Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Balee

Balee

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-13 07:10:24

Description: Balee

Search

Read the Text Version

ส�ำ หรบั นักศกึ ษาใหม ่ 41 ๒.๑. ปงุ ลงิ ค์ ภควนตฺ ุ พระผู้มีพระภาค หิมวนฺต ุ ภเู ขาหิมาลัย พลวนตฺ ุ ผมู้ กี �ำ ลัง สีลวนตฺ ุ ผมู้ ศี ลี ปญฺ วนตฺ ุ ผ้มู ปี ัญญา สตมิ นตฺ ุ ผู้มีสติ ธติ มิ นตฺ ุ ผมู้ ีปัญญา คติมนฺตุ ผมู้ ีปญั ญา มตมิ นฺตุ ผ้มู ปี ญั ญา มุติมนฺตุ ผมู้ ปี ญั ญา มุตฺตมิ นฺตุ ผ้มู ีความหลุดพน้ ชตุ มิ นฺตุ ผู้มรี ัศมี สริ มิ นฺตุ ผู้มีสริ ิ กลมิ นฺตุ ผ้มู โี ทษ หิรมิ นตฺ ุ ผูม้ คี วามละอาย ถตุ มิ นตฺ ุ ผู้ได้รบั การสรรเสรญิ ยติมนตฺ ุ ผู้มคี วามเพียร สุจิมนตฺ ุ ผู้มีความสะอาด พลิมนตฺ ุ ผมู้ พี ลีกรรม กสิมนตฺ ุ ชาวนา ผ้มู ีการไถ รุจิมนตฺ ุ ผู้มคี วามยนิ ด ี จกฺขุมนตฺ ุ ผมู้ จี ักษุ (๑) ปุงลิงค์ อูการนั ต์ อภิภู สัททปทมาลา (ผเู้ ปน็ ใหญ่) วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา อภิภู อภภิ ู อภภิ ุโว อาลปนะ อภภิ ุ อภภิ ู อภภิ ุโว ทุตยิ า อภภิ ํุ อภภิ ู อภภิ โุ ว ตตยิ า อภภิ ุนา อภภิ ูหิ อภิภภู ิ จตตุ ถี อภภิ ุโน อภภิ สุ ฺส อภิภูนํ ปัญจมี อภิภนุ า อภิภมุ หฺ า อภิภสุ มฺ า   อภภิ หู ิ อภิภูภิ ฉฏั ฐี อภภิ โุ น อภิภสุ ฺส อภิภูนํ สตั ตมี อภิภุมหฺ ิ อภิภสุ มฺ ึ อภิภสู ุ ศพั ทจ์ ำ�แนกตาม สยมฺภ ู พระสยัมภู, ผู้ตรสั ร้เู อง ปราภิภู ผู้ปกครองผอู้ นื่ เวสฺสภ ู พระเวสสภูพุทธเจา้

๒. นามกณั ฑ์ 42 บาลีไวยากรณ์เบอื้ งตน้ (๒) ปงุ ลิงค์ อกู ารนั ต์ สพฺพญฺู สทั ทปทมาลา (ผู้รู้ทุกสิง่ ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา สพพฺ ญฺู สพฺพญฺ ู สพพฺ ญฺ ุโน อาลปนะ สพฺพญฺุ สพฺพญฺู สพพฺ ญฺุโน ทุตยิ า สพฺพญฺ ุํ สพฺพญฺู สพพฺ ญฺ โุ น ทเี่ หลอื จำ�แนกตาม อภภิ ู ศพั ท์ ศัพทจ์ ำ�แนกตาม กตญฺู  ผูก้ ตญั ญ ู ปารคู ผูถ้ งึ ฝั่ง ธมฺมญฺ ู ผู้รู้ธรรม  มคคฺ ญฺ ู ผรู้ ทู้ าง อตถฺ ญฺ ู ผรู้ ูป้ ระโยชน์ กาลญฺ ู ผ้รู ู้กาลเวลา รตตฺ ญฺู ผู้รู้ราตร ี มตฺตญฺู ผูร้ ู้ประมาณ วิญฺ ู ผูร้ ู้ ตถญฺู ผ้รู คู้ วามจรงิ โลกวิทู ผู้รูแ้ จ้งโลก อนตฺ ค ู ผูถ้ ึงท่สี ดุ ปุงลิงค์ โอการนั ต์ โค สทั ทปทมาลา  (วัว, โค) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา โค คาโว คโว อาลปนะ โค คาโว คโว ทุตยิ า คาวุํ คาวํ ควํ คาโว คโว ตตยิ า คาเวน คเวน โคหิ โคภิ จตุตถี คาวสฺส ควสฺส ควํ คุนนฺ ํ โคนํ ปญั จมี คาวา คาวมหฺ า คาวสมฺ า โคหิ โคภิ ควา ควมหฺ า ควสมฺ า ฉฏั ฐี คาวสสฺ ควสฺส ควํ คุนฺนํ โคนํ

ส�ำ หรับนักศึกษาใหม ่ 43 ๒.๑. ปุงลิงค์ สัตตมี คาเว คาวมหฺ ิ คาวสมฺ ึ คาเวสุ คเวสุ โคสุ คเว ควมฺหิ ควสฺมึ สัททปทมาลาในอติ ถีลิงค์ อติ ถีลิงค์ อาการนั ต์ กญฺ า สัททปทมาลา (สาวนอ้ ย) วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา กญฺ า กญฺ า กญฺาโย อาลปนะ กญฺเ กญฺา กญฺาโย ทตุ ยิ า กญฺ ํ กญฺ า กญฺาโย ตติยา กญฺ าย กญฺ าหิ กญฺ าภิ จตุตถี กญฺาย กญฺานํ ปัญจมี กญฺ าย กญฺ าหิ กญฺ าภิ ฉัฏฐี กญฺ าย กญฺ านํ สตั ตมี กญฺาย กญฺ ายํ กญฺ าสุ สทฺธา ความเช่ือ ศพั ทจ์ ำ�แนกตาม วชิ ชฺ า ความร้ ู วณี า พณิ เมธา ปญั ญา ปญฺา ปัญญา คงฺคา แมน่ �ำ้ จนิ ฺตา ความคดิ มนตฺ า ความคดิ นาวา เรือ ภิกฺขา ขา้ ว ตณหฺ า ตัณหา, ความอยาก คาถา คาถา มายา มารยา อิจฉฺ า ความปรารถนา คีวา คอ  เมตตฺ า เมตตา มตตฺ า มาตรา, ประมาณ ชวิ ฺหา ล้นิ เลขา รอยเขยี น สิกขฺ า ขอ้ ควรศกึ ษา สาลา ศาลา สาขา กง่ิ ไม้ วิสาชา นางวิสาขา, ชือ่ ดาว ปชู า การบชู า วาจา ค�ำ พูด ฉายา ร่มเงา มาลา พวงดอกไม ้ เวลา เวลา เวทนา เวทนา สญฺา สัญญา

๒. นามกัณฑ์ 44 บาลไี วยากรณเ์ บ้ืองต้น เจตนา เจตนา ปชา หมู่สัตว ์ เทวตา เทวดา ปริสา บรษิ ทั ชฎา ชฎา, ตัณหา กรุณา กรุณา กถา ถ้อยค�ำ ปปา ศาลานำ�้ ดม่ื สมี า ขอบเขต ชายา ภรรยา ลสกิ า ไขขอ้ ปภา รศั มี, แสงสวา่ ง ตลุ า ตราชงั่ ลลี า ท่าทาง ขมา ความอดทน สลิ า ก้อนหนิ สรุ า เหล้า, สรุ า กลา ส่วน (เสีย้ ว) วสธุ า แผน่ ดนิ คุหา ถำ�้ อจฺฉรา นางอปั สร ชุณฺหา แสงจนั ทร ์ นาสา จมกู อหี า ความพยายาม ทสิ า ทิศ มญชฺ ุสา หีบ, ตู้ ลาลา น�้ำ ลาย มูสา เบ้า โทลา ชงิ ช้า ขตตฺ ยิ า กษตั รี สขิ า ยอด วสิ ิขา ถนน, ซอย สธุ า อาหารทพิ ย์ นิททฺ า การหลับ ลตา เถาวลั ย ์ วาสนา วาสนา สภา ท่ีประชุม โคธา เห้ยี อติ ถีลิงค์ อิการนั ต์ รตตฺ ิ สัททปทมาลา (ราตร)ี วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา รตฺติ รตตฺ ี รตตฺ โิ ย (รตโฺ ย)* อาลปนะ รตตฺ ิ รตตฺ ี รตตฺ โิ ย ทุตยิ า รตตฺ ึ รตฺตี รตฺตโิ ย ตตยิ า รตตฺ ิยา รตฺตหี ิ รตฺตีภิ รตฺติหิ รตฺตภิ ิ จตุตถี รตฺตยิ า รตฺตนี ํ รตตฺ นิ ํ ปัญจมี รตฺติยา (รตยฺ า)* รตตฺ หี ิ รตตฺ ภี ิ รตตฺ หิ ิ รตตฺ ิภิ ฉัฏฐี รตตฺ ิยา รตฺตนี ํ รตฺตินํ สตั ตมี รตตฺ ิยา รตตฺ ิยํ รตฺตสี ุ รตตฺ สิ ุ (รตยฺ ํ รตยฺ า รตตฺ ึ รตฺโต)* * บทในวงเล็บ มีเฉพาะ รตฺติ ศัพท์

สำ�หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 45 ๒.๑. ปงุ ลิงค์ ศัพท์จำ�แนกตาม ปตฺติ ทหารบก ยุตตฺ ิ ความสมควร วตุ ตฺ ิ คำ�อธิบาย กิตตฺ ิ เกียรต,ิ ชือ่ เสียง มตุ ตฺ ิ ความหลดุ พน้ ปีติ   ปติ ิ ขนฺต ิ ความอดทน กนฺติ ความชอบใจ สนฺต ิ ความสงบ ตนฺติ แบบแผน สทิ ฺธิ ความส�ำ เรจ็ พทุ ธฺ ิ ปัญญา สุทธฺ ิ ความบรสิ ทุ ธิ์ อิทธฺ ิ ความส�ำ เรจ็ ภูมิ  แผ่นดนิ วทุ ฺธิ ความเจรญิ นนฺท ิ ความเพลิดเพลิน โพธิ โพธิญาณ ชาติ ชาติ, การเกิด สตู ิ การเกดิ   ปสูติ การเกิด สาณ ิ ผ้ามา่ น ทฏิ €ฺ ิ ความเห็น ปาฬิ บาลี วุฑฺฒ ิ ความเจรญิ ตุฏฺ€ ิ ความยินด ี คติ    การไป นาฬ ิ ทะนาน, กระดอง เกฬิ  กีฬา, การเลน่   มติ   ความรู้ สติ    ความระลกึ จตุ ิ    ความตาย  ยุวต ิ ผ้หู ญิง ธติ ิ    ความเพยี ร รติ   ความพอใจ องคฺ ลุ ิ นิว้ รจุ ิ รัศมี รสฺมิ รศั มี อสน ิ สายฟา้ ผ่า ธลู ิ    ธุล,ี ฝุ่น    วหี ิ ขา้ วเปลอื ก เปน็ ต้น อติ ถีลงิ ค์ อีการันต์ อิตฺถี สทั ทปทมาลา (หญงิ ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อิตฺถี อติ ถฺ ี อิตถฺ ิโย อาลปนะ อิตถฺ ิ อิตฺถี อติ ถฺ ิโย ทุตยิ า อิตถฺ ิยํ อิตถฺ ึ อติ ถฺ ี อติ ฺถิโย ตติยา อิตฺถิยา อิตฺถหี ิ อติ ถฺ ีภิ จตตุ ถี อติ ฺถิยา อติ ถฺ ีนํ ปญั จมี อติ ฺถิยา อิตฺถหี ิ อติ ถฺ ีภิ ฉัฏฐี อติ ฺถิยา อติ ถฺ ีนํ สัตตมี อิตฺถิยา อติ ถฺ ยิ ํ อิตถฺ ีสุ

๒. นามกัณฑ์ 46 บาลไี วยากรณเ์ บอื้ งตน้ ศัพทจ์ ำ�แนกตาม มห ี แผน่ ดิน  วาปี สระน�้ำ ปาฏลี ต้นแคฝอย กทลี ต้นกล้วย ฆฏ ี หมอ้ น้�ำ นาร ี ผู้หญงิ กมุ ารี เด็กหญงิ   ตรณุ ี หญิงสาว พฺราหมฺ ณ ี นางพราหมณี สข ี เพอ่ื นหญงิ กนิ นฺ ร ี กินนรี นาค ี นางนาค เทวี เทพธดิ า, มเหสี  ยกขฺ ี นางยักษ์ กากี อกี า กุกฺกุฏี แมไ่ ก่ ปถุ วี, ปถวี แผน่ ดิน คาว ี แม่โค คณุ วต ี หญงิ มีคุณ สลี วตี หญิงมีศีล กลุ วตี หญงิ มีตระกลู ยสวต ี หญงิ มยี ศ รูปวตี หญิงมรี ูปงาม  สติมตี หญิงมสี ติ โคตมี นางโคตมี ภกิ ขฺ นุ ี ภิกษุณี คหปตาน ี แมบ่ ้าน ยกฺขิน ี นางยกั ษ์ เมธาวิน ี หญงิ มีปญั ญา ปยิ ภาณิน ี หญงิ พูดจาไพเราะ ธมฺมจารินี หญิงผ้ปู ระพฤตธิ รรม ภตู วาน ี หญิงผู้กล่าวตามจริง อตฺถวาทินี หญิงผู้บอกประโยชน์ ธมฺมวาทนิ ี หญิงผบู้ อกธรรม (๑) อติ ถลี งิ ค์ อุการันต์ ยาคุ สทั ทปทมาลา (ข้าวตม้ ) วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา ยาคุ ยาคู ยาคโุ ย อาลปนะ ยาคุ ยาคู ยาคุโย ทตุ ยิ า ยาคํุ ยาคู ยาคโุ ย ตตยิ า ยาคุยา ยาคูหิ ยาคภู ิ ยาคุหิ ยาคุภ ิ     จตุตถี ยาคุยา ยาคนู ํ ยาคนุ ํ

ส�ำ หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 47 ๒.๑. ปุงลิงค์ ปัญจมี ยาคยุ า ยาคูหิ ยาคูภิ ยาคหุ ิ ยาคภุ ิ ฉฏั ฐี ยาคยุ า ยาคนู ํ ยาคุนํ สัตตมี ยาคุยา ยาคยุ ํ ยาคสู ุ ยาคสุ ุ ศพั ทจ์ ำ�แนกตาม กาส ุ ร,ู ช่อง, หลุม, บ่อ ธาตุ ธาตุ เธน ุ แม่โคนม ททฺทุ โรคกลาก กณฑฺ ุ โรคเกล้ือน กเรณุ ชา้ งพงั รชชฺ ุ เชือก สสฺส ุ แม่ยาย แมส่ ามี (๒) อิตถีลงิ ค์ อุการันต์ มาตุ สัททปทมาลา (มารดา) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา มาตา มาตโร อาลปนะ มาต มาตา มาตโร ทตุ ิยา มาตรํ มาตเร มาตโร ตตยิ า มาตรา มาตุยา (มตยฺ า)* มาตเรหิ มาตเรภิ มาตูหิ มาตูภิ มาตุหิ มาตภุ ิ จตุตถี มาตุ มาตุสฺส มาตุยา มาตรานํ มาตานํ มาตูนํ มาตนุ ํ ปัญจมี มาตรา มาตุยา มาตเรหิ มาตเรภิ มาตูหิ มาตูภิ มาตหุ ิ มาตภุ ิ ฉฏั ฐี มาตุ มาตสุ สฺ มาตยุ า มาตรานํ มาตานํ มาตูนํ มาตนุ ํ สตั ตมี มาตริ มาตเรสุ มาตูสุ มาตสุ ุ * บทในวงเล็บ มเี ฉพาะ มาตุ ศพั ท์ ศัพท์จำ�แนกตาม ธีต,ุ ทหุ ิต ุ ลกู สาว

๒. นามกัณฑ์ 48 บาลไี วยากรณ์เบื้องต้น อติ ถีลิงค์ อูการันต์ ชมพฺ ู สทั ทปทมาลา (ตน้ หวา้ ) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ชมฺพู ชมฺพู ชมฺพโุ ย อาลปนะ ชมฺพุ ชมพฺ ู ชมฺพโุ ย ทตุ ิยา ชมพฺ ุํ ชมพฺ ู ชมพฺ ุโย ตตยิ า ชมพฺ ยุ า ชมฺพูหิ ชมฺพภู ิ จตุตถี ชมฺพยุ า ชมฺพนู ํ ปัญจมี ชมฺพุยา ชมพฺ หู ิ ชมพฺ ูภิ ฉัฏฐี ชมฺพุยา ชมพฺ นู ํ สตั ตมี ชมพฺ ยุ า ชมฺพยุ ํ ชมพฺ ูสุ ศัพทจ์ ำ�แนกตาม สรภู แมน่ �้ำ สรภู วธู หญงิ สาว สรพู ตุ๊กแก, จง้ิ จก จมู ทหารราบ สุตน ู หญิงร่างกายงาม วามรู ู หญิงขางาม กจฉฺ ู โรคหิต สุภ ู หญิงคิ้วงาม นาคนาสรู ู หญิงขาเรยี วงามดจุ งวงชา้ ง ภ ู แผน่ ดนิ สทั ทปทมาลาในนปุงสกลงิ ค์ (๑) นปุงสกลงิ ค์ อการันต์ จิตตฺ สทั ทปทมาลา (จิต) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา จติ ฺตํ จิตตฺ า จิตฺตานิ อาลปนะ จติ ฺต จติ ตฺ า จติ ตานิ ทุติยา จติ ฺตํ จติ ฺเต จิตฺตานิ ตตยิ า จติ ฺเตน จิตเฺ ตหิ จิตเฺ ตภิ

ส�ำ หรบั นกั ศกึ ษาใหม ่ 49 ๒.๑. ปุงลิงค์ จตตุ ถี จิตฺตสสฺ จิตฺตานํ ปัญจมี จิตฺตา จิตฺตมหฺ า จติ ตฺ สฺมา  จ ิตฺเตหิ จติ ฺเตภิ ฉัฏฐี จิตฺตสสฺ จติ ฺตานํ สตั ตมี จติ ฺเต จติ ตฺ มหฺ ิ จติ ฺตสฺมึ จิตเฺ ตสุ ศพั ทจ์ ำ�แนกตาม ปญุ ฺ บญุ , กุศล บาป บาป, อกุศล ผล ผล, ผลไม,้ วิบาก รูป รูป, รปู ร่าง สาธน ความสำ�เรจ็ โสต ห,ู เครอ่ื งฟัง ฆาน จมูก สุข ความสุข ทุกฺข ความทุกข ์ การณ เหตุ ทาน การให ้ สลี ศลี ธน ทรัพย ์ ฌาน ฌาน มลู มูล, ราก, ราคา พล กำ�ลัง ชาล ข่าย, แห มงฺคล มงคล นฬนิ ดอกบัว ลงิ ฺค ลิงค์, ซ่อน, เพศ มขุ หน้า, ปาก องฺค อวยั วะ, องค์ อมฺพุช ดอกบวั ปุลนิ ทราย ธญฺ ขา้ วเปลอื ก ชล น�ำ้ ปท บท, นพิ พาน หิรญฺ เงิน อมต นิพพาน ปทุม ดอกบัว ปณณฺ ใบไม้, หนงั สือ สุสาน สสุ าน วน ป่า อาวธุ อาวุธ หทย หวั ใจ, หทยั วัตถุ จวี ร ผา้ จวี ร วตถฺ ผ้า, เครือ่ งนุ่งหม่ กลุ ตระกูล อินทฺ ฺรยิ อนิ ทรยี ์ นยน นัยน์ตา วทน หน้า ยาน ยาน, พาหนะ

๒. นามกณั ฑ์ 50 บาลีไวยากรณเ์ บ้อื งตน้ อุทาน อุทาน ปาน นำ�้ ดื่ม โลห เหล็ก รตน แก้ว ป€ี เกา้ อ ี้ อณฑฺ ไข่ มรณ ความตาย ภตฺต ขา้ วสวย, อาหาร, ภัตร าณ ญาณ, ปัญญา อารมมฺ ณ อารมณ์ อรญฺ ปา่ ตาณ นิพพาน นคร เมือง ตีร ฝ่ังนำ้� ฉตตฺ ฉตั ร, รม่ , เหด็ อทุ ก น�้ำ (๒) นปุงสกลงิ ค์ อการันต์ กมฺม สัททปทมาลา (กรรม) วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา กมมฺ ํ กมฺมา กมมฺ านิ อาลปนะ กมฺม กมมฺ า กมฺมานิ ทุติยา กมมฺ ํ กมเฺ ม กมมฺ านิ ตตยิ า กมฺมุนา กมมฺ นา กมเฺ มน       กมเฺ มหิ กมเฺ มภิ จตตุ ถี กมฺมโุ น กมฺมสสฺ กมมฺ านํ ปัญจมี กมมฺ ุนา กมมฺ า กมฺมมฺหา กมมฺ สมฺ า กมฺเมหิ กมเฺ มภิ ฉฏั ฐี กมมฺ สฺส กมมฺ านํ สตั ตมี กมมฺ นิ กมฺเม กมมฺ มฺหิ กมฺมสฺมึ กมเฺ มสุ ถาม กำ�ลงั ศพั ท์จำ�แนกตาม อทธฺ ทางไกล  นปงุ สกลงิ ค์ อาการันต์ อสฺสทฺธา สทั ทปทมาลา (ไมศ่ รทั ธา) วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อสฺสทธฺ ํ อสสฺ ทฺธา อสสฺ ทฺธานิ ท่เี หลือจำ�แนกเหมอื น จิตฺต ศพั ท์

สำ�หรับนกั ศึกษาใหม ่ 51 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ นปงุ สกลงิ ค์ อกิ ารนั ต์ อฏ€ฺ ิ สัททปทมาลา (กระดูก, เมล็ด) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อฏ€ฺ ิ อฏ€ฺ ี อฏฺ€ีนิ อาลปนะ อฏ€ฺ ิ อฏ€ฺ ี อฏฺ€นี ิ ทุตยิ า อฏ€ฺ ึ อฏ€ฺ ี อฏฺ€ีนิ ตตยิ า อฏ€ฺ นิ า อฏ€ฺ ีหิ อฏฺ€ภี ิ อฏฺ€หิ ิ อฏฺ€ภิ ิ จตุตถี อฏฺ€โิ น อฏ€ฺ สิ ฺส อฏ€ฺ ีนํ อฏฺ€ินํ ปญั จมี อฏ€ฺ ินา อฏ€ฺ ิมฺหา อฏฺ€สิ ฺมา  อฏฺ€หี ิ อฏฺ€ีภิ อฏฺ€หิ ิ อฏ€ฺ ิภิ ฉฏั ฐี อฏฺ€โิ น อฏฺ€สิ ฺส อฏฺ€นี ํ อฏ€ฺ นิ ํ สัตตมี อฏ€ฺ ิมหฺ ิ อฏ€ฺ สิ มฺ ึ อฏฺ€ีสุ อฏฺ€สิ ุ ศพั ท์จำ�แนกตาม สตฺถิ  ขาออ่ น ทธิ  นมส้ม วาริ น�้ำ สปปฺ ิ เนยใส อกขฺ ิ, อจฉฺ ิ นัยนต์ า อจจฺ ิ เปลวไฟ นปงุ สกลิงค์ อีการนั ต์ สุขการี สทั ทปทมาลา (ทำ�ใหม้ คี วามสขุ ) วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา สุขการิ สุขการ ี สขุ การนี ิ อาลปนะ สุขการิ สขุ การ ี สขุ การนี ิ ทตุ ิยา สุขการึ สขุ การี  สุขการนี ิ ท่เี หลอื จำ�แนกเหมอื น ทณฺฑี ศัพท์

๒. นามกณั ฑ์ 52 บาลไี วยากรณเ์ บอ้ื งต้น นปุงสกลิงค์ อุการันต์ อายุ สัททปทมาลา (อาย)ุ วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อายุ อายู อายนู ิ อาลปนะ อายุ อายู อายนู ิ ทตุ ยิ า อายํุ อายู อายนู ิ ตติยา อายสุ า อายุนา อายูหิ อายูภิ อายุหิ อายภุ ิ จตตุ ถี อายุโน อายสุ สฺ อายนู ํ อายุนํ ปญั จมี อายนุ า อายมุ ฺหา อายุสฺมา  อายหู ิ อายภู ิ อายุหิ อายุภิ ฉัฏฐี อายโุ น อายุสสฺ อายูนํ อายุนํ สัตตมี อายุมฺหิ อายสุ มฺ ึ อายสู ุ อายสุ ุ ศัพทจ์ ำ�แนกตาม จกขฺ ุ นัยน์ตา ทารุ ทอ่ นไม้ มธุ นำ�้ ผง้ึ , น�้ำ ตาล พนิ ฺท ุ จดุ , หยดน�้ำ อมพฺ ุ นำ�้ ติปุ ดีบกุ มตฺถุ เนยเหลว วตถฺ ุ วตั ถุ, เรอ่ื ง ชตุ ครงั่ อสฺส ุ น�้ำ ตา นปงุ สกลงิ ค์ อกู ารนั ต ์ โคตรฺ ภู สทั ทปทมาลา (จติ ข้ามโคตร) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ             ปฐมา โคตฺรภุ โคตรฺ ภู โคตฺรภนู ิ ทเี่ หลือจ�ำ แนกเหมอื น อภิภู ศัพท์ นปงุ สกลงิ ค์ โอการนั ต์ จติ ตฺ โค สัททปทมาลา (ววั ด่าง) วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ            ปฐมา จิตฺตคุ จิตตฺ คู จิตตฺ คูนิ ทีเ่ หลอื จ�ำ แนกเหมอื น อายุ ศัพท์

สำ�หรบั นักศึกษาใหม ่ 53 ๒.๑. ปงุ ลิงค์ สัททปทมาลาในสัพพนาม การจำ�แนกปรุ สิ สัพพนาม และวเิ สสนสพั พนาม มรี ูปตา่ งกันทั้ง ๓ ลงิ ค์ ส่วน ตุมหฺ และ อมหฺ ศพั ท์ มรี ปู เหมือนกนั ทัง้ ๓ ลงิ ค์ ดงั ตอ่ ไปนี้ ปุรสิ สพั นาม (๑) ปุงลิงค์ อการันต์ ต สัททปทมาลา (เขา, น้ัน) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา โส เน เต ทตุ ยิ า นํ ตํ เน เต ตตยิ า เนน เตน เนหิ เนภิ เตหิ เตภิ จตตุ ถี อสสฺ นสฺส ตสฺส เนสํ เนสานํ เตสํ เตสานํ ปัญจมี อสมฺ า นมหฺ า นสมฺ า ตมหฺ า ตสมฺ า เนหิ เนภิ เตหิ เตภิ ฉฏั ฐี อสฺส นสฺส ตสฺส เนสํ เนสานํ เตสํ เตสานํ สตั ตมี อสมฺ ึ นมฺหิ นสฺมึ ตมฺหิ ตสมฺ ึ เนสุ เตสุ (๒) อิตถีลิงค์ อาการนั ต์ ตา สทั ทปทมาลา (เขา, เธอ, นัน้ ) วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา สา นา ตา นาโย ตาโย ทตุ ิยา นํ ตํ นา ตา นาโย ตาโย ตตยิ า นาย ตาย นาหิ นาภิ ตาหิ ตาภิ จตตุ ถี ตสิ ฺสาย ตสฺสาย อสฺสาย นสสฺ าย นาสํ นาสานํ ตาสํ ตาสานํ ติสสฺ า ตสฺสา อสฺสา นสสฺ า นาย ตาย ปญั จมี นาย ตาย นาหิ นาภิ ตาหิ ตาภิ

๒. นามกณั ฑ์ 54 บาลไี วยากรณ์เบ้อื งต้น ฉฏั ฐี ตสิ สฺ าย ตสสฺ าย อสสฺ าย นสสฺ าย นาสํ นาสานํ ตาสํ ตาสานํ ติสสฺ า ตสฺสา อสฺสา นสสฺ า นาย ตาย สัตตมี ติสสฺ ํ ตสฺสํ อสสฺ ํ นสฺสํ นายํ ตายํ นาสุ ตาสุ (๓) นปงุ สกลงิ ค์ อการันต์ ต สัททปทมาลา (น้ัน) วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา นํ  ตํ นานิ  ตานิ ทุติยา น ํ ตํ นานิ  ตานิ ทเ่ี หลอื จำ�แนกเหมอื นปุงลิงค์ อลิงคสัพพนาม อลิงค์ อการันต์ ตุมฺห สทั ทปทมาลา (ทา่ น, เธอ, คุณ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ตวฺ ํ ตุวํ ตุมฺเห โว ทุตยิ า ตวํ ตํ ตวฺ ํ ตวุ ํ ตมุ หฺ ากํ ตุมเฺ ห โว ตติยา ตยา ตฺวยา เต ตุมเฺ หหิ ตุมเฺ หภิ โว จตุตถี ตุมฺหํ ตว ตุยหฺ ํ เต ตุมฺหํ ตุมฺหากํ โว ปัญจมี ตยา ตมุ ฺเหหิ ตุมฺเหภิ ฉัฏฐี ตุมฺหํ ตว ตุยหฺ ํ เต ตมุ หฺ ํ ตมุ หฺ ากํ โว สตั ตมี ตยิ ตฺวยิ ตมุ ฺเหสุ

ส�ำ หรับนักศกึ ษาใหม ่ 55 ๒.๑. ปงุ ลิงค์ อลิงค์ อการันต์ อมหฺ สัททปทมาลา (ข้าพเจา้ , ผม, ดิฉนั , เรา) วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา อหํ มยํ อมเฺ ห โน ทุตยิ า มมํ มํ อมหฺ ากํ อมเฺ ห โน ตตยิ า มยา เม อมฺเหหิ อมฺเหภิ โน จตตุ ถี อมฺหํ มม มยหฺ ํ มมํ เม    อมหฺ ํ อมหฺ ากํ อสฺมากํ โน ปญั จมี มยา อมเฺ หหิ อมฺเหภิ ฉัฏฐี อมฺหํ มม มยฺหํ มมํ เม อมหฺ ํ อมหฺ ากํ อสมฺ ากํ โน สตั ตมี มยิ อมฺเหสุ วิเสสนสัพพนาม (๑) ปุงลงิ ค์ อการันต์ สพพฺ สัททปทมาลา (ท้งั ปวง) วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา สพฺโพ สพฺเพ อาลปนะ สพฺพ สพฺพา สพฺเพ ทุติยา สพฺพํ สพฺเพ ตตยิ า สพเฺ พน สพเฺ พหิ สพเฺ พภิ จตตุ ถี สพฺพสฺส สพฺเพสํ สพฺเพสานํ ปัญจมี สพฺพมฺหา สพพฺ สมฺ า สพฺเพหิ สพฺเพภิ ฉฏั ฐี สพพฺ สฺส สพเฺ พสํ สพเฺ พสานํ สตั ตมี สพฺพมหฺ ิ สพพฺ สมึ สพฺเพสุ

๒. นามกณั ฑ์ 56 บาลีไวยากรณเ์ บื้องต้น (๒) อิตถีลงิ ค์ อาการันต์ สพพฺ า สัททปทมาลา (ท้งั ปวง) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา สพพฺ า สพพฺ า สพฺพาโย อาลปนะ สพเฺ พ สพฺพา สพฺพาโย ทตุ ยิ า สพพฺ ํ สพพฺ า สพพฺ าโย ตตยิ า สพฺพาย สพฺพาหิ สพฺพาภิ จตุตถี สพพฺ สสฺ า สพพฺ าย สพพฺ าสํ สพฺพาสานํ ปัญจมี สพฺพาย สพพฺ าหิ สพฺพาภิ ฉฏั ฐี สพพฺ สสฺ า สพพฺ าย สพพฺ าสํ สพพฺ าสานํ สัตตมี สพฺพสฺสํ สพฺพายํ สพฺพาสุ (๓) นปุงสกลิงค์ อการันต์ สพพฺ สัททปทมาลา (ทง้ั ปวง) วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา สพพฺ ํ สพพฺ านิ อาลปนะ สพพฺ สพฺพานิ ทุติยา สพพฺ ํ สพพฺ านิ ทีเ่ หลอื เหมอื นปงุ ลงิ ค์ ศัพทจ์ ำ�แนกตาม อภุ ย ท้ังสอง ท้ังคู่ อญฺ อ่นื กตร, กตม ไหน อะไรบ้าง ย ใด อติ ร นอกจากนี ้ อญฺตร, อญฺตม คนใดคนหนง่ึ

สำ�หรบั นกั ศกึ ษาใหม ่ 57 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ (๑) ปงุ ลิงค์ อการันต์ ปพุ พฺ สทั ทปทมาลา (ข้างหนา้ , กอ่ น) วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา ปุพโฺ พ ปพุ เฺ พ ปุพฺพา อาลปนะ ปุพพฺ ปุพเฺ พ ปุพพฺ า ทตุ ยิ า ปุพพฺ ํ ปพุ ฺเพ ตตยิ า ปพุ เฺ พน ปุพเฺ พหิ ปพุ เฺ พภิ จตุตถี ปพุ ฺพสสฺ ปพุ เฺ พสํ ปุพฺพสานํ ปญั จมี ปพุ ฺพา ปพุ พฺ มฺหา ปพุ พฺ สมฺ า  ปพุ เฺ พหิ ปุพเฺ พภิ ฉฏั ฐี ปุพฺพสสฺ ปพุ เฺ พสํ ปพุ เฺ พสานํ สัตตมี ปพุ เฺ พ ปุพฺพมฺหิ ปพุ ฺพสมึ ปุพเฺ พสุ (๒) อิตถีลิงค์ อาการนั ต์ ปุพพฺ า สทั ทปทมาลา (ข้างหนา้ , กอ่ น) วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา ปุพฺพา ปพุ ฺพา ปุพพฺ าโย ท่ีเหลอื เหมอื น สพฺพา ศพั ท์ (๓) นปงุ สกลิงค์ อการันต์ ปพุ พฺ สัททปทมาลา (ขา้ งหน้า, กอ่ น) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ปพุ พํ ปุพพฺ านิ อาลปนะ ปพุ พฺ ปุพฺพานิ ทตุ ยิ า ปุพฺพํ ปุพพฺ านิ ที่เหลือจ�ำ แนกเหมือนปงุ ลงิ ค์ ปร อ่นื ศัพท์จำ�แนกตาม อปร อ่ืนอกี

๒. นามกัณฑ์ 58 บาลีไวยากรณ์เบ้อื งต้น ทกฺขิณ ขา้ งขวา, ทิศใต้ อุตตฺ ร ขา้ งซ้าย, ทิศเหนอื อธร ขา้ งลา่ ง, ภายใต้ สพั พนามตั้งแตน่ ้ไี ป ไมม่ ีอาลปนะ       (๑) ปุงลงิ ค์ อการนั ต์ เอต สัททปทมาลา (นน่ั , น)ี่ วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา เอโส เอเต ทตุ ยิ า เอตํ เอเต ทีเ่ หลอื เหมอื น สพพฺ ศทั พ์ ปงุ ลิงค์ (๒) อติ ถีลงิ ค์ อาการนั ต์ เอตา สัททปทมาลา (นัน่ , นี่) วภิ ตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา เอสา เอตา เอตาโย ทตุ ิยา เอตํ เอตา เอตาโย ตตยิ า เอตาย เอตาหิ เอตาภิ จตตุ ถี เอติสฺสาย เอติสฺสา เอตาย   เอตาสํ เอตาสานํ ปัญจมี เอตาย เอตาหิ เอตาภิ ฉฏั ฐี เอติสฺสาย เอติสฺสา เอตาย เอตาสํ เอตาสานํ สัตตมี เอตสิ สฺ ํ เอตายํ เอตาสุ (๓) นปุงสกลงิ ค์ อการนั ต์ เอต สัททปทมาลา (น่ัน, น)ี่ วิภตั ติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา เอตํ เอตานิ ทตุ ิยา เอตํ เอตานิ ที่เหลอื จำ�แนกเหมอื นปงุ ลงิ ค์

ส�ำ หรับนกั ศึกษาใหม ่ 59 ๒.๑. ปุงลิงค์ (๑) ปงุ ลงิ ค์ อการันต์ อมิ สัททปทมาลา (นี้) วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา อยํ อิเม ทตุ ยิ า อิมํ อเิ ม ตติยา อมิ นิ า อเนน เอหิ เอภิ อเิ มหิ อเิ มภิ จตุตถี อิมสฺส อสฺส เอสํ เอสานํ อเิ มสํ อิเมสานํ ปญั จมี อมิ มฺหา อมิ สฺมา อสมฺ า  เอหิ เอภิ อิเมหิ อเิ มภิ ฉัฏฐี อมิ สฺส อสฺส เอสํ เอสานํ อเิ มสํ อิเมสานํ สตั ตมี อมิ มหฺ ิ อิมสมฺ ึ อสฺมึ เอสุ อเิ มสุ (๒) อติ ถีลิงค์ อาการันต์ อิมา สัททปทมาลา (นี)้ วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา อยํ อิมา อมิ าโย ทุตยิ า อมิ ํ อมิ า อิมาโย ตติยา อิมาย อิมาหิ จตตุ ถี อสฺสาย อิมสิ ฺสาย อสฺสา อมิ ิสฺสา อมิ าย อมิ าสํ อมิ าสานํ ปัญจมี อิมาย อิมาหิ ฉัฏฐี อสฺสาย อมิ ิสฺสาย อสสฺ า อมิ สิ ฺสา อิมาย อิมาสํ อมิ าสานํ สตั ตมี อิมสิ ฺสา อิมสิ ฺสํ อสฺสํ อิมิสฺสา อมิ าย ํ อิมาสุ (๓) นปุงสกลิงค์ อการันต์ อิม สทั ทปทมาลา (นี้) วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา อิทํ อมิ ํ อมิ านิ ทุติยา อิทํ อมิ ํ อิมานิ ที่เหลือจำ�แนกเหมอื นปงุ ลิงค์

๒. นามกัณฑ์ 60 บาลีไวยากรณ์เบอื้ งตน้ (๑) ปุงลงิ ค์ อกุ ารนั ต์ อมุ สัททปทมาลา (โนน้ ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อสุ อมุ อมู ทตุ ยิ า อมุํ อมู ตติยา อมุนา อมหู ิ อมภู ิ อมุหิ อมุภิ จตุตถี อมสุ สฺ อทสุ สฺ อมูสํ อมสู านํ อมสุ ํ อมสุ านํ ปญั จมี อมมุ หฺ า อมุสฺมา อมูหิ อมภู ิ อมุหิ อมภุ ิ ฉฏั ฐี อมสุ ฺส อทสุ ฺส อมูสํ อมสู านํ อมสุ ํ อมสุ านํ สตั ตมี อมุมหฺ ิ อมุสฺมึ อมูสุ อมสุ ุ (๒) อติ ถีลิงค์ อุการนั ต์ อมุ สัททปทมาลา (โนน้ ) วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา อสุ อมุ อมู อมุโย ทตุ ิยา อมํุ อมู อมุโย ตตยิ า อมุยา อมหู ิ อมูภิ จตุตถี อมสุ สฺ า อมุยา อมูสํ อมสู านํ ปัญจมี อมยุ า อมหู ิ อมภู ิ ฉัฏฐี อมุสฺสา อมุยา อมูสํ อมูสานํ สตั ตมี อมสุ ฺสํ อมยุ ํ อมูสุ (๓) นปุงสกลิงค์ อุการันต์ อมุ สทั ทปทมาลา (โนน้ ) วิภตั ติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อทํุ อมู อมูนิ ทตุ ิยา อทํุ อมู อมูนิ ท่เี หลือจำ�แนกเหมอื นปงุ ลงิ ค์

สำ�หรบั นักศกึ ษาใหม ่ 61 ๒.๑. ปงุ ลงิ ค์ กึสทั ทปทมาลา จินฺโต กา โก จ กึสทฺโท อปปฺ กตถฺ สฺส วาจโก ยการยุตฺโต อาทมิ หฺ ิ สกลตฺถสสฺ   วาจโก อจินโฺ ต จ อยาทิ จ ปจุ ฺฉาวจกสมมฺ โต. กึศัพท์ทมี่ ี จิ อยทู่ า้ ยเปน็ โกจิ กาจิ กิญจฺ ิ เปน็ ตน้ มีอรรถวา่ “น้อย”, กึศัพทท์ มี่ ี ย อย่หู น้า และมี จิ อย่ทู ้ายเปน็ โย โกจิ ยา กาจิ ยํกิญฺจิ (ยงกฺ ิญฺจิ) เปน็ ต้น มอี รรถวา่ “ทั้งหมดทั้งส้นิ ”, กศึ ัพทอ์ ยา่ งเดยี วเปน็ โก กา กึ เปน็ ต้น มีอรรถค�ำ ถามว่า “ใคร อะไร อย่างไร ทีไ่ หน เมือ่ ไร หรือ” ข้อสงั เกต กึศัพท์ เมอื่ อาเทศเปน็ ก แล้ว มกี ารจ�ำ แนกวิภัตตเิ หมอื น สพพฺ ศพั ท์ ท้งั ๓ ลงิ ค ์ ตา่ งแต่ในนปงุ สกลงิ ค์เอกะเทา่ นั้นทมี่ รี ูปเปน็ กึ (๑) ปุงลิงค์ กึสทั ท-ยปพุ พ-จอิ ันตปทมาลา (ทัง้ หมดทงั้ สน้ิ ) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา โย โกจิ เย เกจิ ทุตยิ า ยํ กญฺจิ เย เกจิ ตติยา เยน เกนจิ เยหิ เกหจิ ิ จตตุ ถี ยสฺส กสฺสจิ เยสํ เกสญฺจิ ปัญจมี ยสฺมา กสฺมาจิ เยหิ เกหิจิ ฉฏั ฐี ยสสฺ กสสฺ จิ เยสํ เกสญจฺ ิ สัตตมี ยสฺมึ กสมฺ ญิ จฺ ิ ยสฺมึ กิสมฺ ญิ ฺจิ   เยสุ เกสจุ ิ

๒. นามกัณฑ์ 62 บาลไี วยากรณเ์ บือ้ งต้น (๒) อิตถีลิงค์ กึสัทท-ยปุพพ-จอิ นั ตปทมาลา (ท้งั หมดท้ังสนิ้ ) วภิ ัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา ยา กาจิ ยา กาจิ ทุติยา ยํ กญจฺ ิ ยา กาจิ ตติยา ยาย กายจิ ยาหิ กาหจิ ิ จตตุ ถี ยสสฺ า กสฺสาจิ ยาย กายจิ   ยาสํ กาสญฺจิ ปัญจมี ยาย กายจิ ยาหิ กาหิจิ ฉฏั ฐี ยสสฺ า กสฺสาจิ ยาย กายจิ ยาสํ กาสญฺจิ สตั ตมี ยสสฺ ํ กสสฺ ญจฺ ิ ยายํ กายญฺจิ ยาสุ กาสุจิ (๓) นปุงสกลิงค์ กึสทั ท-ยปุพพ-จอิ นั ตปทมาลา (ทั้งหมดท้งั สนิ้ ) วิภัตติ เอกวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา ยํ กิญฺจิ ยานิ กานจิ ิ ทตุ ยิ า ยํ กิญฺจิ ยานิ กานิจิ ทีเ่ หลอื เหมือนปงุ ลิงค์ ๒.๙. สังขยา สังขยา ทีเ่ ป็นสัพ​พนาม​ เปน็ คำ�ส�ำ หรับนับจำ�นวนสุทธนาม มี ๕ ตวั คอื เอก อภุ ทว​ฺ ิ ติ จตุ สว่ นสงั ขยาที่สงู กวา่ น้ีสำ�หรับนบั จ�ำ นวนทว่ั ไป มี ๒ จำ�พวก คอื ปกติสงั ขยา และ ปรู ณสังขยา สทั ทปทมาลาในสงั ขยาสพั พนาม สงั ขยาส​พั พนาม ๕ ตวั คอื เอก อุภ ทวฺ​ิ ติ จตุ มวี ิธีจ�ำ แนกวิภตั ติ เหมือนสัพพนามทว่ั ไป

สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 63 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ ปงุ ลงิ ค์ เอก สทั ทปทมาลา (หนงึ่ , เดยี ว) นปุงสกลงิ ค์ อติ ถีลงิ ค์ ว.ิ เอกวจนะ เอกวจนะ เอกวจนะ ป. เอโก เอกา เอกํ ทุ. เอกํ เอกํ เอกํ ต. เอเกน เอกาย เอเกน จตุ. เอกสฺส เอกสสฺ า เอกสิ สฺ า เอกาย เอกสฺส ปัญ. เอกมหฺ า เอกสมฺ า เอกาย เอกมหฺ า เอกสมฺ า ฉ. เอกสฺส เอกสสฺ า เอกสิ สฺ า เอกาย เอกสสฺ ส. เอกมฺหิ เอกสมฺ ึ เอกสฺสํ เอกิสฺสํ เอกายํ เอกมฺหิ เอกสฺมึ ทวฺ ิ สทั ทปทมาลา ๓ ลงิ ค์ (สอง) วภิ ตั ติ เอกวจนะ ปฐมา เทฺว ทุเว ทตุ ิยา เทฺว ทุเว ตติยา ทวฺ ีหิ ทฺวีภิ จตุตถี ทฺวนิ นฺ ํ ทุวนิ นฺ ํ ปัญจมี ทวฺ ีหิ ทวฺ ภี ิ ฉฏั ฐี ทวฺ นิ นฺ ํ ทุวินฺนํ สัตตมี ทวฺ สี ุ อภุ สทั ทปทมาลา ๓ ลงิ ค์ (ทง้ั สอง) วิภตั ติ พหวุ จนะ ปฐมา อุโภ อเุ ภ ทตุ ยิ า อโุ ภ อุเภ

๒. นามกัณฑ์ 64 บาลีไวยากรณเ์ บ้ืองต้น อุโภหิ อโุ ภภิ อเุ ภหิ อุเภภิ    ตติยา อุภนิ นฺ ํ จตตุ ถี อโุ ภหิ อุโภภิ อเุ ภหิ อุเภภิ ปญั จมี อภุ นิ นฺ ํ ฉัฏฐี อโุ ภสุ อเุ ภสุ สตั ตมี ติ สัททปทมาลา ๓ ลงิ ค์ (สาม) นปงุ สกลิงค์ ลิงค์ ปงุ ลงิ ค์ อิตถีลงิ ค์ วิภัตติ พหวุ จนะ พหวุ จนะ พหวุ จนะ ปฐมา ตโย ติสฺโส ตณี ิ ทตุ ยิ า ตโย ติสโฺ ส ตณี ิ ตติยา ตีหิ ตภี ิ ตีหิ ตีภิ ตีหิ ตีภิ จตตุ ถี ตณิ ฺณํ ติณฺณนฺน ํ ตสิ สฺ นนฺ ํ ตณิ ฺณํ ตณิ ฺณนนฺ ํ ปญั จม ี ตหี ิ ตีภิ ตีหิ ตีภิ ตีหิ ตภี ิ ฉัฏฐี ติณณฺ ํ ติณฺณนฺนํ ตสิ สฺ นนฺ ํ ตณิ ฺณํ ตณิ ฺณนฺนํ สตั ตมี ตสี ุ ตีสุ ตีสุ จตุ สัททปทมาลา (สี่) ๓ ลงิ ค์ ปงุ ลงิ ค์ อติ ถีลงิ ค์ นปงุ สกลงิ ค์ วภิ ัตติ พหุวจนะ พหุวจนะ พหวุ จนะ ปฐมา จตฺตาโร จตโุ ร จตสโฺ ส จตตฺ าริ ทตุ ิยา จตตฺ าโร จตโุ ร จตสโฺ ส จตตฺ าริ ตตยิ า จตูหิ จตภู ิ จตุพฺภิ จตูหิ จตภู ิ จตูหิ จตูภิ จตพุ ฺภิ จตตุ ถี จตุนนฺ ํ จตสสฺ นฺนํ จตุนนฺ ํ ปญั จมี จตหู ิ จตภู ิ จตุพภฺ ิ จตหู ิ จตูภิ จตูหิ จตภู ิ จตุพภฺ ิ

ส�ำ หรับนักศึกษาใหม ่ 65 ๒.๑. ปุงลิงค์ ฉัฏฐี จตนุ ฺนํ จตสฺสนนฺ ํ จตุนฺนํ สตั ตมี จตูสุ จตสู ุ จตสู ุ ปกติสงั ขยา ปกติสังขยา คอื ค�ำ ที่ใชน้ บั จ�ำ นวนตามธรรมดา ดงั น้ี เอก ๑ เอกวสี ติ ๒๑ ทฺวิ ๒ ทวฺ าวีสติ พาวสี ต ิ ๒๒ ติ ๓ เตวสี ต ิ ๒๓ จตุ ๔ จตวุ ีสติ ๒๔ ปญฺจ ๕ ปญจฺ วสี ติ ๒๕ ฉ ๖ ฉพพฺ ีสต ิ ๒๖ สตฺต ๗ สตฺตวีสต ิ ๒๗ อฏ€ฺ ๘ อฏฺ€วีสต ิ ๒๘ นว ๙ เอกนู ตสึ ต ิ ๒๙ ทส ๑๐ ตึส ตสึ ติ ๓๐ เอกาทส ๑๑ เอกตฺตึส ๓๑ ทวฺ าทส พารส ๑๒ ทฺวตฺตสึ พตตฺ ึส ๓๒ เตรส ๑๓ เตตฺตึส ๓๓ จตุทฺทส จุทฺทส โจทฺทส ๑๔ เอกนู จตฺตาฬสี ๓๙ ปญฺจทส ปณฺณรส ๑๕ จตตฺ าฬสี ตาฬีส ๔๐ โสฬส ๑๖ เอกจตตฺ าฬสี ๔๑ สตตฺ รส ๑๗ เทฺวจตตฺ าฬีส ๔๒ อฏฺ€ารส ๑๘ เตจตตฺ าฬสี ๔๓ เอกูนวสี ติ อนู วีสต ิ ๑๙ ปญฺ าส ปณณฺ าส ๕๐ วสี วีสต ิ ๒๐ สฏฺ€ี ๖๐

๒. นามกณั ฑ์ 66 บาลไี วยากรณ์เบอ้ื งต้น สตตฺ ติ ๗๐ สหสสฺ ๑,๐๐๐ อสีติ ๘๐ ทสสหสฺส นหตุ ๑๐,๐๐๐ นวตุ ิ ๙๐ สตสหสสฺ ลกขฺ ๑๐๐,๐๐๐ สต ๑๐๐ ทสสตสหสฺส ๑,๐๐๐,๐๐๐ คุณิตปกติสังขยา คุณิตปกติสงั ขยา คอื คำ�ใช้นับจำ�นวนตามปกติท่มี ีการคูณ ดังน้ี ปกติสงั ขยา คูณด้วย ช่ือสังขยา เลข เลขศนู ย ์ หนง่ึ (ไมม่ คี ณู ) ๑ - สอง ถึง เก้า หนึง่ ” ทวฺ ิ ถึง นว ๒-๙ - สบิ คูณ สิบ ทส ๑๑ ร้อย ๑๒ พัน ” สต ๑๓ หมนื่ ” สหสสฺ ๑๔ แสน ” ทสสหสฺส, นหตุ ๑๕ แสน ” สตสหสสฺ , ลกขฺ ๑๖ แสน โกฏิ ” ทสสตสหสสฺ ๑๗ แสน ปโกฏิ คณู รอ้ ย โกฏิ ๑ ๑๔ แสน โกฎปิ ปฺ โกฎิ ” ปโกฏิ ๑ ๒๑ แสน นหตุ ” โกฏปิ ปฺ โกฎิ ๑ ๒๘ แสน นนิ นฺ หุต ” นหตุ ๑ ๓๕ แสน อกฺโขภิณี ” นินฺนหุต ๑ ๔๒ แสน พินทฺ ” อกโฺ ขภิ ๑ ๔๙ แสน อพพฺ ุท ” พนิ ทฺ ุ ๑ ๕๖ แสน นิรพฺพุท ” อพฺพทุ ๑ ๖๓ ” นิรพฺพุท ๑ ๗๐ ” อหห

ส�ำ หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 67 ๒.๑. ปงุ ลิงค์ แสน อหห ” อพพ ๑ ๗๗ แสน อพพ ” อฏฏ ๑ ๘๔ แสน อฏฏ ” โสคนฺธกิ ๑ ๙๑ แสน โสคนธฺ กิ ” อุปปฺ ลลฺ ๑ ๙๘ แสน อุปปฺ ลลฺ ” กมุ ทุ ๑ ๑๐๕ แสน กมุ ทุ ” ปณุ ฺฑรกิ ๑ ๑๑๒ แสน ปุณฺฑรกิ ” ปทุม ๑ ๑๑๙ แสน ปทมุ ” กถาน ๑ ๑๒๖ แสน กถาน ” มหากถาน ๑ ๑๓๓ แสน มหากถาน ” อสงฺเขยฺ ยฺย ๑ ๑๔๐ อพฺพทุ าทปิ ทมุ าวสานํ  สีตนรกนามเธยฺยฏ€ฺ านํ.  อพพฺ ทุ ถึง ปทมุ    เปน็ ชื่อของสตี นรกที่หนาวจดั จตฺตาลีสสตํ สญุ ฺ ํ อสงเฺ ขยฺ ยฺยนตฺ ิ วุจจฺ ติ. เลขศูนย์ ๑๔๐ ตวั เรยี กว่า อสงฺเขฺยยยฺ (อสงไขย) คาถาจำ�แนกสังขยาโดยลงิ ค์ ๓ วจนะ ๒ ทวฺ าทโย อฏ€ฺ ารสนฺตา ติลิงฺเค พหวุ าจกา วีสตฺยาที นวุตยฺ นฺตา อิตฺถิลงิ เฺ คกวาจกา สตาที อสงเฺ ขยฺ ยยฺ นฺตา นปสํุ กา ทวฺ ิวาจกา โกฏติ ตฺ ยมกโฺ ขภณิ ี อิตถฺ ิลงิ ฺคา ทฺววิ าจกา. ทฺวิ (๒) ถึง อฏฺ€ารส (๑๘) เปน็ ๓ ลิงค์ พหวุ จนะ เอกนู วีสติ (๑๙) ถึง อฏฺ€นวตุ ิ (๙๘) เปน็ อิตถลี ิงค์ เอกวจนะ เอกูนสต (๙๙) ถึง อสงฺเขฺยยฺย เป็นนปงุ สกลิงค์ ๒ วจนะ โกฏิ ปโกฏิ โกฏปิ ปฺ โกฎิ อกฺโขภณิ ี เป็นอติ ถีลิงค์ ๒ วจนะ

๒. นามกัณฑ์ 68 บาลไี วยากรณเ์ บ้ืองต้น จำ�แนกสงั ขยาโดยนาม ๓ เอก ถึง จต ุ เปน็ สพั พนาม ปญฺจ ถงึ อฏ€ฺ นวุต ิ เป็นคุณนาม เอกนู สต ขนึ้ ไป เป็นสุทธนาม สัททปทมาลา ในปกตสิ งั ขยา ปกติ​สังขยา ตง้ั แต่ ปญจฺ ถึง อส​งฺ​เขยฺ ยยฺ ไม่​เป็นส​พั พ​ นา​ม จึง​ม​ีม​ีวธิ ​ี จำ�แนกต​า่ ง​จาก​สพั ​พนา​ม ดังน้ี ปญจฺ สัททปทมาลา ๓ ลงิ ค์ วภิ ตั ติ พหุวจนะ ปฐมา ปญจฺ ทตุ ิยา ปญฺจ ตตยิ า ปญจฺ หิ จตุตถี ปญจฺ นนฺ ํ ปัญจมี ปญฺจหิ ฉฏั ฐี ปญฺจนนฺ ํ สตั ตมี ปญฺจสุ ฉ ถึง อฏ€ฺ ารส ใหจ้ ำ�แนกวิภตั ตติ าม ปญฺจ เอกนู วสี สทั ทปทมาลา เปน็ อติ ถลี งิ ค์อย่างเดียว วภิ ตั ติ เอกวจนะ ปฐมา เอกูนวสี ํ ทตุ ิยา เอกนู วีสํ ตติยา เอกูนวสี าย

สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 69 ๒.๑. ปุงลิงค์ จตุตถี เอกูนวสี าย ปญั จมี เอกูนวีสาย ฉฏั ฐี เอกนู วีสาย สัตตมี เอกูนวสี าย ตงั้ แต่ วีส ถึง อฏฺ€ปญฺ าส จำ�แนกวิภัตตติ าม เอกูนวีส เอกนู วสี ติ ถงึ อฏ€ฺ นวตุ ิ มี ติ อยทู่ า้ ยใหจ้ �ำ แนกตาม รตตฺ ิ ฝ่าย เอกวจนะ, ถ้ามี ส อยทู่ ้ายใหจ้ �ำ แนกตาม เอกูนวีส, ถ้ามี อี ลงทา้ ยใหจ้ ำ�แนก ตาม อิตถฺ ี ฝา่ ยเอกวจนะ เอกูนสต ถงึ อสงฺเขยฺ ยฺย ใหจ้ ำ�แนกตาม จติ ฺต ท้งั ๒ วจนะ โกฏิ ปโกฏิ โกฏปิ ปฺ โกฎิ ให้จำ�แนกตาม รตตฺ ิ ท้งั ๒ วจนะ อกฺโขภณิ ี ให้จ�ำ แนกตาม อติ ฺถี ทง้ั ๒ วจนะ ตวั อยา่ งปูรณสังขยา ปูรณสงั ขยา คอื คำ�ท่ใี ช้นับใหเ้ ตม็ หรือนับตามล�ำ ดับ ดงั น้ี ปงุ ลิงค์ อิตถลี ิงค์ นปงุ สกลิงค์ แปล ป€โม ป€มา ป€มํ ที่ ๑ ทุตโิ ย ทุติยา ทตุ ยิ ํ ท่ี ๒ ตติโย ตติยา ตติยํ ท่ี ๓ จตตุ ฺโถ จตตุ ฺถา จตุตฺถี จตุตถฺ ํ ท่ี ๔ ปญจฺ โม ปญฺจมา ปญฺจมี ปญจฺ มํ ท่ี ๕ ฉฏโฺ € ฉฏฺ€า ฉฏ€ฺ ี ฉฏฺ€ํ ที่ ๖ สตตฺ โม สตตฺ มา สตตฺ มี สตตฺ มํ ที่ ๗ อฏ€ฺ โม อฏฺ€มา อฏฺ€มี อฏ€ฺ มํ ที่ ๘ นวโม นวมา นวมี นวมํ ท่ี ๙ ทสโม ทสมา ทสมี ทสมํ ท่ี ๑๐

๒. นามกัณฑ์ 70 บาลีไวยากรณเ์ บ้ืองตน้ เอกาทสโม เอกาทสี เอกาทสึ เอกาทสมํ ที่ ๑๑ ทฺวาทสโม พารสโม ทวฺ าทสี พารสี ทวฺ าทสมํ พารสมํ ท่ี ๑๒ เตรสโม เตรสี เตรสมํ ท่ี ๑๓ จตทุ ทฺ สโม จทุ ทฺ สโม จตทุ ทฺ สี จาตทุ ทฺ สี จตุทฺทสมํ ท่ี ๑๔ ปณณฺ รสโม ปญจฺ ทสโม ปณณฺ รสี ปญจฺ ทส ี ปณณฺ รสมํ ท่ี ๑๕ โสฬสโม โสฬสี โสฬสมํ ท่ี ๑๖ สตฺตรสโม สตฺตทสโม สตตฺ รสี สตตฺ รสมํ ที่ ๑๗ อฏ€ฺ ารสโม อฏ€ฺ าทสโม อฏฺ€ารสี อฏฺ€ารสมํ ท่ี ๑๘ เอกนู วสี ตโิ ม เอกูนวสี ตมิ า เอกูนวีสติมํ ที่ ๑๙ วสี ตโิ ม วสี ติมา วีสตมิ ํ ที่ ๒๐ ป​รู ณส​ังขยา จัดเปน็ ค​ุณนาม มี​ใช​ท้ ั้ง ๓ ลงิ ค์ เป็นเอกว​จนะอ​ย่าง​เดียว ให้จ​�ำ แนก​ตาม​สทุ ธ​นามใ​น​ลงิ ค​์และก​ารนั ต์​น้ันๆ ๒.๑๐. อัพยยศพั ท์ อัพย​ยศัพท์ คือ​ศัพท์ท​ ี่​คง​รูป​เดิม​ไว้ ไม่เปล่ียนรูปไปตามล​ิงค์ การันต์ วิภัตต​ิ และ​วจนะ มี ๓ อย่าง คอื ปจั จ​ยันต​ะ อุปส​คั และน​ิบาต ๑. ปัจจยนั ตะ ปจั จย​ันต​ะ คอื ศ​ัพทท์ ​ม่ี ​ีปัจจัย ๒๒ ตวั อ​ย​สู่ ุดท้าย มี ๒ อยา่ ง คอื วิภัตติปัจจยันตะ และ ตเวตนุ าทิปจั จยันตะ ๑.๑. วภิ ัตตปิ ัจจยันตะ วิภัตติปัจจยันตะ ประกอบปัจจัย​ไ​ว้หลังสุทธ​นาม​และ​สัพ​พนา​ม​แทน​ วภิ ตั ติ ม​อ​ี รรถเ​หมอื นว​ภิ ตั ติ เมอื่ ส�ำ เรจ็ รปู แลว้ จดั เปน็ อพั ยยศพั ท์ มี ๓ อยา่ ง คอื ๑. โตป​ ัจจยั ประกอบห​ ลงั ส​ุทธ​นามแ​ละส​ัพ​พนาม​ ม​ีอรร​ถต​ติย​าว​ิภัตติ

ส�ำ หรับนักศกึ ษาใหม ่ 71 ๒.๑. ปุงลิงค์ แปล​ว่า “ข้าง, โดย” เช่น ปุรโ​ต ขา้ ง​หน้า, ปิฏ€ฺ ิโต ขา้ งหลัง. มี​อรรถป​ ญั จมี​ วภิ ัตติ แปล​ว่า “แต่, จาก” เชน่ ตโต €านโ​ต แตท่​ ​่นี ั้น, จากท​ ่​ีน้ัน ๒. ปัจจยั ๙ ตวั คือ ตรฺ ถ ห ธ ธิ หึ หํ หญิ จฺ​นํ ว ประกอบห​ ลงั ​ สัพ​พนา​ม มี​อรรถส​ัต​ตมีว​ิภตั ติ แปลว​า่ “ใน...” เช่น ตตฺร ตตฺถ ใน...นั้น, อิห อธิ ใน...น,้ี สพฺพธิ ใน...ทงั้ ป​ วง, ก​ุหึ กุหํ กหุ ญิ จ​ฺ นํ กว ใน...ไหน ๓. ปัจจยั ๗ ตวั คอื ทา ทา​นิ รหิ ธุ​นา ทา​จนํ ชชฺ ช​ฺชุ ประกอบ​ หลงั ​สพั พ​ นา​ม ม​ีอรรถ​กาลส​ัต​ตมี แปลว​า่ “ในก​าล, ในเ​วลา” เช่น สทา ใน​ กาลท​ กุ ​เมอื่ , อท​ิ าน​ิ เอตรหิ ใน​เวลา​นี้ บัดนี้, อธุ​นา ใน​กาล​นี,้ กท​ุ าจ​นํ ใน​ กาลไ​หน, อชชฺ ใน​วันน​้ี, ปรช​ฺชุ ในว​นั อ​ื่น ๑.๒. ตเวตุนาทปิ ัจจยนั ตะ  ตเวตนุ าทิปจั จ​ยนั ต​ะ มีตเวตุนาทิปจั จยั ๕ ตัว คือ ตเว ตํุ ตนุ ต​ฺวา ต​วฺ าน ประกอบหลงั ธาตุ เมอ่ื ส�ำ เรจ็ แลว้ จดั เปน็ อพั ยยศพั ท์ มี ๒ อยา่ ง คอื ๑. ปจั จัย ๒ ตวั ​คือ ตเว ตุํ ลง​หลงั จ​ากธาตุ มอี​รร​ถ​จตุตถี​วิภตั ติ แปล​ วา่ “เพือ่ ” เชน่ กาตเว กาต​ํุ เพือ่ ​กระท�ำ เป็นต้น ๒. ปจั จัย ๓ ตัว​คือ ตุน ต​ฺวา ตว​ฺ าน ล​ง​หลังจ​ากธาตุ​ใช้ใน​อดตี กาล แปล​ว่า “แล้ว” เช่น กาต​ุน กต​ฺวา กตฺ​วาน กระทำ�แ​ลว้ เปน็ ต้น ส่วน อิตถิ​โชตก​ปัจจัย​ใน​นาม ปัจจัย​ในตัทธิต ปัจจัย​ใน​อาขยาต และ​ ปจั จยั ใ​นก​ิต (เว้น ตเวตนุ าทปิ ัจจยั ) ไม​จ่ ัด​เป็น​อพั ย​ยศพั ท์ ๒. อปุ สคั อุปสคั คือศัพท์ท่ีใชป้ ระกอบหน้านามเหมือนเป็นคณุ นามและประกอบ หนา้ กริ ิยาเหมือนเป็นกิริยาวเิ สสนะ ท�ำ ให้มอี รรถพเิ ศษขน้ึ วเิ คราะหว์ ่า “อุเปจจฺ นามกรฺ ยิ านํ อตถฺ ํ สชชฺ นตฺ ตี ิ อปุ สคคฺ า บททเี่ ขา้ ไปปรงุ แตง่ เนอ้ื ความของนามและ กริยา ช่อื วา่ อุปสัค” มี ๒๐ ตวั คือ

๒. นามกัณฑ์ 72 บาลีไวยากรณ์เบ้ืองตน้ ป ปรา นิ นี อุ ทุ สํ, วิ อว (โอ) อนุ ปริ อธิ อภิ ปติ (ปฏ)ิ , สุ อา อติ อปิ อป อุป ตารางอุปสัค อรรถ อุทาหรณ์ และคำ�แปล อรรถ ป อปุ สัค คำ�แปล ปการ อทุ าหรณ์ อาทิกมฺม ปญฺ า รทู้ ว่ั ปธาน วิปปฺ กตํ ท�ำ ค้างไว้ อิสสฺ รยิ ปณตี ํ สงู สุด, ประณีต อนโฺ ตภาว ปภู อยํ เทสสสฺ ผูน้ ้ีเป็นใหญใ่ นประเทศ วโิ ยเค ปกขฺ ิตฺตํ ใสเ่ ขา้ ไว้ ตปปฺ ร ปวาสี แยกกนั อยู่ ภสุ ตฺถ ปาจรโิ ย บูรพาจารย์ สมภฺ ว ปวุทธฺ กาโย ผู้มรี ่างกายใหญโ่ ต ติตตฺ ิ ปภวติ เริม่ ตน้ , เกิดข้ึน อนาวลิ ปหตู มนฺนํ ขา้ วมากเพยี งพอ ปตฺถน ปสนนฺ มทุ กํ นำ�้ ใสสะอาด ปณหิ ติ ํ ตั้งความปรารถนา เปน็ ตน้ อรรถ ปริหานิ ปรา อปุ สคั คำ�แปล ปราชย อุทาหรณ์ คติ ปราภโว ความเสือ่ ม วกิ ฺกม ปราชโิ ต ปราชยั , แพ้ อามสน ปรายนํ การไปสู่ภพหนา้ ปรกกฺ มติ ก้าวไปขา้ งหน้า, กา้ วหน้า องคฺ สสฺ ปรามสนํ   การลูบคล�ำ อวยั วะ เปน็ ต้น

สำ�หรับนกั ศกึ ษาใหม ่ 73 ๒.๑. ปงุ ลงิ ค์ อรรถ น ิ อุปสัค คำ�แปล นสิ เฺ สส อุทาหรณ์ นคิ ฺคต นริ ุตฺติ ค�ำ ทกี่ ล่าวโดยไมเ่ หลอื นิหรณ อนโฺ ตปเวสน นิกกฺ ิเลโส ปราศจากกิเลส อภาว นเิ สธ นยิ ฺยาติ ออกไป นิกฺขนตฺ ปาตภุ าว นทิ ธฺ ารณํ การถอดถอน, การถอยออก อวธารณ วภิ ชน นขิ าโต ฝงั ไว้ อุปมา อุปธารณ นิมมฺ กขฺ กิ ํ (รงั ผึ้ง) ไมม่ ีตัวออ่ น อวสาน เฉก นวิ าเรติ หา้ มไว้ อรรถ นพิ พฺ านํ สภาวะอันออกจากตัณหา นีหรณ อาวรณ นิมมฺ ิตํ เนรมิต, บันดาล อรรถ นจิ ฉฺ โย การตัดสิน อคุ ฺคต นิทเฺ ทโส การชี้แจง, การแสดงโดยพิสดาร  นทิ สสฺ นํ อุทาหรณ,์ การเปรียบเทียบ นิสามนํ การพจิ ารณา นฏิ €ฺ ิตํ จบ, อวสาน นปิ โุ ณ ฉลาด เป็นตน้ นี อปุ สคั คำ�แปล อุทาหรณ์ นหี รติ น�ำ ออก นวี รณํ กีดขวาง, กน้ั ไมใ่ หบ้ รรลุความดี อ ุ อุปสคั ค�ำ แปล อุทาหรณ์ อุคคฺ จฺฉติ ขน้ึ ไป

๒. นามกณั ฑ์ 74 บาลีไวยากรณเ์ บอ้ื งตน้ อทุ ฺธกมมฺ    อาสนา อุฏฺ€ิโต ลุกข้นึ จากทนี่ ั่ง ปธาน อุกเฺ ขโป ยกข้นึ วิโยค อตุ ตฺ โม ประเสริฐ, สูงสุด สมภฺ ว อตฺถลาภ โลกุตตฺ โร ธรรมอันเหนอื โลก สตตฺ ิ สรูปกถน อุพฺพาสิโต ถกู แยกจากกัน อรรถ อพุ ฺภูโต เกิดขน้ึ แลว้ อโสภณ อภาว อุปปฺ นฺนํ าณํ ปญั ญาเกดิ ข้ึนแลว้ กุจฉฺ ิต อสมิทฺธิ อุสสฺ หติ คนฺตํุ อาจ (สามารถ) เพ่อื จะไป   กจิ ฉฺ วิรปู ตา อทุ ฺทิสติ สุตตฺ ํ สวดพระสูตร เปน็ ตน้ อรรถ ท ุ อุปสัค สโมธาน อุทาหรณ์ ค�ำ แปล สมฺมา สม ทคุ ฺคนฺโธ มกี ล่ินเหมน็ สมนฺตภาว ทุพภฺ ิกขฺ ํ อาหารขาดแคลน, ทพุ ภกิ ขภัย ทุกฺกฏํ ท�ำ ความเสียหาย, ท�ำ ไมส่ มควร ทุสฺสสสฺ ํ ขา้ วกลา้ ไมส่ มบูรณ์ ทกุ กฺ รํ ทำ�ยาก, ลำ�บาก ทพุ ฺพณฺโณ ผิวพรรณไมง่ าม ทมุ มฺ ุโข หน้าไมส่ วย, หน้าบง้ึ เป็นต้น ส ํ อปุ สัค อุทาหรณ์ คำ�แปล สนธฺ ิ การตอ่ , เชือ่ มโยง สมาธิ สมาธ,ิ จติ ตั้งม่นั , ต้ังไว้ดี สมฺปยุตฺโต ประกอบอยู่เสมอ สกํ ณิ ณฺ า เกลือ่ น, กระจดั กระจาย

สำ�หรบั นกั ศึกษาใหม ่ 75 ๒.๑. ปุงลิงค์ สมลุ ลฺ ปนา พดู เลียบเคียง สงคฺ ต สงฺคโม สงั คม, พบปะ, ไปมาหาสู่ สงฺเขป ภสุ ตถฺ สมาโส การยอ่ สหตฺถ อปฺปตฺถ สารตโฺ ต ก�ำ หนัดจดั , ตณั หาจัด ปภว อภิมขุ ภาว สํวาโส การอยู่ร่วมกัน สงฺคห ปิธาน สมคโฺ ฆ ราคาถกู ปุนปฺปุนกรณ สมิทฺธิ สมภฺ โว เกิดขึ้น อรรถ สมฺมขุ ํ ต่อหน้า, เฉพาะหน้า วิเสส    สงคฺ ณหฺ าติ สงเคราะห,์ รวบรวม วิวิธ สํวตุ ํ ปดิ ,ครอบ, สำ�รวม, ระวงั วิรทุ ฺธ วิคต สนธฺ าวติ วิ่งไปเร่อื ยๆ, ท่องเทยี่ ว วโิ ยค วิรูปตา สมปฺ นฺโน สมบรู ณ์, เพียบพรอ้ ม เปน็ ต้น วิ อปุ สคั อทุ าหรณ์ คำ�แปล วมิ ุตฺติ ความหลดุ พน้ วิสฏิ ฺโ€ พิเศษ, ประเสริฐ วมิ ติ ความสงสัย วิจติ รฺ ํ วจิ ิตร, ลาย, ด่าง วิวาโท การทะเลาะ, ความขดั แยง้ วิมลํ ปราศจากมลทนิ วิปปฺ ยุตโฺ ต แยกจากกนั , ไม่ประกอบ วริ ูโป รปู ไม่งาม, รูปแปลกตา เปน็ ต้น

๒. นามกัณฑ์ 76 บาลีไวยากรณ์เบ้ืองต้น อว อุปสคั อรรถ อทุ าหรณ์ ค�ำ แปล อโธภาค อวกฺขติ ตฺ จกขฺ ุ ทอดสายตาลงต�่ำ , มองตำ่� วิโยค โอมุกฺกอุปาหโน ถอดรองเทา้ แล้ว อวโกกลิ ํ วนํ ปา่ ที่นกดเุ หว่าจากไป ปริภว อวชานนํ การดูหมิ่น, ดูถูก อวมญฺ ติ ดหู มิน่ ชานน อวคจฉฺ ติ ยอ่ มรู้ สุทฺธิ โวทานํ ขาวสะอาด, หมดจด นจิ ฺฉย อวธารณํ การตดั สนิ เทส อวกาโส สถานที่โลง่ แจง้ เถยฺย อวหาโร การลัก, ขโมย เป็นต้น อน ุ อปุ สัค อรรถ อทุ าหรณ์ ค�ำ แปล อนุคต อเนวฺ ติ ติดตามไป อนุปจฺฉนิ ฺน   อนสุ โย อนสุ ัย, กเิ ลสในกน้ บึ้งหวั ใจ ปจฺฉาสทฺทตถฺ อนรุ ถํ ฝนุ่ ทปี่ ลิวตามหลังรถ ภสุ ตฺถ อนรุ ตโฺ ต ก�ำ หนัดจดั , มกั ยนิ ดี สาทิสฺส อนรุ ปู ํ สมควร, มสี ภาพเหมือนกนั หีน อนสุ ารปิ ตุ ตฺ ํ ปญฺ วนโฺ ต ผมู้ ปี ญั ญาดอ้ ยกว่าพระสารบี ตุ ร ตตยิ ตฺถ นทิมนฺววสิตา เสนา กองทัพตงั้ เรยี งรายตามแมน่ ำ�้ ลกขฺ ณ รกุ ขฺ ํ อนุ วชิ โฺ ชตเต วชิ ชฺ ุ ฟา้ แลบสว่างท่ตี น้ ไม้

สำ�หรับนกั ศกึ ษาใหม ่ 77 ๒.๑. ปุงลิงค์ อติ ถฺ มภฺ ตู กขฺ าน สาธุ เทวทตฺโต นายเทวทัตดีเฉพาะกับมารดา มาตรํ อนุ ภาค ยเทตถฺ มํ อนุ สิยา, ในทรัพย์ทั้งหมดน้ัน ทรัพย์ใด ตํ ทียตุ เปน็ สว่ นของเรา จงใหท้ รัพยน์ น้ั วจิ ฺฉา รกุ ฺขํ รกุ ขฺ ํ อนุ ดวงจันทร์ส่องสว่าง ที่ต้นไม้ทุก วิชโฺ ชตเต จนโฺ ท ต้น เป็นต้น ปร ิ อุปสัค คำ�แปล อรรถ อทุ าหรณ์ สมนตฺ โตภาว ปรวิ โุ ต แวดลอ้ ม, หอ้ มลอ้ ม ปริจเฺ ฉท ปริญฺเยฺยํ ควรก�ำ หนดรู้ วชชฺ น ปรหิ รติ หลกี , เวน้ อาลิงคฺ น ปรสิ ฺสชติ กอด นวิ าสน วตถฺ ํ ปรธิ สสฺ ติ นุ่งหม่ ผ้า ปชู า ปาริจริยา การรบั ใช้ โภชน ภกิ ขฺ ุํ ปรวิ สิ ติ องั คาสภกิ ษุ อวชานน ปริภวติ ดหู มิน่ โทสกฺขาน ปรภิ าสติ บริภาษ, ตัดพ้อ, ต่อวา่ , ดา่ ลกขฺ ณ รกุ ขฺ ํ ปริ วชิ โฺ ชตเต วชิ ชฺ ุ ฟ้าแลบสวา่ งท่ีต้นไม้ เป็นต้น อธิ อุปสคั ค�ำ แปล อรรถ อุทาหรณ์ อธิก อธสิ ลี ํ อธศิ ลี , ศลี ที่ย่งิ หรอื เคร่งครดั อิสฺสร อธปิ ติ อธิบด,ี ผ้เู ป็นใหญ่ อปุ รภิ าว อธิโรหติ งอกขน้ึ ปถวึ อธิเสสสฺ ติ จกั นอนทับแผน่ ดนิ อธิภวน อธภิ วติ ครอบครอง, ปกครอง, ครอบง�ำ

๒. นามกัณฑ์ 78 บาลีไวยากรณเ์ บ้อื งตน้ อชฌฺ ายน พฺยากรณมธีเต สวดคัมภรี ์ไวยากรณ์ อธิฏ€ฺ าน ภูมกิ มปฺ าทึ อธิฏฺ€าติ อธิษฐานให้แผน่ ดนิ ไหวเปน็ ตน้ นจิ ฉฺ ย อธโิ มกฺโข การตดั สนิ ปาปุณน โภคกฺขนธฺ ํ อธคิ จฺฉติ ได้กองโภคทรพั ย์ เปน็ ตน้ อรรถ อภิ อุปสคั อภิมขุ ภาว อทุ าหรณ์ ค�ำ แปล วิสิฏ€ฺ อภิมุโข ตอ่ หน้า, เฉพาะหน้า, มุ่งตรง อธกิ อภิกฺกมติ กา้ วไปขา้ งหนา้ , เดนิ หนา้ อุทฺธกมมฺ อภธิ มโฺ ม ธรรมอนั ประเสริฐสดุ กุล อภวิ สฺสติ ฝนตกหนกั สารุปฺป อภิรหุ ติ ขึ้นไป วนฺทน อภิชาโต เกิดในตระกลู ดี อภิรูโป รูปงาม, หล่อ, สวย อรรถ อภวิ าเทติ กราบ, ไหว้ เปน็ ต้น ปตคิ ต ปฏโิ ลม ปติ อปุ สคั ปตินิธิ อทุ าหรณ์ ค�ำ แปล ปติทาน ปจฺจกฺขํ ประจกั ษ์, ชดั เจน นิเสธ ปติโสตํ ทวนกระแส นิวตตฺ น อาจรยิ โต ปติ สสิ โฺ ส ศษิ ย์เป็นตวั แทนจากอาจารย์ สาทิสสฺ เตลตฺถกิ สสฺ ฆตํ ให้น้ำ�มันเปรียงแทน แก่ผู้ ปตกิ รณ ปตทิ ทาติ ตอ้ งการ น้ำ�มัน ปฏเิ สธนํ การปฏิเสธ, การห้าม ปฏิกฺกมติ กลบั , เดนิ กลับ ปฏิรปู กํ รูปเหมอื น ปตกิ าโร ตอบแทน, ทำ�คืน

ส�ำ หรับนกั ศกึ ษาใหม ่ 79 ๒.๑. ปงุ ลงิ ค์ อาทาน ปติคคฺ ณฺหาติ (ปฏ-ิ ) รบั เอา ปติโพธ ปฏิจฺจ ปฏิเวโธ ปฏิเวธ, รูแ้ จ้ง, การแทงตลอด อรรถ ปจจฺ โย เหตุ, ปจั จยั เปน็ ต้น สุฏฐฺ ุ, สมมฺ า สขุ ตฺถ สุ อุปสัค อรรถ อทุ าหรณ์ ค�ำ แปล อภมิ ุขภาว อทุ ฺธกมฺม สคุ โต ผู้เสดจ็ ไปดี, เสดจ็ ไปโดยชอบ มริยาทา อภวิ ธิ ิ สกุ โร ท�ำ ง่าย, สะดวกสบาย เป็นต้น ปตตฺ ิ อา อปุ สัค อิจฉฺ า ปรสิ สฺ ชน อุทาหรณ์ ค�ำ แปล อาทกิ มฺม คหณ อาคจฺฉติ มา นิวาส อาโรหติ ขึน้ สมีป อวหาน อาปพพฺ ตา เขตตฺ ํ นาจรดภเู ขา อากมุ ารํ ยโส ชอื่ เสียงของพระกัจจายนะ กจจฺ ายนสสฺ แผไ่ ปถึงเดก็ อาปตตฺ มิ าปนฺโน ต้องอาบัติ อากงฺขา หวัง, ต้องการ อาลงิ คฺ นํ การกอด อารมฺโภ การริเริม่ , การเรมิ่ ต้น อาทียติ ถกู ถือเอา อาลมพฺ ติ ห้วิ ไป, ห้อยไว้, รบั เอา อาวสโถ ทอ่ี ยู่, บา้ น อาสนฺนํ ใกล้ อามนฺเตมิ เรียกมา, เรยี กหา เป็นตน้

๒. นามกณั ฑ์ 80 บาลีไวยากรณ์เบอ้ื งต้น อติ อุปสคั ค�ำ แปล อรรถ อทุ าหรณ์ อตกิ ฺกมน อติโรจติ อมฺเหหิ รุ่งเรอื งกวา่ พวกเรา อติกฺกนฺต อตโี ต ลว่ งเลยไปแลว้ อตสิ ย อจจฺ นตฺ ํ เกนิ ขอบเขต, เกนิ ประมาณ ภุสตฺถ อติกสุ โล ฉลาดย่ิง อตกิ โฺ กโธ โกรธจัด อรรถ อติวทุ ฺธิ เจริญมาก เปน็ ต้น สมฺภาวนา อปิ อุปสัค อเปกขฺ า อุทาหรณ์ คำ�แปล สมจุ ฺฉย อปิ ทพิ ฺเพสุ กาเมสุ แม้ในกามอนั เปน็ ทพิ ย์ เมรุมฺปิ วินิวชิ ฌฺ ิตฺวา เจาะแมเ้ ขาพระสเุ มรุไป ครห คจเฺ ฉยฺย ปญหฺ อยมปฺ ิ ธมฺโม อนิยโต แม้อาบตั ินก้ี ไ็ มแ่ นน่ อน อติ ิปิ อรหํ เพราะเหตุน้ี จึงทรงเป็นพระ อรรถ อรหนั ต์ อปคต อนตฺ มฺปิ อนตฺ คณุ มฺปิ หมายเอาทง้ั ไสใ้ หญ่และไสน้ อ้ ย ครห อาทาย อปิ อมฺหากํ ปณฺฑิตก น่บี ณั ฑติ นา่ เกลียดของพวกเรา อปิ ภนเฺ ต ภกิ ขฺ ํ ลภติ ถฺ ผเู้ จรญิ ทา่ นไดภ้ กิ ษาบา้ งหรอื ไม่ อป อุปสคั อุทาหรณ์ ค�ำ แปล อปมาโน ผปู้ ราศจากมานะ อเปโต หลกี ไปแล้ว อปคพโฺ ภ มคี รรภ์เลว

สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 81 ๒.๑. ปงุ ลงิ ค์ วชฺชน อปสาลาย อายนตฺ ิ พวกพอ่ คา้ เดนิ ออ้ มศาลามา ปูชา วานชิ า ปทสุ สฺ น วุทฺธาปจายี มปี รกตนิ อบนอ้ มต่อผใู้ หญ่ อปรชฺฌติ ประทษุ รา้ ย, ประพฤติผิด อรรถ อปุ คมน อปุ  อุปสคั สมปี อุปปตตฺ ิ อทุ าหรณ์ ค�ำ แปล นิสนิ ฺนํ วา อปุ นิสีเทยฺย เข้าไปนั่งใกลผ้ ู้นั่งอยู่แล้วบา้ ง สาทสิ สฺ อุปนครํ ใกล้เมอื ง อธิก สคคฺ ํ โลกํ อปุ ปชฺชติ เขา้ ถึงโลกสวรรค์ อุปริภาว อุปปตฺติโต อิกฺขตตี ิ รอดตู ามสมควร ชื่อวา่ อเุ บกขา อนสน อเุ ปกฺขา โทสกฺขาน อปุ มานํ อุปมา การเปรียบเทียบ ชื่อวา่ อปุ มา สญฺา อปุ ขาริยํ โทโณ (ปรมิ าณเทา่ กนั ) นบั ทะนาน ปุพพฺ กมมฺ มากกวา่ ขารี ปชู า อุปสมปฺ นโฺ น ผู้ถงึ ความเปน็ ผู้สูงสุด, ผู้ได้รับอุปสมบท คยฺหการ อปุ วาโส การอย่จู �ำ , สมาทานงดอาหาร ปรํ อุปวทติ กลา่ วหาผอู้ นื่ อุปสคฺโค ชอ่ื อปุ สคั อปุ กกฺ โม ก้าวไปข้างหน้า, พากเพียร อุปกาโร ทำ�ก่อน, ผ้มู อี ุปการคุณ พทุ ฺธปุ ฏ€ฺ าโก อุปฏั ฐากพระพทุ ธเจ้า, เข้าเฝ้า พระพุทธเจ้า มาตุปฏ€ฺ านํ การเล้ยี งดมู ารดา โสเจยฺยปจจฺ ุปฏ€ฺ านํ ปรากฏโดยความเป็นผูส้ ะอาด

๒. นามกณั ฑ์ 82 บาลีไวยากรณเ์ บอื้ งต้น ภสุ ตฺถ อปุ าทานํ การยดึ ถอื , การตดิ อุปายาโส ความลำ�บากอย่างหนกั อปุ นสิ ฺสโย ที่อาศัยอยู่, อปุ นสิ ยั เปน็ ตน้ ๓. นบิ าต นิบาต คือ​ศพั ท์​ที​ต่ กลงระหว่างน​ามศ​ัพท์​บ้าง กิรยิ า​ศพั ทบ์​ า้ ง ม​ีรูปค​ง​ เดมิ ใน​ลิงค​ท์ ัง้ ๓ ใน​วภิ ตั ต​ิท้งั ๗ และ​ในวจนะ​ทง้ั ​๒ แบง่ เป็น ๓ กลุ่ม คอื นบิ าต​อรรถเ​ดยี วกัน นบิ าตห​ ลาย​อรรถ และน​ิบาต​ใน​อรรถต​า่ งๆ กล่มุ ท่ี ๑ นบิ าตอรรถเดียวกัน กลุ่ม​นิบาต​หลาย​ศัพท์​มี​อรรถ​เดียวกัน​นี้ บาง​ตัว​มี​อรรถ​ของ​วิภัตติ​นาม​ ประกอบอ​ย​ู่ เรยี กว​า่ “วภ​ิ ตั ย​ตั ถน​บิ าต” บางต​วั ไ​มม่ อ​ี รรถข​องว​ภิ ตั ตน​ิ ามป​ระกอบ เรยี กว​า่ “อว​​ิภตั ย​ัตถน​บิ าต” วภิ ตั ยตั ถนิบาต นบิ าตมอี รรถวภิ ตั ตินาม นิบาตที่มีอรรถของวิภัตตินาม แบ่งกลุ่มตามที่มีอรรถวิภัตติเดียวกัน มี ๘ อรรถ คอื นบิ าต ค�ำ แปล ๑. อรรถอาลปนะ ยคเฺ ฆ ขอเดชะ, ภนเฺ ต ขอโอกาส นยิ มใช้ ทา่ นผู้เจริญ เปน็ คำ�ทสี่ ามญั ชนเรียกเจา้ นายชน้ั สูง, เป็นค�ำ ทภ่ี ิกษุรปู หนง่ึ ขอโอกาสตอ่ สงฆ์ เปน็ ค�ำ ทค่ี ฤหสั ถห์ รอื บรรพชติ ผนู้ อ้ ย เรยี ก บรรพชติ ผใู้ หญ่

ส�ำ หรับนกั ศึกษาใหม ่ 83 ๒.๑. ปงุ ลิงค์ ภททฺ นเฺ ต ทา่ นผู้เจริญ เปน็ ค�ำ ทค่ี ฤหสั ถห์ รอื บรรพชติ ผนู้ อ้ ย เรยี ก อาวโุ ส ผู้มีอายุ บรรพชติ ผใู้ หญ่ โภ, อมโฺ ภ ผเู้ จรญิ เป็นคำ�ทบ่ี รรพชิตผ้ใู หญ่ เรียกบรรพชิตผู้นอ้ ย ภทฺเท นางผเู้ จริญ, หรือเรยี กคฤหัสถ์ เปน็ คำ�เรยี กผูช้ ายดว้ ยวาจาสภุ าพ น้องสาว เป็นค�ำ เรียกผหู้ ญงิ ด้วยวาจาสุภาพ เร, อเร เว้ย, โวย้ เปน็ ค�ำ เรยี กคนเลว คนชน้ั ต่�ำ ภเณ พนาย เปน็ คำ�ท่เี จ้านายเรียกผู้อยใู่ ตบ้ งั คับของตน เช แม,่ เธอ เป็นคำ�เรยี กสาวใช้ ๒. อรรถปฐมา อตฺถ ิ มอี ยู่ สกฺกา อาจ, สามารถ ลพภฺ า พงึ ได,้ ควรได้ ทิวา กลางวัน ภยิ โฺ ย ยง่ิ นโม ความนอบน้อม ทิวา ทั้งวนั ๓. อรรถทุติยา ภิยโฺ ย ให้ยิง่ นโม ซึ่งความนอบน้อม ๔. อรรถตติยา ส,ํ สย,ํ สาม ํ ดว้ ยตนเอง, เอง สมมฺ า ด้วยด,ี โดยชอบ กินตฺ ิ ดว้ ยเหตุไร ปทโส โดยบท สุตตฺ โส โดยสูตร ทุกฺขโต โดยลำ�บาก อนจิ ฺจโต โดยไม่แนน่ อน ทวฺ ธิ า โดยสองสว่ น เอกธา โดยส่วนเดยี ว

๒. นามกณั ฑ์ 84 บาลีไวยากรณเ์ บอ้ื งตน้ ๕. อรรถจตุตถี (ตเว ตุํ ปจั จัย) กาตเว, กาตํุ  เพอ่ื ทำ� ทาตเว, ทาตํุ  เพื่อให ้          กาเรตุํ เพ่ือใหท้ �ำ ทาเปตํุ เพ่อื ให้ถวาย ๖. อรรถปญั จมี (โส โต ปจั จยั ) ทีฆโส จากดา้ นยาว โอรโส จากฝ่งั นี้ ราชโต จากพระราชา โจรโต จากโจร ๗. อรรถสัตตมี สมนฺตา ในทกุ ท,่ี ในที่รอบๆ สามนฺตา ในทีใ่ กล้, ในทีร่ อบๆ ปรโิ ต ในที่รอบๆ สมนตฺ โต ในที่รอบๆ อภโิ ต ในข้างหนา้ เอกชฌฺ ํ ในสิง่ เดียว เอกมนตฺ ํ ในท่ีหนงึ่ , ณ ทส่ี มควร เหฏฺ€า ในภายใต้, ภายใต้ อปุ ริ ในเบ้ืองบน, เบ้อื งบน อทุ ฺธํ ในเบ้ืองบน, เบือ้ งบน อโธ ในภายใต,้ เบื้องลา่ ง ตริ ิยํ ในท่ขี วาง, ขัดขวาง สมฺมขุ า ในท่ีเฉพาะหน้า, ต่อหนา้ ปรมฺมุขา ในที่ลับหลัง อาวิ ในท่แี จ้ง รโห ในทลี่ บั ติโร ในข้างหนึ่ง อุจฺจํ ในทสี่ ูง นีจํ ในท่ีตำ่� อนฺโต ในภายใน อนตฺ รา ในระหวา่ ง อชฺฌตฺตํ ในภายใน พหิทฺธา, พาหริ า, พาหิร,ํ พหิ อารา, อารกา ในทีไ่ กล ในภายนอก, ขา้ งนอก ปารํ ในฝ่งั นน้ั โอรํ ในฝ่งั น้ี ปจฺฉา ในภายหลงั ปเุ ร ในกาลก่อน หรุ ํ ในโลกอื่น เปจจฺ ในโลกหนา้

ส�ำ หรับนกั ศกึ ษาใหม ่ 85 ๒.๑. ปงุ ลงิ ค์ อรรถสัตตมี (โต ตฺร ถ ธิ ว หึ หํ หญิ ฺจนํ ห ธ ปจั จยั ) เอกโต ในผเู้ ดยี ว ปุรโต ในข้างหนา้ ปสฺสโต ในข้าง ปจฺฉโต ในข้างหลัง สีสโต บนศีรษะ ปาทโต บนเท้า, ทเ่ี ท้า อคคฺ โต บนยอด มลู โต ทโ่ี คน, ทร่ี าก, ใตค้ วง ยตฺร, ยตฺถ ในทใี่ ด ตตฺร, ตตถฺ ในทน่ี นั้ สพฺพธิ ในทท่ี งั้ ปวง อหิ , อธิ ในท่ีนี้ กหุ ,ึ กุห ํ ในท่ีไหน กุหิญฺจน,ํ กฺว ในที่ไหน ๘. อรรถกาลสตั ตมี อถ คร้ังน้นั หิยโฺ ย วันวาน, เม่ือวาน   ปาโต รงุ่ เช้า, ในเวลาเช้า ทวิ า ในเวลากลางวนั สมปฺ ติ เดีย๋ วน,้ี ขณะนี้ ภตู ปุพพฺ ํ, ปุรา ในกาลกอ่ น  อายต ึ ตอ่ ไป, ข้างหน้า อชฺช ในวนั นี้ สเุ ว, เสฺว ในวนั พรงุ่ นี้ อปรชชฺ ุ, ปรชฺช ในวันอื่น ปรสเุ ว ในวนั มะรืน ปเร ในกาลอนื่ สชฺชุ ในขณะนน้ั สายํ ในเวลาเยน็ กาลํ ในกาล ทวิ า ในเวลากลางวัน นตฺตํ ในเวลากลางคนื กลลฺ ํ ในเวลาสมควร นจิ จฺ ,ํ สตตํ ในกาลเป็นนิตย์ อภิณหฺ ,ํ อภิกฺขณ ํ เนืองๆ มหุ ุํ พลัน, พลา่ ม มุหตุ ตฺ ํ ช่วั คร,ู่ ครู่เดยี ว ยทา ในกาลใด ตทา ในกาลนั้น กทา ในกาลเชน่ ไร สทา ในกาลทกุ เมือ่

๒. นามกณั ฑ์ 86 บาลไี วยากรณเ์ บอ้ื งตน้ อวภิ ตั ยตั ถนบิ าต นิบาตไม่มอี รรถวิภัตตนิ าม นบิ าตท่ไี มม่ ีอรรถของวภิ ัตตินามประกอบ มี ๑๔ หมวด คือ ๑. อรรถปริจเฉทะ (ก�ำ หนด) กีว เพียงไร ยาวตา มีประมาณเพยี งใด ยาว เพียงใด ตาวตา มปี ระมาณเพยี งน้นั ตาว เพียงนน้ั กิตตฺ าวตา มปี ระมาณเทา่ ไร ยาวเทว  เพยี งใดนน่ั เทียว เอตฺตาวตา มปี ระมาณเทา่ นน้ั ตาวเทว เพยี งน้ันนั่นเทยี ว สมนตฺ า โดยรอบ ๒. อรรถปฏภิ าคะ (อปุ มา-อุปไมย) ยถา ฉนั ใด ตถา, เอว ํ ฉันนนั้ ยเถว ฉนั ใดนัน่ เทียว ตเถว ฉันน้ันนั่นเทยี ว ยถรวิ ฉนั ใดน่ันเทียว ตถรวิ ฉนั นน้ั นั่นเทยี ว เอวเมว, เอวเมว ํ ฉันน้นั น่ันเทยี ว วยิ , อวิ ราวกะ, เพยี งดัง ยถาปิ แม้ฉนั ใด เสยฺยถาปิ แมฉ้ ันใด ยถานาม ช่ือฉันใด ตถานาม ชอ่ื ฉนั นั้น ยถาหิ ฉนั ใดแล ตถาหิ ฉันนั้นแล ยถาจ ฉันใดแล ตถาจ ฉนั นั้นแล เสยฺยถาปิ นาม ชือ่ แม้ฉันใด ๓. อรรถปฏเิ สธะ (ปฏิเสธ, ห้าม)  น ไม่ เอว เทา่ นน้ั โน ไม่ วินา เว้น, หา้ ม มา อยา่ อญฺตร เวน้

ส�ำ หรับนักศกึ ษาใหม ่ 87 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ ว เทา่ น้นั อ ไม่, ไม่ใช่ หลํ อย่า อลํ พอ, อยา่ เลย, สามารถ, ประดบั ๔. อรรถอนสุ สวนะ (เล่าลอื , ไดย้ ินมา) กริ , ขล,ุ สุทํ  ได้ยินวา่ , เขาเลา่ วา่ , ฟงั มาว่า, ทราบวา่ ๕. อรรถปรกิ ปั ปะ (วติ ก, กังวล) เจ หากว่า อถ  ถา้ วา่       สเจ ถา้ ว่า ยนนฺ นู กระไรหนอ ยทิ ผิว่า อปเฺ ปว นาม ชื่อแม้ไฉน, อะไรแนน่ ะ ๖. อรรถปญั หา (คำ�ถาม) กึ, วา หรอื นน ุ มิใช่หรือ, ใชห่ รือไม่    กถํ อยา่ งไร อุทาหุ หรอื วา่ กจฺจิ หรือ, แลหรือ อาทู หรอื วา่ นุ หรอื , หรือหนอ เสยยฺ ถิทํ อยา่ งไรน้ี กนิ ฺนุ อะไรหรือ กึสุ อะไร, อย่างไหน ๗. อรรถสมั ปฏิจฉนะ (รับคำ�)  อาม, อามนฺตา เออ, ครับ, คะ่ สาธ ุ ดีแล้ว   เอวํ อยา่ งนน้ั โอปายกิ ํ  สมควร ปติรูปํ สมควร, เหมาะสม ลหุ ดี, ตามสบาย ๘. อรรถโจทนะ (เตือน) อิงฆฺ เชญิ เถดิ หนทฺ , ตคฺฆ เอาเถดิ

๒. นามกัณฑ์ 88 บาลไี วยากรณเ์ บอ้ื งตน้     ๙. อรรถวากยารมั ภะ (ตน้ ขอ้ ความ) จ อน่ึง, ก็, จรงิ อยู่ ปน ส่วนว่า, ก็ วา หรอื , หรือว่า อปิ แม้ หิ ก,็ จริงอย่,ู เพราะวา่ อปจิ เออก็ ตุ สว่ น, ส่วนวา่ , ก็  อถวา อกี อย่างหนง่ึ ๑๐. อรรถสังสยะ (ความสงสยั ) อปเฺ ปว อยา่ งไร อปเฺ ปวนาม ชื่ออยา่ งไร นุ หรอื ไม่ ๑๑. อรรถเอกงั สะ (ส่วนเดียว) อทธฺ า, อญฺ ทตถฺ ,ุ ตคฆฺ , ชาต,ุ กาม,ํ สสกกฺ  ํ แนแ่ ท,้ จรงิ ๆ, สว่ นเดยี ว ๑๒. อรรถสฆี ะ (รวดเร็ว)  ขปิ ปฺ ,ํ อร,ํ ลห,ุ อาส,ํุ ตณุ ณฺ ,ํ อจริ ,ํ สฆี ,ํ ตรุ ติ ํ เรว็ , ดว่ น, พลนั , ไมน่ าน ๑๓. อรรถปทปูรณะ หรอื วจนาลงั การะ (เติมใหเ้ ตม็ ประดับค�ำ ) นบิ าตเหลา่ นค้ี อื อถ ขลุ วต วถ อโถ อสสฺ ุ ยคเฺ ฆ หิ จรหิ นํ ตํ วา จ ตุ ว โว ปน หเว กีว ห ตโต ยถา นุ สุ สทุ ํ โข เว หํ เอนํ เสยยฺ ถิทํ เปน็ ต้น เพม่ิ ใสใ่ ห้เตม็ ระหวา่ งบท เพ่อื ความสละสลวยแหง่ ถอ้ ยค�ำ ส�ำ นวน ไมม่ เี นือ้ ความพเิ ศษอะไร ๑๔. บทท่ีมี ตนุ ตวฺ า ตวฺ าน ปัจจยั ปสสฺ ิตุน, ปสสฺ ิย, ปสฺสติ วฺ า, ปสสฺ ิตฺวาน, ทสิ วฺ า, ทิสฺวาน พบแล้ว, เห็นแลว้ , ประสบแลว้ , ชมแล้ว, เยย่ี มแล้ว ทสเฺ สตฺวา แสดงแล้ว ทาตนุ , ทตวฺ า, ทตวฺ าน ใหแ้ ลว้ อุปาทาย ถือเอาแล้ว ทาเปตฺวา ให้ถวายแล้ว

สำ�หรับนักศึกษาใหม ่ 89 ๒.๑. ปุงลงิ ค์ วิญฺาเปตฺวา ให้ร้แู ลว้ วิเจยฺย พจิ ารณาแลว้ วิเนยฺย แนะนำ�แลว้ นหิ จจฺ เบียดเบยี นแลว้ สเมจจฺ ถงึ ดแี ลว้ อเปจฺจ หลีกไปแลว้ อารพภฺ เร่มิ แล้ว, ปรารภแล้ว อาคมมฺ มาแลว้ , อาศยั แล้ว กลมุ่ ท่ี ๒ นิบาตหลายอรรถ ๑๗ ตัว จ วา อถ ขลุ วต หิ ตุ หํ อติ ิ ยถา เอวํ อโห นาม สาธุ กริ นนู ธุวํ นิบาตเหล่าน้ี แต่ละศพั ท์มีอรรถหลายอย่าง จ ศัพท์ มอี รรถ ๕ อย่าง ๑. สมุจจฺ ย รวบรวม  มี ๓ อย่าง     ก. กฺริยาสมุจจฺ ย รวบรวมกิริยา         เชน่ ตฺวํ ปจาหิ จ ภุญฺชาหิ จ.                ท่านจงหุงและจงกนิ     ข. การกสมุจฺจย รวบรวมนาม         เช่น สารปิ ตุ โฺ ต จ โมคคฺ ลลฺ าโน จ ธมฺมํ เทเสนตฺ .ิ                พระสารบี ตุ รและพระโมคคัลลานะแสดงธรรม     ค. วากยฺ สมจุ จฺ ย รวบรวมประโยค เช่น สาริปุตโฺ ต จ ธมฺมํ เทเสติ, โมคฺคลลฺ าโน จ ธมมฺ ํ เทเสต.ิ พระสารบี ตุ รแสดงธรรม พระโมคคัลลานะกแ็ สดงธรรม ๒. อนวฺ าจย รวบรวมวากยะหลังท่ีมกี ริ ิยาตา่ งจากวากยะหนา้ เช่น ทานํ เทห,ิ สลี ญจฺ รกฺขาห.ิ ท่านจงใหท้ าน และรกั ษาศีล

๒. นามกัณฑ์ 90 บาลไี วยากรณ์เบอ้ื งต้น ๓. อติ รีตรโยค รวบรวมโดยไดเ้ น้ือความแยกกัน (อสมาหารทฺวนทฺ ) เชน่ จนโฺ ท จ สรู โิ ย จ จนทฺ สูริยา. ดวงจนั ทร์และดวงอาทติ ย์ ๔. สมาหาร รวบรวมโดยไดเ้ น้อื ความรวมกัน (สมาหารทฺวนฺท) เช่น มุขญจฺ นาสิกา จ มขุ นาสกิ .ํ ปากและจมูก ๕. อวธารณ หา้ มเน้ือความทีไ่ ม่ได้กล่าวถึง เชน่ พฺยญชฺ นนฺตสสฺ โจ ฉปปฺ จฺจเยสุ จ. เพราะ ฉ ปัจจยั เทา่ น้นั จึงอาเทศพยัญชนะทีส่ ดุ ธาตุ เป็น จฺ วา ศพั ท์ มีอรรถ ๔ อยา่ ง ๑. วกิ ปฺปน ไม่แน่นอน เชน่ เทโว วา มาโร วา. เป็นเทพหรือเปน็ มาร ๒. อุปมาน เปรยี บเทยี บ เชน่ มธุ วา มญฺ ตี พาโล. คนพาลย่อมส�ำ คญั ผิดวา่ เหมอื นนำ้�ผงึ้ ๓. สมุจจฺ ย รวบรวมบท เช่น ราชโต วา โจรโต วา ภย.ํ ภยั จากพระราชาและจากโจร ๔. ววตฺถติ วภิ าสา กลา่ วกำ�หนดวิธี ๓ อย่าง คือ แน่ ไม่แน่ และไม่มี เช่น วา ปโร อสรูปา. ลบสระหลงั จากสระที่มรี ูปไมเ่ หมือนกนั บา้ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook