Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Balee

Balee

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-13 07:10:24

Description: Balee

Search

Read the Text Version

ส�ำ หรบั นักศกึ ษ�ใหม่ (1) คนั ถ�รมั ภะ

ชื่อหนงั สือ บาลีไวยากรณ์เบ้ืองตน้ สาำ หรับนักศกึ ษาใหม่ ISBN 974-8417-06-9 ผูเ้ รยี บเรียง พระมหาสมปอง มทุ ิโต ศูนย์กลางการศกึ ษาบาลใี หญ่และพระไตรปิฎก ศ.พ.ว.ธ. เอ็ฟเอม็ ๙๓.๕ คลนื่ ธรรมะ นำาสาระส่สู ังคมไทย วัดวิหารธรรม ๓๓๓ หมู่ ๖ บ้านศรีวริ าช ต.โสมเยย่ี ม อ.น้ำาโสม จ.อุดรธานี ๔๑๒๑๐ โทร. ๐๘-๑๓๖๑-๗๗๓๕ facebook วัดวิหารธรรม, [email protected] คร้งั ที่ ๑ จัดพมิ พเ์ ผยแพร่ ๕๐๐ เลม่ ครง้ั ท่ี ๒ ๕๐๐ เลม่ ครงั้ ท่ี ๓ ๑๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๙ จาำ นวน ๑,๐๐๐ เลม่ ครง้ั ท่ี ๔ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๓๙ จาำ นวน ๑,๐๐๐ เล่ม ครั้งที่ ๕ ๑๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๒ จาำ นวน ๑,๐๐๐ เลม่ ครั้งท่ี ๖ ๑๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๓ จาำ นวน ๓,๐๐๐ เลม่ ครั้งท่ี ๗ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๕ จาำ นวน ๓,๐๐๐ เล่ม ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๗ จาำ นวน ๓ กันยายน ๒๕๖๒ จาำ นวน พมิ พท์ ่ี

(3) อารมั ภกถา (พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑-๒-๓-๔) ผู้ประสงค์ศึกษาพระบาลีคือพระไตรปิฎกให้เข้าใจอย่างถูกต้องครบถ้วน ท้ังอัตถะและพยัญชนะ ต้องเริ่มต้นด้วยการศึกษาคัมภีร์นิรุตตหรือบาลีใหญ่ท้ัง ๔ คมั ภรี ์ ดงั ต่อไปน้ี ๑. คมั ภรี ์บาลไี วยากรณ์ วา่ ดว้ ยกฏเกณฑข์ องหลักภาษาบาลี ๒. คมั ภรี ์อภธิ านัปปทปี ิกา ว่าดว้ ยคำาศพั ทท์ ่ีมีความหมายต่างๆ ๓. คมั ภีร์วตุ โตทยั ว่าด้วยระเบยี บฉันทลักษณ์ ๔. คัมภีร์สโุ พธาลงั การะ วา่ ด้วยสำานวนโวหารนยั ต่างๆ บรรดาคัมภีร์นิรตุ ตทิ ั้ง ๔ น้ี คมั ภรี ์บาลีไวยากรณ์ใหญท่ ี่นักปราชญท์ ่าน นิยมเรียนและสอนสืบทอดกันมาแต่โบราณกาล คือคัมภีร์ไวยากรณ์ ๓ สาย ไดแ้ ก่ สายกัจจายนะ สาโมคคัลลานะ และสายสทั ทนตี ิ คัมภีร์ปทรูปสิทธิ เป็นไวยากรณ์บาลีใหญ่สายกัจจายนะคัมภีร์หน่ึง ที่ นยิ มเรยี นกนั มาก เพราะมีเนื้อหาครบบรบิ รู ณ์ ท้งั ไมย่ อ่ ไม่พสิ ดารเกนิ ไป ง่าย ต่อการทำาความเขา้ ใจ หนงั สอื บาลไี วยากรณเ์ บอื้ งตน้ เลม่ น้ี ยอ่ เนอื้ หามาจากคมั ภรี ป์ ทรปู สทิ ธิ แลว้ เรียเรยี งขึน้ ใหม่ เพ่อื ใช้เปน็ สอ่ื การสอนภาษาบาลเี บือ้ งต้น ให้ผศู้ กึ ษาภาษา บาลเี ขา้ ถงึ เนอื้ หาสาระในพระไตรปฎิ กไดต้ รงตามพระพทุ ธประสงค์ เหมาะสาำ หรบั นักศึกษาใหม่ที่จะศกึ ษาคมั ภีร์บาลีใหญ่ต่อไป ทชี่ มรมนิรุตตศิ ึกษา วัดมหาธาตุ คณะ ๒๕ พระนคร กรุงเทพฯ ขอขอบคณุ และอนโุ มทนาในทกุ กศุ ลเจตนาของทกุ ทา่ น ทไ่ี ดร้ ว่ มจดั พมิ พ์ หนังสือเล่มนี้ออกเผยแพร่ ขอให้ผลานิสงส์น้ีจงอำานวยให้ท่านมีปัญญารู้แจ้งใน สัจธรรมคำาสง่ั สอนขององคส์ มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ โดยทั่วกนั เทอญ พระมหาสมปอง มทุ โิ ต ชมรมนริ ุตตศิ กึ ษา วดั มหาธาตุ ๑๓ กุภาพันธ์ ๒๕๓๙

(4) อารมั ภกถา (พิมพค์ รง้ั ที่ ๕-๖) เนอ่ื งจากหนงั สอื เลม่ น้ี มเี นอื้ หาไมย่ อ่ และไมพ่ สิ ดารเกนิ ไป เหมาะสาำ หรบั ผเู้ รมิ่ ศกึ ษาบาลไี วยากรณ์ จงึ มผี สู้ นใจนาำ ไปใชเ้ รยี นใชส้ อน และใชป้ ระกอบในการ เรยี นการสอนและสอนบาลีใหญจ่ าำ นวนมาก ทาำ ให้หนงั สอื ที่พิมพอ์ อกมาเผยแผ่ แต่ละครงั้ ไมเ่ พียงพอตอ่ การแจกจา่ ย การจัดพิมพ์คร้ังที่ ๕ และ ๖ น้ี ได้ปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาท่ีบกพร่อง ใหส้ มบูรณ์ย่ิงขึน้ เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์แก่ผูเ้ รยี นมากทสี่ ดุ และจะได้มอบใหแ้ ก่ สถาบนั การศกึ ษา ผูศ้ กึ ษา และผสู้ นใจทัว่ ไป ตามสมควร ขออนโุ มทนาในกศุ ลเจตนาของทกุ ทา่ นทม่ี สี ว่ นชว่ ยใหห้ นงั สอื เลม่ น้ี สาำ เรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี ขอให้ท่านจงมสี ว่ นแหง่ มหาอานสิ งส์น้ีด้วยกนั ทุกประการเทอญ พระมหาสมปอง มุทโิ ต ประธานชมรมนิรตุ ติศึกษา วัดมหาธาตุ คณะ ๒๕ พระนคร กรงุ เทพฯ โทร. ๒๒๔๑๔๑๘, ๒๒๒๒๙๗๙ ๑๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๓

(5) อารัมภกถา (พิมพค์ รงั้ ท่ี ๗) โสตุชน คือบคุ คลผู้ใฝ่ในการศึกษาภาษาบาลีและพระไตรปฎิ ก ให้ครบ ถว้ นด้วยอัตถะและพยัญชนะ ควรเร่ิมต้นจากการศกึ ษาคมั ภีร์นิรตุ ตศิ าสตร์ อนั เปน็ คมั ภรี ์บาลีใหญห่ รือบาลีหลวง ท้ัง ๔ คัมภรี ์เหลา่ น้ี คอื ๑. คมั ภีร์บาลไี วยากรณ์ วา่ ด้วยกฏเกณฑข์ องหลกั ภาษาบาลี มคี มั ภรี ก์ จั จายนะ ปทรปู สทิ ธิ โมคคลั ลานะ และ สัททนตี ิ เปน็ ตน้ ๒. คมั ภรี ์อภิธานัปปทปี ิกา วา่ ด้วยคำาศัพทใ์ นอรรถตา่ งๆ ๓. คัมภีร์วุตโตทัย ว่าด้วยระเบยี บฉนั ทลักษณ์ (ร้อยกรอง) ๔. คมั ภรี ส์ โุ พธาลงั การะ ว่าดว้ ยการใชโ้ วหารสำานวนทีไ่ ม่มีโทษ ใน การรจนาคมั ภีร์ภาคภาษาบาลี หนังสือบาลีไวยากรณ์เบ้ืองต้นเล่มนี้ ได้ย่อสรุปเนื้อหามาจากคัมภีร์ ปทรปู สิทธิอนั เป็นสายของคัมภรี ์กัจจายนะ เพ่อื ใชเ้ ป็นสอื่ การการเรยี นการสอน ภาษาบาลใี นเบอ้ื งตน้ เหมาะกบั นกั ศกึ ษามอื ใหม่ เมอื่ ไดเ้ รยี นบาลไี วยากรณเ์ บอื้ ง ตน้ แลว้ จะสามารถขนึ้ ไปศกึ ษาคน้ ควา้ คมั ภรี บ์ าลใี หญท่ ง้ั ๔ นน้ั ไดด้ ี และเปน็ การ เตรยี มความพรอ้ มเพ่ือจะขยับความรขู้ องตนเองข้นึ ไปศึกษาชนั้ พระไตรปฎิ กไดด้ ี อีกด้วย ในการจัดพมิ พค์ ร้งั ที่ ๗ นี้ ได้แก้ไขและเพม่ิ เติมเนอื้ หาทเี่ กอ้ื กลู ต่อการ ศกึ ษาภาษาบาลดี ว้ ยตนเองใหง้ า่ ยยงิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะกณั ฑส์ ดุ ทา้ ย คอื การกกณั ฑ์ ไดแ้ สดงเน้อื หาการกะ และ วาจกะ เพม่ิ เข้ามาเปน็ พเิ ศษ ขอขอบคุณและอนุโมทนาสาธุ ในกุศลเจตนาของทกุ ทา่ นทมี่ สี ว่ นร่วมใน การจดั พิมพห์ นงั สอื เพอ่ื เป็นคู่มือในการศกึ ษาบาลีใหญแ่ ละพระไตรปิฎก สืบไป พระมหาสมปอง มุทโิ ต

(6) หนา้ สารบญั ๑ ๓ เรื่อง ๔ คนั ถารมั ภะ ๔ อกั ษรลักษณ์ ๔ ๑. สนธิกณั ฑ์ สญั ญาวิธาน อักขรสุติ สันธิวิธาน ๕ ๕ ๑.๑. สัญญาวิธาน วิธีเรียกชื่ออักษร ๕ อกั ขรวธิ ี ๖ อกั ขร ๔๑ ตัว ๖ สระ ๘ ตวั ๗ พยญั ชนะ ๓๓ ตัว ๘ ๘ ๑.๒. อักขรสุติ วิธีออกเสยี งอกั ษร ๙ ฐาน ๖ ๑๐ กรณ์ ๔ ๑๒ ปยตนะ ๔ ๑๔ สถิ ลิ ะ ธนติ ะ โฆสะ อโฆสะ วิมุตตะ ๑๖ การอ่านและการเขียน ๑๙ พยญั ชนะสงั โยค ๒๑ ๑.๓. สนั ธวิ ิธาน วธิ ีต่ออักษร ๒๑ ๑.๓.๑. สรสนธิ ๒๒ ๑.๓.๒. พยัญชนสนธิ ๒๒ ๑.๓.๓. นิคคหตี สนธิ ๒๕ ๒. นามกัณฑ์ นาม = ปกติลิงค์ + วิภัตติ ๒.๑. สุทธนาม ๒.๒. คณุ นาม ๒.๓. สัพพนาม ๒.๔. ลงิ ค์

ส�ำ หรบั นักศกึ ษ�ใหม่ (7) ส�รบัญ ๒.๕. การนั ต์ ๒๗ ๒.๖. วภิ ตั ติ ๒๘ ๒.๗. วจนะ ๒๙ ๒.๘. สัททปทมาลา ๓๐ ๓๑ สทั ทปทมาลาในปุงลิงค์ ๔๓ สทั ทปทมาลาในอติ ถลี ิงค์ ๔๘ สทั ทปทมาลาในนปงุ สกลงิ ค์ ๕๓ สัททปทมาลาในสพั พนาม ๕๓ ๕๔ ปรุ สิ สัพพนาม ๕๕ อลิงคสพั พนาม ๖๑ วเิ สสนสพั พนาม ๖๒ กสึ ัททปทมาลา ๖๒ ๒.๙. สงั ขยา ๖๕ สัททปทมาลาในสังขยาสพั พนาม ๖๖ ปกตสิ งั ขยา ๖๘ คุณิตปกติสังขยา ๖๙ สัททปทมาลาในปกตสิ ังขยา ๗๐ ปรู ณสังขยา ๗๐ ๒.๑๐. อัพยยศัพท์ ๗๑ ๑. ปัจจยันตะ ๘๒ ๒. อปุ สคั ๘๒ ๓. นิบาต ๘๙ ๙๒ นิบาตมอี รรถเดยี วกนั ๙๔ นบิ าตมีหลายอรรถ นบิ าตอรรถตา่ งๆ ๓. สมาสกัณฑ์ สมาส = นาม+นาม+วภิ ตั ตนิ าม

ส�รบญั (8) บ�ลไี วย�กรณเ์ บ้ืองตน้ ๑. อัพยยีภาวสมาส ๙๕ ๒. กมั มธารยสมาส ๙๕ ๓. ทิคสุ มาส ๙๗ ๔. ตัปปุรสิ สมาส ๙๗ ๕. พหุพพหี สิ มาส ๙๘ ๖. ทวนั ทสมาส ๑๐๐ ๔. ตัทธติ กัณฑ์ ตัทธิต = นาม+ปจั จยั +วิภตั ตินาม ๑๐๑ ๑. อปจั จตัทธิต ๑๐๑ ๒. อเนกตั ภตทั ธิต ๑๐๒ ๓. ภาวตทั ธติ ๑๐๔ ๔. วเิ สสตัทธติ ๑๐๕ ๕. อสั สัตถิตัทธติ ๑๐๕ ๖. สังขยาตัทธิต ๑๐๗ ๗. อพั ยยตัทธิต ๑๐๗ ๕. อาขยาตกณั ฑ์ อาขยาต=ธาต+ุ ปัจจัย+วิภัตติอาขยาต ๑๐๙ ธาตุ ๘ คณะ ๑๐๙ ๑๐๙ ๑. ภูวาทิคณะ ๑๑๐ ๒. รธุ าทคิ ณะ ๑๑๐ ๓. ทิวาทิคณะ ๑๑๑ ๔. สฺวาทิคณะ ๑๑๑ ๕. กยิ าทิคณะ ๑๑๒ ๖. คหาทิคณะ ๑๑๒ ๗. ตนาทคิ ณะ ๑๑๒ ๘. จรุ าทคิ ณะ ๑๑๓ ธาตุ ๒ กล่มุ ๑๑๓ ปัจจยั ในอาขยาต

ส�ำ หรบั นกั ศกึ ษ�ใหม่ (9) ส�รบญั ธาตปุ ปัจจัย ๓ กล่มุ ๑๑๔ วภิ ัตตใิ นอาขยาต ๑๑๕ ตารางแสดงวิภตั ติ กาล บท บุรษุ วจนะ โยคะ ๑๑๙ สทั ทปทมาลา ๑๒๐ ๑๒๐ วตั ตมานาวิภัตติ ๑๒๒ ปัญจมวี ิภัตติ ๑๒๔ สตั ตมวี ิภตั ติ ๑๒๖ ปโรกขาวภิ ตั ติ ๑๒๖ หิยยัตตนีวิภตั ติ ๑๒๗ อัชชตนีวภิ ัตติ ๑๒๘ ภวสิ สนั ตวี ภิ ัตติ ๑๒๘ กาลาตปิ ัตติวภิ ัตติ ๑๒๙ กิรยิ าอาขยาตท่ีมีใชม้ าก ๑๓๔ ๖. กติ กณั ฑ์ กิต = ธาต+ุ ปจั จยั +วิภตั ตนิ าม ๑๓๔ ธาตุ ๑๓๔ ปัจจยั ๑๓๕ วิภตั ติ ๑๓๕ กิต ๒ ประเภท ๑๓๕ กติ ๓ ขน้ั ตอน ๑๓๖ สาธนะ ๗ ๑๓๘ ตวั อยา่ งนามกิต ๑๓๙ ตัวอยา่ งกริ ยิ ากิต ๑๓๘ ตวั อยา่ งศัพทก์ ติ ทม่ี ีใชม้ าก ๑๓๘ ตัวอย่างนามกติ ๑๔๖ ๗. วากฺยกัณฑ์ ประโยค = การกะ+วาจกะ ๑๔๖ วากยฺ ะ

ส�รบัญ (10) บ�ลไี วย�กรณ์เบ้อื งต้น ๗.๑. การกะ นามผทู้ ำากริ ิยาใหส้ ำาเร็จ ๑๔๖ การกะโดยยอ่ ๒ (๑) ๑๔๗ การกะโดยย่อ ๒ (๑) ๑๔๗ การกะโดยย่อ ๖ ๑๔๗ การกะโดยพสิ ดาร ๒๖ ๑๔๘ กัตตกุ ารกะ ๕ ๑๔๘ กมั มการกะ ๗ ๑๔๙ กรณการกะ ๒ ๑๕๐ สมั ปทานการกะ ๓ ๑๕๐ อปาทานการกะ ๕ ๑๕๑ โอกาสการกะ ๔ ๑๕๒ ๑๕๒ ๗.๒. วาจกะ กริ ิยาท่เี รยี กหาการกะ ๑๕๓ วาจกะ ๕ ๑๕๔ กิริยา ๒ ๑๕๕ ๑๕๕ หลกั การแปลบาลีเป็นไทย ๑๕๗ การแปล ๓ นยั ๑๕๗ ตวั อย่างฝึกแปล ๑๕๘ ประโยคบาลี ๑๖๐ แปลโดยโวหาร ๑๖๑ คำาทักทายท้ายบท คันถนตี ิ

1 คนั ถารมั ภะ ปาลิภาสา ภาษาบาลี ปา​ลิ หรอื ปาฬิ แปลว​่า รักษาไ​ว,้ ภาสา แปลว​า่  ​ถอ้ ยคำ�ส​ำ�เนยี ง  (ศพั ท์​และ​เสียง), เมอื่ ​รวม​เขา้ ​ก​ัน​เป็น ปา​ลิภ​ าสา จึง​แปล​ว่า ภาษา​ท่ี​รักษา​ไว้ รกั ษาอะไรไว้ ? รกั ษาพระไตรปิฎกไว้ ตปิ ฏิ กํ พุทฺธวจนํ ปาเลตีติ ปาลิ (ปาฬิ). ภาษาทีร่ กั ษาไว้ซ่งึ พระพุทธพจน์คอื พระไตรปฎิ ก ชอื่ ว่า บาลี การศ​กึ ษา​ภาษา​บาลี หมาย​ถงึ การศ​กึ ษาภ​ าษา​ใน​พระไ​ตรปฎิ กอ​ัน​เปน็ ​ ค�ำ ส​งั่ ส​อน​ของ​พระ​สมั มาส​มั พ​ ทุ ธ​เจา้ ซง่ึ ​ค�ำ ส​งั่ ส​อน​เหลา่ น​นั้ บรสิ ทุ ธ​์ิบรบิ รู ณ​์ดว้ ย​ อัตถะแ​ละพ​ ยัญชนะ อตั ถะ คือ เนื้อความ มี ๓ อยา่ ง ๑. โลกียัตถะ เนอ้ื ความที่เป็นโลกยี ธรรม ไดแ้ ก่ โลกยี จิต ๘๑  เจตสกิ ๕๒  รูป ๒๘ ๒. โลกุตตรัตถะ เนือ้ ความท่ีเป็นโลกตุ ตรธรรม ไดแ้ ก่ มรรค ๔  ผล ๔  นิพพาน ๓. โวหารรตั ถะ เนื้อความที่เป็นโวหารบญั ญตั ิ ได้แก่ มนษุ ย์ ภเู ขา แมน่ �้ำ วตั ถุ เป็นต้น ผู้ได้ศึกษาหลักพยัญชนะคืออักษรภาษาบาลีจนเข้าใจดีแล้ว ย่อมเข้าใจ ในอตั ถะทงั้ ๓ นไี้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง หากไมเ่ ขา้ ใจหลกั พยญั ชนะ จะเปน็ เหตใุ หเ้ ขา้ ใจ อัตถะท้งั ๓ น้นั ผิดพลาดได้ พระพทุ ธองค์จงึ ตรสั วา่ “เทฺว​เม ภิกฺขเว ธมฺ​มา สทฺ​ธมฺมสฺส สมฺ​โม​สาย อนฺตรธา​นาย สวํ ตต​ฺ น​ฺต.ิ กต​เม เทฺว. ทุนน​ฺ กิ ฺขิตตฺ ญจฺ ปทพยฺ ญฺ​ชนํ อตฺ​โถ จ ทุนนฺ​โ​ี ต, ทุน​ฺนิกฺขิตฺตสฺส ภิกฺขเว ปทพยฺ ญช​ฺ นสสฺ อตโ​ฺ ถปิ ทนุ น​ฺ ​โย โหต​ิ. เทฺวเ​ม ภิกฺขเว ธมฺ​มา สทธ​ฺ มมฺ สสฺ €ติ ยิ​า อ​สม​โฺ มส​าย อนนฺตร- ธา​นาย สํวตฺ​ตนต​ฺ .ิ กต​เม เทฺว.  สนุ​ิกขฺ ิตฺตญฺจ ปทพฺยญ​ฺชนํ อตฺ​โถ จ

คนั ถารมั ภะ 2 บาลไี วยากรณ์เบื้องต้น สุ​นี​โต, สุ​นิกฺขิตฺตสฺส ภิกฺขเว ปทพฺยญฺ​ชนสฺส อตฺ​โถปิ สุ​น​โย โห​ติ.”  (องฺ.ทกุ . ๒๐/๒๐-๒๑) “ภิกษท​ุ ง้ั ห​ ลาย ธรรม ๒ อย่าง​เหล่าน​้ี ยอ่ ม​เป็นไ​ปเ​พื่อค​วาม​เส่ือมส​ลาย เพ่ือ​ความ​อันตรธาน​ไป​แห่ง​พระ​สัทธรรม ธรรม ๒ อย่าง​อะไร​บ้าง คือ บท​ พยัญชนะ​ท่ี​นำ�ม​า​ไม่​ถูก​ต้อง และ​เนื้อ​ความ​ที่​เข้าใจ​ไม่​ถูก​ต้อง เมื่อ​บท​พยัญชนะ​ นำ�ม​าไ​ม​่ถูกต​อ้ ง แม้​เนือ้ ค​วาม​ก็​ยอ่ มเ​ข้าใจ​ไม่ถ​ูกต​อ้ ง​เช่น​กัน ภิกษุท​ ้งั ห​ ลาย ธรรม ๒ อย่าง​เหลา่ น​ี้ ย่อมเ​ปน็ ​ไปเ​พ่อื ค​วาม​ต้ัง​มน่ั ไม​่ เส่อื มส​ลาย ไม่​อันตรธานไ​ป​แหง่ พ​ ระส​ัทธรรม ธรรม ๒ อย่าง​อะไร​บา้ ง คอื บท​ พยญั ชนะท​ นี​่ �ำ ม​า​ถกู ต​้อง และเ​นื้อ​ความ​ที​่เข้าใจ​ถูกต​้อง เม่ือ​บทพ​ ยญั ชนะ​น�ำ ม​า​ ถกู ​ต้อง แม้​เนอ้ื ​ความ​กย​็ อ่ ม​เขา้ ใจ​ถกู ​ตอ้ ง​เช่น​กัน” เมอ่ื เป็นเช่นน้ี จึงควรอยา่ งยงิ่ ท่ผี ้ปู รารถนารู้และเขา้ ใจเนือ้ ความอย่างถกู ต้องครบถ้วนท้ังอัตถะและพยัญชนะ ควรศึกษาให้เข้าใจในวิธีของพยัญชนะอัน เป็น อกั ขรวิธี คอื  วธิ กี ารจ�ำ แนก การอ่าน และการเขียน ซ่ึงอักษรภาษาบาลี ให้ถกู ต้องนัน่ เอง เมื่อเข้าใจหลกั ภาษาดีแล้ว ยอ่ มเข้าใจเนือ้ ความได้ดี และเม่อื มีความเขา้ ใจเน้ือความดี ยอ่ มสามารถปฏิบัติตามได้ถูกตอ้ งจนถงึ ความส้ินทุกข์ ได้ หากแม้หลกั ภาษาบาลียังไม่เขา้ ใจ จกั ทำ�ให้สงสัยในเนอ้ื ความและขอ้ ปฏบิ ัติ นน้ั ๆ ถา้ ปรารถนาจะศกึ ษาคน้ ควา้ พระบาลคี อื พระไตรปฎิ กอนั เปน็ หลกั ค�ำ สงั่ สอน กย็ ง่ิ มีความสงสยั แทบทุกบท ดังน้ัน ท่านพระโมคคัลลานมหาเถระผ้ปู รชี าชาญ ในหลกั ภาษาบาลจี ึงได้กล่าวไว้เป็นคาถาวา่ โย นริ ตุ ฺตึ น สกิ ฺเขยยฺ สกิ ฺขนโฺ ต ปิฏกตฺตยํ ปเท ปเท วกิ งเฺ ขยฺย วเน อนธฺ คโช ยถา. (โมคคฺ ลฺลานปญจฺ กิ า)  บคุ คล​ใด ไ​มไ​่ ดศ​้ กึ ษา​คมั ภรี ​น์ ริ ตุ ต​อิ นั ​เปน็ ​หลกั ภ​าษา​กอ่ น บคุ คลน​น้ั เมอ่ื ​ ศกึ ษาค​น้ ควา้ ​พระ​ไตรปฎิ ก ยอ่ มส​งสยั ​ทกุ ๆบท ดจุ ช​า้ งไ​พรต​าบอดเ​ทย่ี ว​ไปใ​นป​า่ นิรตุ ติบ่ขีดเขียน หวงั เพยี งเพยี รเรยี นพระไตร ทกุ บทย่อมสงสัย ดุจชา้ งไพรไร้ดวงตา

3 อกั ษรลักษณ์ ตารางอกั ษรบาลี ๔๑ ตวั สระ พยัญชนะ ฐาน กรณ์ ปยตนะ โฆสะ อโฆสะ สถิ ิละ ธนติ ะ วมิ ตุ ตะ สระ ๘ พยญั ชนะ ๓๓ ๑ หรอื ๒ ฐาน กรณก์ ระทบ ๔ รัสสะ ทฆี ะ วรรค ๒๕ อวรรค ๘ ฐานเสียง ๖ อโฆสะ โฆสะ โฆสะ อโฆ วมิ ตุ สถิ ลิ ธนติ สถิ ลิ ธนติ วมิ ตุ กณั ฐะ สกะ เอกชะ ตาลุ ชิว-มชั อ อา ก ข ค ฆ ง ห มทุ ธะ ชวิ -ปคั อิ อี จ ฉ ช ฌ  ย ทันตะ ชวิ หคั ฏ € ฑฒณ ร ฬ โอฏฐะ สกะ ตถทธนล ส กัณ-ตา สกะ+ อุ อู ป ผ พ ภ ม กณั โฐฏ สกะ+ เอ ทันโตฏ สกะ+ โอ ทวฺ ิชะ เอกชะ ว รัสสานคุ ตะ ๑๒๓๔๕ อ ํ นาสิกา สกะ ลำ�ดับพยัญชนะวรรค สงั วตุ วิวฏะ ผุฏฐะ อีสงั ผุฏฐะ วิวฏะ ปยตนะ ความพยายามออกเสียง ๔

4 ๑. สนธกิ ัณฑ์ สัญญาวิธาน อกั ขรสุติ สันธวิ ิธาน สนธิ​กัณฑ์ ว่าด้วยเนื้อหาที่ควรศึกษาให้เข้าในในเบื้องต้น ๓ ตอน คือ (๑) สัญญาวิธาน วธิ เี รียกชอื่ อักษร (๒) อกั ขรสุติ วิธอี อกเสยี งอักษร (๓) สันธิวธิ าน วิธตี ่ออักษรใหเ้ ป็นบท ๑.๑. สัญญาวิธาน วิธกี ารเรียกชอ่ื อักษร อักขระ หรอื อกั ษร แปลวา่ ไม่หมด ไม่สนิ้ แมจ้ ะมีจําานวนเพียง ๔๑ ตัว กใ็ ชแ้ สดงอรรถได้เร่ือยไป ไม่หมดสิน้ จงึ เรียกว่า “อกั ขระ” หรือ “อักษร” และเรยี กวา่ “วัณณะ” “การะ” บา้ ง สญั ญา แปลวา่ ช่ือ เหมือนกบั คำ�วา่ สมญฺา อาขยฺ า อภิธาน นาม อวฺหย นามเธยยฺ อธิวจน เปน็ ตน้ , วธิ าน แปลว่า วิธีการ, เมื่อรวมเขา้ กนั เป็น สญั ญาวธิ าน จึงแปลว่า วิธีการเรยี กชอื่ หรอื การเรยี กช่ือ ตาม อักขรวิธีท่จี ะกลา่ วตอ่ ไป สญั ญาวธิ าน วธิ กี ารตา่ งๆ เกี่ยวกบั อักษรภาษาบาลี เชน่ วธิ ีก�ำ หนด จ�ำ นวนอกั ษร วธิ แี บง่ อกั ษรทป่ี ระเภทอกั ษรทอี่ อกเสยี งไดแ้ ละไมไ่ ด้ วธิ อี อกเสยี ง อักษร วธิ ีเรยี กช่อื อกั ษร วธิ กี ารอา่ นและการเขยี นอกั ษร วธิ ีต่ออักษร และวิธี ซ้อนอกั ษรเหมอื นกันหรอื ไม่เหมือนกัน เปน็ ตน้ อกั ขระ ๔๑ ตวั อกั ขระ คืออ​ักษร​ในภ​ าษา​ลี มี ๔๑ ตวั แบง่ อ​อกเ​ป็น ๒ ประเภท คือ ๑. สระ คอื ​อกั ษร​ทีเ​่ ป็น​เสยี ง อ่าน​ออก​เสยี งไ​ด้ จึง​เรียกว​่า “สระ” และ​ เปน็ ​ท่ี​อาศยั ​ของ​พยัญชนะใ​หอ้ า่ นออก​เสียง​ได้ดว้ ย จงึ เ​รยี กว​า่ “นิสสย​ะ” มี ๘

ส�ำ หรับนักศึกษาใหม ่ 5 ๑.๑. สญั ญาวิธาน ตวั ๘ เสยี ง ได้แก่  อ อา  อิ อี  อุ อู  เอ โอ ๒. พยัญชนะ คอื อ​ักษร​ที​่มีเนื้อค​วามปรากฎ​ ​ท�ำ เ​น้ือ​ความ​ทซี่​่อน​อยู่ใ​ห​้ ปรากฏออกมา จงึ ​เรียกว​่า “พยัญชนะ” การอ่าน​ออกเ​สยี ง​ยัง​ต้อง​อาศัย​เสยี ง​ ของส​ระ จงึ เ​รยี กว​า่ “นิสส​ติ​ะ” มี ๓๓ ตวั ไดแ้ ก่ ก ข ค ฆ ง,  จ ฉ ช ฌ ,  ฏ € ฑ ฒ ณ,  ต ถ ท ธ น, ป ผ พ ภ ม,  ย ร ล ว ส ห ฬ อํ (​พยญั ชนะอ​าศยั ​เสียงส​ระ อ จงึ ​เขยี นอ​ยา่ งน​ี)้ สระ ๘ ตัว สระ ๘ ตัว แบง่ ออกเป็น ๒ อย่าง คอื ๑. รสั สสระ สระท่ีออกเสยี งส้นั มี ๓ ตัว คือ อ อิ อุ ๒. ทฆี สระ สระออกเสียงยาว มี ๕ ตัว คือ อา อี อู เอ โอ พยญั ชนะ ๓๓ ตวั พยญั ชนะ ๓๓ ตวั แบ่งออกเปน็ ๒ อย่าง คือ ๑. พยัญชนะ​วรรค  คือ​พยัญชนะ​ที่​ถูก​จัด​ไว้​ใน​กลุ่ม​เดียวกัน โดย​จัด​ อักษรท​ ​่ีมี​การอ​อกเ​สียง​อาศัย​ฐาน กรณ์ ปยต​นะ เดียวกนั เขา้ ​เป็นก​ลุม่ เ​ดยี วกัน จึง​เรยี ก​ว่า “วรรค” มี ๒๕ ตัว จดั เ​ป็น ๕ วรรค วรรค​ละ ๕ ตวั ดังน้ี ก ข ค ฆ ง เรียกว่า กวรรค เพราะมี ก อกั ษรเปน็ หัวหนา้ จ ฉ ช ฌ  เรียกวา่ จวรรค เพราะมี จ อักษรเป็นหวั หน้า ฏ € ฑ ฒ ณ เรยี กวา่ ฏวรรค เพราะมี ฏ อกั ษรเปน็ หวั หน้า ต ถ ท ธ น เรียกว่า ตวรรค เพราะมี ต อกั ษรเปน็ หวั หนา้ ป ผ พ ภ ม เรียกว่า ปวรรค เพราะมี ป อกั ษรเปน็ หวั หนา้ ๒. พยัญชนะอ​​วรรค คือพยญั ชนะท​ ​ี่ไมถ่​ูกจ​ดั ไ​ว้​ในกลมุ่ ​เดยี วกัน เพราะ​ ออกเ​สยี ง​โดยอ​าศัย​ฐาน กรณ์ ปยต​นะ แยกก​ัน จงึ ​เรยี กว​่า “อว​รรค” มี ๘ ตวั คอื ย ร ล ว ส ห ฬ อ ํ (นคิ หติ อาศัยสระ อ จึงอา่ นว่า องั )

๑. สนธิกณั ฑ์ 6 บาลไี วยากรณ์เบื้องตน้ อกั ษรบาลี ๔๑ สระ ๘ พยญั ชนะ ๓๓ รสั สสระ ๓ ทฆี สระ ๕ พยัญชนะวรรค ๒๕ พยญั ชนะอวรรค ๘ ๑.๒. อักขรสตุ ิ วธิ ีออกเสียงอกั ษร อักขรสุติ แปลวา่ เสียงของอกั ษรภาษาบาลี ๔๑ ตัว ผสู้ วดจะเปล่ง เสยี งออกมาได้ ต้องอาศยั ฐาน กรณ์ และปยตนะ ดจุ เสียงระฆงั จะดังขน้ึ ได้ ต้องอาศัยฐานคือตัวระฆัง กรณ์คือลูกตุ้มหรือฆ้อนสำ�หรับตี และปยตนะคือ ความพยายามของผตู้ ี นักศึกษาผู้มีเวลาน้อย ประสงค์ศึกษาโดยย่อ ให้ข้ามหัวข้อ ฐาน ๖ กรณ์ ๔ ปยตนะ ๔ สิถลิ ะ ธนติ ะ โฆสะ อโฆสะ วิมุตตะ ไปก่อน และไป ศกึ ษาต่อทห่ี วั ขอ้ การอา่ นและการเขยี น สว่ นผู้ประสงคศ์ กึ ษาครบถว้ นด้วย อรรถและพยญั ชนะ ควรศึกษาให้ครบทุกหัวขอ้ ไปตามล�ำ ดบั ฐาน ๖ ฐาน คือทต่ี ั้งท่เี กดิ ของเสยี งอกั ษร มี ๖ คอื ๑. กัณฐฐาน ลำ�คอ เป็นที่ต้ังที่เกดิ ของเสียง ๒. ตาลุฐาน เพดานปาก เปน็ ที่ตัง้ ทเ่ี กิดของเสียง ๓. มทุ ธฐาน ปมุ่ เหงือกบน เป็นทต่ี ง้ั ทเ่ี กิดของเสียง ๔. ทันตฐาน ฟนั เปน็ ท่ีต้งั ท่เี กิดของเสยี ง ๕. โอฏฐฐาน ริมฝปี าก เป็นที่ตง้ั ท่ีเกดิ ของเสยี ง ๖. นาสกิ าฐาน โพรงจมูก เปน็ ท่ีตงั้ ท่เี กิดของเสยี ง

ส�ำ หรบั นกั ศกึ ษาใหม ่ 7 ๑.๑. สัญญาวิธาน จำ�แนกอักษร ๔๑ ตวั โดยฐาน ๖ อ อา ก ข ค ฆ ง ห เกดิ ท่ีกัณฐฐาน (กลอ่ งเสียงในลำ�คอ) อิ อี จ ฉ ช ฌ  ย เกิดที่ตาลฐุ าน (เพดานปาก) ฏ € ฑ ฒ ณ ร ฬ เกดิ ทีม่ ทุ ธฐาน (ปุ่มเหงือกบน) อุ อู ป ผ พ ภ ม เกิดท่ีโอฏฐฐาน (ริมฝีปาก) เอ เกดิ ทีก่ ัณฐ+ตาลุฐาน (คอและเพดานปาก) โอ เกดิ ท่ีกณั ฐ+โอฏฐฐาน (คอและรมิ ฝปี าก) ว เกดิ ท่ีทันต+โอฏฐฐาน (ฟนั และรมิ ฝีปาก) อ ํ เกิดทนี่ าสิกาฐาน (โพรงจมกู ) ง  ณ น ม เกดิ ทส่ี ก+นาสกิ าฐาน (ฐานเดมิ และโพรงจมกู ) อักษรบางตัวเกดิ จากฐานเดยี ว เรยี กว่า เอกชะ อักษรบางตัวเกิดจาก ๒ ฐาน เรียกวา่ ทวิชะ กรณ์ ๔ กรณ์ คืออวัยวะทไี่ ปกระทบกับฐานทำ�ให้เสยี งเกิดข้ึน มี ๔ คือ ๑. ชวิ หา​มชั ฌ​กรณ ์ กลาง​ลน้ิ กระทบก​บั ต​าลฐ​ุ านท​�ำ ให​เ้ สยี งเ​กดิ ​ขน้ึ ๒. ชวิ โหปคั ค​กรณ ์ ใกล​ป้ ลายล​น้ิ กระทบก​บั ม​ทุ ธ​ฐาน​ท�ำ ให​เ้ สยี งเ​กดิ ​ขน้ึ ๓. ชวิ หคั คก​รณ ์ ปลาย​ลน้ิ ​กระทบ​กบั ​ทนั ตฐ​าน​ท�ำ ใหเ​้ สยี งเ​กดิ ​ขน้ึ ๔. สกฐ​านก​รณ ์ ฐาน​ของ​ตน กระทบก​บั ฐ​านข​องต​นท​�ำ ใหเ​้ สยี งเ​กดิ ข​น้ึ จำ�แนกอกั ษร ๔๑ ตวั โดยกรณ์ ๔ ๑. กลางลิ้น ท�ำ ใหเ้ กิดเสียง อิ อี เอ จ ฉ ช ฌ  ย ๒. ใกลป้ ลายล้ิน ทำ�ให้เกดิ เสยี ง ฏ € ฏ ฑ ฒ ณ ร ฬ ๓. ปลายลิ้น ทำ�ใหเ้ กิดเสียง ต ถ ท ธ น ล ว ส ๔. ฐานของตน ท�ำ ใหเ้ กิดเสียง อ อา อุ อู เอ โอ ก ข ค ฆ ง ป ผ พ ภ ม ว ห อํ

๑. สนธิกัณฑ์ 8 บาลีไวยากรณเ์ บ้ืองตน้ นักศึกษา​ควร​ฝึก​ออก​เสียง​อักษร​ทุก​ตัว โดย​พยายาม​ให้​กรณ์​ไป​กระทบ​ กับฐ​านข​องอ​กั ษรต​ัวน​้ันๆ ตาม​ท่​ีจ�ำ แนก​ไว​้ ให​้ถูก​ตอ้ ง​หรือใ​กล้​เคยี งม​าก​ท่สี ดุ ปยตนะ ๔ ปยตนะ คอื ความพยายามในการเปล่งออกเสียง มี ๔ คือ ๑. สงั วุตปยตนะ ความพยายามปดิ ฐานเปลง่ เสียง ๒. ววิ ฏปยตนะ ความพยายามเปิดฐานเปล่งเสยี ง ๓. ผฏุ ฐปยตนะ ความพยายามกระทบฐานหนักเปล่งเสยี ง ๔. อีสงั ผุฏฐปยตนะ ความพยายามกระทบฐานเบาเปล่งเสียง จำ�แนกอกั ษร ๔๑ ตัว โดยปยตนะ ๔ ๑. ปดิ ฐาน เปล่งเสียง อ อ ํ (นิคหิต) ๒. เปิดฐาน เปลง่ เสยี ง อา อิ อี อุ อู เอ โอ ส ห  ํ (อํ อึ อํุ) ๓. กระทบฐานหนัก เปล่งเสียงพยัญชนะวรรคท้ัง ๒๕ ตัว คือ ก ข ค ฆ ง, จ ฉ ช ฌ , ฏ € ฑ ฒ ณ, ต ถ ท ธ น, ปผพภม ๔. กระทบฐานเบา เปล่งเสยี ง ย ร ล ว ฬ สิถลิ ะ ธนติ ะ โฆสะ อโฆสะ วมิ ุตตะ อักษรบ​ าลี ๔๑ ตวั ​นัน้ เฉพาะ​พยญั ชนะ ๓๓ ตัว มี​การอ​อกเ​สียงต​า่ งก​นั บางต​ัวอ​อกเ​สียงอ​่อน (นมุ่ ) บาง​ตัว​ออก​เสยี ง​แข็ง (กระด้าง) บาง​ตัวอ​อกเ​สียง​ ก้อง​กังวาล บาง​ตัว​ออก​เสียง​ไม่​ก้อง​กังวาล บาง​ตัว​ออก​เสียง​ทั้ง​อ่อน​ท้ัง​กังวาล เป็นต้น จ�ำ แนก​ไดด​้ งั น้ี จำ�แนกพยัญชนะ ๓๓ ตวั โดยสถิ ลิ ะ ธนติ ะ วมิ ตุ ตะ ๑. สิถิละ พยญั ชนะที่ออกเสยี งออ่ น ได้แก่ พยญั ชนะตวั ที่ ๑ และ ๓ ของวรรคทัง้ ๕ คือ ก ค, จ ช, ฏ ฑ, ต ท, ป พ

สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 9 ๑.๑. สัญญาวธิ าน ๒. ธนิตะ พยัญชนะทอี่ อกเสยี งแขง็ ไดแ้ ก่ พยญั ชนะตัวที่ ๒ และ ๔ ของวรรคท้งั ๕ คอื ข ฆ, ฉ ฌ, € ฒ, ถ ธ, ผ ภ ๓. วมิ ุตตะ พยัญชนะท่ีออกเสียงพ้นจากเสียงสิถิละและธนิตะ ได้แก่ พยัญชนะตวั ท่ี ๕ ของวรรคทง้ั ๕ และพยัญชนะอวรรค ท้งั หมด คอื  ง  ณ น ม, ย ร ล ว ส ห ฬ อํ  จำ�แนกพยญั ชนะ ๓๓ ตวั โดยโฆสะ อโฆสะ วมิ ุตตะ ๑. โฆสะ พยัญชนะที่ออกเสียงกังวาล ได้แก่ พยัญชนะตวั ท่ี ๓, ๔ และ ๕ ของวรรคทงั้ ๕ คอื ค ฆ ง, ช ฌ , ฑ ฒ ณ, ท ธ น, พ ภ ม  และพยญั ชนะอวรรค ๖ ตัว คือ ย ร ล ว ห ฬ ๒. อโฆสะ พยัญชนะท่ีออกเสียงไม่กังวาล ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑ และ ๒ ของวรรคท้งั ๕ คือ ก ข, จ ฉ, ฏ €, ต ถ, ป ผ และ พยัญชนะอวรรค ๑ ตัว คอื ส ๓. วิมตุ ตะ พยัญชนะท่ีออกเสียงพ้นจากความเป็นโฆสะและอโฆสะ ได้แก่ อ ํ (นคิ หิต) การอ่านและการเขยี น การ​อ่าน อักษรบ​ าลี ๔๑ ตวั น​นั้  สระ ๘ ตวั  อา่ น​ออก​เสียงไ​ด้เ​ลย​ วา่  อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ, สว่ น​พยัญชนะ ๓๓ ตวั อา่ นอ​อกเ​สยี งยงั ​ไม่​ได้ ต้อง​อาศัยส​ระ​จึงอ​่าน​ออกเ​สียง​ไดว้​่า ก กา กิ กี กุ กู เก โก เป็นตน้ , เฉพาะ  ํ (นค​ิ หิค) นัน้ อาศยั ​รสั สระ อ อิ อ ุ ๓ ตัวเ​ทา่ น้ัน จึงอ​า่ นอ​อกเ​สียง​ได้ว​า่ อํ อึ อุํ, พยัญชนะท่ียงั ไ​ม่อาศยั สระ​จะม​​จี ุด​อย่​ูขา้ ง​ลา่ ง ให้​อา่ นเ​ป็นส​ะกด กลำ้� หรือ​สะกดค​วบก​ลำ้� ตาม​หลกั พ​ ยัญชนะ​สังโยคใ​นบ​ ท​ท่ี ๕ เชน่ จกกฺ ํ  (จกั ก​งั ) ภิกฺขุ (ภิกข)ุ พฺรหฺ​มา (พร​ฺ ะ-หฺ​มา) ตสฺ​มา (ตัสมฺ​า) เปน็ ตน้

๑. สนธกิ ณั ฑ์ 10 บาลีไวยากรณเ์ บอื้ งต้น การ​เขียน  ภาษาบาล​เี ป็น​ภาษาท​ ี่​เข้า​ได้​กับ​ทุก​ภาษา ประเทศท​่ีรับ​เอา​ ภาษา​บาลี​ไป​ศึกษา ก​็จะใ​ช​้อกั ษร​ของ​ตน​เขียน​ใ​ห​้ออก​เสยี ง​เหมือน​หรือ​ใกล​้เคยี ง​ กบั ภาษาบ​าลม​ี ากท​สี่ ดุ แมป​้ ระเทศไทยเ​ราก​เ​็ ชน่ ก​นั เมอ่ื ร​บั เ​อาภ​าษาบ​าลม​ี าใชใ้ น ภาษาไทย กใ​็ ชอ้​ักษรไ​ทยแตล่ ะยคุ เ​ขียนเ​พื่อให้อ่านออกเสียงตรงกับอ​ักษรภ​ าษา บาลี จงึ ​จ�ำ แนกก​ารเ​ขียนได้ ดงั นี้ สระเขียนได้ ๒ แบบ ๑. สระ​ลอย สระล​ว้ นๆ ที่ย​ังไ​ม่ม​ีพยญั ชนะป​ ระกอบ คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๒. สระ​จม สระ​ท​ีใ่ ช​ป้ ระกอบก​บั ​พยญั ชนะ คือ - -า -ิ -ี -ุ -ู เ- โ- เวลาเขยี นสระจม ตวั อ ที่อยใู่ นสระทัง้ ๘ ตวั จะไม่ ปรากฏ เหมอื นหายไป เหลอื เพยี ง - -า อยหู่ ลงั พยญั ชนะ, -ิ -ี อยู่บน, -ุ -ู อยูล่าง, เ- โ- อยู่หน้า พยัญชนะเขยี นได้ ๒ แบบ ๑. พยญั ชนะลว้ นๆ ทีย่ ังไมไ่ ด้ประกอบกบั สระ ให้เตมิ จุด (-ฺ) ไวข้ า้ งล่าง เพื่อแสดงความไมม่ สี ระ เขียนดงั นี้ กฺ ขฺ คฺ ฆฺ งฺ เป็นต้น ๒. พยัญชนะทป่ี ระกอบกบั สระแลว้ ใหเ้ ขยี นดังน้ี ก กา กิ กี กุ กู เก โก เป็นตน้ พยัญชนะสังโยค วธิ ีการซอ้ นพยัญชนะ (เทวฺ ภาวะ) พยญั ชนะส​ังโยค คือ พยัญชนะ ๒ ตวั หรือ ๓ ตัว ซอ้ นก​นั โ​ดยไ​มม่ ี​ สระห​ รือเวน้ วรรคคนั่ ​กลาง การซอ้ นพยัญชนะท่านเรยี กว​า่ “เทวฺ ภ​ าวะ” แต่คน

สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 11 ๑.๑. สญั ญาวิธาน ท่วั ไปมกั ​เรยี กว​า่ ตัว​สะกด​บ้าง ตัวก​ลำ�้ บ​ ้าง และต​ัวส​ะกด​ควบก​ล�ำ้ บ​ ้าง ซง่ึ ม​​ีวธิ ี​ การซ​อ้ น ๒ อยา่ ง คอื ๑. สทสิ เ​ทฺว​ภาวะ ซ้อนต​วั อ​ักษร​ทเี​่ หมอื น​กนั เชน่ กกฺ - จกกฺ ,ํ คฺค - อคฺค,ํ จจฺ - กจิ ​ฺจ,ํ ชฺช - วชชฺ ํ, ญฺ - ปญฺา, ฏฏฺ - วฏฺฏํ, ฑฺฑ - กฑุ โฺ ฑ, ณฺณ - สุว​ณณฺ ,ํ ตตฺ - อตต​ฺ า, ทฺท - สทฺโ​ท, นฺน - อนนฺ ํ, ปปฺ - กปฺป,ํ พฺพ - สพฺพ,ํ มมฺ - กมมฺ ํ, ยฺย - อยฺ​โย, ลฺล - โก​สลฺลํ, สสฺ - อสโฺ ส. ๒. อสทิสเ​ทวฺ ​ภาวะ ซ้อน​ตวั ​อกั ษร​ที่​ไม​เ่ หมือน​กัน เช่น กฺข - ภิกฺข,ุ คฆฺ - อคุ ฺฆ​ต,ิ จฺฉ - ปจฉฺ า, ชฌฺ - สมิชฌฺ ​ต,ุ ฏ€ฺ - อฏฺ€, ฑฺฒ - วฑุ ฺฒ,ิ ตฺถ - อตถฺ​าย, ทธฺ - สทิ ฺธิ, ปผฺ - ปุปฺผ,ํ พฺภ - ลพภฺ ต​ิ, งกฺ - สง​ฺกา, งฺข - กงฺ​ขา, งฺค - องฺคํ, งฺฆ - สงโฺ ฆ, งฺขยฺ - สงฺขฺ​ยา, นฺทรฺ - อนิ ​ฺทรฺ​ยิ ํ. หลกั ก​าร​ซอ้ นพ​ ยัญชนะ พยญั ชนะ​ตัว​ท่ี ๑ ใน​วรรค​ทงั้ ๕ ซ้อนห​ นา้ ​พยญั ชนะ​ตัวท​ ี่ ๑ และ ๒ ใน​ วรรค​ของ​ตน (๑ ซ้อน ๑ ซ้อน ๒) พยัญชนะ​ตวั ท​ ี่ ๓ ใน​วรรค​ท้งั ๕ ซอ้ น​หนา้ พ​ ยัญชนะต​วั ​ที่ ๓ และ ๔ ใน​ วรรค​ของต​น (๓ ซอ้ น ๓ ซอ้ น ๔) พยัญชนะต​วั ท​ ่ี ๕ ใน​วรรค​ทั้ง ๕ เว้น ง ซอ้ นห​ น้าพ​ ยญั ชนะต​วั ท​ ่ี ๑-๒- ๓-๔ และ ๕ ในว​รรค​ของ​ตน (๕ ซ้อน ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ เว้น ง) ส่วน​พยญั ชนะอ​​วรรค ซอ้ น​ตวั ​เอง​และต​วั อ​่ืน​ได​ม้ ี ๔ ตวั คือ ย ล ว ส ท​เี่ หลือซ​อ้ นก​ับต​ัว​อ่นื ​ไดท้​ ั่วไป เช่น อยโ​ฺ ย มลโฺ ล นพิ พ​ฺ านํ (นวิ ฺ​วาน)ํ อสสฺ มยหฺ ํ กล​ฺยาณํ ชิวหฺ​ า อส​มฺ ิ เป็นต้น

๑. สนธิกัณฑ์ 12 บาลไี วยากรณ์เบื้องตน้ ๑.๓. สนั ธิวิธาน วิธกี ารต่ออกั ษร สันธิวิธาน หรือ สนธิ คือวิธีการนำ�เอาอักษรของบทหรือศัพท์ ๔ ประเภท คือ นาม อาขยาต อปุ ส​ัค และ นบิ าต มาต​่อใ​ห้ตดิ กันอยา่ งถกู วธิ ี การต่ออักษร ๘ วธิ ี การต่ออกั ษร คอื วิธกี ารต่ออักษรของบท ๘ วธิ ี ดังคาถาว่า โลปาเทโส จ อาคโม วิกาโร ปกตปี ิ จ ทีโฆ รสฺโส สญโฺ โคติ สนฺธเิ ภทา ปกาสติ า. ประเภทแหง่ วิธกี ารต่อสนธิ ทา่ นแสดงไว้ ๘ วธิ ี คือ ๑. โลปะ (โล) ลบสระ พยัญชนะ นคิ คหิต ๒. อาเทสะ (อา) อาเทศ หรือแปลงสระ พยัญชนะ นิคคหิต ๓. อาคมะ (อา) ลงอาคม หรอื ลงสระ พยัญชนะ นคิ คหติ ๔. วิการะ (ว)ิ วกิ าร วปิ ริต หรอื ท�ำ ให้ต่างจากสระเดิม ๕. ปกติ (ป) ปรกติไว้ ไมเ่ ปลย่ี นแปลง ๖. ทีฆะ (ที) ทำ�สระเสยี งสน้ั ใหย้ าว ๗. รสั สะ (ร) ท�ำ สระเสียงยาวใหส้ ้ัน ๘. สัญโญคะ (สํ) ซอ้ นพยญั ชนะ (ตามหลักพยญั ชนะสงั โยค) ประโยชนข์ องสนธิ ๓ เมื่อต่อสนธิให้ถูกต้องตามวิธีแลว้ จะได้ประโยชน์ ๓ ประการ คอื ๑. ทำ�ให้อกั ษรและเสยี งของอักษรลด​น้อยล​ง ๒. ท�ำ ให้มคี รแุ ละลหตุ รงตาม​ฉนั ทลกั ษณ์ ๓. ทำ�ใหค้ ำ�พ​ ูด​สละส​ลวย อ่านง่าย สวดงา่ ยขน้ึ

ส�ำ หรับนักศึกษาใหม ่ 13 ๑.๑. สญั ญาวธิ าน วิธเี รยี กช่อื อักษร วธิ ีออกเสียงอักษร และวธิ ีต่ออักษร ล้วนเปน็ วิธเี ก่ยี ว กับอักษรทมี่ อี ยู่ในบท ๔ อย่าง ต่อไปน้ี บท ๔ ปทํ จตุพฺพิธํ วตุ ฺตํ นามาขฺยาโตปสคคฺ ญจฺ นปิ าตญฺจาติ วญิ ญฺ หู ิ อสฺโส ขลวฺ าภธิ าวต.ิ ผู้รกู้ ล่าวว่า บทมี ๔ อยา่ ง คือ ๑. นาม เชน่ อสฺโส มา้ ๒. อาขยาต เชน่ ธาวติ วิง่ ๓. อปุ สคั เชน่ อภิ เรว็ ยิ่ง ๔. นบิ าต เชน่ ขลุ ทราบมาว่า ๑. นาม หมายถงึ บทหรอื ค�ำ ทนี่ อ้ มไปสเู่ นอื้ ความทเ่ี ปน็ สภาวะ ลกั ษณะ และอาการ มีแสดงไว้ใน (๑) นามกณั ฑ์ (๒) สมาสกัณฑ์ (๓) ตทั ธติ กณั ฑ์ (๔) กติ กัณฑ์ ๒. อาขยาต หมายถึง คํากริ ิยาอาขยาต มแี สดงไวใ้ นอาขยาตกณั ฑ์ ๓. อปุ สัค หมายถึง คาํ ทีป่ ระกอบอยู่หน้าคำ�นามและคำ�กิรยิ า เพือ่ ปรงุ นามและกิริยาใหม้ ีอรรถพเิ ศษขึน้ มีแสดงไวต้ อนทา้ ยในนามกณั ฑ์ ๔. นบิ าต หมายถงึ คาํ อพั ยยศพั ทท์ ไี่ มเ่ ปล่ียนรปู ซ่งึ ตกแทรกลงไปใน ระหว่างนามและกิรยิ า มแี สดงไว้ในนามกัณฑ์ บทสนธิ ๒ บทสนธิ คอื บททจี่ ะท�ำ การต่อสนธิ มี ๒ อย่าง ๑. บททมี่ ีวภิ ตั ตแิ ยกกัน (นอกสมาส) เชน่ จตตฺ าโร อิเม ตอ่ เปน็ จตตฺ าโรเม เทฺว อิเม ตอ่ เป็น เทวฺ เม

๑. สนธกิ ัณฑ์ 14 บาลีไวยากรณ์เบื้องตน้ ๒. บทที่มวี ภิ ตั ตริ วมกัน จะลบหรอื ไม่ลบวภิ ัตตกิ ไ็ ด้ (ในสมาส) เชน่ นลี อปุ ฺปลํ ตอ่ เป็น นลี ปุ ปฺ ลํ โสต อาปนโฺ น ต่อเปน็ โสตาปนฺโน อักษรสนธิ ๓ อักษรสนธิ คืออกั ษรที่จะนำ�มาต่อเปน็ สนธมิ ี ๓ อยา่ ง คอื ๑. สรสนธ ิ การต่อสระกับสระ ๒. พยัญชนสนธ ิ การตอ่ พยัญชนะกับสระหรือกับพยญั ชนะ ๓. นิคคหีตสนธ ิ การตอ่ นิคหิตกับสระหรอื กับพยญั ชนะ ๑.๓.๑. สรสนธิ สรสนธ ิ การต่อสระกับสระ มี ๗ วิธี คือ โลปะ อาเทสะ อาคมะ วิการะ ปกติ ทฆี ะ รสั สะ (เว้น สญั โญคะ) ๑. โลปะ ลบสระ มี ๒ วธิ ี ๑.๑. ลบสระหนา้ เช่น ยสสฺ อินทฺ ฺรยิ านิ เปน็ ยสฺสินฺทรฺ ิยานิ มาตุ อุปฏฺ€าน ํ เป็น มาตุปฏ€ฺ านํ ปญฺ า อนิ ฺทริยํ เป็น ปญฺ ินทฺ รฺ ยิ ํ ๑.๒. ลบสระหลงั เชน่ อติ ิ อปิ โส  เป็น อิตปิ ิ โส จกขฺ ุ อินฺทรฺ ิยํ  เป็น จกฺขุนทฺ รฺ ิยํ จตตฺ าโร อเิ ม  เปน็ จตฺตาโรเม ภควา อติ  ิ เป็น ภควาติ

สำ�หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 15 ๑.๑. สัญญาวธิ าน ๒. อาเทสะ แปลงสระ มี ๒ วธิ ี คือ ๒.๑. อาเทศสระหน้า คือเพราะสระหลงั อาเทศ อิ เอ เปน็ ย, อุ โอ เปน็ ว เชน่ วตุ ฺติ อสสฺ   เป็น วุตฺยสสฺ   (อิ เป็น ย) เต อสสฺ     เป็น ตฺยสสฺ   (เอ เป็น ย) พหุ อาพาโธ  เปน็ พหฺวาพาโธ (อุ เปน็ ว) อถ โข อสฺส  เป็น อถ ขวฺ สฺส  (โอ เปน็ ว) ๒.๒. อาเทศสระหลัง คืออาเทศ เอ ของ เอว ศพั ทท์ อ่ี ยหู่ ลงั ยถา ตถา เป็น ริ บา้ ง แล้วทำ�รสั สะสระหน้า เช่น ยถา เอว  เปน็ ยถรวิ ตถา เอว เป็น ตถรวิ ๓. อาคมะ ลงสระใหม่ มี ๒ วธิ ี คือ ๓.๑. ลงสระ อ คือเพราะพยัญชนะหลงั ใหล้ บสระ โอ หน้าแลว้ ลง สระ อ มาใหมบ่ า้ ง เชน่ โส สีลวา  เป็น ส สลี วา เอโส ธมฺโม เป็น เอส ธมโฺ ม ๓.๒. ลงสระ โอ คือเพราะพยญั ชนะหลงั ให้ลบสระ อ หนา้ แล้ว ลง สระ โอ มาใหมบ่ า้ ง เช่น ปร สตํ  เปน็ ปโรสตํ ปร สหสฺสํ เปน็ ปโรสหสฺสํ ๔. วิการะ ทำ�สระใหต้ า่ งจากเดมิ มี ๒ วิธี คอื ๔.๑. วกิ ารสระหน้า คอื เมอื่ ลบสระหลังแลว้ วิการสระหนา้ คือ อิ เป็น เอ, อุ เปน็ โอ เชน่ มนุ ิ อาลโย  เป็น มเุ นลโย

๑. สนธิกณั ฑ์ 16 บาลีไวยากรณเ์ บื้องตน้ สุ อตฺถิ เป็น โสตฺถิ ๔.๒. วิการสระหลัง คอื เมอื่ ลบสระหนา้ แล้ว วกิ ารสระหลัง คอื อิ เป็น เอ, อุ เปน็ โอ เช่น พนธฺ สุ ฺส อิว  เปน็ พนฺธสุ ฺเสว ยถา อทุ เก   เปน็ ยโถทเก ๕. ปกติ ปรกตสิ ระไวต้ ามเดิม ไม่เปลี่ยนแปลง เชน่ โก อิมํ คงเปน็ โก อมิ ํ ๖. ทีฆะ ทำ�สระเสียงสนั้ ใหย้ าว มี ๒ วิธี คอื ๖.๑. ทฆี ะสระหนา้ คอื เม่อื ลบสระหลงั แล้ว ทำ�ทีฆะสระหนา้ บ้าง เช่น โลกสสฺ อิต ิ เปน็ โลกสสฺ าติ สาธุ อิติ   เป็น สาธูติ ๖.๒. ทีฆะสระหลงั คอื เมือ่ ลบสระหนา้ แลว้ ทำ�ทีฆะสระหลงั บ้าง เช่น พุทธฺ อนสุ ฺสต ิ เปน็ พุทฺธานสุ สฺ ติ อติ อโิ ต  เป็น อตโี ต ๗. รสั สะ ทำ�สระเสยี งยาวใหส้ ้ัน มีวธิ ดี ังนี้ ถ้ามีพยัญชนะหรือ เอว ศัพทอ์ ยูห่ ลงั ให้รัสสะสระหนา้ บ้าง เช่น โภวาที นาม เป็น โภวาทินาม ยถา เอว เปน็ ยถริว ๑.๓.๒. พยัญชนะสนธิ พยัญชนสนธิ  การต่อพยัญชนะกับพยัญชนะ มี ๕ วิธี คือ โลปะ อาเทสะ อาคมะ ปกติ สัญโญคะ (เวน้ วิการะ ทีฆะ รัสสะ)

สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 17 ๑.๑. สัญญาวิธาน ๑. โลปะ ลบพยัญชนะ มี ๑ อย่าง คอื เมื่อลบสระหลงั จากนิคหติ แลว้ ถา้ มีพยญั ชนะเหมอื นกันซ้อนกัน ๒ ตัว ใหล้ บ ๑ ตัว เช่น เอวํ อสสฺ   เป็น เอวํส ปปุ ฺผํ อสฺสา  เปน็ ปุปฺผสํ า ๒. อาเทสะ อาเทศพยญั ชนะ มี ๔ วิธี คอื ๒.๑. เพราะสระหลงั อาเทศ ติ เปน็ จ แล้วซอ้ น จฺ เชน่ อิติ เอวํ  เปน็ อิจเฺ จวํ อิติ อาทิ  เปน็ อิจฺจาทิ เพราะสระหลัง อาเทศ อภิ เปน็ อพฺภ เช่น อภิ อุคฺคจฺฉติ   เปน็ อพฺภคุ คฺ จฉฺ ติ อภิ อกขฺ าน ํ เป็น อพฺภกขฺ านํ เพราะสระหลัง อาเทศ อธิ เปน็ อชฌฺ เชน่ อธิ อคมา   เป็น อชฺฌคมา อธิ โอกาโส เป็น อชโฺ ฌกาโส ๒.๒. เพราะสระหลัง อาเทศ ธ ของ อธิ ที่อยหู่ ลงั จาก เอกํ เปน็ ท เชน่   เอกํ อธิ อห ํ เป็น เอกมิทาหํ ๒.๓. เพราะสระหรือพยัญชนะข้างหลัง อาเทศพยญั ชนะได้ไม่จำ�กดั เชน่ สาธุ ทสสฺ น ํ เปน็ สาหุ ทสฺสนํ (ธ เปน็ ห) ทกุ ฺกตํ   เปน็ ทุกกฺ ฏํ (ต เปน็ ฏ) ปนีตํ   เป็น ปณตี ํ (น เปน็ ณ) ๒.๔. เพราะพยัญชนะหลัง อาเทศ อว เปน็ โอ เช่น อวนทฺธา  เป็น โอนทฺธา

๑. สนธกิ ัณฑ์ 18 บาลไี วยากรณ์เบอ้ื งต้น อวกาโส  เปน็ โอกาโส ๓. อาคมะ ลงพยญั ชนะใหม่ ๙ ตวั  คือ คฺ ยฺ วฺ มฺ ทฺ นฺ ตฺ รฺ ฬฺ (ล)ฺ ค ฺ อาคม เช่น ปา เอว เปน็ ปเคว ยฺ อาคม เชน่ ยถา อทิ ํ เปน็ ยถยทิ ํ ว ฺ อาคม เช่น ติองฺคุล ํ เปน็ ตวิ งคฺ ลุ ํ มฺ อาคม เช่น ลหุ เอสสฺ ติ เป็น ลหุเมสฺสติ ทฺ อาคม เชน่ อุ อคโฺ ค เป็น อทุ คโฺ ค     น ฺ อาคม เช่น อิโต อายต ิ เปน็ อโิ ตนายติ ตฺ อาคม เช่น ยสฺมา อิห เป็น ยสฺมาตหิ ร ฺ อาคม เชน่ นิ อนตฺ รํ เป็น นิรนฺตรํ ฬฺ อาคม เชน่ ฉ อภิญฺ า เป็น ฉฬภิญฺ า ๔. ปกติ ปรกติพยัญชนะไว้ตามเดมิ ไมเ่ ปล่ยี นแปลง เช่น สาธ ุ คงเป็น สาธุ ๕. สญั โญคะ ซอ้ นพยญั ชนะใหม่ มี ๒ วิธี คือ ๕.๑. ซ้อนพยญั ชนะเหมอื นกนั ตามหลักพยัญชนะสังโยค (บทที่ ๕) เชน่ อิธ ปโมทติ   เป็น อิธปปฺ โมทติ อปมาโท     เปน็ อปฺปมาโท วิปยุตโต     เป็น วปิ ฺปยตุ ฺโต ๕.๒. ซ้อนพยัญชนะต่างกนั ตามหลกั พยญั ชนะสงั โยค (บทที่ ๕) เชน่ ปฆรติ      เปน็ ปคฆฺ รติ ป€มฌานํ เปน็ ป€มชฺฌานํ ทภุ กิ ขฺ ํ     เป็น ทุพฺภิกขฺ ํ

สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 19 ๒.๑. ปุงลิงค์ ๑.๓.๓. นิคคหตี สนธิ นิคคหีตสนธ ิ การตอ่ นคิ คหิตกับสระหรือพยัญชนะ มี ๔ วธิ ี คอื โลปะ อาเทสะ อาคมะ ปกติ (เวน้ วิการะ ทีฆะ รสั สะ สัญโญคะ) ๑. โลปะ ลบนคิ หิต มี ๑ อย่าง คือ เพราะสระหรอื พยญั ชนะหลัง ใหล้ บนคิ หิตข้างหนา้ บ้าง เช่น ตาสํ อห ํ เป็น ตาสาหํ อริยสจจฺ านํ ทสฺสน ํ เปน็ อริยสจฺจาน ทสสฺ นํ เอตํ พุทฺธานํ สาสน ํ เปน็ เอตํ พทุ ธฺ าน สาสนํ ๒. อาเทสะ อาเทศนิคหติ มี ๕ อย่าง คอื ๒.๑. เพราะ​พยัญชนะ​วรรค​ข้าง​หลัง อาเทศน​ิคหิต​เป็น​พยัญชนะ​ตัวสุด​ ทา้ ยของวรรค​น้นั ๆ บา้ ง เช่น เอวํ โข   เป็น เอวงโฺ ข ตํ ชาตํ   เปน็ ตญชฺ าตํ ตํ €านํ   เปน็ ตณฺ€านํ ตํ ตโนติ   เปน็ ตนตฺ โนติ ตํ ผลํ   เปน็ ตมฺผลํ ๒.๒. เพราะ เอ หรอื ห ขา้ งหลัง อาเทศนิคหติ เปน็ ญฺ เช่น ตํ เอว   เป็น ตญฺเว ตํ หิ   เป็น ตญฺหิ ๓. เพราะ ย ขา้ งหลัง อาเทศนิคหติ กับ ย เป็น ญฺ แล้วซ้อน ญฺ เช่น สโํ ยโค  เป็น สญฺโโค สํโยชนํ   เป็น สญโฺ ชนํ

๒. นามกัณฑ์ 20 บาลีไวยากรณเ์ บือ้ งตน้ ๔. เพราะ ล ขา้ งหลัง อาเทศนิคหิตเป็น ลฺ เช่น ปลุํ งิ คฺ ํ เปน็ ปลุ ลฺ งิ คฺ ํ ๕. เพราะสระข้างหลงั อาเทศนิคหติ เป็น มฺ และ ทฺ เชน่ ตํ อห ํ เปน็ ตมหํ ยํ อนิจจฺ ํ เปน็ ยทนจิ ฺจํ ๓. อาคมะ ลงนคิ หติ ใหม่ มีวธิ ีดงั นี้ เพราะสระหรอื พยญั ชนะขา้ งหลัง ลงนคิ หิตอาคมไดบ้ ้าง เชน่ จกขฺ ุ อุทปาทิ เป็น จกขฺ ุํ อทุ ปาทิ อวสโิ ร  เป็น อวสํ ิโร ๔. ปกติ ปรกตนิ คิ หติ ไวต้ ามเดมิ ไมเ่ ปล่ยี นแปลง เช่น ธมมฺ ํ จเร  คงเป็น ธมฺมํ จเร เมอื่ รวู้ ธิ เี รยี กชอ่ื อกั ษร วธิ อี อกเสยี งอกั ษร และวธิ ตี อ่ อกั ษรดแี ลว้ ทงั้ หมด ล้วนเปน็ วิธเี กย่ี วกบั อกั ษรท่มี ีอยู่ในบท ๔ อยา่ ง ดงั กล่าวแล้ว (ยอ้ นดหู น้า ๑๓) ตอ่ ไปจะแสดงวิธีของบททั้ง ๔ คือ นาม อปุ สัค นบิ าต และอาขยาต ไปตาม ลำ�ดับ ให้ตรงตามพระไตรปิฎก จบ สนธกิ ัณฑท์ ี่ ๑

21 ๒. นามกณั ฑ์ นาม = ปกติลงิ ค์ + วภิ ตั ตนิ าม นาม คอื คำ�ท่นี อ้ ม​ใจผศู้ กึ ษาไปสู่ความ​หมายทีซ่ ่อนอยใู่ นทพั ​พ​วัตถุอนั เปน็ ตัวจริง และน​้อมค​วาม​หมาย​ของท​ ัพ​พว​ตั ถุ​มาซอ่ น​ไว้ใ​น​ค�ำ น​าม(บัญญตั ิ) มี​ ประโยชน์​ตอ่ ก​ารเ​รยี กช​ือ่ และให้ร้จู กั สภาวะ ลกั ษณะ อาการ ซ่งึ เป็นปกติของ​ คน สัตว์ วัตถุ สง่ิ ของ สถานท​ ี่ ตน้ ไม้ แมน่ �ำ้ ภูเขา ธรรมะ เปน็ ตน้ ท่านเรยี ก วา่ “ปกตลิ ิงค์” นาม หรอื ปกตลิ งิ ค์ มีแหลง่ ท่มี าจากต้นกำ�เนดิ ๓ แหล่ง คอื ๑. สมาส คำ�ทีย่ อ่ นามเขา้ กบั นาม (นาม+นาม) สำ�เร็จเป็นนาม ๒. ตทั ธิต คำ�ทร่ี วมนามเข้ากบั ปจั จัย (นาม+ปัจจยั ) ส�ำ เร็จเป็นนาม ๓. กิต ค�ำ ท่ีรวมธาตุเข้ากับปัจจัย (ธาตุ+ปัจจยั ) สำ�เรจ็ เป็นนาม ปกตลิ งิ ค์ หมายถึง สภาวะ ลักษณะ อาการ ท่ีซอ่ นอยูใ่ นค�ำ นามทมี่ า จาก ๓ แหลง่ น้ี แบง่ เปน็ ๓ ประเภท คือ สุทธ​นาม คณุ นาม และ​สพั พ​ นาม​ คำ�นามที่เป็นปกติลิงค์ แม้จะมีเสียงและเน้ือความก็จริง แต่ยังไม่ตรง ตามพระไตรปิฎก จงึ ตอ้ งลงวิภตั ติ (ดตู ารางหนา้ ๒๙) เพอื่ จำ�แนกเน้อื ความ ของปกตลิ งิ ค์ เพอ่ื ใหไ้ ดเ้ สยี งตรงกบั อกั ษรและสอ่ื เนอ้ื ความตรงตามพระไตรปฎิ ก ๒.๑. สุทธนาม สทุ ธนาม หรือ วเิ สสยนาม หรือ นามนาม คือคำ�นามลว้ นๆ เป็น ชอ่ื ของคน สัตว์ วตั ถุสงิ่ ของ สถานท่ี สภาวธรรม เปน็ ต้น เปน็ บทเดี่ยวหรอื บท หลกั ท่ีควรขยายเนอื้ ความให้พเิ ศษข้ึน มี ๒ อยา่ ง ดงั น้ี ๑. สาธารณ​นาม ชอื่ ​ทว่ั ไป​ไมเ​่ จาะจง​ค​นใ​ด ส่ิงใ​ด หรอื ส​ถาน​ทใ​ี่ ด เชน่ มนุ​สโฺ ส มนุษย์

๒. นามกณั ฑ์ 22 บาลีไวยากรณ์เบอื้ งตน้ ธนํ ทรัพย์ นครํ เมือง ๒. อสาธ​ารณ​นาม ชือ่ ​เฉพาะ​เจาะจง​คน สงิ่ ของ หรอื ​สถานท​ี่ เช่น สา​ร​ปิ ตุ ​ฺโต พระส​าร​​ีบตุ ร สวุ ​ณณฺ ํ ทองค�ำ สาว​ตฺถี เมอื งส​า​วตั ถ​ี สทุ ธนาม มกั มคี �ำ คณุ นามมาขยายลกั ษณะใหพ้ เิ ศษขน้ึ ไดอ้ กี ๒.๒. คณุ นาม คุณนาม หรือ วิ​เส​สนนาม คือ ค​�ำ ข​ยายล​ักษณะ​พเิ ศษข​องส​ทุ ธน​ามให้ รู้​ว่า ดี ชัว่ สงู ตำ่� ด�ำ ขาว ยาว สั้น เป็นต้น มี ๓ ระดบั ดังนี้ ๑. ปกติ คอื คุณนามระดับธรรมดาไมม่ คี วามพเิ ศษอะไร เช่น กุสโล ภิกฺข ุ ภกิ ษผุ ู้ฉลาด ปาโป ปาปปรายโน คนช่วั มงุ่ หาแต่กรรมช่ัว ๒. วเิ ศษ คือ คุณนามระดับพิเศษข้ึนกว่าปกติ จะมี ตร อิย อิสิก-ปัจจยั หรอื มี อติ-อปุ สคั เป็นเครือ่ งหมายของคณุ นามนัน้ เชน่ ปณฺฑิตตโร ฉลาดย่ิง ฉลาดกว่า ปาปโิ ย ปาปิสิโก บาปยิง่ บาปกว่า ๓. อติวเิ ศษ คอื คุณนามระดบั พเิ ศษท่ีสุด จะมี ตม อิฏ€ฺ -ปจั จัย หรือ มี อติวิย-ศัพท์ เปน็ เครอ่ื งหมายของคณุ นามน้ัน เช่น เสยโฺ ย, เสฏโฺ € ประเสรฐิ ทีส่ ุด อติวยิ โสภมาโน งดงามเหลอื เกิน ๒.๓. สพั พนาม สัพพ​ นาม​ คือ​ค�ำ ท​ ​ใี่ ช​แ้ ทนสทุ ธ​นาม​​ทั้งป​ ุงล​ิงค์ อติ ถล​ี งิ ค์ น​ปงุ ​สกล​ิงค์ เหมอื นเป็นคณุ นาม มี ๒๗ ตัว คอื

สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 23 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ สพฺพ กตร กตม, อุภย อิตร อญฺ, อญฺตร อญฺตม, ปุพพฺ ปร อปร, ทกฺ​ขณิ อตุ ฺตร อธร, ย ต เอต อิม อมุ ก,ึ เอก อภุ ท​ฺวิ ติ จตุ, ตุมฺห อมหฺ สัพพนาม ๒๗ ตัว พร้อมคำ�แปล ท่ี สัพพนาม คำ�แปล ๑ สพฺพ ท้ังหมด ทัง้ ปวง ทั้งส้ิน สรรพ ๒ กตร ไหน เปน็ อย่างไร เป็นไฉน อะไรบ้าง ๓ กตม ไหน เปน็ อย่างไร เป็นไฉน อะไรบ้าง ๔ อุภย ทั้งสอง ทง้ั คู่ ๕ อติ ร อื่น อื่นอกี อื่นๆ นอกนี้ ๖ อญฺ อ่นื ๗ อญฺตร อื่น บางอย่าง บางเวลา บางคน คนใดคนหน่ึง ๘ อญฺตม อืน่ บางอยา่ ง บางเวลา บางคน คนใดคนหนง่ึ ๙ ปุพพฺ ก่อน ขา้ งหน้า เบ้ืองหนา้ ตะวนั ออก บรู พะ เคย ๑๐ ปร อื่น ตรงขา้ ม นอกนี้ ๑๑ อปร อื่นอกี ๑๒ ทกฺ​ขณิ เบือ้ งขวา ดา้ นขวา ใต้ ๑๓ อตุ ตฺ ร เบื้องซา้ ย ดา้ นซา้ ย เบอ้ื งบน เหนือ สงู ๑๔ อธร ใต้ ภายใต้ เบ้อื งล่าง ต่ำ� ๑๕ ย ใด ๑๖ ต นน้ั (วเิ สสนะ), เขา มัน (ปุริสะ) ๑๗ เอต น่นั น่ี ๑๘ อมิ นี้ ๑๙ อมุ โน้น

๒. นามกณั ฑ์ 24 บาลไี วยากรณเ์ บอ้ื งต้น ๒๐ กึ อะไร ใคร อย่างไร ไหน ไร ๒๑ เอก หนง่ึ เดียว พวกหนงึ่ บางพวก (สังขยา) ๒๒ อภุ ทั้งสอง ทัง้ คู่ ๒๓ ทฺ​วิ สอง (สงั ขยา) ๒๔ ติ สาม (สังขยา) ๒๕ จตุ สี่ (สงั ขยา) ๒๖ ตมุ ฺห ท่าน เธอ คณุ เจ้า (ปุรสิ ะ) ๒๗ อมฺห เรา ขา้ พเจา้ ผม ฉัน (ปรุ สิ ะ) สัพพนามทั้ง ๒๗ ตวั น้ี แบง่ ออกเ​ป็น ๓ กลุ่ม คือ (๑) ป​ุริสส​ัพพ​ นาม​ (๒) ว​เิ สส​นส​พั พ​ นาม​ (๓) สงั ขยาส​พั พ​ นาม​ (๑) ปุริสสพั พนาม ปุ​ริส​สัพ​พนา​ม คือ​สัพ​พนา​ม​ท่ี​บ่งถึง​บุรุษ ​ใน​การเล่าเรื่องและ​สนทนา มี ๓ บรุ ษุ คือ ๑. ปฐมบ​ ุรษุ ใช้ ต สัพพนาม แปล​ว่า เขา มัน เป็นต้น แทน ​ชือ่ ​คน​หรือ​สงิ่ ​ท่ี​เรา​เอย่ ​ถึง เชน่ โส คามํ คจฺฉต​ิ. เขาไ​ป​บา้ น ๒. มชั ฌิมบ​ รุ ุษ ใช้ ตมุ หฺ สพั พนาม แปลว​า่ ทา่ น เธอ คณุ เจา้ เปน็ ตน้ แทน​ชอ่ื ​คนท​ ​่ีเราพ​ ูด​ดว้ ย เชน่ ตุมเฺ​ห กส​ุ ลํ ก​โรถ. ท่านทั้งหลายจ​ง​พาก​ันท​ ำ�ก​ศุ ล ๓. อุตต​มบ​ รุ ษุ ใช้ อมหฺ สพั พนาม แปลว​า่ เรา ขา้ พเจา้ ผม ฉนั เปน็ ตน้ แทน​ชอื่ ​ตน​เอง เชน่ อหํ ปญจฺ สล​ี าน​ิ สมาท​​ยิ าม​.ิ ขา้ พเจา้ ​สมาทาน​ศลี ๕

ส�ำ หรับนักศึกษาใหม ่ 25 ๒.๑. ปงุ ลิงค์ (๒) วิเสสนสพั พนาม วเิ สสนสพั พนาม คือสพั พนามท่ีใช้แทนและขยายสุทธนามเหมอื นเป็น คุณนาม มี ๒ อยา่ ง ๑. อนยิ มะ คอื วิเสสนสพั พนามที่บอกความไม่แน่นอน มี ๑๓ ตัว คอื สพพฺ ท้งั ปวง, กตร กตม คนไหน อะไรบา้ ง, อภุ ย ทง้ั สอง, อิตร นอกน้,ี อญฺ อื่น, อญฺ ตร อญฺ ตม คนใดคนหนึ่ง สิ่งใดสิ่งหนง่ึ , ปร อ่นื , อปร อ่นื อกี , ย ใด, เอก หนงึ่ พวกหนึง่ , กึ ไหน ไร ๒. นิยมะ คือวิเสสนสพั พนามท่บี อกความแน่นอน มี ๘ ตัว คือ ปุพฺพ ขา้ งหน้า, ทกฺขิณ ดา้ นขวา, อตุ ตฺ ร ดา้ นซา้ ย ด้านเหนอื , อธร ดา้ นล่าง ภายใต้, ต น้ัน, เอต นน่ั , อิม น,้ี อมุ โน้น  (๓) สังขยาสพั พนาม สังขยาสพั พนาม คอื สัพพนามท่ใี ช้นบั จ�ำ นวนสทุ ธนาม มี ๕ ตวั คอื เอก หนึ่ง, อุภ ท้ังสอง, ทฺวิ สอง, ติ สาม, จตุ สี่ สทุ ธ​นาม คุณนาม และ​สพั ​พนา​ม ทงั้ ๓ ต้องป​ ระกอบด​้วย​ลิงค์ การันต์​ วภิ ัตติ และวจนะ จึงส​ามารถ​นำ�ไ​ป​ประกอบใ​นป​ ระโยค​ต่างๆ ได้ เช่น มนส​ุ ฺโส, สา​ร​ปิ ตุ ฺ​โต, สุนทฺ ​โร, สพโฺ​พ, โย, โส, ตวฺ ํ, อหํ เป็นต้น ลิงค์ การันต์ วภิ ตั ติ และวจนะ ทั้ง ๔ น้ี จะประกอบรวมอยใู่ นสุทธนาม คณุ นาม และสพั พนาม ๒.๔. ลิงค์ ลิงค์ หรอื ปกตลิ งิ ค์ คอื เนื้อค​วามทบ่ี ง่ ถงึ ส​ภาวะ ลกั ษณะ และ​อาการ อัน​ซ่อน​อยู่​ใน​คำ�​ปกติ​ลิงค์หรือ​ในคำ�​นามท่ีเป็น​ศัพท์​เดิม​ ซึ่งยัง​ไม่​ประกอบ​ด้วย วิภตั ติ มี ๓ อย่าง คอื ๑. ปุง​ลิงค์ สภาวะ ลกั ษณะ อาการทซ่ี อ่ นอยู่ ร​ู้ได​้ง่าย​เหมอื น​

๒. นามกณั ฑ์ 26 บาลีไวยากรณเ์ บ้อื งตน้ ผชู​้ าย เรยี กวา่ ปุงลิงค์ ๒. อติ ถ​ีลิงค์ สภาวะ ลักษณะ อาการท่ซี อ่ นอยู่ รไ​ู้ ด้​ยาก เหมือน​ ผู​้หญิง เรียกวา่ อติ ถลี ิงค์ ๓. น​ปงุ ​สกล​งิ ค์ สภาวะ ลักษณะ อาการท่ีซ่อนอยู่ รู้​ได้​ไม่​ง่าย ​ไม่​ ยาก เรียกวา่ นปงุ สกลงิ ค์ ลิงค์ ๒ ประเภท ลงิ ค์อนั เป็นเนอ้ื ความทีซ่ อ่ นอยูใ่ นค�ำ นามนั้น มี ๒ ประเภท ๑. ลงิ ค์โดยชาติกำ�เนดิ คือ ค�ำ นามทบี่ ง่ ลิงคต์ ามปกติของตวั จรงิ เชน่ ปุรโิ ส ชาย เป็นปุงลิงค์ อติ ฺถี  หญงิ เปน็ อิตถีลงิ ค์ จติ ตฺ ํ  จิต  เป็นนปงุ สกลิงค์ ๒. ลงิ ค์โ​ดยส​มมติ คอื ค�ำ น​ามท​ ​ี่บง่ ลงิ ค์​ตาม​สมมุติ​ขน้ึ เชน่ ทาโร ภรรยา  เปน็ ปุงลงิ ค์ ป€ว ี แผน่ ดนิ เปน็ อติ ถีลงิ ค์ จำ�แนกนาม ๓ โดยลิงค์ ๓ ๑. สทุ ธน​าม บาง​ศพั ทเ​์ ปน็ ​ล​งิ ค​เ์ ​ดยี ว เช่น ปรุ ิโส ชาย  เป็นปุงลิงคอ์ ยา่ งเดียว อิตถฺ ี หญิง  เปน็ อิตถลี งิ ค์อยา่ งเดียว จติ ตฺ ํ จิต     เป็นนปงุ สกลงิ คอ์ ย่างเดียว บางศพั ทเ์ ป็นได้ ๒ ลิงค์ เชน่ ราชา พระราชา เปน็ ปงุ ลิงค์ ศัพท์เดียวกนั ราชนิ ี พระราชนิ  ี เปน็ อติ ถีลิงค์ โพธิ  โพธกิ มุ าร เปน็ ปุงลงิ ค์ โพธิ  โพธิญาณ เปน็ อิตถีลิงค ์ ศัพท์เดยี วกัน

สำ�หรับนกั ศกึ ษาใหม ่ 27 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ ทิวโส ทิวส ํ วนั   เปน็ ปงุ ลงิ คแ์ ละนปงุ สกลงิ ค์ ๒. คณุ นามและสัพพนาม เป็นได้ทั้ง ๓ ลงิ ค์ เพราะตอ้ งเปลีย่ นลิงคไ์ ป ตามสุทธนามทตี่ นขยายและใช้แทน เชน่ กลยฺ าโณ ปรุ ิโส บรุ ษุ ด ี เป็นปงุ ลงิ ค์ กลยฺ าณี อิตฺถ ี หญงิ ดี  เป็นอติ ถีลิงค์ กลฺยาณํ จิตฺตํ จิตด ี เป็นนปุงสกลงิ ค์ โส ปรุ โิ ส บุรุษคนนน้ั เปน็ ปุงลิงค์ สา อิตฺถี หญงิ คนน้นั เป็นอิตถลี งิ ค์ ตํ จิตฺตํ จิตดวงน้นั เปน็ นปงุ สกลิงค์ ๒.๕. การันต์ การันต์ คือสระท่ีเป็นเสียงสุดท้ายของปกติลิงค์ มี ๗ การันต์ คือ อ อา อิ อี อุ อู โอ (เวน้ เอ) จำ�แนกลิงค์ ๓ โดยการันต์ ๗ ๑. ปงุ ลิงค์ มีการันต์ ๗ คอื   อ อา อิ อี อุ อู โอ เช่น ปรุ สิ ชาย เปน็ อการนั ต์ สา   สุนัข เปน็ อาการนั ต์ อคคฺ  ิ ไฟ เป็นอกิ ารันต์ ทณฺฑี ผมู้ ีไมเ้ ท้า เปน็ อีการันต์ ภกิ ฺขุ  ภิกษ ุ เป็นอุการนั ต์ อภิภ ู ผเู้ ป็นใหญ ่ เปน็ อูการันต์ โค  วัว เป็นโอการันต์ ๒. อิตถีลิงค์ มกี ารนั ต์ ๕ คอื   อา อิ อี อุ อู (เวน้ อ โอ) เชน่ กญฺ า สาวนอ้ ย เปน็ อาการันต์

๒. นามกัณฑ์ 28 บาลีไวยากรณเ์ บ้อื งตน้ รตฺติ กลางคืน เปน็ อกิ ารันต์ อติ ฺถี หญิง เป็นอกี ารนั ต์ ยาค ุ ขา้ วยาค ู เปน็ อุการันต์ ชมฺพู  ตน้ หว้า   เปน็ อกู ารนั ต์ ๓. นปงุ สกลิงค์ มีการนั ต์ ๗ คือ อ อา อิ อี อุ อู โอ เช่น จติ ฺต จติ เป็นอการนั ต์ อสฺสทธฺ า ไมม่ ีศรทั ธา เป็นอาการันต์ อฏ€ฺ ิ กระดกู เปน็ อกิ ารันต์ สขุ การี  ทำ�ใหม้ ีสขุ เปน็ อกี ารนั ต์ อาย ุ อาย ุ เป็นอกุ ารันต์ โคตรฺ ภู  ขา้ มโคตร  เป็นอกู ารนั ต์ จติ ตฺ โค  ววั ดา่ ง เป็นโอการนั ต ์ ๒.๖. วิภตั ติ กมมฺ าทวิ เสน เอกตตฺ าทิวเสน จ ลงิ คฺ ตฺถํ วิภชนตฺ ีติ วภิ ตตฺ โิ ย. ค�ำ ศ​พั ทท์ จ​่ี �ำ แนกอ​รรถข​องล​งิ ค​์ (ลงิ คตั ถะ) โดยกรรมและเอกพจนเ์ ปน็ ตน้ ชอื่ ว่า วิภตั ติ วิภัตติ หมายถึง คำ�ศ​พั ทท์ เ่​ี ป็น​เสยี งป​ ระกอบอ​ยท​ู่ ้ายปกตล​ิ งิ ค์​ในน​าม​ กณั ฑ​์ สมาสกัณฑ์ ตัทธิตกณั ฑ์ และกิตกกณั ฑ์ จำ�แนกปกตลิ​งิ ค​์ให​้มีร​ปู แ​ละ​ อรรถต​่างก​ัน ใหเ้ ปน็ การกะ ๖ อย่าง คือ กตั ตุ (อาลปนะ) กัมมะ กรณะ สมั ปทานะ อปาทานะ (สามีสัมพันธะ) และ โอกาสะ เพ่อื ​ให้​มเี​น้ือค​วาม​ สมั พันธ์​กบั บ​ ท​อนื่ ใ​น​ประโยคเดียวกัน มี ๗ ล�ำ ดบั ๑๔ ตัว เปน็ เ​อกพจน์ ๗ พหูพจน์ ๗ ตามตาราง

สำ�หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 29 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ นามวิภตั ติ ๗ ลำ�ดับ ๑๔ ตัว พร้อมคำ�แปล ลำ�ดับวิภัตติ เอก. พห.ุ คำ�แปล ปฐมา (กัตต+ุ กมั มะ) ส ิ โย อันว่า (หรอื ไมแ่ ปล) อาลปนะ (อาลปนะ) สิ โย แนะ่ ดกู ่อน ขา้ แต่ นี่ (หรือไม่แปล) ทุตยิ า (กมั มะ) อํ โย ซึ่ง สู่ ยงั ส้ิน ตลอด กะ เฉพาะ ตตยิ า (กตั ต-ุ กรณะ) นา หิ ด้วย โดย อนั ตาม เพราะ มี ดว้ ยทง้ั จตตุ ถี (สมั ปทานะ) ส นํ แก่ เพือ่ ต่อ ส�ำ หรับ ปญั จมี (อปาทานะ) สมฺ า หิ แต่ จาก กวา่ เหตุ เพราะ ฉัฏฐี (สามีสัมพันธะ) ส นํ แหง่ ของ เมื่อ บรรดา สตั ตมี (โอกาสะ) สมฺ ึ ส ใน ใกล้ ท่ี ครน้ั เมอ่ื ในเพราะ เหนอื บน บรรดา นามวภิ ตั ติเหล่าน้ี มีความส�ำ คัญเป็นอันดับหนง่ึ เพราะเป็นเคร่อื งหมาย ของนามทัง้ หมด จึงควรจ�ำ ไวใ้ ห้ขึ้นใจ ปฐมา กับ อาลปนะ ใช้วภิ ตั ติเดยี วกนั คำ�แปลวิภัตติฝา่ ยพหูพจน์ ให้เพมิ่ คำ�ว่า “ทงั้ หลาย” ดว้ ย ๒.๗. วจนะ วจนะ​ หรอื พ​ จน์ คอื ​วภิ ตั ติที่​บง่ ​จ�ำ นวน​ของสทุ ธน​าม​ให​ร้ ู​้วา่ น​อ้ ยหร​ือ​ มาก มี ๒ วจนะ คอื ๑. เอกวจนะ หรอื เอกพจน์ บง่ จำ�นวนของสุทธนามวา่ หนึง่ เดียว เชน่ ปรุ โิ ส ชายหนง่ึ คน ชายคนเดยี ว อติ ฺถี  หญงิ หน่งึ คน หญิงคนเดียว จติ ตฺ ํ  จติ หน่งึ ดวง จิตดวงเดยี ว ๒. พหุวจนะ หรอื พหพู จน์ บง่ จำ�นวนของสทุ ธนามว่า มากกว่าหน่ึง

๒. นามกณั ฑ์ 30 บาลีไวยากรณเ์ บื้องตน้ เชน่ ปุริสา  ชายหลายคน (ชายท้งั หลาย) อติ ถฺ โิ ย  หญงิ หลายคน (หญิงท้งั หลาย) จิตฺตาน ิ จิตหลายดวง (จติ ทงั้ หลาย) เมอื่ ร​ู้​รายล​ะเอียด​ของ​คำ�น​าม​โดย​ลงิ ค์ การนั ต์ วิภตั ติ และว​จนะแ​ลว้ ต่อ​ ไปจ​ะ​นำ�เ​อา​นาม​ศพั ท​์ท้งั ๓ ลิงค์ ๗ การันต์ ๑๔ วิภัตติ ๒ วจนะ มา​รอ้ ยร​วม​ กัน​ให้​เป็น​ระเบียบ​เหมือน​พวง​มาลา เรียก​ว่า “นาม​สัททป​ทมา​ลา” แปลว่า “รวม​ระเบียบบทข​องน​าม​ศพั ท”์ เพอ่ื ให้งา่ ยต่อการศกึ ษาบทตา่ งๆของคำ�นาม ๒.๘. สัททปทมาลา ระเบียบบทของนามศพั ทต์ ามลำ�ดบั วภิ ตั ติ สทั ทป​ทมาล​า คอื ​วธิ จี​​ำ�แนก​นามศ​พั ท์​ออกเปน็ บทๆ ตามล�ำ ดบั ​วิภตั ติ ๑๔ ตัว รวมไว้ดว้ ยกันอย่างเปน็ ร​ะเบียบ (ถ้า​นับ​อาลปนะด​้วยเ​ปน็ ๑๖ ตวั ) เพื่อ​ ให้​เห็น​รูป​ศัพท์​และ​เน้ือ​ความ​ที่​แตก​ต่าง​กันอยู่ในท่ีเดียวกัน ซึ่งจะมี​ป​ ระโยชน์​ต่อ​ การศึกษาเรยี นรู้ และงา่ ยตอ่ การน​ำ�บทท่ีจ�ำ แนกแลว้ ไปสมั พันธ​์เนอ้ื ​ความ​เขา้ ก​บั ​ บทอ่นื โดยเ​รยี งต​อ่ ​กนั ​ไปต​าม​ลำ�ดับ ลงิ ค์ การันต์ วิภตั ติ และว​จนะ นาม​ศัพท์​ท่ี​เป็น​ลิงค์​และ​การันต์​เดียวกัน มี​การ​จำ�แนก​รูป​ศัพท์​เป็น​แบบ​ เดยี วกัน ซึง่ ​จะ​งา่ ย​ต่อก​าร​ก�ำ หนด​รู้ ศัพท์​ท่ี​สามารถ​นำ�ม​า​จำ�แนก​ด้วย​นาม​วิภัตติ​ได้​น้ัน มี ๓ ประเภทใหญ่ ๗ ประเภทยอ่ ย คือ สมาส​นาม ตทั ธ​ิตนาม ​กิต​ก​นาม สุทธ​นาม คณุ นาม สพั ​พนาม​ และ สงั ขยาน​าม ส่วน​ศัพท์​จ�ำ พวก​อุป​สคั ​และน​ิบาต แม้​จะป​ ระกอบอ​รรถข​อง​วภิ ัตต​ิได​้ ก็​ ประกอบ​ไดเ้​ฉพาะ​บางอ​รรถ จึง​จะไ​มน​่ ำ�ม​า​จ�ำ แนก​ให้​เหน็ เ​ป็น​ตัวอยา่ ง เมือ่ ​เรยี น​ ไป​ถึง​อปุ ​สคั ​และ​นิบาต ก​็จะ​สามารถ​เข้าใจ​ได้​โดย​ไม​่ยาก ตอ่ ​ไป​จะ​ยก​ตัวอย่างก​ารจ​ำ�แนก​นาม​ศพั ท์​ทง้ั ๗ ประเภท ให​้เห็นร​ะเบียบ​ บทอ​ย่าง​ครบถ​ว้ น ตามล​ำ�ดบั ​ลิงค์ การนั ต์ วภิ ตั ติ และ​วจนะ

ส�ำ หรบั นักศกึ ษาใหม ่ 31 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ สัททปทมาลาในปุงลิงค์ (๑) ปงุ ลงิ ค์ อการันต์ ปุรสิ สัททปทมาลา (บรุ ุษ, ชาย) วภิ ตั ติ เอกวจนะ ปุริสา พหุวจะ ปฐมา ปรุ โิ ส อาลปนะ ปุริส ปรุ สิ า ปรุ ิสา ทุติยา ปุริสํ ปุริเส ตตยิ า ปรุ ิเสน ปรุ ิเสหิ ปุริเสภิ    จตตุ ถี ปุรสิ สสฺ (ปรุ ิสาย ปรุ ิสตถฺ ํ)* ปรุ สิ านํ ปญั จมี ปุรสิ า ปุริสมหฺ า ปรุ ิสสมฺ า ปรุ เิ สหิ ปุริเสภิ ฉฏั ฐี ปุรสิ สสฺ ปรุ ิสานํ สัตตมี ปรุ ิเส ปรุ ิสมหฺ ิ ปุริสสมฺ ึ ปรุ ิเสสุ *รปู ว​า่ ป​รุ ​สิ าย ปร​ุ สิ ตถฺ ํ มใ​ี ช​ใ้ นอ​รรถ ตํุ ปจั จยั แปลว​า่ “เพอ่ื ” ศัพท์จำ�แนกตาม พทุ ฺธ พระพทุ ธเจ้า ธมมฺ พระธรรม    สฆํ (สงฆฺ ) พระสงฆ์ โลก โลก อาจรยิ อาจารย์ มนสุ สฺ มนษุ ย์ ปุคฺคล บคุ คล ชน ชน คน นร คน วานร ลิง สีห ราชสีห์ สิงโต สกุณ นก ทารก เด็กชาย รกุ ฺข ตน้ ไม้ ปมาท ความประมาท จาค การสละ โลภ ความโลภ โทส ความโกรธ โมห ความหลง คาม หมู่บ้าน ชนปท ชนบท นคิ ม นคิ ม เปน็ ตน้

๒. นามกัณฑ์ 32 บาลไี วยากรณเ์ บือ้ งต้น (๒) ปงุ ลิงค์ อการนั ต์ มน สทั ทปทมาลา (ใจ) วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา มโน มนา อาลปนะ มน มนา มนา ทุติยา มนํ มเน ตตยิ า มนสา มเนน   มเนหิ มเนภิ จตุตถี มนโส มนสสฺ มนานํ ปัญจมี มนา มนมฺหา มนสฺมา    มเนหิ มเนภิ ฉฏั ฐี มนโส มนสฺส มนานํ สตั ตมี มนสิ มเน มนมฺหิ มนสฺมึ มเนสุ ศพั ทจ์ ำ�แนกตาม มโน วโจ วโย เตโช ตโป เจโต ตโม ยโส อโย ปโย สิโร ฉนโฺ ท สโร อโุ ร รโห อโห. ใจ วาจา วัย เดช ตบะ ใจ ความมดื ยศ เหล็ก น้ำ�นม ศีรษะ ฉนั ท์ สระน�้ำ อก ท่ีลบั วัน (๓) ปุงลิงค์ อการนั ต์ คจฉฺ นฺต สัททปทมาลา (ผู้ไปอยู่) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา คจฺฉํ คจฺฉนฺโต คจฺฉนโฺ ต คจฉฺ นฺตา อาลปนะ คจฺฉํ คจฉฺ คจฺฉา คจฺฉนฺโต คจฺฉนตฺ า ทตุ ิยา คจฺฉนตฺ ํ คจฺฉนฺเต ตตยิ า คจฺฉตา คจฉฺ นเฺ ตน คจฉฺ นเฺ ตหิ คจฉฺ นเฺ ตภิ จตุตถี คจฺฉโต คจฉฺ นตฺ สฺส คจฺฉตํ คจฉฺ นตฺ านํ ปัญจมี คจฉฺ ต​า คจฉฺ นต​ฺ า คจฉฺ นต​ฺ มห​ฺ า คจฉฺ นตฺ ส​มฺ า คจฉฺ นเฺ ตหิ คจฉฺ นเฺ ตภิ ฉัฏฐี คจฉฺ โต คจฺฉนฺตสสฺ คจฺฉตํ คจฺฉนฺตานํ สตั ตมี คจฺฉติ คจฺฉนเฺ ต คจฺฉนฺตมฺหิ คจฉฺ นตฺ สมึ คจฉฺ นเฺ ตสุ

ส�ำ หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 33 ๒.๑. ปงุ ลงิ ค์ ศพั ท์จำ�แนกตาม คจฉฺ ํ มหํ จรํ ติฏ€ฺ ํ ททํ ภญุ ชฺ ํ สุณํ ปจํ ชยํ ชรี ํ วจํ มยี ํ สรํ กุพพฺ ํ ชปํ วช.ํ ผ้ไู ป ผปู้ ระเสรฐิ ผู้เท่ยี วไป ผยู้ นื ผใู้ ห้ ผบู้ ริโภค ผฟู้ ัง ผู้หุง ผชู้ นะ ผู้ชรา ผกู้ ลา่ ว ผ้ตู าย ผู้คดิ ถงึ ผู้กระท�ำ ผสู้ วด ผ้ไู ป (๔) ปุงลงิ ค์ อการนั ต์ ภวนตฺ สัททปทมาลา (ผเู้ จรญิ ) วิภัตติ เอกวจนะ หพวุ จนะ ปฐมา ภวํ โภนโฺ ต ภวนโฺ ต ภวนตฺ า อาลปนะ โภ ภนเฺ ต โภนตฺ โภนตฺ า โภนโฺ ต ภวนโฺ ต ภวนตฺ า ทตุ ยิ า ภวนตฺ ํ โภนฺเต ภวนเฺ ต ตตยิ า โภตา ภวตา ภวนฺเตน ภวนเฺ ตหิ ภวนเฺ ตภิ จตุตถี โภโต ภวโต ภวนฺตสฺส ภวตํ ภวนตฺ านํ ปัญจมี ภวตา ภวนตฺ า ภวนตฺ มหฺ า ภวนตฺ สมฺ า ภวนเฺ ตหิ ภวนเฺ ตภิ ฉัฏฐี โภโต ภวโต ภวนฺตสฺส ภวตํ ภวนตฺ านํ สัตตมี ภวติ ภวนฺเต ภวนตฺ มหฺ ิ ภวนฺตสฺมึ ภวนเฺ ตสุ (๕) ปงุ ลิงค์ อการนั ต์ สนฺต สทั ทปทมาลา (สัตบุรษุ ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา สํ สนฺโต สนฺโต สนฺตา อาลปนะ สํ ส สา สนโฺ ต สนฺตา ทุติยา สนฺตํ สนฺเต ตติยา สตา สนเฺ ตน สนเฺ ตหิ สพภฺ ิ จตุตถี สโต สนตฺ สฺส สตํ สนตฺ านํ ปญั จมี สตา สนฺตา สนตฺ มหฺ า สนฺตสมฺ า สนฺเตหิ สพฺภิ ฉัฏฐี สโต สนฺตสฺส สตํ สนฺตานํ สัตตมี สติ สนฺเต สนตฺ มหฺ ิ สนฺตสฺมึ สนเฺ ตสุ

๒. นามกัณฑ์ 34 บาลีไวยากรณ์เบ้ืองตน้ (๖) ปงุ ลงิ ค์ อการันต์ ราช สัททปทมาลา (พระราชา) วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา ราชา ราชาโน อาลปนะ ราช ราชาโน ทตุ ิยา ราชานํ ราชํ ราชาโน ตติยา รญฺ า ราชูหิ ราชูภิ ราเชหิ ราเชภิ จตตุ ถี รญโฺ  ราชิโน รญฺ ํ ราชนู ํ ราชานํ ปญั จมี รญฺา ราชูหิ ราชูภิ ราเชหิ ราเชภิ ฉัฏฐี รญฺโ ราชิโน รญฺํ ราชนู ํ ราชานํ สัตตมี รญเฺ  ราชินิ ราชูสุ ราเชสุ (๗) ปงุ ลงิ ค์ อการันต์ มหาราช สทั ทปทมาลา (พระมหาราชา) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา มหาราชา มหาราชาโน อาลปนะ มหาราช มหาราชาโน ทตุ ิยา มหาราชํ มหาราเช ตตยิ า มหาราเชน มหาราเชหิ มหาราเชภิ จตุตถี มหาราชสฺส มหาราชานํ ปัญจมี มหาราชา มหาราชมหฺ า มหาราชสมฺ า มหาราเชหิ มหาราเชภิ ฉัฏฐี มหาราชสสฺ มหาราชานํ สตั ตมี มหาราชสฺมึ มหาราเชสุ ศัพท์จำ�แนกตาม เทวราช เทวราช, เทพเจ้า นาคราช  พญานาค มคิ ราช พญาเน้อื หสํ ราช  พญาหงส์ สีหราช ราชสหี ์ ธมมฺ ราช ราชาแห่งธรรม ศพั ทเ์ หลา่ นส้ี ามารถจำ�แนกตาม ราช ศพั ท์ไดด้ ้วย

ส�ำ หรับนักศึกษาใหม ่ 35 ๒.๑. ปงุ ลิงค์ (๘) ปุงลิงค์ อการันต์ อตฺต สทั ทปทมาลา (ตน) วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อตตฺ า อตฺตาโน อาลปนะ อตตฺ อตตฺ าโน ทตุ ยิ า อตตฺ านํ อตฺตํ อตตฺ าโน ตตยิ า อตตฺ นา อตเฺ ตน อตฺตเนหิ อตฺตเนภิ จตตุ ถี อตฺตโน อตฺตานํ ปัญจมี อตตฺ นา อตฺตเนหิ อตฺตเนภิ ฉัฏฐี อตฺตโน อตฺตานํ สัตตมี อตตฺ นิ อตฺเตสุ อตตฺ ศพั ท์ นยิ มใช้ในรปู เอกวจนะ บางคราวก็ใชเ้ อกวจนะควบกนั ๒ ตวั แทนพหุวจนะ เชน่ อตตฺ โน อตตฺ โน ของตนๆ เป็นต้น (๙) ปุงลิงค์ อการนั ต์ พฺรหมฺ สัททปทมาลา (พรหม) วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา พรฺ หฺมา พรฺ หฺมาโน อาลปนะ พฺรหฺเม พรฺ หฺมาโน ทุติยา พฺรหมฺ านํ พฺรหมฺ าโน ตติยา พรฺ หฺมุนา พรฺ หเฺ มหิ พฺรหฺเมภิ จตตุ ถี พรฺ หฺมโุ น พรฺ หมานํ ปญั จมี พฺรหฺมุนา พรฺ หเฺ มหิ พรฺ หฺเมภิ ฉฏั ฐี พฺรหมฺ โุ น พฺรหมฺ านํ สัตตมี พรฺ หฺมนิ พรฺ หฺเมสุ

๒. นามกัณฑ์ 36 บาลีไวยากรณ์เบื้องต้น ปงุ ลิงค์ อาการันต์ สา สทั ทปทมาลา (สุนัข) วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา สา สา อาลปนะ ส สา สา ทตุ ยิ า สํ เส ตตยิ า เสน สาหิ สาภิ จตุตถี สสสฺ สาย สานํ ปญั จมี สา สสฺมา สมฺหา สาหิ สาภิ ฉัฏฐี สสฺส สานํ สัตตมี เส สมหฺ ิ สสมฺ ึ สาสุ ศพั ทจ์ ำ�แนกตาม ปจจฺ กฺขธมมฺ า ผูม้ ธี รรมประจกั ษ์ คาณฺฑีวธนฺวา ผู้มีธนมู ขี ้อมาก ปุงลิงค์ อกิ ารันต์ อคคฺ ิ สัททปทมาลา (ไฟ) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อิคคฺ ิ (อคฺคิน)ิ * อคฺคี อคฺคโย อาลปนะ อคคฺ ิ อคคฺ ี อคฺคโย ทตุ ิยา อคคฺ ึ อคฺคี อคฺคโย ตติยา อคฺคินา อคฺคีหิ อคฺคีภิ อคฺคิหิ อคฺคิภิ จตุตถี อคคฺ ิโน อคฺคิสสฺ อคฺคนี ํ อคฺคินํ ปญั จมี อคฺคนิ า อคฺคมิ ฺหา อคคฺ สิ มฺ า อคฺคหี ิ อคคฺ ภี ิ อคคฺ ิหิ อคฺคภิ ิ ฉัฏฐี อคคฺ ิโน อคฺคิสฺส อคฺคีนํ อคฺคนิ ํ สตั ตมี อคคฺ มิ หฺ ิ อคคฺ ิสฺมึ อคฺคสี ุ อคฺคิสุ * บทในวงเล็บ มเี ฉพาะ อคคฺ ิ ศพั ท์

ส�ำ หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 37 ๒.๑. ปงุ ลงิ ค์ ศัพทจ์ ำ�แนกตาม มนุ ิ พระมนุ ี อิส ิ ฤาษี มณ ิ แก้วมณี  นธิ ิ ขมุ ทรัพย์ สมาธิ สมาธิ  คริ ิ ภูเขา กวิ นักกว ี สารถิ คนขบั รถ อญฺชลิ พนมมอื อห ิ งู อริ ขา้ ศกึ วธิ ิ วธิ ีการ ปติ ผู้ปกครอง อธิปติ ผู้เป็นใหญ่ คหปต ิ คฤหบด,ี เจ้าของเรอื น อส ิ ดาบ ปงุ ลิงค์ อีการนั ต์ ทณฑฺ ี สัททปทมาลา (ผู้มีไมเ้ ทา้ ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ทณฺฑี ทณฑฺ ี ทณฑฺ โิ น อาลปนะ ทณฑฺ ิ ทณฑฺ ี ทณฺฑโิ น ทตุ ิยา ทณฑฺ ึ (ทณฑฺ นิ )ํ * ทณฺฑี ทณฑฺ โิ น ตติยา ทณฑฺ นิ า ทณฑฺ ีหิ ทณฑฺ ภี ิ จตตุ ถี ทณฑฺ โิ น ทณฑฺ ิสฺส ทณฑฺ ีนํ ปญั จมี ทณฺฑนิ า ทณฺฑมิ ฺหา ทณฑฺ สิ มฺ า   ทณฺฑีหิ ทณฺฑภี ิ ฉัฏฐี ทณฑฺ ิโน ทณฑฺ ิสสฺ ทณฺฑีนํ สัตตมี ทณฺฑนิ ิ ทณฺฑิมหฺ ิ ทณฺฑสิ มฺ ึ ทณฑฺ สี ุ * บทในวงเล็บ มเี ฉพาะ ทณี ฑฺ ี ศพั ท์ ศพั ท์จำ�แนกตาม เมธาวี ผ้มู ปี ัญญา ธมฺมี ผู้มีธรรม หตฺถี ช้าง, หัตถ,ี ผ้มู ีงวง โยค ี ผู้มีความเพียร ญาณ ี ผู้มีญาณ จกฺกี ผมู้ จี กั ร ปกฺขี นก, ปักษ,ี ผู้มีปกี ทกุ ฺขี ผมู้ ีความทุกข์

๒. นามกัณฑ์ 38 บาลีไวยากรณเ์ บ้อื งต้น รฏ€ฺ ี ผูม้ ีแวน่ แควน้ ทา€ ี ผ้มู เี ขีย้ ว มาลี ผู้มีดอกไม้ ฉตฺตี ผมู้ รี ม่ โภค ี ผมู้ ที รัพย์ ภาค ี ผูม้ ีส่วน สส ี ดวงจันทร์ สาม ี สาม,ี เจา้ ของ ธมมฺ จารี ผู้ประพฤตธิ รรม สขุ ี ผ้มู คี วามสุข (๑) ปงุ ลงิ ค์ อกุ ารันต์ ภกิ ฺขุ สทั ทปทมาลา (ภิกษุ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา ภิกฺขุ ภิกฺขู ภิกขฺ โว อาลปนะ ภกิ ฺขุ ภิกขฺ ู ภกิ ฺขเว ภิกขฺ โว ทตุ ิยา ภกิ ฺขุํ ภิกฺขู ภกิ ขฺ โว ตตยิ า ภกิ ขฺ ุนา ภกิ ขฺ ูหิ ภิกขฺ ูภิ ภิกขฺ ุหิ ภกิ ฺขุภิ จตุตถี ภิกขฺ ุโน ภกิ ขฺ สุ ฺส ภกิ ฺขูนํ ภกิ ขฺ นุ ํ ปญั จมี ภกิ ฺขนุ า ภิกขฺ มุ ฺหา ภกิ ขฺ ุสฺมา ภิกฺขูหิ ภิกฺขูภิ ภิกขฺ หุ ิ ภกิ ขฺ ุภิ ฉฏั ฐี ภกิ ฺขุโน ภิกฺขสุ สฺ ภิกฺขนู ํ ภกิ ฺขุนํ สตั ตมี ภิกฺขุมฺหิ ภิกขฺ ุสมึ ภิกฺขูสุ ภิกฺขุสุ ครุ คร ู ศัพทจ์ ำ�แนกตาม เหต ุ เหตุ ชนฺตุ  สัตว ์   เสตุ สะพาน เกตุ เกต,ุ ยอด ราห ุ ราหู ภาน ุ ดวงอาทิตย,์ รัศม ี เวฬุ ไมไ้ ผ่ มจฺจ ุ ความตาย  พนฺธ ุ เครอื ญาติ เนร,ุ เมร ุ ภเู ขาพระสเุ มร ุ อจุ ฉฺ ุ ออ้ ย สนิ ธฺ  ุ แม่น้�ำ สินธุ  สตตฺ ุ ศตั รู การุ  นายชา่ ง  รุรุ กวางรุรุ ปงฺคุ  คนเปลี้ย ปฏุ คนฉลาด

สำ�หรบั นกั ศกึ ษาใหม ่ 39 ๒.๑. ปงุ ลงิ ค์ (๒) ปุงลิงค์ อุการนั ต์ สตถฺ ุ สทั ทปทมาลา (พระศาสดา) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา สตถฺ า สตถฺ าโร อาลปนะ สตถฺ สตฺถา สตถฺ าโร ทุตยิ า สตฺถารํ สตฺถาเร สตฺถาโร ตติยา สตถฺ ารา สตถฺ ุนา สตฺถาเรหิ สตฺถาเรภิ จตตุ ถี สตฺถุ สตถฺ โุ น สตถฺ ารานํ สตฺถานํ ปญั จมี สตฺถารา สตฺถาเรหิ สตถฺ าเรภิ ฉัฏฐี สตถฺ ุ สตฺถโุ น สตฺถารานํ สตฺถานํ สตั ตมี สตฺถริ สตถฺ าเรสุ ศพั ท์จำ�แนกตาม กตฺตุ ผ้กู ระทำ� โสตุ ผูฟ้ งั , ผ้เู รยี น, นกั เรยี น เนต ุ ผนู้ ำ�ไป าตุ ผูร้ ู้ ทาตุ ผ้ใู ห ้ ธาตุ ผทู้ รงไว้ นตตฺ ุ หลาน เภตฺตุ ผทู้ �ำ ลาย เฉตตฺ ุ ผตู้ ดั วตฺตุ ผู้กลา่ ว ภตตฺ ุ ผูเ้ ลี้ยง, สามี เชตุ  ผูช้ นะ โพทฺธุ ผ้รู ู ้ วญิ ฺ าเปตุ ผ้ใู ห้รู้ กาเรตุ ผใู้ ห้ทำ� สาเวต ุ ผูใ้ ห้ฟัง, ผู้ประกาศ (๓) ปุงลิงค์ อุการันต์ ปติ ุ สัททปทมาลา (บิดา) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ปติ า ปติ โร อาลปนะ ปติ ปติ า ปติ โร ทตุ ยิ า ปิตรํ ปิตเร ปติ โร

๒. นามกัณฑ์ 40 บาลีไวยากรณเ์ บื้องต้น ตติยา ปติ รา ปติ นุ า ปิตเรหิ ปติ เรภิ ปติ หู ิ ปิตภู ิ ปิตุหิ ปติ ภุ ิ จตตุ ถี ปติ ุ ปติ โุ น ปติ ุสฺส ปิตรานํ ปิตานํ ปติ นู ํ ปติ ุนํ ปัญจมี ปติ รา ปิตเรหิ ปิตเรภิ ปติ หู ิ ปิตูภิ ปิตหุ ิ ปิตุภิ ฉัฏฐี ปติ ุ ปิตโุ น ปติ สุ สฺ ปิตรานํ ปิตานํ ปิตนู ํ ปิตนุ ํ สัตตมี ปิตริ ปิตเรสุ ปิตสู ุ ปิตสุ ุ ศพั ท์จำ�แนกตาม ภาตุ พ่ีนอ้ งชาย  (๔) ปุงลงิ ค์ อุการนั ต์ คุณวนตฺ ุ สทั ทปทมาลา (ผมู้ ีคณุ ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา คณุ วา คุณวนโฺ ต คณุ วนตฺ า อาลปนะ คุณวํ คุณว คณุ วา คณุ วนโฺ ต คณุ วนตฺ า ทตุ ยิ า คุณวนฺตํ คุณวนฺเต ตตยิ า คณุ วตา คุณวนฺเตน คุณวนฺเตหิ คุณวนฺเตภิ จตตุ ถี คณุ วโต คณุ วนตฺ สสฺ คุณวตํ คุณวนฺตานํ ปญั จมี คุณวตา คุณวนตฺ า คณุ วนตฺ มหฺ า คุณวนฺเตหิ คุณวนเฺ ตภิ คณุ วนฺตสฺมา ฉัฏฐี คุณวโต คณุ วนตฺ สสฺ คณุ วตํ คณุ วนตฺ านํ สัตตมี คุณวติ คุณวนฺเต คุณวนฺตมหฺ ิ คุณวนเฺ ตสุ คุณวนตฺ สมฺ ึ ศพั ทจ์ ำ�แนกตาม คณวนตฺ ุ ผู้มีคณะ กลุ วนตฺ ุ ผมู้ ตี ระกลู ดี ผลวนฺต ุ ต้นไมม้ ผี ลดก ยสวนฺต ุ ผูม้ ียศ ธนวนฺต ุ ผมู้ ที รพั ย ์ สตุ วนตฺ ุ ผมู้ ีการศีกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook