ ย่อมกล่าว จลติ จญจฺ ลติ
๕. อาขยาตกณั ฑ์ 130 บาลไี วยากรณเ์ บ้ืองตน้ ตุทติ ตทุ นตฺ ิ ยอ่ มทมิ่ แทง ฌายติ ฌายนตฺ ิ ยอ่ มคดิ -เพ่ง อทุ ทฺ ิสติ ยอ่ มสวด ปวิสติ ปวิสนฺติ ย่อมเขา้ ไป ลิขติ ลิขนฺติ ยอ่ มขดี เขยี น ผุสติ ผสุ นตฺ ิ ย่อมสมั ผสั เสติ เสนฺติ ยอ่ มนอน ปิวติ ปิวนตฺ ิ ยอ่ มดืม่ สยติ สยนตฺ ิ ย่อมนอน ติฏฺ€ติ ตฏิ ฺ€นตฺ ิ ยอ่ มตงั้ ไว้ อตฺถิ สนตฺ ิ ย่อมมี อตถฺ ุ สนตฺ ุ จงมี อสฺส อสฺสุ พงึ ม-ี เป็น หนตฺ ิ หนติ ยอ่ มเบยี ดเบยี น อาห อาหุ กล่าวแลว้ หญฺติ หญฺเต ย่อมถูกฆ่า ชหาติ ชหนฺติ ยอ่ มสละ ททาติ ททนฺติ ย่อมให้ เทติ เทนฺติ ย่อมให้ ทชฺชา ทชฺชํ พึงให้ ควรให้ อทาสิ อทํสุ ได้ใหแ้ ล้ว นิเธติ นเิ ธนตฺ ิ ยอ่ มฝงั ไว้ รุธาทิคณะ รนุ ฺธติ รุนธฺ นตฺ ิ ยอ่ มปิด-กน้ั ฉนิ ฺทติ ฉนิ ทฺ นตฺ ิ ยอ่ มตัด ยุญฺชติ ยุญชฺ นตฺ ิ ยอ่ มประกอบ ภุญฺชติ ภุญฺชนฺติ ย่อมกนิ มุญฺจติ มญุ ฺจนฺติ ย่อมปลอ่ ย-พน้ สิญฺจติ สิญจฺ นตฺ ิ ยอ่ มรด ทิวาทคิ ณะ ทพิ ฺพติ ทิพพฺ นตฺ ิ ย่อมรงุ่ เรอื ง สพิ พฺ ติ สิพพฺ นฺติ ย่อมเยบ็ อุปฺปชฺชติ ยอ่ มอุบัติ-เกิด พชุ ฺฌติ พุชฺฌนฺติ ยอ่ มตรสั รู้ ยุชฺฌติ ยชุ ฌฺ นตฺ ิ ย่อมตอ่ สู้ กุชฌฺ ติ กุชฌฺ นฺติ ยอ่ มโกรธ สนนฺ ยฺหติ ยอ่ มผูกรัด มญยฺ ติ มญฺนฺติ ย่อมรู้ สมาทยิ ติ ย่อมสมาทาน สมมฺ ติ สมมฺ นตฺ ิ ยอ่ มสงบ กุปฺปติ กปุ ฺปนฺติ ยอ่ มโกรธ ชายติ ชายนฺติ ยอ่ มเกดิ
ส�ำ หรับนกั ศกึ ษาใหม ่ 131 ๖.๑. เตกาลิกะ สวฺ าทคิ ณะ สุณาติ สุโณติ ย่อมฟัง ปหิณาติ ย่อมส่งไป อาวุณาติ ย่อมใสไ่ ว้ ปาปณุ าติ ย่อมส�ำ รวม มโิ นติ มินนฺติ ย่อมสามารถ ยอ่ มบรรลุ สกกฺ ุณาติ กิยาทิคณะ วกิ กฺ ณิ าติ ยอ่ มขาย ชินาติ ชินนฺติ ยอ่ มชนะ จินาติ จินนตฺ ิ ยอ่ มก่อ-สะสม ชานาติ ชานนฺติ ย่อมรู้ วิชานาติ ย่อมรู้แจ้ง วชิ านยิ า วชิ ญฺ า พึงรู้แจง้ สมชานิ สญชฺ านิ รดู้ แี ลว้ อญฺาสิ ไดร้ ้แู ลว้ มินาติ มินนตฺ ิ ยอ่ มนบั ถอื ลุนาติ ลุนนตฺ ิ ย่อมตดั -เดด็ ธนุ าติ ธุนนตฺ ิ ย่อมหวน่ั ไหว คณฺหติ คณฺหาติ ย่อมถอื เอา คยหฺ ติ คยหฺ นตฺ ิ ยอ่ มถูกถือเอา คณหฺ ิ คณหฺ ึสุ ถอื เอาแลว้ อคคฺ เหสิ ได้ถอื เอาแลว้ อุคคฺ ณหฺ าติ ย่อมถือเอา ตนาทคิ ณะ ตโนติ ตโนนฺติ ย่อมแผไ่ ป กโรติ กโรนฺติ ยอ่ มทำ� กุพพฺ นตฺ ิ ย่อมทำ� กรุ เุ ต ย่อมท�ำ กเร กเรยฺย พงึ ทำ� ควรทำ� กยิรา กยิราถ พึงทำ� ควรท�ำ อกาสิ อกาสุํ ไดท้ �ำ แลว้ อกริ อกรสึ ุ ไดท้ ำ�แล้ว กรสึ ุ อกํสุ ได้ท�ำ แลว้ กาหติ กาหนตฺ ิ จักทำ� กรสิ ฺสติ กริสสฺ ํ จกั ทำ� อภิสงฺขโรติ ย่อมปรุงแต่ง ปปโฺ ปติ ปปฺโปนฺติ ย่อมบรรลุ สกโฺ กติ สกโฺ กนตฺ ิ ยอ่ มสามารถ
๖. กิตกกัณฑ์ 132 บาลีไวยากรณ์เบอื้ งตน้ จรุ าทคิ ณะ โจเรติ โจเรนฺติ ย่อมลัก-ขโมย โจรยติ โจรยนตฺ ิ ย่อมลัก-ขโมย จนิ เฺ ตติ จินตฺ ยติ ยอ่ มคิด จินฺเตสิ จนิ ฺตยิ คิดแล้ว มนเฺ ตติ มนฺตยติ ยอ่ มปรกึ ษา ปาเลติ ปาลยติ ยอ่ มรกั ษาไว้ ฆาเฏติ ฆาฏยติ ยอ่ มสืบตอ่ เวเทติ เวทยติ ย่อมรู้ คเณติ คณยติ ย่อมนับ คเณติ คณยติ ย่อมนับ ธาตุปจั จยนั ตคณะ ตติ กิ ขฺ ติ ยอ่ มอดกลนั้ ชคิ จุ ฉฺ ติ ย่อมคุ้นครอง ตกิ ิจฉฺ ติ ย่อมเยียวยา วิจกิ ิจฉฺ ติ ย่อมเยียวยา วีมสํ ติ ยอ่ มทดลอง พภุ ุกขฺ ติ ย่อมปรารถนาเพ่ือกนิ ชฆิ จฺฉติ ยอ่ มปรารถนาเพ่อื กิน ชิคสี ติ ยอ่ มปรารถนาเพือ่ กิน สสุ สฺ สู ติ ยอ่ มปรารถนาเพ่อื ฟงั ปวิ าสติ ย่อมปรารถนาเพ่อื ดมื่ วิชคิ สี ติ ยอ่ มปรารถนาเพอ่ื ชนะ นามปจั จยันตคณะ สมุทฺทายติ ท�ำ ตวั ดุจสมทุ ร ปพพฺ ตายติ ท�ำ ตวั เชน่ ภูเขา ธูมายติ ทำ�เหมือนร่ม ปุตฺตยี ติ ทำ�เหมือนควนั ฉตฺตยี ติ ต้องการบาตร วตถฺ ียติ ตอ้ งการบรขิ าร จีวรยี ติ ทำ�เหมอื นบตุ ร ปตฺตียติ ตอ้ งการผ้า ธนียติ ตอ้ งการบตุ ร จิรายติ ต้องการผ้า ปรกิ ขฺ ารยี ติ ต้องการจีวร ปฏียติ ต้องการทรพั ย์ ปุตฺตียติ ประพฤตชิ ้าอยู่
ส�ำ หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 133 ๕.๑. ภวู าทิคณะ คำ�แปลภาษาไทยนั้น นักศึกษาสามารถใช้สำ�นวนการแปลได้หลายนัย แม้จะแปลตา่ งกันก็ขอให้ได้ความหมายเดียวกนั เวลาแปลพระไตรปฎิ กจะไดไ้ ม่ ติดอย่เู พยี งสำ�นวนเดียว ซง่ึ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อคนผู้มอี ธั ยาศัยตา่ งกัน กริ ิยาบทอ่ืนนอกจากนี้ สามารถหาอทุ าหรณ์ไดจ้ ากหนงั สือว่าด้วยเรื่อง ธาตแุ ละกิรยิ าท ่ัวไป เชน่ คัมภีร์ธาตวัตถสงั คหะ หนังสอื รวมบทกิริยาอาขยาต และอาขยาตกณั ฑ์ในไวยากรณ์อื่นๆ เป็นตน้ โปรดจ�ำ ไว้ว่า บทกิริยาอาขยาตในประโยคบาลี จะมี บุรษุ และ วจนะ ตรงกบั บทป ระธานท ่ีเปน็ นามศพั ท์ ตุมหฺ ศัพท์ และ อมหฺ ศัพท์เสมอ จบ อาขยาตกณั ฑ์ที่ ๕
134 ๖. กติ กณั ฑ์ กิต = ธาตุ+ปจั จยั +วิภัตตนิ าม กิต คือ วธิ สี รา้ งค�ำ ศัพทเ์ พอื่ บ รรเทาความสงสยั ๕ เร่ืองส�ำ คัญ คือ ๑. บรรเทาความสงสยั เรอ่ื ง ปกติธาตุ ๒. บรรเทาความสงสยั เร่อื ง ปกตลิ ิงค์ ๓. บรรเทาความสงสัยเรือ่ ง ปัจจัย ทีป่ ระกอบหลงั จากปกตธิ าตุ ๔. บรรเทาความสงสยั เรอ่ื ง วภิ ตั ติ ทป่ี ระกอบหลงั จากธาตตุ อ่ จากปจั จยั ๕. บรรเทาความสงสัยเรื่อง การกะอนั เปน็ วิธสี ร้างคำ�ศัพท์จาก ธาตุ ไปสู่ อาขยาตและกิต และส�ำ เร็จบทอยา่ งสมบูรณ์ทวี่ ิธีของนาม กติ มสี ่วนประกอบ ๓ อย่าง คอื ธาตุ+ปจั จยั +วิภัตตนิ าม ธาตุ ธาตุในกติ ก็คือปกตธิ าตุทั้ง ๘ หมวด อยา่ งเดยี วกนั กบั ธาตุในอาขยาต (กรุณายอ้ นไปดูอาขยาตกัณฑ์ หนา้ ๑๐๙-๑๑๓) ปจั จยั ปจั จยั ในกติสามารถบ่งกาลและวาจกได้ มี ๒ หมวด คอื กิจจปจั จยั และ กติ ปัจจยั ๑. กิจจปัจจัย คอื ปจั จยั ท่แี สดงกัมมวาจกและภาววาจก กล่าวอรรถ อรหะ (พึง ควร) และ สกั กะ (อาจ สามารถ) ใน ๓ กาล มี ๕ ตัว คอื ณฺย ริจฺจ (รปู ส�ำ เร็จเปน็ นามกิต) และ ตพพฺ อนยี เตยยฺ (รูปส�ำ เร็จเปน็ กริ ิยากิต) ๒. กติ ปจั จยั คือ ปัจจัยท่ี (ใหเ้ พ่ิมจำ�นวนตามปทรูปสทิ ธ)ิ มี ๗๕ ตัว คือ ณ อ ณวฺ ุ ตุ อาวี ยุ รตฺถุ ริตุ ราตุ กฺวิ รมมฺ ณี รู ณกุ ร อิ ต ติ
สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 135 ๖.๑. เตกาลกิ ะ ริริย อนิ ข กตฺ ตกุ อกิ ณี ฆณิ ฺ นฺตุ มาน อาน ณุ มิ มนฺ ถ ม ล ย ยาณ ลาณ ล ถุ ตตฺ ิม ณิม อานิ ตฺรณฺ ณิตฺต ตฺติ ฒ € ธ ท อิทฺท ก อร อล อม ตุ ทุ อวี ร อูร ณุ นุ อสุ สฺ นสุ อิส การ (รูปส�ำ เร็จเปน็ นา มกิต) เปน็ ตน้ , และ ต ตวนตฺ ุ ตาวี ตเว ตุํ ตุน ตฺวาน ตวฺ า มาน อนฺต (รปู สำ�เรจ็ เป็นกิริยากติ ) วิภตั ติ วภิ ตั ติ ก็เปน็ วภิ ัตติ ๑๔ ตัว ทีบ่ ง่ การกะ ๖ และวจนะ ๒ อยา่ งเดยี วกัน ทงั้ ใน นาม สมาส ตัทธิต และ กติ นัน่ เอง กิต ๒ ประเภท กิต เมื่ออาศัยกลุ่มปัจจัยเป็นตัวแบ่ง และผ่านวิธีการปรับเปล่ียนครบ ถ้วนทุกขั้นตอนแลว้ มีบทสำ�เรจ็ เป็น ๒ ประเภท คือ นามกติ และ กริ ยิ ากติ ๑. นามกิต คอื ศพั ท์กติ ท่ีมีรปู ส�ำ เรจ็ เปน็ สุทธนามบ้าง คณุ นามบา้ ง ๒. กิรยิ ากติ คือ ศพั ทก์ ติ ทม่ี ีรปู ส�ำ เร็จเป็นกริ ิยา นามกติ และกริ ยิ ากิตทง้ั ๒ เม่อื ผ่านสาธนะ ๗ อันเป็นกระบวนการสร้าง ค�ำ ศพั ทใ์ หส้ ำ�เรจ็ โดยผสมผสานอรรถของธาตุ อรรถของปจั จัย และอรรถของ วิภัตติ ให้เขา้ กนั อยา่ งลงตัว ตามขัน้ ตอน ๓ ขน้ั ดังน้ี กติ ๓ ข้ันตอน ขัน้ ตอนท ่ี ๑ เร่มิ จากนำ�ป กตธิ าตุที่มอีรรถเป็นกิริยาท ง้ั ๘ หมวด มาตงั้ ไว้แล้ว นำ�ป ัจจัยทก่ี�ำ หนดวาจก ๕ หมวด มาประกอบเข้ากัน ลงท้ายด้วยวภิ ตั ติ อาขยาตท ี่กำ�หนด กาล บท บรุ ุษ และวจนะ เชน่ พธุ +ย+ติ = พชุ ฌฺ ติ ย่อมตรสั รู้ ขน้ั ตอนท ่ี ๒ น�ำ ป กตธิ าตเุ ดยี วกนั กบั กริ ยิ าอาขยาตมาตงั้ ไวแ้ ลว้ น�ำ ปจั จยั
๖. กติ กกัณฑ์ 136 บาลไี วยากรณเ์ บอ้ื งตน้ ทก่ี �ำ หนดกาล รวมกนั เขา้ โดยการประกอบอรรถวภิ ตั ตใิ นนามใหส้ �ำ เรจ็ เปน็ สาธนะ ๗ มีกัตตุสาธนะเป็นต้น อนั เปน็ ขัน้ ตอนของกิต เช่น พธุ +ต = พุทฺธ ผตู้ รสั รู้ ขน้ั ตอนท ่ี ๓ นำ�เอา พุทฺธ ทีส่ �ำ เรจ็ มาจากวิธีของกติ สง่ ไปเป็นนาม เพื่อ เตรียมประกอบวภิ ตั ตใิ นนาม เชน่ พทุ ธฺ +สิ = พุทโฺ ธ พระพุทธเจ้า วธิ กี ารสร้างค�ำ ศพั ท์ท้งั ๓ ขน้ั ตอนนน้ั จะปรากฏสาธนะทเี่ ปน็ ฐานะของ บทสำ�เรจ็ ตามอรรถของวภิ ตั ตินาม ๗ อย่าง ดังน้ี สาธนะ ๗ สาธนะ คือ วิธีสร้างคำ�ศพั ทท์ ่ีถูกก�ำ หนดด้วยอรรถของวิภัตตนิ าม มี ๗ อยา่ ง คอื กตั ตสุ าธนะ กมั มสาธนะ ภาวสาธนะ กรณสาธนะ สมั ปทานสาธนะ อปาทานสาธนะ และ อธิกรณสาธนะ ๑. กตั ตสุ าธนะ ผ้ทู ำ�กิรยิ าดว้ ยตนเองหรอื ใหผ้ ู้อื่นท�ำ รูปส�ำ เร็จจัดเปน็ กัตตแุ ละเหตุกตั ตุ แปลว่า “ผู้” เป็นต้น เช่น พชุ ฌฺ ตตี ิ พทุ ฺโธ ผ้ตู รัสรู้ ชอ่ื วา่ พระพุทธเจ้า ททตตี ิ ทายโก ผู้ให้ ช่ือว่า ทายก ๒. กัมมสาธนะ ผู้ที่ถูกกระทำ� รูปสำ�เร็จจัดเป็นกัมมะและเหตุกัมมะ แปลว่า “ผูถ้ ูก, ผูอ้ ันเขา, ผทู้ ่เี ขา” เป็นต้น เช่น มาตาปิตหู ิ ธรียตีติ ธีตา. ธิดาท่มี ารดาบิดาคุม้ ครอง ชอ่ื วา่ ธดิ า สยี เต พนฺธยี ตีติ สสี .ํ
ส�ำ หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 137 ๖.๑. เตกาลกิ ะ อวัยวะอันคอผกู ไว้ ชอ่ื ว่า ศรี ษะ ๓. ภาวสาธนะ สิ่งที่สักว่าเป็นกิริยาอาการหรือสภาวะตามปกติ รูป สำ�เร็จเปน็ ภาวะ แปลวา่ “การ, ความ” เปน็ ต้น เช่น จชชฺ เต จชนํ วา จาโค. การสละ ชื่อวา่ จาคะ รชชฺ เต รชนํ วา ราโค. ความกำ�หนด ชอื่ วา่ ราคะ ๔. กรณสาธนะ อุปกรณ์ช่วยทำ�กิริยา รูปสำ�เร็จเป็นกรณะ แปลว่า “เป็นเคร่ือง, เป็นเหต”ุ เปน็ ต้น เชน่ วิเนติ เอเตนาติ วินโย. ธรรมเป็นเคร่อื งแนะนำ� จึงช่ือว่า วนิ ัย ปชฺชเต อเนนาติ ปาโท. เท้าเป็นเคร่ืองช่วยไป จึงชอ่ื ว่า บาท ๕. สมั ปทานสาธนะ ผ้รู ับจากกิริยา รปู ส�ำ เรจ็ เปน็ สมั ปทานะ แปลว่า “ผู้ท่เี ขาให้, ผรู้ บั ” เป็นตน้ เชน่ สมมฺ า ปกาเรน ททาติ อสสฺ าติ สมปฺ ทาน.ํ ผรู้ บั สิง่ ทเี่ ขาให้ทุกประการ ชอ่ื วา่ สัมปทาน ๖. อปาทานสาธนะ เขตทถ่ี กู ละทง้ิ ไป รูปสำ�เร็จเปน็ อปาทานะ แปลวา่ “เป็นท่,ี เปน็ เขต” เป็นต้น เชน่ ปภวติ เอตสมฺ าติ ปภโว. สถานทเ่ี รมิ่ ตน้ ชอ่ื วา่ ปภวะ (เขตเร่ิมตน้ ) ๗. อธิกรณสาธนะ สถานท่ีหรือกาลเวลาของกิริยา รูปสำ�เร็จเป็น โอกาสะ (ทีว่ ่าง) ภมุ มะ (ที่อยู่ประจำ�) อธกิ รณะ (ท่ตี ัง้ ) อาธาระ (ที่รองรับ) แปล วา่ “เป็นท ี่, เป็นเวลา” เปน็ ตน้
๖. กิตกกัณฑ์ 138 บาลไี วยากรณ์เบือ้ งต้น เชน่ สยติ เอตถฺ าติ สยน.ํ ทีเ่ ปน็ ทนี่ อน จงึ ช่ือว่า สยนะ (เป็นทน่ี อน) รมติ เอตถฺ าติ รตตฺ ิ. เวลาท่เี ขายนิ ดี จงึ ชอ่ื ว่า ราตรี (เปน็ เวลายินด)ี ตัวอย่างนามกติ นามกติ ธาตุ+ปจั จยั +วภิ ตั ติ ศิษย์ คำ�แปล สสิ โฺ ส สาส+ณยฺ +สิ กิจจฺ ํ กร+ริจฺจ+สิ กจิ มาลากาโร มาลา+กร+ณ+สิ นายมาลาการ ธมฺมธโร ธมฺม+ธร+อ+สิ ผทู้ รงธรรม การโก กร+ณฺวุ+สิ ผู้กระทำ�, นายช่าง กตฺตา กร+ต+ุ สิ ผู้กระทำ� ภยทสสฺ าวี ภย+ทสิ +อาวี+สิ ผเู้ ห็นภัย, ผูเ้ หน็ วา่ เปน็ ภยั สตฺถา สาส+รตฺถุ+สิ พระศาสดา, ผพู้ ร่ำ�สอน ปิตา ปา+ริตุ+สิ บิดา มาตา มาน+ราต+ุ สิ มารดา สยมภฺ ู สยํ+ภ+ู กวฺ ิ+สิ พระสยมั ภู ธมโฺ ม ธร+รมมฺ +สิ ธรรมะ, ทรงไวซ้ ง่ึ สภาวะนันๆ พรฺ หฺมจารี พฺรหฺม+จร+ณ+ี สิ ผปู้ ระพฤตพิ รหมจรรย์ โฆสนา ฆุส+ยุ+อา+สิ การประกาศ ภวปารคู ภวปาร+คมุ+รู+สิ ผ้ถู งึ ฝ่ังแห่งภพ ภรี ุโก ภ+ี รอฺ าคม+ณุก+สิ ผู้ขลาดกลวั สโํ ฆ สํ+หน+ร+สิ พระสงฆ,์ ผู้พรอ้ มเพรยี งกัน อุทธิ อทุ +ธา+อ+ิ สิ มหาสมุทร, ทรงไวซ้ ึ่งน�ำ้ สตุ ิ ส+ุ ต+ิ สิ การฟัง, เสยี ง
ส�ำ หรบั นักศกึ ษาใหม ่ 139 ๖.๑. เตกาลิกะ กริ ิยา กร+ริรยิ +อา+สิ กริ ยิ า, อาการทคี่ วรท�ำ ชโิ น ช+ิ อนิ +สิ ผู้ชนะ ทกุ กฺ รํ ทุ+กร+ข+สิ อันใครๆทำ�ไดย้ าก พุทฺโธ พุธ+ต+สิ ผูต้ รสั รู,้ ผ้ใู หต้ รสั รู้ อาคนฺตโุ ก อา+คมุ+ตุก+สิ อาคันตกุ ะ, ผมู้ าเยอื น คมิโก คม+ุ อกิ +สิ ผู้ควรไป, คนเดินทาง อกาโร อ+การ+สิ ออกั ษร ตัวอยา่ งกริ ิยากิต กิริยากิต ธาต+ุ ปจั จัย+วิภัตติ คำ�แปล ทาตพพฺ ํ ทา+ตพฺพ+สิ พงึ ให,้ ควรให้ ทานียํ ทา+อนยี +สิ พงึ ให้, ควรให้ าเตยฺยํ า+เตยฺย+สิ พึงรู้, ควรรู้ คโต คม+ุ ต+สิ ไปแลว้ หุตวา หุ+ตวนฺต+ุ สิ บูชาแลว้ หตุ าวี หุ+ตาวี+สิ บชู าแล้ว กาตเว กร+ตเว+สิ เพือ่ ทำ� กาตํุ กร+ตํุ+สิ เพือ่ ทำ� กาตนุ กร+ตนุ +สิ เพือ่ ทำ� กตวฺ าน กร+ตฺวาน+สิ ท�ำ แล้ว กตวฺ า กร+ตฺวา+สิ ท�ำ แลว้ คจฺฉมาโน คม+ุ มาน+สิ ไปอยู่, เมื่อไป คจฺฉนโฺ ต คมุ+อนตฺ +สิ ไปอยู่, เมอื่ ไป ตวั อยา่ งศัพท์กติ ทีม่ ีใช้มาก เตกาลิกะ กิจจคณะ
๖. กิตกกัณฑ์ 140 บาลไี วยากรณเ์ บอ้ื งต้น ภวติ พพฺ ํ พึงมี พึงเป็น ภวนยี ํ พึงมี พงึ เป็น พึงครอบง�ำ อภภิ วติ พฺโพ พึงครอบง�ำ อภภิ วนโี ย พึงเขา้ ไป พงึ นอน อาสิตพฺพํ พึงเข้าไป อาสนยี ํ พงึ นอนให้มาก พึงปฏบิ ัติ สยติ พฺพํ พึงนอน สยนยี ํ พงึ ตรัสรู้ พงึ ฟัง อติสยิตพฺโพ ควรนอนให้มาก อติสยนโี ย พึงทำ� พึงเล้ยี ง ปฏิปชฺชติ พโฺ พ พงึ ปฏิบัติ ปฏิปชชฺ นโี ย พึงถอื เอา นา่ รื่นรมย์ พุชฌฺ ิตพโฺ พ พงึ ตรสั รู้ พชุ ฺฌนโี ย พงึ บรรลุ ควรไป โสตพโฺ พ สณุ ติ พโฺ พ พึงฟงั สวณโี ย พึงเบียดเบียน พงึ รู้ กตตฺ พพฺ ํ กาตพพฺ ํ พงึ ท�ำ กรณีโย กรณยี ํ ผ้คู วรบูชา พงึ นำ�ไป ภริตพฺโพ พึงเลีย้ ง ภรณีโย พงึ พรำ�่ สอน พึงคบหา คเหตพฺโพ พึงถอื เอา คหณโี ย พงึ มี พึงเป็น พึงมวั เมา รมติ พฺโพ นา่ รน่ื รมย์ รมณโี ย พึงประกอบ พึงกลา่ ว ปตตฺ พฺโพ พึงบรรลุ ปาปณโี ย คนตฺ พโฺ พ พงึ ไป คมนยี ํ หนฺตพพฺ ํ พึงเบยี ดเบยี น หนนยี ํ มนตฺ พฺโพ พงึ รู้ มญฺ นียํ ปูชยิตพโฺ พ พงึ บชู า ปชู นีโย หริตพฺพํ พึงน�ำ ไป หารยิ ํ ลภติ พพฺ ํ ลพภฺ ํ พงึ ได้ สาสติ พโฺ พ วจนยี ํ วากฺยํ พงึ กลา่ ว ภชนียํ ภาคฺยํ เนตพฺพํ เนยฺโย พงึ น�ำ ไป ภวติ พโฺ พ ภพโฺ พ วชชฺ ํ วทนียํ พึงกลา่ ว มชฺชํ มทนยี ํ คนตฺ พฺพํ คมฺมํ พงึ ไป โยคคฺ ํ คารยฺโห ครหณยี ํ พงึ ตำ�หนิ คชชฺ ํ คทนียํ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173